หลวงพอ่ เฟอ่ื ง โชตโิ ก (หรอื “ทา่ นพอ่ เฟอ่ื ง”) เปน็ ศษิ ยผ์ ใู้ กล้ ชดิ ของพระอาจารย์ลี ธมฺมธโร ผู้ก่อต้ังวัดอโศการาม ท่านเป็นชาว จันทบุรี เม่ือบวชได้ ๒ พรรษา ก็ได้พบพระอาจารย์ลี (ซึ่งลูกศิษย์ นิยมเรียกว่า “ท่านพ่อลี”) เกิดความเลื่อมใสศรัทธาจึงติดตาม พระอาจารยล์ อี อกธดุ งคต์ ามแนวเขตปา่ จนั ทบรุ แี ละตราด มชี ว่ งหนงึ่ ทา่ นไดแ้ ยกไปธดุ งคท์ างภาคเหนอื นอกจากไดพ้ บหลวงปมู่ นั่ แลว้ ยงั ไดไ้ ปศกึ ษาและปฏบิ ตั กิ บั ศษิ ยค์ นสำ� คญั ของหลวงปมู่ น่ั หลายทา่ น อาทิ หลวงปูส่ ิม และหลวงปู่อ่อนสา 51 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
ช่วงท่ีได้อยู่กับหลวงปู่มั่นที่อ�ำเภอพร้าวน้ัน ท่านได้เรียนรู้ พระธรรมวินัยมากมาย อีกทั้งยังได้เห็นปฏิปทาของหลวงปู่มั่นและ อบุ ายการสอนของทา่ นดว้ ย ซง่ึ มคี วามหลากหลาย ขน้ึ อยกู่ บั ลกู ศษิ ย์ แตล่ ะคน อาทเิ ชน่ หากมพี ระรปู ใดปว่ ยแลว้ ขอยา หลวงปมู่ นั่ จะตำ� หนิ ว่า “น่ีเอาอะไรเป็นสรณะท่ีพึ่ง เอาพระพุทธเจ้าเป็นท่ีพ่ึง หรือเอายา เป็นท่ีพ่ึง ถือศาสนาพุทธหรือถือศาสนายากันแน่” แต่หากพระ รปู ไหนปว่ ยแลว้ ไมย่ อมฉนั ยา ทา่ นกต็ เิ ตอื นอกี วา่ “ยาม ี ทำ� ไมไมย่ อม ฉนั ทำ� ไมทำ� ตวั เปน็ คนเลีย้ งยาก” ภายหลงั ทา่ นไดก้ ลบั มาปฏบิ ตั อิ ยกู่ บั พระอาจารยล์ ี ทวี่ ดั คลอง- กุ้ง จังหวัดจันทบุร ี เมื่อพระอาจารย์ลีมรณภาพ ท่านได้ไปจำ� พรรษา ที่วัดมกุฏกษัตริยาราม และสอนกรรมฐานให้แก่พระเณรที่นั่น แม้ ภายหลังท่านไปเป็นเจ้าอาวาสวัดธรรมสถิต อ�ำเภอเมือง จังหวัด ระยอง แต่ท่านก็ยังไปสอนกรรมฐานที่วัดมกุฎกษัตริยารามอยู่เป็น ประจ�ำ ตอ่ มาได้รับนมิ นตไ์ ปสอนกรรมฐานในต่างประเทศ โดยเฉพาะ ที่ฮ่องกง จนไปมรณภาพทนี่ ัน่ เม่ือ พ.ศ. ๒๕๒๙ สริ ิอาย ุ ๗๑ ปี หลวงพอ่ เฟอ่ื งเปน็ ผทู้ พ่ี ดู นอ้ ย เวน้ แตม่ เี หตทุ ค่ี วรพดู ยาว ทา่ น ก็จะขยายความ ท้ังนี้เพราะท่านถือตามคติพระอาจารย์ลีว่า “ถ้าจะ สอนธรรมะให้เขาฟัง แต่เขาไม่ต้ังใจฟัง หรือไม่พร้อมที่จะรับ ธรรมะ ท่ีพูดไปน้ัน ถึงจะดี วิเศษวิโสแค่ไหน ก็ยังนับว่าเป็นค�ำเพ้อเจ้ออยู ่ 52
เพราะไมไ่ ด้ประโยชน์อะไร” แม้ท่านจะประหยัดค�ำพูด แต่ถ้อยค�ำของท่านก็มีความลุ่มลึก ตรงถึงใจของญาติโยม ลูกศิษย์ของท่านผู้หนึ่งเล่าถึงประสบการณ์ ครง้ั แรกทไี่ ดพ้ บทา่ น ทา่ นถามวา่ “เคยทำ� บญุ ทไี่ หนบ้าง” เขาตอบวา่ เคยไปชว่ ยสรา้ งพระพทุ ธรปู ทว่ี ดั นน้ั ชว่ ยสรา้ งเมรทุ วี่ ดั น ี้ ชว่ ยทำ� ทนี่ น่ั ทโ่ี นน่ อีกหลายแห่ง พูดจบ ท่านกถ็ ามตอ่ ว่า “ท�ำไมไม่ทำ� ทีใ่ จละ่ ” ลูกศิษย์อีกคนหนึ่งท�ำอย่างท่ีท่านแนะน�ำ คือท�ำสมาธิภาวนา แตท่ ำ� มาหลายปกี ร็ สู้ กึ วา่ อยกู่ บั ท ี่ จงึ บน่ ใหท้ า่ นวา่ ฝกึ ภาวนามาหลายปี แล้ว แต่ไม่เห็นได้อะไรข้ึนมาเลย ท่านตอบทันทีว่า “เขาภาวนาเพื่อ ให้ละ ไม่ใช่ภาวนาเพอ่ื ให้เอา” อีกคนหน่ึงนั่งภาวนาหลังจากท�ำงานที่วัด รู้สึกเพลียมากแต่ ก็ฝืนใจภาวนาเพราะเกรงใจท่าน นั่งไปได้ไม่นานรู้สึกว่าใจเหลืออยู่ นิดเดียว กลัวใจจะขาด ท่านเดินผ่านมาพอดีจึงพูดขึ้นว่า “ตายเตย ไม่ต้องกลัว คนเราก็ตายอยู่แล้วทุกลมหายใจเข้า - ออก” ลูกศิษย์ได้ ฟังก็เกิดก�ำลังใจที่จะน่ังต่อสู้ความเพลีย อีกคราวหนึ่งท่านได้กล่าว เตือนสติลูกศิษย์ว่า “การภาวนาก็คือการฝึกตาย เพื่อเราจะได้ตาย เป็น” ท่านยังกลา่ วอีกวา่ “ไมต่ อ้ งกลัวหรอกการตาย ใหก้ ลวั การเกดิ ดีกว่า” 53 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
กับพระภิกษุเช่นกัน หลวงพ่อพูดตรงและมีความหมายลึกซึ้ง มีพระรูปหน่ึงอยู่กับท่านมาหลายปี วันหนึ่งเข้าไปหาท่านเพื่อขอพร วันเกิด ท่านให้พรสั้นๆ ว่า “ให้ตายเร็วๆ” พระรูปน้ันฟังแล้วก็ใจหาย ตอ่ เมอ่ื พจิ ารณาถอ้ ยคำ� ดงั กลา่ วอยหู่ ลายวนั จงึ เขา้ ใจวา่ ทา่ นไมไ่ ดแ้ ชง่ แต่ให้พรจริงๆ เป็นพรท่ีประเสริฐด้วย นั่นคือการตายจากกิเลส หรือ มีปัญญาแจม่ แจ้ง จน “ตวั กู” ดับ “ถึงความเห็นของเราจะถูก แต่ถ้าเรายึดเข้าไว้มันก็ผิด” เป็น ค�ำสอนของท่านอีกข้อหนึ่ง ท่ีมีความหมายลึกซ้ึง และเตือนใจให้เรา ตระหนักถึงโทษของความยึดมั่นถือมั่นในความคิดท่ีดี หรือยึดติด ในความดขี องตน เพราะความจรงิ แลว้ ไมม่ อี ะไรทเ่ี ราสามารถยดึ ตดิ ถอื มั่นได้แม้แต่อย่างเดียว ใช่แต่เท่าน้ัน การยึดมั่นในความดียังท�ำ ให้เกิดทกุ ข์และอาจน�ำไปสู่การกระท�ำท่ผี ดิ ก็ได้ อย่างไรก็ตามในเร่ืองพระวินัย ท่านเห็นเป็นส่ิงที่ควรใส่ใจ อยู่เสมอ “อย่าเห็นว่าข้อวินัยเล็กๆ น้อยๆ เป็นเร่ืองไม่ส�ำคัญ ท่าน อาจารยม์ น่ั เคยบอกวา่ ไมท้ ง้ั ทอ่ นไมเ่ คยเขา้ ตาใครหรอก แตข่ ผ้ี งเลก็ ๆ นนั่ แหละ เขา้ ตางา่ ย ทำ� ให้ตาบอดได”้ ท่านมีความเห็นเกี่ยวกับพระวินัยที่น่าสนใจ คราวหนึ่งพระ ต่างชาติท่ีมาบวชกับท่านได้กลับไปเย่ียมบ้าน โยมแม่เล้ียงเป็นชาว 54
ครสิ ต ์ เมอื่ เหน็ พระลกู ชายกอ็ ยากกอด เพราะไมไ่ ดพ้ บกนั มานานหลายปี แตพ่ ระลกู ชายไมย่ อมใหก้ อด เธอจงึ โกรธมาก หาวา่ พทุ ธศาสนาสอน ให้รังเกียจผูห้ ญิง เม่อื เรื่องน้ถี งึ หูทา่ น ท่านก็อธิบายว่า “ทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ไมใ่ หพ้ ระจบั ตอ้ งผหู้ ญงิ นนั้ ไมใ่ ชว่ ่าเพราะผหู้ ญงิ ไม่ดี แต่เป็นเพราะพระไม่ดีต่างหาก เพราะพระยังมีกิเลส จึงจับต้อง กันไมไ่ ด”้ ค�ำอธิบายตรงไปตรงมาแบบน้ีน้อยคนจะได้ฟังจากปากของ พระทว่ั ไป เหตผุ ลสำ� คญั คงเปน็ เพราะไมเ่ ขา้ ใจจดุ มงุ่ หมายของพระวนิ ยั ว่าเป็นเคร่ืองฝึกฝนตนและขัดเกลาจิตใจส�ำหรับบุคคลที่ยังมีกิเลส สว่ นทา่ นทพ่ี น้ กเิ ลสแลว้ ยงั รกั ษาพระวนิ ยั กเ็ พอื่ เปน็ แบบอยา่ งแกบ่ คุ คล ทั้งหลายที่ยังตอ้ งฝึกฝนตน 55 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
พระครญู าณวศิ ิษฏ์ (ท่านพ่อเฟ่อื ง โชตโิ ก) กำ� เนิด ๔ พฤษภาคม ๒๔๕๘ ชาตภมู ิ บา้ นน�้ำฉ ู่ อำ� เภอขลงุ จงั หวดั จันทบุร ี อุปสมบท พ.ศ. ๒๔๗๘ เม่ืออายุ ๒๐ ป ี ทวี่ ดั โบสถบ์ างกะจะ สมณศกั ด์ ิ พระครูญาณวิศิษฏ ์ มรณภาพ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๒๙ ณ ส�ำนักกรรมฐานรังสี ฮ่องกง สริ อิ ายไุ ด ้ ๗๑ ป ี พรรษา ๔๙ ท่านเป็นเด็กก�ำพร้า เม่ืออายุได้ ๑๑ ขวบ ญาติพาไปฝากให้อยู่กับ เจ้าอาวาส ธรรมะที่พระเทศน์ใหฟ้ งั เปน็ ประจำ� น้นั ซมึ ซาบเขา้ ไปในหัวใจ ท่าน พิจารณาเห็นว่า ตนต้องพ่ึงตนเอง พ่อแม่ก็ไม่มี ทรัพย์สมบัติก็ไม่มี วิชา ความรกู้ ็ไม่มี ท่านจึงเกิดศรัทธาที่จะบวชแสวงบุญ พอเข้าพรรษาท่ี ๒ ได้ฟังธรรมะและเห็นปฏิปทาของท่านอาจารย์ลี ธมฺมธโร วัดอโศการาม ก็เกิดศรัทธา ญัตติเข้าคณะธรรมยุต ธุดงค์ตาม แนวป่าเขตจันทบุรี ตราด ปราจีนบุรี ท่านพ่อมาจ�ำพรรษาที่วัดธรรมสถิต เปน็ ปแี รก พ.ศ. ๒๕๑๔ ยอมรบั การแตง่ ตง้ั เปน็ เจา้ อาวาสวดั ธรรมสถติ พ.ศ. ๒๕๑๘ พระเทพโมล ี (พระธรรมธชั มนุ )ี เจา้ อาวาสวดั มกฏุ กษตั รยิ าราม นมิ นต์ ท่านพ่อให้จ�ำพรรษาท่ีวัดมกุฏฯ เพ่ืออบรมกรรมฐานให้พระนวกะ ท่านพ่อ ท�ำหน้าที่ตลอดชีวิต โดยจ�ำพรรษาที่วัดธรรมสถิต แล้วสัตตาหะไป-มา ระหวา่ งวดั ธรรมสถติ และวดั มกฏุ ฯ พ.ศ. ๒๕๑๙ ไดเ้ ลอื่ นสมณศกั ดเิ์ ปน็ พระครู ช้นั เอก ท่ี พระครญู าณวศิ ิษฏ์
ในสมัยรัชกาลที่ ๗ มีสมเด็จพระราชาคณะ ๒ องค์ที่นอกจาก เกิดปีเดียวกันแล้ว ยังได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชาคณะใน ปีเดียวกัน อีกท้ังได้รับเลือกเป็นประธานกรรมการมหาเถรสมาคม บัญชาการคณะสงฆ์แทนสมเด็จพระสังฆราชเจ้าในปีเดียวกันอีกด้วย แต่อุปนิสัยของทั้ง ๒ องค์กลับแตกต่างอย่างมาก จนมีคนตั้งฉายา คลอ้ งจองกันว่า “พูดเลน่ ไมม่ ี พดู ดไี มเ่ ป็น” องคแ์ รกนนั้ คอื สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย ์ (เจรญิ าณวโร) แหง่ วดั เทพศริ นิ ทร ์ เปน็ คนพดู จาเรยี บรอ้ ยและนมุ่ นวล ไมช่ อบพดู เลน่ อกี องคน์ น้ั คือ สมเด็จพระวชิรญาณวงศ์ (ม.ร.ว. ชน่ื สุจิตฺโต) แห่ง วัดบวรนิเวศ ซ่ึงภายหลังได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ ์ ทรงมีอุปนิสัยพูดจาโผงผาง ตรงไปตรงมา ไมอ่ อ้ มคอ้ ม และมอี ารมณข์ นั แตส่ งิ่ ทเ่ี หมอื นกนั คอื เปน็ ผใู้ ฝธ่ รรม มี เมตตา อยู่อย่างสมถะ และไมต่ ิดในยศฐาบรรดาศักด์ ิ 58
ม.ร.ว. คกึ ฤทธิ์ ปราโมช เปน็ ผหู้ นง่ึ ทรี่ จู้ กั สมเดจ็ พระวชริ ญาณ วงศ์ต้ังแต่เล็ก เล่าว่าคราวหนึ่งน�ำแกงท่ีบิดาชอบไปถวายสมเด็จฯ ทา่ นรับประเคนแล้วกย็ ังเฉยอย่ ู จงึ ทลู ว่า “ต้องขอแรงเป็นพิเศษ ฉันแกงสักช้อนหน่ึงเถิด จะได้กรวดน้�ำ ไปใหพ้ ่อได้กนิ เพราะพอ่ ชอบกินแกงอย่างน้ี” “ออ๋ ” สมเด็จฯ ตอบ “เอง็ เห็นพระเป็นตู้ไปรษณยี ์หรอื ?” “ใช ่ ฉันใหห้ นอ่ ยเถอะน่า จะได้สบายใจ” ได้ยินเชน่ นัน้ ทา่ นก็ยอมฉันให้ อกี คราวหนง่ึ ม.ร.ว. คกึ ฤทธ ิ์ นำ� ดว้ งโสนไปถวายทา่ น เนอื่ งจาก เป็นอาหารโปรดของมารดาท่าน ด้วงโสนนั้นยาวขนาดน้ิวก้อย เกิด ในตน้ โสน มองเผนิ ๆ เหมอื นหนอนตวั โตๆ เมอื่ ทา่ นรบั ประเคนแลว้ ก็ มองดูดว้ งในชาม ครน้ั เหน็ แลว้ ก็หดมือ ถามว่า “นน่ั อะไร?” “ด้วงโสน” “ไมก่ ินวะ่ ใครจะไปกินหนอน” “เอาหนอ่ ยนา่ แมช่ อบกนิ ” ม.ร.ว. คกึ ฤทธ์ริ บเรา้ “วนั น ้ี ไปรษณยี ป์ ดิ โวย้ ” สมเดจ็ ฯ วา่ “กนั กนิ ไมเ่ ปน็ เหน็ เข้าก็ คลนื่ ไส ้ ใครจะไปกนิ ลง” 59 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
“แล้วจะท�ำยังไงดีล่ะ” “เอง็ กินเขา้ ไปเองกแ็ ลว้ กัน” “มนั ก็ไมถ่ งึ แมน่ ะซี” ม.ร.ว. คึกฤทธ์ิแย้ง “น่ันแหละ ดีกว่าอะไรท้ังหมด” สมเด็จฯ ว่า “พ่อแม่น้ันรักลูก ยิ่งกว่าอะไรท้ังน้ัน พ่อแม่ยอมอดเพื่อให้ลูกได้กิน ถา้ แม่เอ็งรู้ว่าเอ็งได ้ กนิ สง่ิ ทเ่ี ขาชอบ เขากค็ งดใี จมาก ทำ� ใหพ้ อ่ แมไ่ ดย้ นิ ด ี มคี วามสขุ ใจนนั้ เปน็ บุญหนกั หนาอยู่แล้ว” ม.ร.ว. คึกฤทธ์ิ เล่าว่า “ผมเอาฝาชามปิดด้วงโสน แล้วถอน ออกมาวางไว้ห่าง ก้มลงกราบสมเด็จฯ น้�ำตากลบลูกตา ตั้งแต่เกิด มาเปน็ ตวั ไม่เคยไดก้ นิ ดว้ งโสนอะไรอร่อยเทา่ วันนัน้ ” อีกคราวหนึ่ง ม.ร.ว. คึกฤทธ์ิได้ยินสมเด็จฯ คุยกับหม่อมเจ้า พระองค์หน่ึง หม่อมเจ้าน้ันรับส่ังว่า “งานวันเกิด...เอ๊ย ! วันประสูต ิ สมเด็จฯ น้ันจะมอี ะไรกันบ้าง?” “วันเกิดก็ดีแล้ว” สมเด็จฯ ว่า “ประสูติแปลว่าไหลออกมา อะไรๆ มันก็ไหลออกมาได้ แต่เกิดมันเป็นคนละเรื่อง เรียกว่าวันเกิด ดีกว่า เกิดมาแล้วก็มีแต่ทุกข์ เขาฉลอง...วันเกิดกันท�ำไมก็ไม่รู้ ไป รับส่ังถามคนอื่นเขาดูเถิด อาตมาไมร่ ู้” 60
นอกจากไมต่ ดิ ในพธิ รี ตี องแลว้ สมเดจ็ ฯ ยงั เปน็ คนทไ่ี มเ่ สแสรง้ รสู้ กึ อยา่ งไรกพ็ ดู โดยไมส่ นใจเรอื่ งภาพลกั ษณ์ คราวหนงึ่ ทา่ นอาพาธ ถงึ ขนั้ ผา่ ทอ้ ง ตดั ลำ� ไส ้ ระหวา่ งทพ่ี กั ฟน้ื ม.ร.ว. คกึ ฤทธไิ์ ดไ้ ปเยย่ี มทา่ น ทูลถามว่าเป็นอย่างไรบ้าง ท่านตอบว่า “รู้อยู่แล้วว่าเกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นทุกข์ รู้อยู่แล้วว่าสังขารท้ังหลายไม่เที่ยง ไม่ใช่ตัวตน และ เปน็ ทกุ ข์ แต่ท้งั รอู้ ย่างนั้นมนั ก็ยงั เจ็บจริงโว้ย” ประมาณ พ.ศ. ๒๔๙๐ ทา่ นพทุ ธทาสภกิ ขุ ซง่ึ ตอนนนั้ เปน็ ภกิ ษุ หนมุ่ วยั ๔๑ ไดแ้ สดงปาฐกถาเรอ่ื ง “ภเู ขาแหง่ วถิ พี ทุ ธธรรม” ทพี่ ทุ ธ สมาคม กรงุ เทพฯ มเี สยี งวพิ ากษว์ จิ ารณอ์ ยา่ งรนุ แรงตามมา จนทา่ น ถกู กลา่ วหาวา่ รบั แผนของคอมมวิ นสิ ตม์ าท�ำลายศาสนา เมอ่ื เรอ่ื งราว ท�ำท่าจะบานปลาย พระศาสนโสภณ วัดราชาธิวาส ได้ช่วยเหลือด้วย การน�ำทา่ นพทุ ธทาสมาเข้าเฝ้าสมเด็จฯ ซึ่งตอนนั้นได้รับสถาปนาเปน็ สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ แลว้ หลงั จากทท่ี า่ นพทุ ธทาสอธบิ ายกราบทลู จนกระจา่ งแลว้ กท็ รงมมี ตวิ า่ ทา่ นพทุ ธทาสไมม่ คี วามผดิ แตอ่ ยา่ งใด ก่อนที่ท่านพุทธทาสจะทูลลา สมเด็จฯ ได้รับส่ังว่า “กันอยาก ไปอยู่กบั แกทส่ี วนโมกข์เสยี แล้ว ท่นี ่มี นั ยงุ่ จริงๆ” 61 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
สมเด็จพระสงั ฆราชเจ้า กรมหลวงวชริ ญาณวงศ์ (ช่นื สจุ ิตฺโต) สมเด็จพระสงั ฆราชเจา้ กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ วดั บวรนเิ วศวหิ าร กรงุ เทพฯ สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ กรมหลวงวชริ ญาณวงศเ์ ปน็ สมเดจ็ พระสงั ฆราช พระองค์ท่ี ๑๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ประทับอยู่ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ได้ รบั สถาปนาเปน็ สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ เมอื่ ป ี พ.ศ. ๒๔๘๘ ในรชั สมยั พระบาท สมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ทรงมพี ระนามเดมิ วา่ หมอ่ มราชวงศช์ นื่ นพวงศ ์ เปน็ โอรสในหมอ่ มเจา้ ถนอม นพวงศ์ และหม่อมเอม ประสูติ เม่ือวันศุกร์ท่ี ๒๒ พฤศจิกายน ๒๔๑๕ ไดถ้ วายตวั เปน็ มหาดเลก็ ใน สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช เจา้ ฟา้ มหา- วชริ ณุ หศิ สยามมกฎุ ราชกมุ าร มหี นา้ ทตี่ ามเสดจ็ รกั ษาพระองค ์ ทรงอปุ สมบท เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๕ ณ วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร มีพระนามฉายาว่า “สุจิตฺโต” ทรงมสี ว่ นรว่ มกบั สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส จัดพิมพ์แบบเรียนต่างๆ พระราชทานแก่พระภิกษุสงฆ์ และทรงเป็นแม่กอง สอบไล่พระปริยัติธรรมหลายครั้ง และพระองค์ได้เป็นพระราชอุปัชฌาจารย์ เม่ือพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จออกผนวชในปี พ.ศ. ๒๔๙๙ และใน งานฉลองพทุ ธศตวรรษในประเทศไทย รฐั บาลประเทศพมา่ ไดถ้ วายสมณศกั ดิ์ สงู สุดของพมา่ คอื อภธิ ชมหารัฏฐคุร ุ แด่พระองค์ เม่ือป ี พ.ศ. ๒๕๐๐ ทรงด�ำรงต�ำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชเจ้า ๑๔ พรรษา ส้ินพระชนม์ เม่ือวนั ท่ ี ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๐๑ พระชนมายุ ๘๖ พรรษา
เมอื งไทยเมอื่ ๗๐ - ๘๐ ปกี อ่ นเตม็ ไปดว้ ยปา่ รกชฏั นอกจากเปน็ ที่อาศัยของสิงสาราสัตว์นานาชนิดแล้ว ยังมีชุมชนเล็กชุมชนน้อย ซกุ ซอ่ นกระจดั กระจาย ไกลสดุ หลา้ แทบจะตดั ขาดจากสงั คมเมอื ง แต่ กไ็ มไ่ กลเกินกวา่ พระธุดงคจ์ ะเข้าถงึ คราวหนง่ึ หลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตฺ โต กบั ศษิ ยค์ อื พระอาจารยเ์ ทสก์ เทสรํสี ได้ธุดงค์บนดอยแห่งหนึ่งในเชียงใหม่ ท่านเห็นว่าเป็นภูมิ- ประเทศทสี่ งบสงดั อกี ทงั้ ไมไ่ กลจากหมบู่ า้ นชาวเขา พอทจี่ ะบณิ ฑบาต ไดไ้ ม่ยากนัก จึงแวะพักที่นนั่ 64
ชาวเขาเหลา่ นไ้ี มค่ อ่ ยเหน็ พระสงฆ ์ เมอ่ื เหน็ พระอมุ้ บาตรเขา้ มา ในหมู่บ้าน ก็ไม่เข้าใจว่ามาท�ำอะไร ครั้นท่านตอบว่ามาบิณฑบาตข้าว เขาก็ถามว่าข้าวสุกหรือข้าวสาร ท่านตอบว่าข้าวสุก เขาก็พากันหา ข้าวสกุ มาใสบ่ าตร ทั้งสองทา่ นจงึ ฉันแต่ขา้ วเปล่าๆ อยนู่ าน อยา่ งไรกต็ ามชาวบา้ นหลายคนมคี วามหวาดระแวงทา่ น ลอื กนั วา่ ทา่ นทงั้ สองเปน็ เสอื เยน็ แปลงตวั มาเพอ่ื จบั ชาวบา้ นกนิ เปน็ อาหาร จงึ มกี ารประชมุ ชาวบา้ น และมขี อ้ ตกลงกนั วา่ หา้ มไมใ่ หเ้ ดก็ และผหู้ ญงิ เข้าไปในบริเวณที่ท่านพักแรม แม้ผู้ชายหากจะเข้าไปก็ควรมีเพื่อน ไปด้วย พร้อมอาวุธ หากไปคนเดียวและไปตัวเปล่า อาจถูกเสือเย็น ๒ ตัวกินได้ ขณะเดียวกันหัวหน้าชาวเขาก็ส่งคนไปแอบดูพฤติกรรม ของท่านทง้ั วนั หลวงปู่ม่ันทราบเร่ืองนี้ตลอด แต่ก็ไม่มีความวิตกกังวลแต่ อย่างใด ยังคงบ�ำเพ็ญความเพียรตลอดทั้งวัน ส่วนชาวเขาหลังจาก เฝ้าดูพฤติการณ์ของท่านอยู่หลายวัน ไม่เห็นท่านท�ำตนเป็นภัยแต่ อย่างใด ก็คลายความหวาดกลัว แต่มีความแปลกใจมาแทนที่เพราะ เห็นท่านหลับตาน่ิงๆ และเดินจงกรมคร้ังละนานๆ วันหนึ่งจึงพากัน เขา้ มาหาทา่ นเพอ่ื สอบถาม ผเู้ ปน็ หวั หนา้ สงสยั วา่ ตเุ๊ จา้ กำ� ลงั หาอะไร เพราะเห็นเดินกลับไปกลับมาทั้งวัน หลวงปู่ม่ันตอบว่า “เราเดินหา พุทโธ” เขาถามต่อว่า พุทโธเป็นอย่างไร พวกเราจะช่วยตุ๊เจ้าหา 65 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
ได้ไหม ท่านตอบว่า “พุทโธเป็นดวงแก้วอันประเสริฐ ...ถ้าสูจะช่วย เราหาก็ยิ่งดีมาก” ชายผนู้ น้ั สนใจพทุ โธ จงึ ถามตอ่ วา่ พทุ โธเปน็ ดวงแกว้ ใหญไ่ หม ทา่ นตอบวา่ ไมใ่ หญไ่ มเ่ ลก็ พอดกี บั เราและพวกส ู เขาถามตอ่ วา่ มอง เหน็ นรกสวรรคไ์ ดไ้ หม ทา่ นตอบวา่ มองเหน็ ส ิ ถา้ ไมเ่ หน็ จะวา่ ประเสรฐิ ได้อย่างไร หลังจากสอบถามคุณสมบัติของพุทโธอยู่พักใหญ่ เขาก็ ถามวา่ จะหาพทุ โธเจอไดอ้ ยา่ งไร ทา่ นตอบวา่ เวลาเดนิ กใ็ หน้ กึ ในใจวา่ พุทโธๆ เท่าน้ัน เขาสงสัยต่อไปอีกว่า ต้องเดินหาพุทโธนานเท่าไรจึง จะพบ ทา่ นตอบว่า ให้เดนิ ๑๕ ถงึ ๒๐ นาที ชาวเขาเหล่านี้เมื่อกลับบ้าน ก็เล่าให้เพ่ือนๆ ฟังเร่ืองพุทโธ ปรากฏว่าชาวเขาสนใจกันมาก พากันหาพทุ โธกันทงั้ หมูบ่ ้าน หัวหน้าชาวเขาเม่ือท�ำตามที่ท่านแนะน�ำ ไม่นานก็พบความสุข สงบในจิตใจ อีกท้ังยังฝันว่าท่านน�ำความสว่างมาให้เขา จึงมาเล่า ให้ท่านฟัง ท่านจึงแนะน�ำวิธีการเพ่ิมเติม ไม่นานเขาก็พบว่าตัวเอง มีความสามารถพิเศษ คือรู้ใจผู้อื่นได้ว่าเศร้าหมองและผ่องใส เมื่อ เร่ืองนี้กระจายไปทั่วหมู่บ้าน คนท้ังหมู่บ้านก็พากันภาวนาพุทโธ ท้ังผู้ใหญ่และเด็ก นับแต่นั้นความหวาดระแวงสงสัยในตัวท่านก็ หมดไป มีแต่ความเล่ือมใสศรัทธาในตัวท่าน พากันขอขมาโทษท่าน ทเ่ี คยนกึ ระแวงในตวั ท่านกับศิษย์ 66
ทีแรกท่านและศิษย์ต้ังใจจะพ�ำนักบนดอยน้ันชั่วคราว สุดท้าย ก็อยู่ต่อนานปีกว่า รวมท้ังจ�ำพรรษาท่ีน่ันด้วย ส่วนชาวเขาก็ภาวนา พุทโธอย่างจริงจังจนเห็นผลหลายคน จึงหันมาถือพระรัตนตรัยเป็น สรณะ หลวงปู่มั่นสามารถน้อมใจชาวเขาให้มาสนใจพุทธศาสนาได้ ด้วยการสร้างศรัทธาเป็นเบ้ืองแรก มิใช่ศรัทธาท่ีเกิดจากค�ำสอนที่ ชวนให้คล้อยตาม แต่เป็นศรัทธาท่ีเกิดจากการปฏิบัติจนเห็นผลด้วย ตนเอง ท่ีน่าสนใจอีกประการหนึ่งก็คือ ทั้งๆ ที่หัวหน้าชาวเขาไม่รู้ว่า ตนก�ำลังท�ำสมาธิภาวนา คิดแต่ว่าก�ำลังตามหาพุทโธให้หลวงปู่ม่ัน แต่เม่ือวางใจได้ถูกต้อง ก็เห็นผลคือความสงบเย็นในจิตใจ นั่นเป็น เพราะอานิสงส์ของสมาธิภาวนาหรือกรรมฐานนั้น ไม่ได้ขึ้นอยู่กับ ศรทั ธา ถงึ แมไ้ มร่ พู้ ทุ ธศาสนา หรอื ไมร่ จู้ กั การปฏบิ ตั ธิ รรมเลย แต่ หากปฏบิ ตั ถิ กู กย็ อ่ มไดร้ บั ผลแหง่ การปฏบิ ตั นิ น้ั ทง้ั ๆ ทไี่ มไ่ ดม้ คี วาม คาดหวงั ในผลดงั กลา่ วเลยดว้ ยซำ้� ตรงกนั ขา้ มหากปฏบิ ตั ผิ ดิ วางใจ ไม่ถูก แม้อ่านต�ำรามามาก ทรงจ�ำได้เยอะ และคาดหวังสูงก็ไม่เกิด ผลแต่อยา่ งใด 67 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
หนงึ่ ในบรรดาเกจอิ าจารยแ์ หง่ อยธุ ยา ทม่ี สี านศุ ษิ ยท์ ว่ั ประเทศ เมื่อ ๘๐ ปีท่ีแล้วคือ หลวงพ่อปาน โสนนฺโท ท่านเกิดและบวชท่ี หมู่บ้านบางนมโค แต่ออกไปแสวงหาความรู้จากครูบาอาจารย์ตาม ที่ต่างๆ ตั้งแต่หนุ่ม นอกจากวิปัสสนากรรมฐานแล้ว ท่านยังมีความ รู้เร่ืองสมุนไพรและวิชาแพทย์แผนโบราณ ช่วยสงเคราะห์ญาติโยม มากมายทั้งทางโลกและทางธรรม แต่ท่านไม่ค่อยอยู่ที่ใดท่ีหนึ่งนานๆ เพราะชอบธุดงค์ ท่านไม่ยอมรับต�ำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบางนมโค จนกระทัง่ อาย ุ ๖๐ ปี 69 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
คราวหนึ่งท่านพาพระ ๔ รูปธุดงค์จากอยุธยาไปยังพระพุทธ- บาทสระบุรี ตลอดทางเป็นป่าทึบ เย็นวันหน่ึงท่านเห็นทุ่งโล่งกว้าง เป็นท�ำเลเหมาะแก่การพักแรม จึงปักกลดบริเวณใกล้ๆ หมู่บ้าน ไม่นานชาวบ้านก็พากันน�ำน้�ำปานะมาถวาย พร้อมกับเตือนว่า ทุ่งนี้ มีช้างป่าโขลงหน่ึง มักออกมาอาละวาดเสมอ พระที่มาปักกลดใน ทุ่งน้มี รณภาพมาหลายรปู แลว้ เพราะชา้ งโขลงนี้ หลวงพ่อปานรับฟังด้วยอาการสงบ และยืนยันที่จะพักแรม ในทเี่ ดมิ ชาวบา้ นจงึ บอกทา่ นวา่ ถา้ ชา้ งออกมาอาละวาด ใหท้ า่ นเคาะ ฝาบาตรเป็นสญั ญาณ พวกเขาจะรีบออกมาช่วย คืนน้ันหลวงพ่อปานสั่งให้ลูกศิษย์บ�ำเพ็ญกรรมฐาน ตั้งมั่นอยู่ ในพรหมวหิ าร ๔ แผเ่ มตตาใหแ้ กส่ รรพสตั วท์ วั่ สากลจกั รวาล ประมาณ ๔ ทุ่ม ฝูงช้างป่าก็ออกมา จ่าฝูงเป็นช้างสีดอตัวใหญ่ งาส้ัน ออกมา ก่อนตัวอ่ืนแล้วยืนคร่อมกลดหลวงพ่อปานเอาไว้ เน่ืองจากท่าน ปกั กลดตรงทางออกจากปา่ พอด ี ชา้ งตวั อน่ื เมอ่ื จะออกมากต็ อ้ งเบยี ด ชา้ งสดี อออกมา แลว้ เดินขา้ มทุ่งโดยไมส่ นใจพระรปู อ่นื เลย เหตกุ ารณด์ เู หมอื นจะเปน็ ปกติ ไมน่ า่ กลวั อยา่ งทชี่ าวบา้ นเตอื น ไว ้ ชา้ งทง้ั โขลงออกมาจากปา่ โดยไมม่ ที า่ ทคี กุ คามแตอ่ ยา่ งใด แตแ่ ลว้ จู่ๆ ช้างตัวสุดท้ายที่ออกมาก็เริ่มอาละวาด ช้างตัวน้ีชาวบ้านเรียกว่า “ไอ้เก” เพราะงาของมันบิดเกข้างหน่ึง อีกทั้งมีพฤติกรรมเกเรด้วย 70
หลงั จากทเี่ ดนิ ออกมายังท่งุ กว้างไดส้ ักพกั มนั กห็ นั กลับมาและวง่ิ เข้า ใสก่ ลดหลวงพ่อปานทันท ี หลวงพ่อปานเห็นไอ้เกพุ่งเข้ามา แต่ท่านน่ิงสงบ ท่านเล่าว่า “ตอนนนั้ ฉนั มอี ารมณป์ กต ิ ฉนั คดิ ถงึ พระโพธญิ าณเปน็ อารมณ ์ คดิ วา่ ตายเมอ่ื ไหร่ ฉนั กจ็ ะสบาย คือไปนอนรอเวลาทีส่ วรรค์ชน้ั ดสุ ติ ” สว่ น พระอกี ๔ รปู ก็น่ิงสงบเชน่ กัน แตก่ อ่ นทเ่ี จา้ เกจะเขา้ มาท�ำรา้ ยหลวงพอ่ ปาน จา่ ฝงู คอื เจา้ สดี อ กเ็ อางวงฟาดเจา้ เก ๓ ครง้ั ตดิ ตอ่ กนั ฟาดแตล่ ะครง้ั เจา้ เกหวั ซนุ เกอื บ ทม่ิ ดนิ เทา่ นน้ั ไมพ่ อ เจา้ สดี อยงั จบั งาเจา้ เกบดิ จนเจา้ เกเสยี หลกั ลม้ ลง อยา่ งแรง หลวงพอ่ ปานสนั นษิ ฐานวา่ ทเ่ี จา้ เกมงี าบดิ ขา้ งหนง่ึ คงเพราะ ถกู จา่ ฝงู กำ� ราบเปน็ ประจำ� เจา้ เกลกุ ขนึ้ มาอยา่ งหมดแรง หายพยศ เดนิ อยา่ งไรส้ งา่ ตามฝงู ไปยังป่าตรงข้าม ส่วนเจ้าสีดอยังคงเดินวนเวียนแถวนั้นพักใหญ่ เมื่อเห็นพระทุกรูปปลอดภัย ไม่มีใครมารบกวน มันก็หันมาหาท่าน แล้วคุกเข่าลง ชูงวงขึ้น ท�ำท่าเหมือนจะไหว้ แล้วก็เดินตามโขลงช้าง ลูกนอ้ งไป หลวงพ่อปานเห็นช้างตัวนี้แล้ว อดช่ืนชมไม่ได้ ท่านถึงกับ ออกปากว่า “สงสัยช้างตัวน้ีจะเปน็ ช้างพระโพธสิ ัตว”์ 71 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
วันรุ่งข้ึนชาวบ้านพากันมาหาท่านเพราะได้ยินว่าเมื่อคืนเกิด อะไรข้ึน เม่ือเห็นทุกท่านปลอดภัยก็มีความเล่ือมใสศรัทธามาก และ เช่ือว่าท่านต้องมีเวทมนตร์คาถาหรือของขลังอย่างแน่นอน จึงขอ ของดีจากท่าน เพ่ือปกป้องอันตรายจากเจ้าเก หลวงพ่อปานจึงให้ คาถาแก่เขา คาถานั้นมีแค่ “พุทโธ” ข้อส�ำคัญคือ “ก่อนท่องคาถา กข็ อใหน้ กึ ถงึ บารมขี องพระพทุ ธเจ้า แลว้ แผเ่ มตตาถงึ เจา้ เก ประกาศ เปน็ สัมพันธไมตรีตอ่ กัน” ปรากฏวา่ คาถาของทา่ นไดผ้ ล นบั แตน่ นั้ มาเจา้ เกไมเ่ คยอาละวาด อกี เลย เวลามนั มา กเ็ ดนิ กม้ หนา้ กม้ ตาผา่ นไปเฉยๆ ไมม่ องหนา้ คนเลย ผดิ กบั แตก่ อ่ นทช่ี อบทำ� ลายฟอ่ นขา้ วและทรพั ยส์ นิ อกี ทง้ั ไลแ่ ทงผคู้ น ความสงบได้กลับคืนสู่หมู่บ้านนี้อีกครั้งหนึ่ง คงไม่ใช่เพราะ อานุภาพของคาถาของหลวงพ่อปานและเมตตาภาวนาของชาวบ้าน เท่านั้น หากยังเป็นเพราะคุณธรรมของช้างสีดอแสนรู้ตัวน้ัน ซึ่งให้ บทเรยี นส�ำคัญแกเ่ จา้ เกอยา่ งไมม่ วี ันลมื 72
พูดถึงวุฒิการศึกษาทางโลก หลวงพ่อชา สุภฺทโทจบแค่ชั้น ป. ๑ เทา่ นนั้ แตท่ า่ นมลี กู ศษิ ยท์ จ่ี บปรญิ ญามากมาย ทเ่ี ปน็ ดอกเตอร์ กม็ ใิ ชน่ อ้ ย ยง่ิ กวา่ นนั้ ยงั มชี าวตา่ งประเทศ ความรสู้ งู มาบวชกบั ทา่ น เปน็ จ�ำนวนมาก เรอื่ งหนงึ่ ทผ่ี คู้ นสอบถามทา่ นเสมอกค็ อื ทา่ นสอนฝรง่ั ไดอ้ ยา่ งไร ในเมื่อท่านไม่รู้ภาษาอังกฤษเลย ค�ำตอบของท่านก็คือ “ท่ีบ้านโยม มีสัตว์เล้ียงไหม อย่างหมาแมว หรือวัวควายอย่างน้ี เวลาพูดกับมัน โยมตอ้ งรูภ้ าษาของมนั ด้วยหรือเปลา่ ?” 74
ส�ำหรับหลวงพ่อชา การสอนที่ส�ำคัญมิใช่การพูด แต่อยู่ท่ีการ ท�ำให้ดูและชวนให้ท�ำ ซึ่งใครๆ สามารถเรียนรู้ได้โดยไม่ต้องอาศัย ภาษาใดๆ “พาเขาท�ำเอาเลย ท�ำดีได้ดี ถ้าท�ำไม่ดีก็ได้ของไม่ดี พาเขา ทำ� ด ู เมอื่ ทำ� จรงิ ๆ กเ็ ลยไดด้ ี เขากเ็ ลยเชอื่ ไมใ่ ชม่ าอา่ นหนงั สอื เทา่ นนั้ นะ ท�ำจริงๆ นี่แหละ ส่ิงใดไม่ดีก็ละมัน อันไหนไม่ดีก็เลิกมันเสีย มัน กเ็ ปน็ ความดขี นึ้ มา” การเรียนรู้จากการท�ำนั้นให้ผลที่ยั่งยืนกว่า เช่นเดียวกับการ เรยี นรจู้ ากประสบการณ ์ ไมว่ า่ ประสบการณน์ น้ั จะดหี รอื ไมด่ ี กส็ ามารถ สอนใจเราได้ทั้งน้ัน อย่ทู ีว่ า่ จะรจู้ กั มองหรอื เก็บเก่ียวบทเรยี นหรอื ไม่ หลวงพ่อสุเมโธ ซ่ึงเป็นชาวอเมริกันและเป็นพระฝรั่งรูปแรก ท่ีมาอยู่กับหลวงพ่อชาเล่าว่า มีคราวหน่ึงหลวงพ่อชาสั่งให้ท่าน ขน้ึ เทศน ์ ๓ ชว่ั โมงโดยไมท่ นั ไดเ้ ตรยี มตวั ทงั้ กำ� ชบั วา่ หา้ มลงกอ่ นหมด เวลา ช่วงแรกๆ ท่านก็เทศน์ได้เรื่อยๆ เพราะมีเรื่องพูด แต่เมื่อเทศน์ นานเข้า ก็ไม่รู้ว่าจะเทศน์อะไร ต้องพูดวนไปเวียนมา ตอนนั้นภาษา ไทยกไ็ มค่ ล่อง ผลก็คอื คนฟังนัง่ หลบั เป็นสว่ นใหญ่ ใครทเ่ี จอประสบการณแ์ บบน ี้ ยอ่ มรสู้ กึ แย ่ และอาจถงึ กบั สญู เสยี ความมน่ั ใจในการพดู ตามมาดว้ ยความหงดุ หงดิ ขดั เคอื งใจ แตส่ ำ� หรบั 75 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
หลวงพอ่ สเุ มโธ ประสบการณค์ รง้ั นน้ั มปี ระโยชนม์ าก เพราะชว่ ย “แก้ กิเลส” หรือลดอัตตาของท่านได้ดี “นิสัยของชาวอเมริกันเรามีอัตตา สูง ความเชื่อม่ันในตัวเองมีมาก เวลาขึ้นธรรมาสน์ก็อยากจะเทศน ์ ให้น่าฟัง อยากจะให้ทุกคนฟังด้วยความตั้งใจ แต่ถา้ เห็นใครง่วงนอน หรือไม่ต้ังใจฟังก็อยากจะหยุดพูดทันที เป็นเพราะจิตใจเรายังมีความ หว่ันไหวกับโลกธรรมอย”ู่ ยิ่งมีอัตตา ก็ย่ิงจ�ำเป็นต้องถูกถอนอัตตา ในท�ำนองเดียวกัน ย่ิงกลัวความล้มเหลว ไม่อยากได้ค�ำต�ำหนิ ก็ย่ิงจ�ำเป็นต้องเจอความ ลม้ เหลวและคำ� ตำ� หน ิ จติ ใจจะไดม้ น่ั คงไมห่ วน่ั ไหวกบั สง่ิ นนั้ นเ้ี ปน็ หลกั การสอนขอ้ หนง่ึ ของหลวงพอ่ ชากว็ ่าได ้ พระฝร่ังอีกรูปหน่ึงท่ีได้บทเรียนดังกล่าวจากหลวงพ่อชา ก็คือ พระอาจารย์ญาณธัมโม ชาวออสเตรเลีย วันหน่ึงท่านมีเรื่องขัดใจ กับพระรูปหนึ่งที่วัด รู้สึกหงุดหงิดตลอดท้ังวัน วันรุ่งขึ้นระหว่างเดิน บิณฑบาตก็ครุ่นคิดอยู่กับเร่ืองนั้นตลอดทาง พอกลับเข้าวัดก็เห็น หลวงพ่อชาเดินสวนมา ท่านยิ้มให้และทักทายเป็นภาษาอังกฤษว่า กู๊ดมอร์นิ่ง เพียงเท่าน้ันอารมณ์ของพระอาจารย์ญาณธัมโมก็เปล่ียน ไปทันที ความหงุดหงิดขุ่นมัวหายไปเป็นปลิดทิ้ง มีความปลื้มปีติมา แทนท่ี 76
ตกเย็นหลวงพ่อชาส่ังให้ท่านเข้าไปถวายการนวดท่ีกุฏิเป็น การส่วนตัว ท่านรู้สึกตื่นเต้นดีใจมากเพราะโอกาสท่ีจะได้อยู่ใกล้ชิด สองต่อสองเช่นน้ันหาได้ยากมาก เพราะท่านยังเป็นพระใหม่ ท่าน ถวายการนวดอย่างตั้งอกต้ังใจด้วยความปล้ืมปีติ แต่จู่ๆ โดยไม่ทัน รู้เนื้อรู้ตัว “หลวงพ่อชาก็ถีบเปร้ียงเข้าท่ียอดอก ซึ่งก�ำลังพองโตด้วย ความรสู้ ึกภาคภมู ขิ องอาตมา จนล้มกน้ กระแทก” ความตกใจและมึนงงว่าเกิดอะไรขึ้นหายเป็นปลิดทิ้งเมื่อได้ยิน ค�ำต�ำหนิของหลวงพ่อชาว่า “จิตใจไม่ม่ันคง พอไม่ได้ดังใจก็ขัดเคือง หงดุ หงดิ เมือ่ ได้ตามปรารถนากฟ็ ูฟ่อง” เพียงเท่าน้ันพระอาจารย์ญาณธัมโมถึงกับร้องไห้ ไม่ใช่เสียใจ เพราะถูกด่า แต่เพราะซาบซ้ึงในบุญคุณของท่าน “หลวงพ่อเมตตา มากท่ีชี้กิเลสของเรา ไม่เช่นนั้นเราก็คงมืดบอดมองไม่เห็น คงเป็น คนหลงอารมณ์ไปอกี นาน” นี้เป็นบทเรียนสอนใจให้มั่นคงจากหลวงพ่อชาที่พระอาจารย์ ญาณธัมโมไมเ่ คยลมื เลอื น การเรียนรู้ที่ดีนั้นต้องเกิดจากการเจอ “ของจริง” แม้เป็น ของจรงิ ทไ่ี มพ่ งึ ปรารถนา แตม่ นั กส็ ามารถสอนใจและฝกึ ใจเราไดม้ าก จะวา่ ไปแล้วคนเราเรียนรจู้ ากสง่ิ ท่ีขดั ใจไดม้ ากกวา่ สิง่ ทถ่ี กู ใจดว้ ยซ�้ำ 77 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
เมื่อ ๔๐ ปีก่อนนักศึกษาและปัญญาชนผู้ใฝ่ธรรม น้อยคนที่ ไม่รู้จักเขมานันทภิกขุ (โกวิท เอนกชัย) พระหนุ่มซ่ึงมีลีลาการ บรรยายธรรมที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว เนื้อหาลุ่มลึก ถ้อยค�ำสละ สลวย สำ� นวนจับใจ นอกจากคำ� บรรยาย บทความ บทกวี และภาพ วาดแลว้ ทา่ นยงั มผี ลงานทางประตมิ ากรรมมากมาย เปน็ พยานปรากฏ อยู่ทีส่ วนโมกขจ์ นทุกวันน ้ี โดยเฉพาะทโ่ี รงมหรสพทางวญิ ญาณ พ.ศ. ๒๕๑๘ ท่านได้จ�ำพรรษาท่ีวัดชลประทานรังสฤษด์ิ เพื่อ อบรมพระนวกะและญาตโิ ยม โดยไมน่ กึ มากอ่ นวา่ จดุ เปลย่ี นครงั้ สำ� คญั ในชวี ติ ของทา่ นจะเกิดขน้ึ ที่นน่ั พรรษานั้นหลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ ได้รับนิมนต์มาจำ� พรรษา ท่ีวัดชลประทานฯ เช่นเดียวกัน แต่แทบไม่มีใครรู้จักท่านเลย เห็น อากปั กริ ยิ าภายนอกของทา่ น ใครๆ กน็ กึ วา่ ทา่ นเปน็ หลวงตาธรรมดา พระอาจารย์โกวิท ก็คิดเช่นเดียวกัน จนกระทั่งวันหน่ึง หลังจากท่ี 79 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
พระอาจารยโ์ กวทิ ไดบ้ รรยายธรรมแกพ่ ระนวกะเสรจ็ หลวงพอ่ เทยี นซงึ่ น่ังฟังอยู่ตลอด ได้มาดักถามท่านว่า “ความรู้เหล่านี้เอามาจากไหน” ทา่ นรู้สกึ สะดดุ ใจกบั คำ� ถามนีม้ าก สที่ ุ่มคนื นนั้ หลวงพ่อเทยี นมาหาทา่ นทีก่ ุฏแิ ลว้ ถามหาเส้นดา้ ย พอทา่ นคลดี่ า้ ยให ้ หลวงพอ่ กถ็ ามหามดี โกน ทนั ทที ไี่ ดม้ ดี โกน หลวงพอ่ เทียนก็ตัดด้ายขาด แล้วมองหน้าพระอาจารย์โกวิท พร้อมกับบอกว่า “ถา้ อาจารยย์ งั มาไมถ่ งึ จดุ นแ้ี ลว้ ยงั ไมร่ จู้ กั พระพทุ ธเจา้ ” คำ� พดู ดงั กลา่ ว สะกิดใจท่าน ทำ� ใหฉ้ กุ คดิ ขึน้ มาวา่ หลวงตารูปน้ีไม่ธรรมดา นบั แตน่ นั้ ทกุ คนื เวลาสที่ มุ่ หลวงพอ่ เทยี นจะมาหาพระอาจารย์ โกวิทท่ีกุฏิ เพื่อคุยเร่ืองต่างๆ โดยมักจะดึงสิ่งของจากในย่ามมาเป็น อุปกรณ์ในการพูดคุย แม้หลวงพ่อเทียนจะพูดไม่เก่ง อีกทั้งภาษา อีสานของท่านก็ฟังยาก แต่ก็มีแง่มุมให้ขบคิดอยู่เสมอ สร้างความ ประทับใจแก่พระอาจารย์โกวิท และน่ันคือจุดเร่ิมต้นของการนับถือ หลวงพอ่ เทยี นเปน็ อาจารยท์ างธรรม ทง้ั ๆ ทท่ี า่ นอา่ นหนงั สอื ไมค่ อ่ ยออก ตอนน้ันพระอาจารย์โกวิทยังติดสมถะ คราวหนึ่งท่านก�ำลังน่ัง หลบั ตาทำ� สมาธ ิ หลวงพอ่ เทยี นเดนิ มาจท้ี า่ นทสี่ ขี า้ งถามวา่ “ทำ� อะไร” “ท�ำสมาธิครับ” “ท�ำทำ� ไม” 80
“เมือ่ จิตสงบ ปัญญาก็เกิด” ไดย้ นิ เชน่ นน้ั หลวงพอ่ เทยี นกจ็ บั มอื พระอาจารยโ์ กวทิ แลว้ กลา่ ว วา่ “การปฏิบตั ิธรรมของพระพุทธเจ้าตอ้ งทำ� อย่างน้”ี พระอาจารย์โกวิทไม่เข้าใจว่าหลวงพ่อเทียนต้องการบอกอะไร เป็นเวลานานกว่าท่านจะรู้ว่าสิ่งท่ีหลวงพ่อเทียนต้องการส่ือก็คือ ใหท้ ่านหมนั่ “ร้สู ึกตัว” แทนทีจ่ ะหลงตดิ อยูใ่ นความสงบ ซึ่งเป็นของ ช่วั คราว พ.ศ. ๒๕๒๕ จดุ เปลยี่ นครง้ั ส�ำคญั ไดเ้ กดิ ขน้ึ กบั ทา่ นอกี ครงั้ หนง่ึ ท่านไดล้ าสิกขาขณะพำ� นกั ทปี่ ระเทศออสเตรเลยี เม่ือกลบั มาประเทศ ไทย ลูกศิษย์หลายคนยอมรับไม่ได ้ ถึงกับแสดงปฏิกิริยาต่อต้าน แต่ หลวงพ่อเทียนไม่พูดอะไรเลยแม้แต่ค�ำเดียว ไม่ถามถึงสาเหตุของ การสกึ เลยดว้ ยซำ้� ทงั้ ๆ ทอี่ าจารยโ์ กวทิ บวชมาถงึ ๑๖ พรรษา หลวงพอ่ บอกแตเ่ พยี งวา่ “ใหป้ ฏบิ ตั ิ บางคนเหมาะขณะเปน็ พระ บางคนเหมาะ ขณะเป็นโยม ไม่มขี อ้ จำ� กดั ในการปฏบิ ตั ติ ามแนวทางของหลวงพ่อ” หลวงพอ่ เทยี นเหน็ วา่ นกั บวช หรอื ฆราวาส เปน็ เรอื่ งสมมติ สว่ นการปฏบิ ตั ธิ รรมเพอื่ พน้ ทกุ ขน์ น้ั ไมข่ นึ้ อยกู่ บั สมมติ จะเปน็ เพศใด ภาษาใด ถา้ ทำ� จรงิ กไ็ ดผ้ ล “การปฏบิ ตั ิ ได ้ หรอื ไมไ่ ด ้ เปน็ เรอื่ งของ แต่ละคน ไม่เก่ียวกับการเป็นพระ หรือเป็นโยม” ตอนนั้นหลวงพ่อ 81 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
เทียนเป็นประธานสงฆ์ท่ีวัดสนามใน นนทบุรี จึงจัดให้อาจารย์โกวิท บรรยายธรรมให้ญาติโยมฟงั ทุกวนั อาทิตย์ ลูกศษิ ยข์ องหลวงพอ่ หลายคนมีความตะขดิ ตะขวงใจที่อาจารย์ โกวิทมาแสดงธรรม วันหน่ึงท่านถามอาจารย์โกวิทว่า “มีเส้ือไหม” อาจารย์โกวิทไม่รู้ว่าหลวงพ่อต้องการเส้ือไปท�ำอะไร แต่ก็หาเสื้อคลุม อาบน�้ำและหมวกก้ยุ เล้ยมาใหท้ ่าน พอได้มา หลวงพอ่ กส็ วมเส้อื คลมุ และสวมหมวกกุ้ยเล้ย ออกไปนั่งกลางลานวัด ท่ามกลางความงุนงง สงสยั ของลกู ศษิ ย ์ หลายคนไมเ่ ขา้ ใจวา่ ทา่ นทำ� เชน่ นนั้ ทำ� ไม แตจ่ ำ� นวน ไม่น้อยก็ได้คิดว่า อย่าตัดสินคนที่เปลือกนอก จีวรหรือเส้ือผ้าเป็น สิ่งสมมติ แม้หลวงพ่อเทียนจะสวมเส้ือคลุม ก็ไม่ได้ท�ำให้ธรรมะหรือ แกน่ แทข้ องทา่ นแปรเปลยี่ นไป มองใหล้ กึ ไปกวา่ นน้ั แมจ้ ะนงุ่ กางเกง หรอื ผา้ ถุง กส็ ามารถบรรลุธรรมได้ ในช่วงท้ายของชีวิตหลวงพ่อเทียนได้สร้างส�ำนักปฏิบัติธรรม แห่งใหม่ ท่ีจังหวัดเลย บ้านเกิดของท่าน ต้ังใจให้เป็นสถานปฏิบัติ ธรรมส�ำหรับผู้หญิงโดยเฉพาะ ท่านได้ขอให้อาจารย์โกวิทต้ังชื่อ ส�ำนัก “ทับขวัญ” คือช่ือท่ีอาจารย์โกวิทเสนอ แต่หลวงพ่อย้�ำว่าช่ือ ตอ้ งเปน็ ผหู้ ญงิ ชอ่ื ใหมจ่ งึ ไดแ้ ก ่ “ทบั มง่ิ ขวญั ” หลวงพอ่ ไดส้ อนธรรม ณ สถานท่ีแห่งน้ี จนกระทั่งมรณภาพเม่ือวันท ี่ ๑๓ กันยายน ๒๕๓๑ สิริอายุ ๗๗ ปี 82
ในวัยหนุ่มหลวงปู่ดู่ พฺรหฺมปญฺโ นิยมเดินธุดงค์และปลีก วเิ วกอยตู่ ามปา่ เขาเถอ่ื นถำ้� ตา่ งๆ แตค่ รงึ่ ชวี ติ หลงั ของทา่ น ซง่ึ ยาวนาน ถึง ๔๓ ปี ท่านแทบไม่ได้ออกไปไหนเลย พ�ำนักอยู่แต่ในวัดสะแก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กิจวัตรประจ�ำวันคือนั่งรับแขกหน้ากุฏิ ตั้งแต่เช้าจรดคำ่� แม้ชรามากแล้วท่านก็ไม่เคยท้ิงกิจวัตรดังกล่าว ท้ังนี้เพื่อช่วย คลายความทกุ ขข์ องญาตโิ ยมทม่ี าจากทกุ สารทศิ หลายคนมาหาทา่ น เพื่อขอหวยเพราะอยากรวยทางลัด จ�ำนวนไม่น้อยอยากให้ท่านรด น�้ำมนต์เป่าหัวจะได้หายจากความเจ็บป่วย ไม่มีใครท่ีถูกท่านปฏิเสธ แต่ใช่ว่าท่านจะสนองความต้องการของญาติโยมในทุกกรณีก็หาไม่ บางครั้งทา่ นก็ให้ของท่ีดกี วา่ นัน้ 84
คราวหนงึ่ เกดิ ไฟไหมท้ วี่ ดั สะแก บรเิ วณตรงขา้ มกฏุ ขิ องหลวงปู่ ถกู เพลงิ เผาพนิ าศ แตก่ ฏุ ขิ องทา่ นไมเ่ ปน็ อะไร เปน็ ทนี่ า่ อศั จรรยใ์ จแก่ ผคู้ นทว่ั ไป โยมผหู้ น่งึ เชือ่ วา่ หลวงปู่มพี ระดเี ป็นแน ่ จึงไปหาหลวงปู่ “หลวงปคู่ รบั ผมขอพระดที ีก่ ันไฟไดห้ น่อยครบั ” หลวงปู่ยิ้มก่อนตอบว่า “พุทธัง ธัมมัง สังฆัง ไตรสรณคมน์ น่ีแหละ พระด”ี “ไม่ใชค่ รบั ผมขอพระเปน็ องคๆ์ อย่างพระสมเด็จน่ะครบั ” หลวงปู่กล่าวยำ้� ว่า “ก็พุทธัง ธัมมัง สังฆัง น่ีแหละ มีแค่น้ีล่ะ ภาวนาใหด้ ”ี เป็นอันว่าหลวงปู่มิได้ให้อะไรเขา เมื่อโยมผู้นั้นกลับไป หลวงปู่ จงึ ไดป้ รารภกบั ศษิ ยว์ า่ “คนเรานก่ี แ็ ปลก ขา้ ใหข้ องจรงิ กลบั ไมเ่ อา จะ เอาของปลอม” ทา่ นเคยพดู ถงึ พระเครอื่ ง ซงึ่ ใครๆ อยากไดเ้ พอ่ื บชู า โดยเฉพาะ พระสมเด็จวัดระฆัง ว่าการนับถือพระเช่นนี้เป็นสิ่งที่ดี แต่เป็นดี ภายนอก มิใช่ดีภายใน แล้วท่านแนะว่า “ให้หาพระเก่าให้พบ นี่ซิ ของแทข้ องดีจริง” 85 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
เม่ือศิษย์ถามท่านว่าพระเก่าหมายถึงอะไร หลวงปู่ตอบว่า “ก็ หมายถงึ พระพุทธเจ้านะ่ ซิ นัน่ ท่านเป็นพระเก่า พระโบราณ พระองค์ แรกท่ีสดุ ” นอกจากวัตถุมงคลแล้ว อีกส่ิงหน่ึงที่ผู้คนปรารถนาและเสาะ แสวงหาก็คือ ความมั่งคั่งร�่ำรวย โดยไม่ตระหนักว่ามีสิ่งอ่ืนท่ีดีกว่า ประเสริฐกว่า นั่นคือบุญกุศล คุณธรรมความดี ประเสริฐสูงสุดคือ นพิ พาน ความพ้นทกุ ข์ มเี รอื่ งเลา่ วา่ พระรปู หนงึ่ มาบวชทว่ี ดั สะแกอยพู่ กั ใหญ ่ กอ่ นจะ ลาสิกขาก็มาหาหลวงปู่เพื่อขอให้ท่านพรมนำ�้ มนต์และให้พร ขณะที่ หลวงปพู่ รมนำ�้ มนตใ์ ห ้ พระรปู นน้ั กอ็ ธษิ ฐานในใจวา่ “ขอความรำ่� รวย มหาศาล ขอลาภขอผลพนู ทว ี มกี นิ มใี ช ้ ไมร่ หู้ มด จะไดแ้ บง่ ไปทำ� บญุ มากๆ” พอท่านอธิษฐานเสร็จ หลวงปู่ก็มองหน้าพร้อมกับพูดว่า “ท่าน...ท่ีท่านคิดน่ะมันต�่ำ คิดให้มันสูงไว้ไม่ดีหรือ แล้วเรื่องท่ีท่าน คิดนะ่ จะตามมาทีหลัง” อย่างไรก็ตามไม่ใช่ทุกคนที่มาขอโชคลาภหรือวัตถุมงคลจาก ทา่ น จำ� นวนไมน่ อ้ ยมาหาทา่ นเพอ่ื สนทนาธรรม มคี นหนง่ึ ถามทา่ นวา่ เขาขเ้ี กยี จปฏบิ ตั ธิ รรม จะทำ� อยา่ งไรด ี คำ� ตอบของทา่ นคอื “หมน่ั ทำ� 86
เข้าไว้....ถ้าข้ีเกียจให้นึกถึงข้า ข้าท�ำมา ๕๐ ปี อุปัชฌาย์ข้าเคยสอน ไวว้ า่ ถา้ วนั ไหนยงั กนิ ขา้ วอย ู่ กต็ อ้ งทำ� วนั ไหนเลกิ กนิ ขา้ ว...นน่ั แหละ ถงึ ไม่ต้องท�ำ” หลวงปู่พูดเสมอว่า “ผู้ปฏิบัติต้องหม่ันตามดูจิต รักษาจิต” เคยมผี ปู้ ฏบิ ตั ติ ามหลวงปวู่ า่ “หลวงปคู่ รบั ขอธรรมะสน้ั ๆ ในเรอ่ื งวธิ ี ปฏิบัติเพ่ือให้กิเลส ๓ ตัว คือ โกรธ โลภ หลง หมดไปจากใจเรา จะทำ� ได้อย่างไรครับ” หลวงปู่ตอบเสียงดงั ฟังชัดวา่ “สติ” คนื ทท่ี า่ นจะมรณภาพนนั้ มคี ณะศษิ ยม์ ากราบทา่ น หลวงปไู่ ดเ้ ลา่ ให้ญาติโยมกลุ่มนี้ด้วยสีหน้าปกติว่า “ไม่มีส่วนหน่ึงส่วนใดในรา่ งกาย ข้าท่ีไม่เจ็บปวดเลย ถ้าเป็นคนอ่ืนคงเข้าห้องไอซียูไปนานแล้ว” แล้ว ท่านก็กล่าวต่อว่า “ข้าจะไปแล้วนะ” ไม่มีใครคาดคิดว่าท่านจะจากไป เพราะท่านไม่ได้มีอาการเจ็บป่วยให้เห็น ท่านทิ้งท้ายว่า “ถึงอย่างไร กข็ ออย่าไดท้ งิ้ การปฏบิ ตั ิ กเ็ หมอื นนกั มวยขนึ้ เวทแี ลว้ ตอ้ งชก อย่ามวั แต่ต้งั ทา่ เงอะๆ งะๆ” ตีห้าคืนน้ัน หลวงปู่ได้ละสังขารอย่างสงบด้วยโรคหัวใจ ในกุฏิ ของท่าน สริ อิ ายุ ๘๕ ปี 87 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
หลวงพอ่ ปญั ญา หรอื ปญั ญานันทภิกขุ เปน็ สหายธรรมของ ทา่ นพทุ ธทาสภกิ ข ุ ทมี่ ชี อื่ เสยี งมากในดา้ นการเผยแผธ่ รรม คำ� เทศนา ของท่านเข้าใจง่าย เป็นเหตุเป็นผล ระคนด้วยมุขชวนขัน มุ่งพาคน ออกจากความงมงายหลงใหลในไสยศาสตร์ และการหมกมุ่นใน อบายมุข ทุกหนแห่งที่ท่านแสดงธรรม จะมีญาติโยมติดตามไปฟัง เปน็ จำ� นวนมาก เมอื่ เทคโนโลยกี า้ วหนา้ มากขนึ้ กต็ ามฟงั จากรายการ วิทยุ หรอื ไมก่ จ็ ากตลับเทป หลวงพอ่ ปญั ญาเกดิ ทจี่ งั หวดั พทั ลงุ ในครอบครวั ชาวนา นาม เดิมว่า ปั่น บิดามารดาของท่านเป็นผู้ใฝ่ธรรมและมีน�้ำใจเอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่หาอะไรมาได้ก็จะแบ่งปันให้เพื่อนบ้านอยู่เสมอ แม้ไม่ได้ร�่ำรวย ทา่ นพดู ถงึ ความรู้สกึ ในช่วงที่เป็นเด็กวา่ 89 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
“คร้ังเป็นเด็กๆ นี้เบื่อที่สุดในการที่จะเอาแกงไปแจกบ้านโน้น เอาขนมไปแจกบ้านน้ี เวลาโยมท�ำอะไรกิน เช่น ได้เนื้อมาก้อนหนึ่ง เอามาขนึ้ แกงหมอ้ หนง่ึ ตอ้ งตกั ไปแจกทกุ บา้ น ไดท้ เุ รยี นมาสองสามผล ทำ� นำ�้ กะทอิ า่ งใหญๆ่ ตอ้ งเอาไปแจกทกุ บา้ น ถา้ ไดป้ ลามาเปน็ เขง่ ตอ้ ง เอามาแบ่งเปน็ กองๆ เดก็ ต้องเอาไปแจก เรอื นน้ันกอง เรอื นนกี้ อง” “ไดอ้ ะไรมากไ็ ปแจกอยอู่ ยา่ งนนั้ สมยั เดก็ ๆ นเี่ บอื่ เตม็ ท ี พอเหน็ เขาแบง่ กองปลากค็ ดิ วา่ แยอ่ กี แลว้ วนั น ี้ วงิ่ กนั เตม็ ทล่ี ะ น่าเบอื่ จรงิ ๆ” เวลามีใครเดือดร้อน บิดามารดาของท่านก็ยินดีช่วยเหลือเต็ม ก�ำลัง ครอบครัวของท่านมีควาย ๒๐ ตัว แต่ก็ให้เพ่ือนบ้านยืมไปใช้ ท�ำนาถึง ๑๘ ตัว เหลือไว้ใช้งานเพียง ๒ ตัว ยิ่งไปกว่าน้ันหากมีคน มาขอที่เหลือไปอีก ก็พร้อมจะให้ด้วยความยินด ี “คนท่ีมาขอยืม เขา ล�ำบากกว่าเรามาก เราหาเอาใหม่ได้” คือเหตุผลที่บิดามารดาบอก กบั ลกู ชาย ไม่ใช่กับเพ่ือนบ้านเท่าน้ัน กับคนแปลกหน้า บิดามารดาของ ท่านก็เอื้อเฟื้อด้วยความยินดี บางคราวมีชาวบ้านสัญจรผ่านมาและ ขอพักท่ีบ้านถึง ๑๕ คน ท้ังสองท่านก็กุลีกุจอจัดหาท่ีพักและท�ำ อาหารต้อนรับอย่างดียิ่ง วันที่แขกจะเดินทางกลับ มารดาของท่าน ก็จะตื่นแต่เช้ามืดเพื่อจัดอาหารเช้าให้ พร้อมทั้งห่ออาหารกลางวัน ไปกินกลางทางด้วย 90
เด็กชายปั่นได้เห็นแต่เล็กว่า “การต้อนรับขับสู้เหล่านี้ให้ความ สุขใจ ได้มิตรภาพเป็นก�ำไร คนเดินทางเหล่านี้มักน�ำอาหารหรือของ แปลกๆ มาฝากบอ่ ยๆ เหมอื นกนั มใิ ชเ่ ปน็ คา่ จา้ ง แตเ่ ปน็ เครอื่ งหมาย แหง่ ความระลึกถงึ กนั ” สมัยน้ันพัทลุงข้ึนชื่อว่าเป็นถิ่นนักเลงและดงโจร มีการปล้น ววั ควายเปน็ ประจำ� แตน่ า่ แปลกทว่ี วั ควายของครอบครวั ทา่ น ไมว่ า่ จะ อยู่ที่บ้านหรือปล่อยไว้กลางทุ่ง ไม่เคยถูกโจรขโมย ตรงข้ามกับเพ่ือน บ้าน วัวควายหายอยู่เนือง เมื่อเกิดเหตุดังกล่าว บิดาของท่านไม่เคย นง่ิ เฉย รบั เปน็ ธรุ ะไปตามกลบั มาให ้ ซงึ่ กม็ กั ประสบความสำ� เรจ็ เสมอ ไม่ใช่เพราะบิดาของท่านเป็นผู้มีอิทธิพลท่ีโจรเกรงกลัว แต่เป็นเพราะ ความดขี องทา่ น ท่านเล่าว่าบิดาของท่าน “คบคนทุกเหล่า ให้ทุกอย่างท่ีเขา ต้องการ วัวควายที่มีอยู่ไม่เคยหวง ใครขอไปกี่ตัว ใช้ก่ีวัน ได้ตาม ปรารถนา เป็นความเอ้ือเฟื้อของบิดามารดาอาตมาท่ีช่วยปกป้อง ควายไวไ้ ด้” อีกเหตุผลหน่ึงก็คือ “บางทีบรรดาโจรอาจจะเคยมาอาศัยบ้าน กนิ ขา้ วปลาอาหารครง้ั หนง่ึ หรอื สองครงั้ เลยส�ำนกึ ในบญุ คุณ” 91 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
เป็นเพราะมีบิดามารดาท่ีเปี่ยมด้วยน้�ำใจไมตรี เอ้ือเฟื้อเผือแผ่ ท่านจึงมีจิตใจใฝ่ธรรมตั้งแต่เยาว์วัย เป็นนิสัยปัจจัยให้ท่านน้อมใจ ในพระศาสนา หลงั จากทไี่ ดบ้ รรพชาเปน็ สามเณรเมอื่ อาย ุ ๑๘ ป ี ทา่ น กไ็ มไ่ ดห้ วนคนื สเู่ พศคฤหสั ถอ์ กี เลย เจรญิ มนั่ คงในสมณเพศโดยตลอด ยินดีในการบ�ำเพ็ญทานไม่หยุดหย่อน เช่นเดียวกับโยมบิดามารดา ของทา่ น แต่แทนทจี่ ะเปน็ วัตถุทาน ก็มอบธรรมทาน ซึ่งเป็นทานอัน ประเสริฐสดุ จวบจนทา่ นมรณภาพดว้ ยวัย ๙๖ ปี 92
หลวงพ่อปัญญานันทภกิ ขุ นามเดิม ป่นั เสน่หเ์ จริญ ก�ำเนิด ๑๑ พฤษภาคม ๒๔๕๔ ชาตภมู ิ ตำ� บลคูหาสวรรค ์ อำ� เภอเมอื ง จังหวดั พทั ลงุ อปุ สมบท พ.ศ. ๒๔๗๔ ณ วดั นางลาด อ�ำเภอเมอื ง จงั หวัดพัทลุง สมณศกั ดิ์ พระพรหมมังคลาจารย์ มรณภาพ ๑๐ ตลุ าคม ๒๕๕๐ สริ อิ าย ุ ๙๖ ปี พรรษา ๗๖ หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ เป็นท่ีรู้จักในฐานะผู้ปฏิรูปแนวทางการ เผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์ไทย ผู้เป็นสหธรรมิกร่วมอุดมการณ์ คนสำ� คัญของท่านอาจารยพ์ ทุ ธทาสภิกขุ เม่ือบวชได้ ๓ พรรษา ท่านได้ยินกิตติศัพท์ของสวนโมกขพลาราม จึง เดนิ ทางไปจำ� พรรษากบั ทา่ นอาจารยพ์ ทุ ธทาสภกิ ขทุ นี่ นั่ นบั แตน่ น้ั ทงั้ สองทา่ น กไ็ ดเ้ ปน็ สหายธรรมในการเผยแพรค่ ำ� สอนของพระพทุ ธองค ์ ในป ี พ.ศ. ๒๔๙๒ ทา่ นไดร้ บั อาราธนาเจา้ อาวาสวดั อโุ มงค ์ จงั หวดั เชยี งใหม ่ และไดเ้ รม่ิ แสดงธรรม ในทุกวันอาทิตย์และวันพระ ท่ีพุทธนิคม กลางเมืองเชียงใหม่ จนเป็นที่รู้จัก อย่างแพร่หลาย ในปี พ.ศ. ๒๕๐๒ กรมชลประทานได้สร้างวัดใหม่ ชื่อวัดชลประทาน รังสฤษดิ์ ม.ล. ชูชาติ ก�ำภู อธิบดีกรมชลประทาน มีความศรัทธาในคำ� สอน ของท่าน จงึ ได้อาราธนาท่านเป็นเจา้ อาวาส ท่านเป็นพระรูปแรกท่ีปรับเปลี่ยนการแสดงธรรม จากเดิมท่ีนั่งเทศน์ บนธรรมาสน์ถือใบลาน มาเป็นการยืนพูดสดแบบปาฐกถา ขณะเดียวกัน คำ� สอนของทา่ นทเี่ นน้ แกน่ ธรรมมากกวา่ กระพ ้ี ชวนใหผ้ คู้ นใชเ้ หตผุ ล ไมห่ ลง งมงายในไสยศาสตร์ พิธีกรรม และอบายมุข โดยใช้ค�ำพูดที่เข้าใจง่าย สอดแทรกเหตุการณ์ร่วมสมัย และมีอารมณ์ขัน ท�ำให้ท่านเป็นท่ีรู้จักอย่าง กว้างขวาง และเปน็ ตน้ แบบใหแ้ กพ่ ระนักเทศนร์ ุน่ หลงั ๆ
ในบรรดาพระกรรมฐานซงึ่ เปน็ ทเ่ี คารพนบั ถอื ของชาวเมอื งเลย ไม่มีท่านใดโดดเด่นเท่าหลวงปู่ชอบ ฐานสโม ท่านได้ชื่อว่าเป็นศิษย์ รนุ่ ใหญข่ องหลวงปมู่ นั่ ภรู ทิ ตโฺ ตอกี รปู หนง่ึ ทม่ี ภี มู ธิ รรมลมุ่ ลกึ อนั เปน็ ผลจากการภาวนาอย่างอุตสาหะต้ังแต่ยังหนุ่ม อีกทั้งมีประสบการณ์ ท่ีเข้มข้นโชกโชนจากการธุดงค์ในป่าลึก ความท่ีท่านมีอายุยืนนาน ถึง ๙๐ ปี แม้จะเป็นอัมพาตในช่วง ๒๐ ปีสุดท้าย แต่การได้มีเวลา เทศนาแสดงธรรมอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ลกู ศษิ ยล์ กู หาของทา่ นจงึ มมี ากมาย ทว่ั ประเทศ 95 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
หลวงปู่ชอบได้ฝากตัวเป็นศิษย์หลวงปู่มั่นตั้งแต่อายุยังน้อย ท่านได้รับค�ำชมจากหลวงปู่ม่ันตั้งแต่ยังเป็นพระหนุ่มว่า “ให้ทุก องคภ์ าวนาใหไ้ ดเ้ หมอื นทา่ นชอบ” อกี คราวหนงึ่ ไดพ้ ดู ถงึ ประสบการณ์ การภาวนาของท่านว่า “ไปไกลลิบเลย พระน้อยองคน์ ี้” หลวงปู่ชอบใช้เวลาส่วนใหญ่ในป่าเขา ออกพรรษาแล้วก็ชอบ ธุดงค์ในป่าลึกแถวภาคเหนือและพม่า จนกระท่ังอายุ ๔๕ ปี จึงกลับ มายงั ภาคอสี าน และปกั หลกั ทจ่ี งั หวดั เลยอนั เปน็ บา้ นเกดิ ในเวลาตอ่ มา ว่ากันว่าท่านมีประสบการณ์เก่ียวกับอิทธิปาฏิหาริย์มากที่สุด องค์หนึ่ง ลูกศิษย์ลูกหาที่เป็นพระหนุ่มเณรน้อยจึงมักอยากฟังท่าน เล่าเร่ืองเหล่านี้ ซึ่งก็ไม่ค่อยผิดหวัง ฟังแล้วก็สนุกและต่ืนเต้น แต่มี เรอื่ งอืน่ ที่ใกล้ตวั กว่าและมปี ระโยชน์มากกวา่ ดงั เรือ่ งข้างล่าง มีพระรูปหน่ึงซึ่งเป็นศิษย์ของท่าน มากราบลาเพ่ือขอสึก ไปเป็นฆราวาส ท่านจึงถามว่าอยากสึกเพราะเหตุใด ค�ำตอบคือ “รัก ผู้สาวครบั ” “รกั เขามากไหม ?” “รักมากครับ” ทา่ นถามตอ่ วา่ “ถ้ารักเขามาก แลว้ สามารถกินข้เี ขาได้ไหม ?” พระรูปนัน้ ยอมรบั วา่ ท�ำไม่ได้ 96
“แสดงว่าท่านยังรักเขาไม่จริง ท่านยังรักเขาไม่พอ ถ้ารักมาก พอแลว้ ข้ีของคนท่ีตนเองรกั น้นั ก็นา่ จะกนิ ได้ไม่ใชห่ รอื ” ว่าแล้วหลวงปู่ชอบให้ค�ำแนะน�ำแก่พระรูปน้ันว่า “ขอให้ท่าน กลับไปพิจารณาให้ดีๆ เสียก่อน ถ้ามันถึงขั้นกินขี้ของผู้หญิงที่ตนเอง รักได้แล้ว ผมก็จะอนุญาตให้ท่านสึกได้ทันที แต่ถ้าตัดสินใจกินข้ีเขา ไม่ได้แลว้ กอ็ ยา่ มาลาสึกกบั ผม จะไปสกึ กบั ใครก็ไปเสีย” เร่ืองแบบนี้ไม่ได้เกิดกับคนอื่นเท่าน้ัน ตัวท่านเองก็เคยประสบ และบอ่ ยเสยี ดว้ ย ครงั้ ทหี่ นกั ทสี่ ดุ เกดิ ขน้ึ เมอื่ ทา่ นอาย ุ ๒๘ ป ี ตอนนน้ั ท่านตัดสนิ ใจอยา่ งแน่วแนว่ ่า “จะสกึ ออกไปสู่ขอเขาเปน็ เมยี ให้ได”้ หญงิ สาวผนู้ น้ั ชอ่ื วา่ “สาวทอง” วนั นนั้ เธอมาทำ� บญุ กบั แมท่ ว่ี ดั ขณะที่ท่านเตรียมจะให้พร พอแหงนหน้ามองญาติโยมที่มาท�ำบุญ สายตาของทา่ นกป็ ะทะกบั สายตาของเธอพอด ี ชว่ั วนิ าทนี นั้ ทา่ นเลา่ วา่ “มนั เหมอื นกบั มอี ะไรพงุ่ เขา้ มาชนหวั ใจเราทนั ทที นั ใด ตาคา้ งจอ้ งหนา้ กนั อยูพ่ ักหนึง่ ” พอไดส้ ติ ก็รีบกม้ หน้าด้วยความอาย นับแต่น้ันท่านก็คิดถึงสาวทองตลอด แม้จะท�ำความเพียรสู้ ก็ ไม่สามารถคลายความคิดถึงเธอได้ ประกอบกับแม่ของเธอเป็น โยมอุปัฏฐากดูแลพระเณร จึงเป็นเหตุให้มีโอกาสพบปะและพูดคุยกัน หลายครั้ง ยิ่งเวลาผ่านไปก็ย่ิงมีใจผูกพันกับเธอ ส่วนฝ่ายหญิงน้ันก็ 97 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
มใี จใหท้ า่ นเช่นเดียวกัน ตอนนนั้ ใจของทา่ นคดิ แตจ่ ะสกึ อยา่ งเดยี ว เวลาภาวนา “พทุ โธ” ที่บริกรรมมาตลอด ก็กลายเป็น “พุดทอง” ไปโดยไม่รู้ตัว อย่างไร ก็ตามใจที่คิดจะสู้กับความคิดน้ีก็ยังมีอยู่ ท่านจึงใช้วิธี “อดนอนผ่อน อาหาร” ทแี รกวธิ นี ด้ี เู หมอื นจะใชไ้ ด้ กามราคะทเี่ คยรบกวนกอ็ อ่ นแรงลง แต่หลังจากอดนอนและอดอาหารติดต่อกันเป็นแรมเดือน ร่างกาย ก็ทนไมไ่ หว ลม้ ปว่ ย ครั้นสาวทองและผู้เป็นแม่รู้เข้า ก็วิ่งเต้นหายามารักษาท่าน ท�ำให้ใกล้ชิดกับท่านย่ิงกว่าเดิม กามราคะท่ีเคยฝ่อลงก็กลับมีก�ำลัง เข้มแข็งข้ึน ท่านเห็นว่าแบบนี้ชักไม่ได้การแล้ว จึงต้ังสติหันมา พิจารณาถึงสิ่งที่เกิดขึ้นกับจิตใจของท่าน ในที่สุดก็พบว่า “เพราะความคิดตัวเดียว มันมาปลุกให้กิเลส กามตน่ื ขนึ้ มาแผลงฤทธแิ์ ผลงเดชกบั หวั ใจเรา เหตนุ มี้ นั เกดิ ทใี่ จ เราก็ จะตอ้ งแก้ไขทใ่ี จของเรา” ในเมอื่ ใจยงั คดิ ไมห่ ยดุ ถงึ สาวทอง ทางเดยี วทจี่ ะชว่ ยใหห้ ยดุ คดิ กค็ อื หนอี อกจากทนี่ น้ั ทา่ นจงึ ตดั สนิ ใจออกจากวดั ในคนื นน้ั หลงั จาก 98
หนไี ปไดไ้ มถ่ งึ ๒ เดอื น ทา่ นกส็ ามารถตดั ใจได ้ ไมอ่ าลยั ใฝห่ าสาวทอง อกี ตอ่ ไป นเ้ี ปน็ การตดั สนิ ใจครง้ั ส�ำคญั ทสี่ ดุ ครง้ั หนง่ึ ของทา่ นกว็ า่ ได้ และ เป็นการตัดสินใจท่ีถูก เป็นเหตุให้ท่านสามารถมั่นคงด�ำรงในพรหม- จรรย์ตอ่ ไปได้อกี ๖๐ ป ี จนละสงั ขารในผ้าเหลอื ง 99 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210