Korean Studies’ Curricula and Coursework Development (Social Science) in Thailand’s Undergraduate Programs: A Case Study of Undergraduate Programs in Korean Studies in England, Australia, Vietnam and Hong Kong. Weerachai PhanseubAbstract The rise of Korean language and Korean Studies education in Thailand recentlymanifests itself and starts to strengthen the its academic ground gradually. Many of Korean-related curricula, which have been currently teaching,have improved, revised and developedto highlight its outstanding point. At the same time, many universities are trying to put aneffort in drafting their curricula in order to offer the Korean language/Korean Studies degreeto serve the need and the expansion of Korea worldwide. In Thailand, Korean language education (under an arena of Korean Studies) havebeen initiated since the beginning of 21st century. Almost 15 years of this consecutivedevelopment, comparing to Korean-related education in the other countries, Korean-relatededucation in Thailand, however, seems to lack of the diversity of its science. This article aimsto investigate the Korean-related curricula and courseworks (Social science dimension) ofundergraduate program in England, Australia, Vietnam and Hong Kong in order to exploit as aguideline to improve, revise, as well as, to develop Korean-related curricula andcourseworks. Therefore, it is hope to constitute and critique “Korean Studies” in the future. The article starts to define what “Korean Studies” in relation to “Area Studies” in thearena of humanities and social science is. The following session comes up with Korean-related curricula and courseworks in the selected countries. The article, then, ends up withthe limitation of Korean-related education in Thailand and guideline for the developmentderived from the international perspective. Korean Studies Lecturer, Department of Korean Language, Chiang Rai Rajabhat University Ph.D. candidate in Sociology, Graduate School of Korean Studies, The Academy of Korean Studies, Republic ofKorea แนวทางการพัฒนาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 91 태국 내 한국학 발전 현황
However, in this article, the author would like to come up with a personal point ofview only. Any mistakes or distortions occurred are of the author.Keywords: Korean Studies, Area Studies, Korean-related Curricula, Education System, EducationalDevelopment แนวทางการพัฒนาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 92 태국 내 한국학 발전 현황
การพัฒนาหลักสตู รและรายวชิ าด้านเกาหลศี กึ ษา (ในมิติสงั คมศาสตร์) ระดบั ปริญญาตรใี นประเทศไทย: กรณีศึกษาหลกั สตู รปรญิ ญาตรี สาขาวิชาเกาหลศี ึกษา ในประเทศอังกฤษ ออสเตรเลยี ฮอ่ งกง และเวยี ดนาม วีรชยั พนั ธ์สบื การเตบิ โตของแวดวงวชิ าการด้านภาษาเกาหลี และเกาหลศี กึ ษาของประเทศไทย ในปจั จุบัน มีการเร่ิมพฒั นาทเ่ี ป็นรูปร่าง และเรม่ิ ท่ีจะมคี วามเข้มแข็งทางวชิ าการมากข้ึน หลายๆหลกั สูตร เริม่ มกี ารปรบั ปรงุพัฒนา และสรา้ งจุดเดน่ ใหก้ ับหลกั สตู รของตัวเอง ในขณะเดยี วกนั หลาย ๆ มหาวทิ ยาลยั ในประเทศไทย ก็กาํ ลังพยายามที่จะรา่ งหลักสูตร เพื่อเปิดการเรียนการสอนดา้ นภาษาเกาหลแี ละเกาหลศี กึ ษา เพื่อใหต้ อบสนองกับการขยายตัวของประเทศเกาหลี 26ในบรบิ ทของสังคมโลกและตอบสนองกระแสเกาหลี (Korean wave) ท่ีเปน็ เสมือน “อาํ นาจออ่ น ” (soft power) ทางวัฒนธรรมท่ีสง่ ผลตอ่ การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ การศกึ ษาวัฒนธรรม (วัฒนธรรมประชานิยม - popular culture) และแวดวงวิชาการในระดบั นานาชาติ จนกา้ วข้ึนมาเป็นประเทศทีอ่ ย่ใู นระดบั แนวหนา้ ของเอเชีย และในระบบโลก อยา่ งไรกต็ าม ดว้ ยบทบาทของประเทศเกาหลีที่เพม่ิ มากข้ึนในสายตาประชาคมโลก ทําให้หลายๆประเทศตอบสนองต่อการกา้ วข้นึ มาของประเทศเกาหลี ด้วยพฒั นาการเรียนการสอน การศกึ ษาวิจยั อันจะเปน็ ฐานทรพั ยากรความรู้ เพื่อผลิตกาํ ลงั คนและทรพั ยากรแรงงาน ในฐานะของทนุ มนษุ ย์ทมี่ ีความรู้ความสามารถทางดา้ นภาษาและวฒั นธรรมของประเทศเกาหลี เพ่ือให้มีความร้คู วามเข้าใจ สามารถปฏบิ ตั ิงานทเ่ี ก่ยี วข้อง และปูอนเขา้ สตู่ ลาดแรงงาน เพอ่ื รองรบั การขยายตัวของประเทศเกาหลีทเ่ี ริม่ มีบทบาทในระดบันานาชาติมากขน้ึ ประเทศไทยเอง กเ็ รม่ิ มกี ารพฒั นาการเรยี นการสอนดา้ นภาษาเกาหลี อนั เปน็ ส่วนหน่งึ ของสาขาวชิ ายอ่ ยเกาหลีศึกษาในช่วงต้นของศตวรรษท่ี 21 เรอื่ ยมาจนถึงปัจจบุ ัน แต่เม่ือเปรียบเทียบกับประเทศอืน่ ๆ ทมี่ ีการพฒั นาการเรยี นการสอนด้านเกาหลศี ึกษาแล้ว ประเทศไทยที่มพี ัฒนาการทางด้านเกาหลีศกึ ษา มาเกอื บ15 ปี ยังถอื ว่ามอี งค์ความรู้ด้านเกาหลศี ึกษาท่ียังไม่ครอบคลุมในทุกด้าน บทความวิชาการชนิ้ นจี้ งึ มุ่งทจี่ ะศึกษาหลักสตู รและรายวิชาดา้ นเกาหลีศึกษาในมิตสิ งั คมศาสตร์ของประเทศองั กฤษออสเตรเลยี ฮอ่ งกงและเวียดนามในระดับปรญิ ญาตรี เพ่ือนํามาใชเ้ ปน็ แนวทางในการปรับปรุง แกไ้ ข และพัฒนาหลกั สตู รด้านเกาหลีศึกษารวมถึงรายวชิ าทเี่ ปดิ สอนในประเทศไทย อันจะเปน็ แนวทางให้ผู้พฒั นาหลกั สตู รดา้ นเกาหลีศกึ ษา ใช้เปน็แนวคดิ เพือ่ ประกอบสร้างองคค์ วามรดู้ ้านหลกั สูตร และวพิ ากษ์ “ความเป็นเกาหลีศกึ ษา ” ในอนาคตอน่งึอาจารย์ประจําภาควชิ าภาษาเกาหลี และศูนยเ์ กาหลีศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชยี งรายPh.D. candidate in Sociology, Graduate School of Korean Studies, The Academy of Korean Studies, Republic of Korea26ประเทศเกาหลี ในทน่ี ่ีผู้เขียนจะหมายความถงึ สาธาณรฐั เกาหลี (Republic of Korea) แนวทางการพฒั นาเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย 93 태국 내 한국학 발전 현황
ผเู้ ขียนจะใช้ความคดิ เห็นส่วนตวั ในฐานะผศู้ กึ ษาเกาหลศี ึกษา (ดา้ นสงั คมวิทยา ) ในการอธิบาย และวพิ ากษ์บทความในคร้งั นี้รจู้ ักอาณาบริเวณศกึ ษา เกาหลีศึกษา ในปริมณฑลของมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ นักวชิ าการดา้ นภาษาเกาหลี โดยเฉพาะด้านภาษาศาสตรเ์ กาหลี การสอนภาษาเกาหลี หลายท่านคงยังสงสยั กบั คําวา่ “เกาหลศี ึกษา ” อยูไ่ มน่ อ้ ย ว่าในความเป็นจรงิ แลว้ เกาหลีศกึ ษา คอื ศาสตรว์ ชิ าที่มอี งค์ความร้สู มั พนั ธก์ ับด้านไหนกันแน่ ผเู้ ขยี นขออธบิ ายในฐานะของผศู้ กึ ษาดา้ นสงั คมวิทยา ถึงที่มาของ “เกาหลีศึกษา” ในมมุ มองวิชาการ ดา้ นอาณาบรเิ วณศกึ ษา เพือ่ ใหเ้ ปน็ ที่เข้าใจตรงกัน ก่อนอน่ื ขอเร่ิมด้วยคาํ จาํ กดัความของ “อาณาบรเิ วณศึกษา หรือ area studies” อาณาบรเิ วณศกึ ษา คืออะไร? อาณาบริเวณศึกษา คือการศึกษาทเี่ ริม่ ก่อตัวขึน้ ในช่วงสงครามโลกครงั้ท่ี 2 ในประเทศสหรฐั อเมรกิ า ทตี่ อ้ งการศึกษาความเป็นไปของประเทศตา่ ง ๆ ทุกมุมโลก (Eun, 2002)ประเทศตา่ ง ๆ ในทน่ี ี้ ถือเปน็ หนง่ึ อาณาบริเวณภายใตก้ รอบของ รฐั ชาติ ( Nation state) แห่งหนึ่งท่ีสหรฐั อเมริกาต้องการจะสร้างความสัมพนั ธด์ ว้ ยต้องการทีจ่ ะล่วงร้ขู ้อมลู ของรฐั ชาตติ ่างๆเหลา่ น้ี โดยเฉพาะอย่างยิง่ ส่งิ ท่สี หรัฐอเมริกาไม่เคยรู้มาก่อน ซึง่ ประเทศในแถบเอเชยี ถือเปน็ เปาู หมายสําคัญในการศึกษาอันดบัต้น ๆ (ศูนยย์ ุโรปศกึ ษาแห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย, 2552 และ Kim, 2003) นอกจากนัน้ สทิ ธเิ ทพ เอกสทิ ธิพงษ์ (2555) ไดก้ ลา่ วเพ่ิมเตมิ ว่า ในช่วงหลงั สงครามโลกคร้ังที่ 2 นี้ มีการก่อเกดิ ของรฐั ชาติใหม่ ๆ ที่ลุกข้ึนมาประกาศอสิ รภาพจากเจา้ อาณานคิ ม การศกึ ษาในบรบิ ททก่ี ลา่ วมาจงึ ส่งอิทธิพลตอ่ การเลือก “หนว่ ย” ในการศึกษาของอาณาบรเิ วณศึกษาท่ีจํากดั “พ้ืนท”่ี ในการศกึ ษาอยู่ในกรอบของ “รฐั ชาติ” เป็นหลกั คาํ ศพั ท์ทางวชิ าการอาจจะพบคาํ วา่ พ้นื ท่ศี กึ ษา และภูมิภาคศกึ ษา (regional studies) ร่วมด้วย การเกดิ ขึ้นของ “เกาหลีศึกษา” น้ัน มีความน่าสนใจเป็นอยา่ งย่งิ เนื่องจากวา่ ในช่วงแรกเริ่ม เกาหลีศกึ ษานัน้ ก่อตัวมาจากจนี ศึกษา ญี่ปนุ ศึกษา และรัสเซยี ศกึ ษา (Kim, 2003 and 2004) ดว้ ยความที่เปน็ประเทศมหาอาํ นาจในเอเชยี ตะวนั ออก ความสนใจของ สหรฐั อเมริกา จึงพุง่ เปาู ไปทป่ี ระเทศจีน ญ่ปี ุน และรัสเซยี นักวิชาการในยคุ แรกทศี่ ึกษาจีนศกึ ษา ญปี่ ุนศึกษา และรสั เซียศึกษา จะมุ่งเนน้ ไปทีค่ วามสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และด้านประวัตศิ าสตร์ โดยมกี ารพาดพิงถงึ ความสมั พนั ธ์กบั ดินแดน “โชซอน”ในช่วงกอ่ นยุคอาณานิคมและเรียกการศกึ ษาน้ีว่า โชซอนศกึ ษา (Joseon Studies) สว่ นยคุ หลงั อาณานคิ ม (ค.ศ.1945) ทีเ่ รม่ิมกี ารใช้กรอบรัฐชาติของประเทศเกาหลีเข้ามาเรียกอาณาบริเวณแหง่ นี้ จะเรยี กการศกึ ษานวี้ ่า (ในมุมมองของประเทศเกาหลเี อง ) national studies (Gukhak) ส่วนเกาหลศี กึ ษา (Korean Studies) นนั้ เร่ิมใชอ้ ยา่ งเป็นทางการและแพรห่ ลายต้ังแตป่ ี 1960 เป็นต้นมา ประเดน็ ในการศึกษา เกาหลศี ึกษานั้น เรมิ่ แรกเนน้ ไปท่ีประวัตศิ าสตรแ์ ละความสมั พันธ์ระหวา่ งประเทศในเอเชยี ตะวันออก ต่อมาเมื่ออทิ ธิพลของการศกึ ษาแบบอเมริกนั เร่มิ เข้ามามอี ทิ ธพิ ลตอ่ ภูมิภาคเอเชียตะวันออก เกาหลีศึกษา จึงมคี วามเป็นวชิ าการท่หี ลากหลาย ระหว่างศาสตร์ด้านมนุษยศาสตร์ (ประวตั ิศาสตร์ แนวทางการพฒั นาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 94 태국 내 한국학 발전 현황
วรรณคดี ปรชั ญา ภาษาศาสตร์ เป็นตน้ ) และดา้ นสงั คมศาสตร์ (สงั คมวทิ ยา มนษุ ยวิทยา รฐั ศาสตร์ เป็นตน้ )ดว้ ยความท่มี นุษยศาสตรไ์ มส่ ามารถแยกตัวออกจากสงั คมศาสตร์ไดอ้ ย่างส้นิ เชงิ การศึกษาเกาหลศี ึกษา จึงหลีกเลย่ี งทจี่ ะศึกษา ประวตั ศิ าสตร์ วรรณคดี ปรัชญา และรัฐศาสตร์ ไมไ่ ดเ้ กาหลีศึกษา จงึ มคี วามเปน็มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ในลักษณะของ สหสาขาวชิ า (interdisciplinary) โดยใช้พื้นทข่ี อง ‘รฐั ชาติเกาหลี’ เปน็ ตวั กลางในการศึกษา ดังนัน้ เกาหลีศึกษา จึงมีลักษณะการก่อตัวท่คี ่อนข้างมีลักษณะพิเศษ กลา่ วคือ มกี ารพฒั นามาจากประวตั ิศาสตรข์ องจนี ในสมัยที่ “รัฐชาติ” ของประเทศเกาหลียังไมเ่ ร่มิ ก่อตัว มคี วามเก่ียวเนื่องกบั การลา่อาณานิคมของประเทศญ่ีปุน สงครามเยน็ ในเอเชยี ตะวนั ออก สงิ่ เหล่านี้ ลว้ นแลว้ แตเ่ ป็นการก่อให้เกดิ เกาหลีศึกษา ขึน้ มาเปน็ ศาสตรแ์ ขนงนงึ ในปริมลฑลของอาณาบริเวณศึกษาหลกั สตู รและรายวิชาเกาหลีศึกษาในระดับนานาชาติสืบเนอื่ งจากความเป็นมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ การเรียนการสอนดา้ นเกาหลีศึกษา (ในความเป็นจรงิ ) ควรทจี่ ะมลี กั ษณะทีเ่ ป็น สหสขาวชิ า รวมอยใู่ นศาสตรเ์ ดียวกัน โดยใช้พ้นื ที่ของกรอบ “รฐั ชาติ” ของประเทศเกาหลี ทง้ั สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ ) และ สาธารณรัฐเกาหลี(เกาหลใี ต)้ โดยใชม้ ุมมองของศาสตรท์ างดา้ นวิชาการแขนงต่าง ๆ เขา้ มาศึกษา “พ้ืนท”่ี ของประเทศเกาหลีการเรยี นการสอนด้านเกาหลศี กึ ษา ในหลายๆประเทศนน้ั มีความแตกต่างกันออกไป ในทน่ี ี้ ผเู้ ขียนจะเลอื กหลกั สตู ร ท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั เกาหลศี กึ ษา ในประเทศ อังกฤษ ออสเตรเลยี ฮอ่ งกง และ เวียดนาม มาอภปิ รายเพอื่ ให้เห็นภาพของหลกั สตู ร และรายวิชาทีเ่ ปิดสอน อนั จะเป็นแนวทางในการสร้างความมนั่ คง และสรา้ งความหลากหลาย ให้กับหลักสูตรพอื่ เปน็ แนวทางใหก้ ับหลกั สตู รดา้ นเกาหลศี ึกษา ต่อไปหลักสตู รเกาหลศี ึกษาในประเทศเวียดนามในประเทศเวียดนาม ผเู้ ขียนจะยกตวั อยา่ งของมหาวทิ ยาลยั University of Social Sciences andHumanities (Vietnam National University) มาอภิปราย หลักสตู รที่เก่ียวขอ้ งกับเกาหลีศึกษา ทีเ่ ปดิ สอนในมหาวทิ ยาลยั แหง่ น้ี ใหป้ รญิ ญาเป็น Bachelor of Arts in Korean Studies ภายใต้การดาํ เนนิ งานของDepartment of Korean Studiesรายวชิ าท่เี ปิดสอนนน้ั สว่ นใหญ่ 70% จะเป็นวิชาที่เกย่ี วขอ้ งกับภาษาเกาหลี ในทกั ษะทางด้านการฟงั การพดู การอ่าน การเขียน การออกเสียง วจนปฎิบัติ และมวี ิชาเลอื กทางด้านประวตั ิศาสตร์และวัฒนธรรมเกาหลี เศรษฐกิจเกาหลี ภูมศิ าสตร์ วรรณคดี การเมอื งการปกครอง และวัฒนธรรมฮนั รยกู บั วัฒนธรรมประชานยิ ม และวชิ าภาษาเกาหลีเชิงประยกุ ต์ เชน่ วชิ าภาษาเกาหลีเพอื่ งานเลขานุการ การทอ่ งเทีย่ ว งานบรรณาธิการ การแปลเกาหลี -เวยี ดนาม งานการทตู การคา้ การธนาคาร และวิธกี ารสอนภาษาเกาหลีหลกั สตู รเกาหลีศึกษา ในประเทศฮอ่ งกงหลกั สูตรทเ่ี กีย่ วข้องกับเกาหลศี ึกษา ในประเทศฮ่องกง ผู้เขียนเลอื กหลกั สูตรของ University ofHong Kong มาอภิปราย มหาวทิ ยาลยั นใ้ี ห้ปรญิ ญาชือ่ วา่ Bachelor of Arts in Korean Studiesโดยสังกัด แนวทางการพัฒนาเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย 95 태국 내 한국학 발전 현황
อยู่ในSchool of Modern Languages and Culture, Faculty of Arts มหาวทิ ยาลยั นี้ มหี ลกั สูตรท่โี ดดเด่นมาก ในเรื่องของหลักสูตรและรายวชิ าทเ่ี ปดิ สอน คอื ให้นกั ศึกษาเลอื กเรียนภาษาเกาหลีในช่วงเริม่ การศกึ ษาจนครบ 36 หน่วยกิต หลังจากนัน้ ให้เลือกเรียนเป็นสองกล่มุ ตามความถนัดและความสนใจของนกั ศกึ ษาเอง โดยแบ่งเปน็ กลุ่มเกาหลศี ึกษาด้านภาษา (Korean Studies – Language Elective) และ เกาหลีศกึ ษาดา้ นทไ่ี มใ่ ช่ภาษา (Korean Studies – Non-Language Elective) โดยมีวชิ าทนี่ า่ สนใจในกลุ่มภาษา เชน่ Koreanreading course, Korean conversation workshop 1, Korean language through media, Koreanwriting 1-2,Korean III, Contemporary Korean society, English-Korean translation 1: Practicalskills, Korean for business 1, News project in Korean, Korean syntax: From endings tosentences, Advanced readings in Korean, Advanced Korean debating skills, Korean Overseasimmersion language และ Korean IV สว่ นกลมุ่ เกาหลศี ึกษาดา้ นท่ีไมใ่ ช่ภาษา มีวิชาท่ีน่าสนใจ ไดแ้ ก่Korean Studies 1-2, Topics in Korean culture and society, Creative industries in Korea in aglobal context, The Other Korea – North Korea, Cultural history of economic development inKorea, Understanding world heritage in Korea, Korea in a global context, Korean literature intranslation, Modern and contemporary Korea, Gender, sexuality, and family in Korea, Societyand thoughts in Korea, Korean society before 1900, Global Korean pop culture, Korea andthe wider world, Topics in Korean visual culture and cultural studies, Special topics inmodern Korean literature, The Korean language in historical perspective, Korean identity inthe 20th century และวิชา Directed readings in Korean Studies หลักสูตรเกาหลีศกึ ษา ในประเทศออสเตรเลยี ในประเทศออสเตรเลยี หลักสตู รเกาหลศี ึกษานัน้ ไมไ่ ด้ใช้ช่ือว่าเกาหลศี กึ ษา เน่ืองจากว่าระบบการศกึ ษาในประเทศออสเตรเลยี ใช้หลกั การใหป้ รญิ ญาตามคณะ หรือ วิทยาลัยทีส่ งั กดั หลกั สูตรของAustralian National University น้นั ใหป้ รญิ ญาเป็น Bachelor of Arts in Asian Studies และBachelorof Arts in Asia-Pacific Studies(Korean Studies Major)โดยนกั ศกึ ษาจะต้องเลอื กวิชาเอกภายในสาขา ซึ่งมีความหลากหลายในศาสตร์ท่ศี กึ ษามาก ซง่ึ ภาษาเกาหลี และเกาหลีศกึ ษา เปน็ หน่งึ ในตัวเลือกน้นั รายวชิ าที่เปดิ สอนที่เกี่ยวข้องกับเกาหลีศกึ ษา ไดแ้ ก่ ภาษาเกาหลี และภาษาจนี ในภาษาเกาหลี ContemporaryKorean Society and Culture, Translation and InterpretationและKorea in Literature andPopular Culture หลักสตู รเกาหลีศกึ ษา ในประเทศอังกฤษ University of London (School of Oriental and African Studies: SOAS) ประเทศอังกฤษ เปดิสอนหลกั สตู ร Bachelor of Arts โดยให้ปรญิ ญา Bachelor of Arts inKorean อย่างไรก็ตาม รายวิชาท่ีเปิดสอนน้ัน ไม่ได้เน้นไปท่กี ลมุ่ ภาษาเหลีแต่เพยี งอยา่ งเดียว แตม่ กี ารผนวกเอารายวชิ าดา้ นเกาหลีศึกษาเขา้ ไว้ในหลกั สตู รเปน็ จาํ นวนมาก เช่น วิชา Culture and Society in Modern and Contemporary Korea, แนวทางการพฒั นาเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย 96 태국 내 한국학 발전 현황
Introduction to Mixed Script Korean, Higher Intermediate Readings in Korean, LiteraryTraditions and Culture of Korea, Trajectories of Modernity in 20th Century Korean LiteratureKorean Conversation, Composition in Korean, History and Structure of the Korean Language,Extended Essay in Korean Language and Culture, History and Culture of Korea to the late19th Century, The Other Korea: North Korea since 1945, 1990's South Korean cinema: Acritical Survey, Royal Arts of Korea, Buddhist Arts of Korea, Contemporary Korean Arts in EastAsia, Korean-English-Korean Translation, History and Structure of the Korean Language,Readings in Korean Literature, Literary Traditions and Culture of Korea, Trajectories ofModernity in 20th Century Korean Literature, Advanced Readings in Modern Korean, Historyand Culture of Korea to the late 19th Century เปน็ ตน้ จะเหน็ ไดว้ า่ ในมหาวิทยาลัยจากทั้ง 4 ประเทศนี้ หลักสูตรภาษาเกาหลี และ เกาหลศี ึกษาส่วนใหญ่จะมคี วามเปน็ เอกลักษณ์ของแตล่ ะประเทศ ในประเทศฮ่องกง (University of Hong Kong) จะเนน้ ไปทภ่ี าษาเกาหลีและเกาหลีศึกษา โดยใหผ้ ้เู รยี นเป็นผู้เลือกเรยี นตามความสนใจและให้ปรญิ ญาในชื่อ Bachelor of ArtsinKoreanStudies ประเทศเวียดนาม University of Social Sciences and Humanities (VietnamNational University) เน้นไปท่ี ภาษาเกาหลี และการประยุกต์ศาสตร์ทางดา้ นภาษา เพอื่ ใช้กับธุรกิจการคา้การลงทนุ ประเภทตา่ ง ๆ อย่างไรกต็ าม ปริญญาทใี่ ห้กบั ผ้จู บการศึกษากค็ อื Bachelor of ArtsinKoreanStudies ในประเทศอังกฤษ University of London (School of Oriental and AfricanStudies: SOAS) ให้ปริญญาเปน็ Bachelor of Arts inKorean แตจ่ ดุ เนน้ ของหลักสูตรอยทู รี่ ายวิชาท่ีเปิดสอน โดยเน้นไปท่ภี าษาและวรรณคดีเกาหลเี ป็นส่วนใหญ่ และมีรายวชิ าเกาหลีศึกษาด้านสงั คมศาตรเ์ ข้ามาร่วมดว้ ย สว่ นประเทศออสเตรเลยี น้นั การศกึ ษาด้านเกาหลศี กึ ษาจะอยูใ่ นบริบทของเอเชยี ศกึ ษาAustralian National Universityให้ปริญญาแก่ผูท้ ี่สาํ เร็จการศกึ ษาเป็น Bachelor of Arts in Asian Studies(Korean Studies Major) และBachelor of Arts (Asia-Pacific Studies) และเลือกเรยี นรายวชิ าทเ่ี กี่ยวกบัภาษาเกาหลีและเกาหลีศกึ ษา ซ่งึ รายวิชานั้นจะสังกัดอยทู่ ี่ School of Asian Studies และ School ofHistory and Languages (รายละเอียดในภาคผนวก) ความโดดเด่นของหลักสูตรทเ่ี กี่ยวข้องกบั เกาหลศี ึกษา ในประเทศตา่ งๆนน้ั จะขึน้ อยู่กบั ความเช่ียวชาญของคณาจารย์ประจาํ หลกั สตู รเป็นหลัก เนอื่ งมาจากว่าใน 4 ประเทศที่กล่าวมา ไม่ได้มกี ารบังคับในเรื่องของการศกึ ษา หรือคณุ วฒุ ิ และสาขาเชยี วชาญของอาจารย์ประจาํ หลักสูตร เมือ่ พิจารณาโดยรายละเอยี ดจะพบว่า คณาจารยผ์ ้สู อนในหลกั สูตร 4 ประเทศทก่ี ล่าวมานี้ ไม่ได้เปน็ ผทู้ ีจ่ บการศึกษามาจากประเทศเกาหลีบางทา่ นไม่ได้มคี ณุ วฒุ ทิ ี่ตรงหรือสัมพนั ธ์กบั เกาหลเี ลย แต่งานวจิ ยั และความสนใจที่จะศกึ ษาส่วนใหญ่เน้นไปที่ประเทศเกาหลซี ง่ึ เป็นหน่งึ ในพน้ื ทอี่ าณาบริเวณท่ีสนใจจะศกึ ษา เทา่ นน้ัแนวทางการพฒั นาและขอ้ จากดั ของการพฒั นาเกาหลีศกึ ษาในมิติสังคมศาสตร์ในประเทศไทย 97 แนวทางการพัฒนาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 태국 내 한국학 발전 현황
ข้อจํากัดในการพฒั นาเกาหลีศึกษา ในมติ ิสงั คมศาสตรข์ องประเทศไทยนั้น ผเู้ ขียนมีความคิดเห็นว่ายังมชี อ่ งวา่ งอยู่หลายประการ ซึ่งจะขออภปิ รายเปน็ ประเด็นตา่ งๆ โดยอาศัยหลกั สตู รภาษาเกาหลี/เกาหลีศึกษา ที่เปดิ สอนในต่างประเทศมาร่วมอภปิ ราย เพื่อทีจ่ ะใชเ้ ปน็ แนวทางในการพัฒนาเกาหลศี ึกษาตอ่ ไปประเด็นที่จะอภปิ รายมี ดังนี้ 1) การกาหนดช่ือเรียกสาขาวิชา (หลักสูตร) และรายวชิ าทีค่ วรจะเปิดสอน การกาํ หนดชอ่ื หลักสูตรนัน้ ในความเป็นจริงแล้วในต่างประเทศ ไม่ไดม้ กี ารกําหนดว่าควรจะเปน็ ด้านภาษาเกาหลี หรือ เกาหลีศกึ ษา การเรียกชื่อหลักสตู รวา่ เกาหลีศึกษา กม็ ีการเปดิ สอนด้านภาษาเกาหลีภายในหลกั สูตรไว้ด้วย เนื่องจากภาษากเ็ ปน็ สว่ นหนง่ึ ในอาณาบรเิ วณศึกษาเชน่ กนั สว่ นในกรณขี องประเทศไทยนัน้กระทรวงศึกษาธกิ ารของไทยไมไ่ ด้เป็นผกู้ าํ หนดช่ือเรียกสาขาวิชา (หลกั สตู ร) ไว้ เพียงแตก่ ําหนดช่ือปริญญาไว้เทา่ นนั้ เช่น ศิลปศาสตรบณั ฑติ วิทยาศาสตรบณั ฑิต เพียงแต่กําหนดไว้แคว่ ่า ถ้าเปน็ วิชาในกลุ่มภาษา ควรจะใช้ชือ่ ศลิ ปศาสตรบัณฑติ เพราะฉะนนั้ ผู้เขยี นคิดว่า การจะให้ชื่อเรียกปริญญาวา่ ภาษาเกาหลี หรือ เกาหลีศกึ ษา นัน้ ขึ้นอยู่กับความเห็นของอาจารย์ประจาํ หลักสูตร และการตคี วามวา่ เกาหลศี กึ ษา เป็นศาสตร์ทางดา้ นไหน เพราะวา่ ในความเปน็ จริง “เกาหลีศกึ ษา ” เป็นศาสตร์ทางดา้ นสหสาขาวิชา(Interdisciplinary)ในกลุม่ มนุษยศาตรแ์ ละสังคมศาสตร์อยแู่ ล้ว ในบางมหาวทิ ยาลยั มีการแยกคณะ หรอืวิทยาลัย ทางดา้ นมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ ออกจากกันโดยสิ้นเชงิ เลยเปน็ อีกหน่งึ ปัญหาในการกําหนดชอื่ เรียกสาขาวิชา เพ่อื ให้เกดิ ความเปน็ เอกลกั ษณแ์ ก่คณะหรอื หน่วยงานทส่ี งั กัดอยู่ สว่ นรายวิชาท่ีเปดิ สอนทงั้ในหลกั สูตรทางดา้ นภาษาเกาหลี และเกาหลีศกึ ษา ควรจะมวี ชิ าทางดา้ นมติ ิสงั คมศาสตรใ์ หน้ ักศึกษาเลอื กเรียนตามความสนใจบรรจุไว้ในหลกั สูตร แตก่ ย็ ังขึน้ อยู่กบั ปัจจยั เรอ่ื ง ความเชย่ี วชาญของคณาจารย์ผูส้ อนเป็นหลัก ในประเทศไทยนัน้ เนือ่ งมาจากปญั หาทว่ี า่ การบรรจุคณาจารย์น้ัน ยงั รับเฉพาะผทู้ ่ีมคี ุณวฒุ ดิ า้ นภาษาเกาหลี (ตามเกณฑข์ ้อบงั คบั ของ สาํ นักงานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา ) เพื่อที่จะใหม้ ีคุณวฒุ ิตรงและสมั พนั ธ์กบั ชอื่ เรียกหลกั สูตรความหลากหลายในรายวิชา ในมติ ิของสังคมศาสตร์ ในหลกั สตู รภาษาเกาหลี จึงไมม่ ีความหลากหลายเท่าท่ีควร แตจ่ ะเป็นการยากมากท่ีจะรับบรรจุคณาจารยท์ ีไ่ มไ่ ดม้ คี ณุ วฒุ ิดา้ นทเ่ี กี่ยวข้องกบั เกาหลีแล้วนาํ ความรู้ ความเช่ยี วชาญมาสอนด้านเกาหลศี กึ ษา ในลักษณะที่นยิ มทํากนั ในตา่ งประเทศ อยา่ งไรกต็ าม ผู้เขียนยังมคี วามเหน็ ว่า การทีส่ าขาวิชาภาษาเกาหลหี รือ เกาหลีศกึ ษา ท่ีกําลังจะเกดิ ขนึ้ ในอีกหลายๆมหาวทิ ยาลยั ในอนาคต ควรทจี่ ะเปิดสอนในลกั ษณะให้ผู้เรียนได้เลือกเรยี นตามความสนใจมากกวา่ แตก่ ข็ น้ึ อยู่กบั ปจั จัยในหลายๆดา้ น เช่น บคุ ลากร และจดุ เน้นของแตล่ ะมหาวิทยาลัย เพื่อใหม้ คี วามเป็นอตั ลกั ษณ์เฉพาะตัว 2) เปา้ หมายของการผลติ บัณฑติ ในสาขาเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย แนวทางการพฒั นาเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย 98 태국 내 한국학 발전 현황
เปูาหมายการผลิตบัณฑติ ในสาขาภาษาเกาหลี /เกาหลีศึกษา เป็นอีกปจั จัยหนึง่ ในการกาํ หนดชอื่สาขาวิชา ในปัจจบุ ัน มกี ารถกเถียงกันอย่างกวา้ งขวางว่า การเรยี นในดา้ นมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ไม่ตอบโจทยก์ บั สังคมทนุ นยิ มสมัยใหมด่ งั ที่จะเห็นไดว้ า่ ในหลายๆ มหาวทิ ยาลยั ในตา่ งประเทศ เรมิ่ มกี ารปิดสอนหลักสตู รที่เปิดทําการเรียนการสอนดา้ นมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เนือ่ งจากไมต่ อบสนองตอ่ สงั คมในยคุทนุ นยิ ม และเสรนี ยิ มใหม่ (Jack Grove, 2015) เพราะฉะนน้ั ในประเทศไทยจงึ มที ัศนะที่ครอบงําแวดวงวชิ าการอยใู่ นระดับนงึ ทว่ี า่ ถา้ เปิดสอนหลักสูตรที่ใชช้ อื่ ว่า เกาหลศี ึกษา บัณฑติ ที่จบไปจะไมส่ ามารถหางานทํา ได้ เนื่องจากวา่ ส่วนใหญ่รายวชิ าที่เรียนจะเนน้ ไปที่การคดิ วเิ คราะห์ ทฤษฎี และความเป็นวิชาการกระแสหลัก ซง่ึ ทําใหผ้ เู้ รยี นไม่สามารถเอาความรู้ทไ่ี ด้ไปประยกุ ตใ์ ช้ในการทํางานไดใ้ นสังคมทนุ นิยมปัจจบุ นั ดังนน้ั จงึ ควรจะเนน้ เฉพาะการสอนภาษาเกาหลีอยา่ งเดยี ว เพ่ือท่ีจะสามารถผลิตบัณฑติ ปอู นเข้าสูต่ ลาดแรงงานได้ เนื่องจากบณั ฑติ จะได้ใช้ความสามารถทางภาษาไปประยกุ ตใ์ ช้กบั ตลาดแรงงานได้ ระบบคดิ เช่นน้ี ไดน้ ําเอาทศั นะครอบงาํ เร่อื ง“ภาวะการมกี ารทําของบณั ฑิต ” มาเปน็ ส่งิ ลดทอนความเป็นวิชาการ และความก้าวหน้า และแนวทางการพฒั นาการเรียนการสอนด้านเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทยอยูด่ ว้ ย ดงั นนั้ การเรียนการสอนเกาหลศี กึ ษา ในมติ ิสังคมศาสตร์ จึงควรจะมกี ารเรียนการสอนในลักษณะท่ี ป่นิ แกว้ เหลืองอร่ามศรี และ อรัญญา ศริ ผิ ล (2558)เรยี กวา่ บณั ฑติ ดา้ นสงั คมศาสตร์ควรถูกสร้างใหเ้ ป็น 1) ผมู้ คี ุณภาพทางความรูว้ ิชาการและคุณภาพในความเปน็ มนษุ ย์ และ 2) สรา้ งใหต้ อบโจทยท์ างสงั คมและความต้องการของภูมิภาค ในทัศนะของผ้เู ขยี นจงึ มีความเหน็ ว่า การผลิตบณั ฑติ ทคี่ วบค่ไู ปกบั การพฒั นาเกาหลีศึกษาในประเทศไทยให้มคี วามก้าวหน้า ควรท่จี ะตอ้ งตัดทศั นะด้านภาวะการมงี านทาํ ของบณั ฑิตออกไป เพ่ือท่จี ะให้เกาหลีศกึ ษามีการพฒั นาใหม้ คี วามหลากหลายในมิติของวชิ าการมากขน้ึ แต่ก็ดูเหมอื นจะเป็นเรือ่ งทีท่ ําไดย้ ากมาก เนอื่ งมาจากวา่ ภาวะการมีงานทาํ ของบัณฑติ นน้ั ได้เป็นหน่ึงในตัวช้วี ดั ของการประเมนิ คุณภาพการศึกษาไปแล้ว 3) คุณวุฒขิ องคณาจารย์ผสู้ อนกับเกณฑม์ าตรฐานหลักสูตร ปัญหาเร่อื งคณุ วฒุ ขิ องคณาจารย์ผูส้ อนกบั และเกณฑ์มาตรฐานหลกั สูตรเป็นอีกหนง่ึ ปญั หาท่กี าํ ลังลดทอนความหลากหลายและความกา้ วหนา้ ของการพัฒนาเกาหลศี กึ ษาในเมอื งไทย การท่เี กณฑ์มาตรฐานหลักสูตรในประเทศไทยได้กําหนดให้ หลักสูตรทเี่ ปดิ สอนจะต้องมีอาจารย์ประจาํ หลกั สตู ร ทม่ี คี ุณวฒุ ิทตี่ รงและสมั พันธ์กบั หลักสูตรเทา่ น้นั นนั้ เปน็ การลดทอนความหลากหลายทางวิชาการ ที่จาํ เปน็ ต่อการพัฒนาศาสตร์ดา้ นเกาหลศี กึ ษาเปน็ อย่างมาก เชน่ การทกี่ าํ หนดให้ อาจารยผ์ ูส้ อนในสาขาวิชาภาษาเกาหลี ตอ้ งมีคุณวฒุ ิทเี่ กยี่ วข้องกบั ภาษาเกาหลเี ท่าน้นั ทาํ ใหร้ ายวิชาทเ่ี ปิดสอนในหลกั สตู รลดความหลายหลายลง บาง แนวทางการพฒั นาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 99 태국 내 한국학 발전 현황
หลกั สตู รมรี ายวิชาท่ีเกยี่ วข้องกบั เกาหลีศึกษา ดา้ นสงั คมศาสตรอ์ ยู่ แต่ด้วยขอ้ จาํ กดั ทางคณุ วุฒแิ ละความเชย่ี วชาญของผสู้ อน เลยทาํ ใหไ้ มไ่ ดเ้ ปดิ การสอน จึงทาํ ใหค้ วามเปน็ วิชาการดา้ นเกาหลีศึกษาในหลักสูตร ทคี่ วรจะพัฒนาควบค่กู นั ไปทงั้ ทางดา้ นมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตรม์ จี ดุ อ่อน แตใ่ นทางตรงกันขา้ ม มหาวิทยาลัยในตา่ งประเทศ กลับไม่ได้ให้ความสาํ คัญกบั คุณวฒุ ขิ องอาจารยผ์ สู้ อน แต่เนน้ ไปทค่ี วามเช่ยี วชาญของผู้สอนเปน็ หลัก จึงทาํ ใหเ้ กาหลีศึกษาในตา่ งประเทศ มกี ารพฒั นาท่กี า้ วกระโดดมากกว่าในประเทศไทย เชน่ ในประเทศฮอ่ งกง ประเทศองั กฤษ ประเทศออสเตรเลยี คณาจารย์ผสู้ อนมคี ุณวุฒทิ างดา้ นมานุษยวทิ ยา สังคมวทิ ยา นิเทศศาสตร์ แตท่ าํ หนา้ ทส่ี อนอยู่ในหลักสูตรเกาหลศี ึกษา และทาํ หนา้ ทส่ี อนรายวิชาทางด้านมานุษยวทิ ยาเกาหลี (สงั คมเกาหลใี นสมยั โบราณ ) สังคมวทิ ยาเกาหลี (ประวตั ิศาสตร์ รฐั ศาสตร์ การพฒั นาสังคม เพศสภาพ วัฒนธรรมศกึ ษา ) หรือแม้แตน่ ิเทศศาสตร์ด้านเกาหลี (กระแสเกาหลี สอื่ เกาหลรี ว่ มสมัย )ดังน้นั จึงทาํ ใหร้ ายวิชา และความเป็นวชิ าการของเกาหลศี กึ ษามีความกา้ วหน้า โดยไม่ได้คาํ นงึ ถงึ เรอื่ งคณุ วุฒิของผสู้ อนและ อยู่ภายใตเ้ กณฑม์ าตรฐานหลกั สูตร เหมือนทบี่ งั คับใชก้ ันในประเทศไทยบทสรปุ การพัฒนาเกาหลศี ึกษาในประเทศไทยน้ัน ผเู้ ขียนมีความเหน็ วา่ ควรจะตคี วามคาํ วา่ “เกาหลีศึกษา”ให้ชดั เจนก่อน เพอ่ื ที่จะใชก้ าํ หนดช่อื หลกั สตู รและรายวชิ าท่ีเปิดสอน เชน่ ภาษาเกาหลี หรอื เกาหลศี กึ ษาอย่างไรก็ตาม ความเปน็ มนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ ท่ีแยกกันไม่ออกอย่าสนิ้ เชิง ได้สร้างปัญหาให้กบั ความหลายหลายในการกําหนดรายวชิ าท่คี วรจะเปิดสอนในหลักสูตรทใี่ ชช้ ่อื ว่า ภาษาเกาหลีอยไู่ มน่ อ้ ย ถ้าจะทาํ ให้“ความเป็นเกาหลีศึกษา ” ในหลักสตู รภาษาเกาหลแี ละเกาหลีศกึ ษา ของประเทศไทยพัฒนาไปอย่างก้าวกระโดด ควรจะเพิ่มรายวชิ าทีส่ อนในหลกั สตู รให้มมี ติ ทิ างด้านสงั คมศาสตร์มากขนึ้ เมื่อพจิ ารณาจากหลักสูตรท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั เกาหลี ในต่างประเทศแล้ว จะพบวา่ การใชช้ ่อื เรยี กหลกั สูตรวา่ ภาษาเกาหลี หรอื เกาหลศี ึกษา ไม่ไดม้ ีผลต่อความหลากหลายในรายวชิ าทีเ่ ปิดสอนเลย รายวชิ าท่ีเปดิ สอนน้นั เปิดสอนตามความเชี่ยวชาญของอาจารย์ผสู้ อน และเมื่อพจิ ารณาในรายละเอยี ดยังพบวา่ คณาจารย์ท่สี อนในรายวชิ าเกาหลีศึกษาด้านสงั คมศาสตร์ส่วนใหญ่ ไม่ไดม้ ีคุณวฒุ เิ กยี่ วข้องกบั เกาหลีเลย แตเ่ ปน็ ผมู้ คี ณุ วฒุ ิทางด้านวชิ าการกระแสหลกั แลว้ นํามาประยกุ ต์ใช้กับการเรยี นการสอนเก่ยี วกับ “ประเทศเกาหลี ” ซึ่งเปน็พืน้ ท่ที ีเ่ ลือกมาศกึ ษาเท่านนั้ เอง อย่างไรก็ตาม การจะนาํ รปู แบบการศกึ ษาดา้ นเกาหลศี ึกษาในต่างประเทศมาปรับใชก้ บั บริบทของประเทศไทยน้ัน ยงั มขี ้อจาํ กัดอยหู่ ลายประการ เน่ืองด้วยในประเทศไทย มีข้อบังคับจากกระทรวง ทบวง กรมทีเ่ กยี่ วข้องกับการศึกษา ให้มีอาจารย์ประจาํ หลกั สูตรท่จี ะตอ้ งมคี ุณวุฒิที่ตรงหรอื สัมพนั ธ์กบั หลักสตู รท่เี ปิดสอน ข้อบงั คบั นี้ส่งผลใหค้ วามเป็นวชิ าการด้านเกาหลศี ึกษาถูกลดทอนความหลากหลายขององค์ความรู้ และ แนวทางการพัฒนาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 100 태국 내 한국학 발전 현황
รายวิชาลงไปอย่างมาก จึงสง่ ผลกระทบตอ่ การพฒั นาเกาหลศี ึกษาในภาพรวมและตวั ชว้ี ัด เชน่ การมีงานทาํของบณั ฑติ เขา้ มาเป็นตวั ชว้ี ัดความสาํ เรจ็ ของหลักสตู ร ซ่ึงผู้เขยี นมีความเห็นวา่ ข้อบงั คับเหลา่ นีเ้ ป็นปจั จยัหลกั ในการขดั ขวางการพัฒนา “ความหลากหลายขององค์ความรดู้ า้ นเกาหลีศึกษา ” ในประเทศไทยโดยเฉพาะอยา่ งย่ิง องค์ความรูเ้ กาหลศี กึ ษาในมิติสงั คมศาสตร์ReferenceEun Ki-soo. 2002. “American Studies in the US: a Possibility of Korean Studies amidst Globalization.” Korean Studies Quarterly, Vol. 25, No. 1; p. 155-173.Jack Grove. 2015. Social sciences and humanities faculties 'to close' in Japan after ministerial intervention: Universities to scale back liberal arts and social science courses. [Online]. Available at: https://www.timeshighereducation.com/news/social-sciences-and- humanities-faculties-close-japan-after-ministerial-decree. [Accessed 30 November 2015]Kim Kyeong-il. 2003. “Over Contested Terrain: Currents and Issues of Korean Studies.” The Reviews of Korean Studies, Vol. 6, No. 2 (December 2003); p. 151-190.Kim Kyeong-il. 2004. The Pioneers of Korean Studies. Seongnam, Korea; The Academy of Korean Studies Press.ปิน่ แก้ว เหลอื งอรา่ มศรี และ อรัญญา ศิรผิ ล. 2558. ยอ้ นพนิ จิ การประกันคุณภาพอดุ มศึกษาด้านสังคมวิทยา และมานษุ ยวิทยา. เชยี งใหม่: ศนู ยว์ จิ ัยและบริการวิชาการ คณะสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่.ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรอ่ื งหลักเกณฑก์ ารกําหนดช่อื ปริญญา พ.ศ. 2549. (2549, 1มถิ ุนายน). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม 123 ตอนที่ 54 ง. หนา้ 89-109สิทธเิ ทพเอกสทิ ธิพงษ์.2555. วพิ ากษค์ วามรูด้ ้านอาณาบริเวณศกึ ษาในประเทศไทย ว่าด้วย “กรอบ ความคิด และการรับรู้.” [ออนไลน์]. เข้าถงึ จาก:http://www.siamintelligence.com/critic-area-studies/. [วันที่เข้าถงึ : 30 พฤศจิกายน 2558]ศนู ย์ยโุ รปศกึ ษาแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . 2552. “อาณาบรเิ วณศึกษาในประเทศไทย,”เอกสารสรุปการ ประชมุ ระดบั ชาติ, วันท่ี 13-14 กรกฎาคม 2552: โรงแรมเอดิสนั , กรุงเทพมหานคร แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 101 태국 내 한국학 발전 현황
ภาคผนวก หลักสตู รและรายวิชาดา้ นเกาหลศี กึ ษาทเ่ี ปิดสอนในตา่ งประเทศประเทศอังกฤษ https://www.soas.ac.uk/japankorea/programmes/bakor/ประเทศออสเตรเลีย 1) http://sydney.edu.au/handbooks/arts/units_of_study/tablea_descriptions/ korean_studies.shtml 2) http://programsandcourses.anu.edu.au/major/KORE-MAJประเทศฮอ่ งกง http://www.smlc.hku.hk/programmes/program.php?lang=18 http://www.korean.hku.hk/files/KOREsyllabus2015.pdfประเทศเวียดนาม http://www.hanquochoc.edu.vn/cps/homepage.aspx ตารางเปรียบเทยี บหลกั สตู รที่เกย่ี วขอ้ งกับประเทศเกาหลใี นต่างประเทศCountry University Degree offer Affiliated Course OfferedEngland University 1) B.A. in SOAS : Year 1: Compulsory Units of London Korean School of Elementary Korean - 155900842 2) B.A. in Oriental and Elementary Korean 2 - 155901256 African Culture and Society in Modern and Korean and Studies Contemporary Korea - 155900809 …. Issues in the Study of Language Learning 1 - 155901197 Issues in the Study of Language Learning 2 - 155901198 Year 2: Year Abroad Year 3: Choose 3 or 4 Units from the following list Introduction to Mixed Script Korean - 155900844 Higher Intermediate Readings in Korean - 155901392 แนวทางการพฒั นาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 102 태국 내 한국학 발전 현황
Country University Degree offer Affiliated Course Offered Literary Traditions and Culture of Korea - 155901389 Trajectories of Modernity in 20th Century Korean Literature - 155901390 Korean Conversation - 155900915 Composition in Korean - 155900722 History and Structure of the Korean Language - 155901272 Extended Essay in Korean Language and Culture - 155900676 History and Culture of Korea to the late 19th Century - 155901263 The Other Korea: North Korea since 1945 - 155901356 1990's South Korean cinema: A critical Survey - 155901401 Royal Arts of Korea - 154900152 Buddhist Arts of Korea - 154900158 Contemporary Korean Arts in East Asia - 154900150 Year 4: Choose 3 or 4 Units from the following list Korean-English-Korean Translation - 155901276 History and Structure of the Korean Language - 155901272 Readings in Korean Literature - 155901385 Literary Traditions and Culture of Korea - 155901389 Trajectories of Modernity in 20th Century Korean Literature - 155901390 แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 103 태국 내 한국학 발전 현황
Country University Degree offer Affiliated Course OfferedAustralia Australian 1)B.A. in (Asian School of Advanced Readings in Modern Korean - National Studies) - Asian Studies 155900968 University Korean Studies History and Culture of Korea to the late Major 19th Century - 155901263 Independent Study Project in Korean 2)Bachelor of School of Language and Culture - 155900795 Arts History and The Other Korea: North Korea since - Korean Languages 1945 - 155901356 Language 1990's South Korean cinema: A critical Major Survey - 155901401 Korean Language 3) Bachelor of Arts (Asia- KORE3013Modern Korean 6 Pacific Studies) ASIA2103Language in Asia (L) ASIA3006Practical Assignment in Asia and the Pacific CHIN3030Literary Chinese 1 CHIN3031Literary Chinese 2 CHIN3032Literary Chinese 3 CHIN3033Literary Chinese 4 KORE1020Modern Korean 1 KORE1021Modern Korean 2 KORE2521Modern Korean 3 KORE2522Modern Korean4 KORE3012Modern Korean 5 KORE3009 Korean Seminar A KORE3010 Korean Seminar B Korean Studies KRNS xxxx Korean 1 - 6 KRNS3675 Contemporary Korean Society and Culture KRNS2671 Translation and Interpretation KRNS3670 Korea in Literature and แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 104 태국 내 한국학 발전 현황
Country University Degree offer Affiliated Course Offered Popular CultureVietnam Vietnam B.A. in Korean Department of Major: 한국어 (음성, 어휘, 문법, National Studies University Korean Studies 화용론, 듣기, 말하기, 읽기, 쓰기) (University of Social 70% Science and Humanities) - 3 학기이수후 2 과목중선택 (한국역사 - 문화, 한국경제-외교) - 한국지리, 한국역사, 한국문화, 한국문학, 한국경제, 한국정치, 대중문화와한류 기타과목 -업무와재능에따라 2 과목선택: 비서업무, 관광업무, 편집업무, 번역업무(베-한, 한-베), 외교업무, 통상업무, 은행업무, 한국어교육방법.Hong University of B.A. in Korean SCHOOL OF Prerequisite courses (18 credits):Kong Hong Kong Studies MODERN - KORE1001. Korean I.1 (6 credits) LANGUAGES - KORE1002. Korean I.2 (6 credits) AND - KORE1021. Introduction to Korean CULTURES, culture and society (6 credits) Faculty Of Arts • Core courses (18 credits): - KORE2001. Korean II.1 (6 credits) - KORE2002. Korean II.2 (6 credits) - KORE3001. Korean III.1 (6 credits) • Capstone experience course (6 credits): - KORE3022. Korean Studies research project (6 credits) • Inter-disciplinary elective courses (30 credits): Korean Studies Language Electives: KORE2021. Korean reading course (6 credits) แนวทางการพัฒนาเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย 105 태국 내 한국학 발전 현황
Country University Degree offer Affiliated Course Offered KORE2023. Korean conversation workshop 1 (6 credits) KORE2037. Korean language through media (6 credits) KORE2041. Korean writing 1 (6 credits) KORE3002. Korean III.2 (6 credits) KORE3021. Contemporary Korean society (6 credits) KORE3023. Korean writing 2 (6 credits) KORE3024. English-Korean translation 1: Practical skills (6 credits) KORE3025. Korean for business 1 (6 credits) KORE3029. News project in Korean (6 credits) KORE3030. Korean syntax: From endings to sentences (6 credits) KORE3031. Advanced readings in Korean (6 credits) KORE3033. Advanced Korean debating skills (6 credits) KORE3119. Overseas immersion language course – Korean (6 credits) KORE4001. Korean IV.1 (6 credits) KORE4002. Korean IV.2 (6 credits) Non-language Electives: KORE2024. Korean Studies 1 (6 credits) KORE2025. Korean Studies 2 แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 106 태국 내 한국학 발전 현황
Country University Degree offer Affiliated Course Offered (6 credits) KORE2026. Topics in Korean culture and society (6 credits) KORE2027. Creative industries in Korea in a global context (6 credits) KORE2028. The Other Korea – North Korea (6 credits) KORE2029. Cultural history of economic development in Korea (6 credits) KORE2030. Understanding world heritage in Korea (6 credits) KORE2031. Korea in a global context (6 credits) KORE2032. Korean literature in translation (6 credits) KORE2033. Modern and contemporary Korea (6 credits) KORE2034. Gender, sexuality, and family in Korea (6 credits) KORE2035. Society and thoughts in Korea (6 credits) KORE2036. Korean society before 1900 (6 credits) KORE2038. Global Korean pop culture (6 credits) KORE2039. Korea and the wider world (6 credits) KORE2040. Topics in Korean visual culture and cultural studies (6 credits) KORE3026. Special topics in modern แนวทางการพฒั นาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 107 태국 내 한국학 발전 현황
Country University Degree offer Affiliated Course Offered Korean literature (6 credits) KORE3027. The Korean language in historical perspective (6 credits) KORE3028. Korean identity in the 20th century (6 credits) KORE3032. Directed readings in Korean Studies (6 credits)แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 108 태국 내 한국학 발전 현황
แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในมติ ิของสื่ออเิ ล็กทรอนิกส์ เพ่อื การเรียนการสอนภาษาและวัฒนธรรมเกาหลี กนกกร ตลั ยารักษ์27บทนา ปจั จุบนั การเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศเป็นสิง่ ทมี่ คี วามสําคัญและจําเปน็ มากขึน้ เพราะภาษาเปน็เครอื่ งมือทีใ่ ชใ้ นการติดตอ่ ส่อื สาร การแสวงหาความรู้ การศกึ ษา และการประกอบอาชพี นอกจากน้ี ภาษายงัมคี วามสัมพันธ์กับสงั คมและวัฒนธรรม ดงั นน้ั การเรยี นร้ภู าษาต่างประเทศจะชว่ ยทําให้ผูเ้ รียนเข้าถึงองค์ความรูต้ า่ ง ๆ ได้งา่ ยและกว้างขนึ้ มีความเข้าใจตนเองและผู้อน่ื มากขน้ึ ไดเ้ รยี นรู้และเขา้ ใจความแตกตา่ งทางดา้ นภาษา ความคดิ สภาพสงั คม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง วฒั นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีและความสามารถในการใช้ภาษาส่ือสารกบั ชาวตา่ งประเทศไดเ้ ป็นอยา่ งดี ซงึ่ จะชว่ ยทาํ ใหผ้ ู้เรียนมีวิสัยทัศน์ในการดาํ เนนิ ชีวติ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม จากจาํ นวนผู้ลงทะเบยี นเรยี นในรายวชิ าภาษาต่างประเทศของงานทะเบยี นและสถิตินิสติมหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒทม่ี ีจํานวนผ้เู รียนเพิม่ ขึ้นทุกปี แสดงให้เห็นวา่ ผ้เู รยี นเหน็ ความสําคัญของการเรียนภาษาต่างประเทศ และเพอื่ ตอบสนองต่อความต้องการของผเู้ รยี นอยา่ งทวั่ ถึง การนาํ เทคโนโลยมี าสรา้ งนวัตกรรมทางการศึกษาจึงเป็นหนทางหนงึ่ ที่ทําใหก้ ารศึกษากระจายได้อยา่ งทวั่ ถงึ อกี ทั้งเป็นการใชท้ รพั ยากรใหเ้ กิดประโยชน์สูงสดุ ซงึ่ เหมาะสมกบั การเรียนการสอนภาษาในยุคปจั จุบนั ที่มีผู้ตอ้ งการศึกษาภาษาต่างประเทศ อย่างมากในขณะน้ี และเปน็ การไม่จํากดั ขอบเขตในการเสรมิ สร้างศักยภาพของผเู้ รยี น อกี ทั้งปจั จบุ ันเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทต่อการดาํ เนนิ ชวี ติ ประจาํ วันเป็นอย่างมาก ทั้งการนํามาใชใ้ นวงการแพทย์ ธุรกจิ ธรุ กรรมการเงิน รวมถงึ การศกึ ษา หรอื การพฒั นาการเรียนการสอนรปู แบบหนง่ึทีน่ ยิ มใช้อยา่ งกวา้ งขวางในแวดวงการศึกษา ตง้ั แตอ่ ินเทอรเ์ น็ตไดร้ บั ความแพรห่ ลาย คือ e-Learning การทจี่ ะจัดการเรยี นการสอนทางดา้ นภาษาต่างประเทศให้กบั นสิ ิตจํานวนมากได้นน้ั ตอ้ งใช้สอื่ การสอนอิเลก็ ทรอนิกสใ์ นกระบวนการเรียนการสอนรว่ มดว้ ย ผู้วิจยั จึงได้ตระหนักถงึ ความสาํ คญั ของการสร้างสอื่การสอนอิเลก็ ทรอนกิ ส์ หรอื บทเรียนออนไลน์ ซง่ึ ถอื เป็นทางเลอื กใหมใ่ นการนาํ เทคโนโลยีมาพฒั นาระบบการเรียนการสอนภาษาตา่ งประเทศ เพ่ือจัดการเรยี นการสอนให้กบั ผ้เู รียนได้ไม่จํากดั จํานวน และสามารถจัดการเรียนการสอนได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ดังน้นั ผวู้ ิจัยจงึ มคี วามประสงค์ทจ่ี ะสร้างสื่ออิเลก็ ทรอนกิ ส์ หรือ e-Learning ประกอบการเรียนการสอนวชิ าภาษาและวฒั นธรรมเกาหลีทที่ างผวู้ จิ ัยไดพ้ ัฒนาข้ึนในการจัดการเรียนการสอนรายวชิ า ภาษาและวัฒนธรรมเกาหลี ซงึ่ การใชส้ อื่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ หรอื e-Learning จัดการเรียนการสอนในรายวชิ าน้ี เป็นการจัดการเรยี นการสอนแบบเนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สําคัญ โดยผ้สู อนจะทําหน้าทีเ่ ป็นผู้ควบคมุ ดแู ลระบบและปญั หา27 อาจารยป์ ระจําสาขาวิชาภาษาเกาหลี ภาคภาษาไทยและภาษาตะวนั ออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ แนวทางการพัฒนาเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย 109 태국 내 한국학 발전 현황
ตา่ ง ๆ ที่เกดิ ขึ้นระหวา่ งการจัดการเรยี นการสอน สว่ นผเู้ รยี นจะเรยี นรูบ้ ทเรยี นด้วยตนเอง ผา่ นระบบที่ผสู้ อนไดจ้ ดั เตรียมได้เรียบรอ้ ยแลว้ความหมายและประโยชนข์ องส่อื อิเล็กทรอนกิ ส์ ความหมายของสื่ออเิ ล็กทรอนกิ ส์ หรือ e-Learning เวบไซต์ Thaiedunet.com (2008) กลา่ วถึงคาํ วา่ e-Learning ว่า มีคําที่ใชไ้ ด้ใกลเ้ คียงกนั อยหู่ ลายคํา เชน่ Computer based training (การฝกึ อบรมโดยใชค้ อมพวิ เตอร์ หรอื CBT) online learning (การเรียนทางอนิ เทอรเ์ นต็ ) เป็นต้น ความหมายของ e-Learning คือ รปู แบบของการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยผ่านเครือข่ายคอมพวิ เตอรห์ รอื สื่ออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ในการถา่ ยทอดเร่ืองราวและเนือ้ หา โดยสามารถมสี ่ือในการนําเสนอบทเรียนได้ตั้งแต่ 1 ส่อื ขึน้ ไป และการเรยี นการสอนน้นั สามารถทีจ่ ะอย่ใู นรปู ของการสอนทางเดยี วหรอื การสอนแบบปฏสิ ัมพนั ธ์ได้ สรุ สิทธิ์ วรรณไกรโรจน์ (2551) ผ้อู ํานวยการโครงการเรียนแบบออนไลน์แห่งสํานกั งานพัฒนาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแหง่ ชาติ (สวทช.) กลา่ วถึง การเรียนแบบออนไลนห์ รือ e-Learning ว่าคอืการศึกษา เรยี นรูผ้ ่านเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ อนิ เทอร์เนต็ ( Internet) หรอื อนิ ทราเน็ต ( Intranet) เปน็ การเรียนรดู้ ้วยตวั เอง ผเู้ รยี นจะไดเ้ รียนตามความสามารถ และความสนใจของตน โดยเนือ้ หาของบทเรยี นซงึ่ประกอบดว้ ย ข้อความ รูปภาพ เสียงวีดีโอและมลั ตมิ ีเดียอื่น ๆ จะถูกส่งไปยังผเู้ รยี นผา่ น Web Browser โดยผ้เู รียน ผสู้ อนและเพือ่ ร่วมช้ันเรียน ทุกคนสามารถตดิ ต่อปรึกษา แลกเปลยี่ นความคิดเหน็ ระหว่างกันได้เช่นเดียวกบั การเรยี นในช้ันเรยี นปกติ โดยผา่ นเครอื่ งมอื ติดต่อส่อื สารที่ทันสมัย เช่น e-mail, web-board,chat จงึ เปน็ การเรียนสําหรบั ทกุ คน , เรยี นได้ทุกเวลา และทกุ สถานท่ี ( Learn for All : anyone, anywhereand anytime) ถนอมพร (ตนั พิพัฒน์) เลาหจรัสแสง ( 2545) กล่าวถึง e-Learning ในปัจจุบนั วา่ หมายถึง การเรียนเนอ้ื หาหรือสารสนเทศสาํ หรบั การสอนหรือการอบรม ซึง่ ใช้การนําเสนอดว้ ยตัวอกั ษรภาพน่ิง ผสมผสานกบั การใข้ภาพเคลอื่ นไหววดี ที ัศน์และเสยี ง โดยอาศยั เทคโนโลยีของเว็บ ( Web Technology) ในการถ่ายทอดเนอ้ื หารวมทั้งการใช้เทคโนโลยีระบบการจัดการคอรส์ ( Course Management System) ในการบรหิ ารจดั การงานสอนด้านต่าง ๆ เชน่ การจัดให้มีเครือ่ งมอื สอื่ สารต่าง ๆ เช่น e-mail, web-board สาํ หรับตง้ั คาํ ถาม หรือแลกเปลีย่ นแนวคิดระหว่างผเู้ รยี นดว้ ยกนั หรอื กับวทิ ยากร การจดั ใหม้ แี บบทดสอบหลงั จากเรียนจบ เพื่อวดั ผลการเรียน โดยผู้เรียนทีเ่ รยี นจาก e-Learning นี้ สว่ นใหญแ่ ล้วจะศกึ ษาเนือ้ หาในลกั ษณะออนไลน์ ซึ่งหมายถงึจากเครื่องทม่ี ีการเช่อื มตอ่ กับระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ มนต์ชัย เทียนทอง ( 2545ข) กล่าวถึง e-Learning วา่ เกิดจากคาํ ศัพท์ 2 คาํ ท่ีมคี วามหมาย ในตัวแรก ไดแ้ ก่ e ซึ่งมาจาก Electronic ท่มี ีความหมายในเชงิ ของความเร็ว โดยทํางานในระบบอตั โนมตั ิ ส่วนคําว่าLearning หมายถงึ การเรียน การเรยี นรู้หรอื การเรยี นการสอน เม่ือผสมกันจงึ เป็น Electronic Learningหรอื e-Learning จึงหมายถงึ การเรียนร้ดู ว้ ยอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ซ่งึ กค็ อื กระบวนการเรยี นรูท้ างไกลอยา่ งอตั โนมตั ิ แนวทางการพัฒนาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 110 태국 내 한국학 발전 현황
ผา่ นส่ืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ ( Electronic Media) เช่น ซดี ีรอม เครือข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต ระบบเสมือนจริง (VirtualReality System) และส่ืออืน่ ๆ โดยไม่ขึ้นอยกู่ บั เวลาและสถานท่ี เป็นการเปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นทอ่ี ยใู่ นสถานท่ีต่าง ๆ ได้มีโอกาสเรียนร้เู ทา่ เทียมกัน โดยสามารถใช้ e-Learning ไดท้ ั้งในสถานศึกษาและการฝึกอบรมในสถานประกอบการ ทําให้การเรียนรู้ดูมีชวี ติ ชวี า (Active Learning) Clank and Mayer (2003) ใหค้ วามหมายของ e-Learning ไว้วา่ คอื การเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ โดยใชซ้ ดี ี-รอม อินเตอร์เนต็ เปน็ ช่องทางในการถ่ายทอด มคี ณุ ลักษณะสาํ คัญ คือ บทเรยี นมีเน้อื หาท่สี มั พันธก์ ับจุดประสงค์การเรียน ใช้เทคนิควิธกี ารสอน เพอ่ื ชว่ ยทาํ ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ การใช้ตวั อย่าง แบบฝกึ หัด ใชส้ ่อื การสอนเป็นมัลตมิ ิเดีย เพ่ือนําเสนอเนอ้ื หาและเปน็ การสรา้ งความรู้ ทกั ษะใหม่ให้แก่ผู้เรียนหรอื เพิ่มความสามารถใหแ้ ก่องคก์ ร สอดคล้องกบั เปาู หมายของผ้เู รยี นหรือองค์กรท่ีตอ้ งการ จากความหมายของส่ืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ หรือ e-Learning ทก่ี ล่าวมา สรปุ ไดว้ า่ e-Learning เป็นส่อืการเรยี นการสอนท่ีมกี ารออกแบบการเรียนการสอนไว้อยา่ งเปน็ ระบบ มีการกําหนดวตั ถุประสงค์หรอืเปูาหมายของการจดั การเรยี นการสอนไวอ้ ยา่ งชดั เจน จัดการเรียนการสอนตามหลักทฤษฎีทางการศึกษาหลักการเรียนรู้และจิตวทิ ยาการศึกษา การถา่ ยทอดความรู้ การนาํ เสนอเนอ้ื หา การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนและถ่ายทอดกลยทุ ธ์การสอนใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารเป็นเครื่องมือ ซึ่งในปจั จบุ ันเน้นไปที่การใช้ระบบเครือข่ายอนิ เตอรเ์ น็ต จงึ ทําให้ผ้เู รยี นสามารถเข้าถงึ และเรียนร้โู ดยไม่จาํ กดั สถานทแี่ ละเวลาเน้อื หาบทเรยี นของ e-Learning จะอยู่ในรูปแบบส่อื ผสมอิเลก็ ทรอนิกส์ ( Electronic Multimedia) ซง่ึออกแบบไวใ้ นลกั ษณะซอฟตแ์ วร์รายวชิ าหรือคอร์สแวร์ ( courseware) ประกอบดว้ ย ส่อื ผสม ไดแก่ ขอ้ ความภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหวเสียง และส่ิงทสี่ าํ คญั คือ ผู้เรียนสามารถโต้ตอบกบั บทเรยี นและผสู้ อนได้ การบริหารจดั การระบบ e-Learning ใชซ้ อฟทแ์ วรป์ ระเภทบริหารจดั การเรียนรู้ ( Learning Management System:LMS) ทําหนา้ ท่ีในการบริหารจดั การอยา่ งอัตโนมัติเกอื บทกุ ข้ันตอนแทนการปฏบิ ัติด้วยมือ ตง้ั แตข่ นั้ ตอนการลงทะเบยี นจนถึงข้นั ตอนการจดั และประเมินผลการเรยี นการสอน ประโยชน์ของสอ่ื อิเลก็ ทรอนิกส์ หรอื e-Learning การเรียนการสอนผา่ นสอื่ อิเล็กทรอนกิ ส์ หรอื e-Learning เปน็ การนาํ สมรรถนะของเทคโนโลยีเครือขา่ ยและเครื่องมอื บนอนิ เทอรเ์ นต็ มาเสริมศักยภาพในการเรียนการสอนท่ผี เู้ รียนส่ือสารระหวา่ งกนั ได้โดยไมจ่ ํากดั เวลาและสถานท่ี เป็นการเสรมิ รูปแบบใหผ้ ู้เรยี นสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนเปน็ศนู ยก์ ลางการเรียน มนตช์ ยั เทียนทอง (2545) ได้กลา่ วถึงประโยชน์ของส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์ หรือ e-Learning ที่มตี อ่ การเรียนการสอนและการฝกึ อบรม ซ่งึ เปน็ ทย่ี อมรับกนั โดยทว่ั ไปวา่ ทําให้การสรา้ งสรรค์องคค์ วามรเู้ กิดขึ้นกบั ผ้เู รียนอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและเป็นทยี่ อมรับกนั ทงั้ ในปัจจุบันและอนาคต ได้ดังนี้ (1) ความสะดวกสบาย ( Convenient) ระบบการเรยี นการสอนของ e-Learning สามารถจดัการศกึ ษาใหก้ ับผูเ้ รยี นไดต้ ามความตอ้ งการ แนวทางการพัฒนาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 111 태국 내 한국학 발전 현황
(2) ความสัมพันธก์ บั ปจั จุบนั (Relevant) เนือ้ หาสาระและข้อมูลต่าง ๆ ทป่ี รากฏอย่ใู นระบบการเรยี นการสอนของ e-Learning สามารถปรับเปลีย่ นตามสถานการณป์ จั จุบนั ไดง้ ่าย ซ่งึ มีความทันสมยั และสัมพันธ์กับปจั จุบนั (3) ความเร็วแบบทนั ทที นั ใด ( Immediate) ผู้เรยี นในระบบ e-Learning เพยี งแค่คลิกเมาสเ์ พอ่ืปฏสิ มั พนั ธก์ บั บทเรยี นทป่ี รากฏอยู่ กส็ ามารถศึกษาบทเรียนได้ทันที โดยไมม่ เี งื่อนไขใด ๆ ทัง้ การศกึ ษาและการฝกึ อบรมเพอ่ื ประกอบอาชพี เมอ่ื ประสบปญั หาใด ๆ ก็สามารถต่อเชอื่ มเขา้ กับระบบและการศกึ ษาข้อมลู ท่ีปรากฏอยใู่ น e-Learning ไดท้ นั ที (4) ความเปน็ เลศิ ของระบบ ( Excellent) ไม่เพียงแต่การสร้างสรรคอ์ งค์ความรทู้ เี่ หมาะสมและมีประสทิ ธิภาพเทา่ น้นั แต่ e-Learning ยังสามารถนาํ เสนอเน้อื หาสาระและระบบการจดั การทมี่ คี วามเป็นเลิศทันสมัย และน่าสนใจ ทาํ ใหก้ ารเรียนการสอนผ่าน e-Learning เปน็ สอ่ื อิเล็กทรอนิกสท์ ช่ี วนติดตาม (5) การมปี ฏสิ ัมพันธ์ (Interactive) นอกจากปฏสิ ัมพันธ์กบั บทเรียนโดยตรง ซึ่งถือวา่ เป็นรูปแบบปกติของการปฏสิ มั พันธแ์ ลว้ ระบบ e-Learning ยงั สามารถสรา้ งสรรคก์ ารปฏิสัมพันธก์ ับผ้เู รยี นที่อย่ตู า่ งสถานท่ีดว้ ยความสะดวกและมปี ระสทิ ธภิ าพ (6) ความเปน็ สหวิชาการ ( Interdisciplinary) การเรียนรูผ้ า่ นระบบ e-Learning จะเปน็ การเรยี นรูท้ ี่เก่ียวขอ้ งกนั หลายวิชา หรอื เรียกว่า สหวชิ าการประโยชน์ของการใช้สอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ในการเรยี นการสอนเกาหลีศึกษา จากการศกึ ษาประโยชนข์ องการใชส้ อื่ อิเลก็ ทรอนิกส์ หรือ e-Learning ในการเรียนการสอนเกาหลีศกึ ษา ผ้วู จิ ัยสรุปไดว้ ่า (1) ผู้เรยี นท่เี รียนผา่ นส่ืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ หรือ e-Learning สามารถเรียนรู้และค้นควา้ ขอ้ มูลไดด้ ้วยความรวดเรว็ รวมทัง้ ขอ้ มลู ที่นําเสนอในอินเทอร์เนต็ มีความทนั สมยั และมีความหลากหลาย เนอ้ื หาสาระและขอ้ มูลตา่ ง ๆ ทีป่ รากฏอย่ใู นระบบการเรียนการสอนของ e-Learning สามารถปรบั เปลย่ี นตามสถานการณ์ปัจจบุ ันไดง้ ่าย ซึ่งมีความทันสมัยและสัมพันธก์ ับปัจจุบัน ซงึ่ ทาํ ใหผ้ ูเ้ รียนเกิดองค์ความรู้ใหม่ ๆ ในการพัฒนาศกั ยภาพของผู้เรียนใหม้ คี วามพร้อมท่จี ะสามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก เน่ืองจากเนอ้ื หาการเรียนการสอนโดยใชส้ อ่ื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ หรอื e-Learning สามารถดาํ เนนิ การเปล่ียนแปลงข้อมลู เหล่านัน้ ใหท้ ันสมัยและสัมพนั ธ์กบั สถานการณป์ ัจจุบันได้ง่ายและรวดเรว็ (2) ทําใหเ้ กิดความสะดวกในการสอื่ สารในชั้นเรยี น นกั ศึกษาไดเ้ สนอวิธกี ารใหม่ ๆ ทีจ่ ะถามคําถามและถกหัวขอ้ ปัญหากบั ผอู้ ื่น การส่อื สารเปน็ แบบสองทาง เน้นการมีปฏสิ มั พนั ธ์ระหวา่ งผู้สอนและผูเ้ รยี นไดด้ ีขน้ึ เน่ืองจากมกี ารสือ่ สารทางเดยี วและการสอ่ื สารแบบสองทางโดยผ่านภาพเครือข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ ได้ทั้งแบบท่ีส่อื สารคนเดียว หรอื การใช้จุดร่วมกนั โดยผ้ใู ช้หลาย ๆ คน ( Multi User Domain: MUD) ซง่ึ ผใู้ ชส้ ามารถเขา้ไปร่วมใชก้ ันได้หลายคน เพือ่ ร่วมกนั สร้างสรรค์องคค์ วามรู้ในลักษณะของระบบการเรยี นร่วมกนั(Collaborative Learning System) ทาํ ใหก้ ารเรียนการสอนผ่านเครอื ขา่ ยอนิ เตอร์เน็ตมีลกั ษณะคลา้ ยกับ แนวทางการพฒั นาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 112 태국 내 한국학 발전 현황
การศกึ ษาในหอ้ งเรยี นปกติ ซงึ่ เปน็ ประโยชน์ที่สาํ คญั อกี ประการหน่ึงทช่ี ดเชยการเรยี นการสอนด้วยตนเองซึ่งเคยได้รบั การมองในแง่ลบว่า เปน็ การเรียนรู้รายบคุ คลทผ่ี เู้ รยี นไม่มีปฏิสมั พันธ์กบั เพอ่ื นร่วมชน้ั เรยี น โดยการจัดการเรยี นการสอนใหม้ สี ภาพแวดลอ้ มในลกั ษณะของระบบการเรียนรู้รว่ มกนั (3) ประหยดั เวลา สามารถใหผ้ ้เู รียนทาํ การสอบย่อยประจําสัปดาห์ได้ ภายใน 15 นาที และสามารถทราบผลการทดสอบในทันที รวมท้งั สามารถทํากจิ กรรมอ่ืน ๆ ได้ในอินเตอร์เน็ต เชน่ การสบื คน้ ขอ้ มลูการตดิ ตอ่ สอ่ื สารกับผอู้ ่ืน (4) การเรียนร้ผู า่ นระบบ e-Learning จะเปน็ การเรยี นร้ทู ี่เก่ียวข้องกนั หลายวิชา หรือเรียกวา่สหวชิ าการ ซึง่ มคี วามหลากหลายมากกว่าการเรียนการสอนในระบบปกติ ซงึ่ เป็นการจัดการตามหลกั สตู รรายวชิ าใดวิชาหน่งึ เท่าน้นั เนอ่ื งจากไม่มีข้อจํากดั ทางดา้ นเวลาการสอนเหมือนชน้ั เรยี นปกติ (5) ทําใหก้ ารเรยี นการสอนมีความนา่ สนใจ ดงึ ดูดใจผ้เู รียนมากขนึ้ เน่อื งจากความสามารถทพ่ี ัฒนาขน้ึอยา่ งรวดเร็วของเวบไซต์ทไี่ ดเ้ สรมิ ช่องทางของสื่อหลายอย่างเขา้ ไปในระบบสอ่ื การเรียนการสอนไดห้ ลายทางเชน่ การมีขอ้ ความ รูปภาพ กราฟิก มีเสยี งประกอบ มภี าพแสดงการเคลอื่ นไหว รวมถึงสามารถจัดบทเรียนได้ตงั้ แต่เร่ิมบทเรยี นจนถึงรายงานผลการเรียนได้ครบสมบูรณ์ (6) ชว่ ยลดค่าใช้จา่ ยในการเรยี นการสอนจริงท่มี รี าคาแพงกวา่ เช่น หนงั สอื วัสดุอปุ กรณ์ เป็นตน้ การเรยี นผ่านสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ หรอื e-Learning เปน็ อีกทางเลือกหนงึ่ ท่ชี ่วยลดภาระค่าใชจ้ า่ ยการจัดรปู แบบการเรียนการสอนเกาหลีศึกษาโดยใช้สอื่ อิเล็กทรอนิกส์ การจัดรูปแบบการเรียนการสอนเป็นการทาํ งานเชงิ ระบบ (System) ซึ่งเปน็ การรวบรวมสว่ นยอ่ ย ๆทีส่ มั พนั ธ์กนั ไวอ้ ย่างเปน็ ระเบียบ มเี หตผุ ล เพือ่ ให้สว่ นย่อย ๆ ทําหน้าทตี่ ่าง ๆ อยา่ งประสานและสอดคลอ้ งบรรลเุ ปูาหมายที่กําหนดไว้ได้ (ชาญชัย ยมดิษฐ์, 2548) ดังนัน้ ในการจดั การเรียนการสอนโดยผ่านสอ่ือิเล็กทรอนกิ ส์ หรือ e-Learning ใหม้ ีประสิทธิภาพ จึงจาํ เป็นจะตอ้ งศึกษาและทําความเข้าใจเก่ียวกบั การวางแผนการสอนและสือ่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หรอื e-Learning งานวิจัยน้ี เลอื กจัดการเรยี นการสอนวชิ าภาษาและวัฒนธรรมเกาหลี ในระดบั เบือ้ งต้น ผา่ นสอื่อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หรือ e-Learning ซ่ึงมีข้นั ตอน ดังตอ่ ไปนี้ (1) การกาํ หนดวัตถุประสงค์ ก่อนท่จี ะมีการเรียนการสอน ส่งิ ทคี่ วรปฏบิ ัติเป็นส่ิงแรก คอื การกําหนดวตั ถุประสงค์การเรียนการสอนในวชิ าน้นั ๆ ซึง่ ผูว้ จิ ัยได้กําหนดวตั ถปุ ระสงค์ของการเรียนการสอนในวิชาภาษาและวัฒนธรรมเกาหลี โดยใชเ้ กณฑ์การประเมินตาม 한국어 능력 시험 (การสอบวัดระดับมาตรฐานภาษาเกาหลี หรอื TOPIK)한국어 세계화 추진위원회, 조항록(2002), 장경은(2001) ได้สรุปเกณฑก์ ารประเมนิ ไว้ ดังตอ่ ไปน้ี แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 113 태국 내 한국학 발전 현황
เกณฑก์ ารประเมิน วตั ถปุ ระสงค์การเรียนการสอนวชิ าภาษาและวฒั นธรรมเกาหลี한국어 능력 시험 (TOPIK) • 한글 자모 순서, 맞춤법, 기본적인 문법 이해. 세계화 추진위원회 • 기본적인 인사와 문형, 기본 어휘 1,000∼3,000 단어 익힘. • 빈도 높은 관용적인 표현 가능. 조항록(2002) • 기본적 요구 충족 기능한 대화 가능. 장경은(2001) • 자모 발음 정확히 익히고, 구문 구조 이해. • 일상생활을 하는 데 필요한 기본적인 의사소통. • 기본적인 문법 익힘. • 질문과 응답, 간단한 복문, 시제 표현 기능. • 단순한 감정 표현. • 한글에 대한 기본적인 이해. • 경어법 등 한국어 올바른 사용. • 한국의 자연 환경에 대한 기본적인 이해. • 의식주 생활 영위. • 기본적인 경제 활동. • 모국과의 통신 및 교류. • 공공시설의 제한적 이용. • 여행 및 여가 활동. • 한국인과의 교제 • 가정/학교/직장과 같은 특정 영역에의 기초적 적응. • 한국어에 흥미와 자신감 갖기. • 한국어로 기본적인 의사소통 능력 기르기. • 일상생활에 관한 말과 글 의미 이해 및 표현. • 비언어적 의사소통 차이 이해(표정이나 제스처 등.) ตารางท่ี 1 เกณฑ์ในการแบ่งวัตถุประสงค์และเนื้อหา ในการเรยี นการสอนวชิ าภาษาและวฒั นธรรมเกาหลี ระดับต้น ตามตารางท่ี 1 มีการกาํ หนดวัตถปุ ระสงค์โดยแบ่งตามเกณฑก์ ารประเมนิ ท้ังหมด 4 เกณฑ์และจากเกณฑก์ ารประเมินดังกลา่ ว ยังมกี ารแบง่ ประเภทในการสอนรายวชิ านี้อีก ดังตารางท่ี 2(2) การกาํ หนดและการจดั หมวดหมูข่ องเน้ือหาจากตารางที่ 1 และเพื่อใหบ้ รรลวุ ัตถุประสงค์ดงั กลา่ ว มีการกาํ หนดเนอ้ื หาในการเรียนการสอนดงั ต่อไปน้ีประเภท วตั ถุประสงค์การเรียนการสอน เน้อื หาวิชาภาษาและวฒั นธรรมเกาหลี언어 문화28 • 경어법, 호칭 사용의 적절한 사항 • 기본적인 호칭어, 경어법일상 문화 예시를 통해 한국어 언어문화를 이해하고 바르게 표현할 수 있다. • 한국의 의 • 식 • 주 • 교통, 지리, 공공기관 등 • 일상생활을 하는데 간단한 • 한국사회의 행동문화29 예절 의사소통 가능으로 한국생활을 하는데 기본적인 정보를 알아영위할 수 있다.28 이석주(2002): 언어문화란 ‘언어의 배경으로서의 문화, 즉 언어생활에 투영된 것이거나 단어와 문법등에 투영된 것’, 최웅환(2004b): ‘언어와 문화의 교집합적 특성으로서 언어에 내재된 신념이나 지각이기반하는 사유 및 소통 행위의 과정을 보여주는 언어.’29 행동문화, 비언어적 문화에서 따른 이문화 간 커뮤니케이션을 알고 적절히 사용할 있도록 한다. แนวทางการพัฒนาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 114 태국 내 한국학 발전 현황
ตารางท่ี 2 วตั ถุประสงค์และเนอ้ื หาการเรียนการสอนในรายวิชาภาษาและวัฒนธรรมเกาหลรี ะดบั ตน้ (3) การจดั ลาํ ดบั ของเนอ้ื หา ในการจัดลําดับเนอ้ื หาการเรียนการสอนในรายวชิ าภาษาและวฒั นธรรมเกาหลีระดบั ต้นเลอื กจัดลาํ ดับโดยยึดเกณฑ์การเรียงตามสถานการณ์ หวั ข้อตามวัตถุประสงคท์ ีก่ ําหนดไว้ (4) การจดั ใหม้ แี บบทดสอบผู้เรยี น แบบทดสอบสามารถอยู่ในรปู แบบของแบบทดสอบกอ่ นเรียนระหว่างเรยี นหรอื หลักเรยี นก็ได้ สาํ หรบัสื่ออิเลก็ ทรอนกิ ส์ หรือ e-Learning แลว้ ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ทําให้ผสู้ อนสามารถสนับสนุนการออกข้อสอบของผู้สอนได้หลากหลายลกั ษณะ กล่าวคอื ผูส้ อนสามารถออกแบบการประเมนิ ผลในลักษณะของอัตนัย ปรนยั ถูกผิด การจับคู่ ฯลฯ ท้ังยงั ทาํ ใหผ้ ูส้ อนมีความสะดวกสบายในการสอบ เพราะผู้สอนสามารถท่ีจะจัดทาํ ขอ้ สอบในลกั ษณะคลงั ขอ้ สอบไวเ้ พอื่ เลือกในการนาํ กลับมาใช้ หรือปรบั ปรงุ แกไ้ ขใหม่ได้อยา่ งง่ายดายนอกจากน้ีในการคาํ นวณและตัดเกรด ระบบสือ่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ หรอื e-Learning ยังสามารถชว่ ยใหก้ ารประเมนิ ผลผเู้ รียนเป็นไปได้อย่างสะดวก เนื่องจากระบบจะอนญุ าตให้ผสู้ อนเลอื กได้วา่ ต้องการที่จะประเมนิ ผลผเู้ รียนในลักษณะใด เชน่ องิ กลุ่ม อิงเกณฑ์ หรอื ใช้สถิติในการคดิ คาํ นวณในลักษณะใด เช่น การใช้ค่าเฉลีย่ค่า T-Score เป็นตน้ นอกจากน้ยี งั สามารถท่จี ะแสดงผลในรปู ของกราฟไดอ้ ีกดว้ ยบทสรปุ การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนในอดีตมกั เนน้ ในการจดั การเรยี นรู้ภายในชน้ั เรยี น เม่อื การพฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารก้าวหน้าไปอย่างรวดเรว็ เทคโนโลยีจึงเข้ามามบี ทบาทในการสนบั สนนุการจดั การเรียนการสอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเทคโนโลยคี อมพิวเตอร์และเครอื ขา่ ยอินเทอร์เน็ต ได้เขา้ มามสี ว่ นในการสนับสนุนการเรียนรูภ้ ายนอกช้นั เรียนอย่างเดน่ ชดั โดยมผี ูใ้ ห้ความสนใจและนํามาใชก้ ันอยา่ งแพรห่ ลายอย่างไรก็ตามการนาํ การเรียนรู้แบบผสมผสานเขา้ มาใชก้ ับการศึกษาไทย ตอ้ งคํานงึ ถึงลักษณะการจัดการศกึ ษา ความแตกตา่ งของบริบทในสถานศกึ ษา รวมถงึ ความพรอ้ มของเทคโนโลยที ชี่ ว่ ยสนับสนนุ ดา้ นการสอน ความพรอ้ มของผเู้ รียนและผู้สอน งานวิจัยชน้ิ นไ้ี ดศ้ กึ ษาเกยี่ วกบั ( 1) ความหมายและประโยชนข์ องสือ่อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หรอื e-Learning (2) ประโยชน์ของส่ืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ หรอื e-Learning ทมี่ ตี ่อการเรียนการสอนและการฝกึ อบรม ซงึ่ เปน็ ทย่ี อมรับกันโดยทั่วไปวา่ ทําใหก้ ารสรา้ งสรรคอ์ งค์ความรูเ้ กิดขึ้นกับผูเ้ รยี นอยา่ งมีประสิทธิภาพ เนอ่ื งจากกําลังคนถอื ว่าเปน็ ทรัพยากรทส่ี ําคัญในการขับเคลอ่ื นองคก์ รทุกระดบั ให้กา้ วไปในทศิ ทางที่ถูกตอ้ ง จงึ จําเป็นต้องไดร้ บั การศกึ ษาท่ถี ูกตอ้ งและเหมาะสม ซึง่ สอื่ อเิ ล็กทรอนิกส์ หรอื e-Learningเปน็ วธิ ีการทไี่ ดร้ ับการยอมรบั กันทง้ั ในปจั จุบันและในอนาคตซง่ึ สังคมไดเ้ ปลย่ี นแปลงไป และสือ่ อิเล็กทรอนิกส์หรอื e-Learning สามารถพฒั นากําลงั คนไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ และ (3) การจัดรปู แบบการเรียนการสอนเกาหลีศึกษาโดยผา่ นส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ หรอื e-Learning แนวทางการพฒั นาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 115 태국 내 한국학 발전 현황
บรรณานุกรมชาญชัย ยมดิษฐ์. 2548. เทคนิคและวิธกี ารสอนรว่ มสมยั . กรุงเทพฯ: หลกั การพิมพ์.ถนอมพร เลาหจรสั แสง. 2545. “ระบบบริหารจัดการการเรยี นรู้แหง่ อนาคต”. วารสารเทคโนโลยแี ละส่ือสาร การศึกษา 3, 1: 23-36.ถนอมพร (ตนั พิพฒั น์) เลาหจรสั แสง. 2545. Design e-Learning: หลักการออกแบบและการสรา้ งเว็บเพื่อ การเรยี นการสอน. เชียงใหม่: มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่.มนตช์ ยั เทยี นทอง. 2545ข. “e-Learning Learning solutions for the next education ตอนที่ 1”. วารสารพัฒนาเทคนคิ ศึกษา. 14(43) ก.ค.-ก.ย. 2545, 58-60.มนตช์ ัย เทียนทอง. 2545ค. “e-Learning Learning solutions for the next education ตอนที่ 2”. วารสารพฒั นาเทคนคิ ศึกษา. 15(44) ต.ค.-ธ.ค. 2545, 53-60.มนต์ชัย เทียนทอง. 2545ก. การออกแบบและพัฒนาคอรส์ แวรส์ าหรบั บทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน (Courseware Design and Development for CAI). ภาควิชาคอมพิวเตอรศ์ ึกษา คณะครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรม สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนอื .มนต์ชยั เทยี นทอง. 2547. “M-Learning: แนวทางใหมข่ อง e-Learning (m-Learning: A new paradigm of e-Learning)”. วารสารเทคโนโลยีและส่อื สารการศกึ ษา. 1(1) พ.ค.-ส.ค. 2547, 3-11.สรุ สทิ ธ์ วรรณไกรโรจน์. 2551. ความหมายของอเี ลิรน์ นิง่ . [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.uplus- solution.com/content.php?ct_id=33. [เขา้ ถงึ วนั ที่ 3 พฤศจกิ ายน 2558].Clank, R. C. and Mayer, R.E. 2003. E-Learning and the science of instruction. John Wiley&Sons,Inc, Newyork.김양희. 2007. 한국어 의사소통 능력 향상을 위한 한국 문화 교수요목 설계 연구 :중국인 한국어 학습자 초급 단계를 대상으로. 배재대학교 석사학위논문.민혜정. 2004. 한국어 교재의 과제 중심 교수요목 설계 방안 : 초급의 주제와 기능,과제, 문법의 상관성을 중심으로. 고려대학교 석사학위논문.신요재. 2008. 초급 한국어 학습자를 위한 단기 과정 교수요목 설계. 고려대학교석사학위논문.장경은. 2001. 한국어 교육을 위한 단계별 문화 내용과 교수 방법. 장남대학교석사학위논문.조항록. 1998. 한국어 고급 과정 학습자를 위한 한국 문화 교육 방안. 한국어교육 9-2.국제한국어교육학회.조항록. 2002. 초급 단계에서의 한국어 교육과 문화 교육 방안. 한국어교육 9-2.국제한국어교육학회.조항록. 2003. 한국어 교재 개발의 기본 원리와 실제: 연세대학교 한국어학당 교재개발을 중심으로. 한국어교육 9-2. 국제한국어교육학회. แนวทางการพัฒนาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 116 태국 내 한국학 발전 현황
ศกึ ษาสงั คมและวัฒนธรรมของเกาหลีผา่ นการเปล่ยี นแปลงจากค่านยิ มด้ังเดมิ สู่คา่ นยิ มใหม่จุฑามาศ บญุ ชู30 1945 년 8 월 8 일부터 70 년 동안 한국 사회는 많은 변화를 겪었다. 농경사회였던 경제구조가 산업사회로 변화하면서 가족의 형태 및 주거환경에 많은 변화를가져왔다. 특히 수도권 지역으로 취업하면서 많은 이주가 불가피해지게 되었다.이로 인해 대가족 중심의 가족 형태에 서 핵가족이나 1 인 가구의 형태로 변화했다.이런 현상은 결혼율, 출산율을 저하시키고 고령화 사회를 부추기는 현상을 낳고있다. 먼저 결혼 현상을 살펴 보면, 결혼 비율이 감소함에 따라 출산율도 함께낮아지고 있는 실정이다. 그 이유는 결혼 준비와 자식 부양비에 대한 경제적 부담때문인 것으로 나타났다. 결혼 시기가 늦어지면서 노산으로 인해 출산 빈도도낮아지게 되었다. 한국 사회는 이혼율이 점점 증가하고 있다. 이혼율이 증가하는 이유는경제적인 이유 때문이다. 또한 예전에는 한국 사회의 가치관이 이혼에 대해부정적인 시각이 많았고 금기시 되는 일이라고 여겼다면 현재의 한국 사회는 예전의가치관에 비해 개방적인 편이어서 큰 문제로 여기지 않게 되었다. 그로 인해이혼율이 점점 높아지고 있다. 이혼만큼 재혼율도 높아지고 있다. 특히 여성의재혼율이 남성보다 높게 나타났다. 그 이유는 이혼 후 여성이 혼자 경제적으로독립하기가 힘들어지면서 초혼인 남성과의 재혼이 잦아졌다. 특히 남성은 외국인과재혼하는 경우가 많아지고 있다. 그 이유는 한국 여성의 결혼 조건에 대한 요구도가높아지면서 한국 남성의 한국 여성과의 재혼율은 점점 낮아지게 되었다. 또한,한국과 외국의 많은 교류를 통해 국제결혼을 하는 경우도 많아졌기 때문이다.하지만 30 년 전만 해도 재혼하는 여성은 드물었다. 왜냐하면 재혼은 좋은 의미가아니었기 때문이다. 이혼과 재혼에 대한 부정적인 시각 때문이었다. 결혼, 이혼, 재혼 현상에 비해 더 심각한 문제로 대두되고 있는 것이 바로1 인 가구 현상이다. 한국인의 생활과 업무 모두 수도권에 집중하는 현상 때문에수도권의 인구 밀집도가 높아지면서 한국인의 주거 형태가 1 인 가구로 형성되고있다. 이로 인해 포미족이 형성되면서 국민성이 개인주의, 이기주의로 전이되기시작했다. 예전의 한국 사회의 국민성이라고 하면, 협동, 가족 중심, 희생, 배려,효도 등의 것을 떠올리게 되는데 현재 한국 사회의 모습에서는 이러한 것들을찾아보기가 힘들다. 특히 포미족의 등장은 한국 사회에 많은 변화를 가져왔다.포미족의 활발한 경제활동으로 인해 경제적으로는 좋아진 반면, 포미족의 가치관은그리 긍정적인 면을 가져오지 못하고 있다. 중산층은 자금을 확보하여 결혼을 해야하는데 포미족은 자신에게만 투자하기 때문에 결혼율을 낮추고 있는 실정이다. 이로인해 출산율도 낮아지고 있다. 1 인 가구 중 독거노인의 비율이 많은 것도 문제다.독거노인의 고독사, 경제적인 어려움으로 인한 자살 등의 현상은 한국 현대 사회의가장 큰 문제로 대두되고 있는 실정이다. 한국 사회는 출산율의 저하로 인해 노인의인구 수가 증가하면서 본격적인 고령화 사회로 접어들게 되었다. 이렇듯 한국사회의 가치관 변화에 따른 사회 문제가 많이 발생하고 있다. 이것은 비단 한국의문제 뿐만 아니라 전 세계적인 인간의 가치관 변화의 문제라고 생각한다.30 อาจารยป์ ระจําภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร 117 แนวทางการพฒั นาเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย 태국 내 한국학 발전 현황
ศาสตร์ด้านเกาหลีศกึ ษานน้ั เป็นการศึกษาหาความรู้ในทกุ ๆ ด้านทเี่ กยี่ วกับเกาหลี สรา้ งองค์ความรู้และปลกู ฝังความเข้าใจทถี่ กู ต้อง เพื่อใหร้ ูจ้ ักเกาหลีในบริบททอี่ ยู่บนพนื้ ฐานของความจรงิ ไมใ่ ชเ่ พยี งภาพลกั ษณ์ภายนอกท่ีถกู สรรค์สร้างมาใหผ้ คู้ นสว่ นใหญไ่ ดร้ ับรู้เท่านัน้ ในมติ ิด้านสงั คมและวฒั นธรรมเกาหลีนั้นแนวทางทจ่ี ะพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในดา้ นให้ได้ประสทิ ธิภาพดที ่ีสดุ คือการหมั่นศึกษาคน้ ควา้ และเปรยี บเทยี บสงั คมและวฒั นธรรมเกาหลีต้งั แตอ่ ดีตเรือ่ ยมาจนถงึ ปจั จุบัน ทั้งนี้ก็เพอ่ื ให้ไดอ้ งค์ความรูท้ ีส่ ามารถเข้าใจการดาํ เนินชวี ติ ในชว่ งสมยั ต่าง ๆ รวมถงึ สาเหตขุ องการเปล่ียนแปลงคา่ นิยม ขนบธรรมเนียมหรอื วัฒนธรรมต่างๆในสังคมเกาหลอี ีกดว้ ย บทความน้ีจะนาํ เสนอ การเปลี่ยนแปลงค่านิยมด้ังเดิมสคู่ ่านิยมใหมข่ องสงั คมเกาหลีโดยจะเน้นกลา่ วถงึ การดาํ เนินชวี ิต ค่านยิ มต่าง ๆ และปัญหาทเ่ี กดิ ข้ึนในสังคมเกาหลปี จั จุบนั และเปรยี บเทียบกับอดีต หลงั จากการพา่ ยแพ้ของญป่ี นุ ในสงครามโลกครงั้ ท่ี 2 ถอื เป็นโอกาสอันดีที่เกาหลีไดร้ บั เอกราชเมือ่วนั ที่ 8 สิงหาคม ค.ศ. 1945 ตลอดระยะเวลา 70 ปที ผ่ี ่านมา เกาหลมี กี ารเปลย่ี นแปลงเป็นอย่างมาก หลังจากถกู แบ่งออกเปน็ 2 สว่ น โดยใช้เส้นขนานท่ี 38 เปน็ เสน้ แบ่ง ประชากรของเกาหลใี ตม้ ที ั้งหมดประมาณ20 ลา้ นคน แต่ในปัจจบุ นั นเี้ พมิ่ สูงข้นึ ถึง 2.4 เท่า ตามสถติ ิของสาํ นักงานสถติ ิแหง่ ชาตปิ ระชากรของเกาหลีใตม้ ีท้งั หมดประมาณ 50 ล้านคน ในดา้ นเศรษฐกจิ มีการขยายตวั สูงข้ึน ผลิตภณั ฑม์ วลรวมภายในประเทศ(GDP)เพ่ิมข้นึ ถึง 31,000 เท่า รายได้เฉล่ียตอ่ คนจากคนละ 70,000 วอนเพิ่มขึน้ เปน็ คนละ 3,000 ลา้ นวอนตลอดระยะเวลา 70 ปีท่ผี า่ นมาอัตราค่าครองชพี ของเกาหลีใต้เพิ่มขึ้นถงึ 36 เทา่ ดูไดจ้ ากราคาบะหม่ีก่งึสําเร็จรปู ในปี ค.ศ. 1963 จากราคา 10 วอน เพม่ิ ขึ้นเปน็ 760 วอน ในทางกลบั กันสดั ส่วนของภาคการเกษตรมสี ัดส่วนที่ลดลงเป็นอยา่ งมาก จากรอ้ ยละ 50 ท้ังประเทศ เหลือเพียงร้อยละ 2 ในภาคอุตสาหกรรมสินค้าสง่ ออกท่สี ําคัญในปี ค.ศ. 1960 คอื สินคา้ ประเภทแร่เหล็ก ปี ค.ศ. 1970 สนิ ค้าประเภทเสน้ ใย และใน ปี ค.ศ.1990 สินคา้ ประเภทเซมิคอนดักเตอร์(สารกึง่ ตัวนาํ ) ซ่ึงการเปล่ยี นแปลงทาง เศรษฐกจิ และสงั คมของเกาหลใี ต้ทีร่ วดเร็วเชน่ น้ีนาํ ไปสู่ความแตกต่างทางฐานะของคนในสังคม ทําใหเ้ กิดช่องวา่ งระหว่างคนรวยกบั คนจนขนึ้1. วัฒนธรรมการแต่งงานอตั ราการแตง่ งานลดลง ส่งผลให้อตั ราการเกดิ ลดลง อตั ราการเกิดของประชากรเกาหลีใต้กําลงั ลดลงอยา่ งต่อเนอ่ื งต้งั แต่ปี ค.ศ. 1970 และคาดการวา่ จะลดลงตอ่ ไปเรื่อยๆ จนถงึ ปี ค.ศ. 2050 ซ่ึงในปี ค.ศ. 2013 นนั้ อตั ราการเกดิ ของประชากรเกาหลีมเี พียง430,000 คน ปัญหาดงั กลา่ วถือวา่ ส่งผลกระทบตอ่ การขับเคลอื่ นประเทศ และการเปล่ียนแปลงทางสงั คมในด้านต่างๆ ซง่ึ ปญั หาอตั ราการเกิดทลี่ ดต่าํ ลงเร่ือยๆ ตลอดระยะเวลา 45 ปี มสี าเหตมุ าจากอัตราการแต่งงานที่ลดลง และจํานวนบุตรในแตล่ ะครอบครัวทน่ี อ้ ยลง เน่อื งมาจากคา่ ใชจ้ า่ ยทางดา้ นเศรษฐกิจและด้านสังคมท่ีสงู ขึ้น อาทิ ค่าเลา่ เรยี น ค่าเล้ียงดู รวมถงึ ความไมป่ ลอดภยั ในสังคมและค่านยิ มทางสงั คมทีเ่ ปลีย่ นแปลง แนวทางการพฒั นาเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย 118 태국 내 한국학 발전 현황
แผนภูมิที่ 1.1 อัตราความกงั วลใจหลงั แต่งงานของชายหญงิ ชาวเกาหลใี ต้จากแผนภมู ิที่ 1.1 จะเหน็ ได้วา่ ผลสาํ รวจความคดิ เหน็ เก่ียวกับความกังวลใจหลงั แต่งงานของชายหญิงชาวเกาหลใี ต้ ในปี ค.ศ. 2015 พบวา่ รอ้ ยละ 30.7 มคี วามกังวลใจในด้านการเงนิ มากเป็นอนั ดับ 1 รองลงมาจะเปน็ ปัญหาการเลีย้ งดบู ุตร ภาระการดแู ลบ้าน ปญั หาระหว่างแม่สามีกบั ลูกสะใภ้ ซึ่งต่างจากเมอ่ื 8 ปีก่อนทอ่ี นั ดบั 1 เป็นความกังวลใจดา้ นลักษณะนิสยั ทีแ่ ตกตา่ งกัน จากการวเิ คราะหผ์ ลสํารวจการใชช้ วี ติ ครอบครัวในสังคมปัจจุบนั นไี้ มไ่ ดข้ น้ึ อยู่กับลกั ษณะนสิ ยั หรอื ความเข้าใจกนั ของสมาชกิ ในครอบครวั แตก่ ลับไปให้ความสําคญักับวตั ถุหรือเงินมากกวา่รูปภาพท่ี 1.1 สาเหตุการไมแ่ ตง่ งานของหญิงชายชาวเกาหลใี ต้ (ในชว่ งอายุ 25-39 ปี) จากรูปภาพท่ี 1.1 น้ัน จะเหน็ ได้ว่าผลสรุปจากแบบสอบถามเกย่ี วกบั สาเหตกุ ารไมแ่ ตง่ งานของหญิงชายเกาหลใี ตข้ องสถาบนั วิจัยด้านสุขภาพและสวสั ดกิ ารทางสังคมพบว่า ชว่ งอายรุ ะหว่าง 25-39 ปี ผ้หู ญิงรอ้ ยละ 24.4 ใหเ้ หตผุ ลวา่ ยังไม่พบคนทเ่ี หมาะสม รองลงมามสี าเหตมุ าจากความยงุ่ ยากหากมีครอบครวั และต้องทาํ งานไปด้วย อย่ทู ร่ี ้อยละ 17.8 และสาเหตจุ ากค่าใช้จ่ายในการแตง่ งานที่สูงขนึ้ อยูท่ ร่ี อ้ ยละ 13.2 ในส่วนของผูช้ ายสาเหตุหลกั ที่ไม่แต่งงานเน่ืองมาจากคา่ ใช้จ่ายในการแต่งงานที่สูงขึน้ อยูท่ ี่ร้อยละ 21.3 รองลงมาเปน็ สาเหตุของรายได้ทไี่ ม่เพียงพอ อย่ทู ีร่ อ้ ยละ 19.2 และร้อยละ 17.3 มสี าเหตมุ าจากความไม่ม่ันคงของสถานะทางการเงินและหนา้ ท่กี ารงาน ซง่ึ จากคา่ นยิ มด้ังเดมิ ทยี่ ดึ ถือกนั มานั้น ผู้หญงิ ท่ีมีอายปุ ระมาณ 27 ปี ควรจะแตง่ งานและเลี้ยงดบู ุตรอยู่บา้ น โดยที่ไมต่ อ้ งออกไปทํางานนอกบา้ น และหญงิ ชายทุกคนต้องแต่งงาน แต่ในปจั จุบนั นผี้ หู้ ญิงที่แตง่ งานมีอายเุ ฉลี่ยสงู ขน้ึ อยทู่ ่ปี ระมาณ 30 ปีต้น ๆ จากความเปล่ียนแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ ในด้านเศรษฐกิจและสงั คม ทาํ ให้ แนวทางการพัฒนาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 119 태국 내 한국학 발전 현황
ผ้หู ญิงชาวเกาหลีใต้ มคี วามคิดทแ่ี ตกต่างกันในอัตราสว่ นคร่ึงตอ่ ครงึ่ กลา่ วคือ ร้อยละ 52.3 ยังใหค้ วามสําคญักบั การแต่งงานมีครอบครวั แต่อกี ครึ่งหน่งึ ของผูห้ ญงิ เกาหลีใต้ ร้อยละ 47.7 กลบั เห็นว่า การแต่งงานในปัจจุบนั ไมใ่ ชเ่ รอื่ งท่สี ําคญั อกี ตอ่ ไปแล้ว แต่ทั้งนี้ ยังพบว่าปจั จุบนั หากหญงิ ชายชาวเกาหลใี ตจ้ ะแตง่ งาน สว่ นใหญก่ ็จะเปน็ การแตง่ งานในช่วงอายุท่ีมากข้ึน ผ้ชู ายเฉล่ียแลว้ แตง่ งานในอายุ 32.4 ปี และผหู้ ญิงเฉลย่ี แล้วจะแตง่ งานในอายุ 29.8 ปี ซึ่งอายุเฉลยี่ ในการแตง่ งานจะมากขึ้นกวา่ เมือ่ 10 ปีก่อนประมาณ 2-3 ปี เม่อื อัตราการแต่งงานของผูห้ ญงิ ชาวเกาหลีใต้พบมากในช่วงอายทุ ่สี ูงข้ึน กส็ ง่ ผลใหอ้ ัตราการมีบตุ รของหญงิ ชาวเกาหลีใตข้ ยบั ไปในชว่ งอายุทส่ี ูงข้นึ เช่นกนัจึงทาํ ใหใ้ นปัจจุบันครอบครวั หน่งึ จะสามารถมีบุตรไดไ้ มเ่ กิน 2 คน (1.3 คน) ภาวะดงั กล่าวน้ีส่งผลให้อตั ราการเกิดของเกาหลีใตล้ ดลงอยา่ งตอ่ เนื่องการหยา่ ร้าง ขอ้ มลู จากสถติ ิแหง่ ชาติ พบวา่ สาเหตหุ ลักของการหยา่ ร้างในปจั จบุ นั คอื ปญั หาการเงินในครอบครวัซ่งึ ในสมยั ก่อนน้ัน สังคมเกาหลไี มม่ คี า่ นยิ มเรื่องการหยา่ รา้ ง เนือ่ งจากคนสมยั กอ่ นมหี ลักความคิดทีว่ า่ การหย่าร้างไมเ่ ปน็ ท่ียอมรับในสงั คม ต้องทนอย่รู ่วมกันเพือ่ บตุ รและทําหนา้ ท่ีพ่อแม่ อกี ทั้งยงั เป็นเรอื่ งน่าอบั อายสําหรับผูห้ ญงิ ทหี่ ย่าร้างกบั สามี ทาํ ให้ไม่สามารถใชช้ ีวติ ในสังคมเหมอื นคนท่วั ไปได้ กลายเปน็ ปัญหาของสังคมต่อไป แตใ่ นปัจจบุ ันการหยา่ รา้ งถอื เป็นเรื่องปกติ ผหู้ ญงิ สามารถกลบั มาใชช้ ีวติ กลับมาทํางานได้ปกติไมเ่ ป็นท่ีครหาของสังคมเฉกเช่นที่ผ่านมา นจี่ งึ นา่ จะเปน็ สาเหตุให้สถติ ิการหย่าร้างของคสู่ ามภี รรยาชาวเกาหลีเพิม่ ขึ้นทกุ ปีการแต่งงานใหม่ ปจั จุบันผหู้ ญงิ ชาวเกาหลมี อี ตั ราการแตง่ งานใหม่มากกว่าผ้ชู าย และพบวา่ ผู้หญิงท่ีผ่านการมีครอบครัวแล้วมาแตง่ งานใหมน่ ัน้ สว่ นใหญ่จะแตง่ งานใหมก่ บั ผชู้ ายโสดชาวเกาหลที ีย่ ังไม่เคยผา่ นการแต่งงานมาก่อนอกี ดว้ ย ส่วนผู้ชายนนั้ จะแตง่ งานใหม่กบั หญิงโสดเชน่ กัน แต่จะเปน็ หญิงโสดชาวตา่ งชาติทม่ี าจากเอเชยีตะวนั ออกเฉยี งใต้ อาทิ เวยี ดนาม กมั พชู า ฟิลิปปินส์ และไทย ทง้ั นเ้ี พราะเงอ่ื นไขในการเลือกคู่ครอง หรือเงื่อนไขในการแต่งงานของหญงิ สาวชาวเกาหลีทเี่ ยอะขึ้น อาทิ หนา้ ตา ฐานะทางการเงนิ ฐานะทางสงั คมการศึกษา เป็นต้น โดยสาเหตุด้านการเงนิ จะเปน็ เหตุผลหลักของทั้งฝุายหญงิ และฝุายชายในการแตง่ งานใหม่แตห่ ากยอ้ นกลบั ไปเม่ือ 30 ปกี ่อน จะพบวา่ ผูช้ ายมีอตั ราการแตง่ งานใหม่มากกวา่ ผหู้ ญงิ ส่วนผู้หญงิ สมยั ก่อนนั้นแทบไมป่ รากฏข้อมูลอตั ราการแตง่ งานใหมเ่ ลย สาเหตุสืบเนื่องมาจากค่านิยม และทัศนคตใิ นทางลบเกย่ี วกบั เรือ่ งการหย่ารา้ ง ท่ที าํ ให้อตั ราการหย่าร้างทแี่ ทบไม่มี หรอื มีนอ้ ยมากในสมยั กอ่ นนน่ั เองการแตง่ งานกับชาวต่างชาติ (ครอบครัวหลากวัฒนธรรม) สมัยก่อนการแต่งงานกับชาวตา่ งชาตนิ น้ั เป็นไปได้ยากมาก ทง้ั นน่ี ่าจะมาสาเหตมุ าจากความเป็นชาตนิ ิยม แตใ่ นปัจจบุ นั นั้น หลังจากทเ่ี กาหลีเปิดประเทศ กระแสเกาหลใี นดา้ นตา่ งๆ แพรก่ ระจายความนยิ มไปสู่สากลโลก ดึงดูดใหช้ าวต่างชาติเดนิ ทางเข้าเกาหลมี ากขึ้น และก่อให้เกิดครอบครวั และสังคมหลากวัฒนธรรมตามมาในภายหลงั สาเหตุหลักของการแตง่ งานกับชาวต่างชาติของคนเกาหลมี าจากการหยา่ รา้ งของคนในประเทศ แนวทางการพัฒนาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 120 태국 내 한국학 발전 현황
และนาํ มาซึง่ การแต่งงานใหม่ซึ่งจากท่ไี ดก้ ลา่ วมาข้างตน้ เกี่ยวกบั ปญั หาการหย่าร้างน้ัน ทาํ ให้ทราบว่า ผู้หญงิเกาหลปี จั จุบันมักจะกําหนดเงื่อนไขในการเลือกคคู่ รองคอ่ นข้างสงู จงึ ทาํ ให้ผู้ชายเกาหลีหนั มาเลอื กการแต่งงานกับชาวตา่ งชาตมิ ากกวา่ และอกี สาเหตุหนง่ึ คือ ความต้องการลงทุนทําธรุ กิจในตา่ งประเทศน่นั เอง2. การใชช้ ีวิตคนเดียวในสงั คมเกาหลีใต้ ปจั จบุ ันชาวเกาหลีใตท้ ้ังหญิงและชายใหค้ วามสาํ คญั กบั ตวั เองมากกวา่ สิ่งอนื่ หนึ่งในสาเหตสุ าํ คญั ก็คอืการยา้ ยถิน่ ฐาน การเดนิ ทางเขา้ มาใชช้ ีวิตในเมอื ง ทําให้ไมไ่ ด้ใช้ชีวติ อยกู่ บั ครอบครวั จาํ เปน็ ตอ้ งอย่คู นเดียวทําใหค้ นเหลา่ นน้ี ึกถงึ และใส่ใจตวั เองก่อนเป็นอนั ดบั แรก คา่ นิยมครอบครวั เดยี่ วหรอื การใช้ชีวิตคนเดียว (One Person Household) ในสังคมเกาหลีใต้นัน้ส่งผลใหส้ ังคมครอบครัวใหญ่ถกู ลดบทบาทลง การใชช้ วี ิตในครอบครวั ใหญ่ ไมไ่ ด้ใช้ชวี ติ อยูร่ ่วมกนั ความใส่ใจหรอื หว่ งใยผอู้ ่ืนลดลง กลบั กลายเปน็ หนั ไปให้ความสนใจ และใส่ใจแค่เพยี งเรอื่ งของตวั เอง สนใจแต่วัตถุภายนอก จนลมื นกึ ถึงแกน่ แทห้ รือตัวตนท่ีแทจ้ ริงของตนเอง คา่ นิยมเหล่าน้กี าํ ลังทาํ ให้ชาวเกาหลใี ตท้ ่ีใชช้ ีวติคนเดยี วนึกถงึ แตต่ วั เองเปน็ หลัก ทัง้ ยังมีแนวคดิ แบบปัจเจกนยิ ม( individualism)และอตั ตานิยม ( egoism)เพอ่ื ความอยูร่ อดหรอื ผลประโยชนข์ องตัวเองเท่าน้นั ไมส่ นใจวา่ การกระทําของตนจะทําให้คนรอบข้างเดอื ดรอ้ นหรอื ไดร้ บั ผลกระทบมากนอ้ ยเพยี งใดแผนภมู ิที่ 2.1 จาํ นวนครอบครวั ชาวเกาหลใี ตท้ ีม่ มี ากกว่า 1 คน/ ผู้ที่ใช้ชวี ติ คนเดียว (One PersonHousehold) จากแผนภมู ทิ ี่ 2.1 น้นั จะเหน็ ได้วา่ จากอดีตจนถึงปัจจุบนั สังคมชาวเกาหลใี ต้ทแี่ ตเ่ ดมิ ส่วนมากจะเปน็สังคมครอบครัวใหญท่ ม่ี ีสมาชกิ ในครอบครวั ตง้ั แต่ 4 คนข้ึนไป คอ่ ยๆลดลง แตส่ งั คมครอบครัวคนเดียวท่มี ีสมาชิกในครอบครัวเพยี งคนเดยี วกลับมอี ตั ราเพิม่ สูงขน้ึ เรื่อยๆ กอปรกบั อตั ราการแตง่ งานและอตั ราการเกดิ ท่ีกําลังค่อย ๆ ลดลงเชน่ กนั เทรนดก์ ารบรโิ ภคสินค้าเพื่อสนองความตอ้ งการของตัวเอง ( FOR ME) ครอบครัวเดี่ยวหรือการอาศัยอยู่ตัวคนเดียว (One Person Household) ในสังคมเกาหลีทเ่ี พมิ่ มากข้ึน ทาํ ให้ชายหญงิ วัยหนมุ่ สาวส่วนใหญ่ใสใ่ จที่จะหากิจกรรมท่สี ามารถตอบสนองความต้องการหรอื ทาํ ใหต้ ัวเองมีความสุขมากกวา่ การม่งุ เนน้ ท่ีจะออมเงินเพอ่ื แต่งงานและสรา้ งครอบครัว คา่ นิยม FOR ME (FOR ME : For health + One + Recreation +More convenient + Expensive) เปน็ การบริโภคสนิ ค้าเพอ่ื สนองความต้องการหรอื ความพอใจของตนเอง แนวทางการพฒั นาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 121 태국 내 한국학 발전 현황
โดยทีไ่ ม่คํานงึ ถงึ ราคาและรายรับของตนเอง กลมุ่ คนทีม่ ีคา่ นิยมแบบ FOR ME จะเปน็ ชายหญิงวัยทํางานหรอืวัยกลางคน (อายุไม่เกิน 39 ปี) ซึ่งเป็นช่วงอายทุ ี่ควรเกบ็ ออมเงินเพื่อเตรียมแตง่ งานและสร้างครอบครวั ทําให้คนเกาหลใี ต้แตง่ งานช้าลงหรืออัตราการแตง่ งานลดลงอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ซึ่งข้อดีของค่านิยม FOR ME คอื ทาํ ให้เศรษฐกิจดขี ึน้ อัตราการบริโภคสนิ ค้าของกล่มุ คนทีน่ ยิ มกระแส for me หรือผูท้ ีใ่ ชช้ ีวติ คนเดียวสูงกวา่ การใช้จา่ ยของครอบครวั ใหญถ่ งึ รอ้ ยละ 7รปู ภาพท่ี 2.1 แนวโน้มการบริโภคของครอบครวั เกาหลีใต้ นอกจากกลุ่มคนวัยกลางคนทีใ่ ช้ชีวิตคนเดยี วในเมืองใหญ่แลว้ ยังมอี ีกกลมุ่ คนทใี่ ช้ชวี ติ เพียงลาํ พงั น่ันก็คอื ผู้สงู อายุ (อายุ 60 ปขี ้ึนไป) ซ่ึงมอี ตั ราคอ่ นขา้ งสูงใกล้เคียงกบั วัยกลางคน แตผ่ ู้สงู อายทุ ีใ่ ช้ชีวิตอยูเ่ พยี งลําพังมชี ีวิตทีแ่ ตกต่างกับกลุม่ วยั กลางคน เพราะต้องเผชิญกบั ปญั หาความยากจน ความเจ็บปุวย ท้ายท่ีสุดคนกลุ่มนกี้ เ็ ลอื กแก้ปญั หาด้วยการฆา่ ตัวตาย ซ่ึงปัญหาของผู้สงู อายุเหล่าน้คี วรไดร้ บั การชว่ ยเหลอื จากรัฐบาลซงึ่ จริงๆแล้วนั้นผูท้ จี่ ะแกไ้ ขปญั หานี้ไดด้ ที ส่ี ดุ ควรจะเปน็ ครอบครัว สมาชกิ ในครอบครวั ควรทจ่ี ะหนั มาใส่ใจดแู ลซึง่ กนั และกัน ซึง่ จากทก่ี ลา่ วมานัน้ ทําให้สงั คมเกาหลใี ต้ในปจั จบุ ันกาํ ลังเผชิญกับปัญหาท่ยี ากจะแก้ไข และจะกลายเปน็ สังคมผู้สงู อายุในที่สดุ3. สังคมผู้สูงอายุ ในปัจจุบันตามสถิติของสาํ นักงานสถติ แิ ห่งชาติ ประชากรของเกาหลีใตจ้ ะมอี ายุขัยเฉล่ยี ประมาณ82.4 ปี ซึ่งชายจะมอี ายุขัยเฉล่ยี ประมาณ 79 ปี และหญิงเฉลี่ยประมาณ 85.5 ปี เมอ่ื พจิ ารณาจากอตั ราโดยเฉลย่ี ของประเทศสมาชิกองคก์ ารเพือ่ ความร่วมมือทางเศรษฐกจิ และการพฒั นา (Organization forEconomic Co-operation and Development: OECD) อายุขยั เฉลยี่ ของหญิงเกือบทกุ ประเทศจะมากกวา่ ชาย ตามคาํ นยิ ามของสหประชาชาติ สงั คมใดทก่ี ําลงั ก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมผูส้ งู อายุน้ัน ต้องมสี ดั สว่ นของผูม้ อี ายุ 65 ปขี นึ้ ไปตอ่ ประชากรทงั้ หมดมากกวา่ ร้อยละ 7 แต่ถา้ มากกว่ารอ้ ยละ 14 ถอื ใหเ้ ป็นสงั คมผ้สู ูงอายุและเมอ่ื พิจารณาอายุโดยเฉลี่ยของประชากรเกาหลีใตพ้ บว่าในปี ค.ศ. 2013 ประชากรท่มี ีอายตุ ํ่ากวา่ 15 ปี มีอยูร่ อ้ ยละ 14.7 ประชากรท่ีมีอายรุ ะหวา่ ง 15-64 ปี มอี ยูร่ ้อยละ 73.1 ประชากรที่มีอายุ 65 ปขี ึ้นไป มรี อ้ ยละ แนวทางการพัฒนาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 122 태국 내 한국학 발전 현황
12.2 (Statistics Korea, 2014: 22) และตามข้อมลู ของสํานักงานสถติ ิแหง่ ชาติในปี ค.ศ. 2026 ผูส้ งู อายุของเกาหลอี ยูท่ ่ีประมาณ 10 ลา้ นคน การตกอยู่ในสถานะสังคมผ้สู ูงอายุอย่างรวดเรว็ จะส่งผลกระทบในดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คม โดยเฉพาะดา้ นการดํารงชีวิตของผู้สงู อายุ การเปลีย่ นแปลงทางสังคมอย่างรวดเรว็ประชาชนทีอ่ ยู่ในช่วงวยั ทํางานอพยพเขา้ สเู่ มืองทาํ ใหผ้ ูส้ งู อายุถูกทอดท้งิ ไว้ในชนบท ทีอ่ ยอู่ าศัยในเมืองมีลักษณะเป็นอาคารขนาดเล็กและราคาแพงแตกต่างจากบา้ นในชนบท จึงไมส่ ามารถแบกรับภาระในการพาพ่อแมเ่ ขา้ มาอยใู่ นเมืองด้วยได้ อกี ทง้ั เงินเดอื นและค่าจ้างกไ็ ม่เพียงพอในการซ้ือที่อยู่อาศัย กรอปกบั คา่ ครองชีพและคา่ ใชจ้ ่ายในชีวติ ประจําวันทส่ี งู ขึ้น จากสาเหตดุ ังกลา่ วตามข้อมลู สถิติแห่งชาตใิ นปี ค.ศ.2012 ระบวุ า่ รอ้ ยละ49 ของผสู้ ูงอายุในปี ค.ศ.2010 เปน็ ผมู้ ฐี านะยากจน และได้รบั ความช่วยเหลือจากระบบสวสั ดกิ ารของรฐั เพยี งเลก็ นอ้ ย (เดือนละ 300,000 วอน)แผนภูมิท่ี 3.1 อตั ราการฆ่าตวั ตายของผู้สงู อายใุ นบรรดาประเทศสมาชิก OECD ในปี ค.ศ. 2011 อัตราการฆ่าตัวตายของผสู้ งู อายใุ นเกาหลีใตอ้ ยู่ท่ปี ระมาณ 80 คน ต่อประชากร100,000 คน ถอื เปน็ อตั ราการฆา่ ตวั ตายของผสู้ งู อายทุ ่ีสูงท่ีสดุ ในบรรดาประเทศสมาชกิ องค์การเพือ่ ความรว่ มมือทางเศรษฐกจิ และการพัฒนา (OECD) และเพมิ่ มากขึน้ ถงึ 5 เท่าจากช่วง 20 ปีที่ผ่านมาแผนภมู ิที่ 3.2 อัตราการฆา่ ตัวตายในแตล่ ะชว่ งอายขุ องสังคมเกาหลี ตัง้ แตป่ ี ค.ศ. 2007-2011 แนวทางการพฒั นาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 123 태국 내 한국학 발전 현황
จากแผนภูมิท่ี 3.2 จะเห็นไดว้ ่า ในปี ค.ศ.2011 อัตราเฉลยี่ ของผู้สงู อายุท่ฆี า่ ตวั ตายอยูใ่ นชว่ งอายุ 80 ปีและในบรเิ วณพน้ื ทีจ่ งั หวัดชงุ นมั มีอัตราการฆ่าตัวตายมากท่สี ดุ สูงถงึ 123.2 คน รองลงมาคอื กรงุ โซล ประมาณ65.1 คน ตอ่ ประชากร 100,000 คนแผนภูมิท่ี 3.3 สรุปสาเหตกุ ารฆ่าตวั ตายของผสู้ งู อายชุ าวเกาหลีใต้ทีอ่ ายุ 60 ปีข้ึนไป แผนภูมทิ ี่ 3.3 แสดงให้เหน็ ถงึ สาเหตกุ ารฆา่ ตวั ตายของผ้สู งู อายุในเกาหลใี ต้ โดยสาเหตุจากผลกระทบปัญหาทางเศรษฐกิจ ความยากจนข้นแคน้ อยูท่ ี่ร้อยละ 35 ซง่ึ เทา่ กันกับสาเหตทุ ีเ่ กดิ จากอาการเจ็บปวุ ยกร็ ้อยละ 35 เช่นเดียวกัน สาเหตจุ ากความวา้ เหวห่ รือโดดเด่ียว อยู่ทร่ี ้อยละ 11 สาเหตจุ ากความไมป่ รองดองกันในครอบครวั หรอื ความขัดแย้งกนั ในครอบครวั อยทู่ รี่ ้อยละ 9 ส่วนสาเหตุจากปัญหาเพือ่ นตา่ งเพศอยูท่ ี่ร้อยละ 2 และปญั หาอน่ื ๆอกี ร้อยละ 8 เมอ่ื เกาหลใี ตเ้ กดิ การเปลีย่ นแปลงทางดา้ นเศรษฐกิจ สงั คมอย่างรวดเรว็ เกดิ การแขง่ ขันและให้ความสําคญั กบั วัตถุมากยง่ิ ขน้ึ ค่านิยมดัง้ เดมิ ทเ่ี คยถือปฏบิ ตั ิกันมากลับลดนอ้ ยลง ดังเช่นหลกั คาํ สอนของขงจือ๊ ทใี่ หค้ วามสําคญั กับการกตญั ญกู ตเวทีแกพ่ ่อแม่ บตุ รชายคนโตหรอื บตุ รคนโตในบ้านถือเปน็ ผดู้ แู ลพ่อแม่ แต่ค่านิมยมดง้ั เดิมดงั กลา่ วได้เปลยี่ นไปตามสงั คมทเ่ี ปล่ียนแปลง จากการสาํ รวจข้อมลู ความคิดเหน็ ในปี ค.ศ.2010 ผูต้ อบแบบสอบถามเพยี งร้อยละ36 ให้ความเห็นวา่เป็นหน้าทขี่ องตนในการเลยี้ งดพู ่อแม่ ในขณะทปี่ ี ค.ศ. 1998 มถี งึ ร้อยละ 90 ของผู้ตอบแบบสอบถามเหน็ วา่เป็นหน้าทขี่ องตนในการเล้ยี งดูพอ่ แม่ คา่ นิยมเก่ยี วกบั บุตรชายคนโตหรือบตุ รคนโตในบา้ นถอื เปน็ ผู้ดแู ลพ่อแม่นนั้ ไดเ้ ปล่ยี นแปลงเช่นกนั เนอ่ื งจากความคิดเหน็ ของเยาวชนเกาหลีใต้ อายรุ ะหว่าง 13-24 ปี เหน็ ว่าทกุ คนควรรบั ผดิ ชอบในการดูแลพ่อแมร่ ว่ มกันอยูท่ ร่ี อ้ ยละ 80.1 (Steven Denny, 2015)แผนภูมิท่ี 3.4 อัตราดาํ รงชวี ิตของผสู้ งู อายุวา่ อยพู่ กั อาศยั อยู่กบั บุตรหรอื อยู่คนเดียวในปี ค.ศ. 1994-2014และอัตรารายได้ของผู้สูงอายใุ นปี ค.ศ. 2008-2014 แนวทางการพัฒนาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 124 태국 내 한국학 발전 현황
จากแผนภมู ิที่ 3.4 สถติ ิในปี ค.ศ. 1994 ของกระทรวงสขุ ภาพและสวัสดกิ ารสงั คมเปรียบเทยี บใหเ้ ห็นว่าอัตราผู้สูงอายทุ ่ีอาศยั อยกู่ ับบุตรอยูท่ รี่ ้อยละ 54.7 และในปี ค.ศ. 2014 ลดลงมาอยู่ที่รอ้ ยละ 28.4 สว่ นอตั ราผูส้ งู อายทุ ีอ่ าศยั อยูก่ นั ตามลําพังสามีภรรยา ในปี ค.ศ. 1994 จะอยูท่ ี่ 31.7 แต่ในปี ค.ศ. 2014 กลบั เพมิ่ขึ้นมาที่ 44.5 ส่วนผสู้ งู อายุท่ีอาศยั อยู่เพยี งลําพงั คนเดียวนั้น ในปี ค.ศ. 1994 อยู่ท่ีร้อยละ 13 .6 และในปีค.ศ. 2014 เพม่ิ เปน็ 23 มากขึ้นถึงร้อยละ 10 การเปลย่ี นแปลงดังกลา่ วได้ส่งผลกระทบต่อการดํารงชวี ติ และการเลยี้ งดตู นเองของผสู้ งู อายุ เพราะผู้สูงอายุบางคนไม่มรี ายไดห้ รือเงนิ ออม และส่งผลกระทบต่อกายและใจ จนกอ่ ให้เกดิ ปัญหาทางสังคม จากข้อมูลจากกระทรวงสขุ ภาพและสวัสดกิ ารสงั คมในปี ค.ศ. 2008 รายไดส้ ว่ นใหญข่ องผสู้ ูงอายุมาจากเงนิ ทบ่ี ตุ รหรอื คนรอบข้างใหม้ ีถึงรอ้ ยละ 46.5 รองลงมาเป็นเงนิ บาํ นาญรอ้ ยละ 28.2 แต่ในปี ค.ศ. 2014 รายได้ของผ้สู ูงอายสุ ่วนใหญม่ าจากเงินบาํ นาญ เฉลย่ี สูงถึงร้อยละ 35 รองลงมาเปน็ รายได้จากการทําธรุ กิจหรอื การทํางาน เฉลี่ยรอ้ ยละ 27.8เอกสารอา้ งองิวเิ ชียร อินทะสี. 2553. เอเชียรายปี. พิมพค์ รั้งท่ี 1. กรงุ เทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั__________. 2557. หน่วยท่ี 4 เกาหลีใต้กับยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนา ในเอกสารการสอนชุดวิชา 82425 ลทั ธกิ ารเมอื ง และยทุ ธศาสตร์การพัฒนา. พมิ พ์คร้ังที่ 1. นนทบุรี: มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าชงานสถิติ กระทรวงสุขภาพและสวสั ดกิ ารของเกาหลีใต้. 2557. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://stat.mohw. go.kr/. [เมือ่ วันที่ 13 พฤศจกิ ายน 2558].ฝุายบริการข้อมูลสถิติ สาํ นกั งานสถิติแห่งชาติของเกาหลใี ต้. 2558. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก : http://kostat. go.kr/portal/korea/index.action. [เมือ่ วนั ที่ 16 พฤศจกิ ายน 2558].บรษิ ัท BAROYEONN จํากัด. 2558. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก :http://www.kyeonggi.com/news/articleView. html?idxno=669284. [เม่ือวนั ที่ 2 ธนั วาคม 2558]. แนวทางการพัฒนาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 125 태국 내 한국학 발전 현황
สถาบันวิจยั วิจยั ด้านสุขภาพและสวสั ดกิ ารทางสงั คม. 2549. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://news.naver.com /main/read.nhn?mode=LSD&mid=sec&sid1=102&oid=022&aid= 0000153154. [เม่อื วันท่ี 3 ธันวาคม 2558].Statistics Korea. 2014. Explorer through Statistics. 1st ed. Deajeon: Statistics Korea.Steven Denny. [South Korea's Generation Gap]. 2015. [Online]. Available: thediplomat.com. [Accessed 1 October 2015].หนงั สือพิมพแ์ ละสานักขา่ วChosun IlboDong-A IlboJoongboo IlboKBS NEWSSegye Ilbo แนวทางการพัฒนาเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย 126 태국 내 한국학 발전 현황
태국 내 한국학 교재개발 방향 Korean Studies Textbook Development in Thailand Soontaree Larprungrueng Kitae Kim Uraiwan Jitpenthom Kim Natthawan Sinaroj 본연구는 한국학 교재개발을 위하여 태국내의 한국학 현황을 살피는 것을그 목적으로 한다. 본 연구의 내용은 두 부분으로 나뉘어진다. 하나는 태국 내한국어교육 현황과 한국학 현황을 살피며, 각 교육기관의 한국학 교과목 현황과문제점을 고찰하는 것이다. 다른 하나는 태국 내 한국학 교재 개발에 필요한기본정보 구축을 위하여, 학습자들의 한국학 교과목에 대한 관심도와 이해도를살피는 것이다.키워드: 교재, 한국학, 태국 Paper prepared for presentation at the “Korean Studies Development Approach in Thailand” 21st -23rd December, 2015 The Imperial Pattaya Hotel, Chonburi แนวทางการพฒั นาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 127 태국 내 한국학 발전 현황
แนวทางการพัฒนาตาราเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย Korean Studies Textbook Development in Thailand สุนทรี ลาภรุง่ เรือง31 คิเท่ คมิ 32 อุไรวรรณ จิตเปน็ ธม คิม33 ณฐั วรรณ สินาโรจน3์ 4เกริ่นนา จากปี พ.ศ. ๒๕๔๒ จวบจนปัจจุบันเปน็ เวลากวา่ ๑๖ ปที ่ไี ดม้ ีการเรียนการสอนภาษาเกาหลเี ป็นวชิ าเอกและเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย และการศกึ ษาเกาหลีศกึ ษาก็ยงั คงมแี นวโน้มท่จี ะเพิม่ สูงขึ้นเรือ่ ย ๆแตท่ ว่าทผี่ า่ นมาในอดตี การเรียนการสอนเกาหลศี กึ ษามงุ่ เน้นไปในศาสตร์ของภาษาเกาหลเี ปน็ หลัก อีกท้ังหนงั สอื หรือตําราตา่ ง ๆ ทปี่ รากฏล้วนเป็นหนังสือหรือตาํ ราเก่ยี วกับภาษาเกาหลแี ทบทัง้ สน้ิ แตห่ นังสือหรือตําราท่ีเก่ยี วข้องกบั เกาหลศี กึ ษาในเรื่องอน่ื ๆ อาทิเช่น สงั คมเกาหลี วัฒนธรรมเกาหลี ประวัติศาสตรเ์ กาหลี ฯทีเ่ รียบเรียงโดยนักวชิ าการชาวไทยนน้ั แทบไม่ปรากฏ ในการเรียนการสอนนนั้ นักวชิ าการในวงการการศกึ ษาตา่ งทราบดีว่า องคป์ ระกอบหลักทส่ี ําคญั อันจะทําให้การเรียนการสอนบรรลผุ ลสมั ฤทธ์ิได้นนั้ จะต้องประกอบไปดว้ ยผู้สอน ผู้เรยี น และสื่อการเรยี นการสอนซงึ่ สอื่ การเรียนการสอนนนั้ เป็นเครอ่ื งมือทจ่ี ะชว่ ยทาํ ให้ผเู้ รยี นเกดิ การเรยี นรไู้ ด้งา่ ยข้ึน ประหยัดเวลาช่วยถ่ายทอดความรสู้ ึก ความคดิ ระหว่างครผู ูส้ อนกับผู้เรยี น ช่วยสร้างความเข้าใจไดอ้ ย่างรวดเรว็ อีกทงั้ ยังช่วยให้จดจําได้อยา่ งถาวรซึง่ ในบรบิ ทของสังคมไทยปัจจบุ นั ตาํ ราหรือหนงั สือเรียนยังคงถอื เป็นสื่อหลักท่มี บี ทบาทสําคญั ต่อการจัดการเรยี นการสอนทัง้ ต่อผสู้ อนและผเู้ รยี น บทความฉบบั น้เี รียบเรยี งข้นึ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื นําข้อมูลท่ไี ดจ้ ากการศึกษาในคร้ังน้ไี ปเปน็ แนวทางในการผลิตตําราเกาหลศี ึกษาในอนาคตซึง่ บทความน้ีจะประกอบไปดว้ ย ๒ ส่วน ไดแ้ ก่ สว่ นทีห่ นงึ่เป็นการศึกษาสภาพปจั จบุ ันของการเรยี นการสอนภาษาเกาหลแี ละเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทยความสาํ คัญ31หวั หน้าภาควิชาภาษาตะวันออก, หัวหนา้ ศนู ย์เกาหลศี ึกษาและอาจารยป์ ระจําสาขาภาษาเกาหลี ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา32ศาสตราจารย์อาคันตุกะ(Visiting Professor) จากAcademy of Korean Studies(AKS)33หัวหนา้ สาขาภาษาเกาหลี ภาควชิ าภาษาตะวันออก คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา34อาจารยป์ ระจาํ สาขาภาษาเกาหลี ภาควชิ าภาษาตะวนั ออก คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา แนวทางการพัฒนาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 128 태국 내 한국학 발전 현황
และรูปแบบของการศกึ ษารายวชิ าเกาหลีศกึ ษาของแตล่ ะสถาบนั รวมไปถึงปญั หาและอปุ สรรคตอ่ การศึกษารายวชิ าเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย และส่วนทส่ี อง เป็นการศกึ ษาความสนใจ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับรายวิชาเกาหลศี ึกษาของกลุม่ ผเู้ รียน เพ่ือนาํ ไปสู่รปู แบบของการผลติ ตาํ ราเกาหลีศึกษาทีเ่ หมาะสมและเกิดประโยชน์สูงสดุ กับผู้เรียนชาวไทย ๑. สภาพการเรียนการสอนภาษาและเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย สาํ หรบั ประเทศไทยน้นั อาจกลา่ วไดว้ า่ เกาหลีศกึ ษาไดเ้ ริ่มตน้ จากการสอนภาษาเกาหลีจากศาสตราจารย์อาคันตกุ ะชาวเกาหลีมาสอนนกั ศกึ ษาชาวไทย ดงั น้ันเม่อื พดู ถึงเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทยโดยมากจึงหมายถงึ การเรียนการสอนภาษาเกาหลีให้กับชาวไทยเป็นสว่ นใหญ่ ปัจจบุ นั สถาบนั การศกึ ษาใ นระดบั อดุ มศกึ ษาท่ีมกี ารสอนวชิ าภาษาเกาหลีและวิชาเกาหลีศกึ ษาเปน็ วชิ าเอก มที งั้ สน้ิ ๑๑ แห่ง มหาวิทยาลัยทเ่ี ปิดสอนเป็นวชิ าโท ๓ แหง่ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนเป็นวิชาเลอื กเสรี๒๓แหง่ และวิทยาลยั อาชีวศึกษา ๖แหง่ปีพ.ศ.ท่เี ปิดสอนตามรายละเอียดตารางด้านลา่ งมหาวิทยาลยั ท่เี ปิดสอนวิชาเอกภาษาเกาหลี ๑๑ แห่งปที เ่ี ปดิ สอน มหาวิทยาลยัเปน็ วิชาเอก๑ ๒๕๔๒ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตปัตตานี๒ ๒๕๔๓ มหาวทิ ยาลัยบรู พา๓ ๒๕๔๖ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร๔ ๒๕๔๘ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม๕ ๒๕๔๘ มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมิตร๖ ๒๕๔๙ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชียงใหม่๗ ๒๕๕๐ มหาวิทยาลัยนเรศวร๘ ๒๕๕๔ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตภูเกต็๙ ๒๕๕๖ มหาวทิ ยาลยั หอการคา้ ไทย๑๐ ๒๕๕๗ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อตุ รดติ ถ์๑๑ ๒๕๕๘ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชียงราย นอกจากน้ี ภายในอนาคตอนั ใกล้ มมี หาวิทยาลยั ที่มีแผนจะเปดิ สอนภาษาเกาหลีเป็นวิชาเอกอกี ๒ ถงึ๓ แห่ง ไดแ้ ก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ และมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์จากข้อมลู ของสถานเอกอคั รราช ทตู สาธารณรัฐเกาหลี ประจําประเทศ ไทยปี พ.ศ. ๒๕๕๗ พบว่า มีมหาวทิ ยาลยั จํานวนกว่า แนวทางการพัฒนาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 129 태국 내 한국학 발전 현황
๒๓ แหง่ และวทิ ยาลยั อาชวี ะจาํ นวน ๖ แห่ง ที่เปดิ สอนภาษาเกาหลีเปน็ วชิ าเลือกเสรี35 ซ่ึงอาจารย์ผูส้ อนเกอื บท้งั สน้ิ เปน็ อาสาสมคั รจากองค์กรความร่วมมอื ระหวา่ งประเทศแหง่ สาธารณรัฐเกาหลี (KOICA)มหาวทิ ยาลยั ท่เี ปิดสอนวชิ าโท ๓ แห่งปที ีเ่ ปิดสอน มหาวทิ ยาลยัเป็นวชิ าโท๑ ๒๕๔๙ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่๒ ๒๕๕๐ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั๓ ๒๕๕๖ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่มหาวิทยาลยั ที่เปิดสอนวิชาเลือกเสรี ๒๓ แหง่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั แม่ฟาู หลวง มหาวิทยาลยั กรงุ เทพ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชียงราย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี มหาวทิ ยาลัยรามคําแหง มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสรุ นารี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อดุ รธานี มหาวิทยาลยั สรุ นารี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ มหาวิทยาลยั ราชภฏั กําแพงเพชร มหาวิทยาลยั ราชภฏั สรุ นิ ทร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ภเู ก็ต มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสุราษฎร์ธานี มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา มหาวิทยาลยั ศรปี ทมุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี าน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วทิ ยาเขตรังสิต มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสวุ รรณภมู ิ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลตะวนั ออก มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์วิทยาเขตทา่ พระจนั ทร์วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษา ๖ แห่ง วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาอุตรดติ ถ์ วทิ ยาลัยเทคนคิ ชยั ภูมิ วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาภเู ก็ต วิทยาลัยสารพัดช่างเชยี งใหม่ วิทยาลัยเทคนิคบรุ ีรัมย์35ข้อมลู จากสถานเอกอัครราชทตู สาธารณรฐั เกาหลีhttp://tha.mofa.go.kr/korean/as/tha/information/education/index.jsp แนวทางการพฒั นาเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย 130 태국 내 한국학 발전 현황
นอกเหนือจากการเรียนการสอนเกาหลีศึกษาในระดับอุดมศึกษาแล้ว ยงั มีการเรียนการสอนภาษาเกาหลี 131ในระดับมธั ยมศึกษาอกี ด้วย ซึง่ การเรียนการสอนภาษาเกาหลีในโรงเรียนมธั ยมศกึ ษาไดเ้ รมิ่ ข้ึนเป็นครง้ั แรกในฐานะภาษาต่างประเทศท่ี ๒ เมอ่ื ปีพ.ศ. ๒๕๕๒จากนนั้ ในปี พ.ศ.๒๕๕๓ โรงเรยี นมัธยมศึกษาไดเ้ ปดิ สอนภาษาเกาหลเี พ่ิมขนึ้ อกี ๘ แห่ง และไดข้ ยายเพิ่มขนึ้ เปน็ ๔๒ แห่งเม่ือปลายปี พ.ศ.๒๕๕๔ จากขอ้ มูลของสาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) ได้ให้ข้อมูลว่า ในปีพ.ศ. ๒๕๕๗ ได้มีโรงเรยี นมัธยมศกึ ษาทีเ่ ปิดสอนภาษาเกาหลจี ํานวน ๗๐ แห่ง (กรงุ เทพฯ ๙ แหง่ /ต่างจังหวัด ๖๑ แหง่ ) และมีครูผู้สอนภาษาเกาหลี ๑๑๐คน ในบรรดาครผู ู้สอนเป็นชาวไทยทส่ี ําเรจ็ การศึกษาจากสาขาภาษาเกาหลีจํานวน ๑๐ คน สําเร็จการศึกษาจากสาขาอื่น ๓๐ คน และเปน็ ครูชาวเกาหลีจํานวน ๗๐ คน (อัตราจ้าง ๑๐ คน/ อาสาสมคั ร ๖๐ คน)สําหรบั จาํ นวนนกั เรียนมัธยมศกึ ษาทเี่ ลือกเรยี นภาษาเกาหลีมจี าํ นวนทัง้ สิน้ ๑๘,๗๔๕ คน(นักเรยี นมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ๘,๑๐๕ คน / นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ๑๐,๖๔๐ คน ๒. การเรยี นการสอนรายวิชาเกาหลีศึกษาในสถาบันอดุ มศึกษา ในบทความนคี้ ําวา่ ‘รายวชิ าเกาหลีศึกษา’ หมายถึงเฉพาะรายวชิ าที่เกยี่ วข้องกบั การศกึ ษาสาธารณรัฐเกาหลี และชาวเกาหลี เช่น สงั คม วฒั นธรรม เศรษฐกิจ การเมอื งและการปกครอง ประวัตศิ าสตร์ ศาสนาความคิดและความเชือ่ ประเพณี ศิลปะ เปน็ ต้น โดยจะไม่ไดห้ มายรวมถงึ รายวิชาเก่ยี วกับภาษาเกาหลี ข้อมูลของการเรยี นการสอนในรายวิชาเกาหลศี กึ ษาได้มาจากการสัมภาษณ์อาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบรายวชิ าเกาหลศี กึ ษา หรอื ประธานหลกั สตู รภาษาเกาหลีของสถาบนั อดุ มศึกษาท่ีเปิดสอนภาษาเกาหลเี ปน็วชิ าเอกทง้ั ๑๑ แห่งผลการสมั ภาษณ์ สรปุ เปน็ ประเด็นตา่ งๆได้ดงั นี้๒.๑ ชอื่ หลักสตู ร จากการสัมภาษณ์อาจารยผ์ ้รู บั ผิดชอบรายวชิ าเกาหลศี ึกษา หรอื ประธานหลกั สูตรภาษาเกาหลีของสถาบันอุดมศึกษาท่เี ปิดสอนภาษาเกาหลเี ปน็ วิชาเอกท้ัง ๑๑ แห่งพบว่า ชือ่ หลกั สูตรของแต่ละสถาบันเกินกว่า๘๐ เปอรเ์ ซ็นตใ์ ช้ชอื่ หลักสูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาภาษาเกาหลี หลกั สตู ร ๔ ปี มเี พียง ๒ สถาบันศึกษาอนั ได้แก่ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากรใช้ชือ่ หลักสูตรอกั ษรศาสตรบณั ฑิต และมหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุตรดติ ถ์ทใ่ี ช้ชือ่หลกั สตู รครศุ าสตรบนั ฑิต สาขาภาษาเกาหลี ซ่งึ เป็นหลกั สูตร ๕ ปี ในแตล่ ะหลกั สตู รของแตล่ ะสถาบนั มโี ครงสร้างหลักสูตรบางเป็นหมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป และหมวดวิชาเฉพาะซงึ่ ในหมวดวชิ าเฉพาะจะแบ่งออกเปน็ หมวดวชิ าเอกบังคบั และหมวดวชิ าเอกเลือกส่วนใหญห่ มว ดวชิ าเอกบังคับ จะประกอบไปด้วยรายวชิ าทเ่ี กย่ี วกบั ภาษา ๔ ทักษะหลัก อนั ได้แกท่ ักษะการ ฟัง ทักษะการพดูทกั ษะการอา่ น และทกั ษะการเขยี นภาษาเกาหลีชื่อวชิ าในหลักสตู ร อาทิเชน่ วชิ าภาษาเกาหลี ๑-๖วิชาการฟงัและพดู ภาษาเกาหลี วชิ าการอ่านภาษาเกาหลี วชิ าการเขียนภาษาเกาหลี เป็นตน้๒.๒ รายวชิ าเกาหลีศึกษาในหลักสูตร จากการสัมภาษณอ์ าจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบรายวิชาเกาหลศี ึกษา หรอื ประธานหลักสูตรภาษาเกาหลขี องสถาบนั อดุ มศึกษาท่ีเปดิ สอนภาษาเกาหลีเปน็ วิชาเอก พบวา่ ทกุ หลักสตู รในทกุ มหาวทิ ยาลัยบรรจุรายวิชา แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 태국 내 한국학 발전 현황
เกาหลศี ึกษาอยแู่ ทบทั้งสน้ิ ซ่งึ สถาบนั การศึกษาเกอื บทุกแหง่ กาํ หนดรายวิชาเกาหลีศกึ ษาใหเ้ ป็นรายวชิ าบังคบัท่นี ิสติ นกั ศกึ ษาตอ้ งลงทะเบียนเรยี น และมหี ลากหลายรายวชิ าเกาหลีศึกษาท่ใี ห้เลอื กเรียนโดยอสิ ระ รายวิชาเกาหลีศึกษาทบี่ รรจใุ นหลักสตู รของแตล่ ะสถาบนั ดงั รายละเอยี ดตารางด้านล่าง มหาวิทยาลัย รายวิชาเกาหลศี ึกษา รายวิชาเกาหลศี ึกษา ในหมวดรายวิชาบังคบั ในหมวดรายวชิ าเลอื กมหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตปตั ตานี ๑. สังคมและวฒั นธรรมเกาหลี ๑. ภาษากับวัฒนธรรม ๒. วรรณคดีเกาหลีร่วมสมยัมหาวทิ ยาลัยบูรพา - ๓. รอ้ ยแกว้ เกาหลี ๔.กวีนิพนธเ์ กาหลี มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ๑.วรรณกรรมเกาหลี ๕. ประวตั ิศาสตรแ์ ละเศรษฐกิจเกาหลีมหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม ๒.บทความคัดสรรวัฒนธรรมเกาหลี ๑.คตชิ นวทิ ยาเกาหลี ๑.พ้นื ฐานทางวรรณคดเี กาหลี ๒.วรรณกรรมเกาหลี ๒.เกาหลีศึกษา ๓.วัฒนธรรมเกาหลี ๔.เกาหลีปจั จบุ นัมหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ๑. ความร้เู บอื้ งต้นเก่ยี วกับเกาหลี ๕.เร่ืองสน้ั เกาหลีมหาวทิ ยาลยั ราชภัฎเชยี งใหม่ ๒.วฒั นธรรมเกาหลี ๖.วัฒนธรรมเกาหลจี ากประสบการณต์ รง ๓.เกาหลปี ัจจุบนั ๗.ประวัตศิ าสตร์เกาหลี ๔.ความรเู้ บือ้ งต้นเกย่ี วกบั วรรณคดีเกาหลี ๑.วรรณกรรมเกาหลีสมยั ใหม่ ๑. สังคมและวฒั นธรรมเกาหลี ๒.เรอ่ื งส้นั เกาหลี ๑.ประวตั ศิ าสตร์เกาหลี ๒.วรรณกรรมกาหลีรว่ มสมยั ๓. รอ้ ยแก้วร้อยกรองเกาหลี ๔. ละครเกาหลี ๕.ความรู้พ้นื ฐานเก่ยี วกับประเทศเกาหลี ๖.ดนตรเี กาหลี ๗.นาฏศิลปเ์ กาหลี ๘.เศรษฐกิจเกาหลี ๙.การเมอื งและการปกครองเกาหลี ๑.สภุ าษติ และคําพังเพยเกาหลี ๑.ประวตั ิศาสตรเ์ กาหลี 132 ๒.เกาหลีปัจจุบัน ๓.เรื่องสนั้ และวรรณกรรมเกาหลี1 ๔.เรอื่ งสน้ั และวรรณกรรมเกาหลี 2 ๕.นิทานพน้ื บา้ นและเศรษฐกจิ เกาหลี แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 태국 내 한국학 발전 현황
มหาวทิ ยาลยั รายวิชาเกาหลศี กึ ษา รายวชิ าเกาหลศี กึ ษา ในหมวดรายวชิ าบังคบั ในหมวดรายวิชาเลอื กมหาวิทยาลยั นเรศวร - ๑.คติชนวทิ ยาเกาหลี ๒.วรรณคดเี กาหลเี บ้ืองตน้มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ ๑.วิถชี วี ติ และสงั คมเกาหลี ๓.นวนิยาย เรอื่ งสัน้ และภาพยนตร์เกาหลี วทิ ยาเขตภูเก็ต ๒.ความสัมพนั ธไ์ ทยกบั เกาหลี ๑.วรรณกรรมกบั สงั คมเกาหลี ๓.ประวัติศาสตร์เกาหลีสมยั ใหม่ ๒.เพศสภาพในสงั คมเกาหลีมหาวิทยาลยั หอการค้าไทย ๔.ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมของเกาหลีใต้ ๓.สังคมและวฒั นธรรมเกาหลจี ากภาพยนตร์ ๕.ภมู ศิ าสตรเ์ กาหลี ๑.เกาหลปี รทิ ศั น์ ๑.ประวตั ิศาสตรเ์ กาหลีปริทัศน์ ๒.วรรณกรรมเกาหลีปรทิ ัศน์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุตรดิตถ์ ๑.ประวัตศิ าสตรเ์ กาหลี ๓.วฒั นธรรมเกาหลี ๔.ความรเู้ กี่ยวกับสังคมเกาหลีปัจจบุ นัมหาวิทยาลัยราชภัฏเชยี งราย ๑.สังคมและวัฒนธรรมเกาหลี ๕.คตชิ นเกาหลี ๒.ประวตั ิศาสตร์เกาหลี ๖.ภมู ศิ าสตร์เศรษฐกจิ เกาหลี ๗.วัฒนธรรมทางธุรกิจของเกาหลี ๘.วรรณกรรมเกาหลคี ัดสรร ๑.วรรณกรรมเกาหลี ๒.สงั คมและวัฒนธรรมเกาหลี ๓.เกาหลีในปัจจบุ นั ๑.เรอื่ งส้นั และวรรณกรรมเกาหลี ๒.ประเทศเกาหลีในปัจจุบนั ๓.การเมืองและการปกครองเกาหลี ๔.เศรษฐกิจเกาหลี ๕.วรรณคดีเกาหลี ๖.ศลิ ปะและการแสดงเกาหลี ๗.ระบบการศกึ ษาเกาหลี จากตารางแสดงรายวิชาเกาหลีศกึ ษาของแตล่ ะสถาบนั แสดงใหเ้ หน็ วา่ ในการเรียนการสอนภาษาเกาหลีในประเทศไทยนั้น มคี วามจําเป็นและความสําคัญอยา่ งย่ิงที่ต้องเรยี นรายวชิ าเกาหลีศึกษาเพ่อื ใหเ้ กดิความรู้และความเขา้ ใจลกึ ซึง้ ซึ่งจะกอ่ ประโยชนต์ ่อการเรยี นภาษามากย่งิ ข้นึ อยา่ งไรก็ดีแม้จะปรากฏชื่อรายวิชาเกาหลีศึกษาอยูเ่ ป็นจาํ นวนมาก แตใ่ นทางปฏิบัติ สถาบันไม่สามารถเปิดสอนไดค้ รบทุกรายวิชาเกาหลศี ึกษา สาเหตุเนื่องมาจากอาจารย์ผ้สู อนมไี ม่เพยี งพอ และขาดผู้สอนที่มีความถนดั ทางเกาหลีศกึ ษา๒.๓ ชน้ั ปีทส่ี อนและรปู แบบการสอน จากการสัมภาษณ์อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวชิ าเกาหลีศกึ ษา หรอื ประธานหลกั สตู รภาษาเกาหลีของสถาบนั อุดมศกึ ษาที่เปดิ สอนภาษาเกาหลเี ป็นวิชาเอก พบวา่ หลักสูตรของสถาบันท่มี ีการสอนรายวชิ าเก่ียวกับ แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 태국 내 한국학 발전 현황 133
เกาหลีศกึ ษา ในหมวดรายวิชาเอกบงั คับตัง้ แตช่ ัน้ ปี ๑ และ ๒ เน่ืองจากต้องการใหน้ ักศกึ ษาไดเ้ รียนรู้วัฒนธรรมเกาหลคี วบค่ไู ปกบั การเรียนภาษา ซงึ่ จะทําใหผ้ ู้เรยี นเข้าใจประเทศและภาษาเกาหลีมากขึ้นแต่เนอื่ งจากความพรอ้ มทางภาษาเกาหลีของผ้เู รยี นชัน้ ปี ๑ และ ๒ ท่ียังมคี วามพร้อมไมม่ ากนกั ทีจ่ ะศึกษาดว้ ยตําราท่เี ขียนดว้ ยภาษาเกาหลี การเรยี นการสอนจึงบรรยายเป็นภาษาไทย สาํ หรบั สถาบันทสี่ อนรายวิชาเกาหลีศกึ ษาในชน้ั ปที ี่ ๓ ขน้ึ ไป นัน้ สืบเนอื่ งจากขณะทจ่ี ัดทาํ หลกั สตู รฯ ต้องการให้ นสิ ติ นกั ศกึ ษาเรียนดว้ ยภาษาเกาหลีเท่านัน้ นสิ ิตนกั ศึกษาจึงจําเปน็ ต้องมีพื้นความรูภ้ าษาเกาหลีดใี นระดบั หน่ึง จึงเป็นเหตุให้เริ่มสอนในชัน้ปี ๓ เป็นตน้ ไปสําหรบั การเปิดสอนใน รายวิชาเกาหลีศึกษา นั้น แมจ้ ะมชี ่ือรายวิชาบรรจุอยู่ใน หลกั สูตรมาก ก็ตามแตใ่ นความเป็นจริงนน้ั การเปดิ สอน รายวชิ า เกาหลศี ึกษา ในแตล่ ะภาคการศกึ ษานัน้ โดยพจิ ารณาถงึ ความเหมาะสมและความถนดั ของอาจารย์ผู้สอนมากท่สี ุด รองลงมาคือ พจิ ารณาเปิดสอนตามความต้องการของนิสิตนกั ศึกษา พิจารณารายวชิ าท่ี คาดว่านา่ จะเปน็ ประโยชน์กบั นกั ศกึ ษาและ สามารถนําไปประยุกตใ์ ชไ้ ด้ ในอนาคต อกี ทั้งพิจารณาถึงความยากง่ายในการเรียนของแต่ละรายวิชาด้วยสาํ หรับตําราทใี่ ช้หากเป็นรายวิชาเกาหลศี ึกษาทส่ี อนช้ันปี ๑ และ ชัน้ ปี ๒ สว่ นมากเป็นภาษาไทยและบางส่วนเปน็ ภาษาองั กฤษ ตําราทีใ่ ชส้ อนในรายวชิ าเกย่ี วกับเกาหลีศึกษาท่ีสอนชัน้ ปี ๓ สว่ นใหญเ่ ป็นภาษาเกาหลี และอาจารยผ์ ูส้ อนเป็นผู้ เรียบเรียง จัดทาํ ขึน้ ทัง้ หมด มที ง้ั จากการสืบคน้ ขอ้ มลู จากสื่อประเภทตา่ ง ๆ หรือเขยี นและเรียบเรียงขนึ้ มาเองก็มีรองลงมาคอื การใช้ตาํ ราภาษาองั กฤษ เพราะมีตําราภาษาองั กฤษท่ีมเี นอ้ื หาตรงกับรายวิชาทเี่ ปิดสอนและเนือ่ งจากบางหลักสตู รเปน็ หลักสูตรนานาชาตจิ ึงตอ้ งใช้ตําราเป็นภาษาอังกฤษและสอนด้วยภาษาองั กฤษแตบ่ างสถาบัน แมไ้ มไ่ ดเ้ ป็นหลักสูตรนานานาชาติแต่ก็ใช้ตาํ ราภาษาองั กฤษ เน่อื งจากต้องการเสริมความรู้ ทางภาษาอังกฤษให้กบั ผู้เรยี น๒.๔ ปญั หาและอุปสรรคทีพ่ บจากการสมั ภาษณอ์ าจารย์ผรู้ ับผิดชอบรายวิชาเกาหลศี ึกษา หรอื ประธานหลักสตู รภาษาเกาหลีของสถาบันอุดมศกึ ษาที่เปิดสอนภาษาเกาหลเี ปน็ วิชาเอก พบวา่ ปัญหาสําคัญในการเรียนการสอนรายวิชาเกาหลีศกึ ษาเกดิ จาก ตาํ ราหรือหนงั สอื ทใี่ ช้ในการเรียนการสอนกลา่ วคือ หากใช้ตาํ รา ทเ่ี ขยี นโดย ภาษาเกาหลี มักมีคําศพั ทเ์ ฉพาะ ที่ยากเกนิ ไปและ บางครั้งผูเ้ รยี น ไมส่ ามารถ คน้ หาความหมาย จากพจนานกุ รมได้ ผสู้ อนจงึ ตอ้ งรวบรวมจดั ทําขึน้ เองเพ่ือจะไดไ้ ม่ยาก จนเกนิ ไป สําหรับ สถาบันที่ใช้ ตาํ ราภาษาองั กฤษ พบว่ามีปญั หา เรอ่ื งคําศัพท์เฉพาะที่ยากเกนิ ความสามารถของผเู้ รียน และความรู้ความสามารถทางภาษาอังกฤษของผู้เรยี นเองท่ีไมไ่ ด้ดีนักทาํ ใหไ้ ม่เข้าใจในบทเรยี น อกี ทงั้ การใชต้ าํ ราทเ่ี ขยี นโดยภาษาองั กฤษ ยังมีข้อจํากดั ในเรื่องของ ผู้สอนเช่น ผูส้ อนท่ีมคี วามรู้ด้านเกาหลีศกึ ษาดีแตไ่ ม่สามารถสอน โดยใช้ตาํ ราทีเ่ ขียนโดย ภาษาองั กฤษได้หรืออาจารย์ทมี่ คี วามรู้ภาษาองั กฤษดกี ็ไม่มีความเชยี่ วชาญด้านเกาหลีศกึ ษาสําหรับแนวทางการแกไ้ ขจากการใช้ตําราประกอบรายวิชาเกย่ี วกบั เกาหลีศกึ ษาพบวา่ คําศัพท์เฉพาะยากเกนิ ไป ผูส้ อนจงึ ต้องให้ นิสิตนกั ศกึ ษาต้องเตรียมบทเรียนมากอ่ นลว่ งหน้า และผู้สอนก็ต้องเตรยี ม สอนใน แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 134 태국 내 한국학 발전 현황
เร่ืองการอธบิ ายความหมายของคําศพั ท์เฉพาะนั้นๆหากมีตํารา ทเี่ กยี่ วข้องกับรายวชิ า เกาหลีศึกษาทมี่ ีเนอื้ หาเหมาะสมกับนักศกึ ษาตา่ งชาติทไ่ี ม่ยาก หรือเนื้อหาลึก ซง้ึ มากเกนิ ไปกจ็ ะเป็นประโยชน์อยา่ งยงิ่ ต่อวงการการเรียนการสอนเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย ๓. ปัญหาทีพ่ บจากการเรยี นการสอนรายวชิ าเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทยปญั หาการเรยี นการสอนเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทยสามารถสรปไุ ด้ ๓ ประการ ดังนี้ ประการทีห่ น่ึง สถาบันการศึกษาในประเทศไทยสว่ นใหญ่เน้นทางด้านการเรยี นการสอนภาษาเกาหลีแต่ทวา่ ทางดา้ นเกาหลศี ึกษานัน้ เม่ือเทยี บกับการเรยี นการสอนภาษาเกาหลีแลว้ นบั ว่ายังไมไ่ ด้รับการส่งเสริมเท่าทค่ี วร ดงั จะเห็นไดจ้ าก จํานวนมหาวทิ ยาลัยในประเทศไทยมีการเรียนการสอนภาษาเกาหลีเป็นวิชาเอกทง้ั สน้ิ ๑๑ สถาบันเปดิ สอนเปน็ วชิ าโทหรอื วชิ าศกึ ษาท่ัวไปกว่า ๔๐ สถาบนั ท้งั ยังมีโรงเรียนระดบั มัธยมศกึ ษาที่มีการเรยี นการสอนภาษาเกาหลีเป็นรายวิชาภาษาต่างประเทศท่ี ๒ มากกวา่ ๗๐ สถาบัน เมอื่ พจิ ารณาเฉพาะแค่ด้านเกาหลีศึกษา สถาบนั ทเี่ ปิดสอนเกาหลศี ึกษามีเพียงจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัยทเ่ี ปดิ สอนในระดับมหาบัณฑิตและมหาวทิ ยาลัยสงขลานครรนิ ทรท์ ่เี ปดิ สอนในระดับศลิ ปศาสตรบณั ฑิตเทา่ นน้ั ดว้ ยเหตนุ ี้การกระตุน้ เพื่อส่งเสรมิ เกาหลีศกึ ษาในประเทศไทยจึงมคี วามจาํ เปน็ อยา่ งย่ิง ประการที่สองเมอ่ื วิเคราะห์รายวิชาในหลกั สูตรศลิ ปศาตรบัณฑติ สาขาวิชาภาษาเกาหลใี นสถาบนัอดุ มศกึ ษาใน ประเทศ ไทยแล้วพบว่า ไม่ได้มีเพยี งรายวชิ าที่เกยี่ วกบั ภาษาเกาหลีเทา่ น้นั แต่ยงั มรี ายวชิ าที่เกี่ยวกบั วัฒนธรรมเกาหลี วิชาทเ่ี ก่ียวข้องกับชาวเกาหลีตา่ งๆอยา่ งหลากหลายรวมอย่ดู ้วย เชน่วชิ าวัฒนธรรมเกาหลี วชิ าเกาหลปี ัจจบุ นั และวิชาประวตั ศิ าสตร์เกาหลีของมหาวิทยาลัยบรู พาวิชาคติชนวิทยาเกาหลขี อง มหาวิทยาลยั นเรศวร วชิ าเกาหลีปัจจบุ ัน วชิ าสังคมและวฒั นธรรมเกาหลีของ มหาวทิ ยาลยัราชภฏั เชียงใหม่ วชิ าเกาหลศี กึ ษา วชิ าประวัติศาสตร์เกาหลี วิชารฐั ศาตรแ์ ละการเมอื งการปกครองเกาหลีวชิ าโครงงานด้านภาษาและวฒั นธรรมเกาหลี วิชาเศรษฐกิจเกาหลี ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เปน็ ตน้ อยา่ งไรก็ตามวิชาต่างๆเหลา่ น้ี เนือ้ หาแม้จะเปน็ ทางดา้ นเกาหลศี ึกษากจ็ ริง แต่ในทางปฎิบตั แิ ลว้ กลับกลายเปน็ สว่ นหนงึ่ ของการเรยี นการสอนภาษาเกาหลี จงึ จะเห็นไดว้ ่าวชิ าเกาหลีศกึ ษาเหลา่ น้ที ่อี ย่ใู นหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าภาษาเกาหลี จะดาํ เนนิ การสอนให้ตรงกบั จุดประสงค์ทแ่ี ทจ้ ริงนนั้ เป็นไปได้ยากย่ิงไม่เพยี งแคน่ ้นั ยงั ไม่มกี ารพัฒนาตําราเพ่อื ใชใ้ นสอนในรายวิชาเกาหลีศึกษาตา่ ง ๆ เหลา่ น้ี ตลอดจนการกําหนดรายวชิ าเกาหลศี ึกษา ก็เหมือนว่าอาจารยแ์ ตล่ ะสถาบนั กําหนดกันเอง สว่ นเน้ือหาทเี่ รียนก็ใชก้ ารถา่ ยเอกสารหรือสําเนามาจากต้นฉบับจากแหลง่ ขอ้ มูลตา่ ง ๆ ด้วยเหตุน้ี การพัฒนาตําราเกาหลีศึกษาจึงเปน็ ส่งิ จาํ เปน็ ท่ีต้องกระทําอยา่ งเร่งด่วน ประการทสี่ าม ในประเทศไทยยงั ไม่มีการตีพิมพ์ตาํ ราเรียนภาษาเกาหลี อาจมเี พยี งบางสถาบนั ที่ไดจ้ ัดพมิ พต์ ําราเรยี นเกาหลีศกึ ษาเบือ้ งตน้ แต่กระน้ันกย็ งั ถอื เปน็ จาํ นวนที่น้อยและตพี มิ พ์มานานแลว้ ดงั น้นัการพฒั นาตําราเรยี นเกาหลศี ึกษาท่ีเป็นภาษาไทยและให้ทนั สมัยกับสภาพการณ์ปจั จุบันจึงเปน็ สงิ่ จาํ เป็น๔. การศกึ ษาความสนใจเก่ยี วกับรายวิชาเกาหลีศึกษา แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 135 태국 내 한국학 발전 현황
จากปัญหาดังกล่าวข้างตน้ ทางศูนยเ์ กาหลึศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั บูรพา จงึ มีโครงการพฒั นาตําราเกาหลีศกึ ษาเบ้อื งตน้ สําหรับผู้เรียนชาวไทยขน้ึ โดยมีโครงการจะจัดทาํ ทง้ั ฉบบั ภาษาเกาหลีและภาษาไทย เพือ่ ใชเ้ ป็นตําราเรียนในรายวชิ าเกาหลศี ึกษาใหก้ บั มหาวทิ ยาลัย ทม่ี กี ารเรียนการสอนภาษาและเกาหลีศึกษา ทั่วประเทศอีกท้ังการผลติ ตาํ ราเกาหลีศกึ ษาจะสง่ ผลตอ่ การ กระตนุ้ และส่งเสริมใหม้ คี วามตน่ื ตวั ทางดา้ นเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทยอกี ดว้ ย ในการนี้ ศูนยเ์ กาหลึศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยบรู พา จึงได้จัดทําแบบสอบถามออนไลน์ขนึ้ เพ่ือสํารวจความคิดเหน็ จากผูเ้ รียนภาษาเกาหลเี และเกาหลีศกึ ษา เพี่อที่จะนาํ ข้อมลู นี้ไปใชเ้ ปน็ พ้ืนฐานในการผลิตตาํ ราเกาหลีศกึ ษาสําหรบั ผูเ้ รียนชาวไทย ระยะเวลาการสาํ รวจคอื ระหว่างวันที่ ๓ – ๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ มีผู้เข้ามาทาํ แบบสอบถามจํานวน ๑๑๕ คน แบบสอบถามประกอบด้วย ๓สว่ น คอื สว่ นที่ ๑ ข้อมลู ท่ัวไป ส่วนที่ ๒คําถามเก่ียวกบั รายวิชาเกาหลีศกึ ษา และสว่ นที่ ๓คาํ ถามเกีย่ วกับรปู แบบตาํ ราเกาหลศี ึกษาซ่งึ ผลสรปุ จากการวเิ คราะห์ข้อมลู เปน็ ดงั นี้ ในส่วนท่ี ๑ ซึ่งเปน็ ขอ้ มูลท่ัวไปนั้น ผู้ทาํ แบบสาํ รวจเป็นเพศหญิงถงึ ๘๖.๙๖ % (๑๐๐คน) และเป็นเพศชาย ๑๓ .๐๔ % ( ๑๕คน) จะไดเ้ หน็ วา่ ผูส้ นใจภาษาเกาหลีเปน็ เพศหญิงมากกวา่ เพศชายถงึ ๖.๖ เทา่มากกว่าครง่ึ ของผ้ทู ําแบบสาํ รวจอายอุ ยรู่ ะหว่าง ๑๖ – ๒๐ ปี (๖๔.๓๕ %) รองลงมาคือ อายุ ๒๑ - ๒๕ ปี(๓๑.๓ %) ผู้ทาํ แบบสอบถามเกือบทง้ั หมด ( ๙๔.๗๘ %) กําลังศกึ ษาอยูใ่ นระดบั อุดมศึกษา ส่วนทต่ี ง้ั ของสถาบนั ภาคตะวันออกคดิ เปน็ ๖๙ .๕๗ % ภาคกลาง ๒๔.๓๕ % รองลงมาคอื ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือและภาคเหนอื ตามลาํ ดบั ในสว่ นที่ ๒ขอ้ มูลเกยี่ วกับรายวชิ าเกาหลศี กึ ษาน้นั ๗๔.๗๘ % ทราบดวี า่ เกาหลศี กึ ษาหมายถึงศาสตร์ทุกแขนงทเี่ ก่ียวกับเกาหลี (ประวตั ศิ าสตร์, สังคม, วฒั นธรรม ประเพณี, เศรษฐกจิ , การเมอื งการปกครอง,ภาษาและวรรณกรรม, ศลิ ปะเกาหลีฯ) มีเพียงสว่ นนอ้ ย (๑๖ .๕๒%) ท่เี ข้าใจว่าเกาหลศี กึ ษาครอบคลมุ เพียงภาษาและวรรณกรรมเกาหลีเท่าน้นั และ ๘๓ .๔๘ % ของผู้ทําแบบสอบถาม เคยเรยี นรายวชิ าทีเ่ กย่ี วกับเกาหลศี ึกษา มีเพยี ง ๑๖.๕๒% เท่านั้นท่ยี ังไมเ่ คยเรียน แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 태국 내 한국학 발전 현황 136
จากตารางข้างตน้ ที่ไดส้ อบถามถึงความรู้ ความเข้าใจ ความสนใจ ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รับ และอื่นๆ ทเี่ ก่ียวข้องกบั เกาหลีศกึ ษานนั้ ประมาณครงึ่ หนึ่งของผู้ตอบแบบสอบถาม (๔๓ . ๔๘%) สนใจเรยี นวชิ าเกาหลีศกึ ษามาก และหนี่งในสามของผ้ตู อบแบบสอบถาม (๓๒.๑๗%) สนใจเรียนวิชาเกาหลศี ึกษามากทส่ี ดุ ด้าน พน้ื ฐานความรู้ความเขา้ ใจเกาหลีศกึ ษาในดา้ นตา่ ง ๆ นนั้ ประมาณครงี่ หนง่ึ ของผตู้ อบแบบสอบถามบอกว่า ความรู้ของตนอยู่ในระดบั ปานกลาง ไดแ้ ก่ทางด้าน สังคมเกาหลี (๕๗ .๓๙%), วัฒนธรรมเกาหลี (๕๐.๔๓ %), ภาษาและวรรณกรรมเกาหลี (๔๗ .๘๓%) และความรู้ของตนอยูใ่ นระดบั น้อย ไดแ้ ก่ทางดา้ น ประวัตศิ าสตร์เกาหลี (๔๔ .๓๕ %), เศรษฐกจิ เกาหลี (๔๖ .๙๖%), การเมืองการปกครองเกาหลี(๕๒.๑๗%) และศลิ ปะเกาหลี (๕๔.๗๘%) ผู้ทําแบบสอบถามบอกว่า ตนเองนน้ั มีความร้คู วามเขา้ ใจเกาหลีศกึ ษาทางดา้ นวัฒนธรรมเกาหลมี ากท่ีสดุ และมีความรูค้ วามเขา้ ใจทางด้านการเมืองการปกครองของเกาหลีนอ้ ยที่สุด ดา้ นความสนใจ การใช้ประโยชน์ ฯลฯ ประมาณคร่งี หนงึ่ ของผู้ตอบแบบสอบถาม (๔๒ .๖๑%)สนใจเกาหลศี ึกษามาก คิดวา่ การเรียนการเกาหลศี กึ ษามคี วามจาํ เป็นมาก (๔๐ .๘๗%) และสามารถนําความรู้จากการเรยี นเกาหลศี กึ ษาไปใชป้ ระโยชน์ได้มาก (๔๗.๘๓%) ด้านการสบื ค้น มีจํานวน ๓๕.๖๕% สืบคน้ เนอ้ื หาเกาหลศี ึกษาเพื่อทาํ รายงานหรอื ใช้การเรยี นมาก และประมาณ ๒๗.๘๓ % ท่ีสืบค้นปานกลาง แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 태국 내 한국학 발전 현황 137
ดา้ นการจัดการเรยี นการสอน หลกั สตู ร และสถาบัน การศกึ ษา ผทู้ ําแบบสอบถามบอกวา่ รายวชิ าเกาหลศี กึ ษาควรอยูใ่ นหลักสูตรสาขาวิชาภาษาเกาหลมี าก (๔๐%) ถงึ มากที่สุด (๓๖.๒๖%) จะเหน็ ไดว้ ่าเป็นจาํ นวนใกลเ้ คียงกนั เห็นได้ว่าผูเ้ รยี นตระหนกั ถงึ ความจําเป็นทีต่ ้องมรี ายวิชาเกาหลศี ึกษาได้อย่างดี สาํ หรบั วชิ าเกาหลีศกึ ษาท่ีเปดิ สอนในหลักสูตรของตนมมี ากหรอื นอ้ ยน้นั จํานวน ๔๕.๒๒ % ตอบว่ามปี านกลาง๓๖.๕๒ % ตอบว่ามีมากและสถานศกึ ษาของตนนน้ั มหี นงั สอื ตํารา เอกสารที่เกี่ยวกบั เกาหลีศกึ ษามากนอ้ ยแคไ่ หน ๔๐ % ตอบว่าปานกลาง และ ๓๒.๑๗% ตอบว่ามีนอ้ ย การสืบคน้ เน้อื หาเกาหลศี กึ ษาเพ่อื ใช้ทํารายงานหรอื ใชใ้ นการเรียนนั้น ผ้ทู าํ แบบสอบถามมคี วามจาํ เปน็ ปานกลาง (๒๗ .๘๓%) ถึงมาก (๓๕.๖๕ %) และนิยมสบื ค้นจากอินเทอร์เน็ตมากที่สุดถึง ๗๔.๗๘ %รองลงมาคอื หนงั สอื ตาํ รา (๒๓.๔๘%) โดยผเู้ รียนชาวไทยนยิ มสบื ค้นเปน็ ภาษาไทยมากกวา่ ภาษาอน่ื ๆ (เกาหลี, อังกฤษ) และหนังสือ ตํารา ที่เกย่ี วกบั เกาหลศี กึ ษาท่มี ีในครอบครองถอื วา่ น้อยมาก คอื นอ้ ยกวา่ ๑๐เลม่ /คนมีเพียง ๑๓.๙๑% เทา่ นั้นทม่ี เี กิน ๑๐ เลม่ และเพยี ง ๖.๙๖% เท่านั้นทไี ม่มหี นังสอื ในครอบครอง ตารางด้านบนเปน็ ผลแสดงลาํ ดับความสนใจเกาหลีศึกษาในด้านต่างๆ โดยแบ่งออกเปน็ ๖ ดา้ นผ้ตู อบแบบสอบถามสนใจดา้ นวฒั นธรรมเกาหลีมากทีส่ ุด รองลงมาคือ สงั คมเกาหลี ศลิ ปะเกาหลีประวตั ิศาสตร์เกาหลี เศรษฐกจิ เกาหลี และการเมอื งการปกครองเกาหลี ตามลาํ ดบั โดยแบบสอบถามฯ ได้แยกรายละเอียดแตล่ ะด้านของเกาหลีศึกษาทงั้ ๖ ด้าน และให้ลําดบั ความสนใจ ผลทีป่ รากฏเป็นดังนี้ แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 태국 내 한국학 발전 현황 138
ดา้ นที่หน่ึง คอื ดา้ นประวตั ิศาสตร์เกาหลีน้นั ยคุ ราชวงศโ์ ชซอน และ ช่วงการแบ่งแยกประเทศได้รบั ความสนใจมากทสี่ ุด รองมาคือ ช่วงยคุ ราชวงศโ์ ครยอ ยคุ เกาหลีภายใตก้ ารปกครองของญปี่ ุน และที่ไดร้ บั ความสนใจไม่มากได้แก่ยคุ จักรวรรดิเกาหลี และยุคสามอาณาจักร ดา้ นทีส่ อง คอื ด้านสังคม และภมู ิประเทศ ผ้ทู ําแบบสอบถามให้ความสนใจดา้ นสันทนาการและการทอ่ งเทย่ี วของเกาหลมี ากทสี่ ดุ อนั ดับสองคือ ค่านยิ มของชาวเกาหลี (อดีต,ปัจจบุ นั ) รองลงมาเปน็ การศกึ ษา และลักษณะภูมิประเทศ ภมู ิอากาศ ด้านท่ีไดร้ ับความสนใจนอ้ ยคือ ศาสนาและความเช่อื และสภาพสงั คม(ยคุ โบราณ, ยุคใหม,่ ยคุ ปัจจบุ นั ) แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 태국 내 한국학 발전 현황 139
ดา้ นทส่ี าม คือ วัฒนธรรม และประเพณเี กาหลี วฒั นธรรมเกาหลีสมัยใหม่ (กระแสเกาหลี) ไดร้ บัความสนใจเป็นอันดับหนง่ึ สว่ นวฒั นธรรมการกนิ มารยาททางสังคม ได้รับความสนใจเปน็ อันดับตน้ ๆรองลงมาคอื ขนบธรรมเนียมประเพณีตามเทศกาลสาํ คญั วฒั นธรรมการแต่งกาย วฒั นธรรมท่อี ย่อู าศยัการละเลน่ พืน้ เมือง ส่วนศิลปะเกาหลี (นาฏศิลป์, จติ รกรรม, งานฝีมือ) ได้รับความสนใจน้อยที่สดุ ดา้ นท่ีส่ี คอื ด้านเศรษฐกจิ เกาหลนี ้นั เห็นไดว้ ่าชีวติ พนักงานบรษิ ทั เกาหลี และเศรษฐกจิ เกาหลใี นปัจจุบนั ไดร้ ับความสนใจมากที่สุด รองลงมาคือแผนพัฒนาเศรษฐกจิ เกาหลี ธรุ กิจและการสง่ ออกในเกาหลีแหลง่ เศรษฐกิจทส่ี ําคญั และเศรษฐกจิ เกาหลใี นอดตี ตามลาํ ดับ แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 태국 내 한국학 발전 현황 140
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162