132 3. หลกั การและเหตผุ ล ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสามพราน เป็นสถานศึกษาท่ีจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย เพอ่ื สง่ เสรมิ การเรียนรู้ตลอดชวี ิต มีภารกิจท่ีหลากหลาย และครอบคลุมพื้นที่อำเภอสามพราน โดยมี กศน.ตำบล 16 แห่ง เป็นหน่วยงานในสังกัด มีฐานะเป็น หน่วยจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของ ประชาชนและการสร้างสงั คมแหง่ การเรียนรู้ในชมุ ชน จึงจำเปน็ ต้องมกี ารสง่ เสริมการศึกษานอกระบบให้ บุคลากร และหน่วยจัดการศึกษา เพื่อให้สามารถดำเนินการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ก่อใหเ้ กดิ ประสิทธผิ ล ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอสามพรานจึงจัดทำโครงการสง่ เสริมการศึกษานอกระบบ เพื่ออำนวยความสะดวกให้บุคลากร และ กศน. ตำบล ดำเนนิ งานจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. วตั ถุประสงค์ 4.1 เพื่อส่งเสรมิ ใหบ้ ุคลากร และ กศน. ตำบล จดั การศึกษาในพน้ื ท่ี ดำเนินงานจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 4.2 เพ่อื พฒั นาสถานศึกษาให้มีผลสัมฤทธใ์ิ นการบรหิ ารงาน 5. เป้าหมาย 5.1 เชิงปรมิ าณ 1) บคุ ลากรของ กศน.อำเภอสามพราน จำนวน 38 คน 2) กศน. ตำบล 16 แหง่ ในอำเภอสามพราน 3) มรี ายงานผลการดำเนินงานโครงการ ประจำปี 2564 จำนวน 17 โครงการ 5.2 เชงิ คณุ ภาพ 1) บคุ ลากร ของ กศน.อำเภอสามพราน และ กศน. ตำบล สามารถปฏิบัติงานในการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ได้บรรลุเป้าหมาย 2) ผลการดำเนินงานโครงการบรรลเุ ป้าหมาย
133 6. วิธดี ำเนนิ การ กิจกรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลุ่ม เป้าหมาย สถานท่ี ระยะ งบประมาณ เปา้ หมาย (คน) ดำเนนิ การ เวลา (บาท) 1. การวางแผน - เพื่อกำหนดรูปแบบ ผบู้ รหิ าร 10 คน กศน. ต.ค. - ดำเนนิ งาน โดย วธิ ดี ำเนินงาน วัน และคณะครู อำเภอ 2564 ประชุมวางแผน เวลา สถานทจ่ี ัด กศน. อำเภอ สามพราน การดำเนนิ งาน กิจกรรม สามพราน และประสานงาน 2. ดำเนนิ การ - เพ่อื สง่ เสริมให้ - บุคลากร 38 คน กศน. ต.ค. 50,400 สง่ เสริมให้ บุคลากร และ กศน. กศน. อำเภอ อำเภอ 2564 บาท บคุ ลากร และ ตำบล จดั การศึกษาใน สามพราน สามพราน - กศน. ตำบล จัด พ้นื ที่ ดำเนนิ งาน - กศน.ตำบล 16 แห่ง ก.ย. การศึกษาในพน้ื ท่ี จดั การศึกษานอก 2565 ดำเนินงานจัดการ ระบบและการศึกษา ศึกษานอกระบบ ตามอธั ยาศยั ได้อย่างมี และการศึกษา ประสทิ ธิภาพ ตามอัธยาศยั - เพ่อื พัฒนา สถานศึกษาให้มี ผลสัมฤทธิใ์ นการ บรหิ ารงาน 3. ประเมินผล - เพอื่ ตดิ ตาม ผบู้ รหิ าร 10 คน กศน. ต.ค. - การดำเนนิ งาน ความกา้ วหนา้ /ปัญหา และคณะครู อำเภอ 2564 อปุ สรรคการดำเนินงาน กศน. อำเภอ สามพราน - - เพอ่ื นำผลการ สามพราน ก.ย. ประเมินไปปรบั ปรุง 2565 การดำเนินงาน 4. สรุปผล เพอ่ื สรปุ ผลการดำเนิน ผรู้ ับผิดชอบ 5 คน กศน. ส.ค.-ก.ย. - การดำเนนิ งาน โครงการ อำเภอ 2565 โครงการ สามพราน
134 7. งบประมาณ เงินงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและ เสรมิ สร้างศักยภาพมนษุ ย์ ผลผลิตท่ี 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กจิ กรรมจดั การศึกษานอกระบบ งบดำเนนิ งาน จำนวนเงนิ 64,000 บาท (หกหมื่นส่ีพนั บาทถว้ น) รายละเอยี ดดังน้ี 1) ค่าตอบแทนใชส้ อยและวสั ดุ 26,400 บาท 2) ค่าสาธารณูปโภค 24,000 บาท รวม 50,400 บาท หมายเหตุ ขอถัวจ่ายทกุ รายการตามที่จ่ายจริง
8. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ สถานท่ี กลมุ่ จำนวน ระยะ ไ ดำเนินการ เป้าหมาย (คน) เวลา ( ท่ี กจิ กรรม/โครงการ 2 1 ค่าตอบแทนใชส้ อย กศน. อำเภอ บคุ ลากร 38 ต.ค. 64- และวสั ดุ สามพราน กศน. ก.ย. 65 3 คา่ สาธารณูปโภค ค่าโทรศพั ทเ์ คลื่อนท่ี กศน. อำเภอ ผบู้ ริหาร 1 ต.ค. 64- สามพราน ก.ย. 65 คา่ โทรศพั ทส์ ำนักงาน กศน. อำเภอ บคุ ลากร 38 ต.ค. 64- สามพราน กศน. ก.ย. 65 รวม 1
แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ (บาท) ไตรมาส ไตร ไตร ไตร รวม ผู้รบั ผิดชอบ ท่ี 1 มาสที่ มาสท่ี มาสท่ี และพนื้ ทร่ี ับผิดชอบ (ต.ค. - ธ.ค. 2 3 4 นางสาวอมรรตั น์ ธนธนานนท์ 2563) (ม.ค. - (เม.ย. - (ก.ค. - /อ.สามพราน มี.ค. มิ.ย. ก.ย. 2564) 2564) 2564) 6,600 6,600 6,600 6,600 26,400 3,000 3,000 3,000 3,000 12,000 น.ส.คณิตา สทุ ธิโยชน์ /อ.สามพราน 3,000 3,000 3,000 3,000 12,000 น.ส.คณติ า สทุ ธิโยชน์ /อ.สามพราน 12,600 12,600 12,600 12,600 50,400 135
136 9. ผู้รับผดิ ชอบโครงการ กลุ่มอำนวยการ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอสามพราน 10. เครือขา่ ย - 11. โครงการทเ่ี ก่ียวข้อง 11.1 โครงการจดั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน 11.2 โครงการพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี น 11.3 โครงการจดั หาหนังสอื เรยี น 11.4 โครงการสง่ เสริมการรู้หนงั สือ 11.5 โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชวี ติ 11.6 โครงการการศกึ ษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน 11.7 โครงการการเรยี นรูต้ ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 11.8 โครงการศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน 11.9 โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอธั ยาศยั (กิจกรรมสง่ เสริมการอ่านของหอ้ งสมดุ ประชาชน) 11.10 โครงการสง่ เสริมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั (กิจกรรมสง่ เสริมการอา่ นของ กศน.ตำบล) 11.11 โครงการภาษาต่างประเทศเพ่ือการส่ือสารดา้ นอาชีพ 11.12 โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดจิ ิทัล 11.13 โครงการจัดและส่งเสริมการจดั การศึกษาตลอดชีวติ เพือ่ คงพัฒนาการทางกายจิตและ สมองของผสู้ งู อายุ 12. ผลลัพธ์ (Outcome) 12.1 บคุ ลากร ของ กศน.อำเภอสามพรานสามารถปฏิบตั งิ านในการจดั การศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัยได้บรรลุเปา้ หมาย 12.2 ผลการดำเนินงานโครงการบรรลุเปา้ หมาย 13. ดัชนีช้ีวดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ 13.1 ตัวชี้วดั ผลผลิต(Output) 1) ร้อยละ 80 ของบคุ ลากร กศน.อำเภอสามพราน และ กศน. ตำบลสามารถปฏบิ ัตงิ าน ในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยได้บรรลุเปา้ หมาย
138 ลำดับท่โี ครงการ 7/2565 1. ช่อื โครงการ โครงการการศกึ ษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 2. ความสอดคล้อง 2.1 นโยบายและจดุ เน้นการดำเนินงาน ของสำนักงาน กศน. ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 กศน. เพ่อื ประชาชน “กา้ วใหม่ : กา้ วแห่งคุณภาพ” 1. ดา้ นการจดั การเรียนรคู้ ุณภาพ 1.1 น้อมนําพระบรมราโชบายสู่การปฏิบัติ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุน การดาํ เนินงานโครงการ อนั เน่ืองมาจากพระราชดาํ ริทกุ โครงการ และโครงการอันเกย่ี วเนอ่ื งจากราชวงศ์ 1.2 ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ที่สนองตอบยุทธศาสตร์ชาติ และนโยบายของ รฐั มนตรีวา่ การ และรัฐมนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ 1.3 สง่ เสรมิ การจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคง การสร้างความเข้าใจท่ีถูกต้อง ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย การเรยี นร้ทู ีป่ ลกู ฝงั คุณธรรมจรยิ ธรรม สรา้ งวินยั จติ สาธารณะ และ อุดมการณ์ ความยดึ มัน่ ในสถาบนั หลกั ของชาติ รวมถงึ การมจี ติ อาสา ผา่ นกจิ กรรมต่างๆ 1.4 ปรับปรุงหลักสูตรทุกระดับทุกประเภทให้สอดรับกับการพัฒนาคน ทิศทาง การพัฒนาประเทศ สอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนแปลง ความต้องการและความหลากหลายของผู้เรียน/ ผู้รับบริการ รวมถึงปรับลด ความหลากหลายและความซ้ําซ้อนของหลักสูตร เช่น หลักสูตรการศึกษา สาํ หรับกลมุ่ เปา้ หมายบนพื้นท่ีสงู พ้นื ที่พิเศษ และพน้ื ที่ชายแดน รวมทง้ั กลุ่มชาตพิ ันธุ์ 1.5 ปรับระบบทดสอบ วัดผล และประเมินผล โดยเน้นการใช้เทคโนโลยเี ป็นเคร่ืองมือ ใหผ้ ้เู รียน สามารถเขา้ ถึงการประเมินผลการเรียนรไู้ ด้ตามความต้องการ เพอื่ การสร้างโอกาสในการเรียนรู้ ให้ความสําคัญกับ การเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ พัฒนาระบบ การประเมินสมรรถนะผู้เรียน ให้ตอบโจทย์การประเมินในระดับประเทศและระดับสากล เช่น การประเมนิ สมรรถภาพผู้ใหญ่ ตลอดจนกระจายอํานาจ ไปยงั พนื้ ทใ่ี นการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 1.6 สง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยีในการจัดหลกั สตู รการเรียนรู้ในระบบออนไลนด์ ้วยตนเอง ครบวงจร ตั้งแต่การลงทะเบียนจนการประเมินผลเมื่อจบหลักสูตร ทั้งการศึกษานอกร ะบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษา ต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศยั เพื่อเป็นการสร้างและขยายโอกาส ในการเรยี นรใู้ หก้ ับกลุ่มเป้าหมายทีส่ ามารถเรียนรู้ ไดส้ ะดวก และตอบโจทย์ความตอ้ งการของผู้เรียน 2. ด้านการสรา้ งสมรรถนะและทกั ษะคุณภาพ 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตที่เน้นการพัฒนาทักษะที่จําเป็นสําหรับแต่ละ ช่วงวัย และการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ท่เี หมาะสมกับแต่ละกลุม่ เป้าหมายและบรบิ ทพืน้ ที่ 2.4 ส่งเสริมการจัดการศึกษาของผู้สูงอายุเพื่อให้เป็น Active Ageing Workforce และมี Life Skill ในการดํารงชวี ติ ท่ีเหมาะกบั ช่วงวัย
139 2.2 มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั (ฉบบั ลงวนั ท่ี 6 ธันวาคม พ.ศ. 2562) มาตรฐานการศึกษาต่อเน่อื ง มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง 1.1 ผเู้ รียนการศกึ ษาตอ่ เน่ืองมีความรู้ ความสามารถ และหรอื ทักษะและหรอื คุณธรรม เป็นไปตามเกณฑก์ ารจบหลักสตู ร 1.2 ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนือ่ งสามารถนำความรทู้ ่ีไดไ้ ปใช้ หรอื ประยุกตใ์ ช้ บน ฐานคา่ นยิ มร่วมของสังคม 1.3 ผู้จบหลกั สตู รการศกึ ษาต่อเนื่องทีน่ ำความรูไ้ ปใชจ้ นเห็นเป็นประจกั ษ์หรอื ตวั อย่างที่ดี มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจดั การเรียนรกู้ ารศึกษาต่อเน่ือง 2.1 หลักสูตรการศึกษาต่อเน่ืองมีคุณภาพ 2.2 วิทยากรการศึกษาตอ่ เน่ือง มีความรู้ ความสามารถหรอื ประสบการณ์ตรงตาม หลกั สตู รการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง 2.3 สื่อที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ 2.4 การวัดและประเมินผลผ้เู รยี นการศึกษาต่อเนื่อง 2.5 การจดั กระบวนการเรียนร้กู ารศึกษาต่อเนื่องทีม่ ีคุณภาพ มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศกึ ษา 3.1 การบริหารจดั การของสถานศึกษาท่เี นน้ การมีสว่ นร่วม 3.2 ระบบประกันคุณภาพของการศึกษาของสถานศึกษา 3.3 การพัฒนาครู และบคุ ลากรของสถานศึกษา 3.4 การใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ลั เพ่ือสนับสนุนการบริหารจดั การ 3.5 การกำกับ นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา 3.6 การปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ขี องคณะกรรมการสถานศึกษาที่เป็นไปตามบทบาททก่ี ำหนด 3.7 การสง่ เสริม สนบั สนนุ ภาคีเครือขา่ ยให้มีสว่ นร่วมในการจดั การศึกษา 3.8 การส่งเสริม สนับสนุนการสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้
140 3. หลักการและเหตุผล ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสามพราน เป็นสถานศึกษาที่จัด การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพอ่ื สง่ เสริมการเรียนรู้ตลอดชวี ิต มภี ารกจิ ที่หลากหลาย และครอบคลุมพื้นที่อำเภอสามพราน การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เป็นกิจกรรมหน่ึงของการศึกษา ต่อเนื่อง โดยการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต หมายถึง การศึกษาที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาคน เพื่อให้มีความรู้ เจตคติและทักษะที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตในสังคมปัจจุบัน เพื่อให้บุคคลสามารถ เผชิญ สถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ และเตรียมความพร้อมกับการปรับตวั ในอนาคต เช่น สุขภาพกายและใจ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ที่ดี เป็นต้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสามพรานจึงจัดทำโครงการ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เพ่ือให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เจตคติ และทักษะที่ จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตในสังคมปัจจุบนั สามารถเผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวนั ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ และเตรียมพร้อมสำหรบั การปรับตัวให้ทนั ตอ่ การเปลีย่ นแปลงของขา่ วสารข้อมลู และเทคโนโลยสี มยั ใหม่ในอนาคต 4. วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เจตคติ และทักษะที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิต ในสงั คมปจั จุบัน สามารถเผชญิ สถานการณต์ ่าง ๆ ท่ีเกิดข้นึ ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ เตรียมพร้อมสำหรับการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของข่าวสารข้อมูล และเทคโนโลยีสมัยใหม่ใน อนาคต 5. เป้าหมาย 5.1 เชงิ ปริมาณ ประชาชนทวั่ ไปในพื้นท่ีอำเภอสามพราน 16 ตำบล จำนวน 182 คน 5.2 เชงิ คณุ ภาพ 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีมีความรู้ เจตคติ และทักษะที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตใน สังคมปจั จุบนั 5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการเผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อมสำหรับการปรับตัวให้ทันต่อ การเปลีย่ นแปลงของขา่ วสารขอ้ มลู และเทคโนโลยีสมัยใหมใ่ นอนาคต
141 6. วธิ ีดำเนนิ การ ที่ กจิ กรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลมุ่ เปา้ สถานท่ี ระยะ งบ เปา้ หมาย หมาย ดำเนนิ การ เวลา ประมาณ (คน) (บาท) 1. การวางแผน - เพอ่ื กำหนดรูปแบบ ผู้บรหิ าร 20 กศน. พ.ย. - วางแผนการจัด วธิ ดี ำเนนิ งานและ และคณะ คน อำเภอ 2564 กจิ กรรมและ วิทยากร ครู กศน. สามพราน ประสานงานเพือ่ จดั - เพอ่ื กำหนดวัน อำเภอ กจิ กรรม เวลา สถานทใี่ น สามพราน การจัดกิจกรรมตาม โครงการ 2. การปฏบิ ัตติ ามแผน เพอื่ ใหผ้ ู้เข้าร่วม ประชาชน 182 16 ตำบล ม.ค. 20,930 จัดการเรยี นรู้ตาม โครงการมคี วามรู้ ทว่ั ไปใน คน ในอำเภอ - บาท ความตอ้ งการของ เจตคติ และทักษะท่ี พน้ื ที่ สามพราน ส.ค. ชุมชนในพื้นที่ กศน. จำเป็นสำหรบั การ อำเภอ 2565 ตำบลทงั้ 16 ตำบล ดำรงชีวิตในสงั คม สามพราน โดยจัดกจิ กรรมใน ปัจจุบัน สามารถ ท้งั 16 รูปแบบ กิจกรรม เผชิญสถานการณ์ ตำบล ฝกึ อบรมประชาชน ตา่ ง ๆ ท่ีเกิดข้นึ ใน ชวี ิตประจำวนั ได้ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และเตรยี มพรอ้ ม สำหรับการปรบั ตวั ให้ ทนั ตอ่ การเปลย่ี น แปลงของขา่ วสาร ข้อมลู และเทคโนโลยี สมยั ใหม่ในอนาคต 3. การตรวจสอบ หรือ เพ่ือติดตาม ผูบ้ รหิ าร 20 กศน. ม.ค. - ประเมนิ ผล ความกา้ วหน้า/ บุคลากร คน อำเภอ - ปัญหา อุปสรรคของ กศน.อำเภอ สามพราน ส.ค. การดำเนินงาน 2565
142 ที่ กิจกรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลมุ่ เปา้ สถานท่ี ระยะ งบ เปา้ หมาย หมาย ดำเนนิ การ เวลา ประมาณ (คน) (บาท) 4. สรุปผลการ เพอ่ื สรุปผลการ ผู้รับผดิ 20 กศน. ก.ย. - ดำเนินงาน และนำ ดำเนนิ และนำผล ชอบ คน อำเภอ 2565 ผลการดำเนินการไป การดำเนินงานไป โครงการ สามพราน ปรับปรงุ การดำเนนิ ปรบั ปรุงและพัฒนา งานในครัง้ ต่อไป การดำเนินงานของ โครงการใหม้ ี ประสทิ ธภิ าพ และ สอด คล้องกับความ ต้องการของ ประชากรมากข้ึน 7. งบประมาณ เงินงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมการศึกษา นอกระบบ งบดำเนินงาน การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต จำนวนเงิน 20,930 บาท (สองหมื่นเก้าร้อย สามสิบบาทถ้วน) รายละเอยี ดดังน้ี 1 โครงการสขุ ภาพดี ชวี ีมีสุข หา่ งไกลโควิด 19 1,380 บาท 2 โครงการฝึกอบรมสร้างเสริมคณุ ภาพชีวิตเรยี นรู้สู้ภยั โควิด 1,380 บาท 3 โครงการดแู ลและส่งเสรมิ สขุ ภาพและปอ้ งกันโรคภัยของผสู้ ูงอายุ 1,380 บาท 4 โครงการสุขภาพดี ชวี ีมสี ขุ หา่ งไกลโควิด 19 1,380 บาท 5 โครงการเตรียมความพร้อมก่อนแต่งงานและการวางแผนครอบครัวตำบล 1,380 บาท ทรงคนอง 6 โครงการดแู ลสุขภาพและปอ้ งกันภยั ของผูส้ งู อายุ 1,380 บาท 7 โครงการเตมิ เต็มทกั ษะชวี ติ ดว้ ยวิถเี ศรษฐกจิ พอเพียง 1,380 บาท 8 โครงการพฒั นาทักษะชีวิต โดยใช้เศรษฐกจิ พอเพียง 1,265 บาท 9 โครงการชุมชนสีเขียว ลดมลพิษ เพื่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมตำบล 1,265 บาท บางชา้ ง 10 โครงการการอนรุ ักษ์พลังงานและสิ่งแวดลอ้ ม ตำบลบางเตย 1,265 บาท 11 โครงการปลกู พืชสมนุ ไพร สภู้ ยั โควดิ 1,265 บาท 12 โครงการสง่ เสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ จติ แจ่มใส ร่างกายแขง็ แรง 1,265 บาท
143 13 โครงการเสริมสร้างพัฒนาการผู้สูงวัย 1,265 บาท 14 โครงการสขุ ภาพดี ชีวีมีสขุ หา่ งไกลโควิค 19 1,265 บาท 15 โครงการสง่ เสรมิ การใช้สมุนไพรในครัวเรอื น 1,265 บาท 16 โครงการเตรยี มความพร้อมก่อนแต่งงานและการวางแผนครอบครัวตำบล 1,265 บาท อ้อมใหญ่ รวม 20,930 บาท
8. แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ ที่ กิจกรรม/โครงการ สถานที่ กลมุ่ จำน ดำเนนิ การ เป้าหมาย (ค 1 โครงการสขุ ภาพดี ชวี มี สี ุข ห่างไกลโควิด กศน.ตำบล ผู้สูงอายุ 1 1 19 กระทุ่มลม้ 1 1 2 โครงการฝกึ อบรมสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชีวิต รพสต.ตำบล ผ้สู งู อายุ 1 1 เรียนรสู้ ูภ้ ยั โควิด คลองจนิ ดา 1 3 โครงการดูแลและสง่ เสรมิ สุขภาพและ ชมรมผสู้ งู อายุ ผู้สงู อายุ ปอ้ งกนั โรคภยั ของผสู้ งู อายุ กศน.ตำบลคลองใหม่ 4 โครงการสขุ ภาพดี ชีวมี สี ุข ห่างไกลโควิด รพสต.บา้ น ประชาชนท่ัวไป 19 ตากแดด 5 โครงการเตรียมความพรอ้ มก่อนแต่งงานและ กศน.ตำบล ประชาชนท่วั ไป การวางแผนครอบครัวตำบลทรงคนอง ทรงคนอง 6 โครงการดแู ลสขุ ภาพและปอ้ งกนั ภยั ของ ชมรมผสู้ ูงอายุ ผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุ ตำบลท่าขา้ ม 7 โครงการเตมิ เต็มทักษะชวี ิตด้วยวถิ ี กศน.ตำบล ประชาชนทั่วไป เศรษฐกิจพอเพยี ง ทา่ ตลาด
งบประมาณ ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ผู้รบั ผดิ ชอบ นวน ระยะ ที่ 1 ท่ี 2 ที่ 3 ที่ 4 คน) เวลา (ต.ค. - (ม.ค. - (เม.ย. - (ก.ค. - และพืน้ ทร่ี บั ผดิ ชอบ ธ.ค. ม.ี ค. ม.ิ ย. ก.ย. 2563) 2564) 2564) 2564) 12 ม.ค. 65 1,380 นางสาวชญานุช ช้ินจ้ิน ตำบลกระทุ่มล้ม 12 ก.พ. 65 1,380 นางสาวญาณศิ า หมื่นจง ตำบลคลองจินดา 12 มี.ค.-65 1,380 นายภรี ะ มายืนยง ตำบลคลองใหม่ 12 ก.พ. 65 1,380 นางสาวอญั ชลีย์ ว่องไว ตำบลตลาดจนิ ดา 12 ม.ค.-65 1,380 นางสาวจินตนา โพธ์ิศรที อง ตำบลทรงคนอง 12 ม.ี ค.-65 1,380 นางสาวจฑุ ารตั น์ บุญปลูก ตำบลท่าข้าม 12 ม.ค. 65 1,380 นางสาวนาฏยา พรมพนั ธุ์ ตำบลทา่ ตลาด 144
ท่ี กจิ กรรม/โครงการ สถานที่ กลมุ่ จำน ดำเนนิ การ เปา้ หมาย (ค 8 โครงการพัฒนาทักษะชวี ติ โดยใช้ กศน.ตำบล ประชาชนทว่ั ไป 1 เศรษฐกิจพอเพียง 1 บางกระทกึ 1 9 โครงการชมุ ชนสเี ขยี ว ลดมลพิษ เพือ่ 1 คุณภาพชวี ิตและสิง่ แวดลอ้ ม ตำบล ศนู ยก์ ารเรียนรู้ ประชาชนทว่ั ไป บางช้าง ชุมชนบ้านหัวอ่าว 10 โครงการการอนรุ กั ษ์พลังงานและ สิง่ แวดล้อม ตำบลบางเตย ม.5 ต.บางช้าง 11 โครงการปลูกพชื สมนุ ไพร สภู้ ัยโควดิ อาคารอเนก ประชาชนทั่วไป ประสงค์ หมู่ 2 ตำบลบางเตย ศูนย์เรียนรู้หลัก ประชาชนทั่วไป ปรชั ญาของ จำนวน 15 คน เศรษฐกจิ พอเพยี ง และเกษตรทฤษฎี ใหมป่ ระจำตำบล บา้ นใหม่ ม. 2 ต.บา้ นใหม่
งบประมาณ ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ผรู้ ับผดิ ชอบ นวน ระยะ ท่ี 1 ที่ 2 ท่ี 3 ท่ี 4 คน) เวลา (ต.ค. - (ม.ค. - (เม.ย. - (ก.ค. - และพน้ื ท่รี บั ผดิ ชอบ ธ.ค. มี.ค. มิ.ย. ก.ย. 2563) 2564) 2564) 2564) 11 มิ.ย. 65 1,265 นางสาวจุฑามาศ เพง็ รักษา ตำบลบางกระทกึ 11 พ.ค. 65 1,265 นางบษุ กร พรมเพยี งช้าง ตำบลบางช้าง 11 พ.ค.-65 1,265 นางสาวทัตติยา นอ้ ยพทิ ักษ์ ตำบลบางเตย 11 พ.ค.-65 1,265 นางอารรี ัตน์ พทุ ธรักษา ตำบลบา้ นใหม่ 145
ที่ กจิ กรรม/โครงการ สถานท่ี กลมุ่ จำน ดำเนินการ เป้าหมาย (ค 12 โครงการสง่ เสรมิ สุขภาวะผูส้ ูงอายุ รพสต.ยายชา ม.6 ประชาชนทัว่ ไป 1 จิตแจ่มใส รา่ งกายแข็งแรง 1 ต.ยายชา และผสู้ ูงอายุ 1 13 โครงการเสรมิ สร้างพัฒนาการผสู้ ูงวยั อาคารอเนก ผสู้ ูงอายุ 1 14 โครงการสุขภาพดี ชีวมี สี ขุ ห่างไกลโควิค 19 ประสงค์ บา้ นเอ้ือ 15 โครงการสง่ เสริมการใช้สมนุ ไพรใน อาทร พทุ ธมณฑล ครัวเรอื น สาย 5 ศูนยเ์ รยี นรู้หลกั ประชาชนทั่วไป ปรชั ญาเศรษฐกิจ พอเพยี งและ เกษตรทฤษฎีใหม่ ประจำตำบล สามพราน ม.6 ต.สามพราน ชมรมผสู้ งู อายุ ประชาชนทวั่ ไป ตำบลหอมเกรด็
งบประมาณ ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ผูร้ บั ผิดชอบ นวน ระยะ ที่ 1 ท่ี 2 ท่ี 3 ที่ 4 คน) เวลา (ต.ค. - (ม.ค. - (เม.ย. - (ก.ค. - และพนื้ ทรี่ ับผิดชอบ ธ.ค. ม.ี ค. มิ.ย. ก.ย. 2563) 2564) 2564) 2564) 11 มิ.ย.-65 1,265 นายเมธา ประชมุ พันธุ์ ตำบลยายชา 11 ม.ิ ย. 65 1,265 นางอารีย์ ศรีทพิ ย์ ตำบลไร่ขิง 11 พ.ค.65 - 1,265 นายวรพจน์ ศรเี พ็ชร์ธาราพนั ธ์ ม.ิ ย.65 ตำบลสามพราน 11 มิ.ย.-65 1,265 นางสาวจติ รา เซยี่ งเทศ ตำบลหอมเกรด็ 146
ท่ี กจิ กรรม/โครงการ สถานท่ี กลมุ่ จำน ดำเนนิ การ เป้าหมาย (ค 16 โครงการเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นแตง่ งาน กศน.ตำบล ประชาชนทั่วไป 1 และการวางแผนครอบครวั ตำบลออ้ มใหญ่ ออ้ มใหญ่ ม.7 18 ต.อ้อมใหญ่ รวม
งบประมาณ ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ผ้รู ับผดิ ชอบ นวน ระยะ ท่ี 1 ท่ี 2 ท่ี 3 ที่ 4 คน) เวลา (ต.ค. - (ม.ค. - (เม.ย. - (ก.ค. - และพ้นื ท่ีรบั ผิดชอบ ธ.ค. มี.ค. มิ.ย. ก.ย. 2563) 2564) 2564) 2564) 11 ม.ิ ย.-65 1,265 นางวนั เพ็ญ ป่นิ ทอง ตำบลออ้ มใหญ่ 82 9,660 11,270 147
124183 9. ผูร้ บั ผิดชอบโครงการ งานการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชวี ิต ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ สามพราน 10. เครอื ขา่ ย 10.1 แหลง่ เรยี นรู้ /ภูมปิ ญั ญาในอำเภอสามพราน อำเภอและจังหวัดใกลเ้ คียง 10.2 สาธารณสุขอำเภอสามพราน 10.3 โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบล 10.4 ชมรมผู้สงู อายุ 10.5 องคก์ รปกครองทอ้ งถ่ินในอำเภอสามพราน 11. โครงการที่เกี่ยวข้อง 11.1 โครงการการศึกษาเพื่อพฒั นาสังคมและชมุ ชน 11.2 โครงการการเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 11.3 โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชุมชน 11.4 โครงการส่งเสรมิ การศึกษาตามอัธยาศัย (กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่านของ กศน.ตำบล) 12. ผลลพั ธ์ (Outcome) 12.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีมีความรู้ เจตคติ และทักษะที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตในสังคม ปัจจบุ นั 12.2 ผู้เขา้ ร่วมโครงการสามารถนำความรู้ท่ีได้รับไปใช้ในการเผชญิ สถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดข้นึ ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อมสำหรับการปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ของข่าวสารข้อมูล และเทคโนโลยีสมยั ใหมใ่ นอนาคต 13. ดัชนีชี้วัดผลสำเร็จของโครงการ 13.1 ตวั ชวี้ ัดผลผลติ (Output) 1) ร้อยละ 80 ของกล่มุ เปา้ หมายเขา้ รว่ มโครงการ 2) รอ้ ยละ 80 ของผู้เขา้ ร่วมโครงการได้รับการพัฒนาจบการศกึ ษาตามหลกั สตู ร 3) ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ เจตคติ และทักษะที่จำเป็นสำหรับ การดำรงชีวติ ในสังคมปจั จุบัน
150 ลำดับทโี่ ครงการ 8/2565 1. ชอื่ โครงการ โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชมุ ชน 2. ความสอดคล้อง 2.1 นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน ของสำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กศน. เพือ่ ประชาชน “กา้ วใหม่ : กา้ วแหง่ คุณภาพ” 1. ดา้ นการจัดการเรียนร้คู ุณภาพ 1.1 น้อมนําพระบรมราโชบายสู่การปฏิบัติ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุน การดําเนนิ งานโครงการ อนั เนื่องมาจากพระราชดาํ ริทกุ โครงการ และโครงการอันเกย่ี วเน่ืองจากราชวงศ์ 1.2 ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ที่สนองตอบยุทธศาสตร์ชาติ และนโยบายของ รฐั มนตรีว่าการ และรัฐมนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร 1.3 ส่งเสรมิ การจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความม่นั คง การสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง ในการปกครองระบอบประชาธิปไตย การเรยี นรู้ท่ีปลกู ฝงั คุณธรรมจรยิ ธรรม สรา้ งวนิ ัย จติ สาธารณะ และ อดุ มการณ์ ความยึดมน่ั ในสถาบนั หลักของชาติ รวมถงึ การมจี ติ อาสา ผา่ นกิจกรรมต่างๆ 1.4 ปรับปรุงหลักสูตรทุกระดับทุกประเภทให้สอดรับกับการพัฒนาคน ทิศทาง การพัฒนาประเทศ สอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนแปลง ความต้องการและความหลากหลายของผู้เรียน/ ผู้รับบริการ รวมถึงปรับลด ความหลากหลายและความซ้ําซ้อนของหลักสูตร เช่น หลักสูตรการศึกษา สําหรับกลมุ่ เป้าหมายบนพ้นื ที่สงู พน้ื ที่พิเศษ และพ้นื ทชี่ ายแดน รวมท้ังกลมุ่ ชาติพนั ธุ์ 1.5 ปรับระบบทดสอบ วัดผล และประเมินผล โดยเน้นการใชเ้ ทคโนโลยีเป็นเคร่ืองมือ ให้ผเู้ รยี น สามารถเข้าถึงการประเมินผลการเรยี นร้ไู ด้ตามความต้องการ เพ่อื การสรา้ งโอกาสในการเรียนรู้ ให้ความสําคัญกับ การเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ พัฒนาระบบ การประเมินสมรรถนะผู้เรียน ให้ตอบโจทย์การประเมินในระดับประเทศและระดับสากล เช่น การประเมินสมรรถภาพผใู้ หญ่ ตลอดจนกระจายอาํ นาจ ไปยังพื้นท่ีในการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ 1.6 สง่ เสรมิ การใช้เทคโนโลยีในการจดั หลักสตู รการเรยี นรู้ในระบบออนไลน์ด้วยตนเอง ครบวงจร ตั้งแต่การลงทะเบียนจนการประเมินผลเมื่อจบหลักสูตร ทั้งการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษา ต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศยั เพื่อเป็นการสร้างและขยายโอกาส ในการเรียนรใู้ หก้ ับกลมุ่ เปา้ หมายท่ีสามารถเรยี นรู้ ไดส้ ะดวก และตอบโจทยค์ วามต้องการของผู้เรียน 2. ดา้ นการสรา้ งสมรรถนะและทกั ษะคุณภาพ 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตที่เน้นการพัฒนาทักษะที่จําเป็นสําหรับแต่ละ ช่วงวัย และการจัดการศึกษาและการเรยี นรทู้ เ่ี หมาะสมกบั แต่ละกลุม่ เปา้ หมายและบริบทพ้นื ที่
151 2.2 มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั (ฉบบั ลงวนั ท่ี 6 ธนั วาคม พ.ศ. 2562) มาตรฐานการศกึ ษาตอ่ เนื่อง มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง 1.1 ผเู้ รียนการศกึ ษาตอ่ เน่ืองมีความรู้ ความสามารถ และหรอื ทักษะและหรือคุณธรรม เปน็ ไปตามเกณฑ์การจบหลักสูตร 1.2 ผ้จู บหลักสตู รการศึกษาต่อเนือ่ งสามารถนำความรู้ที่ไดไ้ ปใช้ หรอื ประยกุ ตใ์ ช้ บน ฐานค่านิยมร่วมของสังคม 1.3 ผู้จบหลกั สูตรการศกึ ษาต่อเน่ืองท่นี ำความรไู้ ปใชจ้ นเห็นเป็นประจักษห์ รอื ตวั อย่างท่ีดี มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจัดการเรียนรกู้ ารศึกษาต่อเน่ือง 2.1 หลกั สตู รการศึกษาต่อเนื่องมีคณุ ภาพ 2.2 วิทยากรการศึกษาต่อเน่ือง มีความรู้ ความสามารถหรอื ประสบการณ์ตรงตาม หลกั สูตรการศึกษาต่อเนอ่ื ง 2.3 สอื่ ท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ 2.4 การวัดและประเมนิ ผลผู้เรยี นการศึกษาต่อเนอื่ ง 2.5 การจัดกระบวนการเรียนร้กู ารศกึ ษาต่อเนอื่ งท่มี ีคุณภาพ มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพการบริหารจัดการของสถานศกึ ษา 3.1 การบริหารจัดการของสถานศึกษาท่เี นน้ การมีส่วนรว่ ม 3.2 ระบบประกนั คุณภาพของการศึกษาของสถานศึกษา 3.3 การพัฒนาครู และบคุ ลากรของสถานศึกษา 3.4 การใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัลเพ่ือสนบั สนุนการบริหารจัดการ 3.5 การกำกับ นเิ ทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา 3.6 การปฏิบตั ิหน้าท่ีของคณะกรรมการสถานศึกษาทเ่ี ป็นไปตามบทบาทท่ีกำหนด 3.7 การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ภาคเี ครือขา่ ยให้มสี ว่ นรว่ มในการจัดการศึกษา 3.8 การส่งเสรมิ สนบั สนนุ การสรา้ งสงั คมแห่งการเรยี นรู้ 3. หลักการและเหตุผล กศน.อำเภอสามพราน เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย และเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวติ ประชาชนจะได้รับการพัฒนาการ เรียนรู้ ในด้านต่าง ๆ ในการจัดการศึกษาต่อเนื่อง การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยมีเป้าหมาย เพื่อให้ประชาชนมีโอกาสแสวงหาและรับความรู้ ทักษะ ทัศนคติ ความเข้าใจ อันจะนำไปสู่การพัฒนา ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน และสงั คม
152 ในปีงบประมาณประจำปี 2565 กศน.อำเภอสามพราน ดำเนินการจัดกิจกรรรมการศึกษาเพื่อ พัฒนาสังคมและชุมชน ในพื้นที่กศน.ตำบลทั้ง 16 แห่ง โดนดำเนินงานตามนโยบายและจุดเน้น การดำเนินงาน ของสำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ตามหลักการ กศน. เพื่อประชาชน “ก้าวใหม่ : ก้าวแห่งคุณภาพ” ด้านการจัดการเรียนรู้คุณภาพ ข้อ 1.1 น้อมนําพระบรมราโชบายสู่ การปฏิบัติ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดาํ ริทุกโครงการ และโครงการอันเกยี่ ว เนื่องจากราชวงศ์ ข้อ 1.2 ขบั เคลือ่ นการจดั การเรียนรู้ท่สี นองตอบยุทธศาสตร์ชาติ และนโยบายของรัฐมนตรีว่าการ และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง ศึกษาธิการ ข้อ 1.3 ส่งเสริมการจัด การศกึ ษาเพื่อเสริมสร้างความม่ันคง การสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง ในการปกครองระบอบประชาธิปไตย การเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ และอุดมการณ์ ความยึดมั่นในสถาบัน หลกั ของชาติ รวมถึงการมจี ิตอาสา ผา่ นกจิ กรรมตา่ ง ๆ การจัดศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน เป็นการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาทักษะ ความสามารถ และศักยภาพของคนในชมุ ชน รวมท้งั กลไกทกุ ภาคสว่ นในชมุ ชน ใหร้ ว่ มกันรบั ผดิ ชอบ และ เห็นความสำคัญในการฟื้นฟูพัฒนาสังคม และชุมชนของตนเอง ด้วยกระบวนการให้ประชาชนรวมกลุ่ม เพ่อื แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการจติ สาธารณะ ชว่ ยเหลอื ซง่ึ กนั และกันในการพัฒนาสังคม และชุมชนอย่างย่ังยืน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวปฏิบัติ และการจัดกิจกรรมเพ่ือ พัฒนาสังคมและชุมชนด้านอื่น ๆ เช่น การเสริมสร้างอุดมการณ์รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ การคุ้มครองผู้บรโิ ภค การปอ้ งการทจุ รติ เศรษฐกจิ ชุมชน การอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม การส่งเสริมประชาธิปไตย การสร้างจิตสาธารณะ นวัตกรรมและเทคโนโลยี กฎหมายที่ควรรู้ โดยจัด กิจกรรมการเรียนรู้ในวิถีชีวิตประจำวันของบุคคล ซึ่งบุคคลสามารถเลือกที่จะเรียนรู้ ได้อย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิต ตามความสนใจ ความตอ้ งการ โอกาส ความพรอ้ มและศักยภาพในการเรยี นรู้ของแต่ละบุคคล เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่สามารถปฏิบัติได้เป็นรายบุคคล ได้ทั้งกิจกรรมสั้น ๆ และกิจกรรมต่อเนื่องใน ระยะยาว โดยมี กศน.ตำบล ทั้ง 16 ตำบล ซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ที่อยู่ในชุมชน ได้จัดกิจกรรมส่งเสริม การเรียนรู้ให้กับประชาชนในชุมชน โดยมีเป้าหมาย เพื่อให้กลุ่มเปา้ หมายมีโอกาสแสวงหาและรบั ความรู้ ทักษะ ทศั นคติ ความเขา้ ใจ อนั จะนำไปส่กู ารพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน และสงั คม 4. วตั ถุประสงค์ 4.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาด้านต่าง ๆ ได้แก่ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง การเรียนรู้การใชเ้ ทคโนโลยีทีเ่ หมาะสม ส่งเสริมการสร้างจิตสำนึกความเป็นประชาธิปไตย ความ เป็นพลเมืองดี การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม จิตอาสา และการบำเพ็ญประโยชน์ในชุมชน การอนุรักษ์ พลงั งาน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และวสิ าหกจิ ในชุมชน 4.2 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ เพื่อนำไปสู่ การพัฒนาการดำรงชีวติ พฒั นาการประกอบอาชีพ พัฒนาชมุ ชน และสงั คม
153 5. เป้าหมาย 5.1 เชิงปรมิ าณ ประชาชนท่วั ไปในพน้ื ท่ีอำเภอสามพราน 16 ตำบล จำนวน 91 คน 5.2 เชิงคุณภาพ 5.2.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาด้านต่าง ๆ ได้แก่ หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง การเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม ส่งเสรมิ การสร้างจิตสำนึกความเปน็ ประชาธิปไตย ความเป็นพลเมืองดี การสง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรม จติ อาสา และการบำเพ็ญประโยชน์ในชุมชน การอนุรักษ์ พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และวสิ าหกิจในชุมชน 5.2.2 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ เพื่อนำไปสู่การพัฒนาการดำรงชีวติ พัฒนาการประกอบอาชพี พฒั นาชุมชน และสงั คม
154 6. วิธดี ำเนนิ การ ท่ี กิจกรรมหลัก วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่ม เป้าหมาย สถานท่ี ระยะ งบประมาณ เป้าหมาย (คน) ดำเนนิ การ เวลา (บาท) 1 การวางแผน -เพือ่ กำหนด -วทิ ยากร - 32 คน -กศน. พ.ย.- - - ประชมุ รปู แบบวธิ ี -ครู กศน. - 16 คน อำเภอ ธ.ค.64 ผู้เกี่ยวข้อง ครู ดำเนนิ งาน วนั ตำบล สามพราน วิทยากร เวลา สถานทจี่ ัด -ครอู าสา - 5 คน -กศน. - ขออนุมัติ กิจกรรม วทิ ยากร สมัคร กศน. ตำบล โครงการ - เพ่อื ขออนุมัติ 16 ตำบล - ขอความเหน็ โครงการ ชอบโครงการ -เพอ่ื ขอความ - จดั ทำ เห็นชอบโครงการ หลกั สตู ร -เพือ่ จดั ทำ ออกแบบ หลกั สตู ร และ การจัดการ ออกแบบ เรียนรู้ การเรียนรู้ - ประสานงาน - เพอื่ ประสานงาน สถานท่ี สถานที่ วิทยากร กำหนดเวลา และแจง้ นักศกึ ษา 2 การปฏิบัติตาม เพ่อื ให้ผเู้ ข้าร่วม ประชาชน 91 คน -กศน. ม.ค. – 36,400 แผนการเรียนรู้ โครงการมคี วามรู้ ท่วั ไป อำเภอ ก.ย. 65 บาท ตามความ ความเข้าใจในเนื้อหา ผสู้ งู อายุ ใน สามพราน ต้องการของ ดา้ นตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ พ้นื ทอ่ี ำเภอ -กศน. ชมุ ชนในพน้ื ที่ หลกั ปรชั ญาของ สามพราน ตำบล อำเภอสามพราน เศรษฐกจิ พอเพียง ทง้ั 16 ตำบล 16 ตำบล โดย กศน.ตำบล การเรียนรกู้ ารใช้ -พน้ื ท่ใี น 16 ตำบล โดย อำเภอ จัดกิจกรรมใน เทคโนโลยที ่ีเหมาะสม สามพราน รปู แบบกิจกรรม ส่งเสริมการสร้าง การฝึกอบรม จิตสำนกึ ความเป็น ประชาชน ประชาธปิ ไตย ความเป็นพลเมืองดี
155 ที่ กจิ กรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลุ่ม เป้าหมาย สถานที่ ระยะ งบประมาณ เปา้ หมาย (คน) ดำเนนิ การ เวลา (บาท) การสง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรมจติ อาสา และการบำเพ็ญ ประโยชน์ในชุมชน การอนุรักษ์พลงั งาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม และวิสาหกิจใน ชุมชน 3 การตรวจสอบ เพ่อื ตดิ ตาม ผู้บริหาร 25 คน -กศน. ม.ค. – - หรอื ประเมนิ ผล ความก้าวหนา้ คณะกรรมการ อำเภอ ก.ย. 65 ปญั หา อปุ สรรค นเิ ทศ สามพราน ของการดำเนนิ งาน บุคลากร -กศน. กศน.อำเภอ ตำบล สามพราน 16 ตำบล 4 สรุปผลการ เพ่ือสรปุ ผลการ -ครู กศน. 20 คน -กศน. ส.ค - - ดำเนินงาน ดำเนินงาน และนำ ตำบล อำเภอ ก.ย.65 และนำผลการ ผลการดำเนนิ งาน -ครู สามพราน ดำเนินการไป ไปปรบั ปรุงและ อาสาสมัคร -กศน. ปรบั ปรงุ การ พฒั นาการ ตำบล ดำเนนิ งานใน ดำเนนิ งานของ 16 ตำบล ครง้ั ตอ่ ไป โครงการให้มี ประสิทธภิ าพ และ สอดคลอ้ งกบั ความ ต้อการของ ประชากรมากขน้ึ
156 7. งบประมาณ เงินงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ งบดำเนินงาน การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน จำนวนเงิน 36,400 บาท (สามหมื่นหกพันสี่ร้อยบาทถ้วน) รายละเอียดดงั น้ี 1) โครงการสร้างพลังชมุ ชน ลดขยะในครัวเรอื น ตำบลกระท่มุ ลม้ 2,000 บาท 2) โครงการสรา้ งพลังชมุ ชน ส่งิ แวดล้อมดีชีวีมีสขุ 2,000 บาท 3) โครงการรณรงคส์ ร้างชุมชนน่าอยู่ บ้านนา่ มอง 2,000 บาท 4) โครงการสร้างพลังชมุ ชน ลดขยะในครวั เรือน ตำบลตลาดจินดา 2,000 บาท 5) โครงการส่งเสรมิ คุณธรรมจรยิ ธรรมและจติ สาธารณะ พฒั นาวัด 2,000 บาท ชุมชนตำบลทรงคนอง 6) โครงการรณรงคส์ รา้ งชุมชนน่าอยู่ บ้านนา่ มอง 2,000 บาท 7) โครงการพัฒนาชมุ ชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง และ 2,000 บาท สังคมประชาธปิ ไตย 8) โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และจิตสาธารณะ พัฒนาวดั 2,800 บาท ชมุ ชน ตำบลบางกระทึก 9) โครงการชมุ ชนสีเขียว ลดมลพษิ เพ่ือคุณภาพชีวิต และสิ่งแวดลอ้ ม 2,800 บาท ตำบลบางชา้ ง 10) โครงการการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ตำบลบางเตย 2,800 บาท 11) 'โครงการสร้างเสรมิ ชุมชนน่าอยู่ 2,400 บาท 12) โครงการชมุ ชนเข้มแขง็ ใสใ่ จสิ่งแวดล้อม ลดขยะในชุมชน 2,400 บาท 13) โครงการสง่ เสริมเทคโนโลยีท่เี หมาะสมกับการดำรงชพี 2,400 บาท 14) โครงการสรา้ งพลังชุมชน ลดขยะในครัวเรือน ตำบลสามพราน 2,400 บาท 15) โครงการสง่ เสรมิ การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพอ่ื การประกอบ 2,400 บาท อาชพี 16) โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมและจิตสาธารณะ พฒั นาวดั 2,000 บาท ชมุ ชนตำบลอ้อมใหญ่ รวม 36,400 บาท หมายเหตุ ขอถัวจ่ายทุกรายการตามท่ีจ่ายจริง
8. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ ท่ี กจิ กรรม/โครงการ สถานที่ กลมุ่ จำนวน ดำเนินการ เป้าหมาย (คน) 1 โครงการสรา้ งพลังชุมชน ลดขยะ กศน.ตำบล ประชาชน 15 15 ในครัวเรือน ตำบลกระท่มุ ล้ม กระทุ่มลม้ ทั่วไป 20 2 โครงการสรา้ งพลังชมุ ชน ศาลาอเนกประสงค์ ประชาชน 15 15 สง่ิ แวดล้อมดีชวี ีมีสุข หมทู่ ี่ 7 ตำบล ทว่ั ไป คลองจินดา ผสู้ งู อายุ 3 โครงการรณรงค์สร้างชุมชน 159 หมทู่ ่ี 3 ประชาชน นา่ อยู่ บ้านนา่ มอง ตำบลคลองใหม่ ทั่วไป 4 โครงการสร้างพลังชมุ ชน ลดขยะ กศน.ตำบล ประชาชน ในครวั เรือน ตำบลตลาดจินดา ตลาดจนิ ดา ทั่วไป 5 โครงการส่งเสรมิ คุณธรรม วัดทรงคนอง ประชาชน จริยธรรม และจติ สาธารณะ หมทู่ ่ี 5 ท่ัวไป พฒั นาวัด ชุมชนตำบลทรงคนอง ต.ทรงคนอง
งบประมาณ ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ผู้รับผิดชอบ ระยะ ท่ี 1 ท่ี 2 ท่ี 3 ท่ี 4 เวลา (ต.ค. - (ม.ค. - (เม.ย. - (ก.ค. - และพ้นื ท่ีรับผิดชอบ ธ.ค. ม.ี ค. มิ.ย. ก.ย. 2564) 2565) 2565) 2565) พ.ค.- 2,000 นางสาวชญานุช ชนิ้ จ้นิ ม.ิ ย.65 ตำบลกระทุ่มลม้ พ.ค.- 2,000 นางสาวญาณศิ า หมืน่ จง มิ.ย. 65 ตำบลคลองจนิ ดา พ.ค.-65 2,000 นายภรี ะ มายืนยง ตำบลคองใหม่ พ.ค.- มิ.ย.65 2,000 นางสาวอัญชลยี ์ ว่องไว มิ.ย.-65 ตำบลตลาดจนิ ดา 2,000 นางสาวจินตนา โพธศิ์ รที อง ตำบลทรงคนอง 157
ท่ี กิจกรรม/โครงการ สถานที่ กลมุ่ จำนวน ดำเนินการ เป้าหมาย (คน) 6 โครงการรณรงคส์ ร้างชุมชน 52 หมทู่ ่ี 3 ประชาชน 20 15 นา่ อยู่ บา้ นนา่ มอง ตำบลทา่ ข้าม ทวั่ ไป 15 7 โครงการพฒั นาชุมชนตามหลัก กศน.ตำบล ประชาชน 15 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและ ท่าตลาด ท่ัวไป สังคมประชาธิปไตย 8 โครงการส่งเสริมคุณธรรม กศน.ตำบล ประชาชน จรยิ ธรรม และจิตสาธารณะ บางกระทึก ทั่วไป พฒั นาวัด ชมุ ชนตำบล บางกระทึก 9 โครงการชุมชนสีเขยี ว ลด ศนู ย์การเรยี นรู้ ประชาชน มลพษิ เพือ่ คณุ ภาพชีวิต และ ชุมชนบ้านหัว ทวั่ ไป สง่ิ แวดลอ้ ม ตำบลบางช้าง อา่ ว หมูท่ ่ี 5 ต.บางชา้ ง
ระยะ ไตรมาส งบประมาณ ไตรมาส ผรู้ บั ผดิ ชอบ เวลา ที่ 1 ไตรมาส ไตรมาส ที่ 4 และพน้ื ทร่ี บั ผิดชอบ (ต.ค. - (ก.ค. - พ.ค.-65 ธ.ค. ท่ี 2 ท่ี 3 ก.ย. นางสาวจุฑารตั น์ บุญปลกู ม.ิ ย.65 2564) (ม.ค. - (เม.ย. - 2565) ตำบลทา่ ขา้ ม มี.ค. มิ.ย. นางสาวนาฏยา พรมพันธ์ุ 2565) 2565) ตำบลทา่ ตลาด 2,000 2,000 ก.พ. 65 2,800 นางสาวจุฑามาศ เพง็ รกั ษา ตำบลบางกระทกึ ม.ค. 65 2,800 นางบุษกร พรมเพยี งช้าง ตำบลบางช้าง 158
ท่ี กิจกรรม/โครงการ สถานท่ี กลมุ่ จำนวน ดำเนนิ การ เป้าหมาย (คน) 10 โครงการการอนรุ ักษ์พลงั งาน อาคารอเนก ประชาชน 15 และส่ิงแวดลอ้ ม ตำบลบางเตย ประสงค์ หมู่ที่ ทั่วไป 15 15 2 ต.บางเตย 15 11 โครงการสรา้ งเสรมิ ชุมชน กศน.ตำบล ประชาชน 15 น่าอยู่ บา้ นใหม่ ท่วั ไป 12 โครงการชมุ ชนเข้มแข็ง ใส่ใจ ชมรมผู้สูงอายุ ประชาชน ส่ิงแวดล้อม ลดขยะในชมุ ชน ตำบลยายชา ทว่ั ไปและ หมู่ที่ 6 ต.ยายชา ผู้สงู อายุ 13 โครงการส่งเสริมเทคโนโลยีที่ กศน.ตำบลไรข่ ิง ประชาชน เหมาะสมกับการดำรงชีพ ทวั่ ไป 14 โครงการสรา้ งพลังชุมชน ศูนย์เรียนรู้หลกั ประชาชน ลดขยะในครวั เรอื น ตำบล ปรัชญาเศรษฐกิจ ทัว่ ไป สามพราน พอเพียงและ เกษตรทฤษฎีใหม่
ระยะ ไตรมาส งบประมาณ ไตรมาส ผ้รู บั ผดิ ชอบ เวลา ที่ 1 ไตรมาส ไตรมาส ท่ี 4 และพน้ื ทีร่ บั ผดิ ชอบ (ต.ค. - (ก.ค. - ม.ค.- ธ.ค. ที่ 2 ท่ี 3 ก.ย. นางสาวทัตติยา น้อยพิทักษ์ ก.พ.65 2564) (ม.ค. - (เม.ย. - 2565) ตำบลบางเตย มี.ค. ม.ิ ย. 2565) 2565) 2,800 ม.ี ค.65 2,400 นางอารีรตั น์ พุทธรกั ษา ก.พ.65 2,400 ตำบลบา้ นใหม่ นายเมธา ประชุมพันธ์ ตำบลยายชา 25 ก.พ. 2,400 นางอารยี ์ ศรที ิพย์ 65 2,400 ตำบลไรข่ งิ ม.ค.- นายวรพจน์ ศรีเพ็ชร์ธาราพันธ์ ก.พ.65 ตำบลสามพราน 159
ที่ กจิ กรรม/โครงการ สถานที่ กลมุ่ จำนวน ดำเนนิ การ เปา้ หมาย (คน) ประจำตำบล สามพราน หมู่ท่ี 6 ต.สามพราน 15 โครงการส่งเสริมการใช้ ศนู ย์วสิ าหกิจ ประชาชน 15 15 เทคโนโลยที เ่ี หมาะสมเพ่ือ ชมุ ชน หมู่ที่ 4 ทัว่ ไป 91 การประกอบอาชพี ต.หอมเกรด็ 16 โครงการส่งเสริมคุณธรรม วัดสริ ินธรเทพ ประชาชน จรยิ ธรรมและจิตสาธารณะ รัตนาราม หมู่ที่ ทัว่ ไป พัฒนาวัด ชุมชนตำบล 7 ต.ออ้ มใหญ่ ออ้ มใหญ่ รวม
งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ และพนื้ ท่รี บั ผดิ ชอบ ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ระยะ ท่ี 1 ที่ 2 ที่ 3 ที่ 4 เวลา (ต.ค. - (ม.ค. - (เม.ย. - (ก.ค. - ธ.ค. ม.ี ค. ม.ิ ย. ก.ย. 2564) 2565) 2565) 2565) ม.ิ ย.-65 2,400 นางสาวจิตรา เซี่ยงเทศ มิ.ย.-65 2,000 ตำบลหอมเกร็ด 18,000 18,400 นางวันเพญ็ ปิน่ ทอง ตำบลออ้ มใหญ่ 160
212621 9. ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ งานการศึกษาเพ่ือพัฒนาสงั คมและชุมชน ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอสามพราน 10. เครือขา่ ย 10.1 องค์กรปกครองทอ้ งถิน่ เทศบาล/อบต 10.2 แหลง่ เรียนรู้ /ภมู ิปญั ญา ผู้รู้ ในอำเภอสามพราน และพื้นท่ใี กลเ้ คยี ง 10.3 โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบล ในอำเภอสามพราน และพนื้ ที่ใกล้เคียง 11. โครงการทเ่ี กยี่ วข้อง 11.1 โครงการการศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชีวิต 11.2 โครงการการเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 11.3 โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน 11.4 โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอธั ยาศยั (กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่านของ กศน.ตำบล) 12. ผลลัพธ์ (Outcome) 12.1 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาด้านต่าง ๆ ได้แก่ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง การเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ส่งเสริมการสร้างจิตสำนึกความเป็นประชาธิปไตย ความเป็นพลเมืองดี การสง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรม จติ อาสา และการบำเพ็ญประโยชน์ในชุมชน การอนุรักษ์ พลังงาน ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และวิสาหกจิ ในชุมชน 12.2 ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ เพื่อนำไปสู่ การพัฒนาการดำรงชีวติ พฒั นาการประกอบอาชพี พฒั นาชมุ ชน และสงั คม 13. ดัชนีชีว้ ดั ผลสำเร็จของโครงการ 13.1 ตวั ชีว้ ัดผลผลติ (Output) - ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายเขา้ ร่วมโครงการ - ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาด้านตา่ ง ๆ ได้แก่ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ส่งเสริมการสร้าง จิตสำนึกความเป็นประชาธิปไตย ความเป็นพลเมืองดี การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม จิตอาสา และ การบำเพ็ญประโยชน์ในชุมชน การอนุรักษ์พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และวิสาหกิจใน ชมุ ชน
163 ลำดบั ท่โี ครงการ 9/2565 1. ชื่อโครงการ โครงการการเรียนร้ตู ามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. ความสอดคลอ้ ง 2.1 นโยบายและจดุ เน้นการดำเนนิ งาน ของสำนกั งาน กศน. ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 กศน. เพอ่ื ประชาชน “กา้ วใหม่ : ก้าวแห่งคุณภาพ” 1. ด้านการจดั การเรยี นรู้คุณภาพ 1.1 น้อมนําพระบรมราโชบายสู่การปฏิบัติ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุน การดําเนินงานโครงการ อนั เนือ่ งมาจากพระราชดาํ รทิ ุกโครงการ และโครงการอันเกีย่ วเนอ่ื งจากราชวงศ์ 1.2 ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ที่สนองตอบยุทธศาสตร์ชาติ และนโยบายของ รัฐมนตรวี า่ การ และรฐั มนตรชี ่วยวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร 1.3 ส่งเสรมิ การจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความม่นั คง การสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย การเรยี นรทู้ ป่ี ลูกฝังคณุ ธรรมจรยิ ธรรม สร้างวนิ ยั จิตสาธารณะ และ อุดมการณ์ ความยึดมน่ั ในสถาบันหลักของชาติ รวมถงึ การมจี ิตอาสา ผ่านกิจกรรมต่างๆ 1.4 ปรับปรุงหลักสูตรทุกระดับทุกประเภทให้สอดรับกับการพัฒนาคน ทิศทาง การพัฒนาประเทศ สอดคล้องกับบริบทที่เปลี่ยนแปลง ความต้องการและความหลากหลายของผู้เรียน/ ผู้รับบริการ รวมถึงปรับลด ความหลากหลายและความซ้ําซ้อนของหลักสูตร เช่น หลักสูตรการศึกษา สาํ หรบั กลุ่มเปา้ หมายบนพ้นื ทสี่ ูง พ้ืนทพี่ เิ ศษ และพ้นื ที่ชายแดน รวมทงั้ กลุ่มชาตพิ ันธ์ุ 1.5 ปรับระบบทดสอบ วัดผล และประเมินผล โดยเน้นการใช้เทคโนโลยีเป็นเคร่ืองมือ ใหผ้ เู้ รียน สามารถเขา้ ถงึ การประเมินผลการเรียนรู้ไดต้ ามความต้องการ เพือ่ การสร้างโอกาสในการเรียนรู้ ให้ความสําคัญกับ การเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ พัฒนาระบบ การประเมินสมรรถนะผู้เรียน ให้ตอบโจทย์การประเมินในระดับประเทศและระดับสากล เช่น การประเมินสมรรถภาพผใู้ หญ่ ตลอดจนกระจายอํานาจ ไปยงั พืน้ ท่ีในการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ 1.6 ส่งเสริมการใชเ้ ทคโนโลยีในการจดั หลกั สูตรการเรียนรใู้ นระบบออนไลนด์ ้วยตนเอง ครบวงจร ตั้งแต่การลงทะเบียนจนการประเมินผลเมื่อจบหลักสูตร ทั้งการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษา ต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศยั เพื่อเป็นการสร้างและขยายโอกาส ในการเรียนรู้ใหก้ บั กลุ่มเปา้ หมายท่ีสามารถเรียนรู้ ได้สะดวก และตอบโจทย์ความต้องการของผ้เู รียน 2. ด้านการสรา้ งสมรรถนะและทักษะคณุ ภาพ 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตที่เน้นการพัฒนาทักษะที่จําเป็นสําหรับแต่ละ ชว่ งวยั และการจดั การศึกษาและการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับแต่ละกลุ่มเป้าหมายและบริบทพ้ืนท่ี
164 2.2 มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั (ฉบบั ลงวนั ท่ี 6 ธันวาคม พ.ศ. 2562) มาตรฐานการศึกษาต่อเน่ือง มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี นการศกึ ษาต่อเน่อื ง 1.1 ผเู้ รียนการศกึ ษาต่อเนอื่ งมคี วามรู้ ความสามารถ และหรอื ทักษะและหรอื คุณธรรม เป็นไปตามเกณฑก์ ารจบหลักสตู ร 1.2 ผจู้ บหลกั สูตรการศกึ ษาต่อเน่ืองสามารถนำความรทู้ ่ีไดไ้ ปใช้ หรอื ประยุกตใ์ ช้ บน ฐานคา่ นยิ มร่วมของสังคม 1.3 ผู้จบหลกั สตู รการศกึ ษาต่อเนื่องที่นำความรไู้ ปใชจ้ นเห็นเป็นประจกั ษห์ รอื ตวั อย่างที่ดี มาตรฐานท่ี 2 คณุ ภาพการจัดการเรียนรกู้ ารศึกษาต่อเน่ือง 2.1 หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องมีคณุ ภาพ 2.2 วิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง มีความรู้ ความสามารถหรอื ประสบการณ์ตรงตาม หลกั สตู รการศกึ ษาต่อเน่อื ง 2.3 ส่อื ที่เอ้ือต่อการเรยี นรู้ 2.4 การวัดและประเมินผลผเู้ รยี นการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง 2.5 การจดั กระบวนการเรยี นรกู้ ารศึกษาต่อเนื่องทีม่ ีคุณภาพ มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพการบริหารจดั การของสถานศึกษา 3.1 การบริหารจัดการของสถานศึกษาทีเ่ น้นการมีสว่ นร่วม 3.2 ระบบประกันคุณภาพของการศึกษาของสถานศึกษา 3.3 การพัฒนาครู และบุคลากรของสถานศึกษา 3.4 การใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพื่อสนับสนนุ การบริหารจดั การ 3.5 การกำกบั นเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผลการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา 3.6 การปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาที่เป็นไปตามบทบาทท่ีกำหนด 3.7 การส่งเสริม สนบั สนนุ ภาคีเครือข่ายให้มีส่วนรว่ มในการจดั การศึกษา 3.8 การสง่ เสรมิ สนับสนุนการสร้างสงั คมแห่งการเรียนรู้
165 3. หลักการและเหตุผล ที่ผ่านมาประเทศไทยได้รับมือกับปัญหาต่าง ๆ ในหลากหลายรูปแบบ เช่น การสร้างอ่างเก็บนำ้ การสร้างเขื่อน หรือการจัดทำระบบชลประทาน เพื่อแก้ปัญหาภยั แล้ง ซึ่งรูปแบบเหล่านี้สามารถใช้แกไ้ ข ปัญหาได้ในบางพ้ืนที่ของประเทศไทยเท่านั้น สำหรับพื้นที่ห่างไกลนอกเขตชลประทาน ยังคงต้องประสบ กบั ปญั หาการขาดแคลนน้ำเพ่ือใช้ในการเกษตร ซึง่ มสี าเหตหุ ลักมาจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างไร้ ขอบเขตของมนุษย์ โดยได้ส่งผลกระทบในวงกว้างต่อสมดุลระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งภาวะวิกฤตที่ส่งผลกระทบต่อภาคการเกษตรอย่างมาก คือการเกิดภัยแล้งที่นับวันจะมีความรุนแรง เพ่มิ ข้นึ ในทุกปี นอกจากนี้การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา หรือโควิด 19 ได้ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อ การบริโภค อุปโภค การลงทุน หรือภาคการค้าต่าง ๆ รวมถึงการปิดเมืองจากการแพร่ระบาด ทำให้ไม่ สามารถเดินทางหรือทำการค้าขายพืชผลทางการเกษตรได้ ซึ่งเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดภาวะเศรษฐกิจ ตกต่ำ ดังนั้นการได้น้อมนำพระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการทำเกษตรทฤษฎี ใหม่มาใช้บริหารจัดการน้ำ ปรับดิน การแบ่งสรรปันส่วน โดยเฉพาะพื้นที่การเกษตรในรูปแบบ โคก หนองนา โมเดล มาเป็นรูปแบบในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใหก้ ับประชาชนภาคการเกษตรกรในเขตพื้นที่ จึงเป็น แนวทางท่ีสำคัญท่สี ามารแก้ปญั หาดังกลา่ วได้ แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามการออกแบบในแตล่ ะพน้ื ทจี่ ะตอ้ งคำนึงถึง “ภูมิสังคม” เป็นสำคัญคือต้องออกแบบตามสังคมและวัฒนธรรมของคนที่อยู่ แม้ว่าภูมิประเทศจะ เหมอื นกนั ก็ตาม หากภมู ิสงั คมตา่ งกันการออกแบบกจ็ ะตา่ งกนั ไปดว้ ย ด้วยเหตผุ ลดงั กล่าว กศน. อำเภอสามพราน จึงมีความต้องการส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนใน พื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การบูรณาการหลักการทำเกษตร ทฤษฎีใหม่มาใช้บริหารตามแต่ละภูมิสังคม โดยยึดหลักความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึง ความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใด ๆ อันเกิดจาก การเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวัง อย่างยิ่งในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการ ทุกขั้นตอน และเสริมสร้าง พนื้ ฐานจติ ใจของประชาชนในพืน้ ทตี่ ามภูมิสังคม โดยเฉพาะคนท่ีประกอบอาชีพเกษตรกร และประชากร วัยแรงงานทุกระดับ ให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์ สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนิน ชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดลุ และพร้อมต่อการรองรบั การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลก ภายนอก และปัญหาต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับตนเอง ให้สามารถนำมาประยุกต์ให้เกิดผลในทางปฏิบัติใน การดำรงชวี ติ ประจำวันทัง้ ตอ่ ตนเอง ครอบครัว และชมุ ชน ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลต่อไป
166 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการคิดตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง 4.2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในเรื่องเกี่ยวกับการเกษตรทฤษฎีใหม่ การเกษตรธรรมชาติ เกษตรอินทรีย์ การทำนำ้ หมักชีวภาพ และการปลูกพืชผักสวนครวั เพ่ือเป็นยารักษา โรค 4.3 เพื่อให้ประชาชนสามารถนำความรู้มาสร้างภูมิคุ้มกัน และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน สามารถพง่ึ พาตนเอง ลดรายจา่ ย เพิ่มรายได้ 5. เป้าหมาย 5.1 เชิงปริมาณ ประชาชนทว่ั ไปในพน้ื ท่ีอำเภอสามพราน จำนวน 151 คน 5.2 เชิงคุณภาพ 1) ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะกระบวนการคิดตาม หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2) ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการสามารถนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับ ใช้ในการดำเนนิ ชวี ิตและประกอบอาชีพได้ 3) ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาคณุ ภาพชีวิตตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคมได้
167 6. วิธดี ำเนนิ การ ท่ี กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่ม เป้าหมาย สถานท่ี ระยะ งบประมาณ เปา้ หมาย (คน) ดำเนินการ เวลา (บาท) 1. การวางแผน เพ่อื กำหนดกิจกรรม/ ผบู้ ริหาร 20 คน กศน. พ.ย. - ดำเนนิ งาน โครงการ วิธดี ำเนนิ งาน และคณะ อำเภอ 2564 โดยประชุมวาง วนั เวลา สถานทีจ่ ัด ครู กศน. สามพราน แผนการ กจิ กรรม และกลุ่ม อำเภอ ดำเนินงาน และ เป้าหมาย สามพราน ประสานงาน 2. ดำเนนิ กจิ กรรม 1) เพื่อใหป้ ระชาชนมี ประชาชน 151 คน พ้นื ที1่ 6 ม.ค. 60,400 ส่งเสรมิ การ ความรู้ ความเข้าใจ มี ท่วั ไปใน ตำบลใน 2565 บาท เรียนร้หู ลัก ทักษะกระบวนการคิด เขตพืน้ ท่ี อำเภอ - ปรชั ญาของ ตามหลกั ปรชั ญาของ อำเภอสาม สามพราน ส.ค. เศรษฐกจิ เศรษฐกจิ พอเพยี ง พราน 16 2565 พอเพียง 2) เพ่ือใหป้ ระชาชนมี ตำบล โดยอบรมให้ ความรู้ ความเขา้ ใจ มี ความรหู้ ลกั ทกั ษะในเรื่องเก่ียวกับ ปรชั ญาของ การเกษตรทฤษฎใี หม่ เศรษฐกิจ การเกษตรธรรมชาติ พอเพยี ง และ เกษตรอนิ ทรยี ์ การทำ การนำไปใช้ นำ้ หมกั ชวี ภาพ และ การปลูกพชื ผกั สวนครวั เพอ่ื เปน็ ยารักษาโรค 3) เพ่ือให้ประชาชน สามารถนำความรู้มา สร้างภูมคิ มุ้ กนั และ ประยุกต์ใช้ใน ชวี ิตประจำวัน สามารถ พึ่งพาตนเอง ลด รายจ่าย เพม่ิ รายได้
168 ท่ี กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กล่มุ เป้าหมาย สถานที่ ระยะ งบประมาณ เปา้ หมาย (คน) ดำเนนิ การ เวลา (บาท) 3. ประเมนิ ผล - เพือ่ ตดิ ตาม - ครู กศน. - 16 คน กศน. ม.ค. - การดำเนินงาน ความกา้ วหนา้ /ปญั หา ตำบล - 1 คน อำเภอ - อปุ สรรคการดำเนินงาน - ผู้รบั ผดิ ชอบ สามพราน ส.ค. - เพอื่ นำผลการ งาน 2565 ประเมนิ ไปปรบั ปรุง การดำเนนิ งาน 4. สรุปผล เพ่อื สรปุ ผลการดำเนนิ - ครู กศน. - 16 คน กศน. ก.ย. - การดำเนนิ งาน ตำบล - 1 คน อำเภอ 2565 โครงการ - ผู้รับผดิ ชอบ สามพราน งาน 7. งบประมาณ เงินงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและ เสรมิ สร้างศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ ผลผลิตที่ 4 ผรู้ ับบรกิ ารการศกึ ษานอกระบบ งบดำเนินงาน กิจกรรม การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จำนวนเงิน 60,400 บาท (หกหมื่นสี่ร้อยบาทถ้วน) รายละเอยี ดดงั น้ี 1) โครงการสร้างภูมิคุ้มกันต้านโควิด 19 ด้วยสมุนไพรไทยแบบพอเพียง 3,600 บาท ตำบลบางเตย 2) โครงการปลูกพชื สมุนไพร สู้ภยั โควดิ 3,600 บาท 3) โครงการเศรษฐกิจพอเพียง ปลูกพชื สมนุ ไพร สู้ภัยโรครา้ ย 3,600 บาท 4) โครงการใช้ชวี ิตตามวิถีเศรษฐกิจพอเพยี ง 3,600 บาท 5) โครงการปลกู ผักสมุนไพรแบบพอเพียงต้านโควิค 19 ตำบลสามพราน 3,200 บาท 6) โครงการปลกู พืชสมุนไพร พืน้ บ้าน ตำบลหอมเกร็ด 3,200 บาท 7) โครงการปลกู พชื ผกั สมุนไพร สู้ภยั โควิด ตำบลอ้อมใหญ่ 3,200 บาท 8) โครงการปลกู ผกั สมนุ ไพรแบบพอเพยี งตา้ นโควิค 19 ตำบลกระทุ่มลม้ 4,400 บาท 9) โครงการเรยี นรกู้ ารปลกู พืชสมนุ ไพรตามวถิ ีเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4,000 บาท 10) โครงการปลูกพืชสมนุ ไพรพืน้ บ้าน 4,000 บาท 11) โครงการปลกู ผกั สมุนไพรแบบพอเพยี งต้านโควิค 19 ตำบลตลาดจินดา 4,000 บาท 12) โครงการปลูกพชื ผักสมนุ ไพร สภู้ ัยโควิด ตำบลทรงคนอง 4,000 บาท 13) โครงการปลกู พืชสมุนไพรพืน้ บา้ น 4,000 บาท 14) โครงการเกษตรผสมผสานเพอ่ื การยังชีพ 4,000 บาท
169 15) โครงการลดค่าใช้จ่ายเพ่ือเพิ่มรายได้ในครัวเรือนตามแนวทางเศรษฐกิจ 4,000 บาท พอเพยี ง 4,000 บาท 16) โครงการปลกู พืชสมุนไพร สภู้ ยั COVID-19 ตำบลบางช้าง 60,400 บาท รวม หมายเหตุ ขอถวั จา่ ยทกุ รายการตามทจ่ี ่ายจริง
8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ท่ี กจิ กรรม/โครงการ สถานท่ดี ำเนนิ การ กลมุ่ จำน เปา้ หมาย (ค 1 โครงการสรา้ งภมู คิ ุ้มกนั ต้าน ศูนย์เรยี นรู้ปรชั ญา ประชาชน 9 9 โควิด 19 ด้วยสมุนไพรไทย ของเศรษฐกจิ พอเพียง ท่วั ไป 15 คน 9 9 แบบพอเพียงตำบลบางเตย และเกษตรทฤษฎใี หม่ ประจำตำบลบางเตย 2 'โครงการปลูกพืชสมุนไพร ศูนยเ์ รยี นรปู้ รชั ญา ประชาชน สู้ภยั โควิด ของเศรษฐกจิ พอเพียง ท่วั ไป 15 คน และเกษตรทฤษฎใี หม่ ประจำตำบลบา้ นใหม่ 3 โครงการเศรษฐกจิ พอเพยี ง 18/2 ม.5 ต.ยายชา ประชาชน ปลูกพืชสมุนไพร สูภ้ ัย ทั่วไป และ โรคร้าย ผ้สู งู อายุ 15 คน 4 โครงการใช้ชีวิตตามวถิ ี สถานีดนิ -ปยุ๋ ตำบล ประชาชน เศรษฐกจิ พอเพยี ง ไร่ขิง ทว่ั ไป 15 คน
งบประมาณ ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ไตรมาส ผูร้ บั ผิดชอบ นวน ระยะ ท่ี 1 ท่ี 2 ที่ 3 ท่ี 4 คน) เวลา (ต.ค. - (ม.ค. - (เม.ย. - (ก.ค. - และพ้นื ท่ีรบั ผดิ ชอบ ธ.ค. ม.ี ค. มิ.ย. ก.ย. 2564) 2565) 2565) 2565) 9 ก.พ.65- - 3,600 - - นางสาวทตั ติยา นอ้ ยพิทักษ์ ม.ี ค.65 ตำบลบางเตย 9 ก.พ.65 - 3,600 - - นางอารีรัตน์ พุทธรักษา ตำบลบา้ นใหม่ 9 ม.ค. - 3,600 - - นายเมธา ประชุมพนั ธ์ุ 65 ตำบลยายชา 9 มี.ค. 65 - 3,600 - - นางอารยี ์ ศรที ิพย์ ตำบลไรข่ ิง 170
ท่ี กิจกรรม/โครงการ สถานท่ีดำเนนิ การ กลมุ่ จำน เปา้ หมาย (ค 5 โครงการปลกู ผักสมนุ ไพร ศูนยเ์ รยี นรูเ้ ศรษฐกิจ ประชาชน 8 แบบพอเพยี งตา้ นโควคิ 19 พอเพียงและเกษตร ทั่วไป 15 คน 8 8 ตำบลสามพราน ทฤษฎใี หม่ประจำ 1 ตำบลสามพราน 6 โครงการปลูกพืชสมุนไพร กศน.ตำบลหอมเกร็ด ประชาชน พ้ืนบ้าน ตำบลหอมเกรด็ ทัว่ ไป 15 คน 7 โครงการปลูกพืชผกั สมุนไพร ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกจิ ประชาชน สูภ้ ยั โควิด ตำบลออ้ มใหญ่ พอเพียงและเกษตร ทว่ั ไป 15 คน ทฤษฎใี หม่ประจำ ตำบลออ้ มใหญ่ 8 โครงการปลูกผกั สมุนไพร กศน.ตำบลกระทุ่มล้ม ประชาชน แบบพอเพียงต้านโควิค 19 ท่วั ไป 15 คน ตำบลกระทุ่มลม้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 623
- 624
- 625
- 626
- 627
- 628
- 629
- 630
- 631
- 632
- 633
- 634
- 635
- 636
- 637
- 638
- 639
- 640
- 641
- 642
- 643
- 644
- 645
- 646
- 647
- 648
- 649
- 650
- 651
- 652
- 653
- 654
- 655
- 656
- 657
- 658
- 659
- 660
- 661
- 662
- 663
- 664
- 665
- 666
- 667
- 668
- 669
- 670
- 671
- 672
- 673
- 674
- 675
- 676
- 677
- 678
- 679
- 680
- 681
- 682
- 683
- 684
- 685
- 686
- 687
- 688
- 689
- 690
- 691
- 692
- 693
- 694
- 695
- 696
- 697
- 698
- 699
- 700
- 701
- 702
- 703
- 704
- 705
- 706
- 707
- 708
- 709
- 710
- 711
- 712
- 713
- 714
- 715
- 716
- 717
- 718
- 719
- 720
- 721
- 722
- 723
- 724
- 725
- 726
- 727
- 728
- 729
- 730
- 731
- 732
- 733
- 734
- 735
- 736
- 737
- 738
- 739
- 740
- 741
- 742
- 743
- 744
- 745
- 746
- 747
- 748
- 749
- 750
- 751
- 752
- 753
- 754
- 755
- 756
- 757
- 758
- 759
- 760
- 761
- 762
- 763
- 764
- 765
- 766
- 767
- 768
- 769
- 770
- 771
- 772
- 773
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 650
- 651 - 700
- 701 - 750
- 751 - 773
Pages: