Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

Published by wansuraina, 2022-08-13 14:05:59

Description: หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

Search

Read the Text Version

1 หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตนั หยงลโุ ละ (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลาง ๒๕๕๑ บทท่ี ๑ สว่ นนำ ควำมหมำย หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตันหยงลุโละ พุทธศักราช ๒๕5๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 256๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นแผน หรือแนวทาง หรือข้อกาหนดของการจัดการศึกษาของโรงเรียนบ้านตันหยงลุโละ ท่ีจะใช้ในการจัดการเรียนการ สอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนด มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มี ความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ โดยมุ่งหวังให้มคี วามสมบูรณ์ท้ังด้านรา่ งกาย จิตใจ และสติปัญญา อีกทั้งมีความรู้และทักษะที่จาเป็นสาหรับการดารงชีวิต และมีคุณภาพได้ มาตรฐานสากลเพื่อการแข่งขันในยุคปัจจุบัน ดังน้ันหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตันหยงลุโละ พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ 256๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ จึงประกอบด้วยสาระสาคัญของหลักสูตรแกนกลาง สาระความรู้ท่ีเก่ียวข้องกับชุมชนท้องถ่ิน และสาระสาคัญท่ีสถานศึกษาพัฒนาเพ่ิมเติม โดยจัดเป็นสาระการเรียนรู้รายวิชาพ้ืนฐานตาม มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้รายวิชาเพ่ิมเติม จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็น รายปีในระดับประถมศึกษา เป็นรายภาคในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และกาหนดคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ของสถานศึกษาตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของหลักสูตรแกนการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคาส่ังกระทรวงศึกษาธิการท่ี สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคาส่ัง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ท่ี ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้ เปลย่ี นแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชว้ี ดั กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมีคาส่ังให้โรงเรียนดาเนินการใช้หลักสูตรในปีการศึกษา ๒๕๖๑ โดยให้ใช้ ในชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ และ ๔ ต้ังแต่ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ เป็นตน้ มา ให้เปน็ หลักสูตรแกนกลางของ ประเทศ โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนา คุณภาพผู้เรียนมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เพ่อื ใหส้ อดคลอ้ งกบั นโยบายและเป้าหมายของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน โรงเรียนบ้านตันหยงลุโละจึงได้ทาการปรับปรุงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เพื่อ นาไปใช้ประโยชน์และเปน็ กรอบในการวางแผนและพัฒนาหลกั สูตรของสถานศึกษาและจัดการเรยี น การสอน โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มีกระบวนการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ โดยมีการกาหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด โครงสร้างเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์การวัดประเมินผลให้มีความ

2 หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นตันหยงลุโละ (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ สอดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นรู้ เปิดโอกาสให้โรงเรยี นสามารถกาหนดทิศทางในการจัดทาหลักสูตร การเรียนการสอนในแต่ละระดับตามความพร้อมและจุดเน้นโดยมีกรอบแกนกลางเป็นแนวทางท่ี ชัดเจนเพ่ือตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ มีความพร้อมในการก้าวสู่สังคมคุณภาพ มีความรอู้ ย่างแท้จริง และมที ักษะในศตวรรษที่ ๒๑ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดท่ีกาหนดไว้ในเอกสารนี้ ช่วยทาให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ในทุกระดับเห็นผลคาดหวังท่ีต้องการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนท่ีชัดเจนตลอดแนว ซ่ึงจะ สามารถช่วยให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในระดับท้องถิ่นและสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่าง มั่นใจ ทาให้การจัดทาหลักสตู รในระดับสถานศึกษามีคุณภาพและมีความเป็นเอกภาพย่ิงข้ึน อีกท้ังยัง ช่วยให้เกิดความชัดเจนเร่ืองการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และช่วยแก้ปัญหาการเทียบโอน ระหว่างสถานศึกษา ดงั น้นั ในการพฒั นาหลกั สตู รในทุกระดับตงั้ แต่ระดบั ชาติจนกระทั่งถึงสถานศึกษา จะต้องสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมทั้งเป็นกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และครอบคลุมผู้เรียน ทุกกลมุ่ เป้าหมายในระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน การจัดหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจะประสบความสาเร็จตามเป้าหมายท่ีคาดหวังได้ ทุกฝ่าย ท่ีเก่ียวข้องท้ังระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมรบั ผิดชอบ โดยร่วมกันทางาน อย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง ในการวางแผน ดาเนินการ ส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจน ปรับปรุงแกไ้ ข เพือ่ พฒั นาเยาวชนของชาติไปสูค่ ุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ท่กี าหนดไว้ ควำมสำคญั หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตันหยงลุโละ พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 256๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มคี วามสาคญั ในการพัฒนาผเู้ รียนให้ มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามท่ีกาหนดไว้ เป็น แนวทางให้ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ครู อาจารย์ ตลอดจนผเู้ กย่ี วขอ้ งกบั การจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา ในการจัดมวลประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียนได้พัฒนาให้บรรลุถึงคุณภาพตามมาตรฐานในการพัฒนา เยาวชนของชาติ นอกเหนือจากการใช้เป็นแนวทาง หรือข้อกาหนดในการจัดการศึกษาของ สถานศึกษาให้บรรลุตามจุดหมายของการจัดการศึกษาแล้ว หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้าน ตันหยงลุโละ พุทธศักราช ๒๕5๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 256๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ท่ีพัฒนาข้ึน ยังเป็นหลักสูตรที่มีจุดมุ่งหมายให้ครอบครัว ชุมชน องค์กร ในท้องถ่ิน ท้ังภาครัฐและเอกชนเข้าร่วมจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยมีแนวทางสาคัญที่ สถานศึกษากาหนดไวใ้ นหลกั สูตรสถานศึกษา ดงั น้ี ๑. หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตันหยงลุโละ พุทธศักราช ๒๕5๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 256๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียน เกิดความสนุกสนาน และความเพลิดเพลินในการเรียนรู้ เปรียบเสมือนเป็นวิธีสร้างกาลังใจ และเร้า ใหเ้ กิดความก้าวหน้าแกผ่ ้เู รียนให้มากที่สดุ มคี วามรสู้ ูงสุด ผู้เรยี นทุกคนมีความเขม้ แขง็ ความสนใจ มีประสบการณ์ และความมั่นใจ เรียนและทางานอย่างเป็นอิสระและร่วมใจกัน มีทักษะในการอ่าน ออกเขียนได้ คิดเลขเป็น รู้ข้อมูลสารสนเทศ และเทคโนโลยีสื่อสาร ส่งเสริมจิตใจที่อยากรู้อยากเห็น และมกี ระบวนการคิดอย่างมีเหตผุ ล

3 หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นตันหยงลโุ ละ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ ๒. หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตันหยงลุโละ พุทธศักราช ๒๕5๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 256๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ส่งเสริมการพัฒนา ด้านจิตวิญญาณ จริยธรรม สังคม และวัฒนธรรม พัฒนาหลักการในการจาแนกระหว่างถูกและผิด เข้าใจและศรทั ธาในความเช่ือของตน ความเชื่อและวัฒนธรรมท่ีแตกตา่ งกัน พฒั นาหลักคุณธรรมและ ความอิสระของผู้เรียน และช่วยให้เป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบ สามารถช่วยพัฒนาสังคมให้เป็น ธรรมขึน้ มคี วามเสมอภาค พฒั นาความตระหนัก เขา้ ใจ และยอมรับสภาพแวดล้อมที่ตนดารงชีวิต อยู่ ยึดม่ันในข้อตกลงร่วมกนั ต่อการพฒั นาที่ยั่งยืนทั้งในระดบั ส่วนตน ระดับท้องถน่ิ ระดับชาติ และ ระดับโลก สร้างให้ผู้เรียนมีความพร้อมในการเป็นผู้บริโภคท่ีตัดสินใจแบบมีข้อมูล เป็นอิสระ และมี ความรบั ผดิ ชอบ ลักษณะของหลักสูตรสถำนศึกษำโรงเรียนบ้ำนตันหยงลุโละ พุทธศักรำช ๒๕5๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 256๐) หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตันหยงลุโละ พุทธศักราช ๒๕5๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 256๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นหลักสูตรที่สถานศึกษา ได้พัฒนาขึ้นเพ่ือพัฒนาผู้เรียนในระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาตอนต้น โดยยึดองค์ประกอบ หลักสาคัญ ๓ ส่วนคือ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สาระการ เรียนรูท้ อ้ งถิ่น และสาระสาคัญทสี่ ถานศึกษาพฒั นาเพิ่มเติม เปน็ กรอบในการจัดทารายละเอียดเพ่ือให้ เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานท่ีกาหนด เหมาะสมกบั สภาพชุมชนและท้องถิน่ และจุดเน้น ของสถานศึกษา โดยหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตันหยงลุโละ พุทธศักราช ๒๕5๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 256๐) ทพี่ ฒั นาขึน้ มลี กั ษณะของหลักสูตร ดงั นี้ ๑. เป็นหลักสูตรเฉพาะของสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตันหยงลุโละ สาหรับจัดการศึกษาใน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จัดระดับการศึกษาเป็น ๒ ระดับ คือ ระดับประถมศึกษา (ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ – ๖) และ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ (ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓) ๒. มคี วามเปน็ เอกภาพ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านตันหยงลโุ ละ พทุ ธศกั ราช ๒๕5๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 256๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เปน็ หลักสตู รของสถานศกึ ษาสาหรับใหค้ รูผู้สอนนาไปจดั การเรียนร้ไู ด้อย่างหลากหลาย โดยกาหนดให้ ๒.๑ มีสาระการเรียนรู้ที่สถานศึกษาใช้เป็นหลัก เพื่อสร้างพื้นฐานการคิด การเรียนรู้ และการแก้ปัญหา ประกอบด้วย ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคม ศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๒.๒ มีสาระการเรียนรู้ท่ีเสริมสร้างความเป็นมนุษย์ ศักยภาพการคิดและการ ทางาน ประกอบดว้ ย สขุ ศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษาองั กฤษ ๒.๓ มีสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม โดยจัดทาเป็นรายวิชาเพ่ิมเติมตามความเหมาะสม และสอดคล้องกับโครงสร้างเวลาเรียน สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น ความต้องการของผู้เรียน และบริบท ของสถานศึกษา ๒.๓ มีกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพ่ือพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ และ สังคม เสริมสร้างการเรียนรู้นอกจากสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่ม และการพัฒนาตนตาม ศกั ยภาพ

4 หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตนั หยงลโุ ละ (ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ ๒.๔ มีการกาหนดมาตรฐานของสถานศึกษาท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานระดับต่างๆ เพ่ือเป็นเป้าหมายของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา จัดทารายละเอียดสาระการ เรยี นรู้ และจดั กระบวนการเรียนรใู้ ห้สอดคล้องกบั สภาพในชมุ ชน สงั คม และภมู ิปัญญาท้องถิ่น ๓. มีมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสาคัญของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน หลักสูตร สถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านตนั หยงลุโละ พุทธศกั ราช ๒๕5๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 256๐) ตามหลกั สตู ร แกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ เป็นหลกั สูตรทีม่ มี าตรฐานเปน็ ตัวกาหนดเกี่ยวกับ คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรียน เพื่อเป็นแนวทางในการประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีการ กาหนดมาตรฐานไว้ดงั นี้ ๓.๑ มาตรฐานหลักสูตร เป็นมาตรฐานด้านผู้เรียนหรือผลผลิตของหลักสูตร สถานศึกษา อนั เกิดจากการ ไดร้ บั การอบรมส่งั สอนตามโครงสร้างของหลกั สูตรทั้งหมดใชเ้ ปน็ แนวทาง ในการตรวจสอบคุณภาพโดยรวมของการจัดการศึกษาตามหลักสตู รในทกุ ระดับ และสถานศึกษาต้อง ใช้สาหรับการประเมินตนเองเพื่อจัดทารายงานประจาปีตามบทบัญญัติในพระราชบัญญัติการศึกษา นอกจากนี้ยังเป็นแนวทางในการกาหนดแนวปฏิบัติในการส่งเสริม กากับ ติดตาม ดูแล และปรับปรุง คุณภาพ เพ่อื ให้ไดต้ ามมาตรฐานที่กาหนด ๓.๒ มีตัวชี้วัดช้ันปี เป็นเป้าหมายระบุสิ่งท่ีนักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้ง คุณลักษณะของผ้เู รียนในแตล่ ะระดบั ชั้นซึ่งสะท้อนถงึ มาตรฐานการเรียนรู้ มคี วามเฉพาะเจาะจง และ มีความเปน็ รูปธรรม นาไปใชใ้ นการกาหนดเน้ือหา จัดทาหนว่ ยการเรียนรู้ จดั การเรยี นการสอน และ เปน็ เกณฑส์ าคัญสาหรับการวัดประเมินผลเพื่อตรวจสอบคณุ ภาพผู้เรียน ตรวจสอบพฒั นาการผู้เรียน ความรู้ ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์ และเป็นหลักในการ เทียบโอนความรู้และประสบการณจ์ ากการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ๓.๓ มีความเป็นสากล ความเป็นสากลของหลักสูตรสถานศึกษา คือมุ่งให้ผู้เรียนมี ความรู้ ความสามารถในเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาษาอังกฤษ การจัดการส่ิงแวดล้อม ภูมิปัญญา ทอ้ งถิ่น มคี ณุ ลกั ษณะท่จี าเปน็ ในการอยใู่ นสงั คมไดแ้ ก่ ความซือ่ สัตย์ ความรับผดิ ชอบ การตรงตอ่ เวลา การเสยี สละ การเอ้ือเฟ้ือ โดยอยูบ่ นพืน้ ฐานของความพอดรี ะหวา่ งการเปน็ ผ้นู า และผ้ตู าม การทางานเป็นทีม และการทางานตามลาพังการแข่งขัน การรู้จักพอ และการร่วมมือกันเพื่อสังคม วิทยาการสมยั ใหม่ และภมู ิปัญญาท้องถ่ิน การรบั วฒั นธรรมต่างประเทศ และการอนรุ ักษว์ ฒั นธรรม ไทยการฝึกฝนทักษะเฉพาะทาง และการบรู ณาการในลกั ษณะทเ่ี ปน็ องค์รวม ๔. มคี วามยดื หยนุ่ หลากหลาย หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นตนั หยงลโุ ละ เป็นหลกั สูตร ทีส่ ถานศึกษาจัดทารายละเอียดต่าง ๆ ข้ึนเอง โดยยดึ โครงสร้างหลักท่ีกาหนดไวใ้ นหลักสตู รแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นขอบข่ายในการจัดทา จึงทาให้หลักสูตรของ สถานศึกษามีความยืดหยุ่น หลากหลาย สอดคล้องกับสภาพปัญหา และความต้องการของท้องถ่ิน โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ มคี วามเหมาะสมกบั ตวั ผูเ้ รียน ๕. การวัดและประเมินผลเน้นหลกั การพื้นฐานสองประการคือการประเมินเพ่ือพัฒนาผู้เรียน และเพื่อตัดสินผลการเรียน โดยผู้เรียนต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชวี้ ดั เพ่ือให้บรรลตุ าม มาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสาคญั และคุณลักษณะอนั พึงประสงคข์ องผูเ้ รยี นเปน็ เป้าหมาย หลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับไม่ว่าจะเป็นระดับช้ันเรียน ระดับสถานศึกษา ระดบั เขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา และระดบั ชาติ การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้

5 หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตันหยงลโุ ละ (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูลและสารสนเทศท่ีแสดง พัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสาเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ตอ่ การส่งเสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดการพัฒนาและเรียนร้อู ย่างเตม็ ตามศักยภาพ ปรชั ญำกำรศกึ ษำ การจัดการศกึ ษา เพ่ือพัฒนาศกั ยภาพความเป็นมนุษย์ทส่ี มบูรณ์ เกดิ คุณค่าตอ่ ตนเองและ สงั คม วสิ ยั ทัศน์ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตันหยงลุโละ มุ่งจัดการศึกษาตามมาตรฐานสากล ชุมชน เข้ามามีส่วนร่วม สานึกรักษ์บ้านเกิด ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมตามหลักศาสนา น้อมนาปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง รูเ้ ทา่ ทันเทคโนโลยี และเปน็ พลเมอื งทีด่ ีของสงั คมอาเซียน หลกั กำร หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตันหยงลุโละ พุทธศักราช ๒๕5๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 256๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มีหลักการที่สาคัญตาม หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มีหลกั การท่สี าคัญ ดังน้ี ๑. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการ เรียนรู้เปน็ เป้าหมายสาหรบั พัฒนาเด็กและเยาวชนให้มคี วามรู้ ทกั ษะ เจตคติ และคณุ ธรรมบนพน้ื ฐาน ของความเปน็ ไทยควบคู่กบั ความเป็นสากล ๒. เป็นหลักสูตรการศกึ ษาเพ่ือปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่าง เสมอภาค และมีคุณภาพ ๓. เปน็ หลกั สูตรการศึกษาทสี่ นองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีสว่ นรว่ มในการจดั การศึกษา ใหส้ อดคล้องกับสภาพและความตอ้ งการของท้องถิน่ ๔. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นท้ังด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัด การเรยี นรู้ ๕. เปน็ หลกั สูตรการศกึ ษาที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั ๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลมุ ทกุ กลุม่ เปา้ หมาย สามารถเทียบโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์

6 หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตนั หยงลุโละ (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลาง ๒๕๕๑ จุดหมำย หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตนั หยงลุโละ พทุ ธศักราช ๒๕5๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 256๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มงุ่ พัฒนาผู้เรียนใหเ้ ป็นคนดี มปี ญั ญา มีความสุข มีศักยภาพในการศกึ ษาต่อ และประกอบอาชพี จงึ กาหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้ เกิดกับผเู้ รยี น เมื่อจบการศึกษาตามหลกั สูตร ดังน้ี ๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและ ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ๒. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมี ทักษะชวี ิต ๓. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ดี ี มสี ุขนสิ ยั และรกั การออกกาลงั กาย ๔. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถีชีวิตและ การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข ๕. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา ส่ิงแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และสร้างส่ิงท่ีดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคม อยา่ งมคี วามสขุ สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นตันหยงลโุ ละ พุทธศักราช ๒๕5๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 256๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ มุ่งเนน้ พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานท่ีกาหนด ซ่ึงจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญและ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ดงั น้ี สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตันหยงลุโละ พุทธศักราช ๒๕5๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 256๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะ สาคัญ ๕ ประการ ดังนี้ ๑. ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร เปน็ ความสามารถในการรับและส่งสาร มวี ฒั นธรรมในการ ใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูล ขา่ วสารและประสบการณ์อนั จะเปน็ ประโยชน์ต่อการพฒั นาตนเองและสงั คม รวมท้งั การเจรจาต่อรอง เพ่ือขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและ ความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วธิ ีการส่อื สารที่มีประสทิ ธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเอง และสงั คม ๒. ควำมสำมำรถในกำรคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การ คิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ ความรูห้ รือสารสนเทศเพ่ือการตัดสินใจเกี่ยวกบั ตนเองและสงั คมได้อย่างเหมาะสม

7 หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นตันหยงลโุ ละ (ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลาง ๒๕๕๑ ๓. ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสัมพันธ์และการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มา ใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจท่ีมีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบท่ีเกิดขน้ึ ตอ่ ตนเอง สงั คมและสิ่งแวดล้อม ๔. ควำมสำมำรถในกำรใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไป ใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการ อย่รู ่วมกนั ในสงั คม ด้วยการสรา้ งเสริมความสัมพนั ธ์อันดรี ะหว่างบุคคล การจดั การปญั หาและความ ขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรูจ้ กั หลกี เลย่ี งพฤตกิ รรมไมพ่ ึงประสงค์ทสี่ ง่ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อนื่ ๕. ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยี ด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการ เ รี ย น รู้ การส่ือสาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมคี ุณธรรม คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตันหยงลุโละ พุทธศักราช ๒๕5๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 256๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็น พลเมืองไทยและพลโลก ดงั น้ี ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๒. ซอ่ื สตั ยส์ จุ ริต ๓. มวี ินัย ๔. ใฝเ่ รียนรู้ ๕. อย่อู ย่างพอเพยี ง ๖. มุง่ มั่นในการทางาน ๗. รักความเปน็ ไทย ๘. มจี ติ สาธารณะ ๙. รักการอ่านอัล-กรุอาน ๑๐. รักการละหมาด ๑๑. รักความสะอาด ๑๒. มีมารยาทแบบอสิ ลาม ๑๓. มคี วามรบั ผดิ ชอบ

8 หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นตันหยงลโุ ละ (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ บทท่ี ๒ โครงสร้ำงหลกั สตู รสถำนศกึ ษำ โครงสรำ้ งหลักสตู รสถำนศกึ ษำโรงเรยี นบ้ำนตนั หยงลุโละ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตันหยงลุโละ พุทธศักราช ๒๕5๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 256๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กาหนดโครงสร้างของ หลกั สูตรสถานศกึ ษา เพื่อให้ผูส้ อน และผ้ทู ีเ่ กี่ยวข้องในการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรของสถานศึกษา มีแนวปฏิบตั ิ ดังน้ี ๑. ระดับการศึกษา กาหนดหลักสูตรเปน็ ๑ ระดับ ตามโครงสร้างของหลกั สูตรแกนกลาง การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และตามภารกจิ หลักของการจดั การเรยี นการสอนในระดับ ประถมศกึ ษา ดงั น้ี ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ๖) การศึกษาระดับน้ีเป็นช่วงแรก ของการศกึ ษาภาคบงั คับ มุ่งเน้นทกั ษะพ้นื ฐานด้านการอ่าน การเขียน การคิดคานวณ ทักษะการ คิดพ้ืนฐาน การติดต่อส่ือสาร กระบวนการเรียนรู้ทางสังคม และพ้ืนฐานความเป็นมนุษย์ การพัฒนา คุณภาพชวี ิตอยา่ งสมบูรณ์และสมดุลท้ังในด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และวฒั นธรรม โดย เน้นจดั การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการ ๒. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ในหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตันหยงลุโละ พุทธศักราช ๒๕5๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 256๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ไดก้ าหนดไวใ้ นหลักสูตร ประกอบด้วยองค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้ และคุณลักษณะหรอื ค่านิยม คณุ ธรรม จรยิ ธรรมของผู้เรยี น ๘ กลุ่ม คือ ๒.๑ ภาษาไทย ๒.๒ คณติ ศาสตร์ ๒.๓ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒.๔ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๒.๕ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๒.๖ ศิลปะ ๒.๗ การงานอาชีพ ๒.๘ ภาษาอังกฤษ ๓. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสานึกของการทา ประโยชน์เพ่ือสังคม สามารถจัดการตนเองได้ และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข แบ่งเป็น ๓ ลกั ษณะ ดงั น้ี

9 หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นตันหยงลุโละ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ ๓.๑ กิจกรรมแนะแนว เป็นกจิ กรรมทส่ี ง่ เสรมิ และพัฒนาผ้เู รยี นใหร้ ูจ้ กั ตนเอง รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถคิดตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กาหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตท้ังด้านการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ทั้งยังเป็น กิจกรรมทช่ี ว่ ยเหลือและใหค้ าปรึกษาแกผ่ ้ปู กครองในการมสี ว่ นร่วมพฒั นาผเู้ รียน ๓.๒ กิจกรรมนักเรียน เปน็ กิจกรรมที่มุง่ พฒั นาความมรี ะเบียบวนิ ัย ความเป็นผู้นา ผู้ตามท่ีดี ความรับผิดชอบ การทางานร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจท่ีเหมาะสม ความมี เหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปันกัน เอ้ืออาทร และสมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนดั และความสนใจของผเู้ รียน ให้ได้ปฏิบัติดว้ ยตนเองในทุกขัน้ ตอน ได้แก่ การศกึ ษาวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรับปรงุ การทางาน เน้นการทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม ตามความ เหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียน บริบทของสถานศึกษาและท้องถ่ิน กิจกรรมนักเรียน ในหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตันหยงลุโละ พุทธศักราช ๒๕5๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 256๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประกอบดว้ ย ๓.๒.๑ กจิ กรรมลกู เสือ - เนตรนารี ๓.๒.๒ กิจกรรมชมุ นุม ๓.๓ กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียน บาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถ่ินตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อ แสดงถงึ ความรบั ผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละตอ่ สังคม มีจิตสาธารณะ ๔. เวลาเรียน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตันหยงลุโละ พุทธศักราช ๒๕5๑ (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. 256๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กาหนด กรอบโครงสร้างเวลาเรียนขั้นต่าสาหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่ม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ซ่ึง ผู้สอนสามารถเพ่ิมเติมได้ตามความพร้อมและจุดเน้นของสถานศึกษา โดยสามารถปรับให้เหมาะสม ตามบรบิ ทของสถานศกึ ษาและสภาพของผู้เรียน ดังนี้ ระดับช้ันประถมศึกษา (ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ๖) ให้จัดเวลาเรียนเป็นรายปี โดย มเี วลาเรยี นวันละ ไม่เกิน ๗ ชวั่ โมง

10 หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นตันหยงลโุ ละ (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ โครงสรำ้ งหลักสตู รชัน้ ปี ระดับชนั้ ประถมศกึ ษำ เวลำเรียน กล่มุ สำระกำรเรยี นรู้/ กจิ กรรม ระดบั ช้นั ประถมศึกษำ ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้ ภาษาไทย ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ - ประวตั ิศาสตร์ (๔๐) (๔๐) (๔๐) (๔๐) (๔๐) (๔๐) - ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม - หนา้ ท่ีพลเมอื ง วัฒนธรรม และการ ดาเนินชวี ติ ในสังคม (๘๐) (๘๐) (๘๐) (๘๐) (๘๐) (๘๐) - เศรษฐศาสตร์ - ภูมิศาสตร์ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ศิลปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ การงานอาชีพ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ภาษาตา่ งประเทศ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ รวมเวลาเรียน (พืน้ ฐาน) ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ รำยวิชำเพิม่ เตมิ ภาษาองั กฤษเพื่อการสือ่ สาร ๘๐ ๘๐ ๘๐ - - - ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ หน้าทีพ่ ลเมอื ง ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ภาษาอาหรบั ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ภาษามลายู ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ อัล-กรอุ าน ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ อัล-อากีดะฮฺ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ อตั ตารคี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ อลั -อัคลาส ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ อลั -ฟกิ ฮฺ อลั -หาดิษ เวลำเรยี น กลุ่มสำระกำรเรียนรู/้ กิจกรรม ระดบั ชั้นประถมศกึ ษำ

11 หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านตนั หยงลโุ ละ (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลาง ๒๕๕๑ กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้ ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ รวมเวลาวิชาเพิม่ เตมิ ๔๔๐ ๔๔๐ ๔๔๐ ๓๖๐ ๓๖๐ ๓๖๐ กิจกรรมพัฒนำผ้เู รียน ๑. กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๒. กิจกรรมลูกเสอื – เนตรนารี ๓๕ ๓๕ ๓๕ ๓๕ ๓๕ ๓๕ ๓. กิจกรรมชมุ นมุ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔. กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและ ๕๕๕๕๕๕ สาธารณประโยชน์ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ รวมเวลากจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ๑,๔๐๐ ๑,๔๐๐ ๑,๔๐๐ ๑,๓๒๐ ๑,๓๒๐ ๑,๓๒๐ รวมเวลำเรยี นทงั้ หมด

12 หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นตนั หยงลุโละ (ฉบับปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ โครงสร้ำงและอัตรำเวลำกำรจดั กำรเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษำ ชัน้ ประถมศึกษำปีท่ี ๑ รหัสวิชำ ช ม . / ปี ( ค ำ บ / กลมุ่ สำระกำรเรยี นร/ู้ กจิ กรรม สัปดำห์) รำยวชิ ำพ้ืนฐำน ๒๐๐ (๕) ๒๐๐ (๕) ภาษาไทย ท ๑๑๑๐๑ ๘๐ (๒) ๘๐ (๒) คณิตศาสตร์ ค ๑๑๑๐๑ ๔๐ (๑) วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ว ๑๑๑๐๑ ๔๐ (๑) ๔๐ (๑) สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส ๑๑๑๐๑ ๔๐ (๑) - ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม ๑๒๐ (๓) ๘๔๐ (๒๑) - หนา้ ท่ีพลเมอื ง วัฒนธรรม และการดาเนนิ ชีวิตในสังคม ๘๐ (๒) - เศรษฐศาสตร์ ๔๐ (๑) ๔๐ (๑) - ภมู ิศาสตร์ ๔๐ (๑) ๔๐ (๑) ประวัติศาสตร์ ส ๑๑๑๐๒ ๔๐ (๑) ๔๐ (๑) สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา พ ๑๑๑๐๑ ๔๐ (๑) ๔๐ (๑) ศิลปะ ศ ๑๑๑๐๑ ๔๐ (๑) ๔๔๐ (๑๑) การงานอาชพี และเทคโนโลยี ง ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ อ ๑๑๑๐๑ รวมเวลำวชิ ำพ้ืนฐำน รำยวชิ ำเพิ่มเตมิ ภาษาองั กฤษเพ่อื การสอ่ื สาร อ ๑๑๒๐๑ หน้าทพ่ี ลเมือง ส ๑๑๒๐๑ ภาษาอาหรบั ร ๑๑๒๐๑ ภาษามลายู ย ๑๑๒๐๑ อัล-กรุอาน ส ๑๑๒๐๒ อลั -อากีดะฮฺ ส ๑๑๒๐๓ อัตตารคี ส ๑๑๒๐๔ อัล-อคั ลาส ส ๑๑๒๐๕ อัล-ฟิกฮฺ ส ๑๑๒๐๖ อัล-หาดิษ ส ๑๑๒๐๗ รวมเวลำวิชำเพ่ิมเติม

13 หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านตันหยงลุโละ (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลาง ๒๕๕๑ ชน้ั ประถมศึกษำปที ่ี ๑ ช ม . / ปี ( ค ำ บ / กลุ่มสำระกำรเรียนรู้/ กจิ กรรม สัปดำห)์ กจิ กรรมพัฒนำผูเ้ รยี น ๔๐ (๑) กิจกรรมแนะแนว ๓๕ (๑) กจิ กรรมลูกเสอื -เนตรนารี ๔๐ (๑) กจิ กรรมชุมนุม ๕ กจิ กรรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ ๑๒๐ (๓) ๑,๔๐๐(๓๕) รวมเวลำกิจกรรมพัฒนำผู้เรียน รวมเวลำเรยี นท้ังหมด

14 หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านตนั หยงลุโละ (ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลาง ๒๕๕๑ ชน้ั ประถมศกึ ษำปีที่ ๒ รหัสวิชำ ช ม . / ปี ( ค ำ บ / กลมุ่ สำระกำรเรยี นร้/ู กจิ กรรม สปั ดำห์) รำยวิชำพื้นฐำน ๒๐๐ (๕) ๒๐๐ (๕) ภาษาไทย ท ๑๒๑๐๑ ๘๐ (๒) ๘๐ (๒) คณิตศาสตร์ ค ๑๒๑๐๑ ๔๐ (๑) วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ว ๑๒๑๐๑ ๔๐ (๑) ๔๐ (๑) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส ๑๒๑๐๑ ๔๐ (๑) - ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ๑๒๐ (๓) ๘๔๐ (๒๑) - หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาเนินชวี ติ ในสงั คม ๘๐ (๒) - เศรษฐศาสตร์ ๔๐ (๑) ๔๐ (๑) - ภมู ศิ าสตร์ ๔๐ (๑) ๔๐ (๑) ประวตั ศิ าสตร์ ส ๑๒๑๐๒ ๔๐ (๑) ๔๐ (๑) สุขศึกษาและพลศกึ ษา พ ๑๒๑๐๑ ๔๐ (๑) ๔๐ (๑) ศลิ ปะ ศ ๑๒๑๐๑ ๔๐ (๑) ๔๔๐ (๑๑) การงานอาชพี และเทคโนโลยี ง ๑๒๑๐๑ ๔๐ (๑) ภาษาอังกฤษ อ ๑๒๑๐๑ ๓๕ (๑) ๔๐ (๑) รวมเวลำวิชำพื้นฐำน ๕ ๑๒๐ (๓) รำยวชิ ำเพม่ิ เตมิ ๑,๔๐๐(๓๕) ภาษาองั กฤษเพือ่ การสื่อสาร อ ๑๒๒๐๑ หน้าท่ีพลเมอื ง ส ๑๒๒๐๑ ภาษาอาหรบั ร ๑๒๒๐๑ ภาษามลายู ย ๑๒๒๐๑ อลั -กรอุ าน ส ๑๒๒๐๒ อัล-อากดี ะฮฺ ส ๑๒๒๐๓ อตั ตารีค ส ๑๒๒๐๔ อัล-อัคลาส ส ๑๒๒๐๕ อลั -ฟกิ ฮฺ ส ๑๒๒๐๖ อัล-หาดิษ ส ๑๒๒๐๗ รวมเวลำวชิ ำเพม่ิ เตมิ กิจกรรมพฒั นำผเู้ รยี น กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมลกู เสอื -เนตรนารี กจิ กรรมชุมนุม กจิ กรรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลำกิจกรรมพฒั นำผ้เู รียน รวมเวลำเรียนทงั้ หมด

15 หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านตนั หยงลโุ ละ (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ ชั้นประถมศกึ ษำปีที่ ๓ รหัสวิชำ ช ม . / ปี ( ค ำ บ / กลุ่มสำระกำรเรยี นร้/ู กิจกรรม สัปดำห)์ รำยวชิ ำพื้นฐำน ท ๑๓๑๐๑ ๒๐๐ (๕) ภาษาไทย ค ๑๓๑๐๑ ๒๐๐ (๕) คณิตศาสตร์ ว ๑๓๑๐๑ ๘๐ (๒) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐ (๒) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส ๑๓๑๐๑ - ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม ๔๐ (๑) ๔๐ (๑) - หน้าท่ีพลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม ๔๐ (๑) ๔๐ (๑) - เศรษฐศาสตร์ - ภูมิศาสตร์ ๑๒๐ (๓) ๘๔๐ (๒๑) ประวตั ศิ าสตร์ ส ๑๓๑๐๒ ๘๐ (๒) สุขศึกษาและพลศึกษา พ ๑๓๑๐๑ ๔๐ (๑) ๔๐ (๑) ศลิ ปะ ศ ๑๓๑๐๑ ๔๐ (๑) ๔๐ (๑) การงานอาชีพและเทคโนโลยี ง ๑๓๑๐๑ ๔๐ (๑) ๔๐ (๑) ภาษาองั กฤษ อ ๑๓๑๐๑ ๔๐ (๑) ๔๐ (๑) รวมเวลำวิชำพืน้ ฐำน ๔๐ (๑) ๔๔๐ (๑๑) รำยวชิ ำเพิม่ เติม ๔๐ (๑) ภาษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สาร อ ๑๓๒๐๑ ๓๕ (๑) ๔๐ (๑) หนา้ ท่ีพลเมอื ง ส ๑๓๒๐๑ ๕ ๑๒๐ (๓) ภาษาอาหรับ ร ๑๓๒๐๑ ๑,๔๐๐(๓๕) ภาษามลายู ย ๑๓๒๐๑ อลั -กรอุ าน ส ๑๓๒๐๒ อลั -อากดี ะฮฺ ส ๑๓๒๐๓ อตั ตารคี ส ๑๓๒๐๔ อลั -อัคลาส ส ๑๓๒๐๕ อัล-ฟกิ ฮฺ ส ๑๓๒๐๖ อลั -หาดษิ ส ๑๓๒๐๗ รวมเวลำวิชำเพ่มิ เติม กจิ กรรมพฒั นำผ้เู รียน กิจกรรมแนะแนว กจิ กรรมลกู เสอื -เนตรนารี กิจกรรมชมุ นมุ กิจกรรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลำกจิ กรรมพัฒนำผ้เู รียน รวมเวลำเรียนท้งั หมด

16 หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตนั หยงลโุ ละ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ ชัน้ ประถมศกึ ษำปีท่ี ๔ รหัสวชิ ำ ช ม . / ปี ( ค ำ บ / กลุม่ สำระกำรเรยี นร/ู้ กิจกรรม สปั ดำห)์ รำยวชิ ำพ้ืนฐำน ๑๖๐ (๔) ๑๖๐ (๔) ภาษาไทย ท ๑๔๑๐๑ ๑๒๐ (๓) คณิตศาสตร์ ค ๑๔๑๐๑ ๘๐ (๒) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ว ๑๔๑๐๑ ๔๐ (๑) ๘๐ (๒) สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๘๐ (๒) ๔๐ (๑) - ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม ส ๑๔๑๐๑ ๘๐ (๒) ๘๔๐ (๒๑) - หน้าทพี่ ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดาเนินชวี ติ ในสงั คม ๔๐ (๑) - เศรษฐศาสตร์ ๔๐ (๑) ๔๐ (๑) - ภูมิศาสตร์ ๔๐ (๑) ๔๐ (๑) ประวัตศิ าสตร์ ส ๑๔๑๐๒ ๔๐ (๑) ๔๐ (๑) สุขศึกษาและพลศกึ ษา พ ๑๔๑๐๑ ๔๐ (๑) ๔๐ (๑) ศลิ ปะ ศ ๑๔๑๐๑ ๓๖๐ (๙) การงานอาชพี และเทคโนโลยี ง ๑๔๑๐๑ ๔๐ (๑) ๓๕ (๑) ภาษาองั กฤษ อ ๑๔๑๐๑ ๔๐ (๑) ๕ รวมเวลำวิชำพ้ืนฐำน ๑๒๐ (๓) ๑,๓๒๐(๓๓) รำยวิชำเพ่ิมเติม หนา้ ทีพ่ ลเมือง ส ๑๔๒๐๑ ภาษาอาหรบั ร ๑๔๒๐๑ ภาษามลายู ย ๑๔๒๐๑ อลั -กรอุ าน ส ๑๔๒๐๒ อัล-อากีดะฮฺ ส ๑๔๒๐๓ อัตตารีค ส ๑๔๒๐๔ อัล-อัคลาส ส ๑๔๒๐๕ อัล-ฟกิ ฮฺ ส ๑๔๒๐๖ อลั -หาดษิ ส ๑๔๒๐๗ รวมเวลำวชิ ำเพิ่มเติม กจิ กรรมพฒั นำผ้เู รียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสอื -เนตรนารี กจิ กรรมชมุ นมุ กิจกรรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลำกจิ กรรมพฒั นำผู้เรียน รวมเวลำเรียนท้งั หมด

17 หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านตนั หยงลุโละ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ ชัน้ ประถมศกึ ษำปีท่ี ๕ รหสั วชิ ำ ช ม . / ปี ( ค ำ บ / กลมุ่ สำระกำรเรยี นร/ู้ กจิ กรรม สปั ดำห)์ รำยวชิ ำพนื้ ฐำน ท ๑๕๑๐๑ ๑๖๐ (๔) ภาษาไทย ค ๑๕๑๐๑ ๑๖๐ (๔) คณติ ศาสตร์ ว ๑๕๑๐๑ ๑๒๐ (๓) วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๘๐ (๒) สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส ๑๕๑๐๑ - ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม ๔๐ (๑) ๘๐ (๒) - หนา้ ท่พี ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาเนินชีวติ ในสงั คม ๘๐ (๒) ๔๐ (๑) - เศรษฐศาสตร์ ๘๐ (๒) ๘๔๐ (๒๑) - ภูมศิ าสตร์ ๔๐ (๑) ประวตั ิศาสตร์ ส ๑๕๑๐๒ ๔๐ (๑) ๔๐ (๑) สุขศกึ ษาและพลศึกษา พ ๑๕๑๐๑ ๔๐ (๑) ๔๐ (๑) ศิลปะ ศ ๑๕๑๐๑ ๔๐ (๑) ๔๐ (๑) การงานอาชพี และเทคโนโลยี ง ๑๕๑๐๑ ๔๐ (๑) ๔๐ (๑) ภาษาอังกฤษ อ ๑๕๑๐๑ ๓๖๐ (๙) รวมเวลำวชิ ำพื้นฐำน ๔๐ (๑) ๓๕ (๑) รำยวชิ ำเพิ่มเติม ๔๐ (๑) ๕ หน้าท่ีพลเมอื ง ส ๑๕๒๐๑ ๑๒๐ (๓) ๑,๓๒๐(๓๓) ภาษาอาหรบั ร ๑๕๒๐๑ ภาษามลายู ย ๑๕๒๐๑ อัล-กรอุ าน ส ๑๕๒๐๒ อลั -อากดี ะฮฺ ส ๑๕๒๐๓ อัตตารีค ส ๑๕๒๐๔ อัล-อัคลาส ส ๑๕๒๐๕ อัล-ฟิกฮฺ ส ๑๕๒๐๖ อลั -หาดษิ ส ๑๕๒๐๗ รวมเวลำวิชำเพม่ิ เติม กจิ กรรมพัฒนำผเู้ รยี น กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี กจิ กรรมชมุ นุม กจิ กรรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลำกจิ กรรมพัฒนำผู้เรียน รวมเวลำเรยี นทงั้ หมด

18 หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านตนั หยงลุโละ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ ชัน้ ประถมศกึ ษำปีท่ี ๖ รหสั วชิ ำ ช ม . / ปี ( ค ำ บ / กลมุ่ สำระกำรเรยี นร/ู้ กจิ กรรม สปั ดำห)์ รำยวชิ ำพนื้ ฐำน ท ๑๖๑๐๑ ๑๖๐ (๔) ภาษาไทย ค ๑๖๑๐๑ ๑๖๐ (๔) คณติ ศาสตร์ ว ๑๖๑๐๑ ๑๒๐ (๒) วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๘๐ (๒) สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส ๑๖๑๐๑ - ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม ๔๐ (๑) ๘๐ (๒) - หนา้ ท่พี ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาเนินชีวติ ในสงั คม ๘๐ (๒) ๔๐ (๑) - เศรษฐศาสตร์ ๘๐ (๒) ๘๔๐ (๒๑) - ภูมศิ าสตร์ ๔๐ (๑) ประวตั ิศาสตร์ ส ๑๖๑๐๒ ๔๐ (๑) ๔๐ (๑) สุขศกึ ษาและพลศึกษา พ ๑๖๑๐๑ ๔๐ (๑) ๔๐ (๑) ศิลปะ ศ ๑๖๑๐๑ ๔๐ (๑) ๔๐ (๑) การงานอาชพี และเทคโนโลยี ง ๑๖๑๐๑ ๔๐ (๑) ๔๐ (๑) ภาษาอังกฤษ อ ๑๖๑๐๑ ๓๖๐ (๙) รวมเวลำวชิ ำพื้นฐำน ๔๐ (๑) ๓๕ (๑) รำยวชิ ำเพิ่มเติม ๔๐ (๑) ๕ หน้าท่ีพลเมอื ง ส ๑๕๒๐๑ ๑๒๐ (๓) ๑,๓๒๐(๓๓) ภาษาอาหรบั ร ๑๕๒๐๑ ภาษามลายู ย ๑๕๒๐๑ อัล-กรอุ าน ส ๑๕๒๐๒ อลั -อากดี ะฮฺ ส ๑๕๒๐๓ อัตตารีค ส ๑๕๒๐๔ อัล-อัคลาส ส ๑๕๒๐๕ อัล-ฟิกฮฺ ส ๑๕๒๐๖ อลั -หาดษิ ส ๑๕๒๐๗ รวมเวลำวิชำเพม่ิ เติม กจิ กรรมพัฒนำผเู้ รยี น กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี กจิ กรรมชมุ นุม กจิ กรรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลำกจิ กรรมพัฒนำผู้เรียน รวมเวลำเรยี นทงั้ หมด

19 หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นตนั หยงลุโละ (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ บทที่ ๓ สำระกำรเรยี นรู้ หลักสูตรสถำนศึกษำ โรงเรยี นบำ้ นตันหยงลุโละ สาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย องค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้ และคุณลักษณะ อันพึง ประสงค์ ซึ่งกาหนดให้ผ้เู รียนทกุ คนในระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานจาเปน็ ต้องเรยี นรู้ โดยแบ่งเปน็ ๘ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ กลุ่มสำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ และเสรมิ สร้างบุคลิกภาพของคนในชาติใหม้ ีความเปน็ ไทย เปน็ เครอ่ื งมือในการติดต่อสื่อสารเพ่ือสร้าง ความเข้าใจและความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทาให้สามารถประกอบกิจธรุ ะ การงาน และดารงชีวิตรว่ มกนั ในสังคมประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข และเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ประสบการณ์จาก แหล่งข้อมูลสารสนเทศต่างๆ เพื่อพัฒนาความรู้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และ สร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงทางสังคม และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเป็นส่ือแสดงภูมิ ปัญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี และสุนทรียภาพ เป็นสมบตั ิล้าคา่ ควรแก่การเรียนรู้ อนุรักษ์ และสบื สานให้คงอยคู่ ชู่ าติไทยตลอดไป สำระและมำตรฐำนกำรเรยี นรู้ สำระท่ี ๑ กำรอ่ำน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอ่ื นาไปใชต้ ัดสินใจ แกป้ ญั หา ในการดาเนินชวี ิตและมนี สิ ยั รักการอา่ น สำระที่ ๒ กำรเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเร่ืองราวใน รูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษา คน้ คว้าอยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ สำระท่ี ๓ กำรฟงั กำรดู และกำรพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟังและดูอยา่ งมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และ ความรู้สกึ ในโอกาสตา่ งๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ สำระท่ี ๔ หลักกำรใชภ้ ำษำไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและ พลงั ข ภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัตขิ องชาติ สำระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น คุณคา่ และนามาประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ จรงิ

20 หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตันหยงลโุ ละ (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ท๑๑๑๐๑ ภำษำไทย รำยวชิ ำพ้นื ฐำน กลมุ่ สำระกำรเรียนร้ภู ำษำไทย ช้นั ประถมศกึ ษำปีท่ี ๑ เวลำ ๒๐๐ ชวั่ โมง ...................................................................................................................................................... ฝกึ อ่านออกเสียงคา คาคล้องจอง และขอ้ ความสั้น ๆ บอกความหมายของคาและข้อความ ตอบคาถาม เล่าเรื่องย่อ คาดคะเนเหตุการณ์ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่าเสมอ นาเสนอเร่ืองท่ีอ่าน บอกความหมายของเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์สาคัญท่ีมักพบเห็นใน ชีวติ ประจาวนั มีมารยาทในการอา่ น ฝึกคัดลายมอื ดว้ ยตัวบรรจงเตม็ บรรทดั เขียนสอ่ื สารด้วยคาและประโยคงา่ ยๆ มีมารยาท การเขียน ฝึกทักษะในการฟัง ฟังคาแนะนา คาส่ังง่ายๆ และปฏิบัติตาม ตอบคาถาม เล่าเร่ือง พูด แสดงความคิดเห็นและความรสู้ ึกจากเรื่องท่ีฟงั และดู พดู สอ่ื สารได้ตามวัตถุประสงค์ เน้นมารยาทใน การฟัง การดแู ละการพดู ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคาและบอก ความหมายของคา เรยี บเรยี งคาเป็นประโยคง่ายๆ ตอ่ คาคล้องจองง่ายๆ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสาหรับเด็ก ฝึกทอ่ งจาบทอาขยานตามทีก่ าหนดและบทรอ้ ยกรองตามความสนใจ โดยใชก้ ระบวนการอา่ น กระบวนการเขยี น กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด การฝึกปฏบิ ตั ิ อธบิ าย บันทึก การตง้ั คาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟงั การดู และการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ภาษาไทย และ ตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นชวี ิตประจาวนั ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕, ป.๑/๖, ป.๑/๗, ป.๑/๘ ท ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓ ท ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕ ท ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔ ท ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ รวมท้งั หมด ๒๒ ตวั ชีว้ ัด

21 หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นตนั หยงลุโละ (ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ คำอธิบำยรำยวิชำ ท ๑๒๑๐๑ ภำษำไทย รำยวิชำพนื้ ฐำน กลมุ่ สำระกำรเรยี นร้ภู ำษำไทย ชนั้ ประถมศกึ ษำปที ่ี ๒ เวลำ ๒๐๐ ชัว่ โมง ...................................................................................................................................................... ฝึกอ่านออกเสียงคา คาคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆ อธิบายความหมาย ของคาและข้อความท่ีอ่าน ตัง้ คาถาม ตอบคาถาม ระบุใจความสาคญั และรายละเอียด แสดงความ คิดเห็นและคาดคะเนเหตุการณ์ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและนาเสนอเรื่องที่ อา่ น อา่ นขอ้ เขียนเชงิ อธบิ าย และปฏบิ ตั ิตามคาส่งั หรือข้อแนะนา มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนเรื่องส้ันๆ เกี่ยวกับประสบการณ์ เขียนเร่ือง สั้นๆ ตามจนิ ตนาการ มมี ารยาทในการเขยี น ฝึกทักษะการฟัง ฟังคาแนะนา คาสั่งที่ซับซ้อนและปฏบิ ัตติ าม เล่าเร่ือง บอกสาระสาคัญ ของเร่ือง ตั้งคาถาม ตอบคาถาม พูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูดส่ือสารได้ชัดเจนตรงตาม วัตถปุ ระสงค์ มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคาและบอก ความหมายของคา เรยี บเรียงคาเป็นประโยคได้ตรงตามเจตนาของการส่ือสาร บอกลักษณะคาคล้อง จอง เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ินไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะ ฝึกจับใจความสาคัญจากเรื่อง ระบุขอ้ คิดทีไ่ ด้จากการอา่ นหรือการฟังวรรณกรรมสาหรับเด็ก เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวนั ร้องบทร้องเล่นสาหรบั เด็กในท้องถ่ิน ทอ่ งจาบทอาขยานตามท่ีกาหนด และบทร้อยกรองท่มี คี ณุ คา่ ตามความสนใจ โดยใชก้ ระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการส่ือความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด เพอ่ื ให้เกดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สอื่ สารไดถ้ ูกต้อง รัก การเรยี นภาษาไทย เห็นคณุ คา่ ของการอนุรักษภ์ าษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้ เกดิ ประโยชนใ์ นชวี ิตประจาวันได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม ตวั ชว้ี ัด ท ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘ ท ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ ท ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗ ท ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕ ท ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓ รวมท้งั หมด ๒๗ ตวั ชี้วัด

22 หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นตนั หยงลโุ ละ (ฉบับปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลาง ๒๕๕๑ คำอธบิ ำยรำยวิชำ ท ๑๓๑๐๑ ภำษำไทย รำยวิชำพ้ืนฐำน กลุ่มสำระกำรเรยี นรูภ้ ำษำไทย ชน้ั ประถมศึกษำปีที่ ๓ เวลำ ๒๐๐ ช่วั โมง ...................................................................................................................................................... ฝึกอ่านออกเสียงคา ข้อความ เรื่องสั้น ๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ อธิบายความหมายของ คาและข้อความท่ีอ่าน ต้ังคาถาม ตอบคาถามเชิงเหตุผล ลาดับเหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรุปความรู้ ข้อคิดจากเรื่องท่ีอ่าน เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจ อยา่ งสม่าเสมอและนาเสนอเรื่องที่อา่ น อา่ นขอ้ เขียนเชงิ อธิบาย และปฏบิ ตั ติ ามคาส่ังหรือข้อแนะนา อธิบายความหมายของขอ้ มลู จากแผนภาพ แผนท่ี และแผนภูมิ มมี ารยาทในการอา่ น ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย เขียนบันทึกประจาวัน เขียนเร่ือง ตามจนิ ตนาการ มมี ารยาทในการเขยี น ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด เล่ารายละเอียด บอกสาระสาคัญ ตั้งคาถาม ตอบ คาถาม พูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูดสื่อสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์ มีมารยาทใน การฟัง การดูและการพดู ฝึกเขยี นตามหลกั การเขยี น เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา ระบชุ นิด หน้าทข่ี อง คา ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา แต่งประโยคง่ายๆ แต่งคาคล้องจองและคาขวัญ เลอื กใชภ้ าษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่นิ ได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณกรรม เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน รู้จักเพลงพ้ืนบ้าน เพลงกลอ่ มเดก็ เพอ่ื ปลกู ฝงั ความชื่นชมวัฒนธรรมท้องถน่ิ แสดงความคดิ เห็นเกยี่ วกบั วรรณคดีท่ีอ่าน ทอ่ งจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดและบทรอ้ ยกรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขยี น กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการส่ือความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพ่อื ใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รัก การเรียนภาษาไทย เหน็ คณุ คา่ ของการอนุรกั ษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้ เกิดประโยชนใ์ นชวี ิตประจาวนั ได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม ตวั ชี้วดั ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙ ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ รวมท้ังหมด ๓๒ ตัวชีว้ ดั

23 หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นตนั หยงลโุ ละ (ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ คำอธบิ ำยรำยวิชำ ท ๑๔๑๐๑ ภำษำไทย รำยวิชำพน้ื ฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชัน้ ประถมศกึ ษำปที ่ี ๔ เวลำ ๑๖๐ ชว่ั โมง ...................................................................................................................................................... ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคา ประโยคและ สานวนจากเร่ืองท่ีอ่าน อ่านเรื่องสั้น ๆ ตามเวลาที่กาหนดและตอบคาถามจากเร่ืองที่อ่าน แยก ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเร่ืองที่อ่าน คาดคะเนเหตุการณ์จากเร่ืองท่ีอ่าน โดยระบุเหตุผล ประกอบ สรุปความรู้และข้อคิดจากเร่อื งที่อ่าน เพ่ือนาไปใช้ในชีวติ ประจาวัน เลือกอ่านหนังสือที่มี คณุ คา่ ตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกับเร่ืองที่อ่าน มมี ารยาทในการอา่ น ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขียนส่ือสารโดยใช้คาได้ถูกต้อง ชดั เจน และเหมาะสม เขยี นแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน เขียน ย่อความจากเรื่องส้ัน ๆ เขียนจดหมายถึงเพื่อนและมารดา เขียนบันทึกและเขียนรายงานจาก การศกึ ษาคน้ ควา้ เขียนเรือ่ งตามจนิ ตนาการ มมี ารยาทในการเขียน ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด จาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นเร่ืองท่ีฟังและดู พูด สรุปจากการฟังและดู พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึกเกี่ยวกับเร่ืองที่ฟังและดู ต้ัง คาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเร่ืองท่ีฟังและดู พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นท่ีศึกษาค้นคว้า จากการฟงั การดแู ละการสนทนา มมี ารยาทในการฟงั การดูและการพดู ฝึกเขียนตามหลักการเขียน เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคาในบริบทต่าง ๆ ระบุ ชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา แต่งประโยคได้ถูกต้อง ตามหลักภาษา แต่งบทร้อยกรองและคาขวัญ บอกความหมายของสานวน เปรียบเทียบภาษาไทย มาตรฐานและภาษาถน่ิ ได้ ระบุข้อคิดจากนิทานพ้ืนบ้านหรือนิทานคติธรรม อธิบายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนาไปใช้ใน ชีวิตจริง ร้องเพลงพื้นบ้าน ท่องจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดและบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความ สนใจ โดยใชก้ ระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทกึ การตั้งคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สอ่ื สารได้ถกู ต้อง รกั การเรียนภาษาไทย เหน็ คุณค่าของการอนุรกั ษภ์ าษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนาความรูไ้ ปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนใ์ นชีวติ ประจาวนั ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม

24 หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นตนั หยงลโุ ละ (ฉบบั ปรับปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ ตวั ช้ีวัด ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘ ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘ ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖ ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗ ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔ รวมทั้งหมด ๓๓ ตวั ชีว้ ัด

25 หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นตันหยงลุโละ (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ท๑๕๑๐๑ ภำษำไทย รำยวิชำพืน้ ฐำน กล่มุ สำระกำรเรียนรภู้ ำษำไทย ชน้ั ประถมศกึ ษำปที ่ี ๕ เวลำ ๑๖๐ ชั่วโมง ...................................................................................................................................................... ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคา ประโยคและ ข้อความทเ่ี ปน็ การบรรยายและการพรรณนา อธิบายความหมายโดยนัย แยกข้อเทจ็ จริง ขอ้ คิดเห็น วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คาสั่ง ข้อแนะนา และปฏิบัติตาม เลือก อ่านหนงั สือทม่ี คี ุณค่าตามความสนใจ มีมารยาทในการอา่ น ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขียนส่ือสาร เขียนแผนภาพโครง เรื่อง แผนภาพความคิด เขยี นยอ่ ความ เขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ เขยี นแสดงความรู้สึก และความคดิ เห็น กรอกแบบรายการตา่ ง ๆ เขยี นเรอื่ งตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขียน ฝึกทักษะการฟัง การดแู ละการพูด พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรสู้ กึ ตั้งคาถาม ตอบคาถาม วเิ คราะห์ความ พูดรายงาน มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด ระบุชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค จาแนกส่วนประกอบของประโยค เปรียบเทียบ ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิน่ ใช้คาราชาศพั ท์ บอกคาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย แตง่ บท ร้อยกรอง ใช้สานวนไดถ้ ูกตอ้ ง สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน ระบุความรู้ ข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและ วรรณกรรมท่ีสามารถนาไปใช้ในชีวิตจริง อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ท่องจาบท อาขยานตามที่กาหนดและบทรอ้ ยกรองท่ีมีคณุ คา่ ตามความสนใจ โดยใชก้ ระบวนการอา่ น กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการส่ือความ กระบวนการแกป้ ัญหา การฝึกปฏิบัติ อธบิ าย บันทกึ การตั้งคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทกั ษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่อื สารไดถ้ ูกตอ้ ง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคณุ คา่ ของการอนรุ กั ษ์ภาษาไทย และตวั เลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม ตวั ชวี้ ดั ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘ ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙ ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ท ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗ ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ รวมท้ังหมด ๓๓ ตวั ช้ีวดั

26 หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นตันหยงลโุ ละ (ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลาง ๒๕๕๑ คำอธบิ ำยรำยวิชำ ท๑๖๑๐๑ ภำษำไทย รำยวิชำพ้ืนฐำน กลมุ่ สำระกำรเรียนรภู้ ำษำไทย ชัน้ ประถมศึกษำปีที่ ๖ เวลำ ๑๖๐ ชวั่ โมง ...................................................................................................................................................... ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคา ประโยคและ ขอ้ ความทเ่ี ปน็ โวหาร อา่ นเรอ่ื งส้นั ๆอยา่ งหลากหลาย แยกข้อเทจ็ จริงและข้อคิดเหน็ จากเร่ืองท่ีอ่าน วเิ คราะห์และแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกบั เร่ืองทอ่ี ่านเพ่ือนาไปใช้ในการดาเนินชวี ิต อา่ นงานเขยี น เชิงอธิบาย คาส่ัง ข้อแนะนา และปฏิบัติตาม อธิบายความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนที่ แผนภูมิและกราฟ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจและอธิบายคุณค่าท่ีได้รับ มีมารยาทใน การอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขียนส่ือสารโดยใช้คาได้ถูกต้อง ชดั เจน และเหมาะสม เขยี นแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขยี น เขียน เรียงความ เขียนย่อความจากเรื่องอ่าน เขียนจดส่วนตัว กรอกแบบรายการต่าง ๆ เขียนเร่ืองตาม จนิ ตนาการและสร้างสรรค์ มีมารยาทในการเขียน ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความรู้ ความเข้าใจจุดประสงค์ของเรื่องท่ีฟัง และดู ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู วิเคราะห์ความน่าเชอ่ื ถือจากเร่ืองที่ ฟงั และดสู อื่ โฆษณาอยา่ งมีเหตผุ ล พดู รายงานเรือ่ งหรอื ประเดน็ ท่ศี ึกษาคน้ คว้าจากการฟงั การดแู ละ การสนทนา พูดโน้มนา้ วอย่างมเี หตผุ ลและนา่ เช่ือถอื มมี ารยาทในการฟงั การดูและการพูด ฝึกวิเคราะห์ชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค ใช้คาได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล รวบรวมและบอกความหมายของคาภาษาต่างประเทศท่ีใช้ในภาษาไทย ระบุลักษณะของประโยค แต่งบทรอ้ ยกรอง วิเคราะหเ์ ปรียบเทียบสานวนทีเ่ ป็นคาพังเพยและสภุ าษติ ฝึกแสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน เล่านิทานพ้ืนบ้านท้องถ่ินตนเอง และนิทานพ้ืนบ้านของท้องถิ่นอื่น อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่านและนาไป ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ จรงิ ท่องจาบทอาขยานตามทีก่ าหนดและบทร้อย โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขยี น กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการสังเกต กระบวนกรแยกข้อเท็จจริง กระบวนการค้นคว้า กระบวนการใช้เทคโนโลยีในการส่ือสาร กระบวนการใช้ทักษะทางภาษา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่ือสารได้ถูกต้อง รักการเรยี นภาษาไทย เห็นคุณค่าของการอนรุ ักษภ์ าษาไทย และตวั เลขไทย สามารถนาความรู้ไปใช้ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ในชีวิตประจาวันไดอ้ ย่างถูกตอ้ งเหมาะสม

27 หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นตันหยงลโุ ละ (ฉบับปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ ตวั ชี้วัด ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙ ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙ ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖ ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖ ท ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔ รวมทั้งหมด ๓๔ ตัวชีว้ ดั

28 หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านตนั หยงลุโละ (ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ กลุม่ สำระกำรเรียนรูค้ ณติ ศำสตร์ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตันหยงลุโละ ได้จัดทาข้ึนโดยใช้กรอบและแนวทางท่ี หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ได้วางไว้โดยให้ท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมใน การกาหนดทิศทางการพฒั นาหลักสูตรรว่ มกนั เพื่อสนองเจตนารมย์ของหลกั สตู รแกนกลางที่ม่งุ เน้นให้ เด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานมีคุณภาพด้านความรู้และทักษะที่จาเป็น สาหรับการดารงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปล่ียนแปลงและแสวงหาความรู้เพ่ือพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ตลอดชวี ติ ควำมสำคัญของสำระกำรเรยี นร้คู ณติ ศำสตร์ คณิตศาสตร์มีบทบาทสาคัญย่ิงต่อการพัฒนาความคิดมนุษย์ ทาให้มนุษย์มีความคิด สร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้ อย่างถ่ีถ้วนรอบคอบ ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหา และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ อย่างถูกต้องเหมาะสม นอกจากนี้คณิตศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือในการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและศาสตร์อ่ืน ๆ คณติ ศาสตร์จึงมีประโยชนต์ ่อการดาเนนิ ชีวิต ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ ดีขนึ้ และสามารถอย่รู ่วมกับผ้อู ่นื ได้อย่างมีความสขุ สำระสำคญั ของกลมุ่ สำระกำรเรียนรคู้ ณติ ศำสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เปิดโอกาสให้เยาวชนทุกคนได้เรียนรู้คณิตศาสตร์อย่าง ต่อเนือ่ ง ตามศักยภาพ โดยกาหนดสาระหลักที่จาเป็นสาหรับผ้เู รียนทกุ คนดังน้ี ● จำนวนและกำรดำเนินกำร: ความคิดรวบยอดและความรู้สึกเชิงจานวน ระบบ จานวนจริง สมบัติเกี่ยวกับจานวนจริง การดาเนินการของจานวน อัตราส่วน ร้อยละ การแก้ปัญหา เกี่ยวกบั จานวน และการใชจ้ านวนในชีวิตจริง ● กำรวัด: ความยาว ระยะทาง น้าหนัก พ้ืนที่ ปริมาตรและความจุ เงินและเวลา หน่วยวัดระบบต่าง ๆ การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัด อัตราส่วนตรีโกณมิติ การแก้ปัญหาเก่ียวกับการ วัด และการนาความรู้เกี่ยวกบั การวัดไปใช้ในสถานการณต์ ่าง ๆ ● เรขำคณิต: รูปเรขาคณิตและสมบัติของรูปเรขาคณิตหน่ึงมิติ สองมิติ และสามมิติ การนึกภาพ แบบจาลองทางเรขาคณิต ทฤษฎีบททางเรขาคณิต การแปลงทางเรขาคณิต (geometric transformation)ในเรื่องการเล่ือนขนาน (translation) การสะท้อน (reflection) และ การหมนุ (rotation) ● พีชคณิต: แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน เซตและการดาเนินการของ เซต การให้เหตุผล นิพจน์ สมการ ระบบสมการ อสมการ กราฟ ลาดับเลขคณิต ลาดับเรขาคณิต อนุกรมเลขคณิต และอนกุ รมเรขาคณติ ● กำรวิเครำะห์ข้อมลู และควำมน่ำจะเป็น: การกาหนดประเดน็ การเขียนข้อคาถาม การกาหนดวธิ กี ารศึกษา การเกบ็ รวบรวมข้อมลู การจัดระบบข้อมูล การนาเสนอข้อมูล ค่ากลางและ การกระจายของข้อมูล การวิเคราะห์และการแปลความข้อมูล การสารวจความคิดเห็น ความน่าจะ

29 หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านตันหยงลโุ ละ (ฉบบั ปรับปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลาง ๒๕๕๑ เป็น การใช้ความรู้เก่ียวกับสถิติและความน่าจะเป็นในการอธิบายเหตุการณ์ต่างๆ และช่วยในการ ตัดสินใจในการดาเนินชีวติ ประจาวัน ● ทักษะและกระบวนกำรทำงคณิตศำสตร์: การแก้ปัญหาด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย การให้เหตุผล การสื่อสาร การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์และการนาเสนอ การเช่ือมโยงความรู้ ตา่ งๆ ทางคณิตศาสตร์ และการเช่อื มโยงคณติ ศาสตรก์ ับศาสตรอ์ นื่ ๆ และความคดิ รเิ ริ่มสรา้ งสรรค์ สำระและมำตรฐำนกำรเรียนรู้ สำระที่ ๑ จำนวนและกำรดำเนินกำร มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจถงึ ความหลากหลายของการแสดงจานวนและการใชจ้ านวนในชีวติ จริง มาตรฐาน ค ๑.๒ เขา้ ใจถึงผลท่เี กิดข้ึนจากการดาเนินการของจานวนและความสัมพันธร์ ะหวา่ ง การดาเนินการต่าง ๆ และสามารถใชก้ ารดาเนินการในการแก้ปัญหา มาตรฐาน ค ๑.๓ ใชก้ ารประมาณคา่ ในการคานวณและแกป้ ัญหา มาตรฐาน ค ๑.๔ เขา้ ใจระบบจานวนและนาสมบตั ิเกี่ยวกับจานวนไปใช้ สำระที่ ๒ กำรวัด มาตรฐาน ค ๒.๑ เขา้ ใจพ้นื ฐานเกีย่ วกบั การวดั วดั และคาดคะเนขนาดของสิง่ ทต่ี ้องการวดั มาตรฐาน ค ๒.๒ แกป้ ัญหาเก่ยี วกบั การวดั สำระที่ ๓ เรขำคณติ มาตรฐาน ค ๓.๑ อธิบายและวเิ คราะห์รปู เรขาคณิตสองมิตแิ ละสามมติ ิ มาตรฐาน ค ๓.๒ ใชก้ ารนึกภาพ (visualization) ใช้เหตผุ ลเกยี่ วกบั ปรภิ ูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจาลองทางเรขาคณติ (geometric model) ในการแกป้ ัญหา สำระท่ี ๔ พีชคณิต มาตรฐาน ค ๔.๑ เข้าใจและวิเคราะห์แบบรปู (pattern) ความสมั พันธ์ และฟงั ก์ชนั มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมาย และนาไปใช้ แกป้ ัญหา สำระที่ ๕ กำรวเิ ครำะหข์ อ้ มูลและควำมนำ่ จะเป็น มาตรฐาน ค ๕.๑ เข้าใจและใชว้ ธิ กี ารทางสถิติในการวิเคราะห์ขอ้ มูล มาตรฐาน ค ๕.๒ ใชว้ ิธกี ารทางสถิติและความรู้เก่ยี วกับความนา่ จะเป็นในการคาดการณ์ได้ อยา่ งสมเหตสุ มผล มาตรฐาน ค ๕.๓ ใชค้ วามร้เู กยี่ วกับสถติ แิ ละความนา่ จะเป็นช่วยในการตัดสินใจและแกป้ ญั หา

30 หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นตนั หยงลโุ ละ (ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ สำระที่ ๖ ทกั ษะและกระบวนกำรทำงคณิตศำสตร์ มาตรฐาน ค ๖.๑ มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย ทาง คณิตศาสตร์และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ และ เชอื่ มโยงคณิตศาสตรก์ บั ศาสตรอ์ น่ื ๆ และมีความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ หมำยเหตุ ๑. การจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่ทาให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพนั้น จะต้องให้มีความสมดุลระหว่างสาระด้านความรู้ ทักษะและกระบวนการ ควบคู่ไป กับคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ได้แก่ การทางานอย่างมีระบบ มีระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความเช่ือมั่นใน ตนเอง พร้อมทง้ั ตระหนกั ในคุณค่าและมีเจตคตทิ ่ีดตี ่อคณิตศาสตร์ ๒. ในการวดั และประเมินผลด้านทกั ษะและกระบวนการ สามารถประเมินในระหว่าง การเรยี นการสอน หรอื ประเมนิ ไปพรอ้ มกับการประเมินด้านความรู้

31 หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านตนั หยงลุโละ (ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ คำอธิบำยรำยวิชำ ค 11101 คณติ ศำสตร์ รำยวชิ ำพนื้ ฐำน กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้คณติ ศำสตร์ ช้ันประถมศึกษำปที ี่ 1 จำนวน 200 ชว่ั โมง ...................................................................................................................................................... ศกึ ษาการอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทย และตวั หนงั สอื แสดงจานวนนับ 1 ถงึ 100 และ 0 การแสดงจานวนไม่เกิน 20 ในรูปความสัมพันธ์ของจานวนแบบส่วนย่อย-ส่วนรวม การบอกอันดับท่ี หลัก ค่าประจาหลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก การเขียนตัวเลขแสดงจานวน ในรูปกระจาย การเปรียบเทียบจานวนนับ 1-100 และ 0 โดยใช้เคร่ืองหมาย =≠••การเรียงลาดับ จานวนนับ 1-100 และ 0 ตั้งแต่ 3-5 จานวน ความหมายของการบวก ความหมายของการลบ การ หาผลบวก การหาผลลบ การหาค่าตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ โจทย์ปัญหาการบวก โจทย์ ปญั หาการลบ การสร้างโจทย์ปัญหารูปเรขาคณิตสองมติ ิและรปู เรขาคณิตสามมิติ แบบรปู ของจานวน ท่ีเพ่ิมข้ึนหรือลดลงทีละ 1ทีละ 10 แบบรูปซ้าของจานวน รูปเรขาคณิตและรูปอ่ืน ๆ การวัดความ ยาวโดยใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน การวัดและเปรียบเทียบความยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร โจทย์ปัญหาเก่ียวกับความยาวที่มีหน่วยเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร การวัดน้าหนักโดยใช้หน่วยที่ไม่ใช่ หนว่ ยมาตรฐาน การวดั และเปรียบเทียบน้าหนกั เป็นกิโลกรัม เป็นขีด โจทยป์ ญั หาเก่ียวกบั นา้ หนักที่มี หน่วยเปน็ กิโลกรัม เปน็ ขดี การอา่ นแผนภูมริ ปู ภาพ โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า ฝึกทักษะโดย การปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะกระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์และน้าประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะ และกระบวนการที่ไดไ้ ปใชใ้ นกระบวนการเรยี นรู้สงิ่ ตา่ งๆ และใชใ้ นชีวิตประจาวันอย่างสรา้ งสรรค์ เพ่ือให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานได้อย่างเป็นระบบ มี ระเบียบ รอบคอบ มีความรับผดิ ชอบ มีวิจารณญาณ มคี วามคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมคี วามเชอื่ มั่นใน ตนเอง รหสั ตัวชว้ี ดั ค 1.1 ป.1/1 ป.1/2 ป.1/3 ป.1/4 ป.1/5 ค 1.2 ป.1/1 ค 2.1 ป.1/1 ป.1/2 ค 2.2 ป.1/1 ค 3.1 ป.1/1 รวมทง้ั หมด 10 ตัวชีว้ ัด

32 หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านตันหยงลุโละ (ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลาง ๒๕๕๑ คำอธิบำยรำยวิชำ ค ๑๒๑๐๑คณติ ศำสตร์ รำยวิชำพ้นื ฐำน กลุม่ สำระกำรเรยี นรู้คณิตศำสตร์ ชน้ั ประถมศึกษำปีที่ ๒ เวลำ ๒๐๐ ช่วั โมง ...................................................................................................................................................... ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคานวณ และฝึกการแก้ปัญหาในสาระต่อไปน้ีจำนวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ 0 การอ่านและการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวน จานวนคู่ จานวนคี่ หลกั ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจานวนในรปู กระจาย การเปรียบเทียบและเรียงลาดับจานวนกระจาย การเปรียบเทียบจานวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 โดยใชเ้ ครอ่ื งหมาย =≠••การเรยี งลาดบั จานวนนับไม่เกิน 1,000 และ 0 ตงั้ แต่ 3-5 จานวน การบวก และการลบ ความหมายของการคูณ ความหมายของการหาร การหาผลคูณ การหาผลหารและ เศษส่วน และความสัมพันธ์ของการคณู และการหาร การหาคา่ ของตัวไมท่ ราบคา่ ในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการบวก การลบ การคูณและการหารของจานวนหน่ึงหลักกับจานวนไม่เกินสองหลัก แสดงการ หารทต่ี งั ตัง้ ไมเ่ กินสองหลัก ตัวหารหนง่ึ หลกั โดยทผี่ ลหารมหี น่งึ หลัก ทงั้ หารลงตัวและหารไม่ลงตวั หา ผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคน แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปญั หาสองข้ันตอนของจานวนนับไม่ เกิน 1,000 และ 0 การแก้โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหา พร้อมทั้งหาคาตอบ แบบรูปของ จานวนท่ีเพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละ 2 ทีละ 5 และทีละ 100 แบบรูปซ้า กำรวัดควำมยำว การวัด ความยาวเปน็ เมตรและเซนติเมตร การคาดคะเนความยาวเป็นเมตร การเปรยี บเทียบความยาวโดยใช้ ความสัมพันธ์ระหว่างเมตรกับเซนติเมตร การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวที่มีหน่วยเป็นเมตร และเซนติเมตร พร้อมทั้งแสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ เกี่ยวกับความยาวท่ีมี หน่วยเป็นเมตร และเซนติเมตร น้ำหนัก การวัดน้าหนักเป็นกิโลกรัม และกรัม กิโลกรัมและขีด การ คาดคะเนน้าหนักเป็นกโิ ลกรัม วดั และเปรียบเทียบน้าหนักเป็นกโิ ลกรัม และกรมั กิโลกรัมและขดี โดย ใช้ความสัมพันธ์ระหว่างกิโลกรมั กับกรัม กิโลกรัมกับขีด แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหา การบวก การลบ เกี่ยวกับน้าหนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด ปริมาตรและความจุ การวัด ปริมาตรแลคะวามจุโดยใช้หน่วยท่ีไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน การวัดปริมาตรและความจุเป็นช้อนชา ช้อน โต๊ะ ถ้วยตวง ลิตร วัดและเปรียบเทียบปริมาตรและความจุเป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง ลิตร แก้ โจทย์ปัญหาเก่ียวกับปริมาตรและความจุที่มีหน่วยเป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง ลิตร เวลำ การบอก เวลาเป็นนาฬิกาและนาที (ช่วง 5 นาที) การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมงเป็นนาที การเปรียบเทียบ ระยะเวลาเป็นช่ัวโมง เป็นนาที การอ่านปฏิทิน การแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับเวลา แสดงวิธีหาคาตอบ ของโจทย์ปัญหาเกีย่ วกับเวลา ทม่ี ีหนว่ ยเดียวและเปน็ หน่วยเดยี วกนั เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาและจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ท่ีใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า โดยปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใชใ้ นการเรียนรสู้ ่ิงต่าง ๆ และใช้ในชีวิตประจาวนั อย่างสรา้ งสรรค์ รวมท้ังเห็นคุณค่าและเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็นระบบระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและเชอื่ ม่ันในตนเองสามารถนาความรูไ้ ปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้ วิธีการของเศรษฐกิจพอเพยี งและสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้กบั ชวี ติ ประจาวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

33 หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตนั หยงลโุ ละ (ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ รหัสตวั ช้ีวัด ป.๒/๑ , ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘ ค ๑.๑ ป.๒/๑ , ป.๒/๒ , ป.๒/๓ , ป.๒/๔ , ป.๒/๕ , ป.๒/๖ ค ๒.๑ ป.๒/๑ ค ๒.๒ ป.๒/๑ ค ๓.๑ รวมท้ังหมด ๑๖ ตัวช้วี ดั

34 หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตันหยงลุโละ (ฉบับปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ คำอธิบำยรำยวิชำ ค 13101 คณติ ศำสตร์ รำยวชิ ำพนื้ ฐำน กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้คณติ ศำสตร์ ชนั้ ประถมศึกษำปีท่ี 3 จำนวน 200 ชวั่ โมง ...................................................................................................................................................... ศึกษาการอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทย และตวั หนงั สอื แสดงจานวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 หลกั คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลกั การเขียนตวั เลขแสดงจานวนในรูปกระจาย การ เปรียบเทียบและเรียงลาดับจานวน การอ่านและเขียนเศษส่วนแสดงปริมาณส่ิงต่าง ๆ และแสดงส่ิง ต่าง ๆ ตามเศษส่วนท่ีกาหนด โดยที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตัวส่วน การเปรียบเทียบและ เรยี งลาดบั เศษสว่ น การบวกและการลบเศษส่วน การแกโ้ จทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ เศษส่วน แบบรูปของจานวนที่เพิ่มข้ึนหรือลดลงท่ีละเท่า ๆ กัน การบอกจานวนเงินและเขียนแสดง จานวนเงินแบบใช้จุด การเปรียบเทียบจานวนเงินและการแลกเงิน การอ่านและเขียนบันทึกรายรับ รายจ่าย การแก้โจทยป์ ัญหาเก่ียวกับเงิน การบอกเวลาเป็นนาฬิกาและนาที การเขียนบอกเวลาโดยใช้ มหัพภาค (.) หรือทวิภาค (:) และการอ่าน การบอกระยะเวลาเป็นช่ัวโมงและนาที การเปรียบเทียบ ระยะเวลาโดยใช้ความสัมพนั ธร์ ะหว่างชวั่ โมงกับนาที การอ่านและการเขยี นบนั ทึกกจิ กรรมทรี่ ะบุเวลา การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา การวัดความยาวเป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตร และเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร การเลือกเคร่ืองวัดความยาวท่ีเหมาะสม การคาดคะเนความยาว เป็นเมตรและเป็นเซนติเมตร การเปรียบเทียบความยาวโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยความยาว การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว การเลือกเคร่ืองชั่วท่ีเหมาะสม การคาดคะเนน้าหนักเป็น กิโลกรัมและขีด การเปรียบเทียบน้าหนักโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันกับ กิโลกรัม การแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับน้าหนัก การวัดปริมาตรและความจุเป็นลิตรและมิลลิลิตร การ เลือกเครื่องตวงท่ีเหมาะสม การคาดคะเนปริมาตรและความจุโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างลิตรกับ มิลลิลิตร ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวงกับมิลลิลิตร การแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับปริมาตรและความจุที่มี หน่วยเป็นลิตรและมิลลิลิตร รูปเรขาคณิตสองมิติที่มีแกนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตร การเก็บ รวบรวมข้อมูลและการจาแนกข้อมูล การอ่านและเขียนแผนภูมิรูปภาพ การอ่านและเขียนตารางทาง เดยี ว (one-way table) โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า ฝึกทักษะโดย การปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะกระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์และนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะ และกระบวนการที่ได้ไปใชใ้ นกระบวนการเรียนรสู้ ิ่งต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอยา่ งสร้างสรรค์ เพอื่ ให้เหน็ คุณค่าและมีเจตคติทีด่ ตี ่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานได้อย่างเปน็ ระบบมรี ะเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมีความเชื่อม่ันในตนเอง

35 หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นตันหยงลโุ ละ (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลาง ๒๕๕๑ รหสั ตัวช้วี ดั ค 1.1 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3 ป.3/4 ป.3/5 ป.3/6 ป.3/7 ป.3/8 ป.3/9 ป.3/10 ป.3/11 ค 1.2 ป.3/1 ค 2.1 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3 ป.3/4 ป.3/5 ป.3/6 ป.3/7 ป.3/8 ป.3/9 ป.3/10 ป.3/11 ป.3/12 ป.3/13 ค 2.2 ป.3/1 ค 3.1 ป.3/1 ป.3/2 รวมทัง้ หมด 28 ตัวช้วี ัด

36 หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นตนั หยงลโุ ละ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ คำอธิบำยรำยวิชำ ค 14101 คณติ ศำสตร์ รำยวิชำพื้นฐำน กลมุ่ สำระกำรเรียนร้คู ณิตศำสตร์ ชั้นประถมศึกษำปที ่ี 4 จำนวน 200 ชั่วโมง ...................................................................................................................................................... ศึกษา ฝกึ ทักษะการคิดคานวณ และฝึกการแก้ปญั หา จานวนท่มี ากกวา่ 100,000 การบอก จานวน การอ่านและการเขียนตัวเลขแทนจานวน ช่อื หลัก ค่าของตวั เลขในแตล่ ะหลัก การเขยี นในรูป กระจาย การเปรียบเทียบจานวน การใช้เคร่ืองหมายแสดงการเปรียบเทียบ การเรียงลาดับจานวน การบวก การลบ การคูณ การหารจานวน และโจทย์ปัญหา การบวก การลบจานวนที่มีหลายหลัก การคูณจานวนที่มีหน่ึงหลักกับจานวนที่มีหลายหลัก การคูณจานวนที่มากกว่าสองหลัก กับจานวนท่ี มากกวา่ สองหลัก การหารทต่ี วั หารไมเ่ กนิ สามหลกั การบวก ลบ คณู หารระคน โจทย์ปัญหา เศษสว่ น และการบวก การลบเศษสว่ น ความหมาย การอ่านและการเขียนเศษส่วน การเปรียบเทยี บเศษส่วนท่ี มตี ัวส่วนเท่ากัน การใช้เคร่ืองหมายแสดงการเปรียบเทียบ การบวก การลบเศษส่วนทมี่ ีตัวส่วนเท่ากัน ทศนิยม ความหมาย การอ่านและการเขียนทศนิยมหนึ่งตาแหน่ง การเปรียบเทียบทศนิยม การใช้ เครื่องหมายแสดงการเปรียบเทียบการวัดความยาว การวัดความยาว (กิโลเมตร เมตร เซนติเมตร มิลลิเมตร และวา) การหาพื้นที่ของรูปสี่เหล่ยี มมุมฉาก เวลา การบอกเวลา การเขียนบอกเวลาโดยใช้ จุดและการอ่าน การบอกช่วงเวลา การอ่านและการบันทึกกิจกรรมหรือเหตุการณ์ต่างๆ ท่ีระบุเวลา ความสัมพันธ์ระหว่าง นาที ช่ัวโมง วัน สัปดาห์ เดือน และปี โจทย์ปัญหาและสถานการณ์ รูป เรขาคณิต และสมบัติบางประการ ของรูปเรขาคณิต ส่วนของระนาบ จุด ส่วนของเส้นตรง เส้นตรง และรังสี มมุ รูปสีเ่ หล่ยี มมุมฉาก เส้นขนาน แบบรปู และความสมั พันธ์ แบบรปู ของจานวนนบั ท่เี พ่ิมข้ึน หรือลดลงทีละเท่าๆ กัน สถิติและความน่าจะเป็นเบื้องต้น การนาเสนอข้อมูล การอ่านและการเขียน แผนภูมแิ ท่ง โดยการจดั ประสบการณ์หรือสรา้ งสถานการณ์ที่ใกลต้ ัว ใหผ้ เู้ รยี นไดศ้ กึ ษา ค้นคว้า โดยปฏิบัติ จริง ทดลอง สรุป.รายงานเพ่ือพัฒนาทักษะ/กระบวนการท่ีได้ ไปใช้ในการเรียนรู้ส่ิงต่างๆ และใช้ใน ชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ เพ่ือให้ผู้เรียนเห็นคุณค่า และมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถ ทางานอยา่ งเป็นระบบระเบยี บ รอบคอบ มีความรบั ผดิ ชอบ มวี ิจารณญาณ และเชื่อม่นั ในตนเอง รหสั ตวั ชีว้ ดั ค 1.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ป.4/4 ป.4/5 ป.4/6 ป.4/7 ป.4/8 ป.4/9 ป.4/10 ป.4/11 ป.4/12 ป.4/13 ป.4/14 ป.4/15 ป.4/16 ค 2.1 ป.4/1 ป.4/2 ป.4/3 ค 2.2 ป.4/1 ป.4/2 ค 3.1 ป.4/1 รวมทัง้ หมด 22 ตัวช้ีวดั

37 หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นตนั หยงลุโละ (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ คำอธิบำยรำยวิชำ ค 15101 คณิตศำสตร์ รำยวชิ ำพืน้ ฐำน กลมุ่ สำระกำรเรียนรคู้ ณติ ศำสตร์ ชั้นประถมศึกษำปที ่ี 5 จำนวน 160 ช่วั โมง ...................................................................................................................................................... ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคานวณ และฝึกทักษะการแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัติไตรยางศ์ การเปรียบเทียบ การลบ การคูณ การหารของเศษส่วนและจานวนคละการบวกการบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วนและจานวนคละ โจทย์ปัญหาของเศษส่วนและจานวนคละ ความสัมพันธ์ ระหว่างเศษส่วนและทศนิยมค่าประมาณของทศนยิ มไม่เกิน 3 ตาแหนง่ ที่เป็นจานวนเต็ม ทศนิยม 1 ตาแหน่งและ 2 ตาแหน่ง การใช้เคร่ืองหมาย ≈การประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบ การคูณ การหารทศนยิ ม การคณู ทศนิยมการหารทศนิยมการแกโ้ จทยป์ ัญหาเกี่ยวกับทศนิยมการอ่านและการ เขยี นรอ้ ยละ หรอื เปอร์เซ็นต์การแกโ้ จทยป์ ัญหาร้อยละเส้นตั้งฉากและสัญลักษณ์แสดงการต้ังฉากเส้น ขนานและสัญลักษณ์แสดงการขนานการสร้างเส้นขนานมุมแย้ง มุมภายในและมุมภายนอกท่ีอยู่บน ข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง (Transversal)ชนิดและสมบัติของรูปสี่เหล่ียม การสร้างรูปส่ีเหล่ียม ความยาวรอบรปู ของรูปสีเ่ หลีย่ มพืน้ ที่ของรูปส่ีเหล่ียมด้านขนานและรูปสเี่ หลี่ยมขนมเปยี กปนู แก้โจทย์ ปัญหาเก่ียวกับความยาวรอบรูปของรูปส่ีเหลี่ยมและพ้ืนที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานและรูปสี่เหลี่ยม ขนมเปียกปูนลักษณะและส่วนต่าง ๆ ของปริซึมปริมาตรของทรงสี่เหล่ียมมุมฉากและความจุของ ภาชนะทรงส่ีเหลี่ยมมุมฉากความสัมพันธ์ระหว่าง มิลลิลิตร ลิตร ลูกบาศก์เซนติเมตร และลูกบาศก์ เมตรการแก้โจทยป์ ัญหาเก่ียวกับปริมาตรของทรงสี่เหล่ียมมุมฉากและความจขุ องภาชนะทรงส่ีเหล่ียม มมุ ฉากความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยความยาวเซนติเมตรกับมิลลเิ มตร เมตรกับเซนตเิ มตร กิโลเมตรกับ เมตร โดยใช้ความรู้เร่ืองทศนิยมการแก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับความยาวโดยใช้ความรู้ เร่ืองการเปล่ียน หน่วยและทศนิยมความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยน้าหนัก กิโลกรัมกับกรัม โดยใช้ความรู้ เรื่องทศนิยม การแก้โจทยป์ ญั หาเก่ียวกับนา้ หนัก โดยใช้ความรู้ เรื่องการเปล่ียนหนว่ ยและทศนิยมการอ่านและการ เขยี นแผนภูมิแทง่ การอา่ นกราฟเส้น ตัวชีว้ ดั ค1.1 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5 ป.5/6 ป.5/7 ป.5/8 ป.5/9 ค2.1 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ค2.2 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ค3.1 ป.5/1 ป.5/2 รวมทัง้ หมด 19 ตวั ชว้ี ัด

38 หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นตนั หยงลุโละ (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลาง ๒๕๕๑ คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ค 16101 คณติ ศำสตร์ รำยวชิ ำพ้ืนฐำน กลุ่มสำระกำรเรยี นรคู้ ณิตศำสตร์ ชน้ั ประถมศึกษำปที ่ี 6 จำนวน 160 ชั่วโมง ...................................................................................................................................................... เข้าใจความหมาย การเปรียบเทยี บและเรยี งลาดับเศษสว่ นและจานวนคละโดยใช้ความรู้เร่ือง ค.ร.น.อัตราส่วน อัตราส่วนที่เท่ากัน และมาตราส่วนตัวประกอบ จานวนเฉพาะ ตัวประกอบเฉพาะ และการแยกตัวประกอบห.ร.ม. และ ค.ร.น.การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.การบวก การลบเศษส่วนและจานวนคละโดยใช้ความรู้เร่ือง ค.ร.น.การบวก ลบ คูณ หารระคนของเศษส่วน และจานวนคละการแก้โจทย์ปัญหาเศษส่วนและจานวนคละความสัมพันธ์ระหว่างเศษส่วนและ ทศนิยมการหารทศนิยมการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับทศนิยม (รวมการแลกเงินต่างประเทศ)การแก้ โจทย์ปัญหาอัตราส่วนและมาตราส่วน การแก้โจทย์ปัญหาร้อยละการแก้ปัญหาเก่ียวกับแบบรูป ปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบด้วยทรงส่ีเหล่ียมมุมฉาก การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ ปรมิ าตรของรปู เรขาคณติ สามมิตทิ ่ีประกอบดว้ ยทรงสีเ่ หลี่ยมมุมฉากความยาวรอบรูปและพ้ืนที่ของรูป สามเหล่ียมมุมภายในของรูปหลายเหลี่ยมความยาวรอบรูปและพ้ืนท่ีของรูปหลายเหล่ียมการแก้โจทย์ ปัญหาเก่ียวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยมความยาวรอบรูปและพ้ืนท่ีของวงกลม การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่ของวงกลมชนิดและสมบัติของรูปสามเหลี่ยม การสร้างรูปสามเหล่ียมสว่ นต่าง ๆ ของวงกลม การสร้างวงกลมทรงกลม ทรงกระบอก กรวย พีระมิด รปู คลข่ี องทรงกระบอก กรวย ปรซิ มึ พีระมิดการอ่านแผนภูมิรูปวงกลม ร หั ส ตั ว ช้ี วั ด ค 1.1 ป. 6/1ป. 6/2 ป. 6/36/4ป. 6/5ป. 6/66/7ป. 6/8ป. 6/96/10ป. 6/11 ป. 6/ 12 ค 1.2 ป . 6/ 1 ค 2.1 ป . 6/ 1ป . 6/ 2ป . 6/ 3 ค 2.2 ป . 6/ 1ป . 6/ 2 ป . 6/ 3ป . 6/ 4 ค 3.1 ป. 6/1 รวมท้งั หมด 21 ตัวช้วี ัด

39 หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านตนั หยงลโุ ละ (ฉบบั ปรับปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลาง ๒๕๕๑ กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์ ควำมสำคญั ของวิทยำศำสตร์ วิทยาศาสตร์มีบทบาทสาคัญยิ่งในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์ เก่ียวข้องกับทุกคนท้ังในชีวิตประจาวันและการงานอาชีพต่าง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เครื่องมือ เคร่ืองใช้และผลผลิตต่าง ๆ ที่มนุษย์ได้ใช้เพ่ืออานวยความสะดวกในชีวติ และการทางาน เหล่าน้ีล้วน เป็นผลของความรู้วิทยาศาสตร์ ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์และศาสตร์อื่น ๆ วิทยาศาสตร์ช่วย ให้มนุษย์ได้พัฒนาวิธีคิด ท้ังความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะ สาคัญในการค้นควา้ หาความรู้ มีความสามารถในการแก้ปญั หาอยา่ งเปน็ ระบบ สามารถตัดสนิ ใจโดย ใช้ข้อมูลท่ีหลากหลายและมีประจักษ์พยานท่ีตรวจสอบได้ วิทยาศาสตร์เป็นวัฒนธรรมของโลก สมัยใหม่ซึ่งเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ (K knowledge-based society) ดังนั้นทุกคนจึงจาเป็นต้อง ได้รับการพัฒนาให้รู้วิทยาศาสตร์ เพื่อที่จะมีความรู้ความเข้าใจในธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์ สรา้ งสรรค์ขนึ้ สามารถนาความรไู้ ปใชอ้ ยา่ งมีเหตุผล สร้างสรรค์ และมคี ณุ ธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เน้นการเช่ือมโยง ความรู้กับกระบวนการ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการ สืบเสาะหาความรู้ และการแก้ปัญหาท่ีหลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มี การทากิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติจริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น โดยได้กาหนด สาระสาคญั ไวด้ งั นี้ วิทยำศำสตร์ชีวภำพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ชีวิตในสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต การ ดารงชีวิตของมนุษย์และสัตว์ การดารงชีวิตของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพและ ววิ ัฒนาการของสิ่งมชี วี ติ วิทยำศำสตร์กำยภำพ เรียนรู้เกี่ยวกับ ธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสาร การ เคล่ือนทพี่ ลังงาน และคล่นื วิทยำศำสตร์โลกและอวกำศ เรียนรู้เก่ียวกับ โลกในเอกภพ ระบบโลก และมนุษย์กับการ เปลีย่ นแปลงของโลก เทคโนโลยี วิทยาการคานวณ เรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเํข้าใจ มีทักษะ การคิดเชิงคานวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้าน วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศส่ือสารในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ

40 หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นตันหยงลโุ ละ (ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ สำระและมำตรฐำนกำรเรยี นรู้ สำระที่ ๑ วิทยำศำสตรช์ ีวภำพ มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงไม่มีชีวิต กับส่ิงมีชีวิตและความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การ เปล่ียนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบท่ีมีต่อทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมรวมทั้งนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้า และออกจารเซลล์ ความสมั พนั ธข์ องโครงสรา้ ง และหน้าทีข่ องระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ทีท่ างานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าท่ีของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสาคญั ของการถา่ ยทอดลักษณะทางพันธุกรรม สารพันธกุ รรม การเปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมทีม่ ีผลต่อส่ิงมชี วี ิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของ ส่ิงมชี ีวิต รวมทงั้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ สำระที่ ๒ วทิ ยำศำสตรก์ ำยภำพ มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมั พันธร์ ะหว่างสมบัติ ของสสารกบั โครงสร้างและแรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งอนภุ าค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลของแรงท่ีกระทาต่อวัตถุ ลกั ษณะการเคลอื่ นทีแ่ บบต่าง ๆ ของวตั ถุ รวมทง้ั นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เก่ียวข้องกับ เสียง แสง และคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า รวมทงั้ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ สำระท่ี ๓ วทิ ยำศำสตร์โลกและอวกำศ มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์และระบบสรุ ยิ ะ รวมทง้ั ปฏิสมั พันธภ์ ายในระบบสรุ ยิ ะท่ีสง่ ผลตอ่ ส่ิงมีชีวติ และการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการ เปลี่ยนแปลงภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมทัง้ ผลตอ่ สิ่งมชี วี ติ และสง่ิ แวดลอ้ ม สำระท่ี ๔ เทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๘.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอย่างเป็น ข้นั ตอนและเป็นระบบใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรียนรู้ การทางาน และการแกป้ ญั หาได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ รู้เท่าทัน และมจี รยิ ธรรม

41 หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นตันหยงลโุ ละ (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลาง ๒๕๕๑ คำอธิบำยรำยวชิ ำ ว ๑๑๑๐๑ วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี รำยวชิ ำพื้นฐำน กลมุ่ สำระกำรเรยี นรวู้ ิทยำศำสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษำปที ี่ ๑ เวลำ ๘๐ ชั่วโมง ………………………………………………………………………………………………………………..……………………………. ระบชุ ื่อพชื และสัตวท์ ่ีอาศยั อยู่บริเวณตา่ ง ๆ บอกสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมกับการดารงชีวิต ของสัตว์ในบริเวณท่ีอาศัยอยู่ ระบุชื่อ บรรยายลักษณะและบอกหน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย มนุษย์ สัตว์ และพืช รวมทั้งบรรยายการทาหน้าท่ีร่วมกันของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ในการทา กิจกรรมต่าง ๆ จากข้อมูลท่ีรวบรวมได้ ตระหนักถึงความสาคัญของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายตนเอง โดยการดูแลส่วนต่าง ๆ อย่างถูกต้อง ให้ปลอดภัย และรักษาความสะอาดอยู่เสมอ อธิบายสมบัติที่ สังเกตได้ของวัสดุท่ีใช้ทาวัตถุซ่ึงทาจากวัสดุชนิดเดียวหรือหลายชนิดประกอบกันโดยใช้หลักฐานเชิง ประจักษร์ ะบชุ นดิ ของวสั ดุและจดั กลมุ่ วสั ดุตามสมบตั ทิ ส่ี งั เกตได้ บรรยายการเกดิ เสยี งและทศิ ทางการ เคล่ือนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์ บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียง จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ อธบิ ายลักษณะภายนอกของหนิ จากลักษณะเฉพาะตัวทีส่ ังเกตได้ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้ การทางาน แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ การลองผิดลองถูก การเปรียบเทียบ แสดงลาดับข้ันตอนการทางานหรือการแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือส่ือ ใช้เทคโนโลยีในการ สร้าง จัดเก็บ เรียกใช้ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัติตาม ข้อตกลงในการใช้คอมพิวเตอรร์ ่วมกัน ดแู ลรักษาอปุ กรณ์เบอื้ งตน้ ใชง้ านอยา่ งเหมาะสม เห็นคุณค่าของการนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มงุ่ มนั ในการทางาน มีจิตสาธารณะ จริยธรรม คณุ ธรรมและคา่ นยิ มทเี่ หมาะสม มำตรฐำนกำรเรยี นร้/ู ตวั ช้วี ัด ว๑.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒ ว๑.๒ ป.๑/๑,ป.๑/๒ ว2.1 ป.๑/๑,ป.๑/๒ ว2.3 ป.๑/๑ ว๓.๑ ป.๑/๑,ป.๑/๒ ว๓.2 ป.๑/๑ ว๔.2 ป.๑/๑,ป.๑/๒,ป.๑/๓ ,ป.๑/๔ ,ป.๑/๕ รวมทั้งหมด ๑๕ ตวั ชวี้ ัด

42 หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นตนั หยงลุโละ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลาง ๒๕๕๑ คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ว ๑๒๑๐๑ วิทยำศำสตร์ รำยวชิ ำพนื้ ฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนร้วู ิทยำศำสตร์ ช้ันประถมศกึ ษำปีที่ ๒ เ ว ล ำ ๘ ๐ ชั่ ว โ ม ง ……………………………..……………………………………………………………………………………………………….. ระบุว่าพืชต้องการแสงและน้าเพ่ือการเจริญเติบโตโดยใช้ข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ตระหนักถึงความจาเป็นที่พืชต้องการได้รับน้าและแสง เพื่อการเจริญเติบโตโดยดูแลพืชให้ได้รับส่ิง ดังกล่าวอย่างเหมาะสม สร้างแบบจาลองที่บรรยายวัฏจักรชีวิตของพืชดอก เปรียบเทียบลักษณะ สิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตจากข้อมูลที่รวบรวมได้ เปรียบเทียบสมบัติการดูดซับน้าของวัสดุไป ประยุกต์ใช้ในการทาวัสดุในชีวิตประจาวัน อธิบายสมบัติท่ีนาวัสดุมาผสมกันโดยใช้หลักฐานเชิง ประจกั ษ์การนามาทาเป็นวัสดุในการใชง้ านการนากลับมาใช้ใหม่ตระหนักถงึ ประโยชน์ของการนาวัสดุ ที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ บรรยายแนวทางการเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกาเนิดแสงและอธิบายการ มองเห็นวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ตระหนักในการเห็นคุณค่าของความรู้ของการมองเห็นโดย เสนอแนะแนวทางการป้องกันอันตรายจากการมองเห็นวัตถุในที่มีแสงสว่างไม่เหมาะสม ระบุ ส่วนประกอบของดินและจาแนกชนิดของดินโดยใช้ลักษณะเนื้อดินและการจับตัวเป็นเกณฑ์ อธิบาย การใชป้ ระโยชนจ์ ากดนิ จากขอ้ มูลที่รวบรวมได้ มำตรฐำนกำรเรยี นร/ู้ ตวั ช้ีวัด ว ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓ ว ๑.๓ ป.๒/๑ ว ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ ว ๒.๓ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ว ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ว ๔.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ รวมทง้ั หมด ๑๖ ตวั ช้วี ัด

43 หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านตันหยงลโุ ละ (ฉบบั ปรบั ปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลาง ๒๕๕๑ คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ว ๑๓๑๐๑ วิทยำศำสตร์ รำยวิชำพน้ื ฐำน กล่มุ สำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ ชัน้ ประถมศึกษำปที ี่ ๓ เวลำ ๘๐ ชัว่ โมง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… บรรยายสิ่งท่ีจาเป็นต่อการดารงชีวิตและการเจริญเติบโตโดยใช้ข้อมูลจากท่ีรวบรวมได้ ตระหนักถึงประโยชน์ของอาหาร น้าและอากาศโดยการดูแลตนเองและสัตว์ให้ได้รับส่ิงเหล่าน้ีอย่าง เหมาะสม สร้างแบบจาลองที่บรรยายวัฏจักรชีวิตของสัตว์และเปรียบเทียบวัฏจักรชีวิตของสัตว์บาง ชนิดคุณค่าของชีวิตสัตว์โดยไม่ทาให้วัฏจกั รชีวิตของสัตว์เปล่ยี นแปลง อธิบายว่าวัตถุประกอบกันเป็น วัตถุชิ้นใหม่ได้โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจักษ์ อธิบายการเปล่ียนแปลงของวสั ดุเม่ือทาให้ร้อนข้ึนหรือทา ให้เย็นลงโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ระบุผลของแรงเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนที่ของวัตถุจากหลักฐาน เชิงประจักษ์ เปรียบเทียบและยกตัวอย่างแรงสัมผัสและแรงสัมผัสที่มีผลต่อการเคลื่อนที่การจาแนก วัตถุโดยใช้การดึงดูดกับแม่เหล็กเป็นเกณฑ์ระบุขั้วแม่เหล็กและพยากรณ์ผลท่ีเกิดขึ้นระหว่าง ข้ัวแม่เหล็กเมื่อนามาเข้าใกล้กันจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ยกตัวอย่างการเปล่ียนพลังงานหน่ึงไปเป็น อีกพลังงานหนึ่ง การทางานของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าและระบุแหล่งพลังงานในการผลิตไฟฟ้าประโยชน์ ของไฟฟา้ โดยการนาเสนอวิธีการใช้อยา่ งประหยัดและปลอดภัย อธิบายแบบรูปเส้นทางการข้ึนละตกของดวงอาทิตยก์ ารเกดิ กลางวนั กลางคืนและการกาหนด ทศิ โดยใชแ้ บบจาลองตระหนักถงึ ความสาคญั ของดวงอาทิตยป์ ระโยชน์ของดวงอาทิตย์ต่อส่ิงมชี ีวิต มำตรฐำนกำรเรยี นรู/้ ตวั ช้ีวัด ว ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ ว ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒ ว ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ ว ๒.๓ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ว ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ว ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ ว ๔.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕ รวมทงั้ หมด ๒๕ ตวั ชีว้ ัด

44 หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านตันหยงลุโละ (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลาง ๒๕๕๑ คำอธิบำยรำยวชิ ำ ว ๑๔๑๐๑ วทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี รำยวชิ ำพ้ืนฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ ชน้ั ประถมศึกษำปีท่ี ๔ เวลำ ๘๐ ช่วั โมง …………………………………………………………………………………………………………………………………………… บรรยายหน้าท่ีของราก ลาต้น ใบ และดอกของพืชดอก จาแนกสิ่งมีชีวิตโดยใช้ความเหมือน และความแตกต่างของลักษณะของสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มพืช กลุ่มสัตว์ และกลุ่มท่ีไม่ใช่พืชและสัตว์ จาแนกพืชออกเป็นพืชดอกและพืชไม่มีดอก โดยใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ จาแนกสัตว์ออกเป็นสัตว์มี กระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง โดยใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลที่ รวบรวมได้ บรรยายลักษณะเฉพาะท่ีสังเกตได้ของสัตว์มกี ระดกู สนั หลังในกลุม่ ปลา กลมุ่ สตั วส์ ะเทินนา้ สะเทินบก กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม และยกตัวอย่างสิ่งมีชีวิตใน แต่ละกลุ่ม เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนาความร้อน และการ นาไฟฟ้าของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จากการทดลองและระบุการนาสมบัติเร่ืองความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนาความร้อน และการนาไฟฟ้าของวัสดุไปใช้ในชีวิตประจาวันผ่านกระบวนการ ออกแบบช้ินงาน แลกเปล่ียนความคิดกับผู้อื่นโดยการอภิปรายเกี่ยวกับสมบัติทางกายภาพของวัสดุ อย่างมีเหตุผลจากการทดลอง เปรียบเทียบสมบัติของสสารทั้ง ๓ สถานะ จากข้อมูลที่ได้จากการ สังเกตมวล การต้องการที่อยู่ รูปร่างและปรมิ าตรของสสาร ใช้เคร่ืองมือเพ่ือวัดมวล และปริมาตรของ สสารทัง้ ๓ สถานะ ระบุผลของแรงโน้มถ่วงท่ีมีต่อวตั ถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ใชเ้ ครือ่ งชง่ั สปริงใน การวัดน้าหนักของวัตถุ บรรยายมวลของวัตถุที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนท่ีของวัตถุจาก หลักฐานเชิงประจักษ์ จาแนกวัตถุเป็นตัวกลางโปร่งใส ตัวกลางโปร่งแสง และวัตถุทึบแสง จาก ลักษณะการมองเห็นสิ่งต่าง ๆ ผ่านวัตถุน้ันเป็นเกณฑ์โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ อธิบายแบบรูป เสน้ ทางการขึ้นและตก ของดวงจนั ทร์ โดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ สรา้ งแบบจาลองทีอ่ ธบิ ายแบบรูป การเปล่ียนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ และพยากรณ์รูปร่างปรากฏของดวงจันทร์ สร้าง แบบจาลองแสดงองค์ประกอบของระบบสรุ ิยะ และอธบิ ายเปรยี บเทยี บคาบการโคจรของดาวเคราะห์ ตา่ ง ๆ จากแบบจาลอง ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบายการทางาน การคาดการณ์ผลลัพธ์ จาก ปัญหาอย่างง่าย ออกแบบ และเขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือส่ือ และตรวจหา ข้อผดิ พลาด และแก้ไข ใชอ้ นิ เทอร์เนต็ ค้นหาความรู้ และประเมินความน่าเช่อื ถอื ของขอ้ มลู รวบรวม ประเมิน นาเสนอข้อมลู และสารสนเทศ โดยใชซ้ อฟต์แวรท์ ีห่ ลากหลาย เพ่ือแกป้ ัญหาในชวี ิตประจาวัน ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย เข้าใจสทิ ธแิ ละหน้าทีข่ องตน เคารพในสิทธิของผู้อื่น แจง้ ผ้เู ก่ยี วข้องเมื่อพบขอ้ มูลหรอื บคุ คลที่ไม่เหมาะสม เห็นคุณค่าของการนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีความซ่ือสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มงุ่ มันในการทางาน มีจิตสาธารณะ จริยธรรม คุณธรรมและค่านยิ มทเ่ี หมาะสม

45 หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นตนั หยงลโุ ละ (ฉบบั ปรบั ปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ มำตรฐำนกำรเรียนร้/ู ตวั ช้วี ัด ว ๑.๒ ป.๔/๑ ว ๑.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔ ว ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔ ว ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ว ๒.๓ ป.๔/๑ ว ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ว ๔.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕ รวมทงั้ หมด 21 ตวั ชวี้ ดั

46 หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นตันหยงลุโละ (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ คำอธิบำยรำยวิชำ ว ๑๕๑๐๑ วิทยำศำสตร์ รำยวิชำพ้ืนฐำน กลุ่มสำระกำรเรยี นรวู้ ทิ ยำศำสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษำปที ี่ ๕ เวลำ ๘๐ ชั่วโมง ……………………………..………………………………………………………………………………………………………………. บรรยายโครงสร้างและลกั ษณะของสิ่งมีชวี ิตที่เหมาะสมกับการดารงชวี ิตซ่ึงเปน็ ผลมาจากการ ปรับตัวของส่ิงมีชีวิตในแต่ละแหล่งที่อยู่ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิตและ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิตเพ่ือประโยชน์ต่อการดารงชีวิต เขียนโซ่อาหารและระบุ บทบาทหน้าที่ของสิง่ สิ่งมชี ีวิตที่เป็นผ้ผู ลิตและผู้บรโิ ภคในโซ่อาหาร ตระหนกั ในคุณค่าของส่ิงแวดล้อม ท่ีมีต่อการดารงชีวิตของส่ิงมีชีวิตโดยมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาส่ิงแวดล้อม อธิบายลักษณะทาง พันธุกรรมที่มีการถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูกของ พืช สัตว์ และ มนุษย์ แสดงความอยากรู้อยากเห็น โดยการถามคาถามเกย่ี วกบั ลกั ษณะท่ีคลา้ ยคลงึ กันของตนเองกบั พ่อแม่ อธบิ ายการเปล่ียนสถานะของ สสารเม่ือทาให้สสารร้อนข้ึนหรือเย็นลง โดยใช้หลักฐานเชงิ ประจักษ์ อธิบายการละลายของสารในน้า โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ วิเคราะห์การเปล่ียนแปลงของสารเม่ือเกิดการเปล่ียนแปลงทางเคมี โดย ใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ วิเคราะห์และระบุการเปลี่ยนแปลงท่ีผันกลับได้และการเปล่ียนแปลงท่ีผัน กลับไม่ได้ อธิบายวิธีการหาแรงลัพธ์ของแรงหลายแรงในแนวเดียวกันท่ีกระทาต่อวัตถุในกรณีท่ีวัตถุ อยนู่ ่ิงจากหลักฐานเชิงประจักษ์ เขียนแผนภาพแสดงแรงท่กี ระทาต่อวัตถทุ ี่อยู่ในแนวเดียวกันและแรง ลัพธ์ท่ีกระทาต่อวัตถุ ใช้เครื่องช่ังสปริงในการวดั แรงที่กระทาต่อวัตถุ ระบุผลของแรงเสียดทานท่ีมีต่อ การเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนท่ีของวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์ เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทาน และแรงที่อยู่ในแนวเดียวกันที่กระทาต่อวัตถุ อธิบายการได้ยินเสียงผ่านตัวกลางจากหลักฐานเชิง ประจักษ์ ระบุตัวแปรทดลองและอธิบายลักษณะและการเกิดเสียงสูง เสียงต่า ออกแบบการทดลอง และอธิบายลักษณะและการเกิดเสียงดัง เสียงค่อย วัดระดับเสียงโดยใช้เคร่ืองมือวัดระดับเสียง ตระหนกั ในคุณค่าของความร้เู ร่ืองระดบั เสียงโดยเสนอแนะแนวทางในการหลีกเลี่ยงและลดมลพิษทาง เสียง เปรียบเทียบความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์จากแบบจาลอง ใช้แผนที่ดาวระบุ ตาแหน่งและเส้นทางการขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้าและอธิบายแบบรูปเส้นทางการขึ้น และตกของกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้าในรอบปี เปรียบเทียบปริมาณน้าในแต่ละแหล่งและระบุปริมาณ น้าทมี่ นุษยส์ ามารถนามาใช้ประโยชน์ได้จากข้อมูลทร่ี วบรวมได้ ตระหนกั ถึงคุณคา่ ของน้าโดยนาเสนอ แนวทางการใช้น้าอย่างประหยัดและการอนุรักษ์น้า สร้างแบบจาลองที่อธบิ ายการหมุนเวยี นของน้า ในวัฏจักรน้า เปรียบเทียบกระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้าค้าง และน้าค้างแข็ง จากแบบจาลอง เปรียบเทยี บกระบวนการเกิด ฝน หิมะ และลกู เห็บ จากขอ้ มลู ทร่ี วบรวมได้ ศึกษาการใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปญั หา การอธิบายการทางาน การคาดการณ์ผลลัพธ์ จากปัญหาอย่างง่าย ออกแบบ และเขียนโปรแกรมที่มีการใช้เหตุผลเชิงตรรกะอย่างง่าย ตรวจหา ข้อผิดพลาดและแก้ไข ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาข้อมูล ติดต่อส่ือสารและทางานร่วมกัน ประเมินความ น่าเชื่อถือของข้อมูล รวบรวม ประเมิน นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์โดยใช้ ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน สามารถใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีมารยาท เข้าใจสิทธิและหน้าท่ีของตน เคารพในสิทธิของผู้อ่ืน แจ้งผูเ้ กี่ยวข้องเม่อื พบขอ้ มลู หรอื บุคคลที่ไมเ่ หมาะสม

47 หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านตันหยงลุโละ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลาง ๒๕๕๑ มำตรฐำนกำรเรียนรู/้ ตวั ชว้ี ดั ว ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ว ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒ ว ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ว ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ว ๒.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ว ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒ ว ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ว ๔.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ รวมท้ังหมด 32 ตัวชีว้ ดั

48 หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นตันหยงลโุ ละ (ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลาง ๒๕๕๑ คำอธิบำยรำยวชิ ำ ว ๑๖๑๐๑ วิทยำศำสตร์ รำยวิชำพ้นื ฐำน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษำปีท่ี ๖ เวลำ ๘๐ ชั่วโมง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ระบุสารอาหารและบอกประโยชน์ของสารอาหารแต่ละประเภทจากอาหารที่ตนเอง รับประทานบอกแนวทางในการเลือกรับประทานอาหารให้ได้สารอาหารครบถ้วนในสัดส่วนที่ เหมาะสมกับเพศและวัย รวมทั้งความปลอดภัยต่อสุขภาพ ตระหนักถึงความสาคัญของสารอาหาร โดยการเลือกรับประทานอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วนในสัดส่วนท่ีเหมาะสมกับเพศและวัย รวมท้ัง ความปลอดภัยต่อสุขภาพ สร้างแบบจาลองระบบย่อยอาหารและบรรยายหน้าที่ของอวัยวะในระบบ ย่อยอาหาร รวมทั้งอธิบายการย่อยอาหารและการดูดซึมสารอาหาร ตระหนักถึงความสาคัญของ ระบบย่อยอาหาร โดยการบอก แนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะในระบบย่อยอาหารให้ทางานเป็น ปกติ อธิบายและเปรียบเทียบการแยกสารผสมโดยการหยบิ ออก การร่อน การใช้แม่เหล็กดึงดูด การ รินออก การกรอง และการตกตะกอน โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ รวมท้ังระบุวิธีแก้ปัญหาใน ชีวิตประจาวนั เกี่ยวกับการแยกสาร อธบิ ายการเกิดและผลของแรงไฟฟ้าซงึ่ เกดิ จากวตั ถทุ ่ีผ่านการขัดถู โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ระบุส่วนประกอบและบรรยายหน้าที่ของแต่ละส่วนประกอบของ วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายจากหลักฐานเชิงประจักษ์ เขียนแผนภาพและต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ออกแบบ การทดลองด้วยวิธีท่ีเหมาะสมในการอธิบายวิธีการและผลของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรม ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนุกรมโดยบอกประโยชน์และการ ประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจาวนั ออกแบบการทดลองและทดลองดว้ ยวธิ ีที่เหมาะสมในการอธิบายการต่อ หลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของการต่อไฟฟ้าแบบ อนกุ รม แบบขนาน อธิบายการเกิดเงามืดเงามัวจากหลักฐานเชิงประจักษ์ เขยี นแผนภาพรังสีของแสง แสดงการเกิดเงามืดเงามัว สร้างแบบจาลองที่อธิบายการเกิดและเปรียบเทียบปรากฏการณ์ สุริยุปราคาและจันทรุปราคา อธิบายพัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศ และการใช้ประโยชน์ใน ชีวิตประจาวันจากข้อมูลท่ีรวบรวมได้ เปรียบเทียบกระบวนการเกิดหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร สร้างแบบจาลองท่ีอธิบายการเกิดซากดึกดาบรรพ์และคาดคะเนสภาพแวดล้อมในอดีตของซากดึกดา บรรพ์ การเกดิ ลมบก ลมทะเล มรสมุ รวมท้ังอธิบายผลที่มีต่อสิ่งมชี วี ิตและสิ่งแวดล้อมจากแบบจาลอง อธิบายผลของมรสุมต่อการเกิดฤดูของประเทศไทย จากข้อมูลท่ีรวบรวม บรรยายลักษณะและ ผลกระทบของน้าท่วม การกัดเซาะชายฝั่งดินถล่ม แผ่นดินไหว ตระหนักถึงผลกระทบของภัย ธรรมชาติและธรณีพิบัติภัย โดยนาเสนอแนวทางในการเฝ้าระวังและปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากภัย ธรรมชาตแิ ละธรณีพิบัตภิ ัย ท่ีอาจเกิดในท้องถ่ิน อธบิ ายการเกดิ ปรากฏการณเ์ รือนกระจกและผลของ ปรากฏการณเ์ รอื นกระจกต่อส่งิ มีชวี ิต ตระหนกั ถึงผลกระทบองปรากฏการณ์เรือนกระจกโดยนาเสนอ แนวทางการปฏบิ ตั ติ นเพอ่ื ลดกจิ กรรมทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ แก๊สเรือนกระจก ศึกษาการใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการอธิบายและออกแบบวิธีการแก้ปัญหาท่ีพบใน ชีวิตประจาวัน การออกแบบโปรแกรมสามารถทาได้โดยเขียน เป็นข้อความหรือผังงานการออกแบบ และเขียนโปรแกรมท่ีมีการใชต้ ัวแปร การวนซ้า การตรวจสอบเงอื่ นไขหากมีข้อผดิ พลาดให้ตรวจสอบ การทางานทีละคาสั่ง เม่ือพบจุดที่ทาให้ผลลัพธ์ไม่ถูกต้อง ให้ทาการแก้ไขจนกว่าจะได้ผลลัพธ์ที่ถูก

49 หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านตนั หยงลุโละ (ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ ต้องการฝกึ ตรวจหาข้อผิดพลาดจากโปรแกรมของผู้อนื่ จะชว่ ยพัฒนาทกั ษะการหาสาเหตขุ องปัญหาได้ ดีย่ิงขึ้น เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรมและแก้ไข ใช้อินเทอร์เน็ต ในการค้นหาข้อมลู อย่างมีประสิทธภิ าพ ประสทิ ธิภาพ เปน็ การคน้ หาข้อมูลที่ได้ตรงตามความต้องการ ในเวลาท่ีรวดเร็ว จากแหล่งข้อมูลที่น่าเช่ือถือหลายแหล่ง และข้อมูล มีความสอดคล้องกัน การใช้ เทคนิคการค้นหาขั้นสูง ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางานร่วมกันอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าท่ี ของตน เคารพในสิทธิของผู้อืน่ แจ้งผ้เู กย่ี วข้องเมื่อพบขอ้ มลู หรือบุคคลทไ่ี ม่เหมาะสม มำตรฐำนกำรเรียนร้/ู ตัวชวี้ ดั ว ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕ ว ๒.๑ ป.๖/๑ ว ๒.๒ ป.๖/๑ ว ๒.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๕, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘ ว ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒ ว ๓.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๕, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙ ว ๔.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔ รวมท้ังหมด 30 ตัวชวี้ ัด

50 หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านตันหยงลโุ ละ (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลาง ๒๕๕๑ กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวัฒนธรรม ควำมสำคัญของสังคมศึกษำ ศำสนำ และวฒั นธรรม สงั คมโลกมกี ารเปลยี่ นแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลา กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ว่ามนุษย์ดารงชีวิตอย่างไร ท้ังในฐานะปัจเจก บุคคล และการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่าง จากัด นอกจากนี้ ยังช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจถึงการพัฒนา เปล่ียนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุ ปัจจัยต่างๆ ทาใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจในตนเอง และผู้อน่ื มีความอดทน อดกลนั้ ยอมรบั ในความแตกต่าง และมีคุณธรรม สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในการดาเนินชีวิต เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ และ สังคมโลก กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคม ที่มี ความเช่ือมสัมพันธ์กัน และมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเองกับ บริบทสภาพแวดล้อม เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมท่ี เหมาะสม โดยได้กาหนดสาระตา่ งๆไว้ ดงั นี้ - ศำสนำ ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพ้ืนฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนบั ถือ การนาหลักธรรมคาสอนไปปฏิบัติในการพัฒนา ตนเอง และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข เป็นผู้กระทาความดี มีค่านิยมที่ดีงาม พัฒนาตนเองอยู่เสมอ รวมท้ังบาเพ็ญประโยชนต์ ่อสงั คมและส่วนรวม - หน้ำท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และกำรดำเนินชีวิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคม ปัจจุบันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ลักษณะและ ความสาคัญ การเป็นพลเมืองดี ความแตกต่างและความหลากหลายทางวฒั นธรรม ค่านิยม ความเชอื่ ปลูกฝังค่านิยมด้านประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพการ ดาเนินชีวติ อยา่ งสนั ตสิ ขุ ในสงั คมไทยและสงั คมโลก - เศรษฐศำสตร์ การผลติ การแจกจา่ ย และการบริโภคสินค้าและบริการ การบริหารจัดการ ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดอย่างมีประสิทธิภาพ การดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ และการนาหลัก เศรษฐกจิ พอเพียงไปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน - ประวัติศำสตร์ เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ พัฒนาการ ของมนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบัน ความสัมพันธ์และเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ผลกระทบที่ เกิดจากเหตุการณ์สาคัญในอดีต บุคคลสาคัญท่ีมีอิทธิพลต่อการเปล่ียนแปลงต่างๆในอดีต ความ เป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรมและภมู ปิ ัญญาไทย แหลง่ อารยธรรมท่ีสาคญั ของโลก - ภูมิศำสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และ ภูมิอากาศของประเทศไทย และภูมิภาคต่างๆ ของโลก การใช้แผนที่และเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์กันของสิ่งต่างๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทาง ธรรมชาติ และสิ่งท่ีมนุษย์สรา้ งข้ึน การนาเสนอข้อมูลภูมิสารสนเทศ การอนุรักษ์ส่ิงแวดลอ้ มเพ่ือการ พฒั นาท่ยี ั่งยืน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook