หลกั สตู รการจัดการเรยี นร่วม หลักสตู รอาชีวศึกษาและมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ทวศิ กึ ษา) โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ พทุ ธศกั ราช ๒๕62 สานกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
๒ ประกาศโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ เร่อื ง การใช้หลักสูตรโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ พุทธศักราช ๒๕60 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ .......................................................................... อนุทินคําสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. ๒๙๓/๒๕5๑ เร่ืองให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ส่ัง ณ วันที่ ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ เพื่อให้การจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สอดคลอ้ งกับสภาพความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจสังคมและความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการเป็นการสร้างกล ยุทธ์ใหม่ในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาให้สามารถตอบสนองความต้องการของบุคคลสังคมไทย ผู้เรียนมี ศกั ยภาพในการแข่งขันและร่วมมืออย่างสร้างสรรค์ในสังคมโลก ปลูกฝังให้ผู้เรียนมีจิตสํานึกในความเป็นไทย มี ระเบยี บวินยั คํานึงถึงประโยชน์สว่ นรวมและยึดมนั่ ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง เปน็ ประมขุ เปน็ ไปตามเจตนารมณ์มาตรา ๘๐ ของรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และ พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และท่แี ก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ฉะนั้นโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จึงได้จัดทําหลักสูตรโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ให้เปน็ ไปดังน้ี ปีการศึกษา ๒๕60 ให้ใช้หลักสูตรโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ พุทธศักราช ๒๕60 ตาม หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ รายวิชาสาระเพิม่ เติม กลุ่มสาระการงานอาชีพและ เทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4-6 หลักสูตรเรยี นรว่ มอาชีวศกึ ษาและมธั ยมศึกษาตอนปลาย(ทวิศกึ ษา) ทง้ั นหี้ ลกั สตู รโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ัน พื้นฐาน เมอื่ วนั ที่ 1 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕60 จงึ ประกาศใช้หลักสตู รโรงเรียนต้ังแตบ่ ดั น้เี ปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 1 เดอื น พฤษภาคม พุทธศกั ราช ๒๕60 (นายกฤษฎิ์ พยัคฆกาฬ) (นางวลิ าวลั ย์ ปาลี) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน (ผอู้ ํานวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑)
๓ สารบญั หนา้ คาํ นํา ประกาศโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ เรอ่ื งการใชห้ ลักสูตรโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ 2 ความนาํ 4 วสิ ัยทศั น์ 7 หลกั การ 7 จุดหมาย 8 สมรรถนะหลกั ของผู้เรยี น 8 คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 9 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย 10 โครงสรา้ งหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานและโครงสรา้ งหลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพ 11 โครงสรา้ งหลักสตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวช.) ประเภทวชิ าพาณิชยกรรม สาขา วิชาบญั ชี 12 โครงสรา้ งเวลาเรยี นระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) สาขาบญั ชี 20 โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๔ (สาขาบัญชี) 22 โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๕ (สาขาบัญชี) 23 โครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ (สาขาบัญช)ี 24 สาระและมาตรฐานการเรียนรูร้ ายวิชาพนื้ ฐาน 25 คาํ อธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน 38 คาํ อธบิ ายรายวชิ ากลุ่มบงั คบั เลือก 89 คําอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเตมิ 96 กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น 125 การจัดกิจกรรมการเรียนรแู้ ละการสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ตามหลักสูตรโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ 128 ระเบียบโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ วา่ ด้วยการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ พ.ศ. ๒๕60 132 เกณฑก์ ารวดั ผลและประเมินผลการเรียนรู้ 157 ภาคผนวก
๔ ความนา สืบเนอื่ งจากกระทรวงศกึ ษาธิการมีนโยบายในการผลิตผเู้ รยี นดา้ นอาชวี ศึกษาให้มากขน้ึ เพื่อรองรับการ จ้างงาน ท้ังภาคธุรกิจบริการ ภาคอุตสาหกรรม และภาคการเกษตร โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มอาชีพท่ีเป็นความ ต้องการของตลาดแรงงานที่กําลังขยายตัวในทุกภาคส่วน กระทรวงศึกษาธิการซ่ึงเป็นหน่วยงานที่ผลิตกําลังคน จําเป็นอย่างย่ิงต้องเร่งประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจ ให้นักเรียนได้หันมาสนใจเรียนทางด้านอาชีพซ่ึงมีตลาด รองรับอยา่ งแนน่ อนให้มากข้ึน แต่เนื่องจากสภาพปัจจุบันค่านิยมของผู้ปกครองและผู้เรียนมุ่งที่จะสนับสนุนให้มี การเรียนสายสามัญเพื่อเข้าสู่ระดับอุดมศึกษา ส่งผลให้ขาดกําลังคนในภาคแรงงานเป็นอย่างมาก รัฐบาลจึงมี นโยบายที่จะให้มีการจัดการศึกษาหลักสูตรเรียนร่วมอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลายควบคู่กันไป เพ่ือให้ ผสู้ ําเร็จการศกึ ษาระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายมีความรู้พ้ืนฐานด้านอาชีพและสามารถเข้าสู่ตลาดแรงงานได้ทันที การจัดการอาชีวศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพถือเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่สอดคล้องและสัมพันธ์กับตลาดแรงงาน สามารถผลิตกําลังคนในระดับฝีมือที่ได้มาตรฐาน สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้ตระหนักถึง ความสําคัญดังกล่าว จึงจัดให้มีการจัดการอาชีวศึกษาอย่างหลากหลายยิ่งข้ึน ทั้งน้ีเพ่ือเป็นการเพ่ิมโอกาสทาง การศึกษาด้านวิชาชีพให้แก่ประชาชนวัยเรียนและวัยทํางานตามความถนัด ความสนใจ และสามารถเข้าถึงการ อาชีวศึกษาได้ง่ายขึ้น โดยการขยายวิชาชีพและกลุ่มเปูาหมายเข้าสู่ระบบการจัดการอาชีวศึกษาให้ชัดเจน ท่ัวถึง และรวดเรว็ ข้ึน เพ่ือเป็นทางเลอื กสาํ หรับผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายท่ีมีความประสงค์จะเรียนควบคู่กันไป ทง้ั สายสามญั และสายอาชีพ เม่ือเรียนครบตามหลักสูตร ผู้เรียนสามารถสําเร็จการศึกษาทั้งหลักสูตรมัธยมศึกษา ตอนปลายสายสามญั และหลกั สตู รสายอาชีพไปพรอ้ มกัน ทัง้ น้ีไดม้ กี ารกําหนดการจัดการเรียนการสอนโดยการทํา ความตกลงรว่ มมือกันในการจัดการเรยี นการสอนระหวา่ งสถานศึกษาที่เปิดสอนมัธยมศึกษากับสถานศึกษา ท่ีเปิด สอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.)
๕ วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพ่มิ โอกาสทางการศกึ ษาดา้ นอาชีวศกึ ษาแกป่ ระชาชนวยั เรียนและวัยทํางานตามความถนัด และความสนใจ ๒. เพ่ือขยายกลุ่มเปูาหมายไปสนู่ กั เรยี นระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายในการเขา้ สหู่ ลกั สูตรอาชีวศึกษา ๓. เพอ่ื เปน็ ทางเลอื กสําหรับผ้เู รียนในระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลายท่มี คี วามประสงคจ์ ะเรียนควบคู่ ไปกับหลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชีพ การจัดการศึกษาวชิ าชพี ในสถานศกึ ษาสังกดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ และทแ่ี กไ้ ขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี ๒) พุทธศกั ราช ๒๕๔๕ซึง่ ดําเนนิ การปฏิรูปการศึกษาทงั้ ด้านการบริหารจดั การและการจดั การเรียนการสอน โดยเน้นใหผ้ เู้ รียน มี โอกาสเรียนรตู้ ลอดชีวิตตามความถนัด ความสนใจ โดยคํานงึ ถงึ ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจดั การ การเผชญิ สถานการณ์ และการประยุกตค์ วามรู้ เพือ่ นาํ มาใชป้ อู งกนั และแก้ปัญหา จดั กิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรยี นรู้จากประสบการณจ์ รงิ ฝกึ การปฏิบัติให้ทําได้ คดิ เปน็ ทาํ เปน็ รกั การอา่ น และเกดิ การ ใฝรุ ้อู ยา่ งต่อเนื่อง จัดการเรียนการสอน โดยสัดส่วนสมดลุ กัน รวมท้งั ปลกู ฝงั ค่านิยมทด่ี ีงาม และคุณลกั ษณะอนั พึง ประสงคไ์ วใ้ นทกุ วชิ า ซงึ่ กระทรวงศึกษาธกิ ารไดอ้ อกกฎกระทรวงวา่ ด้วยการแบ่งระดบั และประเภทการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน เปน็ ๓ ระดับ คอื ๑. การศึกษาระดับกอ่ นประถมศกึ ษา ๒. การศกึ ษาระดับประถมศกึ ษา ๓. การศกึ ษาระดับมธั ยมศกึ ษา แบ่งเปน็ ๒ ระดับ คือ ๓.๑ การศกึ ษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ๓.๒ การศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย แบง่ ระดบั เปน็ ๒ ประเภท คือ ๓.๒.๑ ประเภทสามัญศึกษา ๓.๒.๒ ประเภทอาชวี ศกึ ษา สาํ หรับการจดั การศึกษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายได้ถูกแบ่งการศึกษาออกเป็น ๒ ประเภท ดงั นี้ ประเภทสามญั ศึกษา หน่วยงานทร่ี บั ผิดชอบ คือ สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน และประเภท อาชีวศกึ ษา หนว่ ยงานทรี่ ับผิดชอบ คือสํานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จากสภาวะการณ์ปัจจุบันท่ตี ้อง เผชิญการเปลยี่ นแปลงทางเศรษฐกิจ สงั คม และเทคโนโลยีอยา่ งรวดเร็ว ทําให้ทุกคนในสงั คมตอ้ งพยายามปรับตัว ให้สามารถดาํ รงชวี ิตอยู่ได้ จึงทําให้สังคมหันมาให้ความสนใจกบั การพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตด้วยการศึกษามากข้ึน โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงด้านอาชีวศึกษา ทงั้ น้ี เพ่อื ตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการทั้งในการศกึ ษาตอ่ และการประกอบอาชีพ กอปรกับรัฐบาล โดยกระทรวงศึกษาธิการ ได้ใหค้ วามสาํ คญั กบั การจดั การอาชีวศึกษาเพื่อต้องการใหน้ ักเรยี นสนใจ เรยี นสายอาชพี มากขนึ้ เมื่อสําเรจ็ การศึกษาแลว้ สามารถทํางานไดท้ นั ที ดงั น้ันเพอื่ เป็นการสนองนโยบายดังกล่าว ข้างตน้ จึงกาํ หนดใหด้ ําเนินการเปดิ สอนหลักสูตร ประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) ในโรงเรยี นมธั ยม สงั กดั สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ใน ๓ ลกั ษณะ คอื
๖ ลักษณะท่ี ๑ ขนึ้ ทะเบียนเปน็ นกั เรียนของสถานศึกษาสงั กัดสาํ นกั งานคณะกรรมการการ ลักษณะที่ ๒ อาชีวศึกษาเรยี นหลักสตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) จบแลว้ ได้วฒุ ิประกาศนียบัตร ลักษณะที่ ๓ วชิ าชีพ (ปวช.) คือ รปู แบบที่ ๑ บุคลากรจากสถานศึกษาสังกัดสํานกั งานคณะกรรมการการ อาชวี ศึกษา ไปสอนทีโ่ รงเรยี นในสังกดั สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน รูปแบบท่ี ๒ โรงเรยี นในสังกัดสาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานส่ง นกั เรยี นมาเรยี นทส่ี ถานศกึ ษาในสงั กัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ขนึ้ ทะเบยี นเปน็ นักเรียนของสถานศกึ ษาสงั กดั สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพนื้ ฐานเรียนหลักสูตรมัธยมศกึ ษาตอนปลาย แต่เน้นวิชาชีพตามหลักสตู รจบแล้วได้วฒุ ิ มธั ยมศกึ ษาตอนปลายมี ๒ รปู แบบ คือ รปู แบบที่ ๑ นักเรยี นเรียนรายวิชาเพม่ิ เติมจากรายวชิ าชีพหลักสูตรประกาศนียบัตร วชิ าชีพ (ปวช.) เพอื่ เทียบโอนเข้าสูห่ ลกั สูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) พ.ศ. ๒๕60 และ ตอ้ งลงทะเบียนเป็นนกั เรียนของสถานศึกษาในสงั กัดสาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา เพือ่ เรียนตามหลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.) อกี อย่างนอ้ ย ๑ ภาคเรยี น จงึ จะได้ วฒุ ปิ ระกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช.) พ.ศ. ๒๕60 รปู แบบที่ ๒ นกั เรียนเรยี นรายวิชาเพ่ิมเติมจากรายวิชาตามหลักสตู รประกาศนียบัตร วิชาชีพ (ปวช.) เพ่ือเป็นพืน้ ฐานการเรียนต่อระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ข้ึนทะเบยี นเปน็ นกั เรยี นของสถานศกึ ษาสงั กดั สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษา ขัน้ พนื้ ฐาน แตน่ ําหลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.) พ.ศ. ๒๕๕๖ มาจัดการเรยี น การสอน จบแล้วไดว้ ฒุ ิประกาศนียบัตรวิชาชีพ โดยให้สถานศกึ ษาสังกัดสาํ นักงาน คณะกรรมการการอาชวี ศึกษาเปน็ สถานศึกษาพีเ่ ลีย้ ง ทง้ั น้ี ในการเปิดสอนนั้นใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์การขอเปิดสอนหลักสูตรระดับประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) ในโรงเรยี นมัธยมศึกษา สังกัดสํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
๗ การเรียนแบบสะสมหนว่ ยกติ การจดั การอาชีวศกึ ษาและฝึกอบรมวิชาชพี เป็นการจัดการศึกษาวิชาชีพใหส้ อดคล้องกบั ความต้องการของ ตลาดแรงงาน ใหส้ ามารถผลิตกําลังคนได้ตามเปูาหมายของประเทศรวมท้ังมที กั ษะฝีมือทไ่ี ด้มาตรฐาน สํานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษาจงึ เหน็ สมควรปรับปรุงรูปแบบการบริหารจดั การอาชีวศึกษาใหม้ คี วามหลากหลาย เหมาะสม เพอื่ เพิ่มโอกาสในการศึกษาด้านวชิ าชีพสาํ หรบั ประชาชนวัยเรียนและวยั ทาํ งานตามความถนัดและความสนใจ ในการเขา้ ถงึ การศกึ ษาอาชีวศกึ ษาไดง้ า่ ยมากข้ึนตอ้ งขยายวิธกี ารและกลมุ่ เปูาหมาย เพ่ือเพิม่ โอกาสใหส้ ามารถเขา้ สรู่ ะบบ การจัดการศกึ ษาอาชีวศกึ ษาไดอ้ ย่างชัดเจน ทัว่ ถึงและรวดเร็ว นบั เป็นทางเลอื กสาํ หรับประชาชนผ้สู นใจ นักเรยี นระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น (ม. ๑-๓) และระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ม. ๔-๖) ทมี่ คี วามประสงคจ์ ะเพ่ิมพูนหรอื สะสมความรู้ ทกั ษะและเตรยี มตวั ที่จะเขา้ ศกึ ษาในระดับอาชวี ศกึ ษาต่อไป การเรยี นรายวิชาสะสมหนว่ ยกติ ซ่งึ ประกอบด้วยรายวชิ าระยะสัน้ รายวชิ าเตรยี ม ปวช. และรายวชิ าเตรียม ปวส. จะเป็นแนวทางหนึง่ ในการเพิ่มโอกาสทางด้านอาชวี ศึกษาในกับผู้สนใจ นักเรียนทเี่ รียนในระดับต่ํากว่ามัธยมศกึ ษา ตอนต้นและมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ได้มโี อกาสศกึ ษาในหลกั สตู รอาชวี ศึกษาตามความถนดั และความสนใจ โดยสามารถนํา ผลการเรียนจากรายวิชาดังกลา่ ว มาขอโอนเพอื่ นบั จํานวนหนว่ ยกิตสะสมภายหลงั จากทไี่ ดส้ มัครเขา้ เรียน และขน้ึ ทะเบยี น เปน็ นักเรียนตามหลกั สูตรประกาศนยี บตั รวิชาชพี (ปวช.) หรอื เป็นนกั ศึกษาตามหลักสตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั สงู (ปวส.) กับสถานศกึ ษาในสงั กัดสาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา วสิ ัยทศั น์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ มงุ่ จัดการศึกษาสําหรบั เด็กดอ้ ยโอกาสทม่ี คี ุณภาพและมาตรฐาน พฒั นาผเู้ รียนใหเ้ ปน็ บุคคลทีม่ ีคุณธรรม จรยิ ธรรม ทักษะอาชพี และทักษะการดาํ รงชวี ิตทด่ี ีและเปน็ สถานศึกษา ต้นแบบแหล่งเรยี นร้ตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงภายในปี ๒๕๕๘ หลกั การ หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๘ ตามหลักสตู รแกนกลาง การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ มหี ลักการท่ีสําคัญ ดงั นี้ ๑. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพือ่ ความเปน็ เอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรยี นรู้เป็น เปูาหมายสาํ หรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคณุ ธรรมบนพ้ืนฐานของความเป็นไทย ควบคกู่ ับความเป็นสากล ๒. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพอ่ื ปวงชน ท่ีประชาชนทุกคนมีโอกาสไดร้ ับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมี คุณภาพ ๓. เปน็ หลักสตู รการศกึ ษาท่ีสนองการกระจายอํานาจ ให้สังคมมีสว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษาให้ สอดคล้องกบั สภาพและความตอ้ งการของท้องถ่นิ ๔. เปน็ หลักสูตรการศึกษาท่ีมีโครงสร้างยืดหยุ่นทัง้ ดา้ นสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการเรียนรู้ ๕. เป็นหลักสูตรการศกึ ษาท่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ สําคัญ ๖. เปน็ หลักสูตรการศกึ ษาสาํ หรบั การศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทกุ กล่มุ เปูาหมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์
๘ จดุ หมาย หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๘ ตามหลักสตู รแกนกลาง การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุง่ พฒั นาผ้เู รยี นให้เป็นคนดี มีปญั ญา มคี วามสุข มีศักยภาพใน การศึกษาตอ่ และประกอบอาชพี จงึ กําหนดเป็นจดุ หมายเพือ่ ให้เกิดกบั ผูเ้ รียน เมื่อจบการศึกษาตามหลักสูตร ดังนี้ ๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาท่ตี นนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๒. มคี วามรู้ ความสามารถในการสือ่ สาร การคิด การแกป้ ญั หา การใชเ้ ทคโนโลยี และมีทกั ษะชีวิต ๓. มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี มีสุขนสิ ัย และรกั การออกกําลงั กาย ๔. มคี วามรกั ชาติ มจี ติ สํานกึ ในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมัน่ ในวิถีชีวิตและการปกครองตาม ระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ ๕. มีจิตสํานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อม มีจิต สาธารณะท่มี ุ่งทําประโยชนแ์ ละสร้างส่ิงที่ดีงามในสังคม และอยู่รว่ มกันในสงั คมอยา่ งมคี วามสขุ สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น หลกั สตู รโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ พ.ศ. ๒๕๕๗ ตามหลกั สูตรแกนกลาง พ.ศ. ๒๕๕๑ มงุ่ พัฒนาผู้เรยี นใหม้ ีสมรรถนะสําคญั ๕ ประการตามเจตนารมณ์ของหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ดังนี้ ๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและสง่ สาร มีวฒั นธรรมในการใชภ้ าษา ถา่ ยทอดความคิด ความรู้ความเขา้ ใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลีย่ นข้อมูลข่าวสาร และ ประสบการณอ์ นั จะเป็นประโยชน์ตอ่ การพฒั นาตนเองและสังคม รวมทัง้ เจรจาต่อรองเพ่อื ขจดั และลดปัญหาความ ขดั แยง้ ต่าง ๆ การเลือกรับหรือไมร่ บั ขอ้ มูลข่าวสารดว้ ยหลักเหตุผล และความถกู ต้อง ตลอดจนการเลือกใชว้ ธิ กี าร ส่ือสารทม่ี ีประสิทธิภาพโดยคํานงึ ถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสงั คม ๒. ความสามารถในการคิด เปน็ ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ การคิดสงั เคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนาํ ไปสกู่ ารสรา้ งองคค์ วามร้หู รือสารสนเทศเพื่อ การตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสงั คมได้อยา่ งเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปญั หา เปน็ ความสามารถในการแก้ปญั หาและอปุ สรรคต่าง ๆ ท่เี ผชิญได้ อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสมบนพนื้ ฐานของหลักเหตผุ ล คุณธรรมและขอ้ มูลสารสนเทศ เขา้ ใจความสมั พันธแ์ ละการ เปล่ียนแปลงของเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกตค์ วามรู้มาใช้ในการปอู งกันและแกไ้ ขปัญหา และมีการตัดสนิ ใจทีม่ ีประสิทธิภาพโดยคํานึงถงึ ผลกระทบทเ่ี กดิ ขึ้นตอ่ ตนเอง สงั คมและสิ่งแวดล้อม ๔. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ เปน็ ความสามารถในการนาํ กระบวนการตา่ ง ๆ ไปใชใ้ นการ ดาํ เนนิ ชีวิตประจําวัน การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนรู้อยา่ งต่อเน่ือง การทํางานและการอยูร่ ่วมกนั ในสงั คมดว้ ย การสร้างเสรมิ ความสมั พันธ์อนั ดรี ะหวา่ งบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแยง้ ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การ ปรับตัวใหท้ ันกับการเปลยี่ นแปลงของสงั คมและสภาพแวดล้อมและการรู้จกั หลีกเลย่ี งพฤตกิ รรมไม่พงึ ประสงค์ที่ สง่ ผลกระทบต่อตนเองและผอู้ น่ื ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใชเ้ ทคโนโลยีด้าน ตา่ ง ๆ และมที กั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่อื การพฒั นาตนเองและสังคม ในดา้ นการเรยี นรู้ การสื่อสาร การทํางาน การแก้ปญั หาอย่างสรา้ งสรรค์ ถูกต้องเหมาะสมและมคี ุณธรรม
๙ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๘ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ มงุ่ พัฒนาผ้เู รียนให้มคี ุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เพ่ือใหผ้ เู้ รียนสามารถ อย่รู ว่ มกบั ผู้อื่นในสงั คมได้อย่างมคี วามสุข ในฐานะพลเมอื งไทยและพลโลกดงั น้ี ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ๒. ซ่ือสตั ยส์ ุจริต ๓. มีวินยั ๔. ใฝุเรียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. ม่งุ ม่นั ในการทํางาน ๗. รักความเปน็ ไทย ๘. มีจิตสาธารณะ
๑๐ โครงสร้างหลกั สตู รโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ โครงสรา้ งหลกั สตู รโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายประกอบด้วย โครงสร้างเวลาเรียนและโครงสรา้ งชน้ั ปี ดงั นี้ 1. โครงสรา้ งเวลาเรียน เปน็ โครงสรา้ งท่ีแสดงรายละเอียดในภาพรวม เวลาเรยี นของกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลมุ่ สาระ ใชเ้ ป็นเวลาเรยี นพืน้ ฐาน เวลาเรยี นเพ่มิ เตมิ และเวลาในการจัดกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น จาํ แนกแต่ละช้นั ปี โครงสรา้ งเวลาเรยี นระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย กลุ่มสาระการเรียนรู้ / กิจกรรม เวลาเรียน ม.๔ ม.๕ ม.๖ รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ๘๐ ๘๐ ๘๐ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ สงั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ ๘๐ ๘๐ ๘๐ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ภาษาอังกฤษ ๔๐ ๔๐ - รวมรายวิชาพ้ืนฐานท้ังหมด ๔๐ ๔๐ ๔๐ รายวชิ าเพ่ิมเติม กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑. กจิ กรรมแนะแนว ๒. กิจกรรมนักเรยี น ๔๐ ๔๐ ๔๐ - ชุมนุม/ นศท./ ผูบ้ ําเพญ็ ประโยชน์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๓. กิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ ๕๖๐ ๕๖๐ ๕๒๐ รวมกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ๑,๖๔๐ ช่ัวโมง ไมเ่ กินกวา่ ๑,๖๐๐ ชวั่ โมง ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๓๖๐ ชว่ั โมง
๑๑ โครงสรา้ งหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และ โครงสร้างหลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) พุทธศกั ราช ๒๕๕๖ หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน โครงสร้างหลักสตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๖ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ า หนว่ ยกิต รายวิชา หนว่ ยกิต ๑.รายวชิ าพื้นฐาน ๔๑ นก. ๑.หมวดวชิ าทักษะชีวติ ไม่น้อยกว่า ๒๒ นก. ๑.๑ ภาษาไทย ๖ นก. ๑.๑ กลุ่มวิชาภาษาไทย ไมน่ อ้ ยกวา่ ๓ นก. ๑.๒ ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ๖ นก. ๑.๒ กลุ่มวชิ าภาษาต่างประเทศ ไม่น้อยกว่า ๖ นก. ๑.๓ วิทยาศาสตร์ ๖ นก. ๑.๓ กลุ่มวิชาวทิ ยาศาสตร์ ไม่นอ้ ยกวา่ ๔ นก. ๑.๔ คณติ ศาสตร์ ๖ นก. ๑.๔ กลุ่มวชิ าคณิตศาสตร์ ไมน่ ้อยกว่า ๔ นก. ๑.๕ สงั คมศึกษาฯ ๘ นก. ๑.๕ กลมุ่ วิชาสังคมศกึ ษา ไม่นอ้ ยกว่า ๓ นก. ๑.๖ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๓ นก. ๑.๖ กลมุ่ วชิ าสขุ ศึกษาและพลศึกษา ไม่น้อยกว่า ๒ นก. ๑.๗ ศลิ ปศึกษา ๓ นก. ๑.๘ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๓ นก. ๒.รายวิชาเพิม่ เติม ไม่เกนิ กวา่ ๔๐ นก. ๒.หมวดวิชาทักษะวชิ าชีพ ไม่น้อยกว่า ๗๑ นก. ๒.๑ กล่มุ ทักษะวชิ าชพี พื้นฐาน ไม่น้อยกวา่ ๑๘ นก. ๒.๒ กลุ่มทกั ษะวิชาชพี เฉพาะ ๒๔ นก. ๒.๓ กลุม่ ทักษะวชิ าชีพเลอื ก ไมน่ ้อยกว่า ๒๑ นก. ๒.๔ ฝกึ ประสบการณท์ ักษะวิชาชพี ๔ นก. ๒.๕ โครงการพัฒนาทักษะวชิ าชีพ ๔ นก. ๓.หมวดวชิ าเลือกเสรี ไม่นอ้ ยกว่า ๑๐ นก. ๓.กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น ๓๖๐ ชว่ั โมง ๔.กิจกรรมเสรมิ หลักสูตร ๒ ชว่ั โมงต่อสปั ดาห์ รวม ไม่นอ้ ยกวา่ ๘๑ นก. รวม ไม่นอ้ ยกว่า ๑๐๓ นก.
๑๒ โครงสร้าง หลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศกั ราช ๒๕๕๘ ประเภทวิชาพาณชิ ยกรรม สาขา วิชาบญั ชี ผู้สําเร็จการศึกษาตามหลกั สูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.) พุทธศกั ราช ๒๕๕๘ ประเภทวชิ า พาณชิ ยกรรม สาขา วิชาบัญชี จะตอ้ งศกึ ษารายวิชาจากหมวดวิชาตา่ งๆ ไม่น้อยกวา่ ๑๐๓ หนว่ ยกิต ดงั โครงสร้างตอ่ ไปนี้ ๑.หมวดวชิ าทักษะชีวติ ไมน่ อ้ ยกว่า 22 หนว่ ยกติ ๑.๑ กลุ่มวชิ าภาษาไทย (ไมน่ ้อยกวา่ 3 หน่วยกิต) ๑.๒ กล่มุ วชิ าภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) (ไม่น้อยกวา่ ๖ หนว่ ยกิต) ๑.๓ กลุ่มวชิ าวทิ ยาศาสตร์ (ไม่น้อยกวา่ 4 หน่วยกิต) ๑.๔ กลมุ่ วชิ าคณิตศาสตร์ (ไมน่ ้อยกวา่ 4 หนว่ ยกิต) ๑.๕ กลุ่มวชิ าสงั คมศึกษาฯ (ไม่น้อยกวา่ 3 หน่วยกติ ) ๑.๖ กล่มุ วชิ าสุขศกึ ษาและพลศึกษา (ไม่นอ้ ยกวา่ 2 หนว่ ยกติ ) ๒.หมวดวชิ าทักษะวิชาชพี ไมน่ อ้ ยกวา่ 71 นก. ๒.๑ กลุ่มทกั ษะวิชาชพี พืน้ ฐาน ( ๑๘ หน่วยกติ ) ๒.๒ กล่มุ ทกั ษะวชิ าชีพเฉพาะ (๒๔ หนว่ ยกติ ) ๒.๓ กลุ่มทักษะวิชาเลอื ก (ไม่นอ้ ยกวา่ ๒๑ หน่วยกิต) ๒.๔ ฝึกประสบการณ์ทกั ษะวิชาชพี ( 4 หน่วยกิต ) 2.5 โครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชพี ( 4 หน่วยกิต ) 3.หมวดวชิ าเลอื กเสรี ไม่น้อยกว่า ๑๐ หน่วยกติ ๓.กจิ กรรมเสริมหลักสูตร (2 ชวั่ โมง/สปั ดาห)์ รวมไม่น้อยกวา่ ไมน่ ้อยกว่า 103 นก.
1. หมวดวชิ าทกั ษะชวี ติ ๑๓ ไมนอยกวา 22 หนวยกิต ใหเรยี นรายวชิ าลําดับแรกของกลุมวชิ าหรือตามท่กี ลุมวชิ ากําหนดและเลอื กเรยี นรายวิชา สวนท่เี หลือตามท่กี ําหนดในแตละกลมุ วิชาใหสอดคลองหรอื สมั พันธกบั สาขาวิชาทเี่ รียนอกี รวมไม นอยกวา 22 หนวยกติ 1.1กลมุ วชิ าภาษาไทย (ไมน้อยกวา 3 หนวยกติ ) รหสั วชิ า ชอื่ วชิ า ท-ป-น 2000-1101 ภาษาไทยพ้นื ฐาน 2-0-2 2000-1102 ภาษาไทยเพื่ออาชีพ 1-0-1 2000-1103 ภาษาไทยธุรกจิ 1-0-1 2000-1104 การพดู ในงานอาชีพ 1-0-1 2000-1105 การเขยี นในงานอาชีพ 1-0-1 2000-1106 ภาษาไทยเชิงสรางสรรค 1-0–1 2000*1101 ถึง 2000*1199 รายวชิ าในกลุ่มวิชาภาษาไทยทสี่ ถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา * - * - * หรอื สถาบันพัฒนาเพิ่มเตมิ 1.2กลมุ วิชาภาษาตางประเทศ (ไมนอยกวา 6 หนวยกติ ) รหัสวิชา ช่อื วชิ า ท-ป-น 2000-1201 ภาษาอังกฤษในชีวิตจริง 1 2-0–2 2000-1202 ภาษาองั กฤษในชีวติ จริง 2 2-0-2 2000-1203 ภาษาอังกฤษฟัง – พดู 1 0-2-1 2000-1204 ภาษาอังกฤษฟัง– พดู 2 0-2-1 2000-1205 การอานส่อื สิ่งพมิ พในชิวีตประจําวนั 0-2-1 2000-1206 การเขียนในชิวีตประจําวัน 0-2-1 2000-1208 ภาษาอังกฤษสําหรบั งานพาณชิ ย 0-2-1 2000-1209 การโตตอบจดหมายธรุ กจิ 0-2-1 2000-1219 ภาษาองั กฤษสําหรับงานบัญชี 0-2–1 2000*1201 ถงึ 2000*1299 รายวิชาในกลมุ่ วชิ าภาษาตางประเทศทสี่ ถานศกึ ษาอาชีวศกี ษา * - * - * หรอื สถาบนั พัฒนาเพิ่มเติม
๑๔ 1.3 กลมุ วชิ าวิทยาศาสตร (ไมน่ ้อยกว่า 4 หนวยกติ ) รหัสวิชา ชื่อวิชา ท-ป-น 2000-1301 วิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาทักษะชวี ิต 1-2-2 2000-1303 วทิ ยาศาสตรเพื่อพัฒนาอาชพธี รุ กจิ และบริการ 1-2-2 2000-1306 โครงงานวิทยาศาสตร 0-2–1 2000*1301 ถงึ 2000*1399 รายวิชาในกลมุ่ วชิ าวทิ ยาศาสตรที่สถานศึกษาอาชวี ศึกษา* - * - * หรอื สถาบันพฒั นาเพ่ิมเติม 1.4กลมุ วชิ าคณติ ศาสตร (ไมน่ ้อยกว่า 4 หนว่ ยกติ ) รหสั วิชา ชอ่ื วชิ า ท-ป-น 2000-1401 คณติ ศาสตรพื้นฐาน 2-0-2 2000-1402 คณิตศาสตรพนื้ ฐานอาชีพ 2-0-2 2000-1406 คณิตศาสตรพาณชิ ยกรรม 2-0-2 2000*1401 ถงึ 2000*1499 รายวชิ าในกลมุ่ วิชาคณติ ศาสตรท่สี ถานศกึ ษาอาชีวศึกษา* - * - * หรอื สถาบันพัฒนาเพ่มิ เติม 1.5กลมุ วชิ าสงั คมศกึ ษา (ไมนอยกวา 3 หน่วยกติ ) รหสั วชิ า ชอ่ื วชิ า ท-ป-น 2000-1501 หนาทีพ่ ลเมอื งและศีลธรรม 2-0-2 2000-1502 ทกั ษะชีวติ และสังคม 2-0-2 2000-1503 ภมู ิศาสตรและประวตั ิศาสตร์ไทย 2-0-2 2000-1504 อาเซียนศึกษา 1-0-1 2000-1505 เหตกุ ารณปจจุบัน 1-0-1 2000-1506 วัฒนธรรมอาเซียน 1-0–1 2000*1501 ถึง 2000*1599 รายวชิ าในกลุ่มวิชาสงั คมศกึ ษาท่ีสถานศึกษาอาชีวศึกษา* - * - * หรอื สถาบันพัฒนาเพม่ิ เติม
๑๕ 1.6 กลมุ วิชาสุขศกษาและพลศกึ ษา (ไมนอยกวา 2 หนวยกิต) ใหเลือกเรยี นรายวิชาในกลุมสขุ ศึกษาและกลุมพลศกึ ษารวมกันไมนอยกวา 2 หนวยกิต หรอื เลือกเรยี นรายวิชาในกลุมบรู ณาการ 1.6.1 กลมุ พลศกึ ษา รหสั วิชา ชอื่ วิชา ท-ป-น 2000-1601 พลศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาสขุ ภาพ 0-2-1 2000-1602 ทักษะชีวิตในการพฒั นาสุขภาพ 0-2–1 2000-1603 การออกกําลังกายเพื่อเสรมิ สรางสมรรถภาพในการทาํ งาน 1- 2 - 1 2000-1604 การปองกันตนเองจากภัยสังคม 0-2-1 2000-1605 พลศึกษาเพื่อพัฒนากายภาพเฉพาะทาง 0-2-1 1.6.2 กลุมสุขศกึ ษา รหัสวิชา ช่อื วิชา ท-ป-น 2000-1606 การจดั ระเบยี บชวี ติ เพอ่ื ความสขุ 1-0-1 2000-1607 เพศวิถีศึกษา 1-0-1 2000-1608 สงิ่ เสพติดศึกษา 1-0-1 1.6.2 กลมุ บรู ณาการ รหัสวิชา ชื่อวชิ า ท-ป-น 2000-1609 ทักษะการพฒั นาพฤติกรรมสุขภาพ 1-2-2 2000-1610 การพฒั นาคุณภาพชวี ติ 1-2–2 2000*1601 ถงึ 2000*1699 รายวชิ าในกล่มุ วชิ าสขุ ศึกษาและพลศึกษา *-*-* ทีส่ ถานศึกษาอาชวี ศึกษาหรอสถาบันพัฒนาเพ่มิ เติม
๑๖ 2. หมวดวิชาสมรรถนะวชิ าชพี ไมนอยกวา 71 หนวยกติ 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพ้นื ฐาน (21 หนวยกิต) ใหเรียนรายวิชาตอไปน้ี รหสั วชิ า ช่ือวชิ า ท-ป-น 20001-1001 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 2-0-2 20001-1002 พลงั งาน ทรพั ยากรและสิ่งแวดลอ้ ม 2-0-2 20001-1003 ธุรกิจและการเปน็ ผ้ปู ระกอบการ 1-2-2 20001-1005 กฎหมายพาณชิ ย์ 2-0-2 20001–2001 คอมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศเพอื่ งานอาชพี 1-2-2 20200-1001 เศรษฐศาสตรเ์ บ้อื งต้น 2-0-2 20200-1002 การบัญชเี บือ้ งต้น 2-2-3 20200-1003 การขายเบือ้ งต้น 1-2-2 20200-1004 พิมพไ์ ทยเบื้องต้น 0-4-2 20200-1005 พมิ พ์องั กฤษเบอ้ื งต้น 0-4-2 2.2 กลุ่มสมรรถนะวชิ าชีพเฉพาะ ( 24 หน่วยกิต) ให้เรียนรายวชิ าตอ่ ไปนี้ รหสั วชิ า ช่ือวิชา ท-ป-น 20201-2001 การบญั ชธี รุ กิจซ้อื ขายสนิ ค้า 1-4-3 20201-2002 การบญั ชหี ้างหุ้นสว่ น 1-4-3 20201-2003 การบัญชีบรษิ ัทจํากดั 1-4-3 20201-2004 การบญั ชีอตุ สาหกรรม 1-4-3 20201-2005 การบัญชภี าษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดา 1-4-3 20201-2006 การบญั ชีภาษีเงนิ ได้นิตบิ ุคคล 1-4-3 20201-2007 การใช้คอมพวิ เตอร์ในงานบัญชี 1-4-3 20201-2008 กระบวนการจดั ทําบญั ชี 1-4-3 หลักสตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพ พทุ ธศกั ราช 2562 ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาการบญั ชี 2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชพี เลือก (ไม่นอ้ ยกว่า 18 หนว่ ยกิต) ใหเ้ ลือกเรียนรายวชิ าดังต่อไปนีจ้ นครบหนว่ ยกติ ทีก่ ําหนด 2.3.1 สาขางานการบัญชี รหสั วิชา ชือ่ วิชา ท-ป-น 20201-2101 การบญั ชสี นิ ค้าและระบบใบสาํ คัญ 1-4–3 20201-2102 การบัญชีต๋ัวเงิน 1-4-3 20201-2104 การบญั ชีรว่ มค้าและฝากขาย 2-2-3 20201-2106 การประยกุ ต์โปรแกรมตารางงานเพือ่ งานบญั ชี 1-4-3 20201-2107 การบญั ชีปฏิบัติการภาษาองั กฤษ 2-2-3 20201-2108 การบญั ชสี หกรณ์ 2-2-3 2.4 ฝึกประสบการณส์ มรรถนะวิชาชีพ (4 หน่วยกิต) ใหเ้ ลือกเรียนรายวชิ า 20201-8001 จาํ นวน 4 หนว่ ยกติ หรือรายวิชา 20201-8002 และ 20201-8003 รวม 4 หน่วยกติ รหัสวิชา ช่ือวิชา ท-ป-น 20201-8001 ฝกึ งาน *-*-4
๑๗ 2.5 โครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ (4 หนว่ ยกติ ) ให้เลอื กเรยี นรายวิชา 20201-8501 จํานวน 4 หน่วยกติ หรอื รายวิชา 20201-8502 และ 20201-8503 รวม 4 หนว่ ยกติ รหัสวชิ า ช่ือวชิ า ท-ป-น 20201-8501 โครงงาน *-*-4 3. หมวดวชิ าเลือกเสรี ไม่นอ้ ยกว่า 10 หนว่ ยกติ ให้เลอื กเรียนตามความถนัดและความสนใจจากรายวิชาในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศกั ราช 2562 ทุกประเภทวิชาและสาขาวิชา รหัสวชิ า ช่ือวชิ า ท-ป-น 20203-2004 การใช้เคร่ืองใช้สาํ นักงาน 1-2-2 20203-2107 การพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ 1-2-2 20204-2104 โปรแกรมนาํ เสนอ 2-2-3 20203-2004 งานสารบรรณ 1-2-2 20203-2101 พิมพ์ไทยข้ันพัฒนา 1-2-2 ใหเลอื กเรยี นตามความถนดั และความสนใจจากรายวชิ าที่กําหนดหรอื เลอื กเรยี นจากรายวิชา ใน หลักสตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพ พทุ ธศักราช 2562 ทุกประเภทวิชา สาขาวชิ า ทั้งน้ีสถานศึกษา อาชวี ศึกษา หรือสถาบันสามารถพฒั นารายวิชาเพมิ่ เตมิ ในหมวดวชิ าเลอื กเสรีไดตามบริบทและความ ตองการของชมุ ชน และทองถน่ิ สําหรับการจัดการศึกษาระบบทวภิ าคีไมนอยกวา 21 หนวยกิต นน้ั ใหสถานศึกษารวมกับ สถานประกอบการวิเคราะหลกั ษณะงานของสถานประกอบการ เพื่อกาํ หนดจํานวนหนวยกติ และ รายละเอียดของ แตละรายวชิ ารวมท้ังการจัดทาํ แผนการฝกอาชีพ การวดั และการประเมนิ ผลรายวชิ า โดยใหใชเวลาฝกใน สถานประกอบการไมนอยกวา 54 ชว่ั โมง มีคาเทากบั 1 หนวยกิต 4. กิจกรรมเสริมหลกั สตู ร (2 ชัว่ โมงตอสัปดาห รหสั วชิ า ชอ่ื วิชา ท - ป- น 2000-2001 กจิ กรรมลูกเสือวสิ ามญั 1 0-2-0 2000-2002 กิจกรรมลูกเสือวิสามัญ 2 0-2-0 20000-2007 กจิ กรรมสง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม 0–2-0 2000*2001 ถึง 2000*20XX กิจกรรมนกั ศึกษาวชิ าทหาร / กจิ กรรมที่สถานศึกษา 0 - 2 – 0
๑๘ โครงสรา้ งเวลาเรียนระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวช.) สาขาบัญชี กลุม่ สาระการเรียนรู้ / กจิ กรรม เวลาเรียน ปวช.๑ ปวช.๒ ปวช.๓ รายวิชาพืน้ ฐาน ภาษาไทย ๘๐ ๘๐ ๘๐ คณติ ศาสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ วิทยาศาสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ สังคมศกึ ษาฯ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ประวัตศิ าสตร์ ๔๐ ๔๐ ๔๐ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ศลิ ปศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ภาษาอังกฤษ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๕๖๐ ๕๖๐ ๕๖๐ รวมรายวิชาพน้ื ฐานทง้ั หมด รายวิชาเพ่ิมเติม ๑,๖๘๐ ชว่ั โมง หนา้ ท่ีพลเมือง ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ รวมรายวิชาเพ่ิมเติม กลมุ่ วชิ าเลือก (พาณชิ ยกรรม) ไม่เกินกวา่ ๑,๖๐๐ ชว่ั โมง อาชวี อนามัยและความปลอดภัย พลงั งานทรพั ยากรและสงิ่ แวดลอ้ ม 40 เศรษฐศาสตรเ์ บื้องต้น 40 การบัญชีเบ้อื งต้น 40 พมิ พอ์ ังกฤษเบ้ืองตน้ 80 คอมพิวเตอรแ์ ละสารสนเทศเพ่อื งานอาชพี 80 การขายเบือ้ งต้น 60 พมิ พ์ไทยเบอ้ื งต้น 60 กฎหมายพาณชิ ย์ 80 การบญั ชหี ้างหนุ้ ส่วน 40 การบญั ชธี รุ กิจซือ้ ขายสนิ ค้า 100 การใชเ้ คร่อื งใช้สํานักงาน 100 การบญั ชีภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดา 60 การใช้คอมพิวเตอร์ในงานบญั ชี 100 100
กล่มุ สาระการเรียนรู้ / กิจกรรม ปวช.๑ เวลาเรยี น ๑๙ ปวช.๒ การบญั ชีสินคา้ และระบบใบสาํ คัญ 780 100 ปวช.๓ การบญั ชปี ฏิบตั กิ ารภาษาองั กฤษ ๔๐ 80 การบญั ชบี รษิ ัทจาํ กัด ๔๐ 100 60 การบญั ชีภาษีเงนิ ไดน้ ติ บิ คุ คล ๔๐ 100 60 การบัญชีสหกรณ์ ๑๒๐ 80 320 การบญั ชีตัว๋ เงนิ 100 80 ธุรกจิ และการเปน็ ผู้ประกอบการ 100 การพัฒนาบคุ ลิกภาพ 760 80 ฝึกงาน 2,64๐ 100 โปรแกรมนําเสนอ 60 กระบวนการจดั ทําบญั ชี ๔๐ 80 โครงงาน ๔๐ 100 การบัญชอี ุตสาหกรรม ๔๐ 60 งานสารบรรณ ๑๒๐ 1,100 การบญั ชีร่วมคา้ และฝากขาย ๓๖๐ ชั่วโมง การประยกุ ต์โปรแกรมตารางงานเพ่ืองานบญั ชี ๔๐ พมิ พไ์ ทยขน้ั พฒั นา ๔๐ รวมวิชาเลือก ๔๐ กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น ๑๒๐ ๑. กจิ กรรมแนะแนว ๒. กิจกรรมนักเรียน - ชุมนุม/ นศท./ ผู้บําเพ็ญประโยชน์ ๓. กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ รวมกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น
๒๐ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ อาเภอแมแ่ จม่ จงั หวัดเชียงใหม่ โครงสร้างรายวิชาทเ่ี ปิดสอนสาหรับนกั เรยี นรายวชิ า ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๔ (สาขาบญั ชี) ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ หมายเหตุ รหัสวิชา รายวชิ า นน./นก ชม.ทสี่ อน/ รหสั วชิ า รายวชิ า นน./นก ชม.ทส่ี อน/ สปั ดาห์ สัปดาห์ กลมุ่ รายวิชาพนื้ ฐาน ๒ ๒ ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐(๖๐) ๒ ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๐(๖๐) ๒ ๑.๐(๖๐) ๒ ๑.๐(๖๐) ๒ ค๓๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ๒ ค๓๑๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ๒ ๑.๐(๔๐) ๑ ๑.๐(๔๐) ๑ ว๓๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๐.๕(๒๐) ๑ ว๓๑๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ ๐.๕(๒๐) ๑ ๐.๕(๒๐) ๑ ๐.๕(๒๐) ๑ ส๓๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษาฯ ๐.๕(๒๐) ส๓๑๑๐๓ สังคมศกึ ษาฯ ๐.๕(๒๐) ๑ ๑ ส๓๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๐.๕(๒๐) ส๓๑๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๐.๕(๒๐) ๒ ๒ พ๓๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษาพลศกึ ษา ๑.๐(๔๐) พ๓๑๑๐๒ สขุ ศึกษาพลศึกษา ๑.๐(๔๐) ๑๔ ๑๔ ศ๓๑๑๐๑ ศลิ ปศึกษา ๗.๐(๓๔๐) ศ๓๑๑๐๒ ศิลปศึกษา ๗.๐(๓๔๐) ๑ ๑ ง๓๑๑๐๑ การงานอาชพี และ ๐.๕(๒๐) ง๓๑๑๐๒ การงานอาชพี และ ๐.๕(๒๐) เทคโนโลยี เทคโนโลยี อ๓๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ อ๓๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ รวมกลุ่มรายวิชาพ้ืนฐาน รวมกลุ่มรายวชิ าพ้ืนฐาน กลุ่มรายวิชาเพิ่มเติม หน้าทีพ่ ลเมือง หน้าท่ีพลเมือง อาชีวอนามัยและความ 1(40) 2 พมิ พ์ไทยเบื้องตน้ 2(80) 4 ปลอดภัย พลังงานทรัพยากรและ 1(40) 2 กฎหมายพาณชิ ย์ 1(40) 2 สิง่ แวดลอ้ ม 1(40) 2 2.5(100) 5 เศรษฐศาสตร์เบือ้ งต้น 2(80) 4 การบญั ชีห้างหุ้นส่วน 2.5(100) 5 2(80) 4 การบญั ชธี รุ กจิ ซ้ือขาย 1.5(60) 3 การบัญชเี บอื้ งตน้ 1.5(60) 3 สนิ คา้ 4 1.5(60) 3 การใช้เครื่องใชส้ ํานกั งาน 2(80) พมิ พ์องั กฤษเบื้องตน้ 10(400) 20 19 คอมพิวเตอร์และ พมิ พ์ไทยเบ้ืองตน้ สารสนเทศเพอื่ งานอาชพี (๒๐) การขายเบือ้ งตน้ (๒๐) รวมกลุ่มวิชาเลอื ก 9.5(380) รวมกลุม่ วชิ าเลอื ก (๒๐) กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน (๖๐) ๑.กจิ กรรมแนะแนว ๒.กจิ กรรมนักเรยี น -ชมุ นมุ /นศท./ผบู้ าํ เพ็ญประโยชน์ ๓.กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน รวมท้งั หมด
๒๑ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ อาเภอแม่แจม่ จงั หวดั เชยี งใหม่ โครงสร้างรายวิชาทีเ่ ปิดสอนสาหรับนกั เรยี นรายวิชา ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๕ (สาขาบัญช)ี ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๒ หมายเหตุ รหัสวิชา รายวชิ า นน./นก ชม.ทีส่ อน/ รหสั วชิ า รายวิชา นน./นก ชม.ที่ สัปดาห์ สอน/ สปั ดาห์ กลุ่มรายวิชาพนื้ ฐาน ๒ ท๓๒๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐(๖๐) ๒ ท๓๒๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๐(๖๐) ๒ ค๓๒๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ๒ ค๓๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ๒ ว๓๒๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ๒ ส๓๒๑๐๓ สังคมศึกษาฯ ๑.๐(๔๐) ๑ ว๓๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ๒ ส๓๒๑๐๔ ประวตั ศิ าสตร์ ๐.๕(๒๐) ๑ พ๓๒๑๐๒ สุขศกึ ษาพลศกึ ษา ๐.๕(๒๐) ๑ ส๓๒๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๑.๐(๔๐) ๒ ศ๓๒๑๐๒ ศิลปศึกษา ๐.๕(๒๐) ๑ ๐.๕(๒๐) ๒ ส๓๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๐.๕(๒๐) ๑ ๑.๐(๔๐) ๑๔ พ๓๒๑๐๑ สุขศึกษาพลศกึ ษา ๐.๕(๒๐) ๑ ๗.๐(๓๔๐) ๑ ศ๓๒๑๐๑ ศลิ ปศึกษา ๐.๕(๒๐) ๑ ๐.๕(๒๐) 5 ง๓๒๑๐๑ การงานอาชพี และ ๐.๕(๒๐) ๑ ง๓๒๑๐๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2.5(100) เทคโนโลยี 5 2.5(100) อ๓๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑.๐(๔๐) ๒ อ๓๒๑๐๒ ภาษาองั กฤษ 4 2(80) รวมกลุ่มรายวิชาพนื้ ฐาน ๗.๐(๓๔๐) ๑๔ รวมกลุ่มรายวชิ าพนื้ ฐาน 5 2.5(100) กลุ่มรายวิชาเพ่มิ เติม 9.5(380) 19 หน้าทพี่ ลเมือง ๐.๕(๒๐) ๑ ส๓๒๒๐๕ หนา้ ท่ีพลเมอื ง (๒๐) (๒๐) กลมุ่ วชิ าเลือก (พาณิชยกรรม) เรียนรว่ ม ปวช.สาขาการบญั ชี (๒๐) การบญั ชีภาษเี งินได้ 2.5(100) 5 การบญั ชบี รษิ ทั จาํ กัด บุคคลธรรมดา (๖๐) การบัญชีภาษีเงินไดน้ ติ บิ คุ คล การใช้คอมพวิ เตอร์ใน 2.5(100) 5 งานบัญชี การบญั ชีสหกรณ์ การบัญชสี นิ คา้ และ 2.5(100) 5 การบญั ชีต๋ัวเงนิ ระบบใบสําคญั รวมกลุ่มวชิ าเลือก การบัญชีปฏิบัติการ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ภาษาอังกฤษ 2(80) 4 ๑.กิจกรรมแนะแนว ๒.กจิ กรรมนกั เรียน รวมกลุ่มวชิ าเลือก 9.5(380) 19 -ชุมนุม/นศท./ผ้บู ําเพ็ญประโยชน์ ๓.กิจกรรมเพ่ือสงั คมและ กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น สาธารณประโยชน์ ๑.กิจกรรมแนะแนว (๒๐) รวมกิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน รวมทั้งหมด ๒.กิจกรรมนักเรียน (๒๐) -ชมุ นุม/นศท./ผู้บาํ เพ็ญประโยชน์ ๓.กิจกรรมเพ่ือสังคมและ (๒๐) สาธารณประโยชน์ รวมกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน (๖๐) รวมทงั้ หมด
๒๒ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ อาเภอแมแ่ จ่ม จงั หวัดเชียงใหม่ โครงสรา้ งรายวชิ าที่เปิดสอนสาหรบั นกั เรยี นรายวชิ า ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๖ (สาขาบัญชี) ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ หมาย เหตุ ชม.ที่ ชม.ท่ี สอน/ รหัสวิชา รายวิชา นน./นก สอน/ รหสั วชิ า รายวิชา นน./นก สปั ดาห์ สปั ดาห์ ๒ ๒ กลุ่มรายวิชาพ้นื ฐาน ๒ ๒ ท๓๓๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐(๖๐) ๒ ภาษาไทย ๑.๐(๖๐) ๑ คณิตศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ๑ ค๓๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ๒ วิทยาศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ๑ สงั คมศกึ ษาฯ ๑.๐(๔๐) ๑ ว๓๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ๒ ประวตั ิศาสตร์ ๐.๕(๒๐) ๒ สุขศกึ ษาพลศึกษา ๐.๕(๒๐) ส๓๓๑๐๑ สังคมศกึ ษาฯ ๑.๐(๔๐) ๒ ศิลปศึกษา ๐.๕(๒๐) ๑๔ การงานอาชีพและ ส๓๓๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๐.๕(๒๐) ๑ เทคโนโลยี ๐.๕(๒๐) ๑ ภาษาองั กฤษ พ๓๓๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๐.๕(๒๐) ๑ ๑.๐(๔๐) 5 รวมกลมุ่ รายวิชาพ้ืนฐาน 3 ศ๓๓๑๐๑ ศิลปศกึ ษา ๐.๕(๒๐) ๑ ๗.๐(๓๔๐) 4 หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง ง๓๓๑๐๑ การงานอาชพี และ ๐.๕(๒๐) ๑ ๐.๕(๒๐) 5 เทคโนโลยี 3 อ๓๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑.๐(๔๐) ๒ 20 รวมกลุม่ รายวิชาพน้ื ฐาน ๗.๐(๓๔๐) ๑๔ กลมุ่ รายวชิ าเพมิ่ เติม หนา้ ทพ่ี ลเมือง ๐.๕(๒๐) ๑ กลุ่มวชิ าเลือก (พาณชิ ยกรรม) เรียนรว่ ม ปวช.สาขาการบญั ชี ธรุ กจิ และการเป็น 1.5(6๐) 3 การบัญชอี ตุ สาหกรรม 2.5(10๐) ผปู้ ระกอบการ 1.5(6๐) งานสารบรรณ 2(8๐) การพัฒนาบุคลกิ ภาพ 1.5(6๐) 3 การบัญชีรว่ มค้าและฝาก 2.5(10๐) ขาย 1.5(6๐) ฝึกงาน 4.0(8๐) 4 การประยกุ ต์โปรแกรม 10(400) ตารางงานเพือ่ งานบัญชี โปรแกรมนําเสนอ 2(6๐) 4 พิมพไ์ ทยข้ันพฒั นา (๒๐) (๒๐) กระบวนการจัดทาํ บัญชี 2.5(10๐) 5 รวมกลมุ่ วิชาเลอื ก โครงการ 2(8๐) 4 (๒๐) รวมกลุ่มวิชาเลอื ก 23 กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน 13.5(460) (๖๐) กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น ๑.กิจกรรมแนะแนว (๒๐) ๒.กจิ กรรมนักเรียน ๑.กจิ กรรมแนะแนว (๒๐) -ชุมนุม/นศท./ผ้บู าํ เพญ็ ๒.กจิ กรรมนกั เรียน ประโยชน์ -ชุมนมุ /นศท./ผบู้ าํ เพ็ญประโยชน์ ๓.กจิ กรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ ๓.กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ (๒๐) รวมกิจกรรมพัฒนา รวมกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน (๖๐) ผเู้ รยี น รวมทง้ั หมด รวมทั้งหมด
๒๓ โครงสร้าง หลักสตู รมัธยมศกึ ษาตอนปลาย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๘ ผู้สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย พุทธศกั ราช ๒๕๕๘ จะต้องศึกษา รายวชิ าจากหมวดวชิ าตา่ งๆ ตามกล่มุ สาระการ เรียนรู้ ๘ กลมุ่ สาระการเรยี นรรู้ วม ๓ ปี จํานวน ๑,๖๔๐ ชัว่ โมง (๔๑ หน่วยกติ ) กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ๓๖๐ ชัว่ โมง และรายวชิ า/กจิ กรรมทสี่ ถานศกึ ษาจดั เพิ่มเติมตาม ความพร้อมและจุดเนน้ ปลี ะไม่นอ้ ยกวา่ ๑,๖๐๐ ช่ัวโมง (๔๐หน่วยกติ ) รวม ๓ ปไี ม่น้อยกวา่ ๓,๖๐๐ ชว่ั โมง ดังโครงสรา้ งต่อไปนี้ ๑.รายวิชาพ้นื ฐาน ไม่น้อยกวา่ ๔๑ หน่วยกิต ๑.๑ กลมุ่ วชิ าภาษาไทย (ไมน่ ้อยกวา่ ๖ หน่วยกิต) ๑.๒ กลุม่ วิชาภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) (ไม่นอ้ ยกวา่ ๖ หนว่ ยกติ ) ๑.๓ กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ (ไม่น้อยกวา่ ๖ หน่วยกิต) ๑.๔ กลุ่มวชิ าคณิตศาสตร์ (ไม่นอ้ ยกว่า ๖ หนว่ ยกิต) ๑.๕ กลุ่มวิชาสงั คมศึกษาฯ (ไม่นอ้ ยกว่า ๘ หนว่ ยกติ ) ๑.๖ กลุ่มวิชาสุขศกึ ษาและพลศกึ ษา (ไมน่ อ้ ยกวา่ ๓ หนว่ ยกิต) ๑.๗ กลุ่มวชิ าศิลปศึกษา (ไม่นอ้ ยกวา่ ๓ หนว่ ยกติ ) ๑.๘ กลุ่มวชิ าการงานอาชพี และเทคโนโลยี (ไม่นอ้ ยกว่า ๓ หนว่ ยกติ ) ๒.รายวชิ าเพม่ิ เติม ไมน่ อ้ ยกว่า ๔๐ นก. ๓.กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น (๓๖๐ ชั่วโมง) รวมไม่น้อยกวา่ ๘๑ นก. ๑.รายวิชาพ้นื ฐาน ไมน่ อ้ ยกวา่ ๔๑ หนว่ ยกิต ใหเ้ รียนรายวชิ าลาํ ดบั แรกของกลมุ่ วิชา หรือตามท่ีกลุม่ วชิ ากาํ หนด และเรยี นรายวชิ าสว่ นทเ่ี หลือตามท่ี กาํ หนดในแตล่ ะกลมุ่ วิชา ให้สอดคล้องหรอื สมั พันธก์ บั สาขาวิชาทเี่ รยี นอกี รวมไมน่ ้อยกวา่ ๔๑ หน่วยกิต ๑.๑ ภาษาไทย (ไม่นอ้ ยกวา่ ๖ หนว่ ยกิต) รหสั วชิ า ชอื่ วชิ า หน่วยกิต ๑.๐(๖๐) ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐(๖๐) ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๐(๖๐) ๑.๐(๖๐) ท๓๒๑๐๑ ภาษาไทย ๑.๐(๖๐) ท๓๒๑๐๒ ภาษาไทย ๑.๐(๖๐) ท๓๓๑๐๑ ภาษาไทย ภาษาไทย
๒๔ ๑.๒ กลมุ่ วิชาภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) (ไม่นอ้ ยกวา่ ๖ หน่วยกติ ) รหสั วิชา ชอื่ วชิ า หน่วยกติ ๑.๐(๔๐) อ๓๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑.๐(๔๐) ๑.๐(๔๐) อ๓๑๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๑.๐(๔๐) ๑.๐(๔๐) อ๓๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑.๐(๔๐) อ๓๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ หนว่ ยกติ ๑.๐(๖๐) อ๓๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑.๐(๖๐) ๑.๐(๖๐) ภาษาองั กฤษ ๑.๐(๖๐) ๑.๐(๖๐) ๑.๓ วทิ ยาศาสตร์ (ไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกติ ) ๑.๐(๖๐) รหสั วชิ า ช่ือวิชา ว๓๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ว๓๑๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ ว๓๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ว๓๒๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ ว๓๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ๑.๔ คณติ ศาสตร์ (ไมน่ อ้ ยกว่า ๖ หน่วยกิต) รหสั วิชา ชือ่ วิชา หนว่ ยกิต ๑.๐(๖๐) ค๓๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ค๓๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ค๓๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ๑.๐(๖๐) ค๓๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๑.๐(๖๐) ค๓๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ๑.๕ สงั คมศกึ ษาฯ (ไม่น้อยกว่า ๘ หนว่ ยกติ ) รหัสวชิ า ชอื่ วิชา หนว่ ยกติ ส๓๑๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๑.๐(๔๐) ๑.๐(๔๐) ส๓๑๑๐๓ สังคมศึกษาฯ ๑.๐(๔๐) ๑.๐(๔๐) ส๓๒๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๑.๐(๔๐) ๑.๐(๔๐) ส๓๒๑๐๓ สังคมศกึ ษาฯ ๐.๕(๒๐) ๐.๕(๒๐) ส๓๓๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๐.๕(๒๐) ๐.๕(๒๐) สังคมศึกษาฯ ๐.๕(๒๐) ๐.๕(๒๐) ส๓๑๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ส๓๑๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ส๓๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ส๓๒๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ส๓๓๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ประวัติศาสตร์
๑.๖ สขุ ศึกษาและพลศึกษา (ไมน่ อ้ ยกว่า ๓ หนว่ ยกิต) ๒๕ รหสั วชิ า ชอื่ วิชา หน่วยกติ พ๓๑๑๐๑ สุขศึกษาพลศกึ ษา ๐.๕(๒๐) พ๓๑๑๐๒ สุขศกึ ษาพลศึกษา ๐.๕(๒๐) พ๓๒๑๐๑ สขุ ศกึ ษาพลศกึ ษา ๐.๕(๒๐) ๐.๕(๒๐) พ๓๒๑๐๒ สุขศึกษาพลศกึ ษา ๐.๕(๒๐) พ๓๓๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๐.๕(๒๐) สขุ ศึกษาพลศึกษา หนว่ ยกติ ๐.๕(๒๐) ๑.๗ ศลิ ปศึกษา (ไมน่ ้อยกวา่ ๓ หน่วยกิต) ๐.๕(๒๐) ๐.๕(๒๐) รหสั วชิ า ช่อื วิชา ๐.๕(๒๐) ๐.๕(๒๐) ศ๓๑๑๐๑ ศลิ ปศกึ ษา ๐.๕(๒๐) ศ๓๑๑๐๒ ศลิ ปศึกษา หนว่ ยกิต ๐.๕(๒๐) ศ๓๒๑๐๑ ศิลปศึกษา ๐.๕(๒๐) ๐.๕(๒๐) ศ๓๒๑๐๒ ศิลปศึกษา ๐.๕(๒๐) ๐.๕(๒๐) ศ๓๓๑๐๑ ศิลปศึกษา ๐.๕(๒๐) ศลิ ปศึกษา ไมน่ ้อยกวา่ ๔๐ นก. ๑.๘ การงานอาชีพและเทคโนโลยี (ไมน่ อ้ ยกวา่ ๓ หนว่ ยกติ ) หน่วยกิต ๐.๕(๒๐) รหสั วชิ า ชอ่ื วชิ า ๐.๕(๒๐) ๐.๕(๒๐) ง๓๑๑๐๑ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๐.๕(๒๐) ๐.๕(๒๐) ง๓๑๑๐๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๐.๕(๒๐) ง๓๒๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ง๓๒๑๐๒ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ง๓๓๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๒.รายวชิ าเพมิ่ เตมิ รหัสวชิ า ชอ่ื วิชา หน้าทีพ่ ลเมอื ง หนา้ ท่ีพลเมอื ง หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง หนา้ ท่ีพลเมือง หน้าทพ่ี ลเมือง หนา้ ท่ีพลเมือง
๒๖ ๓.กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน (๓๖๐ ชวั่ โมง) รหัสวชิ า ชอื่ วชิ า หน่วยกิต ๒๐ชั่วโมงต่อปี กิจกรรมแนะแนว ๒๐ชัว่ โมงตอ่ ปี กิจกรรมนักเรยี น ๒๐ชว่ั โมงต่อปี -ชุมนุม/นศท./ผูบ้ าํ เพญ็ ประโยชน์ กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
๒๗ สาระและมาตรฐานการเรียนรรู้ ายวชิ าพนื้ ฐาน สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กําหนดสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเกณฑใ์ นการกาํ หนดคุณภาพของผ้เู รยี นเมื่อเรียนจบการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ซึง่ กําหนดไว้ ดงั รายละเอียดดงั ต่อไปนี้ ภาษาไทย สาระที่ ๑ : การอา่ น มาตรฐาน ท ๑.๑ : ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคดิ ไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการ ดาํ เนินชีวิตและมีนิสัยรกั การอ่าน สาระที่ ๒ : การเขยี น มาตรฐาน ท ๒.๑ : ใชก้ ระบวนการเขียนเขยี นสอื่ สาร เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ และเขยี นเรอื่ งราว ในรปู แบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศ และรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อย่างมีประสทิ ธภิ าพ สาระท่ี ๓ : การฟงั การดู และการพดู มาตรฐาน ท ๓.๑ : สามารถเลือกฟังและดอู ยา่ งมีวิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคดิ และ ความรสู้ กึ ในโอกาสตา่ ง ๆ อย่างมีวิจารณญาณ และสรา้ งสรรค์ สาระที่ ๔ : หลักการใช้ภาษา มาตรฐาน ท ๔.๑ : เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภูมิปญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัติของชาติ สาระที่ ๕ : วรรคดี และวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ : เขา้ ใจและแสดงความคดิ เห็น วจิ ารณว์ รรณคดี และวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็น คุณค่าและนํามาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง
๒๘ คณิตศาสตร์ สาระที่ ๑ : จานวนและการดาเนินการ มาตรฐาน ค ๑.๑ : เข้าใจถงึ ความหลากหลายของการแสดงจํานวนและการใชจ้ ํานวนในชีวิตจรงิ มาตรฐาน ค ๑.๒ : เข้าใจถงึ ผลที่เกดิ ขนึ้ จากการดาํ เนินการของจํานวนและความสัมพนั ธ์ระหวา่ งการ ดาํ เนินการต่าง ๆ และสามารถใช้การดําเนินการในการแกป้ ญั หา มาตรฐาน ค ๑.๓ : ใชก้ ารประมาณค่าใจการคํานวณ และแกป้ ัญหา มาตรฐาน ค ๑.๔ : เข้าใจในระบบจํานวน และสามารถนําสมบัติเกย่ี วกับจํานวนไปใช้ สาระท่ี ๒ : การวัด มาตรฐาน ค ๒.๑ : เข้าใจพน้ื ฐานเกี่ยวกับการวดั วดั และคาดคะเนขนาดของส่ิงที่ต้องการวดั มาตรฐาน ค ๒.๒ : แกป้ ัญหาเก่ียวกบั การวัด สาระท่ี ๓ : เรขาคณิต มาตรฐาน ค ๓.๑ : อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมติ ิและสามมิติ มาตรฐาน ค ๓.๒ : ใชก้ ารนกึ ภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกบั ปริภมู ิ (spatial reasoning) และ ใช้แบบจาํ ลองทางเรขาคณติ (geometric model) ในการแกป้ ญั หา สาระที่ ๔ : พีชคณติ มาตรฐาน ค ๔.๑ : อธบิ ายและวเิ คราะหแ์ บบรปู (pattern) ความสัมพนั ธ์ และฟงั ก์ชันต่าง ๆ มาตรฐาน ค ๔.๒ : ใชน้ พิ จน์ สมการ อสมการ กราฟ และตวั แบบเชงิ คณติ ศาสตร์ (Mathematical model) อนื่ ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนาํ ไปใช้ แกป้ ญั หา สาระที่ ๕ : การวิเคราะห์ข้อมูลและความนา่ จะเปน็ มาตรฐาน ค ๕.๑ : เขา้ ใจและใช้วธิ กี ารทางสถิติในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู มาตรฐาน ค ๕.๒ : ใช้วิธกี ารทางสถิตแิ ละความร้เู กยี่ วกับความนา่ จะเปน็ ในการคาดการณ์ได้อย่าง สมเหตสุ มผล มาตรฐาน ค ๕.๓ : ใชค้ วามรเู้ กยี่ วกับสถิตแิ ละความนา่ จะเป็นชว่ ยในการตัดสนิ ใจและแก้ปัญหา สาระท่ี ๖ : ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ มาตรฐาน ค ๖.๑ : มคี วามสามารถในการแกป้ ญั หา การให้เหตุผล การส่ือสาร การส่ือความหมายทาง คณิตศาสตร์ และการนาํ เสนอ การเช่อื มโยงความรูต้ ่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และ เช่ือมโยงคณติ ศาสตรก์ ับศาสตร์อืน่ ๆ และมคี วามคิดรเิ รม่ิ สร้างสรรค์
๒๙ วิทยาศาสตร์ สาระที่ ๑ : สิ่งมีชีวติ กับกระบวนการดารงชวี ิต มาตรฐาน ว ๑.๑ : เขา้ ใจหนว่ ยพ้ืนฐานของส่ิงมีชวี ติ ความสัมพันธ์ของโครงสรา้ งและหนา้ ท่ีของ ระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตทีท่ ํางานสัมพันธก์ นั มีกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ สอื่ สารสิง่ ทเี่ รียนรู้ และนําความรไู้ ปใช้ในการดํารงชวี ติ ของตนเอง และดูแล สิ่งมีชีวิต มาตรฐาน ว ๑.๒ : เข้าใจกระบวนการและความสาํ คญั ของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวฒั นาการของส่งิ มีชวี ิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพ ที่มผี ลกระทบต่อมนุษย์ และสง่ิ แวดล้อม มีกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ และ จิตวิทยาศาสตร์ ส่อื สารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ สาระท่ี ๒ : ชีวิตกบั สิง่ แวดลอ้ ม มาตรฐาน ว ๒.๑ : เข้าใจสิง่ แวดลอ้ มในท้องถน่ิ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงแวดลอ้ มกับสิง่ มีชวี ิต ความ สัมพันธร์ ะหว่างสง่ิ มชี วี ิตตา่ ง ๆ ในระบบนเิ วศ มกี ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ และจติ วิทยาศาสตร์ ส่ือสารสิ่งท่เี รียนรแู้ ละนําความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว ๒.๒ : เขา้ ใจความสําคญั ของทรพั ยากรธรรมชาติ การใช้ทรพั ยากรธรรมชาติในระดับ ทอ้ งถิ่น ประเทศ และโลก นาํ ความรไู้ ปใช้ในการจดั การทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในทอ้ งถ่ินอย่างย่งั ยนื สาระท่ี ๓ : สารและสมบตั ิของสาร มาตรฐาน ว ๓.๑ : เข้าใจสมบตั ิของสาร ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสมบตั ขิ องสารกับโครงสรา้ งและแรง ยดึ เหน่ียวระหวา่ งอนภุ าค มกี ระบวนการสบื เสาะหาความรแู้ ละจิตวทิ ยาศาสตร์ สือ่ สารสิง่ ทีเ่ รียนรู้และนําความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว ๓.๒ : เข้าใจหลกั การและธรรมชาติของการเปลี่ยนสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกดิ ปฏกิ ิรยิ า มกี ระบวนการสบื เสาะหาความรแู้ ละจติ วทิ ยาศาสตร์ สื่อสารส่งิ ท่ี เรยี นร้แู ละนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ สาระท่ี ๔ : แรงและการเคลอื่ นที่ มาตรฐาน ว ๔.๑ : เขา้ ใจธรรมชาติและแรงแมเ่ หล็กไฟฟูา แรงโนม้ ถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มี กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ สอ่ื สารสง่ิ ทเี่ รียนรู้และนําความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ อย่างถูกต้องและมีคุณธรรม มาตรฐาน ว ๔.๒ : เข้าใจลักษณะการเคลื่อนทแ่ี บบตา่ ง ๆ ของวตั ถุในธรรมชาติ มีกระบวนการ สบื เสาะหาความรแู้ ละจิตวิทยาศาสตร์ ส่ือสารสิง่ ทีเ่ รียนรู้ และนําความรไู้ ปใช้ ประโยชน์ สาระท่ี ๕ : พลังงาน มาตรฐาน ว ๕.๑ : เข้าใจความสมั พันธ์ระหวา่ งพลงั งานกับการดาํ รงชีวติ การเปล่ียนรปู พลงั งาน ปฏิสมั พันธ์ระหวา่ งสารและพลังงาน ผลของการใช้พลงั งานตอ่ ชีวติ และ ส่งิ แวดลอ้ ม มกี ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สือ่ สารสิง่ ท่ีเรยี นรแู้ ละนาํ ความร้ไู ป ใช้ประโยชน์
๓๐ สาระที่ ๖ : กระบวนการเปล่ียนแปลงของโลก มาตรฐาน ว ๖.๑ : เขา้ ใจกระบวนการตา่ ง ๆ ท่เี กิดขน้ึ บนผวิ โลกและภายในโลก ความสมั พนั ธข์ อง กระบวนการตา่ ง ๆ ท่ีมผี ลตอ่ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมปิ ระเทศ และสณั ฐาน ของโลก มกี ระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ ละจิตวิทยาศาสตร์ สอ่ื สารส่งิ ที่เรียนรู้ และนาํ ความรไู้ ปใช้ประโยชน์ สาระที่ ๗ : ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ มาตรฐาน ว ๗.๑ : เขา้ ใจววิ ฒั นาการของระบบสรุ ยิ ะ กาแลก็ ซแี ละเอกภาพ การปฏิสมั พันธภ์ ายใน ระบบสรุ ิยะและผลตอ่ สง่ิ มีชีวติ บนโลก มีกระบวนการสบื เสาะหาความรู้และ จิตวทิ ยาศาสตร์ ส่ือสารสิง่ ทีเ่ รยี นร้แู ละนําความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว ๗.๒ : เขา้ ใจความสําคญั ของเทคโนโลยีอวกาศที่นํามาใชใ้ นการสํารวจอวกาศและ ทรพั ยากรธรรมชาติ ดา้ นการเกษตรและการสื่อสาร มกี ระบวนการสบื เสาะ หาความรูแ้ ละ จติ วิทยาศาสตร์ ส่ือสารสิ่งทเี่ รยี นรูแ้ ละนําความรไู้ ปใช้ประโยชน์ อย่างมคี ุณธรรมตอ่ ชีวิตและสิ่งแวดลอ้ ม สาระท่ี ๘ : ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๘.๑ : ใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และจติ วิทยาศาสตร์ ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รวู้ า่ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกดิ ข้นึ สว่ นใหญม่ ีรปู แบบที่ แนน่ อน สามารถอธิบายและตรวจสอบไดภ้ ายใตข้ อ้ มลู และเคร่ืองมอื ท่ีมีอยใู่ นชว่ ง เวลานนั้ ๆ เข้าใจวา่ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คม และส่งิ แวดลอ้ ม มีความ เกี่ยวขอ้ งสัมพนั ธก์ นั
๓๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ : รแู้ ละเขา้ ใจประวัติ ความสําคัญ ศาสดา หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาทต่ี นนบั ถือและศาสนาอ่ืน มีศรัทธาท่ีถูกต้อง ยดึ มน่ั และปฏบิ ัติตาม หลกั ธรรมเพอื่ อยู่รว่ มกนั อยา่ งสันตสิ ขุ มาตรฐาน ส ๑.๒ : เขา้ ใจ ตระหนกั และปฏิบัติตนเปน็ ศาสนิกชนทด่ี ี และธาํ รงรกั ษาพระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาทต่ี นนบั ถือ สาระท่ี ๒ : ชีวิตกบั ส่งิ แวดลอ้ ม มาตรฐาน ส ๒.๑ : เข้าใจและปฏบิ ัติตนตามหนา้ ทีข่ องการเปน็ พลเมอื งดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธาํ รง รักษาประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย ดาํ รงชวี ิตอยูร่ ว่ มกนั ในสงั คมไทยและสังคม โลกอยา่ งสันตสิ ขุ มาตรฐาน ส ๒.๒ : เขา้ ใจระบบการเมอื งการปกครองในสังคมปจั จบุ ัน ยึดมนั่ ศรทั ธา และธาํ รง รักษาไวซ้ งึ่ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข สาระที่ ๓ : เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส ๓.๑ : เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลติ และการบรโิ ภค การใช้ ทรพั ยากรท่ีมีอย่จู ํากัดได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพและค้มุ ค่า รวมทงั้ เขา้ ใจหลักการของ เศรษฐกิจอย่างพอเพียง เพือ่ การดาํ รงชวี ิตอย่างมีดุลยภาพ มาตรฐาน ส ๓.๒ : เขา้ ใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสมั พันธท์ างเศรษฐกิจ และความจําเป็นของการร่วมมอื กันทางเศรษฐกจิ ในสังคมโลก สาระที่ ๔ : ประวตั ิศาสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๑ : เข้าใจความหมาย ความสาํ คัญของเวลาและยุคสมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ สามารถ ใช้วธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์มาวิเคราะหเ์ หตกุ ารณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ มาตรฐาน ส ๔.๒ : เข้าใจพัฒนาการของมนษุ ยชาตจิ ากอดีตจนถงึ ปัจจุบันในด้านความสมั พนั ธ์ และ การเปลีย่ นแปลงของเหตกุ ารณ์อย่างต่อเนอื่ ง ตระหนักถงึ ความสําคัญและสามารถ วเิ คราะห์ผลกระทบท่ีเกดิ ข้ึน มาตรฐาน ส ๔.๓ : เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภมู ิปัญญาไทย มีความรกั มีความ ภูมใิ จ และธาํ รงความเปน็ ไทย สาระที่ ๕ : ภูมศิ าสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๑ : เขา้ ใจลกั ษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพนั ธ์ของสรรพสิ่งซึง่ มผี ลตอ่ กนั และกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่ และเคร่ืองมอื ทางภูมศิ าสตร์ ในการคน้ หา วิเคราะห์ สรปุ และใช้ขอ้ มูลภมู สิ ารสนเทศอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ มาตรฐาน ส ๕.๒ : เข้าใจปฏสิ มั พันธร์ ะหว่างมนษุ ย์กบั สภาพแวดล้อมทางกายภาพท่ีกอ่ ให้เกิดการสร้างสรรคว์ ฒั นธรรม มีจิตสํานึกและมสี ่วนร่วมในการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรและสิง่ แวดลอ้ มเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
๓๒ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา สาระที่ ๑ : การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ย์ มาตรฐาน พ ๑.๑ : เขา้ ใจธรรมชาตขิ องการเจริญเตบิ โต และพฒั นาการของมนุษย์ สาระท่ี ๒ : ชีวติ และครอบครัว มาตรฐาน พ ๒.๑ : เข้าใจและเหน็ คณุ คา่ ของตนเอง ครอบครวั เพศศกึ ษา และมีทกั ษะในการดําเนนิ ชวี ติ สาระท่ี ๓ : การเคลื่อนไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล มาตรฐาน พ ๓.๑ : เข้าใจ มีทกั ษะในการเคลือ่ นไหว กิจกรรมทางกาย การเลน่ เกม และกีฬา มาตรฐาน พ ๓.๒ : รักการออกกาํ ลังกาย การเลน่ เกม และการเลน่ กีฬา ปฏิบัติเป็นประจาํ อย่าง สมาํ่ เสมอ มีวนิ ัย เคารพสิทธิ กฎ กตกิ า มนี ้าํ ใจนักกฬี า มีจิตวญิ ญาณในการ แขง่ ขัน และช่ืนชมในสุนทรียภาพของการกฬี า สาระที่ ๔ : การสร้างเสรมิ สุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกนั โรค มาตรฐาน พ ๔.๑ : เห็นคุณคา่ และมที กั ษะในการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ การดํารงสุขภาพ การปอู งกนั โรค และการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ สาระที่ ๕ : ความปลอดภัยในชวี ติ มาตรฐาน พ ๕.๑ : ปอู งกันและหลีกเลี่ยงปจั จยั เสย่ี ง พฤตกิ รรมเสยี่ งตอ่ สขุ ภาพ อบุ ัติเหตุ การใชย้ า สารเสพตดิ และความรุนแรง
๓๓ ศิลปะ สาระที่ ๑ : ทัศนศิลป์ มาตรฐาน ศ ๑.๑ : สร้างสรรค์งานทศั นศลิ ป์ตามจนิ ตนาการ และความคิดสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์ วิจารณค์ ุณคา่ งานทัศนศลิ ป์ ถ่ายทอดความรู้สกึ ความคิดตอ่ งานศลิ ปะ อยา่ งอิสระ ชน่ื ชมและประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจาํ วัน มาตรฐาน ศ ๑.๒ : เขา้ ใจความสมั พันธร์ ะหว่างทศั นศลิ ป์ ประวัตศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคณุ คา่ งานทศั นศลิ ป์ท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล สาระท่ี ๒ : ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๑ : เข้าใจและแสดงออกทางดนตรอี ย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณคา่ ดนตรี ถ่ายทอดความรู้สกึ ความคิดตอ่ ดนตรอี ยา่ งอสิ ระ ช่นื ชม และประยกุ ตใ์ ช้ ในชีวิตประจําวนั มาตรฐาน ศ ๒.๒ : เข้าใจความสัมพันธ์ระหวา่ งดนตรี ประวตั ศิ าสตร์และวฒั นธรรม เหน็ คณุ ค่าของ ดนตรที ่เี ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล สาระที่ ๓ : นาฏศลิ ป์ มาตรฐาน ศ ๓.๑ : เขา้ ใจและแสดงออกทางนาฏศลิ ปอ์ ยา่ งสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์ วิจารณ์คณุ ค่า นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอสิ ระ ชน่ื ชม และประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจําวนั มาตรฐาน ศ ๓.๒ : เขา้ ใจความสัมพันธร์ ะหว่างนาฏศลิ ป์ ประวตั ศิ าสตร์และวัฒนธรรม เหน็ คุณค่า ของนาฏศิลป์ท่ีเปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน ภูมปิ ัญญาไทยและสากล
๓๔ การงานอาชพี และเทคโนโลยี สาระท่ี ๑ : การดารงชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน ง ๑.๑ : เขา้ ใจการทํางาน มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ มีทกั ษะกระบวนการทาํ งาน ทกั ษะการ จัดการ ทกั ษะกระบวนการแกป้ ญั หา ทกั ษะการทาํ งานร่วมกันและทกั ษะการแสวงหา ความรู้ มคี ุณธรรมและลักษณะนสิ ัยในการทํางาน มจี ิตสํานกึ ในการใชพ้ ลังงาน ทรัพยากรและสงิ่ แวดลอ้ มเพ่อื การดํารงชวี ิตและครอบครัว สาระท่ี ๒ : การอาชพี มาตรฐาน ง ๒.๑ : เขา้ ใจเทคโนโลยแี ละกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสรา้ งสง่ิ ของเคร่ืองใช้ หรือวธิ กี าร ตามกระบวนการเทคโนโลยอี ยา่ งมคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ เลอื กใช้ เทคโนโลยีในทางสรา้ งสรรค์ต่อชวี ิต สงั คม สิ่งแวดล้อม และมสี ่วนรว่ มในการ จดั การเทคโนโลยที ี่ย่งั ยนื สาระท่ี ๓ : เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร มาตรฐาน ง ๓.๑ : เขา้ ใจ เหน็ คุณคา่ และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรยี นรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทํางาน และอาชพี อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล และมคี ณุ ธรรม สาระที่ ๔ : การอาชพี มาตรฐาน ง ๔.๑ : เขา้ ใจ มีทกั ษะทีจ่ ําเป็น มีประสบการณ์ เหน็ แนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยีเพ่ือ พฒั นาอาชพี มีคณุ ธรรม และมีเจตคตทิ ่ีดตี ่ออาชีพ
๓๕ ภาษาต่างประเทศ สาระท่ี ๑ : ภาษาเพอื่ การสอื่ สาร มาตรฐาน ต ๑.๑ : เข้าใจและตีความเรื่องท่ีฟังและอา่ นจากสื่อประเภทต่าง ๆ และแสดงความคิดเห็น อยา่ งมีเหตุผล มาตรฐาน ต ๑.๒ : มที ักษะการสือ่ สารทางภาษา ในการแลกเปลี่ยนข้อมลู ข่าวสาร แสดงความรสู้ ึกและ ความคิดเหน็ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ มาตรฐาน ต ๑.๓ : นาํ เสนอขอ้ มูลข่าวสาร ความคดิ รวบยอด และความคดิ เหน็ ในเร่ืองต่าง ๆ โดยการ พดู และการเขียน สาระท่ี ๒ : ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต ๒.๑ : เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ระหว่างภาษากบั วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนําไปใช้ได้ อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต ๒.๒ : เข้าใจความเหมอื นและความแตกต่างระหวา่ งภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของ ภาษาและวัฒนธรรมไทย และนํามาใชอ้ ย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม สาระที่ ๓ : ภาษากับความสมั พันธ์กบั กล่มุ สาระการเรียนรู้อนื่ มาตรฐาน ต ๓.๑ : ใชภ้ าษาต่างประเทศในการเชอ่ื มโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรอู้ ่ืนและเป็น พน้ื ฐานในการพฒั นา แสวงหาความรู้และเปิดโลกทัศน์ของตน สาระท่ี ๔ : ภาษากับความสมั พันธ์กบั ชมุ ชนและโลก มาตรฐาน ต ๔.๑ : ใชภ้ าษาต่างประเทศในสถานการณต์ า่ ง ๆ ทง้ั ในสถานศกึ ษา ชมุ ชนและสังคม มาตรฐาน ต ๔.๒ : ใช้ภาษาตา่ งประเทศเปน็ เครื่องมอื พนื้ ฐานในการศกึ ษาตอ่ การประกอบอาชีพ และการแลกเปลีย่ นเรยี นรกู้ บั สงั คมโลก
๓๖ คาอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแก้วและบทรอ้ ยกรอง ประเภทโคลง ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง จบั ใจความสําคัญ วิเคราะหว์ ิจารณ์ และตอบคาํ ถามจากเรือ่ งทอี่ ่านอยา่ งมเี หตุผล เขยี นกรอบแนวคดิ ผังความคิดจากเรื่องทีอ่ า่ น เขียนบันทกึ ย่อความ เรยี งความ สงั เคราะหค์ วามรู้จากส่อื ส่งิ พิมพ์ ส่อื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์และแหล่งเรียนรตู้ ่างๆ เขียน ส่อื สาร เขียนบรรยาย อธิบาย พรรณนา ได้ถูกต้องตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ มขี อ้ มูลและสาระสาํ คัญ รวมถึงมี มารยาทในการเขยี น วเิ คราะห์แนวคดิ การใชภ้ าษาและความนา่ เชือ่ ถือจากเร่อื งทฟี่ ัง ดู และพูด อธบิ าย มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจหลกั การแตง่ คําประพนั ธ์ ประเภทโคลง ศกึ ษาวเิ คราะห์ วิจารณ์ อธิบายธรรมชาติ พลงั และลกั ษณะของภาษา เหน็ คณุ คา่ ของวรรณคดี และวรรณกรรมท่อี า่ น ทอ่ งจําบทอาขยานตามที่กําหนด และตามความสนใจ มมี ารยาทในการอ่าน การฟัง การ ดู การพดู และการเขยี น โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขยี น กระบวนการคิด ทกั ษะการใช้ภาษา ทักษะการส่ือสาร การสืบค้นข้อมูล บันทกึ จัดกลุ่มขอ้ มลู และการอภปิ ราย เพอื่ ใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ หลกั การอา่ น ออกเสยี งร้อยแก้ว ร้อยกรอง พฒั นาทกั ษะการคดิ วเิ คราะหว์ จิ ารณ์ ประเมนิ คา่ สรุปลักษณะเดน่ และ ประเดน็ สาํ คญั ของวรรณคดแี ละวรรณกรรม สังเคราะหค์ วามรจู้ ากการอ่านข่าวสารจากสอื่ ส่งิ พิมพ์สื่อ อิเล็กทรอนกิ สแ์ ละแหลง่ เรยี นรตู้ า่ งๆในชุมชน บทความ เขยี นสรปุ ความเขยี นบันทกึ ยอ่ ความ เรียงความ จาก สื่อสิ่งพิมพ์ ส่อื อเิ ล็กทรอนิกส์และแหล่งเรยี นรตู้ ่างๆ เขียนสอ่ื สาร เขียนบรรยาย อธบิ าย พรรณนา ยอ่ ความ ฝึกฝนทกั ษะการฟัง การพดู การเล่าเร่อื ง และการแสดงความคิดเห็นตามเจตนารมณ์ท่ีตอ้ งการสื่อสาร สามารถ นําความรู้ทไี่ ดร้ บั ไปสือ่ สารไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ เห็นคณุ คา่ วิถชี ีวิตของคนไทยในอดตี มีความภาคภูมใิ จในวรรณคดแี ละวรรณกรรมอนั เปน็ มรดกของ ชาติ สามารถนําความรไู้ ปใช้ในการตัดสนิ ใจและการดําเนินชวี ติ ประจาํ วนั มจี ิตสาธารณะ ตระหนักถึงคุณค่าของ คณุ ธรรมจริยธรรม การมีค่านยิ มอนั พงึ ประสงค์ ใชค้ วามรู้ภาษาไทยเพอ่ื การจรรโลงจิตใจ ธาํ รงและพฒั นาสังคม ได้เตม็ ศกั ยภาพของผเู้ รียน รหสั ตัวช้ีวัด ท ๑.๑ ม. ๔/๑ , ม.๔/๓ , ม.๔/๗, ม.๔/๙ท ๒.๑ ม. ๔/๑ , ม.๔/๔, ม.๔/๕, ม.๔/๗, ม.๔/๘ ท ๓.๑ ม. ๔/๑, ม.๔/๒, ม.๔/๓, ม.๔/๔, ม.๔/๕, ม.๔/๖ ท ๔.๑ ม.๔/๑, ม.๔/๔, ม.๔/๗ ท ๕.๑ ม. ๕/๑, ม.๕/๖ รวมทัง้ หมด ๒๐ ตัวชี้วดั
๓๗ คาอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง จานวน ๑.๐ หน่วยกติ อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทรอ้ ยกรอง ประเภทกาพย์ กลอน ตีความ แปลความ ขยายความ วิเคราะหว์ จิ ารณ์ และตอบคําถามจากเรือ่ งทอี่ ่านอยา่ งมีเหตผุ ล เขยี นกรอบแนวคิด ผังความคิดจากเรือ่ งท่อี ่าน เขียนรายงาน สงั เคราะห์ความรู้จากสอื่ ส่งิ พมิ พ์ ส่อื อิเล็กทรอนกิ ส์และแหล่งเรยี นรูต้ ่างๆ เขยี นจดหมายกิจธรุ ะ การกรอกแบบรายการตา่ งๆ ได้ถูกตอ้ งตรงตามวัตถปุ ระสงค์ มขี อ้ มูลและสาระสําคัญ รวมถงึ มมี ารยาทในการเขยี น วิเคราะห์แนวคิด การใชภ้ าษาและความน่าเชื่อถือจากเรื่องทฟี่ ัง ดู และพดู อภปิ ราย มีความรคู้ วามเขา้ ใจหลักการ แตง่ คําประพันธป์ ระเภทกาพย์ กลอน ศึกษาวเิ คราะห์วจิ ารณ์ เสียงในภาษา ส่วนประกอบของภาษา องคป์ ระกอบของพยางค์และคํา และเหน็ คุณค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรมทีอ่ า่ น ท่องจาํ บทอาขยานตามท่ี กําหนด และตามความสนใจ มีมารยาทในการอา่ น การฟงั การดู การพดู และการเขยี น โดยใชก้ ระบวนการอา่ น กระบวนการเขยี น กระบวนการคดิ ทักษะการใช้ ภาษา ทกั ษะการสือ่ สาร การ สบื คน้ ขอ้ มูล บันทึก จดั กลุ่มขอ้ มูล และการอภปิ ราย เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ หลกั การอ่านออก เสยี งร้อยแกว้ ร้อยกรอง พฒั นาทกั ษะการคดิ วิเคราะห์วจิ ารณ์ ประเมินคา่ สรุปลักษณะเดน่ และประเดน็ สําคญั ของวรรณคดีและวรรณกรรม รวบรวมวรรณกรรมพ้นื บ้านท่แี สดงถึงภาษากับวัฒนธรรม ภาษาถน่ิ อธิบาย ภมู ปิ ัญญาทางภาษา สังเคราะหค์ วามรู้จากการอ่านขา่ วสารจากส่อื ส่งิ พมิ พส์ ื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ในชุมชน บทความ เขยี นรายงาน จากสอื่ สงิ่ พิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกสแ์ ละแหล่งเรยี นรู้ต่างๆ เขยี นจดหมายกิจธรุ ะ การกรอกแบบรายการต่างๆ เขยี นรายงานเชิงวิชาการ การใช้คํา การเรยี บเรยี งประโยคถกู ต้องเหมาะสมตาม ระดบั ภาษา ฝกึ ฝนทักษะการฟงั การพูด การพดู ต่อทปี่ ระชุมชน การพดู อภปิ ราย การเลา่ เรอื่ ง และการแสดง ความคดิ เห็นตามเจตนารมณท์ ี่ตอ้ งการส่อื สาร สามารถนาํ ความร้ทู ี่ไดร้ ับไปใชภ้ าษาสอ่ื สารได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ เห็นคุณค่าวถิ ีชวี ติ ของคนไทยในอดตี มีความภาคภมู ิใจในวรรณคดีและวรรณกรรมอันเป็นมรดกของชาติ สามารถนําความร้ไู ปใชใ้ นการตดั สนิ ใจและการดาํ เนินชวี ติ ประจาํ วัน มจี ิตสาธารณะ ตระหนกั ถึงคุณค่าของ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม การมคี า่ นยิ มอนั พึงประสงค์ ใช้ความรู้ภาษาไทยเพือ่ การจรรโลงจติ ใจ ธํารงและพัฒนาสังคม ไดเ้ ต็มศักยภาพของผ้เู รียน รหัสตวั ชี้วดั ท ๑.๑ ม. ๔/๑ , ม.๔/๓ , ม.๔/๙ ,ท ๒.๑ ม. ๔/๑ , ม.๔/๔, ม.๔/๖, ม.๔/๗, ม.๔/๘ ท ๓.๑ ม.๔/๒, ม. ๔/๓, ม.๔/๔, ม.๔/๖ ท ๔.๑ ม.๔/๑, ม.๔/๓, ม.๔/๔, ม.๔/๗ ท ๕.๑ ม. ๕/๑, ม.๕/๓, ม.๕/๕, ม.๕/๖ รวม ๒๐ ตวั ชี้วดั
๓๘ คาอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน ท๓๒๑๐๑ ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๕ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง จานวน ๑.๐ หนว่ ยกิต ศึกษาการอ่านออกเสยี งทงั้ ร้อยแกว้ ประเภทบทความ นวนิยาย และความเรียง รอ้ ยกรองประเภทรา่ ย และลลิ ติ ตีความ แปลความ และขยายความเรือ่ งส้ัน นวนยิ าย วรรณกรรมพื้นบา้ น วรรณคดีในบทเรียน บทโฆษณา คาํ ขวัญ รวมถงึ การวเิ คราะห์และวจิ ารณ์ การเขียนผงั ความคดิ การบนั ทกึ หลักการเขยี นเชิญ ชวน โครงการ เรยี งความ ยอ่ ความ ผลติ งานเขียนในรูปแบบสารคดี บันเทงิ คดี ประเมินงานเขยี นของผู้อ่นื การสรุปแนวคิดแสดงความคิดเหน็ ประเมนิ การฟังการดู มีวจิ ารณญาณในการเลือกเร่ืองจากการฟังและดู หลักการพูดอภิปราย โน้มน้าวใจ ด้วยภาษาทถี่ ูกตอ้ ง การใช้คําและกลุ่มคาํ สร้างประโยค หลักการแตง่ คํา ประพันธ์ประเภท ร่าย อิทธพิ ลของภาษา ต่างประเทศและภาษาถิ่น หลักการสรา้ งคําในภาษาไทย หลกั การ วเิ คราะห์และประเมินการใชภ้ าษาและสื่อสงิ่ พมิ พอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์ หลกั การวเิ คราะหว์ จิ ารณว์ รรณคดแี ละ วรรณกรรมการประเมนิ คุณค่าวรรณคดี การท่องบทอาขยาน โดยใช้กระบวนการด้านทกั ษะทางภาษา การสื่อสารในรูปแบบการเชิญชวน โครงการ เรยี งความ ย่อ ความ ผลติ งานเขียนในรูปแบบสารคดี บันเทงิ คดี ประเมินงานเขียนของผู้อ่นื บันทกึ สรุปแนวคิดแสดงความ คิดเหน็ ประเมินการฟงั การดมู วี จิ ารณญาณในการเลือกเรือ่ งจากการฟงั และดู พดู อภปิ ราย โน้มนา้ วใจ ด้วย ภาษาท่ีถูกตอ้ ง ใช้คาํ และกลมุ่ คาํ สร้างประโยคตรงตามวัตถุประสงค์ ใชภ้ าษาเหมาะสมแกโ่ อกาสและกาลเทศะ แตง่ คาํ ประพนั ธ์ประเภท รา่ ย วิเคราะห์อทิ ธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถนิ่ อธบิ ายและวิเคราะห์ หลกั การสรา้ งคําในภาษาไทย ตลอดจนวเิ คราะห์และประเมินการใช้ภาษาและสือ่ สง่ิ พิมพอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ ประเมนิ คณุ ค่าวรรณคดี ทอ่ งบทอาขยาน มมี ารยาทในการอ่าน การเขียน การฟังการดู และการพดู และเห็นคณุ ค่าของการใชภ้ าษาไทยเพอื่ การสอื่ สาร นําความรจู้ ากวรรณคดี วรรณกรรม ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จรงิ ตลอดจนมคี วามรักและภาคภูมใิ จ ในภาษาไทย อนั เป็นภาษาของชาติ รหัสตวั ช้ีวัด ท๑.๑ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม. ๕/๕ม . ๕/๗ ม.๕/๙ ท ๒.๑ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม.๕/๔ ม. ๕/๕ม . ๕/๗ ม.๕/๘ ท ๓.๑ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม. ๕/๕ม. ๕/๖ ท ๔.๑ ม.๕/๒ ม.๕/๔ ม. ๕/๕ม . ๕/๗ ท ๕.๑ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม.๕/๔ ม . ๕/๗ รวม ๒๖ ตัวชวี้ ัด
๓๙ คาอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน ท๓๒๑๐๒ ภาษาไทย กล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๕ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลา ๔๐ ช่วั โมง จานวน ๑.๐ หนว่ ยกติ ศึกษาการอา่ นออกเสียงบททงั้ รอ้ ยแกว้ ประเภทบทความ นวนิยาย และความเรียง รอ้ ยกรองประเภท รา่ ย และลิลิต ตีความ แปลความ ขยายความ วิเคราะห์และวจิ ารณ์ คาดคะเนเหตกุ ารณ์ ตอบคําถาม ผัง ความคิด บนั ทึก ยอ่ ความ สังเคราะห์ความรู้จากการอ่าน การเขียนสือ่ สารในรปู แบบประกาศ จดหมายกิจธุระ เรียงความ ยอ่ ความการเขยี นรายงาน เขียนโครงงาน และเขยี นรายงานการศกึ ษาค้นคว้า การสรุปแนวคิดแสดง ความคดิ เหน็ ประเมินการฟังการดู มีวจิ ารณญาณในการเลอื กเรอื่ งจากการฟงั และดู หลักการพูดอภิปราย โนม้ น้าวใจ แลว้ ใช้ข้อมูลสารสนเทศอ้างองิ อยา่ งถกู ต้อง แสดงความคดิ เหน็ วเิ คราะห์ วิจารณ์ แนวคิด การใช้ภาษา และความน่าเชื่อถอื และประเมิน จากเรอ่ื งท่ฟี ังและดแู ลว้ นาํ กําหนดแนวทางไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจาํ วัน การใชค้ ําและกลมุ่ คําสรา้ งประโยค การสร้างคําในภาษาไทย ตลอดจนวิเคราะห์และประเมนิ การใช้ภาษาและส่อื ส่งิ พิมพอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ ประเมินคุณค่าด้านวรรณศิลป์ ข้อคดิ จากวรรณคดีและวรรณกรรม เพื่อนําไป ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ จรงิ ตลอดจนรวบรวมวรรณกรรมพ้นื บ้านและอธิบายภมู ิปญั ญาทางภาษา โดยใช้กระบวนการด้านทกั ษะทางภาษา การสอ่ื สารในรูปแบบการเชญิ ชวน โครงการ เรยี งความ ย่อ ความ ผลิตงานเขยี นในรปู แบบสารคดี บันเทิงคดี ประเมินงานเขียนของผ้อู นื่ บันทกึ สรุปแนวคิดแสดงความ คิดเห็น ประเมนิ การฟังการดมู วี ิจารณญาณในการเลือกเรอ่ื งจากการฟงั และดู พดู อภปิ ราย โน้มน้าวใจ ดว้ ย ภาษาทถ่ี ูกตอ้ ง ใช้คาํ และกลุม่ คาํ สร้างประโยคตรงตามวัตถปุ ระสงค์ ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาสและกาลเทศะ แตง่ คําประพนั ธ์ประเภท ร่าย วิเคราะหอ์ ิทธพิ ลของภาษาตา่ งประเทศและภาษาถ่ิน อธิบายและวิเคราะห์ หลกั การสรา้ งคําในภาษาไทย ตลอดจนวเิ คราะหแ์ ละประเมินการใช้ภาษาและสอ่ื ส่งิ พมิ พ์อิเล็กทรอนิกส์ ประเมนิ คุณค่าวรรณคดี ทอ่ งบทอาขยาน มีมารยาทในการอา่ น การเขยี น การฟังการดู และการพดู ตลอดจนมคี วามรกั และภาคภูมิใจใน ภาษาไทย อนั เปน็ ภาษาของชาติ รหัสตัวช้ีวดั ท๑.๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม.๕/๔ ม. ๕/๕ม. ๕/๖ม . ๕/๗ ม.๕/๘ ม.๕/๙ ท ๒.๑ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม. ๕/๖ม . ๕/๗ ม.๕/๘ ท ๓.๑ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม. ๕/๕ม. ๕/๖ ท ๔.๑ม.๕/๒ ม.๕/๓ท ๕.๑ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม.๕/๔ ม. ๕/๕ม. ๕/๖ รวม ๒๗ ตวั ชว้ี ัด
ท๓๓๑๐๑ ภาษาไทย ๔๐ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ คาอธิบายรายวชิ าพน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เวลา ๔๐ ชวั่ โมง จานวน ๑.๐ หนว่ ยกิต ศกึ ษาหลกั การอ่านรอ้ ยแกว้ ประเภทปาฐกถา เทศนา บทร้อยกรองประเภทโคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน ร่าย การอา่ นจบั ใจความสาํ คัญ การตีความ การแปลความ และการขยายความ การอ่านวเิ คราะห์ การ วจิ ารณ์ การประเมินคา่ และการแสดงความคิดเหน็ วรรณกรรมประเภทตา่ ง ๆ การสรปุ เปน็ แผนผงั ความคิด บันทกึ ยอ่ ความ รายงาน ความร้จู ากการอา่ นสื่อส่งิ พมิ พ์ ส่ืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ และแหล่งเรยี นรู้ การเขยี นอธิบาย บรรยาย พรรณนา แสดงทรรศนะ การโตแ้ ย้งไดต้ รงตามวัตถปุ ระสงค์ โดยใช้ภาษาเรยี บเรียงถูกตอ้ ง และมี ข้อมลู สาระสําคัญชดั เจน การเขยี นเรียงความ ย่อความจากสื่อที่หลากหลาย และการเขียนบันเทิงคดี การเขียน รายงานจากการศกึ ษาคน้ ควา้ เร่อื งทส่ี นใจ การฟงั การดู ขา่ ว เหตกุ ารณ์ การอภิปราย การให้ความรู้ การคดิ วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ การประเมนิ คา่ โดยใช้วจิ ารณญาณอย่างสรา้ งสรรค์ การศกึ ษาบรบิ ทธรรมชาติของภาษา พลงั ของภาษา และลกั ษณะของภาษา การใช้คาํ กลุ่มคํา เพ่ือสร้างประโยคในการสอ่ื สาร การแตง่ บทร้อยกรอง ประเภทฉนั ท์ อิทธพิ ลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น การศึกษากวีนิพนธ์ กลอน บทละคร วรรณกรรม วรรณคดี และการรวบรวมวรรณกรรมพืน้ บ้านท่ีเป็น ภมู ปิ ัญญาทางภาษา การท่องจาํ บทอาขยานทีน่ ่าสนใจ โดยใช้ทักษะกระบวนการอา่ น กระบวนการเขยี น กระบวนการคิด ทกั ษะการใชภ้ าษา ทกั ษะการ ส่ือสาร การสืบคน้ ขอ้ มลู บันทกึ จัดกลมุ่ ข้อมูล และการอภปิ รายเพอื่ ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนําความรู้ที่ได้รับนัน้ ไปใชส้ อื่ สารไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ เหน็ คุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรม มคี ุณธรรม ในการใช้ภาษา และนําไปใช้ในชีวติ ประจําวนั มีมารยาทในการอ่าน การเขยี น การฟงั การดู และการพูด ตลอดจนมคี วามรกั และภาคภมู ิใจใน ภาษาไทย อันเปน็ ภาษาของชาติ รหัสตวั ช้ีวดั ท ๑.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๒, ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๕, ม.๖/๖, ม.๖/๗ ม.๖/๘, ม.๖/๙, ท ๒.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๒, ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๕, ม.๖/๖, ม.๖/๗ ม.๖/๘, ท ๓.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๒, ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๕, ม.๖/๖, ท ๔.๑ ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๗, ท ๕.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๒, ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๕, ม.๖/ ๖ รวม ๓๒ ตัวชี้วดั
ท๓๓๑๐๒ ภาษาไทย ๔๑ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ ภาคเรยี นท่ี ๒ คาอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย เวลา ๔๐ ชัว่ โมง จานวน ๑.๐ หน่วยกติ ศึกษาหลักการอ่านร้อยแก้วประเภทพระบรมราโชวาท บทร้อยกรองประเภทกลอน รา่ ย รอ้ ยกรองรว่ ม สมยั และบทอาเศียรวาท การจับใจความสาํ คัญ การตีความ การแปลความ และการขยายความ การอา่ น วิเคราะห์ วิจารณ์ การประเมนิ ค่า และการแสดงความคิดเหน็ วรรณกรรมประเภทตา่ งๆ การสรุปเป็นแผนผัง ความคดิ ย่อความ รายงาน การสงั เคราะหค์ วามรจู้ ากการอา่ นสอื่ ส่งิ พมิ พ์ สือ่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์และแหล่งเรียนรู้ การเขียนโน้มนา้ วใจเชญิ ชวน ประกาศ จดหมายกิจธุระ และการรายงานการประชุมไดต้ รงตามวัตถปุ ระสงค์ โดยใช้ภาษาเรยี บเรยี งถูกตอ้ ง และมขี อ้ มูลสาระสําคัญชดั เจน การเขยี นสารคดี การเขยี นรายงานจากการศึกษา คน้ ควา้ ทส่ี นใจ เพอื่ พัฒนาตนเอง การฟงั การดูสารคดี โฆษณาทางส่ือ การวิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินคา่ โดย ใชว้ ิจารณญาณอยา่ งสร้างสรรค์ โดยการพูดแสดงความรู้ พูดแสดงทรรศนะ และพดู โนม้ นา้ วใจ การศึกษาการใช้ ภาษาเหมาะสมแกโ่ อกาส กาลเทศะ บคุ คล พรอ้ มทจ่ี ะใช้ระดบั ของภาษาเป็นตวั กําหนด การใชค้ าํ ราชาศพั ท์ และประเมนิ คา่ การใชภ้ าษาจากสื่อส่ิงพมิ พ์ สอื่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ การศกึ ษากวีนิพนธ์ กลอนบทละคร วรรณกรรม วรรณคดี และการรวบรวมขอ้ คดิ จากวรรณคดี วรรณกรรมมาประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ จรงิ โดยใช้ทักษะกระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการคดิ ทักษะการใชภ้ าษา ทกั ษะการ สอ่ื สาร การสืบค้นขอ้ มูล บนั ทกึ จดั กลมุ่ ข้อมูล และการอภปิ รายเพอื่ ให้เกดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนาํ ความรู้ทไี่ ด้รับนน้ั ไปใช้ส่อื สารไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ เหน็ คณุ ค่าของวรรณคดี วรรณกรรม มคี ุณธรรม ในการใช้ภาษา และนําไปใช้ในชวี ติ ประจําวนั มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟังการดู และการพดู ตลอดจนมีความรกั และภาคภูมิใจใน ภาษาไทย อันเปน็ ภาษาของชาติ รหัสตวั ช้ีวดั ท ๑.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๒, ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๕, ม.๖/๖, ม.๖/๗ ม.๖/๘, ม.๖/๙, ท ๒.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๒, ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๕, ม.๖/๖, ม.๖/๗ ม.๖/๘, ท ๓.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๒, ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/ ๕, ม.๖/๖, ท ๔.๑ ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๗, ท ๕.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๒, ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๕, ม.๖/๖ รวม ๓๒ ตัวช้ีวดั
๔๒ คาอธิบายรายวิชาคณติ ศาสตร์ รหัสวชิ า ค๓๑๑๐๑ กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๔ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง / ภาค จานวน ๑ หนว่ ยกิต ภาคเรยี นท่ี ๑ คาอธิบายรายวิชา ศกึ ษา เรื่อง เซต การดําเนินการของเซต แผนภาพเวนน-์ ออยเลอร์ และการแกป้ ญั หา การให้ เหตุผลแบบอุปนัยและแบบนริ นยั และการอ้างเหตผุ ล โดยจดั ประสบการณห์ รอื สรา้ งสถานการณ์ในชวี ิตประจําวนั ท่ีใกล้ตัวให้ผ้เู รยี นได้ศึกษา ค้นควา้ โดยการ ปฏบิ ตั จิ ริง สรปุ รายงาน และนําเสนอ เพ่ือพฒั นาทกั ษะ / กระบวนการในการคดิ คํานวณ การแก้ปญั หา การให้ เหตุผล การสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาํ ประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิดทกั ษะกระบวนการที่ได้ ไปใช้ในการเรียนรสู้ ่งิ ต่างๆ และในชวี ิตประจาํ วนั อย่างสร้างสรรค์ การเห็นคุณค่าและมเี จตคติทด่ี ีตอ่ คณติ ศาสตร์ สามารถทํางานอย่างเป็นระบบ ระเบยี บ รอบคอบ มี ความรบั ผิดชอบ มีวจิ ารณญาณ และเช่ือมนั่ ในตนเอง มคี วามซอ่ื สตั ยส์ ุจริต มีวนิ ัย ใฝุเรียนรู้ มคี วามมุ่งม่ันในการ ทาํ งาน และมีจิตสาธารณะ รหัสตัวช้ีวัด ค๔.๑ ม.๔ /๑ , ค๔.๑ ม.๔ /๒ , ค๔.๒ ม.๔ /๑ , ค๔.๒ ม.๔ /๒ , ค๖.๑ ม.๔/๑ , ค๖.๑ ม.๔/๒ , ค๖.๑ ม.๔/๓ ,ค๖.๑ ม.๔/๔ , ค๖.๑ ม.๔/๕ , ค๖.๑ ม.๔/๖ รวม ๑๐ ตัวชี้วดั
๔๓ คาอธิบายรายวชิ าคณิตศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๔ รหัสวิชา ค ๓๑๑๐๒ กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง / ภาค จานวน ๑ หนว่ ยกิต คาอธบิ ายรายวิชา ศกึ ษาเร่ือง จานวนจริง สมบตั ิของจํานวนจริงเกีย่ วกบั การบวก และการคูณ สมบัติการเท่ากันและการ ไม่เทา่ กนั สมการกําลังสองตวั แปรเดียว อสมการตวั แปรเดียว ค่าสมั บรู ณ์ เร่อื ง เลขยกกาลังทีม่ เี ลขช้กี าลังเปน็ จานวนตรรกยะ รากท่ี n ของจาํ นวนจริง โดยจดั ประสบการณห์ รือสร้างสถานการณใ์ นชีวติ ประจําวนั ที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า โดยการ ปฏิบัติจริง สรปุ รายงาน และนําเสนอ เพื่อพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดคํานวณ การแก้ปัญหา การให้ เหตผุ ล การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนําประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิดทักษะกระบวนการที่ได้ ไปใชใ้ นการเรียนรสู้ ง่ิ ตา่ งๆ และในชวี ติ ประจําวันอย่างสรา้ งสรรค์ การเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทํางานอย่างเป็นระบบ ระเบียบ รอบคอบ มี ความรับผดิ ชอบ มีวิจารณญาณ และเช่ือม่ันในตนเอง มีความรักชาติ ศาสตร์ กษัตริย์ มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝเุ รยี นรู้ รูจ้ กั ใชช้ วี ิตอย่างพอเพียง มคี วามมุ่งมน่ั ในการทํางาน รักความเป็นไทย และมจี ิตสาธารณะ รหสั ตวั ชี้วัด ค๑.๑ ม.๔ /๑ , ค๑.๑ ม.๔/๒ , ค๑.๑ ม.๔/๓ , ค๑.๒ ม.๔/๑ , ค๑.๓ ม.๔/๑ , ค๑.๔ ม.๔/๑ , ค๔.๒ ม.๔/๓ ค๖.๑ ม.๔/๑ , ค๖.๑ ม.๔/๒ , ค๖.๑ ม.๔/๓ , ค๖.๑ ม.๔/๔ , ค๖.๑ ม.๔/๕ , ค๖.๑ ม.๔/๖ รวม ๑๓ ตวั ชี้วัด
๔๔ คาอธบิ ายรายวิชาคณติ ศาสตร์ รหัสวิชา ค๓๒๑๐๑ กลุม่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๕ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง / ภาค จานวน ๑ หน่วยกิต ภาคเรยี นที่ ๑ คาอธบิ ายรายวชิ า ศึกษา เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน กราฟของความสัมพันธ์ และ ฟังก์ชนั โดยจดั ประสบการณห์ รือสรา้ งสถานการณใ์ นชีวติ ประจาํ วนั ที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า โดยการ ปฏบิ ตั ิจรงิ สรปุ รายงาน และนาํ เสนอ เพ่ือพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดคํานวณ การแก้ปัญหา การให้ เหตุผล การสื่อความหมายทางคณติ ศาสตร์ และการนําประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิดทักษะกระบวนการที่ได้ ไปใชใ้ นการเรียนรสู้ ง่ิ ตา่ งๆ และในชวี ติ ประจาํ วันอย่างสร้างสรรค์ การเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทํางานอย่างเป็นระบบ ระเบียบ รอบคอบ มี ความรับผดิ ชอบ มวี จิ ารณญาณ และเชื่อม่ันในตนเอง มีความรักชาติ ศาสตร์ กษัตริย์ มีความซื่อสัตย์สุจริต มี วนิ ัย ใฝุเรยี นรู้ รูจ้ ักใชช้ วี ติ อยา่ งพอเพยี ง มคี วามมงุ่ ม่ันในการทํางาน รักความเปน็ ไทย และมจี ติ สาธารณะ รหสั ตวั ชว้ี ัด ค๔.๑ ม.๕/๓ , ค๔.๒ ม.๕/๔ , ค๔.๒ ม.๕/๕ , ค๖.๑ ม.๕/๑ , ค๖.๑ ม.๕/๒ , ค๖.๑ ม.๕/๓ , ค๖.๑ ม. ๕/๔ ค๖.๑ ม.๕/๕ , ค ๖.๑ ม.๕/๖ รวม ๙ ตัวชีว้ ัด
๔๕ คาอธบิ ายรายวชิ าคณิตศาสตร์ รหสั วชิ า ค ๓๒๑๐๒ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๕ เวลา ๔๐ ชั่วโมง / ภาค จานวน ๑ หนว่ ยกิต ภาคเรียนที่ ๒ คาอธบิ ายรายวิชา ศึกษา เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติและการนาไปใช้ และ ลาดับและอนุกรม ลําดับ ลําดับเลข คณติ ลาํ ดับเรขาคณิต อนุกรมเลขคณิต อนุกรมเรขาคณิต การหาผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิตและ อนุกรมเรขาคณิต โดยจดั ประสบการณ์หรอื สร้างสถานการณ์ในชีวิตประจําวันที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าโดยการ ปฏบิ ัติจรงิ ทดลอง สรปุ รายงาน เพอ่ื พัฒนาทักษะ / กระบวนการในการคิดคํานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาํ ประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิดทักษะกระบวนการท่ีได้ไปใช้ใน การเรียนรู้ส่ิงต่างๆ และในชีวิตประจําวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทาํ งานอย่างเปน็ ระบบ ระเบยี บ รอบคอบ มีความรับผดิ ชอบ มีวจิ ารณญาณ และเชื่อมั่นในตนเอง การเห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทํางานอย่างเป็นระบบ ระเบียบ รอบคอบ มี ความรบั ผดิ ชอบ มีวจิ ารณญาณ และเชอื่ มั่นในตนเอง มีความรักชาติ ศาสตร์ กษัตริย์ มีความซื่อสัตย์สุจริต มี วนิ ยั ใฝุเรียนรู้ รจู้ กั ใช้ชีวติ อยา่ งพอเพียง มีความมุง่ มน่ั ในการทํางาน รักความเปน็ ไทย และมจี ติ สาธารณะ รหสั ตัวช้วี ัด ค๒.๑ ม.๕/๑ , ค๒.๒ ม.๕/๑ , ค๔.๑ ม.๕/๔ , ค๔.๑ ม.๕/๕ , ค ๔.๒ ม.๕/๖ , ค๖.๑ ม.๕/๑ , ค๖.๑ ม. ๕/๒ ค๖.๑ ม.๕/๓ , ค๖.๑ ม.๕/๔ , ค๖.๑ ม.๕/๕ , ค๖.๑ ม.๕/๖ รวม ๑๑ ตัวช้ีวดั
๔๖ คาอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค๓๓๑๐๑ กล่มุ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๔๐ ชั่วโมง / ภาค จานวน ๑ หนว่ ยกิต ภาคเรยี นท่ี ๑ คาอธิบายรายวชิ า ศกึ ษาเรือ่ งความน่าจะเป็นกฎเกณฑเ์ บื้องต้นเกี่ยวกับการนับและแผนภาพต้นไม้ ท ม และหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ นําความรู้เก่ียวกับความน่าจะเป็นไปใช้ในการคาดการณ์ และช่วยในการ ตัดสินใจ รวมถงึ การเสริมทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ โดยการปฏิบัติ สรุปและรายงานผลการเรียนรู้โดยการวัดและประเมินผล ด้วยวิธีการ ที่หลากหลาย ตามสภาพความเป็นจรงิ ให้สอดคลอ้ งกบั เนื้อหาและทักษะที่ต้องการวัด เพื่อพัฒนาทักษะ / กระบวนการในการ คิดคํานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และนําประสบการณ์ด้านความรู้ ความคดิ ทักษะกระบวนการท่ีไดไ้ ปใช้ในการเรียนรู้ สิ่งตา่ ง ๆ และใชใ้ นชีวติ ประจําวันอยา่ งสร้างสรรค์ การเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทํางานอย่างเป็นระบบ ระเบียบ รอบคอบ มี ความรับผดิ ชอบ มีวิจารณญาณ และเชอื่ มั่นในตนเอง มคี วามรักชาติ ศาสตร์ กษัตริย์ มีความซ่ือสัตย์สุจริต มี วนิ ัย ใฝุเรียนรู้ รู้จักใช้ชีวติ อยา่ งพอเพียง มีความมงุ่ มน่ั ในการทาํ งาน รักความเปน็ ไทย และมจี ติ สาธารณะ รหสั ตวั ชีว้ ดั ค๕.๒ ม.๖/๒ , ค๕.๓ ม.๖/๒ , ค๖.๑ ม.๖/๑ , ค๖.๑ ม.๖/๒ , ค๖.๑ ม.๖/๓ , ค๖.๑ ม.๖/๔ , ค๖.๑ ม. ๖/๕ , ค๖.๑ ม.๖/๖ รวม ๘ ตัวชวี้ ดั
๔๗ คาอธบิ ายรายวิชาคณิตศาสตร์ รหัสวชิ า ค ๓๓๑๐๒ กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง / ภาค จานวน ๑ หนว่ ยกิต ภาคเรยี นท่ี ๒ คาอธบิ ายรายวชิ า ศกึ ษา เร่ือง สถิตเิ บ้อื งตน้ รวมถงึ การเสรมิ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ โดยการปฏิบัติสรุปและรายงานผลการเรียนรู้โดยการวัดและประเมินผลด้วยวิธีการ ท่ีหลากหลายตาม สภาพความเป็นจริงให้สอดคล้องกับเนื้อหาและทักษะที่ต้องการวัดเพ่ือพัฒนาทักษะ /กระบวนการในการคิด คํานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และนําประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทกั ษะกระบวนการทไ่ี ด้ไปใช้ในการเรยี นรู้ สิ่งต่าง ๆ และใช้ในชวี ิตประจาํ วันอยา่ งสรา้ งสรรค์ การเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทํางานอย่างเป็นระบบ ระเบียบ รอบคอบ มี ความรับผิดชอบ มวี จิ ารณญาณ และเช่ือมนั่ ในตนเอง มคี วามรักชาติ ศาสตร์ กษัตรยิ ์ มีความซ่ือสัตย์สุจริต มี วินัย ใฝุเรียนรู้ รูจ้ ักใช้ชวี ิตอยา่ งพอเพยี ง มคี วามมงุ่ มั่นในการทํางาน รักความเปน็ ไทย และมีจิตสาธารณะ รหัสตัวช้ีวัด ค๕.๑ ม.๖/๑ , ค๕.๑ ม.๖/๒ , ค๕.๑ ม.๖/๓ , ค๕.๒ ม.๖/๑ , ค๕.๓ ม.๖/๑ , ค๖.๑ ม.๖/๑ , ค๖.๑ ม. ๖/๒ , ค๖.๑ ม.๖/๓ , ค๖.๑ ม.๖/๔ , ค๖.๑ ม.๖/๕ , ค๖.๑ ม.๖/๖ รวม ๑๑ ตัวชี้วัด
๔๘ คาอธิบายรายวชิ า รหสั วิชา ว๓๑๑๐๑ รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง / ภาคเรยี น จํานวน ๑ หนว่ ยกติ อธิบายการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต การเคลื่อนที่ของสารผ่านเข้าออกจากเซลล์ การลําเลียงสาร โดยวธิ กี ารแพร่ การออสโมซิส การลาํ เลียงแบบฟาซิลิเทต และการลําเลียงแบบใช้พลังงาน การลําเลียงสารขนาด ใหญเ่ ขา้ และออกจากเซลล์ การลาํ เลียงของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและหลายเซลล์ กลไกในการรักษาดุลยภาพของน้ํา ในพชื การคายน้ําผ่านปากใบ การดูดนํ้าท่ีราก โครงสร้าง หน้าท่ี การํางานในการขับของเสียจากกระบวนการเม แทบอลซิ มึ ของไต การกําจัดนาํ้ และของเสียของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและหลายเซลล์ การรักษาดุลยภาพของนํ้า แร่ ธาตุของปลานํ้าจืดและปลานํ้าเค็ม กลไกการควบคุมอุณหภูมิในร่างกายของสัตว์และมนุษย์ ระบบภูมิคุ้มกันและ การรักษาดุลยภาพในร่างกายของมนุษย์ การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม โครงสร้างและองค์ประกอบของ DNA การเกิดมิวเทชัน การแปรผันทางพันธุกรรม ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีชีวภาพ ผลที่เกิดจากการใช้ เทคโนโลยีทางชีวภาพ ความหลากหลายของส่ิงมีชีวิต ประโยชน์ของความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิต ระบบนเิ วศ สมดุลของระบบนเิ วศ การเปลยี่ นแปลงแทนที่ ความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่าง ส่ิงมชี วี ติ และส่ิงมชี วี ิตกบั สง่ิ แวดล้อม ผลทีเ่ กิดจากการเพ่ิมของประชากรมนุษย์ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ อยา่ งจํากัดให้คุ้มคา่ แนวทางปูองกันแก้ไขฟน้ื ฟูสภาพแวดล้อม การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตอิ ย่างย่ังยืน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล บนั ทกึ จดั กล่มุ ขอ้ มูล และการอภิปรายเพอื่ ให้เกดิ ความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ สามารถนําเสนอ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มคี วามสามารถในการตดั สินใจ เห็นคณุ คา่ ของการนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจําวันมีจิตวิทยา ศาสตร์ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมทเี่ หมาะสม รหัสตวั ชี้วดั ว๑.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/ ๓ ม.๔-๖/๔ ว๑.๒ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๔ ว๒.๑ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ว๒.๒ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ว๘.๑ ม.๔-๖/๑ - ๑๒
๔๙ คาอธิบายรายวชิ า รหัสวชิ า ว๓๑๑๐๒ รายวิชา วิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๔ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง / ภาคเรยี น จํานวน ๑ หนว่ ยกติ สืบคน้ ข้อมูล วเิ คราะห์ อภปิ รายและอธิบาย โครงสร้างอะตอมเก่ยี วกับสัญลกั ษณ์นิวเคลียรข์ องธาตุ การจดั เรียงอเิ ลก็ ตรอนในอะตอม ความสัมพันธร์ ะหว่างอเิ ล็กตรอนในระดบั พลังงานนอกสุดกับสมบตั ขิ องธาตุและ การเกิดปฏิกิริยา การจัดเรียงธาตแุ ละทํานายแนวโนม้ สมบัติของธาตุในตารางธาตุ การเกิดพันธะเคมีในโครงผลกึ และในโมเลกลุ ของสาร ความสมั พันธ์ระหวา่ งจุดเดอื ด จุดหลอมเหลว และสถานะของสารกับแรงยดึ เหน่ยี ว ระหวา่ งอนภุ าคของสาร ทดลองและเขียนสมการของปฏิกริ ยิ าเคมีทั่วไปทพ่ี บในชวี ติ ประจาํ วันรวมทัง้ อธิบายผล ของสารเคมีท่ีมีผลตอ่ ส่ิงมีชวี ติ และสิง่ แวดลอ้ ม อตั ราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี ปัจจยั ที่มผี ลตอ่ อัตราการเกิดปฏกิ ิริยา เคมแี ละการนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ การเกดิ ปิโตรเลยี ม กระบวนการแยกแกส๊ ธรรมชาติและการกล่นั ลําดับสว่ น น้ํามันดิบ การนําผลติ ภัณฑท์ ไ่ี ดจ้ ากการแยกแก๊สธรรมชาติและการกลั่นลําดบั ส่วนนํา้ มันดบิ ไปใช้ประโยชน์รวมท้งั ผลของผลติ ภณั ฑ์ต่อสง่ิ มชี วี ิตและส่ิงแวดลอ้ ม การเกดิ พอลเิ มอร์ สมบัตขิ องพอลเิ มอร์ การนําพอลิเมอร์ไปใช้ ประโยชน์รวมทัง้ ผลที่เกิดจากการผลติ และใช้พอลิเมอรต์ ่อสิ่งมีชวี ติ และส่งิ แวดลอ้ ม องคป์ ระกอบ ประโยชน์ และ ปฏกิ ิรยิ าบางชนดิ ของคาร์โบไฮเดรต ไขมนั และนาํ้ มัน โปรตนี และกรดนิวคลีอิก โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ การสบื คน้ ข้อมลู บันทึก จัดกลมุ่ ข้อมลู และการอภิปรายเพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ สามารถนาํ เสนอสื่อสารสิ่งทเ่ี รียนรู้ มีความสามารถในการตดั สินใจ เหน็ คุณคา่ ของการนาํ ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ในชวี ติ ประจําวัน มีจิต วทิ ยาศาสตร์ คุณธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นิยมท่ีเหมาะสม รหัสตัวช้ีวัด ว ๓.๑ ม.๔-๖/๑-๕ ,ว ๓.๒ ม.๔-๖/๑-๙ . ว ๘.๑ ม.๔-๖/๑-๑๒
๕๐ คาอธิบายรายวชิ า รหสั วชิ า ว๓๒๑๐๑ รายวชิ า วิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๔ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง / ภาคเรียน จาํ นวน ๑ หนว่ ยกิต ศึกษาความสมั พนั ธ์ของแรงกับการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุในสนามโน้มถ่วง สนามไฟฟูา สนามแม่เหล็ก แรง นิวเคลยี ร์ แรงไฟฟาู ระหว่างอนุภาคในนวิ เคลียส การเคล่ือนท่ีในแนวเส้นตรง การเคล่ือนที่แบบโพรเจคไทล์ แบบ วงกลม แบบฮารม์ อนกิ ส์อยา่ งงา่ ย ประโยชน์ของการเคลื่อนท่ีแบบโพรเจคไทล์ แบบวงกลม และแบบฮาร์มอนิกส์ อย่างง่าย คล่ืนและสมบัติของคลื่น คลื่นเสียง บีตส์ของเสียง ความเข้มเสียง ระดับความเข้มเสียง ก ารได้ยิน คุณภาพของเสียง มลพิษของเสียง คล่ืนแม่เหล็กไฟฟูา ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ผลกระทบของปฏิกิริยานิวเคลียร์ต่อ สิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม โรงไฟฟูานิวเคลียร์ ธาตุกัมมันตรังสี วีธีการตรวจสอบกัมมันตภาพรังสี ผลกระทบของ กมั มันตภาพรงั สีที่มผี ลตอ่ ส่งิ มชี วี ิตและส่ิงแวดล้อม โดยใชท้ กั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สืบเสาะหาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล บนั ทกึ จัดกล่มุ ขอ้ มลู และการอภปิ รายเพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ สามารถนาํ เสนอ สอ่ื สารส่งิ ท่เี รยี นรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจําวัน มีจิต วทิ ยาศาสตร์ คุณธรรมจริยธรรม และค่านยิ มทเี่ หมาะสม รหสั ตวั ช้ีวัด ว ๔.๑ ม. ๔ – ๖/๑ - ม.๔ - ๖ /๔ ว ๔.๒ ม. ๔ – ๖/๑ - ม.๔ – ๖/๓ ว ๕.๑ ม. ๔ – ๖/๑ - ม.๔ – ๖/๙ ว ๘.๑ ม. ๔ – ๖/๑ - ม.๔ – ๖/๑๒
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160