๑๕๐ อัตตชวี ประวัติ อ.วศิน อินทสระ ตอ มาไดท ราบขา ววา ทา นเจา คณุ อาจารย (พระราชดลิ ก) ปว ย ทานอยทู ่ีวัดบุปผาราม ฝง ธนบุรี ตองเขา โรงพยาบาลบอ ย ๆ ตอ ง ใชเงินในการรักษาพยาบาล ในการซื้อยา นึกเอาเองวาทานคงพอ มีอยูบาง วันหนึ่งไดทราบวาทานใหคนถือจดหมายไปขอเงินหลาน ทห่ี าดใหญ รสู กึ สลดใจวา เราอยทู ใ่ี กลก ลบั ไมร ถู งึ ความขาดแคลน ของทา น จงึ ปวารณาวา ตงั้ แตน ต้ี อ ไปถา เผอื่ ทา นตอ งการปจ จยั จาํ นวน เทา ใดขอใหบ อก และไดถ วายเปน นติ ยภตั ประจาํ เดอื น ทา นขอใหเ ปด บัญชีออมทรัพยไว ทานตองการเม่ือใดก็จะใหเด็กลูกศิษยมารับไป ตงั้ แตป ๒๕๒๖ จนทา นสน้ิ ชวี ติ เมอื่ วนั ท่ี ๒๔ กมุ ภาพนั ธ ป ๒๕๓๔ เนื่องจากทานมอบศพใหแกโรงพยาบาลศิริราช จึงไดมาทําการ พระราชทานเพลงิ ศพเม่อื ๗ พฤษภาคม ๒๕๓๗ ตอมาพ่ีสุเมธไดมาหาที่บาน หลังจากคุยเรื่องอื่นกันแลว ตอนนนั้ พสี่ เุ มธไมค อ ยสบายปว ยกระเสาะกระแสะ ขา พเจา ไดถ ามวา “มลี กู หลายคน เขาไดส ง เงนิ ใหป ระจาํ หรอื ไม” พส่ี เุ มธ ตอบวา “สง บา ง ไมส ง บา ง ไมแ นน อน” ขา พเจา จงึ ไดส ง เงนิ ใหพ ส่ี เุ มธทกุ เดอื น จน พสี่ เุ มธเสยี ชวี ติ ทจี่ งั หวดั สงขลาเมอ่ื วนั ที่ ๑๕ ธนั วาคม ป พ.ศ. ๒๕๓๘
๑๕๑บุพการี ตอ มาวนั หนงึ่ อาจารยศ ริ ิ พทุ ธศกุ ร ไดโ ทรฯทางไกลจาก เชียงใหมมาหาขาพเจา ตอนนั้นทานไปอยูเชียงใหมกับลูกชายซึ่ง สอนอยมู หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม ทา นบอกวา เงนิ ทมี่ หาวทิ ยาลยั มหา มกุฏฯจะใหทานจํานวนเทาใด ใหขาพเจาชวยนําฝากธนาคารดวย แลว บอกเลขทบี่ ญั ชธี นาคารให ขา พเจา ไดร เู ลขทบี่ ญั ชขี องทา นแลว กเ็ ลยถอื โอกาสฝากเงนิ ของขา พเจา ใหท า นเปน ประจาํ เดอื นดว ย จน ทา นเสียชวี ิตเมือ่ เรว็ ๆ น้ีเอง
๒๑ บนั ทึกเบด็ เตลด็
ตอนนี้ฟน ไมด ี เมอื่ เจอเนือ้ เหนียวๆ เขา กม็ ักจะคายทงิ้ ทําใหระลึกถงึ สมัยเปน เดก็ ไดเนื้อสักช้ิน คาํ หน่งึ กินขาวได ๑ จาน เพราะกลืนแตข าวไมย อมกลืนเนอื้ จะกลืนเน้ือตอเม่อื ขา วคาํ สดุ ทา ย ๑. เมอื่ อายปุ ระมาณ ๔ ขวบ จาํ ไดว า ไปวดั กบั แม (วดั หว ยพดุ ) ขากลบั วง่ิ ออกหนา แมม ากอ น ตกลงไปในสระนา้ํ รมิ ทาง ปอ มแปม ๆ ทําทา จะจมนาํ้ พอดแี มเดินมาทันจงึ ชว ยไวได ๒. เมอ่ื อายปุ ระมาณ ๑๑ ขวบ พช่ี ายอกี คนหนง่ึ มาบวช เปนสามเณรอยูที่วัดภูตบรรพต เม่ือเปนเด็กเขาอยูท่ีอําเภอรัตภูมิ ที่มาบวชเปนสามเณรอยูท่ีน่ีก็เพราะมีพี่ชายคนโตบวชเปนพระอยู เขาคดิ ถงึ บา นทร่ี ตั ภมู จิ งึ อยากจะกลบั บา น ชวนขา พเจา ไปดว ย ตอ ง เดินไปไกลมากกวา จะถงึ รมิ ทะเลที่บา นตากลม (อานวา ตาก-ลม)
๑๕๔ อตั ตชีวประวตั ิ อ.วศิน อนิ ทสระ ลงเรอื ใบเลก็ ๆ จากบา นตากลมไปขนึ้ ทป่ี ากบาง อาํ เภอรตั ภมู ิ เปน ทะเลสาบสงขลา ดเู หมอื นจะมชี าวบา นทบี่ า นตากลมไปสง แตเ มอ่ื ไปถงึ กลางทะเลฝนตกหนกั ลมแรงมาก สามเณรพชี่ ายและเจา ของ เรือตองลงจากเรือแลว ประคบั ประคองเรือไป ขาพเจาเปน เด็กชวย อะไรเขาไมได ไดแตรอ งไห นึกในใจวา เราคงตายคราวนี้ แตก ร็ อด ไปไดเพราะลมและฝนหยดุ ลง ๓. เมอื่ บวชเปน สามเณรแลว อายปุ ระมาณ ๑๔ ไดเ ดนิ ทางจากกรุงเทพฯไปสงขลาโดยเรือสินคาของนายเพง คหบดีคน หน่งึ ของจังหวัดสงขลา มีเรอื สนิ คาจากสงขลามากรุงเทพฯ เสมอ เทยี่ วกลบั คราวนน้ั ทา นเจา คณุ อาจารยไ ดฝ ากขา พเจา ไปกบั เรอื สนิ คา ของนายเพงกับสามเณรอีกรูปหนึ่ง จําไมไดวาเปนใคร พระภิกษุ อกี รปู หนง่ึ ชอื่ พระจรูญ อโสโก (บดั นี้เสยี ชีวิตแลวในเพศฆราวาส) เรอื สนิ คา โดนคลนื่ หนกั มาก ขา พเจา เมาคลน่ื อยา งรนุ แรงตลอดเวลา อาเจยี นจนไมม ีอะไรเหลอื เพลยี มาก นอนแบ็บอยูในเรือจนพระที่ ไปดวยกลัววาขาพเจาจะตาย เพราะเมาคล่ืนอยูหลายวันหลายคืน ฉันอะไรกไ็ มไ ด ไปถงึ เกาะสมยุ จงึ คอ ยสบายข้นึ เปน อันรอดตายใน คราวน้นั จากเกาะสมุยไปสงขลาไมเปนไร ๔. เมื่อถึงสงขลาแลวไปพักท่ีวัดหวยพุด ทานเจาคุณ อาจารยไ ปคมุ งานกอ สรา งอยทู น่ี นั่ ทา นใหพ ระเณรทว่ี ดั หว ยพดุ แจว เรือไปบรรทุกทรายท่ีตําบลปากบาง อําเภอรัตภูมิ พอเรือออก ทะเลสาบสงขลาไปสกั พกั หนงึ่ แลน ใบไปไดไ มน านเทา ไร เมฆทะมนึ
๑๕๕เกยี่ วกบั หนังสอื กต็ ง้ั ขน้ึ ฝนตกหนกั ตอ งเกบ็ ใบเรอื เพราะมดื มดิ ไปหมดเลยไมร ทู ศิ ทาง ปลอ ยใหเ รอื ถกู คลนื่ ซดั ไปตามทม่ี นั จะไป ทกุ คนนงั่ เฉย ๆ เรอื ถกู คลนื่ ซดั อยทู ง้ั คนื โชคดวี า เปน เรอื เปลา ยงั ไมไ ดบ รรทกุ ทราย ถา บรรทกุ ทรายมาแลว เรอื คงจมแน ขา พเจา คงไมม ชี วี ติ มาจนถงึ บดั น้ี ตอนเชา พอสวา งกม็ องเหน็ ทศิ ทาง ปรากฏวา เรอื ไปตดิ อยทู เ่ี กาะยอ ซง่ึ เปน เกาะหนง่ึ ในทะเลสาบสงขลา ตองเดินทางอกี ไกลกวา จะถึงรัตภูมิ ๕. เม่ือเปนเด็กอยูกับนา อาหารการกินคอนขางลําบาก โดยเฉพาะพวกเนื้อสัตว ท่ีมีอยูมากก็คือเนื้อปลา เพราะหาไดเอง ตามทอ งทงุ เนอ้ื ววั เนอื้ หมหู ากนิ ไดย ากไมเ หมอื นเดยี๋ วน้ี ตอนนฟี้ น ไมคอยดี เมื่อเจอเน้ือเหนียว ๆ เขาก็มักจะคายท้ิง ทําใหระลึกถึง สมยั เปน เดก็ ไดเ นอื้ สกั ชนิ้ หนง่ึ คาํ หนงึ่ กนิ ขา วได ๑ จาน เพราะ กลืนแตขาวไมยอมกลนื เน้อื กลนื ตอเมือ่ ขา วคาํ สดุ ทา ย ๖. เมอื่ เปน สามเณรอายปุ ระมาณ ๑๔ หรอื ๑๕ พระจรญู อโสโก ชวนมาชมวดั เขมาภริ ตารามฯ อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั นนทบรุ ี ขากลับคอนขางเย็นไปหนอย ไมมีรถกลับ สมัยน้ันรถเมลไมได มากมายเหมอื นเวลาน้ี จงึ ตอ งเดนิ กลบั จากวดั เขมาฯไปถงึ วดั บปุ ผาราม ระยะทางประมาณ ๑๕ กโิ ลเมตร ๗. เมอ่ื เปน สามเณรอายุ ๑๔ หรอื ๑๕ จาํ ไมแ มน ตรงนอ ง เหนือตาตุมขางขวา มีอาการบวมปูดขึ้นมา เจ็บดวย ไดไปที่ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ หมอตรวจแลว ไดท ําการผาตดั ฉดี ยาชา
๑๕๖ อัตตชวี ประวัติ อ.วศนิ อินทสระ แลว ผา ตดั เลย ไดย นิ เสยี งหมอขดู กระดกู ดงั แกรก ๆ เสรจ็ แลว ใสย า เอาผา กอซพนั แผล ขา พเจา คนเดยี วขน้ึ รถเมลก ลบั เลยเวลาเพลแลว วนั นนั้ อดฉนั เพล หลงั จากนนั้ แผลไมห าย มเี นอื้ ปดู ออกมาประมาณ เทาผลสมอ ขาพเจาไดแตใสยาเหลือง นานก่ีเดือนจําไมได ออก บิณฑบาตก็ไมได ดีท่ีอยูกันหลายรูป ไดอาศัยอาหารบิณฑบาตท่ี ภิกษุสามเณรรูปอ่ืนไดมา ไดคุณหมอไพฑูรย สืบศิริ ลูกชายคุณ แมร ว้ิ สบื ศริ ิ มาฉดี ยาให ๒ เขม็ แผลคอ ย ๆ ยบุ หายไป ตอนนี้ รอยแผลยงั ปรากฏชดั เจน จาํ ไดแ มน วา ยาทฉี่ ดี นนั้ ชอ่ื ‘บสิ มทั ’ ถา ไดยาไดหมอท่ีถูกกับโรคเสียแตแรกก็คงไมเปนแผลยืดเย้ือยาวนาน จนบางครงั้ หวนั่ วิตกวา จะถูกตดั ขาทิ้ง น่ีคอื ความเปน อยใู นสมยั นนั้ คอื จนและเจบ็ ๘. ความตรึกบางสว น ขาพเจานอนเลนอยูบนเกาอี้โยกผาใบใตตนวาสนาซึ่งไมโต นกั และตน ไมอ นื่ ๆ เชน ยางอนิ เดยี และมะมว ง ซงึ่ สงู พน รว้ั บา น ขึน้ ไปมาก ลมพัดเย็นสบาย เมอื่ เหน็ นานพอสมควรแลว ขา พเจา กจ็ ะลกุ ขน้ึ เดนิ มีไมเ ทา เปน เพอ่ื นปองกันการเซลม ซง่ึ อาจจะเกดิ ขนึ้ ได เดินดูตนโมกในกระถางสูงประมาณแคคอของขาพเจาเรียงราย อยูหลายตน ตน ขอยซง่ึ อยูน อกรั้ว นาน ๆ จะหยดุ ยนื ดูตนหูกวาง ตน มะมว งใหญร ม ครม้ึ ซงึ่ อยนู อกบา นของขา พเจา แตข า พเจา มสี ทิ ธิ์ ท่ีจะยืนดูและชมมัน เหมือนของขาพเจาเอง ขาพเจารูสึกพอใจใน สภาพชวี ติ ท่ีเปน อยูไดแมเพยี งเทาน้ี
๑๕๗เกี่ยวกับหนังสอื มศี ษิ ยห ลายคนผหู วงั ดชี วนไปนน่ั ไปนเ่ี พอื่ เปลย่ี นบรรยากาศ เสยี บา ง แตเ งอื่ นไขแหง โรคภยั ไขเ จบ็ อยา งขา พเจา ทาํ ใหต อ งปฏเิ สธ ความหวงั ดเี หลา นนั้ เพยี งแตไ ดอ ยกู บั ธรรมชาตนิ อ ย ๆ เชน ตน ไม ตา ง ๆ ดงั กลา วแลว และมผี ชู ว ยอา นหนงั สอื ใหฟ ง ชว ยเขยี นหนงั สอื ใหบา งเม่อื ตองการขาพเจากพ็ อใจแลว เปล่ยี นเปน ฟง วิทยบุ าง ดู เร่ืองท่ีมีประโยชนทางทีวีบาง ทําใหรูสึกวาแตละวันผานไปอยางมี ความหมาย เกย่ี วกบั ปจ จยั สอี่ นั เปน สงิ่ เกอื้ กลู ชวี ติ กไ็ มม อี ะไรขดั ขอ ง คนอายุ ๗๗ อยา งขาพเจาจะตองการอะไรอกี เลา ขา พเจา มกั หวนระลกึ ถงึ เพอื่ นรว มโลกเพอ่ื นรว มเกดิ แกเ จบ็ ตายของขา พเจา เสมอ ๆ ทง้ั มนษุ ยแ ละดริ จั ฉาน บางคนเปน อมั พาต ทงั้ ตวั ลกุ ไปไหนไมไ ด นอนอยา งเดยี ว เงนิ จะรกั ษาตวั กไ็ มม ี ลกู ก็ ยงั เลก็ คคู รองกห็ นจี ากไป ฯลฯ ขา พเจา ไดเ หน็ กองทกุ ขม หมึ าของ มวลมนุษยและสัตวท้ังหลาย ซ่ึงด้ินรนแมเพียงเพื่อหาอาหารมา เลย้ี งชพี ใหช วี ติ นเ้ี ปน อยไู ด ทาํ ใหข า พเจา ราํ พงึ เบา ๆ วา “เพยี งเพอื่ มชี วี ติ อยู มวลมนษุ ยแ ละสตั วท ง้ั หลายจะตอ งดน้ิ รนถงึ เพยี งนเี้ ชยี ว หรอื ” ทาํ ใหร ะลกึ ตอ ไปถงึ บทสวดมนตท ว่ี า “ทกุ โฺ ขตณิ ณฺ า ทกุ ขฺ ปเรตา แปลวา เราท้ังหลายหย่ังลงสูทุกขแลว และมีทุกขอยูเบ้ืองหนา ทาํ ไฉนหนอความส้ินทุกขจ ะพงึ ปรากฏแกเรา” ความทุกขยอมไมมีแกผูไมเกิด (นตฺถิ ทุกฺขํ อชาตสฺส) ทราบมาวา บางคนแตงงานแลวไมมีลูก อยากมีลูกเปนนักหนา พยายามขวนขวายเปน สบิ ปด ว ยความยากลาํ บากเพอื่ ใหม ลี กู ทง้ั ออ นวอน
๑๕๘ อตั ตชวี ประวตั ิ อ.วศนิ อินทสระ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ทั้งเคร่ืองมือทางวิทยาศาสตร แตก็ไมสําเร็จ ดูแลว รสู กึ วา เขาขวนขวายแสวงหาทกุ ขจ รงิ ๆ นา สงสารสงั เวชเสยี นก่ี ระไร บางพวกทาํ แทง ครงั้ แลว ครงั้ เลา เพอื่ ไมใ หล กู มชี วี ติ อยู มองดใู หด เี ถดิ สภาพชีวิตชางนาสังเวชเพียงไร พระพุทธเจาตรัสวา เกิดบอย ๆ เปน ทกุ ขบ อ ย ๆ (ทกุ ขฺ า ชาติ ปนุ ปปฺ นุ )ํ ดงั นน้ั ผหู วาดหวน่ั พรนั่ พรึงตอความแก ความเจ็บไขและความตาย จึงควรขวนขวายเพ่ือ การไมเ กดิ เปน การดบั ภพดบั ชาติ เปน บรมสขุ ดงั พระพทุ ธพจนท วี่ า “การดับภพเสียไดเปนนิพพาน-นิพพานเปนสุขอยางย่ิง (ภวนิโรโธ นพิ พฺ านํ ปรมํ สุข)ํ ” วศิน อินทสระ ๕ สงิ หาคม ๒๕๔๙ ๙. เม่อื อายุ ๗๗ ป (พ.ศ. ๒๕๕๔) ชวงเวลาของชีวิตท่ีเหลืออยูไมมากนัก ขาพเจาไมอยาก สนใจเรอื่ งอะไร นอกจากเรอื่ งบญุ กศุ ลและการมนสกิ ารธรรมะหรอื กรรมฐานอยางใดอยางหนึ่ง อันจะทําใหจิตใจสงบและสวางดวย ปญ ญา วางเรอ่ื งยงุ ๆ ตา ง ๆ ทงั้ ภายนอกและภายใน ขอใหข า พเจา มชี วี ติ ทสี่ งบสขุ เยอื กเยน็ เพอื่ วา สงิ่ นจี้ กั แผไ ปเปน ประโยชนแ กม วลชน ในวงกวา ง ขออยา ไดม สี งิ่ ใดหรอื ใคร ๆ เขา มาเปน อปุ สรรคตอ ความ ตง้ั ใจนีเ้ ลย (ความคดิ ปรารภของคนชราคนหน่งึ )
อยาใชค วามนกึ คดิ ปรงุ แตงของเรา ไปผูกยึดหรือผูกมัดผอู นื่ ใหผ ูอ่ืนเปนไปตามความตอ งการของเรา ตามความอยากของเรา เพราะเราไมไดเ ปน “เจา ของ” ใคร... เรามแี ต “หนาที”่ เทา นนั้
๒๒ ผลงาน เกยี รติประวตั ิ
โลและเกียรตบิ ตั ร ป พ.ศ. ๒๕๑๗ ไดรับโลรางวัลชมเชยจากคณะกรรมการ จัดงานสัปดาหหนังสือแหงชาติ ประเภทสารคดี หนังสือเรื่อง จรยิ าบถ ป พ.ศ. ๒๕๑๘ หนังสือเร่อื งจริยศาสตร ๒๒ เมษายน ๒๕๒๒ ไดรับโลพุทธคุณูปการ กาญจน เกยี รตคิ ณุ และเกยี รตบิ ตั รในฐานะผบู าํ เพญ็ คณุ ประโยชนแ กพ ระพทุ ธ ศาสนา จากคณะกรรมาธิการการศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม สภาผแู ทนราษฎร ป พ.ศ. ๒๕๒๕ ไดร บั รางวลั พระราชทานเสาเสมาธรรมจกั ร เปน รางวลั ในฐานะผบู าํ เพญ็ คณุ ประโยชนแ กพ ระพทุ ธศาสนาประเภท วรรณกรรม เนอ่ื งในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร ๒๐๐ ป ป พ.ศ. ๒๕๓๓ ไดร บั เกยี รตคิ ณุ บตั รจากกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ในฐานะเปน รางวลั ชมเชย ประเภทสรา งสรรคด า นศาสนาจากบทความ เรอ่ื ง ‘หลักกรรมกบั การพ่ึงตนเอง’ ๒๒ เม.ย. ๒๕๕๒ ไดร บั โลพ ทุ ธคณุ ปู การ กาญจนเกยี รตคิ ณุ และเกยี รติบัตร ในฐานะผบู ําเพญ็ คณุ ประโยชนแ กพ ระพทุ ธศาสนา จากคณะกรรมการวัฒนธรรมแหง ชาตกิ ระทรวงวฒั นธรรม ๒๙ เม.ย. ๒๕๕๓ ไดร บั รางวลั ปชู นยี บคุ คลดา นภาษาไทย เนอื่ งในวนั ภาษาไทยแหง ชาติ ประจาํ ป พ.ศ. ๒๕๕๓ จากกระทรวง วัฒนธรรมเรอื่ งพระอานนทพทุ ธอนชุ า
กองทนุ และการใหทุน - ไดตั้งกองทุนเปนคาภัตตาหารแกพระภิกษุสามเณรที่ มหาวทิ ยาลยั สงฆ มหามกฏุ ฯ วทิ ยาเขตวงั นอ ย-วทิ ยาเขตออ มนอ ย - ตั้งทุนไวท่ีมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ดอกผลบํารุง การศกึ ษาแกพ ระภกิ ษสุ ามเณร นกั ศกึ ษาทม่ี หาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ฯ วัดบวรนิเวศวิหาร ในการนี้ไดตั้งทุนในช่ือของทานเจาคุณอาจารย คือ ทานเจาคณุ พระราชดลิ ก ๑ ทนุ ดวย - ตงั้ กองทนุ เพอ่ื นกั เรยี นพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ย เพอ่ื สงเสรมิ การศึกษาและสงเคราะหเด็กทค่ี วรชวยเหลือ - ใหทุนนักศึกษาปริญญาตรีผูสอบไดคะแนนดี ในวิชาที่ ขา พเจาสอนท่ีมหาวทิ ยาลยั มหามกุฏฯ - ต้ังทุนท่ีมูลนิธิมหามกุฏฯ ดอกผลถวายแกพระภิกษุ สามเณรผูอาพาธทว่ี ัดบุปผาราม เขตธนบรุ ี กรุงเทพฯ - ตงั้ ทนุ เพอ่ื พระภกิ ษสุ ามเณรผอู าพาธทโ่ี รงพยาบาลสงฆ - ถวายปจ จยั พระสวดปาตโิ มกขว ดั บปุ ผารามและวดั เขมา ภิรตารามฯ (อ.เมือง จ.นนทบุรี) เดือนละ ๑,๐๐๐ บาทตอวัด ปละ ๑๒,๐๐๐ บาทตอวัด
เก่ยี วกับเสนาสนะ ๑. ชว ยสรา งโรงครวั ทว่ี ดั ภตู บรรพต ตาํ บลชะแล อาํ เภอ สงิ หนคร จงั หวดั สงขลา บรจิ าค ๒๐๐,๐๐๐ บาท (สองแสนบาท) ๒. ชวยสรา งศาลาท่ีพักคนมาทาํ บุญที่วดั หวยพุด ตาํ บล รําแดง อาํ เภอสิงหนคร จงั หวดั สงขลา บริจาค ๑๐๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งแสนบาท) ๓. ชว ยสรา งหอ งสขุ าทวี่ ดั ชลอ อาํ เภอบางกรวย จงั หวดั นนทบุรี บริจาค ๔๐,๐๐๐ บาท (สหี่ ม่นื บาท) ๔. ชว ยสรา งกฏุ วิ ดั ปา ภาวนาวเิ วก อาํ เภอจอมบงึ จงั หวดั ราชบุรี (จํานวนเงินจําไมได) ๕. ชวยสรางหองสุขาใหวัด... ที่จังหวัดกระบ่ี บริจาค ๓๕,๐๐๐ บาท (สามหมน่ื หาพันบาท) ๖. บรจิ าคชว ยในการตงั้ สถานวี ทิ ยพุ ระพทุ ธศาสนา ของ ศนู ยพ ทิ กั ษพ ทุ ธศาสนา ณ วดั ราชาธวิ าสฯ ถนนสามเสน เขตดสุ ติ กรงุ เทพฯ บริจาค ๒๐๐,๐๐๐ บาท (สองแสนบาท) ฯลฯ เร่ืองการตั้งกองทุนและการสรางเสนาสนะน้ีดูเปนเรื่อง เลก็ นอ ย แตข า พเจา บนั ทกึ ไวเ พอ่ื เปน จาคานสุ ตแิ กข า พเจา เอง และ เพอ่ื ลูกหลานรูแลว จักไดอนุโมทนา
๒๓ เกย่ี วกับหนังสอื
ไดเขียนหนังสือไวหลายแบบหลายรส เชน นวนิยายอิง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา บทความทางวิชาการ หนังสือ ตาํ ราเรยี น หนงั สอื สาํ หรบั ประชาชนทว่ั ไป ยอ ความและขยายความ พระไตรปฏ ก ฯลฯ ประมาณ ๑๓๐ เรอื่ ง (ตง้ั แต พ.ศ. ๒๕๐๗ ถงึ ๒๕๕๒) โดยเฉพาะเรื่องพระอานนทพุทธอนุชาน้ัน นอกจากจะได รบั ความนยิ มอยา งแพรห ลายในสงั คมไทยแลว สารานกุ รมวรรณกรรม โลกในศตวรรษท่ี ๒๐ (Encyclopedia of World Literature in 20th Century) ไดน าํ เรอื่ งพระอานนท พทุ ธอนชุ าไปสดดุ ไี วใ นหนงั สอื ดงั กลา วนน้ั เปน ทาํ นองวา ไดช ที้ างออกใหแ กส งั คมไทยทสี่ บั สนวนุ วาย อยูด ว ยปญหานานัปการ
๑๖๖ อตั ตชวี ประวตั ิ อ.วศิน อนิ ทสระ หนงั สอื ชดุ ของอาจารยว ศนิ อนิ ทสระทพ่ี มิ พแ ลว ไมร วมหนงั สอื เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาอกี ๑๐ เลม ราคาหนงั สอื อาจเปลย่ี นแปลงเนื่องจากพิมพค ร้งั ใหม หรือตางสาํ นกั พิมพ รายชอื่ หนังสือ พมิ พค ร้ังท่ี ๑ ป สาํ นกั พมิ พ ๑ “แสงเทยี น” พ.ศ.๒๕๐๗ บรรณาคาร ๒ “ชวี ิตน้มี อี ะไร” พ.ศ.๒๕๐๘ บรรณาคาร /สรา งสรรคบุคส ๓ “สายธารทเ่ี ปลยี่ นทาง” พ.ศ.๒๕๐๙ ๔ “ภาพจาํ ลองชีวติ ” พ.ศ.๒๕๐๙ บรรณาคาร ๕ “พระอานนทพุทธอนชุ า” พ.ศ.๒๕๐๙ บรรณาคาร /สรางสรรคบคุ ส ๖ “รอยชํา้ ในดวงใจ” พ.ศ.๒๕๑๐ บรรณาคาร /สรางสรรคบ คุ ส ๗ “สาระสาํ คัญวิสุทธิมรรค” (กระดาษปรูฟ / ปอนด) พ.ศ.๒๕๑๐ ๘ “คุณความดีดอกไซร” พ.ศ.๒๕๑๑ บรรณาคาร ๙ “จอมจักรพรรดิ์อโศก” เลม ๑ พ.ศ.๒๕๑๑ บรรณาคาร ๑๐ “จอมจักรพรรดิ์อโศก” เลม ๒ พ.ศ.๒๕๑๑ บรรณาคาร ๑๑ “พุทธจริยา” พ.ศ.๒๕๑๒ บรรณาคาร ๑๒ “อนั ชนกชนนนี ี้รักเจา” พ.ศ.๒๕๑๒ สรางสรรคบุคส ๑๓ “บทเรียนชีวติ ” พ.ศ.๒๕๑๓ ธรรมสภา ๑๔ “รมธรรม” พ.ศ.๒๕๑๓ บรรณาคาร ๑๕ “จากวราถึงนภาพร” พ.ศ.๒๕๑๓ บรรณาคาร ๑๖ “แนวธรรมแหง สุตตนั ตะ” เลม ๑ พ.ศ.๒๕๑๓ บรรณาคาร / บรรณกจิ ๑๗ “แนวธรรมแหงสุตตันตะ” เลม ๒ พ.ศ.๒๕๑๔ บรรณาคาร / บานโกสนิ ทร ๑๘ “พอผมเปนมหา” เลม ๑ พ.ศ.๒๕๑๓ บรรณาคาร / ธรรมดา ๑๙ “พอ ผมเปน มหา” เลม ๒ พ.ศ.๒๕๑๕ บรรณาคาร / ธรรมดา ๒๐ “อนั ความกรณุ าปราน”ี พ.ศ.๒๕๑๔ บรรณาคาร ๒๑ “สาระสําคญั แหงมงคล ๓๘” เลม ๑ พ.ศ.๒๕๑๔ บรรณาคาร ๒๒ “สาระสําคัญแหง มงคล ๓๘” เลม ๒ พ.ศ.๒๕๑๕ บรรณาคาร ๒๓ “ลลี ากรรมของสตรีสมยั พทุ ธกาล” พ.ศ.๒๕๑๕ บรรณาคาร ๒๔ “ธรรมและชวี ติ ” พ.ศ.๒๕๑๕ บรรณาคาร ๒๔.๑ “การชว ยเหลือตนเองและพ่ึงตนเอง” (อยูในเลม”ธรรมและชีวติ ”) พ.ศ.๒๕๑๕ บรรณาคาร / ธรรมดา ๒๔.๒ “การชว ยเหลือตนเอง ชัยชนะ ๘ ประการ และ สายธารแหง ศรัทธา” พ.ศ.๒๕๒๗ บรรณาคาร (อยูในเลม”ธรรมและชวี ิต”) พ.ศ.๒๕๑๕/๒๕๔๖ มมร. ๒๕ “ทางแหง ความด”ี เลม ๑ พ.ศ.๒๕๑๖/๒๕๔๗ ๒๖ “ทางแหงความดี” เลม ๒ พ.ศ.๒๕๑๖/๒๕๔๘ บรรณาคาร / ธรรมดา ๒๗ “ทางแหง ความดี” เลม ๓ บรรณาคาร /ธรรมดา ๒๘ “ทางแหงความด”ี เลม ๔ ตอน ๑,๒ พ.ศ.๒๕๑๗ บรรณาคาร /ธรรมดา ๒๙ “ทางแหง ความดี” เลม ๔ พ.ศ.๒๕๕๐ ๓๐ “จริยาบถ” เลม ๑ พ.ศ.๒๕๑๗ บรรณาคาร ๓๑ “จริยาบถ” เลม ๒ พ.ศ.๒๕๑๗ ธรรมดา ๓๒ “จรยิ ศาสตร” พ.ศ.๒๕๑๘ บรรณาคาร / บานโกสนิ ทร ๓๓ “ปาฐกถาปญ หานา สนใจทางพระพทุ ธศาสนา” (๘ หนายก) บรรณาคาร ๓๓.๑ “สวรรค นรก บุญ บาป ในพระพทุ ธศาสนา” พ.ศ.๒๕-- บรรณาคาร / บรรณกจิ ๓๔ “หลักคาํ สอนสาํ คัญในพุทธศาสนา(พุทธปรัชญาเถรวาท๑)” พ.ศ.๒๕๑๙ มมร. มมร. / ธรรมดา บรรณาคาร
๑๖๗เกี่ยวกับหนงั สือ รายช่ือหนังสอื พมิ พคร้งั ที่ ๑ ป สาํ นักพิมพ ๓๔.๑ “อรยิ สัจ ๔” - ธรรมดา ๓๔.๒ “หลกั กรรมและการเวียนวา ยตายเกดิ ” - ธรรมดา ๓๔.๓ “ไตรลกั ษณแ ละปฏิจจสมุปบาท” - ธรรมดา ๓๕ “พุทธปรชั ญาเถรวาท ๒” (PY ๓๑๓) พ.ศ.๒๕๒๕ ม.รามคําแหง (รวมเลม) ๓๖ “ผสู ละโลก” พ.ศ.๒๕๒๐ บรรณาคาร /สรางสรรคบคุ ส ๓๗ “อนุทนิ ทรรศนะชวี ติ ” พ.ศ.๒๕๒๐ บรรณาคาร ๓๗.๑ “อนุทนิ ทรรศนะชวี ิต” เลม ๑ พ.ศ.๒๕๒๐ สภาการศกึ ษา มมร. ๓๗.๒ “อนุทินทรรศนะชีวติ ” เลม ๒ พ.ศ.๒๕๒๑ สภาการศกึ ษา มมร. ๓๘ “ความสุขของชวี ิต” พ.ศ.๒๕๒๐ เพ่ิมเติม บรรณาคาร ป ๒๕๓๓ ๓๙ “ปญญารัตนะ” พ.ศ.๒๕๒๓ บรรณาคาร ๔๐ “พุทธวิธใี นการสอน” พ.ศ.๒๕๒๔ มมร. / ธรรมดา ๔๑ “กรรมฐานหรอื ภาวนา” พ.ศ.๒๕๒๔ มมร./ บรรณกิจ ๔๒ “เพอื่ ชีวติ ทด่ี ”ี เลม ๑ พ.ศ.๒๕๒๔ ๔๓ “เพอ่ื ชวี ิตที่ด”ี เลม ๒ พ.ศ.๒๕๒๖ บรรณาคาร ๔๔ “พุทธปรชั ญามหายาน” พ.ศ.๒๕๒๕ (รวมเลม) ๔๕ “พทุ ธศาสนาในประเทศไทย” พ.ศ.๒๕๒๕ ธรรมดา ๔๖ “เหมือนภูเขา” พ.ศ.๒๕๒๕ บรรณาคาร ๔๗ “อธิบายมลิ ินทปญหา” (กระดาษปรูฟ/ปอนด) พ.ศ.๒๕๒๘ ๔๘ “ความหลัง” พ.ศ.๒๕๒๘ บรรณาคาร ๔๙ “แนวทางพัฒนาทรัพยากรมนษุ ยตามหลักพระพุทธศาสนา” พ.ศ.๒๕๒๙ บนั ดาลสาสน / ธรรมสภา ๕๐ “ปยกรณธรรม” พ.ศ.๒๕๒๙ ๕๑ “ธรรมาลงั การ” พ.ศ.๒๕๓๐ บรรณาคาร ๕๒ “บนเสนทางสขี าว” พ.ศ.๒๕๓๐ โรงพิมพเ จรญิ กจิ ๕๓ “หลกั ธรรมอันเปน หัวใจพระพทุ ธศาสนา” พ.ศ.๒๕๓๐ โรงพมิ พเจริญกจิ ๕๔ “ธมั โมชปญญา” เลม ๑ พ.ศ.๒๕๓๐ ปญ ญา / บรรณกิจ ๕๕ “ธัมโมชปญ ญา” เลม ๒ พ.ศ.๒๕๓๑ ๕๖ “ธัมโมชปญญา” เลม ๓ พ.ศ.๒๕๓๒ ธรรมดา ๕๗ “ธรรมปฏิสันถาร” พ.ศ.๒๕๓๑ บรรณาคาร ๕๘ “จากปาณิสสราดว ยรกั และหว งใย” พ.ศ.๒๕๓๒ บรรณาคาร ๕๙ “ความเขาใจเกีย่ วกบั ชีวิต” พ.ศ.๒๕๓๓ บรรณาคาร ๖๐ “ส่ิงเกอื้ กลู ชวี ติ ” พ.ศ.๒๕๓๓ บรรณาคาร ๖๑ “พระคณุ ของพอ” พ.ศ.๒๕๓๔ (ปญญา) / ธรรมดา บรรณาคาร / ปญญา ๖๒ “ปกิณกธรรม” เลม ๑ พ.ศ.๒๕๓๔ บรรณกจิ ๖๓ “ปกณิ กธรรม” เลม ๒ พ.ศ.๒๕๓๕ โรงพมิ พก ติ ตวิ รรณ/ ๖๔ “การศกึ ษาและการปฏบิ ัตธิ รรม” พ.ศ.๒๕๓๔ โรงพมิ พเมณฑกา ๖๕ “ความเขา ใจเกีย่ วกับการปฏิบตั ธิ รรม” พ.ศ.๒๕๓๔ สภาการศึกษามมร. ๖๖ “ความคดิ เหน็ ที่ถกู ตอ งเปน อยางไร” พ.ศ.๒๕๓๔ สภาการศึกษามมร. ๖๗ “คติชีวิต” เลม ๑ พ.ศ.๒๕๓๕ ๖๘ “คตชิ วี ติ ” เลม ๒ พ.ศ.๒๕๔๑ สติ ๖๙ “เพือ่ เยาวชน” พ.ศ.๒๕๓๖ ปญญา ปญ ญา คนรใู จ DMG
๑๖๘ อัตตชวี ประวัติ อ.วศนิ อินทสระ รายชือ่ หนงั สือ พิมพคร้ังท่ี ๑ ป สํานกั พมิ พ ๗๐ “การเผยแผศ าสนา” พ.ศ.๒๕๓๖ สภาการศึกษามมร. ๗๑ “ความคดิ ทางพระพทุ ธศาสนาและทรรศนะชีวิต ๑” พ.ศ.๒๕๓๖ บรรณาคาร ๗๒ “การเผยแผศ าสนา ความเขาใจหลักศาสนาและการพฒั นาชีวติ ดวย พ.ศ.๒๕๓๗ บรรณาคาร คุณธรรม” พ.ศ.๒๕๓๗ มมร. / ธรรมดา ๗๓ “ความเขา ใจหลักศาสนาและการพฒั นาชีวติ ดว ยคณุ ธรรม” พ.ศ.๒๕๓๗ ๗๔ “ตรรกศาสตรพ ทุ ธศาสนา (Buddhist Logic)” พ.ศ.๒๕๓๗ ปญ ญา ๗๕ “ชาวพทุ ธกบั วิกฤตศรทั ธา” พ.ศ.๒๕๓๘ ธรรมดา ๗๖ “ทาํ อยา งไรกบั ความโกรธ” พ.ศ.๒๕๓๙ คนรูใจ DMG ๗๗ “อาภรณประดับใจ” เลม ๑ และ เลม ๒ (จดหมายถึงลกู ) พ.ศ.๒๕๓๙ ปญญา ๗๘ “มนุษยก ับเสรภี าพ” พ.ศ.๒๕๔๐ ธรรมดา (ปกออน/ปกแข็ง) ๗๙ “เพ่อื ความสขุ ใจ” พ.ศ.๒๕๔๐ บรรณาคาร ๘๐ “พทุ ธจริยศาสตร” (๘ หนา ยกใหญ) พ.ศ.๒๕๔๒ บรรณกจิ ๘๑ “พุทธปฏิภาณ” ธรรมดา ๘๒ “พุทธโอวาทกอนปรนิ พิ พาน” (ใบไมในกํามือ) พ.ศ. บรรณาคาร ๘๓ “ความคิดทางพระพทุ ธศาสนาและทรรศนะชวี ติ ๒” พ.ศ.๒๕๔๓ บรรณกิจ ๘๔ “ธรรมสาํ หรบั ผสู งู อาย”ุ พ.ศ.๒๕๔๕ ธรรมดา ๘๕ “คตชิ ีวิต” (ปกแข็งมีแจคเกต็ ) พ.ศ.๒๕๔๖ ธรรมดา ๘๖ “คติชึวติ ” ๑,๒,๓,๔ (ปกออน-กะทดั รัด) พ.ศ.๒๕๔๘ ธรรมดา ๘๗ “สวดมนตเ พื่ออะไร” (ปกออ น-กะทดั รัด) พ.ศ.๒๕๔๗ ธรรมดา ๘๘ “แหลงเกดิ แหง ความสุข (สขุ สมทุ ัย)” พ.ศ.๒๕๔๘ ธรรมดา ๘๙ “ชีวติ และความตาย” (ปกออน-กะทัดรัด) พ.ศ.๒๕๔๘ ธรรมดา ๙๐ “ความดแี ละอานุภาพของความด”ี (ปกออน-กะทดั รดั ) พ.ศ.๒๕๔๘ ธรรมดา ๙๑ “การสรา งคุณภาพชีวติ และการงานทด่ี ี” (ปกออ น-กะทดั รัด) พ.ศ.๒๕๔๘ ธรรมดา ๙๒ “เพ่อื สุขภาพจิตท่ีด”ี (ปกออ น-กะทัดรัด) พ.ศ.๒๕๔๘ ธรรมดา ๙๓ “ทางชวี ิต” (ปกแข็งมแี จคเกต็ ) พ.ศ.๒๕๔๙ ธรรมดา ๙๔ “ทางชวี ิต” ๑,๒,๓,๔ (ปกออน-กะทัดรัด) พ.ศ.๒๕๔๙ ธรรมดา ๙๕ “สวดมนตเพ่ือสันตแิ ละปญ ญา” (ปกออน-กะทัดรัด) พ.ศ.๒๕๕๐ บรรณกจิ ๙๖ “ศีล สมาธิ ปญ ญา (หลกั การศึกษาเพื่อพฒั นาคุณภาพชวี ติ )” พ.ศ.๒๕๔๒ บรรณกิจ ๙๗ “คณุ ของพระรตั นตรัยและการเขา ถงึ ” พ.ศ.๒๕๔๒ บรรณกิจ ๙๘ “สิง่ ทีค่ วรทําความเขา ใจกนั ใหมเ พือ่ ความถกู ตอ ง” พ.ศ.๒๕๔๔ เรอื นธรรม / สรางสรรคบคุ ส ๙๙ “ความทกุ ขและการดับทกุ ข” พ.ศ.๒๕๔๔ เรือนธรรม / สรา งสรรคบุค ส ๑๐๐ “การทําบญุ ใหท าน” พ.ศ.๒๕๔๔ เรือนธรรม / สรา งสรรคบุคส ๑๐๑ “การพึ่งตน” พ.ศ.๒๕๔๔ เรอื นธรรม ๑๐๒ “ธรรมและทรรศนะชวี ติ ” (ฉบบั พเิ ศษ) พ.ศ.๒๕๔๕ บรรณกจิ ๑๐๓ “ธรรมและทรรศนะชวี ิต” เลม ๑ พ.ศ.๒๕๔๕ โอเดียนสโตร ๑๐๔ “วธิ ีทาํ จติ ใหบ ริสุทธิ์” พ.ศ.๒๕๔๕ โอเดยี นสโตร ๑๐๕ “โอวาทปาติโมกข” พ.ศ.๒๕๔๕ เรือนธรรม ๑๐๖ “คณุ สมบตั ิของผูมีโชคลาภ ๗ ประการ” พ.ศ.๒๕๔๕ เรือนธรรม/สรา งสรรคบ ุค ส ๑๐๗ “ชีวติ กบั ความรัก” พ.ศ.๒๕๔๕ เรอื นธรรม / บรรณกจิ ๑๐๘ “โยนิโสมนสกิ าร” พ.ศ.๒๕๔๕ เรือนธรรม / บรรณกิจ ๑๐๙ “พุทธชยั มงคลคาถา” พ.ศ.๒๕๔๖ เรอื นธรรม ๑๑๐ “คุณสมบตั ขิ องผมู ุง สันตบท” พ.ศ.๒๕๔๖ เรอื นธรรม / บรรณกจิ ๑๑๑ “ปปญ จธรรม” พ.ศ.๒๕๔๖
๑๖๙เก่ยี วกบั หนงั สอื รายชื่อหนงั สือ พิมพครง้ั ที่ ๑ ป สํานกั พิมพ ๑๑๒ “อาหาร ๔” พ.ศ.๒๕๔๖ เรือนธรรม ๑๑๓ “ความสุขท่หี าไดงาย” พ.ศ.๒๕๔๖ เรอื นธรรม ๑๑๔ “คติชีวติ ” พ.ศ.๒๕๔๖ เรอื นธรรม ๑๑๕ “คตชิ วี ติ ” ฉบับรวมเลม พ.ศ.๒๕๔๖ ธรรมดา ๑๑๖ “ทางดาํ เนนิ ของมนุ ี (โมไนยปฏปิ ทา)” พ.ศ.๒๕๔๖ เรือนธรรม ๑๑๗ “ชัยชนะ ๘ ประการ” พ.ศ.๒๕๔๖ เรอื นธรรม / โอเดียนสโตร ๑๑๘ “การพัฒนาชวี ิตเพ่ือความสขุ ในปจ จุบัน” พ.ศ.๒๕๔๗ โอเดียนสโสตร ๑๑๙ “ความสุข” (ปญหานา สนใจจากอังกฤษ) พ.ศ.๒๕๔๗ โอเดียนสโตร ๑๒๐ “ชีวติ กบั ครอบครัว” พ.ศ.๒๕๔๗ โอเดียนสโตร ๑๒๑ “อนั สบื เนอ่ื งมาจากการไปดกู ารประชมุ สงฆ ณ ประเทศสหรฐั อเมรกิ า พ.ศ.๒๕๔๗ ทรงสิทธวิ รรณ พ.ศ.๒๕๓๖” พ.ศ.๒๕๔๗ ธรรมดา ๑๒๒ “ธรรมดาของชวี ติ เปน เชน นั้นเอง” (อภณิ หปจ จเวกขณ) พ.ศ.๒๕๔๗ ธรรมดา ๑๒๓ “เพอ่ื สุขภาพจติ ท่ีดี” (คริ มิ านนทสตู ร) พ.ศ.๒๕๕๐ ธรรมดา ๑๒๔ “๑๐๘ คําถามกับอาจารยวศนิ อนิ ทสระ” พ.ศ.๒๕๕๐ ธรรมดา ๑๒๕ “วธิ ีลดละความโกรธ” พ.ศ.๒๕๕๐ บรรณกิจ ๑๒๖ “ลาภของชวี ติ ๘ ประการ” พ.ศ.๒๕-- ธรรมดา ๑๒๗ “สวรรค นรก บุญ บาป ในพระพุทธศาสนา” พ.ศ.๒๕๕๑ ธรรมดา ๑๒๘ “ลาภอยางยิ่งของชวี ิต” พ.ศ.๒๕๕๑ ธรรมดา ๑๒๙ “เพือ่ เสรีภาพทางจิต” พ.ศ.๒๕๕๑ ธรรมดา ๑๓๐ “ชวี ติ การงาน และการสรางความสขุ ” พ.ศ.๒๕๕๒ ธรรมดา ๑๓๑ “บุคคลผูหาไดยากในโลก” พ.ศ.๒๕๕๒ ธรรมดา ๑๓๒ “ความเขา ใจเกย่ี วกบั การปฏบิ ัตธิ รรม” พ.ศ.๒๕๕๒ ธรรมดา ๑๓๓ “วิธีสรา งความดแี ละการมีเงอื่ นไขของกรรม” พ.ศ.๒๕๕๓ ๑๓๔ “คณุ สมบัตพิ ้ืนฐานของชาวพทุ ธ” พ.ศ.๒๕๕๓ ธรรมดา ๑๓๕ “พระไตรปฎกฉบบั ทท่ี าํ ใหงาย” พ.ศ.๒๕๕๓-๔ More of lofe ๑๓๖ “พระอานนทพ ุทธอนุชา” พ.ศ.๒๕๕๓ บรษิ ัท สนพ.สุภา จํากัด ๑๓๗ “แนวการศกึ ษาพระสตุ ตนั ตปฎ กและหวั ใจการศกึ ษาพระพทุ ธศาสนา” พ.ศ.๒๕๕๓ ๑๓๘ “พระไตรปฎ กฉบบั ยอ ความและอธบิ ายความ (องั คตุ ตรนกิ าย หมวด ธรรมดา ๑ – ๙)” เลม ๑ (หมวด ๑ - ๔) / เลม ๒ (หมวด ๕ - ๙) พ.ศ.๒๕๕๓ เรอื นธรรม ๐๒-๒๔๔๘๒๙๒ ๑๓๙ “ธรรมะซันเดย” พ.ศ.๒๕๕๓ ชมรมสะพานบญุ ๐๘๓-๐๐๕๖๗๘๔ ๑๔๐ “ทรรศนะเกีย่ วกับความเชือ่ ในพทุ ธศาสนา(อธิบายกาลามสูตร)” พ.ศ.๒๕๕๓ ๑๔๑ “ปญหานา สนใจทางพระพทุ ธศาสนา(ไขขอ ของใจตา งๆ)” พ.ศ.๒๕๕๔ ธรรมดา ๐๒-๘๘๘๗๐๒๖ ๑๔๒ “พระไตรปฎกฉบบั ขยายความ” เลม ๑,๒ พ.ศ.๒๕๕๔ ธรรมดา ๐๒-๘๘๘๗๐๒๖ ๑๔๓ “พอ แมเ ตือนลกู ” พ.ศ.๒๕๕๔ ๑๔๔ “ศรทั ธากบั ปญ ญา ในพุทธศาสนา” พ.ศ.๒๕๕๔ ธรรมดา ๑๔๕ “ศรัทธากับปญ ญา ในพุทธศาสนา” พ.ศ.๒๕๕๔ ธรรมดา ๑๔๖ “สนทนาธรรมกับอาจารยวศนิ ” เลม ๑ พ.ศ.๒๕๕๔ ชมรมกัลยาณธรรม ๑๔๗ “สนทนาธรรมกบั อาจารยว ศิน” เลม ๒ พ.ศ.๒๕๕๔ ชมรมกัลยาณธรรม ๑๔๘ “พทุ ธพยากรณ” พ.ศ.๒๕๕๔ ชมรมกลั ยาณธรรม ๑๔๙ “คณุ สมบตั ิของผมู ุง สันตบท” พ.ศ.๒๕๕๔ ธรรมดา ๑๕๐ “โยนิโสมนสกิ าร” พ.ศ.๒๕๕๕ ชมรมกัลยาณธรรม ๑๕๑ “อตั ตชวี ประวตั ”ิ ของ อ.วศนิ อินทสระ พ.ศ.๒๕๕๕ ชมรมกลั ยาณธรรม ๑๕๒ “เรียนธรรมจากคําถาม” ชมรมกัลยาณธรรม ชมรมกัลยาณธรรม
ภาคสอง อาจริยานสุ สติ
๑๗๒ อัตตชีวประวตั ิ อ.วศนิ อินทสระ กราบเทาคุณพอท่เี คารพ คุณพอไดใชช วี ิตของทา นแสดงใหลูกศิษย ไดเ หน็ อยา งท่ที า นสอนวา “อยา กลวั ความเปลี่ยนแปลง ถา เราใชชีวิตใหด ใี หถูกตองตามธรรม คือเรามอบตนใหแ กธรรมแลว ธรรมจะคุมครองรกั ษา คอื การเปลย่ี นแปลงทจี่ ะเกิดขึ้นก็จะเปนไปในทางทด่ี ี” ปกตธิ รรมดาของชายผมู คี รอบครวั แลว ยอ มไดร บั การเอย ขานวา ”พอ ” หรอื “คณุ พอ ” จากบตุ รแท ๆ ของตน แตก ารท่ี ครูผูมีธรรมและจริยาวัตรงดงาม จนทําใหลูกศิษยปรารถนาเรียก
๑๗๓อาจริยานสุ สติ ทา นวา “คณุ พอ ” มใิ ชว สิ ยั ทจี่ ะเกดิ ขนึ้ ไดโ ดยงา ยเลย ทา นอาจารย วศนิ อนิ ทสระเปน คณุ ครทู มี่ ลี กู ศษิ ยจ าํ นวนมากมายเรยี กวา “คณุ พอ ” ดว ยความรสู กึ เคารพรกั และศรทั ธาในธรรมจรยิ าของทา น ขา พเจา เปนศษิ ยค นหน่งึ ของทานทข่ี อโอกาสเปน ลูกสาวและปรนนิบัติรบั ใช คุณพอวศิน อินทสระ จึงปรารถนาจะเลาถึงเหตุการณท่ีขาพเจา จาํ ไดแ ละรสู กึ ประทบั ใจในการกระทาํ ตา ง ๆ ของคณุ พอ เพอ่ื ตอบแทน คุณที่ขาพเจาไดประสบพบเห็นแบบอยางท่ีนาประพฤติตามของ คุณพอ จึงขอประกาศคุณของคุณพอเพียงบางสวนโดยผานทาง หนงั สอื อตั ตชีวประวัตขิ องทานน้ี ๑) แคตอบวา “ใช” หรือ “ไมใช” ชวงเวลาท่ีชีวิตของคุณพอยังไปสอนพระนักศึกษาท่ี มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั ในเขตวดั บวรนเิ วศอยนู นั้ คณุ พอ ตอ งเตรยี มตวั ตง้ั แต ๑๐ โมงเชา และออกจากบา นประมาณ ๑๑ โมง โดยมบี ตุ รชายคนโต คอื โก (ดร.วรตั ต อนิ ทสระ) มารบั ขา พเจา และโกก จ็ ะตอ งคอยลนุ กนั วา การจราจรจะตดิ ขดั มากหรอื ไม เพราะ สุขภาพของคุณพอไมเอื้ออํานวยใหนั่งอยูในรถนาน ๆ เมื่อเดินทาง ถงึ ทท่ี าํ งานแลว คณุ พอ มกั จะเอนหลงั พกั บนเกา อน้ี อนแบบทใี่ ชก นั ตามชายหาด หลังรับประทานอาหารกลางวันแลวและสอนพระ นักศึกษาไดครึ่งเวลาแลว คุณพอก็ตองพักเอนหลังอีก ดวยเหตุ จากโรคความดนั โลหติ สงู และโรคหวั ใจ ทาํ ใหค ณุ พอ ตอ งอยใู นอริ ยิ าบถ นอนเปน ชว ง ๆ จงึ จะพออยไู ด ชว งพกั การสอนครง่ึ เวลานี้ พระนกั ศกึ ษา
๑๗๔ อัตตชวี ประวตั ิ อ.วศิน อินทสระ กจ็ ะไดพ กั และดมื่ นาํ้ ปานะซง่ึ คณุ พอ จะถวายเปน ประจาํ (เทา ทขี่ า พเจา เห็นน้ัน ท่ีบานคุณพอตั้งแตปพ.ศ.๒๕๔๙ มีลูกศิษยและแขกผูมา เยยี่ มทา น นาํ นาํ้ ผลไมบ รรจกุ ลอ งมามอบใหท า นเสมอ ๆ ไมเ คยขาด และมีเปนจํานวนมากดวย ทั้งท่ีเขาเหลานั้นไมทราบเร่ืองที่คุณพอ ถวายนาํ้ ปานะพระลกู ศิษยเ ปนประจาํ ) บางวัน การสอนในคร่ึงเวลาหลัง คุณพอก็ไมสามารถ สอนตอ ไดเ พราะสขุ ภาพไมอ าํ นวย บางวนั เดนิ ทางไปถงึ มหาวทิ ยาลยั แลว แตค ณุ พอ ไมส บายกส็ อนไมไ ด แตค ณุ พอ เปน ผไู มป ระมาท ทา น จะเตรยี มเทปบนั ทกึ เสยี งคาํ บรรยายธรรมของทา นทเ่ี คยออกอากาศ ทางวทิ ยไุ วส าํ หรบั กรณฉี กุ เฉนิ เชน น้ี แลว เลอื กหวั ขอ ธรรมใหเ ขา กบั หวั ขอ ทท่ี า นสอนอยู บางครง้ั คณุ พอ กใ็ หพ ระลกู ศษิ ยอ า นหนงั สอื ให ฟงกันในหองแลววิเคราะหวิจารณกัน แตท่ีทานใหพระลูกศิษยทํา เปน ประจาํ คอื คณุ พอ จะตง้ั ประเดน็ คาํ ถามไวป ระมาณ ๒๐-๓๐ ขอ และมอบหมายใหพ ระนกั ศกึ ษาแบง กนั ไปคน ควา หลงั เวลาเรยี น และ นํามาเสนอใหฟงกันในช้ันเรียนสัปดาหละ ๒-๓ รูป แลวมีการ ไตถามวิเคราะหวิจารณเพิ่มเติมกันระหวางพระลูกศิษย โดยมี คุณพอคอยเพิ่มเตมิ และใหความมนั่ ใจกับพระนักศกึ ษาวา ไดศ กึ ษา คน ควา กันถูกทางแลว
๑๗๕อาจรยิ านุสสติ คณุ พอเปน ผูม ีความจาํ เปนยอด และมักมีผกู ลาวขวญั ถงึ ทานในฐานะเปนผูเชี่ยวชาญในภาษาบาลีและพระสูตร ทานจดจํา พระธรรมคําสอนขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาเปนภาษา บาลี คุณพอมักจะระลึกเปนภาษาบาลีกอนแลวจึงแปลเปนภาษา ไทยไดอ ยา งสละสลวยและเขา ใจงา ย ทใี่ ดยงั เขา ใจยากอยู ทา นกใ็ ห คาํ อธบิ ายทล่ี กึ ซง้ึ แจมชดั ความที่คุณพอเปนผูทรงจําธรรมวินัยในศาสนาน้ีไดอยาง มากมายและแมนยํา แมทานจะตองนอนบนเกาอี้นอน เพื่อสอน พระลูกศิษย ทานก็เคยปฏิบัติอยูบอย ๆ เพราะสุขภาพทรุดโทรม คณบดบี ณั ฑติ วทิ ยาลยั ในสมยั นน้ั จะโทรศพั ทม าขอใหค ณุ พอ เลอื ก วนั ทจี่ ะไปสอนไดต ามสะดวกของทา น พรอ มกบั เอย วา “แคอ าจารย ไปฟงพระลูกศิษย สนทนาแลกเปลี่ยนความรูที่ไดคนความา แลว อาจารยต อบวา “ใช” หรอื “ไมใ ช” กพ็ อแลว ” ดว ยเหตทุ สี่ ขุ ภาพ ของคณุ พอ ไมเ ออื้ อาํ นวยตอ การสอนแลว นน่ั เอง พระผใู หญท า นนน้ั ยังประจักษตอความสามารถของคุณพอ จนถึงกับเอยกับคุณพอ ดงั กลาว ขา พเจา ตอ งเตรยี มยาหอมวางไวบ นโตะ ของคณุ พอ เมอ่ื ถงึ เวลาทแี่ มท พั ธรรมขององคพ ระศาสดาเชน คณุ พอ ชว ยใหแ สงสวา ง ทางธรรมแกพระลูกศิษยในวันอังคารและวันพฤหัส และลูกศิษยที่ เปนฆราวาสในวันอาทิตย ดวยการสอนธรรมของพระพุทธองคผู ประเสริฐสูงสุด ขาพเจาไดเขาฟงการสอนของคุณพอดวย เพื่อ
๑๗๖ อัตตชีวประวตั ิ อ.วศนิ อนิ ทสระ ประโยชนต น เพอื่ ทาํ ใหถ งึ ทสี่ ดุ แหง ทกุ ขโ ดยเรว็ และเพอื่ หยบิ หนงั สอื หรือเปดเทป อัดเทป และปรับอุณหภูมิหองใหเหมาะกับสุขภาพ ของคุณพอ ในหองเรยี นแตละครัง้ หลงั จากสอนแลว คณุ พอ ตอ งนอนพกั บางวนั คณุ พอ เกรงใจ และสงสารผทู ไ่ี ปรบั ทา นกลบั บา น ซง่ึ เปน ลกู ศษิ ยบ า งลกู ชายบา ง จงึ กลับโดยรถแท็กซ่ี แตมักจะพบกับการจราจรติดขัด แลวทานก็จะ เหน่อื ย แตท า นก็ยอมเหนื่อยเปนบางวันเทาท่จี ะทาํ ได เพือ่ ลูกศิษย หรอื ลกู ชายไมต อ งรบี ละการงานมารับทานกลบั บาน คุณพอตองใชเวลาเกือบทั้งวันเพื่อสอนพระลูกศิษยเพียง ๑-๒ ชั่วโมง แตทานก็ปฏิบัติอยูตลอด ๔๕ ป วิชาที่คุณพอ ถายทอดใหลูกศิษย คือ พระธรรมคําสอนของพระศาสดาซ่ึงเปน วิทยาการท่ีสูงเย่ียม และเปนประโยชนสูงสุดของชีวิต นับวาคุณ พอ เปน ทหารเอกทา นหนง่ึ ของพระพทุ ธเจา ทไ่ี ดร บั ใชแ ละตอบแทน คณุ ของพระพุทธศาสนาอยางเตม็ ที่ ไดท าํ สงิ่ ที่ทําไดย าก จนไดรับ เกยี รตจิ ากคณะศษิ ยว า เปน เพชรแหง การเผยแผธ รรม และไดร บั การ ยกยองจากบุคคลทั่วไปวาเปนปราชญแหงแผนดินทานหน่ึงในยุค สมัยน้ี ขอบญุ กศุ ลน้ีสงผลใหคณุ พอ ไดรบั สงิ่ ทไี่ ดร บั โดยยากเทอญ
๑๗๗อาจริยานุสสติ ๒) เปอ นนิดเดยี ว วันหนึ่งคุณพอเตรียมไปสอนหนังสือ ทานสวมเส้ือซึ่งมี รอยเปอนหมึกที่กระเปาเส้ือ ขาพเจาจึงเรียนใหทานทราบ แลว ทานก็ตอบวา “มีรอยเปอนนิดเดียว สวนอื่นท่ีไมเปอนมีต้ังเยอะ ทาํ ไมไมมอง” แลว ทานกย็ งั คงสวมเส้อื ตวั น้ันไปสอน คุณพอไมใหความสําคัญและไมยอมเสียเวลากับเรื่องท่ีมี สาระนอ ยเลย แตท า นกม็ เี มตตากบั ทกุ คน และใสใ จมากกบั ความรสู กึ สขุ ทกุ ขข องศษิ ย จงึ สอนขา พเจา ตอ ไปวา “คนสว นใหญม กั จะขาด การระลึกเสมอๆวาคนเราดีไมทั่วชั่วไมหมด บางก็มักเอาเร่ืองกับ ความบกพรอ งเลก็ นอ ย อนั เปน เหตหุ นง่ึ ทท่ี าํ ใหข าดความสขุ ใจไป” ... สาธุ ๓) จะไดไ มเ ปอ นงา ย คุณพอใชชีวิตเรียบงาย ไมประสงคใหผูดูแลทานตองยุง ยาก และคุณพอก็ทําตามที่ทานไดต้ังใจอยางน้ันดวยเสมอ บน ทน่ี อนของคณุ พอ จะมผี า บาง ๆ แบบทซ่ี กั งา ยแหง เรว็ และไมต อ งรดี สําหรับปูลงบนหมอนยาวลงมาจนถึงเอวทาน อีกผืนหนึ่งปูท่ีเทา ขาพเจาถามเหตุผลจากคุณพอวาทําไมตองทําอยางนั้น คุณพอ เมตตาตอบวา “หมอนและผา ปูท่นี อนจะไดไ มเ ปอนงา ย”
๑๗๘ อัตตชีวประวัติ อ.วศิน อินทสระ คณุ พอ ใชเ สอ้ื ผา ทซี่ กั งา ยแหง เรว็ ถา เปน เสอ้ื ผา ทใี่ สอ ยกู บั บา นกไ็ มต อ งรดี นอกจากชดุ ทสี่ วมเพอื่ รบั แขกผมู าเยยี่ ม และทสี่ วม เพอ่ื ออกไปนอกบา นเพอื่ สอนหนงั สอื หรอื ไปทาํ ธรุ ะอนื่ บางทลี กู จา ง ผูมาชวยดูแลงานบานไมตองรีดผาติดตอกันเปนเวลาเกือบเดือน (เพราะคณุ พอ หยดุ สอนพระลกู ศษิ ยม าตงั้ แตป พ .ศ.๒๕๕๒ และหยดุ สอนลูกศิษยโรงเรียนพระพุทธศาสนาวันอาทิตย มาตั้งแตปลาย เดอื นกมุ ภาพนั ธ พ.ศ.๒๕๕๓ เนอ่ื งดว ยสขุ ภาพทที่ รดุ โทรม รา งกาย ไมค อ ยมกี าํ ลงั แมจ ะมกี าํ ลงั ปญ ญาและกาํ ลงั ใจเตม็ เปย ม ทจี่ ะชว ย เหลอื ประชาชนใหม ชี วี ติ ทด่ี ขี น้ึ กต็ าม) ชดุ เครอ่ื งนอนปลอกหมอนก็ ไมต อ งรดี คณุ พอ เคยพดู สอนและมปี รากฏในหนงั สอื ของทา นดว ยวา ใหอยูอยางต่าํ ทําอยา งสูง (Plain living High doing) และทานก็ ประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ ามทที่ า นสอนเสมอ แมใ นการดาํ เนนิ ชวี ติ เรอื่ งอนื่ ๆ องคส มเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา ทรงเปน ผตู รสั อยา งใดทาํ อยางน้ัน ทําอยางใดตรัสอยางนั้น (ยถาการี ตถาวาที ยถาวาที ตถาการี) คุณพอจึงเปนธรรมทายาทของพระศาสดาโดยแท ... สาธุ ๔) สตั วเ ลย้ี งในบาน บรเิ วณรอบ ๆ บา นของคณุ พอ จะมตี น ไมเ ลก็ บา งใหญบ า ง จึงมักจะมีนกเล็ก ๆ แวะเวียนกันมา บางก็สงเสียงรอง บางก็จิก อะไรไปเรื่อย คุณพอจึงมักจะใหนําขาวสวยหรือกลวยไปวางไวบน
๑๗๙อาจรยิ านสุ สติ กําแพงบา น คณุ พอบอกวาเปน การขอบใจทม่ี าสง เสยี งไพเราะใหฟ ง คณุ พอ มกั จะทานอาหารแลว เหลอื เศษไวเ ลก็ นอ ยเพอ่ื นาํ ไปใหน กหรอื สุนัข (สุนัขท่ีไมมีเจาของในซอยท่ีบานพักของทานต้ังอยู) มีศิษย ผหู วงั ดที าํ กรงขงั สนุ ขั ใหแ ละขอใหค ณุ พอ เลย้ี งสนุ ขั เพอ่ื ชว ยดแู ลบา น แตเมื่อทานเห็นกรงขังเทาน้ัน ทานก็ตัดสินใจเด็ดขาดวาไมเลี้ยง ดว ยความสงสารเมอ่ื คดิ ถึงเวลาทสี่ ุนขั จะตองถูกขงั อยูในกรงนนั้ คณุ พอ จะสงั่ ขา พเจา ใหว างเศษขา วเลก็ นอ ยบรเิ วณขอบโตะ อาหาร ใหจิ้งจกมากิน จนกระท่ังจิ้งจกรูเวลาอาหาร และจะโผล หนามาขอขาวอยูเสมอ ขาพเจาสังเกตเห็นวา จ้ิงจกที่มากินเศษ ขา วจะมสี ผี วิ ออกจะขาว ๆ และจะไมด ไุ มค อ ยกลวั เรา แตจ งิ้ จกบรเิ วณ อน่ื ทกี่ นิ แมลงหรอื อยา งอน่ื จะมสี คี ลา้ํ กวา และมที า ทางดดุ ว ย คณุ พอ บอกวา สัตวเ ขาก็รับรูไดว า ใครเมตตาเขา บางทคี ณุ พอก็นาํ น้าํ ผงึ้ เลก็ นอ ยไปเทบนพนื้ ขอบกาํ แพงบา น บรเิ วณทม่ี ดเดนิ ผา น เพอื่ เปน อาหารของมดเหลา นนั้ คณุ พอ บอกวา แคอ าหารเพยี งเลก็ นอ ย ของเรา ชว ยชวี ติ สัตวเล็กสตั วนอยไดห ลายชวี ิต ... สาธุ ๕) ดดี ดู ดี คณุ พอ มลี กู ศษิ ยม ากจงึ มหี ลากหลายอาชพี ขา พเจา สงั เกต มานานแลว พบบอ ย ๆ วา เมอื่ สงั ขารรา งกายของทา นตอ งการอะไร ก็จะมีลูกศิษยนํามาสงใหดวยตนเองบาง สงมาทางไปรษณียบาง เชน ทานตองการอาหารออน ๆ เพราะเปนชวงที่กระเพาะอาหาร
๑๘๐ อัตตชวี ประวัติ อ.วศิน อินทสระ ออ นแอ กจ็ ะมลี กู ศษิ ยท สี่ ง อาหารประจาํ สปั ดาหล ะครง้ั อยใู นขณะน้ี คอื คณุ ลงุ วริ ชั และคณุ ปา นวลนอ ย ชปู ระดษิ ฐ ปรงุ เองและนาํ มา สงในวันพฤหัส และคุณเกรียงพงษ หริจิระติวงศนํามาสงในวัน อาทติ ย ซ่งึ เหมาะสมกับความตองการของทาน โดยทข่ี าพเจา มิได สงขาวความตองการของทา นใหคุณลุงคุณปาไดรับทราบเลย เมอื่ ทา นตอ งเขา รบั การรกั ษาหวั ใจทโี่ รงพยาบาลครง้ั ลา สดุ คือเมื่อวันท่ี ๑๕ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๔ ก็มีเหตุใหมีลูกศิษยท่ีเปน หมอเปน พยาบาล ชว ยใหก ารรักษาเปน ไปไดอ ยา งสะดวกปลอดภยั โดยมที นั ตแพทยห ญงิ อจั ฉรา กลนิ่ สวุ รรณ และเพอ่ื นรว มอดุ มการณ ทางธรรม มีจิตอาสาเต็มท่ีมาเปนลูกสาวลูกชายกลุมลาสุด ไดมา ชว ยกนั ในชว งเวลาทพี่ อเหมาะกบั ทสี่ งั ขารรา งกายของทา นตอ งการ นอ งจมุ (อจั ฉรา กลนิ่ สวุ รรณ) ยงั ชักชวนใหคุณหมอผูเช่ียวชาญ ดานโรคหัวใจ ผูมีศรัทธาและติดตามผลงานทางธรรมของคุณพอ มานาน ไดป วารณารบั ใช และสามารถตดิ ตอ ไดต ลอด ๒๔ ชว่ั โมง ทําใหพวกเราสบายใจขึ้นมาก นองจุมยังทําใหทานชื่นใจ ดวยการ ผลักดันคําบรรยายธรรมของทานใหเปนหนังสือและงานเสียงทาง แผนซีดี MP3 ไดอยา งฉลาดและรวดเร็ว ขออนโุ มทนาอยา งยงิ่ กับ บุญกศุ ลท่ีนอ ง ๆ กลมุ นี้ไดก ระทาํ เปน อยา งดี คุณพอเคยสอนวา คนเรามีอานุภาพของตนของตน ถา เราใหเขาทําในส่ิงที่เขาถนัดเขาก็จะทําไดดี อธิบดีจะไปถางหญาได ชํานาญเทาคนดูแลสวน หรือคนดูแลสวนจะไปทํางานแทนอธิบดี
๑๘๑อาจริยานุสสติ แลวใหไดผลดีน้ัน เปนเร่ืองที่เปนไปไดยาก หัวใจเปนสวนสําคัญ แตไ มไ ดหมายความวา เราจะตดั มอื ตัดเทา ทง้ิ เพราะสาํ คญั นอยกวา คุณพอไดใชชีวิตของทานแสดงใหลูกศิษยไดเห็นอยางท่ีทานสอนวา “อยา กลวั ความเปลย่ี นแปลง ถา เราใชช วี ติ ใหด ใี หถ กู ตอ งตามธรรม คือเรามอบตนใหแกธรรมแลว ธรรมจะคุมครองรักษา คือการ เปล่ยี นแปลงท่จี ะเกดิ ขึน้ กจ็ ะเปนไปในทางท่ีด”ี ... สาธุ ๖) วิธตี อบปญหา พ่ีขวัญ เพียงหทัย ไดขอใหคุณพอตอบคําถามในหอง สนทนาธรรมของเวบไซต www.ruendham.com มาตั้งแตปพ.ศ. ๒๕๔๗ ซง่ึ มผี เู ขา ไปฝากคาํ ถามไวส ปั ดาหล ะ ๖-๑๐ ขอ จนถงึ บดั น้ี มปี ระมาณ ๑,๑๐๐ ขอ แลว ในการตอบปญ หา คณุ พอ จะตอบโดย ใชพ ระไตรปฎก อรรถกถาและหนังสือตา ง ๆ รวมท้ังพระพทุ ธพจน เปนฐานอางอิงเสมอ ถาเม่ือใดทานใชประสบการณความคิดเห็น ของทาน คุณพอก็จะกลาวไวใหผูอานทราบวาเปนความคิดความ เขาใจของทา น ผทู ี่ไดอ า นจะพบเหน็ ปฏภิ าณของทา นแฝงไวเ สมอ บางครั้งทานตองการใหเกิดความแมนยําและแนใจจริงๆ คณุ พอ กจ็ ะใหข า พเจา หยบิ หนงั สอื ทเี่ กยี่ วขอ ง เปน พระไตรปฎ กบาลี บา งมาอา นใหท า นฟง เพราะทา นอา นหนงั สอื ดว ยตวั ทา นเองไมไ ดแ ลว (คุณพอเปนผูชอบอานหนังสือ ชอบคนควาและเขียนหนังสือมาก ทานมีผลงานการเขียนถึง ๑๓๐ กวาเรื่อง ปจจุบันทานทําสิ่งท่ี
๑๘๒ อัตตชวี ประวตั ิ อ.วศนิ อนิ ทสระ ทานรักดวยตนเองไมไดแลวเพราะสายตาไมคอยดี แตทานก็ยังอยู ไดอ ยา งสงบเยอื กเยน็ ) บางปญ หากเ็ ปน ความทกุ ขส ว นตวั ของผถู าม แตค ณุ พอก็ตอบแบบทคี่ นท่วั ไปนําไปใชประโยชนไ ดด ี บางปญ หาก็ เปนขอธรรมที่ทั่วไปสําหรับทุกคน มีทั้งปญหาในแงธรรมปฏิบัติ และปริยัติแบบเชิงลึก คุณพอตอบปญหาไดอยางละเอียดชัดเจน เขา ใจงา ย มอี ปุ มาอปุ ไมยทท่ี าํ ใหเ หน็ ภาพพจน และใหก าํ ลงั ใจเพอ่ื น รว มทกุ ขท่ีเขยี นคาํ ถามและเออ้ื เฟอถึงผูอานท่วั ไปดวย คณุ พอ เคยเปรยี บผทู ต่ี ง้ั ใจฝก ฝนตนวา เปน เหมอื นดนิ หมาด ท่ีจะปนใหเปนรูปใดก็ได คุณพอเปนผูประดิษฐบรรจงปนดินคือ ผูยอมตนเปนศิษย ไดอยางประณีต ดวยความอดทน เลือกแบบ และวธิ กี ารไดอ ยา งเหมาะสมคมคาย ทง้ั พดู ใหฟ ง ทาํ ใหด ู และเปน อยูใ หเ ห็น สมเปน ครผู ูมคี วามเมตตากรุณาเต็มเปย ม ... สาธุ ขา พเจา ขอขอบคณุ พช่ี ายของขา พเจา ผชู กั ชวนใหข า พเจา ติดตามฟงธรรมบรรยายของคุณพอในรายการวิทยุ “ธรรมะรวม สมัย” ทางสถานีวทิ ยุ อสมท. เวลาตี ๑ ถงึ ตี ๒ เมอ่ื พ.ศ.๒๕๔๗– ๒๕๔๙ ตรงกับเวลากลางวันในอเมริกาซึ่งสะดวกในการรับฟงโดย ผานอินเตอรเนตขณะท่ีขาพเจาไปศึกษาตอท่ีน่ัน ซ่ึงเปนจุดเร่ิมตน ใหขาพเจาไดติดตามมาเปนนักเรียนในหองเรียนธรรมะ ที่โรงเรียน พระพุทธศาสนาวนั อาทติ ย ณ วัดบวรนิเวศวหิ าร และไดมารับใช คุณพอ
๑๘๓อาจริยานสุ สติ ขาพเจาขอกราบขอบพระคุณคุณพอวศิน อินทสระเปน อยางสูงที่ไดใหขณสมบัติแกขาพเจา ใหไดทําประโยชนตนและ ประโยชนท า น ขอบญุ กศุ ลทขี่ า พเจา ไดบ าํ เพญ็ มาทงั้ หมดแมจ ะนอ ยนดิ ไดไ ปรวมกบั บญุ กศุ ลของลกู ศษิ ยค นอนื่ ๆ ผไู มไ ดโ อกาสอยา งขา พเจา และบญุ กศุ ลอนั ยงิ่ ใหญท ค่ี ณุ พอ ไดก ระทาํ มา สง ใหค ณุ พอ ไดพ บสง่ิ ที่คุณพอปรารถนา ใหคุณพอไดปฏิบัติธรรมสมควรแกธรรมตาม หนทางท่คี ุณพอ ไดต ง้ั ปณธิ านไวด วย เทอญ กราบเทา คุณพอทีเ่ คารพรักย่งิ ยุวดี อ๊งึ ศรีวงษ
๑๘๔ อัตตชวี ประวัติ อ.วศิน อินทสระ แดอาจารยดวยความเคารพ ขอ สงสยั ตางๆ ทฉ่ี ันเคยมี และเคยกอเกดิ ขอ สงสยั ใหมๆตามมาเปนลกู โซ กไ็ ดถ กู ปลดเปลือ้ งออกไป ดว ยการเหน็ วา สิ่งธรรมดาเหลา นน้ั ไมใ ชและไมเ กย่ี วกบั หนทางชวี ิตทีด่ ที ี่ควรเปน พึงละความสนใจลงเสยี ปลอ ยโคลนตมใหล อยนาํ้ ไปใหหมด ฉนั ใชช วี ติ ๓๘ ป อยกู บั การเปน ชาวพทุ ธในทะเบยี นบา น มสี ขุ มที กุ ขเ ปน นางเอกเจา นา้ํ ตาในจนิ ตนาการของตวั เองบา ง ตาม ประสาปุถุชน คร้ันมาไดศ ึกษาธรรมะจากหลวงพอ พุทธทาสในยาม
๑๘๕อาจรยิ านสุ สติ ท่ีฉนั ทกุ ขใ จหนกั กเ็ ปรยี บเสมอื นไดต ามฟน ฝา พงหนามออกมาสทู ี่ โลงได แตฉันก็ยังไมวายติดโคลนตมริมฝงนํ้า ทําใหการกาวไป ขางหนาหนักชักชา คือความสงสัยท่ีมีอยูประจําตัวมาต้ังแตเกิด น่ันเอง ความชางสงสัย นอกจากทําใหชักชา ยังเปนบอเกิดของ คําถามตอ ๆ มา สงสัยตอไปไมส้ินสุด ฉันวนอยูกับคําถามเร่ือง พธิ กี รรมทเ่ี พง่ิ พบเจอเรอื่ งหมอดู เรอ่ื งกรรมและการแกก รรม เรอื่ ง การบรรลุธรรม เร่ืองการปฏิบัติตัวตามธรรม เรื่องการอยากเปน คนดี เรื่องการกลัวบาปจนประสาทเสีย ฯลฯ สมองเปรอะเปอน เหนียวหนึบดวยโคลนตมของความคิดสงผลใหใจวุนวาย ไมไดสุข สงบอยางทคี่ นเรียนธรรมะควรจะเปน ไมวา จะคิดจะทําสงิ่ ใด จะมี ขอสงสัยเกิดขึ้นใหกังวลใหการทํากิจนั้นหมนเศรามัวหมองไมเบิก บาน อยากจะไดคําตอบวาจะชําระลางโคลนตมเหลาน้ันไดท่ีไหน อยา งไร ฉันใชเวลาวันอาทิตยกับการเรียนธรรมะกับทานอาจารย วศิน อินทสระ คอยๆ เรียนรูสิ่งท่ีพระพุทธเจาทรงสอนไวอยาง ซาบซ้งึ ใจและทัง้ คําสอนเกยี่ วกับชีวิตจากอาจารย การวางชวี ติ ไวท่ี จดุ หนงึ่ ซง่ึ นง่ิ สงบอยใู นพลงั แหง ความเงยี บ มองออกไปยงั สง่ิ ตา งๆ อยางเห็นตามจริงวาสิ่งเหลานั้นเปน “ธรรมดา” ฉะนั้นรับสัมผัส เขามาอยางธรรมดาและวางลงอยางธรรมดา ไมมีอะไรตองไปตาม ต่ืนเตนโลดโผนหรอื เศรา สรอย
๑๘๖ อตั ตชีวประวัติ อ.วศิน อินทสระ ขอสงสัยตางๆ ที่ฉันเคยมีและเคยกอเกิดขอสงสัยใหมๆ ตามมาเปน ลกู โซ กไ็ ดถ กู ปลดเปลอื้ งออกไปดว ยการเหน็ วา สงิ่ ธรรมดา เหลานั้นไมใชและไมเก่ียวกับหนทางชีวิตที่ดีท่ีควรเปน พึงละความ สนใจลงเสีย ปลอยโคลนตมใหล อยตามนา้ํ ไปใหห มด และทสี่ าํ คญั คอื เรอ่ื งกรรมอนั เหมอื นกรงทปี่ ด กน้ั อสิ ระของ ชีวิตไวใ นความหวาดกลวั “เชือ่ กรรมอยา งเดียว ปญหาทกุ อยา งกห็ มดไป” ถอยประโยคเดียวของอาจารยไดทําใหกรงนั้นสลายเปน อากาศธาตุไป อิสรภาพไดก ลบั คนื มาสูหัวใจฉัน และฉันไดมีชวี ิตท่ี หนกั แนน มน่ั คงและไรภ าระจากเปลือกธรรมทง้ั ปวง ขอบพระคณุ อาจารยว ศนิ อนิ ทสระ ผใู หธ รรมและเสรภี าพ แหงธรรมแกชีวิตของฉัน ขออาราธนาคุณพระรัตนตรัยคุมครอง อาจารยใ หม สี ขุ ภาพแขง็ แรง เปน หลกั ใจหลกั ธรรมแกเ หลา ศษิ ยต อ ไป อกี ยาวนาน ดวยความเคารพอยางสูง ขวญั เพยี งหทัย
๑๘๗อาจริยานุสสติ กอ นทจ่ี ะพบทานอาจารย และกป็ ระหลาดใจที่พบวา บา นของทา น เปนบานชัน้ เดียว ๕๐ ตารางวา เล็กๆ ชั้นเดยี ว เหมอื นท่ีทา นเคยใหสัมภาษณว า มคี นมาบอกวา “บานของทานอาจารยวศิน ไมใหญโตเหมือนช่อื เสียงของทา นเลย” มนั จรงิ เสยี นกี่ ระไร! เย็นวันหนึ่งไดฟงธรรมจากสถานีวิทยุสังฆทานธรรม ๘๙.๒๕ MHz วนั นนั้ ทางสถานไี ดจ ดั รายการทบ่ี า นทา นอาจารยว ศนิ อนิ ทสระ ซงึ่ ตอนนน้ั ผมยงั ไมร จู กั ทา นอาจารยเ ลย พอไดฟง ทา นให สมั ภาษณแ ลว มีความรูสึกดมี ากเลย วา ทา นอาจารยผ นู ้ี มีประวตั ิ
๑๘๘ อัตตชวี ประวัติ อ.วศิน อนิ ทสระ ไมธรรมดาเลย คาํ พดู ทไี่ พเราะเยือกเยน็ มคี าํ คม ๆ ตอบคําถามได คมคายดี จงึ โทรไปทวี่ ดั สงั ฆทานธรรม เพอื่ ขอ mp3 บทสมั ภาษณ ของทา นอาจารย อาทติ ยถ ดั ไปจงึ ไปพบคณุ บญุ สง ทส่ี ถานวี ทิ ยฯุ เพอื่ ขอรบั mp3 และในวันน้ันก็เลยขอ mp3 อ่ืน ๆ ของทานอาจารยดวย แลวก็ได mp3 เร่ือง “บนเสนทางสีขาว” มา กลับมาบานก็เปด ฟง บทสมั ภาษณ และmp3 บนเสน ทางสขี าว กเ็ รมิ่ รจู กั ทา นอาจารย ไดค วามรทู างธรรม และแนวทางชวี ติ ดว ย ทาํ ใหช น่ื ชอบทา นอาจารย เพมิ่ ขึน้ เรอ่ื ย ๆ รสู กึ เลือ่ มใสทา นอาจารย และช่ืนชอบอยูล ึก ๆ หลงั จากนนั้ กเ็ รม่ิ ตดิ ตามผลงานของทา น โดยไปทเี่ รอื นธรรม ไปซอ้ื หนงั สอื ของทา นอาจารยแ ละขอยมื mp3 ทางแหง ความดี และ ธรรมบท และอกี หลายแผน มา copy และฟง ไปเรอ่ื ย ๆ ทาํ ใหม คี วาม รูทางธรรมเพ่ิมขึ้นเปนลําดับ เขาใจธรรมะวาพระผูมีพระภาคเจาฯ ทา นตรสั อะไร สง่ั สอนอะไร ทาํ ใหม คี วามตนื้ ตนั ในธรรมมากขนึ้ และ บอกตัวเองวา เราจะตอ งไปกราบทา นอาจารยผ นู ้ใี หไ ด มีความรูสึก วาเวลาทานพูดอะไรออกมา มันตรงกัยอุดมการณของตนมากเลย สมัยเด็ก ๆ เปนผูมีความรูสึกวาเกิดมาตองทําประโยชนเพ่ือสังคม เสยี สละ เกอื้ กลู ตอ คนหมมู าก แต ๔๐ กวา ปท ผ่ี า นมาไมเ คยไดย นิ ไดฟ ง ใครทมี่ าพดู ธรรมะเหลา นใี้ หเ ราฟง เลย เราเอง ก็ไมไดใหความ สนใจดวย เหมือนมีกรรม หรือวิบากกรรมมาบัง หลงโลกอยูพัก ใหญเลย จนกระท่งั มคี วามทกุ ขมาก ๆ จรงิ ๆ
๑๘๙อาจรยิ านุสสติ จะขอเลาใหฟงเร่ืองของตัวเองสักนิดวา ทําไมผมถึงเดิน ทางเขา สเู สน ทางธรรม เมอ่ื ป ๒๕๔๘ ทาํ งานหนกั มาก มคี วามเครยี ด มาก มีปญหาเรื่องงาน ทําใหนอนไมหลับ กอรปกับไดไปตรวจ รา งกายประจาํ ป ผลปรากฎวา หมอพบกอ นในตบั ๒ กอ นจากการทาํ Ultrasound ทําใหตกใจกลัวตายขึ้นมาทันที เพราะเพ่ือนคนหนึ่ง เพ่งิ เสยี ชีวิตไปดว ยโรคมะเร็งตับ ทําใหเ กดิ ความเครยี ดเพม่ิ ขนึ้ มาก ขนึ้ ไปอกี มคี วามคดิ ฟงุ ซา นมาก ตอนนน้ั กลวั ตายมาก ถกู ความคดิ ปรุงแตงเลนงานจมงอมเลย ทรมานมาก กินไมได นอนไมหลับ หมอใหไปตรวจตอเพ่ือใหท ราบแนช ดั วา เปน อะไร อีก ๓ วนั ไปทาํ CT Scan หมอพบวามี กอน ๒ กอนจริง อาการทางจิต แยลงเปนลําดับ หมอบอกวาจะตองทํา MRI ตอ เพ่ือตรวจสอบ วาเปนมะเร็งหรอื ไม และอาจจะตอ งนาํ ชน้ิ เนื้อตบั ไปตรวจดวย จากวันตรวจรางกาย ถึงวันทํา MRI จิตใจตกเปนลําดับ จนเปน โรคจติ ซมึ เศรา ตอ งไปพบจติ แพทยต อ ถงึ แมว า ผลการตรวจ MRI จะบอกไมเปนมะเร็ง แตจะตอง follow up รางกายผอม ทานอาหารนอ ยลง นอนไมหลับ ตองทานยาแกโรคซมึ เศรา และ ตอ งรกั ษาตวั อยปู ระมาณ ๑ ป ถงึ กระนน้ั จติ ใจกย็ งั มคี วามกงั วล อยลู กึ ๆ ความคดิ กงั วลใจ เกดิ ขน้ึ เปน ระยะ ๆ เปน เพราะความคดิ ปรงุ แตง เลน งานอยู เหมือนทที่ า นอาจารยพดู อยบู อย ๆ วา
๑๙๐ อัตตชีวประวตั ิ อ.วศิน อินทสระ “เราเบกิ ความทกุ ขม าใชล ว งหนา ” “เราถกู ความทกุ ขก นิ เปลา ” “เอาความทกุ ขมาคิดแลวมาหลอกหลอนตวั เอง” ทกุ ขท รมาน นา สมเพช สงสารตวั เองจรงิ ๆ ผมตอ งพง่ึ พระธรรม โดยมเี พอื่ นชอ่ื วนั ชยั เปน กลั ยาณมติ ร พาไปหาพระ และ คอยชว ยเหลอื เมอื่ เวลาจติ ตก จากนนั้ กเ็ ขา สเู สน ทางธรรมมาเรอื่ ย ๆ จนมาพบสถานีวิทยุสังฆทานธรรม และไดฟงคําสัมภาษณทาน อาจารยว ศนิ อินทสระ ผมพยายามหาทางเพอื่ ไปกราบทา น โดยกลบั ไปทว่ี ดั สงั ฆทาน เพื่อถามท่ีอยูของทาน และ ทราบวาทานอาศัยอยูแถวถนนพิบูล สงคราม ๑๒ ผมไดเ คยขจี่ กั รยานไปเทย่ี วถามชาวบา นแถวนนั้ และ กไ็ ดพ บบานของทานตามความประสงค และก็ประหลาดใจที่พบวา บานของทานเปนบานชั้นเดียว ๕๐ ตารางวา เล็ก ๆ ช้ันเดียว เหมือนที่ทานเคยใหสัมภาษณวา มีคนมาบอกวา “บานของทาน อาจารยวศิน ไมใหญโตเหมือนช่ือเสียงของทานเลย” มันจริงเสีย นก่ี ระไร! ทท่ี านไดเ ขียนไวใ นหนงั สือบนเสนทางสีขาว วา “เกิดมา เปน มนษุ ยต อ งทาํ งานอยา งอนิ ทรี แตอ ยแู บบนกกระจอก” ยง่ิ ทาํ ให ผมประทับใจและชื่นชอบ ซาบซึ้งและนับถือทานเปนยิ่งนัก เปน บคุ คลทห่ี าไดยากมากจริง ๆ
๑๙๑อาจรยิ านสุ สติ หลงั จากรจู กั ทา นทางเสยี ง และหนงั สอื ผมเองตง้ั ใจอยา ง แนว แนว า จะไดต ดิ ตามทา น ตามหาทา น และจะตอ งไปกราบทา นใหไ ด และทราบวา ทา นสอนธรรมะอยทู ว่ี ดั บวรฯ วนั อาทติ ย กเ็ ลยตดิ ตาม ทา นไปที่วัดบวรฯ ในวนั แรก มคี วามรสู กึ วา เปน Class ทส่ี งบ แปลกดี ทา น อาจารยจ ะมาถึงประมาณ ๑๐ โมงครึ่ง พอมาถึง ทานอาจารยก ็ เดินไปพักที่หองพักครู จะมีผูหญิง ๒ คนมากับทานอาจารย มคี วามคลอ งแคลว วอ งไว เดนิ ไปมาเพอื่ จดั หอ งเรยี น เตรยี มเครอ่ื ง เสยี ง เครอ่ื งอดั เสยี งกนั จา ละหวน่ั ประมาณ ๑๑ โมง ทา นอาจารย ก็เดินมา ลูกศิกษก็กราบ ลุกรับ แลวทานก็เดินไปน่ังท่ีหนาหอง และก็เริ่มนําสวดมนต “อะระหงั สมั มา สมั พทุ โธ ภะคะวา....” ดว ยเสยี งทชี่ า ชดั กงั วาน สงบเยน็ เลน เอาผมขนลกุ มปี ต ิ ขนึ้ มาทนั ที ชา งมคี วาม สงบเยน็ เสยี นก่ี ระไร!... แลว กเ็ รมิ่ เรยี นกนั ในหอ งเรยี นเปน กนั เอง กนั มาก ทกุ คนมจี ติ ใจสวา งอสิ ระ ตนื่ รู และมธี รรมฉนั ทะในธรรม มีหลายชนช้ัน หลายการศึกษาต้ังแต ดอกเตอร ถึง มัธยม ผมมคี วามสขุ จัง!
๑๙๒ อตั ตชีวประวัติ อ.วศิน อินทสระ เราไดเรียนถึงประมาณเที่ยง ทานอาจารยก็พักเท่ียง มีคนเอาอาหารหลากหลายมาแบงปนกัน มีพ่ีสุธี และพ่ีเปด เปนหัวเรือใหญในการทําอาหารอรอย ๆ ใหพวกเรารับประทาน ตอ งขออนโุ มทนาสาธ.ุ ... วนั นั้นผมเดนิ ตามทานอาจารยไปที่หองพกั ทานอาจารย ลงนอนที่เตียงผาใบอยางชา ๆ ผมลงไปกราบที่เทาทาน ๓ ครั้ง เทา นน้ั ละ ครบั นา้ํ ตาแหง ความปต กิ เ็ ออ ลน ขน้ึ มาทนั ที แตก ย็ งั ระงบั ไวได ไดสนทนากันทานเล็กนอย ยังจําไดวาทานอาจารยถามวาได อานหนังสือของทานเลมไหนบาง เรายังตอบผิดเลย “ตอบวามี ลีลาวดีครับ” ทานอาจารยตอบวาทานอาจารยไมไดเขียนเร่ืองนี้... เลน เอาเราเขนิ ไปเลย...ต่นื เตน ครบั ขอโทษที หลังจากน้ันเราก็เร่ิมเปนนักเรียนประจํา โดยจะไปต้ังแต เชา เพอ่ื ไปฟง ธรรมกบั พระอาจารยม หาระเบยี บ ถงึ ประมาณ ๑๐ โมง และก็จะลงมารอรับทานอาจารย ยังถามตัวเองวาทําไมตองมารอ รบั ทา นอาจารย จติ มนั ตอบวา ใหม ารอรบั ทา นอาจารย เหมอื นพระ ลูกศิษยท่ีเวลาพระอาจารยมาก็ตองรีบเขาไปรับบาตรและยามทุก ครง้ั ทพี่ ระอาจารยม าถงึ เปน การใหค วามเคารพเปน อยา งสงู จติ ใจ มนั คดิ อยา งนน้ั ครบั และผมยงั ไปชว ยลกู ศษิ ยท งั้ ๒ คน ในการจดั หองและเคร่ืองเสียงดวย เพราะตองการรูจักและทําความดีครับ ตอนกอ นกลบั บา นกช็ ว ยลา งจานดว ยครบั (ชมตวั เองไปหรอื เปลา )
๑๙๓อาจริยานสุ สติ ๓-๔ เดือนตอมา จนใกลถึงวันคลายวันเกิดของทาน อาจารย วันที่ ๑๗ กันยายน หัวหนาช้ัน ทานอาจารยสายฤดี มาบอกผมวา ตามธรรมเนยี ม จะตอ งมลี กู ศษิ ยใ หมไ ดก ลา วถงึ ทา น อาจารยว า มคี วามรสู กึ อยา งไร ไดค วามรู ไดป ระโยชนอ ะไรบา งทม่ี า เรยี นกบั ทานอาจารย เปนเรอ่ื งเลยครับ ท้งั กลัวทัง้ เขิน... กลับมาเตรยี มตัวอยา งดีครับ เขียน Script ไวเ รียบรอย พอถงึ อาทติ ยท ตี่ อ งพดู เวลาจะกลา ว กลา วไมอ อกครบั มนั สะอกึ สะอ้ืน นํ้าตาแหงความปติของลูกผูชายคนหน่ึงมันไหลรินไมหยุด ครบั ผมตอ งสงบสตอิ ารมณ ถงึ ๓ ครง้ั ครบั ทา นอาจารยไ ดเ มตตา ใหกาํ ลังใจมากครบั โดยกลาววา “ความปติ นํ้าตาของความปต ิ” ผมไมสามารถจะตอบไดวามันเกิดอะไรขึ้นกับผมตอน นนั้ “ทาํ ไมตอ งเปน ถงึ ขนาดนนั้ ดว ย” ทา นอาจารยเ อง กไ็ มไ ดห ลอ เสยี งกแ็ หบ มกี ารกระแอมเปน ระยะในเวลาบรรยายธรรม สงบนง่ิ เยือกเย็น เปยมลนดวยความเมตตากรุณาอยางลึกซึ้งตอลูกศิษย ทุกคน ลูกศิษยทุกคนทราบดี ถึงแมบางครั้ง ทานอาจารยจะไม คอยสบาย แตก็พยายามจะมาสอน ถึงแมจะมีลูกศิษยหามแลว ทา นก็จะมาสอนครับ น่ลี ะครับทีเ่ ราเรยี นเต็มปากวา “คณุ ครู” มีอยคู รั้งหนึ่งทีท่ า นอาจารยไ มค อ ยสบาย ตอนไปรับทา น ตอนเชา ทา นอาจารยบ อกผมวา “วันน้ี หวั ใจเตนไมคอยด”ี
๑๙๔ อตั ตชีวประวัติ อ.วศิน อนิ ทสระ ผมกงั วลใจเลก็ นอ ย แตส งั เกตทา นอาจารย กย็ งั สงบนง่ิ เยอื กเยน็ เหมอื นเชน เดมิ ครบั วนั นน้ั จาํ ไมไ ดว า ทา นอาจารยน าํ สวด มนตหรอื ไม ทันใดนนั้ เอง ทา นก็เอย ปากวา ไมค อยสบาย แลวกม็ ี อาการหมดสตไิ ป ทา มกลางความตกตะลงึ ของลกู ศษิ ยท กุ คน คณุ ยุ และลูกศิษยท่ีอยูใกลก็เขาไปปฐมพยาบาล นวดเฟน ใหยาดม ประมาณ ๒-๓ นาที ทกุ คนจงึ ตดั สนิ ใจวา จะพาทา นอาจารยไ ปสง โรงพยาบาล จงึ ชว ยกนั หามทา นอาจารยพ รอ มเกา ออ้ี อกมา พอเลย ประตูไปนิดหนึ่งเพ่ือจะข้ึนรถ ทานอาจารยก็รูสึกตัวข้ึน และกลาว อยางสงบเย็นวา ใหพาทานอาจารยไปที่หองพัก ใหลูกศิษยเช็ค ความดันโลหิต และใหชงน้ําเกลืออุน ๆ ใหทานด่ืม สักพักใหญ ๆ ทา นอาจารยก ร็ สู ึกสบายขนึ้ ตกใจหมดเลย! วนั อาทติ ยถ ดั มา ทา นอาจารยก ป็ รารภเรอื่ งทเี่ กดิ ขน้ึ ในวนั อาทติ ยท แ่ี ลว บอกพวกเราวา เกดิ จากการรบั ประทานยาเกนิ ขนาด แลวทานอาจารยก็สอนตอไป ปจ จบุ นั ทา นอาจารยไ มไ ดส อนแลว เนอ่ื งจากไมส บายบอ ย ข้ึน ๆ ผมรูสึกดีใจครับที่ทานอาจารยจะไดพักผอน ไดใชชีวิตอยาง สงบที่บา นอยา งคนธรรมดาเสียที ผมจะดีใจทุกคร้ังที่ทานอาจารยไดเรียกใหเราไดรับใช มี ความรูสกึ วา เราไดโอกาสตอบแทนพระคณุ ทาน ทไี่ ดใหพระธรรม แกเ รา พระคุณทานอาจารยนน้ั หาทีส่ ดุ ไมไดครับ เหมอื นท่เี ราเคย
๑๙๕อาจรยิ านสุ สติ อา นในหนงั สอื ของทา นวา “ทา นอาจารยเ มตตาชว ยเราไมใ หห ลงไป ในทางทชี่ ว่ั เหมอื นเปด ของทปี่ ด หงายของทคี่ วาํ่ บอกทางแกค น หลงทาง...” มอี ยคู รง้ั หนงึ่ ผมพกั รอ นพอดี โทรไปหาคณุ ยุ จงึ ทราบวา ทา นอาจารยจ ะตอ งไปหาหมอทโ่ี รงพยาบาลบางโพพอดี วนั นนั้ ทา น อาจารยไดเมตตาใหผมไดรับใชไปรับไปสงทานอาจารย และไดขอ อนุญาตทําบุญกับทานอาจารยโดยขอเปนผูชําระคารักษาพยาบาล ครับ “ดใี จจงั !” ไดแสดงความกตญั ูตอ ครบู าอาจารย ทุกวันนี้ทานอาจารยก็ยังไดเมตตาใหผมไดไปสงอาหารให ทุก ๆ วันอาทิตย โดยผมจะโทรไปหาคุณยุที่บานวันเสารกอนเพ่ือ เรียนถามวาจะมอี ะไรบางทท่ี า นอาจารยต อ งการ และมอี าหารมาก นอ ยอยา งไร เพอื่ จะไดใ หเ กดิ ”ความพอด”ี และ “เหมาะสม” ตาม ทท่ี า นตอ งการ ดว ยเหตนุ ี้ ผมกเ็ ลยทราบวา ทา นอาจารยร บั ประทาน อะไรไดบ า ง ทุกวนั น้ี ผมมคี วามสขุ มากทไ่ี ดม ีสว นรว มในการดแู ลทา น อาจารย เราไดโ อกาสแสดงความกตัญูรคู ุณทานอาจารย และมี ความสขุ เกอื บทกุ วนั ทไ่ี ดฟ ง พระธรรมของทา นอาจารย ฟง ซา้ํ ไปซาํ้ มา ไมเ คยเบอื่ เลย ไดค วามรู และปญ ญาเพมิ่ ขน้ึ ทกุ ครงั้ “มคี วามสขุ จรงิ ๆ” มพี ระธรรมของพระผูมีพระภาคเจาฯ เปนประทีปนาํ ทางชีวิต และ คุมครองชีวิต ชีวิตท่ีอยูในปจจุบันนี้ มีพระธรรมเปนน้ําหลอเล้ียง
๑๙๖ อัตตชวี ประวัติ อ.วศนิ อินทสระ จนกวาชีวิตจะหาไม ธรรมะของทานอาจารยน้ัน ทานทําใหงายแลว เวลาฟง แลวเพราะเสนาะหู ไมเคยเบ่ือเลย ไดความรูทางธรรมท่ีถูกตอง นอกจากนั้น ยังไดมุมมองของนักปราชญหลายชนชาติ หลายยุค เทียบเคียงกับพระธรรมของพระผูมีพระภาคเจาฯ ทําใหเราเขาใจ อยางลึกซึ้งวา พระสพั พญั ตุ ญาณ ของพระผูมีพระภาคเจาฯน้นั หาประมาณมิได... เปนประโยชนแตสาธุชนทั้งหลายโดยแท ไมมี คาํ สง่ั สอนใดยงิ่ กวา พระธรรมเปน เครอ่ื งมอื ใหเ ราออกจากทกุ ข หรอื สังสารวัฏ เราเปนหน้ีพระผูมีพระภาคเจาฯ อยางหาประมาณมิได เลยจรงิ ๆ “รักพระพทุ ธเจาสดุ หวั ใจ” แตท ส่ี ดุ ทส่ี ดุ และในทสี่ ดุ แลว เรากต็ อ งกราบถวายบงั คม กราบลาพระองคทาน กราบลาพระธรรม กราบลาพระอริยสงฆ กราบลาครบู าอาจารยท กุ ทา น เพอื่ เดนิ ทางเขา สมู รรคผลนพิ านตอ ไป พระธรรมเปนสิ่งที่อธิบายไดยากมาก ๆ เปนธรรมชาติที่ ไมสามารถที่จะอธิบายดวยคําพูด หรืออักษร เปนสิ่งลึกซึ้ง สุขุม นุมนวล ปราณีต เขาใจยาก แตทานอาจารยไดอุทิศชีวิตท้ังชีวิต เพื่อเผยแพรพระธรรม เพ่ือใหพระธรรมของพระผูมีพระภาคเจาฯ น้ันเขาใจงาย ทําใหสาธุชนสามารถเขาถึงธรรมไดไมยาก กราบ ขอบพระคณุ เปน อยางสูงครบั
๑๙๗อาจริยานุสสติ เขยี นยดื ยาวมากพอสมควร อาจจะพดู เรื่องตวั เองมากไป หรอื เปลา ซง่ึ จะเขยี นตอ ไปกค็ งเขยี นไดไ มร จู บ แตก ต็ อ งจบตามกฎ ธรรมชาติ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา หรือสุภาษิตจีนท่ีวา “สงกัน พนั ลแ้ี ลว ก็ไมแ คลวจากกนั ” สดุ ทา ยน้ี กระผมขออาราธนาคณุ พระศรรี ตั นตรยั อนั มพี ระ ผูมีพระภาคเจาฯ พระธรรม และพระสงฆ จงดลบันดาลให คาํ อธษิ ฐานทที่ า นอาจารยว ศนิ อนิ ทสระ ได ตง้ั จติ อธษิ ฐานไวจ ง ประสพผลในชาตินด้ี ว ยเทอญ ขอแสดงความเคารพเปนอยา งสูง เกรยี งพงษ หริจิระติวงศ
๑๙๘ อัตตชวี ประวตั ิ อ.วศิน อนิ ทสระ แทนความเคารพศรทั ธายิ่ง บางคร้ังก็ใจหาย ประทีปแกวดวงนจี้ วนจะมอดดบั แลวหรอื กระไร บางคร้งั อดคิดไมไดวา เวลาทุกขณะทท่ี านอาจารยย ังมีชีวติ อยู คอื โอกาสทองของลูกศษิ ยรวมทัง้ พทุ ธศาสนิกชน ชาวไทยผสู นใจใฝรพู ระสทั ธรรมอันบรสิ ุทธ์ิ จะเปนทน่ี า เสยี ดายอยางยิ่ง หากมเิ คยไดอ า น ไดย นิ ไดฟงผลงานของทานอาจารย
๑๙๙อาจรยิ านุสสติ เม่ือทราบวาไดรับเกียรติใหเขียนเร่ืองราว ความรูสึกและ ความประทบั ใจเกยี่ วกบั ทา นอาจารยว ศนิ ลงในหนงั สอื อตั ตชวี ประวตั ิ ของทานอาจารยท จ่ี ะจดั พมิ พใหม ความคดิ แรกของดฉิ ันคือ ส่งิ ที่ งดงามทสี่ ดุ เกยี่ วกบั ครบู าอาจารยไ มอ าจบรรยายเปน คาํ พดู ได ดฉิ นั หว่ันใจวาจะพรรณนาอาจริยคุณและเกียรติคุณของทานอาจารย อยางไรจงึ จะควรแกค ณุ ปู การของทานทมี่ ีตอ ประเทศชาตแิ ละความ เมตตากรุณาของทานที่ใหแกลูกศิษยทุกคน ถึงกระน้ัน ดิฉันก็อุน ใจวา การเขยี นความในใจนมี้ เี ปา หมายเพอื่ บชู าคณุ ของทา นอาจารย และแมวาจะเขียนไดไมครบถวน ทานอาจารยก็ยังมีลูกศิษยที่มี “อานุภาพ” มากมายที่จะชวยกันถายทอดแงคิด มุมมองเก่ียวกับ ทา นอาจารยไ ดอ ยางประณตี ลกึ ซึง้ รอ ยเรยี งถอ ยคาํ ตา งมาลยั บูชา ทานอาจารยไดอยางวิเศษสุด นําความปล้ืมใจมาสูทานอาจารยได อยา งไมตองสงสยั สาํ หรบั ดฉิ นั นอกเหนอื จากบดิ ามารดาแลว ทา นอาจารย เปน ครูแหงชวี ิต (mentor) ของดฉิ นั มาต้งั แตด ฉิ ันยังไมร ูจ กั ตวั ตน ของทา น ทานอาจารยอบรมกลอมเกลาอุปนิสัยของดิฉันต้ังแตยัง เยาววัยใหรูจักมหาบุรุษในอุดมคติผานวรรณกรรมชิ้นเอกของโลก ช่ือ “พระอานนท พุทธอนชุ า” นาํ พาดิฉนั ใหไดส ัมผัสความรูสึกท่ี พิเศษลึกลํ้าแหงศรัทธา และปติปราโมทยในธรรมรสและอรรถรส อนั หมดจดงดงามเปน ครง้ั แรกในชวี ติ ทา นอาจารยไ ดป ลกู ฝง เมลด็ พันธุแหงความศรัทธาในพระพุทธศาสนาในหัวใจของเด็กหญิงคน หน่ึงและไดทํานุบํารุงเมล็ดพันธุนั้นใหเติบโตงอกงามในเวลาตอมา
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250