Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565 กศน.อำเภอสามพราน

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565 กศน.อำเภอสามพราน

Published by Suvalai S, 2022-01-07 06:31:37

Description: แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565 กศน.อำเภอสามพราน

Keywords: แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2565 กศน.อำเภอสามพราน

Search

Read the Text Version

195 งบประมาณ ยะ ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสที่ 4 ผู้รบั ผิดชอบ ลา (ต.ค. - ธ.ค. (ม.ค. -ม.ี ค. (เม.ย. -มิ.ย. (ก.ค. -ก.ย. และพน้ื ท่ีรับผิดชอบ 2564) 2565) 2565) 2565) 65 - - 3,000 - นางบุษกร พรมเพยี งชา้ ง ตำบลบางช้าง 65 - - 2,600 - นางบุษกร พรมเพยี งช้าง ตำบลบางช้าง มิ.ย. - 5 - 3,600 - นางสาวทตั ติยา น้อยพทิ กั ษ์ ตำบลบางเตย ม.ิ ย. - - 2,000 - นางสาวทตั ติยา น้อยพทิ ักษ์ 5 ตำบลบางเตย 65 - - 3,000 - นางอารรี ัตน์ พุทธรกั ษา 65 - ตำบลบ้านใหม่ - 2,600 - นางอารรี ัตน์ พุทธรกั ษา ตำบลบ้านใหม่ 195

ท่ี กิจกรรม/โครงการ สถานที่ กลุม่ เป้าหมาย จำนวน ระย ดำเนินการ (คน) เวล 54 หลักสตู รพวงกุญแจ 18/2 หมู่ 5 ประชาชนทั่วไป 4 พ.ค. ตกุ๊ ตาผา้ ต. ยายชา จำนวน 6 คน 4 มิ.ย. 55 หลักสตู รสายคล้องแมส 18/2 หมู่ 5 ประชาชนทั่วไป ต. ยายชา จำนวน 6 คน 4 พ.ค. 56 หลกั สตู รการทำขนมอบ กศน.ตำบลไร่ขงิ ประชาชนทั่วไป 4 ม.ิ ย. (เค้กไข่ญ่ปี นุ่ ,มฟั ฟนิ ) จำนวน 6 คน 3 พ.ค. - 65 57 หลักสตู รผา้ มดั ย้อม 32/2 หมู่ 7 ประชาชนทั่วไป ตำบลไรข่ ิง จำนวน 3 คน 3 พ.ค. - ผูส้ งู อายุ 65 จำนวน 3 คน 3 พ.ค. - 65 58 หลกั สตู รการจัดสวนถาด 49/2 หมู่ 4 ประชาชนท่ัวไป ต.สามพราน จำนวน 6 คน 59 หลักสตู รการทำสเปรย์ 49/2 หมู่ 4 ประชาชนทั่วไป แอลกอฮอล์ และเจลลา้ งมอื ต.สามพราน จำนวน 6 คน 60 หลกั สตู รการทำ 49/2 หมู่ 4 ประชาชนทว่ั ไป กว๋ ยเตี๋ยวหลอด ต. สามพราน จำนวน 6 คน 61 หลกั สตู รอาหารว่าง(การ ชมรมผสู้ ูงอายุ ประชาชนท่วั ไป 3 พ.ค. ทำแซนด์วิช,การทำน้ำ ตำบลหอมเกรด็ จำนวน 6 คน สมนุ ไพรเพอ่ื สุขภาพ) หมู่ 4 ต. หอมเกรด็

196 งบประมาณ ยะ ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 ผ้รู ับผิดชอบ ลา (ต.ค. - ธ.ค. (ม.ค. -มี.ค. (เม.ย. -มิ.ย. (ก.ค. -ก.ย. และพน้ื ท่รี บั ผิดชอบ 2564) 2565) 2565) 2565) 65 - - 2,800 -- นายเมธา ประชมุ พันธ์ุ ตำบลยายชา 65 - - 2,800 - นายเมธา ประชมุ พันธุ์ ตำบลยายชา 65 - - 2,600 - นางอารีย์ ศรที ิพย์ ตำบลไรข่ งิ 65 - - 2,600 - นางอารยี ์ ศรที พิ ย์ ตำบลไร่ขิง มิ.ย. - - 1,900 - นายวรพจน์ ศรเี พช็ รธ์ าราพนั ธ์ 5 ตำบลสามพราน ม.ิ ย. - 5 - 2,600 - นายวรพจน์ ศรเี พ็ชรธ์ าราพนั ธ์ มิ.ย. - ตำบลสามพราน 5 - 1,800 - นายวรพจน์ ศรีเพช็ รธ์ าราพนั ธ์ 65 - ตำบลสามพราน - 2,600 - นางสาวจติ รา เช่ียงเทศ ตำบลหอมเกรด็ 196

ท่ี กิจกรรม/โครงการ สถานท่ี กลมุ่ เป้าหมาย จำนวน ระย ดำเนนิ การ (คน) เวล 62 หลกั สตู รการทำ ศนู ยเ์ รยี นรตู้ ำบล ประชาชนทั่วไป 3 มิ.ย. ก๋วยเต๋ยี วลุยสวน หอมเกร็ด หมู่ 4 จำนวน 6 คน ต. หอมเกรด็ 63 หลกั สตู รการทำสลดั โรล กศน. ตำบล ประชาชนท่วั ไป 3 พ.ค. หอมเกร็ด จำนวน 6 คน 64 หลกั สตู รการทำสบู่ ศูนยเ์ รียนรสู้ ขุ ประชาชนทั่วไป 3 มิ.ย. สมุนไพร ภาวะชมุ ชน หมู่ 4 จำนวน 6 คน ต. อ้อมใหญ่ 65 หลกั สตู รการทำขนม ชุมชนหม่บู ้าน ประชาชนทั่วไป 3 มิ.ย. หวานเพ่อื สุขภาพ (ขนม สุวรรณภมู ิ หมู่ 8 จำนวน 6 คน พุดด้ิง, วนุ้ ปโี ป)้ ต. ออ้ มใหญ่ 66 หลักสตู รการทำนำ้ ศนู ยเ์ รยี นรูส้ ุข ประชาชนทวั่ ไป 3 ม.ิ ย. อัญชันผสมนำ้ ผึ้งมะนาว ภาวะชุมชน หมู่ 4 จำนวน 6 คน ต. อ้อมใหญ่ รวม 398 224

197 งบประมาณ ยะ ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสที่ 4 ผู้รบั ผดิ ชอบ ลา (ต.ค. - ธ.ค. (ม.ค. -ม.ี ค. (เม.ย. -มิ.ย. (ก.ค. -ก.ย. และพืน้ ทรี่ ับผิดชอบ 2564) 2565) 2565) 2565) 65 - - 1,900 - นางสาวจิตรา เชยี่ งเทศ ตำบลหอมเกรด็ 65 - - 1,800 - นางสาวจติ รา เชี่ยงเทศ 65 - ตำบลหอมเกรด็ - 2,000 - นางวนั เพ็ญ ปิ่นทอง ตำบลออ้ มใหญ่ 65 - - 3,000 - นางวนั เพญ็ ป่นิ ทอง ตำบลอ้อมใหญ่ 65 - - 1,300 - นางวันเพ็ญ ป่นิ ทอง ตำบลอ้อมใหญ่ 65,100 86,100 5,600 197

8.3 กิจกรรมการศึกษาแบบชัน้ เรยี นวชิ าชีพ (31 ช่ัวโมงขนึ้ ไป) ท่ี กิจกรรม/โครงการ สถานที่ กลุ่มเปา้ หมาย จำนวน ระยะเว ดำเนินการ (คน) 1 ผา้ ดน้ มอื (ตะกร้าผ้า กศน.ตำบล ประชาชนทว่ั ไป 9 ม.ค. เอนกประสงค)์ กระทุม่ ลม้ จำนวน 11 คน ก.พ. 6 46 หมู่ 5 ประชาชนทว่ั ไป 2 การทำอาหารหวานเพือ่ ต. คลองจินดา จำนวน 8 คน 9 ม.ค. สขุ ภาพ ผสู้ งู อายุ ก.พ. 6 79 หมู่ 5 จำนวน 3 คน 3 การถักทแี่ ขวนกระถาง ต. คลองใหม่ 9 ก.พ. 6 ตน้ ไม้ 1 หมู่ 11 ประชาชนทว่ั ไป ต. ตลาดจินดา จำนวน 11 คน 9 ม.ค. 4 การปกั ผา้ สไบมอญ-รามญั ประชาชนทั่วไป ก.พ. 6 (ลายประยกุ ต)์ 38/4 หมู่ 5 จำนวน 8 คน ต.ทรงคนอง ผู้สูงอายุ 9 ม.ค. 6 5 การทำผกั อบกรอบ 75/3 หมู่ 3 จำนวน 3 คน ต. ทา่ ข้าม 9 ก.พ. 6 6 การสานเสน้ พลาสติก กศน.ตำบล ประชาชนทว่ั ไป ทา่ ตลาด จำนวน 11 คน 9 ม.ค. 6 7 อาหาร-ขนม ประชาชนทว่ั ไป จำนวน 11 คน ประชาชนทัว่ ไป จำนวน 11 คน

198 งบประมาณ วลา ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสท่ี 4 ผรู้ ับผิดชอบ (ต.ค. - ธ.ค. (ม.ค. -มี.ค. (เม.ย. -มิ.ย. (ก.ค. -ก.ย. และพนื้ ทร่ี บั ผิดชอบ 2564) 2565) 2565) 2565) - - 8,100 - - นางสาวชญานุช ชิน้ จนิ้ 65 ตำบลกระทุ่มลม้ - - 8,100 - - นางสาวญาณศิ า หมนื่ จง 65 ตำบลคลองจินดา 65 - 8,100 - - นายภรี ะ มายืนยง ตำบลคลองใหม่ - - 8,100 - 65 - นางสาวอญั ชลยี ์ วอ่ งไว ตำบลตลาดจินดา 65 - 8,100 - - นางสาวจินตนา โพธิศ์ รที อง 65 - 8,100 - ตำบลทรงคนอง 65 - 8,100 - - นางสาวจุฑารตั น์ บุญปลกู ตำบลท่าขา้ ม - นางสาวนาฏยา พรมพนั ธุ์ ตำบลท่าตลาด 198

ท่ี กิจกรรม/โครงการ สถานที่ กลมุ่ เปา้ หมาย จำนวน ระยะเว ดำเนินการ (คน) 8 การทำพวงกญุ แจจาก เทศบาลตำบล ประชาชนทว่ั ไป 9 ม.ค. เชอื กถัก บางกระทึก หมู่ 2 จำนวน 11 คน 9 ก.พ. 6 ต. บางกระทึก 9 ม.ค. ก.พ. 6 9 การแปรรปู สนิ ค้าทาง ศนู ย์การเรียนรู้ ประชาชนท่ัวไป 9 ม.ี ค. 6 เกษตร ชมุ ชนบ้านหวั อ่าว จำนวน 11 คน 9 ม.ค. หมู่ 5 ต.บางช้าง 8 ม.ค. 10 การทำอาหารวา่ งเพอื่ หมูบ่ ้านร่มไม้ ประชาชนทั่วไป ก.พ. 6 สุขภาพ ปภาวรินทร์ หมู่ 1 จำนวน 7 คน 8 ก.พ. ผู้สงู อายุ ตำบลบางเตย มี.ค. 6 จำนวน 4 คน 11 สานเส้นพลาสตกิ รพ.สต.บา้ น ประชาชนท่วั ไป เทยี นดดั หมู่ 1 จำนวน 11 คน ต. บา้ นใหม่ 12 การประดษิ ฐด์ อกสับปะรด 18/2 หมู่ 5 ประชาชนทั่วไป จากผา้ ต. ยายชา จำนวน 11 คน 13 คอมพวิ เตอรเ์ พ่ืองานอาชีพ ศูนย์เรยี นรูด้ ิจทิ ลั ประชาชนทั่วไป ชมุ ชน ตำบลไร่ขิง จำนวน 11 คน 14 อาหารจานเดียว 49/2 หมู่ 4 ประชาชนท่วั ไป ต. สามพราน จำนวน 11 คน

199 งบประมาณ วลา ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสท่ี 4 ผรู้ บั ผดิ ชอบ (ต.ค. - ธ.ค. (ม.ค. -มี.ค. (เม.ย. -มิ.ย. (ก.ค. -ก.ย. และพนื้ ที่รบั ผิดชอบ 2564) 2565) 2565) 2565) 65 - 8,100 - - นางสาวจฑุ ามาศ เพง็ รักษา ตำบลบางกระทกึ 65 - 8,100 - - นางบษุ กร พรมเพียงชา้ ง ตำบลบางช้าง - - 8,100 - 65 - นางสาวทตั ติยา นอ้ ยพทิ กั ษ์ ตำบลบางเตย 65 - 8,100 - - นางอารีรตั น์ พทุ ธรักษา ตำบลบ้านใหม่ 65 - 8,100 - - นายเมธา ประชุมพันธุ์ - - 7,200 - ตำบลยายชา 65 . - - 7,200 - - นางอารยี ์ ศรีทพิ ย์ 65 ตำบลไรข่ ิง - นายวรพจน์ ศรีเพ็ชรธ์ าราพันธ์ ตำบลสามพราน 199

ท่ี กิจกรรม/โครงการ สถานที่ กลุ่มเปา้ หมาย จำนวน ระยะเว ดำเนนิ การ (คน) 15 การแปรรปู ผลไม้ 49/2 หมู่ 6 ประชาชนทั่วไป 8 ก.พ. ต. หอมเกรด็ จำนวน 11 คน 8 ม.ค. 6 16 การทำอาหารว่างเพอ่ื อาคารอเนก ประชาชนทัว่ ไป 13 พ.ค. มิ.ย. 6 สุขภาพ ประสงค์ หมู่บ้าน จำนวน 11 คน 13 ก.ค. - ส นศิ าชล หมู่ 4 65 ต. ออ้ มใหญ่ 13 ม.ิ ย. 6 17 หลักสตู รผ้าด้นมือ กศน.ตำบล ประชาชนทั่วไป 13 พ.ค. มิ.ย. 6 (หรรษาฮาวาย) กระท่มุ ลม้ จำนวน 13 คน 13 ม.ิ ย. 6 18 หลักสตู รการทำอาหาร 42/1 หมู่ 3 ประชาชนทั่วไป วา่ งเพอื่ สขุ ภาพ ต. คลองจินดา จำนวน 9 คน 13 มิ.ย. 6 ผูส้ งู อายุ จำนวน 4 คน 19 หลกั สตู รการทำเคร่ืองดมื่ 79 หมู่ 5 ประชาชนทว่ั ไป เพอ่ื สุขภาพ ต. คลองใหม่ จำนวน 13 คน 20 หลักสตู รการแต่งหน้าเค้ก รา้ นเดอะเกรท ประชาชนทั่วไป หมู่ 2 ต. ตลาดจนิ ดา จำนวน 13 คน 21 หลักสตู รการทำผลไม้ 38/4 หมู่ 5 ประชาชนทว่ั ไป อบกรอบ ต. ทรงคนอง จำนวน 13 คน 22 หลักสตู รการทำเครอื่ งดม่ื 75/3 หมู่ 3 ประชาชนทั่วไป เพื่อสขุ ภาพ ต. ทา่ ขา้ ม จำนวน 13 คน

200 งบประมาณ วลา ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสท่ี 4 ผูร้ ับผดิ ชอบ (ต.ค. - ธ.ค. (ม.ค. -มี.ค. (เม.ย. -ม.ิ ย. (ก.ค. -ก.ย. และพนื้ ทรี่ ับผิดชอบ 2564) 2565) 2565) 2565) 65 - 7,200 - - นางสาวจติ รา เชย่ี งเทศ ตำบลหอมเกรด็ 65 - 7,200 - - นางวนั เพญ็ ปนิ่ ทอง ตำบลอ้อมใหญ่ -- - 11,700 - นางสาวชญานุช ชน้ิ จ้ิน 65 ตำบลกระทุ่มลม้ ส.ค. - 5 - - 11,700 นางสาวญาณศิ า หมน่ื จง ตำบลคลองจนิ ดา 65 - - 11,700 - นายภรี ะ มายนื ยง -- ตำบลคลองใหม่ 65 65 - - 11,700 - นางสาวอัญชลยี ์ ว่องไว ตำบลตลาดจินดา 65 - - 11,700 - นางสาวจนิ ตนา โพธ์ิศรที อง ตำบลทรงคนอง - 11,700 - นางสาวจุฑารตั น์ บญุ ปลูก ตำบลทา่ ข้าม 200

ท่ี กจิ กรรม/โครงการ สถานท่ี กลุม่ เป้าหมาย จำนวน ระยะเว ดำเนินการ (คน) 23 หลกั สตู รการปลกู ผักไฮโดร กศน.ตำบล ประชาชนท่ัวไป 13 ม.ิ ย. 6 13 ก.ค. 6 โปรนิกสเ์ พ่ือสุขภาพ ท่าตลาด จำนวน 13 คน 13 ก.ค. 6 24 หลกั สตู รการปักหมอนอิง เทศบาลตำบล ประชาชนทั่วไป 13 พ.ค. ดว้ ยมอื บางกระทกึ หมู่ 2 จำนวน 13 คน มิ.ย. 6 ต. บางกระทกึ 13 มิ.ย. 6 25 หลกั สตู รผลติ ภณั ฑ์จาก ศนู ย์การเรียนรู้ ประชาชนทว่ั ไป 13 พ.ค. 6 ชุมชนบ้านหัวอา่ ว จำนวน 13 คน 14 มิ.ย. 6 เสน้ พลาสตกิ หมู่ 5 ต. บางช้าง 26 หลกั สตู รการทำอาหาร หม่บู ้านร่มไม้ ประชาชนทว่ั ไป คาวเพอื่ สุขภาพ ปภาวรินทร์ หมู่ 1 จำนวน 8 คน ต. บางเตย ผสู้ ูงอายุ จำนวน 5 คน 27 หลกั สตู รการทำอาหาร รพ.สต.บา้ น ประชาชนทว่ั ไป วา่ งเพอ่ื สุขภาพ เทยี นดัด หมู่ 1 จำนวน 13 คน ต. บา้ นใหม่ 28 หลักสตู รการทำบายศรี 18/2 หมู่ 5 ต. ประชาชนทั่วไป ยายชา จำนวน 13 คน 29 หลกั สตู รการล้างและ หมบู่ า้ นแฟคตอรี่ ประชาชนทั่วไป ติดตงั้ เคร่ืองปรับอากาศ แลนด์ หมู่ 12 จำนวน 15 คน ต. ไร่ขงิ

201 งบประมาณ วลา ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 ผูร้ ับผดิ ชอบ (ต.ค. - ธ.ค. (ม.ค. -ม.ี ค. (เม.ย. -มิ.ย. (ก.ค. -ก.ย. และพน้ื ที่รับผดิ ชอบ 2564) 2565) 2565) 2565) 65 - - 11,700 - นางสาวนาฏยา พรมพันธ์ุ ตำบลท่าตลาด 65 - - - 11,700 นางสาวจฑุ ามาศ เพ็งรกั ษา ตำบลบางกระทกึ 65 - - - 11,700 นางบษุ กร พรมเพียงชา้ ง ตำบลบางชา้ ง -- 65 - 11,700 นางสาวทตั ตยิ า น้อยพิทักษ์ ตำบลบางเตย 65 - - 11,700 นางอารรี ัตน์ พทุ ธรกั ษา ตำบลบ้านใหม่ 65 - - 11,700 65 - - 12,600 นายเมธา ประชุมพนั ธ์ุ ตำบลยายชา นางอารีย์ ศรีทิพย์ ตำบลไร่ขิง 201

ที่ กจิ กรรม/โครงการ สถานที่ กลมุ่ เป้าหมาย จำนวน ระยะเว ดำเนนิ การ (คน) 30 หลกั สตู รผ้าด้นมือ(การทำ 49/2 หมู่ 4 ประชาชนทวั่ ไป 14 พ.ค. เบาะรองนัง่ ขนมปงั จากผา้ ) ตำบลสามพราน จำนวน 14 คน ม.ิ ย. 6 31 หลักสตู รการทำนำ้ พรกิ 49/2 หมู่ 6 ประชาชนท่วั ไป 14 พ.ค. 6 ต. หอมเกรด็ จำนวน 14 คน 32 หลักสตู รการทำผลติ ภณั ฑ์ อาคารอเนก ประชาชนทัว่ ไป 14 ม.ิ ย. 6 จากเสน้ พลาสตกิ ประสงค์หมู่บ้าน จำนวน 14 คน 352 นิศาชล หมู่ 4 รวม 389 ต. อ้อมใหญ่

202 งบประมาณ วลา ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสที่ 4 ผูร้ บั ผิดชอบ (ต.ค. - ธ.ค. (ม.ค. -มี.ค. (เม.ย. -ม.ิ ย. (ก.ค. -ก.ย. และพนื้ ที่รบั ผดิ ชอบ 2564) 2565) 2565) 2565) -- - 12,600 - นายวรพจน์ ศรเี พช็ รธ์ าราพันธ์ 65 ตำบลสามพราน 65 - - 12,600 - นางสาวจิตรา เชี่ยงเทศ ตำบลหอมเกรด็ 65 - - 12,600 - นางวันเพ็ญ ป่นิ ทอง ตำบลออ้ มใหญ่ - 126,000 155,700 35,100 202

203 9. ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอสามพราน 10. เครือขา่ ย 10.1 สำนักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม 10.2 กศน. ตำบล 16 แห่งในอำเภอสามพราน 10.3 แหลง่ เรียนรู้ /ภมู ปิ ัญญาในอำเภอสามพราน อำเภอและจังหวัดใกลเ้ คยี ง 10.4 พัฒนาชมุ ชนอำเภอสามพราน 10.5 เกษตรอำเภอสามพราน 10.6 องคก์ รปกครองท้องถ่นิ ในอำเภอสามพราน 11. โครงการทเ่ี กี่ยวข้อง 11.1 โครงการการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทักษะชวี ิต 11.2 โครงการการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาสงั คมและชมุ ชน 11.3 โครงการการเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 11.4 โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอธั ยาศัย (กิจกรรมส่งเสริมการอ่านของ กศน.ตำบล) 12. ผลลัพธ์ (Outcome) 12.1 ผเู้ ข้ารว่ มโครงการมีความรู้ เกดิ ทักษะดา้ นอาชพี ที่เหมาะสมกบั ตนเอง 12.2 ผู้เข้าร่วมโครงการนำความรู้ ทักษะไปใช้ในการประกอบอาชีพ พัฒนาอาชีพ สามารถ นำไปใชใ้ นชีวิตประจำวันได้ 13. ดชั นชี วี้ ดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ 13.1 ตัวช้ีวัดผลผลิต(Output) 1) ร้อยละ 80 ของกลุ่มเปา้ หมายเขา้ รว่ มโครงการ 2) ร้อยละ 80 ของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการได้รบั การพฒั นาจบการศกึ ษาตามหลกั สูตร 13.2 ตัวช้ีวัดผลลัพธ์ (Outcome) 1) ร้อยละ 80 ของประชาชนทีเ่ ข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ และทักษะไปใช้ใน การประกอบอาชพี พัฒนาอาชพี และนำไปใช้ในชีวติ ประจำวนั ได้ 2) รอ้ ยละ 80 ของประชาชนท่ีเข้าร่วมโครงการมคี วามพงึ พอใจระดบั มากขึ้นไป

204 14. การติดตามและประเมินผลโครงการ 14.1 แบบประเมินความพึงพอใจในการเขา้ ร่วมโครงการ 14.2 แบบติดตามการนำไปใช้ของผู้เข้ารว่ มโครงการ 14.3 เครอื่ งมอื นิเทศ ลงช่อื .........................................................ผู้รับผิดชอบโครงการ (นางประคองศรี โพธเิ์ พชร์) หวั หน้างานการจัดการศึกษาสายอาชพี

205 ลำดบั ทโี่ ครงการ 11 /2565 1. ช่ือโครงการ โครงการสง่ เสริมการศึกษาตามอธั ยาศยั (กจิ กรรมส่งเสริมการอ่านของห้องสมดุ ประชาชน) 2. ความสอดคล้อง 2.1 นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน ของสำนกั งาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กศน. เพอ่ื ประชาชน “กา้ วใหม่ : กา้ วแหง่ คุณภาพ” 1. ดา้ นการจัดการเรียนรคู้ ณุ ภาพ 1.1 น้อมนําพระบรมราโชบายสู่การปฏิบัติ รวมท้ังส่งเสริมและสนับสนุน การดาํ เนนิ งานโครงการ อันเนอื่ งมาจากพระราชดําริทกุ โครงการ และโครงการอันเกย่ี วเนอ่ื งจากราชวงศ์ 1.2 ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ท่ีสนองตอบยุทธศาสตร์ชาติ และนโยบายของ รัฐมนตรีวา่ การ และรฐั มนตรชี ่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ 1.3 ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคง การสร้างความเข้าใจท่ีถูกต้อง ในการปกครองระบอบประชาธิปไตย การเรียนรู้ท่ีปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ และอดุ มการณ์ ความยดึ มน่ั ในสถาบันหลักของชาติ รวมถึงการมีจติ อาสา ผา่ นกิจกรรมต่างๆ 1.4 ปรับปรุงหลักสูตรทุกระดับทุกประเภทให้สอดรับกับการพัฒนาคน ทิศทาง การพัฒนาประเทศ สอดคล้องกับบริบทท่ีเปล่ียนแปลง ความต้องการและความหลากหลายของผู้เรียน/ ผู้รับบริการ รวมถึงปรับลด ความหลากหลายและความซ้ําซ้อนของหลักสูตร เช่น หลักสูตรการศึกษา สาํ หรบั กลมุ่ เป้าหมายบนพ้ืนทสี่ ูง พน้ื ที่พเิ ศษ และพน้ื ที่ชายแดน รวมท้งั กลุ่มชาติพันธ์ุ 1.5 ปรับระบบทดสอบ วัดผล และประเมินผล โดยเน้นการใช้เทคโนโลยีเปน็ เครื่องมือ ใหผ้ ู้เรยี น สามารถเข้าถึงการประเมนิ ผลการเรียนรู้ได้ตามความต้องการ เพ่ือการสร้างโอกาสในการเรียนรู้ ให้ความสําคัญกับ การเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ พัฒนาระบบ การประเมินสมรรถนะผู้เรียน ให้ตอบโจทย์การประเมินในระดับประเทศและระดับสากล เช่น การประเมินสมรรถภาพผใู้ หญ่ ตลอดจนกระจายอาํ นาจ ไปยังพนื้ ทีใ่ นการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ 1.6 ส่งเสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยีในการจัดหลักสูตรการเรยี นรู้ในระบบออนไลนด์ ้วยตนเอง ครบวงจร ตั้งแต่การลงทะเบียนจนการประเมินผลเมื่อจบหลักสูตร ท้ังการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การศึกษา ต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเป็นการสร้างและขยายโอกาส ในการเรียนรใู้ หก้ บั กลุ่มเป้าหมายทสี่ ามารถเรียนรู้ ไดส้ ะดวก และตอบโจทยค์ วามต้องการของผูเ้ รยี น 2. ดา้ นการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตที่เน้นการพัฒนาทักษะที่จําเป็นสําหรับแต่ละ ชว่ งวยั และการจดั การศึกษาและการเรยี นร้ทู เ่ี หมาะสมกับแต่ละกลุ่มเปา้ หมายและบริบทพน้ื ที่

206 3. ด้านองค์กร สถานศึกษา และแหลง่ เรียนรู้คุณภาพ 3.3 ปรับรูปแบบกจิ กรรมในห้องสมุดประชาชน ทเ่ี น้น Library Delivery เพือ่ เพิม่ อตั ราการอา่ น และการรู้หนงั สือของประชาชน 3.5 ส่งเสริมและสนับสนนุ การสร้างพื้นท่กี ารเรียนรู้ ในรปู แบบ Public Learning Space/ Co- (eaming Space เพ่อื การสรา้ งนเิ วศการเรียนรใู้ ห้เกิดข้นึ สังคม 2.2 มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั (ฉบบั ลงวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2562) มาตรฐานการศกึ ษาตามอธั ยาศัย มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้รบั บริการการศึกษาตามอัธยาศยั 1.1 ผู้รับบริการมีความรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ โครงการ หรือกิจกรรมการศกึ ษาตามอัธยาศยั มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 2.1 การกำหนดโครงการ หรอื กิจกรรมการศกึ ษาตามอัธยาศยั 2.2 ผ้จู ัดกจิ กรรมมีความรู้ ความสามารถในการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย 2.3 สอ่ื นวัตกรรม และสภาพแวดลอ้ มท่ีเออื้ ต่อการจดั กจิ กรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 2.4 ผรู้ บั บรกิ ารมคี วามพงึ พอใจต่อการจดั การศกึ ษาตามอัธยาศัย มาตรฐานท่ี 3 คณุ ภาพการบรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษา 3.1 การบริหารจดั การของสถานศึกษาท่เี นน้ การมสี ่วนร่วม 3.2 ระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา 3.3 การพัฒนาครู และบุคลากรของสถานศึกษา 3.4 การใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพอ่ื สนับสนุนการบรหิ ารจัดการ 3.5 การกำกบั นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการดำเนินงานของสถานศกึ ษา 3.6 การปฏิบตั ิหนา้ ที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาท่ีเปน็ ไปตามบทบาททก่ี ำหนด 3.7 การส่งเสริม สนับสนุนภาคีเครือข่ายใหม้ สี ่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษา 3.8 การส่งเสริม สนับสนุนการสรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรู้ 3.9 การวิจัยเพ่ือการบรหิ ารจัดการศึกษาสถานศกึ ษา

207 3. หลักการและเหตุผล พระราชดำรัสของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี “การอ่านเป็นการสร้างทุกสิ่งให้กับผู้อ่าน” ทรงชี้ให้เห็นความสำคัญและประโยชน์ของการอ่าน หนังสือไว้ว่า “การอ่านหนังสือทำให้ได้เน้ือหา สามารถนำหนังสือไปไหนมาไหนได้ หนังสือเก็บไว้ได้นาน กว่าส่ืออย่างอ่ืน ซ่ึงมีอายุใช้งานจำกัด ผู้อ่านสามารถฝึกความคิด และสร้างจินตนาการ พัฒนาสมอง” และที่สำคัญพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 โดยกระทรวงศึกษาธกิ าร เน้นการส่งเสรมิ สนบั สนุนให้ประชาชนของประเทศเป็นผู้มคี วามร้ใู นด้านการคิด การอ่าน การค้นคว้าหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ จากภูมิปัญญาท้องถ่ิน จากปราชญ์ชาวบ้าน หรือ ภมู ิปัญญาพื้นบ้านเพื่อสร้างความย่ังยืน เขม้ แขง็ ของชุมชนและท้องถ่ิน ตลอดจนการพัฒนาประเทศอย่าง เป็นระบบ ตามพระราชบัญญัติการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พุทธศักราช 2551 ได้ กำหนดให้การจดั การศึกษาตามอัธยาศยั เป็นการจัดการศึกษาอกี ประเภทหนึ่งของการจัดการศึกษาท้ัง 3 ประเภท การจดั การศกึ ษาตามอัธยาศัย ดังกลา่ ว ประกอบไปดว้ ยการจดั การศึกษาโดยห้องสมุดประชาชน ทั้งระดับชุมชน ระดับตำบล ระดับอำเภอ และระดับจังหวัด การจัดการศึกษาในรูปแบบ กศน. ตำบล การศึกษาในรูปแบบศูนย์การเรียนชุมชน และการจัดการศึกษาในรปู แบบแหล่งเรียนรู้ นอกจากนี้การจัด การศึกษาตามอัธยาศัย ยังสามารถจัดการศึกษาในรูปแบบอื่น ๆ ได้แก่ ศูนย์วิทยาศาสตร์ทางการศึกษา การจัดการศึกษาโดยใช้สอื่ และเทคโนโลยกี ารเรยี นรู้ การจัดกจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน เป็นตน้ ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำเภอสามพราน ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั อำเภอสามพราน มบี ทบาทและภารกจิ โดยตรงในการจดั และส่งเสรมิ ในการจัดการศึกษาตาม อัธยาศัยในพ้ืนท่ีอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ซึ่งได้ดำเนินการในหลากหลายกิจกรรมและยืดหยุ่น ตามสภาพปัญหา และความต้องการของบุคคล ชุมชน และสังคม เพื่อให้การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เปน็ ประโยชน์ตอ่ การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาคุณภาพการเรยี นรู้ของประชาชนในโอกาสต่อไป 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพ่ือพัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้และศูนย์กลางในการจัดกิจกรรมการส่งเสริม การอา่ นและการเรยี นร้ทู เ่ี หมาะสม 4.2 เพ่ือให้ผู้รับบรกิ ารสามารถศึกษาหาความรู้และเรียนรเู้ พิ่มเติมตามความสนใจได้ด้วยตนเอง โดยการเข้าใช้ หอ้ งสมุดประชาชน“เฉลิมราชกุมาร”ี อำเภอสามพราน 4.3 เพ่ือให้ผู้รับบริการสามารถเข้าถึงการเรียนรู้ได้อย่างหลากหลาย มีความรู้ หรือทักษะ หรือ ประสบการณจ์ ากการเขา้ รว่ มกิจกรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัยทงั้ ภายในและบรกิ ารเชิงรกุ ของหอ้ งสมุด

208 5. เปา้ หมาย 5.1 เชิงปรมิ าณ ประชาชนทั่วไปในพ้นื ที่อำเภอสามพราน จำนวน 10,210 คน 5.2 เชิงคุณภาพ 1) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำเภอสามพราน เป็นศูนย์กลางในการจัด กจิ กรรมการส่งเสรมิ การอ่านและการเรียนรู้ 2) ผู้รับบริการสามารถศึกษาหาความรู้และเรียนรู้เพิ่มเติมตามความสนใจได้ด้วยตนเอง โดยการเขา้ ใช้ห้องสมดุ ประชาชน“เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อำเภอสามพราน 3) ผู้รับบริการการจัดการศึกษาตามของอัธยาศัยท้ังภายในและภายนอก ห้องสมุด ประชาชน“เฉลิมราชกุมารี” อำเภอสามพราน สามารถเข้าถึงการเรียนรู้ได้อย่างหลากหลายมีความรู้ หรือ ทักษะ หรอื ประสบการณ์จากการเขา้ รว่ มกจิ กรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 6. วิธดี ำเนินการ ที่ กิจกรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลุ่ม เปา้ หมาย สถานที่ ระยะ งบ เป้าหมาย (คน) ดำเนนิ เวลา ประมาณ การ (บาท) 1. ประชมุ คณะ เพือ่ วางแผนและ ผบู้ ริหาร 37 คน หอ้ งสมดุ 1 ต.ค. - ดำเนนิ งาน ทำแผนการ คณะครู ประชาชน ถงึ ช้แี จงและ ปฏิบตั ิงาน และ “เฉลมิ 30 พ.ย. วางแผน บรรณารัก ราชกมุ าร\"ี 64 การดำเนนิ งาน ษ์ กศน. อำเภอ สามพราน สามพราน 2. ปฏบิ ตั ิตามแผน 1) เพื่อสรา้ ง คณะกรรมการ คณะกรรมการ อำเภอ 1 ต.ค. 751,574 1) พฒั นาสถานท่ี บรรยากาศทเ่ี อ้ือ หอ้ งสมุด ห้องสมดุ สามพราน 64 ถงึ บาท และบรรยากาศ ตอ่ การอ่านและ ประชาชน 5 คน 30 ก.ย. (ค่าจดั ซ้อื ในการใหบ้ รกิ าร การเรียนรู้ นกั เรียนใน 10,210 คน 65 หนังสอื พมิ พ์ ปรับปรุงมมุ ปรับปรงุ มมุ ระบบ (ผู้เข้ารบั /วารสาร 2) พฒั นา 2) เพื่อให้ นกั ศกึ ษา บรกิ าร 8,550 บาท บุคลากรดา้ นการ บุคลากรมีความรู้ กศน. 3,000 คน ค่าจัดซอ้ื ส่ือ จดั การศึกษาตาม ความสามารถใน ประชาชน ยมื -คนื 31,875 อธั ยาศัย การให้ ทวั่ ไป และ 1,600 คน บาท

209 ที่ กจิ กรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย สถานที่ ระยะ งบ เป้าหมาย (คน) ดำเนิน เวลา ประมาณ การ (บาท) 3) ประชมุ บริการประชาชน ผ้สู งู อายุ สมาชิก คา่ สาธาร- คณะกรรมการ 3) เพื่อจดั หาสอื่ ห้องสมุด ณปู โภค ห้องสมดุ เพื่อ และทำรายการ 1,000 คน 8,711 บาท ให้บรกิ าร ส่อื และเพมิ่ และบรกิ าร คา่ ตอบแทน ประชาชนและ ประสิทธิภาพใน อนิ เตอรเ์ น็ต และใช้สอย พฒั นาเทคโนโลยี การนำเทคโนโลยี 1,000 คน วสั ดุ 4) องค์ความรู้ มาใชเ้ พ่ือให้ ผรู้ ว่ ม 19,890 ด้านตา่ ง ๆ/ บริการประชาชน กิจกรรม บาท ภมู ปิ ัญญา 4) เพื่อใหบ้ รกิ าร 1,600 คน) ค่าเช่าบริการ ทอ้ งถน่ิ (ศูนย์ องค์ความรู้ด้าน อินเทอร์เนต็ วฒั นธรรม ตา่ ง ๆ/ภมู ิ 34,548 ทอ้ งถิน่ Mini ปัญญาท้องถนิ่ บาท Science (ศนู ยว์ ฒั นธรรม ค่าจ้างเหมา Center) ฯลฯ ทอ้ งถิ่น Mini บรกิ าร Science 648,000 Center) ฯลฯ บาท) 5) บรกิ ารเชงิ รกุ เพอื่ จดั กจิ กรรม ประชาชน หอ้ งสมดุ อำเภอ 1 ต.ค. - สง่ เสรมิ ในอำเภอ เคลือ่ นที่ สามพราน 64 ถึง การศกึ ษาตาม สามพราน สำหรับชาว 30 ก.ย. อัธยาศยั ตลาด 500 65 คน บา้ น หนงั สือ ชมุ ชน 800 อาสาสมัคร ส่งเสรมิ การ อา่ น 110 คน หอ้ งสมดุ เคลอ่ื นท่ี 600 คน

210 ที่ กิจกรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย สถานท่ี ระยะ งบ เปา้ หมาย (คน) ดำเนนิ เวลา ประมาณ 3. ประเมนิ ผล เพอ่ื ติดตาม การ (บาท) การดำเนนิ งาน ความก้าวหนา้ บุคลากร บคุ ลากร 5 ห้องสมุด 1 ต.ค. - นเิ ทศตดิ ตาม และประเมนิ ผล งาน คน ประชาชน 64 ถึง - - ประเมินผล การดำเนินงาน หอ้ งสมุด “เฉลิมราช 30 ก.ย. และรายงานผล ประชาชน บุคลากร 5 กมุ ารี\" 65 - คน อำเภอ 4. นำผลการประเมิน เพ่ือพฒั นาการ บคุ ลากร สามพราน 1 ต.ค. มาปรับปรุงการ ดำเนินงานให้มี งาน ห้องสมดุ 64 ถงึ ดำเนินงานในคร้ัง ประสิทธภิ าพ หอ้ งสมุด ประชาชน 30 ก.ย. ต่อไป ยิ่งขึน้ ประชาชน “เฉลมิ ราช 65 กมุ าร\"ี อำเภอ สามพราน 7. งบประมาณ เงินงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน : พ้ืนฐานด้านการพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 5 ผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมจัด การศึกษาตามอธั ยาศัย งบดำเนินงาน จำนวนเงนิ 751,574 บาท (เจ็ดแสนห้าหม่ืนหน่ึงพนั หา้ ร้อยเจด็ สิบ สี่บาทถ้วน) รายละเอียดดงั น้ี 1) คา่ ตอบแทนใชส้ อยและวสั ดุ บาท 1.1 งบบริหาร 1) ค่าบริหารสำนกั งาน สำหรับห้องสมุดประชาชน 19,890 บาท 2) คา่ จดั ซื้อหนงั สอื พิมพแ์ ละคา่ วารสาร สำหรบั ห้องสมุดประชาชน 8,550 บาท 2) คา่ จัดซอื้ หนังสอื สอื่ สำหรบั หอ้ งสมุดประชาชน 31,875 บาท 3) ค่าสาธารณูปโภค 8,711 บาท 4) คา่ เชา่ บริการอนิ เทอรเ์ นต็ กศน.อำเภอสามพราน 19,140 บาท 5) คา่ เชา่ บริการอินเทอรเ์ น็ต ห้องสมุดประชาชน 15,408 บาท 6) ค่าจา้ งเหมาบริการ 648,000 บาท รวม 751,574 บาท หมายเหตุ ขอถวั จ่ายทุกรายการตามท่ีจ่ายจรงิ

8. แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ ที่ กิจกรรมหลกั สถานทดี่ ำเนนิ การ กลมุ่ เป้าหมาย จำนวน ระยะเวลา (คน) กจิ กรรมใหบ้ รกิ ารของห้องสมุดประชาชน 1 จำนวนผเู้ ข้ารับบริการ ห้องสมดุ ประชาชน ประชาชนทว่ั ไป 3,000 1 ต.ค. 64 \"เฉลิมราชกุมาร\"ี อำเภอสามพราน 30 ก.ย.65 2 จำนวนสมาชกิ ห้องสมดุ หอ้ งสมุดประชาชน ประชาชนท่ัวไป 1,000 1 ต.ค. 64 \"เฉลิมราชกมุ าร\"ี อำเภอสามพราน 30 ก.ย.65 3 การยืม - คืน หอ้ งสมุดประชาชน ประชาชนท่ัวไป 1,600 1 ต.ค. 64 \"เฉลิมราชกุมาร\"ี อำเภอสามพราน 30 ก.ย.65 4 การให้บรกิ ารอนิ เตอรเ์ น็ต ห้องสมดุ ประชาชน ประชาชนทวั่ ไป 1,000 1 ต.ค. 64 - \"เฉลมิ ราชกมุ าร\"ี 30 ก.ย.65 อำเภอสามพราน 5 ค่าจดั ซอื้ หนังสอื พมิ พ/์ ห้องสมุดประชาชน 1 แห่ง 1 ต.ค. 64 วารสาร สำหรับห้องสมดุ \"เฉลิมราชกุมาร\"ี 30 ก.ย.65 ประชาชน(แห่ง) อำเภอสามพราน 6 ค่าจัดซ้ือหนงั สือ และสอื่ หอ้ งสมุดประชาชน 1 แห่ง 1 ต.ค.64 - สำหรบั หอ้ งสมดุ ประชาชน \"เฉลมิ ราชกมุ าร\"ี 30 ก.ย.65 (แห่ง) อำเภอสามพราน 7 คา่ สาธารณูปโภค สำหรับ ห้องสมุดประชาชน 1 แหง่ 1 ต.ค.64- ห้องสมุดประชาชน (แหง่ ) \"เฉลิมราชกุมาร\"ี 30 ก.ย.65 อำเภอสามพราน

262 งบประมาณ ผรู้ บั ผดิ ชอบ า ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 และพื้นทีร่ ับผิดชอบ (ต.ค.-ธ.ค.63) (ม.ค.-ม.ี ค.64) (เม.ย.-ม.ิ ย.64) (ก.ค.-ก.ย.64) -- - - - นางสาวชิดสุมน ชนิ วงษเ์ ขียว 5 - - - นางสาวชดิ สมุ น ชินวงษ์เขยี ว - - - นางสาวเสาวลกั ษณ์ คานพลู -- 3,852 3,852 3,852 นางสาวโรสิตา ลาภอาภารัตน์ 5 2,137.50 2,137.50 2,137.50 นางเอ้ือมเดอื น เปลย่ี นจดั - 15,937.50 -- - นางเออ้ื มเดอื น เปลย่ี นจัด 5 - 3,852 5 - 2,137.50 5 - 15,937.50 5 2,177.75 2,177.75 2,177.75 2,177.75 นางสาวโรสิตา ลาภอาภารัตน์ 5 211

ท่ี กจิ กรรมหลกั สถานทดี่ ำเนนิ การ กลุ่มเปา้ หมาย จำนวน ระยะเวลา (คน) 8 คา่ ตอบแทนใชส้ อยและวสั ดุ หอ้ งสมุดประชาชน 1 แหง่ 1 ต.ค.64 - (แห่ง) \"เฉลิมราชกุมาร\"ี 30 ก.ย.65 อำเภอสามพราน 9 คา่ จา้ งเหมาบริการ หอ้ งสมุดประชาชน บรรณารักษ์ 3 1 ต.ค.64 - \"เฉลมิ ราชกมุ าร\"ี อตั รา พนักงาน 30 ก.ย.65 อำเภอสามพราน บรกิ าร 1 อตั รา รวม 4 อัตรา กิจกรรมสง่ เสริมการอ่านของหอ้ งสมดุ ประชาชน 1 กิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ นของ ห้องสมุดประชาชน นกั เรียน/ 1,600 1 ต.ค.64 - หอ้ งสมุดประชาชน \"เฉลิมราชกมุ าร\"ี ประชาชน 30 ก.ย.65 อำเภอสามพราน 2 อาสาสมคั รสง่ เสรมิ การอ่าน ห้องสมุดประชาชน นักเรยี น/ 10 1 ต.ค.64 - \"เฉลมิ ราชกุมาร\"ี นักศึกษา จิต 30 ก.ย.65 อำเภอสามพราน อาสา 3 ผูเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรม อาสาสมคั ร ห้องสมดุ ประชาชน ประชาชนท่วั ไป 100 1 ต.ค.64 - \"เฉลิมราชกุมาร\"ี ส่งเสริมการอา่ น 30 ก.ย.65 อำเภอสามพราน กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรขู้ องบา้ นหนังสอื ชุมชน 1 บ้านหนังสือชุมชน บ้านหนงั สอื ชุมชน ประชาชนท่วั ไป 800 1 ต.ค.64 - 18 แห่งในอำเภอ 30 ก.ย.65 สามพราน

263 งบประมาณ ผรู้ ับผิดชอบ า ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 และพน้ื ทีร่ บั ผดิ ชอบ (ต.ค.-ธ.ค.63) (ม.ค.-ม.ี ค.64) (เม.ย.-มิ.ย.64) (ก.ค.-ก.ย.64) - 4,972.50 4,972.50 4,972.50 4,972.50 นางสาววรภัทร บณุ ยพรหม 5 - 162,000 162,000 162,000 162,000 นางสาววรภทั ร บณุ ยพรหม -- -- - นางสาวโรสติ า ลาภอาภารัตน์ 5 -- - นางเอื้อมเดือน เปลยี่ นจัด -- -- - นางเอ้อื มเดอื น เปลยี่ นจัด -- -- - นางเออ้ื มเดอื น เปลย่ี นจัด -- 212

ที่ กจิ กรรมหลกั สถานท่ดี ำเนนิ การ กลมุ่ เปา้ หมาย จำนวน ระยะเวลา (คน) กจิ กรรมส่งเสริมการเรียนรู้ของหน่วยเคลื่อนที่โมบาย 1 ห้องสมุดเคลอื่ นท่ี พน้ื ทีใ่ นอำเภอ นักเรียน/ 600 1 ต.ค.64- สามพราน ประชาชน 30 ก.ย.65 กิจกรรมส่งเสริมการเรยี นรู้ของห้องสมุดเคล่ือนที่สำหรบั ชาวตลาด 1 น่งั ทไ่ี หนอา่ นท่นี ่นั /ห้องสมดุ ตลาดนำ้ ดอนหวาย ประชาชนทวั่ ไป 500 1 ต.ค.64- 30 ก.ย.65 เคลอื่ นทีส่ ำหรับชาวตลาด รวม 10,210

264 งบประมาณ ผู้รบั ผดิ ชอบ า ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 และพื้นทร่ี ับผิดชอบ (ต.ค.-ธ.ค.63) (ม.ค.-มี.ค.64) (เม.ย.-มิ.ย.64) (ก.ค.-ก.ย.64) - - - - นางสาวโรสติ า ลาภอาภารตั น์ - - - - นางสาวชดิ สุมน ชินวงษ์เขยี ว 191,077.25 175,139.75 191,077.25 175,139.75 213

214 9. ผรู้ ับผิดชอบโครงการ กลุ่มจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ สามพราน 10. เครือข่าย 10.1 วดั ไรข่ ิง พระอารามหลวง 10.2 กศน.ตำบล 16 ตำบลในอำเภอสามพราน 10.3 บา้ นหนงั สอื ชุมชน 16 แหง่ 10.4 โรงเรียนในอำเภอสามพราน 10.5 ศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ ในอำเภอสามพราน 10.6 วทิ ยาลยั สงฆ์พุทธปัญญาศรีทวารวดี มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 10.7 ตลาดน้ำดอนหวาย 10.8 ทา่ เรือศรีสวัสดยิ์ ้อนยุค (นายสวสั ด์ิ นิ่มอนงค)์ 10.9 บริษัทหา้ งรา้ นในอำเภอสามพราน 11. โครงการทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 11.1 โครงการจัดการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานสำหรับคนพกิ าร 11.2 โครงการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน 11.3 โครงการสง่ เสรมิ การศึกษาตามอธั ยาศัย (กิจกรรมส่งเสริมการอา่ นของ กศน. ตำบล) 11.4 โครงการจัดนิทรรศการวิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษาท้องถิ่น อำเภอสามพราน จังหวัด นครปฐม 12. ผลลพั ธ์ (Outcome) 12.1 ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำเภอสามพราน เป็นศูนย์กลางในการจัดกิจกรรม สง่ เสรมิ การอา่ นและการเรยี นรู้ 12.2 มีผู้รับบรกิ ารเข้าใช้/ร่วมกิจกรรมห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำเภอสามพราน สามารถเขา้ ถึงการเรียนรู้ได้อย่างหลากหลาย สามารถศึกษาหาความรู้และเรียนรู้เพ่ิมเติมตามความสนใจ ไดด้ ้วยตนเองอย่างตอ่ เน่ืองอนั จะเปน็ พ้ืนฐานในการสร้างสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ในอนาคตไดต้ ่อไป 12.3 ผู้รับบริการมีความรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ หรือกจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัย

215 13. ดชั นชี ว้ี ัดผลสำเร็จของโครงการ 13.1 ตวั ชีว้ ดั ผลผลิต (Output) 1) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำเภอสามพราน ได้รับการพัฒนาให้เป็น ศูนย์กลางในการจดั กจิ กรรมส่งเสริมการอ่านและการเรยี นรู้ 2) ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เด็กปฐมวัย นักเรียนในระบบ นักศึกษา กศน. ประชาชน และผู้สูงอายทุ เ่ี ข้าใชห้ ้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อำเภอสามพราน 3) ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เด็กปฐมวัย นักเรียนในระบบ นักศึกษากศน. ประชาชน ผู้สูงอายุ นักท่องเท่ียว และพ่อค้าแม่ค้า ร่วมกิจกรรมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยของ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำเภอสามพราน 4) ร้อยละ 80 ของผู้รับบริการมีความรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกับ วตั ถุประสงคข์ องโครงการ หรอื กิจกรรม 13.2 ตัวชี้วดั ผลลัพธ์ (Outcome) 1) หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อำเภอสามพราน เป็นศนู ย์กลางในการจัด กิจกรรมการสง่ เสริมการอ่านและการเรียนรู้ 2) ร้อยละ 80 ของผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อใช้บริการของห้องสมุดประชาชนฯ ในระดบั มากข้นึ ไป 3) ร้อยละ 80 ของผู้รับบริการสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียน การทำงาน และชีวิตประจำวันได้ 14. การติดตามและประเมนิ ผลโครงการ 14.1 แบบสอบถาม 14.2 แบบประเมนิ ความพึงพอใจ ลงชือ่ .........................................................ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ (นางสาววรภทั ร บุณยพรหม) หวั หนา้ กล่มุ จัดการศึกษาตามอธั ยาศยั

216 ลำดับทโี่ ครงการ 12/2565 1. ช่อื โครงการ โครงการส่งเสรมิ การศึกษาตามอธั ยาศยั (กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่านของ กศน.ตำบล) 2. ความสอดคล้อง 2.1 นโยบายและจดุ เนน้ การดำเนนิ งาน ของสำนกั งาน กศน. ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 กศน. เพื่อประชาชน “ก้าวใหม่ : กา้ วแหง่ คุณภาพ” 1. ด้านการจดั การเรียนรูค้ ุณภาพ 1.1 น้อมนําพระบรมราโชบายสู่การปฏิบัติ รวมท้ังส่งเสริมและสนับสนุน การดําเนินงานโครงการ อันเน่ืองมาจากพระราชดําริทกุ โครงการ และโครงการอนั เกยี่ วเนือ่ งจากราชวงศ์ 1.2 ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ที่สนองตอบยุทธศาสตร์ชาติ และนโยบายของ รัฐมนตรีวา่ การ และรฐั มนตรชี ว่ ยว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 1.3 ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือเสริมสร้างความมั่นคง การสรา้ งความเข้าใจที่ถูกต้อง ในการปกครองระบอบประชาธิปไตย การเรียนรู้ท่ีปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ และอุดมการณ์ ความยึดมั่นในสถาบนั หลกั ของชาติ รวมถึงการมีจติ อาสา ผา่ นกิจกรรมตา่ งๆ 1.4 ปรับปรุงหลักสูตรทุกระดับทุกประเภทให้สอดรับกับการพัฒนาคน ทิศทาง การพัฒนาประเทศ สอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนแปลง ความต้องการและความหลากหลายของผู้เรียน/ ผู้รับบริการ รวมถึงปรับลด ความหลากหลายและความซ้ําซ้อนของหลักสูตร เช่น หลักสูตรการศึกษา สําหรับกลมุ่ เป้าหมายบนพ้ืนทีส่ ูง พนื้ ที่พเิ ศษ และพนื้ ทีช่ ายแดน รวมทั้งกลุ่มชาติพันธ์ุ 1.5 ปรับระบบทดสอบ วัดผล และประเมินผล โดยเน้นการใช้เทคโนโลยีเป็นเคร่อื งมือ ให้ผเู้ รียน สามารถเขา้ ถึงการประเมนิ ผลการเรียนรู้ไดต้ ามความต้องการ เพ่ือการสร้างโอกาสในการเรียนรู้ ให้ความสําคัญกับ การเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ พัฒนาระบบ การประเมินสมรรถนะผู้เรียน ให้ตอบโจทย์การประเมินในระดับประเทศและระดับสากล เช่น การประเมินสมรรถภาพผู้ใหญ่ ตลอดจนกระจายอํานาจ ไปยังพื้นทใ่ี นการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 1.6 สง่ เสรมิ การใช้เทคโนโลยใี นการจัดหลกั สูตรการเรยี นรใู้ นระบบออนไลนด์ ้วยตนเอง ครบวงจร ต้ังแต่การลงทะเบียนจนการประเมินผลเมื่อจบหลักสูตร ท้ังการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาข้ันพื้นฐาน การศึกษา ต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเป็นการสร้างและขยายโอกาส ในการเรยี นรู้ให้กับกลุม่ เปา้ หมายทสี่ ามารถเรยี นรู้ ได้สะดวก และตอบโจทยค์ วามต้องการของผูเ้ รียน 2. ด้านการสร้างสมรรถนะและทกั ษะคุณภาพ 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตท่ีเน้นการพัฒนาทักษะท่ีจําเป็นสําหรับแต่ละ ช่วงวัย และการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรทู้ ีเ่ หมาะสมกับแตล่ ะกลุม่ เปา้ หมายและบริบทพื้นท่ี

217 3. ด้านองคก์ ร สถานศกึ ษา และแหล่งเรียนรู้คณุ ภาพ 3.2 ยกระดบั มาตรฐาน กศน.ตาํ บล และศนู ย์การเรียนรูช้ มุ ชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟา้ หลวง” (ศศช.) ใหเ้ ปน็ พน้ื ทก่ี ารเรียนรตู้ ลอดชีวติ ที่สําคัญของชมุ ชน 3.5 สง่ เสริมและสนับสนุนการสรา้ งพื้นทีก่ ารเรียนรู้ ในรูปแบบ Public Learning Space/ Co- (eaming Space เพ่ือการสร้างนิเวศการเรยี นรใู้ หเ้ กิดขึน้ สังคม 2.2 มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั (ฉบับลงวนั ท่ี 6 ธันวาคม พ.ศ. 2562) มาตรฐานการศกึ ษาตามอธั ยาศัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูร้ ับบรกิ ารการศึกษาตามอธั ยาศัย 1.1 ผู้รับบริการมีความรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ โครงการ หรือกจิ กรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย มาตรฐานที่ 2 คณุ ภาพการจัดการศกึ ษาตามอัธยาศยั 2.1 การกำหนดโครงการ หรือกจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศัย 2.2 ผจู้ ดั กจิ กรรมมคี วามรู้ ความสามารถในการจัดกจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศัย 2.3 ส่อื นวัตกรรม และสภาพแวดลอ้ มท่เี อ้ือต่อการจดั กิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั 2.4 ผู้รบั บริการมีความพงึ พอใจต่อการจัดการศกึ ษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจดั การของสถานศกึ ษา 3.1 การบรหิ ารจัดการของสถานศึกษาทีเ่ นน้ การมสี ว่ นร่วม 3.2 ระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 3.3 การพัฒนาครู และบุคลากรของสถานศึกษา 3.4 การใช้เทคโนโลยีดจิ ิทลั เพ่ือสนบั สนุนการบรหิ ารจัดการ 3.5 การกำกบั นิเทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษา 3.6 การปฏิบตั ิหน้าทข่ี องคณะกรรมการสถานศกึ ษาที่เปน็ ไปตามบทบาททกี่ ำหนด 3.7 การสง่ เสรมิ สนบั สนุนภาคเี ครอื ข่ายให้มีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษา 3.8 การส่งเสรมิ สนับสนุนการสร้างสงั คมแห่งการเรยี นรู้ 3.9 การวิจยั เพอ่ื การบริหารจดั การศึกษาสถานศกึ ษา

218 3. หลกั การและเหตผุ ล ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายใหม้ ีการจดั ตง้ั กศน. ตำบล/แขวงขึน้ ในปี พ.ศ. 2553 และ ได้ออกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วย กศน. ตำบล/แขวง : แหล่งเรียนรู้ราคาถูก พ.ศ. 2553 ลงวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2553 เพอื่ เป็นศนู ย์กลางการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชนในชุมชน โดยเน้น การมีส่วนร่วมการจัดการศึกษาของชุมชนและจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้ ประชาชนได้รับการศึกษาตลอดชีวิตอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ ซ่ึงในปีงบประมาณพ.ศ. 2564 สำนักงาน กศน. ได้จัดทำ “มาตรฐาน กศน. ตำบล ปี 2564” เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา กศน. ตำบล/แขวง ตามสภาพบริบทระดับพื้นที่ในปี พ.ศ. 2565 สำนักงาน กศน. ได้ปรับมาตรฐาน กศน. ตำบล/แขวง เพ่ือให้สอดรับกับการพัฒนาตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้าน การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ข้อที่ 2 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ท่ีมุ่งเน้นและนำประเทศไทยเข้าสู่สังคมท่ีมีความม่ันคง ม่ังคั่งและย่ังยืน เพ่ือให้ประชาชนทุกช่วงวัยมี โอกาสไดร้ ับการศึกษาตลอดชีวติ ให้มคี วามรู้ ทักษะและประสบการณ์อยา่ งเพียงพอตอ่ การดำรงชวี ิต เป็น พลเมืองดี รู้เท่าทันและปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม สังคมท่ีเปลี่ยนไปได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งการพัฒนา ทักษะท่ีจำเป็นในศตวรรษที่ 21 เพื่อเข้าสู่ประเทศไทย 4.0 ท้ังน้ี กศน.อำเภอสามพราน ได้ดำเนินการ ขับเคล่ือนการจัดการศึกษา โดยใช้กศน. ตำบล/แขวง เป็นกลไกการขับเคลื่อนการจัดการศึกษาและ การเรียนรู้ในระดับตำบล ที่ทำหน้าท่ีให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ส่งเสริม ให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตภายในชุมชน ซ่ึงมีความจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาท้ังทางด้านบุคลากร มาตรฐาน กศน. ตำบล ปี 2565 หน้า 2 (ครู กศน.ตำบล) ในการเป็นผู้จัดการศึกษาการเรียนรู้ การพัฒนาการจัดกิจกรรมในรูปแบบท่ีหลากหลายตรงกับความต้องการของชุมชน เพื่อยกระดับคุณภาพ ให้เปน็ แหล่งเรยี นรู้เชงิ สร้างสรรคแ์ ละมีชวี ิต เอื้อต่อการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชน นโยบายของรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาการ (ดร.กนกวรรณ วิลาวัลย์) การขับเคลื่อน กศน.สู่ กศน. WOW 1) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เก่ียวข้องกับการจดั กิจกรรมการศึกษาและเรียนรู้ ( Good Teacher) 2) พัฒนา กศน.ตำบลให้มีบรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มท่ีเอ้ือตอ่ การเรียนรู้ (Good Place –Best Check in) 3) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ ( Good Activities) 4) เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย (Good Partnerships) 5) พัฒนานวัตกรรมทาง การศึกษาเพอ่ื ประโยชนต์ อ่ การจดั การศึกษาและกลุ่มเปา้ หมาย (Good Innovation) นโยบายและจุดเน้นการดําเนินงาน สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ข้อ 3 ด้านองค์กร สถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้คุณภาพ 3.2 ยกระดับมาตรฐาน กศน.ตําบล และศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” (ศศช.) ให้เป็น พื้นท่ีการเรียนร้ตู ลอดชีวติ ท่ีสําคัญของชมุ ชน สำนักงาน กศน. ได้ปรับมาตรฐาน กศน. ตำบล เพื่อใหค้ รู กศน.ตำบลและผู้เกี่ยวข้อง มีแนวทาง ในการพัฒนา กศน. ตำบล/แขวง โดยมาตรฐาน กศน. ตำบล 2565 ประกอบด้วย 4 ดา้ น คือ มาตรฐานที่ 1 ด้านการบริหารจัดการ มาตรฐานที่ 2 ด้านการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ มาตรฐานที่ 3 ดา้ นการมีสว่ นรว่ ม

219 มาตรฐานท่ี 4 ด้านการติดตามผล ประเมินผลและรายงานผล มรี ายละเอยี ดตัวบ่งช้แี ต่ละมาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานท่ี1 ด้านการบริหารจัดการ มี 5 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1.1 อาคาร สภาพเหมาะสม มั่นคง แข็งแรง ปลอดภัย และมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้1.2 สื่อ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และส่ิงอำนวย ความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ 1.3 การบริหารงบประมาณ 1.4 บุคลากรปฏิบัติงานครอบคลุมตาม ภารกิจท่ีกำหนด 1.5 การสร้างและนำนวัตกรรมและหรอื เทคโนโลยีมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ ดังนั้น กศน.อำเภอสามพราน จึงจัดทำโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย (แหล่งเรียนรู้ใน กศน.ตำบล) ขึ้น เพือ่ ยกระดับคุณภาพ กศน.ตำบลให้มีประสทิ ธภิ าพอนั เป็นประโยชน์ตอ่ การจดั การศกึ ษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยในชมุ ชน อกี ท้ังยงั เป็นต้นแบบ กศน.ตำบล ใหก้ ับ กศน.ตำบลอื่น ๆ ได้นำไปปรับประยุกต์ใช้ในพื้นที่ของตนเองได้อย่างมีศักยภาพและเหมาะสมกับบริบทพ้ืนที่ เพื่อเป็น แนวทางในการพัฒนาและปรับปรุง กศน.ตำบลให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนท่ีมีประสิทธิภาพ และเพ่ือ พัฒนาครูและบุคลากรท่ีเก่ียวข้องกับการจัดกิจกรรมการศึกษา และการเรียนรู้ การจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ต่อเน่ือง การส่งเสริมการจัดกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ภายใน กศน.ตำบล การเสรมิ สร้างและให้ความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย และการนำเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาบูรณา การปรับประยุกตใ์ ช้ใหเ้ ปน็ ประโยชนใ์ นการพัฒนาและขยายบทบาทการดำเนินงานของ กศน. ตำบล 4. วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือยกระดับคุณภาพ กศน.ตำบลให้มีประสิทธิภาพอันเป็นประโยชน์ต่อการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชมุ ชน อีกท้งั ยังเป็นต้นแบบ กศน.ตำบล ใหก้ บั กศน.ตำบลอ่ืน ๆ ไดน้ ำไปปรบั ประยุกต์ใช้ในพนื้ ท่ขี องตนเองได้อย่างมีศักยภาพและเหมาะสมกับบรบิ ทพื้นที่ ดงั นี้ 1) กศน.ตำบลกระทมุ่ ลม้ รกั ษามาตรฐานกศน.ตำบล ตน้ แบบ 5 ดีพรเี มย่ี มพลัส 2) กศน.ตำบลไร่ขิง กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดีพรีเม่ียม ยกระดับ เป็น กศน.ตำบล ตน้ แบบ 5 ดพี รเี มย่ี มพลัส 3) กศน.ตำบลบางกระทึก รกั ษามาตรฐานกศน.ตำบล ต้นแบบ 5 ดี พรเี มย่ี ม 4) กศน.ตำบล บางเตย และ กศน.ตำบลบ้านใหม่ ยกระดับ กศน.ตำบลต้นแบบ 5ดี พรีเม่ยี ม 5) กศน.ตำบลอกี 11ตำบล พัฒนาตามมาตรฐานกศน.ตำบล 2565 2. เพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุง กศน.ตำบลให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนที่มี ประสิทธภิ าพ 3. เพื่อพัฒนาครูและบุคลากรที่เก่ียวข้องให้สามารถจัดกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ การจดั บรรยากาศ สภาพแวดลอ้ มที่เออื้ ต่อการเรียนร้ตู ่อเน่ือง การส่งเสรมิ การจัดกจิ กรรมการศึกษา และ การเรียนร้ภู ายใน กศน.ตำบล การเสริมสร้างและให้ความร่วมมือกบั ภาคีเครือข่าย และการนำเทคโนโลยี ดิจิทัลเข้ามาบูรณาการปรับประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ในการพัฒนาและขยายบทบาทการดำเนินงาน ของ กศน.ตำบล

220 5. เปา้ หมาย 5.1 เชงิ ปรมิ าณ ประชาชนทัว่ ไปในพน้ื ที่อำเภอสามพราน จำนวน 4,880 คน 5.2 เชิงคณุ ภาพ 1. กศน.ตำบลมีประสิทธิภาพอันเป็นประโยชน์ต่อการจัดการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัยในชุมชน อีกท้ังยังเป็นต้นแบบ กศน.ตำบล ให้กับ กศน.ตำบลอ่ืน ๆ ได้นำไปปรับ ประยกุ ตใ์ ช้ในพนื้ ทขี่ องตนเองได้อยา่ งมีศกั ยภาพและเหมาะสมกับบริบทพนื้ ท่ี ดังนี้ 1) กศน.ตำบลกระทุ่มล้ม รักษามาตรฐานกศน.ตำบล ต้นแบบ 5 ดีพรี เมีย่ มพลสั 2) กศน.ตำบลไร่ขิง กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดีพรีเม่ียม ยกระดับ เป็น กศน. ตำบล ตน้ แบบ 5 ดพี รเี มี่ยมพลสั 3) กศน.ตำบลบางกระทึก รักษามาตรฐานกศน.ตำบล ต้นแบบ 5 ดี พรเี มยี่ ม 4) กศน.ตำบล บางเตย และ กศน.ตำบลบ้านใหม่ ยกระดับ กศน.ตำบล ตน้ แบบ 5ดี พรเี มี่ยม 5) กศน.ตำบลอกี 11ตำบล พฒั นาตามมาตรฐานกศน.ตำบล 2565 2. กศน.ตำบลมีแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุง กศน.ตำบลให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของ ชุมชนทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ 3. ครูและบุคลากรที่เก่ียวข้องสามารถจัดกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ การจัด บรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ต่อเนื่อง การส่งเสริมการจัดกิจกรรมการศึกษาและ การเรียนรภู้ ายใน กศน.ตำบล การเสริมสรา้ งและใหค้ วามร่วมมอื กบั ภาคีเครือขา่ ย และการนำเทคโนโลยี ดิจิทัลเข้ามาบูรณาการปรับประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ในการพัฒนาและขยายบทบาทการดำเนินงาน ของ กศน.ตำบล 4. ผู้รับบริการการจัดการศึกษาตามของ กศน.ตำบล สามารถเข้าถึงการเรียนรู้ได้ อยา่ งหลากหลาย มีความรู้ หรือทักษะ หรอื ประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย

221 6. วิธดี ำเนินการ ที่ กิจกรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลุ่ม เปา้ สถานที่ ระยะ งบ เปา้ หมาย หมาย ดำเนนิ เวลา ประมาณ (คน) การ (บาท) 1. ประชุมคณะ เพ่อื วางแผนและ ผบู้ รหิ าร 38 คน ห้องสมุด 1 ต.ค.- - ดำเนินงาน ทำแผนการปฏิบัติ คณะครู กศน. ประชาชน 30 ช้ีแจง และ งานหอ้ งสมุด ตำบล และ “เฉลิมราช พ.ย. วางแผน การ ประชาชน “เฉลมิ บรรณารักษ์ กมุ าร\"ี 64 ดำเนนิ งาน ราชกมุ ารี”อำเภอ กศน.อำเภอ อำเภอ สามพราน สามพราน สามพราน 2. กิจกรรม เพ่ือใหบ้ รกิ ารของ นักศกึ ษา (4,880 กศน. 1 ต.ค. - ใหบ้ ริการ กศน.ตำบลแก่ กศน.และ คน) ตำบล 64-30 ของกศน.ตำบล กลุม่ เป้าหมาย ประชาชน ทัง้ 16 ก.ย. - จำนวนผเู้ ขา้ รบั 960 คน ตำบล 65 บริการ - การยมื -คืน 480 คน - การให้บริการ 480 คน อนิ เตอรเ์ น็ต - จดั ซือ้ เพื่อใหบ้ ริการ นกั ศึกษา กศน. กศน. 1 พ.ย. 39,040 หนงั สือพมิ พ์ การศึกษาตาม และ ตำบล 64-30 บาท สำหรบั กศน. อัธยาศัยแก่ ประชาชน ท้งั 16 ก.ย. ตำบล กล่มุ เป้าหมาย ตำบล 65 - จดั ซื้อสือ่ เพื่อใหบ้ ริการ นักศกึ ษา กศน. กศน. ธ.ค. 15,000 สำหรับ กศน. การศกึ ษาตาม และ ตำบลไร่ขิง 64- บาท ตำบล อัธยาศยั แก่ ประชาชน เม.ย. กล่มุ เปา้ หมาย 65 - ค่า เพอ่ื ให้บรกิ าร นกั ศกึ ษา กศน. กศน. 1 ต.ค. 3,900 สาธารณปู โภค การศึกษาตาม และ ตำบลไร่ขิง 64-30 บาท สำหรบั กศน. อธั ยาศยั แก่ ประชาชน ก.ย. ตำบล กลมุ่ เปา้ หมาย 65

222 ที่ กิจกรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลุ่ม เปา้ สถานที่ ระยะ งบ เป้าหมาย หมาย ดำเนิน เวลา ประมาณ (คน) การ (บาท) - คา่ จดั เพ่อื ให้บรกิ าร นกั ศึกษา กศน. กศน. ธ.ค. 20,000 กจิ กรรมกศน. การศึกษาตาม และ ตำบลไรข่ งิ 64- บาท ตำบล อธั ยาศัยแก่ ประชาชน กศน. เม.ย. กลมุ่ เป้าหมาย ตำบล 65 กระทุ่มล้ม - กิจกรรม เพ่อื ใหบ้ รกิ าร นกั ศกึ ษา 1,120 กศน. 1 ต.ค. สง่ เสรมิ การ การศึกษาตาม กศน.และ คน ตำบล 64-30 เรยี นรู้ของ อัธยาศัยแก่ ประชาชน ทงั้ 16 ก.ย. กศน.ตำบล กลุ่มเปา้ หมาย ตำบล 65 - กจิ กรรม เพื่อส่งเสริมการ ประชาชน 800 คน บ้านหนังสอื 1 ต.ค. - สง่ เสรมิ การ เรยี นรู้ของบ้าน ท่ัวไป ชุมชน ท้ัง 64-30 เรียนรูข้ องบา้ น หนังสอื ชุมชนแก่ 18 แห่ง ใน ก.ย. หนงั สอื ชุมชน กลุม่ เปา้ หมาย อำเภอ 65 สามพราน - กิจกรรม เพอ่ื จดั กิจกรรม เดก็ ปฐมวยั 480 คน ตำบลทงั้ 1 ต.ค. - สง่ เสรมิ การ ส่งเสริมการเรยี นรู้ นกั เรียนใน 16 ตำบล 64-30 เรียนร้ขู อง ของหน่วยเคลื่อน ระบบและ ในอำเภอ ก.ย. หนว่ ยเคลอ่ื นท่ี ที่แก่ลุ่มเป้าหมาย ประชาชนทัว่ ไป สามพราน 65 - กิจกรรม เพื่อใหอ้ าสาสมัคร เดก็ ปฐมวัย 560 คน ตำบลท้ัง 1 ต.ค. - อาสาสมัคร ไปจดั กจิ กรรม นกั เรียน 16 ตำบล 64-30 ส่งเสรมิ การ สง่ เสริมการอ่าน ในระบบและ ในอำเภอ ก.ย. อา่ น และการเรยี นรแู้ ก่ ประชาชน สามพราน 65 กลุ่มเปา้ หมาย ทัว่ ไป 3. ประเมนิ ผลการ เพ่อื ติดตาม ครู กศน. 16 คน กศน. 1 ต.ค. - ดำเนินงาน ความก้าวหน้า ตำบล อำเภอ 64-30 - นิเทศติดตาม และประเมนิ ผล สามพราน ก.ย. - ป ระ เมิ น ผ ล การดำเนินงาน 65 และรายงานผล

223 ท่ี กจิ กรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลมุ่ เป้า สถานท่ี ระยะ งบ เป้าหมาย หมาย ดำเนิน เวลา ประมาณ 4. นำผลการ เพอื่ พัฒนาการ (คน) การ (บาท) ประเมนิ มา ดำเนินงานใหม้ ี ครู กศน. ปรบั ปรงุ การ ประสทิ ธภิ าพ ตำบล 16 คน กศน. 1 ต.ค. - ดำเนินงานใน ย่งิ ขน้ึ ครั้งตอ่ ไป อำเภอ 64-30 สามพราน ก.ย. 65 7. งบประมาณ เงินงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน : พ้ืนฐานด้านการพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 5 ผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย งบดำเนินงาน จำนวนเงนิ 77,940 บาท ( เจ็ดหมื่นเจด็ พนั เกา้ รอ้ ยสสี่ บิ บาทถ้วน) รายละเอียดดงั น้ี 1) กจิ กรรมจดั สร้างแหลง่ การเรยี นรู้ในระดับตำบล 39,040 บาท งบดำเนินงาน 3,900 บาท 1) ค่าหนงั สือพมิ พ์ กศน.ตำบล 15,000 บาท 2) ค่าสาธารณูปโภค 20,000 บาท 77,940 บาท 2) คา่ หนงั สือและส่ือกศน.ตำบล 3) ค่าจัดกิจกรรม รวม หมายเหตุ ขอถัวจา่ ยทุกรายการตามท่ีจ่ายจรงิ

8. แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ ที่ กจิ กรรมหลกั สถานท่ีดำเนนิ การ กลุม่ เป้าหมา จำนวน ระยะเว ย (คน) การให้บริการส่งเสรมิ การอา่ น กศน.ตำบล 1 จำนวนผูเ้ ข้ารบั บริการ กศน.ตำบลท้งั 16 ประชาชน 960 1 ต.ค. 6 ท่ัวไป 30 ก.ย. แห่ง ประชาชน 480 1 ต.ค. 6 2 การยืม - คืน กศน.ตำบลทงั้ 16 ทวั่ ไป 30 ก.ย. แหง่ ประชาชน 480 1 ต.ค. 6 ทั่วไป 30 ก.ย. 3 การใหบ้ ริการอนิ เตอรเ์ น็ต กศน.ตำบลทง้ั 16 ประชาชน - 1 ต.ค. 6 แหง่ ทั่วไป 30 ก.ย. 4 ค่าจัดซอ้ื หนงั สอื พิมพ์ กศน. กศน.ตำบลทั้ง 16 ประชาชน - 1 ต.ค.6 ทั่วไป 30 ก.ย. ตำบล (แห่ง) แห่ง ประชาชน - 1 ต.ค.6 5 คา่ จัดซอื้ หนังสอื และสอ่ื กศน.ตำบล ทั่วไป 30 ก.ย. สำหรบั กศน.ตำบล (แหง่ ) ไรข่ ิง ประชาชน - 1 ต.ค.6 ทว่ั ไป 30 ก.ย. 6 คา่ สาธารณปู โภค สำหรับ กศน.ตำบล กศน.ตำบล (แห่ง) ไรข่ งิ 7 ค่าจัดกิจกรรม กศน.ตำบลไร่ขงิ และ กศน.ตำบล กระทมุ่ ลม้

271 งบประมาณ วลา ไตรมาส1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ผรู้ บั ผิดชอบ (ต.ค.-ธ.ค.63) (ม.ค.-ม.ี ค.64) (เม.ย.-ม.ิ ย.64) (ก.ค.-ก.ย. และพ้นื ทร่ี ับผิดชอบ 64) 64 - - - - - ครู กศน.ตำบล .65 - - - ทง้ั 16 คน 64 - - - - - .65 9,760.00 9,760.00 9,760.00 ครู กศน.ตำบล 64 - - - ทง้ั 16 คน .65 975 64 - 9,760.00 5,000 ครู กศน.ตำบล .65 ทั้ง 16 คน 64 - 10,000 .65 นางเอื้อมเดอื น เปลยี่ นจดั 64- 975 .65 5,000 - นางอารีย์ ศรีทิพย์ 64- 5,000 .65 975 975 นางอารยี ์ ศรที ิพย์ 5,000 5,000 นางอารยี ์ ศรที พิ ย์ และ นางสาวชัญญานุช ชิน้ จ้ิน 224

ที่ กจิ กรรมหลกั สถานทด่ี ำเนนิ การ กล่มุ เป้าหมา จำนวน ระยะเว ย (คน) กิจกรรมสง่ เสริมการอ่านของ กศน.ตำบล 1. กจิ กรรมส่งเสริมการเรยี นรู้ กศน.ตำบลทั้ง 16 ประชาชนทัว่ ไป 1,120 1 ต.ค.6 ของ กศน.ตำบล แห่ง 30 ก.ย. 2. อาสาสมคั รสง่ เสรมิ การอ่าน กศน.ตำบลท้งั 16 นักเรียน/ 80 1 ต.ค.6 แห่ง นกั ศกึ ษา จติ 30 ก.ย. อาสา 3. ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม อาสาสมคั ร กศน.ตำบลทั้ง 16 ประชาชนทั่วไป 480 1 ต.ค.6 สง่ เสริมการอ่าน แหง่ 30 ก.ย. กจิ กรรมสง่ เสริมการเรียนร้ขู องบ้านหนงั สือชุมชน 1 บา้ นหนังสือชุมชน บ้านหนงั สอื ชมุ ชน 18 ประชาชนทว่ั ไป 800 1 ต.ค.6 แห่ง 30 ก.ย. กจิ กรรมส่งเสริมการเรยี นร้ขู องหนว่ ยเคลื่อนท่โี มบาย 1 ห้องสมุดเคล่ือนท่ี กศน.ตำบลทั้ง 16 ประชาชนทว่ั ไป 480 1 ต.ค.6 แห่ง 30 ก.ย. รวม 4,880

272 งบประมาณ วลา ไตรมาส1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ผรู้ บั ผิดชอบ (ต.ค.-ธ.ค.63) (ม.ค.-ม.ี ค.64) (เม.ย.-ม.ิ ย.64) (ก.ค.-ก.ย. และพื้นท่ีรับผิดชอบ 64) 64- - -- - ครู กศน.ตำบล .65 -- ท้ัง 16 คน 64- - -- .65 - ครู กศน.ตำบล -- ทั้ง 16 คน 64- - .65 - ครู กศน.ตำบล ทั้ง 16 คน 64- - .65 - ครู กศน.ตำบล ทงั้ 16 คน 64- - - - - ครู กศน.ตำบล .65 15,735 20,735 15,735 ทง้ั 16 คน 25,735 225

226 9. ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอสามพราน 10. เครอื ข่าย 10.1 ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อำเภอสามพราน 10.2 วัดไรข่ ิง พระอารามหลวง 10.3 หน่วยงานทข่ี น้ึ กับองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ในอำเภอสามพราน 10.4 โรงเรียนในอำเภอสามพราน 10.5 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในอำเภอสามพราน 11. โครงการทเ่ี กี่ยวข้อง 11.1 โครงการจัดการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานสำหรับคนพกิ าร 11.2 โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 11.3 โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย (กิจกรรมส่งเสริมการอ่านของห้องสมุด ประชาชน) 12. ผลลัพธ์ (Outcome) 12.1 กศน.ตำบลมีประสิทธิภาพอันเป็นประโยชน์ต่อการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยในชุมชน อีกทั้งยงั เป็นต้นแบบ กศน.ตำบล ให้กับ กศน.ตำบลอ่ืน ๆ ได้นำไปปรับประยุกต์ใช้ ในพื้นที่ของตนเองไดอ้ ยา่ งมีศกั ยภาพและเหมาะสมกับบริบทพนื้ ที่ ดังนี้ 1) กศน.ตำบลกระทุ่มล้ม รกั ษามาตรฐานกศน.ตำบล ต้นแบบ 5 ดีพรเี มย่ี มพลสั 2) กศน.ตำบลไร่ขิง กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดีพรีเมี่ยม ยกระดับ เป็น กศน.ตำบล ตน้ แบบ 5 ดพี รีเมีย่ มพลสั 3) กศน.ตำบลบางกระทกึ รกั ษามาตรฐานกศน.ตำบล ตน้ แบบ 5 ดี พรีเม่ียม 4) กศน.ตำบล บางเตย และ กศน.ตำบลบ้านใหม่ ยกระดับ กศน.ตำบลต้นแบบ 5ดี พรีเมี่ยม 5) กศน.ตำบลอีก 11ตำบล พฒั นาตามมาตรฐานกศน.ตำบล 2565 12.2 กศน.ตำบลมีแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุง กศน.ตำบลให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของ ชมุ ชนที่มปี ระสิทธิภาพ 12.3 ครูและบุคลากรที่เก่ียวข้องสามารถจัดกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ การจัด บรรยากาศ สภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ต่อเนื่อง การส่งเสริมการจัดกิจกรรมการศึกษาและ การเรียนร้ภู ายใน กศน.ตำบล การเสริมสรา้ งและใหค้ วามร่วมมอื กับภาคเี ครือข่าย และการนำเทคโนโลยี

227 ดิจิทัลเข้ามาบูรณาการปรับประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ในการพัฒนาและขยายบทบาทการดำเนินงาน ของ กศน.ตำบล 12.4 ผู้รับบริการการจัดการศึกษาตามของ กศน.ตำบล สามารถเข้าถึงการเรียนรู้ได้อย่าง หลากหลายมคี วามรู้ หรือทกั ษะ หรือประสบการณ์จากการเข้ารว่ มกจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศัย 13. ดัชนีชี้วัดผลสำเรจ็ ของโครงการ 13.1 ตวั ชีว้ ัดผลผลิต (Output) 1) ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เด็ก นักเรียน นักศึกษาและประชาชนทั่วไป ผู้รบั บริการเขา้ ร่วมกจิ กรรมการจัดการศึกษาตามอธั ยาศัย กศน. ตำบล 2) ร้อยละ 80 กศน.ตำบลมีประสิทธิภาพอันเป็นประโยชน์ต่อการจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชน อีกท้ังยังเป็นต้นแบบ กศน.ตำบล ให้กับ กศน.ตำบลอ่ืน ๆ ได้นำไปปรบั ประยกุ ตใ์ ช้ในพ้นื ท่ขี องตนเองไดอ้ ยา่ งมีศักยภาพและเหมาะสมกับบรบิ ทพืน้ ที่ คอื 1) กศน.ตำบลกระทมุ่ ลม้ รักษามาตรฐานกศน.ตำบล ตน้ แบบ 5 ดพี รเี มีย่ มพลัส 2) กศน.ตำบลไร่ขิง กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดีพรีเมี่ยม ยกระดับ เป็น กศน.ตำบล ตน้ แบบ 5 ดพี รเี มีย่ มพลัส 3) กศน.ตำบลบางกระทึก รกั ษามาตรฐานกศน.ตำบล ต้นแบบ 5 ดี พรเี มีย่ ม 4) กศน.ตำบล บางเตย และ กศน.ตำบลบ้านใหม่ ยกระดับ กศน.ตำบลต้นแบบ 5ดี พรเี มีย่ ม 5) กศน.ตำบลอกี 11ตำบล พฒั นาตามมาตรฐานกศน.ตำบล 2565 3) ร้อยละ 80 กศน.ตำบลมีแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุง กศน.ตำบลให้เป็น แหล่งเรียนรูข้ องชุมชนทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ 4) ร้อยละ 80 ของครูและบุคลากรท่ีเก่ียวข้องสามารถจัดกิจกรรมการศึกษาและ การเรียนรู้ การจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ต่อเนื่อง การส่งเสริมการจัดกิจกรรม การศึกษาและการเรียนรู้ภายใน กศน.ตำบล การเสริมสร้างและให้ความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย และ การนำเทคโนโลยีดิจทิ ัลเข้ามาบูรณาการปรับประยุกต์ใช้ให้เปน็ ประโยชน์ในการพัฒนาและขยายบทบาท การดำเนนิ งานของ กศน.ตำบล 5) รอ้ ยละ 80 ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการหรือกิจกรรมมีความรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ เปน็ ไปตามวตั ถุประสงคข์ องโครงการ หรือกิจกรรม

228 13.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcome) 1) ร้อยละ 80 ของผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการบริการ/เข้าร่วมกิจกรรม การเรียนรู้การศกึ ษาตามอัธยาศัยของ กศน.ตำบลในระดับมากขึน้ ไป 4) ร้อยละ 80 ของผู้รับบริการสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียน การทำงาน และชีวติ ประจำวันได้ 14. การติดตามและประเมินผลโครงการ 14.1 แบบสอบถาม 14.2 แบบประเมนิ ความพึงพอใจ ลงชื่อ.........................................................ผู้รับผิดชอบโครงการ (นางสาววรภทั ร บุณยพรหม) หวั หนา้ กล่มุ จดั การศึกษาตามอัธยาศยั

229 ลำดับทโี่ ครงการ 13/2565 1. ช่ือโครงการ โครงการภาษาองั กฤษเพือ่ การส่อื สารดา้ นอาชีพ 2. ความสอดคล้อง 2.1 นโยบายและจดุ เนน้ การดำเนนิ งาน ของสำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กศน. เพ่อื ประชาชน “ก้าวใหม่ : กา้ วแห่งคณุ ภาพ” 1. ดา้ นการจดั การเรียนรูค้ ุณภาพ 1.1 น้อมนําพระบรมราโชบายสู่การปฏิบัติ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุน การดาํ เนนิ งานโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดาํ ริทุกโครงการ และโครงการอันเก่ียวเนอื่ งจากราชวงศ์ 1.2 ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ที่สนองตอบยุทธศาสตร์ชาติ และนโยบายของ รฐั มนตรีวา่ การ และรัฐมนตรชี ว่ ยวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ 1.3 สง่ เสรมิ การจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความม่ันคง การสรา้ งความเข้าใจที่ถูกต้อง ในการปกครองระบอบประชาธิปไตย การเรยี นรทู้ ่ีปลกู ฝงั คณุ ธรรมจริยธรรม สรา้ งวินยั จิตสาธารณะ และ อดุ มการณ์ ความยดึ มนั่ ในสถาบันหลักของชาติ รวมถงึ การมีจติ อาสา ผ่านกิจกรรมตา่ งๆ 1.4 ปรับปรุงหลักสูตรทุกระดับทุกประเภทให้สอดรับกับการพัฒนาคน ทิศทาง การพัฒนาประเทศ สอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนแปลง ความต้องการและความหลากหลายของผู้เรียน/ ผู้รับบริการ รวมถึงปรับลด ความหลากหลายและความซ้ําซ้อนของหลักสูตร เช่น หลักสูตรการศึกษา สาํ หรบั กล่มุ เปา้ หมายบนพ้ืนทีส่ งู พื้นท่ีพิเศษ และพนื้ ทีช่ ายแดน รวมทั้งกลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์ 1.5 ปรับระบบทดสอบ วัดผล และประเมินผล โดยเน้นการใช้เทคโนโลยีเป็นเคร่ืองมือ ใหผ้ ้เู รียน สามารถเขา้ ถึงการประเมนิ ผลการเรียนรไู้ ด้ตามความต้องการ เพือ่ การสร้างโอกาสในการเรียนรู้ ให้ความสําคัญกับ การเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ พัฒนาระบบ การประเมินสมรรถนะผู้เรียน ให้ตอบโจทย์การประเมินในระดับประเทศและระดับสากล เช่น การประเมนิ สมรรถภาพผใู้ หญ่ ตลอดจนกระจายอาํ นาจ ไปยังพ้ืนที่ในการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 1.6 สง่ เสริมการใช้เทคโนโลยใี นการจัดหลกั สูตรการเรยี นร้ใู นระบบออนไลนด์ ว้ ยตนเอง ครบวงจร ตั้งแต่การลงทะเบียนจนการประเมินผลเมื่อจบหลักสูตร ทั้งการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษา ต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศยั เพื่อเป็นการสร้างและขยายโอกาส ในการเรียนรูใ้ หก้ บั กล่มุ เป้าหมายที่สามารถเรยี นรู้ ได้สะดวก และตอบโจทย์ความต้องการของผู้เรียน 2. ดา้ นการสรา้ งสมรรถนะและทกั ษะคณุ ภาพ 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตที่เน้นการพัฒนาทักษะที่จําเป็นสําหรับแต่ละ ช่วงวัย และการจดั การศึกษาและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับแต่ละกลุ่มเปา้ หมายและบรบิ ทพืน้ ท่ี

230 2.2 พัฒนาหลักสูตรอาชพี ระยะส้ันท่ีเน้น New skill Up skill และ Re skเทีส่ อดคล้อง กับบริบท พื้นที่ ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหม่ที่ รองรบั Disruptive Technology 2.6 ส่งเสริมการพัฒนาทักษะดิจิทัลและทักษะด้านภาษาให้กับบุคลากร กศน. และ ผู้เรียนเพื่อรองรบั การพฒั นาประเทศ 2.2 มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ฉบับลงวันท่ี 6 ธันวาคม 2562 มาตรฐานการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผูเ้ รียนการศึกษาตอ่ เน่ือง ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จำนวน 3 ประเด็น ประกอบด้วย 1.1 ผูเ้ รยี นการศึกษาต่อเน่ืองมีความรู้ความสามารถ และหรือทกั ษะและหรือคุณธรรมเป็นไปตาม เกณฑ์การจบหลักสูตร 1.2 ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้หรือประยุกต์ใช้บนฐานค่านิยม ร่วมของสังคม 1.3 ผู้จบหลกั สูตรการศึกษาต่อเน่ืองทนี่ ำความร้ไู ปใชจ้ นเหน็ เป็นประจักษห์ รอื ตวั อยา่ งที่ ดี มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจดั การเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จำนวน 5 ประเดน็ ประกอบดว้ ย 2.1 หลกั สูตรการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื งมคี ณุ ภาพ 2.2 วิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง มีความรู้ ความสามารถ หรือประสบการณ์ตรงตามหลักสูตร การศกึ ษาต่อเน่อื ง 2.3 ส่อื ทเี่ อ้อื ตอ่ การเรียนรู้ 2.4 การวัดและประเมินผลผู้เรยี นการศกึ ษาต่อเนื่อง 2.5 การจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเนอื่ งทีม่ ีคณุ ภาพ มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพการบริหารจดั การของสถานศกึ ษา ซึง่ มปี ระเดน็ การพจิ ารณา จำนวน 9 ประเดน็ ประกอบดว้ ย 3.1 การบรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษาทเี่ นน้ การมสี ว่ นร่วม 3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 3.3 การพัฒนาครู และบคุ ลากรของสถานศึกษา 3.4 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนบั สนุนการบรหิ ารจัดการ 3.5 การกำกบั นิเทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการดำเนนิ งานของสถานศึกษา 3.6 การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาทเ่ี ปน็ ไปตามบทบาทหนา้ ท่ที ีก่ ำหนด 3. 7 การสง่ เสริม สนบั สนนุ ภาคีเครือขา่ ยให้มสี ่วนร่วมในการจดั การศกึ ษา 3.8 การส่งเสริม สนบั สนุนการสรา้ งสังคมแหง่ การเรยี นรู้ 3.9 การวจิ ยั เพ่ือการบรหิ ารจดั การศกึ ษาสถานศกึ ษา

231 3. หลกั การและเหตผุ ล ปัจจุบนั ภาษาองั กฤษมีความจำเป็นต่อการติดต่อสื่อสารในโลกแห่งข้อมูลข่าวสารซ่ึงมีความเจริญก้าวหน้า และพัฒนาอย่างรวดเร็วทำให้การสื่อสารผ่านช่องทางต่าง ๆ สามารถทำได้ง่ายดายโดยใช้ภาษาอังกฤษ เป็นสอ่ื กลาง ดงั นั้น การพัฒนาศักยภาพในการติดตอ่ สือ่ สารด้วยภาษาอังกฤษจึงมีความสำคญั ต่อบุคลากร ภายในหน่วยงาน และประชาชน เพื่อให้ก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงของประชาคมโล กและเป็นปัจจัย เกื้อหนุนให้ประชาชนมีความพร้อมในการพัฒนาขีดความสามารถทางดา้ นทักษะภาษาอังกฤษในระดับที่ สามารถติดตอ่ สือ่ สารเพ่อื การประกอบอาชีพได้ ทั้งนี้จากการอ้างอิงตามกฎบัตรอาเซียนมาตราที่ 34 ระบุให้ใช้ภาษาทำงานของอาเซียนคือ ภาษาอังกฤษ (The working language of ASEAN shall be English) ซึ่งมีความหมายว่าประชาชนใน 10 ประเทศอาเซียนจะต้องใช้ภาษาอังกฤษมากขึ้นนอกจากการใช้ภาษาประจำชาติหรือภาษาประจำ ทอ้ งถนิ่ ของตนเองจึงเปน็ สิ่งท่ีน่าเปน็ ห่วงคือปัญหาในเร่ืองทักษะทางภาษาต่างประเทศของคนไทยจากผล การสำรวจของสำนักต่าง ๆ ล้วนแต่ชี้ชัดตรงกันว่า “ภาษาอังกฤษ” ของเราสู้เพื่อนบ้านในอาเซียน ไม่ได้ และอยู่ใน “ระดับต่ำมาก” โดยหากมองไปที่พื้นฐานทางภาษาในบรรดาทักษะทั้ง 4 ด้านผู้เรียน ชาวไทยโดยมากจะมีปัญหาดา้ นการพดู และการฟัง อนั เปน็ ทกั ษะพื้นฐานในการสื่อสารระหว่างกนั ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสามพราเห็นความสำคัญใน การพัฒนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพให้แก่ประชาชนในพื้นท่ี และเน้นการให้ความสำคัญใน การจัดการเรียนการสอนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ดังนั้นจึงได้ดำเนินการจัดทำ โครงการภาษาอังกฤษเพอ่ื การส่ือสารด้านอาชีพ ข้นึ เพอ่ื ฝกึ อบรมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ หลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว ให้กับประชาชนในพื้นที่ของสถานศึกษา และเพื่อให้ประชาชน กลุ่มอาชีพที่อยู่ในบริเวณภายในวัดสามพรานที่ผ่านการอบรมตามโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ด้านอาชีพเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ หลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว สามารถนำความรู้ที่ได้รับ ไปประยกุ ตใ์ ช้ในการประกอบอาชพี และการดำเนินชีวติ ประจำวนั ได้ 4. วตั ถุประสงค์ 4.1 เพื่อฝึกอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพให้กับประชาชนในพื้นทีข่ องสถานศึกษา 4.2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรมตามโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ดา้ นอาชีพสามารถนำความรูท้ ่ไี ด้รบั ไปประยกุ ต์ใช้ในการประกอบอาชีพและการดำเนินชีวติ ประจำวนั ได้ 5. เปา้ หมาย 5.1 เชิงปริมาณ ประชาชนในพนื้ ที่อำเภอสามพราน ในบริเวณภายในวดั สามพราน จำนวน 15 คน

232 5.2 เชงิ คุณภาพ ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรมตามโครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้าน อาชพี สามารถนำความรูท้ ่ีได้รบั ไปประยกุ ต์ใช้ในการประกอบอาชีพและการดำเนินชีวิตประจำวนั ได้ 6. วธิ ดี ำเนินการ กิจกรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กล่มุ เปา้ หมาย สถานท่ี ระยะ งบประมาณ เปา้ หมาย (คน) ดำเนินการ เวลา (บาท) 1. การวางแผน -เพ่อื กำหนดรูปแบบ ผ้บู รหิ าร 10 คน กศน. ธันวาคม - ดำเนินงาน วิธีดำเนนิ งาน วัน เวลา และคณะ อำเภอ 2564 -ประชมุ สถานที่ และ ครู กศน. 2 คน สามพราน วางแผนการ ประสานงานกบั อำเภอ มนี าคม 17,700 ดำเนนิ งานและ วิทยากร ในการจดั สามพราน ผเู้ ข้ารว่ ม วัดสาม 2565 บาท ประสานงาน กจิ กรรมตามโครงการ โครงการ พราน -ขออนุมัติ ครู กศน. 15 คน โครงการ 1. เพ่อื ฝึกอบรมภาษา อำเภอ 2. ดำเนนิ การ องั กฤษเพือ่ การสอ่ื สาร สามพราน/ จดั ฝึกอบรม ด้านอาชพี ให้กับ วทิ ยากร ภาษาอังกฤษ ประชาชนในพ้ืนที่ของ ประชาชน เพ่ือการส่อื สาร สถานศกึ ษา กลมุ่ อาชีพ หลกั สูตร 2. เพอื่ ใหป้ ระชาชน ท่อี ยูใ่ น ภาษาองั กฤษ กลมุ่ เปา้ หมายที่ผ่าน บริเวณ เพื่อการ การอบรมตามโครงการ ภายในวัด ท่องเที่ยว ภาษาอังกฤษเพ่ือการ สามพราน จำนวน 30 ส่ือสารดา้ นอาชีพ ชั่วโมง สามารถนำความรู้ที่ ไดร้ ับไปประยกุ ต์ใช้ใน การประกอบอาชพี และ การดำเนิน ชวี ติ ประจำวันได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook