Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Korean Studies Development Approach in Thailand

Korean Studies Development Approach in Thailand

Published by thanaphon.ksc, 2017-02-22 21:45:05

Description: แนวทางการพัฒนาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย
Korean Studies Development Approach in Thailand
태국 내 한국학 발전 방향

일시 : 2015.12.21-23
장소 : 임페리얼 호텔, 파타야

Search

Read the Text Version

ด้านทีห่ า้ คือ การเมืองการปกครอง โดยยคุ สงครามเกาหลีได้รับความสนใจมากทส่ี ดุ ส่วนการรวมประเทศเกาหลี อยูอ่ นั ดับความสนใจตน้ ๆ เช่นกัน รองลงมาคอื การปฏิวัตแิ ละการจราจลครั้งสําคญั ในอดีตการเมืองการปกครองกอ่ นสงครามเกาหลีระบบชนช้ัน (ในอดีต) และการเมืองการปกครองหลังสงครามเกาหลี ด้านท่หี ก คือ ด้านภาษาและวรรณคดีเกาหลี โครงสรา้ งภาษาเกาหลไี ดร้ ับความสนใจมากท่ีสดุ โดยอันดบั สองคือ ภาษาถิ่นเกาหลีทีม่ าและลกั ษณะเฉพาะของภาษาเกาหลี สว่ นท่ไี ด้รบั ความสนใจปานกลางคือเรื่องสนั้ เกาหลสี ํานวนและสุภาษติ เกาหลี และทีไ่ ดร้ ับความสนใจนอ้ ยคอื นทิ านพืน้ บา้ นเกาหลี และบทกวที ่ีมีช่ือเสียง และหากตาํ ราเกาหลีศกึ ษาไดจ้ ดั ทาํ ออกมาแล้ว คาดวา่ จะมปี ระโยชนต์ ่อทา่ นมากน้อยเพียงใดน้ัน มีถงึ ๔๒.๖๑% ท่ตี อบวา่ มีประโยชน์มาก ๔๑.๗๔ % ตอบว่ามปี ระโยชน์มากที่สดุ มีเพียง ๑๕.๖๕ % ทีต่ อบว่าปานกลาง และไมม่ ผี ้ตู อบแบบสอบถามทา่ นใดเลยที่ตอบว่ามปี ระโยชน์นอ้ ยเลย สว่ นประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะ แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 태국 내 한국학 발전 현황 141

ไดร้ ับนั้น ผตู้ อบแบบสอบถามคดิ วา่ จะสามารถเขา้ ใจชาวเกาหลแี ละประเทศเกาหลีมากยิ่งข้นึ มาเปน็ อนั ดบั หนงึ่รองลงมาคอื เพม่ิ ทักษะภาษาเกาหลีสามารถนาํ ไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจําวนั ได้ และนาํ ไปประยกุ ต์ใชใ้ นการประกอบอาชพี ได้ ตามลําดบั สําหรบั คาํ ถามอ่นื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั รูปเล่มหนังสือนั้นผ้ตู อบแบบสอบถามอยากใหม้ ภี าพประกอบ และเป็นภาพสี ๔๕.๒๒ % และ ๕๔.๗๘% ตามลาํ ดับและ ๖๐ .๘๗% อยากใหร้ าคาของตาํ ราอยู่ท่ี ๒๐๐ –๓๐๐บาท ขนาดของตําราไมค่ วรใหญห่ รือเลก็ จนเกนิ ไป โดยขนาด B5 ( ๑๗.๖ซ.ม.*๒๕ซ.ม.) เปน็ ขนาดท่ไี ดร้ ับความสนใจมากทสี่ ุด รองลงมาคือขนาด A4 และ A5 ตามลาํ ดับ สาํ หรบั จาํ นวนหน้าทงั้ หมดของตํารา ผ้ตู อบแบบสอบถาม (๔๘ .๗% พงึ พอใจท่ี ๒๕๐ – ๓๕๐ หนา้ ซึง่ ไม่มากและไมน่ ้อยจนเกินไป รองลงมาคอื๑๕๐ – ๒๕๐ หน้า เมื่อพิจารณาผลวเิ คราะห์โดยภาพรวมถงึ ความสนใจมากที่สุดในแต่ละดา้ นแล้ว จะเหน็ ได้วา่ ผตู้ อบแบบสอบถามให้ความสนใจมากในเนอ้ื หาทเี่ ปน็ เกาหลใี นยุคปัจจุบนั หรอื เปน็ เนอ้ื หาที่คนไทยใหค้ วามสนใจตอ่ประเทศเกาหลีในยคุ น้ี เช่น ด้านศลิ ปะ วัฒนธรรมและประเพณีเกาหลี ท่ีวัฒนธรรมเกาหลสี มัยใหม่ (กระแสเกาหลี) ได้รบั ความสนใจเปน็ อนั ดบั หน่ึง ด้านสงั คม และภูมปิ ระเทศ ท่สี นั ทนาการและการทอ่ งเท่ียวของเกาหลีไดร้ ับความสนใจมากท่ีสดุ ส่วน ด้านเศรษฐกิจเกาหลีที่ ชีวิตพนักงานบรษิ ัทเกาหลี และ เศรษฐกิจเกาหลีในปัจจบุ ัน ได้รบั ความสนใจมากทส่ี ดุ เช่นกนั จะเห็นไดว้ า่ ๓ ด้าน จากทง้ั หมด ๖ ด้าน เป็นเรื่องของเกาหลใี นยคุ ปัจจุบนั สว่ นดา้ นอื่นๆ การเมอื งการปกครอง ทยี่ คุ สงครามเกาหลีไดร้ บั ความสนใจมากที่สดุ แต่ การรวมประเทศในอนาคตไดร้ ับความสนใจเป็นอนั ดบั รองลงมา ด้านประวตั ิศาสตร์ ยคุ ราชวงศโ์ ชซอนได้รบั ความสนใจมากทส่ี ุด และด้านสุดท้าย ด้านภาษาและวรรณคดีเกาหลี ทโ่ี ครงสรา้ งภาษาเกาหลีไดร้ ับความสนใจมากทสี่ ุดซ่ึงไมเ่ กย่ี วขอ้ งกบั กาลเวลาแตอ่ ยา่ งใดบทสรปุ จากการศึกษาและเรยี บเรียงบทความน้ี พบว่า แมป้ ระเทศไทยในปจั จบุ ันจะมสี ถาบนั ท่มี ีการเรยี นการสอนภาษาเกาหลแี ละเกาหลีศึกษาอยูเ่ ปน็ จํานวนมาก แตท่ กุ สถาบันลว้ นมวี ตั ถุประสงค์ในการผลติ ผู้เรียนทีม่ ีความเชย่ี วชาญทางภาษาเกาหลีเป็นหลกั และแม้ว่าทุกสถาบันการศกึ ษาจะเหน็ ความสาํ คัญและความจาํ เป็นของรายวิชาเกาหลศี ึกษาตา่ งๆโดยบรรจุอย่ใู นหลักสตู รของตนเองแลว้ น้ันแตต่ ลอดระยะเวลา ๑๖ ปีท่ีผ่านมาตาํ ราหรอื เอกสารทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับรายวิชาเกาหลีศกึ ษาทีเ่ รียบเรยี งโดยนกั วิชาการชาวไทย ถอื วา่ มีนอ้ ยมาก ศูนยเ์ กาหลศี กึ ษา มหาวทิ ยาลยั บูรพาไดต้ ระหนกั ถึงความสําคญั และความจําเปน็ เรง่ ด่วนน้ี จึงมีแผนพัฒนาและผลิตตาํ ราเกาหลีศึกษาเบ้ืองต้นทเ่ี หมาะสําหรับผู้เรยี นชาวไทยทง้ั ในระดบั ต้นและระดบั กลาง ท่ีจะสามารถใชต้ าํ ราเรียนเกาหลศี ึกษา ฉบับภาษาไทย และตําราเรยี นเกาหลศี กึ ษา ฉบับภาษาเกาหลี โครงการพฒั นาตาํ ราเกาหลีศกึ ษาน้ี คาดว่าจะส่งผลต่อการพฒั นาศักยภาพทางภาษาเกาหลี และส่งเสรมิ ความรคู้ วาม แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 태국 내 한국학 발전 현황 142

เขา้ ใจเกีย่ วกบั ประเทศและชาวเกาหลขี องผู้เรยี นใหด้ ีย่ิงขน้ึ และตําราจะเปน็ เสมอื นตวั เชื่อมทก่ี อ่ ใหเ้ กิดความเข้าใจอนั ดรี ะหวา่ งสองชนชาติ ไทยและเกาหลี การพฒั นาการเรยี นการสอน การพัฒนาตํารา หนงั สอื หรือเอกสารการสอน ถอื เป็นภารกจิ หน่ึงของอาจารย์ผสู้ อนภาษาเกาหลีในประเทศไทยทจ่ี ะตอ้ งร่วมมอื กนั และร่วมกันรับผดิ ชอบ แมโ้ ครงการพัฒนาตําราของศนู ยเ์ กาหลศี ึกษาในครัง้ นจ้ี ะเป็นโครงการเลก็ ๆ แตเ่ ชอ่ื ม่ันจะเปน็ กา้ วแรกท่ีสําคญั อีกกา้ วหนึ่งของพวกเราท่ีจะมสี ่วนช่วยในการพัฒนาเกาหลศี ึกษาในประเทศไทยใหเ้ ปน็ ไปอย่างยั่งยนืบรรณานุกรม김기태(2014), 태국내한국학현황과변화, 그리고제언,2014 년한국학중앙연구원파견교수초청 세미나.박한나 (2010), 통으로읽는한국문화,서울,박이정.이석이(2007), 외국인을위한한국현대문화, 서울,한국문화사.이선이 이명순(2011),오늘의한국, 서울, 한국문화사.임경순 (2009),한국어문화교육을위한한국문화의이해,서울,한국외국어대학교출판부.조재윤 박금주외(2009), 외국인을위한한국문화길라잡이, 서울,박이정.http://tha.mofa.go.kr/korean/as/tha/information/education/index.jsp (เขา้ ถึง: 12 พ.ย. 2558)กนกกลุ มาเวียง. อาจารย์ประจําภาควชิ าภาษาไทยและภาษาตะวนั ออก สาขาวชิ าภาษาเกาหลี คณะ มนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สมั ภาษณ์, 16 พฤศจกิ ายน 2558.จรี ศกั ด(์ิ กรธัช) ชาตอิ ารยะวดี. ประธานสาขาเกาหลศี กึ ษา คณะวเิ ทศศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. สัมภาษณ์, 25 พฤศจิกายน 2558.นฤทธิพล ศรีสงกา. อาจารย์ประจําภาควชิ าภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนษุ ยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ สาขาวิชาภาษาเกาหลี มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. สมั ภาษณ์, 16 พฤศจิกายน 2558.ประภารตั น์ ทองส้นั . หวั หน้าสาขาวชิ าภาษาเกาหลี คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏเชยี งใหม่. สัมภาษณ์, 19พฤศจิกายน 2558.ภทั ทริ า จิตตเ์ กษม. อาจารย์พิเศษสาขาภาษาเกาหลี คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย ราชภัฏเชียงใหม่. สัมภาษณ์, 19 พฤศจกิ ายน 2558.รําพึง คําขา. หัวหน้าสาขาวิชาภาษาเกาหลคี ณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดติ ถ์. สมั ภาษณ์, 17 พฤศจิกายน 2558.วมิ ลมาส หมืน่ หอ. หัวหน้าสาขาวชิ าภาษาเกาหลี คณะมนุษยศาสตร์และประยุกตร์ศลิ ป์ มหาวิทยาลัย หอการคา้ ไทย. สัมภาษณ์, 19 พฤศจิกายน 2558. แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 태국 내 한국학 발전 현황 143

วรี ชัย พนั ธ์สืบ. หัวหน้าสาขาวชิ าภาษาเกาหลีคณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั เชยี งราย. สมั ภาษณ์, 18 พฤศจกิ ายน 2558.สิรินาถ ศริ ิรตั น์. อาจารยป์ ระจาํ ภาควิชาภาษาปัจจุบันตะวนั ออก สาขาวิชาภาษาเกาหลี คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร. สัมภาษณ์, 3 ธันวาคม 2558.อรพรรณ จนั ทรเ์ ทา. หัวหนา้ แผนกวชิ าภาษาเกาหลคี ณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. สมั ภาษณ์, 23 พฤศจกิ ายน 2558. แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 태국 내 한국학 발전 현황 144

연구발달 방법을 통한 한국학 연구 자료의 필요성 / 데이터베이스 발달의 필요성 Punchida Saenphithak36 현재 인터넷 기술의 발달은 인간 생활에 큰 변화를 가져왔습니다.글로벌세계 교육은 인터넷을 통해서 온라인 학습, 온라인 교육, 온라인 데이터베이스 등을 발달 시키고있습니다.현재 태국대학교 학생들의 연구 활동을통해 팀 수업 (Team Teaching) 지역 연구 기반 (Area and Research Based) 과사례연구 (Case Study)에 대한 교육과정을 정리하고 있습니다. 태국학생들은 대부분국내 웹사이트와 해외 웹사이트에서 많은 자료를 검색하고 있습니다.예를들어 ThaiLis, RISS (Riss For Higher Education), Academia education 웹사이트,다른 대학교관련 웹사이트가 이에 해당됩니다. 하지만 웹사이트에 접속할 때마다 적지않은 불편함이 있습니다. 원하는 연구 자료를 찾지 못해 자료를 직접 가서찾아야 하는 불편함과 그로 인해 발생되는 비용 등은 연구 자료가 충분하지않아 나타나는 문제로 판단됩니다. 위와 같은 이유로 학생들이 불편하지 않게자료들을 검색하기 위한 학부 연구의 데이터베이스 발달은 학업에 있어 매우중요한 부분이라고 생각합니다.학부 연구를 정리한 데이터베이스의 발달은오래된 학부 연구를 정리할 수 있고 손쉽게 그 자료를 찾을 수 있으며 앞으로더 나아가 한국학, 언어 및 또 다른 분야에서 태국 교육과 더불어 학문적으로질높은 연구 자료로 발전되어 갈 것으로 생각됩니다.키워드 : 연구 데이터베이스 발달 , 한국학 , 학부 연구 , 연구 자료36Lecturer, Faculty of International Studies, Prince of Songkla University, Phuket Campus 145 แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 태국 내 한국학 발전 현황

แนวทางพฒั นาเกาหลีศึกษาในมติ ขิ องการพัฒนางานวิจยั ปุญชิดา แสนพทิ กั ษ์บทนา การศกึ ษาเกาหลใี นประเทศไทย เริม่ แรกเปน็ เพยี งเน้ือหาทเ่ี นน้ ทางด้านภาษาเกาหลี ซึ่งมหี ลายมหาวิทยาลัยหลายแห่งท่เี ปิดสอนภาษาเกาหลีเป็นวชิ าเอก วิชาโทและวิชาเลือกเสรีในฐานะเปน็ภาษาตา่ งประเทศ เพื่อใหผ้ ู้มีความสนใจศกึ ษาและพยายามนําความรู้ทางดา้ นภาษาเพอื่ ใชใ้ นการประกอบอาชีพในอนาคตให้เกดิ ประโยชนแ์ ละตอบสนองตลาดแรงงานในภาคอตุ สาหกรรม บรกิ ารตา่ ง ๆ การเรียนการสอนภาษาเกาหลีในประเทศไทยนน้ั เรม่ิ ในปี ค .ศ. 1985 โดยมหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีเปน็ วิชาเลอื กเสรเี ป็นทแี่ รก สมัยนั้นเป็นสมัยท่ยี ังไมเ่ กดิ กระแสวัฒนธรรมเกาหลีในสังคมไทย แต่มหาวิทยาลยั เห็นความสําคัญของการเรียนการสอนภาษาเกาหลีให้แกน่ ักศึกษาไดป้ รับเปลี่ยนเปิดสอนเป็นวิชาโทในปี ค .ศ. 1997 และวชิ าเอกในปี ค .ศ. 1999 ตามลาํ ดับ นอกจากนี้ในประเทศไทยยงั มมี หาวิทยาลัยทเี่ ปิดสอนภาษาเกาหลเี ปน็ วิชาเอกอีก 9 มหาวทิ ยาลยั มีอีก 10 กวา่ มหาวิทยาลัยเปิดสอนภาษาเกาหลีเปน็ วชิ าโทหรือวิชาเลือก สําหรบั มหาวิทยาลัยทบี่ รรจเุ ป็นวชิ าเอกหรอื วิชาโทมดี งั เช่นมหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตปตั ตานี มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร มหาวทิ ยาลัยบรู พา มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวทิ ยาลยั นเรศวร จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภฏัเชียงใหม่ สว่ นมหาวิทยาลัยทบี่ รรจไุ วเ้ ปน็ วิชาเลอื กประกอบไปด้วย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวทิ ยาลยั ทักษิณ รวมถงึ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อกี หลายแหง่ ในประเทศไทย และกาํ ลังจะเปิดการสอนเพม่ิ ขนึ้ หลายสถาบันนอกจากนน้ั ความสนใจดา้ นภาษาเกาหลียังไดข้ ยายขอบเขตจากระดบั อุดมศกึ ษาไปสูโ่ รงเรยี นมธั ยมศกึ ษาปจั จุบันโรงเรยี นมัธยมศกึ ษาทีเปิดการสอนภาษาเกาหลมี ีจาํ นวนไมน่ ้อยกวา่ 15 แหง่ เชน่ โรงเรียนมัธยมวดั มกุฎกษัตรยิ ์ ซง่ึ ถอื เปน็ โรงเรยี นมัธยมแหง่ แรกของไทย ทเ่ี ปดิ หลักสูตรภาษาเกาหลีใหน้ ักเรียนเลือกเรยี นในระดบั มธั ยมต้นและมธั ยมปลายรวมไปถงึ โรงเรยี นหอวัง โรงเรยี นอาํ มาตย์พานิชยนกุ ูล กระบี่ โรงเรียนจุฬาภรณร์ าชวิทยาลยั นครศรธี รรมราชโรงเรียนวรนารเี ฉลมิ สงขลา โรงเรียนสารวิทยา โรงเรียนสตรีเศรษฐบตุ รบาํ เพ็ญ และอกี หลายแหง่ ในประเทศไทยอยา่ งไรกด็ ี สาํ นักงานการศึกษาข้นั พ้ืนฐานของกระทรวงศึกษาธิการของไทยให้ความสําคญั กับการเรียนการสอนภาษาเกาหลีเป็นภาษาท่สี าม ได้ทาํ ความรว่ มมอื กบั องค์กรของประเทศเจา้ ของภาษา เพื่อใหบ้ ัณฑิตวชิ าเอกภาษาตา่ งประเทศที่สอง ไดแ้ ก่ ภาษาญ่ปี ุน เกาหลี ฝร่ังเศส เยอรมนั สเปน รสั เซีย เมียนมา เวียดนามเขมร และมลายู/อนิ โดนีเซีย เพื่อศกึ ษาด้านภาษาและการสอนภาษาตา่ งประเทศทีส่ อง และพัฒนาใหม้ ีคณุ วุฒิตรงตามคุรุสภากาํ หนด เพอื่ เตรยี มพร้อมสาํ หรับบรรจุเขา้ รบั ราชการเปน็ ครสู อนภาษาต่างประเทศที่สองในโรงเรยี นสังกัดสาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ภายใตโ้ ครงการทนุ การศึกษาดา้ นการสอน แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 태국 내 한국학 발전 현황 146

ภาษาตา่ งประเทศที่สอง เพอื่ ผลิตครูในสาขาวิชาที่ขาดแคลน จึงนับไดว้ า่ ภาครัฐ องค์กร ทัง้ ประเทศไทยและ 147ประเทศเกาหลีให้ความสําคัญกับการศึกษาภาษาเกาหลีในประเทศไทยเปน็ อย่างมาก ปจั จบุ ันจากปจั จัยกระแสเกาหลีทผี่ า่ นสอ่ื ตา่ ง ๆ ไมว่ า่ ละคร ภาพยนตร์ เพลง ก่อให้เกดิ การพฒั นาการเรยี นการสอนภาษาเกาหลที ีแ่ พรข่ ยายในประเทศไทย สง่ ผลใหค้ นไทยมคี วามต้องการเรียนรสู้ ิ่งแปลกใหมท่ างดา้ นวฒั นธรรมนอกเหนอื จากการเรียนภาษาเกาหลเี พมิ่ ข้นึ เชน่ เดียวกัน หลายมหาวิทยาลัยในประเทศนอกจากมีรายวชิ าทเี่ น้นการเรียนการสอนทางด้านภาษาเกาหลีแลว้ ยังปรับเปลย่ี นหลักสูตรให้นักศึกษามคี วามร้แู ละความเข้าใจวฒั นธรรมเกาหลผี ่านการเรยี นการสอนในหอ้ งเรยี นไม่วา่ จะเป็นรายวชิ าท่ีสอดแทรก วชิ าการทาํ อาหาร การเรียนรู้ การใส่ชดุ ประจาํ ชาติ และอีกหลาย ๆ รปู แบบผา่ นการเรยี นการสอนของชว่ั โมงการเรียนรทู้ างวฒั นธรรม Kim Gyu Sil (2013) ได้กล่าวไวว้ า่ การศึกษาเกยี่ วกบั ประเทศเกาหลใี นประเทศไทยเริ่มตน้ ขึ้นจากมหาวิทยาลยั รามคําแหง สถาบันวิจยั ของจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย และมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ เปน็ ตน้ ตงั้ แต่ ปี พ .ศ. 2510 เปน็ ตน้ มา นักวิชาการไทยที่สนใจเกาหลไี ดเ้ ผยแพร่ข้อมูลขา่ วสารเก่ียวกับเกาหลีศึกษาในวารสารตา่ ง ๆ การศึกษาเก่ียวกับเกาหลมี ปี ระวตั ิยาวนาน โดยจะเปน็จากการมหี ลกั สูตรที่กล่าวถึงประเทศเกาหลใี นวชิ า ตง้ั แต่ระดับชัน้ เรยี นสามญั ไปจนถงึ การเรยี นในระดับอุดมศกึ ษาในมหาวทิ ยาลยั และยงั มีการจัดตงั้ ศูนย์วิจัยในสถาบันของมหาวทิ ยาลยั เพอ่ื ศกึ ษาเร่ืองประเทศเกาหลี นอกจากน้ยี ังมีหลักฐานวา่ ประเทศไทย ให้ความสนใจสอนเกี่ยวกับสาธารณรฐั เกาหลี และเปิดการสอนเป็นเวลานาน สถาบันอุดมศึกษาหลายแหง่ ไดแ้ ก่ มหาวิทยาลยั ศิลปากร มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมธริ าช ซงึ่ ปรากฏอยใู่ นหลักสตู ร ประวตั ิศาสตร์เอเชยี ตะวันออก การเมืองการปกครองประเทศในเอเชยี และภูมิศาสตร์เอเชยี ตะวนั ออก วิชาเหล่านัน้ มเี นื้อหาท่แี นะนําเก่ียวกับประเทศเกาหลี ขณะเดียวกันมหาวิทยาลัยอนื่ ๆ กใ็ ห้ความสนใจศกึ ษาเร่ืองราวของสังคมเกาหลี ไดแ้ ก่ มหาวิทยาลยัหอการคา้ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมธริ าชมหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ เปน็ ต้น หลักสูตรการเรยี นการสอนที่มหาวทิ ยาลยั ในประเทศไทยใชใ้ นขณะน้ี มีลักษณะท่ีคล้ายๆกนั เกอื บทุกมหาวทิ ยาลัย ไมว่ า่ จะเป็นรายวิชาทางดา้ นภาษาเกาหลี และรายวชิ าทมี่ คี วามเกยี่ วขอ้ งทางดา้ นสังคมและวฒั นธรรมเศรษฐกิจ การเมือง เป็นต้น และจากความหลากหลายของการเรยี นการสอนนั้นเอง ทาํ ให้การศกึ ษาหาขอ้ มลู เพมิ่ เติมจึงมีความสําคญั อย่างมาก และวิธีท่นี ักศึกษาหรือบุคคลทั่วไปไดใ้ ช้คอืการเรยี นรแู้ ละหาข้อมลู ผา่ นฐานขอ้ มลู ในเครอื ข่ายอินเทอรเ์ น็ตทก่ี ําลังเปน็ ทน่ี ยิ มอย่างแพร่หลาย อยา่ งที่กลา่ วมาข้างตน้ ปัจจุบันนกั ศกึ ษาหรอื ผศู้ กึ ษางานวจิ ัยสบื ค้นขอ้ มลู งานวิจัยทางดา้ นเกาหลศี ึกษาโดยสามารถสืบคน้ ได้จากโปรแกรมที่ช่วยในการสบื ค้นข้อมลู โดยเฉพาะข้อมลู บนเครือขา่ ยอินเทอรเ์ นต็(search engine) หลากหลายแหล่ง ไม่ว่าจะเปน็ เครือข่ายหอ้ งสมุดในประเทศไทย สงั กัดสาํ นกั งานคณะกรรมการ การอุดมศกึ ษา หรือ ThaiLis เป็นเครือขา่ ยท่ีรวบรวมข้อมลู การวิจยั บทความวิชาการวทิ ยานิพนธ์และงานวิจยั ที่เกย่ี วข้องกบั เกาหลศี ึกษา ซง่ึ ผู้ทต่ี อ้ งการหาขอ้ มลู ทําวิจัยและค้นหาใช้ในการหาขอ้ มูล ซึง่ จะพบได้วา่ ฐานขอ้ มลู ทร่ี วบรวมงานวจิ ยั ทางดา้ นภาษาและการศกึ ษาเกาหลศี กึ ษาเปน็ ผลงานจากสถาบนั การศึกษาในประเทศไทยท้งั จากสถาบันในสว่ นกลางและภมู ภิ าค ได้แก่ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 태국 내 한국학 발전 현황

มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยธรุ กิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยบรู พา มหาวิทยาลัยมหาสารคามมหาวทิ ยาลยั มหิดล มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ้ มหาวิทยาลยั แม่ฟาู หลวง มหาวทิ ยาลัยรามคําแหงมหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปกร มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ และมหาวิทยาลยั อน่ื ๆ ในประเทศไทย สุรยี ์รตั น์ บํารงุ สุข (2014:205) ได้สรปุ เน้อื หาสาระของผลงานวิชาการทางเกาหลีศึกษาจากเครือขา่ ย ThaiLis โดยจดั หมวดหมตู่ ามกลมุ่ เนอื้ หาสาระได้ 11 กล่มุ ประกอบดว้ ย สังคม การท่องเที่ยวการเมือง การต่างประเทศ ประวัติศาสตร์ ภาษา การค้าแรงงานขา้ มชาติ วัฒนธรรม วทิ ยาศาสตร์ ศาสนา และเศรษฐกิจ ซ่งึ สรปุ ได้ดงั แผนภาพตอ่ ไปน้ี แผนภมู ิภาพแสดงจาํ นวนผลงานทางวชิ าการในเครือข่าย ThaiLis ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั เกาหลศี กึ ษาจากแผนภูมิภาพข้างตน้ จะเหน็ ได้ว่า เนอ้ื หาสาระของผลงานทางวชิ าการอนั ดบั แรก ได้แก่ 3 กลมุ่ ซึ่งกล่มุ เนอ้ื หาทีพ่ บผลงานวชิ าการมากท่ีสดุ ไดแ้ ก่ เศรษฐกิจ ร้อยละ 32 เนือ้ หาทเี่ กีย่ วขอ้ งกับวัฒนธรรม รอ้ ยละ22 และเนื้อหาที่เก่ยี วข้องกับภาษา ร้อยละ 14 ตามลาํ ดับ ซึ่งไมเ่ พยี งแค่ฐานขอ้ มลู ในเครือขา่ ย ThaiLis ที่ใช้ในการหาข้อมลู เทา่ นนั้ ผู้วจิ ยั สามารถเขา้ ไปค้นหาขอ้ มูลงานวิจัย บทความวิชาการวทิ ยานพิ นธแ์ ละงานวจิ ัยท่ีเกยี่ วข้องกบั เกาหลศี กึ ษาได้ในสถาบนั ต่าง ๆ เชน่ ฐานขอ้ มลู วจิ ยั ของมหาวิทยาลัยมหิดล ฐานข้อมูลวิทยานพิ นธฉ์ บับเต็มของมหาวิทยาลยั รามคําแหง ฐานข้อมลู วิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ ( e-Theses) ของมหาวิทยาลยั เชียงใหม่ เป็นตน้ ซึง่ บางฐานข้อมลู ผ้วู จิ ยั สามารถสามารถดึงขอ้ มลู จากเวบ็ ไซตห์ ้องสมุดของมหาวิทยาลัยได้ แต่ในขณะเดียวกนั ผู้วิจยั มกั ประสบปัญหาข้อจํากัดในการคน้ หาข้อมลู ทไี่ มส่ ามารถดาวโหลดข้อมลู ไดอ้ ย่างอสิ ระไม่เพียงแต่ฐานข้อมลู ซงึ่ จะใชใ้ นการหาขอ้ มลู ในประเทศไทยเท่าน้นั ฐานข้อมูลในตา่ งประเทศเปน็ วิธีหน่ึงที่จะให้นักวิจยั และนักศึกษาสามารถหาข้อมูลไดเ้ ชน่ เดียวกัน เชน่ หากสนใจค้นควา้ ข้อมูลผลงานวิชาการแขนงต่าง ๆ ที่เกีย่ วข้องกับประเทศเกาหลีหรือประเทศอืน่ ๆ สามารถศึกษาไดจ้ ากเว็บไซต์ของ RISS (Riss ForHigher Education) ซ่งึ เปน็ องค์กรภาครฐั สงั กดั กระทรวงศึกษาธกิ าร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ท่เี ก็บ แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 태국 내 한국학 발전 현황 148

รวบรวมข้อมูลงานวิจัย และสามารถเลอื กคําค้นหาข้อมลู ได้ และรวมไปถงึ เวบ็ ไซต์ Academia education ซง่ึสามารถอพั โหลด วจิ ัยและบทความวชิ าการของผวู้ จิ ัยหลากหลายแขนงใหค้ นทีม่ ีความสนใจเข้าไปศกึ ษาหาขอ้ มูลไดเ้ ชน่ เดียวกัน เว็บไซต์ของ RISS (Riss For Higher Education)เวบ็ ไซต์ Academia education ปัจจุบนั หลักสตู รของหลายมหาวทิ ยาลยั ได้มีการจดั กระบวนการเรยี นการสอนในรูปแบบ Team 149Teaching, Area and Research Based และ Case Study เพือ่ จัดกระบวนการเรยี นการสอนของนักศึกษาใหเ้ ป็นไปตามจดุ เด่นท่หี ลักสตู รกาํ หนดและเป็นกลยทุ ธห์ น่ึงท่ีจะช่วยให้นักศึกษามกี ลวธิ แี ละแนวคิดผา่ นการทํางานวจิ ัยของนกั ศกึ ษาจงึ นบั ไดว้ า่ ฐานข้อมูลเป็นแนวทางทผ่ี ้วู จิ ัยหรือนักศึกษาสามารถคน้ หาขอ้ มูลเพ่มิ เติมและมปี ระโยชนใ์ นการศึกษาค้นคว้าเรียนรไู้ ด้ดว้ ยตนเองซง่ึ มหาวทิ ยาลยั ท่ีเปิดสอนภาษาเกาหลหี รือเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทยทีจ่ ัดการเรียนการสอนในรปู แบบการศึกษาอิสระ (การทําวิจยั ) ในระดับอุดมศึกษา ไดแ้ ก่มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ มหาวิทยาลยั ราชภัฎเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต ขอบเขตเนื้อหาของการทําวจิ ัยของแตล่ ะมหาวทิ ยาลัยเปน็ การศึกษาอสิ ระแตเ่ น้นการวิจัยทางด้านภาษา สงั คมและวฒั นธรรมทม่ี คี วามเก่ยี วขอ้ งกับประเทศเกาหลี แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 태국 내 한국학 발전 현황

กระบวนการเรยี นการสอนในรายวชิ าการศึกษาอิสระ (การทาํ วิจยั ) ในระดบั อดุ มศกึ ษา โดยทัว่ ไปมีกระบวนการดงั ตอ่ ไปน้ีกระบวนการควบคุมหัวขอ้ รายวชิ าการศึกษาอสิ ระ (การทําวจิ ยั )37 ให้สอดคลอ้ งกับสาขาวชิ า หลักสตู รกาํ หนดแนวทางในการค้นควา้ อิสระแก่นักศกึ ษา นกั ศึกษาเสนอหวั ขอ้ ที่เกีย่ วขอ้ งและโครงร่างโดนสงั เขป ให้แก่อาจารย์ทป่ี รึกษาเพอ่ื หาคณะกรรมการงานวิจยั อาจารยท์ ่ปี รึกษาและกรรมการพจิ ารณาความเหมาะสม ของหัวข้อและเนือ้ หา(ครง้ั ที่ 1) ปรบั ปรงุ และแก้ไขเสนอต่ออาจารย์ท่ีปรึกษา พฒั นางานวจิ ยั และติดตามผล ตามระยะเวลาท่กี าํ หนด อาจารย์ท่ีปรกึ ษาและกรรมการพิจารณาความเหมาะสม ของหัวข้อและเนอื้ หา(คร้ังที่ 2) ปรับปรงุ และแก้ไข และสง่ รปู เลม่37กระบวนการเรยี นการสอนในรายวิชาการศกึ ษาอสิ ระ (การทาํ วจิ ยั ) ท่กี ลา่ วมาขา้ งต้น เปน็ แค่กระบวนการทใ่ี ชโ้ ดยทว่ั ไปใน 150ระดับอดุ มศึกษา ทัง้ นี้รายละเอียดขึ้นอย่กู ับหลกั สูตรและการจดั การเรยี นการสอน แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 태국 내 한국학 발전 현황

ประโยชน์ของการเรียนรู้การศึกษาวชิ าการศกึ ษาอิสระ (การทาํ วจิ ยั ) มีดงั ตอ่ ไปน้ี 1. เพอ่ื ให้นักศกึ ษาและอาจารย์ผสู้ อนมีโอกาสพฒั นาตนเองทางวชิ าการ เผยแพร่ความรู้ ความคดิ และเปน็ ประโยชนใ์ นเชิงวชิ าการ 2. เพ่ือเปน็ สอ่ื กลางในการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ความคดิ ทฤษฏี ตลอดจนการแนวปฏิบัตใิ หม่ ๆ 3. เพือ่ ส่งเสรมิ บุคลากรใหม้ คี วามเชยี่ วชาญ และสง่ เสรมิ พฤติกรรมดา้ นวิชาการอันเป็นประโยชน์ ตอ่ สังคม 4. เพอ่ื สร้างเครือข่ายทางวิชาการท้ังภายในและภายนอกมหาวทิ ยาลัย ปญั หาและอุปสรรคของการศึกษาวชิ าการศึกษาอิสระ (การทําวิจยั ) มดี งั ตอ่ ไปน้ี 1. ขาดเอกสารข้อมลู ทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั งานวิจยั ทม่ี ีความหลากหลาย ทั้งทางดา้ นภาษา สังคม วฒั นธรรม การเมอื ง เศรษฐกจิ ที่จะเอามาอา้ งองิ และค้นคว้า 2. ขาดผู้เช่ียวชาญในศาสตรก์ ารทาํ วิจัยซง่ึ เป็นกาํ ลงั หลกั 3. อาจารย์และนักศกึ ษาขาดแรงจูงใจในการผลิตงานวจิ ยั อย่างทก่ี ล่าวมาขา้ งต้น ปญั หาและอปุ สรรคของการศึกษาวชิ าการศกึ ษาอสิ ระ (การทําวิจยั ) โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขาดเอกสาร บทความและงานวิจยั นับไดว้ า่ เป็นปญั หาของการศกึ ษาของผูเ้ รยี นรายวิชาการศึกษาอิสระ (การทําวิจัย) ซึ่งการคน้ คว้าข้อมูลนอกเหนือจากการทน่ี ักศกึ ษาจะค้นคว้าผ่านฐานข้อมลู ท้ังในประเทศและต่างประเทศแล้วน้นั แต่ละมหาวิทยาลัยทเี่ ปิดสอนรายวชิ าการศกึ ษาอสิ ระ (การทาํ วิจัย) ควรมกี ารพัฒนาฐานขอ้ มลู สาํ หรบั เก็บรวบรวมงานวจิ ยั ของนักศกึ ษาทศ่ี ึกษารายวิชาดังกล่าว และฐานข้อมลู ทีจ่ ดั การเก็บรวบรวมงานวจิ ยั ของนักศึกษา ควรมกี ารจัดการเป็นสาขาและหมวดหมูอ่ ย่างชดั เจน เพ่ือประโยชนใ์ ห้แก่นักศกึ ษาในการค้นควา้ ขอ้ มลู เพ่ิมเติมมากข้ึน ประโยชนข์ องการพัฒนาฐานขอ้ มูลงานวิจยั ของนกั ศึกษาในรายวชิ าการศึกษาอสิ ระ (การทาํ วจิ ัย) มีดังตอ่ ไปน้ี 1. นกั ศึกษาสามารถสามารถเขา้ ถงึ งานวจิ ยั ไดง้ ่าย สะดวก รวดเรว็ ช่วยในการตดั สินใจให้ได้ขอ้ มูลตรง ตามความตอ้ งการมากยิ่งขน้ึ 2. การจัดเกบ็ งานวิจัยและโครงงานในระดบั อุดมศกึ ษามักมกี ารจัดเก็บในรปู แบบเอกสารทเ่ี ป็น ตน้ ฉบับรปู เล่มดังน้ันฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศเปน็ วธิ ีหนงึ่ ท่จี ะจดั เกบ็ รวบรวมและรักษา ผลงานวิจัยของนกั ศึกษาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ 3. เปน็ ประโยชนใ์ หแ้ กอ่ าจารย์ นกั ศกึ ษา ผทู้ ่สี นใจศึกษาคน้ คว้าหาขอ้ มูล 4. เพ่ือพฒั นาและเป็นแนวทางในการสร้างงานวิจัยทางด้านเกาหลีศกึ ษา รวมถึงศาสตร์ตา่ งๆ ท่ี เก่ียวขอ้ ง แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 태국 내 한국학 발전 현황 151

ปจั จุบันเทคโนโลยีเข้ามาเกย่ี วขอ้ งกบั ชีวิตประจาํ วนั เราและเกีย่ วขอ้ งกับระบบงานตา่ งๆมากมายทัง้ ในทางตรงและทางอ้อม เทคโนโลยสี ารสนเทศได้เข้ามามบี ทบาทในการศึกษา การตดิ ต่อ สอื่ สาร การดํารงชีวติของมนษุ ย์อยา่ งหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเฉพาะอินเทอรเ์ น็ต สถาบนั อุดมศึกษาหลายแหง่ จึงมีการพฒั นาประยุกต์ส่ือต่าง ๆ เขา้ มาใชก้ บั อนิ เทอรเ์ นต็ มากขึ้น เชน่ การเรยี นบนเครอื ขา่ ย การเรยี นการสอนออนไลน์ รวมไปถงึการค้นควา้ หาขอ้ มูลผ่านระบบเครือข่ายฐานขอ้ มลู ออนไลน์ ในปัจจุบนั หลายมหาวทิ ยาลัยได้มหี ลักสูตรการจัดกระบวนการเรียนการสอนในรูปแบบ Team Teaching, Area and Research Based และ CaseStudy เพอ่ื จดั กระบวนการเรียนการสอนของนักศกึ ษาใหม้ กี ลวิธแี ละแนวคดิ ผา่ นการทาํ งานวจิ ยั ของนกั ศึกษาโดยผ่านรายวชิ า การศึกษาอิสระ (การทาํ วจิ ัย) และนกั ศกึ ษาส่วนใหญค่ น้ หาข้อมูลผา่ นทางเวบ็ ไซต์ทัง้ ในประเทศและตา่ งประเทศ เช่น ฐานข้อมูลในเครอื ข่าย ThaiLis, RISS (Riss For Higher Education),Academia education รวมไปถึงฐานขอ้ มลู ในระบบของมหาวทิ ยาลัยต่างๆ แตใ่ นบางคร้งั การคน้ หาขอ้ มูลมกั ประสบปญั หาการเข้าไม่ถงึ ของงานวจิ ัย ขาดเอกสารข้อมลู ทีเ่ กี่ยวข้องกับงานวิจัยทม่ี ีความหลากหลายเสียเวลาและค่าใชจ้ า่ ย จากปัญหาดงั กล่าวนับไดว้ ่าการพัฒนาฐานข้อมูลเปน็ อกี วิธีหนึ่งทผ่ี ้วู จิ ัยหรือนกั ศึกษาสามารถคน้ หาขอ้ มูลเพิม่ เตมิ และมปี ระโยชนใ์ นการศึกษาคน้ คว้าเรียนรู้ไดด้ ว้ ยตนเองการสร้างฐานข้อมลู ในการจดั เก็บงานวจิ ยั ของนกั ศกึ ษาในรายวิชาการศึกษาอสิ ระ (การทาํ วจิ ยั ) ในระดบั อดุ มศึกษา เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการเรยี นการสอนไปถึงงานวจิ ัยและการให้บรกิ ารทางวชิ าการของสถาบนั อาํ นวยความสะดวกและให้แก่บุคลาการและนกั ศึกษาของมหาวทิ ยาลัยในการสบื ค้นขอ้ มลู งานวจิ ัยและโครงงานได้อยา่ งสะดวกและรวดเรว็ รักษาผลงานวจิ ยั ของนกั ศกึ ษาไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เปน็ แนวทางและพฒั นาการสรา้ งงานวจิ ยั ทางดา้ นเกาหลีศกึ ษา รวมถึงศาสตร์ตา่ งๆ ที่เกย่ี วข้องทางวชิ าการมากขึน้เอกสารอ้างอิง 152สรุ ียร์ ตั น์ บาํ รุงสขุ “ผลงานวชิ าการดา้ นเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย”Southeast Asia Journal, ปที ี่24, ฉบับที่ 3, มีนาคม - มถิ นุ ายน 2015, หน้า 201-224.Kim Gyu Sik“สถานภาพความร่วมมอื ทางการศกึ ษาไทยและเกาหลีและแนวทางพฒั นา” International Conference on Humanities and Social Sciences: Social Economic and Cultural Roles of Thailand and Korea in Asean+3 Community วันท่ี 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2013, หน้า 222-235โครงการเครอื ขา่ ยห้องสมุดในประเทศไทย [Homepage of โครงการเครือข่ายหอ้ งสมุดในประเทศไทย] [Online] http://tdc.thailis.or.th/tdc/[Accessed วนั ที่ 5 พฤศจิกายน 2558]ACASEMIA [Homepage of ACASEMIA] [Online] https://www.academia.edu/[Accessed วันท่ี 5 พฤศจกิ ายน 2558] แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 태국 내 한국학 발전 현황


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook