Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มืออาหารบำบัดโรคไตเสื่อม-New

คู่มืออาหารบำบัดโรคไตเสื่อม-New

Description: สุขภาพ

Search

Read the Text Version

คมู่ อื อาหารบำ� บัด โรคไตเสอื่ ม

คมู่ ือ อาหารบ�ำบดั โรคไตเสอ่ื ม ISBN 978-616-11-4333-6 คมู่ อื อาหารบ�ำบดั โรคไตเสื่อม ท่ีปรกึ ษา นายแพทย์มรตุ จริ เศรษฐสิริ อธบิ ดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก นายแพทยป์ ราโมทย์ เสถยี รรตั น ์ รองอธบิ ดกี รมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก นายแพทยพ์ ฒั นา เตง็ อำ� นวย แพทยผ์ เู้ ชยี่ วชาญดา้ นอายรุ ศาสตรโ์ รคไต บรรณาธิการบริหาร นายแพทยเ์ ทวญั ธานรี ตั น์ ผอู้ ำ� นวยการกองการแพทยท์ างเลอื ก คณะบรรณาธิการ นางสไี พร พลอยทรพั ย์ นางสาวสธุ าสนิ ี ไถวศิลป์ นายแพทยธ์ ญั พงศ์ สุวฒั นารักษ์ นางสาวนิตยา ปัตพ ี นางสาวทัศนเี วศ ยะโส นางสาวนรนิ ทร ทองแสน เรียบเรียงโดย นางจิรภฎา วานิชองั กรู จดั พิมพโ์ ดย กองการแพทย์ทางเลอื ก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข โทรศพั ท์ 02 591 7007 ตอ่ 2605, 2606 พมิ พค์ รงั้ ท ่ี 1 : มถิ นุ ายน 2563 จ�ำนวน : 4,600 เลม่ ออกแบบและพิมพท์ ่ี : บรษิ ัท วี อนิ ด้ี ดไี ซน์ จ�ำกัด โทรศัพท์ 097 094 7798, 083 902 4240, 081 931 7916 2 กองการแพทย์ทางเลือก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คู่มือ อาหารบำ� บดั โรคไตเสื่อม คำ� น�ำ ปญั หาสขุ ภาพของประชาชนชาวไทยและประชากรโลกทเี่ ปลย่ี นแปลงไป สบื เนอ่ื งมาจาก สภาพส่ิงแวดล้อมการด�ำเนินชีวิตของมนษุ ย์ พฤติกรรม ความเครยี ด ซ่ึงเป็นเหตุใหเ้ กิดอบุ ัตกิ ารณ์ ของโรคทเี่ กดิ จากพฤตกิ รรมเพมิ่ สงู ขนึ้ เชน่ โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด โรคความดนั โลหติ สงู โรคเบาหวาน หรือโรคไตเส่ือม เป็นต้น บุคลากรด้านสาธารณสุขจ�ำเป็นต้องปรับบทบาทและการให้บริการ ด้านสุขภาพ หันมาให้ความสนใจต่อสาเหตุ การป้องกัน และการรักษาโรคด้วยวิธีท่ีหลากหลาย ซ่ึงโรคเรือ้ รังที่ต้องเข้ารับการรักษาอย่างต่อเนอื่ งและมีค่าใชจ้ ่ายสูงมาก ได้แก่ โรคไตเสอ่ื ม เป็นโรค ทพี่ บบ่อยและเปน็ ปญั หาสาธารณสขุ ท่สี ำ� คญั ของประเทศไทยเปน็ โรคทรี่ กั ษาไมห่ ายขาด และยงั มี แนวโน้มเพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็ว ความจ�ำเป็นที่จะต้องดูแลรักษาผู้ป่วยโรคไตเสื่อม ไม่ให้การด�ำเนิน ของโรคเข้าส่ภู าวะไตวายระยะสุดทา้ ย ด้วยการรักษาตัง้ แต่ระยะเริ่มตน้ ชะลอการเสอ่ื มของไตให้ มปี ระสทิ ธภิ าพ ลดภาวะแทรกซอ้ นทจี่ ะเกดิ ขนึ้ โดยเฉพาะโอกาสทจ่ี ะเปน็ โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด ซึ่งเป็นสาเหตุการตายที่ส�ำคัญของผู้ป่วยสามารถควบคุมไม่ให้รุนแรง จนเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ของผูป้ ว่ ยได้ การชะลอการเสือ่ มของไต จงึ มคี วามสำ� คัญมาก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก จงึ ไดจ้ ดั ทำ� คมู่ อื อาหารบำ� บดั โรคไตเสอื่ ม เพอื่ ใหบ้ คุ ลากรดา้ นสขุ ภาพมคี วามรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั โรคไตวธิ กี ารแนวทางการรกั ษาแบบแผนปจั จบุ นั และการใช้อาหารทางเลือกส�ำหรับดูแลผู้ป่วยโรคไตเส่ือม เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับอาหารท่ีถูกต้องและ เหมาะสมกบั ภาวะของโรคทเี่ ปน็ อยู่ บรรเทาอาการทเ่ี ปน็ อยใู่ หล้ ดความรนุ แรงลง ปอ้ งกนั และชะลอ การเกิดโรคแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วย ส่งเสริมให้ประชาชนมีทางเลือกเสริมในการดูแลสุขภาพ สามารถพง่ึ ตนเองด้านสุขภาพได้อยา่ งยง่ั ยืน ทงั้ นีก้ รมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ขอขอบพระคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์นายแพทย์พัฒนา เต็งอ�ำนวย แพทย์ผู้เช่ียวชาญด้าน อายุรศาสตร์โรคไต เป็นที่ปรึกษาและให้ข้อเสนอแนะในการจัดท�ำคู่มือฉบับน้ีให้มีความครบถ้วน สมบรู ณ์ หวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ คมู่ อื ฉบบั น้ี จะอำ� นวยประโยชนต์ อ่ บคุ ลากรดา้ นสาธารณสขุ และเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผ่ทู ่ีสนใจ ในการนำ� ไปใชด้ แู ลสุขภาพไดอ้ ย่างเหมาะสมตอ่ ไป นายแพทยม์ รตุ จริ เศรษฐสริ ิ อธิบดกี รมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก พฤษภาคม 2563 กองการแพทยท์ างเลอื ก 3 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คู่มอื อาหารบำ� บดั โรคไตเส่อื ม สารบญั หนา้ 3 6 คำ� น�ำ 10 บทนำ� 10 บทที่ 1 ความรทู้ ว่ั ไปเก่ียวกับโรคไตเส่ือม 11 ความหมาย 12 หนา้ ท่ขี องไต 17 สาเหตแุ ละปจั จยั เส่ียง 21 อาการของโรคไตเส่อื ม 22 ผลการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร 24 การแบ่งระยะของโรคไตเสอ่ื ม 29 ผลกระทบของโรคไตเสอ่ื ม 38 แนวทางการรกั ษาผปู้ ่วยโรคไตเสื่อม 38 บทท่ี 2 อันตรายจากยา สมุนไพร ผลติ ภัณฑเ์ สริมอาหาร และสารปนเปอื้ น 41 ในอาหารท่มี ีผลต่อไต 47 อันตรายจากยาทีม่ ีผลต่อไต 50 อันตรายของยาสมนุ ไพรที่มีผลต่อไต 73 อันตรายจากผลติ ภัณฑ์เสรมิ อาหารทมี่ ผี ลตอ่ ไต 78 อนั ตรายจากสารปนเปือ้ นในอาหารทม่ี ผี ลต่อไต 79 อนั ตรายจากสารพษิ ทีห่ ้ามผลิต นำ� เขา้ หรือจ�ำหนา่ ย 86 บทที่ 3 อาหารบำ� บัดโรคไตเส่ือม อาหารมงั สวริ ตั ิ อาหารเจ 4 กองการแพทยท์ างเลอื ก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข

อาหารคลีนเพือ่ สขุ ภาพ คมู่ อื อาหารแมคโครไบโอติกส ์ อาหารชีวจิต อาหารบ�ำบดั อาหารพ้ืนบ้าน โรคไตเส่อื ม อาหารแดชไดเอท ส่วนที่ 4 อาหารเสริมส�ำหรับบ�ำบดั โรคไตเส่อื ม 94 ผักชี 102 สารออกฤทธใ์ิ นส่วนของผักชีทม่ี ีการศกึ ษา 111 ข้อควรระวงั 115 การศกึ ษาทางพษิ วิทยาและความปลอดภัย 124 ผักชีในตำ� รบั ยาไทย 133 สรรพคุณของผกั ชลี าตามหลกั การแพทย์แผนไทย 133 การศกึ ษาทางเภสชั วทิ ยา 135 บรรณานกุ รม 136 138 141 142 143 150 กองการแพทย์ทางเลือก 5 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

ค่มู ือ อาหารบำ� บัด โรคไตเสื่อม บทน�ำ ปัญหาของผู้ป่วยโรคไตในประเทศไทย เป็นปัญหาท่ีส�ำคัญ ไม่น้อยไปกว่าเร่อื งไวรสั โคโรนา่ สายพนั ธใุ์ หม่ 2019 (Covid-19) และ เร่ืองของฝุ่นพษิ PM 2.5 ท่มี อี ันตรายต่ออวยั วะในรา่ งกายและสุขภาพ ของทุกคน จากสถานการณ์โรคไตในปัจจุบันเป็นปัญหาระดับโลก ประเทศไทยมแี นวโนม้ ปว่ ยเพม่ิ ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง สาเหตสุ ว่ นใหญร่ อ้ ยละ 70 เกิดจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มีสถิติผู้ป่วยรวมเกือบ 15 ลา้ นคน สง่ ผลให้มีภาวะไตเสอื่ มและไตเส่อื มเร็วขนึ้ หากปฏิบตั ติ วั ไม่ถูกต้อง จากข้อมูลพบว่า คนไทยป่วยเป็นโรคไตเสื่อมร้อยละ 17.6 ของประชากร หรอื ประมาณ 8 ลา้ นคน เปน็ ผปู้ ว่ ยระยะสดุ ทา้ ย 2 แสนคน ปว่ ยเพมิ่ ปีละกว่า 7,800 ราย ส่วนการผา่ ตัดเปลีย่ นไต ทำ� ได้เพียงปลี ะ 500 ราย สาเหตุรองลงมาคอื พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารทเ่ี ปลยี่ นไป ท�ำให้พบโรคไตในเด็กเพิ่มข้ึนอีกด้วย การบริโภคอาหารท่ีมีรสเค็ม เกนิ พอดี เชน่ อาหารฟาสตฟ์ ดู้ ขนมขบเคยี้ ว โดยเฉพาะอาหารญปี่ นุ่ หรอื เกาหลที กี่ ำ� ลงั เปน็ ทนี่ ยิ ม เชน่ เนอ้ื หมกั ใสซ่ อสปรงุ รสเกลอื ผงหมกั และ นำ�้ จิม้ แจว่ โดยรวมความเคม็ มากกว่าอาหารปกติถึง 5-10 เท่า อาหาร แช่แขง็ มีความเค็มมากกวา่ ปกตถิ ึงรอ้ ยละ 30 สิง่ เหล่านี้ลว้ นเปน็ สาเหตุ ทำ� ใหเ้ ปน็ โรคไต และโรคไมต่ ดิ ตอ่ เรอื้ รงั อนื่ ๆ ตามมา เชน่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหวั ใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคไตเส่อื ม ทำ� ใหภ้ าครฐั บาลจำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารรณรงคก์ จิ กรรมอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เพอื่ ให้ คนไทยไดต้ ระหนกั ถงึ การบรโิ ภครสชาตเิ คม็ ซงึ่ เปน็ การชะลอความเสอื่ ม 6 กองการแพทยท์ างเลือก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

คมู่ ือ อาหารบำ� บดั โรคไตเส่อื ม ของไต หรอื เพอื่ ใหเ้ ขา้ สรู่ ะยะทต่ี อ้ งลา้ งไตชา้ ลง1 และสนบั สนนุ ใหผ้ ปู้ ว่ ย โรคไต เข้าถึงระบบบริการที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน โดยในปี พ.ศ.2563 สปสช. ไดจ้ ัดสรรงบประมาณการบ�ำบัดทดแทนโรคไตเสอื่ ม เรอื้ รงั กวา่ 9,405 ลา้ นบาท โดยตง้ั เปา้ วา่ จะมผี ปู้ ว่ ย 61,948 ราย แบง่ เปน็ ผปู้ ว่ ยลา้ งไตผา่ นชอ่ งทอ้ ง จำ� นวน 31,047 ราย การฟอกเลอื ด 28,546 ราย และการผ่าตัดเปลี่ยนไต 172 ราย ผู้ป่วยท่ีต้องได้รับยากดภูมิคุ้มกัน 2,183 ราย ซงึ่ ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2562 มผี ปู้ ว่ ยทง้ั สนิ้ 59,830 คน แบง่ เปน็ ผปู้ ่วยท่ีไดร้ บั การล้างไตผ่านชอ่ งท้องแลว้ จ�ำนวน 30,627 ราย การฟอกเลือดแล้ว 26,633 ราย ผ่าตัดเปลี่ยนไต 205 ราย และ ได้รับยากดภูมิ 2,365 ราย ทั้งน้ี โดยเฉลี่ยมีค่าใช้จ่ายในการบ�ำบัด ทดแทนไตประมาณ 200,000 บาทตอ่ คนตอ่ ป2ี ข้อมูล Burden of Disease Thailand รายงานภาวะโรคและ การบาดเจ็บของประชากรไทย พ.ศ.2557 พบว่า มีการเสียชีวิตจาก ไตอกั เสบและไตพกิ ารในเพศหญงิ สงู ถงึ รอ้ ยละ 4 (ลำ� ดบั ท่ี 4) ในเพศชาย รอ้ ยละ 2.3 (ลำ� ดับที่ 12) มกี ารเปลีย่ นแปลงของการสญู เสยี ปีสขุ ภาวะ ของประชากรไทย พ.ศ.2552 กบั พ.ศ.2557 (เพศหญงิ ) โรคไตอกั เสบ และไตพกิ ารเพม่ิ จากลำ� ดบั ท่ี 11 เปน็ ลำ� ดบั ท่ี 9 คดิ เปน็ ความเปลยี่ นแปลง ร้อยละ 3.8 เพศหญิงเสียชีวิตด้วยโรคไตอักเสบและไตพิการมากถึง 8,000 คน และ 6,000 คน ในเพศชาย เมอ่ื มองในภาพรวมประชากรไทย สญู เสยี ปสี ขุ ภาวะจากการปว่ ยและตายกอ่ นวยั อนั ควร (YLL) ดว้ ยโรคนี้ มากถงึ 130,000 คนตอ่ ปี ในเพศหญงิ และ 101,000 คนตอ่ ปี ในเพศชาย3 กองการแพทย์ทางเลือก 7 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คู่มอื อาหารบำ� บัด โรคไตเสอ่ื ม กระทรวงสาธารณสขุ ตงั้ เปา้ หมายวา่ ผปู้ ว่ ยไตระยะสดุ ทา้ ยตอ้ ง ลดลง และ Excellent Center ของกระทรวงสาธารณสุข สาขาโรคไต ตอ้ งมีศกั ยภาพติด 1 ใน 3 ของเอเชยี ทง้ั นีแ้ ผนยทุ ธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี ดา้ นสาธารณสขุ พ.ศ.2561 ไดจ้ ดั ทำ� โครงการพฒั นาระบบบรกิ าร สุขภาพ สาขาโรคไต เพื่อชะลอความเส่ือมของไตในผู้ป่วยโรคไตเสื่อม โดยหน่ึงในมาตรการส�ำคัญคือ ขยายบริการคลินิกชะลอไตเสื่อมให้ ครอบคลมุ โรงพยาบาลระดบั F3 ขน้ึ ไปทง้ั หมด และเชอ่ื มโยงกบั Primary Care Cluster: PCC และ District Health System: DHS รวมถงึ เครอื ขา่ ย ผปู้ ่วยโรคไตเสื่อมในระดบั ชมุ ชน4 โรคไตเสื่อมเร้ือรังคือ โรคที่ไตไม่สามารถขับของเสียและน�้ำ ออกจากรา่ งกายดว้ ยการปสั สาวะได้ สง่ ผลใหข้ องเสยี และนำ�้ คา้ งอยใู่ นเลอื ด การรักษาไตเสื่อมขึ้นอยู่กับสาเหตุและระยะของปัจจัยส่งเสริมให้เกิด ไตเส่ือม ปัจจุบันบุคลากรทางการแพทย์มักแนะน�ำให้ผู้ป่วยไตเส่ือม เข้ารับการตรวจและรักษาจากแพทย์แผนปัจจุบันเพียงอย่างเดียว ซ่ึงปัญหาท่ีเกิดข้ึนคือ การรักษาท่ีมักจะไม่ได้ประสิทธิผลในการชะลอ ไตเสอื่ มสภาพ และสง่ ผลใหผ้ ปู้ ว่ ยตอ้ งลงเอยเขา้ รบั การบำ� บดั ทดแทนไต เพอื่ ฟอกของเสยี และนำ�้ สว่ นเกนิ ออกจากรา่ งกายในทส่ี ดุ แตใ่ นปจั จบุ นั มีการค้นคว้าข้อมูลมากขึ้น จะเห็นได้ว่านอกจากการรักษาด้วยแพทย์ แผนปจั จุบนั การรกั ษาด้วยแพทยท์ างเลอื กก็เป็นอีกแนวทางหน่งึ ท่ีจะ ช่วยเสริมประสิทธิภาพของการรักษาทางการแพทย์แผนปัจจุบันได้ การรักษาด้วยแพทย์ทางเลือกมีหลายระบบ เช่น การแพทย์แผนจีน 8 กองการแพทยท์ างเลือก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คมู่ ือ อาหารบ�ำบดั โรคไตเสื่อม การแพทย์อายุรเวช และการแพทย์แผนไทย เป็นต้น ซ่ึงไม่ว่าจะเป็น การแพทยแ์ ผนปจั จบุ นั หรอื การแพทยท์ างเลอื ก มเี ปา้ หมายเดยี วกนั คอื การดูแลผู้ป่วย การบรรเทาความทุกข์ทรมานจากการเจ็บป่วยและ การแกไ้ ขใหร้ า่ งกายกลบั มาทำ� งานไดต้ ามปกติ หรอื ใกลเ้ คยี งปกติ อยา่ งไร กต็ ามดว้ ยพยาธสิ ภาพการเกดิ โรคไตและการบำ� บดั รกั ษามคี วามซบั ซอ้ น ผู้ป่วยไตเสือ่ มจึงมโี อกาสพิจารณาตัดสนิ ใจท่จี ะเลือกใช้การแพทย์ท้ัง 2 ระบบควบคู่กนั เพือ่ ผลในการรักษา ปจั จบุ นั การดแู ลผปู้ ว่ ยโรคไตดว้ ยการแพทยท์ างเลอื ก ถกู บนั ทกึ ไว้ในเอกสารวิชาการและมกี ารเผยแพรม่ ากข้นึ เพือ่ ให้ประชาชนเขา้ ถึง ขอ้ มูลสขุ ภาพ เลือกใชก้ ารแพทยท์ างเลือกในเบ้ืองต้นคือผู้ป่วยไตเสอ่ื ม จำ� เปน็ ตอ้ งรขู้ อ้ มลู เบอื้ งตน้ ดงั น้ี (1) การรกั ษาใด ๆ ทไ่ี มม่ กี ารรบั ประทาน หรือฉดี เชน่ นวดแผนไทย นวดกดจุด มักมีความปลอดภยั สูง (2) คา่ ครเี อตนิ นิ (Creatinine) สงู กวา่ 1.4 มลิ ลกิ รมั เปอรเ์ ซนตไ์ มค่ วรทำ� คเี ลช่ัน (Chelation therapy) และถ้าค่าครีเอตินินสูงเกิน 1.2 มิลลิกรัม เปอรเ์ ซนตค์ วรจะตอ้ งมกี ารตดิ ตามคา่ ครเี อตนิ นิ หลงั การทำ� คเี ลชนั่ เสมอ (3) การรกั ษาดว้ ยยาสมนุ ไพร สามารถทำ� ไดถ้ า้ มกี ารตดิ ตามคา่ ครเี อตนิ นิ ก่อนและหลังการรักษา ที่อาจพบปัญหาคือการใช้ยาสมุนไพรในผู้ป่วย รับการรักษาด้วยการรับประทานยาแผนปัจจุบันจ�ำนวนมากอาจก่อให้ เกิดปฏิกิริยาที่ไม่พึงประสงค์ระหว่างการรักษาด้วยการบ�ำบัดของทั้ง 2 วิธีได้ และ (4) การแพทย์ทางเลือกที่ปลอดภัยในคนไข้ไตเส่ือม อาจไมไ่ ดห้ มายถึงจะช่วยให้อาการของโรคดีข้ึน แต่ต้องรับการบำ� บัดที่ ถกู ต้องจากแพทยแ์ ผนปัจจุบนั ร่วมดว้ ย5 กองการแพทยท์ างเลอื ก 9 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

คมู่ อื อาหารบ�ำบดั โรคไตเสื่อม บทท่ี 1 ความรู้ท่วั ไปเกย่ี วกบั โรคไตเสอ่ื ม โรคไตเสื่อม (Chronic kidney disease: CKD)6,7 โรคไตเสอื่ ม หมายถงึ ภาวะทมี่ คี วามผดิ ปกตทิ างโครงสรา้ งหรอื การท�ำหน้าทข่ี องไตอย่างใดอยา่ งหนึ่งตดิ ต่อกันนานกวา่ 3 เดอื น เชน่ การมนี ว่ิ หรอื ถงุ นำ้� ทไี่ ต การมโี ปรตนี หรอื เมด็ เลอื ดแดงในปสั สาวะ โดยท่ี อัตราการกรองของไตอาจปกติหรือผิดปกติก็ได้ รวมถึงการตรวจพบ อัตราการกรองของไตต�ำ่ กว่า 60 มิลลิลิตรต่อนาทตี ่อพืน้ ท่ผี ิวกาย 1.73 ตารางเมตร ติดต่อกันนานกว่า 3 เดือน ไม่ว่าจะมีความผิดปกติทาง โครงสร้างหรือการท�ำหน้าที่ของไตก็ตาม โรคไตเส่ือมเป็นภาวะที่ไต มีการเสื่อมหน้าท่ีลงเรื่อย ๆ ซ่ึงการเส่ือมน้ีไม่สามารถแก้ไขให้กลับฟื้น คืนสสู่ ภาวะปกติ จนถึงจุดทีร่ ะบบสมดุลของรา่ งกายไม่สามารถปรับได้ อาการจะค่อยเป็นค่อยไปโดยยังไม่ปรากฏอาการในระยะแรกและ จะเรม่ิ แสดงอาการเมอื่ เข้าส่รู ะยะไตเส่ือม “ไต” เปน็ อวยั วะสำ� คญั ทท่ี ำ� หนา้ ทก่ี ำ� จดั ของเสยี โดยเฉพาะจาก อาหารทบี่ ริโภคเข้าไปหากสงั เกตปัสสาวะ จะได้กลิน่ ปัสสาวะทเ่ี กิดขน้ึ จากการบรโิ ภคเนอื้ สตั วห์ รอื จากยาบางชนดิ นอกจากนไี้ ตยงั ชว่ ยรกั ษา สมดุลของน้�ำและเกลือแร่โดยธรรมชาติ ไตเป็นอีกอวัยวะหน่ึงท่ีมีการ เส่ือมหน้าท่ไี ปตามเวลา หลงั จากอายุ 40 ปขี ึน้ ไป ไตจะท�ำหน้าทีล่ ดลง ร้อยละ 0.5-1 ต่อปี นนั่ คอื เมือ่ อายุ 80 ปี ไตคนปกตจิ ะท�ำงานเพยี ง 10 กองการแพทย์ทางเลอื ก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คมู่ ือ อาหารบ�ำบัด โรคไตเสอื่ ม รอ้ ยละ 60 เทา่ นน้ั จงึ มคี วามเสย่ี งตอ่ ภาวะไตเสอ่ื มเฉยี บพลนั จากสาเหตุ ตา่ ง ๆ ไดง้ า่ ยกวา่ คนทยี่ งั มอี ายนุ อ้ ย อยา่ งไรกต็ ามเมอื่ คนเราอายมุ ากขนึ้ เนื่องจากปริมาณกล้ามเนื้อ และการบริโภคอาหารโปรตีนท่ีน้อยลง ท�ำให้ผลเลือดที่บอกหน้าที่ของไตจะอยู่ในเกณฑ์ปกติ ดังน้ันการใช้ยา ในผสู้ งู อายุ จงึ ควรมกี ารปรบั ลดขนาดลง เพอ่ื ปอ้ งกนั ผลขา้ งเคยี งทอ่ี าจ มอี นั ตรายอยา่ งรนุ แรงได้ เมื่อเกิดโรคไตเส่ือม ซึ่งเป็นโรคท่ีมีการท�ำลายเน้ือไตอย่าง ต่อเนื่อง จ�ำนวนหน่วยไตท่ีท�ำหน้าท่ีเหมือนตัวกรองจะลดจ�ำนวนลง ของเสียจ�ำนวนมากที่เกิดจากการบริโภคหรือการเผาผลาญในร่างกาย จะผ่านไปยังเน้ือไตส่วนที่เหลือและท�ำให้ตัวกรองเหล่านั้นท�ำงานหนัก เพ่ิมข้ึนเป็น 2-3 เท่า ตัวกรองส่วนที่เหลือเหล่าน้ันก็จะตายไปอย่าง รวดเร็ว ในท่สี ดุ ก็เกิดภาวะไตเสือ่ มระยะสุดทา้ ย ทีผ่ ้ปู ว่ ยจะตอ้ งจ�ำเปน็ ต้องฟอกเลือด เพราะไม่มีทางท่ีของเสียในร่างกายจะถูกก�ำจัดออก ในทางวชิ าการ เราสามารถชว่ ยใหไ้ ตท�ำงานลดลงได้ โดยการเลอื กกนิ อาหารทเี่ ปน็ ดา่ ง เชน่ ผกั ผลไม้ และลดอาหารทเี่ ปน็ กรด เชน่ ไขมนั สตั ว์ โปรตีน และของหวาน ซึง่ จะสามารถชะลอการเสื่อมหนา้ ท่ขี องไตได้ หนา้ ทีข่ องไตท่สี ำ� คญั คือ 1. ปรบั สมดุลเกลือแร่และกรดดา่ ง 2. ก�ำจดั ของเสียออกจากร่างกาย 3. ปรบั สมดลุ น�้ำในร่างกาย กองการแพทยท์ างเลอื ก 11 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คู่มอื อาหารบ�ำบัด โรคไตเสือ่ ม 4. สร้างฮอร์โมนหลายชนดิ เช่น 4.1. ฮอรโ์ มนเรนิน ควบคมุ ความดันโลหิตของร่างกาย 4.2. ฮอรโ์ มนอิรโิ ทรพอยอิตนี ทำ� หนา้ ที่กระตนุ้ ให้ไขกระดูก สรา้ งเมด็ เลอื ดแดง เมอื่ ไตเสอื่ ม ฮอรโ์ มนนจี้ ะลงลง ซงึ่ เปน็ สาเหตทุ ท่ี ำ� ให้ ผ้ปู ่วยไตเปน็ โรคโลหติ จาง 4.3. วติ ามนิ ดี เปน็ วติ ามินท่ีควบคุมการดดู ซมึ แคลเซยี มจาก อาหาร เมื่อไตเสื่อมท�ำให้การดูดซึมแคลเซียมลดลงเป็นสาเหตุให้เกิด โรคกระดูกพรนุ ดังนน้ั การรกั ษาสมดุลของน�ำ้ และสารตา่ ง ๆ ในร่างกายให้คงท่ี ตลอดเวลา (Homeostasis) อาศัยกระบวนการท�ำงานของหน่วยไต 3 กระบวนการ คือ กระบวนการกรองของโกลเมอรูลสั (glomerular filtration) กระบวนการดูดกลบั สารและน้�ำ (tubular reabsorption) กระบวนการหลัง่ สาร (tubular secretion) ผลสดุ ท้ายจะขบั ถ่ายสาร (renal excretion) ท่รี า่ งกายไมต่ ้องการออกมา สาเหตุและปจั จยั เสยี่ ง (Etiology and Risk Factors)8-15 โรคไตเสอื่ มเกดิ ไดจ้ ากความผดิ ปกตใิ ดกต็ ามทมี่ กี ารทำ� ลายเนอื้ ไต ท�ำให้มีการสูญเสียหน้าท่ีของไตอย่างถาวร ซ่ึงมักค่อยเป็นค่อยไป โดยมสี าเหตุหลกั 5 ประการ ได้แก่ 1. โรคเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และ โรคเรือ้ รงั อ่นื ๆ 12 กองการแพทยท์ างเลือก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คมู่ ือ อาหารบำ� บดั โรคไตเสอ่ื ม 2. ยาและสารพษิ 3. สมนุ ไพรและผลิตภณั ฑ์เสรมิ อาหารทมี่ ีผลต่อไต 4. พษิ จากสัตวท์ ่ีมผี ลต่อไต 5.อาหารทม่ี สี ว่ นประกอบของเกลอื และโซเดยี มอาหารทม่ี พี วิ รนี สงู 1. โรคเรื้อรงั 1.1 จากโรคเบาหวาน เป็นภาวะที่มีไตเสื่อมจากภาวะน้�ำตาล ในเลอื ดสงู หนา้ ทก่ี ารทำ� งานของไตจะเลวลงเรอ่ื ย ๆ จนเกดิ โรคไตเสอ่ื ม ระยะสดุ ทา้ ยและอาจเสยี ชวี ติ 8 ดงั นนั้ ภาวะแทรกซอ้ นนจี้ ะมคี วามรนุ แรงมาก อนงึ่ ผปู้ ว่ ยจำ� นวนมากไมม่ อี าการในชว่ งตน้ รอจนเกดิ ไตพกิ ารแลว้ จงึ มา พบแพทย์ ทำ� ใหต้ อ้ งรับการรักษาดว้ ยการล้างไต 1.2 จากโรคความดันโลหิตสูง ท�ำให้หัวใจท�ำงานหนักและ ในระยะยาวทำ� ใหห้ ลอดเลอื ดเสอ่ื มทว่ั รา่ งกาย ไดแ้ ก่ โรคหลอดเลอื ดหวั ใจ หลอดเลอื ดสมอง และหลอดเลอื ดทไ่ี ตเสอื่ ม ทำ� ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลง ของอวัยวะเหล่านั้น โดยการเปลี่ยนแปลงของไตในระยะต้นจะมีผล ให้โปรตีนในเลือดรั่วออกมาในปัสสาวะ ส่วนการเปลี่ยนแปลงของไต ในระยะท้ายจะท�ำให้ไตเส่ือมลง ท�ำให้ไตขับเกลือแร่และขอเสียลดลง ซึ่งสารเกลือแร่ท่ีเพิ่มขึ้นในร่างกายจะยิ่งท�ำให้ความดันโลหิตสูงขึ้น ซ่งึ เปน็ อันตรายมาก 1.3 จากโรคอนื่ ๆ ไดแ้ ก่ โรคหลอดเลือดฝอยในไตอกั เสบเร้อื รงั ความผดิ ปกตขิ องไตและระบบทางเดนิ ปสั สาวะตง้ั แตก่ ำ� เนดิ โรคพนั ธกุ รรม ต่าง ๆ เชน่ โรคลูปสั ภาวะอุดกัน้ ในทางเดินปัสสาวะ รวมทัง้ ไตอักเสบ เรอื้ รังจากการตดิ เช้ือ กองการแพทยท์ างเลอื ก 13 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

คูม่ อื อาหารบำ� บัด โรคไตเส่ือม 2. ยา และสารพิษ เนอ่ื งจากยารกั ษาโรคสว่ นใหญม่ กี ารผลติ ขน้ึ มาจากสารประกอบ อนนิ ทรยี ห์ รอื สารเคมี จงึ ทำ� ใหม้ ผี ลกระทบตอ่ รา่ งกายไมม่ ากกน็ อ้ ยเชน่ กนั เพราะสารเหลา่ นม้ี กั เหลอื ตกคา้ งในรา่ งกาย ซงึ่ ตบั จะนำ� สารไปกำ� จดั ทง้ิ ทางท่อถุงน�้ำดี บางส่วนผ่านล�ำไส้เล็กและปนไปกับอุจจาระ บางส่วน ขับออกทางหลอดเลือดแดง โดยไตท�ำหน้าที่ขับออกทางปัสสาวะ ในระหว่างที่สารพิษผ่านไต ท�ำให้ไตเสื่อมสภาพลงไปเร่ือย ๆ พบว่า ยาหลายชนดิ มพี ิษต่อไต เชน่ การใช้ยากลุม่ เอ็นเสด (Non-Steroidal Anti-inflammatory Drugs: NSAIDs) ท่ใี ช้ในการลดอาการไข้ อาการ ปวดเมอ่ื ย เคลด็ ขัดยอกต่าง ๆ บางคนเรยี ก ยาคลายเส้น ยาซ่อมเสน้ ใช้แก้ปวดเขา่ ปวดหลงั อยา่ งชะงกั พยาธิสภาพทางไตท่ีเกดิ จากการใช้ ยาเอน็ เสด สามารถพบได้ในคนปกติ เช่น เกดิ อาการอักเสบของเนอ้ื ไต เฉยี บพลนั ยาเอน็ เสดทำ� ใหเ้ ลอื ดไปเลยี้ งทไ่ี ตลดลง และออกฤทธทิ์ ำ� ลาย เน้ือไตโดยตรง ดังนั้นผู้ป่วยโรคไต ถ้าจ�ำเป็นต้องใช้ยาแก้ปวดเมื่อย ควรใช้ยาแกป้ วดสำ� หรบั ใช้ภายนอก เช่น ยาครมี หรอื เจล เช่น เจลพริก มีฤทธ์ิแกป้ วดเมอ่ื ยได้ดีส�ำหรบั ยาท่ีผู้ป่วยโรคไตเสื่อม นอกจากน้ัน การใชย้ าขับปสั สาวะตอ่ เนือ่ งในคนไขโ้ รคไตที่ไมม่ ี ภาวะน้�ำเกิน ก็จะก่อให้เกิดภาวะขาดน�้ำ และกรดยูริคในเลือดสูง รวมถึงค่าสมดุลเกลือแร่ที่ปกติ ท�ำให้มีอันตรายต่อไต แม้กระทั่ง ยาเบาหวานในกลุม่ sulfonylurea และยาลดกรดในกระเพาะ ในกลุ่ม proton pump inhibitor ก็มีงานวิจยั พสิ จู น์วา่ ท�ำใหเ้ กิดอันตรายต่อ ไตไดเ้ ชน่ กนั 14 กองการแพทย์ทางเลอื ก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คมู่ ือ อาหารบ�ำบัด โรคไตเสือ่ ม การใชย้ าหลายชนดิ ๆ รวมกนั จะทำ� ให้ เกดิ การแยง่ กนั ใชเ้ อนไซม์ ของตับ เพื่อกำ� จัดพิษของยา ส่งผลให้มีการเกดิ พิษของยาอย่างรุนแรง ทพี่ บบอ่ ย คือ ในผปู้ ว่ ยทำ� ไดร้ บั ยาลดไขมนั สตาติน (statins) หากไป กนิ ยาฆา่ เชอ้ื รา หรอื กนิ ยาลดไขมนั กลมุ่ fenofibrate รว่ มดว้ ย กจ็ ะสง่ ผล ให้ยาสตาติน เปน็ พิษ และเกดิ ภาวะไตวายได้งา่ ย อีกทั้ง สารพิษและสารตกค้างในผักผลไม้ ในปัจจุบันนิยมใช้ เช่น สารกันบูด สารเร่งเน้ือแดง ยาฆ่าแมลง รวมถึง โลหะหนัก เช่น คาร์บอนไดซัลไฟด์ สารพิษบางชนิดโดยเฉพาะในกลุ่ม toxalbumin ท�ำให้เม็ดเลือดแดงแตกในกระแสโลหิตซึ่งจะไปจับที่ไตท�ำให้ไตเสื่อม สารในกลมุ่ กรดอนิ ทรยี ซ์ ง่ึ ตกผลกึ ในไตได้ เชน่ oxalate, ผลกึ djenkolic (พบในเมล็ดเนียง) ท�ำให้ปัสสาวะขัด ปัสสาวะไม่ออก ปวดบีบบริเวณ เอวและกระเพาะปัสสาวะ และบางครั้งปัสสาวะเป็นเลือด นอกจากน้ี ยังอาจเกิดภาวะ calcium ต่�ำในเลือดได้ ผลกระทบจะขึ้นอยู่กับว่า ไดร้ บั ปรมิ าณ และระยะเวลา อาการทพ่ี บ ไดแ้ ก่ ปวดหวั โดยไมม่ สี าเหตุ คล่นื ไส้อาเจียน จนถงึ แกช่ วี ติ จากการศึกษาทางวิชาการ พบความเสียหายท่ีอาจเกิดข้ึนกับ ระบบการกรองของไต ดังน้ี 1) กอ่ ใหเ้ กดิ การขดั ขวางหรอื เปลย่ี นอตั ราการไหลของกระแสเลอื ด เมอ่ื ผา่ นกลมุ่ หลอดเลือดแดงฝอย ทำ� ให้ไตไมส่ ามารถกรองสารของเสยี จากเลอื ดออกมาไดเ้ ท่าทีค่ วร กองการแพทย์ทางเลอื ก 15 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คมู่ อื อาหารบ�ำบัด โรคไตเสื่อม 2) กอ่ ใหเ้ กดิ พษิ ตอ่ เซลลข์ องทอ่ กรวยกรอง (Tubular cell toxicity) ท�ำใหท้ ่อกรวยไตมีการปิด-เปิด โดยไม่มกี ารกรองสารใดไว้ได้เลย 3) ทำ� ใหเ้ กดิ การอกั เสบขน้ึ ภายในไต จงึ ทำ� ใหก้ ารทำ� งานของไต ดอ้ ยประสิทธิภาพลงอย่างรวดเรว็ และไม่สามารถกรองได้ตามปกติ 4) ปดิ กน้ั การไหลของปสั สาวะ ทำ� ใหป้ สั สาวะถกู ขบั ทงิ้ ไดน้ อ้ ยลง และอาจเกิดการอกั เสบตดิ เชื้อตามมา 3. สมนุ ไพรและผลิตภัณฑ์เสรมิ อาหารท่ีมีผลตอ่ ไต ควรศกึ ษาถงึ ประโยชนแ์ ละโทษของอาหารและสมนุ ไพรกอ่ นใช้ รกั ษาโรค ตัวอย่างเช่น มะเฟือง หากกนิ จำ� นวนมาก ๆ อาจส่งผลให้เกดิ นิ่วออกซาเลตอดุ ตนั ทอ่ ไตท้ังสองขา้ ง ตามมาด้วยภาะไตวาย นอกจาก นน้ั สมนุ ไพรบางชนิด อาจมีการปนเป้ือนของพษิ โลหะหนัก 4. พษิ จากสัตวท์ ีม่ ผี ลตอ่ ไต พษิ จากสตั ว์ ทำ� ใหผ้ ทู้ ถ่ี กู กดั หรอื ตอ่ ย เกดิ ภาวะไตเสอื่ มเฉยี บพลนั และไตเสื่อมได้ เช่น งูพิษ แมงมุม ตะขาบ แมงป่อง และเกิดจาก การบรโิ ภค เชน่ รบั ประทานดปี ลาดบิ ในกลมุ่ ปลาตะเพยี น ทำ� ใหไ้ ตเสอ่ื ม เฉียบพลันได้ ซึ่งประเทศไทยเป็นประเทศที่มีสวนอยู่เป็นจ�ำนวนมาก จึงเป็นทีอ่ ยู่อาศัยของสัตว์ แมลงมีพษิ หลายประเภท เชน่ ผ้ึง ต่อ แตน ซง่ึ พษิ ผง้ึ และตอ่ อาจทำ� ใหเ้ กดิ พษิ ตอ่ อวยั วะทว่ั รา่ งกาย ทส่ี ำ� คญั คอื ภาวะ ช๊อกและไตเสอ่ื มเฉยี บพลัน มรี ายงานผทู้ ี่ถูกฝูงต่อต่อยจนเสยี ชวี ิตจาก การไม่ไดร้ ับการรักษาที่ทันเวลาหรอื พบแพทย์ช้าเกินไป 16 กองการแพทยท์ างเลอื ก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

ค่มู อื อาหารบ�ำบัด โรคไตเส่อื ม 5. อาหารทม่ี ีส่วนประกอบของเกลือและโซเดยี ม รายงานจากสำ� นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา ในปี พ.ศ.2550 ประชากรไทยบริโภคโซเดียมคลอไรด์ โดยเฉลี่ย 10.9 ± 2.6 กรัม โดยมาจากเครอื่ งปรุงรสต่าง ๆ 8.0 ± 2.6 กรัม คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80.3 ของโซเดยี มคลอไรดท์ ง้ั หมดทบี่ รโิ ภค เมอื่ คำ� นวณเทยี บกลบั เปน็ ปรมิ าณ ของโซเดียม พบว่า ประชากรไทยบริโภคโซเดียมจากอาหารสูงถึง 4,351.7 มิลลิกรัมต่อคนต่อวัน มีรายงานวิจัยการส�ำรวจสถานการณ์ การแสดงข้อมูลโภชนาการและปริมาณโซเดียมบนฉลากอาหารใน ผลติ ภณั ฑอ์ าหารสำ� เรจ็ รปู ทพ่ี รอ้ มบรโิ ภคทนั ที และในปี พ.ศ. 2555-2558 พบวา่ แหลง่ ของเกลอื และโซเดยี มทป่ี ระชาชนไทยบรโิ ภค มาจากผลติ ภณั ฑ์ อาหารส�ำเร็จรูปท่ีพร้อมบริโภคทันทีมากท่ีสุดคือ บะหม่ีกึ่งส�ำเร็จรูป โดยอยู่ในช่วง 1,000-1,200 มิลลิกรัมต่อ 1 หน่วยบริโภค ซึ่งไตเป็น อวัยวะหลักท่ีท�ำหน้าที่ก�ำจัดโซเดียม ส่งผลให้ไตเสื่อมเร็วขึ้น จนเกิด โรคไตเสือ่ มเรอื้ รัง และความเสือ่ มนนั้ จะคงอยู่ตลอดไป แมจ้ ะมีการลด ปริมาณโซเดียมลงในภายหลัง อาการของโรคไตเสือ่ ม6,7,16-18 โรคไตเส่ือมเป็นภัยเงียบ ช่วงแรกจะไม่มีอาการแสดงให้เห็น และยังสามารถใช้ชีวิตได้ตามปกติ โดยผู้ป่วยอาจมาพบแพทย์อีกที เมอ่ื มีภาวะไตเสอื่ มไปมากแลว้ ดังนั้น การตรวจคา่ ไต creatinine และ การตรวจปัสสาวะประจำ� ปี จึงมีความสำ� คญั อยา่ งย่ิง กองการแพทย์ทางเลอื ก 17 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คมู่ ือ อาหารบำ� บดั โรคไตเส่ือม อาการโรคไต ทอ่ี าจพบได้ คอื 1. บวมทัง้ ตวั 2. ปัสสาวะผิดปกติ เช่นมีฟองมาก 3. เหน่อื ยงา่ ย ออ่ นเพลีย ซีด 4. ความดนั โลหิตสูงมาก 1. มอี าการบวมท้ังตวั ผู้ป่วยโรคไตส่วนมากจะมีอาการบวมตามตัว เกิดจากการมีน�้ำ และเกลอื เพม่ิ ขน้ึ ในรา่ งกาย ระยะแรกอาจมเี พยี งการบวมทหี่ นงั ตาและ หนา้ ตอ่ มาจะมกี ารบวมทขี่ า และเทา้ ทง้ั สองขา้ ง สงั เกตไดง้ า่ ยเวลาตนื่ นอน สว่ นเท้าบวมอาจพบเมื่อเข้าช่วงบา่ ยหรือยนื นาน ๆ ทดสอบได้ดว้ ยการ ลองใชน้ วิ้ กดทหี่ นา้ แขง้ สกั พกั แลว้ ปลอ่ ย หากพบวา่ มรี อยบมุ๋ อยแู่ สดงวา่ บวมแนน่ ควรไปพบแพทยเ์ พอื่ ตรวจรา่ งกายอยา่ งละเอยี ด เพอ่ื วนิ จิ ฉยั โรค เพราะอาการบวมอาจไมไ่ ด้เป็นโรคไต แต่ยงั เกี่ยวข้องกบั โรคหวั ใจ และ โรคตับ ดงั นัน้ การตรวจปัสสาวะนา่ จะได้ผลทช่ี ัดเจนท่ีสดุ 2. ปัสสาวะผิดปกติอาจหมายถึงไตท�ำงานผิดปกติ สามารถสังเกต ปัสสาวะไดด้ ังนี้ 2.1 อาการปสั สาวะแสบขดั เกดิ จากการตดิ เชอื้ ในทางเดนิ ปสั สาวะ ปกติพบในเพศหญิงมากกว่าในเพศชาย ซึ่งในเพศชาย ควรตรวจเพ่ิม เตมิ วา่ มโี รคนว่ิ ระบบไต หรอื ความผดิ ปกตขิ องทางเดนิ ปสั สาวะอน่ื ดว้ ย หรอื ไม่ 18 กองการแพทยท์ างเลือก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

คูม่ อื อาหารบ�ำบัด โรคไตเสอื่ ม 2.2 อาการปัสสาวะล�ำบาก ต้องเบ่งแรง ปัสสาวะไม่พุ่ง หรือ ปัสสาวะสะดุดกลางคัน บ่งบอกถงึ ว่ามีการอดุ ตันของทางเดินปัสสาวะ เช่น ตอ่ มลกู หมากโตในเพศชาย หรอื มดลกู หยอ่ นในเพศหญงิ 2.3 ปสั สาวะเปน็ สนี ำ�้ ลา้ งเนอื้ สเี ลอื ด หรอื ขนุ่ กวา่ ปกติ ซงึ่ บง่ บอก วา่ มเี ลอื ดปน หรอื มกี ารตดิ เชอ้ื ในทางเดนิ ปสั สาวะ หรอื จากสาเหตอุ น่ื ๆ เชน่ มนี วิ่ ไตอกั เสบ เนอ้ื งอกของทางเดนิ ปสั สาวะ กระเพาะปสั สาวะอกั เสบ มอี บุ ตั เิ หตกุ บั ทางเดนิ ปสั สาวะ เสน้ เลอื ดฝอยของไตอกั เสบ แมแ้ ตม่ ะเรง็ ของระบบทางเดินปัสสาวะ หรือโรคไตเปน็ ถุงน้ำ� ฯลฯ คนไข้ควรสังเกต อาการ และรบี ไปพบแพทย์ 2.4 ปัสสาวะน้อยลง แต่หากใครปสั สาวะไมอ่ อกเลย อาจเปน็ เพราะทางเดนิ ปสั สาวะถกู อดุ กนั้ หรอื การทำ� งานของไตเสยี ไป ลองทดสอบ ง่าย ๆ ด้วยการด่ืมน้�ำให้มากขึ้น แล้วสังเกตดูว่าปัสสาวะออกมากข้ึน หรอื ไม่ หากปสั สาวะยังน้อยอยู่ นนั่ แสดงวา่ ไตเริ่มผดิ ปกติ 2.5 ปัสสาวะกลางคืนบ่อยกว่าปกติ ซึ่งความถ่ีในการปัสสาวะ ของแต่ละคนนั้นไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับการดื่มน้�ำ หรือการท่ีร่างกายเสีย นำ�้ ไปทางอน่ื ๆ เชน่ เหงอ่ื หรอื อจุ จาระ ซงึ่ การเขา้ หอ้ งนำ้� บอ่ ยทง้ั ระหวา่ ง วนั และตอนนอน อาจหมายถงึ มกี ารติดเชื้อในทางเดนิ ปสั สาวะ สำ� หรบั ในคนปกติเมื่อนอนหลับประมาณ 6-8 ช่ัวโมง มักไม่ต้องตื่นข้ึนมา ปัสสาวะ หรืออาจตื่นขึ้นมาปัสสาวะกลางคืนได้ 1-2 ครั้ง เน่ืองจาก ในตอนกลางคืน ไตจะดูดกลับน�้ำมากข้ึน ท�ำให้การขับปัสสาวะลดลง แตใ่ นคนทเ่ี ปน็ โรคไตเสอื่ ม ไตจะดดู กลบั นำ�้ ได้ ไมด่ ี แตห่ ากรสู้ กึ ปสั สาวะ กองการแพทยท์ างเลอื ก 19 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

คู่มือ อาหารบำ� บดั โรคไตเส่ือม บอ่ ยผดิ ปกติ หรือตืน่ ข้ึนมาปัสสาวะในตอนกลางคนื มากกว่า 3-4 คร้ัง อาจตอ้ งสงสยั วา่ ปว่ ยเปน็ โรคไตกไ็ ด้ เพราะกระเพาะปสั สาวะจะสามารถ เก็บน้�ำได้ถึง 250 ซี.ซี. แต่ในคนท่ีเป็นโรคไต ไตจะไม่สามารถหยุด การขบั นำ้� ในกระเพาะปสั สาวะ ทำ� ใหม้ นี ำ�้ ออกมามากและปสั สาวะบอ่ ย กวา่ ปกติ อกี โรคทที่ ำ� ใหม้ อี าการนค้ี อื เบาหวาน ซงึ่ เปน็ สาเหตสุ ำ� คญั ของ ภาวะไตเสือ่ มเชน่ กนั 2.6 ปัสสาวะเป็นฟองมาก เวลาท่ีราดน้�ำหรือกดชักโครก แล้วเกิดมฟี อง ยิ่งฟองมากหรือหลายชั้น แสดงว่าผิดปกติ ซงึ่ ฟองสขี าว คือโปรตีน อาจสงสยั ไวก้ ่อนว่าเสน้ เลือดฝอยในไตมกี ารอกั เสบจงึ ท�ำให้ มโี ปรตนี ร่วั ไหลออกมามากผดิ ปกติ ดงั นั้นควรดอู าการอืน่ ๆ รว่ มด้วย เช่น หากปัสสาวะมีฟองมากและเป็นเลือด ให้สันนิษฐานว่าอาจเป็น โรคไต ควรรีบไปพบแพทยต์ รวจรา่ งกายโดยเรว็ 3. เหนือ่ ยงา่ ย ออ่ นเพลยี ซีด ผทู้ เี่ ปน็ โรคไตในระยะแรกมกั ไมแ่ สดงอาการ แตเ่ มอื่ เปน็ มากขน้ึ ผู้ป่วยจะรู้สึกเหน่ือยง่าย อ่อนเพลีย หากเป็นระยะใกล้ไตเส่ือมเรื้อรัง จะเพิ่มอาการซีด คันตามตวั เบือ่ อาหาร ทานไดน้ อ้ ย คลน่ื ไสอ้ าเจียน 4. ความดนั โลหิตสูงมาก เมอ่ื ความดนั โลหติ สงู อาจทำ� ใหม้ อี าการปวดศรี ษะเรอื้ รงั ออ่ นเพลยี และเป็นโรคหัวใจได้ เน่ืองจากการบริโภคอาหารรสเค็มมากท�ำให้ ไตทำ� งานหนกั และเสยี่ งต่อการเป็นโรคความดันโลหติ สงู 20 กองการแพทยท์ างเลอื ก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข

ค่มู ือ อาหารบ�ำบัด โรคไตเส่ือม ผลการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัติการ19,20 เปน็ การตรวจวนิ จิ ฉยั เพอ่ื บง่ ชวี้ า่ ผปู้ ว่ ยเปน็ โรคไตเสอ่ื ม โดยการ ตรวจเคมใี นเลือด (Blood Chemistry) และในปัสสาวะ ซ่ึงสำ� คัญตอ่ ผปู้ ว่ ยโรคไตเสอื่ ม ดงั นนั้ ควรรคู้ า่ เบอื้ งตน้ เพอื่ นำ� ไปใชใ้ นการปรบั เปลย่ี น พฤติกรรมการชะลอความเส่ือมของไต ดงั น้ี 1. การตรวจหาโรคไตในระยะเริ่มแรก - ตรวจระดบั น้ำ� ตาลในเลอื ด (Fasting Blood Sugar) - ตรวจการท�ำงานไต (Creatinine) - ตรวจระดับไขมันในเลือด (Cholesterol) - ตรวจระดับกรดยูรคิ (Uric Acid) - ตรวจปัสสาวะ (Urine Examination) - ตรวจโปรตนี ในปัสสาวะ (Urine Protein/Creatinine Ratio) 2. การตรวจสขุ ภาพผู้ปว่ ยโรคไต - ตรวจหาโรคไตในระยะเร่มิ แรก - ตรวจความสมบรู ณข์ องเมด็ เลอื ด ( Complete Blood Count) - ตรวจระดบั อิเลก็ โทรไลต์ในเลอื ด (Electrolyte) - ตรวจระดบั แคลเซยี มในเลอื ด (Calcium) - ตรวจระดับฟอสฟอรัสในเลือด (Phosphorus) - ตรวจระดับอัลบมู ินในเลอื ด (Albumin) กองการแพทยท์ างเลอื ก 21 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

คู่มือ อาหารบำ� บัด โรคไตเส่ือม การแบง่ ระยะของโรคไตเสอ่ื ม6,7,14 สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย ได้แบ่งระยะของโรคไตตาม สาเหตรุ ะดบั eGFR และปรมิ าณอลั บมู นิ ในปสั สาวะ ควรแบง่ สาเหตแุ ละ ชนดิ ของโรคไตตามโรครว่ ม (systemic diseases) โรคทางพนั ธกุ รรม โรคทเ่ี กดิ จากปจั จยั สงิ่ แวดลอ้ มและโครงสรา้ งทางกายวภิ าคของไต หรอื พยาธสิ ภาพ (Not Graded) ดงั น้ี ตารางท่ี 1 แสดงระดบั ความรนุ แรงของโรคไตเสอ่ื มเรอื้ รงั ระยะตา่ ง ๆ ระยะของโรคไตเส่อื มเร้ือรงั อตั ราการกรอง ระยะ ข้อบ่งชี้ ของไต อาการทอี่ าจพบได้ (60 มล./นาท/ี 1.73 ตรม.) ระยะที่ 1 มกี ารทำ� ลายไตเกดิ ขน้ึ มากกว่าหรอื ระยะน้ยี ังไมพ่ บอาการแสดงที่ แตอ่ ตั ราการกรองยัง เทา่ กับ 90 ผิดปกติ แตบ่ างรายอาจตรวจพบ อยใู่ นเกณฑป์ กติ โปรตีนในปสั สาวะได้ หรอื สูง ระยะท่ี 2 มกี ารท�ำลายไตร่วม อยู่ในช่วง 60-89 โดยท่วั ไปผ้ปู ่วยจะยงั คงมีอาการ กบั อตั ราการกรอง ปกติ ความดันโลหติ อาจเร่มิ สูง ลดลงเล็กนอ้ ย ขึ้นในระยะนี้ จะเร่มิ พบความ ผดิ ปกติในผลการตรวจทาง หอ้ งฏบิ ัตกิ ารต่าง ๆ ระยะที่ 3a มกี ารลดลงของอตั รา อยใู่ นชว่ ง 45-59 มกั ยงั ไมแ่ สดงอาการผดิ ปกติ การกรองของไต โดยสว่ นใหญ่พบภาวะความดนั โลหิตสูง และอาจตรวจพบภาวะ ระยะที่ 3b เล็กนอ้ ยถงึ ปานกลาง อยใู่ นช่วง 30-44 ซีด แคลเซียมในเลอื ดต�ำ่ และ มีการลดลงของอัตรา ฟอสเฟตในเลือดสูงไดใ้ นระยะนี้ การกรองของไต ซง่ึ ต้องมีการเฝ้าระวงั และใหก้ าร ปานกลางถึงมาก รกั ษาภาวะแทรกซอ้ นทอี่ าจเกดิ ขนึ้ 22 กองการแพทยท์ างเลือก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

คูม่ ือ อาหารบ�ำบัด โรคไตเสอื่ ม ระยะของโรคไตเสื่อมเรื้อรงั อัตราการกรอง ระยะ ข้อบ่งช้ี ของไต อาการที่อาจพบได้ (60 มล./นาท/ี 1.73 ตรม.) ระยะที่ 4 มกี ารลดลงของ อยูใ่ นชว่ ง 15-29 ผปู้ ว่ ยมักมีอาการอ่อนเพลยี ระยะที่ 2 อตั ราการกรองของไต ไมม่ แี รง เบอื่ อาหาร บวม ความจำ� ลดลงมาก (รนุ แรง) แย่ลง ผลการตรวจทางห้อง ปฏบิ ตั กิ ารตา่ ง ๆ ผดิ ปกติ พบภาวะ กรดจากการเผาผลาญ (Metabolic acidosis) และไขมนั ในเลอื ด ผดิ ปกติ (dyslipidemia) ควรมี การเตรียมพรอ้ มเพอื่ ใหก้ าร บ�ำบัดรกั ษาทดแทนไตตอ่ ไป มีภาวะไตเสื่อมเรื้อรัง นอ้ ยกวา่ 15 หรอื มีความผดิ ปกตเิ กอื บทุกระบบ ระยะสดุ ทา้ ย ต้องฟอกเลือด ของร่างกาย ร่างกายเสยี สมดุล นำ�้ และอิเลก็ โทรไลต์ ผู้ป่วยมี อาการยูรีเมีย เชน่ ออ่ นเพลีย เบอื่ อาหาร ผิวแห้ง คนั คลนื่ ไส้ อาเจียน สะอกึ เปน็ ตะคริว นอนไม่หลับ อาจเกดิ ภาวะ หวั ใจวายเน่ืองจากน้�ำเกนิ และ ภาวะความดันโลหิตสูงได้ ผ้ปู ว่ ย จ�ำเป็นตอ้ งได้รบั การบ�ำบัด ทดแทนไต โดยเฉพาะในรายทม่ี ี อาการยูรีเมีย หมายเหตุ : (1) ถ้าไมม่ หี ลกั ฐานของภาวะไตผิดปกติ ระยะที่ 1 และ 2 จะไม่เขา้ เกณฑ์การวินิจฉยั โรคไตเส่อื ม (2) การรายงานผลการคํานวนค่า eGFR หากมีทศนิยมให้ปัดตัวเลขเป็นจํานวนเต็มก่อนแล้วจึง บอกระยะของ โรคไตเสื่อม เช่น บุคคลผหู้ นึง่ ไดร้ ับการตรวจวดั eGFR = 59.64 มิลลลิ ติ ร ต่อนาที ตอ่ พื้นทีผ่ ิวกาย 1.73 ตาราง เมตร จะเท่ากับ 60 มิลลลิ ติ ร ตอ่ นาที ต่อพื้นทีผ่ วิ กาย 1.73 ตารางเมตร ซง่ึ ถ้าบคุ คลผนู้ ี้มีความผิดปกติของไต อย่างอ่ืนร่วมด้วย จะเป็นโรคไตเส่ือมระยะท่ี 2 แต่ถ้าไม่มีความผิดปกติของไตอย่างอื่น ร่วมด้วยบุคคลน้ีจะ ไม่ได้เปน็ โรคไตเสื่อม กองการแพทยท์ างเลือก 23 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

คูม่ อื อาหารบำ� บัด โรคไตเส่อื ม ผลกระทบของโรคไตเส่ือม21,22 ผปู้ ว่ ยโรคไตเสอ่ื มระยะที่ 1 และ 2 จะยงั ไมม่ อี าการแสดงของโรค และจะเร่มิ เกิดอาการ แทรกซอ้ นต่อระบบต่าง ๆ เมื่อมอี ัตราการกรอง ของไตนอ้ ยกว่า 60 มิลลิลิตรตอ่ นาที ตอ่ พืน้ ที่ผิวกาย 1.73 ตารางเมตร หรือในระยะที่ 3 ผู้ป่วยมักมาพบแพทย์ด้วยอาการอ่อนเพลีย และ เมอื่ เขา้ สรู่ ะยะท่ี 5 อาการจะชัดเจนมากยง่ิ ขึน้ จากภาวะยรู ีเมยี ท�ำให้มี ผลกระทบตอ่ การดำ� เนนิ ชวี ติ และภาวะโภชนาการของผปู้ ว่ ย โดยภาวะ ยูรเี มียจะสง่ ผลกระทบต่ออวัยวะตา่ ง ๆ ดงั นี้ 1. ความผิดปกติของสมดุลนำ�้ เกลอื แรแ่ ละกรดด่าง 1.1 สมดุลน�้ำและโซเดียม การเพิ่มข้ึนของโซเดียมและน้�ำ ในรา่ งกายจะทำ� ใหเ้ กดิ ภาวะความดนั โลหติ สงู เมอื่ เขา้ สรู่ ะยะทา้ ยของโรค จะมีการขับน้�ำออกจากร่างกายลดลง เกิดภาวะน้�ำเกินได้ง่าย ร่วมกับ มกี ารขับโซเดียมลดลง ทำ� ใหโ้ ซเดียมในรา่ งกายสูงขึน้ ทำ� ใหม้ ีความดัน โลหิตสงู มากขึ้น เกิดภาวะหัวใจวายเลือดค่งั ไดง้ ่าย 1.2 สมดลุ โปแตสเซยี ม คนไขไ้ ตวายในระยะแรกจะไมม่ ปี ญั หา การขบั โปแตสเซยี ม จงึ ไมค่ วรแนะนำ� ใหค้ นไขไ้ ตวายระยะแรก ทม่ี ปี สั สาวะ ออกดี งดอาหารในกลมุ่ ผกั และผลไม้ เพราะการขาดโปแตสเซยี ม สามารถ ส่งผลให้เนื้อไตบวม ร่วมท้ังปัญหากล้ามเนื้ออ่อนแรงที่มีอันตรายได้ อยา่ งไรกต็ าม ในคนไขไ้ ตเสอื่ มระยะสดุ ทา้ ย ไตจะขบั โปแตสเซยี มไดล้ ดลง ร่วมกับภาวะเลือดเป็นกรด ท่ีท�ำให้โปแตสเซียมไม่สามารถเข้าเซลล์ได้ ทำ� ใหเ้ กดิ ภาวะโปแตสเซยี มสงู ในเลอื ด ทส่ี ง่ ผลใหเ้ กดิ หวั ใจเตน้ ผดิ จงั หวะ และหวั ใจหยดุ เต้นได้ 24 กองการแพทย์ทางเลือก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คูม่ ือ อาหารบำ� บัด โรคไตเสอ่ื ม 1.3 สมดลุ กรด-ดา่ ง ไตจะมหี นา้ ทใ่ี นการขบั ไฮโดรเจนออิ อน ออกจากรา่ งกายทางปสั สาวะในรปู ของแอมโมเนยี เมอื่ ไตสญู เสยี หนา้ ที่ จะทำ� ใหก้ ารขบั ไฮโดรเจนออิ อนลดลง การสรา้ งแอมโมเนยี ลดลง รว่ มกบั มกี ารรวั่ ของไบคารบ์ อเนตทหี่ ลอดไตสว่ นตน้ ทำ� ใหร้ า่ งกายมภี าวะเปน็ กรด (Metabolic acidosis) เนื่องจากแอมโมเนียเป็นสารท่ีเป็นพิษ ในขณะทตี่ บั สามารถเปลย่ี นแอมโมเนยี ใหเ้ ปน็ ยเู รยี ซงึ่ ลดความเปน็ พษิ ของแอมโมเนยี แตไ่ ตสรา้ งแอมโมเนยี แลว้ ตอ้ งขบั ออกทางปสั สาวะโดยตรง ด้วยเหตุผลดังกล่าว การลดปริมาณอาหารที่มีความเป็นกรดสูง เช่น เนอ้ื สตั ว์ การกนิ อาหารทเ่ี ปน็ ดา่ ง เชน่ ผกั ผลไม้ และ โซดามนิ ท์ จงึ ชว่ ย ชะลอไตเสื่อมได้ นอกจากน้ัน การด่ืมน�้ำมาก ๆ โดยเฉพาะน�้ำที่มี ความเปน็ ดา่ ง เชน่ นำ้� แร่ กจ็ ะชว่ ยใหไ้ ตขบั ของเสยี และเกลอื แอมโมเนยี ออกจากรา่ งกายไดด้ ขี นึ้ 2. ความผิดปกติของกระดูก ภาวะเลือดเป็นกรดท�ำให้การดึง แคลเซียมออกจากกระดูก ร่วมกับการท่ีไตจะสร้างวิตามินดีได้น้อยลง ท�ำให้เกิดปัญหากระดูกบาง นอกจากน้ัน ในคนไข้ไตวายระยะสุดท้าย ระดับของฟอสเฟตในเลือดจะสูงข้ึน และจับอยู่กับแคลเซียม ส่งผลให้ ร่างกายสร้างฮอร์โมนพาราธัยรอยด์ เพื่อดึงแคลเซียมออกจากกระดูก แคลเซยี มท่รี วมตัวกบั ฟอสเฟต เปน็ แคลเซียมฟอสเฟต จะไปเกาะตาม เน้ือเย่ือและอวัยวะต่าง ๆ ท�ำให้เกิดภาวะหินปูนเกาะอยู่ในเส้นเลือด สง่ ผลใหค้ นไขโ้ รคไตวายเรอื้ รงั มปี ญั หาของระบบไหลเวยี นโลหติ รวมทง้ั การเกิดโรคหวั ใจขาดเลอื ดได้งา่ ย กองการแพทยท์ างเลอื ก 25 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คู่มือ อาหารบ�ำบัด โรคไตเสือ่ ม 3. ความผดิ ปกตทิ างระบบโลหิตวิทยา 3.1 ภาวะโลหิตจาง ไตมีหน้าท่ีในการสังเคราะห์ฮอร์โมน Erythropoietin ซ่ึงจะกระตุ้นให้ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดแดง เม่ือไต สูญเสียหน้าท่ีจะท�ำให้เกิดภาวะโลหิตจาง ซึ่งจะเร่ิมตรวจพบอาการ เมื่ออยู่ในระยะท่ี 3 นอกจากนี้ อาจเกิดจากการขาดธาตุเหล็ก จากอาการเบื่ออาหารหรือการจ�ำกัดอาหารท�ำให้ผู้ป่วยเกิดอาการ ออ่ นเพลยี อ่อนลา้ ซมึ เศร้า นอนไมห่ ลับ กระบวนการรคู้ ดิ ลดลง และ ส่งผลตอ่ การทำ� งานของหัวใจ 3.2 การแขง็ ตวั ของเลอื ดผดิ ปกติ ผปู้ ว่ ยโรคไตเสอ่ื มระยะสดุ ทา้ ย จะมีการลดลงของ platelet factor III และมีการแข็งตัวของเลือด ผดิ ปกติ ทำ� ใหม้ ภี าวะเลอื ดหยดุ ยาก เชน่ มเี ลอื ดกำ� เดาไหล ประจำ� เดอื น ออกมาก เลอื ดออกในกระเพาะอาหาร และเลอื ดออกใตผ้ วิ หนงั เกดิ จาก ความผดิ ปกตขิ องการทำ� หนา้ ทขี่ องเกรด็ เลอื ด เนอื่ งจากการเสอื่ มหนา้ ที่ ของการรวมตัวกันของเกร็ดเลือด 4. ความผดิ ปกตขิ องหวั ใจและหลอดเลอื ด โรคหลอดเลอื ดหวั ใจ เป็นสาเหตุการเจ็บป่วยและเป็นสาเหตุการตายของผู้ป่วยโรคไตเสื่อม ทุกระยะ ผู้ป่วยโรคไตเสื่อมจะมีความเส่ียงต่อการเกิดโรคหัวใจและ หลอดเลือดต้ังแตใ่ นระยะที่ 1 และจะเสียชีวิตดว้ ยโรคหลอดเลือดหัวใจ รอ้ ยละ 20 เมอ่ื การดำ� เนินโรคนาน 5 ปี 4.1 ความดนั โลหติ สงู (Hypertension) เปน็ ภาวะแทรกซอ้ น ท่ีพบได้บ่อยในผู้ป่วยโรคไตเสื่อมต้ังแต่เร่ิมแรก ท�ำให้เกิดภาวะหัวใจ หอ้ งลา่ งซา้ ยโต เปน็ ปจั จยั เสยี่ งทส่ี ำ� คญั ของอตั ราการเจบ็ ปว่ ยและอตั รา การตายในผปู้ ่วยโรคไตเสอ่ื ม 26 กองการแพทย์ทางเลอื ก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คู่มอื อาหารบำ� บัด โรคไตเสื่อม 4.2 โรคหัวใจ (Heart Failure) ความผดิ ปกติของการท�ำงาน ของหัวใจ ท�ำให้เกิดกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หัวใจห้องล่างซ้ายโต หลอดเลอื ดหวั ใจตบี รว่ มกบั มกี ารคงั่ ของโซเดยี มและนำ้� ทำ� ใหห้ วั ใจวาย และปอดบวมน้�ำ ซึ่งจะพบในโรคไตเสื่อมระยะท้าย เกิดจากภาวะ ความดันโลหิตสูง ภาวะโลหิตจาง โรคเบาหวาน ไขมันในเส้นเลือดสูง และการแข็งตัวของเลือดผดิ ปกติ 4.3 โรคหลอดเลือดหัวใจขาดเลือด (Ischemic Vascular Disease) จะสามารถพบไดใ้ นผปู้ ว่ ยโรคไตเสอ่ื มทกุ ระยะ เปน็ ปจั จยั เสย่ี ง ท่ีส�ำคัญต่อการเกิดภาวะหัวใจขาดเลือด หลอดเลือดโคโรนารีตีบตัน โรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลอื ดสว่ นปลาย 5. ความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร ภาวะยูรีเมียจะท�ำ ให้เกิดอาการปวดท้อง เบื่ออาหาร คล่ืนไส้ อาเจียน มีเลือดออก ในกระเพาะอาหาร ทอ้ งเดิน ท้องผูก หายใจไดก้ ล่ินปสั สาวะ (Uremic fetor) การรบั รสชาติอาหารผิดปกติ และมอี าการสะอกึ 6. ความผดิ ปกตขิ องกลา้ มเนอ้ื และระบบประสาท จะเรมิ่ พบใน ระยะท่ี 3 ผปู้ ว่ ยมกั มอี าการ Restless Leg Syndrome ขยบั เทา้ ตลอดเวลา รอ้ นทีเ่ ทา้ ชา กดแลว้ เจ็บ เดนิ เท้าห่าง การทรงตวั ไม่ดี ถ้าเปน็ มากอาจ มีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงร่วม ตะคริว ต่อมเหงื่อท�ำงานลดลงผลต่อ ระบบประสาทสว่ นกลางทำ� ใหไ้ มม่ สี มาธิ เฉอ่ื ยชา พดู ชา้ การรบั รตู้ า่ ง ๆ ลดลง หลงลืมง่าย มี Disorientation ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ ออ่ นเพลยี นอนไมห่ ลบั ในเวลากลางคนื งว่ งซมึ ในเวลากลางวนั ถา้ ไมไ่ ด้ รกั ษาจะมอี าการซึมลง ชัก และ Coma กองการแพทย์ทางเลือก 27 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

คมู่ อื อาหารบำ� บัด โรคไตเสอื่ ม 7. ความผิดปกตขิ องระบบทางเดินหายใจ ผ้ปู ่วยโรคไตเส่ือมจะ มีภาวะปอดบวมน�้ำ มีการติดเช้ือในปอด เย่ือหุ้มปอดอักเสบและมีน�้ำ ในเยอื่ หมุ้ ปอด มกี ารหายใจลกึ จากภาวะเลอื ดเปน็ กรด ลมหายใจมกี ลน่ิ ยเู รยี มีเสมหะเหนียวขน้ กลไกการไอลดลง รว่ มกบั ระบบภมู คิ ้มุ กนั ของ รา่ งกายลดลง ท�ำให้มีโอกาสเกดิ การตดิ เชือ้ ในปอด 8. ความผดิ ปกตขิ องระบบผวิ หนงั ภาวะยรู เี มยี ทำ� ใหผ้ วิ หนงั แหง้ ตกสะเกด็ คัน อาการคนั มกั เป็นทัง้ ตัว เป็น ๆ หาย ๆ อาจเกิดจากภาวะ Hyperparathyroidism ทำ� ใหแ้ คลเซยี มในเลอื ดสงู และไปจบั ทผ่ี วิ หนงั กระตนุ้ Mast cell ใหห้ ลงั่ ฮสี ตามนี นอกจากนย้ี งั ทำ� ใหผ้ วิ หนงั มจี ำ�้ เลอื ด มสี ผี ิวซีด และออกสเี ทาด�ำเนอ่ื งจากสขี อง Urochrome 9. ความผิดปกติของระบบสืบพันธุ์ อาจเกิดจากภาวะยูรีเมีย ความผดิ ปกตขิ องระบบประสาท ความผดิ ปกตขิ องตอ่ มไรท้ อ่ ภาวะจติ ใจ และยาบางชนดิ ทำ� ใหใ้ นเพศชายมคี วามตอ้ งการ ทางเพศลดลง ในเพศหญงิ มปี ระจำ� เดอื นมาไม่สม�ำ่ เสมอ ไมม่ ีประจำ� เดอื น หรืออาจเปน็ หมนั ได้ 10. ผลกระทบทางดา้ นจติ ใจ การเจบ็ ปว่ ยดว้ ยโรคไตเสอ่ื ม ทำ� ให้ ผู้ป่วยมีความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย วิตกกังวล กลัวกระวน กระวายใจ มภี าวะซึมเศรา้ เน่ืองจากลกั ษณะของอาการทเ่ี ปลยี่ นแปลง ไปตามระดับความรุนแรงของโรค การปรับเปล่ียนแผนการรักษาของ แพทย์ตามอาการที่รุนแรงขึ้น ท�ำให้ผู้ป่วยไม่สามารถท�ำนายความเจ็บ ป่วยได้อย่างชดั เจน 28 กองการแพทย์ทางเลอื ก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คมู่ ือ อาหารบำ� บัด โรคไตเสอ่ื ม แนวทางการรกั ษาผปู้ ว่ ยโรคไตเสอื่ ม ประกอบดว้ ยหลกั การใหญ่ ๆ 3 ประการ คือ6,7,14,22-24 1. รักษาต้นเหตทุ ที่ �ำให้เกิดโรคไต 2. รักษาภาวะที่ท�ำให้หน้าท่ีของไตเสียเพิ่มข้ึนอย่างเฉียบพลัน เช่น ความดันโลหิตสูงท่ีเกิดภายหลังภาวะไตเส่ือม ความไม่สมดุลของ สารนำ�้ และอเิ ลก็ โทรไลต์ หรือภาวะแทรกซ้อน เช่น เกิดจากการติดเชือ้ หรือภาวะแทรกซอ้ นจากการใชย้ าชนดิ ต่าง ๆ ดังนี้ 2.1. แนวทางการรกั ษาโรคไตเสอ่ื มระยะท่ี 3-4 ไดแ้ ก่ 2.1.1. การรกั ษาโรคไตเสอื่ มในระยะที่ 3 เปน็ ระยะเวลา ท่ีผู้ป่วยจะสามารถชะลอไตเสื่อมได้ผลดี หากผู้ป่วยให้ความร่วมมือ ควรเลือกกินอาหารที่เป็นด่าง เช่น อาหารมังสวิรัติ ร่วมการพยายาม ดมื่ นำ้� ใหม้ าก และควรหลกี เลยี่ งนำ้� ทม่ี คี วามเปน็ กรดสงู เชน่ นำ�้ รเี วอรส์ ออสโมซสิ (reverse osmosis) ซ่งึ การลดอาหารเนื้อสัตว์ (รวมท้งั นำ�้ ซปุ ตม้ กระดกู ) นมววั และนำ้� อดั ลม ไมเ่ พยี งแตจ่ ะชว่ ยลดปรมิ าณอาหาร ทเี่ ปน็ กรด และอาหารทมี่ ฟี อสเฟตสงู อกี ดว้ ย จากคำ� แนะนำ� ของ Kidney Disease Outcome Quality Initiative (K/DOQI) แนะน�ำให้ควบคมุ ระดบั ฟอสเฟตใหอ้ ยู่ระหวา่ ง 3.5-5.5 มลิ ลกิ รัมตอ่ เดซิลิตร สว่ นการกนิ ผักและธญั พืชซึง่ แมจ้ ะมีฟอสเฟตสงู แตก่ ็อย่ใู นรูป phytate ซึ่งดดู ซมึ น้อย และหากไมก่ นิ มากจนเกินไป ก็ไม่สง่ ผลใหฟ้ อสเฟตสูงในเลือด ยาลดความดนั โลหติ ยาทใี่ ชใ้ นการควบคมุ ความดนั โลหติ เชน่ ยาตา้ นเบตา้ ยาตา้ นแคลเซยี ม Angiotensin Converting Enzyme Inhibitor และ Angiotensin Receptor Blocker กองการแพทยท์ างเลอื ก 29 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

คมู่ ือ อาหารบ�ำบดั โรคไตเสื่อม Erythropoietin ภาวะซีดเป็นภาวะที่พบบอ่ ยในผปู้ ่วย โรคไตเสื่อม เกิดจากการขาดเหลก็ การเสยี เลือด หรอื จากการขาดสาร อรี โิ ธรพอยอตี นิ ทที่ ำ� หนา้ ทใ่ี หไ้ ขกระดกู สรา้ งเมด็ เลอื ดแดง ผปู้ ว่ ยจงึ ควร ไดร้ บั ยา Recombinant Erythropoietin เพอื่ ช่วยบรรเทาภาวะซดี 2.1.2. การรักษาโรคไตเส่ือมในระยะที่ 4 เป็นระยะ ทเ่ี รม่ิ เกดิ ภาวะแทรกซอ้ นตา่ ง ๆ และการชะลอการเสอื่ มของไตมกั ไมไ่ ดผ้ ล แต่แพทย์และผู้ป่วย ก็ควรจะต้องพยายามหาการรักษาเพ่ือชะลอ การเสอ่ื มของไตอยา่ งเตม็ ที่รวมทงั้ การปรบั ขนาดของยาทอี่ าจเปน็ พษิ ไดง้ า่ ย รวมทง้ั ใหค้ ำ� แนะนำ� ในการวางแผนดแู ลตนเอง เกยี่ วกบั ขอ้ ดแี ละขอ้ เสยี ของวธิ ีการบำ� บดั ทดแทนไต เพื่อให้ผปู้ ่วยเลอื กวธิ ีการรักษาทีเ่ หมาะสม เมอ่ื ถงึ ระยะเวลาท่ตี ้องรกั ษาดว้ ยการบำ� บดั ทดแทนไต 3. ชะลอการเสื่อมอยา่ งรวดเรว็ ของไต (progressive) ในผู้ปว่ ย โรคไตเส่อื มเป็นสิ่งส�ำคญั ท�ำได้โดยการลดปัจจยั เส่ียงตา่ ง ๆ ท่ีมีผลต่อ การเสอ่ื มของไต หรอื คน้ หาสาเหตแุ ละหาทางแกไ้ ขสาเหตนุ น้ั เทา่ ทที่ ำ� ได้ ปอ้ งกนั และรกั ษาภาวะแทรกซอ้ นทอี่ าจเกดิ ขนึ้ ชว่ ยยดื ระยะเวลาความ เสอ่ื มของไต จนกวา่ จะถงึ เกณฑท์ ตี่ อ้ งเขา้ รบั การฟอกเลอื ดออกไป ทำ� ให้ ยดื ระยะเวลาความทรมานจากการฟอกเลือด ชว่ ยประหยัดค่าใชจ้ า่ ย 3.1. การควบคมุ อาหารสำ� หรบั ผปู้ ว่ ยโรคไตเสอ่ื ม เมอ่ื ไตสญู เสยี หน้าทค่ี วามสามารถในการขบั ของเสยี ออกจากไตจะลดลง การควบคมุ อาหารเหลา่ นจ้ี ะชว่ ยลดการคงั่ ของเสยี ในรา่ งกายทำ� ใหไ้ ตไมต่ อ้ งทำ� งาน หนกั เกินไป จงึ มผี ลช่วยชะลอความเสื่อมของไตได้ 30 กองการแพทย์ทางเลือก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

ค่มู อื อาหารบ�ำบดั โรคไตเสอื่ ม 3.1.1 อาหารประเภทโปรตีนปริมาณ 0.6-0.8 กรมั ตอ่ กโิ ลกรมั ตอ่ วนั การบรโิ ภคอาหารโปรตนี ลดลง จะทำ� ใหเ้ กดิ การคง่ั ของเสยี ในรา่ งกายลดลงการทำ� งานของไตลดลง การรว่ั ของโปรตนี ในปสั สาวะลดลง มีการวิเคราะห์แบบ Meta-analysis Cochrane Reviews จากงาน วจิ ยั ตา่ ง ๆ ในปี พ.ศ.2528-2547 สรปุ วา่ การบรโิ ภคอาหารโปรตนี 0.61 กรมั ตอ่ นำ้� หนกั ตัวตอ่ วนั ในผปู้ ่วยโรคไตเสือ่ มทีม่ ีอตั ราการกรองของไต ระหว่าง 15-77 มิลลิลิตรต่อนาทีต่อพ้ืนที่ผิวกาย 1.73 ตารางเมตร จะสามารถลดอตั ราการตาย และการรกั ษาทดแทนไตไดร้ อ้ ยละ 31 และ ควรลดการทานเนื้อสัตว์ โดยเฉพาะผปู้ ่วยทีเ่ ริม่ มไี ตเส่ือม 3.1.2 อาหารประเภทโซเดียม (เกลือ) ปริมาณไม่เกิน 2 กรมั ตอ่ วนั โดยปกตโิ ซเดยี มจะถกู ขบั ออกทางปสั สาวะ เหงอื่ และอจุ จาระ และอาศัยกลไกของการดูดซึมกลับโซเดียมของท่อไต เพ่ือให้ปริมาณ โซเดียมอยู่ในภาวะสมดุล ผู้ป่วยโรคไตเส่ือมจะมีการขับโซเดียม ออกทางปัสสาวะลดลง ทำ� ใหก้ ารดดู ซึมกลบั ของโซเดียมในทอ่ ไตลดลง การบรโิ ภคเกลอื มากเกนิ จะทำ� ใหเ้ กดิ ภาวะความดนั โลหติ สงู และมกี าร บาดเจ็บของหลอดเลือด ท�ำให้มีการร่ัวของโปรตีนเพ่ิมขึ้น ท�ำให้เกิด การบาดเจ็บของท่อไต ส่งผลให้เกิดการเสื่อมของไตเพ่ิมมากข้ึน จากผลงานวจิ ัย พบวา่ - ลดการบรโิ ภคเกลอื ลง 1 กรมั ตอ่ วนั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง จะสามารถ ลดความดนั ซีสโตลิก ลงได้ 1-3 มลิ ลเิ มตรปรอท กองการแพทยท์ างเลอื ก 31 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

ค่มู ือ อาหารบ�ำบัด โรคไตเส่ือม - ลดการบรโิ ภคเกลอื ลง 3 กรมั ตอ่ วนั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง จะสามารถ ลดความดันซสี โตลิก ลงได้ 3-9 มลิ ลิเมตรปรอท 3.1.3 อาหารประเภทฟอสฟอรัสปริมาณไม่เกิน 800 มลิ ลิกรมั ต่อวัน อาหารฟอสฟอรสั สูง ได้แก่ เนอื้ สตั ว์ นม นำ้� อดั ลม และ สารกนั บูดในอาหารกระปอ๋ ง และอาหารส�ำเร็จรปู 3.1.4 อาหารประเภทโพแทสเซียมปริมาณไม่เกิน 2,700 มิลลกิ รมั ต่อวัน 3.1.5 ควรดมื่ นำ�้ ประมาณ 1.5-2 ลติ รตอ่ วนั ในผปู้ ว่ ย โรคไตเส่ือมระยะสุดท้าย มีอาการบวมหรือปัสสาวะออกน้อยกว่าปกติ ซึ่งมักเป็นกลุ่มผู้ป่วยท่ีต้องถูกล้างไตแล้ว จึงให้ผู้ป่วยควบคุมปริมาณ นำ้� ดมื่ โดยคำ� นวณไดจ้ ากปรมิ าณปสั สาวะทอ่ี อกมาของวนั กอ่ นนำ� มาบวก เพิม่ อกี 500 มิลลลิ ิตร จะได้เปน็ ปรมิ าณนำ�้ ท่ผี ปู้ ว่ ยควรดมื่ ในแตล่ ะวัน 3.2 การควบคุมระดับน�้ำตาลในเลือด ผู้ป่วยโรคไตจาก เบาหวานระยะที่ 4-5 ผปู้ ่วยที่มโี รครว่ มหลายโรค ผูป้ ว่ ยสงู อายุ ผ้ปู ว่ ย ในกลมุ่ นมี้ คี วามเสย่ี งตอ่ การเกดิ ภาวะนำ้� ตาลในเลอื ดตำ่� ซงึ่ อาจอนั ตราย ถงึ ชวี ติ การควบคมุ ระดบั น�้ำตาลในเลือดจึงไม่ควรเขม้ งวด ควรแนะนำ� ใหค้ นไขล้ ดปรมิ าณยาลดนำ�้ ตาลชนดิ รบั ประทานลง และคมุ นำ้� ตาลดว้ ย การฉีดอนิ ซลู ินเสรมิ 3.3 การควบคมุ ความดนั โลหติ การควบคมุ ระดบั ความดนั โลหิตได้ จะเพ่ิมประสิทธิภาพการลดโปรตีนในปัสสาวะของยากลุ่ม เอซีอไี อ (ACE-I) หรือเออารบ์ ี (ARB) ผู้ปว่ ยควร 32 กองการแพทย์ทางเลอื ก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คู่มอื อาหารบำ� บดั โรคไตเสื่อม 1) ควบคมุ ความดนั โลหติ ใหต้ ำ�่ กวา่ หรอื เทา่ กบั 130/80 มิลลิเมตรปรอท 2) ถา้ มปี รมิ าณโปรตนี ในปสั สาวะมากกวา่ 1 กรมั ตอ่ วนั จะต้องควบคมุ ความดันโลหติ ใหต้ ำ�่ กว่า 125/75 มลิ ลิเมตรปรอท 3) ผู้ป่วยโรคไตจากเบาหวานท่ีมีอัลบูมินในปัสสาวะ น้อยกว่า 30 มิลลิกรัมต่อวัน ควรควบคุมระดับความดันโลหิตให้ นอ้ ยกวา่ 140/90 มิลลิเมตรปรอท 4) ผู้ป่วยโรคไตจากเบาหวานท่ีมีอัลบูมินในปัสสาวะ มากกว่า 30 มิลลิกรัมต่อวัน ควรควบคุมระดับความดันโลหิตให้ น้อยกว่า 130/80 มลิ ลิเมตรปรอท หากผปู้ ว่ ยความดนั โลหติ สงู มาก จำ� เปน็ ตอ้ งไดร้ บั ยา ใหพ้ จิ ารณา เลือกใช้ยาลดความดันกลุ่มเอซีอีไอ หรือเออาร์บี เป็นกลุ่มแรก คือ การใช้ยาลดความดันโลหิต ผู้ป่วยโรคไตเส่ือมควรได้รับยาในกลุ่ม Angiotensin Converting Enzyme Inhibitor เปน็ อันดับแรก ยกเวน้ ในผปู้ ว่ ยทม่ี ผี ลขา้ งเคยี งจากการใชย้ ากลมุ่ นี้ โดยมอี าการไอแหง้ ๆ หรอื โปแตสเซียมในเลือดสูง จึงพิจารณาใช้ยา Angiotensin Receptor Blocker แทน ซงึ่ ยาลดความดนั โลหติ ทมี่ กั ใชใ้ นผปู้ ว่ ยโรคไตเสอื่ ม ไดแ้ ก่ 1) Angiotensin Converting Enzyme Inhibitor หรือ ACE I ออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ ACE ท�ำให้หลอดเลือดขยายตัว ความดนั โลหติ ลดลง ลดการรวั่ ของโปรตนี ในปสั สาวะทำ� ใหเ้ ลอื ดไปเลย้ี ง ไตเพ่ิมขึ้นมีข้อเสียท�ำให้อัตราการกรองของไตลดลง หลอดเลือดที่ไป เล้ียงไตตีบตัน โปแตสเซียมสูง ร่างกายขจัดสาร Bradykinin ลดลง กระตุ้นใหห้ ลอดลมหดตวั และไอ กองการแพทย์ทางเลือก 33 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

ค่มู อื อาหารบำ� บัด โรคไตเสื่อม 2) Angiotensin Receptor Blocker หรือ ARB ออกฤทธลิ์ ดระดบั Angiotensin II ทำ� ใหห้ ลอดเลอื ดขยายตวั เพม่ิ ปรมิ าณ เลือดไปเล้ียงไต ช่วยลดความดันโลหิต ยากลุ่มน้ีใช้ได้ดีกับผู้ป่วย เบาหวาน หวั ใจวายเลือดคัง่ โรคหัวใจขาดเลอื ดและหัวใจโต ถ้าให้ร่วม กบั ยาขบั ปสั สาวะจะชว่ ยใหค้ วามดนั โลหติ ลดลงมากขน้ึ ขอ้ ดจี ะไมท่ ำ� ให้ เกดิ อาการไอ ไมเ่ กดิ ภาวะโปแตสเซยี มสงู ยกเวน้ ถา้ ไตทำ� งานนอ้ ยลงมาก ข้อเสยี คือมรี าคาค่อนขา้ งแพง 3) ยาต้านเบต้า (Beta blockers) ออกฤทธ์ิลด การทำ� งานของระบบซมิ พา เทตกิ ทำ� ใหห้ วั ใจเตน้ ชา้ ความรสู้ กึ ทางเพศ ลดลงน�ำ้ ตาลในเลือดสงู การหยุดยาทนั ทจี ะทำ� ใหค้ วามดันโลหิตสงู ขึ้น จนกระตนุ้ ใหม้ กี ารเจ็บหนา้ อกหรือกล้ามเนื้อหวั ใจตายเฉียบพลันได้ 4) ยาตา้ นแคลเซยี ม ออกฤทธโิ์ ดยลดปรมิ าณแคลเซยี ม เข้าสู่เซลล์จะช่วยชะลอการเสื่อมของไตได้ ช่วยลดความดันในไต ลดปรมิ าณโปรตนี ที่รั่วทางปัสสาวะลดปรมิ าณสารอนมุ ูลอิสระ ลดการ อักเสบในไต ข้อควรระวังในยาบางชนิดมีผลต่อการท�ำงานของหัวใจ หัวใจเต้นช้าผิดจังหวะหรืออาจท�ำให้หลอดเลือดขยายตัว ขาบวม ผลข้างเขียงท�ำให้ความดันโลหิตต�่ำลงขณะเปล่ียนท่า ถ้าให้ร่วมกับยา ACE I จะช่วยลดอาการบวม ลดความดันโลหิตดขี ึ้น 5) ยาทอ่ี อกฤทธต์ิ อ่ ระบบประสาท เมอ่ื รบั ประทานยา กลุ่มนค้ี รงั้ แรก ความดันจะลดลงมาก ทำ� ให้เป็นลม เวียนศรี ษะ จงึ ควร รับประทานก่อนนอน เพื่อที่ผู้ป่วยจะได้ไม่ต้องลุกยืนและเกิดความดัน โลหติ ตำ่� หรอื รบั ประทานขนาดนอ้ ยและคอ่ ย ๆ เพมิ่ ขน้ึ ผลขา้ งเคยี งอน่ื ๆ 34 กองการแพทยท์ างเลอื ก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คู่มือ อาหารบ�ำบัด โรคไตเสือ่ ม ได้แก่ อาการปวดศรี ษะ ทอ้ งเสีย คลืน่ ไส้อาเจียน ออ่ นเพลีย ยากลุม่ น้ี ไดแ้ ก่ Prazosin Methyldopa 6) ยาที่ออกฤทธิ์ต่อหลอดเลือด เช่น Hydralazine Minoxidil ออกฤทธ์ิขยายหลอดเลือด ท�ำให้ความดันโลหิตลดลง ผลขา้ งเคยี งทำ� ใหห้ วั ใจเตน้ เรว็ มนี ำ�้ คงั่ ในรา่ งกาย ทำ� ใหม้ อี าการเจบ็ หนา้ อก ในคนทเี่ ป็นโรคหัวใจขาดเลอื ด คลน่ื ไส้ อาเจยี น ใจส่นั เวยี นศีรษะ 3.4 การรกั ษาภาวะกรดยรู คิ ในเลอื ดสงู (hyperuricemia) คนไขไ้ ตวายทกุ ราย ควรไดร้ บั การตรวจระดบั กรดยรู คิ ในเลอื ด งานวจิ ยั พบว่า การลดระดบั ของกรดยรู ิคในเลือดดว้ ยการคุมอาหาร และการใช้ ยา xanthine oxidase inhibitors เชน่ allopurinol จะสามารถช่วย ชะลอการเสื่อมของไตได้ นอกจากนั้น ยังช่วยให้การคุมความดันดีข้ึน นอกจากน้ัน ในคนไข้ที่มีประวัติไตเส่ือมอย่างรวดเร็ว ร่วมกับอาการ น้�ำหนักลด ระดับยูริคท่ีสูงขึ้น อาจบ่งชี้ถึงโรคมะเร็ง หรือช่วยในการ วินิจฉัยโรคไตวาย จาก multiple myeloma ได้ 3.5 ให้ยารักษาภาวะติดเชื้อหรือผ่าตัดรักษาอาการอุดตัน ของทางเดนิ ปสั สาวะ หรอื หยดุ ยาทส่ี ง่ เสรมิ ใหภ้ าวะของโรคเปน็ มากยง่ิ ขนึ้ โดยการหลีกเล่ียงการทานหรือฉีดยาที่มีผลเสียต่อไต เช่น ยาแก้ปวด โดยเฉพาะกลุ่มเอ็นเสด หรือยาท่ียังไม่รู้ส่วนประกอบ และยังไม่ได้รับ การพสิ จู นว์ า่ ไมท่ ำ� อนั ตรายกบั ไต เชน่ ยาสมนุ ไพร ยาหมอ้ ตม้ ยาพน้ื บา้ น เนอ่ื งจากยาจะถกู ขบั ถา่ ยออกจากรา่ งกายทางไต นอกจากนี้ ยาบางชนดิ ยงั มผี ลตอ่ การเสอ่ื มของไต และอาจมกี ารปนเปอ้ื นของสารทมี่ พี ษิ ตอ่ ไต กองการแพทย์ทางเลอื ก 35 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

ค่มู ือ อาหารบำ� บัด โรคไตเสื่อม 3.4 ควบคุมภาวะอ้วนจากดัชนมี วลกายสูง (Body Mass Index: BMI) ควบคมุ นำ�้ หนกั ตวั การมนี ำ้� หนกั เกนิ จะทำ� ใหม้ ปี ญั หาในการ ควบคมุ เบาหวานและยงั ทำ� ใหก้ ารควบคมุ ความดนั โลหติ ทำ� ไดย้ ากมากขน้ึ และการลดนำ�้ หนกั สามารถลดโปรตีนในปัสสาวะได้ ดังนน้ั ควรควบคุม ดัชนมี วลกายให้อย่ใู นช่วง 20.0-24.9 กโิ ลกรมั ตอ่ ตารางเมตร 3.5 การออกกำ� ลงั กาย ผปู้ ว่ ยโรคไตเสอื่ มควรออกกำ� ลงั กาย เบา ๆ อยา่ งสมำ�่ เสมอ เพอ่ื ชว่ ยใหร้ า่ งกายแขง็ แรง หวั ใจและหลอดเลอื ด ท�ำงานได้ดีข้ึน ท�ำให้ควบคุมความดันโลหิตได้ดีข้ึน สามารถควบคุม น้�ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน และยังอาจช่วยลดปริมาณไขมัน ในเลือดชนดิ LDL ได้ในระดบั หนึง่ 3.6 งดการสูบบุหรี่ ผู้ป่วยโรคไตเส่ือมควรงดการสูบบุหร่ี ซงึ่ จะชว่ ยลดปจั จยั เสย่ี งของการเกดิ โรคหลอดเลอื ดและโรคหลอดเลอื ด หัวใจ ซึ่งเป็นสาเหตุที่ท�ำให้เกิดการเสื่อมของไต นอกจากน้ียังท�ำให้ สามารถควบคมุ ความดันโลหติ ได้ดขี ้ึน 3.7 ปัจจัยทางพันธุกรรม โรคไตบางชนิดมีสาเหตุจาก พันธุกรรม เช่น โรคไตเป็นถงุ นำ�้ (Polycystic Kidney Disease) ฉะนน้ั คนที่มีคนในครอบครัวเป็นโรคไตก็มีโอกาสสูงท่ีจะเป็นโรคนี้ได้เช่นกัน โรคไตทม่ี สี าเหตจุ ากพนั ธกุ รรมมี 2 แบบ ไดแ้ ก่ แบบทารก (Infantile PKD) ซ่ึงมักจะเสียชีวิตต้ังแต่เกิด และแบบผู้ใหญ่ (Adult PKD-ADPKD) ซง่ึ มกั พบความผดิ ปกตเิ มอ่ื อายุ 20-30 ปขี น้ึ ไป โดยผปู้ ว่ ยจะมถี งุ นำ�้ ทไ่ี ต เพม่ิ มากขนึ้ เรอื่ ย ๆ ตามอายุ สง่ ผลใหไ้ ตทำ� งานนอ้ ยลง เกดิ ภาวะไตเสอื่ ม และเสยี ชีวติ ในทส่ี ดุ 36 กองการแพทยท์ างเลอื ก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

คู่มือ อาหารบ�ำบดั โรคไตเส่อื ม โดยสรุปสาเหตุส�ำคัญ ท่ีอาจส่งผลก่อให้เกิดโรคไต ซึ่งท�ำให้ไต ท�ำหนา้ ทีบ่ กพรอ่ ง และสามารถหลกี เล่ยี งได้ คอื โรคความดันโลหติ สูง, ภาวะกรดยรู คิ ในเลอื ดสงู , เหตจุ ากการใชย้ ารกั ษาโรคทใี่ ชผ้ ดิ ขนาดหรอื นานเกินไป, อบุ ัตเิ หตหุ รอื การออกกำ� ลังทหี่ นักจนเกนิ ไป, ภาวะขาดน�้ำ เช่น การวิ่งมาราธอนโดยไม่ได้รับน้�ำดื่มและเกลือแร่อย่างเพียงพอ โรคทอ้ งเสยี , หรอื เหตจุ ากสารพษิ ตา่ ง ๆ รวมทงั้ ควรหยดุ การรบั ประทานยา หรอื สมนุ ไพรโดยไมส่ มควรทนั ที เพราะการหลกี เลย่ี งเหตเุ หลา่ นจี้ ะชว่ ย ปกป้องและชะลอการท�ำงานของไต ไมใ่ หเ้ ขา้ สภู่ าวะไตเสื่อมเร้อื รงั กองการแพทยท์ างเลือก 37 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

คู่มอื อาหารบำ� บดั โรคไตเสอ่ื ม บทท่ี 2 อันตรายจาก ยา สมนุ ไพร ผลติ ภัณฑเ์ สรมิ อาหาร และสารปนเปื้อนในอาหาร ทมี่ ีผลต่อไต อันตรายจากยาทม่ี ีผลตอ่ ไต 25,26 “ยา” ตามพระราชบญั ญตั ยิ า พ.ศ.2510 มคี วามหมาย 4 ประการ ได้แก่ (1) วัตถุที่รับรองไว้ในต�ำรายาท่ีรัฐมนตรีประกาศ (2) วัตถุที่ มงุ่ หมายสำ� หรบั ใชใ้ นการวนิ จิ ฉยั บำ� บดั บรรเทา รกั ษา หรอื ปอ้ งกนั โรค หรอื ความเจบ็ ปว่ ยของมนษุ ยห์ รอื สตั ว์ (3) วตั ถทุ เ่ี ปน็ เภสชั เคมภี ณั ฑห์ รอื เภสชั เคมภี ณั ฑก์ งึ่ สำ� เรจ็ รปู (4) วตั ถทุ ม่ี งุ่ หมายสำ� หรบั ใหเ้ กดิ ผลแกส่ ขุ ภาพ โครงสร้างหรือการกระท�ำหน้าทใี่ ด ๆ ของรา่ งกายมนษุ ยห์ รอื สตั ว์ ยาทร่ี บั ประทานเขา้ สรู่ า่ งกายลว้ นมคี วามเสยี่ งทจี่ ะเกดิ อนั ตราย ต่อไตได้ อาจมากหรือน้อยต่างกันโดยกลไกการเกิดอันตรายต่อไตจาก ยามหี ลายอยา่ ง ดังนี้ 1. การเกดิ ผลกึ หรอื ตะกอนยาทไี่ ต ซงึ่ เปน็ อนั ตรายตอ่ ไตโดยตรง เชน่ เมโทเทรกเสต ยาตา้ นรโี ทรไวรัส ยาในกลุม่ ซัลโฟนาไมด์ 2. การมีเลือดมาเลี้ยงไตไม่เพียงพออาจเกิดจากยาไปท�ำให้ หลอดเลอื ดทเ่ี ลยี้ งไตเกดิ การหดตวั เชน่ ยาในกลมุ่ บรรเทาอาการอกั เสบ ทไี่ มใ่ ชส่ เตยี รอยด์ หรอื อาจเกดิ จากยาไปขยายหลอดเลอื ดทอี่ อกจากไต เช่น ยาลดความดันโลหิตบางกลุ่ม สิ่งเหล่าน้ีท�ำให้อัตราการกรองสาร รวมถงึ ของเสยี ผ่านไตเกดิ ไดไ้ ม่ดี 38 กองการแพทยท์ างเลอื ก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คู่มือ อาหารบ�ำบัด โรคไตเส่อื ม 3. เซลลไ์ ตอกั เสบเหตจุ ากการอมุ้ นำ้� มาก (osmotic nephrosis) เม่ือได้รับยาหรือสารเหล่าน้ีปริมาณมาก เช่น แมนนีทอล เด็กซ์แทรน สารสีทบึ รังสี 4. การเกิดปฏิกิริยาภูมิคุ้มกัน กรณีนี้ท�ำให้ไตเกิดการอักเสบ อย่างเฉียบพลัน เกิดได้ท้ังโกลเมอรูลัสและเน้ือเยื่อไต ตัวอย่างยาเช่น ไฮดราลาซนี ลเิ ทียม โพรพลิ ไทโอยูราซลิ 5. ยาในกลุ่ม ACEIs/ARBs ในการรักษาโรคความดันโลหิตสูง และหวั ใจ ไดแ้ ก่ Enalapril, Lorsatan, Irbesartan 6. ยาสเตยี รอยด์ (Steroids) ทำ� ใหล้ ดการทำ� งานของตอ่ มหมวกไต เช่น Prednisolone, Dexamethasone ยาปฏิชีวนะ (Antibiotics) ไดแ้ ก่ cotrimoxazole, tetracycline, doxycycline, streptomycin, vancomycin, streptomycin 7. ยาไซบูทรามีน (Sibutramine) มีผลกระทบต่อระบบหัวใจ และหลอดเลือด โดยมีผลเพิ่มอัตราการเกิดภาวะหัวใจขาดเลือด หลอดเลอื ดในสมองแตก หัวใจหยดุ เตน้ หรอื เสียชีวติ โดยเฉพาะผทู้ ี่มี ประวัติเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดอยู่แล้ว 8. ยาชดุ หรอื ยาซอง ขอ้ มลู จากการประชมุ สมชั ชาสขุ ภาพแหง่ ชาติ คร้ังท่ี 7 แสดงภาพรวมประชาชน 1,000 คน มีปัญหาทางคลนิ ิกจาก การใชส้ เตียรอยด์ทไ่ี มเ่ หมาะสมประมาณ 93 คน และมอี ัตราการตาย จากการใชส้ เตยี รอยดท์ ไี่ มเ่ หมาะสมรอ้ ยละ 6.4 โดยพบการระบาดของ สเตียรอยด์ในยาชุด ยาแผนโบราณ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ขายให้ กองการแพทยท์ างเลอื ก 39 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข

คมู่ อื อาหารบำ� บดั โรคไตเสือ่ ม ประชาชนซื้อรับประทานเองจากรถเร่ ร้านยา เน่ืองจากขาดความรู้ ความเข้าใจท่ีถูกต้องเก่ียวกับโรคและการรักษาโรค การบริโภคยาชุด แทรกซมึ อยใู่ นวถิ ชี วี ติ ของประชาชนโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในยาชดุ มกั มยี า สเตยี รอยดผ์ สมอยดู่ ว้ ย เพราะยาสเตยี รอยดช์ ว่ ยบรรเทาอาการเจบ็ ปวด ได้อย่างรวดเร็ว แต่มีผลข้างเคียงสูง กรณีที่ผู้ป่วยรับประทานยาชุดไป นาน ๆ อาจสง่ ผลให้เกดิ ภาวะไตวายได้ ปัจจัยสง่ เสริมความเสยี่ งท่ีจะเกดิ อันตรายตอ่ ไตจากยา 1. ชนิดยา ยาบางชนิดโดยธรรมชาติเป็นอันตรายต่อไต เช่น ยาในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ (เจนตามิซิน สเตรปโตมัยซิน เป็นต้น) แอมโฟเทอรซิ ินบี ซิสพลาทนิ ไซโคลสปอรีน สารสีทึบรงั สี หากได้รบั ยา หรอื สารเหล่าน้ีรว่ มกนั จะสง่ เสริมใหเ้ กดิ อันตรายต่อไตเพ่ิมขน้ึ 2. ระยะเวลาที่ใช้ยา หากใช้ยาเป็นเวลานานจะเพิ่มความเสี่ยง ที่จะเกิดอันตรายตอ่ ไต 3. การท�ำงานของไตลดลง มีอัตราการกรองไตน้อยกว่า 60 มิลลิลติ รต่อนาทตี ่อพน้ื ท่ีผิวกาย 1.73 ตารางเมตร 4. สภาพร่างกายและความเจ็บป่วย เช่น เป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตในหลอดเลือดแดงต�่ำ ภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด ภาวะเสียเลอื ดมากหรือเสยี นำ�้ มาก โรคหัวใจลม้ เหลว 5. ผู้สูงอายุ โดยท่ัวไปผู้ท่ีมีอายุมากจะมีความเส่ียงต่อการเกิด อันตรายจากการใช้ยาได้มากกว่าคนหนุ่มสาว เน่ืองจากสภาพร่างกาย ออ่ นแอลง การทำ� งานของไตลดลง และมีโรคเรือ้ รงั ท�ำใหม้ โี อกาสใชย้ า หลายอยา่ ง 40 กองการแพทยท์ างเลือก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

คมู่ ือ อาหารบำ� บดั โรคไตเสอื่ ม การลดความเสย่ี งที่จะเกดิ อนั ตรายตอ่ ไตจากยา 1. สำ� หรบั บคุ ลากรทางการแพทย์ ควรหลกี เลยี่ งการสง่ั ใชย้ าทมี่ ี ความเสย่ี งตอ่ การเกดิ อนั ตรายตอ่ ไต ไมว่ า่ จะใชช้ นดิ เดยี วหรอื ใชร้ ว่ มกนั (การใชย้ าทเี่ ปน็ อนั ตรายตอ่ ไตรว่ มกนั จะยงิ่ สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ อนั ตรายตอ่ ไต มากขนึ้ ) ในกรณที จ่ี ำ� เปน็ ตอ้ งสงั่ ใชย้ าทมี่ คี วามเสยี่ งตอ่ การเกดิ อนั ตราย ต่อไต ควรให้ใชใ้ นขนาดต�่ำสดุ ท่ใี หผ้ ลในการรกั ษา และตดิ ตามประเมิน การท�ำงานของไตเป็นระยะ ๆ และให้ค�ำแนะน�ำท่ีเหมาะสมแก่ผู้ป่วย ทงั้ การใชย้ าและการปฏิบตั ติ วั 2. สำ� หรบั ผปู้ ว่ ย ไมซ่ อื้ ยามาใชเ้ อง และดม่ื นำ�้ มากพอจะชว่ ยลด อนั ตรายตอ่ ไตทเ่ี กดิ จากยาได้ โดยเฉพาะยาทต่ี กผลกึ หรอื เกดิ ตะกอนทไี่ ต อนั ตรายของยาสมนุ ไพรทม่ี ีผลต่อไต12,13,27-29 สมนุ ไพรถกู นำ� มาใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งแพรห่ ลาย ทงั้ เปน็ ยา อาหาร เครอ่ื งดมื่ อาหารเสรมิ บำ� รงุ รา่ งกาย เครอื่ งสำ� อาง หรอื ใชแ้ ตง่ สี แตง่ กลน่ิ ในอาหารและยา ตลอดจนใช้เพื่อขับสารพิษ และประชาชนสามารถ หาซื้อสมุนไพรมาใช้ได้อย่างอิสระ โดยไม่มีการควบคุมท่ีเข้มงวด เชน่ เดยี วกบั ยาแผนปจั จบุ นั ทงั้ ทเี่ ปน็ ผลติ ภณั ฑส์ มนุ ไพรเดยี่ วและทเ่ี ปน็ ต�ำรับ นอกจากนี้ บางผลิตภัณฑ์อาจไม่สามารถระบุชนิดและปริมาณ ของสารออกฤทธ์ิที่แน่นอนได้ เพราะสมุนไพรชนิดเดียวกันที่มีสถานท่ี เพาะปลูก ฤดูกาล ส่วนของพืชที่น�ำมาใช้ วิธีการเก็บเก่ียว และ กระบวนการในการผลติ ทแี่ ตกตา่ งกนั จะทำ� ใหส้ ารออกฤทธใ์ิ นสมนุ ไพร ท่ีมีแตกต่างกันไป ซึ่งต่างจากยาแผนปัจจุบันจะมีข้อมูลของขนาดยา ท่ีเหมาะสมในผู้ป่วยแต่ละรายให้แพทย์เลือกใช้ ท�ำให้มีโอกาสเกิดพิษ กองการแพทยท์ างเลือก 41 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คู่มือ อาหารบำ� บัด โรคไตเสอ่ื ม ต่อไตน้อย ในขณะท่ียาสมุนไพรส่วนใหญ่ยังไม่มีข้อมูลเหล่าน้ีชัดเจน นอกจากน้ีสมุนไพรยังอาจมีปฏิกิริยาระหว่างยา (drug interaction) กบั ยาประจำ� ทแี่ พทยส์ ง่ั ซง่ึ อาจลดประสทิ ธภิ าพหรอื เกดิ พษิ ของยาขนึ้ ได้ นอกจากน้ีผลิตภัณฑ์สมุนไพรส่วนใหญ่ท่ีจ�ำหน่ายในท้องตลาดมักมี มากกวา่ หนงึ่ ชอ่ื ซง่ึ มกั จะไมไ่ ดร้ ะบอุ งคป์ ระกอบปรมิ าณและสดั สว่ นของ สารต่าง ๆ ทำ� ให้ไม่สามารถรอู้ งค์ประกอบทอ่ี าจเป็นพษิ ตอ่ ไตหรือไม่ ดงั นนั้ การนำ� สมนุ ไพรมาใชอ้ าจจะกอ่ ใหเ้ กดิ โทษได้ หากใชอ้ ยา่ ง ไมถ่ กู ตอ้ ง ไมถ่ กู วธิ ี รวมถงึ การใชผ้ ลติ ภณั ฑส์ มนุ ไพรเพอื่ รกั ษาโรคไตหรอื รกั ษาโรครว่ มอน่ื ๆ ทพี่ บในผปู้ ว่ ยโรคไตนนั้ ไมไ่ ดม้ ขี อ้ มลู รองรบั ทเี่ พยี งพอ และอาจทำ� ใหเ้ กดิ ผลเสยี ไดห้ ากนำ� มาใชใ้ นผปู้ ว่ ยโรคไต จงึ ควรหลกี เลย่ี ง หากจะมีการน�ำมาใช้จริงควรจะต้องวิเคราะห์ข้อมูลตามหลักวิชาการ หรอื มงี านวจิ ยั รองรบั เพอื่ ใหแ้ นใ่ จถงึ ประสทิ ธภิ าพ และความปลอดภยั ปจั จบุ นั ยงั ไมม่ สี มนุ ไพรตวั ใดทมี่ กี ารวจิ ยั ในมนษุ ยท์ มี่ วี ธิ กี ารวจิ ยั เหมาะสม หรือพิสูจน์ได้ว่าช่วยให้การท�ำงานของไตดีขึ้น อีกท้ังต้องระวังการใช้ สมนุ ไพรทม่ี กี ระบวนการผลติ ทไี่ มไ่ ดม้ าตรฐาน อาจมสี ง่ิ หรอื สารปนเปอ้ื น เช่น สเตียรอยด์ สารหนู แคดเมยี ม ซ่ึงมผี ลต่อโรคไตโดยตรง ดงั จะเห็น ไดจ้ ากข้อมลู รายงานทางคลนิ กิ เกย่ี วกับอาการไมพ่ งึ ประสงค์ตา่ ง ๆ ท่ี เกดิ จากการใชส้ มนุ ไพร ซงึ่ รวบรวมจากขอ้ มลู ทมี่ หี ลกั ฐานยนื ยนั แนน่ อน และขอ้ มลู ทอ่ี า้ งองิ จากการทดลอง รวมถงึ ขอ้ มลู จากกรณศี กึ ษาพชื หรอื สมนุ ไพรทีค่ วรระวงั ในผ้ปู ่วยโรคไต เชน่ มะเฟอื งมกี รดออกซาเลตท่ีจับ กับแคลเซียมในไต ท�ำให้เกิดไตวายเฉียบพลัน ยังมีสมุนไพรอีกหลาย ชนดิ มปี รมิ าณกรดออกซาเลตอยมู่ าก เชน่ โกฐนำ้� เตา้ ตะลงิ ปลงิ ปวยเลง้ 42 กองการแพทย์ทางเลอื ก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คมู่ อื อาหารบำ� บัด โรคไตเสื่อม และผลแครนเบอรี่ หากบริโภคในปริมาณมากอาจท�ำให้เกิดนิ่วในไต และมผี ลการทำ� งานของไตผดิ ปกติ และมรี ายงานจากตา่ งประเทศ พบวา่ ไคร้เครือ ห้ามใช้ในทั่วโลก เนื่องจากมีข้อมูลยืนยันว่าท�ำให้เกิดไตวาย และเปน็ มะเรง็ กระเพาะปสั สาวะอีกด้วย สำ� นกั งานคณะกรรมการอาหารและยาของสหรฐั อเมรกิ า(USFDA) จึงประกาศเตือนให้ระวังถึงความปลอดภัยจากการใช้สมุนไพรต่าง ๆ เมื่อปี ค.ศ.1993 มที ง้ั หมด 9 ชนดิ ได้แก่ (1) Chaparral (2) Comfrey (3) Yohimbe (4) Lobelia (5) Germander (6) Willow Bark (7) Ma huang (8) Jin Bu Huan (ตำ� รบั สมนุ ไพรจีน) และ (9) ผลติ ภณั ฑส์ มุนไพรทีม่ ี สมนุ ไพรกลมุ่ Stephania และ Magnolia species โดยได้แบง่ กล่มุ สมุนไพรจ�ำแนกตามโทษจากการใชส้ มนุ ไพรเปน็ 7 กลุ่ม ดงั นี้ 1. กลมุ่ สมนุ ไพรทท่ี ำ� ใหเ้ กดิ ปฏกิ ริ ยิ าการแพ้ (Allergic reactions) เช่น นมผ้ึง อาจท�ำให้เกิดปฏิกิริยาตอบสนองไวเกิน เช่น อาการหืด หลอดลมหดเกร็ง หลอดเลือดบวม ความดันโลหิตต�่ำ เยื่อบุตาอักเสบ ผนื่ คนั ซงึ่ อาจเกดิ จากโปรตนี ในนมผงึ้ ไปกระตนุ้ แอนตบิ อดี (antibody) ชนิด IgE ในร่างกาย 2. กลุ่มสมุนไพรท่ีท�ำให้เกิดความเป็นพิษ (Toxic reactions) แบ่งเปน็ 2 ประเภท คอื 2.1 สมุนไพรทีท่ ำ� ใหเ้ กดิ ความเป็นพิษต่อตบั เช่น ใบขี้เหลก็ ในรูปแบบยาเม็ด ซึ่งปัจจุบันถูกระงับการผลิตในประเทศไทยไปแล้ว หรือ คาวา (kava) ส�ำหรับรักษาอาการนอนไม่หลับ ที่มรี ายงานวา่ มผี ล ท�ำลายตับ กองการแพทยท์ างเลือก 43 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

คู่มอื อาหารบำ� บดั โรคไตเสอ่ื ม 2.2 สมุนไพรท่ีท�ำให้เกิดความเป็นพิษต่อไต เช่น สมุนไพร ลดนำ�้ หนักที่มสี าร aristolochicacid ผสมอยอู่ าจทำ� ใหเ้ น้อื ไตมพี งั ผดื และเกดิ ความผดิ ปกตขิ น้ึ นอกจากน้ี ผปู้ ว่ ยโรคไตควรระวงั การใชช้ ะเอมเทศ และมะขามแขก เพราะอาจทำ� ใหเ้ กดิ ภาวะโปแตสเซยี มตำ่� ในเลอื ด และ น�้ำลูกยออาจท�ำให้เกิดภาวะโปแตสเซียมสูงในเลือด และมีรายงานว่า มะเฟืองทำ� ให้ไตเปน็ พษิ จากออกซาเลต (oxalate nephropathy) ได้ 3. กลุ่มสมุนไพรที่ท�ำให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ (Adverse effects) ซ่ึงอาการข้างเคียงหรืออาการไม่พึงประสงค์ที่เกิดข้ึนอาจ สัมพันธ์หรือไม่สัมพันธ์กับฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาท่ีต้องการ และมักพบ เฉพาะในบางราย เช่น แปะก๊วย อาจท�ำให้เกิดอาการระคายเคือง กระเพาะอาหาร หรือเลือดออกในสมอง และโสมอาจท�ำให้เกิดการ กระตนุ้ ระบบประสาทสว่ นกลาง ความดนั โลหติ สงู หรอื เกดิ ผน่ื ทผ่ี วิ หนงั 4. กลุ่มสมุนไพรที่ท�ำให้เกิดปฏิกิริยาระหว่างยากับสมุนไพร เมือ่ มีการรบั ประทานรว่ มกัน (Herb and drug reactions) ซ่งึ มผี ลให้ ยาหรือสมุนไพรที่รับประทานอยู่ออกฤทธิ์เพิ่มขึ้นหรือลดลงได้ เช่น เซนต์จอหน์ เวริ ท์ (St.John’s Wort) เกรปฟรตุ (Grapefruit) แปะก๊วย หรอื ชา อาจเกดิ ปฏิกิรยิ าร่วมกนั ระหวา่ งยาบางชนิดได้ 5. กลุ่มสมุนไพรท่ีท�ำให้เกิดอันตรายหากใช้ผิดชนิดหรือผิดวิธี (Mistaken plants, Mistaken preparation) เนอ่ื งจากสมนุ ไพรบางชนดิ จะมีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน และอาจคล้ายคลึงกับพืชมีพิษบางชนิด หากขาดความเชี่ยวชาญอาจน�ำมาใช้ผิดชนิดและผิดวิธีท�ำให้เกิดโทษ 44 กองการแพทย์ทางเลือก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

คูม่ ือ อาหารบำ� บดั โรคไตเสื่อม ต่อร่างกายได้ เช่น ผลมะเกลือสดส�ำหรับฤทธิ์ในการถ่ายพยาธิ หากรบั ประทานโดยไมไ่ ดผ้ สมกบั นำ�้ กะทิ แตน่ ำ� ไปตม้ หรอื นำ� ไปผสมกบั นำ้� ปูนใสจะท�ำใหเ้ กิดพิษทต่ี าได้ 6. กลุ่มสมุนไพรท่ีท�ำให้เกิดอันตรายจากการปนเปื้อนของสาร ตา่ ง ๆ (Contamination) เชน่ โลหะหนกั ยาฆา่ แมลง หรอื เชอื้ จลุ นิ ทรยี ์ ซ่ึงไม่ควรพบ หรือหากพบการปนเปื้อนดังกล่าวก็ไม่ควรเกินปริมาณ ทกี่ ฎหมายกำ� หนด ซงึ่ สว่ นใหญม่ กั พบในผลติ ภณั ฑท์ ไี่ มม่ เี ลขทะเบยี นยา และไม่ทราบแหลง่ ผลติ 7. กลุ่มสมุนไพรท่ีท�ำให้เกิดอันตรายจากการปลอมปนของยา หรือสารทมี่ ฤี ทธทิ์ างเภสชั วทิ ยา (Adulterants) เชน่ การปลอมปนของ สารสเตียรอยด์ซึ่งท�ำให้เกิดอันตรายต่อร่างกายได้หากใช้ไม่ถูกต้อง เนือ่ งจากความร้เู ท่าไมถ่ ึงการณ์ จะเหน็ ไดว้ า่ สมนุ ไพร 1 ชนดิ อาจทำ� ใหเ้ กดิ โทษไดม้ ากกวา่ 1 กลมุ่ ดงั นัน้ ก่อนการใช้สมนุ ไพรชนดิ ใด ประชาชนควรตระหนักถงึ โทษท่อี าจ เกิดข้ึนและศึกษาหาข้อมูลประกอบการตัดสินใจ หรือหากมีข้อสงสัย ควรปรึกษาแพทยห์ รือเภสชั กรทุกคร้งั ก่อนรับประทาน คำ� แนะนำ� พนื้ ฐานในการใช้สมนุ ไพร ดงั น้ี 1. ควรศึกษารายละเอียดของผลิตภัณฑ์สมุนไพรแต่ละชนิด เพือ่ ดวู า่ มีความเหมาะสมต่อการนำ� มาใชห้ รือไม่ และควรสอดคล้องกับ “หลกั ในการใชส้ มนุ ไพรอยา่ งถกู ตอ้ ง ไดแ้ ก่ ใชใ้ หถ้ กู ตน้ ใชใ้ หถ้ กู สว่ น ใชใ้ ห้ถูกขนาด ใช้ใหถ้ ูกวิธี ใชใ้ ห้ถกู กับโรค” กองการแพทย์ทางเลอื ก 45 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คู่มือ อาหารบ�ำบัด โรคไตเสือ่ ม 2. ควรท่ีจะรู้ว่าในผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดประกอบด้วยสมุนไพร อะไรบา้ ง เพราะหากมอี าการไมพ่ งึ ประสงคเ์ กดิ ขนึ้ จะไดท้ ราบวา่ เกดิ จาก สมนุ ไพรชนิดใด เพือ่ จะได้เกบ็ ไวเ้ ป็นข้อมลู ในการเฝ้าระวงั การใชต้ ่อไป 3. หม่ันสังเกตความผิดปกติที่อาจเกิดข้ึนระหว่างท่ีมีการใช้ สมนุ ไพร 4. ไม่ควรใช้สมุนไพรตดิ ต่อกันเป็นเวลานาน ๆ หากจำ� เป็นหรอื มีความประสงค์ท่ีจะใช้สมุนไพรเป็นเวลานาน ควรมีการตรวจร่างกาย ทัง้ กอ่ น ระหว่าง และหลงั การใชส้ มนุ ไพรเปน็ ระยะ ๆ ไดแ้ ก่ ตรวจการ ท�ำงานของตับ เช่น ตรวจเอนไซม์ตับ (AST, ALT) การท�ำงานของไต (BUN, Cr) ความดันโลหติ ระดบั น้ำ� ตาลในเลอื ด เปน็ ต้น 5. หากเกิดอาการผิดปกติเกิดข้ึนในระหว่างการใช้สมุนไพร ควรหยดุ ใช้และปรึกษาแพทย์หรอื เภสชั กรทนั ที 6. หญิงมีครรภ์หรือให้นมบุตร และเด็กไม่ควรท่ีจะใช้สมุนไพร ถ้าไม่จ�ำเป็น โดยเฉพาะสมุนไพรท่ียังไม่มีข้อมูลยืนยันความปลอดภัย เนื่องจากสารบางชนิดในสมุนไพรสามารถผ่านรก ขับออกทางน้�ำนม หรือมีผลต่อการเจรญิ เติบโตได้ สมุนไพรจะช่วยในการป้องกันและรักษาโรค ก็ต่อเมื่อใช้ตาม แนวทางหลักการทวี่ า่ “มนษุ ย์มศี กั ยภาพในการเยยี วยาตนเองได้เมอื่ เจ็บไข้ ขอเพยี งแตใ่ หร้ า่ งกายอยใู่ นภาวะสมดลุ อยตู่ ลอดเวลา” สงิ่ ที่ รา่ งกายตอ้ งการคอื อาหาร อากาศ การออกก�ำลังกาย การขับถา่ ยและ ความมีสติ มนุษย์จึงต้องเปลี่ยนพฤติกรรมให้เป็นผู้คิดดี กินดี อยู่ดี การกนิ อาหารและสมนุ ไพร ซง่ึ กค็ อื ยา เปน็ การตอบโจทยข์ องการรกั ษา ภาวะสมดุลเพยี งเทา่ นัน้ 46 กองการแพทยท์ างเลือก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ

คมู่ อื อาหารบ�ำบดั โรคไตเส่ือม อันตรายจากผลติ ภณั ฑ์เสรมิ อาหารทมี่ ีผลต่อไต12,13,30,31 การด�ำเนินชีวิตปัจจุบัน ในสังคมที่เร่งรีบ อาจละเลยในเร่ือง การดแู ลสขุ ภาพจนตอ้ งพง่ึ ผลติ ภณั ฑเ์ สรมิ อาหาร เพอื่ ทดแทนสารอาหาร ท่ีไม่เพียงพอในแต่ละวัน แต่การบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารต่าง ๆ อาจไมใ่ ชท่ างทด่ี สี ำ� หรบั สขุ ภาพ ในทางกลบั กนั อาจกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายได้ หากใช้เป็นเวลานาน ใช้โดยขาดความรู้ อาจก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อ สขุ ภาพได้ เช่น 1. โรคก�ำเริบ การรับประทานอาหารเสริมโดยขาดความรู้ อาจก่อให้เกิดอันตรายได้ โดยเฉพาะกับคนท่ีมีโรคประจ�ำตัวอยู่แล้ว เนื่องจากอาหารเสริมบางชนิดไม่ถูกกบั โรคบางโรค เช่น โสม ไม่เหมาะ สำ� หรบั ผปู้ ว่ ยความดนั โลหติ สงู เพราะทำ� ใหเ้ สน้ เลอื ดบบี ตวั แรงขน้ึ หรอื อาหารเสริมแบบชงละลายน้�ำในปริมาณมากและอาหารโซเดียมสูง ไมเ่ หมาะส�ำหรบั ผปู้ ว่ ยโรคไตเสอ่ื ม โรคหวั ใจ 2. สะสมในร่างกาย การรับประทานอาหารเสริมเพื่อบ�ำรุง ร่างกายเป็นเวลานาน อาจมีความเส่ียงที่อาหารเสริมเหล่านั้นเข้าไป สะสมในร่างกาย จนเกิดเป็นอันตรายได้ เช่น วิตามินซี จากงานวิจัย พบวา่ การไดร้ บั วติ ามนิ ซมี ากกวา่ 1 กรมั ตอ่ วนั อาจทำ� ใหเ้ กดิ นวิ่ ในไตได้ เน่ืองจากมีการขับวิตามินซีออกทางปัสสาวะในรูปออกซาเลตและ กรดยรู ิคมากกวา่ ปกติ มีรายงานจากเดอะการ์เดยี น (The Guardian) โดยส�ำนกั ข่าว เอเอพี ออสเตรเลยี (Australian Associated Press: AAP) วา่ ผลติ ภณั ฑ์ เสริมอาหาร วิตามิน และแร่ธาตุ ไม่เพียงแต่ท�ำให้เกิดรายจ่ายที่เพ่ิม กองการแพทย์ทางเลอื ก 47 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ

คู่มอื อาหารบ�ำบดั โรคไตเส่อื ม มากขน้ึ เทา่ นน้ั แทจ้ รงิ แลว้ ในบางกรณอี าจกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพดว้ ย นักวิจัยท่ีมหาวิทยาลัยโตรอนโต ประเทศแคนาดา ได้ท�ำการเผยแพร่ การทดลองแบบสุ่มท่ีมองถึงผลของวิตามินและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และต่อต้านอนุมูลอิสระท่ีเกี่ยวเนื่องกับความเส่ียงของโรคหัวใจและ หลอดเลอื ดในสมอง พบวา่ ผลติ ภณั ฑ์เสริมอาหารทีใ่ ช้กนั ท่วั ไป ได้แก่ วติ ามนิ รวม วติ ามนิ ดี แคลเซยี ม และวติ ามนิ ซี ใหป้ ระโยชนท์ ี่ ไมเ่ หมอื นกนั ในการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด หรือโรคหลอดเลือดในสมอง กรดโฟลิกเพียงอย่างเดียว และวิตามินบีรวม ซึ่งมีกรดโฟลิก แสดงให้ เห็นถึงการลดลงของโรคหลอดเลือดสมอง อย่างไรก็ตามไนอะซิน (วติ ามินบี 3) และสารต้านอนุมลู อิสระ (วติ ามินเอ ซี อ)ี มีความสัมพันธ์ กบั การเสยี่ งตอ่ การเสยี ชวี ติ ตามผลการวจิ ยั ทตี่ พี มิ พใ์ น Journal of the American College of Cardiology: JACC นักวิทยาศาสตร์ ชาวแคนนาดาและฝรั่งเศสกล่าวว่า วิธีท่ีดีที่สุดในการดูแลหัวใจคือ การได้รับวิตามินและเกลือแร่จากอาหารเพ่ือสุขภาพ ซ่ึงรวมถึงผลไม้ และผักนานาชนดิ มากกวา่ ดร.เอยี น มุสเกรฟ (Dr.Ian Musgrave) จากคณะแพทยศาสตร์ แหง่ มหาวทิ ยาลยั แอดเิ ลด (University of Adelaide) พบวา่ “ในขณะ ทว่ี ติ ามนิ เปน็ สงิ่ จำ� เปน็ สำ� หรบั สขุ ภาพและโรคตา่ ง ๆ เชน่ โรคไตวาย ที่พูดได้ว่าเกือบจะหายไปจากประเทศท่ีพัฒนาแล้ว ผู้คนคิดว่าถ้ามี วิตามินท่ีดีกว่านี้ก็จะดีกว่ามาก” ซึ่งความเช่ือมั่นในช่วงหลัง ๆ น้ี ไม่เป็นจริงแล้ว สอดคล้องกับความเห็นของ ดร.โรสแมรี่ แสตนต้ัน (Dr.Rosemary Stanton) นักโภชนาการและนักโภชนาการว่าด้วย การควบคมุ อาหารการกนิ และเตรยี มอาหารพเิ ศษระบวุ า่ “ชาวออสเตรเลยี 48 กองการแพทยท์ างเลือก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข

คมู่ ือ อาหารบำ� บัด โรคไตเสื่อม จ�ำนวนมากเชื่อว่าการรับประทานอาหารผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เป็นเร่ืองท่ีดี แต่งานวิจัยชิ้นใหม่แสดงให้เห็นว่านั่นไม่ใช่ความจริง การน�ำเสนอน้ีท�ำให้เห็นว่าการซ้ือวิตามิน อาหารเสริมและสารต้าน อนมุ ลู อสิ ระไมเ่ พยี งแตจ่ ะเปน็ การฟมุ่ เฟอื ยเทา่ นน้ั แตบ่ างครงั้ อาจกอ่ ใหเ้ กิดอนั ตรายตอ่ สขุ ภาพดว้ ย” ปญั หาหลกั มกั เกดิ ขนึ้ จากการโฆษณาอวดสรรพคณุ สนิ คา้ เกนิ จรงิ จนผบู้ รโิ ภคบางคนเชือ่ ว่าอาหารเสริมหรอื สนิ คา้ ตอ้ งมีฤทธ์ิในการบ�ำรงุ รกั ษา หรอื ทำ� ใหเ้ กิดการเปลีย่ นแปลงทางบวกตอ่ สุขภาพร่างกาย และ เสรมิ สขุ ภาพความงาม เกดิ การคยุ กนั ปากตอ่ ปาก ไปจนถงึ การรวี วิ สนิ คา้ ทางสอ่ื สงั คมออนไลน์ และพฒั นาเปน็ กระแสนยิ ม ผลติ ภณั ฑเ์ สรมิ อาหาร ท่ีจดทะเบียนนั้นจะโฆษณาบรรยายได้เพียงสรรพคุณทั่วไปต้องไม่มีผล ในการป้องกันหรอื รกั ษาโรค ดังนนั้ เขยี นไดเ้ พยี งหนา้ ทเี่ หมือนวติ ามนิ ธรรมดา ผ้ขู ายจะกลา่ วอา้ งสรรพคณุ ของผลิตภณั ฑเ์ สรมิ อาหารในการ ลดความเส่ียงในการเกิดโรคไดน้ ัน้ กต็ อ่ เม่อื มกี ารทดลองในมนษุ ย์จนมี ความสมเหตสุ มผล มีงานตีพิมพว์ ิชาการรับรองมากพอ แตโ่ ดยพฤตินัย แลว้ ทางสำ� นักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ไมส่ ามารถตรวจ ในขั้นตอนการผลิตและการโฆษณาได้ละเอียดทุกข้ันตอน มีเพียงการ สุ่มตรวจเทา่ นัน้ ผู้บริโภคเองตอ้ งตื่นตัวและตระหนักถึงความปลอดภยั ของผลติ ภณั ฑ์ บางสว่ นยังหลงยดึ ตดิ ในมายาคตคิ วามงาม เชน่ การมี ผวิ ขาว มหี นุ่ ดี ผลกั ดนั ใหค้ นจำ� นวนมากหนั ไปใชผ้ ลติ ภณั ฑเ์ สรมิ อาหาร เพราะเชอื่ วา่ จะเปน็ ทางลดั ไปสเู่ ปา้ หมาย โดยยอมเสยี่ งอนั ตรายทต่ี นเอง ไม่รู้ตวั กองการแพทย์ทางเลือก 49 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข