๒๐๐ อัตตชวี ประวัติ อ.วศนิ อินทสระ โดยทานอาจารยไมเคยไดรบั ทราบเลยเปนเวลากวา ๓๐ ป จนวนั ท่ี ๒๙ เมษายน ๒๕๕๐ ดฉิ นั และคชู วี ติ ไดพ ากนั ไป กราบทา นอาจารยว ศนิ อนิ ทสระทหี่ อ งเรยี นพระพทุ ธศาสนาหลกั สตู ร พเิ ศษ มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วดั บวรนเิ วศวหิ าร ดฉิ นั กราบแทบเทาของทานอาจารยดวยน้ําตาแหงความปติ และกราบ เรียนทานวา ทานอาจารยเปนครูทางพระพุทธศาสนาคนแรกของ ดฉิ นั ดฉิ นั ดใี จทย่ี งั มโี อกาสพบทา นอาจารย ภาพพระพทุ ธเจา พระ อานนท พระอริยสาวกและบรรยากาศครง้ั พทุ ธกาลที่ทา นอาจารย บรรยายไวอ ยางซาบซึง้ ตรึงใจในหนังสอื “พระอานนทพ ุทธอนชุ า” และ “ผสู ละโลก” ผดุ ขนึ้ ในมโนภาพเปน ฉาก ๆ ดฉิ นั เขา ใจความยง่ิ ใหญและอานุภาพแหงธรรมโฆษณของทานอาจารยวศินในบัดดล เปน ความรูส กึ ท่สี ัมผสั ไดด ว ยใจของตนเองอันยากทจ่ี ะบรรยาย ในวนั น้ี ดฉิ นั ขอจารึกความประทับใจในความเปน “ทา น อาจารยว ศนิ ” ดว ยถอยคาํ ท่กี ล่นั กรองจากประสบการณและความ รูสึกของตนเอง ดิฉันขอมอบบันทึกน้ีไวเพื่อบูชาพระคุณของทาน อาจารยแทน “ลูกศิษย” ของทานอาจารยอีกจํานวนมากท่ีไมมี โอกาสไดพ บและประกาศคณุ ของทาน ทา นอาจารยวศิน อนิ ทสระเกิดมาเพอื่ สาดสองแสงธรรม ใหแ กโ ลก เปน ปชู นยี บคุ คลผเู ปน เสาหลกั แหง วงการพระพทุ ธศาสนา ของประเทศ เปน “conscience” หรือมโนธรรมในหวั ใจของลกู
๒๐๑อาจริยานุสสติ ศิษยและศรัทธาชนผูไดอานไดฟงผลงานของทาน เปนนักเขียน และ “ศิลปน เอก” ผมู ผี ลงานเปนอมตะในบรรณพิภพและในหวั ใจ ของผอู า นทกุ เพศ ทกุ วยั ทกุ ยคุ ทกุ สมยั เปน องคป าฐกผมู ปี ฏภิ าณ และธัมโมหารอนั ยอดเย่ยี ม เปนตนแบบของ “พหสู ตู ” ทแ่ี ทแ ละ นกั วชิ าการทางพระพทุ ธศาสนา ปรชั ญา และบาลศี กึ ษาชน้ั เลศิ เปน ผคู วรแกก ารเรยี กขานวา “ปราชญ” อยา งสนทิ ใจ เปน ยอด “ครู” ผูประเสริฐ ผูตรงตอพระสัทธรรมและเปนแบบอยางในการดํารง ชวี ติ อยา งชาวพทุ ธทแี่ ท แมว า ชวี ติ ของทา นอาจารยจ ะประสบความสขุ ทุกขและโลกธรรมท้ัง ๘ ไมตางจากคนธรรมดาท่ัวไป แตทาน อาจารยเปนประดุจ “ธรรมเจดีย” ท่ีมีชีวิต เยือกเย็น สงบนิ่ง มัน่ คง ควรแกการสรรเสรญิ ยกยอ งและเคารพบชู า ในชว งหลงั ทา นอาจารยม กั จะปรารภกบั ลกู ศษิ ยว า รา งกาย ของอาจารยเ หมือนเกวยี นทเี่ กา คร่าํ ครา จวนเจียนจะหกั พงั ไดอยูทุก เม่ือ ดิฉันยอมรับวา บางคร้ังก็ใจหาย ประทีปแกวดวงน้ีจวนจะ มอดดบั แลว หรอื กระไร บางครงั้ อดคดิ ไมไ ดว า เวลาทกุ ขณะทที่ า น อาจารยย งั มชี วี ติ อยู คอื โอกาสทองของลกู ศษิ ยร วมทงั้ พทุ ธศาสนกิ ชาวไทยผสู นใจใฝร พู ระสทั ธรรมอนั บรสิ ทุ ธิ์ จะเปน ทน่ี า เสยี ดายอยา ง ยิง่ หากมิไดเคยอาน ไดย นิ ไดฟ งผลงานของทา นอาจารย หรือไม ไดถามขอ กังขาเกีย่ วกับพุทธพจน พทุ ธธรรมจากทานอาจารย ดฉิ นั ขอขอบพระคณุ และอนโุ มทนาตอ กศุ ลจติ ของคณุ ขวญั เพยี งหทยั ทไี่ ดเ ปน ผูริเรม่ิ จัดทําอตั ตชวี ประวัตขิ องทานอาจารยออก
๒๐๒ อัตตชวี ประวัติ อ.วศนิ อินทสระ เผยแพรในเบื้องตน และทันตแพทยหญิงอัจฉรา กล่ินสุวรรณ ท่ี ไดก รณุ านาํ อตั ตชวี ประวตั ขิ องทา นอาจารยม าจดั พมิ พอ กี ครงั้ เพอื่ เผย แพรใ หก วา งขวางออกไป พรอ มทง้ั เชญิ ชวนใหล กู ศษิ ยแ ละผทู เ่ี คารพ รกั ทา นอาจารยร ว มกนั ประกาศเกยี รตคิ ณุ ของทา นอาจารย การจดั ทาํ หนงั สอื นใี้ หท า นอาจารยไ ดร บั รแู ละระลกึ ถงึ คณุ ความดแี ละความ สามารถอนั ยอดเยย่ี มของทา นขณะทที่ า นยงั ดาํ รงขนั ธอ ยู เปน การ แสดงกตเวทิตาคณุ อนั ประเสริฐ และยอมเปนสขุ สมุทัยอันเลิศของ ทา นอาจารยอยา งแนแ ท ขอกราบบชู าพระคณุ ทา นอาจารยว ศนิ อนิ ทสระดว ยความ เคารพและนอบนอมอยา งสงู ยงิ่ วธิ ัญญา ภทั รวมิ ลพร ๑๗ มนี าคม ๒๕๕๔
๒๐๓อาจริยานสุ สติ แดครูผเู ปน็ มงคลชวี ติ ของปวงศษิ ย อาจารยวศินเปน ผูสอนเร่ือง ศาสตรแหง การพนทุกขด ว ยปญ ญา และการฝก ตน ความรูสึกของเราตอ อาจารย เปน ความรสู ึกดว ยใจจรงิ ๆ เพราะเวลาบางคนพูดถงึ ความดขี องอาจารย ตอ งมีการ “น้ําตาไหล” ทกุ ทีไป ดฉิ นั มชี วี ติ มากกวา ครง่ึ คอ นเกนิ เลขหา มาแลว กวา จะไดม า “มอบตวั ” เปน ศษิ ยข องอาจารยว ศนิ ในหอ งเรยี นธรรมะวนั อาทติ ย สบื เนอื่ งมาจากวา ในป พศ.๒๕๔๖ ไดอ า นหนงั สอื ของคณุ ขวญั เพยี ง หทัย ชื่อ “ธรรมะรอบกองไฟ” ที่เปนหนังสือสําคัญ เรียกไดวา เปนหนังสือเปลี่ยนชีวิตอยางไรอยางนั้น ไดรูวาชีวิตที่มีธรรมะเปน
๒๐๔ อัตตชีวประวตั ิ อ.วศิน อินทสระ หลักคูทักษะความคิด ไดเ ขา ใจความจรงิ ของชีวติ และตระหนกั ถึง ความสําคัญของการพัฒนาจิตใจของตน ทําใหรูวาการมีชีวิตที่ไม ประมาทหมายความวา อยา งไร นกึ กตญั ถู งึ ผเู ขยี น ดฉิ นั จงึ โทรศพั ท ไปขอบคุณในปญญาท่ีให คุณขวัญบอกวาที่อยูในหนังสือเลมน้ัน ลว นเปน คาํ สอนของอาจารยว ศนิ จากหอ งธรรมะวนั อาทติ ยท งั้ นน้ั และยงั ชวนดฉิ นั วา ดฉิ นั กม็ าเรยี นได ไมม คี า สอน ไมต อ งจา ยคา เรยี น ไมต อ งจองทนี่ งั่ ไมต อ งสมคั ร และถา ดฉิ นั มาเรยี น ดฉิ นั กจ็ ะเขา ใจ ธรรมะอันวิเศษไดเหมือนอยางที่คุณขวัญเขียนในหนังสือเลมน้ัน เชนกัน แมใ นความจรงิ ดฉิ นั ไมใ ชค นไกลวดั นกั เพราะคณุ แมพ าไป วัดดวยตลอดชีวิต แตอานหนังสือธรรมะท่ีไรก็ไมเคยเขาใจไดเกิน ๑๐ หนา คณุ ขวญั บอกวา คนทเี่ รยี นธรรมะไมค อ ยไดแ ละฟง ไมค อ ย เขา ใจ เพราะขาดความเขา ใจใน “หลกั ใหญ” หรอื “โครงรา งหลกั ” ที่เปนโครงสรางของศาสนาพุทธ เวลาอานหรือฟงจึงไมทราบวา หัวขอธรรมที่อานและฟงน้ัน ๆ เปนเรื่องอะไร เช่ือมโยงไมได เปรยี บเหมอื นวา หากคนเราไมร จู กั รา งกายมนษุ ย วา สว นใดอยทู ไี่ หน เมอ่ื ไดย นิ คาํ วา ตบั มา ม เอน็ หวั ใจ กย็ อ มจะไมท ราบวา อะไรอยู ตรงไหน และภาษาของหนังสือธรรมะของอาจารยแตละคนก็ตาง กนั บางกล็ ะเอียด และยากมาก ยงิ่ มีภาษาบาลมี ากดว ยจะยิ่งยาก มากข้ึน คุณขวัญบอกวาอาจารยวศินเปนผูสอนใหรูจักหัวใจของ พุทธศาสนา จะทําใหเราไดรูจักโครงหลักของศาสนาอะไรบางเปน โครงใหญ เม่อื นักเรียน อาน ฟง เร่ืองของหลกั ธรรมตอ ไปก็พอ
๒๐๕อาจรยิ านุสสติ จะเขา ใจตามไดง า ยขึ้น ไมงงจนตอ ไมตดิ อยา งทีเ่ คยคดิ วา ชาตนิ ีไ้ มมี หวงั เขา ถึงขุมทรัพยทางปญญาอันวเิ ศษนี้ได ครงั้ นนั้ ดฉิ นั ตนื่ เตน ยนิ ดที จ่ี ะใหโ อกาสตนเองไดเ ปน “นกั เรยี น ธรรมะ” อยา งมหี ลกั การสกั ที ถงึ วนั อาทติ ยข องสปั ดาหน น้ั กเ็ ตรยี ม กาย เตรยี มใจ เกดิ ปต ิวา จะไดเ ปน ศิษยของอาจารยว ศนิ แมวาจะ เขา ใจหรอื ไมห รอื จะพบใครในบรรยากาศหอ งเรยี นวนั อาทติ ยอ ยา งไร กย็ นิ ดี ขอไปรบั รพู ทุ ธศาสนาจากครทู ดี่ สี กั ที ขณะขบั รถไป ยงั นกึ ถงึ คณุ แมท่ีทานเคยพาเขาวัดตั้งแตเด็ก คุณแมผูมีธรรมะในการใชชีวิต ครอบครัว ใหตัวอยางแหงวิถีของคนมีธรรมในการคิด ในการพูด การทํา แตคุณแมเสียชีวิตไปตั้งแตป พ.ศ.๒๕๔๓ ซ่ึงเกือบสามป นนั้ เปนชว งชวี ิตทจ่ี ติ วญิ ญาณของดิฉนั เกดิ เปน สุญญากาศ เหมอื น ขาดผูที่ใหพลัง ทิศทางและหลักคิดดี ๆ ของชีวิตไปอยางสําคัญ ดังนั้นการจะไดเปนนักเรียนของหองเรียนธรรมะวันอาทิตยของ อาจารยท ยี่ ง่ิ ใหญเ ชน อาจารยว ศนิ จงึ เปน เหมอื น “โอเอซสี ทางจติ วญิ ญาณ” ใหก บั ชวี ติ ใหมอ กี ครัง้ อาจารย วศนิ เปน อาจารยท มี่ ลี กั ษณะแตกตา งจาก “อาจารย” ทด่ี ฉิ นั รจู กั มาตลอดชวี ติ ตงั้ แตท เี่ คยเปน เดก็ นกั เรยี น เปน นสิ ติ เปน นักศึกษา และเปนอาจารยมหาวิทยาลัยของดิฉันเอง “อาจารย” ท่ีดิฉันคุนชิน มักมี “ทา” มี “มาด” มีภาษาพูดยาก ใชศัพท แปลกๆ ที่ทําใหนักเรียนเกิดอาการ “ประมาณตน” “ไมม่ันใจใน ตน” “ขยาดเกรง” หรอื “ประหมา ” จนไมก ลา คดิ จนมอี าการ
๒๐๖ อตั ตชวี ประวตั ิ อ.วศิน อนิ ทสระ “สบั สน” “งนุ งง” ทา นอาจารยว ศนิ ของพวกเรานกั เรยี นธรรมะวนั อาทิตยมีมากกวาความเปน “อาจารย” เพราะทานมีความเปน “ปราชญส อนธรรม” ทแี่ ทจ รงิ มากกวา อาจารยว ศนิ มใี บหนา ทา ที ท่ีสงบ มีเมตตาธรรม มีคําพูดเรียบงายแตเฉียบคม และชัดเจน อาจารยพูดชา นํ้าเสยี งสมาํ่ เสมอ ไมเนน คํา เราเรียนพระสตุ ตันต ปฎ กพระสตู รจากพระไตรปฎ ก ทา นอาจารยส อนตรงตามพทุ ธพจน ไมมีการคาดเดา ตีความ ขยายความ ปรับเปลี่ยนไป นอยหรือ มากกวา นนั้ อาจารยบ อกพวกเราวา มผี สู อนพทุ ธศาสตรใ นประเดน็ อน่ื ๆ อยมู ากแลว เชน สอนอภธิ รรม สอนปฏบิ ตั ธิ รรม แตม นี อ ย คนที่สอนเฉพาะพุทธพจนจากพระโอษฐ ในโอกาสตาง ๆ กันไปใน พระชนมชพี ของพระพทุ ธเจา เวลาพทุ ธกาลกผ็ า นไปนานกวา ๒๕๕๔ ปแลว นักเรียนของอาจารยทุกคนรูสึกโชคดี และรูสึกกตัญูตอ อาจารยเ สมอ ทเี่ รารสู กึ วา ไดเ รยี นรใู นสง่ิ ทพี่ ระพทุ ธเจา ตรสั สอนใน วาระตาง ๆ ทีเ่ ปนเหตกุ ารณต าง ๆ ท่ีเกดิ ข้นึ ในสมยั พุทธกาล ทีด่ ู หา งไกลจากพวกเราเหลอื เกนิ และเมอื่ ไดเ ดนิ ทางไปประเทศอนิ เดยี ไปสงั เวชนยี สถานในเมอื งตา ง ๆ เรอื่ งราวในพระไตรปฎ กทอ่ี าจารย สอนในหองก็กลับมาเปนลําดับตามวาระในชวงชีวิตของสมเด็จพระ สัมมาสัมพุทธเจา ความเขาใจในหลักธรรมก็เดนชัดเพิ่มขึ้นอีก อาจารยร บั ฟง ความคดิ เหน็ ฟง คาํ ถาม “เดอ ดา ” ของพวกเราดว ย ทา ทที เ่ี ขา ใจ ยอมรบั และใหอ ภยั ในความไมป ระสปี ระสาของพวกเรา อาจารยต อบอธบิ ายทกุ คาํ ถาม คาํ สอนของอาจารยม คี ณุ คา เตม็ รส ธรรม จนนักเรียนไดร ถู งึ การคน พบอันวเิ ศษของพระพทุ ธเจา และ พวกเราทุก ๆ คนในหองเรียนไดรูถึงวา พวกเราโชคดีเทาใดท่ีได
๒๐๗อาจริยานุสสติ อาจารยวศินเปนผูสอนเรื่องศาสตรแหงการพนทุกขดวยปญญา และการฝกตน ความรูสึกของเราตออาจารยเปนความรูสึกดวยใจ จริง ๆ เพราะเวลาบางคนพูดถึงความดีของอาจารยตองมีการ “น้าํ ตาไหล” ทกุ ทีไป การเรียนธรรมะวันอาทิตยของดิฉันจึงงอกงาม เติบโต แขง็ แรง แนว แนม น่ั คงมากขน้ึ ใหค วามรสู กึ รม เยน็ แกจ ติ ใจ ดฉิ นั รูสึกถึงหองเรียนนี้วาเปน “สปาแหงจิตวิญญาณ”โดยแท และมี วันอาทิตยท่ีสงบสุขมาก ๆ ตางจากทุกวันอาทิตยท่ีผานมาในชีวิต มากมาย เพ่ือนท่ีเรียนดวยกันเปนคนจิตใจงาม ใฝหาธรรมสมบัติ กันทุกคน ใหความเมตตามีไมตรี อบอุนตอกันและกัน พวกเรามี หัวหนาหองท่ีเปนผูนําของหองท่ีสมบูรณแบบ ช่ือคุณสมโภช เสขะนันท อยหู ลายป จนพ่จี ากภพนี้ไปอยา งสงบและงดงามท่สี ุด หลายปก อ น และยงั มพี สี่ ธุ ผี ทู าํ ขนมของวา งเลย้ี งพวกเราทกุ อาทติ ย ตลอด ทง้ั นเ้ี ปน เพราะความรกั ความเคารพอาจารยว ศนิ อยา งแนบ แนน พวกเราจงึ เปน หอ งเรยี นธรรมะทโ่ี ชคดที อ่ี ยใู นทท่ี เี่ ปน “สปั ปายะ” ทั้งกายและใจ มาอยูรวมในเวลาประมาณ ๓ ชั่วโมง สัปดาหละ หนงึ่ ครง้ั เดอื นละ ๓ ครง้ั มากนั จากตา งทก่ี นั จากชวี ติ งานการ ตา งกัน บา งก็มาจากไดอา นหนังสอื อนั มากมายของอาจารย บาง กไ็ ดฟ ง อาจารยจ ากรายการวทิ ยุ บา งกฟ็ ง ซดี ขี องอาจารย บา งกไ็ ด รับรูเรอื่ งทีอ่ าจารยสอน ทีท่ ําใหเราคดิ วาชีวติ คงดีกวานี้ หากพวก เรามีครทู างจิตวญิ ญาณทีด่ ี
๒๐๘ อตั ตชวี ประวตั ิ อ.วศิน อนิ ทสระ ที่สําคัญก็คือ การมีอาจารยที่ใหหลักธรรมะท่ีบริสุทธิ์ที่ ชว ยใหพ น ทกุ ขไ ดจ รงิ ดว ยการวเิ คราะหเ ขา ใจคดิ ตามหลกั ของศาสนา ทที่ าํ ใหเ รามคี วามมน่ั คงในจติ ใจมากขนึ้ ในการดาํ เนนิ ชวี ติ ทใี่ นหลาย สภาวะทเ่ี รามกั ไมอ ยากเผชญิ เชน อาจมคี วามหวาดกลวั เกรงตอ ปญ หา กลวั ไมด เี ทา คนอนื่ ความประหมา ไมม นั่ ใจ ความไมอ ดทน ความโลภ อิจฉา ริษยา วาวุนใจ การไดมีปญญาทางธรรมที่ อาจารยส อนชว ยใหม นั่ คงไดเ รว็ ไดม าก มสี มดลุ ขน้ึ มาใหมเ หมอื นไป ทใ่ี ดเมอื่ เอาธรรมะไปดว ยไมต อ งหวาดหวน่ั อะไรเลย เพราะมหี ลกั คดิ หลกั ของการพดู การทาํ การมสี ติ การมคี วามคดิ แบบโยนโิ สมนสกิ าร อยางท่ีกลาวมาแลว ส่ิงท่ีอาจารยใหประสบการณจากการเปน นักเรียนในหองเรียนวันอาทิตยของอาจารย ทําใหเรามีทรัพยทาง ธรรมะอนั รม เยน็ มธี รรมะของอาจารยแ ลว จะอยทู ไ่ี หนอยกู บั ใครจะ ทาํ อะไรกด็ ไู รป ญ หา สามารถทาํ ไดไ มต อ งปรงุ แตง ใหร งุ รงั ดว ยนวิ รณ ตอไป ในพุทธพจนท่ีอาจารยสอนพวกเราใหเขาใจนั้น ที่ชัดเจนคือ อาจารยใหเรารูจักหนทางแหงความดี ใหมีสติ รูจักวาอะไรเปน ความจริง อะไรเปน เรอ่ื งปรงุ แตง จากกเิ ลสและนวิ รณ และการรบั รบู นพน้ื ฐานประสบการณข องเรา วธิ คี ดิ ใหเ ราลดละอวชิ ชา ใหเ รา เขาใจหลักไตรลักษณ ในการรับรูและใชชีวิต ใหเรารูจักชีวิตท่ีเปน อนจิ จงั ทกุ ขงั อนตั ตา ใหเ รามหี ลกั คดิ ทท่ี าํ ใหเ ราละจากทางแหง ทกุ ข มาเดนิ บนทางแหง ความดี ทมี่ ปี ญ ญา อาจารยท าํ ใหเ ราเลอื ก มีชีวิตที่มีมงคล เขาใจตัวเรา เขาใจผูอื่น ใหอภัย และทําหนาที่ อยา งดที ่ีสุด ไมประมาททกุ เวลา
๒๐๙อาจรยิ านสุ สติ นอกจากอาจารยใ หธ รรมะแกพ วกเราแลว อาจารยย งั เปน ตวั อยา งใหพ วกเราดว ย ดว ยความเสยี สละในการสอน อธบิ าย ยก ตวั อยางเพอ่ื ใหเราเขา ใจตามทนั โดยทานอาจารย ใชก าย, วาจา, ใจ, ปญญา ประสบการณ ของชีวิตของทานทั้งหมดใหพวกเรา อยางที่สุด เพื่อใหพวกเราไดธรรมะทุกวันอาทิตย ใหเราเปนชาว พุทธที่มีปญญาธรรม ใหพวกเรามีจิตใจท่ีสรางสุข สรางปญญา สรางประโยชน ไมส รา งทุกข มสี ุขงาย มีทกุ ขยาก เปน ชาวพทุ ธ ท่ีรูจักใชความเปนมนุษยที่โชคดี มีศาสนาที่อุดมปญญาอันวิเศษ พฒั นาจติ ใจของตน รจู กั แกน สารสาระแหง ชวี ติ และจติ ใจของมนษุ ย อยางแทจ ริง อาจารยบ อกวา จิตใจท่ีมหี ลักธรรมจะรสู กึ รมเย็นเหมอื น อยูใตรมเงาของตนไม หรืออยูภายใตรมท่ีใหความสงบเย็นแกชีวิต จิตใจ ไมตองมีชีวิตจิตใจท่ีขาดหลักคิด อันเปรียบเหมือนคนยืน กลางแจง โลง ขาดรม เงา ถกู แดดเผา ถกู ฝนกระหนา่ํ ลมกรรโชก คลุกฝนุ อยเู ชน น้ัน อาจารยว ศนิ นอกจากเปน ครทู างธรรมอยา งประเสรฐิ แลว ทานยังเปนที่พ่ึงที่ใหหลักคิด ไขปญหาชีวิตของนักเรียนท่ีมากราบ ขอพึ่งหลักคิด ขอกําลังใจจากอาจารยดวย ลูกศิษยบางคนถาม ปญหาเร่ืองครอบครัว เร่ืองการทํางาน เร่ืองสุขภาพกาย และ สขุ ภาพใจ บางคนมเี พอื่ นฝากปญ หามาถาม อาจารยน ง่ั นง่ิ รบั ฟง ทุกคํา และตอบครบถวนอยางงดงาม ดวยเมตตาทุกคน ใหหลัก
๒๑๐ อัตตชวี ประวตั ิ อ.วศนิ อินทสระ คิดท่ีเปนกุศล เปนปญญาจริง ๆ มิใชเพียงใหแคฟงไพเราะ นา สนใจ หรอื เพียงเพ่ือให “ผา นไป” ในบางครั้งความเปนอาจารย มีอานุภาพสําหรับใหความ มั่นใจแกลูกศิษยอยางมาก หลายครั้งอาจารยมิเคยไดลวงรูวาลูก ศิษยและหลายคนรวมทั้งดิฉันเองดวย เวลาเผชิญปญหาท่ีทําให ทั้งกลมุ และเครยี ด หลายครง้ั ทพี่ วกเราบอกตวั เองวา “จะทกุ ขอ ะไร ไปนัก เราเปนลูกศิษยอาจารยวศินนะ เรามีครูนะ อาจารยวศิน เปน ครู เราตอ งไมท าํ ใหอ ะไรแยไ ปกวา น้ี หรอื ถา มนั จะแย มนั สดุ ๆ กค็ อื ถามอาจารยก ไ็ ดว า อาจารยค ดิ อยา งไร” เราคดิ ลกั ษณะมอี าจารย ในใจเชน น้ี ทาํ ใหเ ราผา นความทุกขแ กปญหาได กลับมีจติ ใจผองใส เขม แขง็ มีพลังไดอีกครั้ง อาจารยท าํ ใหเ รารวู า ชวี ติ ทไ่ี รห ลกั ธรรมะจะเปน ชวี ติ ทมี่ ที กุ ข อยา งไร มอี วชิ ชาอยา งไร ใชช วี ติ คนพาลเปน อยา งไร อาจารยส อน วา ชวี ติ แบบใดเปน ชวี ติ ทม่ี สี ขุ พอเพยี ง งดงาม และเปน สขุ อยา งไร ชีวิตทลี่ ดละจากโลภ โกรธ หลง ชีวติ ท่มี สี ติ ชวี ิตทีป่ ระกอบดวย ศลี สมาธิ และ ปญ ญา เปน อยา งไร การมสี ตยิ ง้ั คดิ ไมป ระมาท ระวังกาย วาจา ใจ เสมอ เปนชีวิตที่เปนฐานของการพัฒนาตอ ไป ใหเปน การพฒั นาจติ วญิ ญาณทแี่ ทจ ริง เพอื่ ถงึ ซงึ่ การหลดุ พน จากทกุ ขท งั้ ปวง เปน สขุ ทแ่ี ทจ รงิ ทกุ คนควรตง้ั สตฝิ ก จติ ใจใหก าร พนทุกขเปนเปาหมายอันประเสริฐของชีวิตมนุษย พวกเราทุกคน ทาํ ได และเรม่ิ ทาํ ไดเลยทกุ คน
๒๑๑อาจรยิ านสุ สติ มาถงึ ตรงนเ้ี มอ่ื ชวี ติ ของดฉิ นั ดาํ เนนิ คอ นมาถงึ เลขหก ดฉิ นั มขี อ สรปุ ใหต นเองไดอ ยา งมน่ั ใจวา ในการคน พบหลายสงิ่ หลายอยา ง ทม่ี คี วามหมายจรงิ ๆ ตอ ชวี ติ ทส่ี าํ คญั อยา งยง่ิ คอื การไดพ บอาจารย วศนิ อนิ ทสระ ทอ่ี าจารยเ ปด โอกาสใหด ฉิ นั ไดเ ขา ถงึ ศาสนาของตน เพ่ือรูจักวิธีใชชีวิตน้ีอยางไมประมาทตลอดไป การพบอาจารย เรยี นธรรมะจากอาจารยถ อื เปน มงคลของชีวติ ท่สี ูงนัก สายฤดี วรกิจโภคาทร มีนาคม ๒๕๕๔
๒๑๒ อัตตชีวประวัติ อ.วศิน อินทสระ แทนความผูกพัน รสู ึกวา ตนเองโชคดที ไี่ ดผูกพันมากบั หลวงพ่ี ต้ังแตเปน เด็กไรเดียงสา เปน ศิษยวัดเดยี วกนั ท่บี า นเกิด มาอาศัยเลา เรียนศกึ ษาอยูในปกครองของทา นชว ยวยั หนมุ และยังไดรับความอนเุ คราะหต ลอดมา เมอื่ เดอื นเมษายน พ.ศ. ๒๔๙๙ ผมเดนิ ทางเขา กรงุ เทพฯ มากบั พระภกิ ษรุ ปู หนง่ึ จาํ ไดว า ไปขนึ้ รถไฟทจี่ งั หวดั พทั ลงุ เปน การ เดินทางไกลครง้ั แรกในชีวิตจากบานเกดิ ทส่ี งขลา จุดมุงหมายของ การเดินทางเขามาก็เพ่ือศึกษาตอท่ีโรงเรียนเพาะชาง ดวยฝนไววา เรียนจบแลวอยากจะเปนจิตรกรเอก เดินทางไปเขียนรูปที่น่ันท่ีน่ี อยา งมคี วามสขุ
๒๑๓อาจรยิ านุสสติ กอ นหนา ประมาณหน่ึงป พระภิกษรุ ูปน้เี คยแวะไปเยย่ี มท่ี บานในชนบทชวงปดภาคเรียน คุยกับคุณพอคุณแมและตัวผมเอง ถึงเรื่องวาจบ ม.๖ แลวจะเรียนตออะไร ซึ่งตัวเองก็ม่ันใจมาต้ัง นานแลวแต ป.๓ โนนวาอยากเรียนเขียนรูป อยากสรางสรรค สิ่งสวยงาม โดยไมเคยตั้งคําถามกับตัวเองวา “เขียนไปทําไม, เขยี นไปแลว ไดอ ะไร นาํ ไปประกอบอาชพี หากนิ ไดห รอื เปลา ทาํ นอง เดียวกับจะถามวาเราเขียนจดหมายไปทําไม รองเพลงแลวไดอะไร หรือหลังขดหลังแข็งน่ังเขียนหนังสือเลมใหญๆ เอาเวลาน้ันมา กินนอนเทีย่ วสนุกไมดีกวาหรือ มาอยกู รงุ เทพฯปแรก จาํ ไดวาถึงหนาหนาวรมิ ฝปากแตก เปนรองรอย ยามเชาเดินทางไปเรียน ออกจากวัดบุบผาราม ฝง ธนบรุ ีผา นทะลวุ ัดประยูรวงศาวาส ขึ้นสะพานพทุ ธฯ เดินผาน โรงเรียนสวนกุหลาบฝงถนนตรีเพชร ฟากตรงขามเปนโรงไฟฟา วดั เลยี บในทสี่ ดุ กถ็ งึ โรงเรยี นเพาะชา ง ตลอดหา ปอ นั เพยี รฝก ฝนวทิ ยา ยุทธอยทู ่นี ี่ ชุดทีส่ วมใส เฉพาะกางเกงนงุ แตย นี สล กู เดยี ว เพราะ สมยั นน้ั มรี าคาถกู ทสี่ ดุ อาหารมอื้ กลางวนั นอกจากอยา งอนื่ ทจ่ี าํ ไดแมนคือกวยจั๋บไดรับเงินจากทางบานเดือนละ ๓๐๐ บาทซึ่งใช ไมเ คยพอ ทจี่ ะไปดหู นงั ดลู ะครหรอื เทย่ี วเตรส นกุ สนาน ไมต อ งพดู ถงึ นับเปนเรื่องไกลเกินเอื้อม ความขัดสนจนยากเหลาน้ีนาจะเปน อุปสรรคในการศึกษา แตหามิได ไมใชเลย ความของขัดเหลาน้ี สลายไปดวยความเมตตาของหลวงพ่ีที่ผมอาศัยอยูดวย ทานเปน นักเทศนดัง ไดรับกิจนิมนตอยูเสมอ ซึ่งหมายถึงมีปจจัยถวายมา
๒๑๔ อัตตชวี ประวตั ิ อ.วศิน อนิ ทสระ ดว ยเสมอ และผมเองเปน คนเกบ็ เงนิ เหลา นน้ั เขา ทเี่ ขา ทาง หลวงพ่ี บอกวาจําเปนตองใชเงินเม่ือไหรก็ใหหยิบใชไดทุกเวลา ถึงอยางไร ผมเองกร็ ักษาความพอดวี าจะหยิบไปใชเ มือ่ จาํ เปน จริงๆเทานนั้ กาลเวลาผนั ผา น พอเรยี นจบผมกลบั บา นทส่ี งขลา ทาํ มา หากินดวยการประกอบอาชีพครู สอนในโรงเรียนเอกชนซ่ึงตัวเอง เคยอยตู อนมธั ยม ทาํ หนา ทสี่ อนวชิ าศลิ ปะหรอื เรยี กกนั สมยั นน้ั วา “วชิ าวาดเขยี น” พรอ มกนั นน้ั กข็ วนขวายสอบวชิ าชดุ ครู พ.ป., พ.ม.ดว ย เปน การเพม่ิ ดกี รแี ละใบเบกิ ทางใหก บั ตวั เอง มคี วามรใู นเรอ่ื ง วชิ าคร,ู วิชาภาษาไทย, วิชาภาษาอังกฤษ, วิชาสังคมศึกษาเพิ่มขึ้น ถึงป พ.ศ.๒๕๐๖ จงึ ไปสอบบรรจเุ ขา เปน ครขู องโรงเรยี นสตรปี ระจาํ จงั หวดั ทาํ งานอยทู น่ี นั่ ๓๖ ปแ ละเกษยี ณอายรุ าชการในป พ.ศ.๒๕๔๒ ใน ตาํ แหนง หลงั สดุ คอื อาจารย ๓ ระดบั ๘ ดา นศลึ ปศกึ ษา ดว ยผลงาน เขียนตาํ ราสอนลูกศิษยช ือ่ “ศิลปะนิยม ๑” อีกเลมท่ตี ามตดิ มาก็ เปน รายวชิ าตอ เนอื่ งคอื “ศลิ ปะนยิ ม ๒” เพอ่ื ขอตาํ แหนง ระดบั ๙ แตก็ไมทนั การณ เพราะเกษยี ณเสียกอน บางครั้งบางเวลามาจินตนาการวา ถาชีวิตของเราไมได เรยี นทน่ี นั่ ทนี่ ่ี ไมไ ดพ บกบั คนนนั้ คนนี้ แตก ลบั ไปเรยี นทอี่ นื่ , อยทู อ่ี น่ื , พบอาศัยอยูกับคนคนอื่นจะเปนอยางไรหนอ ไดรับคําตอบจาก หนังสือ “หลักกรรมและการเวียนวายตายเกิด” ของหลวงพี่รูป นั้นวา ชีวิตของสรรพสัตวถูกบงการดวยกรรมคือการกระทําของ ตนเอง ทั้งมโนกรรม วจีกรรมและกายกรรม ผูที่เราเขาไปผูกพัน
๒๑๕อาจริยานสุ สติ ดว ยในชวี ติ นแ้ี สดงวา เคยทาํ กรรมรว มกนั มา เคยเออ้ื เฟอ เกอื้ กลู กนั สนใจในความดีความงามอยางนั้นอยางน้ีเหมือนกัน จึงไดดึงดูด เขา หากนั และกนั รสู กึ วา ตนเองโชคดที ไี่ ดผ กู พนั มากบั หลวงพต่ี ง้ั แต เปนเด็กเล็กไรเดียงสา เปนศิษยวัดเดียวกันที่บานเกิดมาอาศัยเลา เรียนศึกษาอยูในปกครองของทานชวงวัยหนุม และยังไดรับความ อนุเคราะหตลอดมาในวัยทํางานจนแมในวัยสูงอายุเกษียณราชการ อยางปจจุบัน เมื่อสงสัยในเร่ืองทางธรรมก็ไตถามทานไดอยูเสมอ เปน ผใู หก บั ชวี ติ ของเราตลอดมา พระคณุ ของทา นตอ เราจงึ เหลอื ลน ชดใชก ันไมหมด พระภกิ ษใุ นอดตี รปู นน้ั คอื อาจารยว ศนิ อนิ ทสระ ปราชญ ใหญท างพทุ ธศาสนาคนหนง่ึ ของบา นเราในปจ จบุ นั นกึ ถงึ โคลงบท หนึง่ ขึ้นมาได กลา วไวว า สายหยุดหยุดกลิ่นฟงุ ยามสาย สายบห ยุดเสนหห าย หา งเศรา ก่ีคนื ก่วี ันวาย วางเทวษ ราแม ถวลิ ทกุ ขวบคาํ่ เชา หยุดได ฉันใด
๒๑๖ อัตตชีวประวตั ิ อ.วศิน อินทสระ คณุ ปู การทอ่ี าจารยม ตี อ สงั คมไทยในแงก ารเผยแผพ ระพทุ ธ ศาสนา ไมว า จะในรปู ของธรรมนยิ ายอยา ง “พระอานนทพ ทุ ธอนชุ า” “จอมจักพรรดิอโศก” หรือในหนังสืออธิบายพุทธธรรมใหกระจาง ชวนอานชวนติดตามอยาง “หลักกรรมและการเวียนวายตายเกิด” หรอื เลม ใหญลา สุด “พระไตรปฎ กฉบับทที่ าํ ใหงา ยแลว ” นน้ั ยอม สงกลนิ่ แหงความดีงาม หอมหวนทวนลมอยูไดตลอดกาลนาน ไม หายไปยามสายดังกล่นิ หอมของสายหยุดอยางแนนอน นิวติ หะนนท ศษิ ยรนุ ๒๔๙๙-๒๕๐๔
๒๑๗อาจริยานุสสติ โลกน้ไี มมีบังเอิญ หากใครจะถามวา รูจักทา นแลว ไดอะไรจากทา นบาง ฉนั คงไดรบั ความเมตตาและปญ ญาจากทาน เชนเดยี วกับท่ีศษิ ยทานอ่นื ๆ ไดร ับ แตฉันมกั คิดไปในทางตรงกันขา มวา ฉันจะตอบแทนและชวยเหลอื อะไรทา นไดบ าง เพ่ือใหทา นมีความสขุ สบาย และมกี าํ ลงั ใจทจ่ี ะมชี วี ติ อยตู อ ไปไดนานทีส่ ุด การทเี่ ราจะรจู กั ใครสกั คนทจ่ี ะเขา มามบี ทบาทสาํ คญั ในชวี ติ และเปนแรงบันดาลใจในการพัฒนาความดีตอไป มีเหตุปจจัยสวน หน่ึงจากอดีตยาวไกลท่ีตาคูน้ีมองไมเห็น สัมผัสไมถึง คร้ันไดมี ปจ จบุ นั กรรมรว มกนั แลว มสี ว นสง เสรมิ เกอ้ื กลู พฒั นาใหจ ติ วญิ ญาณ ก็ย่ิงเปน เหตปุ จจยั ตอ ความเปน “กลั ยาณมติ ร” ย่ิงขึน้
๒๑๘ อตั ตชวี ประวัติ อ.วศิน อนิ ทสระ ฉนั คงเหมอื นทา นอนื่ อกี เปน จาํ นวนมากทไ่ี ดช นื่ ชมชอื่ เสยี ง และผลงานของทา นอาจายว ศนิ อนิ ทสระ มาเนน่ิ นานตง้ั แตเ ยาวว ยั กอ นทจี่ ะไดม าพบทา น เรม่ิ จากการเปน ลกู ศษิ ยท างธรรมทอ่ี าศยั ผล งานวรรณกรรมทางพทุ ธศาสนาและหนงั สอื ธรรมะตา ง ๆ ของทา น เปน หลักทางใจและเปนแนวทางแหง ความสงบสุขของชีวิต ไมเคย นกึ ฝน มากอ นวา จะไดม โี อกาสรจู กั ไดใ กลช ดิ และไดต อบแทนพระคณุ ตลอดจนไดดูแลรบั ใชท านเชนในวนั น้ี ดวยวิถีชีวิตที่อยูในแวดวงกัลยาณมิตรผูใฝธรรมและเปน แนวหลงั ทางธรรม เมอ่ื เหตปุ จ จยั ถงึ พรอ ม กลั ยาณมติ รหลายทา น ก็ชวยเปนสะพานแหงความดีนําทางใหฉันไดพบทานอาจารย จาก ซีดีธรรมชุด “พระรัตนตรัยและพุทธชัยมงคลคาถา” จนถึง “ความไมตองการ” และท่ีประทับใจมากเปนพิเศษคือ เสียงธรรม บรรยายเรอื่ ง “ศรทั ธากบั ปญ ญา” ถงึ เวลาแลว ทฉ่ี นั ตอ งยอมรบั วา เราเปน ศษิ ยข องทา นในชวี ติ จรงิ ทา นมใิ ชค รทู อี่ ยแู ตใ นหนา หนงั สอื ธรรมะหรือในแผน ซดี ีอีกตอไป จะวาไปแลวก็เปนเวลาเพียงปเดียว จากวันท่ีไดมากราบ เทาทานครั้งแรก ถือวาฉันเปนศิษยผูนองของทุก ๆ ทานใน “อาจรยิ านสุ สต”ิ เลม นี้ แตเ มอ่ื ศรทั ธาและมน่ั ใจในครแู ลว ทกุ สงิ่ ทุกอยา งที่จะเกอื้ กูลชีวิตฉนั ตอ ไป ถอื วาทานมีสว นเปนแรงบันดาล ใจอยางยิ่ง ยิ่งไดมีโอกาสใกลชิดก็ย่ิงประทับใจในความเมตตา ความพากเพียรวิริยะอุตสาหะและภูมิธรรมภูมิปญญาของทานมาก
๒๑๙อาจริยานุสสติ ขนึ้ เรอ่ื ย ๆ ทงั้ มคี วามเหน็ ใจและหว งใยในความทกุ ขจ ากความเจบ็ ปว ย ที่รุมเราและหวงใยในความเปนอยูเปนไปในชีวิตของทานท่ีตองการ ความชว ยเหลอื ดูแลเอาใจใสอยมู าก ถือไดวาทานอาจารยเปน”บุพการีของสังคม” ซ่ึงสราง คุณประโยชนแกพระศาสนามาตลอดชีวิตอยางอเนกอนันต เมื่อได อา น “อตั ตชวี ประวตั ”ิ (พมิ พค รงั้ แรก) ทท่ี า นเขยี นเลา ถงึ ตวั ทา นเอง จากความทรงจําตั้งแตวัยเด็กจําความไดจวบจนถึงชวงปจฉิมดวย ฉันรูสึกซาบซ้ึงสะเทือนใจวาทานผานความทุกขยากลําบากมามาก จนออนลาเหลือเกิน ทานควรไดรับกําลังใจ และการดูแลเอาใจใส อยา งมากในเวลาที่เหลอื อยูใ นบ้ันปลายชวี ติ ของทา น เกี่ยวกับภูมิปญญาและปรีชาญาณของทานอาจารย คง ไมตองกลาวพรรณนาซํ้า เพราะเปนที่ประจักษแกใจทุกทานท่ีได สมั ผสั ผลงานอนั ทรงคณุ คา และเปน อมตะของทา นแลว จากวยั แรก ทตี่ อ งกาํ พรา ผใู หก าํ เนดิ ทงั้ สอง ขาดความรกั ความอบอนุ ความเอาใจ ใสอ นั บตุ รจะพงึ ไดร บั จากบดิ ามารดาตง้ั แตว ยั เพยี ง ๕ ขวบ ความ ทกุ ขย ากผลกั ดนั ใหม าอาศยั วดั อยู จากเดก็ บา นทข่ี าดออ มอกอบอนุ ของบพุ การมี าเปน เดก็ วดั ทต่ี อ งรบั ผดิ ชอบชวี ติ ตวั เองใหอ ยรู อด เวลา ทกุ ขเ วลาปว ยไขก ไ็ มม ใี ครใหอ อ นและไมม ใี ครคอยปลอบใจ จนบงั เอญิ ไดมาบวชเปนสามเณรนอยกับพระพ่ีชายท่ีวัดบุปผาราม กรุงเทพฯ (ตั้งแตอายุ ๑๓ ขวบ) ไดศึกษาเลาเรียนอยางมุงมั่นใฝรูจนจบ เปรยี ญธรรม ๗ ประโยค ตง้ั แตย งั เปน สามเณร แลว เปลยี่ นแนว
๒๒๐ อตั ตชวี ประวัติ อ.วศิน อินทสระ มาศึกษาเชิงวิชาการท่ีมหาวิทยาลัยสงฆ (ที่มหามกุฏราชวิทยาลัย วดั บวรนเิ วศวหิ าร) ตามลาํ ดบั ดว ยหวงั นาํ วชิ าความรแู ละประสบการณ ที่กวางขวางมาเผยแผเพื่อทดแทนคุณพระศาสนาใหดีท่ีสุด จนถึง วนั นี้ ท่ีมผี ลงานหนังสอื นบั สองรอยกวาเลม ตีพมิ พซํ้าแลว ซ้ําเลา ผลงานเสยี งบรรยายอกี นบั ไมถ ว น ทง้ั รายการวทิ ยแุ ละบรรยายสด ยากจะหาใครในโลกนี้ท่ีจะสามารถทําสิ่งดี ๆ ไวไดมากมายขนาดน้ี ในเวลาเพียงหนง่ึ ชวี ิต เมอื่ ไดม ารจู กั และมโี อกาสใกลช ดิ กบั ทา นอาจารยว ศนิ อนิ ทสระ ฉนั มคี วามเคารพศรทั ธาและมน่ั ใจในความเปน ครู ผรู ผู เู ปย มเมตตา ของทาน จนขออนุญาตเรียกทานวา “คุณพอ” (ทานคงเปนคุณ พอท่ีมีลูกสาวมากที่สุดในโลก) ทั้งไดพิจารณาเห็นความแตกตาง บางอยางเม่ือเปรียบเทียบกับครูบาอาจารยทานอื่น ตรงที่ทาน อาจารยว ศนิ อยใู นสภาวะทตี่ อ งการการเอาใจใสด แู ล ตอ งการกาํ ลงั ใจและความชว ยเหลอื มากเปน พเิ ศษ เพราะทา นไมม ใี คร และมโี รค ภัยไขเจ็บรุมเรามาก ทุกวันทุกคืนทานไมเคยไปเที่ยวที่ไหน อยูแต ในบา นชนั้ เดยี วหลงั นอ ย ๕๐ ตารางวาเศษ ทงั้ บา นเตม็ ไปดว ยกอง หนังสอื ธรรมะ ไมมีทรัพยส นิ ศฤงคารมคี า ใด ๆ ทานอยกู ับ “พย่ี ”ุ (ยวุ ดี องึ๊ ศรวี งษ) ศษิ ยผ อู ทุ ศิ เวลาทง้ั ชวี ติ มาดแู ลเอาใจใสท า นอยา ง ใกลชิดทุกวันทุกคืน ประดุจบุตรสาวกับบิดา เปนเรื่องประทับใจ แรกทพี่ บเหน็ ในวนั ทไ่ี ปกราบทา นครง้ั แรก เมอ่ื ๘ มกราคม ๒๕๕๔ ฉนั ประทบั ใจในความเสยี สละของพย่ี ุ หากไมม พี ย่ี ุ ทา นอาจารยค ง เปนอยูยากลําบากมาก เมื่อเห็นสถานการณเปนเชนนั้น ก็คิดวา
๒๒๑อาจริยานสุ สติ ตนเองจะชว ยเหลอื ดแู ลทา นเทา ทมี่ โี อกาสและมกี าํ ลงั ความสามารถ การดแู ลทา นอาจารยว ศนิ หรอื “คณุ พอ ” ทพี่ วกเราเรยี ก ทา นนน้ั พยี่ ตุ อ งดแู ลเรอ่ื งอาหารการรบั ประทานทเี่ หมาะสมปลอดภยั และมปี ระโยชน ทง้ั ดแู ลจดั หยกู ยาอาหารเสรมิ สารพดั คอยวดั ความ ดันโลหิต คอยเช็คน้ําตาลเพราะโรคเบาหวาน (มีคุณนวลจันทรผู ซอื่ สตั ยค อยชว ยงานพย่ี ใุ นบางวนั และบางเวลา) คณุ พอ ตอ งการสง่ิ ใดกเ็ รยี กหาเรยี กใชพ ยี่ ุ (ยุ ยุ ย.ุ ..) ทง้ั งานดา นเลขานกุ าร งานปฏคิ ม งานวชิ าการ งานชา ง งานซอ มบาํ รงุ สารพดั จปิ าถะ ทกุ อยา งอยใู น ความดแู ลของพย่ี คุ นนค้ี นเดยี ว (พวกเราเรยี กพย่ี วุ า หวั หนา วอรด ) ทง้ั ทจ่ี รงิ ๆ แลว ทา นอาจารยม บี ตุ รชาย ๒ คน แตด ว ยภารกจิ หนา ท่ี การงานและครอบครวั จึงมไิ ดอยดู ูแลทา นใกลชิดในปจจุบัน ชีวิตของทานอาจารยจึงฝากไวในความดูแลเอาใจใส ของ “บรรดาศิษย” ที่มีความกตัญูและรักหวงใยทาน ซึ่งผูท่ี อุทิศเวลาและชีวิตมากที่สุด คือผูหญิงตัวเล็กๆ ช่ือ “ยุวดี” และ ยังมีศิษยอีกมากหนาหลายตาผลัดเปลี่ยนกันมาดูแล บางคนสง อาหาร บางคนสงยา บางทานก็แวะมาเย่ียมเยียนพรอมเครื่อง อปุ โภคบรโิ ภคหลากหลาย เหมอื นบา นคณุ พอ เปน กฏุ หิ ลงั นอ ย และ ที่เปนอาหารใจทรงอานุภาพ คือกลุมศิษยหลากหลายท่ีชวยกัน เผยแผงานทางธรรมของทานใหกวางขวางตอเนื่อง ซึ่งก็รวมถึง ชมรมกัลยาณธรรมดวย ยามใดท่ีทานตองไปพบแพทย ไปตรวจ สุขภาพ กม็ ีลกู ศิษยล ูกหาคอยชว ยเหลือดแู ล อาํ นวยความสะดวก
๒๒๒ อัตตชีวประวัติ อ.วศนิ อินทสระ ซึ่งกลุมพวกเรา ไดแก หมอเปล นองบุญ นองหมู พ่ีอาทิตย นอ งเอกและนอ งอว น เปน ตน ถอื เปน ศษิ ยก ลมุ ลา สดุ ทเ่ี ตม็ ใจศรทั ธา เขามาชวยดูแลทานดวยความรักและหวงใย จนถึงวันสําคัญ ที่ได พาทานไปตรวจหัวใจและทํา “สวนหวั ใจ” (บอลลูน) ถึง ๒ เสน (๒ ครง้ั ) ทา นจงึ เปน อาจารยข องบรรดาศษิ ยจ รงิ ๆ คอื อยใู นความ ดแู ลอปุ การะ เอาใจใสข องบรรดาศษิ ยท ง้ั หลายอยา งเตม็ ท่ี มากกวา จะไดรับความเอาใจใสจากญาติและบุตร ทําใหพวกเรารูสึกวาทาน เปนเสมอื นบิดาของพวกเราทกุ คน ดงั กลา วแลว วา ทา นอาจารยเ ปน เสมอื น “บดิ า” ของพวก เราทุกคน เพราะทานตองการความชวยเหลือ ตองการการดูแล เอาใจใสจ ากพวกเรามากกวา ครบู าอาจารยท า นอนื่ ๆ ทา นมกั กลา ว ถึงชีวิตของทานวาเปนเกวียนเกาครํ่าคราชํารุดท่ีรอเวลาท่ีแตกหัก พังสลาย ทานมักปรารภวา “ไมรูวาจะอยูถึงวันพรุงนี้หรือ เปลา” จากแตกอน ท่ีทานเคยมีความสุขทั้งชีวิตทุมเทอยูกับงาน เผยแผธ รรม ตน่ื แตเ ชา มดื กเ็ ขยี นตาํ รา เตรยี มการบรรยายการสอน ตอนบายก็ไปสอนพระสอนฆราวาส ตกค่ําก็จัดรายการวิทยุ บาง วันก็ตรากตรํางานอยางเพลิดเพลินจนขามวันใหม อยางไมเห็นแก เหน็ดเหนื่อยและละเลยที่จะหวงใยสุขภาพตัวเอง อุทิศตนสมเปน ทหารเอกขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา เมื่อวันหนึ่งมาถึง ท่ีโรคภัยเบียดเบียนรุมเรา จนดวงตาคูนี้มัวเกินกวาจะอานหนังสือ ไดเอง สองมือท่ีเคยลิขิตขอธรรมและวรรณกรรมอันทรงคุณคาไม สามารถทํางานท่ีรักไดอีกตอไป จะคนควาหาความรูจากหนังสือ
๒๒๓อาจริยานสุ สติ ตําราใด ๆ ก็ออนลากําลังและมองไมเห็นชัด ทานจะตองทุกขและ รสู กึ ทอ แทส กั เพยี งไร เมอื่ ทาํ สงิ่ ทร่ี กั ไมไ ดอ กี ตอ ไปแลว งานเผยแผ ธรรมที่ทานรัก ตองรอโอกาสใหคนอ่ืนชวยเขียนชวยอาน ที่ทาน ยังทําไดเองก็คือฟงธรรมเทานั้น (แตถึงกระน้ันทานก็ยังมีเมตตา ตอบปญ หาธรรมะในคอลมั นส นทนาธรรมในเวบ็ ไซดเ รอื นธรรม โดย ความชว ยเหลือของพยี่ ุวดีตลอดมาทกุ สปั ดาห) บางคร้ังในยามทอแทเพราะทําอะไรไมไดเอง ทานเคย ปรารภวา “ชวี ติ ทอ่ี ยไู ปวนั ๆ ไมไ ดท าํ ประโยชนอ ะไร กไ็ มม คี า ไมร ู จะอยูไปทําไม” ฟงแลวใจหายและมีความเห็นใจวาควรจะคอยชวย ดแู ล ประคบั ประคอง เปน กาํ ลงั ใจใหด วงประทปี แกว นย้ี งั คงสวา งไสว เพอ่ื มวลชนอยตู อ ไป เพราะนอกจากไดป ระจกั ษใ นความเมตตาของ ทานแลว ตองยอมรับวาทานยังเปนผูมีพระคุณตอพุทธศาสนิกชน จํานวนมาก สมควรไดรับการดูแลเอาใจใส ไดรับความรูสึกดี ๆ ตอบแทนบาง ฉันจึงต้ังใจจะตอบแทนคุณธรรมความดีของทาน ตง้ั ใจทาํ สง่ิ ทจี่ ะเปน กาํ ลงั ใจ นาํ ความภมู ใิ จ และชว ยผอ นคลาย บรรเทา ความทกุ ขค วามกงั วลของทา นบา ง เมอ่ื พวกเราพาคณุ พอ ไปตรวจหวั ใจ โดยการความอาํ นวย ความสะดวกของหมอเปล และทา นตอ งทาํ บอลลนู เพราะเสน เลอื ด หวั ใจตบี ถงึ ๒ เสน ในเดอื นมนี าคม และเมษายน ปพ .ศ. ๒๕๕๔ นี้ตามลําดับ ฉันขอเขาไปอยูในหองปฏิบัติการสวนหัวใจเปนเพ่ือน กบั ทา นถงึ ๒ ครงั้ (ไดร บั อนญุ าตจากแพทยเ ปน พเิ ศษ) และแลว
๒๒๔ อตั ตชวี ประวตั ิ อ.วศิน อนิ ทสระ อุบัติเหตุเสี่ยงตายท่ีรายแรงที่สุดในชีวิตของฉันก็เกิดขึ้น ในวันท่ี ๒๔ เมษายนทผี่ า นมา หลงั จากทา นผา ตดั บอลลนู เสน ท่ี ๒ เพยี ง วันเดียว ในนาทีชีวิตท่ีรถพลิกคว่ํา พังยับเยิน หลังจากกลับจาก ไปนอนเฝา คณุ พอ อดนอนตลอดคนื ในขณะทย่ี งั มสี ตดิ ี แมจ ะเจบ็ ปวดบริเวณหลังมากและมีเลือดอาบหนา คนแรกที่ฉันคิดถึงคือ คุณพอ เพราะทุกครั้งท่ีกลับถึงบาน ฉันจะตองโทรศัพทกลับไป เรียนใหทานทราบเพื่อคลายความหวงใย เมื่อเกิดเร่ืองไมคาดฝน ฉันมองหาโทรศัพทมือถือทันทีแตไมพบ คิดวาจะสงขาวถึงทานได อยา งไร คดิ ในใจวา “คณุ พอ ขา ชว ยลกู ดว ย ลกู จะกลบั ไปหาคณุ พอ อกี ” เราเพงิ่ ลาจากกนั เมอ่ื ชว่ั โมงทผ่ี า นมานี้ ในบรรยากาศของ ความสุข เสียงหัวเราะ ดว ยความรสู กึ ผอนคลายสบายใจทีค่ ณุ พอ ปลอดภยั ผา นพน จากการผา ตดั ดว ยดี แมร า งกายของฉนั จะเหนอ่ื ย ลา มาก เราเพงิ่ นดั กนั วา จะรบี กลบั มาเยย่ี มคณุ พอ อกี ในเรว็ วนั แต กลับตองมาประสบอุบัติเหตุทางรถยนตที่ไมคาดฝน และคุณพอก็ ทราบขาวรายทันที เพราะทานโทรมาหาฉันเพ่ือจะถามวาถึงบาน หรือยัง แลวไดยินเสียงพยาบาลแจงขา วอบุ ตั เิ หตุที่นาตกใจ แทน เสียงฉนั ตอบรับตามปรกติ ฉนั ตองนอนอยบู นเตยี งในโรงพยาบาลถงึ ๒๑ วนั จาก วันแรกที่แพทยประมาณวาอาจตองนอนนานถึง ๒ เดือน และ แพทยบอกวาหาก “โชคดี” ฉันก็คงจะกลับมาเดินได ดวยความ หวงใยท่ีคุณพอมีตอฉันมาก สุขภาพรางกายของทานจึงฟนตัวชา โชคดีที่ยังโทรศัพทติดตอกันไดทุกวัน คุณพอจึงคลายความหวงใย
๒๒๕อาจริยานสุ สติ และทกุ ขโ ศกไดบ า ง ถงึ กระนน้ั ทา นกม็ กั กลา วตาํ หนติ วั เองวา เปน ตน เหตุของอุบัติเหตุรายแรงของฉันคร้ังนี้ บางครั้ง ทานก็รองไห สงสารฉนั อกี ทงั้ ทท่ี า นเองกย็ งั ไมห ายดนี กั แมฉ นั จะคอยปลอบใจ และเปน กาํ ลงั ใจใหท า นเตม็ ที่ พรอ มทง้ั ใหก าํ ลงั ใจตวั เองใหเ ขม แขง และยอมรบั สถานการณท เ่ี ปน ไป โดยไมท กุ ขใ จซาํ้ เตมิ ตวั เองมากนกั ฉันนับวันรอที่จะหายเปนปรกติอีกคร้ัง สวนหนึ่งเพราะอยากเห็น คณุ พอ สบายใจคลายกงั วล และเมอื่ คณุ พอ แขง็ แรงขนึ้ ทา นกเ็ มตตา มาเยย่ี มฉนั ทโ่ี รงพยาบาลถงึ ๓ ครง้ั ทง้ั ทส่ี ขุ ภาพอยา งทา นยงั ไม ดีนัก ทานกลาววา “ไมไดไปเย่ียมใครที่โรงพยาบาลหลายปแลว” การไดมาพบกันบาง ทําใหทานสบายใจและมีกําลังใจขึ้นมาก แมบ างคร้ังฉันจะรอ งไห เมื่อทา นจะลากลับ ในทส่ี ดุ เมฆหมอกรา ยกผ็ า นไป ฉนั ไดย นื อกี ครงั้ ไดห ดั เดนิ ไดออกจากโรงพยาบาลและไดกลับมากราบเทาคุณพออีกครั้ง กลบั มาสง ยา สง อาหารและดแู ลชว ยเหลอื ในสง่ิ อน่ื ๆ เทา ทจ่ี ะชว ย ได มาชว ยงานเผยแผธ รรม เปน กาํ ลงั ใจ เปน ความอนุ ใจและความ ภมู ใิ จของทา น อยา งไมเ หน็ แกเ หนด็ เหนอื่ ย หากใครจะถามวา รจู กั ทา นแลว ไดอ ะไรจากทา นบา ง ฉนั กค็ งตอบวา ไดร บั ความเมตตาและ ปญ ญาจากทา น เชน เดยี วกบั ทศ่ี ษิ ยท า นอน่ื ๆ ไดร บั แตฉ นั มกั คดิ ไปในทางตรงกันขามวา ฉันจะตอบแทนและชวยเหลืออะไรทานได บา ง เพอ่ื ใหท า นมคี วามสขุ และมกี าํ ลงั ใจทจ่ี ะมชี วี ติ อยตู อ ไปไดน าน ทสี่ ุด เพราะดวยโรคภยั ตา ง ๆ ท่รี ุมเรา อยู ประทปี ธรรมดวงนี้อาจ ดบั วบู ลงวนั ใดกไ็ ด ฉนั จงึ ตง้ั ใจวา จะไมป ระมาททจี่ ะทาํ สงิ่ ดี ๆ เพอื่
๒๒๖ อตั ตชวี ประวตั ิ อ.วศนิ อนิ ทสระ ใหท า นมกี าํ ลงั ใจอยกู บั พวกเราไดน านทสี่ ดุ และเปน ปชู นยี บคุ คลใน ชีวิตใครตอใครไดอีกนับไมถ ว น จบบทความน้ีดวยคําวา “โลกน้ีไมมีบังเอิญ” ทางชีวิต ของฉันยังดําเนินตอไป ดวยความต้ังใจท่ีจะสรางสรรคส่ิงดีงามให ตอเนื่อง ดวยสํานึกในบุญวาสนาท่ีไดมาพบคุณพอผูเปนยอด กลั ยาณมติ ร ครผู ปู ระเสรฐิ ผเู ปย มดว ยปญ ญาและเมตตา ขอบญุ กศุ ลทคี่ ณุ พอ วศนิ อนิ ทสระ ไดบ าํ เพญ็ มาในทกุ ภพ ทกุ ชาติ และ บญุ กุศลที่ปวงศิษยไดส านตอความดีและบารมธี รรมใหยิ่งใหญ จง เปนพลังมาอภิบาลคุมครองคุณพอที่เคารพรักของพวกเรา จงมี ความสขุ สขุ ภาพแขง็ แรงและมกี าํ ลงั ใจทจี่ ะสอ งแสงธรรมสใู จมวลชน ตอไปตราบแสนนาน คุณพอเคยปรารภวา หากยังไมสิ้นภพชาติ ตองกลับมาเกิดตายอีกในสังสารวัฏ ก็ขออธิษฐานวา ขอกลับมา ทาํ หนา ที่ “คร”ู ผเู ปน พระธรรมเจดยี ต ลอดไป ทกุ ภพชาติ ฉนั จงึ ขออธษิ ฐานวา หากยังตองกลับมาเกดิ อกี ขอใหฉนั ไดก ลับมาชว ย สบื สานงานเผยแผธ รรม และดแู ลรบั ใชค ณุ พอ วศนิ อนิ ทสระ อกี ทุกภพทุกชาติ จนกวา จะถงึ พระนิพพานอนั เปน บรมสขุ นิรนั ดร ดวยความเคารพอยา งสงู ทพญ.อัจฉรา กลิน่ สุวรรณ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๔
ผภนาวคก บทบาททางพระพุทธศาสนา ของอาจารยวศิน อนิ ทสระ ตอน บทบาทดานการเปน ครผู สู อน นักเขยี น และนกั เผยแผ
บทสัมภาษณอ าจารยว ศิน อนิ ทสระ (๒๙ พ.ย. ๒๕๕๒) โดย แมชีวัลลภา จนั ทรอยู นกั ศกึ ษาปรญิ ญาโท มมร. ณ หอ งสมุดมหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย (มมร.) สํานึกวาจะไดตอบแทนบุญคุณของพระศาสนา และตอบแทนอปุ การะของชาวบาน อุบาสก อุบาสิกา ประชาชนท่ีไดอ ุปถัมภค ้ําชู ไดชว ยเหลอื ใหช ีวติ ไดเ ปนอยูมาจนถงึ ทุกวันน้ี ปจ จบุ นั นกี้ ไ็ ดอ าศัยศาสนาอยโู ดยตลอด คิดจะตอบแทนพระคณุ ของสังคม พระคณุ ของศาสนา พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ กเ็ ลยทํางานดานนี้มาตลอด ตัง้ แตบวชอยจู นถงึ สกึ แลว สวัสดีคะ แมชีช่ือ แมชีวัลลภา จันทรอยู แมชีทํา สารนพิ นธเ รอ่ื ง บทบาททางพระพทุ ธศาสนา ของ อาจารยว ศนิ อนิ ทสระ ตอนนเี้ ปน บทที่ ๔ ทจ่ี ะสมั ภาษณ อยา งหนงึ่ ทสี่ มั ภาษณ คอื บทบาทของการเปน ครผู สู อน นกั เขยี นและนกั เผยแผ จะมบี ทสมั ภาษณท ใี่ หพ วกทา นนกั ศกึ ษาชว ยเขยี นชว ยกรอก หนอยนะคะ จะสัมภาษณ ดร.สายฤดี คุณปนัดดา คุณวิรัช ซ่ึง คณุ ปนดั ดาบอกวาใหคนรนุ หลังพดู บา ง คอื คุณวารุณี
๒๒๙ภาคผนวก
๒๓๐ อตั ตชีวประวัติ อ.วศิน อนิ ทสระ ถาม ๑. ในบทบาทฐานะครูผูสอน วิธีสอนของทาน อาจารย ใชเ ทคนคิ อะไรคะ ตอบ มีเทคนิคในการสอนอยางไรก็เอาเทคนิคมาใช คือ มีความกรุณาตอผูท่ีเรียน แมในการเขียนหนังสือ ที่สําคัญกวา เทคนคิ ตา ง ๆ กค็ อื ความกรณุ า อยากทจี่ ะใหผ อู า นพน จากความทกุ ข ประสบความสขุ ในการเผยแผธ รรมทางวทิ ยุ กใ็ ชห ลกั เดยี วกนั คอื หลกั ความกรณุ า ทาํ อยา งไรทจี่ ะใหผ ฟู ง ไดร บั ความสขุ พน จากความทกุ ข ในการสอนอยทู กุ วนั นี้ ทใ่ี ชม ากทส่ี ดุ กค็ อื ความกรณุ า มากกวา เทคนคิ อยา งอน่ื ทเ่ี ขาใชก นั อยู สว นวาทศลิ ปต า ง ๆ ไมค อ ยไดเ รยี น ไมค อ ย ไดฝ ก ฝนเทา ไหร แตอ าศยั ความจรงิ ใจ และความกรณุ าเปน แมบ ท ถาม ๒. ทา นอาจารยน าํ หลกั คาํ สอนของพระพทุ ธเจา มาสอนอยา งไร ตอบ สว นมากนาํ มาจากพระไตรปฏ กเปน หลกั อรรถกถา บาง นอกจากนั้นก็มีวิพากษวิจารณกัน ถามและแสดงความเห็น กนั บา ง ถาม ๓. ทา นอาจารยไ ดอะไรจากการสอน ตอบ ไดในส่ิงที่ถาไมไดสอนก็ไมได คือ ความรูสึกสุขใจ ความชนื่ ใจ ความโสมนสั ในการสอน และรสู กึ วา ไดใ หใ นสง่ิ ทค่ี วรให แกผทู ค่ี วรไดร ับ ก็มคี วามสบายใจ มคี วามสุขใจ มีกาํ ลงั ใจ บางที ต่ืนมาเชา ๆ กค็ ดิ วาวนั น้จี ะสอนอะไร บางทกี ็มานอนท่ีหอ งพกั มา ปรารถกับตัวเองวา วันน้ีจะสอนไหวหรือ แตพอเขาหองสอนรูสึก
๒๓๑ภาคผนวก มีกําลังขึ้น ขอโทษท่ีจะพูดคําวา “คลาย ๆ มาศึก” เพราะมาศึก เมื่อไดยินเสียงกลองศกึ มันจะมีกําลังขึ้นมา มชี างศกึ ของพระเจา ปเสนทิโกศลไปตกหลมทาํ อยา งไรกไ็ มข น้ึ คนไปชว ยอยา งไรกไ็ มข นึ้ จากหลม มีบัณฑิตทานหนึ่งเปนปุโรหิตของพระเจาปเสนทิโกศล บอกวาเขาเปนชางศึก ใหตีกลองศึก พอไดยินเสียงกลองศึก ชาง รวบรวมกาํ ลงั ทงั้ หมดเทา ทมี่ อี ยู ถอนตนขนึ้ จากหลม ได พระพทุ ธเจา ทานทราบจากภิกษุท้ังหลายท่ีไปบิณฑบาต แลวกลับมากราบทูล พระพทุ ธเจา ตรสั วา “เธอทงั้ หลายจงถอนตนขนึ้ จากหลม คอื กเิ ลส เหมอื นกบั ทช่ี า งศกึ ของพระเจา ปเสนทโิ กศลถอนตนขนึ้ จากหลม เลน” ถาม ๔. คณุ สมบตั ทิ ดี่ ขี องครู ในความเหน็ ของทา น อาจารย ควรเปน อยา งไรคะ ตอบ อนั นผ้ี มไมต อ งแสดงความเหน็ เอง มนั มอี ยใู นตาํ รา คุณสมบัติของครู ๗ ประการ ไดแ ก “ปโย ครุ ภาวนีโย วัตตา จะ วจนักขโม คัมภีรัญจะ กถงั กตั ตา โน จฏั ฐาเน นโิ ยชเย” ปโ ย คือ ทาํ ตนใหเ ปน คนนารกั ครุ คือ เปน คนนาเคารพ เปนคนหนกั แนน ภาวนีโย คือ อบรมตนอยูเสมอ ทั้งทางวิชาความรู ทงั้ ทางคุณธรรม วตั ตา จะ คือ ขยนั สอน ขยนั พูด ขยนั กลา ว
๒๓๒ อัตตชวี ประวตั ิ อ.วศิน อินทสระ วจนักขโม คือ เม่ือเขาเตือน ก็ยินดีรับฟง ไมทะนงตน ยอมใหผ อู น่ื เขาพดู บาง คัมภีรัญจะ กถัง กัตตา คือ ทําส่ิงท่ีตื้นใหลึก ทําสิ่งที่ ลึกใหต ื้น โน จัฏฐาเน นิโยชเย คือ ไมชักชวนในทางเสื่อม ไม ชกั ชวนศษิ ยใหท ําในสงิ่ ที่เปน ไปไมได ไมช ักนาํ และไมสอนศษิ ยใ นสิง่ ทเี่ ปนไปไมไ ด นี่เปนหลักที่ใหเอาไวสําหรับศิษยท่ีจะเขาไปหาครู หรือ สําหรับผูท่ีเปนครูควรที่จะประกอบดวยคุณสมบัติเหลาน้ีในการ สอนศษิ ย และยงั มอี น่ื ๆ อกี เยอะในการทจ่ี ะเปน ครู ใชศ ลิ ปะในการพดู ในการอปุ มาใหเ ขาเหน็ หรอื วา สนั ทศั นา คอื พดู อะไรใหเ ขาเหน็ จรงิ สะมาทะปะนา คอื ชกั ชวนใหเ วน จากอกศุ ล ประพฤตอิ ยู ในกุศล สมตุ เตชะนา คอื ใหก าํ ลงั ใจในการทจี่ ะละความชวั่ ทาํ ความดี และมกี าํ ลงั ใจทจ่ี ะศึกษาเลา เรียน สมั ปะหงั สะนา คอื รา เรงิ แจม ใสในการศกึ ษาเลา เรยี น ใน การทจี่ ะทาํ ความดี ไมห ดหู เรยี นแลว ไมเ ครยี ด ไมใ ชเ รยี นไปเครยี ดไป ใหส บาย ๆ ใหรูส กึ มคี วามสขุ
๒๓๓ภาคผนวก ถาม ๕. ทา นอาจารยค ดิ วา ทา นจะสอนอกี นานเทา ไหร คะ แลว เพราะเหตใุ ดคะ ตอบ นกี่ แ็ ลว แตพ ยาธกิ บั มรณะเปน ตวั กาํ หนด เผอ่ื พยาธิ รบเรารุกรานจนไมไหวแลว เดินเหิรไมไดแลว ก็ตองเลิก แตถา ความตายมนั มากอ น เรากต็ อ งเลกิ ตอ งหยดุ เอาไวส อนกนั ชาตหิ นา ตอ แตก ย็ งั มคี วามตง้ั ใจวา ถา ยงั เวยี นวา ยตายเกดิ อยู กข็ อทาํ งาน นไี้ ปทกุ ชาติ ขอเปน อยา งทเี่ ปน ขอทาํ งานอยา งทที่ าํ อยู มนั เปน แรงอธษิ ฐานมาตง้ั แตเ ปน สามเณรนอ ย ทจี่ ะขอทาํ งานดา นน้ี ดา น เผยแผศ าสนา เผยแผธ รรม ถาม ๖. บทบาทในฐานะนกั เขยี น ทา นอาจารยม แี รง บนั ดาลใจอยา งไรทเี่ ปน นกั เขยี น ตอบ ดวยปรารภวา เม่ือไดเจริญเติบโตข้ึนมาในศาสนา ตงั้ แตเ ดก็ ไดอ าศยั ศาสนามาตง้ั แตเ ปน เดก็ ในประวตั กิ ไ็ ดเ ขยี นเอาไว แลวก็มาบวชเปนสามเณร สึกออกมาก็ออกมาเขียนหนังสือดวย สาํ นกึ วา จะไดต อบแทนบญุ คณุ ของพระศาสนา และตอบแทนอปุ การะ ของชาวบา น อบุ าสก อบุ าสกิ า ประชาชนทไี่ ดอ ปุ ถมั ภค า้ํ ชู ไดช ว ย เหลือใหชีวิตไดเปนอยูมาจนถึงทุกวันน้ี ปจจุบันน้ีก็ไดอาศัยศาสนา อยโู ดยตลอด คิดจะตอบแทนพระคณุ ของสังคม พระคุณของพระ ศาสนา พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ กเ็ ลยทาํ งานดา นนม้ี าตลอด ตัง้ แตบวชอยจู นถงึ สึกแลว
๒๓๔ อัตตชวี ประวตั ิ อ.วศิน อนิ ทสระ ถาม ๗. ทา นอาจารยช อบเขยี นหนงั สอื แนวไหนมาก ทสี่ ดุ คะ ตอบ ทม่ี คี วามสขุ มากกค็ อื การเขยี นนวนยิ ายองิ หลกั ธรรม เชน เร่ืองพระอานนทฯ เร่ืองพระเจาอโศก ชีวิตนี้มีอะไร เปนตน ยังมีอีกหลาย ๆ เร่ือง ที่เปนนวนิยายอิงหลักธรรม ก็จะทําใหมี ความสขุ มาก มคี วามสบายมาก คอื จติ ใจสงบเยอื กเยน็ เหมอื น เราอยูในโลกอีกโลกหนึ่ง เรื่องแนวอื่นก็ชอบ เชน หลักวิชาการ การเขยี นบทความ การแสดงความคิดเห็นตา งๆ การอธิบายธรรมะ จะมีความสุขมากท่ีไดเขียนนวนิยายอิงหลักธรรม พอเขียนจบ ปกปากกาลงบนกระดาษจนกระดาษทะลุ มันถึงใจ เมื่ออายุ ๓๙ ไดเขียนหนังสือ ทางแหงความดี ๔ เลม พอเขียนเสร็จ วางปากกา ถอนหายใจยาว แลว บอกกบั ตวั เองวา “เราตายไดแ ลว ” หนงั สอื เรอ่ื งนเ้ี รมิ่ เขยี นตงั้ แตอ ายุ ๓๕ ป รสู กึ วา ไดท าํ งานทอี่ ยาก จะทํา แลว คดิ วาเปนประโยชนต อ สงั คม ถาม ๘. การเปน นกั เขยี นของทา นอาจารย ใชห ลกั อะไรในการเขยี น ตอบ ความกรณุ า คอื เมอ่ื รอู ะไรแลว กอ็ ยากจะใหค นอนื่ เขารดู ว ย ไดร บั ผลดจี ากอะไรแลว กอ็ ยากใหค นอน่ื ไดร บั ผลดนี น้ั ดว ย อยากจะชว ยเหลอื ผอู นื่ ใหไ ดพ น จากความทกุ ข ใหม คี วามสขุ เมตตา และกรุณา เปนตัวแสดงบทบาทยิง่ ใหญอยใู นวิถชี ีวติ
๒๓๕ภาคผนวก ถาม ๙. นกั เขยี นทด่ี แี ละประสบความสาํ เรจ็ ควรมี ความพรอ มอยา งไร ตอบ เหมอื นออ ยท่เี ติบโตเต็มที่ มนี า้ํ หวานอยเู ต็ม เมอื่ เอาไปเขา เครอ่ื งคนั้ นาํ้ ออกมา นา้ํ ออ ยกอ็ อกมามาก ฉะนน้ั คนเขยี น หนังสือตองคอยบมตัวใหเพียงพอเหมือนลําออย มีความรูพอ มีความสามารถพอ มีจิตใจพรอม ในขณะที่เราเขียนถึงคุณธรรม ใดแลว เรารสู กึ วา เรามคี ณุ ธรรมนนั้ อยู แลว มนั จะออกมาจากความ รูสึกจรงิ ๆ จากใจจริง ๆ ยอ มมีรสแหง ธรรม ยอมชนะรสทงั้ ปวง ถามเก่ียวกบั การเป็นนักเผยแผ ถาม ๑. ทา นอาจารยม หี ลกั อยา งไรในการเปน นกั เผยแผ ตอบ มนั กเ็ รอื่ งเดยี วกนั กบั งานเขยี น เขยี นกเ็ ปน การเผยแผ และกม็ เี ผยแผโ ดยการพดู หรอื ทางวทิ ยกุ เ็ ปน การเผยแผ และกเ็ ผยแผ โดยการสอน เชน การสอนพระภกิ ษุ สามเณร แมช ี ในมหาวทิ ยาลยั สงฆ เปน เวลา ๔๕ ปพ อดี แตต อนนหี้ ยดุ หมดแลว เหลือแตการ สอนในวนั อาทติ ย ทบี่ รรยายทางวทิ ยุกห็ ยดุ หมดแลว ก็ยงั มาออก สดท่ีนี่อยางเดียว ที่ยังพูดธรรมะใหฟงอยูเพราะเห็นวาเปนชุมชน เปน กลมุ ทห่ี าไดย าก เปน ผทู ม่ี คี ณุ สมบตั เิ พยี บพรอ มทจี่ ะไดร บั คาํ สอน ถาม ๒. ทา นอาจารยไ ดอ ะไรบา งจากการเปน นกั เผยแผ ตอบ กต็ อ งตอบเปน คาํ ตอบเดยี ว คอื ไดส งิ่ ทถ่ี า ไมไ ดเ ปน นกั เผยแผก จ็ ะไมไ ด เหมอื นกบั ถามแมช วี า บวชแลว ไดอ ะไร กต็ อ ง ตอบวา ไดส่งิ ทถี่ า ไมบ วชก็จะไมได
๒๓๖ อตั ตชวี ประวัติ อ.วศิน อนิ ทสระ สัมภาษณน กั ศึกษา ถาม ๑. สาเหตใุ ดทนี่ กั ศกึ ษามาเรยี นธรรมะกบั ทา น อาจารยว ศนิ ดร.สายฤดี ตอบ เพราะวาตวั อาจารยม ากกวา สาเหตมุ ี หลายอยา ง บางคนมาเพราะไดอ า นหนงั สอื ของทา นอาจารย สว น ดิฉันเองคิดวา อยากเรียนธรรมะจากคนที่มีความบริสุทธิ์ มา ทดแทนคณุ แมด ฉิ นั เพราะเคยไดแ นวความคดิ อนั บรสิ ทุ ธมิ์ าจากคณุ แม พอคณุ แมเสยี กเ็ ควงควางอยู ๒ ป และคณุ ขวญั ไดแ นะนําวา ทา น อาจารยสอนใหรูจักคิดในเร่ืองดี ๆ ที่ทําใหมีความสุขและเปนเรื่อง เกี่ยวกับธรรมะ ดิฉันจึงมาและไมเคยผิดหวังเลย อาจารยมีความ เมตตาสงู มคี วามรแู ละมวี ธิ กี ารสอ่ื สารครบถว น ตรงตามระดบั ของ ความรู ฐานของความรู อาจารยเ ปน ผทู ส่ี อนมานาน ทาํ ใหม ตี วั อยา ง ทน่ี กั เรยี นสามารถจะเขา ใจได เหมาะสม เพยี งพอ ชดั เจนและทาํ ให รูสกึ วา สิ่งทอี่ าจารยใ หน้ันมคี า มากกวาทีเ่ ราจะไปคนควาเอง คุณวารุณีตอบ สาเหตุงาย ๆ ก็มาจากท่ีรุนพ่ีที่มาเรียน กอนไดประโยชนจากชั้นเรียนมาก ชีวิตของเราที่เหลืออยูจะไดเดิน ตอไปในทางที่ถูกตอง เราก็เช่ือและก็ลองมาเรียนดู เมื่อมาแลวก็ พบวา เปนเชน น้นั จริง ๆ คาํ ตอบก็เหมอื นกบั ขา งตน
๒๓๗ภาคผนวก คณุ วริ ชั ตอบ สาเหตโุ ดยตรงทมี่ าเรยี นกเ็ พอื่ เพมิ่ พนู ความรู ความเขา ใจธรรมะจากครบู าอาจารยท ร่ี จู รงิ เพอื่ นาํ ความรไู ปประพฤติ ปฏิบตั ิใหถ ูกตรง จงึ เสาะหาครูบาอาจารย ถาม ๒. หลังจากที่ทานไดศึกษาแลว ตัวทาน เปลย่ี นแปลงอยา งไรบา ง คณุ วริ ชั ทาํ ใหเ ขา ใจตนเองและเขา ใจผอู นื่ มากขน้ึ มองผู อ่ืนในแงดี สวนการเปล่ียนแปลงก็ในแงของการปฏิบัติ ก็ไดดูจิต ดใู จของตวั เอง เขา อกเขา ใจตวั เอง มรี ายละเอยี ดธรรมะลกึ ๆ กไ็ ด จากครูบาอาจารย ทาํ ใหเกดิ การฝกฝนตวั เอง ดร.สายฤดี ทําใหมีความม่ันคงทางจิตใจมากขึ้น จึงมี หลักคิดวา คิดอยางไรไมใหเปนทุกข คิดอยางไรถึงจะเขาใจชีวิต คิดอยางไรถึงจะเปนประโยชน และก็มีความรูสึกที่ดีเกิดข้ึน จากท่ี มคี วามมนั่ คงทางจติ ใจ คอื มคี วามเมตตามากขนึ้ มคี วามหงดุ หงดิ นอ ยลง มชี วี ติ ทสี่ งบขน้ึ แลว กไ็ มไ ขวค วา มาก แลว กไ็ มย งุ ไมห งดุ หงดิ มากเหมือนแตก อน คุณวารุณี คลาย ๆ กันคะ แตจะเห็นอกเห็นใจคนอื่น มากข้ึน ทะนงตัวนอยลง เมื่อกอนคิดวาตัวเองทําดีแลว แตเมื่อ มาเรยี นกบั อาจารยท าํ ใหเ ขา ใจธรรมะ และการประพฤตธิ รรมแงม มุ ตาง ๆ ไดละเอียดมากข้ึน เห็นวาหลาย ๆ อยางที่เราเคยคิดเคย ปฏบิ ตั ิ ไมไ ดถ กู ตอ งเหมาะสมดที สี่ ดุ เราจงึ พยายามปรบั ตวั เอง ใน
๒๓๘ อตั ตชีวประวตั ิ อ.วศิน อนิ ทสระ เรอ่ื งของศลี กท็ าํ ใหเ ขา ใจละเอยี ดมากขนึ้ สามารถนาํ มาใชป รบั ปรงุ ตวั เอง ไดด ี ความทอี่ าจารยเ ปน แบบอยา งใหเ หน็ ดว ยตาตนเอง กท็ าํ ใหเ รา สงบมากข้ึน ส่ิงที่เกิดข้ึนกับตัวเอง ท่ีเม่ือกอนชอบทองเที่ยว ไปตามความอยากของตวั เอง อยากรอู ยากเหน็ กล็ ดลง คอื ไดข อ คดิ จากบทความท่ีอาจารยเขียน ถาจําไมผิดก็เปนเร่ืองท่ีอาจารยไป อเมริกา อาจารยเขียนไววา การเที่ยวไปไหนก็เห็นแตธาตุ ๔ ซ่ึง ตวั เองเคยคดิ เหมอื นกนั ไปมาหลายประเทศ ในทสี่ ดุ ทรพั ยากรธรรมชาติ ทเ่ี ห็น มันก็คลาย ๆ กัน กไ็ มรวู า จะแสวงหาไปทําไม ถาม ๓. ทา นนกั ศกึ ษาไดแ บบอยา งอะไรจากทา นอาจารยค ะ คณุ วริ ชั กไ็ ดจ ากแบบอยา งทท่ี า นทาํ ใหด ู คอื การประพฤติ ปฏิบัติดีของครูบาอาจารย ก็ทําใหพยายามท่ีจะทําตามหรือซึมซับ เอาไวท ลี ะนดิ ทลี ะหนอ ย แบบของทา นมหี ลายอยา ง ไมว า จะเปน การ ประพฤติ การสอน การพูด การแสดงความคิดเห็น ลูกศิษยก็ได ประโยชนตรงนแ้ี หละ ดร.สายฤดี อยากใหแ มช มี าวนั ทเี่ ราจดั งานใหอ าจารยน ะคะ จะมรี ปู แบบอยา งน้ี ทจ่ี ะบอกวา ไดอ ะไรจากอาจารย คอื ทกุ อยา งทอ่ี าจารย ทําเปนแบบอยางใหพวกเราไดทั้งหมด อาจารยไมคร่ําครวญกับ รา งกายของอาจารย อาจารยพ ยายามใชร า งกายนที้ จี่ ะสรา งประโยชน ใหกับพวกเราได อาจารยไมเคยบน ไมเคยทําใหเรามีความรูสึกวา เปนทุกข แตเรารูสึกเปนทุกขเองเพราะเราศรัทธาอาจารยมาก อาจารยใ หท งั้ คิดทงั้ พดู ทง้ั ทาํ เปนอยูใหเราเหน็
๒๓๙ภาคผนวก คณุ วารณุ ี ความเมตตา กรณุ า ความถอ มตวั ความพยายาม อาจารยมีความพยายามสูงในการที่จะอธิบายใหพวกเราเขาใจอะไร ตา ง ๆ ไดดขี น้ึ คุณปนดั ดา ความอดทนของทานอาจารยท่มี ีตอลูกศิษย ตางระดับแตกตางกัน เปนตัวอยางที่สําคัญที่ทําใหเรามองเห็นวา อาจารยมีความเมตตากรุณาขนาดไหน อาจารยอดทนได และให กําลงั ใจกบั ทุกคน แมวาจะอยใู นระดบั ท่ีเขาใจผิด อาจารยกอ็ ดทน ท่ีจะอธิบาย นี่เปนตัวอยางที่หาไดยากมาก พวกเราทุกคนรูสึกวา โชคดมี ากทไ่ี ดม าเรยี นกบั อาจารย อาจารยเ ปน ผทู ส่ี ภุ าพและซอ่ื สตั ย มาก บอกเราวา อนั ไหนเปน พทุ ธวจั นะ อนั ไหนเปน อรรถกถา ความ รคู วามสามารถขนาดอาจารยน เี้ ราคดิ วา เราหาแทบจะไมไ ดแ ลว รวม ถึงแบบอยา งการปฏบิ ัติของอาจารยด วย แมชีวัลลภา แมชีปล้ืมใจกับลูกศิษยทุกทานนะคะ ท่ีมี ความรสู ึกดี ๆ กับทา นอาจารย คุณชนิตา (รอ งไหส ะอืน้ อยสู ักพกั พูดไมออก) อ.วศิน กลาววา เอา รองไห...ที่นี่เขามักจะเปนอยางน้ี พอจะใหพ ดู อะไรก็รองไหเสียกอ น.. คณุ ชนติ า (ระงบั อารมณส กั พกั แลว จงึ กลา ววา ) ในโอกาส ที่ไดเปนนักศึกษาของทานอาจารย ก็รูสึกดีใจมากที่ไดมาเรียนที่
๒๔๐ อัตตชวี ประวตั ิ อ.วศิน อินทสระ มหาวิทยาลัยแหงน้ี ย่ิงพอจะขึ้นป ๓ รูวาจะมีโอกาสไดเรียนกับ ทานอาจารย ก็ย่ิงมีความรูสึกตื่นเตน อยากจะใหถึงวันน้ันเร็ว ๆ เพราะเคยไดมีโอกาสอานหนังสือของทานอาจารยบาง เวลาอาน แลว รสู กึ วา สาํ นวนของทา นเพราะพรง้ิ อา นแลว คลอ ยตาม ซมึ ซบั รูสึกอยากพบทาน อยากกราบทา น อยากเรยี นกับทา น เม่ือพวกเราชั้นปที่ ๓ ไดเรียนกับทานครั้งแรกก็รูเลยวา ทา นไมใ ชอ าจารยธ รรมดา สายตาของทา นมเี มตตา แมแ ตพ ระ แมช ี และฆราวาส ในสว นทท่ี า นเมตตากบั พวกเรา ทกุ ครง้ั ทเี่ รยี นจะมพี กั ๑๐ นาที ทานจะออกเงินของทานใหไปซ้ือนํ้าปานะ และซ้ือน้ําให ลูกศิษยใ นหองทง้ั หมด จะเปนอยา งนี้ทกุ คร้ังไป ในเบ้อื งหลังของ การเปน นกั ศกึ ษานะคะ ทานทเ่ี รียนวนั อาทติ ย จะไมทราบวา วนั ที่ ทานสอนนักศึกษาเปนอยางไร ทานยังใหกําลังใจกับพระ แมชี ฆราวาสอกี ใครสอบไดค ะแนนดี ๆ ทา นจะใหช ดุ แมช หี นงึ่ ชดุ พระกม็ ี ชุดผาไตร และมีปจ จยั อีก ๕,๐๐๐ บาท แมช กี ็ไดม าแลว คะนี่คอื เบอ้ื งหลัง สว นลกู ศษิ ยท เี่ ปน ฆราวาสทา นกเ็ มตตา ชว งวนั เกดิ บอกทา น ทานก็จะใหหนังสือแถมลายเซ็นใหดวย แถมเมตตาไปถงึ ลกู ๆ ของ ลกู ศษิ ยอกี ถา จะใหพูดถงึ ความประทบั ใจมีมากคะ
เลา ไวในวนั เกิด ปีที่ ๗๐ ณ หองเรยี นพุทธศาสนาวันอาทิตยห ลกั สูตรพเิ ศษ ตงั้ ใจวา ไมวา อะไรจะเกดิ ข้ึนก็ตามเถอะ จะขอทํางานดานนตี้ ลอดไป ผมมีความรสู ึกวามนั เปนหนาทที่ จ่ี ะตอ งทาํ จากการทไี่ ดรับอปุ การะจากศาสนามาตงั้ แตผมเปนเด็ก เรื่อยมาจนถึงวัยผูใหญ มาจนบัดนีก้ ็ยงั ไดรับอปุ การะจากศาสนาอยู มีหนาท่ที ่จี ะตอ งทาํ ตอบแทน กอนอ่ืนก็ขออนุโมทนากับทานทั้งหลายท่ีไดต้ังใจมารวม ทาํ บญุ คลา ยวนั เกดิ ฉลองปท ี่ ๗๐ ปน ้ี ตง้ั แตว นั ที่ ๑๗ กนั ยายน ก็เปน ความปลาบปล้ืมใจของผมทนี่ ึกไมถ งึ ในชวี ิตกไ็ มไดนึกวา จะมี
๒๔๒ อตั ตชีวประวัติ อ.วศนิ อินทสระ ผูทําบุญใหมากมายอยางนี้ เม่ือวันท่ี ๑๗ อยูบานก็ทําจิตใหสงบ ทาํ สมาธวิ ปิ ส สนาอะไรไปตามทอี่ ยากจะทาํ เมอื่ ปรารภถงึ เรอื่ งวนั เกดิ กจ็ ะเลานิดหนอ ยกไ็ ด จะเลามากก็ได แตว ากําลงั ท่จี ะเลาไมคอ ยมี ผมเกดิ มาเปน เดก็ ชนบท ลาํ บากยากจนมาตลอด ไดเ หน็ สัจธรรมที่วา ชีวิตเต็มไปดวยความลําบาก ผมชอบยอนกลับไป คิดถึงเร่ืองอดีต วาไดเกิดมาอยางไร ไดเปนมาอยางไร ไดผาน ปญ หาอปุ สรรคมาอยา งไร มนั มากมายเสยี จนเขยี นไมไ ด ผมเขยี น เรอ่ื งอื่นได แตเ ขียนประวัติตวั เองไมไ ด ในชีวติ มเี รอื่ งตอ งผจญกบั ความทกุ ขย ากลาํ บากเหลอื เกนิ ตง้ั แตเ ดก็ มาจนถงึ บวชเปน สามเณร และบวชพระ ในระหวา งทบ่ี วชสามเณรหรอื ตอนเปน เดก็ นนั้ กม็ คี วาม ทกุ ขย ากลาํ บากทใ่ี หญห ลวง เทา ทย่ี อ นกลบั ไปคดิ เวลานว้ี า เราผา น ชวี ติ มาไดอ ยา งไร คอื วา ควรจะตายเสยี ตงั้ แตเ มอ่ื ยงั เลก็ ๆ ในสภาพ สังคมหรือสภาพความเปนอยูของชีวิตแบบนั้น ตอนบวชสามเณร และตอนบวชพระกเ็ ตม็ ไปดว ยความยากลาํ บากในความเปน อยู ไมม ี อะไรอยา งทมี่ อี ยใู นเวลานหี้ รอก ทอ่ี ยอู าศยั อาหารการกนิ ผา นงุ ผาหม ยารักษาโรค อะไรๆ ก็ขาดแคลนฝดเคืองไปหมดทุกอยาง ก็ตอสูมาดวยความอดทนอยางยิ่ง โดยเฉพาะอยางย่ิงคือตอสูกับ โรคภัยไขเจ็บมาตลอดตั้งแตวัยเด็กมาจนถึงบัดนี้ ย่ิงอายุมากขึ้น มนั กย็ งิ่ รมุ เรา มากขน้ึ จนแทบจะทนไมไ หว ทกุ ครงั้ ทเ่ี ขา สอนหนงั สอื ไมว า จะเปน วนั อาทติ ยห รอื วนั องั คาร วนั พธุ ทบ่ี รรยายถวายความรู
๒๔๓เลาไวใ นวนั เกิด แกพ ระ หรอื แมแ ตเ วลาอดั รายการออกอากาศ ชว งเวลา ๑ ชวั่ โมง น้ัน มีความรูสึกวา เรากําลังเขาสูสงคราม ไมรูวาจะแพหรือ ชนะ “แพ” กห็ มายถงึ วา เราอาจจะเสยี ชวี ติ ในขณะทสี่ อนอยู “ชนะ” กค็ อื รอดมาไดใ นชวั่ โมงนนั้ มคี วามรสู กึ อยา งนตี้ ลอดเวลา ๒-๓ ป ท่ีผานมานี้ แตก็คิดวาเปน หนา ที่ทจ่ี ะตอ งทําในฐานะเปนทหารของ พระพุทธเจา ถาจะเสยี ชีวติ ในขณะออกรบ มันก็ดีเหมอื นกัน มีบางคนพูดใหฟงวา ลูกศิษยรุนน้ี ท่ีมาเรียนต้ังแตชวง ๒ ปใ หห ลงั มาน้ี เสยี ดายวา ถา มาเสยี สกั เมอื่ ๕ ปก อ น จะไดอ ะไร อกี มากมายกวา ทไ่ี ดร บั อยใู นเวลาน้ี ผมไดย นิ แลว กม็ คี วามรสู กึ ตอ ย ตํ่า เพราะบอกตามตรงวา ความสามารถในการถายทอดความรู ทางธรรมะของผมใหแ กท า นทง้ั หลายในเวลาน้ี ลดลงเกนิ ครง่ึ งาน ออกรายการสดๆ ผมทาํ ไมไ ดเ ลย นอกจากทาํ เทปเปน บางเรอื่ ง ที่ ออกไมไดเลยเปนเพราะผมคนควาหนังสือไมไดเลยมาเปนเวลา ๒ ปแ ลว คอื หาขอ มลู ไมไ ดเ ลย เพราะไมม ตี า (มองไมค อ ยเหน็ ) ไมม ี กําลังท่ีจะไปคนหาขอมูล เมื่อกอนนี้ถอยหลังไปสัก ๔-๕ ป ผม ทํางานทั้งวัน เชาขึ้นมา ต่ืนแตเชามืดมาอานตําราเพื่อทํารายการ วิทยุ ทุกวัน ทําเสร็จแลว บายก็ไปสอนหนังสือ ทุกวัน วันละ หลายช่ัวโมง กลางคืนกลับไปออกอากาศวิทยุ ทุกคืน รวมทั้ง รายการ “ธรรมะรวมสมัย” ตอนดึกดวย แตตอนนี้ผมไมไดทํา รายการนี้แลว เพราะทําไมไหว แตผูจัดทานมีน้ําใจขอเทปที่เคย บรรยายเอาไวเกา ๆ นาํ ไปออกอากาศใหอ ยู
๒๔๔ อตั ตชีวประวตั ิ อ.วศนิ อนิ ทสระ ฉะนนั้ ทา นอาจรสู กึ วา การสอนการบรรยายของผมเวลา นไี้ มเ หมอื นเมอื่ กอ น เมอ่ื กอ นนผ้ี มจะมคี มู อื เพยี บเลย ทา นถามอะไร ผมจะพูดเร่ืองอะไร ผมจะมีคูมือจากพระไตรปฎก จากอรรถกถา อะไรตา งๆ มากมาย มากองอยบู า ง บนั ทกึ มาบา ง แตม าถงึ เวลาน้ี ผมพดู ไดแ ตส งิ่ ทม่ี อี ยใู นตวั เทา นนั้ พดู ไดแ ตเ ทา ทม่ี อี ยู หาใหมไ มไ ด ผมเสยี ดายมากเลย โดยเฉพาะความรจู ากตาํ ราภาษาองั กฤษทม่ี คี น เขียนไวมากมาย อันน้ีก็เปนแหลงใหญเหมือนกัน นอกจากพระ ไตรปฎกและอรรถกถาแลว ตําราในภาษาอังกฤษท่ีมีทานผูรูเขียน เอาไว ผมไดอาศัยมากเลย จะคนควาตําราเหลาน้ีทุกวัน ทําใหได พบของใหม ๆ นาํ มาฝากทา นทง้ั หลาย แตม าถงึ เวลานี้ หมดแลว ไมมีแลว ไมมีทางที่จะหาได เพียงแตเปดดูหนังสือเลมสองเลมก็ มนึ แลว อา นกไ็ มไ ด กม็ แี ตค วามรเู ทา ทมี่ อี ยู เทา ไรกเ็ ทา นนั้ ของ ใหมจ ะไดก จ็ ากการฟงบา ง จากการดรู ายการโทรทศั นบา ง นค่ี ือสภาพจาํ กัดท่ีอยากจะเรียนใหท า นทัง้ หลายทราบ ที่ มผี ปู รารภวา เสยี ดายทล่ี กู ศษิ ยท ม่ี ารนุ หลงั คอื ภายใน ๒ ปห ลงั น้ี ไมไดรับอะไรมากมายอยางที่เคยไดรับกันมาเม่ือกอน น่ันก็เปน เพราะวา มันหมดสมรรถนะ หรอื วาเรียกวา ควรจะเลกิ สอนไดแ ลว อนั นไี้ มไ ดพ ดู เพอ่ื ใหเ สยี กาํ ลงั ใจ เพยี งแตว า ถา มผี ทู จ่ี ะมาทาํ แทนได ก็อยากจะใหเปนอยางนั้น แตขณะน้ียังไมทราบจะทําอยางไร จึง อยากขอใหทา นท้ังหลายเขา ใจวา ทา นไดร ับเทาท่ีผมมีอยู และผม กต็ อ งอาศยั ทา นทงั้ หลายชว ยพดู คอื ผมพดู คนเดยี วไมไ หว เมอื่ กอ น ผมพูดได ๒-๓ ชั่วโมง พูดคนเดียวก็ได ย่ิงพูดยิ่งมัน แตเดี๋ยวน้ี
๒๔๕เลาไวในวนั เกิด ยง่ิ พดู ยง่ิ หมด หมดเพราะไมม ขี อ มลู และหมดกาํ ลงั ไดอ าศยั ขอ มลู จากพระไตรปฎ กทพี่ วกเราทกุ คนมกี นั มา กม็ าอา นสกู นั ฟง เสรจ็ แลว ผมกช็ ว ยอธิบาย ขยายความ ตอบคาํ ถาม ทํานองนีน้ ะครบั แตผ มกช็ นื่ ใจ ทกุ อาทติ ยท ม่ี าทน่ี ี่ รสู กึ ชน่ื ใจทไี่ ดเ หน็ ทา น ทงั้ หลาย ซง่ึ เปน สหธรรมกิ เปน ผทู ม่ี กี ายตา งกนั แตว า มจี ติ เหมอื น กัน ไดมาสนทนาธรรมกัน เปดโอกาสใหกันและกัน เพื่อซักถาม สนทนาธรรมอยางเปนกันเอง ไมมีเขา ไมมีเรา ไมมีการทะเลาะ วิวาท ในชน้ั เรียนของเรานไ้ี มเคยมปี ญหาในเรื่องทํานองน้ัน เรามี แตเรียนกันอยางออนนอมถอมตน ท้ังผูสอน ทั้งผูเรียน ไมมีทิฐิ มานะ อนั นเ้ี ปน สง่ิ ทน่ี า ชนื่ ใจมาก คอื เรายอมรบั วา เราไมร ู เราไมใ ช ผรู ใู นประการทง้ั ปวง แตว า รบู า งพอเปน ประโยชน ไมใ ชเ ปน ผรู โู ดยท่ี ไมม ขี อ ผดิ พลาดเลย หรอื วา ยนื ยนั วา อยา งนเ้ี ทา นน้ั ถกู อยา งอน่ื ผดิ ปญ หาเหลาน้ีไมเ กิดขน้ึ ในสังคมทีน่ ่ี เพราะทกุ คนเปดกวางเอาไวว า ถาเปนอยางนั้นจะไดไหม ถาเปนอยางน้ีจะไดไหม เราถือหลัก if-then law คอื conditionality ความมเี งอ่ื นไข สงิ่ ตา งๆ มเี งอ่ื นไข ผมไดเก็บเร่ืองน้ีเอาไวประมาณ ๔๐ กวาป ไมไดเลาให ใครฟง นอกจากลูกศิษยบ างคนทีใ่ กลช ิด แตไ มเ คยพดู ในทป่ี ระชุม สว นมากผมคดิ วา จะเลา เวลาผมใกลต าย ไมไ ดห มายความวา วนั นจ้ี ะ
๒๔๖ อัตตชวี ประวตั ิ อ.วศิน อนิ ทสระ ตายนะครบั แตข อโอกาสเลา เสยี วนั นี้ เพราะไมร วู า จะมโี อกาสไดพ ดู กับทานในปหนา หรอื เปลา คอื เมื่อสมยั ที่บวชเปน พระอยสู กั ๒-๓ พรรษา เกดิ ปว ย มากจนคิดวาจะตาย แลวนอนฝนไป ฝนวามียมทูต ๒ ตนมาพา ตวั ไป ลงนงั่ ในเรอื ผมนง่ั กลาง ยมทตู ทงั้ สองนง่ั หวั เรอื นงั่ ทา ยเรอื ในฝนผมก็เปนพระอยู ยมทูตพาไปพบทานผูใหญทานหน่ึง คิดวา เปน ทา นยมราช พอทา นเหน็ เขา ทา นพดู กบั ยมทตู ทงั้ สองวา “พาทา น มาทําไม เอาไวใหทานสั่งสอนประชาชน พาทานคืนไป” จากน้ัน ผมกต็ ่นื ข้ึน และโรคทีเ่ ปนอยกู ห็ ายดวย อนั ทจ่ี รงิ ผมตงั้ ใจไวก อ นหนา นนั้ แลว วา จะใชช วี ติ ประกาศ ศาสนาไปตลอดชีวติ จนกวา จะสิน้ ลมหายใจ ทก่ี ลา เลาเรื่องนี้ ซงึ่ ปด ไวต งั้ ๔๐ ป เพราะวนั นม้ี นั เกดิ วกิ ฤต คอื มอี าการเหมอื นวา จะ ส้ินชีวิต แตมันไมใชหรอก มันคงยังไมตาย แตก็ไมควรประมาท กเ็ ลยถอื โอกาสเลา เสยี ใหล กู ศษิ ยท งั้ หลายไดฟ ง แตบ างคนกค็ งเคย ไดฟงแลว เพราะผมจะเลาใหพวกเขาฟงเวลาท่ีชีวิตผมวิกฤต คือ ไมรูวา จะอยูหรือจะไป ทาํ นองนัน้ กต็ ้ังใจวา ไมวาอะไรจะเกิดข้ึน ก็ตามเถอะ จะขอทํางานดานนี้ตลอดไป ผมมีความรูสึกวามัน เปนหนาท่ีท่ีจะตองทํา จากการที่ไดรับอุปการะจากศาสนามา ตั้งแตผมเปนเด็กเรื่อยมาจนถึงวัยผูใหญ มาจนบัดนี้ก็ยังไดรับ
๒๔๗เลาไวในวันเกดิ อุปการะจากศาสนาอยู มีหนาที่ท่ีจะตองทําตอบแทน ท่ีจริงมี เรื่องจะเลาใหฟงเยอะ แตวากําลังของผมไมคอยมีที่จะเลา บางที ผมอานนิทานชาดกแลวน่ังน้ําตาไหล นึกถึงตัว คือนึกถึงเรื่องใน ชาดก แลว กน็ กึ ถงึ ตวั วา เขาชา งเหมอื นกบั เราจรงิ ๆ เราชา งเหมอื น กบั เขาจรงิ ๆ แลว กน็ งั่ นาํ้ ตาไหลดว ยความรสู กึ ประทบั ใจในคณุ สมบตั ิ ของผูนัน้ แมบ างทเี ปน สัตวเ ดรจั ฉานในชาดกกต็ าม อะไรควรไมควรอยางไร ผมก็ไดตัดสินใจท่ีจะพูดแลว ความจริงถาผมไมปวยวันน้ี ผมก็จะยังคงไมเลาเร่ืองความฝนน้ัน และขอบคณุ คณุ หมอปกาศติ ทไ่ี ดช ว ยเหลอื ใหค าํ แนะนาํ เกยี่ วกบั อาการ ปวยในวันน้ี ไดตรวจดูจนทําใหผมมีความม่ันใจในการที่จะพูด ผม เคยนกึ มาหลายครง้ั หลายหนวา สกั วนั หนงึ่ ผมจะตอ งคยุ กบั ทา นใน เรอื่ งนี้ คอื ในแบบนี้ แบบทผ่ี มนอนคยุ ใหฟ ง แลว กน็ กึ วา อาจจะ นอนคุยอยูในหอง และตอสายออกมา ไมนึกวาเวลาเชนนั้นจะมา ถึงเร็วอยางนี้ และก็มาถึงวันน้ี ในวันที่ผมอายุยางเขา ๗๐ ปมา ได ๔-๕ วัน ก็ขอปรารภเทาน้ีครบั
ชมรมกลั ยาณธรรม หนงั สือดีลําดับที่ ๑๔๘ อัตตชวี ประวัติ ของ อาจารยวศิน อินทสระ พิมพค รัง้ ที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๕ จํานวนพมิ พ ๔,๐๐๐ เลม จดั พมิ พโ ดย ชมรมกลั ยาณธรรม ๑๐๐ ถนนประโคนชยั ตาํ บลปากนาํ้ อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั สมทุ รปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศพั ท ๐-๒๗๐๒-๗๓๕๓ และ ๐-๒๗๐๒-๙๖๒๔ www.kanlayanatam.com ภาพปก/ออกแบบปก สวุ ดี ผอ งโสภา ออกแบบ/จดั ทาํ รปู เลม คนขา งหลงั / วชั รพล วงษอ นสุ าสน ภาพวาดดอกไมใ นเลม คณุ เคอ ซว่ิ เซยี ง บรษิ ัทขมุ ทองอุตสาหกรรมและการพิมพ พมิ พโ ดย จาํ กดั ๕๙/๘๔ หมู ๑๙ ถนนบรมราชชนนี แขวงศาลาธรรมสพน เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร ๑๐๑๗๐ โทรศพั ท ๐-๒๘๘๕-๗๘๗๑-๓ โทรสาร ๐-๒๘๘๕-๗๘๗๔ สัพพทานงั ธัมมทานัง ชนิ าติ การใหธ รรมะเปนทาน ยอ มชนะการใหท ง้ั ปวง www.kanlayanatam.com
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250