ประมาณ พ.ศ. ๒๔๓๕ มพี ระธดุ งคห์ นมุ่ วยั ๓๐ ชอ่ื พระอาจารย์ เสารม์ าพกั ทกี่ ดุ เมก็ ซงึ่ อยไู่ มไ่ กลจากบา้ นคำ� บง อำ� เภอโขงเจยี ม จงั หวดั อุบลราชธานี ไม่นานก็ได้รู้จักกับชายหนุ่มคนหนึ่งช่ือม่ัน ซ่ึงเป็น หมอล�ำฝีปากดีแห่งบ้านค�ำบง หนุ่มม่ันมีความศรัทธาในพระอาจารย์ เสาร ์ มาดแู ลอปุ ฏั ฐากทา่ นเปน็ ประจ�ำ บางวนั กไ็ มก่ ลบั บา้ น ภายหลงั ก็ฝึกสมาธิภาวนากับท่านด้วย พระอาจารย์เสาร์เห็นชายหนุ่มมีใจ ใฝ่ธรรม จึงชวนชายหนุ่มบวช ท่านได้พาไปอุปสมบท ณ วัดศรีทอง อำ� เภอเมอื ง ชายหนมุ่ ไดร้ บั สมณฉายาจากพระอปุ ชั ฌายว์ า่ ภรู ทิ ตโฺ ต 101 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
พระหนมุ่ รปู นภี้ ายหลงั เปน็ ทรี่ จู้ กั อยา่ งกวา้ งขวางในนามหลวงปู่ มั่น ส่วนพระอาจารย์ที่พามาบวชก็คือ หลวงปู่เสาร ์ กนฺตสีโล ซึ่งได้ ชอ่ื วา่ ปรมาจารยใ์ หญฝ่ า่ ยพระกรรมฐาน ในชว่ งรอ้ ยปที ผี่ า่ นมากลา่ ว ได้ว่าพระป่าในภาคอีสานซึ่งกระจายไปท่ัวประเทศ ล้วนเป็นศิษย์และ อนุศิษย์สืบเน่ืองมาแต่พระมหาเถระทั้งสองแทบท้ังนั้น ท่านจึงเป็น เสมอื นตน้ ก�ำเนดิ ของแมน่ ้ำ� สายใหญ่ท่ียงั ความช่มุ เย็นแกผ่ ้คู นทกุ วันน้ี ความสมั พนั ธ์อย่างแนน่ แฟน้ ระหว่างอาจารย์กบั ศิษยไ์ ด้เกื้อกลู ให้ท้ังสองท่านเจริญก้าวหน้าในทางธรรมเป็นล�ำดับ คราวหน่ึง หลังจากบวชมาได้ ๔ พรรษา พระมั่นคิดจะลาสิกขา ถึงกับจัดหา เสอ้ื ผา้ อยา่ งฆราวาสไวพ้ รอ้ ม และเตรยี มดอกไมธ้ ปู เทยี นเพอ่ื ขอลกิ ขา จากพระอาจารยเ์ สาร ์ พระอาจารยเ์ สารไ์ มไ่ ดท้ ดั ทาน แตข่ อรอ้ งพระมนั่ วา่ กอ่ นจะสกึ ควรบ�ำเพญ็ เพยี รเตม็ ทส่ี กั ๗ วนั โดยถอื ธดุ งควตั รอยา่ ง เคร่งครัด เช่น ฉันเอกาและถือเนสัชชิก คือฉันมื้อเดียวและไม่นอน ทอดกายตลอดวนั ตลอดคนื พระมน่ั ดใี จทอ่ี าจารยไ์ มท่ กั ทว้ งหา้ มปราม จงึ รบั คำ� ครบู าอาจารย์ว่าจะทำ� ความเพียรอยา่ งเต็มท ี่ ทุกวันหลังจาก ฉนั ภตั ตาหารเสรจ็ ทา่ นจะปลกี ตวั ไปบำ� เพญ็ เพยี รทโ่ี บสถว์ ดั รา้ งจนถงึ เวลาเย็นจงึ กลับมาหาหม่คู ณะ หลังจากท�ำความเพียรครบกำ� หนด ความสงบเย็นที่ได้รับกลับ ท�ำให้ท่านเปล่ียนใจไม่สึก และตัดสินใจขออยู่ประพฤติพรหมจรรย์ใน 102
เพศบรรพชิตจนตลอดชวี ติ นบั แตน่ นั้ ทา่ นกต็ งั้ ใจปฏบิ ตั ิ มนั่ คงในธดุ งควตั ร บำ� เพญ็ กรรม- ฐานไมห่ ยดุ หยอ่ น จติ ใจมงุ่ ตรงตอ่ พระนพิ พาน จงึ มคี วามเจรญิ งอกงาม ในทางธรรมเปน็ ล�ำดับ จนพน้ ทกุ ขอ์ ย่างส้นิ เชงิ ในท่ีสดุ มีเร่ืองเล่าว่าในพรรษาท่ี ๒๓ ขณะท่ีท่านบ�ำเพ็ญภาวนาท่ีถ้�ำ สารกิ า จงั หวดั นครนายก ทา่ นไดท้ ราบดว้ ยญาณวา่ อาจารยข์ องทา่ น ซง่ึ บดั นชี้ าวบา้ นเรยี กวา่ หลวงปเู่ สาร ์ ปรารถนาปจั เจกโพธ ิ คอื อธษิ ฐาน เป็นพระปัจเจกพุทธะ เป็นเหตุให้ไม่สามารถท�ำความเพียรจนพ้น ทุกข์ได้ในชาติน้ี จึงเดินทางไปเตือนสติท่าน ขอให้ละความปรารถนา ดงั กลา่ ว เพ่อื จะไดบ้ รรลุอรหตั ตผลในชาตนิ ้ี ประมาณ พ.ศ. ๒๔๕๙ พระอาจารย์มั่นได้เดินทางไปที่ภูผากูด อำ� เภอคำ� ชะอ ี จงั หวดั นครพนม เพอื่ จำ� พรรษากบั หลวงปเู่ สาร์ มกี าร สนทนาธรรมแทบทุกวัน วันหน่ึงเมื่อได้โอกาสเหมาะพระอาจารย์ม่ัน กส็ อบถามหลวงปเู่ สารถ์ งึ การปฏบิ ตั ิ หลวงปเู่ สารย์ อมรบั วา่ การปฏบิ ตั ิ ของท่านแม้ได้ผลแต่ไม่ชัดเจน พยายามพิจารณาธรรมเท่าไรก็ไม่ แจ่มแจ้ง พระอาจารย์มั่นจึงถามต่อว่า “ถ้าเช่นน้ันท่านอาจารย์คง มอี ะไรเปน็ เครอ่ื งหว่ งหรอื กระมงั ” หลวงปเู่ สารต์ อบวา่ “เรากพ็ ยายาม พิจารณาเหมอื นกนั แต่กห็ าส่งิ ขดั ขอ้ งไมไ่ ด”้ 103 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
พระอาจารย์มั่นสบโอกาส จึงถามว่า “ท่านอาจารย์ห่วงเร่ือง การปรารถนาพระปัจเจกโพธิกระมัง” หลวงปู่เสาร์ฟังแล้วก็เห็นด้วย พระอาจารย์ม่นั จึงกล่าวต่อว่า “ขอให้ท่านอาจารย์อย่าเป็นห่วงเลย ขอให้พิจารณาอริยสัจจ์ เพื่อความพ้นทุกข์เสียแต่ชาติน้ีเถิด เพราะกระผมเองก็ปรารถนา พระโพธิญาณ และกระผมก็ได้ละความปรารถนาน้ันแล้ว เน่ืองด้วย วา่ การท่องเท่ยี วในสังสารวฏั ฏ์น้ีมนั นานเหลือเกนิ ” นบั แตน่ น้ั การปฏบิ ตั ขิ องหลวงปเู่ สารก์ ร็ ดุ หนา้ จนกระทงั่ วนั หนงึ่ ขณะท่ีท่านน่ังอยู่ในที่สงัดได้พิจารณาอริยสัจจ์ส่ีจนเห็นแจ่มแจ้ง ไม่มี ความสงสัยในธรรมอีกต่อไป เมื่อถึงวันออกพรรษาท่านก็บอก พระอาจารย์ม่ันว่า “เราได้เลิกการปรารถนาพระปัจเจกโพธิแล้ว และ เรากไ็ ด้เห็นธรรมจริงแลว้ ” ความแจม่ แจง้ ในธรรมเปน็ ก�ำลงั ใหแ้ กอ่ าจารยแ์ ละศษิ ยท์ งั้ สอง ในการเผยแผธ่ รรมจนมศี ษิ ยานศุ ษิ ยม์ ากมาย สว่ นใหญแ่ ลว้ จะแยกยา้ ย จารกิ สอนธรรม แมจ้ ะไดร้ บั การตอ้ นรบั อยา่ งดจี ากชาวบา้ น แตห่ ลาย แห่งก็ถูกต่อต้านจากพระในท้องถิ่น ซึ่งสูญเสียผลประโยชน์จากการ สอนของท่าน ใช่แต่เท่าน้ัน บางครั้งยังถูกขัดขวางจากพระที่เป็น ผู้ปกครอง ซ่ึงในเวลาน้ันมีทัศนคติท่ีไม่ดีต่อพระป่า เพราะเห็นว่าเป็น พระเรร่ อ่ นจรจัด 104
มคี ราวหนง่ึ เจา้ คณะมณฑลอบุ ลราชธาน ี คอื พระโพธวิ งศาจารย์ ถึงกับประกาศต่อประชาชนว่า “ญาคูเสาร์ กับ ญาคูมั่น ห้ามไม่ให้ ใส่บาตรใหก้ ิน เพราะพวกนน้ั คือพวกเทวทตั ” หลวงปู่เสาร์ได้ยินก็เพียงแต่ย้ิม ไม่ตอบโต้ ท่านยังคงจาริก เผยแผ่ธรรมต่อไปด้วยความสงบเยือกเย็น เม่ือถูกต่อต้านมากเข้า ท่านก็พูดเพียงว่า “ท่านว่าเราเป็นพวกเทวทัต เราไม่ได้เป็น ไม่เห็น เดือดร้อน ท่านส่ังคนไม่ให้ใส่บาตรให้เรากิน แต่ก็ยังมีคนใส่ให้อยู่ พอได้ฉัน ไม่เห็นเดือดร้อนอะไร ท่านไม่เหนื่อยก็เป็นเร่ืองของท่าน” ขณะเดียวกันชาวบ้านก็หาได้สนใจค�ำประกาศของเจ้าคณะมณฑล อุบลราชธานีไม่ ยังคงใส่บาตรให้แก่หลวงปู่เสาร์และคณะต่อไป ด้วย ชืน่ ชมในปฏิปทาและคำ� สอนของท่าน ท่านเจ้าคุณองค์นี้ภายหลังได้เจริญในสมณศักดิ์ เป็นสมเด็จ พระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส) คราวหนึ่งได้ไปตรวจงานคณะสงฆ์ที่ ภาคเหนอื ไดพ้ บหลวงปมู่ ่ันทเี่ ชยี งใหม ่ จงึ ตงั้ คำ� ถามเชงิ ต�ำหนิวา่ “ญาคมู นั่ เธอเทยี่ วตามปา่ เขาอยเู่ พยี งลำ� พงั ผเู้ ดยี วอยา่ งน ้ี เธอ ไดส้ หธรรมกิ ไดธ้ รรมวนิ ยั เปน็ แนวทางประพฤตปิ ฏบิ ตั ทิ ไ่ี หน เธอไดร้ บั ฟงั ธรรมจากสหธรรมกิ อยา่ งไร ทำ� ไมเธอจงึ ไดป้ ฏบิ ตั มิ างมไปอยา่ งนน้ั เธอทำ� อย่างนัน้ จะถูกหรอื ” 105 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
หลวงปู่มั่นตอบว่า “พระเดชพระคุณไม่ต้องเป็นห่วงกังวล กระผมอยตู่ ามปา่ ตามเขานนั้ ไดฟ้ งั ธรรมจากเพอื่ นสหธรรมกิ ตลอดเวลา คือมีเพื่อนและฟังธรรมจากธรรมชาติ เสียงนกเสียงกา เสียงจิ้งหรีด จกั จ่ันเรไร เสยี งเสอื เสยี งชา้ ง มันเปน็ ธรรมชาตไิ ปหมด มันทุกข์หรือสุขกระผมก็รู้ เขาคอยตักเตือนกระผมอยู่ตลอด เวลา ไมใ่ หล้ มื สตวิ า่ เจา้ เปน็ ใครมาจากไหน อยอู่ ยา่ งไร แลว้ กจ็ ะไปไหน เวลาใบไม้ร่วงหล่นจากข้ัวทับถมกันไปไม่มีส้ินสุดก็เป็นธรรม บางต้นมันก็เขียวท�ำให้ครึ้ม บางต้นมันก็ตายซากแห้งเหี่ยว เหล่าน้ัน มนั เป็นธรรมเครื่องเตอื นสตสิ ัมปชญั ญะไปหมด ฉะนน้ั พระเดชพระคณุ ทา่ น โปรดวางใจได ้ ไมต่ อ้ งเปน็ หว่ งกระผม เพราะได้ฟงั ธรรมอยูต่ ลอดเวลาทง้ั กลางวันกลางคืน” สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ เป็นพระที่มีความรู้ในทางปริยัติ สอบ ได้เปรียญ ๕ ประโยค และใส่ใจในการส่งเสริมพระปริยัติธรรมจนได้ รับการยกย่องจากพระผู้ใหญ่ และเจริญในสมณศักด์ิอย่างรวดเร็ว ท่านไม่สามารถเข้าใจได้ว่าพระธุดงค์หรือพระกรรมฐานจะเข้าใจธรรม ได้อย่างไรในเม่ือไม่เรียนหนังสือ ท่านเคยกล่าวว่า “ขนาดลืมตาเรียน และมีครูอาจารย์ท่ีเป็นนักปราชญ์มาสอน ยังไม่ค่อยรู้ แล้วมัวไปนั่ง หลับตาจะไปรู้อะไร” 106
แต่ภายหลังเม่ือท่านได้รู้จักกับศิษย์ของหลวงปู่มั่น โดยเฉพาะ พระอาจารยฝ์ น้ั อาจาโร และพระอาจารยล์ ี ธมมฺ ธโร ซงึ่ ชว่ ยใหท้ า่ น หายเจ็บป่วยด้วยสมุนไพรและสมาธิภาวนา ท่านก็มีศรัทธาในการ ทำ� กรรมฐาน และหนั มามที ศั นคตทิ ดี่ ตี อ่ พระปา่ โดยเฉพาะหลวงปมู่ น่ั เม่ือมีงานปลงศพหลวงปู่เสาร์ที่จังหวัดอุบลราชธานีใน พ.ศ. ๒๔๘๖ สมเด็จฯ ได้มีโอกาสพบหลวงปู่ม่ัน หลวงตามหาบัว ญาณ- สมฺปนฺโน เล่าว่า ท่านจึงเดินเข้าไปหา และพูดกับหลวงปู่มั่น ว่า... “เออ!! ท่านมั่น เราขอขมาโทษเธอ เราเห็นโทษแล้ว แต่ก่อนเราก็ บา้ ยศ” ภายหลังเม่ือหลวงปู่ม่ันได้เข้าไปกราบสมเด็จฯ ที่วัดบรมนิวาส สมเด็จฯ ซ่ึงตอนนั้นได้รับแต่งตั้งเป็นสังฆนายกตามพระราชบัญญัติ คณะสงฆฉ์ บบั ใหม ่ ไดส้ อบถามหลวงปมู่ น่ั เกย่ี วกบั การปฏบิ ตั วิ า่ “เราก็ เปน็ ผปู้ กครอง บรหิ ารงานการคณะสงฆท์ ง้ั ประเทศ ยงุ่ แตก่ จิ การงาน พอนั่งภาวนาพุทโธครั้งใดทีไร ความคิดก็พุ่งไปคิดอยู่แต่ในงาน การบริหารคณะสงฆ์ ไม่สามารถท�ำให้หยุดคิดได้เลย จะท�ำให้ไม่คิดน ้ี ยาก ทา่ นอาจารย์มีวิธีอน่ื บา้ งไหม ทีจ่ ะทำ� ให้จิตเปน็ สมาธภิ าวนา” หลวงปมู่ น่ั ตอบวา่ “การนง่ั สมาธภิ าวนานน้ั ทา่ นใหค้ ดิ ได ้ แตใ่ ห้ มสี ตติ ามร ู้ พจิ ารณาถงึ สภาพความเปน็ จรงิ อนจิ จลกั ษณะ อยตู่ ลอด เวลา” เมอื่ นำ� คำ� ตอบของหลวงปมู่ นั่ ไปปฏบิ ตั ิ การภาวนาของสมเดจ็ ฯ 107 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
กร็ าบรน่ื ไม่ตดิ ขดั ทา่ นจงึ ยงิ่ มีศรทั ธาปสาทะมากข้นึ จากประสบการณส์ ว่ นตวั ของสมเดจ็ ฯ ทไ่ี ดส้ มั ผสั กบั พระกรรม- ฐาน และจากประสบการณท์ ท่ี า่ นไดพ้ บเหน็ วา่ หมบู่ า้ นใดทมี่ พี ระกรรม- ฐานมาเผยแผ่ธรรม ญาติโยมจะประพฤติตัวเรียบร้อย รู้จักสวดมนต์ ไหว้พระ อยู่ในศีลในธรรม มีการท�ำสมาธิภาวนา ท่านจึงมีความ ประทบั ใจอยา่ งมากในพระกรรมฐาน จนถงึ กบั กลา่ วในทปี่ ระชมุ สงฆว์ า่ “การเผยแผ่พระพุทธศาสนาต้องให้พระกรรมฐานเป็นแนวหน้า หรือเรยี กวา่ กองทพั ธรรมแนวหนา้ ” พ.ศ. ๒๔๙๒ หลวงปู่ม่ันได้มรณภาพที่จังหวัดสกลนคร ท้ิง มรดกอนั ไดแ้ กค่ ำ� สอนและกองทพั ธรรมทที่ า่ นและหลวงปเู่ สารไ์ ดส้ รา้ ง ขึ้น เพอ่ื สถาปนาธรรมให้ตงั้ มัน่ ในจิตใจของผคู้ นจวบจนทุกวนั นี้ 108
ผู้ใฝ่ธรรมจ�ำนวนไม่น้อยเม่ือได้เยือนจังหวัดนครราชสีมา มัก หาโอกาสหยุดแวะที่วัดป่าสาลวัน เพราะหลวงพ่อพุธ านิโย หรือ พระราชสังวรญาณ เคยเป็นประธานสงฆ์ท่ีวัดนี้นานร่วม ๒๐ ปี แม้ ท่านละสังขารเกือบ ๒๐ ปีแล้ว แต่ค�ำสอนและวัตรปฏิบัติของท่านก็ ยงั ส่องสวา่ งน�ำทางแกผ่ ้ปู ระพฤติชอบจวบจนทุกวันนี้ หลวงพ่อพุธเป็นศิษย์คนส�ำคัญของหลวงปู่เสาร์ กนฺตสีโล ผเู้ ปน็ สหายธรรมของหลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตโฺ ต ทา่ นมชี วี ติ วยั เยาวท์ ล่ี ำ� บาก เนอ่ื งจากกำ� พรา้ พอ่ และแมต่ ง้ั แตอ่ าย ุ ๔ ขวบ สมยั เดก็ นอกจากทำ� นา 110
แล้ว ยังต้องหาเงินเรียนหนังสือ เสื้อผ้าก็ต้องเย็บเอาเอง ไม่เคยได้ ใส่เสื้อผ้าที่ซื้อจากตลาด ความยากล�ำบากต้ังแต่เล็กท�ำให้ท่านคิดอยู่ เสมอว่าโลกน้ีมีแต่ความทุกข์ จึงอยากหาทางพ้นทุกข์ ดังน้ันเมื่อ ได้บวชเณรขณะอายุ ๑๕ จึงตั้งปณิธานว่า “เราจะบวชตลอดชีวิต... ชั่วชวี ิตน้ี เราจะไม่กลับมาใสก่ างเกงอกี ” หลวงพ่อพุธมีความสนใจธรรมะต้ังแต่เล็ก แม้จะไม่ได้เรียน มาก ครบู าอาจารยด์ า้ นธรรมะก็ไมม่ ี แตส่ ติและสมาธิ มมี าตงั้ แต่เลก็ คราวหนงึ่ นอนอยขู่ า้ งๆ ลอมฟางกลางทงุ่ นา พอลม้ ตวั ลงนอน งเู หา่ ตัวใหญ่ก็เล้ือยมาข้างๆ แล้วเลื้อยขึ้นมาตรงกลางตัว ตอนน้ันทั้งกลัว ทงั้ สนั่ แตส่ ตดิ ี ไมข่ ยบั เขยอ้ื น สกั พกั มนั กเ็ ลอ้ื ยขา้ มตวั ไป ทา่ นวา่ หาก ไม่มสี ต ิ เผลอขยับตัว งูคงตกใจและฉกกดั เอาได้ เมื่อบวชเณรแล้วก็ตั้งใจศึกษาปฏิบัติ สามารถท่องปาติโมกข์ และขนึ้ เทศนไ์ ด ้ อยา่ งไรกต็ ามบางครงั้ กม็ อี ปุ สรรคมาทดสอบ มชี ว่ งหนง่ึ ท่านชอบสาวคนหน่ึง ช่ือ “ประยูร” เวลาภาวนา หลวงตาสอนให้ นั่งบริกรรมด้วยการท่องพุทโธ แต่ท่านภาวนาพุทโธได้ไม่นาน ก็ท้ิง พุทโธ ไพล่ไปนึกถึงประยูรแทน ท่านว่า “ตอนนั้นจะตายเพราะ ยายประยรู นี้ละ” แตท่ า่ นไมย่ อมแพ ้ เอาชอื่ ของหญงิ สาวมาใชเ้ สยี เลย คอื บรกิ รรม ว่า “ประยูร” แทน พอจิตต้ังม่ัน ค�ำว่าประยูรก็หายไป เมื่อจิตสงบ 111 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
ก็เกิดนิมิตเป็นภาพสาวประยูรข้ึนมา ท่านก็พิจารณาว่า ผมสวย สักพักผมก็ร่วงหลุดลงมา พอพิจารณาว่าตาสวย ตาก็หลุดออกมา พอนึกว่าคนสวยน้ีแม้แต่กระดูกก็ยังสวย กระดูกก็ร่วงหล่นจมหายไป กบั แผน่ ดนิ พอออกจากสมาธ ิ รา่ งกายของเธอกห็ ายไป ผลกค็ อื ความ ระลกึ นกึ ถงึ หญงิ สาวจางคลายลง และไมร่ บกวนจติ ของทา่ นอกี ตอ่ ไป ประสบการณอ์ กี ตอนหนงึ่ ทน่ี า่ สนใจสมยั เปน็ เณรกค็ อื วนั หนง่ึ ท่านฉนั เสรจ็ กำ� ลงั ลา้ งบาตร เหลือบเห็นหมาขี้เรื้อนหวิ โซ เดนิ โซซัด โซเซใกล้หมดแรงเต็มที ท่านเกิดความเมตตาสงสารจับใจ อยากให้ อาหาร แต่ในบาตรไม่มีข้าวเหลือเลยสักเม็ด มองไปรอบๆ ก็ไม่เห็น อาหารที่จะประทังความหิวของหมาน้อยได้ ท่านจึงตัดสินใจเอามือ ล้วงคอเพอื่ ใหอ้ าเจียนออกมา อาหารใหมท่ ่เี พ่ิงฉนั พุ่งออกมาจนหมด หมาตัวน้ันเห็นเข้าก็คลานมาฟุบตรงเศษอาหารกองน้ัน เมื่อได้กิน อาหาร มนั ก็เริม่ มีเรย่ี วแรง และว่งิ ตามทา่ น ท่านเล่าว่านับแต่นั้นเรื่องอาหารการกิน ท่านไม่เคยขาดแคลน เลย มีมากมายจนฉนั ไม่หมด ประสบการณ์สมัยเป็นเณร ท�ำให้หลวงพ่อพุธเข้าใจหัวอกของ เณร ท่านจึงแนะน�ำญาติโยมเสมอว่า อย่าละเลยเณรน้อย “ท�ำบุญ กบั เณรนอ้ ยนา่ จะไดบ้ ญุ มาก เพราะเณรไมค่ อ่ ยมใี ครสนใจจะมาทำ� บญุ ให้ ได้อะไรมานิดหน่อยก็ดีใจมาก ถ้าเราจะเลือกท�ำบุญเฉพาะกับ 112
พระอรยิ ะ กต็ อ้ งนกึ เสมอวา่ กวา่ ทา่ นจะไดเ้ ปน็ พระอรยิ ะ ทา่ นตอ้ งผา่ น ชีวิตเณรนอ้ ยมากอ่ น” ทา่ นเลา่ วา่ เจา้ คณุ อบุ าลคี ณุ ปู มาจารย ์ (สริ จิ นโฺ ท) วดั บรมนวิ าส พาเด็กๆ มาบวชเณรนับร้อย จะได้มีโอกาสเล่าเรียนหนังสือ แต่มี ญาติโยมบางคนไม่เห็นด้วย ทักท่านว่าลูกศิษย์เจ้าคุณมีแต่หัวข้ีกลาก กินข้าวเย็น ท่านจึงย้อนว่า “อย่าไปว่ามัน อีกหน่อยพวกหัวข้ีกลาก นแ้ี หละมนั จะคำ�้ จนุ พระศาสนา” กาลเวลาไดพ้ สิ จู นว์ า่ สงิ่ ทท่ี า่ นกลา่ วนน้ั ถกู ตอ้ ง 113 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
พระกรรมฐานกบั การออกธดุ งคเ์ ปน็ ของคกู่ นั กว็ า่ ได้ โดยเฉพาะ สมัยก่อนซ่ึงยังมีป่าเขามากมาย อันที่จริงค�ำว่า “ธุดงค์” หมายถึง ข้อปฏิบัติเพื่อขัดเกลากิเลส ส่งเสริมความมักน้อยและสันโดษ มี ทั้งหมด ๑๓ ข้อ หน่ึงในนั้นคือ การอยู่ป่าเป็นวัตร แต่จะไม่ถือข้อนี้ กไ็ ด ้ เชน่ บางทา่ นฉนั วนั ละมอ้ื ฉนั ในบาตร อยปู่ า่ ชา้ ไมน่ อน ขอ้ วตั ร เหล่าน้ันก็ถือเป็นธุดงค์เช่นกัน อย่างไรก็ตามหลายท่านเห็นความ สำ� คญั ของการจารกิ ไปอยปู่ า่ เพอื่ บ�ำเพญ็ ธดุ งควตั รขอ้ อน่ื ๆ ใหเ้ ขม้ งวด ขึ้น เมื่อท�ำจนกลายเป็นประเพณี ค�ำว่า “ธุดงค์” จึงมีความหมาย หดแคบลงจนกลายเป็นการเดินจาริกในป่า หรือจาริกไปในที่ต่างๆ ทลี่ ำ� บาก 115 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
สมัยก่อนการธุดงค์ในป่าเต็มไปด้วยภยันตราย ท้ังจากสัตว์ป่า เช่น ช้าง เสือ งูพิษ และจากเชื้อโรคนานาชนิด โดยเฉพาะมาลาเรีย มีพระจ�ำนวนไม่น้อยท่ีท้ิงชีวิตไว้ในป่า ส่วนที่รอดมาได้ก็มักมีเร่ืองเล่า ทน่ี า่ กลวั ชวนครน่ั ครา้ ม แตก่ ม็ อิ าจสกดั กนั้ พระกรรมฐานทม่ี งุ่ บ�ำเพญ็ เพียรโดยพร้อมเอาชีวิตเข้าแลก หลายท่านได้ประสบพบภัยต่างๆ อย่างไม่คาดคิด แต่ก็ได้อาศัยเหตุการณ์เหล่านั้นเป็นเครื่องฝึกฝนจิต ช่วยเสรมิ สร้างบารมธี รรมของทา่ นใหก้ ล้าแกร่งขึ้น หลวงปู่ขาว อนาลโย เป็นศิษย์หลวงปู่ม่ัน ท่ีนิยมจาริกในป่า แต่ผู้เดียว คืนหน่ึงขณะท่ีท่านเดินจงกรมในป่าจังหวัดล�ำปาง ได้ยิน เสียงช้างร้องดังสนั่นและหักกิ่งไม้มาตลอดทาง ตรงมายังท่าน ท่าน จึงรีบออกจากทางจงกรม และจุดเทียนปักรอบๆ ทางจงกรม เผ่ือ จะช่วยยับย้ังช้างไม่ให้มาท�ำร้ายท่าน จากนั้นท่านก็ตั้งจิตอธิษฐาน ขออ�ำนาจพระรตั นตรัยคุ้มครองทา่ นใหป้ ลอดภยั เมอ่ื ชา้ งปา่ มาถงึ ทา่ นเดนิ จงกรม จติ กำ� หนดอยกู่ บั พทุ โธอยา่ ง เดียว ไม่สนใจช้าง ตอนน้ันท่านเตือนใจตนเองว่า “ขอเพียงให้ใจเรา อยู่กับพุทโธเป็นพอ เม่ือเวลาจิตจะดับด้วยถูกช้างกระทืบ จะได้ไป สูส่ คุ ติ หรือไมก่ บ็ รรลุนพิ พานไปเลย” ชา้ งปา่ เหน็ ทา่ นเดนิ จงกรมอยา่ งสงบ กย็ นื นงิ่ ไมเ่ ขา้ มาทำ� อะไร ท่าน ครั้นแสงเทียนเริ่มดับไปทีละดวง ช้างป่าก็หันกลับไปทางเก่า 116
แล้วไม่หวนกลับมาอีก ส่วนหลวงปู่ขาวก็ยังคงเดินจงกรม จิตเป็น หน่ึงเดียวกบั พุทโธ พักใหญท่ า่ นกอ็ อกจากสมาธิ หลวงปขู่ าวไดพ้ ดู ถงึ เหตกุ ารณค์ รง้ั นนั้ วา่ “ไดเ้ หน็ ความอศั จรรย์ ของจิตและพุทโธ ประจักษ์ในคราวนั้นอย่างลึกซ้ึงมาก นับจากน้ัน มาแล้วท�ำให้เกิดความมั่นใจข้ึนว่า ถึงจะเป็นเร่ืองอะไร เหตุการณ์ใด ก็ตามที ถ้าจิตกับพุทโธได้เข้ากันสนิทสนมกลมกลืนเป็นอันหนึ่ง อันเดียวกันโดยหลักธรรมชาติแล้ว อะไรก็ไม่สามารถท่ีจะมาท�ำ อนั ตรายเราได้อย่างแนน่ อน” หลวงปบู่ ดุ ดา ถาวโร เปน็ พระกรรมฐานรนุ่ เดยี วกบั หลวงปขู่ าว และนิยมการธุดงค์ในป่าเช่นกัน เมื่อคร้ังยังเป็นพระหนุ่ม วันหน่ึง ขณะบำ� เพญ็ สมาธภิ าวนาในถำ้� ทา่ นไดก้ ลนิ่ สาบแปลกๆ เกดิ ความกลวั ขึ้นมา ไม่กล้าลืมตาดูว่าอะไรอยู่ข้างหน้า ตอนนั้น เหง่ือแตกจน ชมุ่ ตวั ตอ้ งตงั้ สตอิ ยนู่ านจนจติ เรม่ิ สงบ แลว้ บอกกบั ตวั เองวา่ “สงิ่ ที่ ไม่เคยเห็น ก็เมื่อจะได้เห็น ท�ำไมกลับจะกลัวอะไรเล่า เอาเถอะถ้าจะ ตาย ถงึ ไมล่ มื ตาดกู ต็ อ้ งตายเหมอื นกนั หนไี มพ่ น้ แน ่ ถำ�้ แคบๆ อยา่ งน้ ี ถึงหลบั ตากว็ นุ่ วายใจ ส้ดู ใู หร้ ู้แกต่ าเสียเถดิ ” แล้วหลวงปู่ก็ลืมตาดู ส่ิงท่ีปรากฏอยู่ตรงหน้าคือ “งูใหญ ่ ตวั ยาวหลายวา หวั ขนาดเกอื บเทา่ ลกู มะพรา้ ว นยั นต์ าแดงฉาน แลบ ล้ินแปลบๆ ชคู อจ้องอยูเ่ บอื้ งหนา้ แค่วาเดยี ว” 117 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
หลวงปู่ตกตะลึง นั่งตัวแข็ง เพราะคาดไม่ถึงว่าจะเจองูยักษ์ ขณะทที่ า่ นคดิ หาทางออกอยนู่ น้ั กพ็ ลนั ระลกึ ถงึ คณุ พระรตั นตรยั สติ กลบั คนื มา แลว้ กห็ ลบั ตา ตงั้ ใจวา่ พรอ้ มอทุ ศิ รา่ งนใี้ หแ้ กง่ ยู กั ษ ์ จติ จงึ ปล่อยวาง ไม่มีความอาลัยในชีวิตนี้ต่อไป งูยักษ์นิ่งอยู่พักใหญ ่ ไม่ท�ำ อะไรท่าน เมื่อท่านลืมตา งยู ักษ์ก็หายไปแล้ว ในยามทอ่ี นั ตรายมาประชดิ ตวั หากตนื่ ตระหนก ลมื ตวั คดิ แต่ จะตอ่ สปู้ กปอ้ งชวี ติ กลบั เปน็ ผลรา้ ยแกต่ วั เอง ยามนด้ี ที สี่ ดุ คอื การ ตง้ั สต ิ ทำ� กายและใจใหส้ งบนง่ิ แนบแนน่ ในพระรตั นตรยั พรอ้ มตาย ไม่หวงแหนชวี ติ ปลอ่ ยวางทกุ ส่งิ บอ่ ยครงั้ ความกลวั ตายกลบั เรง่ ความตายใหม้ าถงึ เรว็ เขา้ แต่ ทนั ทีทพ่ี รอ้ มตาย กลับรอดพ้นจากความตาย 118
ท า ง ใ ค ร ท า ง ม ั น
หลวงปู่ดูลย์ อตุโล เป็นผู้มีประสบการณ์การปฏิบัติมาอย่าง ยาวนาน จนเจนจบดา้ นกรรมฐาน แจม่ แจง้ ในเรอ่ื งจติ กระทง่ั หลวงปู่ ม่ัน ภูริทตฺโต กล่าวยกย่องว่า “ท่านดูลย์น้ี เป็นผู้ที่มีความสามารถ เปน็ อยา่ งยง่ิ สามารถมสี านศุ ษิ ยแ์ ละผตู้ ดิ ตามมาประพฤตปิ ฏบิ ตั ธิ รรม ดว้ ยเป็นจำ� นวนมาก” เป็นธรรมดาอยู่น่ันเองที่ผู้คนจากทุกสารทิศนับถือท่านเป็น อาจารย ์ แตห่ ลวงปดู่ ลู ยม์ กั ออกตวั วา่ ทา่ นเปน็ เพยี งนกั ปฏบิ ตั เิ ฒา่ ชรา ที่ผ่านประสบการณ์มานาน พอจะเป็นกัลยาณมิตรได้บ้าง พร้อมกับ แนะวา่ ขอให้ถอื ท่านเป็นผู้รว่ มศึกษาหาแนวทางรอดก็พอ 120
ทา่ นไมเ่ คยถอื ใครวา่ เปน็ ศษิ ย์ หรอื ถอื ตวั วา่ เปน็ อาจารยข์ องผใู้ ด ผู้ท่ีใกล้ชิดท่านยืนยันว่าตลอดชีวิตของหลวงปู่ ท่านไม่เคยอ้างหรือ วางตนเป็นครูบาอาจารย์เลย แต่หากใครมีปัญหาการปฏิบัติ ท่านก็ ยนิ ดใี หค้ วามชว่ ยเหลอื ดงั ทที่ า่ นยำ้� อยเู่ สมอวา่ อยา่ ไดร้ รี อลงั เล หรอื เกรงอกเกรงใจท่าน ขอให้ไปพบเพือ่ ไตถ่ ามท่านไดต้ ลอดเวลา เวลาทา่ นใหค้ ำ� แนะนำ� แมก้ ระทง่ั กบั พระทใ่ี กลช้ ดิ คนุ้ เคย ทา่ นก็ ไม่เคย “ฟันธง” หรือก�ำชับว่าต้องทำ� อย่างน้ีๆ เท่านั้น ท่านมักจะพูด ว่า “ผมเข้าใจว่า อย่างน้ีนะ เท่าที่ผมเคยปฏิบัติมา ผมแก้ไขอย่างน้ี ผมทำ� อยา่ งน ี้ คณุ ลองนำ� ไปประกอบการพจิ ารณาด ู อาจจะไดข้ อ้ คดิ วา่ ควรปฏบิ ตั ิของตนอย่างไร” ทา่ นไมเ่ คยยนื ยนั วา่ วธิ กี ารของทา่ นเทา่ นน้ั ทถ่ี กู ขณะเดยี วกนั ก็ เปดิ โอกาสหรอื สง่ เสรมิ ใหล้ กู ศษิ ยไ์ ดน้ ำ� ไปไตรต่ รองพจิ ารณาดว้ ยตนเอง เพื่อหาวิธีการที่เหมาะสมกับตนเอง ทั้งนี้เพราะท่านตระหนักดีว่า คนเรานั้นแตกต่างกัน แม้มีปัญหาเหมือนกัน แต่สาเหตุอาจต่างกัน หรือถึงจะมีสาเหตุเหมือนกัน แต่วิธีการที่เหมาะสมส�ำหรับแต่ละคน ยอ่ มแตกตา่ งกนั ไม่มสี ตู รส�ำเร็จตายตัว บางครง้ั ทา่ นกเ็ อาประสบการณข์ องครบู าอาจารยเ์ ชน่ หลวงปมู่ น่ั มาเล่าให้ฟัง แต่ก็ย้�ำว่าผู้ปฏิบัติพึงพิจารณาหรือค้นหาทางออก เอาเอง “ท่านอาจารย์ใหญ่เคยแนะไว้อย่างน้ี ผมก็พบมาและแก้ไข 121 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
ตวั เอง แตข่ องคณุ จะเปน็ อย่างไร ลองเอาไปเทยี บเคยี งด ู เพราะธรรม ของใครกข็ องมนั ธรรมของพระพทุ ธเจา้ กข็ องพระพทุ ธเจา้ ของทา่ น อาจารย์ใหญ่ก็ของท่านอาจารย์ใหญ่ ของผมก็ของผม และธรรม ของคุณก็ของคุณ แม้มีเป้าหมายเดียวกันแต่ก็ไม่เหมือนกัน ทางใคร ทางมัน” ค�ำพูดดังกล่าวนอกจากสะท้อนถึงปัญญาญาณของท่าน ซ่ึง มองเหน็ แจม่ แจง้ วา่ การปฏบิ ตั ธิ รรมนนั้ มคี วามหลากหลายและละเอยี ด อ่อน ไม่มีสูตรส�ำเร็จส�ำหรับทุกคน หรือทางออกที่ครอบจักรวาล ยงั แสดงถงึ ความถอ่ มตนของทา่ น คอื ไมป่ กั ใจวา่ ความเหน็ หรอื วธิ กี าร ของท่านเท่านั้นท่ีถูก แก้ปัญหาของทุกคนได้ พร้อมกันนั้นก็เช่ือว่า แต่ละคนมีศักยภาพหรือความสามารถที่จะค้นพบวิธีการอันเหมาะกับ ตนเองได้ ใช่หรือไม่ว่าเหล่าน้ีคือคุณสมบัติอันส�ำคัญของปราชญ์และ คร ู ผู้เปน็ กัลยาณมติ รอันประเสรฐิ 122
“พดู เลน่ ไมม่ ี พดู ดไี มเ่ ปน็ ” คนในแวดวงพระสงฆท์ รงสมณศกั ดิ์ สมัยรัชกาลท่ี ๗ ย่อมเข้าใจดีว่าประโยคดังกล่าวหมายถึงอะไร ข้อความแรกน้ันหมายถึงอุปนิสัยของ “สมเด็จฯ วัดเทพศิรินทร์” หรือ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวโร) ซ่ึงภายหลัง ไดเ้ ปน็ ประธานกรรมการมหาเถรสมาคมและบญั ชาการคณะสงฆแ์ ทน สมเด็จพระสังฆราชเจ้า ส่วนข้อความหลังหมายถึงอุปนิสัยของ “สมเดจ็ ฯ วดั บวร” หรอื สมเดจ็ พระวชริ ญาณวงศ ์ (ม.ร.ว. ชนื่ สจุ ติ โฺ ต) ซง่ึ ต่อมาไดเ้ ปน็ สมเด็จพระสังฆราชเจา้ กรมหลวงวชริ ญาณวงศ์ 124
สมเดจ็ ฯ วดั บวรนนั้ ทรงเปน็ คนตรง พดู จาโผงผาง สว่ นสมเดจ็ ฯ วดั เทพศริ นิ ทรน์ น้ั เปน็ คนสภุ าพเรยี บรอ้ ย พดู จานมุ่ นวล แมอ้ ปุ นสิ ยั จะแตกต่างกัน แตต่ า่ งก็เคารพและนับถือซง่ึ กนั และกัน สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ) ได้รับการยกย่องว่าเป็น ปราชญ์ผู้รอบรู้ทางพุทธศาสนา ท่านแสดงความปรีชาตั้งแต่เยาว์วัย เมื่อท่านจากบ้านเกิดคือชลบุรีเข้ามาเรียนปริยัติธรรมในกรุงเทพฯ ก็สอบไล่ภาษาบาลีในมหามกุฏราชวิทยาลัยได้ท่ีหน่ึงทุกปี จนสมเด็จ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ซ่ึงเวลานั้นเป็นพระ อาจารย์ ถึงกับออกพระโอษฐ์รับสั่งว่า ท่านเป็นเสมือน “ช้างเผือก” ทถี่ กู สง่ มาถวายทา่ น นา่ แปลกกต็ รงทปี่ ที ท่ี า่ นเกดิ นน้ั โยมมารดาฝนั วา่ มีผู้น�ำช้างเผือกมาให้ และเมื่อท่านถูกส่งมาเรียนในส�ำนักวัดราชบพิธ เช้าวันนั้นอาจารย์ของท่านคือ พระครูวินัยธร (ฉาย) ก็ฝันว่ามีผู้น�ำ ช้างเผอื กมาให้เชน่ กัน นอกจากมคี วามรอบรใู้ นทางพระธรรมวนิ ยั แลว้ ทา่ นยงั มคี วาม สามารถในการบริหาร จนได้รับความไว้วางพระราชหฤทัยจากสมเด็จ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส ซงึ่ บญั ชาการการศกึ ษา ในหัวเมือง แต่งต้ังให้เป็นผู้อ�ำนวยการศึกษามณฑลปราจีนบุรี และ เปน็ เจา้ อาวาสวดั เทพศริ นิ ทรต์ ง้ั แตอ่ ายุ ๒๗ ป ี โดยเปน็ พระราชาคณะ ช้ันสามัญท่ีพระอมราภิรักขิต และได้รับเลื่อนสมณศักดิ์เป็นล�ำดับ 125 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
จนไดเ้ ปน็ ทสี่ มเด็จฯ พระพุทธโฆษาจารย์เม่อื อายุเพยี ง ๕๖ ป ี ท่านเปรียบเสมือนมือขวาของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรม พระยาวชริ ญาณวโรรส เปน็ ทป่ี รกึ ษาทางดา้ นวทิ ยาการ และดา้ นการ ปกครองคณะสงฆ์ และเม่ือจวนจะสิ้นพระชนม์ ก็ยังโปรดให้ท่าน ซึ่งตอนน้ันมีสมณศักดิ์ที่พระธรรมไตรโลกาจารย์ เข้าเฝ้าถวายธรรม เปน็ ครงั้ สดุ ทา้ ย ท่านเป็นผู้ท่ีเคร่งครัดในพระธรรมวินัยมาก รวมทั้งข้อวัตรอ่ืนๆ เชน่ สวดมนตไ์ หวพ้ ระประจ�ำวนั ทกุ เชา้ เยน็ ไมข่ าดถา้ ไมจ่ ำ� เปน็ ยงิ่ การ ฟังปาฏิโมกขท์ กุ กงึ่ เดือนดว้ ยแล้ว ตั้งแต่อปุ สมบทจนถงึ วนั มรณภาพ ท่านขาดเพียง ๒ ครั้ง แม้อาพาธหนักไม่สามารถจะลุกนั่งหรือพลิก ตัวเองได้แล้ว ท่านก็ยังอยากลงฟังปาฏิโมกข์ให้ได้แต่ก็สุดวิสัยที่ จะท�ำได้ ในด้านความสุภาพอ่อนน้อม ไม่ถือตัวของท่าน เป็นที่เล่ืองลือ มาก คราวหนงึ่ ทา่ นไดเ้ ดนิ ทางไปเยย่ี มทา่ นพทุ ธทาสภกิ ขถุ งึ สวนโมกข์ ซึ่งตอนน้ันยังอยู่ท่ีพุมเรียง ไม่ได้ย้ายมายังท่ีตั้งในปัจจุบัน เวลานั้น ทา่ นดำ� รงตำ� แหนง่ เปน็ ผบู้ ญั ชาการคณะสงฆแ์ ทนสมเดจ็ พระสงั ฆราช- เจ้า ขณะท่ีท่านพุทธทาสเป็นพระหนุ่มอายุเพียง ๓๑ ปีเท่าน้ัน สวนโมกขก์ เ็ พงิ่ ตงั้ มาได ้ ๕ ป ี แตก่ ติ ตศิ พั ทแ์ ละความสามารถของทา่ น พุทธทาสอยู่ในความรับรู้ของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์โดยตลอด 126
การเยือนสวนโมกข์ของท่านคราวน้ันเป็นเรื่องที่อยู่เหนือความคาด หมายของทุกคน รวมท้ังท่านพุทธทาส ท่านพุทธทาสถึงกับกล่าวว่า “ท่านใช้เกียรติอันสูงสุดของท่านเป็นเดิมพัน เสี่ยงไปเยี่ยมพวกเรา ซึ่งในขณะน้ันก�ำลังถูกคนส่วนใหญ่หาว่าแหวกแนว หรืออุตริวิตถาร หรือถงึ กับว่าหาวา่ สถานท่ีนี้เปน็ ทเ่ี กบ็ พวกพระซึ่งเปน็ บ้าก็ยงั มี” ท้ังๆ ที่ท่านอายุมากแล้วอีกท้ังเดินไม่สะดวก เพราะเท้าพิการ ข้างหน่งึ แต่ทา่ นก็เดินเทา้ จากสถานรี ถไฟไปยงั พุมเรียงเป็นระยะทาง ๖ กิโลเมตร โดยไม่ยอมน่ังรถสามล้อถีบ ท่านให้เหตุผลว่าพระวินัย ไม่อนุญาตให้ภิกษุที่ไม่เจ็บไข้ น่ังรถท่ีลากด้วยสิ่งมีชีวิตไม่ว่าสัตว์หรือ คน ระหว่างที่เดินไปพุมเรียง ท่านเรียกให้ท่านพุทธทาสมาเดิน ติดกันเพ่ือสนทนากันได้สะดวก หลายเรื่องท่ีท่านปรารภน้ันน่าสนใจ มาก เช่น “อรรถเล้นลับของวินัยบางข้อ” รวมทั้งแนะน�ำให้ท่านรู้จัก วิธีถือยา่ มเพื่อไมใ่ หเ้ หงื่อจากแขนเปอ้ื นดา้ นในของยา่ มซง่ึ ซักยาก เมอ่ื ถงึ สวนโมกข ์ ทา่ นกป็ รับตวั เข้ากบั ชวี ติ ทเี่ รยี บง่ายแบบปา่ ๆ ของสวนโมกข์ได้อย่างง่ายดาย ไม่ว่า การสรงน�้ำ หรือการถ่ายทุกข์ ตกค่�ำท่านก็จ�ำวัดบนเตียงท่ีท่านพุทธทาสใช้นอนประจ�ำ และจัดว่า ดีท่ีสุดของสวนโมกข์ น่ันคือ “ห้ิงติดกับฝาในกระท่อมแบบสวนโมกข ์ ทที่ �ำขึ้นล้วนแต่ขนาดส�ำหรับคนคนเดียว” 127 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
รุ่งเช้าเมื่อถึงเวลาฉัน มีชาวบ้านจ�ำนวนมากมายน�ำอาหารมา เล้ียงพระ ท่านพุทธทาสเล่าถึงบรรยากาศตอนนั้นว่า “สังเกตด ู ทกุ คนตอ้ งการจะไดโ้ อกาสประเคนทา่ นดว้ ยกนั ทงั้ นน้ั ทา่ นสงั เกตเหน็ อาการอนั นแี้ ละยนิ ดรี บั สนองความตอ้ งการ จงึ เรยี กใหเ้ ขา้ มาประเคน ท่านโดยตรง ทุกคนดูยิ้มแย้มเบิกบานด้วยกันท้ังน้ัน แต่ท่านต้อง รับประเคนร่วมร้อยครั้งท้ังส�ำรับและสายปิ่นโต ข้าพเจ้าขอร้องให้ บางคนงดเสีย เพราะเห็นมากเกินไป และรู้สึกเมื่อยมือแทนท่าน แต่ท่านเรียกให้เข้าไปจนได้ เป็นอันว่าท่านยอมเหน่ือย ‘เพ่ือให้เขา สบายใจ’ ซึ่งท่านได้บอกยืนยันกับข้าพเจ้าในตอนหลังว่า นั่นเป็น สิง่ ท่ีควรท�ำ” หลังจากเหตุการณ์คร้ังนั้นทั้งสองท่านก็ได้มีการติดต่อกันอีก หลายคร้ัง โดยสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ให้ความเป็นกันเองแก่ท่าน พทุ ธทาสอยา่ งมาก จนทา่ นพทุ ธทาสไดก้ ลา่ วในภายหลงั วา่ “ทา่ นอย่ ู ในฐานะสูงสุด แต่ท่านแสดงออกมาคล้ายกะว่า อยู่ในฐานะท่ีไล่เลี่ย กัน อันเป็นสิ่งที่ท�ำให้ข้าพเจ้าถึงกับสะดุ้งได้อีกเร่ืองหนึ่ง ในหลายๆ เร่ือง” มีคราวหน่ึงท่านพูดถึงการสอนอนัตตาของท่านพุทธทาสภิกขุ วา่ “แหม เอากนั ถงึ ขนาดนน้ั เทยี วนะ” สหี นา้ ยม้ิ แยม้ ของทา่ นขณะท่ี พูดท�ำให้ท่านพุทธทาส ถึงกับ “ตัวลอย” เพราะรู้ว่าน้ีไม่ใช่ค�ำต่อว่า อย่างแน่นอน บางเร่ืองท่านก็พูดว่า “เรื่องน้ีฉันอยากให้เธอเอาไป พดู ต่อ เพราะเชือ่ วา่ เธอจะพดู ได้ผลดีกว่าฉัน” 128
ปราชญ์ย่อมเข้าใจปราชญ์ด้วยกัน นี้คงเป็นเหตุผลหนึ่งท่ีท่าน พุทธทาสสามารถเผยแพร่พุทธธรรมด้วยวิธีการที่แหวกแนวได้อย่าง อสิ ระ โดยไมถ่ กู คณะสงฆข์ ดั ขวางหรอื เอาผดิ ทง้ั ๆ ทมี่ ตขิ องทา่ นหลาย อยา่ งสวนทางกบั คำ� สอนทแ่ี พร่หลายในเวลานน้ั อุปนิสัยที่โดดเด่นของท่านอีกอย่าง คือ ความอดกลั้น และ ความสงบเสงี่ยม กล่าวแต่ค�ำสุภาพ ไม่เคยพูดค�ำหยาบ หรือเสียดสี กระทบกระทงั่ ใคร ทา่ นเคยปรารภเปน็ เชงิ สอนวา่ “คนเรานน้ั มอี าวธุ พเิ ศษสำ� หรบั ปอ้ งกนั ตวั อยา่ งหนง่ึ คอื นงิ่ ไมต่ อ่ ปากตอ่ คำ� ตอ่ ความ ยาวสาวความยดื อนั เปน็ เหตใุ หเ้ รอื่ งนน้ั ๆ ไมส่ ดุ สน้ิ ” ปฏปิ ทานท้ี า่ น ถือมาโดยตลอด จึงเป็นท่ีรักและเคารพของของผู้คน ท้ังพระและ ฆราวาส ทัง้ ผู้ใหญ่และผนู้ ้อย เม่ือมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองคณะสงฆ์ตามพระราช บัญญัติปี ๒๔๘๔ ท่านได้ด�ำรงต�ำแหน่งสังฆนายก บริหารการคณะ สงฆ์ได้อย่างเรียบร้อยและราบรื่น แม้ครบวาระแล้ว ท่านก็ยังได้รับ แต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งสังฆนายกอีกวาระ จนมรณภาพในต�ำแหน่ง ใน พ.ศ. ๒๔๙๔ 129 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจรญิ ญาณวโร) นามเดิม เจริญ สุขบท กำ� เนิด ๙ กรกฎาคม ๒๔๑๕ สถานที่เกดิ อำ� เภอบางปลาสร้อย จังหวัดชลบรุ ี อุปสมบท พ.ศ. ๒๔๓๕ ณ วัดเขาบางทราย อำ� เภอเมือง จังหวัดชลบุรี มรณภาพ ๘ มิถุนายน ๒๔๙๔ สริ ิอาย ุ ๘๐ ปี เม่ืออายุได้ ๑๒ ปี ท่านได้บรรพชาเป็นสามเณรที่ศาลาในสวนของย่า เมอื่ อาย ุ ๑๔ ป ี ไดย้ า้ ยไปศกึ ษาในสำ� นกั ของพระครวู นิ ยั ธร (ฉาย) ฐานานกุ รม ในพระวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ พระอรณุ นภิ าคณุ ากร จนอายไุ ด ้ ๒๐ ป ี จงึ กลบั ไปอปุ สมบททว่ี ดั เขาบางทราย โดยพระชลโธปมคณุ มนุ ี (พฒุ ปณุ ณฺ โก) เปน็ พระอปุ ชั ฌาย์ หลังอุปสมบทได้ย้ายไปอยู่วัดกันมาตุยารามเป็นเวลา ๔ ปี แล้วย้าย ไปศึกษากับพระเทพกวี (อ่อน อหึสโก) วัดพิชยญาติการามวรวิหาร จนปี พ.ศ. ๒๔๓๙ จงึ สอบไดบ้ าเรยี นตร ี (เทยี บเทา่ เปรยี ญธรรม ๔ ประโยค) แลว้ ยา้ ยมาอยวู่ ดั เทพศริ นิ ทราวาส ในปรี ะกา พ.ศ. ๒๔๔๐ เพอื่ ศกึ ษาพระวนิ ยั ปฎิ ก จากพระเจา้ นอ้ งยาเธอ กรมหมน่ื วชริ ญาณวโรรส และในปเี ดยี วกนั นนั้ กส็ อบ ได้บาเรียนเอก (เทยี บเท่าเปรียญธรรม ๗ ประโยค) พ.ศ. ๒๔๖๔ ทา่ นไดเ้ ปน็ พระราชาคณะเจา้ คณะรองคณะธรรมยตุ กิ นกิ าย ทพี่ ระสาสนโสภณ พ.ศ. ๒๔๗๑ เปน็ สมเดจ็ พระราชาคณะ เจา้ คณะใหญห่ นเหนอื ท ี่ สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย ์ ๕ ปตี อ่ มาไดร้ บั แตง่ ตง้ั เปน็ ประธานกรรมการ มหาเถร- สมาคม พ.ศ. ๒๔๘๙ ได้รับแต่งต้ังเป็น สังฆนายกและใน พ.ศ. ๒๔๙๓ ได้รับ แตง่ ตง้ั เปน็ สังฆนายก สมัยท ี่ ๒ จนมรณภาพ
สมเด็จพระมหาวีรวงศ ์ (อ้วน ติสโส) วัดบรมนวิ าส กรุงเทพฯ นามเดิม อว้ น แสนทวสี ขุ กำ� เนิด ๒๑ มีนาคม ๒๔๑๐ สถานทเ่ี กดิ บา้ นแคน อำ� เภอเมือง จงั หวัดอบุ ลราชธานี อุปสมบท ๒๐ มนี าคม ๒๔๓๐ ณ วดั ศรีทอง (วนั ศรีอุบลรตั นาราม) อำ� เภอเมือง จงั หวดั อบุ ลราชธานี มรณภาพ ณ วัดบรมนวิ าส ๒๖ มกราคม ๒๔๙๙ สริ ิอายุ ๘๙ ปี เมื่ออุปสมบทแล้ว ท่านได้เล่าเรียนอักษรสมัยและพระปริยัติธรรม ที่ ส�ำนักเรียนวัดศรีทอง อ�ำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี ใน ปี พ.ศ. ๒๔๓๓ ได้ย้ายส�ำนักเข้ามาศึกษาเล่าเรียนในกรุงเทพฯ จนสอบไล่ได้ เปรียญธรรม ๕ ประโยค ต่อมาได้กลับไปเป็นเจ้าอาวาสวัดสุปัฏวนาราม อำ� เภอเมือง จงั หวดั อบุ ลราชธานี พ.ศ. ๒๔๔๖ ท่านเป็นก�ำลังส�ำคัญในการส่งเสริมการศึกษาพระปริยัติธรรมในภาค อีสาน จึงเจริญก้าวหน้าในราชการคณะสงฆ์เป็นล�ำดับ กล่าวคือ ด�ำรง ต�ำแหน่งเจ้าคณะมณฑลอีสาน พ.ศ. ๒๔๔๗ อันเป็นปีเดียว และเจ้าคณะ- มณฑลนครราชสีมา พ.ศ. ๒๔๖๙ ท่านได้ย้ายมาเป็นเจ้าอาวาสวัดบรมนิวาสเม่ือ พ.ศ. ๒๔๗๕ และได้รับ พระราชทานสมศกั ดเิ์ ปน็ สมเดจ็ พระมหาวรี วงศ ์ ในป ี พ.ศ. ๒๔๘๒ ตอ่ มาไดร้ บั แตง่ ตง้ั เปน็ สงั ฆนายกรปู แรกของประเทศไทย ตามพระราชบญั ญตั คิ ณะสงฆ์ ไทยปี พ.ศ. ๒๔๘๔
พระอาจารยพ์ รหมวงั โส เปน็ พระชาวองั กฤษศษิ ยห์ ลวงพอ่ ชา สภุ ทโฺ ท ไมใ่ ช่เรือ่ งงา่ ยเลยทบี่ ัณฑติ จากมหาวิทยาลยั เคมบริดจ์ จะมา ใชช้ วี ติ อยา่ งพระปา่ ในภาคอสี าน ซงึ่ มวี ถิ ชี วี ติ แตกตา่ งจากชาวตะวนั ตก มาก มีประสบการณ์หลายอย่างท่ีน่ันซ่ึงท่านไม่เคยเจอะเจอมาก่อน ในอังกฤษ ประสบการณอ์ ยา่ งหนง่ึ ทท่ี า่ นจ�ำไดไ้ มล่ มื เลยเกดิ ขน้ึ ขณะทที่ า่ น บวชไดเ้ พยี งปเี ดยี ว มงี านฉลองในหมบู่ า้ น ๓ วนั ๓ คนื เปน็ ธรรมดา ของชาวบ้านที่เม่ือมีมหรสพ ก็จะเปิดเสียงดังเต็มท่ี ราวกับจะเผื่อแผ่ ใหค้ นทงั้ หมบู่ า้ นไดร้ ว่ มสนกุ สนานดว้ ย ปรากฏวา่ เสยี งดนตรดี งั กระหม่ึ ไปถึงวัด ซ่ึงอยู่ห่างไป ๑ กิโลเมตร ไม่มีมุมไหนของวัดที่เสียงดนตรี นน้ั จะทลวงไปไมถ่ ึง 133 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
กลางค่�ำกลางคืน เสียงมหรสพก็ยังดังไม่หยุด ยิ่งดึก เสียงก็ ยิ่งดังจนถึงรุ่งเช้า พระทั้งวัดนอนแทบไม่ได้เอาเลย วันรุ่งข้ึนพระ ในวัดจึงขอร้องผู้ใหญ่บ้านว่าถ้ามหรสพยุติราวตีหน่ึง จะได้ไหม เพื่อ ให้พระมีเวลาหลับสัก ๒ ช่ัวโมง ก่อนท่ีจะลุกข้ึนมาท�ำวัตรตอนตีสาม แต่ผู้ใหญ่บ้านกลบั ปฏเิ สธ พระในวัดไม่มีท่ีพ่ึงอ่ืนใดนอกจากหลวงพ่อชา จึงพากันไป ขอรอ้ งทา่ นใหบ้ อกชาวบา้ นชว่ ยหรเ่ี สยี งตอนตหี นง่ึ เพราะเชอ่ื วา่ ผใู้ หญ่ บา้ นตอ้ งเกรงใจหลวงพอ่ แนๆ่ อกี ทง้ั หลวงพอ่ คงไมเ่ หน็ ดดี ว้ ยกบั ความ สนุกสนานที่ไม่รู้จักเวล�่ำเวลา แถมส่งเสียงดังท�ำลายความสงบสงัด ของวดั ป่า แต่แทนที่หลวงพ่อจะเห็นด้วยกับพระในวัด ท่านกลับบอกว่า “เสยี งไมไ่ ดร้ บกวนทา่ น ทา่ นตา่ งหากทรี่ บกวนเสยี ง” นเี้ ปน็ สงิ่ ทพี่ ระ พรหมวังโสและเพ่ือนพระไม่คาดคิด แต่ค�ำพูดของหลวงพ่อท�ำให้ พระเหล่านั้นได้คิดว่า เสียงก็เป็นสักว่าเสียง จะดังแค่ไหนก็ไม่ท�ำให้ เราทุกข์ใจได้เลย หากไม่ทะเลาะเบาะแว้งกับมัน หากวางใจเป็นกลาง ต่อเสยี งนัน้ ก็ไมร่ สู้ กึ เปน็ ทกุ ขแ์ ต่อย่างใด พระอาจารยพ์ รหมวงั โสพดู ถงึ ประสบการณค์ รงั้ นนั้ วา่ แมเ้ สยี ง มหรสพยงั ดงั อยใู่ นห ู แตไ่ มร่ บกวนจติ ใจของพระในวดั อกี ตอ่ ไป เพราะ 134
ต่างท�ำใจยอมรับได้กับส่ิงที่เกิดข้ึน จะว่าไปมันก็แค่ ๓ วันเท่าน้ัน ไมน่ านมนั กผ็ า่ นไป ในยามทกุ ขใ์ จ ผคู้ นมกั โทษสงิ่ ภายนอก แตก่ ลบั ไมต่ ระหนกั วา่ แทจ้ รงิ แลว้ สาเหตขุ องความทกุ ขน์ น้ั อยทู่ ใี่ จตนเองตา่ งหาก นน่ั เปน็ เพราะวา่ เราชอบสง่ จติ ออกนอก จนลมื กลบั มาดใู จของตน หลวงพอ่ ชา ชี้ให้เห็นนิสัยของคนส่วนใหญ่อย่างชัดเจนเม่ือท่านกล่าวว่า “คน ตงั้ รอ้ ยพนั คน โทษวา่ รมู นั ลกึ เพราะลว้ งไปไมถ่ งึ ทจี่ ะวา่ แขนของตนสนั้ นั้นไมค่ ่อยมี” 135 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
พระวิสุทธสิ ังวรเถร (พรหมวโํ สภิกฺขุ) นามเดมิ ปีเตอร์ เบ็ตส์ ก�ำเนิด ๗ สงิ หาคม ๒๔๙๔ ชาตภูม ิ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ท่านได้หันมานับถือพุทธศาสนาในช่วงท่ีศึกษาที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ เม่ืออายุได้ ๒๓ ปี ได้อุปสมบทที่วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร โดยมีสมเด็จ พระพฒุ าจารย ์ (เกย่ี ว อปุ เสโณ) เปน็ พระอปุ ชั ฌาย ์ ไดฉ้ ายาวา่ “พรฺ หมฺ วโํ ส” จากนั้นจึงได้ฝากตัวเป็นศิษย์ของพระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) แล้วได้รับ อาราธนาจากคณะศิษย์ของหลวงพ่อชาในประเทศออสเตรเลีย ให้ไปต้ัง วัดโพธิญาณในประเทศออสเตรเลยี เมือ่ พ.ศ. ๒๕๒๖ เม่ือเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ท่านได้เป็นพระกรรมวาจาจารย์บวช ภิกษุณี ๔ รูปที่ประเทศออสเตรเลีย ขัดกับความเห็นของคณะสงฆ์สายวัด หนองป่าพง เป็นเหตุให้มีการลงมติขับพระพรหมวังโสออกจากหมู่สงฆ์สาย วดั หนองปา่ พง อกี ทงั้ ตดั วดั โพธญิ าณออกจากความเปน็ วดั สาขาของวดั หนอง- ปา่ พงอกี ดว้ ย
ในยุคน้ีไม่มีศิษย์หลวงปู่มั่นท่านใดที่ผู้คนรู้จักและเคารพนับถือ อยา่ งกวา้ งขวางเทา่ หลวงตามหาบวั าณสมปฺ นโฺ น หรอื พระธรรม- วิสุทธิมงคล ขณะเดียวกันท่านก็เป็นผู้ที่มีส่วนส�ำคัญในการท�ำให้ สาธชุ นทง้ั ประเทศรู้จักหลวงปมู่ ่ันและเลือ่ มใสปฏปิ ทาของทา่ น หลวงตามหาบัวได้ยินกิตติศัพท์ของหลวงปู่ม่ันต้ังแต่ยังเด็ก เพราะหลวงปเู่ คยมาจำ� พรรษาทอ่ี ำ� เภอบา้ นผอื จงั หวดั อดุ รธาน ี ไมไ่ กล จากบ้านเกิดของท่าน ต่อมาเม่ือท่านอุปสมบทเพื่อทดแทนบุญคุณ พ่อแม่ตามประเพณี ได้ศึกษาพุทธประวัติและประวัติพระอรหันต์แล้ว กเ็ กดิ ความเลอ่ื มใสในพทุ ธศาสนาอยา่ งจรงิ จงั ปรารถนาความพน้ ทกุ ข์ 138
แต่ท่านเห็นว่าควรศึกษาปริยัติธรรมก่อน จะได้เข้าใจวิธีการปฏิบัติ เจด็ พรรษาแรกของทา่ นจงึ เปน็ ชว่ งแหง่ การเลา่ เรยี นปรยิ ตั ธิ รรม เมอ่ื สำ� เรจ็ เปรยี ญธรรม ๓ ประโยค ทา่ นกม็ งุ่ หนา้ สกู่ ารปฏบิ ตั อิ ยา่ งเตม็ ท่ี โดยบุคคลแรกและบุคคลเดียวที่ท่านปรารถนาให้เป็นครูบาอาจารย์ กค็ อื หลวงปู่ม่ัน ภรู ทิ ตโฺ ต ท่านได้จาริกข้ามจังหวัดจนได้พบหลวงปู่ม่ันท่ีจังหวัดสกลนคร ซงึ่ ตอนนน้ั อยใู่ นชว่ งปจั ฉมิ วยั แลว้ เมอ่ื ไดศ้ กึ ษากบั ทา่ นกร็ สู้ กึ ประทบั ใจ และม่ันใจว่า “นี่แหละอาจารย์ของเรา” ท่านจึงตั้งสัจจะอธิษฐานวา่ จะไมห่ นจี ากหลวงปมู่ นั่ จนกระทง่ั วนั ทท่ี า่ นลว่ งลบั หลวงปมู่ นั่ แนะน�ำ พระหนุ่มว่าให้ยกปริยัติไว้ก่อนแล้วการปฏิบัติจะประสานกลมกลืม นับแต่น้ันท่านก็ท�ำความเพียรอย่างจริงจัง หักโหมท้ังร่างกายและ จิตใจ น่ังสมาธิจนถึงรุ่งเช้าติดต่อกันหลายวันอยู่เนืองๆ เป็นเช่นนี้ ตลอดสองพรรษาแรกท่ีได้อยู่กับหลวงปู่ม่ัน เม่ือถึงพรรษาท่ีสิบแห่ง การบวช จิตของทา่ นก็เปน็ สมาธอิ ยา่ งมน่ั คง ทา่ นไดพ้ ดู ถงึ ภาวะตอนนน้ั วา่ “สมาธมิ คี วามแนน่ หนามนั่ คง ถงึ ขนาดทวี่ า่ จะใหแ้ นว่ อยใู่ นสมาธนิ น้ั สกั กช่ี ว่ั โมงกอ็ ยไู่ ด ้ และเปน็ ความสขุ อยา่ งยงิ่ จากการทจี่ ติ ใจไมฟ่ งุ้ ซ่าน รำ� คาญ ไมอ่ ยากจะออกยงุ่ กบั อะไร เลย ตากไ็ ม่อยากด ู หกู ไ็ มอ่ ยากฟัง เพราะมันเป็นการยุง่ รบกวนจิตใจ ให้กระเพื่อมเปลา่ ๆ” 139 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
ทา่ นเลา่ วา่ “เราตดิ สมาธอิ ยถู่ งึ ๕ ป ี จติ สงบแนว่ แน ่ ไมห่ วนั่ ไหว ด่ังภูผาหิน อยู่ที่ไหนสงบสบายหมด” ความสุขท่ีเกิดขึ้นจากสมาธิ ทำ� ใหท้ า่ นเขา้ ใจวา่ “นลี่ ะจะเปน็ นพิ พาน” ทา่ นจงึ หยดุ นงิ่ ไมก่ า้ วสกู่ าร เจรญิ ปญั ญา เพอื่ ถอดถอนกเิ ลสใหส้ น้ิ ซาก ไมว่ า่ จารกิ ไปไหน จติ ของ ทา่ นกแ็ น่วแน่อยู่ในสมาธิ อาการดงั กลา่ วอยใู่ นความรบั รขู้ องหลวงปมู่ น่ั โดยตลอด วนั หนงึ่ ท่านจึงเรียกพระมหาบัวมาแล้วถามว่า “เป็นยังไงท่านมหา จิตสงบ ดีอยู่เหรอ ?” “สงบดีอยู่ สงบดอี ยคู่ รบั ” หลวงปมู่ น่ั นง่ิ สกั พกั กถ็ ามอกี วา่ “เปน็ ยงั ไงจติ สงบดอี ยเู่ หรอ ?” “สงบดีอยู่ครบั ” และแลว้ หลวงปมู่ นั่ กพ็ ดู เสยี งแขง็ สหี นา้ เอาจรงิ “ทา่ นจะนอน ตายอยนู่ ่นั เหรอ ?” “สมาธิมันเหมือนหมูข้ึนเขียง มันถอดถอนกิเลสตัณหาที่ตรง ไหน? สมาธทิ ง้ั แทง่ เปน็ สมทุ ยั ทง้ั แทง่ ทา่ นรไู้ หม? สขุ ในสมาธเิ ทา่ กบั เน้อื ติดฟัน เนือ้ ติดฟันเรามนั เปน็ สขุ ที่ไหน ? ทา่ นรไู้ หม ?” 140
ฝ่ายพระหนุ่มก็แย้งว่า “ถ้าว่าสมาธิเป็นสมุทัยท้ังแท่ง แล้ว สัมมาสมาธจิ ะใหเ้ ดนิ ทไี่ หนในมรรคแปด” หลวงปู่มั่นตอบว่า “มันก็ไม่ใช่สมาธิตายนอนตายอยู่อย่างนี้ซ ิ สมาธิของพระพุทธเจ้า ไม่ได้เป็นเหมือนสมาธิแบบหมูข้ึนเขียงอย่าง ทา่ นนน่ี ะ สมาธขิ องพระพทุ ธเจา้ สมาธติ อ้ งรสู้ มาธ ิ ปญั ญาตอ้ งรปู้ ญั ญา อนั นมี้ นั เอาสมาธเิ ปน็ นพิ พานเลย มนั บา้ สมาธนิ ี่ สมาธนิ อนตายอยนู่ ี้ เหรอ เปน็ สัมมาสมาธินะ่ เอา้ ๆ พูดออกมาซิ” การสนทนาแบบร้อนแรงอย่างนี้ไม่ได้เกิดข้ึนบ่อยในส�ำนักของ หลวงปู่ม่ัน หลวงตามหาบัวเล่าว่า ตอนน้ันพระทั้งวัดแตกฮือกันมา ยืนอออยู่ใตถ้ ุนกฏุ ิ เพอื่ ฟังการโต้เถียงระหว่างทา่ นกับหลวงปมู่ ่ัน หลังจากท่ีโดนอาจารย์ส่ังสอนอย่างแรง พระหนุ่มก็ได้คิด หลวงตามหาบัวพูดถึงความรู้สึกตอนนั้นว่า “พอท่านซัดเอา เราก ็ หมอบ พอลงมาจากกุฏิท่านแล้วก็มาต�ำหนิตัวเอง เราท�ำไมจึงไปซัด กับท่านอย่างน้ี เรามาหาท่านเพ่ือหวังเป็นครูเป็นอาจารย์ มอบกาย ถวายตวั กบั ทา่ นแลว้ แลว้ ทำ� ไมจงึ ตอ่ สกู้ บั ท่านแบบนล้ี ะ่ ถา้ เราเกง่ มา หาทา่ นทำ� ไม ถ้าไม่เก่ง ไปเถยี งทา่ นทำ� ไม” นบั แตน่ นั้ ทา่ นกอ็ อกจากสมาธ ิ หนั มาพจิ ารณาธาตขุ นั ธ ์ ปญั ญา ก็เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เพราะมีสมาธิเป็นฐานอยู่แล้ว ท�ำให้ 141 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
สามารถแก้กิเลสได้เป็นล�ำดับ ท่านได้เห็นด้วยตัวเองว่า กิเลสน้ัน แก้ไม่ได้ด้วยสมาธิ แต่ต้องแก้ด้วยปัญญาต่างหาก ข้อสรุปดังกล่าว ท�ำให้การท�ำกรรมฐานของท่านก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง จนสามารถ ร้ือถอนกเิ ลสได้ในท่สี ดุ เมื่อย้อนระลึกถึงเหตุการณ์คร้ังน้ัน หลวงตามหาบัวกล่าวด้วย ความซาบซ้ึงในบุญคุณของหลวงปู่มั่นว่า “หากไม่มีท่านอาจารย์มั่น มาฉดุ มาลากออกไป ก็จะติดสมาธอิ ย่เู ชน่ นก้ี ระทัง่ วันตายเลยทีเดยี ว” 142
หลวงตามหาบัว ญาณสมั ปันโน นามเดมิ บัว โลหติ ด ี ก�ำเนิด ๑๒ สงิ หาคม ๒๔๕๖ ชาตภมู ิ บ้านตาด อ�ำเภอหมากแข้ง จังหวดั อุดรธานี อุปสมบท ๑๒ พฤษภาคม ๒๔๗๗ ณ วดั โยธานิมติ อ�ำเภอหมากแขง้ จังหวดั อุดรธานี สมณศกั ดิ์ พระธรรมวสิ ทุ ธมิ งคล มรณภาพ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๔ สริ อิ ายุได้ ๙๗ ป ี พรรษา ๗๖ ทา่ นเปน็ หนงึ่ ในศษิ ยผ์ ใู้ กลช้ ดิ ของหลวงปมู่ นั่ ภรู ทิ ตั โต มโี อกาสอปุ ฏั ฐาก รับใช้หลวงปู่ม่ันในช่วงปัจฉิมวัย หลวงตามหาบัวเป็นท่ีรู้จักในฐานะพระนัก ปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานผู้มีปฏิปทาท่ีมั่นคง แน่วแน่ เด็ดขาด และจริงจัง บรรดาศษิ ยานศุ ษิ ยข์ องหลวงปมู่ ัน่ ตา่ งนับถือกันว่าทา่ นเปน็ ลูกศิษย์องคห์ น่งึ ทม่ี ีปฏิปทาทีค่ ลา้ ยคลงึ กับหลวงปู่มนั่ ภรู ทิ ัตโต ท่านมีผลงานการประพันธ์ท่ีรวบรวมเป็นหนังสือหลายเล่ม อาทิ ประวัติท่านพระอาจารย์ม่ัน ภูริทัตตเถระ นอกจากนั้นยังมีหนังสือเก่ียวกับ ธรรมะขน้ั พน้ื ฐานสำ� หรบั ผเู้ รม่ิ ตน้ ปฏบิ ตั ิ อาท ิ ศาสนธรรมปลกุ คนใหต้ นื่ , แวน่ สอ่ งธรรม, ธมั มะในลขิ ติ หนงั สอื เกย่ี วกบั ธรรมะขน้ั สงู สำ� หรบั ผฝู้ กึ จติ ตภาวนา เพอื่ มรรคผลนพิ พานโดยเฉพาะ อาท ิ กา้ วเดนิ ตามหลกั ศาสนธรรม, รากแกว้ ของศาสนา
หลวงพอ่ คำ� เขยี น สวุ ณโฺ ณ ออกบวชเมอื่ อาย ุ ๓๑ ป ี จดุ เปลยี่ น สำ� คญั เกดิ ขน้ึ หลงั จากไดไ้ ปปฏบิ ตั ธิ รรมกบั หลวงพอ่ เทยี น จติ ตฺ สโุ ภ ท่ี วัดป่าพุทธยาน จังหวัดเลย ก่อนหน้านั้นท่านชอบภาวนาแนวสมถะ คือมุ่งความสงบ อยากน่ังนิ่งๆ จนบ่อยคร้ังรู้สึกเพลิดเพลินในนิมิต ทเี่ กิดข้นึ ครั้นมาภาวนากับหลวงพ่อเทียน ท่านสอนให้หมั่นรู้สึกตัว อยู่เสมอ โดยก�ำหนดรู้อยู่กับการยกมือเป็นจังหวะ ไม่ให้เข้าไปอยู่ใน ความสงบ ซึ่งสวนทางกับวิธีการท่ีท่านฝึกมา ทีแรกก็ไม่อยากท�ำ นึกคัดค้านในใจ แต่หลังจากได้รับการยืนยันจากหลวงพ่อเทียนว่า 145 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
หากท�ำจริงๆ จิตใจจะเปลี่ยนไปจากเดิม ท่านจึงปลงใจปฏิบัติตาม ค�ำสอนของหลวงพ่อเทียนอย่างจริงจงั หลงั จากปฏบิ ตั ธิ รรมไมถ่ งึ หนงึ่ เดอื นกบั หลวงพอ่ เทยี น ทา่ นเกดิ ความเปลย่ี นแปลงทางจติ จงึ ตดั สนิ ใจออกบวช และปฏบิ ตั กิ บั หลวงพอ่ เทยี นอยา่ งตอ่ เน่อื ง วันหน่ึงขณะที่ท่านก�ำลังปฏิบัติอยู่ในกุฏิ หลวงพ่อเทียนได้เดิน มาทีห่ นา้ ประตูซง่ึ ปดิ อยู ่ แล้วถามว่า “อยนู่ ีห่ รอื ?” “อยคู่ รับหลวงพอ่ ” “ทำ� อะไร ?” “สรา้ งจงั หวะ (เจรญิ สติ ทำ� ความรูส้ กึ ตัว) ครบั ” “เหน็ ท้งั ขา้ งนอกทั้งขา้ งในไหม” “ไม่เห็นข้างนอกครับ เห็นแต่ข้างใน” “ถา้ อยากเหน็ ขา้ งนอกท�ำอย่างไร ?” “เปดิ ประตูออกครบั ” “เอา้ ลองเปดิ ประตอู อกมาด”ู พอทา่ นลกุ ไปเปดิ ประตู หลวงพอ่ เทยี นกถ็ ามวา่ “เหน็ ข้างนอก ไหม” ทา่ นตอบว่า “เหน็ ครบั ” 146
“เหน็ ขา้ งในไหม” ทา่ นตอบวา่ “เหน็ ครบั ” แลว้ หลวงพอ่ เทยี น ก็ย�้ำว่า “ให้เห็นท้ังข้างนอกข้างในนะ อย่าให้เห็นแต่ข้างนอกและอย่า ใหเ้ หน็ แต่ขา้ งในนะ ดูตรงกลางๆ น้ีนะ” ท่านคิดอยู่สักพัก ก็นึกไม่ออก ว่าหลวงพ่อเทียนต้องการบอก อะไรท่าน ครั้นลองปฏิบัติดูก็ได้ค�ำตอบ หลวงพ่อเทียนแนะท่านว่า อยา่ คดิ ออกไปข้างนอกและอยา่ เพ่งเขา้ ข้างใน น้ีเป็นบทเรียนทสี่ ำ� คญั สำ� หรบั ทา่ น ทำ� ใหท้ า่ นเนน้ การสรา้ งความรสู้ กึ ตวั รทู้ นั ความคดิ ทเ่ี กดิ ข้ึนภายใน โดยไม่พลัดเข้าไปในความคิดน้ัน รวมท้ังไม่พยายามบังคับ จิตให้สงบ เวลามีอะไรภายนอกมากระทบ ก็รู้แต่ไม่ปล่อยจิตออกไป หรือปรุงแต่งต่อ ค�ำแนะน�ำดังกล่าวช่วยให้ท่านเจริญก้าวหน้าในการ ปฏบิ ัติเป็นลำ� ดับ ภายหลังท่านได้รับมอบหมายจากหลวงพ่อเทียนให้ไปสอน ธรรมตามทต่ี า่ งๆ กอ่ นจะขนึ้ มาอยทู่ วี่ ดั ปา่ สคุ ะโตซงึ่ หลวงพอ่ บญุ ธรรม อตุ ฺตมธมโฺ ม ญาตผิ พู้ ่ี ไดม้ าบุกเบิกเอาไว้ ระหว่างสอนธรรมตามท่ีต่างๆ มีปัญหานานาชนิดเกิดกับผู้ ปฏบิ ตั ทิ ต่ี อ้ งอาศยั ทา่ นชว่ ยแกใ้ ห ้ คราวหนงึ่ ทว่ี ดั โมกขวนาราม จงั หวดั ขอนแก่น ท่านสังเกตว่าผู้เฒ่าคนหนึ่งไม่มาท�ำวัตรเช้า คร้ันถึงเวลา อาหารกไ็ มป่ รากฏตวั ทา่ นจงึ ไปหาทกี่ ฏุ ิ พอถามเขาวา่ เปน็ อะไร เขาก็ เรียกให้หลวงพ่อช่วยเขาด้วย เพราะมือเขาติดอยู่ตรงหน้าท้องต้ังแต่ 147 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
ตสี าม ยกมือเท่าไหร่ก็ยกไม่ออก หลวงพ่อค�ำเขียนได้ยินเช่นน้ันก็รู้เลยว่าเขายกมือสร้างจังหวะ แต่วางใจไม่ถูก พยายามบังคับจิต และเพ่งมากไป จึงเกิดอาการ ดังกล่าว แต่แทนที่ท่านจะแนะน�ำให้เขาท�ำใจสบายๆ ท่านกลับชวน เขาคุยเร่ืองครอบครัว ถามว่าโยมมีลูกก่ีคน มีครอบครัวกันหมด แล้วยัง แล้วตอนน้ีโยมอยู่กับใคร ท�ำอะไรบ้าง คิดถึงหลานบ้างไหม ระหวา่ งทเี่ ขาพดู คยุ กบั หลวงพอ่ มอื ของเขากต็ กลงมา แตเ่ ขายงั ไมร่ ตู้ วั ท่านชวนคยุ ตอ่ สักพกั เขาถงึ ไดร้ วู้ ่ามอื กลบั มาเปน็ ปกติแล้ว หลวงพ่อค�ำเขียนอธิบายว่า ปัญหาของชายผู้นี้เกิดจากการท่ี “จิตมันเข้าข้างในจนติดอยู่ในน้ัน” สิ่งที่ท่านท�ำก็คือ “ล่อจิตเขาให้ ออกไปขา้ งนอก” การสง่ จติ ออกนอกไมใ่ ชส่ งิ่ ทน่ี กั ปฏบิ ตั คิ วรท�ำ แตถ่ า้ จิตเพ่งเข้าในมากจนเกิดอาการวิปริตผิดเพี้ยน ทางเดียวที่จะช่วยได้ คือ “ลอ่ ” จติ ใหอ้ อกไปสนใจส่งิ นอกตัวแทน วดั สนามในเปน็ อกี แหง่ หนง่ึ ทหี่ ลวงพอ่ ค�ำเขยี นเคยไปสอนธรรม เป็นประจ�ำ มีนักปฏิบัติผู้หน่ึงตั้งใจภาวนามากเกินไป จนเกิดนิมิต อยา่ งแรง หลงตวั วา่ บรรลธุ รรมแลว้ เอาแตเ่ ดนิ จงกรมอยบู่ นสะพาน ลอยตลอดคนื ตำ� รวจไปพดู ใหก้ ลบั ลงมา เขากไ็ มย่ อม สอนต�ำรวจวา่ พระอาทิตย์จะขึ้นจะลงห้ามไม่ได้ สุดท้ายต�ำรวจต้องพามาส่งที่วัด สนามใน หลวงพอ่ พยายามแกอ้ ารมณเ์ ทา่ ไรกไ็ มห่ าย จงึ พากลบั วดั ปา่ 148
พทุ ธยาน แลว้ ชวนใหโ้ ยมผนู้ น้ั ขดุ หลมุ สรา้ งสว้ ม พนื้ ดนิ บรเิ วณนน้ั เปน็ หินลูกรังขุดยากมาก พอเขาขุดไปได้หน่ึงเมตร ท่านก็บอกเขาว่าขุด ไม่ถูกท่ี ต้องย้ายไปขุดอีกที่หนึ่ง หลังจากขุดนานนับช่ัวโมงจนเหง่ือ ไหลเต็มตัว นิมติ กจ็ างหาย ความรู้สกึ ตัวกลับมา จงึ เปน็ ปกติ สมาธิภาวนาหรือการปฏิบัติธรรม แม้จะเป็นของดี แต่หาก วางใจไม่เป็น ก็อาจเกิดโทษได้ นั่นคือท�ำให้หลงตัวลืมตนจนมีอาการ ผดิ เพยี้ นได ้ การสรา้ งความรสู้ กึ ตวั จงึ เปน็ สง่ิ สำ� คญั สำ� หรบั นกั ปฏบิ ตั ิ หากละเลยการท�ำความรู้สึกตัวแล้ว อย่าว่าแต่จุดมุ่งหมายสูงส่ง ทางธรรมเลย แม้แต่การด�ำรงชีวิตสามัญอย่างชาวโลก ก็มิอาจ ทำ� ได้ 149 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210