Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Korean Studies Development Approach in Thailand

Korean Studies Development Approach in Thailand

Published by thanaphon.ksc, 2017-02-22 21:45:05

Description: แนวทางการพัฒนาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย
Korean Studies Development Approach in Thailand
태국 내 한국학 발전 방향

일시 : 2015.12.21-23
장소 : 임페리얼 호텔, 파타야

Search

Read the Text Version

한국학에 대한 수요도 증가하고 있다. 특히 언어교육에서의 문화교육에 대한관심의 증대는 문화교육 방안과 관련한 다양한 논의로 이어지고 있으며, 그중에서도 대중매체를 활용한 언어문화교육이 활발하게 논의되고 있다(김수진,2010; 김서형, 2009; 한선, 2007). 대중매체를 활용한 한국어 문화수업의 여러방안들이 제시되고 있는 상황에서 실제 수업에의 적용 연구도 발표되고 있으나그 수는 미비하다(왕혜숙 외, 2012; 이승연 외 2009) 대중매체는 학습자들에게 이미 익숙한 한국어 문화습득의 도구로 관련 수업에대한 학습자의 요구는 높은 수준이다. 태국의 상황 역시 한류의 영향은 한국어교육에도 큰 영향을 주고 있으며, 2000 년대 이후 여러 대학에서의 한국어과개설과 전공생의 증가, 중고등학교에 제 2 언어로 채택되는 등의 영향을 주었으며,한류가 진행됨에 따라 한국어 학습자들의 한국에 대한 관심과 이해도도 매우높아졌다. 무엇보다도 2015 년 현재 태국 대학에서 한국어를 전공하는전공생들의 경우 대부분의 학생들이 K-POP 이나 한국 드라마, 예능 등과 같은한류 영상 매체에 초등학생이나 중고생 때부터 익숙한 학생들이 대부분이다.영상매체에 이미 노출되어온 학생들에게 영상매체를 활용한 한국어 문화 교육은이미 학습 동기를 유발하고 흥미롭게 생각한다는 점과 학습자의 적극적 참여를유도하기 용이하다는 점, 교육의 효과를 극대화할 수 있다는 점에서 매우 유용한교육 방법이다. 그럼에도 불구하고 대중매체를 수업에 적용함에 있어 매체중에‘무엇을’,‘어떻게’활용할 것인가에 대한 문제는 여전히 쉽지 않은고민을 준다. 또한 교육의 목표를 한국어 능력의 향상으로 초점을 맞출지, 한국문화 이해를 초점으로 둘지에 대한 문제도 남아있다. 본 연구의 목적은 대중매체수업에 대한 학습자의 요구조사를 통해 학습자의 요구를 살펴보고 하고 이를분석하여, 그 결과를 실제 수업에 적용함으로써 그 효과와 문제점을 살펴보고효과적인 수업 방안에 대해 탐색하는 것이다. 이를 위해 먼저 Hall(1997)의‘재현(representation)’개념을 통한‘언어’와‘문화’에 대해 살펴보고, 언어교수에 있어서 문화를 어떻게 교육해야 하는지에 대한 철학적 배경인‘상호문화이해’에 대해 살펴보고자 한다.2. 언어, 문화, 교육 2.1. Hall(1997)의 ‘재현 representation 개념‘문화’의 개념에 대해 영국의문화학자 Hall(1997)은 구조주의에서 소쉬르가 제시한 언어 체계처럼‘문화’역시 상징과 의미로 구성된 체계라고 설명하며, 문화의 개념을 ‚의미들을 공유하는 것‛ 3 으로 정의하고 있다. 그런데 그는 의미는 언어로의 접근을 통해서만공유할 수 있음을 강조하며 언어는 문화의 중심에 있는 중요한 저장소(repository)라고 설명한다. 한국 문화나 역사 등 한국학을 위한 수업에서 역시3 Hall 1997:1 แนวทางการพัฒนาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 41 태국 내 한국학 발전 현황

언어의 맥락과 그 의미를 문화적 맥락에서 이해하고 습득하는 것 역시 매우중요한 학습 과정인 것이다. 문화를 교육하고 학습하는 것에 있어 ‘문화’의무엇을, 어떻게 교육할 것이냐의 문제는 Hall(1997)의‘의미를 공유하는 것’이라는 문화’개념을 받아들인다. 따라서 본 수업에서의 문화교육은‘영화에재현된 여러 이미지들의 의미를 공유하는 것’을 목적으로 하며, 이를 상호문화교육 철학을 바탕으로 교육한다. 2.2. 상호문화 교육 상호문화주의(interculturalism)은 다문화사회에서 어떻게 여러 정체성들을 인정할것인가에 대한 철학으로 유럽에서 주장되는 교육철학이다. 상호문화 주의에입각한 교육은 각자가 가진 자신의 정체성을 그대로 둔 채로 타인을 어떻게이해하고 배려할 것인가에 대한 교육이다. 따라서 본 수업에서는 한국문화를이해하는 학습자의 시선은 태국인으로서의 시선이라는 것이 중요하다. 태국인으로서의 정체성을 살펴보는 것, 그리고 자신의 정체성 위해서 한국문화를바라보고 어떻게 이해할 수 있는지에 대해 논의하는 것이 본 수업 활동의핵심이다.3. 대중매체를 통한 한국어 문화 수업의 설계 3.1. 수업의 목표 수업을 통해 기대되는 학습목표는 크게 두 가지이다. 첫째, 언어적 측면이다. 고급 수준의 한국어 의사소통능력을 배양한다.한국문화의 각 하위영역들에 대해 선정된 한국의 영상매체를 태국 문화와상호비교하는 일련의 과정을 통해 한국문화를 비교문화적인 관점에서 이해하고,각 주제에 대해 토론, 발표, 보고서 작성 등의 활동을 할 수 있으며 의사소통능력 중 화용능력4을 기른다. 학생들은 영화 속 모어 화자간의 한국어 담화를통해 실제적인 한국어를 학습하고 다양한 화용적 차이를 인식할 수 있다. 둘째, 한국의 대중매체를 통해 현대 한국 사회와 문화를 이해한다. 고급수준의 의사소통 능력에서 중요한 것은 그 문화의 맥락을 이해하는 것이다.한국의 근〮현대 역사에 대해 학습하는 것은 오늘날의 한국 사회와 문화,한국인의 사고방식을 이해하는데 매우 중요하다. 또한 상호문화이해의 관점에서한국 문화를 이해하는 것을 시도하는 것은 자신의 문화와 다른 이문화를학습하는 또 하나의 시각이다. 3.2. 수업의 설계 3.2.1. 기능 통합 수업4 이해영(2015)은 비교문화적 화용 교육의 필요성을 강조하며, 문화적 배경이 다른한국어학습자들이 모국어로부터 전이된 화행전략이 화용적 실패로 이어져 의사소통의 실패를 겪게될 수 있음을 지적하였으며, 비교문화적 화용 교육이 가능한 교과목으로 ‘대중문화를 통한 한국어수업’을 언급하였다. แนวทางการพัฒนาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 42 태국 내 한국학 발전 현황

본 수업은 4 학년 수업으로 본 수업에서 학습자들은 한국어의 4 가지 영역인말하기, 듣기, 읽기, 쓰기 능력을 고루 향상시킬 수 있을 것으로 기대된다. 영화시청은 상황 맥락적 이해를 위한 듣기 활동이다. 또한 영화를 시청하기에 앞서영화의 역사적 배경이나 언어 교수에 대한 강의 듣기 활동이 있다. 학생들은교수자의 강의에서 사용되는 강의록이나 발표 학생들의 발표 자료들을 읽고토의에 참여해야 한다. 또한 교사의 질문을 중심으로 영화에 대한 발표 활동도해야 한다. 마지막으로 매 시간 학생들은 교사로부터 영화에 대한 질문을 받고자신의 생각을 써 오는 쓰기 과제를 수행해야 한다. 3.2.2. 영화를 활용한 주제 중심 내용 수업 본 수업의 목표를 해결하기 위해 고민해야 할 문제는 어떤 매체를 선정할것인가의 문제이며, 그 매체를 어떤 방법으로 어떻게 활용할 것인가의 문제이다. 먼저 본 수업에서는 수업의 목표에 도달하기 위해 드라마보다는 영화가 적합할것이다. 그 이유는 먼저, 일상생활 영역에서의 의사소통 능력의 향상을 목표로한다면 드라마가 영화보다 적합하겠지만, 본 수업의 목표는 한국 문화에 대한이해를 위해 학습자들은 한국 영화를 목표어인 한국어로 이해하고 모든 활동을한국어로 수행해야 한다. 따라서 본 수업에서 영화는 한국 문화와 그 문화를이해하기 위한 역사의 이해를 돕기 위한 도구인 것이다. 왕혜숙(2012)은 영화를활용한 수업은 주제 학습이나 영화사적 수업 중 선택해서 진행해야 함을이야기하였는데, 본 수업에서는 주제를 중심에 두고 영화를 선정한다. 수업 시간에 영화 한편을 시청할 것인가에 대한 문제가 있다. 한선(2009:78)은선행연구 결과를 통해 영상 매체의 선정 기준 및 활용 시의 유의점을 제시하고있는데,‘자료의 길이는 30 분을 넘지 않아야 함’을 주장한다. 그러나 본 수업에서는 4 시간의 수업 시간을 활용하여 영화의 전체를 시청하도록 한다.그 이유는 첫째, 영화의 경우 드라마와 다르게 길이가 2 시간 내외이다.현실적으로 드라마의 경우는 편집된 영상 클립을 활용해야 하지만 영화의 경우수업 시간 내에 전체 길이의 시청이 가능하다. 둘째, 편집된 영상으로 보는 것과전체 영화를 시청하는 것은 학생들의 이해도 측면에서 큰 차이가 있다. 한국어강의 내용 중에는 편집된 영상 클립을 활용하지만, 한국 문화교육을 위해 전체영화를 활용하도록 한다. 3.3. 학습자 요구 분석 이 장에서는 학습자의 특징과 미디어 수업에 대한 학습자의 요구를 조사하고분석한 내용을 정리하였다. 학습자의 요구 조사는 본 수업의 시작 전 수강변경이가능한 첫 번째 시간에 강의 계획과 강의 내용에 대한 소개 후 설문조사를 통해이루어졌으며, 조사된 학습자의 요구는 수업에 반영될 것이라고 공지되었다. 학습자는 씰라빠껀 대학교 한국어 전공 4 학년 16 명과 부전공 1 명으로 한국어중고급 수준의 학습자이다. 학습자의 특징은 이들 대부분이 1994 년생들로 초등 แนวทางการพฒั นาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 43 태국 내 한국학 발전 현황

학생 때부터 한류를 경험하였으며, 한류에 대한 관심으로 한국어전공을 선택한학생들이 많다는 점이다 5 . 한국어에 대한 관심이 문화에 대한 관심으로 전이된것이 아니라 한국의 대중문화에 대한 관심이 한국어에 대한 관심으로까지 확대된경우라고 볼 수 있다. 또한 학습자들은 대학에서 한국어를 전공하기 이전부터다양한 한국 영상매체를 통해 한국어에 노출되어 왔으며, 대부분이 대학에서의한국어 수업이외에도 평소에 한국 드라마나 예능프로그램을 즐겨 보고,K-POP가요를 즐겨 듣고 있다. 학습자의 요구는 크게 두 가지의 측면에서 조사하였는데, 첫째는 수업에 대한기대와 목표이며, 둘째는 영상매체에 대한 기호와 요구이다. 조사 결과는 다음과같다. 3.3.1. 한국학에 대한 요구 학습자들은 ‚이 수업을 통해 배우고 싶거나 기대하는 것은 무엇입니까?‛라는질문에 자유롭게 응답 기술6하였으며, 요구조사 결과 학습자들이 이 수업에서기대하는 교육 내용은 크게 3 가지로 나타났다. 첫 번째로, 한국어 능력 향상이다. 학생들의 응답으로는 ‘인물 분석을 통한대화 배우고 해석하기’,‘등장 인물의 감정을 통해 대화나 행동 해석’,‘억양과 발음’,‘영화 속 어휘나 표현’,‘맥락에서 한국어를 이해하는방법’등을 학습하고 싶다고 응답하였다. 학습자들은 영화를 통해 상호문화적화용 능력을 향상시키고, 영화에 표현된 어휘를 학습함으로써 주제에서다루어지는 고급 어휘와 표현들을 학습하고 싶어하는 것을 알 수 있다. 전체17 명의 학생 중 10 명이 응답하였다. 두 번째로, 한국 역사와 한국 문화 이해이다. 이에 대한 학생들의 응답은‘한국인의 사고를 이해하고 싶다’,‘한국인의 가치관을 알고 싶다’,‘한국문화와 한국인의 생각을 알고 이해하고 싶다’,‘한국인의 사고를 분석해보고싶다’,‘한국인의 대중매체 관점을 알고 싶다’등의 응답이 있었다. 조사에참여한 17 명의 학생 모두 이 영역에 대한 요구가 있었다. 세 번째로, 대중매체 이해이다. 인물 분석, 한국 문화와 한국인의 의식, 영화역사 이해 등으로 나타났다. 학생들은 ‘영화 역사를 이해하고 싶다’,‘영화의Hidden meaning 을 알고 싶다’,‘영화 이해’,‘영화 분석 방법’,‘영화나드라마 해석 방법’,‘한국 영화를 더 많이 알고 싶다’,‘영화의 상징을분석하는 방법을 알고 싶다’ 등의 응답이 있었으며, 전체 17 명의 학생 중13 명이 응답하였다.5 2000 년에 태국에서 한류 열풍을 일으킨 드라마 <대장금>은 모든 학생이 한번 이상 시청한 것으로조사되었으며, 학생들의 어머니나 할머니 등 가족들이 한국 드라마를 즐겨 시청하였다고 응답한학생들도 많았다.6 학생들은 자유롭게 응답하였기 때문에 복수 응답이 가능하였다. 그러나 한 학생의 응답에서 각영역별로는 최대 한 개의 응답만 처리하였다. แนวทางการพัฒนาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 44 태국 내 한국학 발전 현황

학습자들의 요구를 종합해보면, 한국 문화에 대한 학습 요구가 가장 높은 것을알 수 있다. 또한 한국어에 대한 학습 요구는 주제별 어휘학습이나 상황과 맥락분석을 통한 화용 교육 등 고급 수준의 한국어 의사소통 능력의 향상을 요구하는것을 알 수 있다. 뿐만 아니라 학습자들은 대중매체를 어떻게 이해해야 하는지,어떻게 분석해야 하는지 등 대중매체에 대한 전문 지식의 교육을 원하는 것으로나타났다. 3.3.2. 텍스트에 대한 요구 학습자들은 교사가 제시한 영화 교사가 선정한 영화텍스트 14 편 7 중평균적으로 3.7 편을 들어본 적이 있으며 2.1 편을 본 적이 있는 것으로나타났다 8 . 교사가 제시한 영화에 한국을 주제로 한 태국영화 <꾸언 믄호>(2010)의 경우 모든 학생이 시청한 것으로 나타났다. 학습자들은 영화보다는 드라마를 주로 시청하고 있으며 좋아하는 드라마는로맨틱 코미디 장르가 주류를 이루었지만 사극 드라마도 포함되었다. 영화는<클래식>, <화려한 휴가>, <장화홍련>, <기생령>, <여우계단>, <피이 중간고사>,<올드보이>, <끝까지 간다>, <빈집>, <내가 살인범이다>, <7 번방의 기적>,<카트>, <미녀의 탄생>, <화산고>로 나타났다. 이번 수업을 통해 학습자가 꼭 보고 싶은 한국 영화는 <늑대 소년>,<은밀하게 위대하게>, <국제시장>, <장화홍련>, <기생령>, < 7 번방의 선물>,<사마리아>, <공동경비구역 JSA>, <이웃사람>, <활>, <도가니>, <고지전>,<암살>,<My Way>, <두 번의 결혼식과 한 번의 장례식>, <건축학 개론>, <태극기휘날리며>, <엽기적인 그녀> 등으로 조사되었다. 교사는 학습자들의 요구를 수용하여 교사가 선정한 영화 목록의 일부를학습자들의 요구를 반영하여 일부 수정하였다. 이 과정에서 교사는 교체 가능한영화를 학습자에게 알려주고 학습자들이 교체여부를 결정하도록 하였다.4. ‘영화로 읽는 한국어 문화 수업’의 실제 본 수업은 태국 씰라빠껀 대학교 4 학년 1 학기의 수업으로 2015 년 8 월14 일부터 11 월 27 일까지 16 주간 매주 4 시간씩 진행되었다. 수업은 한국어전공생 4 학년 16 명과 부전공생 1 명이 수강하여, 총 17 명의 학습자가수강하였으며 이들의 한국어 능력은 TOPIK 을 기준으로 중고급 수준의학생들이다9. 한국어로 영화를 시청하고 영화에 대해 토의하는 것에 있어 일부7 한국영화 13 편과 한국을 주제로 한 태국영화 1 편을 제시하였다.8 학습자는 1 편에서 6 편까지 들어본 적이 있으며, 1 편에서 4 편까지 본적이 있다고 응답하였으며 들어본 적이있는 영화는 4 편이라고 응답한 학습자의 수가 가장 많았고, 본 적이 있는 영화는 3 편이라고 응답한 학습자의수가 가장 많았다.9 수업에 참여한 학생 17 명 중 TOPIK 점수를 가지고 있는 학생 13 명이며, 5 급이 2 명, 4 급이 6 명, 3 급이5 명으로 수업에 참여한 학습자들의 한국어 능력수준은 중∙고급 수준이다. แนวทางการพัฒนาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 45 태국 내 한국학 발전 현황

어려움이 있는 부분은 한국어 강의부분을 통해 이해를 돕도록 하였으며, 각 영화속 어휘와 표현을 학습하였다. 3.1. 영화로 읽는 한국어 문화 수업의 내용 16 주의 수업 중 첫 번째 수업은 강의 소개와 요구조사를 실시하였다. 두 번째수업은 미디어에서 사용되는 개념과 미디어의 성격 등 미디어 이론 수업을하였으며,‘씰라빠껀 대학교의 이미지’를 생산하는 활동을 통해 능동적으로개념을 이해하도록 하였다. 3 주차부터 16 주차까지는 본격적인 영화 수업을 실시하였는데, 3 주차에는한국을 주제로 한 태국영화 <꾸언 믄 호>를 다루어 2 주차에서 배운 이론을적용하여 영화를 분석해보는 연습을 하였으며, 이를 통해‘내가 아는 한국’과‘영화 속 한국’의 이미지를 비교하는 활동을 실시하였다. 수업에서 다룬영화의 목록은 다음 <표 1>과 같다.<표 1> 선정 영화 및 주제10주차 영화 주제 자막 유무 영화 <กวน มึน โฮ 꾸언 믄 호> 태국 영화에 나타난3 (2010) 한국의 이미지 X4 영화 <엽기적인 그녀> (2001) 한류 X5 고전 X6 영화 <성춘향>(1961) 고전 X7 고전 O8 영화 <소나기> (1978) 근대 역사: 대한제국, X 고종9 영화 <장화홍련> (2003) 한국의 분단Ⅰ O10 영화 <가비> (2012) 한국의 분단 Ⅱ X11 O12 영화 <태극기 휘날리며> 역사와 기억 X13 (2003) X14 영화, <웰컴 투 동막골> 역사와 기억 O15 (2005) X16 영화 <국제시장> (2014) 가족 X 영화 <은밀하게 위대하게> 한국인의 사랑 (2013) 한국인의 사랑 영화 <7 번 방의 선물> (2012) 현대 한국 사회 영화 <왕의 남자> (2005) 영화 <건축학 개론> (2012) 영화 <날아라 펭귄> (2009) 선정된 영화와 수업의 주제는 학생들이 3 학년 때 배운 한국 문화 수업 이후수강하게 되는 수업이라는 점이 고려되었다. 학생들은 3 학년 때 한국 문화에대한 일반적인 내용을 태국어로 이미 공부한바 있다. 따라서 본 수업에서는학생들이 한국의 고전으로 들어본 적이 있는 소설의 영화를 넣어 구성하였으며,10 학생들의 요구조사 결과를 반영하여 선정한 영화들과 주제이다. 46 แนวทางการพฒั นาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 태국 내 한국학 발전 현황

전세계로 확산된 한류의 중심국 중 하나인 태국의 대학 전공생을 위한수업이라는 점에서 한류를 이해할 수 있는 한류 영화를 한편 선정하였다. 역사는근대 역사를 중심으로 하고 있지만 ‘역사와 기억’이라는 주제로 역사적 사실과기록, 기억을 홉스봄의 ‘만들어진 전통’이론을 소개하며 논의하였다. 수업은 크게 세 부분으로 구성된다. 수업은 영화에 대한 배경지식과 영화속 한국어에 대한 교사의 강의로 시작되며, 약 20 분에서 30 분 정도 진행된다.그리고 영화 시청과 영화에 대한 발표팀의 발표, 마지막으로 토의 활동이다.먼저 교사의 강의는 영화를 이해하는데 필요한 한국 역사나 문화에 대한 내용과영화 속 어휘와 표현, 화용 능력을 배양할 수 있는 영상 클립 속 대화로이루어졌다. 영화를 시청한 후 영화에 대한 발표팀의 발표가 있는데, 이는10 분에서 15 분 정도 이루어졌다. 발표는 영화에 따라 내용이 일부 다르기는하였지만, 1) 영화 감독 및 인물 소개, 2) 줄거리 요약, 3) 태국 영화와의 비교등이다. 발표는 한 학생이 총 2 번 참여하였으며, 중간고사 이전에 한번,중간고사 이후에 한번을 하도록 하였다. 마지막 활동인 토의는 학생들이 자유롭게 영화나 주제에 대해 이야기를 하는 시간으로 약 30 분 정도 진행 되었다.질문에 따라 소그룹으로 진행하고 전체에게 자신들이 활동한 것을 발표하기도하고 전체가 함께 토의활동을 하기도 하였다. 학생들은 영화를 보기 전에 이미영화에 대한 질문을 교사에게서 받기 때문에 영화 보기는 그 질문에 대해생각하며 능동적으로 보게 된다. 실제로 수업이 진행되면서 학생들은 학기 초에비해 토의에 능동적으로 참여하는 것을 볼 수 있었으며, 발표팀의 발표가 끝난후에 질문도 적극적으로 하게 되었다. 또한 토의 시간을 통해 학생들은 교사가던진 질문에만 대답하는 것이 아니라 교사에게 영화에 나타난 장면을 통해 한국문화를 질문하기도 하였다. 수업의 평가는 다음과 같은 항목에 따라 실시하였다. 1) 발표 2 회 20% 2) 중간 프로젝트: 비디오 프로젝트 (집단) 20% 3) 매주 질문지 과제: 총 12 회(발표 주에는 하지 않아도 됨) 15% 4) 기말고사: 서술형 질문 4 개 25% 5) 기말 과제 10% 6) 출석 및 참여도 10% 기말과제는 소개하고 싶은 영화를 선정하여 조별로 학교 게시판에 영화 소개포스터를 만들어 게시하는 것이다. 매주 질문지 과제는 A4 1 장에서 2 장 정도의길이로 문제 1~3 개에 대해 개인의 생각을 쓰는 것이며, 교사는 학생의 질문지에대한 피드백을 준다. 학생의 질문지 활동은 학생이 미리 영화를 볼 수 있는동기를 부여하고 영화를 보는 시각을 제시하기도 한다. 3.2. 영화로 읽는 한국어 문화교육의 방법 3.3.1. 주제를 활용한 한국어 어휘 교육 แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 47 태국 내 한국학 발전 현황

학습자들은 영화와 함께 제시된 주제와 관련된 어휘를 학습한다. 교사가 준비한영화의 역사적 배경이나 문화 내용의 강의를 통해 학습자들은 관련 어휘에자연스럽게 노출되며, 맥락 안에서 어휘의 의미를 추론해 볼 수 있다. 교사는먼저 강의를 통해 어휘를 노출시키고 어휘의 의미를 명시적으로 교수한다. 또한다양한 주제에 대한 어휘를 학습할 수 있으며, 학습한 어휘들을 질문지 작성과제를 수행할 때 활용할 수 있으며, 질문지 작성 과제 피드백을 통해 올바른어휘 사용에 대한 피드백까지 받을 수 있다. 3.3.2. 영상을 활용한 한국어 화용 교육 영화 속 대화 장면을 영상 클립으로 만들어 명시적인 화용 교육이 가능하다.먼저 소리 없이 상황만을 영상을 재생하여 학습자들이 상황과 맥락을 유추해 볼수 있게 한다. 그리고 대화를 만들어 보도록 한다. 마지막으로 소리를 재생하여한국어 대화가 어떻게 구성되는지 확인한 후 교사는 상황과 대화를 화행의구성요소인 언표적, 언표내적, 언향적 행위로 구분하여 설명한다. 그리고 같은상황에서 발화될 수 있는 다양한 표현들을 공손성 개념과 함께 학습할 수 있다. 3.3.3. 영화를 활용한 상호문화이해적 문화 교육 영화는 여러 상징들로 이루어진 영상 매체이다. 문화를 명시적이고 직접적으로교육하는 것보다는 영화의 여러 상징들을 통해 학습자가 어떻게 느끼고 받아들이는지 확인할 수 있다. 또한 학습자의 문화 배경에서 비슷한 영화가 존재하는지 또는 같은 주제에 대해 학습자의 문화 배경에서는 영화가 어떻게만들어지는지를 확인하는 과정을 통해 학습자의 문화적 배경을 인정하고 한국문화 역시 상대적으로 인정할 수 있도록 도와준다. 어느 문화가 더 가치있고타당한 것이 아니라 서로의 문화를 비교하여 이해하고 인정하는 문화 교육이가능하다.5. 결론 대중매체를 통한 한국어 수업은 전공 선택과목이지만 학생들에게 수강하고싶은 과목을 조사하였을 때 모든 학생들이 이 수업을 요청하였고, 모든 전공생들이 수강하였다. 수업의 과제가 매 시간 부과되었고 4 시간 동안 연강으로수업이 실시되는데도 불구하고 학생들의 수업 만족도는 높게 나타났다. 학습자들의 학습 효과는 다양하게 나타났는데, 학습자들의 말하기 수준이 자신의생각이나 의견을 적절하게 표현할 수 있게 되었으며, 표현에 자신감을 가질 수있게 되었고, 다양한 분야의 어휘를 구사할 수 있다. 실제 말하기 수업의과제와는 다르게 자유로운 분위기에서 학생들 스스로 토의할 수 있는 수업이기때문에 가능했다. 이 장에서는 본 수업을 진행하며 어려웠던 점을 토대로 더욱효과적인 미디어 수업을 위해 고려되어야 할 몇 가지 점들을 제언하고자 한다. 첫 번째로, 한국어로 진행되는 영화수업은 최소한 중고급 수준의 한국어능력이 요구된다는 것이다. 본 수업은 한국어를 전공하는 4 학년 전공생을 위한전공선택과목이다. 따라서 수업을 중고급 한국어 구사능력을 갖춘 학습자 수준에 แนวทางการพฒั นาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 48 태국 내 한국학 발전 현황

맞추어 설계하였다. 그러나 첫 시간에 수업에 대한 소개를 듣기 위해 참여하였던부전공 학생들 중에서는 한 명을 제외한 나머지 부전공 학생들이 흥미로운 수업내용에 대한 기대에도 불구하고 수업 활동 수준에 필요한 한국어 능력이부족하다는 이유로 수강을 포기하거나 청강할 수밖에 없었다. 두 번재로, 영화 한편을 편집 없이 수업시간에 시청하는 것에 대한 문제가재고되어야 한다. 가족과 관련된 주제들은 같은 아시아 문화권이기 때문인지많은 공감을 얻었다. 그러나 영화를 편집하여 보지 않으려면 영화의 편수를조절하는 방법이 있다. 한 학기 14 편의 영화와 주제는 한 학기 동안 학습하기에너무나 많은 양이기 때문에 충분한 활동을 할 수 있는 시간이 절실히부족하였다. 세 번째로, 수업에서 다루게 될 한국 문화의 주제선정에 대한 문제이다. 본수업에서는 이미 학생들이 태국어로 한국문화에 대한 수업을 학습하였기 때문에목록화된 한국문화 주제보다는 한국인의 오늘날을 설명해주는 근현대 문화를이해할 수 있는 영화들을 선정하고 고전 문학과 관련된 영화들을 선정하여문학과 영화를 연계하는 수업을 진행하였다. 그러나 어떤 주제를 선정하고 어떤영화를 선택할지에 대한 고민은 학교의 커리큘럼과 학습자의 요구가 고려되어야할 것이다. 이와 관련하여 영화들의 목록화 작업이 필요하다. 많은 영화 중에서학습에 적절한 영화가 무엇인지, 그리고 관련 연구나 자료들은 충분하지 등에대한 검토 역시 필요한데, 관련 연구나 자료들은 학습자들의 토의과정을 더욱풍부하게 해줄 수 있다. 본 연구의 의의는 두 가지로 살펴볼 수 있다. 첫째, 미디어를 활용한 수업의실제를 통해 고급 수준의 한국어를 구사할 수 있는 대학의 한국어전공학습자들의 영화를 통한 한국어문화 수업이 한국어만을 배우기 위한 한국어수업이 아닌 한국어를 도구어로 활용하여 한국 문화와 역사, 영화에 대해 배우고자신의 생각과 느낌을 표현할 수 있는 수업이 될 수 있다는 점에서 한국학과한국어학의 연계 가능성을 확인하였다는 점, 둘째, 학습자 스스로의 정체성을그대로 인정한 채 학습자의 정체성인 태국인의 시선으로 한국문화를 바라보는시선에 대해 깊이 있게 토의하고 ‘한국, 한국인, 한국 문화’에 대해 자신만의시각을 갖게 되는데 큰 역할을 할 수 있는 수업임을 확인함으로써 문화교육철학의 중요성과 교육적 적용의 사례를 보여주었다는 점이다.참고문헌김서형(2009), ‚영화를 활용한 한국의 언어와 문화 교육 -교육용 영화 선정의 원리와 기준을 중심으로‛, 우리어문연구, 35: 161-187.김수진(2010). 문화간 의사소통능력 신장을 위한 한국문화교육 방법 연구. 한국외국어대학교 박사학위 논문. แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 49 태국 내 한국학 발전 현황

막달레나 드 카를로 저, 장한업 역(2011). 상호문화 이해하기; 개념과 활용. 한울.왕혜숙〮김수진(2012), ‚언어, 문화, 그리고 영화: 한국어문화 교육 연계 발전 모델‛. 한국언어문화교육학회 학술대회. 2012(1): 351-361.이승연∙이진화∙공동관(2008), ‚전문가 수준의 한국어 학습자를 위한 한국어 교육의 실제-하와이 대학교 Korean Flagship‛, 국제한국어교육학회 학술대회논문집, 2008: 755-772.이해영(2015), ‚비교문화적 화용론, 태국에서의 연구와 교육‛, 이중언어학회 국제학술대회, 1-6.조영미(2012), ‚영화를 활용한 한국어 문화교육 방안‛, 한국어문화교육, 6(2):195-222.한선(2007), ‚영상 매체를 활용한 한국 문화 교육- TV 드라마와 영화를 중심으로-‚, 한국언어문화교육학회 학술대회, 75-84.Hall, S. 1997. Representation: Cultural Represenations and Signifying Practices. London: Sage/Open University Press แนวทางการพฒั นาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 50 태국 내 한국학 발전 현황

แนวทางพฒั นาหลกั สตู รการเรยี นการสอนเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย Supaporn Boonrung Chulalongkorn University초록 최근 맞이한 21 세기의 시대적 변화와 요구에 부응하여 세계 다른 국가와의교류가 필요한 추세다. 물론 이제는 태국의 외국어교육 분야에서도 영어 학습뿐아니라 다른 외국어도 학습하는 경우가 늘어 가고 있다. 특히 현재는 태국 내의한류 열풍으로 인해 태국인에게 한국의 노래, 가수, 드라마, 영화, 음식 등이활발한 관심을 끌고 있다. 이러한 이유로 제 2 외국어로 한국어와 한국학을학습하는 수요도 급증하고 있으며 태국 내에서 한국어학과를 개설한 대학과학교가 점차 늘어나고 있다. 태국에서는 한류의 영향 때문에 한국어에 대한관심이 급히 증가하고 있으며 한국학도 점점 규모가 커지고 있다. 이에 태국에서한국학을 성장시키기 위해 본 연구에서는 최근 태국에서의 한국학 현황,교과과정과 수업 방식, 문제점에 대해 살펴봤는데현재까지는 8 개의 대학에서한국어를 전공 과목으로 개설 하였다. 또한 태국 쭐라롱꼰 대학교에서는 석사과정으로서의 한국학이 전공으로 최초로 개설되었다. 게다가 최근의 한류 열풍은태국 에서의 한국어와 한국학에 대한 관심을 불러일으키며한국어와 한국학교육에 큰 힘이 되고 있다. 그러나 태국에서의 한국학 교육은 아직 까지 여러여건이 부족한 상태이다. 현재 태국인 교원도 한국어나 한국어 교육을 전공으로석박사 과정을 졸업한 교원에 비해서 한국 학을 전공으로 졸업한 교원은 아직부족한 상태이다.또한 태국인 학 습자에게 적절한 교재가 없다는 문제도 있다.게다가 지금까지 태국인 학습자를 중심으로 한국학 교육 교과과정이나 교수법에대한 연구가 그다지 많지 않다. 이러한 문제점을 해결하고 발전을 위해서는 양국정부나 교육기관이 서로 협력하고 장기적으로 명확한 정책을 세우는 것이중요하다. 앞으로 태국에서의 한국학 교육은 지속적으로 많은 발전을 할 수있으리라 기대한다.1. บทนา ก้าวเขา้ สศู่ ตวรรษท2ี่ 1 ระบบการเมอื ง เศรษฐกิจ สงั คม และวฒั นธรรม ต่างปรบั เปลยี่ นรูปแบบไปตามกาลสมยั เพอื่ ตอบสนองตอ่ ความเปลยี่ นแปลงดงั กลา่ ว นานาประเทศทั่วโลกต่างเล็งเห็นถงึ ความจําเป็นในอันท่จี ะสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่ดตี อ่ กัน เชน่ เดยี วกับประเทศไทยทีไ่ ดร้ ิเรม่ิ และพัฒนาศาสตรก์ ารสอนภาษาตา่ งประเทศตา่ งๆ ทั้งภาษาอังกฤษและภาษาต่างประเทศอื่นๆ อกี มากมาย และเม่ือไมน่ านมานท้ี กี่ ระแสนิยมวัฒนธรรมเกาหลี ไดเ้ รมิ่ แพรห่ ลายเข้าสูป่ ระเทศไทย ไมว่ ่าจะเปน็ เพลง, ละคร, ภาพยนตร์ และอาหาร แนวทางการพัฒนาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 51 태국 내 한국학 발전 현황

เกาหลี ทกี่ ําลังได้รับความนิยมจากชาวไทยเปน็ อยา่ งมากในขณะน้ี จึงเป็นเหตใุ ห้มผี ้สู นใจเรียนภาษาเกาหลเี ปน็ภาษาต่างประเทศ ที่2 เพิ่มขึ้นเปน็ จาํ นวนมาก อกี ท้งั มหาวทิ ยาลยั และโรงเรยี นตา่ งๆ ในประเทศไทยก็เริ่มเปิดการเรยี นการสอนสาขาวิชาภาษาและวัฒนธรรมเกาหลีเพม่ิ มากขนึ้ เชน่ กนั เนอ่ื งจากอิทธิพลของกระแสนิยมวัฒนธรรมเกาหลดี งั กลา่ ว นอกจากจะทําให้คนไทยเร่มิ หันมาสนใจเรยี นภาษาเกาหลแี ละใหค้ วามสาํ คัญกับเกาหลีศึกษามากข้นึ ในด้านเศรษฐกิจ ฐานการสง่ ออกสินคา้ และบริการตา่ งๆ ของเกาหลกี ็ได้แพร่ขยายเขา้ สปู่ ระเทศไทยมากขึ้น ทําให้แนวโน้มของนิสิตนักศึกษา และผู้สําเร็จการศึกษาทางด้านเกาหลีศกึ ษาเกิดความต้องการทาํ งานในสถานประกอบการเกาหลเี หล่านี้ เพอ่ื รองรบั ต่อความเปล่ียนแปลงดังกล่าว วงการการศึกษาภาษาเกาหลีจําเป็นตอ้ งเรง่ พัฒนาองคค์ วามร้ตู า่ งๆ โดยเน้นท่ีความรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกับเกาหลศี ึกษาเพือ่ เสริมสร้างความสมั พันธอ์ ันดีระหวา่ งสองประเทศใหแ้ น่นเฟูนย่ิงข้นึและในบทความวจิ ัยนม้ี งุ่ ศกึ ษาเกี่ยวกบั แนวทางพัฒนาหลักสตู รการเรียนการสอนเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทยรวมไปถงึ หลกั สูตร วธิ ีการสอน และปญั หาตา่ งๆ เพ่อื เปน็ ประโยชน์ต่อการพัฒนาการเรียนการสอนเกาหลีศึกษาในประเทศไทยสืบไป2. สถานการณก์ ารเรยี นการสอนภาษาเกาหลี112.1 สาขาวิชาภาษาเกาหลีของมหาวิทยาลยั ในประเทศไทยในปัจจบุ นัมหาวิทยาลัยแรกทรี่ เิ ร่ิมการสอนภาษาเกาหลีในประเทศไทยคือ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตปตั ตานี ในปี พ.ศ.2529ผศ.ดร.ผาสุขกุลละวณิชย์ ซง่ึ ดาํ รงตาํ แหนง่ อธกิ ารบดใี นขณะนน้ั ไดเ้ ปน็ ผูส้ ง่ เสรมิ และผลักดันใหม้ ีการเรยี นการสอนภาษาเกาหลีเป็นคร้งั แรกตอ่ มาในปี พ .ศ.2540เร่ิมเปดิ สอนภาษาเกาหลเี ปน็ วิชาโท และในปี พ.ศ.2542 ไดเ้ ปิดสอนภาษาเกาหลีเปน็ วิชาเอกคร้งั แรกของประเทศไทย ตอ่ มามหาวิทยาลยั อืน่ ๆกเ็ รมิ่ เปดิ การเรยี นการสอนภาษาเกาหลีเป็นวิชาเอกเชน่ กัน โดยเริม่ จากพ .ศ.2543 มหาวทิ ยาลัยบูรพา,พ.ศ.2546 มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร,พ .ศ.2548 มหาวทิ ยาลยั มหาสารคามและมหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ,พ.ศ.2549 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่ ,พ.ศ.2550มหาวิทยาลัยนเรศวร ซ่งึ เปน็ ปเี ดียวกันท่ีจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัยเริม่ เปิดสอนภาษาเกาหลีเปน็ วชิ าโท 12 และในปี พ .ศ.2554 มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตภูเกต็ ได้เปิดสอนภาษาเกาหลีเป็นวชิ าเอก โดยมี 2 วิชาเอกปจั จบุ ันมหาวิทยาลยั ที่เปิดสอนภาษาเกาหลีเปน็วิชาเอก รวมท้ังส้ิน 8 มหาวิทยาลยั ดไู ดจ้ าก <ตาราง 1>ด้านลา่ ง<ตาราง 1>สถานการณ์การเปดิ สาขาวิชาภาษาเกาหลใี นมหาวทิ ยาลยั ของประเทศไทย ปีท่ีเปิดสอนลาดบั ชอื่ มหาวิทยาลัย วิชาเลือก วิชาโท วิชาเอก1 มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์(วิทยาเขตปัตตานี) 2529 2540 25422 มหาวิทยาลยั บูรพา 2538 2542 25433 มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร 2543 2545 254611อ้างอิงสว่ นหน่งึ จาก Noh, MiYeon(2009) และได้รวบรวมขอ้ มูลต่อในถงึ ปัจจบุ ัน12 ในส่วนของคณะอกั ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั นัน้ ยังไม่ไดเ้ ปดิ วชิ าเอกภาษาเกาหลี และมแี นวโน้มที่จะเปิดสอนภาษาเกาหลเี ปน็ วิชาเอกในอนาคตขา้ งหน้า แนวทางการพฒั นาเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย 52 태국 내 한국학 발전 현황

4 มหาวิทยาลยั มหาสารคาม 2540 2547 25485 มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ 2542 2544 25486 มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่ 2547 2548 25497 มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 2541 2549 25508 มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์(วิทยาเขตภูเกต็ ) 2542 - 2554 2.2 หลกั สตู รของสาขาวิชาภาษาเกาหลีในแตล่ ะมหาวิทยาลยั หลักสูตรการเรยี นการสอนภาษาเกาหลขี องแต่ละสาขาวิชาภาษาเกาหลนี ้ันได้สรา้ งหลักสตู รขึน้ ตามลกั ษณะเดน่ ของภูมิภาคและลกั ษณะเฉพาะของระบบหลักสตู รในมหาวิทยาลัยของตน ซงึ่ สว่ นใหญ่แล้วประกอบดว้ ยวชิ าเอกบงั คับและวิชาเอกเลือก สาํ หรับนกั ศึกษาวิชาเอกภาษาเกาหลีน้ันจะตอ้ งลงทะเบยี นเรยี นวชิ าเกีย่ วกับภาษาเกาหลีและเกาหลีศกึ ษาอย่างน้อย 85 หนว่ ยกิต หลักสูตรของสาขาวิชาภาษาเกาหลีในแตล่ ะมหาวิทยาลัยของประเทศไทยนน้ั ไม่เพียงแตเ่ สรมิ ทกั ษะดา้ นภาษาเกาหลเี ทา่ น้นั แตย่ ังมงุ่ เสรมิ สร้างความรู้เกี่ยวกบั เกาหลีศึกษาด้วย ซง่ึ ถา้ ลองพจิ ารณาถึงหลักสูตรของสาขาวชิ าภาษาเกาหลที ีแ่ บง่ ตามทกั ษะต่างๆ แลว้ จะเปน็ ภาษาเกาหลี 50% ภาษาเกาหลีเพ่ือวตั ถปุ ระสงค์เฉพาะ 19% วรรณคดเี กาหลี 12% ภาษาเกาหลีเพ่ือวิชาชพี 11% วฒั นธรรมเกาหลี 5% และเกาหลีศึกษา3% ตามลาํ ดับ ต่อไปเปน็ รปู ภาพแสดงหลกั สูตรของสาขาวิชาภาษาเกาหลใี นภาพรวมทแี่ บง่ ตามทกั ษะต่าง ๆ <รูปภาพ 1>หลกั สูตรของสาขาวิชาภาษาเกาหลใี นภาพรวมท่ีแบง่ ตามทักษะตา่ ง ๆ <รปู ภาพ1>จะเหน็ ไดว้ ่ารายวชิ าที่เกีย่ วกบั ภาษาเกาหลีในหลกั สตู รของสาขาภาษาเกาหลใี นประเทศไทยทง้ั หมดประกอบ ดว้ ยภาษาเกาหลี 50% โดยมวี ิชาเก่ยี วกับภาษาเกาหลี ดงั นี้ ภาษาเกาหลเี บอื้ งต้น, การเขียน -การอ่านภาษาเกาหลี, การฟัง-การพดู ภาษาเกาหลี, โครงสรา้ งภาษาเกาหลี และไวยากรณภ์ าษาเกาหลี เป็นต้น แนวทางการพัฒนาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 53 태국 내 한국학 발전 현황

ลําดบั ต่อมา 19% คือ ภาษาเกาหลีเพ่อื วัตถปุ ระสงคเ์ ฉพาะ เชน่ ภาษาเกาหลเี พ่อื สือ่ สารมวลชน, การสอนภาษาเกาหลีเปน็ ภาษาต่างประเทศ, การเขยี นภาษาเกาหลีเพือ่ การสื่อสาร และการแปล -การล่าม เป็นตน้ลาํ ดับตอ่ มาเป็นรายวิชาเก่ียวกบั วรรณคดเี กาหลี 12% ได้แก่ วรรณดคเี กาหลี, เรือ่ งสัน้ เกาหลี, รอ้ ยแกว้ และร้อยกรองเกาหลี และสภุ าษติ และคาํ พังเพยเกาหลี เป็นต้น และรายวชิ าภาษาเกาหลเี พือ่ วิชาชีพ 11% ได้แก่รายวชิ าภาษาเกาหลเี พ่ือการทอ่ งเท่ยี ว, ภาษาเกาหลีเพือ่ การโรงแรม, ภาษาเกาหลีเพอื่ การธรุ กจิ และภาษาเกาหลีสําหรับมคั คเุ ทศก์ เปน็ ตน้ และลาํ ดบั ต่อมา 5% เปน็ รายวิชาเกย่ี วกับวัฒนธรรมเกาหลี ได้แก่ วัฒนธรรมเกาหลี, ดนตรีพ้ืนเมอื งเกาหลี, นาฏศิลปพืน้ เมอื งเกาหลี และบทละครเกาหลี เปน็ ตน้ สดุ ทา้ ยรายวิชาเกี่ยวกบัเกาหลีศกึ ษา 3% ได้แก่ ประวตั ศิ าสตร์เกาหลี, การเมืองการปกครองเกาหลี และเศรษฐกจิ เกาหลี เปน็ ตน้ โดยภาพรวมจะเห็นได้วา่ หลักสตู รการเรยี นการสอนภาษาเกาหลีในประเทศไทยสว่ นใหญ่เนน้ ทางดา้ นภาษาเกาหลีเท่านั้นถึงแม้ว่าจะมีการเรยี นการสอนดา้ นวัฒนธรรม วรรณดคี และเกาหลีศกึ ษาแตก่ ็ยงั ถอื วา่ มีรายวิชาน้อยมากถ้าเทยี บกับรายวิชาภาษา Hymes (1979) ไดก้ ลา่ วไว้วา่ การทจ่ี ะสามารถส่อื สารภาษาตา่ งประเทศให้ได้ดีน้ันไม่เพยี งแตค่ วามรทู้ างดา้ นภาษาเทา่ นนั้ ยงั จะต้องศกึ ษาเกย่ี วกบั ความรดู้ า้ นแนวคิดทางวัฒนธรรมและสงั คมทส่ี อดแทรกอยู่ในภาษานน้ั ๆ อีกดว้ ย ดังนั้นการทจ่ี ะถือได้วา่ ประสบความสาํ เร็จในการสอื่ สารภาษาตา่ งประเทศนนั้ จะต้องมีทง้ั ความรู้ทงั้ ทางดา้ นภาษาและแนวคดิ ทางดา้ นวฒั นธรรม สงั คม ซงึ่ ก็หมายถงึแนวคดิ ของคนทางดา้ นวฒั นธรรม ทางดา้ นสงั คมในประเทศนนั้ ๆ ด้วยเหตนุ ีห้ ลักสตู รการเรยี นการสอนภาษาเกาหลีในประเทศไทยกน็ า่ จะมสี ว่ นทีเ่ สรมิ สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจท้ังในด้านภาษาและในดา้ นของแนวคิดทางวฒั นธรรม สังคม และอ่ืน ๆ ให้สอดแทรกอยู่ในหลกั สตู รให้มากยงิ่ ข้ึนดว้ ยเชน่ กนั3. สถานการณ์การเรียนการสอนเกาหลศี กึ ษาปัจจบุ นั ในประเทศไทยมกี ารเรยี นการสอนเกาหลศี กึ ษายงั ไมเ่ ปน็ วงกวา้ งมากนกั ถ้าเทียบกบั การเรียนการสอนทางดา้ นภาษา ซ่งึ มหาวทิ ยาลยั แหง่ แรกทเี่ ปิดวชิ าเอกเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย กค็ อื จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั ซง่ึเปน็ หลักสูตรสหสาขาวชิ าของคณะบัณฑติ วิทยาลัยโดยได้ทาํ ความร่วมมอื ทางวชิ าการกบั มหาวทิ ยาลัยโซลแห่งชาติเปดิ หลกั สตู รนานา ชาติเกาหลีศึกษาระดบั ปริญญาโทขึ้นใน ปีพ.ศ.2551 ซง่ึ ในหลกั สูตรไม่เพยี งแต่สอนภาษาเกาหลีเท่านั้นยงั มงุ่ เนน้ ในสว่ นของรายวิชาประวตั ศิ าสตรก์ ารเมืองสงั คม วัฒนธรรมการศกึ ษาเกาหลเี หนือเป็นตน้ ดงั ตารางหลักสตู ร <ตาราง 2>ข้างลา่ ง<ตาราง 2>หลกั สูตรการเรยี นการสอนเกาหลีศึกษา จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย วชิ าเอก รายวิชาเกาหลีศกึ ษาวิชาภาษาเกาหลี ภาษาเกาหลีระดบั ต้น 1 ภาษาเกาหลรี ะดบั ตน้ 2 ภาษาเกาหลรี ะดับตน้ 3 แนวทางการพัฒนาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 54 태국 내 한국학 발전 현황

วชิ าเอก รายวิชา เกาหลศี กึ ษา ภาษาเกาหลีระดบั กลาง 1วิชาเกาหลศี ึกษา ภาษาเกาหลีระดับกลาง 2 ภาษาเกาหลรี ะดบั กลาง 3 วิทยานพิ นธ์ ภาษาเกาหลีระดับสงู 1 ภาษาเกาหลรี ะดบั สูง 2 ภาษาเกาหลีระดับสูง 3 Changes in East Asia Interdisciplinary Approaches to Korean Studies Introduction to Korean Studies Korean Society History of Korean Life Style Ethnic Conflict and Nationalism Understanding International Relations in East Asia Comparative Studies in Korean and Japanese Politics History of Korean-American Relationship Korean Economy Changing World Order and Korea Multilateral Trade Negotiation: History and Major Rounds Foreign Direct Investment The Korean War and Economic Development Business and Management in Korea Modernization and Transformation of Korean Society Modern Korean History and Society Great Figures in Modern Korea Seminar in North Korea Special Topics in Korean Studies Individual Study Thesis แนวทางการพฒั นาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 55 태국 내 한국학 발전 현황

หลกั สตู รนานาชาตเิ กาหลีศึกษานี้มีนสิ ิตทส่ี าํ เร็จการศึกษาแล้วประมาณ 65 คน ปัจจบุ นั กาํ ลงั เปดิ รบั สมัครนิสติร่นุ ท่ี 17 และมนี สิ ติ ที่กําลังศกึ ษาอยทู่ ง้ั หมด 19 คน ในหลกั สูตรนน้ี สิ ิตจะไปแลกเปลี่ยนที่มหาวิทยาลัยโซลแห่งชาติเป็นระยะเวลา 1 ภาคการศึกษาอกี ด้วย สว่ นอาจารย์ผูส้ อนในหลกั สูตรนานาชาตเิ กาหลศี กึ ษานเ้ี ปน็อาจารย์ผ้เู ช่ยี วชาญมาจากหลากหลายคณะในจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั แตก่ ม็ กั จะเป็นเฉพาะการเรียนการสอนในรายวชิ าแบบภาพรวมในเอเชยี หรือเอเชียตะวันออก นอกจากนีย้ ังมีอาจารยผ์ ู้เชี่ยวชาญเฉพาะดา้ นทางเกาหลีศึกษาจากสถาบนั อนื่ ๆ ท่ไี ด้รบั เชญิ มาสอน ซึง่ ผู้ที่เชยี่ วชาญและจบปริญญาเอกดา้ นเกาหลีศกึ ษานับว่ามีน้อยมากในประเทศไทย ทาํ ให้นิสติ ขาดโอกาสท่จี ะไดเ้ รยี นกับอาจารย์ผ้สู อนชาวไทยทม่ี คี วามรทู้ างดา้ นเกาหลีศึกษาโดยตรง แต่ทัง้ นใ้ี นหลักสตู รไดม้ ีอาจารยพ์ เิ ศษจากมหาวทิ ยาลัยโซลแห่งชาติมาสอนทุกภาคการศึกษา ทําให้นสิ ิตสามารถเรยี นรู้กับอาจารย์ทเ่ี ชย่ี วชาญดา้ นเกาหลศี กึ ษาไดโ้ ดยตรงอีกช่องทางหนึง่ นอกจากนมี้ หาวทิ ยาลัยทีไ่ ด้เปดิ สอนวชิ าเอกเกาหลีศึกษาตอ่ มา กค็ อื มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตภเู กต็ ไดเ้ ปดิ วชิ าเอกระดบั ปริญญาตรี 2 วิชาเอก คอื เกาหลศี กึ ษาและเกาหลีเพ่ือการธุรกจิ โดยวชิ าเอกเกาหลศี กึ ษานนั้ ไดท้ ําความร่วมมือทางวชิ าการกับมหาวิทยาลัยฮันกกุ๊ และมหาวทิ ยาลัยซลิ ลา ดูตารางหลกั สตู ร <ตาราง 3> และ <ตาราง 4> ขา้ งลา่ ง<ตาราง 3> หลักสตู รการเรียนการสอนเกาหลีศึกษา วิชาเอกวเิ ทศธรุ กิจ (เกาหลี) มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์วทิ ยาเขตภูเกต็ วชิ าเอก รายวิชาวเิ ทศธรุ กจิ (เกาหลี)วชิ าภาษาเกาหลี ภาษาเกาหลี 1 ภาษาเกาหลี 2 ภาษาเกาหลี 3 ภาษาเกาหลี 4 ภาษาเกาหลี 5 ภาษาเกาหลี 6 ภาษาเกาหลี 7 ภาษาเกาหลี 8 การฟงั และการพดู ภาษาเกาหลี 1 การฟงั และการพดู ภาษาเกาหลี 2 การฟังและการพูดภาษาเกาหลี 3 การอา่ นภาษาเกาหลี แนวทางการพฒั นาเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย 56 태국 내 한국학 발전 현황

วชิ าเอก รายวิชาวเิ ทศธรุ กจิ (เกาหลี) การเขยี นภาษาเกาหลี วิชาเกาหลีศึกษา ภาษาเกาหลเี พอ่ื วชิ าการ ภาษาเกาหลเี พ่ือการสอื่ สารอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ อารยธรรมตะวันออก ประวัตศิ าสตรแ์ ละวัฒนธรรมเกาหลี การเมืองและการปกครองของเกาหลใี ต้ ธุรกิจระหวา่ งประเทศเบือ้ งตน้ การจดั การทรัพยากรมนุษย์ การเงนิ ธุรกิจ ระเบยี บวิธีวจิ ัยเบอื้ งตน้ การจัดการการตลาด การจัดการกลยุทธ์ทางธรุ กิจ การจัดการสายโซ่อปุ ทาน การศึกษาอิสระ การสัมมนาธุรกิจระหวา่ งประเทศ การฝกึ งาน<ตาราง 4>หลกั สูตรการเรยี นการสอนเกาหลีศกึ ษา วชิ าเอกเกาหลีศกึ ษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตภูเก็ต วิชาเอก รายวิชาเกาหลศี กึ ษาวชิ าภาษาเกาหลี ภาษาเกาหลี 1 ภาษาเกาหลี 2 ภาษาเกาหลี 3 ภาษาเกาหลี 4 ภาษาเกาหลี 5 ภาษาเกาหลี 6 ภาษาเกาหลี 7 แนวทางการพัฒนาเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย 57 태국 내 한국학 발전 현황

วิชาเอก รายวิชา เกาหลศี กึ ษา ภาษาเกาหลี 8วิชาเกาหลีศกึ ษา การฟงั และการพูดภาษาเกาหลี 1 การฟงั และการพดู ภาษาเกาหลี 2 การฟังและการพูดภาษาเกาหลี 3 การอ่านภาษาเกาหลี การเขียนภาษาเกาหลี ภาษาเกาหลีเพ่ือวิชาการ ภาษาเกาหลีเพ่ือการสื่อสารอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ อารยธรรมตะวันออก ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมเกาหลี การเมืองและการปกครองของเกาหลีใต้ วิถีชีวิตและสังคมเกาหลี ความสัมพนั ธ์ไทยกบั เกาหลี วจิ ยั เบ้อื งต้น การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเกาหลีใต้ เกาหลีกับกจิ การนานาชาติ ภูมศิ าสตร์เกาหลี การศกึ ษาอสิ ระ สัมมนาเกาหลีศกึ ษา การฝกึ งาน ดังจะเหน็ ได้จากตารางข้างบนหลักสตู รการเรยี นการสอนเกาหลศี กึ ษาของมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์วทิ ยาเขตภเู ก็ต มงุ่ เนน้ ท้งั การเรยี นการสอนภาษาเกาหลีและเกาหลีศึกษาในระดบั ทเ่ี ทา่ ๆ กัน ซง่ึ ไมเ่ พยี งแต่ช่วยให้นสิ ติ มคี วามร้คู วามเข้าใจทางดา้ นภาษาเกาหลีเทา่ นน้ั ยงั มรี ายวชิ าทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับวชิ าเอกท้ัง 2 อกี ด้วย และนิสติ กไ็ ด้โอกาสไปแลกเปล่ียนที่ สาธารณรฐั เกาหลีตามความรว่ มมือทางวชิ าการกับมหาวทิ ยาลยั ฮนั กกุ๊ และมหาวทิ ยาลยั ซิลลาอกี ด้วย4. ปญั หาดา้ นการเรยี นการสอนเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 4.1 ปัญหาดา้ นอาจารยผ์ ูส้ อน แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 58 태국 내 한국학 발전 현황

ปจั จุบันอาจารยช์ าวไทยทีก่ าํ ลังศึกษาตอ่ ณ สาธารณรฐั เกาหลมี จี ํานวนเพม่ิ มากข้ึนเร่ือยๆ เมื่อเปรียบเทียบกับในอดตี ทอ่ี าจารยช์ าวไทยจบใหมใ่ นระดับปรญิ ญาตรีจะเร่มิ เขา้ ทํางานสอนในมหาวิทยาลัยทนั ทีซึง่ ในปัจจุบันมหาวิทยาลยั ตา่ งมีนโยบายรบั สมคั รอาจารย์จบวฒุ ิปริญญาโท -เอกข้ึนไปเท่านน้ั จะเหน็ ได้วา่ ในมหาวทิ ยาลยั ตา่ งๆ กาํ ลงั สรา้ งบุคลากรอาจารยส์ อนภาษาเกาหลีมากข้นึ แตส่ ่วนใหญอ่ าจารย์ก็มกั จะเลอื กวิชาเอกภาษาและวรรณคดเี กาหลี หรือการสอนภาษาเกาหลี ประเทศไทยถือได้วา่ ยังมีอาจารยผ์ จู้ บด้านเกาหลีศกึ ษานอ้ ยถ้าเทยี บกับดา้ นภาษาเกาหลีเพยี งอย่างเดียว รวมถงึ ในการเรยี นการสอนระดบั ปริญญาโทเกาหลศี ึกษาที่จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั กเ็ ปน็ การเชิญอาจารย์ผู้สอนจากภายนอกหรือจากมหาวิทยาลัยโซลแหง่ ชาติ แตถ่ ้าเป็นอาจารย์จากภายในเองนัน้ อาจารยผ์ ้สู อนก็จะเชีย่ วชาญดา้ นเอเชยี ตะวันออกเป็นสว่ นใหญ่และในสว่ นปัญหาของอาจารย์ชาวเกาหลนี ้นั เน่อื งจากสญั ญาจ้างส่วนใหญจ่ ะมเี วลาประมาณ 1-2 ปี ทาํ ให้ตําแหนง่ ของอาจารยช์ าวเกาหลีมีการเปลยี่ นแปลงอย่ตู ลอดเวลา จึงสง่ ผลตอ่ การรับผดิ ชอบรายวิชาต่าง ๆ ทิศทางการสอน และแผนการสอนในรายวชิ าน้นั ๆ ดว้ ย 4.2 ปญั หาดา้ นหนงั สอื เรยี น ในการเรยี นการสอนภาษาเกาหลใี นประเทศไทยปญั หาอยา่ งหนึ่งท่ถี ือได้ว่าเป็นปัญหาสําคัญ คือ ปญั หาดา้ นหนังสือเรียน ซึ่งปกตกิ ารเรียนภาษาเกาหลีเป็นภาษาต่างประเทศต่างกม็ วี ตั ถุประสงค์ใหน้ ักเรยี นทเ่ี รยี นสามารถสือ่ สารภาษาเกาหลีไดอ้ ย่างคล่องแคลว่ แต่หนังสอื เรยี นภาษาเกาหลีท่ีใชส้ อนในประเทศไทยจนถงึปัจจบุ นั นส้ี ่วนใหญเ่ ปน็ หนังสอื ทพ่ี ิมพ์ท่ีประเทศเกาหลซี ึง่ มีสถานการณย์ กประโยคตวั อยา่ งหรอื เนื้อหาบางส่วนไมต่ รงกบั สถานการณ์และบรบิ ทในประเทศไทย อีกทั้งในการปูอนข้อมูลความร้หู รือการเรียนร้กู อ็ าจจะไม่สามารถใช้ไดจ้ รงิ ในสถานการณท์ วั่ ไปหรอื สถานการณ์นอกห้องเรยี นทาํ ใหเ้ กิดความต้องการหนงั สือเรยี นภาษาเกาหลีทเ่ี หมาะกับนักเรยี นไทยอยา่ งแทจ้ ริงมากขน้ึ และในกรณที ีใ่ ชห้ นงั สือเรยี นที่พมิ พจ์ าก สาธารณรฐั เกาหลีนั้นอาจารย์ชาวไทยก็มักจะสอนแบบการแปลอธบิ ายเปน็ ภาษาไทย ด้วยเหตผุ ลตา่ งๆ เหล่านที้ าํ ใหน้ กั เรียนไทยส่วนใหญม่ ีปญั หาด้านทักษะการสื่อสารภาษาเกาหลมี ากกวา่ ทักษะอ่นื ๆ ในภายภาคหน้ามคี วามจาํ เปน็ ท่ีจะตอ้ งพฒั นาหนงั สือเรียนภาษาเกาหลใี หเ้ หมาะสมกบั นักเรยี นไทย สถานการณใ์ นประเทศไทย พรอ้ มท้ังเน้นบทสนทนาหรือประโยคตัวอย่างที่เปน็ ธรรมชาติเพอื่ เปน็ การพฒั นาการเรียนการสอนภาษาเกาหลที ี่เหมาะกับผู้เรยี นคนไทยอยา่ งแท้จริง สว่ นหนงั สอื เรียนดา้ นเกาหลศี กึ ษาน้นั แทบจะมนี ้อยมากในประเทศไทย ส่วนใหญอ่ าจารย์ผสู้ อนและผูเ้ รยี นมกั จะใช้หนังสือทตี่ พี มิ พ์ใน สาธารณรฐั เกาหลี ซ่งึ มีขอ้ จาํ กดั ด้านภาษา เพราะหนงั สือน้นั อาจจะตีพมิ พ์เป็นภาษาเกาหลหี รอื ภาษาองั กฤษ ซึ่งยงั ไม่มีการแปลเป็นภาษาไทย ทําให้ผู้เรียนตอ้ งมรี คู้ วามเขา้ ใจในภาษาเกาหลหี รือภาษาอังกฤษเป็นอย่างดีจงึ จะเขา้ ใจในเนื้อหาของหนังสอื นัน้ ได้ 4.3 ปญั หาดา้ นหลักสตู รเกาหลีศกึ ษา เมือ่ พจิ ารณาถึงหลักสูตรเกาหลศี ึกษาในประเทศไทยน้นั จะเหน็ ได้วา่ มีวิชาที่หลากหลาย แต่ยงั ขาดผู้สอนชาวไทยที่เชี่ยวชาญอยา่ งแท้จริง และในรายวชิ าทเี่ ปิดสอนนน้ั ก็มักจะเปิดสอนวิชาเดมิ ๆซา้ํ ตลอดทุกปี แตใ่ นหลกั สตู รมงุ่ เน้นความร้คู วามเขา้ ใจด้านเกาหลศี กึ ษา ต่างมุง่ เน้นหลักสตู รให้เหมาะสมกับนโยบายการศกึ ษา แนวทางการพัฒนาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 59 태국 내 한국학 발전 현황

ของแต่ละมหาวทิ ยาลัย แตส่ าํ หรบั หลักสูตรเกาหลีศกึ ษาในระยะเริม่ แรกนัน้ ต่างก็ยึดหลักสูตรการเรยี นการสอนของสาขาวชิ าภาษาจนี หรือภาษาญี่ปุน หรอื ภาษาอืน่ ๆ เพ่ือเปน็ แนวทางในการสร้างหลักสูตร ถึงแมว้ ่าจะมีการปรบั ปรงุ และแก้ไขเปน็ คร้งั คราวบ้างกต็ ามแต่กย็ ังเปน็ เพียงการแก้ไขปรับปรงุ หลกั สูตรตามประสบการณ์ของผู้สอนมากกวา่ จะมุ่งเน้นถงึ ความต้องการของผู้เรยี น จงึ ทําใหห้ ลักสูตรการเรียนการสอนเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทยเป็นแนวหลกั การและรูปแบบมากเกินไป และในบางรายวิชามบี รรจุเข้าในหลกั สตู รแตไ่ มเ่ คยเปดิสอนเพราะไม่มอี าจารยผ์ เู้ ชีย่ วชาญดา้ นดงั กลา่ ว5. สรุป การเรียนการสอนภาษาเกาหลใี นประเทศไทยเร่มิ แรกในปีพ .ศ.2529ท่ีมหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์(วทิ ยาเขตปัตตาน)ี และพฒั นาเรือ่ ยๆ จนในปัจจบุ ันในประเทศไทยได้เปดิ สอนภาษาเกาหลีเปน็ วชิ าเอกรวมท้ังสน้ิ 8 มหาวทิ ยาลัย อกี ทง้ั ในปีพ.ศ.2551 จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั กไ็ ด้เปดิ หลกั สตู รนานาชาติเกาหลศี กึ ษาระดบั ปรญิ ญาโทขน้ึ ครง้ั แรกในประเทศไทย และมหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์วิทยาเขตภูเก็ต ไดเ้ ปิดสอนหลักสูตรเกาหลศี ึกษาในระดบั ปริญญาตรี ในปัจจบุ นั การเรยี นการสอนภาษาเกาหลแี ละเกาหลศี ึกษาขยายตัวมากขนึ้ สาเหตุสว่ นหนึง่ ก็เพราะวา่ กระแสนยิ มวัฒนธรรมเกาหลที ีพ่ ัดพาเอาความสนใจเกี่ยวกับประเทศเกาหลีมาสูค่ นไทย แต่ท้งั น้แี ล้วในด้านการเรยี นการสอนเกาหลศี กึ ษานั้นกย็ ังถอื ไดว้ า่ มีส่วนทีจ่ ะต้องพัฒนาปรบั ปรุงอีกมากมาย ไม่วา่ จะเป็นการพัฒนาบคุ ลากร หนังสือเรียน หลักสูตรท่ีเน้นผ้เู รยี นเปน็ ศูนยก์ ลาง วิธกี ารสอนเปน็ ต้น เพอื่ ร่วมกนั หาทางแกไ้ ขและพัฒนาใหก้ ารเรยี นการสอนเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทยดยี ง่ิ ข้นึ ไปนน้ั มีความจําเปน็ ทอ่ี าจารยผ์ ู้สอนในประเทศไทยรว่ มมอื กนั ไมว่ า่ จะเปน็ เปดิ เวทอี ภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นรวมถึงการวิจัยผลงานวชิ าการตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ และทสี่ ําคัญเปน็ อย่างยง่ิ รัฐบาลทงั้ สองฝุายจะตอ้ งรว่ มมอื กนัอย่างเหนยี วแนน่ ซง่ึ ผู้เขยี นหวงั วา่ ในอนาคตการเรยี นการสอนเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทยจะพัฒนายง่ิ ๆ ขึ้นไปบรรณานกุ รม노미연(2009). 태국의 한국어 교육 현황, 한국어문학연구학회, 한국어문학연구, 97-121.빠릿 윙타나센(2007). 태국에서의 한류현상, 한국언어문화학 4 권 1 호,국제한국언어문화학회, 129-143.윤경원(2005). 태국에서의 한국어교육 현황과 문제점, 한국외국어대학교 동남아연구소, 동남아연구. 114-139.이병도(2005). 태국의 한류-한국학 연구 현황-, 한국외국어대학교 국제지역연구센터, 국제지역정보,68-73.지라펀(2005). 태국에서의 한국어 교육 현황과 제언, 국외 한국어 교육 정책수립을 위한 대토론회, 한국어 세계화재단, 125-135.최창성(1989). 태국에서의 한국어 교육 현황과 문제점, 외국어교육연구논집 5 호,한국외국어대학교 부설외국어교육연구소, 47-67.Hymes, D. (1979). On communicative competence. In C. J. Brumfit& K. แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 60 태국 내 한국학 발전 현황

Johnson (Eds.), The communicative approach to language teaching (pp. 5-26).Oxford University Press.ParitYinsen (2011). 태국에서 한국어 교육 정책,국제 한국어 교육 학회,국제 한국어 교육 학회 국제 학술 발표 논문집, 219-229. แนวทางการพฒั นาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 61 태국 내 한국학 발전 현황

การสร้างเสริมพลงั การเมอื งใหป้ ระชาชนในชว่ งรัฐบาลกา้ วหน้าของเกาหลใี ต้(Empowering Citizens during the Progressive Governments in South Korea) วเิ ชยี ร อินทะสีบทคดั ยอ่นบั ต้งั แตก่ ารเปลยี่ นผ่านสู่ประชาธิปไตยใน ค.ศ. 1987 ความเขม้ แข็งของระบอบประชาธิปไตยในเกาหลีใตไ้ ม่ได้เป็นสิ่งท้าทายสาํ คญั ต่อระบอบการเมือง ความพยายามลม้ ลา้ งระบอบประชาธปิ ไตยอันทาํ ให้ระบอบการเมอื งย้อนกลับไปเป็นแบบอาํ นาจนยิ มไมไ่ ด้เกดิ ขึ้น จากสภาพดังกล่าว บทความน้จี ึงต้องการศกึ ษาวา่ ในช่วงรฐั บาลคิมแดจงุ และโนมเู ฮียนซง่ึ ถือเป็นรฐั บาลก้าวหนา้ ไดด้ ําเนนิ แนวนโยบายอยา่ งไร ในการ สรา้ งเสริมพลังการเมืองใหป้ ระชาชน โดยใชแ้ นวคดิ ประชา ประชาธิปไตยแบบปรกึ ษาหารือ และประชาธปิ ไตยแบบมีส่วนร่วมเป็นกรอบในการศกึ ษา ผลการศึกษาแสดงให้เห็นวา่ รฐั บาลท้ังสองรเิ ริ่มการใหป้ ระชาชนในท้องถ่นิ ลงประชามตใิ นประเด็นสาํ คญั การถอดถอนบคุ คลทไ่ี ด้รบั เลอื กตั้งออกจากตาํ แหนง่ การมีส่วนร่วมในกระบวนการงบประมาณ และการนําระบบลูกขนุ ประชาชนมาใช้ จากการดําเนนิ นโยบายดงั กลา่ วทําให้ประชาชนมสี ว่ นรว่ มในการกําหนดนโยบายและการตรวจสอบกจิ กรรมของรัฐบาลได้มากข้ึน อันกอ่ ผลดตี ่อการสรา้ งความเข้มแข็งใหแ้ กร่ ะบอบประชาธิปไตย และการแก้ไขปญั หาตา่ ง ๆ เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสิทธิผลคาสาคัญ : การสรา้ งเสรมิ พลังการเมอื งใหป้ ระชาชน, รัฐบาลกา้ วหนา้ , ประชาธปิ ไตย, เกาหลีใต้Abstract Since South Korea’s transition to democracy in 1987, the consolidation ofdemocracy in the country has never been the main challenge.Any attempt to overturndemocracythat might lead the political systemmovetoward authoritarianismdid notoccur.Form this background,this article aims at to study how the Kim Dae-jung and Roh Moo-hyun governments, known as the progressive governments, introduced policies to empowercitizens.The study, based ontheoretical framework of deliberative and participatorydemocracy, finds thatboth governments introduced the referendum,the citizen recallsystem, the citizen participation in the budgeting process and the citizen jurysystem in localadministration. These policies and mechanism enable citizen to be more power toparticipate in policy-making process and scrutinize government activities. Such increasingผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ภาควชิ ารัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตร์ 62คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร แนวทางการพัฒนาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 태국 내 한국학 발전 현황

civic participation is necessary for strengthening democracy and resolving problems moreeffectively.Keywords: empowering citizens, progressive governments, democracy, South Koreaบทนาภายหลงั รฐั บาลอาํ นาจนยิ มปกครองเกาหลใี ตม้ าเกือบส่ที ศวรรษ การต่อส้เู รยี กรอ้ งประชาธปิ ไตยของกลุม่ พลงั ทางการเมอื งและสงั คม ไดก้ ่อผลให้ผูน้ ําการเมอื งซึง่ สืบทอดอํานาจโดยการรฐั ประหาร และการปราบปรามประชาชน ต้องยอมรบั ขอ้ เรยี กร้องการปฏิรปู การเมืองในเดือนมิถนุ ายน ค.ศ. 1987ดว้ ยการแกไ้ ขรัฐธรรมนญู ใหเ้ ปน็ ประชาธิปไตยนบั จากนั้นมาประชาสังคมหรอื กลุ่มพลังทางการเมืองและสงั คม รวมทัง้ประชาชน ได้เขา้ มาแสดงบทบาทในทางการเมอื งมากข้ึน ไม่ว่าการเรยี กรอ้ ง การวพิ ากษ์วจิ ารณ์ และการตรวจสอบการบริหารงานของรฐั บาล ความเข้มแข็งในการตอ่ ส้ขู องพลังประชาชนไดน้ ําไปสู่การจับกมุ อดตีประธานาธบิ ดีชอนดฮู วาน (Chun Doo-hwan) และโนแทอู (Roh Tae-woo) และนายทหารระดับสูง ในข้อกลา่ วหาการปราบปรามผูช้ มุ นมุ เรียกร้องประชาธปิ ไตยทีค่ วางจู (Gwangju) เม่อื เดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1980อันเป็นการสะท้อนให้เห็นถงึ แม้ผูก้ ระทาํ ผดิ เคยดาํ รงตาํ แหน่งสําคัญมากอ่ นแตก่ ไ็ ม่อาจหลีกหนคี วามผิดที่ได้กระทาํ กรณีการใช้อํานาจอย่างขาดความชอบธรรม เพอ่ื การรกั ษาอาํ นาจของตนเองและพวกพ้อง การสลายกลุ่มฮานาฮเว(Hanahoe) หรือสมาคมลับของนายทหารโดยประธานาธิบดคี ิมยองซมั (Kim Young-sam) กถ็ อืเป็นจุดเริ่มตน้ ในการทําใหท้ หารกลับสู่กรมกอง และยุตกิ ารเขา้ แทรกแซงการเมอื ง อันเปน็ ผลใหก้ ารเมอื งเกาหลีใต้เป็นเวทีท่ตี ัวแสดงบทบาทมาจากหลากหลายสาขาอาชพี แทนการผกู ขาดหรอื ครอบงาํ จากบุคคลในกองทัพเหมอื นในยคุ เผดจ็ การ นับตงั้ แต่กระบวนการความเป็นประชาธปิ ไตย (democratization) มพี ลวัตในเกาหลีใต้ เมือ่ ปลายทศวรรษท่ี 1980 เปน็ ต้นมา ยอ่ มเป็นที่ประจกั ษ์วา่ ระบอบการเมอื งในเกาหลีใตไ้ มไ่ ด้ยอ้ นกลับไปสู่ระบอบอาํ นาจนิยมอีกดังการเลอื กตงั้ ประธานาธิบดี สมาชกิ สมชั ชาแห่งชาติ ผู้บรหิ ารและสมาชกิสมัชชาแห่งชาตเิ กดิ ข้นึ อยา่ งสมาํ่ เสมอ เมอื่ บคุ คลท่ีดํารงตําแหนง่ สนิ้ สุดวาระ ในบทความน้ี ผ้เู ขยี นตอ้ งการศกึ ษาวา่ ในสมัยประธานาธบิ ดคี มิ แดจุง (Kim Dae-jung) และโนมเู ฮียน (Roh Moo-hyun) ซึง่ ถอื เปน็ ช่วงที่ผนู้ ํารัฐบาลมีแนวคดิ กา้ วหน้า (progressive) ใหค้ วามสาํ คญั กับการปฏิรูปและความเป็นธรรมน้ัน ผูน้ ําการเมอื งท้ังสองได้ดําเนินแนวนโยบายอย่างไร ในการพฒั นาประชาธิปไตยใหม้ ั่นคง โดยเฉพาะ การสรา้ งเสริมพลังการเมืองให้ประชาชน (empowering citizens) ตามทปี่ ระธานาธิบดคี ิมแดจงุ กลา่ วอา้ งวา่ รัฐบาลของเขาเปน็ รฐั บาลของประชาชน (people’s government) หรอื กุกมินอึยชองบู (kukminuichongbu) เช่นเดยี วกนั กับทีป่ ระธานาธิบดีโนมเู ฮยี นกเ็ นน้ วา่ รฐั บาลของเขาเปน็ รฐั บาลแหง่ การมสี ว่ นร่วม (participatorygovernment) หรือชมั ยอชองบู (chamyochongbu) ดังนนั้ ประชาธิปไตยในเกาหลใี ตค้ งมิใช่เปน็ เพียงการที่ประชาชนใช้สทิ ธลิ งคะแนนเสียงเลอื กตง้ั หากแตย่ ่อมครอบคลมุ ถงึ การเขา้ ร่วมตดั สินใจ และการตรวจสอบกิจกรรมต่าง ๆ ทร่ี ัฐหรือ ภาคสาธารณะดําเนินการดว้ ย แนวทางการพฒั นาเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย 63 태국 내 한국학 발전 현황

กรอบแนวคดิ ในการศกึ ษาการเปลีย่ นผา่ นสู่ประชาธิปไตยในหลายประเทศเกดิ ข้ึนจากการโค่นลม้ ระบอบอํานาจนิยม แตใ่ นบางประเทศเปน็ ผลมาจากผนู้ ําการเมอื งยินยอมใหเ้ กิดการปฏิรูป ดังการกาํ หนดกตกิ าการเมอื งหรือรฐั ธรรมนญูข้ึนใหม่ ท่ปี ระชาชนไดร้ ับสิทธเิ สรีภาพในด้านต่าง ๆ สมาชิกรฐั สภามาจากการเลือกต้ัง และประธานาธิบดีและนายกรัฐมนตรีตอ้ งรบั ผิดชอบตอ่ ประชาชน อยา่ งไรก็ตาม การพัฒนาประชาธปิ ไตยในหลายประเทศถือวา่ประสบความสาํ เรจ็ แตใ่ นบางประเทศกลับอยูใ่ นภาวะล้มลุกคลกุ คลาน เนื่องจากระบอบประชาธปิ ไตยถูกโคน่ลม้ และระบอบการเมืองกลับไปเปน็ เผด็จการอกี ดงั นัน้ ความเขม้ แข็งของระบอบประชาธปิ ไตย (democraticconsolidation) จงึ กลายเป็นประเดน็ ทีม่ คี วามสําคญั และมคี วามเกย่ี วขอ้ งโดยตรงกบั การทําใหร้ ะบอบประชาธิปไตยไม่ถูกลม้ ล้างในทรรศนะของนักวิชาการตอ่ ความเข้มแขง็ ของระบอบประชาธปิ ไตย อนั เดรส เชดเลอร์ (AndreasSchedler) (1998: 91-98) มองว่าต้งั แตเ่ รม่ิ แรกทมี่ คี วามสนใจในประเดน็ นี้กัน ความเข้มแข็งของระบอบประชาธิปไตยหมายถงึ ความทา้ ทายในการทาํ ให้ประชาธปิ ไตย ซงึ่ เพง่ิ นาํ มาใชม้ ีความม่ันคง มีอายุยาวนานปอู งกันการคกุ คามจาก ฝุายอํานาจนิยมและการย้อนกลับไปเปน็ ระบอบเผดจ็ การเนื่องจากปญั หาความเข้มแข็งและเงือ่ นไขความเข้มแขง็ จงึ เปน็ เหตนุ ําเอาแนวคิดรวบยอด (concept) ตา่ งๆ เขา้ มารวมไว้ ดงั การกระจายอาํ นาจ การนํากลไกประชาธิปไตยทางตรงมาใช้ การปฏิรูปศาล และการขจัดความยากจน เปน็ ตน้ อนัเป็นผลใหค้ วามหมายความเขม้ แข็งของระบอบประชาธปิ ไตยคลุมเครอื อยา่ งไรก็ตาม เขาก็เห็นวา่ ความเข้มแข็งของระบอบประชาธิปไตยกค็ ือ การหลีกเลี่ยงการล่มสลายของระบอบประชาธปิ ไตย (avoidingdemocratic break down) และการหลีกเลย่ี งการผุกร่อนของระบอบประชาธปิ ไตย (avoiding democraticerosion)สาํ หรบั จอู นั ลนิ ซ์ (Juan J. Linz) และอลั เฟรด สตีพาน (Alfred Stepan) (1996: 5-6) ให้ความหมายความเขม้ แขง็ ของระบอบประชาธิปไตยว่าคอื สภาวะทางการเมอื งท่ีประชาธิปไตยกลายเป็นกติกาเดียวในสงั คม (the only game in town) การท่ีจะบรรลเุ ปูาหมายดงั กลา่ วได้ ถ้าพจิ ารณาในดา้ นพฤติกรรม กต็ ้องไม่มีกลุม่ การเมอื งใดพยายามโคน่ ล้มระบอบประชาธิปไตย ในด้านเจตนคติ เมอื่ เผชิญวิกฤตการเมืองและเศรษฐกจิ ประชาชนส่วนใหญ่ต้องเชอื่ วา่ การเปลย่ี นแปลงทางการเมือง ต้องเกดิ ขึน้ ภายใต้กติกาประชาธปิ ไตยและในด้านรัฐธรรมนญู ตวั แสดงในองค์กรการเมืองต้องถือปฏบิ ตั ิจนเปน็ นสิ ัยว่าความขดั แยง้ ทางการเมอื งตอ้ งแก้ไขตามปทัสถานทย่ี อมรับ และการละเมิดปทัสถานถือว่าไม่กอ่ ประสทิ ธผิ ลและยังเป็นบทเรียนราคาแพงนอกจากนน้ั ไดม้ ผี ใู้ ห้มุมมองที่กวา้ งวา่ ระบอบประชาธิปไตยทเ่ี ข้มแขง็ คอื การทรี่ ะบอบมีลักษณะทค่ี รบถ้วนตามเกณฑ์ของประชาธปิ ไตย และกล่มุ การเมอื งท่ีสําคัญตา่ งใหก้ ารยอมรบั สถาบนั การเมอื ง และเชื่อมน่ั ตอ่กฎเกณฑ์ประชาธิปไตย (Burton, Gunther and Higley 1995: 3)ถ้ายึดถือตามความเหน็ ของโรเบริ ต์ ดาห์ล (Robert Dahl) (1971: 1-3) ระบอบการเมืองท่ีถอื ว่าเป็นประชาธปิ ไตย ต้องมอี งคป์ ระกอบหรือกฎเกณฑ์ 8 ประการ คอื เสรีภาพในการกอ่ ตง้ั และเข้าร่วมเป็น แนวทางการพัฒนาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 64 태국 내 한국학 발전 현황

สมาชิกกลมุ่ เสรีภาพในการแสดงความคดิ เห็น สทิ ธใิ นการลงคะแนนเสียง การได้รับโอกาสเทา่ เทียมกนั ในการดาํ รงตาํ แหน่งสาธารณะ สิทธิของผนู้ าํ การเมอื งในการแขง่ ขนั หาความสนับสนนุ หรือคะแนนเสียงความสามารถในการเขา้ ถึงแหล่งขอ้ มูลขา่ วสารที่เปน็ ทางเลอื กต่างหากจากของรัฐ การเลือกตัง้ ท่ีต้องจดั ขึน้อยา่ งเสรแี ละยุตธิ รรม และนโยบายของรัฐบาลต้องเปน็ ไปตามคะแนนเสียงสนบั สนนุ และความตอ้ งการของประชาชนแตห่ ากพจิ ารณาประชาธปิ ไตยในอกี มุมมองหนึ่ง โดยดทู ีก่ ารจัดประเภทของประชาธปิ ไตย ตามที่จอห์น ไดร์เซก (John S. Dryzek) (2004: 143-145) ได้นาํ เสนอไว้ ก็พบว่ามกี ารนาํ คาํ คณุ ศพั ท์ (adjectives)มาขยายประชาธิปไตยมากถึง 45 คุณศพั ท์ เชน่ ทนุ นยิ ม (capitalist) พฒั นา (developmental) พหุนยิ ม(pluralist) และสดุ โตง่ (radical) เป็นต้น ซงึ่ การจัดลักษณะประชาธปิ ไตยจากคุณศัพท์ดังกลา่ ว ก็ไมไ่ ดล้ ะเอยี ดถีถ่ ้วน และการถกเถยี งเก่ยี วกับการพฒั นาประชาธิปไตย ก็ถือวา่ ยังไมไ่ ด้จบส้ิน นอกจากนนั้ เขาได้ใหค้ วามเห็นวา่ แม้ประชาธปิ ไตยมีหลายลักษณะ แตส่ าํ หรับเขาแล้วประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ (deliberativedemocracy) ถือวา่ เปน็ หนง่ึ ในบรรดาประชาธิปไตยท่ีโดดเด่นมาตงั้ แต่ตน้ ทศวรรษท่ี 1990ใน การศกึ ษาการสร้างเสริมพลงั การเมืองใหป้ ระชาชนในสมัยรัฐบาลคิมแดจงุ และโนมูเฮียนน้นัผูเ้ ขียนนาํ แนวคิดประชา ประชาธปิ ไตยแบบปรึกษาหารอื ตามท่ีนกั วิชาการเสนอไวม้ าใชใ้ นการ ศกึ ษาซึ่งมีหลักการสาํ คัญว่าองคก์ รการเมอื งสามารถสรา้ งความชอบธรรมใหแ้ กข่ ้อกาํ หนดและเง่อื นไขตา่ ง ๆ ได้ โดยผ่านกระบวนการโต้แยง้ จากสาธารณะ และการใชเ้ หตผุ ลของประชาชนอย่างเทา่ เทียมกนั ประชาชนสามารถค้นหาผลประโยชนข์ องเขาได้ลว่ งหน้า และคน้ พบเหตุผลทสี่ ามารถใช้รว่ มกนั กอ่ นการตดั สนิ หรอื พจิ ารณาวา่ มเี หตผุ ลในการใชอ้ ํานาจการเมอื ง ดังน้นั ความชอบธรรมจงึ เปน็ ผลของการปรกึ ษาหารอื ร่วมกนั แตก่ ไ็ ม่จําเป็นตอ้ งหมายความถึงการมีส่วนร่วมโดยตรง (Invison2010: 359-360) นอกจากนนั้ นักวิชาการบางส่วนทส่ี นบั สนนุแนวคิดประชาประชาธิปไตยแบบปรกึ ษาหารือ กไ็ ด้เสนอมมุ มองอีกวา่ พ้ืนท่ีสาธารณะท่ไี มเ่ ปน็ ทางการและไมม่ ีโครงสร้าง ซ่ึงประชาชนสามารถถกเถยี งและสอ่ื สารกนั ในบางครัง้ สามารถบรรลุถงึ ความเข้าใจร่วม และการสร้างมตสิ าธารณะรว่ มกัน (Dryzek et al. 2010: 354)ประชาธิปไตยแบบปรกึ ษาหารือจึงแตกตา่ งจากวิสัยทัศนป์ ระชาธิปไตยที่ยอมรบั ประชาธปิ ไตยแบบตัวแทน (representative democracy) ซงึ่ การตดั สนิ ใจต่างๆ วางอยบู่ นหลกั การเสียงขา้ งมาก เพราะประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารอื ในการหาข้อสรุป การกําหนดปัญหา และแนวทางการแกไ้ ข ตอ้ งกระทําอย่างเปดิ กวา้ ง ประชาชนมสี ว่ นรว่ ม และการใช้เหตผุ ลในการหาข้อสรปุ (Della Porta 2013: 84)ส่วนอกี แนวคิดหนงึ่ ท่ีใช้ในการศึกษา คือ ประชาธปิ ไตยแบบมีส่วนรว่ ม (participatorydemocracy) แมม้ ีการกลา่ วว่าแนวคิดประชาประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารอื ไดเ้ ข้ามาแทนทป่ี ระชาธิปไตยแบบมสี ว่ นร่วมในทศวรรษท่ี 1990 แต่สาํ หรบั เจฟฟรียฮ์ ิลเมอร์ (Jeffrey D. Hilmer) (2010: 43-49) กลบั มองว่าสถานะทฤษฎีประชาธิปไตยแบบมสี ว่ นร่วมดูออ่ นลงในช่วงเร่มิ ต้นศตวรรษที่ 21 แตใ่ นอีก 10 ปถี ดั ไป ก็อาจเข้มแข็งขึ้น เขายงั มองอกี ว่าแม้ ประชาประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารอื เน้นการมสี ่วนร่วมของประชา ชน โดยผา่ นการปรกึ ษาหารือ แต่ในด้านขอบเขตแลว้ ดแู คบ เพราะให้ความสนใจอยูท่ ภี่ าคส่วนของสังคม (sectors of แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 65 태국 내 한국학 발전 현황

society) แบบดัง้ เดิมทีเ่ ขา้ ใจวา่ เป็นด้านการเมือง แต่ประชาธปิ ไตยแบบมีส่วนร่วมได้สนใจนอกเหนือไปจากภาคส่วนดงั กล่าว ดังเช่นครัวเรอื นและสถานทท่ี าํ งานอาจกล่าวได้ว่าเม่อื เกาหลใี ตก้ ้าวพน้ ระบอบอาํ นาจนิยม ระบอบประชาธิปไตยของเกาหลีใต้ไมไ่ ดอ้ ยู่ในลักษณะประชาธปิ ไตยแบบชนชน้ั นาํ (elite democracy) ท่ีชนชั้นนาํ เมื่อได้รับชัยชนะใน การเลอื กต้ังแลว้การตัดสนิ ใจตา่ งๆ ไม่ต้องคํานึงถงึ ประชาชน หรือประชาชนไมไ่ ด้มีอิทธิพลหรอื มสี ว่ นรว่ มเลย แต่การที่ผ้นู าํเกาหลีใตใ้ นยุครฐั บาลก้าวหนา้ เนน้ การมีส่วนรว่ มของประชาชนในการตัดสินใจ หรือตรวจสอบการบรหิ ารงานของรฐั บาล ทัง้ ในระดบั ชาตแิ ละระดับท้องถน่ิ จงึ ถอื เปน็ การเสริมสรา้ งพลังการเมอื งให้แกป่ ระชาชน ซ่งึ เน้ือหาในสว่ นถัดไปจกั ได้นาํ เสนอรายละเอยี ด โดยใช้ แนวคดิ ประชา ประชาธปิ ไตยแบบปรกึ ษาหารอื และประชาธิปไตยแบบมสี ่วนร่วมเป็นกรอบในการศกึ ษาการเปล่ียนผ่านส่ปู ระชาธปิ ไตยของเกาหลใี ต้ความแตกตา่ งด้านอุดมการณแ์ ละระบอบการเมอื งในเกาหลเี หนอื และเกาหลใี ต้ นับตัง้ แต่การสถาปนาเกาหลเี หนอื และเกาหลใี ตใ้ น ค.ศ. 1948 นอกจากกอ่ ใหเ้ กดิ การเผชญิ หน้าระหวา่ งเกาหลีทั้งสองและมหาอํานาจท่หี นนุ หลังแต่ละฝาุ ยแล้ว ความขดั แยง้ ในคาบสมทุ รเกาหลที ่นี าํ ไปสสู่ งครามเกาหลีระหว่าง ค.ศ.1950-1953 ยังสง่ ผลตอ่ การเมอื งภายในของเกาหลเี หนือและเกาหลีใตด้ ว้ ย สาํ หรบั ในสว่ นของเกาหลีใต้ประธานาธบิ ดีอีซึงมัน (Syngman Rhee) ปักจองฮี (Park Chung-hee)และชอนดฮู วาน (Chun Doo-hwan)ตา่ งใชส้ ถานการณ์ความขัดแย้งทมี่ อี ยกู่ บั เกาหลเี หนอื อา้ งถงึ ความจาํ เปน็ ในการเพม่ิ อาํ นาจใหก้ ับผู้นาํ และรัฐบาล เพื่อจัดการภยั คุกคามจากเกาหลเี หนอื ดังการประกาศใชก้ ฎหมายความมั่นคงแห่งชาติ (NationalSecurity Law) ในสมยั รฐั บาลอีซงึ มนั และปกั จองฮี แต่ในข้อจรงิ กลับเป็นการใชอ้ าํ นาจตามท่กี ฎหมายกาํ หนดในการปราบปรามผตู้ ่อตา้ นรัฐบาล หรือไม่กผ็ ู้มคี วามคิดเหน็ แตกต่างจากรฐั บาล เพราะบคุ คลเหล่านสี้ ามารถสร้างความสั่นคลอนใหแ้ ก่ผูน้ าํ หรือไม่กท็ าํ ให้คะแนนนิยมในรัฐบาลลดลง นอกจากน้นั ผนู้ าํ การเมอื งยงั ใช้อาํ นาจและวิธกี ารทฉ่ี อ้ ฉลในการแกไ้ ขรฐั ธรรมนญู เพ่ือใหอ้ ย่ใู นตาํ แหนง่ โดยไมจ่ าํ กัดวาระ ดังกรณีประธานาธบิ ดีอซี งึ มันและปักจองฮีภายใต้การเรง่ รดั พัฒนาประเทศตามแผนระยะหา้ ปขี องประธานาธบิ ดปี กั จองฮี ซึง่ ไดเ้ ร่มิ ต้นในค.ศ. 1962 ก่อใหเ้ กิดการเปลยี่ นแปลงด้านเศรษฐกิจและสงั คม ประชาชนในชนบทอพยพเขา้ ส่เู มอื งเพื่อทํางานในโรงงานและสถานประกอบการ รายได้ระหว่างประชาชนในชนบทกบั ในเมอื งมคี วามแตกตา่ งกันมาก ความเป็นเมืองขยายตัว และคณุ ภาพชีวิตของผู้อยู่อาศยั ในเมืองดีกว่าในชนบท รฐั บาลปกั จองฮจี งึ จําเป็นตอ้ งแกไ้ ขปัญหาดงั กลา่ ว ด้วยการริเร่มิ การพฒั นาชนบทแบบบรู ณาการหรือ แซมาอึลอนุ ดง (SaemaulUndong) ในตน้ทศวรรษท่ี 1970 กอปรกบั ใน ค.ศ. 1971 รัฐบาลปักจองฮไี ดเ้ ร่งรัดการพฒั นาอุตสาหกรรม ด้วยนโยบายส่งเสรมิ อุตสาหกรรมหนักและอุตสาหกรรมเคมี (Heavy and Chemical Industries-HCIs) อันทําให้เกาหลใี ต้พฒั นาไปสูก่ ารเป็นประเทศอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็วในทศวรรษที่ 1980 แนวทางการพัฒนาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 66 태국 내 한국학 발전 현황

การพฒั นาทีเ่ รม่ิ ต้นมาตง้ั แต่รฐั บาลอีซึงมนั ด้วยความช่วยเหลอื หลกั จากสหรฐั อเมรกิ าการวางรากฐานดา้ นการศึกษาและการปฏริ ูปทดี่ นิ กอปรกบั การพฒั นาตามแนวทางที่ชน้ี ําโดยรัฐ(developmental state) ในยุครัฐบาลปักจองฮีไดก้ อ่ ใหเ้ กดิ กล่มุ บคุ คลอันหลากหลายสาขาอาชีพข้นึ ในสงั คมไดแ้ ก่ นกั เรียน นักศกึ ษา ครอู าจารย์ คนชั้นกลาง ผ้ใู ช้แรงงาน นักธุรกจิ และขา้ ราชการ เป็นตน้ โดยบคุ คลบางกลมุ่ ผ่านการศึกษาอบรมในหลากหลายสาขา มตี ําแหนง่ งานและรายไดส้ งู ขณะทบี่ างกลุม่ ถกู เอารดั เอาเปรียบด้านรายได้ สวสั ดิการ และสภาพแวดล้อมในการทาํ งาน ดงั กรณีของผู้ใช้แรงงานในโรงงาน ทไ่ี ม่สามารถรวมกลมุ่ เป็นสหภาพแรงงาน เพ่อื ตอ่ รองค่าจา้ งและเรยี กร้องสวสั ดกิ าร เพราะรฐั บาลเหน็ วา่ จะเปน็ เหตุให้ต้นทุนการผลติ สนิ คา้ สูงขึ้น และก่อผลกระทบต่อการสง่ ออก เนอ่ื งจากราคาสนิ ค้าต้องสงู ข้ึนตามต้นทุนการผลิตในทา่ มกลางการเติบโตของกลุ่มบคุ คลในหลากหลายสาขาอาชพี แต่รัฐบาลกลับใชว้ ิธีการควบคุมและจํากัดสทิ ธเิ สรภี าพ เพราะคาํ นึงถงึ แต่การรกั ษาอาํ นาจของผนู้ ํา ด้วยเหตนุ ้ี ความไม่พอใจของกล่มุ บคุ คลดงั กล่าว จึงนาํ ไปสู่การรวมพลงั ในการต่อรอง การเฝาู ตดิ ตามการบรหิ ารงานของรฐั บาล และการเสนอความตอ้ งการและข้อเรยี กรอ้ งต่างๆ ทั้งเพอื่ แก้ไขปัญหาของกลุ่มและของส่วนรวม การทจุ ริตการเลือกต้ังของประธานาธิบดอี ซี งึ มันใน ค.ศ. 1960 ได้ถกู ตอบโต้จากนกั ศกึ ษา ครอู าจารย์ และประชาชน โดยการชุมนุมขับไล่ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1960 แม้รัฐบาลได้ใชค้ วามรนุ แรงในการปราบปราม แตก่ ไ็ มส่ ามารถทดั ทานพลงั ของผชู้ ุมนมุ ได้ ในทีส่ ดุ ประธานาธบิ ดอี ซี ึงมันตอ้ งลาออกจากตาํ แหนง่ ถัดมาในสมยั ประธานาธบิ ดีปกั จองฮีการรฐั ประหารในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1961 ทําใหน้ ายพลปกั จองฮีกา้ วเข้าสตู่ ําแหนง่ ประธานาธบิ ดีเกาหลีใต้ถงึ แมใ้ นชว่ งเขาเปน็ ผูน้ าํ สามารถทําให้เกาหลีใตพ้ น้ จากสถานะประเทศทีย่ ากจน แต่เขากเ็ ปน็ ผ้นู ําทม่ี อี าํ นาจแบบเบ็ดเสร็จ ดงั การแกไ้ ขรัฐธรรมนูญคร้งั ท่ีเจด็ ซ่งึ ประกาศใช้ใน ค.ศ. 1972 หรือท่ีรู้จักกนั ในชือ่ รัฐธรรมนญูยูซนิ (YushinConstitution) ซง่ึ กาํ หนดให้ประธานาธบิ ดมี าจากการเลือกตั้งทางออ้ ม ไม่จาํ กดั วาระการดํารงตําแหน่ง และสมาชกิ สมชั ชาแห่งชาติสว่ นหนง่ึ มาจากการแต่งตัง้ แม้ได้เกิดการชมุ นุมตอ่ ต้านรัฐธรรมนูญยูซนิและการเรียกรอ้ งประชาธปิ ไตยของกลุม่ พลังทางการเมอื งและสังคมแตก่ ็ถูกปราบปรามจากรัฐบาล จวบจนประธานาธิบดปี ักจองฮถี กู สังหารใน ค.ศ. 1979 (วิเชยี ร อินทะสี, 2556: 67-105)เมือ่ ส้ินสมัยประธานาธิบดีปักจองฮี ทหารยังคงสืบทอดอํานาจการเมืองตอ่ โดยกองทัพได้ใช้กาํ ลงัเข้าสลายการชมุ นุมเรยี กรอ้ งประชาธปิ ไตยท่ีควางจใู นเดอื นพฤษภาคม ค.ศ. 1980 แตก่ ไ็ มส่ ามารถสลายการรวมตัวและเครือขา่ ยของกลุ่มตา่ งๆ ที่เรยี กร้องประชาธิปไตยได้ ท่ามกลางการเปลีย่ นแปลงท่เี กิดขน้ึ จากผลการพฒั นาประเทศนบั ตัง้ แตท่ ศวรรษที่ 1960 เป็นต้นมา ซงึ่ ก่อใหเ้ กิดประชาสังคม (civil society) กลมุ่ ตา่ งๆทต่ี อ้ งการมสี ่วนร่วมในการตดั สนิ ใจ การตรวจสอบรัฐบาล และการให้รัฐบาลต้องรบั ผดิ ชอบตอ่ ประชาชน จงึนาํ ไปสูก่ ารชมุ นุมใหญใ่ นเดือนมถิ นุ ายน ค.ศ. 1987 ขนึ้ ทว่ั ประเทศ เพอื่ ให้รฐั บาลปฏิรูปการเมอื งตามแนวทางประชาธิปไตย ซ่ึงรัฐบาลของประธานาธบิ ดีชอนดฮู วานจาํ ตอ้ งยอมรบั ขอ้ เสนอดงั กล่าว อนั นําไปสู่การแกไ้ ขรฐั ธรรมนญู ครั้งที่เกา้ ซ่งึ ประกาศใช้ในเดือนตุลาคมปีเดยี วกัน โดยมสี าระสําคัญ คอื ประชาชนไดร้ ับหลกั ประกนั ดา้ นสิทธเิ สรภี าพ ประธานาธิบดอี ยู่ในตาํ แหน่งห้าปีและเป็นได้วาระเดียว ประชาชนเปน็ ผู้เลือกต้ังประธานาธิบดี สมัชชาแห่งชาติมอี ํานาจตรวจสอบรฐั บาล และการส่งเสรมิ กระจายอํานาจสูท่ ้องถิน่ เปน็ ตน้ แนวทางการพฒั นาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 67 태국 내 한국학 발전 현황

การสร้างความเขม้ แขง็ ใหร้ ะบอบประชาธปิ ไตยในเกาหลใี ต้ถ้ายึดถอื ตามความเหน็ ของลินซแ์ ละสตพี าน ความเข้มแขง็ ของระบอบประชาธิปไตยคือสภาวะทางการเมอื งท่ีประชาธิปไตยกลายเปน็ กติกาเดียวในสังคม โดยไม่มีกลมุ่ การเมอื งใดพยายามโค่นล้มเม่อื เผชิญวิกฤตการเมอื งและเศรษฐกจิ ประชาชนส่วนใหญเ่ ชื่อวา่ การเปล่ียนแปลงทางการเมอื ง ตอ้ งเกดิ ข้ึนภายใต้กติกาประชาธปิ ไตยและความขัดแยง้ ทางการเมอื งตอ้ งแกไ้ ขตามปทสั ถานท่ยี อมรับย่อมถอื ได้วา่ ระบอบประชาธิปไตยในเกาหลีใตม้ คี วามเขม้ แข็ง หรอื ก็ไม่อยใู่ นสภาวะลม้ ลุกคลกุ คลานเหมอื นในบางประเทศ เพราะต้งั แตค่ วามเปน็ ประชาธิปไตยหย่งั รากในสังคมเกาหลีใต้ เม่อื มีการแกไ้ ขรฐั ธรรมนญู ใหเ้ ป็นประชาธิปไตยในค.ศ. 1987 เปน็ ตน้ มากองทพั ไม่ได้ก่อการรฐั ประหารเพ่อื ยดึ อาํ นาจการเมืองอีก การเลอื กตง้ั ประธานาธบิ ดีสมาชิกสมชั ชาแห่งชาติ และการเลือกตงั้ ผูบ้ ริหารและสมาชกิ สภาท้องถน่ิ เกิดขึ้นอยา่ งสมา่ํ เสมอเม่ือผ้ดู าํ รงตําแหน่งส้ินสุดวาระ ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพ สื่อสารมวลชนมอี ิสระในการปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ การตรวจสอบรฐั บาลทัง้ ในระดบั ชาติและระดบั ท้องถิ่นสามารถกระทําได้ อนั ถือว่าแตกตา่ งอยา่ งชัดเจนกบั ยุคอาํ นาจนยิ มกลา่ วโดยทวั่ ไป ความเขม้ แขง็ ของระบอบประชาธิปไตยถอื ว่าข้ึนอยกู่ ับหลายปัจจยั แตก่ รณีของเกาหลีใต้นน้ั ประชาสงั คมถอื เปน็ ปัจจัยที่สําคญั มาก ดงั ในช่วงกอ่ นการปฏริ ปู การเมอื งใน ค.ศ. 1987 กลมุ่ต่อต้านรัฐบาลหรือ แชยา (jaeya) อนั ประกอบดว้ ยขบวนการเคลื่อนไหวของนกั ศึกษา นกั การเมอื ง นักเขียนและนักกฎหมาย รวมทั้งกลุม่ องคก์ รทางศาสนา กลุ่มผใู้ ชแ้ รงงาน และประชาชนท่วั ไป ไดก้ ดดันใหร้ ัฐบาลปกัจองฮแี ละชอนดฮู วานให้สิทธเิ สรีภาพในด้านตา่ ง ๆ แก่ประชาชน แมเ้ ผชญิ การปราบปรามในรปู แบบต่าง ๆ แต่ในทีส่ ุดการต่อสู้ไดป้ ระสบความสาํ เรจ็ เม่ือเกิดการชมุ นุมใหญใ่ นเดือนมิถนุ ายน ค.ศ. 1987 ถงึ แม้ระบอบการเมอื งเกาหลใี ตเ้ ปน็ ประชาธปิ ไตยแลว้ แตป่ ระชาสงั คมกย็ ังคงเคลื่อนไหวต่อ โดยได้เนน้ การสรา้ งความเปน็ธรรมในสงั คม ด้วยการกําหนดเป็นบรรทัดฐานว่าแม้ผู้กระทําผิดดาํ รงตําแหนง่ สาํ คัญ แต่หากใช้อาํ นาจโดยมิชอบ ก็ตอ้ งรับผิดเหมอื นกับบคุ คลทั่วไป (Kim 2007: 60) สําหรับประเดน็ การเคลือ่ นไหวหลกั ในยุคหลงั การชุมนุมใหญใ่ นเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1987ก็คอื แรงงาน การตอ่ ตา้ นการปราบปรามของรฐั บาล และการวพิ ากษ์วิจารณ์รัฐบาลในดา้ นคุณปู การของประชาสังคมทม่ี ีตอ่ การสรา้ งความเขม้ แข็งใหแ้ ก่ระบอบประชาธิปไตยนน้ัในทรรศะของลารร์ ี ไดอมอนด์ (Larry Diamond) (1994: 7-11) ถือว่ามคี วามสมั พันธ์กนั กล่าวคือ ประชาสงั คมช่วยตรวจสอบการกระทําทอ่ี าจเปน็ การใชอ้ ํานาจโดยมชิ อบของรัฐบาล การกระตุ้นใหป้ ระชาชนเข้าไปมีสว่ นรว่ มทางการเมือง การพัฒนาคา่ นิยมประชาธปิ ไตย การแสดงออก การรวบรวม และการเปน็ ตัวแทนของความตอ้ งการและผลประโยชน์ การให้การเรยี นรู้และการฝกึ ฝนผนู้ าํ การเมอื งรุ่นใหม่ การเผยแพรข่ ้อมลูข่าวสาร อนั จะช่วยประชาชนดา้ นการแสดงออกการปกปูองประโยชนแ์ ละคณุ ค่าของตนเอง การผลักดันใหเ้ กดิการปฏิรปู เศรษฐกจิ และการชว่ ยให้ระบบการเมืองมีความรับผดิ ชอบ และการมคี วามชอบธรรมมากขนึ้ ในขณะเดยี วกันก็ทาํ ให้ประชาชนเชื่อถือและผกู พันกบั ระบอบการเมอื ง แนวทางการพัฒนาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 68 태국 내 한국학 발전 현황

จากบทบาทของประชาสังคมในเกาหลีใต้ทีด่ ําเนนิ ไปอย่างตอ่ เนอ่ื ง แมป้ ระเด็นสาํ คญั ไมใ่ ชก่ ารเรยี กรอ้ งสิทธิเสรภี าพ และการโคน่ ลม้ ระบอบอํานาจนิยมเชน่ ในอดีต แตป่ ระเดน็ การเรียกรอ้ งอื่นไดถ้ ือเป็นการสร้างความเข้มแขง็ ใหร้ ะบอบประชาธิปไตยเช่นกนั ดังการเรยี กรอ้ งใหน้ ําบคุ คลทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั การปราบปรามประชาชนทีค่ วางจูมาลงโทษ ซ่งึ เปน็ ผลให้อดตี ประธานาธิบดีชอนดฮู วาน โนแทอู และนายทหารระดับสูง ถกูศาลพพิ ากษาลงโทษ รวมทัง้ กรณีการทจุ รติ ระหว่างนกั การเมือง ขา้ ราชการกบั กลมุ่ ธุรกิจขนาดใหญห่ รอืแชบอล (jaebol) ความสําเรจ็ นร้ี ะยะเวลาการตอ่ สไู้ ด้ยาวนานถึงสามรฐั บาล ซึง่ สว่ นหน่งึ สะท้อนใหเ้ ห็นถงึ พลงัของฝุายอาํ นาจนยิ มท่ียงั หลงเหลอื อยู่ ในกรณีน้ีหากเป็นยุครฐั บาลเผดจ็ การ ย่อมเป็นการยากในการดาํ เนนิ การใหบ้ รรลุเปาู หมายดังนั้น พลงั ของประชาชนและประชาสังคม จงึ เป็นสิ่งทผี่ ูน้ ําการเมืองและรัฐบาลในยุคการเปลี่ยนผา่ นสู่ประชาธิปไตยไม่อาจมองข้ามได้ เพราะการอย่ใู นตาํ แหน่งถอื วา่ ขน้ึ อยู่กับการสนับสนนุ ของประชาชน ไม่ใช่การใชอ้ าํ นาจบงั คบั และการปราบปราม ขณะเดียวกัน กตกิ าของประชาธปิ ไตยได้กําหนดให้ประชาชนสามารถตรวจสอบ และถ่วงดลุ อํานาจนักการเมืองและรัฐบาลได้การสร้างเสริมพลังการเมืองใหป้ ระชาชนของรัฐบาลคมิ แดจุงและโนมเู ฮียนการเขา้ ดาํ รงตําแหนง่ ประธานาธบิ ดีของคิมแดจุงเม่ือเดือนกมุ ภาพันธ์ ค.ศ. 1998 ถือเป็นการเปิดมิตใิ หม่บางแงม่ ุมการเมืองของเกาหลีใต้ เน่อื งจากคมิ แดจงุ เป็นนักต่อสเู้ พือ่ ประชาธปิ ไตยเชน่ เดียวกับคิมยองซัม (Kim Young-sam) ซง่ึ ดาํ รงตาํ แหนง่ ผนู้ ําเกาหลใี ตก้ อ่ นหนา้ เขาแตค่ มิ แดจุงถอื วา่ เป็นผมู้ แี นวความคดิก้าวหน้ามากกว่า โดยเคยลงสมคั รรบั เลอื กตง้ั ประธานาธบิ ดีแขง่ กบั ปักจองฮีใน ค.ศ. 1971 แม้พ่ายแพ้แต่ก็ได้รบั คะแนนเสยี งสนับสนุนอยา่ งทว่ มทน้ จากผู้ลงคะแนนเสยี งในเขตเมือง ดังนน้ั ในฐานะนักการเมืองแนวกา้ วหนา้ นโยบายทป่ี ระธานาธิบดคี ิมแดจงุ กําหนดและนาํ ไปปฏบิ ัติ จึงมคี วามแตกต่างจากรฐั บาลในช่วงกอ่ นหนา้ อย่างเด่นชัด ดงั การดําเนนิ นโยบายตะวันทอแสง (Sunshine policy) หรอื การผกู สัมพันธ์กบั เกาหลเี หนอืซ่ึงถือเป็นการเปลย่ี นทา่ ทตี อ่ เกาหลเี หนอื โดยมไิ ดม้ องวา่ เกาหลเี หนือเป็นศัตรู เพราะมองว่าประชาชนเกาหลีเหนือ ต่างเป็นคนเกาหลีด้วยกัน การดาํ เนินนโยบายเชน่ นไ้ี ดน้ าํ ไปสกู่ ารประชมุ ระดบั ผนู้ าํ สูงสุดของทัง้ สองเกาหลี คือ ประธานาธบิ ดคี มิ แดจงุ และคมิ จองอลิ (Kim Jong-il) ใน ค.ศ. 2000 อนั นํามาซงึ่ การลดความตงึเครียด ความรว่ มมือและการแลกเปลี่ยนดา้ นการคา้ การลงทนุ สังคมและวฒั นธรรม และเมอ่ื โนมเู ฮียนดํารงตาํ แหน่งผู้นําเกาหลีใต้คนถัดมา เขาก็ไดส้ านต่อนโยบายการสร้างความปรองดองต่อเกาหลีเหนือการเปล่ยี นแปลงดงั กล่าว ได้สะทอ้ นให้เห็นถึงการรบั ฟังเสยี งของประชาชน โดยไม่ใชเ่ ป็นการตดั สนิ ใจของผูน้ ําทสี่ ะทอ้ นความคดิ ของกองทพั เหมอื นในอดตี ซ่งึ มองเกาหลเี หนอื เปน็ ภัยคกุ คาม จึงจาํ เปน็ ต้องดําเนนิ นโยบายตอ่ ตา้ นคอมมวิ นสิ ต์ (anti-Communism) และต่อตา้ นเกาหลีเหนือ (anti-NorthKorea) ซ่งึ ในยคุ ประธานาธบิ ดีอซี งึ มันและปกั จองฮไี ด้ใช้นโยบายต่อต้านคอมมิวนสิ ต์ เพื่อประโยชน์ของผู้นําการเมอื ง ในการกวาดลา้ งฝาุ ยตรงขา้ มรัฐบาล ด้วยเหตุนเ้ี สยี งเรยี กร้องของประชาชน โดยเฉพาะผทู้ ่ีมีแนวคดิก้าวหนา้ ในสมยั รัฐบาลคิมแดจุงและโนมูเฮียนกค็ อื การทบทวนหรือไมก่ ย็ กเลิกกฎหมายความมน่ั คงแห่งชาติเพ่อื ปอู งกันการใช้อํานาจในทางมชิ อบของเจ้าหน้าที่รฐั และเพ่ือสอดคล้องกบั บรรยากาศการปรองดองระหว่างแนวทางการพฒั นาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 69 태국 내 한국학 발전 현황

สองเกาหลี ซง่ึ ทั้งประธานาธิบดคี ิมแดจุงและโนมูเฮียนตา่ งกเ็ หน็ ด้วย นอกจากนัน้ ประธานาธบิ ดโี นมเู ฮยี นยังมีนโยบายในการชาํ ระสะสางสง่ิ ผดิ พลาดในประวตั ิศาสตร์ โดยเฉพาะการกระทําของกลุ่มบคุ คลทใ่ี หก้ ารสนับสนุนญี่ปุนในชว่ งการยดึ ครองเกาหลีเป็นอาณานิคม การกระทาํ ผิดช่วงรัฐบาลเผด็จการ และการปูองกนัการครอบงําของสือ่ สารมวลชนบางสํานัก (Chang 2009: 174-180)การท่รี ฐั บาลคิมแดจงุ และโนมเู ฮยี นตา่ งประกาศวา่ เป็นรัฐบาลของประชาชน และรฐั บาลแหง่ การมีสว่ นรว่ มตามลาํ ดับน้ัน ผนู้ ํารัฐบาลทง้ั สองต่างแสดงเจตนารมณ์ว่าทงั้ รัฐบาลและพรรคการเมืองของเขาตอ้ งเปน็มิตรกบั คนธรรมดาหรือ ซอมนิ (somin) คนชนั้ กลางและคนช้ันล่าง ซึ่งในสว่ นนโยบายเศรษฐกจิ ไดเ้ นน้ ทั้งการสรา้ งความเติบโตทางเศรษฐกิจและการกระจายรายได้ แทนการเน้นความเติบโตทางเศรษฐกจิ อย่างเดยี วเหมอื นในยุคการพัฒนาท่ชี ี้นําโดยรัฐ นัน่ กค็ อื การใหค้ วามสนใจและการใหส้ วสั ดกิ ารแก่ผ้ใู ชแ้ รงงาน คนวา่ งงานและคนจนเมือง โดยในดา้ นแรงงานเนน้ การเจรจาแทนการควบคุม เนน้ การขยายโครงการสวสั ดกิ ารตา่ ง ๆและการควบคุมการเก็งราคาอสงั หาริมทรัพย์ ในสมัยรฐั บาลคิมแดจุงได้มกี ารใชร้ ะบบไตรภาคใี นการแก้ไขปัญหาแรงงาน และการอนุมตั ิให้สหภาพแรงงานครมู ฐี านะถูกตอ้ งตามกฎหมาย (Chang 2009: 180) จากนโยบายทรี่ ัฐบาลทงั้ สองดาํ เนนิ การ ถอื เปน็ การลดความเหลือ่ มล้ําในสังคม ยกระดับคุณภาพชวี ติ ประชาชนและสร้างความเข้มแข็งใหแ้ กร่ ะบอบประชาธปิ ไตย ในลักษณะที่ประชาชนตา่ งได้รบั ประโยชนจ์ ากบรกิ ารของรัฐสําหรับกรณีการเปิดโอกาสให้ประชาชนเขา้ ร่วมในการตดั สินใจ หรอื การรับฟงั ความคิดเหน็ จากประชาชน นอกเหนอื จากการเลือกต้งั ในระดับประเทศ จงั หวดั และท้องถน่ิ แล้ว ในสมัยรฐั บาลโนมเู ฮยี นได้ประกาศใชก้ ฎหมายประชามติ (Referendum Act) ใน ค.ศ. 2004 ท่กี ําหนดใหอ้ งค์กรปกครองทอ้ งถน่ิ จัดใหม้ ีการลงประชามติในประเด็นสาํ คัญจากประชาชนในพืน้ ที่ ดังตัวอย่างการจดั ลงประชามติเกยี่ วกับทีต่ ้งั ศูนย์กาํ จัดกากนวิ เคลยี ร์ (nuclear waste disposal center) (Kim 2010: 173) โดยหลักการแล้วผู้บริหารทอ้ งถนิ่เป็นผูเ้ สนอพืน้ ท่ีตัง้ ศูนยก์ ําจัดกากนิวเคลียร์ สภาท้องถิน่ เปน็ ผ้ใู หค้ วามเห็นชอบ และตอ้ งผ่านการลงประชามติจากประชาชนในพืน้ ท่ี ในกรณนี ี้มเี มืองเคยี งจู (Gyeongju) คนุ ซาน (Gunsan) ยองดอก (Yeongdeok) และโพฮงั (Pohang) เสนอตวั ผลการลงประชามติใน ค.ศ. 2005 ประชาชนในเมืองเคยี งจูลงคะแนนใหค้ วามเห็นชอบสูงสดุ ในการตอบรับเป็นพื้นทีต่ งั้ ในขณะทก่ี อ่ นหนา้ นนั้ รฐั บาลได้เลอื กเกาะวีโด (Wido) เมืองพอู นั(Buan) จังหวดั ชอลลาเหนือ (North Jeolla) เป็นท่ตี ้ังศูนย์กาํ จดั กากนวิ เคลียร์ แต่ถกู ต่อตา้ นจากประชาชนกลมุ่ เคล่อื นไหวตา่ ง ๆ และประชาสังคมในช่วง ค.ศ. 2003 อนั นาํ ไปสู่การปะทะกนั ระหว่างผู้ต่อตา้ นกบั ตาํ รวจอยูห่ ลายครัง้ (“Massive Actions,” 2003) จนรัฐบาลตอ้ งยกเลกิ และหาท่ตี ั้งแหง่ ใหมแ่ ทนจากกรณดี ังกล่าวยอ่ มเห็นว่าการรับฟงั ความคิดเหน็ และการเปดิ โอกาสให้ประชาชนตดั สนิ ใจ ถอื เปน็ การช่วยลดความขัดแย้งและการเป็นชอ่ งทางสอื่ สารระหวา่ งผูก้ ําหนดนโยบายกบั ผไู้ ด้รบั ผลกระทบนอกจากการให้ประชาชนในท้องถ่ินมีสิทธใิ นการลงประชามติสําหรบั ประเด็นสําคญั แล้ว ในสมยัรฐั บาลโนมูเฮยี นยังรเิ ร่มิ นาํ ระบบการถอดถอนบุคคลท่ีได้รับเลือกตงั้ ออกจากตาํ แหน่ง (citizen recallsystem) มาใช้ เพ่ือส่งเสริมประชาธปิ ไตยในระดบั รากหญา้ ซึง่ สมัชชาแหง่ ชาตไิ ดอ้ นมุ ตั ิและมผี ลในทางปฏิบัติ แนวทางการพัฒนาเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย 70 태국 내 한국학 발전 현황

เม่อื เดอื นพฤษภาคม ค.ศ. 2007 โดยให้อาํ นาจประชาชนในการถอดถอนบุคคลทไ่ี ดร้ ับเลอื กตั้งทั้งในฝาุ ยบริหาร และฝุายสมาชกิ สภาองค์กรปกครองท้องถนิ่ ออกจากตาํ แหน่ง อันเน่ืองมาจากการทุจริต การประพฤติไม่เหมาะสม และการใชอ้ ํานาจเกินขอบเขตโดยกระบวนการถอดถอนเรมิ่ ตน้ ทีป่ ระชาชนในพน้ื ท่ไี มน่ อ้ ยกว่าหนึ่งในสามยน่ื แบบแสดงเจตจํานงถอดถอนตอ่ คณะกรรมการการเลอื กต้ัง ถ้าคะแนนการถอดถอนเกินกวา่ กงึ่หน่ึง ก็จะเปน็ ผลใหผ้ ถู้ กู กลา่ วหาพน้ จากตําแหน่งและต้องจัดการเลือกตงั้ ซอ่ มตอ่ ไป (Lah 2010: 367; Chang2007) ภายหลงั จากระบบการถอดถอนบุคคลออกจากตาํ แหนง่ มีผลบงั คบั ใช้ ประชาชนในเมืองฮานมั (Hanam)จังหวดั เคียงกี (Gyeonggi) ไดด้ ําเนนิ กระบวนการถอดถอนนายกเทศมนตรีและสมาชกิ บางสว่ นของสภาออกจากตาํ แหนง่ เนือ่ งจากมีความขดั แยง้ กับประชาชนในด้านการบริหารงาน แตต่ ่อมาในเดอื นกนั ยายน ค.ศ.2007 ศาลเห็นว่ากระบวนการยน่ื คําร้องไม่สมบูรณ์ จึงได้ส่ังระงับกระบวนการถอดถอน (Kim 2007)กล่าวโดยทว่ั ไป ในระบอบประชาธปิ ไตย ปัญหาและความตอ้ งการของประชาชนถอื เปน็ สิง่ สาํ คัญที่แต่ละรัฐบาลตอ้ งพิจารณาและกาํ หนดเป็นนโยบายเพ่ือการแกไ้ ข แต่ในการนาํ นโยบายไปปฏบิ ตั จิ าํ เปน็ ต้องอาศยั ทรัพยากรในการดําเนนิ การ ดังน้ัน งบประมาณจึงถอื เป็นปัจจยั จาํ เป็นในการทาํ ใหน้ โยบายบรรลุเปาู หมาย แต่การทง่ี บประมาณจะเกอ้ื หนุนความคาดหวังดงั กลา่ วได้ ความโปร่งใสและการมีสว่ นร่วมของประชาชน ในแต่ละขน้ั ตอนของกระบวนการงบประมาณนับเป็นส่งิ สําคัญ เมอ่ื พจิ ารณาพัฒนาการด้านความโปรง่ ใสและการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน ในกระบวนการงบประมาณของเกาหลใี ตน้ น้ั ไดม้ ีผู้แบง่ ออกไว้เป็นสยี่ คุ ไดแ้ ก่ ยคุ มดื (ค.ศ. 1961-1987) เปน็ ยุคการปกครองแบบเผด็จการ และระบบราชการมอี ํานาจ ยคุ ขยบัตัว (ค.ศ. 1987-1997) เปน็ ยคุ พลวัตประชาธปิ ไตย และการเพ่ิมความโปรง่ ใส ยุคพัฒนา (ค.ศ. 1998-2007)เป็นยุคสร้างความเปน็ ปึกแผน่ ในการปฏิรูปกระบวนการงบประมาณ และยคุ เตม็ ตัว (ค.ศ. 2008- ) เปน็ ยุคของการพัฒนาอยา่ งเตม็ ที่ (You and Lee 2013: 112) โดยในยุคพฒั นาตอ้ งถือว่ารัฐบาลคมิ แดจงุ ได้ดําเนนิแผนการปฏริ ูปทส่ี ําคญั โดยเพม่ิ การมีสว่ นรว่ มของประชาชนและความโปร่งใสในกระบวนการงบประมาณดังเช่นการนาํ ระบบสร้างแรงจงู ใจให้แก่ประชาชนมาใชใ้ น ค.ศ. 1998 และใหแ้ กข่ ้าราชการหรือพนกั งานของรฐั ใน ค.ศ. 1999โดยเปูาหมายสําคัญก็คอื การมอบรางวัลใหผ้ ้ทู ี่รายงานการใชจ้ ่ายงบประมาณทไ่ี ม่กอ่ประโยชน์ อันนํามาซึง่ การแก้ไขปรับปรงุ ในขณะเดยี วกนั ก็ให้ความคุ้มครองแก่ผูท้ ชี่ ้เี บาะแส (whistle-blowers) แนน่ อนวา่ การมีส่วนร่วมของประชาชน นอกจากการแก้ไขปัญหาแลว้ ยงั ช่วยปอู งกันขา้ ราชการและนกั การเมืองในการประพฤติมชิ อบอีกด้วยในช่วงรัฐบาลโนมเู ฮียนก็เชน่ เดียวกันกบั รฐั บาลคิมแดจุง ทใ่ี ห้ความสําคัญกบั การเพิ่มการมสี ว่ นร่วมของประชาชนและความโปร่งใสในกระบวนการงบประมาณภายหลงั การเปลีย่ นผา่ นสูป่ ระชาธิปไตยตง้ั แต่ ค.ศ. 1987 เป็นต้นมา จํานวนและบทบาทขององค์กรทไ่ี มใ่ ช่ภาครฐั หรือองค์กรพฒั นาเอกชน (NGOs) ทีเ่ พ่มิ ขน้ึ ไดส้ ่งผลให้การมีส่วนร่วมของประชาชนและความโปร่งใสในกระบวนการงบประมาณขยายตวั สรู่ ะดับท้องถิ่นดังกรณกี ารตรวจสอบค่าใชจ้ ่ายดา้ นธุรกิจ(business expenses) ซ่ึงในกรณีเกาหลใี ต้ ไดม้ คี ่าใชจ้ ่ายดา้ นธุรกิจปรากฏอยใู่ นงบประมาณของกระทรวงและองคก์ รปกครองทอ้ งถน่ิ การใชจ้ า่ ยขนึ้ อย่กู บั ดลุ ยพนิ ิจ ในอดตี ค่าใชจ้ ่ายในส่วนนีม้ ักเป็นคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดัเลยี้ งอาหาร ซ่งึ ไมม่ กี ฎระเบียบและการตรวจสอบ ดังนัน้ จึงมกั ไมป่ รากฏรายชื่อผ้เู ข้าร่วมการจดั เลย้ี งอาหาร แนวทางการพัฒนาเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย 71 태국 내 한국학 발전 현황

และใบเสรจ็ การใชจ้ า่ ย จงึ กลายเปน็ ช่องทางให้รฐั มนตรี ผวู้ ่าราชการจังหวัด และนายก เทศมนตรี นําไปใชใ้ นงานที่ไม่ใช่ราชการ หรอื เลย้ี งดหู ัวคะแนนในเขตการเลือกต้งั กรณีดังกล่าวน้ี พนั ธมิตรประชาชนเพือ่ประชาธิปไตยแบบมสี ่วนร่วม (People’s Solidarity for Participatory Democracy-PSPD) ได้ยื่นฟอู งนายกเทศมนตรีมหานครโซลต่อศาลเพ่อื ให้แสดงรายละเอียดคา่ ใชจ้ า่ ยด้านธรุ กิจ และใน ค.ศ. 2004 ศาลฎีกาได้มีคาํ พพิ ากษาให้นายกเทศมนตรมี หานครโซล แสดงสาํ เนาใบเสร็จและค่าใช้จา่ ยดังกล่าวใหแ้ ก่ผู้ฟูองและในปีถัดมาก็ได้มีกรณกี ารย่นื ฟูองในลักษณะเดียวกันเกิดขนึ้ ในพ้ืนทอ่ี นื่ ๆ (You and Lee 2013: 113-114) อน่ึง ในบรรดาประชาสังคมของเกาหลีใต้ ตอ้ งถอื ว่าพนั ธมิตรประชาชนเพือ่ ประชาธิปไตยแบบมสี ว่ นร่วม (PSPD) เป็นกลมุ่ ท่ใี ชว้ ธิ ีการฟอู งร้องหน่วยงานรัฐบาลและธรุ กจิ ต่อศาล อนั เป็นกลวิธเี พ่อื กอ่ ใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงและการปฏิรปู ดา้ นการเมืองและสงั คม (Hong 2011: 104)นอกจากน้ัน ในบางองค์กรปกครองท้องถนิ่ ได้เปดิ โอกาสให้ประชาชน มีส่วนรว่ มในการจดั ทํางบประมาณ ดงั โครงการจดั ทาํ งบประมาณแบบประชาชนมสี ่วนร่วม (Civil Participatory Budget Program)ของมหานครควางจู (Gwangju Metropolitan City) ซ่งึ ใน ค.ศ. 2015 มปี ระชาชนยื่นคาํ เสนอขอจาํ นวน 467โครงการ มลู คา่ 110 พันลา้ นวอน ซงึ่ ประกอบดว้ ยการปรบั ปรุงเมอื ง การบรหิ ารทั่วไป เศรษฐกจิ และอุตสาหกรรม การสร้างงานใหม่ สงิ่ แวดลอ้ ม สวสั ดิการ และการทอ่ งเท่ียวเชิงวฒั นธรรม เป็นต้น (“Gwangjureceives 467 requests,” 2015) สงิ่ ทีเ่ กิดข้นึ ถอื ไดว้ า่ เปน็ ความเขม้ แข็งของประชาชนในการมสี ว่ นร่วมในการกําหนดนโยบาย และการจัดสรรทรพั ยากร โดยไมถ่ ือว่าต้องเป็นหนา้ ทขี่ องตัวแทนท่ไี ด้รับเลือกตัง้ เท่านั้นการเปลี่ยนแปลงทเ่ี กดิ ขนึ้ อีกประการหนง่ึ อันเป็นการแสดงใหห้ น็ ถงึ การสรา้ งเสรมิ พลังอาํ นาจใหแ้ กป่ ระชาชน ในยุครัฐบาลกา้ วหนา้ ของเกาหลใี ตก้ ค็ ือ การนาํ ระบบลกู ขนุ ประชาชน (citizen jury system)มาใช้ซ่งึ ถอื เป็นการสอดคล้องกบั นโยบายรฐั บาลแหง่ การมีส่วนร่วมของประธานาธิบดีโนมเู ฮยี นตามผลการสาํ รวจความคดิ เห็นของประชาชนรอ้ ยละ 90 ใหก้ ารสนบั สนุน และในเดอื นมิถนุ ายน ค.ศ. 2007 สมชั ชาแห่งชาติไดผ้ ่านกฎหมายการมสี ว่ นร่วมของประชาชนในการพจิ ารณาคดอี าญา (Act for Participation inCriminal Trials) โดยเร่มิ ใช้การพิจารณาคดีตามระบบลกู ขุนใน ค.ศ. 2008 (Ginsburg 2015: 255) ท้ังน้กี ็เพือ่ เปูาหมายใหป้ ระชาชนมีสว่ นร่วม หรอื มอี ิทธพิ ลตอ่ การตดั สินใจดา้ นกฎหมายและนโยบายด้านตลุ าการพรอ้ มกบั การคาดหวงั วา่ การพจิ ารณาคดจี ะมีลักษณะเปน็ ประชาธิปไตย อนั กอ่ ผลให้ความเชอื่ ม่ันในกระบวนการยุตธิ รรมเพ่ิมมากข้นึ จากการมสี ว่ นร่วมของประชาชนแทนการพจิ ารณาของคณะผ้พู ิพากษาจํานวนสามคน ตอ่ มาสมชั ชาแห่งชาติได้แก้ไขกฎหมาย โดยกาํ หนดใหน้ ําระบบลูกขนุ มาใช้ในการพิจารณาคดีครอบคลมุ ทกุ คดี ไมเ่ พียงแตค่ ดอี าญาเท่านั้น (Han and Park 2012: 1-2, 64-66)บทสรปุการปฏิรปู การเมืองในเกาหลใี ตเ้ ม่อื ค.ศ. 1987 นับเป็นการสนิ้ สดุ ระบอบอาํ นาจนยิ มท่อี าํ นาจการเมืองรวมศนู ย์อยู่ทก่ี ลุม่ ผ้นู ํา ประชาชนมีเสรภี าพจาํ กดั การวิพากษว์ จิ ารณแ์ ละการตรวจสอบรัฐบาลกระทําไมไ่ ด้ แต่เม่ือเปลยี่ นผา่ นสู่ประชาธิปไตย ประชาชนและบรรดากลมุ่ พลังทางการเมอื งและสังคมตา่ งมีพน้ื ทีใ่ น แนวทางการพัฒนาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 72 태국 내 한국학 발전 현황

การแสดงความคดิ เหน็ เสนอความตอ้ งการ และตรวจสอบรัฐบาลไดม้ ากขน้ึ แมใ้ นชว่ งแรกของความเป็นประชาธปิ ไตย การสรา้ งความเปน็ ธรรมใหก้ ับผู้ตกเปน็ เหยือ่ ความรุนแรงในชว่ งรัฐบาลเผด็จการ ต้องอาศยัระยะเวลาหลายปกี วา่ ผู้กระทําความผดิ เข้าสู่กระบวนการฟอู งรอ้ ง เพราะพลังอาํ นาจเกา่ ยังคงหลงเหลืออทิ ธิพลในระบอบการเมืองอยู่ ดงั การดําเนินคดีกบั ผูท้ เ่ี กี่ยวขอ้ งในเหตกุ ารณท์ ่คี วางจเู มอ่ื ค.ศ. 1980 แตต่ ลอดระยะเวลาเกือบ 30 ปี ทีป่ ระชาชนมสี ทิ ธิเลือกตงั้ ประธานาธบิ ดีโดยตรง สื่อสารมวล ชนมีเสรภี าพในการรายงานขอ้ มลู ข่าวสาร และประชาชนเปน็ ผูเ้ ลอื กผูบ้ ริหารและสมาชกิ สภาท้องถนิ่ ยอ่ มเป็นการแสดงให้เห็นถึงความเข้มแขง็ ของระบอบประชาธิปไตยในเกาหลีใต้ รวมท้งั การไมป่ รากฏว่ามีความพยายามล้มล้างรัฐบาลหรือการแก้ไขความขัดแย้งโดยวธิ กี ารนอกรัฐธรรมนญู สง่ิ ทป่ี รากฏขึน้ ในยุคประธานาธบิ ดคี มิ แดจุงและโนมูเฮียน ได้บง่ ชวี้ ่ารฐั บาลทง้ั สองไดใ้ ห้ความสําคัญตอ่ การสร้างความเข้มแข็งของระบอบประชาธิปไตย โดย การสร้างเสริมพลงั การเมอื งใหป้ ระชาชน ไมว่ า่ การรเิ ร่มิ ให้ประชาชนในทอ้ งถนิ่ ลงประชามติในประเดน็ สําคญั การถอดถอนบคุ คลทไี่ ด้รับเลือกต้งั ออกจากตําแหน่ง การมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการงบประมาณ และการนําระบบลกู ขุนประชาชนมาใช้ อันเท่ากับว่าอํานาจของประชาชนไมใ่ ชม่ ีเพียงการลงคะแนนเสยี งเลือกตั้ง หากแตร่ วมไปถึงการมีส่วนรว่ มในการตัดสินใจนโยบายและกิจกรรมตา่ ง ๆ ของรัฐด้วย เพราะรัฐบาลและระบบราชการคงไม่สามารถเขา้ ใจปญั หา และความตอ้ งการของประชาชนได้ท้งั หมด ในยุคท่สี งั คมมีความสลับซับซ้อนและการเปลีย่ นแปลงอยู่ตลอดเวลา จึงถือเป็นสอดคลอ้ งกับ แนวคดิ ประชา ประชาธปิ ไตยแบบปรึกษาหารือ และประชาธปิ ไตยแบบมสี ่วนร่วมบรรณานกุ รมวเิ ชียร อินทะสี. 2556. พลวตั ความเปน็ ประชาธปิ ไตยในเกาหลใี ต้ : จากอานาจนิยมสู่ประชาธิปไตยท่มี ่นั คง. กรุงเทพฯ : สํานกั พมิ พ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.Burton M., Gunther R. and Higley J. 1995. Introduction: Elite Transformations and Democratic Regimes. InHigley J. and Gunther R. (Eds.),Elites and Democratic Consolidation in Latin America and Southern Europe (pp. 1-37).New York: Cambridge University Press.Chang, S. W. (2007, June 5). The recall system is aimed at promoting grassroots democracy. Korea JoongAng Daily. Retrieved from http://www.koreajoongangdaily.joins.com/news/ article/Article.aspx?aid=2876352Chang, Y.S. 2009. Left and Right in South Korean Politics. In Y. S. Chang, H. H. Seok and D. L. Baker. (Eds.), Korea Confronts Globalization (pp. 173-191). London: Routledge.Dahl, R. A. 1971. Polyarchy, Participation and Opposition. New Haven: Yale University Press.Della Porta, Donatella. 2013. Can Democracy Be Saved?: Participation, Deliberation and แนวทางการพฒั นาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 73 태국 내 한국학 발전 현황

Social Movements.Cambridge: Polity Press.Diamond, L. 1994. “Rethinking Civil Society: Toward Democratic Consolidation.” Journal of Democracy 5, 3: 4-17.Dryzek, J. S. 2004. Democratic Political Theory. In G. F. Gaus, and C. Kukathas (Eds.), Handbook of Political Theory (pp. 143-154). Thousand Oaks: Sage Publications, Inc.Dryzek et al., 2010. Deliberative Democracy. In M. Bevir (Ed.), Encyclopedia of Political Theory (pp. 352-356).Thousand Oaks: Sage Publications, Inc.Ginsburgh, T. 2015.Korea and the Reform of the Northeast Asian Legal Complex. In M. Kim (Ed.), The Spirit of Korean Law: Korean Legal History in Context (pp. 233-259). Leiden: Koninklijke Brill NV.Gwangju receives 467 requests on ‘budget proposal for civil participation.’ Gwangju Foreign Language Network. (2015, May 7). Retrieved from http://www.gfn.or.kr/bbs/board.php?Han, S. H. and Park, K. 2012. “Citizen Participating in Criminal Trials of Korea: A Statistical Portrait of the First Four Years.” Yonsei Law Journal 3, 1: 55-66.Hilmer, J. D. 2010. “The State of Participatory Democratic Theory.” New Political Science 32, 1: 43-62.Hong, J. S. 2011. From the Streets to the Courts: PSPD’s Legal Strategy and the Institutionalization of Social Movement. In G. W. Shin and P. Y. Chang (Eds.) South Korean Social Movements: From Democracy to Civil Society (pp. 96-116). London: Routledge.Invison, D. 2010. Democracy. In M. Bevir (Ed.), Encyclopedia of Political Theory(pp. 357-360). Thousand Oaks: Sage Publications, Inc.Kim, S. 2007. Civil Society and Democratization in South Korea. In K. Armstrong (Ed.), Korean Society: Civil Society, Democracy and the State (pp. 53-71). London Routledge.Kim, S. 2010. “Collaborative Governance in South Korea: Citizen Participation in Policy Making and Welfare Service Provision.” Asian Perspective 34, 3: 165-190.Kim, S. J. (2007, September 14). Historical recall of Hanam mayor halted by court. Korea JoongAngDaily. Retrieved from http://www.koreajoongangdaily.joins.com/news/ article/ Article. aspx?aid=2880505Lah, T.J. 2010. Public Policy Processes and Citizen Participation in South Korea. In E. M. Berman, M. J. Moon and H. Choi (Eds.), Public Administration in East Asia: แนวทางการพัฒนาเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย 74 태국 내 한국학 발전 현황

Mainland China, Japan, South Korea and Taiwan (pp.335-375). Boca Raton: CRC Press.Linz, J. J. and Stepan, A. 1996. Problems of Democratic Transition and Consolidation: Southern Europe, South America and Post-Communist Europe. Baltimore: Johns Hopkins University Press.Massive actions against proposed South Korean waste dump. (2003, August 22). Retrieved from http://www.-actions-against-proposed-south-korean-waste-dumpSchedler, A. 1998. “What Is Democratic Consolidation?” Journal of Democracy 9, 2: 91-107.You, J. S. and Lee, W. 2013. A Mutually Reinforcing Loop: Budget Transparency and articipation in South Korea. In S. Khagram, A. Fung and P. De Renzio (Eds.), Open Budgets: The Political Economy of Transparency, Participation and Accountability (pp. 105-129). Washington, D.C.: Brookings Institution Press. แนวทางการพัฒนาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 75 태국 내 한국학 발전 현황

태국 대학 한국어 전공의 한국 문화 교수 현황 분석 조현지 치앙마이라차팟대학교1. 들어가는 말 태국 내 한국어 교육은 1992년 국립 송클라대학교에서 시작된 이래 중고등학교와 대학 양 기관에서 모두 양적, 질적으로 꾸준하게 성장하여 왔다. 2011년부터는 한국 교육부의 주관으로 태국 현지 중고등학교에 한국인 교원을 파견하여한국어를 가르치는 학교의 수가 크게 증가하였으며13, 태국 정부 또한 2017년까지 140명의 태국인 한국어 교사를 양성하여 중고등학교의 교사 부족을 해결하기 위한 프로그램을 진행하고 있다14. 이러한 정책에 힘입어 지난 해 우따라딧라차팟대학교에 최초로 한국어교육학과가 개설된 데 이어 올해는 치앙라이라차팟대학교에도 한국어학과가 개설됨으로써 태국 내 한국어 교육은 최근 몇 년 사이중고등학교와 대학 모두에서 활기를 띠고 있는 양상이다. 그 결과 현재 태국내에는 모두 9개 대학에 관련 전공이 개설되어 있으며15, 부전공이나 교양과목으로 한국어를 가르치는 대학도 점차 늘어나고 있다. 이렇게 제2의 전성기를 맞이하고 있다고는 하지만 태국 내 한국어 교육에 있어문화 교육을 따로 떼어 들여다보면 그 비중과 역할은 전과 크게 다르지 않다.특히 대학의 경우 전공들이 대부분 언어 중심의 ‘한국어학’이므로 말하기,듣기, 쓰기, 읽기 등의 언어 과목들을 중심으로 교육과정이 편성되어 있으며,한국 국내가 아닌 모국어 환경의 태국에서 언어를 습득하고 있기 때문에 당장의문화 교육의 중요성은 제대로 평가 받지 못하고 있는 것이 현실이다. 따라서최근 한국어 교육 분야에 있어서 문화 교육의 중요성이 주목 받고 있지만 태국내에서는 한국어 습득을 위한 보조적인 역할에 그치고 있다. 그러나 언어습득이란 단지 목표 언어를 구사할 수 있는 것만을 의미하는 것이 아니라 목표언어 사회와 문화에 대한 이해를 바탕으로 문화적 상호 관계를 구축해 나갈 수있는 언어 구사가 가능한 것을 목표로 한다고 할 때, 문화 교육의 중요성은크다고 할 수 있다.13) 재태한국교육원에 따르면 현재 태국 내 57 개 공립중고등학교에 한국인 교원이 파견되어 있으며 이 외에도 한국어 수업이 이루어지고 있는 학교는 10~20 개교 정도이다.14) 태국 정부는 2012 년 내각 결의를 통해 태국인 한국어 전공 졸업자에게 2 년간 교육을 실시하고 이를 통해 한국어 교사 자격증을 부여하는 프로그램을 시행키로 결정했다. 이 프로그램은 매년 35 명씩 4 년간 총 140 명의 교사를 배출하는 것을 목표로 하고 있으며 올해 3 기의 예비교사들이 선발되어 교육을 받고 있다.15) 현재 송클라대학교 빠따니캠퍼스, 부라파대학교, 실라빠껀대학교, 마하싸라캄대학교, 시나카린위롯대학교, 치앙마이라차팟대학교, 나레수안대학교, 치앙라이라차팟대학교에 한국어학과가, 우따라딧라차팟대학교에 한국어교육학과가 개설되어 운영되고 있다. แนวทางการพัฒนาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 76 태국 내 한국학 발전 현황

따라서 본고에서는 한국어 교육에서의 문화 교육의 중요성에 대해 논의하고태국 대학 한국어 전공에서 문화 교육의 위상과 현황을 분석하고자 한다.16 이를위해 대학별 교육 과정을 살펴보고 그 중 문화 과목 교수 현황을 알아보았다.2. 한국어 교육과 문화 교육 1) 한국어 교육에서 문화 교육의 목표는 무엇인가? 언어 교육에 있어 가장 우선시 되는 것은 목표 언어를 이해하고 적절히 구사할수 있는 능력이다. 그런데 언어 또한 문화의 한 부분임을 고려할 때 학습한언어를 사용하여 의사소통을 하는데 있어서 목표 문화에 대한 이해가 결여되어있다면 성공적인 의사소통은 불가능하다는 데에는 이견을 찾기 어렵다. 이러한틀에서 한국 문화 교육의 목표에 대해 기존의 많은 연구들은 성공적인 의사소통을 중심으로 논의를 전개해 왔다. 그러나 최근에는 한국어 교육 내 문화연구들에서도 문화 교육을 단순한 언어 능력 향상의 도구적 성격이 아닌 그차체를 목적으로 설정하고 논의를 진행하는 연구들이 증가하고 있다. 권오경(2006)은 인간의 능력을 의사소통 능력, 언어학 능력, 문화능력으로구별하고 한국어 교육의 궁극적인 목적이 한국과 한국인의 이해라고 볼 때한국어 한국문화 능력 신장을 언어교육의 상위에서 논해야 한다고 지적하고언어능력이 아닌 문화능력 중심의 한국어 교육으로 시각이 전환되어야 할필요성을 제기했다. 배재원(2011)은 기존의 의사소통능력 중심의 문화교육목표를 벗어나 외국어 교육은 개인의 의식을 변화시키며 개인이 세계를 인식하는시각과 관점을 확대시키는 데 필수적이라고 하였다. 17 또한 언어 학습에는필요에 의한 동기와 호기심에 의한 동기뿐 아니라 문화적∙세계적 정체성을 찾는실존적인 동기가 존재하므로 외국어 교육에는 궁극적인 문화 교육을 수행해야 할책임을 부각시켰다. 강승혜 외(2010: 33)에서는 한국어 학습자의 한국 문화 적응과정을 소개하면서 한국 문화에 대한 무지에서 오는 갈등, 문화 접촉을 통한갈등 해소, 한국어 학습 시작, 문화 이해로 인한 학습 동기 강화로 이어지는과정을 소개하고 이러한 문화 적응과 동화가 언어학습에 있어 필수적인 과정이라고 하였다. 나아가 학습자는 문화 동화의 과정을 넘어서 열린 태도로 낯선문화를 존중하며 각 문화의 가치를 인정하는 ‘상호 문화적 능력’을 가져야만한다고 주장한다.16) 현재 학부과정에서의 한국학 관련 전공은 모두 한국어 전공이므로 연구 대상을 한국어 전공으로 제한하였다. 쭐라롱꼰대학교의 경우 한국학 전공이 석사 과정에 개설되어 있으며, 학부과정의 경우 쏭클라대학교 푸껫캠퍼스는 부전공이므로 제외하였다.17) Morgan 은 언어 교육에서의 문화교육을 통해 기대되는 효과로, 외국어 학습에 대한 흥미와 동기를 유발하는 외국어 학습 향상의 효과, 개방적∙우호적 태도로 유도하는, 즉 내재적인 동기를 자극하는 정의적인 효과, 그리고 문화에 대한 지식과 올바른 판단력과 가치관 정립의 효과를 제시하였다.(배재원, 2011:71, 재인용) แนวทางการพฒั นาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 77 태국 내 한국학 발전 현황

이러한 최근의 연구 경향은 한국어 교육에서 문화 교육의 위상과 목표의 변화를확인시킨다. 초기 한국어 교육에서 문화 교육이 의사소통능력 신장을 위한수단적 의미를 지니고 있었다면, 최근에는 문화 그 자체의 이해와 함께 이문화에대한 인정과 존중의 능력까지 포함할 것을 지향하고 있는 것이다. 그러나아직까지 현재 태국 내 한국어 교육에서 문화교육은 그 필요성에 대한 합의는이루어져있으나 여전히 의사소통을 위한 하위 분야에 머물러 있다. 이는 태국대학의 한국학 관련 전공이 한국어학을 중심으로 발달해 온 것과 무관하지 않을것이다. 그러나 최근의 한국어 교육의 저변 확대 및 대학 교육에서의 양적∙질적성장을 고려할 때 지금이 바로 태국 내 한국 문화 교육의 위상에 대해 제고해야할 시기일 것이다. 2) 무엇을 가르칠 것인가? 문화란 인간의 삶 자체라 할 수 있으며 그 경계가 어디인지를 명시하는 것도어렵고 분류 기준도 명확하지 않다. 문화란 하나의 구성요소가 독자적으로기능하여 이루어지는 것이 아니며, 언어, 유∙무형의 생산물, 생활 양식,사회적으로 형성된 가치관 등 인간 삶에 관계되는 모든 것들이 오랜 시간 존재하면서 융합과 분리를 반복하며 이루어진 결과이기 때문이다.따라서 문화 교육의 대상으로서의 문화를 목적별, 대상별로 차별화하려는시도들은 학습자에 대한 요구조사를 중심으로 이루어져 왔으며 이에 기존의연구들은 다양한 학습자 변인에 따른 문화 교육 내용 항목을 선정하고자노력해왔다. 강현화(2010)는 선행연구 분석을 통해 학습자 변인별로 문화 교육의 내용을다르게 설정해야 한다고 전제하고 주요 학습자 변인을 크게 학습 목적과 학습환경, 학습자 모국어 문화권으로 나누고 있다. 태국 대학의 한국어 전공학습자들을 이에 적용시켜 보면 학습 목적에서는 학문목적, 직업목적, 일반목적에 해당되며 학습 환경은 국외 정규과정(국외 대학 및 고등학교)으로서의학습에 해당된다. 특히 정규 과정에서의 문화 교수는 문학, 정치, 경제, 사회,종교 등을 포함하는 한국학의 범위로 확대될 것이라고 하고 있어 태국 내대학에서 이러한 과목들의 교수가 이루어지고 있는지에 대한 여부도 확인해보아야 할 것이다. 이와 달리 이미혜(2010)는 국내외 한국어 학습자, 재외 동포, 다문화 가정구성원 등을 모두 포함하는 일반 목적의 한국 문화 자료집 편찬을 목적으로학습자의 인지도와 요구도 조사를 실시하였다. 조사를 위한 교육 내용 구성은모든 내용을 포함하기 보다는 외국인의 입장에서 관심을 가지고 공감할 수 있는것을 위주로 선정하였다. 외국인들이 한국 문화를 이해하고 즐길 수 있도록 하는것을 목표로 하였으며 이를 토대로 ‘외국인을 위한 한국 문화’를 발행하였다.이 연구는 해외에 거주하는 한국어 학습자들을 대상에 포함하고 있어 해외 한국문화교육의 기초적 내용항목으로 활용될 수 있을 것이다. แนวทางการพฒั นาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 78 태국 내 한국학 발전 현황

3) 어떻게 가르칠 것인가? 문화의 습득은 교실 수업에서 배울 수 있는 지식적인 측면 이외에 문화 접촉과체험을 통해 보다 효과적으로 이루어지게 된다. 따라서 한국 내의 한국어 교육기관들은 주말을 이용한 문화 체험 프로그램을 진행하기도 하고, 단기 집중과정의 경우 언어학습의 효과를 목적으로 하기보다 문화체험 자체를 위주로 하는프로그램도 많다. 그러나 태국 내에서는 환경적 제약으로 인해 수업 외의 프로그램을 진행하기가쉽지 않으며 그 효과도 기대에 미치지 못하는 경우가 많다. 또한 교실 밖에서학습자 개인의 경험에 의한 문화 학습 기회도 충분하지 않기 때문에 이러한부족한 부분을 교실 수업 내에서 보완해 줄 수 있는 역할이 교사에게 요구된다.이를 위해서 좋은 교재를 선택하는 것 외에 다양한 사진자료, 음성자료, 영화,드라마 등의 시청각 자료를 활용하는 등의 방법이 사용되고 있다. 또 기관 내에한국어과 전용 강의실이 있는 경우, 교실 자체를 작은 한국과 같이 느낄 수 있는일종의 문화 섬을 만들어 한국 문화와의 거리감을 좁히려는 시도도 가능하다.4) 태국 내 한국 문화 교육 태국 내 한국어 교육 경험자가 증가하고 한국어를 가르치는 태국인 교원들의수준이 질적 양적으로 성장함에 따라 태국인 학습자를 대상으로 하는 한국어교육 관련 연구들도 활발해지고 있다. 이와 함께 태국 내 한국 문화 교육에 대한연구 주제도 다양해지고 있다. 초기의 연구들이 태국 내 한국학 연구의 현황이나한국학 또는 한국 문화 교육의 필요성을 제기했다고 한다면 최근에는 태국 내한국 문화 교육을 위해 필요한 보다 구체적인 주제에 대한 연구들이 등장하기시작했다. 가장 활발한 분야는 교육 내용 선정에 대한 것으로 안화현(2005),김창희(2012), 홍지혜(2013)를 들 수 있는데, 안화현(2005)은 한국어 전공대학생들에 대한 요구분석을 통해 태국 내 한국어 교육에서의 문화 교육의필요성을 제기하고 한국어능력시험(KPT:Korean Proficiency Test), 한국 국내교육기관의 한국어 교재, 재외동포용 한국어 교재 개발 연구에서 선정한 주제등을 참고하여 초급과 중급의 문화교수요목을 제시하고 있다. 그러나 참고한자료들이 모두 국내 학습자를 대상으로 하는 것으로 태국 내에 적용하기에적절한지 문제를 제기할 수 있다. 또한 태국 대학 한국어전공의 경우 언어숙달도가 학급 편성의 기준이 아니기 때문에 이러한 등급별 교수요목이 얼마나유용할 지는 미지수이다. 김창희(2012) 역시 요구분석을 통해 문화 교육 내용 항목을 선정하였지만 그대상이 교양 한국어 학습자를 대상으로 하고 있다는 점과 교재분석을 기초로하고 있다는 점이 다르다. 홍지혜(2013)에서는 태국 내 중고등학교 한국어학습자를 대상으로 하는데 연구의 대상이 중고등학교까지 확대된 사실을 통해태국 내 한국어 교육의 성장과 저변 확대를 짐작할 수 있게 한다. แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 79 태국 내 한국학 발전 현황

한편 추띠마(2014)는 태국 대학 내 한국학 관련 전공의 교수와 학습자에 대한요구조사와 심층면접을 바탕으로 한국 문화 교육의 내적 요구를 파악하고 현교육과정에 대한 개선 방안을 다음과 같이 제안하였다. ① 한국어 공부를 위한 한국문화 교육이 아니라 전문적인 문화교육을 목표로 해야 한다. ② 한국문화 교과목을 필수과목으로 선정해야 한다. ③ 실용적인 한국문화 교육 내용을 강조해야 한다. ④ 한국의 근∙현대사에 대한 지식을 제공해야 한다. ⑤ 현지 내적 요구와 필요성에 맞는 교육 내용의 비중을 선정해야 한다. ⑥ 학습자의 문화 현상을 분석 및 비평할 수 있는 능력을 향상시키기 위해 문화 이론도 같이 가르쳐야 한다. ⑦ 수업 내용은 전통적인 내용보다 현대적인 내용을 위주로 선정해야 한다. 태국 대학의 한국어 교육과정에 대한 다른 연구들은 균형적인 언어 기능별학습과 언어 능력 향상을 고려한 새로운 교육과정을 개발하고 제시하는 것을목표로 하는 것과 달리, 추띠마(2014)는 태국 내 한국어 전공에서의 한국 문화교육의 필요성에 주목하고 이를 중심으로 현 교육과정에 대한 개선 방안을제시하고 있다는 점에서 의미가 있다. 하지만 개선 방안을 반영한 교육과정개발까지는 나아가지 못하고 있어 이에 대한 후속 연구가 요구된다.3. 태국 대학 한국어 전공의 한국 문화 교수 현황1) 교육 과정 태국 내에는 현재 모두 8개 대학에 한국어 전공이 개설되어 있는데, 각 대학의교육과정을 통해 현재의 한국 문화 교육 상황과 태국 내 한국 문화 교육의위상이 어떠한지를 가늠해 볼 수 있다. 먼저 각 대학별 교육과정의 졸업 이수학점은 <표 1>과 같다. <표 1> 태국 대학의 한국어 전공 졸업 이수 학점 แนวทางการพัฒนาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 80 태국 내 한국학 발전 현황

대학교명 교양 필수 전공 소계 부전공18 계 45 선택 75송클라대학교 빳따니캠퍼스 50 60 30 96 20 145 부라파대학교 36 35 36 70 0 132 실라빠껀대학교 60 63 35 86 22 152 38 49 23 76 18 142 마하싸라캄대학교 54 64 27 97 0 130 시나카린위롯대학교 36 75 33 84 0 133 치앙마이라차팟대학교 42 18 144 9 나레수안대학교 학생들은 졸업을 위해 대학에 따라 75~97학점의 전공 과목을 수강해야 하는데부전공의 이수가 의무사항인 경우 다른 대학에 비해 전공 과목의 이수 학점이적은 것을 알 수 있다. 그런데 일부 대학의 경우 전공 과목에 한국어가 아닌영어나 기초 언어학 과목이 포함되어 있기 때문에 각 대학의 교육과정 내에포함되어 있는 전공 과목을 <표 2>와 같이 영역별로 분류하여 보았다. 한국어영역은 말하기, 듣기, 읽기, 쓰기와 같은 기능별 기초 언어 과목이나 한국어관련 기초 언어학에 해당되며 언어 중심의 문화 과목으로 볼 수 있는 문학, 속담등의 과목은 한국어 문화 통합 영역으로 분류하였다. 한국 문화 영역은 언어능력이 아닌 문화 능력 향상을 목적으로 하는 과목만을 포함한다. 그 외에문화의 한 분야이지만 주로 해당 직업군의 업무 상황에 필요한 언어와 문화학습을 목적으로 하는 비즈니스, 관광, 산업 등과 관련된 과목은 그 특수성을고려하여 직업 목적의 한국어 영역으로 별도 분류하였다. 마지막으로 기타과목에는 태국의 대학 교과과정에 특징적으로 존재하는 실습 및 체험, 세미나등이 포함된다.18) 부전공이 졸업 필수 사항인 경우에만 표기하였다. 81 แนวทางการพฒั นาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 태국 내 한국학 발전 현황

<표 2> 태국 대학의 영역별 전공 과목19 한국어 한국어 한국 문화 직업 기타 계 문화 통합 한국어 대학교명 과목 비율 과목 비율 과목 비율 과목 비율 과목 비율 과목 비율송클라대학교 수 (%) 수 (%) 수 (%) 수 (%) 수 (%) 수 (%)빳따니캠퍼스 28 62.2 7 15.6 2 4.4 5 11.1 3 6.7 45 100부라파대학교 23 52.3 5 11.4 6 13.6 8 18.2 2 4.5 44 100실라빠껀대학교 24 63.2 9 23.7 1 2.6 2 5.3 2 5.3 38 100마하싸라캄대학교 29 46.0 8 12.7 7 11.1 12 19.0 7 11.1 63 100시나카린위롯대학교 19 65.5 3 10.3 3 10.3 2 6.9 2 6.9 29 100치앙마이라차팟대학교 28 58.3 6 12.5 3 6.3 7 14.6 4 8.3 48 100나레수안대학교 20 66.7 3 10.0 1 3.3 3 10.0 3 10.0 30 100치앙라이라차팟대학교 27 57.4 3 6.4 7 14.9 7 14.9 3 6.4 47 100 영역별 분류를 살펴보면 대부분의 학교가 한국어 과목을 과반수 이상 포함하고있음을 알 수 있다. 그러나 한국 문화 과목을 비롯한 다른 영역의 과목 비율은크게 다르다. 특히 한국 문화 영역의 경우 그 차이가 더욱 커지는데 이는 한국어문화 통합 영역의 비율과는 반대의 경향을 보이는 것이다. 즉 한국 문화 과목의비중이 적은 대학의 경우 이를 통합 영역의 과목으로 보완하고 있는 것으로여겨진다. 그러나 한국어 문화 통합 과목의 수업은 한국 문화를 내용으로 하는언어 학습의 형태로 문화 자체에 대한 학습이 아닌 한국어 능력 신장을 목적으로이루어지고 있다. 따라서 텍스트의 번역이나 통역이 중심이 되기 쉬우며 문화내용에 대한 이해는 학습의 중심에서 멀어지게 된다. 따라서 이 둘은 별도의영역으로 고려하고 각각에 적절한 과목수가 배정되어야 할 것이다.19) 학점이 아닌 과목수를 단위로 분류한 이유는 교과목이라도 대학별로 해당 학점이 상이하며 선택과목의 경우 실제로 않거나 개설 되더라도 수강생 수의 부족으로 경우가 있기 때문이다. 대학명은 한국어학과 개설 순이다. แนวทางการพัฒนาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 82 태국 내 한국학 발전 현황

<표 3> 태국 대학 한국어 전공의 한국 문화 과목학교명 과목명 학점쏭클라대학교 빳따니캠퍼스 한국 사회와 문화 (필수) 3 3 한국의 역사와 경제 (선택) 3부라파대학교 한국 문화 (선택) 3 오늘의 한국 (선택) 3 한국 역사 (선택) 3실라빠껀대학교 한국 문화 텍스트 (필수) 2마하싸라캄대학교 한국 기초 지식 (선택) 2 한국 음악 (선택) 2 한국 무용 (선택) 2 한국 경제 (선택) 2 한국 정치와 행정 (선택) 2 한국 역사 (선택) 2 한국 드라마 (선택) 3시나카린위롯대학교 한국 소개 (필수) 3 한국 문화 (필수) 3 오늘의 한국 (필수) 3치앙마이라차팟대학교 한국 사회와 문화 (필수) 3 한국의 역사 (선택) 3 오늘의 한국 (선택) 3나레수안대학교 한국 사회와 문화 (필수) 3치앙라이라차팟대학교 한국 사회와 문화 (필수) 3 한국의 역사 (필수) 3 현대 한국 (선택) 3 한국 정치와 정부 (선택) 3 한국 경제 (선택) 3 한국의 예술과 공연 (선택) 3 한국의 교육제도 (선택) <표 3> 은 대학별 한국 문화 영역의 과목명을 정리한 것이다. 많은 학생들이한국 문화에 대한 관심과 호기심으로 한국어 전공을 선택한다는 점, 문화에 대한이해 없이는 언어 능력 향상도 불가능 하다는 점, 한국어 전공자라면 한국문화에 대한 지식과 이해도 필수적이라는 점에서 모든 대학의 교육과정이 문화영역에 1~7개의 과목을 포함하고 있다. 그러나 교육과정에 있는 과목이라고 해도실제 개설되어 수업이 이루어지지 않는다면 무의미하기 때문에 이중 실제개설되어 수강이 이루어지고 있는 과목만을 <표 4>와 같이 다시 분류하여정리하였다. 현재 태국 대학의 한국 문화 과목은 한국에 대한 기초적인 정보를 학습하는기초 과목과 특정 하위 분야에 대해 심화된 내용을 학습하는 심화 과목으로 나눌수 있다. 한국 사회 문화에 대한 기초적인 정보를 학습하는 한국 개관 과목은한국 사회와 문화, 한국 문화, 한국 기초지식 등의 과목명으로 조사 대상인 8개대학에서 모두 수업이 이루어지고 있다. 이는 대부분 학생들에게 한국 문화를소개하고 호기심과 관심을 갖게 하여 한국어 학습에 대한 동기를 부여하기 위한 แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 83 태국 내 한국학 발전 현황

것이다. 20 그러나 이것이 유일한 한국 문화 학습에 그치는 대학도 두 곳이나되며 이 경우 심화 과목 수강의 기회가 없어 학생들이 한국 문화에 대해 깊이이해하기는 어려울 것으로 보인다. <표 4> 태국 대학의 한국 문화 개설 과목 분류표 분류 과목명 대학명 한국 사회와 문화 치앙마이라차팟 나레수안 송클라 빠따니캠퍼스 치앙라이라차팟기초 한국 기초 지식 마하싸라캄과목 한국 개관 한국 소개 시나카린위롯 한국 문화 시나카린위롯 부라파 한국 문화 텍스트 실라빠껀 오늘의 한국 시나카린위롯 부라파 현대 문화 치앙라이라차팟 현대 한국 한국의 역사 부라파 치앙라이라차팟 마하싸라캄심화과목 사회 문화 한국의 역사와 경제 송클라 빠따니캠퍼스 한국 경제 마하싸라캄 한국의 정치와 행정 마하싸라캄 예술 한국 음악 마하싸라캄 심화 과목의 경우는 현대문화, 사회 문화, 예술 분야에 해당되는 과목들이개설되어 있다. 그러나 각 분야의 과목들이 고르게 개설되어 있지 않으며 분야내에서도 특정 과목에 치중되어 있는 것을 알 수 있다. 예를 들어 역사∙경제∙정치∙행정 분야의 경우, 역사 과목은 4개 대학에 있지만 다른 과목들은마하싸라캄대학 한 곳에서만 이루어지고 있다. 이러한 현상은 한국 내 한국어교육의 경우 한국어 학습 시 문화 교육이 필수적이라는데 이미 합의가 이루어졌다고 할 수 있지만 태국 내에서는 언어 교육을 중심으로 하는 한국어학과에문화 과목이 필요한가에 대한 인식이 아직은 높지 않기 때문일 것이다. 또한과목 선정에 있어서도 객관적인 선별기준에 대한 논의가 미비한 것도 문제점으로지적할 수 있다. 한편 한국어 전공의 학습자들이 반드시 알아야 하는 것은 한국의 현대문화이다. 현대 문화는 한국어 학습자들의 요구도가 가장 높은 영역이며 21 실제한국어 의사소통 능력 증진에 가장 기여하는 문화 지식이라고 하겠다. 하지만현대 문화는 교육 내용 선정에 어려움이 많다. 현대 문화 항목은 지금도 발전을20) 해외 거주 초급 학습자들을 위한 문화 교육의 목표는 학습자들의 지속적인 한국어 학습 동기를 유발할 수 있도록 학습자들에게 유의미한 문화를 이해할 수 있도록 하는 데 있다.(강현주, 2014: 16)21) 강현화 외(2011)에서는 관련 학위논문 61 편, 학술지 논문 53 편을 대상으로 선행연구의 문화항목을 분석한 결과 시대별로 현대 문화의 비율이 86%로 거의 대부분을 차지했다. แนวทางการพฒั นาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 84 태국 내 한국학 발전 현황

하고 있는 항목이기 때문에 다른 항목들과 유기적으로 관련이 있을 수밖에 없는것이다. 해당 항목이 다른 항목들과 관련을 맺으면서 새로운 문화로 다시탄생하는 경우도 있고 보완해 가는 경우도 있기 때문이다.(최주열∙김명권, 2013:333-334) 따라서 구체적인 문화 항목 하나만으로 설명이 어려우며 이런 특성을수업에 반영하기 위한 교사의 많은 노력이 요구된다. 뿐만 아니라 논란의 여지가있는 민감한 주제들도 많아 신중한 접근이 필요하다. 한편 마하싸라캄 대학의 경우는 한국 개관, 사회 문화, 예술의 다양한 분야에걸친 심화 과목들을 선택과목으로 개설하여 학생들의 한국 문화에 대한 다양한지적 호기심이 충족될 수 있도록 하고 있다. 그러나 기초 과목인 ‘한국 기초지식’까지 모든 문화 과목이 선택과목으로 지정되어 있어 기초 과목의필수과목으로의 변경이 필요할 것으로 보인다.2) 교육 내용 태국 대학의 한국어 교육과정 내에 포함되어 있는 문화과목의 수가 많지 않고분야별로도 고르지 않은 분포를 보이고 있다고는 해도, 모든 대학에서 한국개관에 해당되는 기초 문화 과목을 개설하고 있다는 점에서 기본적인 문화교육의 필요성에 대해서는 공감대가 형성되어 있는 것으로 보인다. 한국 개관 과목은 한국문화에 대한 기초적인 지식을 학습하는 과목으로일반적으로 언어 학습으로부터 독립적으로 이루어지는 문화 과목이다. 또한 일부대학의 경우 이 과목이 유일한 문화 과목이므로 그 내용을 살펴보는 것은 태국대학 한국어 전공 학생들이 학습하는 기본적인 문화 내용을 파악하는데 유의미할것이다. 따라서 일부 대학 담당 교수의 도움으로 얻어 수업 내용에 대해조사하였다.22 조사 대상 대학의 한국 개관 과목은 3학년 과목인 부라파대학교를제외한 다른 세 대학에서 모두 1학년 과목으로 개설되어 있었으며 모든 대학에서태국인 교수가 학습자의 모국어인 태국어로 수업을 진행하였다. 모국어로이루어지는 문화 수업은 효율적인 학습이 가능하며 같은 태국인의 입장에서 한국문화를 설명하고 이해시키는 것은 학습자들의 문화충격을 줄이는데 효과적일것이다. 대학별 수업 내용은 이 <표 5> 태국 대학의 한국 개관 문화 수업 내용 항목 문화 항목 부라파대학교 마하싸라캄대학교 치앙마이라차팟대학교 나래수안대학교한국 한국의 기업과 대표적 한국 기업 대표적 한국 기업 --개관 경제 유명한 기업인 한국 사회의 변화 전통 사회와 현대 사회 - - 직장 생활 주거 환경22) 조사 대상 대학은 부라파대학교, 마하싸라캄대학교, 나래수안대학교, 치앙마이라차팟대학교의 4 개 대학이다. แนวทางการพัฒนาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 85 태국 내 한국학 발전 현황

한국의 정치 정부형태 - 대통령과 정부 - 행정,입법,사법 시대별 역사 지도, 계절 한국의 역사 여당과 야당 고조선~조선 한국 전쟁 한국의 위치와 선사시대~일제시대 지도 기후 계절과 날씨 한국인의 의식 지리와 기후 - 사상,종교 --- 한국의 음식 한식 대표적 한국 음식 대표적 한국 음식 대표적 한국 음식 외국인이 좋아하는 음식 한국의 집 - - 현대 가옥의 특징 온돌 생활 예절 - ---현대 의식 출생, 백일과 돌, 회갑 - - 돌잔치, 집들이생활 결혼식,돌잔치 등 관혼상제 - - 찜질방문화 여가활동 음주문화, 계절별 여가활동 (등산, 스키) 인터넷 문화 - 인터넷 쇼핑 인터넷 뉴스 - 소비활동 - - 쇼핑 장소 - 학교와 교육 교육제도, 교육열 - 한국의 교육 현황 입시제도현대 대중문화 - 한류 드라마, 대중 음악 소개팅예술 공연문화문화 스포츠 - --- 태권도 - 태권도 - 한국의 전통집 움집, 한옥과 기와 - 한옥 전통 음식 지역별 전통 음식 - 떡 만드는 방법 - 전통 의복전통 민속놀이 한복(평상복, 의례복) 여성한복과 남성한복 한복 입기, 절하기 전통한복과 개량한복생활 한복 입기문화 윷놀이, 그네뛰기 - 윷놀이 윷놀이 세시풍속 24 절기 - - 추석, 설 설, 단오, 추석, 한식 전통 음악 국악, 판소리, 민요 - 민요 아리랑, 민요 전통 미술전통 전통 무용/춤 단청 ---예술 건축물문화 탈춤 - 부채춤 - - - 경복궁 고궁문화재 한국의 문화재 - - - 유네스코세계문화유 산 훈민정음과 한글기타 - - - 세종대왕과 한글 한국의 교통 시스템 문화 관련 관용 표현미혜(2010)의 분류에 따랐으며 본 연구에 맞게 약간 수정하였다. 23 각 대학별한국 개관 문화 수업의 내용 항목은 <표 4>과 같이 조사되었다. 조사 결과를 대학별로 살펴보면 부라파대학교의 경우 거의 모든 항목이23) 이미혜(2010)는 해외 학습자를 포함하는 일반적인 외국인을 대상으로 언어 학습이 아닌 문화 학습 자체 를 목적으로 하고 있다. 따라서 한국에 대한 기본적 정보를 제공하고 태국어로 수업이 이루어져 언어학 습과는 독립적인 기초문화과목의 내용 분석 기준으로 적절하다고 판단하였다. แนวทางการพัฒนาเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย 86 태국 내 한국학 발전 현황

수업내용에 포함되어 있어 한국 문화 전반에 걸쳐 고른 내용 항목을 가르치고있다. 반면 마하싸라캄대학교의 경우 항목 수가 적은 편인데 이는 앞에서 본바와 같이 다양한 심화 과목 개설로 다른 문화 과목을 통한 충분한 학습기회가주어지기 때문으로 보인다. 항목별로 살펴보면 4개 대학 모두 한국의 음식과전통 의복인 한복에 대해 가르치고 있다. 이는 교사의 설명뿐만 아니라 실제로먹어 보고 입어 보는 체험학습을 교실 수업 내에서 비교적 쉽게 진행할 수 있기때문에 어디에서나 일반적으로 가장 많이 다루어지는 항목이다. 그밖에 한국의역사, 위치와 기후, 학교와 교육, 대중문화, 민속놀이, 전통음악 등도 많이다루어지는 내용으로 파악되는데, 특히 학교와 교육은 대학 수업이라는 특성상교수자와 학습자의 관심이 모두 높은 것으로 보인다. 수업 내용에 포함되지 않는 편인 항목들로는 한국인의 의식, 생활 예절, 소비활동, 공연 문화, 건축물, 문화재 등이 있다. 한국인의 의식의 경우 실체가 없고고정되지 않은 것이므로 수업 내용의 구성에 어려움이 있을 뿐만 아니라 교실수업 내에서 단시간의 강의를 통해 학습자들에게 이해시키는데 한계가 있기때문인 것으로 보여진다. 생활예절의 경우 서양 문화권의 학습자에게 반드시가르쳐야 하는 항목이지만 태국은 같은 아시아 문화권으로 문화적 차이가 비교적크지 않아 별도의 학습 필요성을 느끼지 못할 것으로 여겨지며 소비 활동과 공연문화 역시 같은 맥락에서 분석이 가능할 것이다. 이 밖에 기타 항목에서는 한글 창제와 관련된 내용을 가르치는 대학들이 눈에띄는데, 한국어학과의 학생으로써 본인이 학습하는 언어의 창제 시기, 원리,과정에 대해 배우는 것은 필수일 것이다.244. 나오는 말 본 연구에서는 태국 대학의 한국어 전공 교육과정을 통해 대학별로 한국 문화과목의 수가 매우 상이함을 알 수 있었으며, 일부 대학의 경우는 실제 개설되는문화 과목이 기초 과목 한 과목에 그쳐 학습자들이 깊이 있는 문화 수업을 받을기회를 갖지 못함이 파악되었다. 또한 심화 과목의 경우 개설된 과목들이 고르지못한 분포를 보였으며 무엇보다 큰 문제는 어떤 분야의 과목을 우선하여가르쳐야 하는가 하는 객관적 기준이 존재하지 않는다는 것이었다. 따라서다음과 같은 개선 방안은 제시해 보고자 한다. 첫 번째로 대학 교육과정 내에 한국 문화 관련 과목에 대한 최소 이수 학점을반영해야 한다. 현재 대부분 태국 대학 교육과정은 영역별 이수 학점이 정해져있지 않아 교육과정 설계자의 경험적 직관적 판단에 의해 표준 교과과정이결정된다. 25 한 분야에 편중되지 않는 교육과정의 설계는 반드시 필요한데24) 문화 과목이 아닌 언어 과목에서 이 내용을 다루는 대학들도 있다.25) 실라빠껀대학교 한국어학과의 경우 교육과정에 영역별 이수 학점이 명시되어 있다. 그러나 문화 영역의 แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 87 태국 내 한국학 발전 현황

여기에 문화 영역을 포함하고 영역별 이수 학점을 의무화 하여 최소한의 문화과목 학점을 보장할 수 있다. 이러한 주장에는 얼마나 많은 학점을 문화 영역에배정해야 하는지에 대한 논의가 필요하다. 언어 학습을 목적으로 하고 있는 태국대학에서는 한국어 과목만으로도 학생들의 수업 시수가 모자라고 전문적인내용을 다루어야 하는 심화 과목의 경우 이를 담당할 전문 인력이 부족하기도하다. 따라서 모든 학년, 모든 학기에 문화 과목을 개설하는 것은 비현실적인제안일 수도 있다. 그러나 적어도 저학년과 고학년에 각각 문화 과목 개설이필요하다. 대부분 1학년에 개설되는 한국 개관 과목의 학습 후 학생들은 수업 내또는 수업 외에 한국 문화를 접할 기회를 갖게 되고 이것이 새로운 동기로작용하여 양적 질적으로 더 심화된 문화적 지식과 경험을 원하게 되기 때문이다.즉, 한국 개관 내용을 학습하는 기초 과목만으로는 학생들의 요구를 충족시키기어렵기 때문에 고학년의 심화 과목 개설은 반드시 필요하다. 두 번째로, 한국어 문화 통합 과목과 문화 과목의 목표가 다름을 알고 이 둘을별도의 영역으로 인식하는 것이다. 한국어 교육에서 교실 내 문화교육은 대부분문화 교재 또는 읽기 자료를 중심으로 하여 학습자의 언어 능력 향상을도모하려는 목적으로 이루어지고 있다. 특히 한국어 전공의 경우 한국어전문가를 양성할 목적을 지니고 있기 때문에 문화는 높은 언어 능력 습득을 위한수단으로서의 역할에 그치며 그 내용 자체에는 소홀해지는 경향을 부인하기어렵다. 게다가 학습자의 언어 숙달도에 따라 학급이 편성되는 한국 국내 한국어교육 기관들과 달리 태국 대학의 과목별 학급 구성은 학년별로 이루어지는데, 이경우 한국어 숙달도의 편차가 심하다. 이러한 이유로 통합 과목의 경우 교사가문화 내용 위주의 수업을 진행하려는 의지가 있어도 숙달도의 영향을 받아학습자의 문화 내용 습득 정도가 제한될 수밖에 없다. 따라서 태국 내 대학에는언어 학습으로부터 독립적인 문화 영역의 과목들이 별도 개설될 필요성이 있다. 한국 현대 문화에 대한 과목을 필수 과목으로 개설할 필요성도 제기된다. 태국대학의 한국어전공 학습자를 대상으로 연구한 추띠마(2014)에서도 현대 문화를중심으로 한 문화 수업의 필요성을 강조하고 있다. 의사소통에 있어 언어 지식이형식이라고 한다면 목표 문화에 대한 지식과 이해는 내용에 해당된다고 할 수있다. 대화의 내용 중 많은 비중을 차지하는 것은 화자들에게 유의미한 문화, 즉자신들이 속해있는 현대의 사회 환경과 문화가 될 것이며 따라서 문화수업에서도 이러한 내용들이 반영되어야 한다. 그런데 현대의 사회 문화는고정된 대상이 아니며 변동하고 있으므로 이러한 변화를 인지하고 구체적인현상에 대해 자문화와 비교하여 가치 판단이 가능하도록 교육해야 할 것이다.이러한 교육은 상호문화적 능력을 위해서도 반드시 필요하다. 마지막으로 태국 내 대학의 한국어 전공 학생들에게 맞는 문화 교육의 내용과방법에 대한 논의가 요구된다. 태국 내 한국어 교육은 20년 이상의 시간 동안필수 이수 학점은 따로 제시되지 않는다. แนวทางการพัฒนาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 88 태국 내 한국학 발전 현황

발전해 왔으며, 한류의 영향과 개인적 호기심에서 비롯된 학습자의 수적증가라는 성장 시기를 지나 이제는 정부 정책이라는 동력을 얻어 양적 질적발전을 도모하고 있는 시기이다. 하지만 태국 내 문화 교육 연구는 아직 필요성이나 개선 방안을 논의하는 단계에 머물고 있고 내용과 방법 등 교육 현장에실질적으로 적용될 수 있는 연구는 발견하기 어렵다. 그 결과 교육 현장에서는교사의 경험이나 직관에 의해 수업 내용과 방법이 결정되고 있다. 이제는 태국문화 환경 내의 대학 전공 학습자들이 갖는 특징적 변인을 파악하고 무엇을가르쳐야 할 것인가, 어떻게 가르쳐야 할 것인가에 대한 논의가 필요하며, 이는나아가 태국 내 언어학습 환경에 최적화된 문화 교재 개발로도 이어질 수 있을것이다. 현재 태국 대학 내 한국어 전공의 문화교육의 필요성은 인식하고 있지만 이를언어 학습의 수단으로 여기는 경향이 아직은 강하다. 이 때문에 교육 과정 내의문화 과목의 위상이 불분명하고 태국의 한국어 교육 분야 내에서 무엇을 가르칠것인가 어떻게 가르칠 것인가와 같은 한국문화교육 관련 논의는 미흡한 현실이다.문화교육의 내용과 범위가 학습자 변인에 매우 큰 영향을 받는다는 특성을고려할 때 태국 내 학습자들을 위한 독립적이고 특성화된 문화교육 연구가요구된다. 관련 논의들을 통해 한국 문화 교육의 역할과 위상이 제고되고 태국인학습자들을 위한 교육 내용과 방안들의 제안이 활발해져 실제 교육 현장에 반영될 수 있기를 기대한다.참고문헌강승혜 외(2010), 한국문화교육론, 형설.강현주(2014), 해외 거주 한국어 초급 학습자 대상 한국 문화 교육 방안 연구, 이중언어학57, 이중언어학회, 1-24.강현화(2010),문화교수의 쟁점을 통해서 본 문화교수의 방향성 모색, 한국언어문화학 7-1, 국제한국언어문화학회, 1-30.강현화(2011), 한국어 교육을 위한 문화 교수 요목, 한국언어문화교육학회 제14차 전국학술대회자료집, 한국언어문화교육학회, 17-28.권오경(2006), 한국어교육에서의 한국문화교육의 방향, 어문론총 45, 한국어문학회, 389-431.김창희(2012), 태국 대학 교양한국어 학습자를 위한 문화 교육 항목 선정 연구, 경희대학교 석사학위논문.배재원(2011), 한국어 학습자를 위한 한국문화 교육 연구, 이화여자대학교 แนวทางการพัฒนาเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย 89 태국 내 한국학 발전 현황

박사학위논문.아리야타나완 추띠마(2014), 태국 대학에서의 한국학관련 전공자를 위한 교육과정 개발 방안 연구: 한국문화 교육 요구분석을 중심으로, 이화여자대학교 석사학위논문.안화현(2005), 태국인 한국어 학습자를 위한 문화 교수요목 개발 연구, 상명대학교 석사학위논문.이미혜(2010), 한국문화 자료집 편찬을 위한 문화항목 선정, 한국사전 16, 한국사전학회, 244-268.최주열∙김명권(2013), 한국 문화 교육 항목 선정에 대한 고찰, 한국언어문화학 10-2, 국제한국언어문화학회, 317-342.홍지혜(2013), 태국 고등학교 한국어 학습자를 위한 한국 문화 교육 항목 선정 연구: 교사와 학습자의 요구 분석을 중심으로, 한국외국어대학교 석사학위논문. แนวทางการพัฒนาเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย 90 태국 내 한국학 발전 현황