Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Korean Studies Development Approach in Thailand

Korean Studies Development Approach in Thailand

Published by thanaphon.ksc, 2017-02-22 21:45:05

Description: แนวทางการพัฒนาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย
Korean Studies Development Approach in Thailand
태국 내 한국학 발전 방향

일시 : 2015.12.21-23
장소 : 임페리얼 호텔, 파타야

Search

Read the Text Version

태국 내 한국학 발전 방향

แนวทางการพฒั นาเกาหลศี ึกษาในประเทศไทยKorean Studies Development Approach in Thailand 태국 내 한국학 발전 현황

กาหนดการ โครงการสัมมนาเชงิ ปฏิบตั กิ าร เรอื่ ง แนวทางการพฒั นาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย วนั ท่ี 21-23 ธนั วาคม 2558 ณ โรงแรมอิมพเี รียล พทั ยา จังหวัดชลบรุ ีวนั จันทร์ท่ี 21 ธนั วาคม ๒๕๕๘เวลา กาหนดการ08.00 – 08.30 ลงทะเบยี นผ้เู ขา้ รว่ มสมั มนาเชิงปฏิบตั กิ าร08.30 – 09.30 พิธเี ปิด09.30 – 10.00 - กลา่ วรายงานการจัดโครงการฯ โดยคณบดี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา - กล่าวเปิดงาน โดย อธกิ ารบดี มหาวิทยาลัยบรู พา - กล่าวแสดงความยินดี โดยเอกอัครราชทตู สาธารณรัฐเกาหลี ประจาํ ประเทศไทย การแสดงเปดิ งาน และรว่ มถ่ายภาพ10.00 – 10.15 พกั รบั ประทานอาหารว่าง10.15– 10.55 เกาหลีกับสงั คมโดยรอบ: เกาหลีศกึ ษาท่ีชดั เจนยิ่งขึ้น10.55 – 11.35 โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ดํารงค์ ฐานดี มหาวทิ ยาลัยรามคาํ แหง11.35 – 12.00 นโยบายของภาครฐั ในการส่งเสรมิ และพฒั นาภาษาต่างประเทศที่ 2 โดย อาจารยอ์ ุษณยี ์ วัฒนพันธ์ สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ.) 태국 대학과 중등학교 한국어 교육과정 연계를 통한 한국어 교육 발전 방안 โดย อาจารย์ Yun Soyoung จาก Korean Education Center12.00 – 13.00 พกั รับประทานอาหารกลางวนั ณ โรงแรมอมิ พเี รียล พทั ยา13.00 – 13.40 แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในมิติของประวตั ศิ าสตรแ์ ละเศรษฐกิจ13.40 – 14.20 โดย อาจารยก์ นกวรรณ บุญเดช มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตปตั ตานี 써니: using a film to improve the teaching effectiveness in Korean Studies โดย อาจารย์นฤทธิพล ศรีสงกา มหาวิทยาลยั มหาสารคาม14.20 – 14.40 영화를 활용한 한국어 문화 교육의 실제 -태국 씰라빠껀 대학교 ‘영화로 읽는 한국어와 한국 문화 수업’을 중심으로- โดย อาจารย์ Park Eunkyung มหาวิทยาลัยศิลปากร

เวลา กาหนดการ14.40 –15.00 พกั รบั ประทานอาหารว่าง15.00 – 15.40 แนวทางพฒั นาหลักสตู รการเรยี นการสอนเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย โดย อาจารย์สุภาพร บุญร่งุ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย15.40 – 16.30 อภิปรายและซักถาม18.00 เปน็ ต้นไป งานเลี้ยงรบั รองอาหารเย็น Seafood Buffet ณ โรงแรมอมิ พิเรียล พัทยาวนั องั คาร ที่ 22 ธนั วาคม 25588.45 – 9.00 ลงทะเบียนผู้เขา้ ร่วมสมั มนาเชิงปฏบิ ตั ิการ9.00 – 9.40 การสรา้ งเสริมพลงั การเมอื งใหป้ ระชาชนในช่วงรัฐบาลก้าวหน้าของเกาหลใี ต้ โดย ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. วิเชยี ร อินทะสี มหาวิทยาลัยนเรศวร9.40 – 10.20 태국 대학 한국어 전공의 한국 문화 교수 현황 분석10.20 – 10.40 โดย อาจารย์ Cho Hyun Jee มหาวิทยาลัยราชภัฏเชยี งใหม่10.40 – 11.20 พักรบั ประทานอาหารว่าง11.20 – 11.40 การพฒั นาหลกั สตู รและรายวิชาดา้ นเกาหลีศึกษา (ในมติ ิสงั คมศาสตร์) ระดับปรญิ ญาตรี ในประเทศไทย: กรณีศกึ ษาหลกั สูตรปรญิ ญาตรี สาขาวิชาเกาหลีศกึ ษา ในประเทศองั กฤษ ออสเตรเลยี ฮอ่ งกง และเวียดนาม โดย อาจารย์วรี ชยั พนั ธ์สืบ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงราย อภปิ รายและซกั ถาม11.40 – 13.00 รับประทานอาหารกลางวัน ณ โรงแรมอิมพเี รียล พทั ยา13.00 – 18.00 ทศั นะศึกษาและเย่ยี มชมพิพธิ ภัณฑ์ 4D และตลาดนํา้ สีภ่ าค18.00 เป็นต้นไป รับประทานอาหารเยน็ ณ ร้านอาหารเกาหลีวนั พุธ ท่ี 23 ธนั วาคม 25588.45 – 9.00 ลงทะเบยี นผู้เข้ารว่ มสมั มนาเชิงปฏิบัติการ9.00 – 9.40 แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในมิติของสอื่ อิเลก็ ทรอนิกส์เพือ่ การเรยี นการสอนภาษาและวัฒนธรรมเกาหลี โดย อาจารย์กนกกร ตัลยารักษ์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร9.40 – 10.20 ศกึ ษาสงั คมและวัฒนธรรมของเกาหลีผา่ นการเปลย่ี นแปลงจากค่านิยมดงั้ เดิมสู่คา่ นยิ มใหม่ โดย ดร.จุฑามาศ บุญชู มหาวิทยาลยั นเรศวร

เวลา กาหนดการ10.20 – 10.40 พกั รบั ประทานอาหารว่าง10.40 – 11.20 แนวทางการพฒั นาตาราเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย โดย11.20 – 12.00 ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. สนุ ทรี ลาภรุ่งเรือง12.00 – 12.30 ดร. Ki-Tae Kim12.30 – 14.00 ผชู้ ่วยศาสตราจารยอ์ ุไรวรรณ จิตเปน็ ธม คิม อาจารยณ์ ฐั วรรณ สินาโรจน์ แนวทางการพฒั นาเกาหลีศกึ ษาในมติ ิของการพฒั นางานวิจยั โดย อาจารย์ปุญชิดา แสนพิทกั ษ์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตภูเกต็ อภปิ ราย ซักถาม และสรุปการสัมมนาเชิงปฏบิ ัติการ พธิ ปี ิดการสัมมนาเชงิ ปฏิบัตกิ ารและรบั ประทานอาหารกลางวัน ณ โรงแรมอิมพเี รยี ลพทั ยา

태국 내 한국학 발전 방향 2015 년 12 월 21 일-23 일 촐부리 파타야 시내 임페리얼 호텔2015. 12. 21 (월) 일정 시간08.00 – 08.30 세미나 참가자 등록08.30 – 10.00 개회식 및 공연10.00 – 10.15 휴식10.15– 10.55 한국과 사회 : 더 뚜려해진 한국학 Korea and Vicinity: Korean Studies in Focus10.55 – 11.35 ( 담롱 단디,람캄행/부교수)11.35 – 12.00 제 2 외국어 발전과 지원에 관한 정부의 정책12.00 – 13.00 ( 웃싸니 와타나판, 기초교육위원회) 태국 대학과 중등학교 한국어 교육과정 연계를 통한 한국어 교육 발전 방안 (윤소영, 한국교육원) 점심 (임페리얼 호텔)13.00 – 13.40 Korean Studies Development in Historical and Economic Dimensionb13.40 – 14.20 (까녹완 분뎃, 쏭클라 빠따니 캠펏) 써니: using a film to improve the teaching effectiveness in Korean Studies ( 나르티폰 씨쑹까, 마하싸라캄)14.20 – 14.40 영화를 활용한 한국어 문화 교육의 실제 -태국 씰라빠껀 대학교14.40 –15.00 ‘영화로 읽는 한국어와 한국 문화 수업’을 중심으로- ( 박은경 , 씰라빠껀) 휴식15.00 – 15.40 태국 내 한국학 교육과정의 발전 방향 ( 수파펀 부룽, 쭐라롱껀 )15.40 – 16.3018.00 เปน็ ตน้ ไป 종합토론 및 질의응답 저녁만찬 ( Seafood Buffet ) 임페이얼 호텔 ( 파타야 )

2015. 12. 22 (화)8.45 – 9.00 세미나 참가자 등록9.00 – 9.40 Empowering Citizens during the Progressive Governments in South Korea ( 위치얀 인타씨, 나레수안)9.40 – 10.20 태국 대학 한국어 전공의 한국 문화 교수 현황 분석10.20 – 10.40 ( 조현지, 라차팟 치앙마이)10.40 – 11.20 휴식 Korean Studies’ Curricula and Coursework Development (Social Science) in Thailand’s Undergraduate Programs: A Case Study of Undergraduate Programs in Korean Studies in England, Australia, Vietnam and Hong Kong.11.20 – 11.40 ( 위라차이 판습, 라차팟 치앙라이)11.40 – 13.00 종합토론 및 질의응답 점심 (임페리얼 호텔)13.00 – 18.00 한구학자 친목도모를 위한 현장학습 ( Amazing Art Museum, 수상시장)18.00 เปน็ ต้นไป 저녁 ( 한식당 )2015. 12. 23 (수)8.45 – 9.00 세미나 참가자 등록9.00 – 9.40 한국 언어 문화 교육을 위한 대중매체 부문의 한국학 발전 방향9.40 – 10.20 ( 까녹껀 딴야락, 씨나카린위롯)10.20 – 10.4010.40 – 11.20 가치관의 변화가 가져온 한국 사회와 문화 ( 쭈타맛 분추, 나레수안 ) 휴식 태국 내 한국학 현황과 발전 방향 Korean Studies Textbook Development in Thailand ( 쑨타리 랍룽르엉,우라이완 짓뺀톰 김,타나완 씨나롯, 김기태, 부라파)11.20 – 12.00 한국학 관련연구부분의 발전 방향 ( 분치다 샌피탁, 쏭클라 푸켓 캠퍼스 )12.00 – 12.3012.30 – 14.00 종합토론 및 질의응답 폐회식 및 점심 (임페리얼 호텔)

สารบัญ 1 16 หน้า 22 32เกาหลกี บั สงั คมโดยรอบ: เกาหลีศึกษาทชี่ ัดเจนยงิ่ ขึน้ 40โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ดาํ รงค์ ฐานดี มหาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง 51 62นโยบายของภาครฐั ในการส่งเสริมและพัฒนาภาษาตา่ งประเทศที่ 2 76โดย อาจารย์อษุ ณีย์ วัฒนพันธ์ สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน (สพฐ.) 91แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในมิตขิ องประวตั ิศาสตรแ์ ละเศรษฐกิจโดย อาจารย์กนกวรรณ บญุ เดช มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปตั ตานี써니: using a film to improve the teaching effectiveness in Korean Studiesโดย อาจารย์นฤทธิพล ศรสี งกา มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม영화를 활용한 한국어 문화 교육의 실제 -태국 씰라빠껀 대학교‘영화로 읽는 한국어와 한국 문화 수업’을 중심으로-โดย อาจารย์ Park Eunkyung มหาวิทยาลยั ศลิ ปากรแนวทางพัฒนาหลักสูตรการเรยี นการสอนเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทยโดย อาจารย์สภุ าพร บญุ รงุ่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยัการสรา้ งเสริมพลังการเมอื งใหป้ ระชาชนในชว่ งรัฐบาลกา้ วหน้าของเกาหลีใต้โดย ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. วิเชียร อินทะสี มหาวิทยาลยั นเรศวร태국 대학 한국어 전공의 한국 문화 교수 현황 분석โดย อาจารย์ Cho Hyun Jee มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชยี งใหม่การพฒั นาหลกั สตู รและรายวชิ าด้านเกาหลศี ึกษา (ในมิตสิ ังคมศาสตร์)ระดบั ปริญญาตรีในประเทศไทย: กรณีศกึ ษาหลักสตู รปรญิ ญาตรี สาขาวิชาเกาหลีศกึ ษาในประเทศอังกฤษ ออสเตรเลีย ฮอ่ งกง และเวียดนามโดย อาจารยว์ ีรชยั พนั ธ์สืบ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชยี งราย

สารบญั (ต่อ) 109 117 หน้า 127แนวทางการพัฒนาเกาหลีศึกษาในมิตขิ องสื่ออเิ ล็กทรอนกิ ส์เพื่อ 145การเรียนการสอนภาษาและวฒั นธรรมเกาหลีโดย อาจารย์กนกกร ตลั ยารักษ์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ ประสานมิตรศกึ ษาสังคมและวัฒนธรรมของเกาหลีผา่ นการเปล่ยี นแปลงจากค่านยิ มด้ังเดมิ สคู่ า่ นยิ มใหม่โดย ดร.จฑุ ามาศ บุญชู มหาวทิ ยาลยั นเรศวรแนวทางการพฒั นาตาราเกาหลีศึกษาในประเทศไทยโดย ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. สุนทรี ลาภรุ่งเรอื ง ผชู้ ่วยศาสตราจารย์อุไรวรรณ จติ เป็นธม คิม ดร. Kim Ki-Tae อาจารยณ์ ฐั วรรณ สนิ าโรจน์แนวทางการพัฒนาเกาหลีศกึ ษาในมติ ขิ องการพัฒนางานวจิ ยัโดย อาจารยป์ ุญชดิ า แสนพิทกั ษ์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตภูเกต็

Message from the Dean ฯพณฯ โน ควงั อิล เอกอคั รราชทูตสาธารณรฐั เกาหลีประจาํ ประเทศไทย ผูร้ ักษาการแทนอธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลยั บูรพา หวั หนา้ ศนู ยเ์ กาหลีศกึ ษา มหาวิทยาลยั บูรพา ผูบ้ ริหารจากสถาบนั ต่าง ๆ คณาจารย์ และผู้มเี กียรตทิ กุ ท่าน กระผมในนามคณบดี คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ รู้สกึ ยินดแี ละเปน็ เกียรติอยา่ งยง่ิ ที่ไดเ้ ปน็ เจ้าภาพในการจัดงานสัมมนาเชิงปฏบิ ตั กิ าร “แนวทางการพฒั นาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย” ในครงั้ นี้ พนั ธกิจหลกั ของศูนยเ์ กาหลศี ึกษา คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา มีนโยบายในการสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การเผยแพรค่ วามรู้ความเขา้ ใจในศาสตร์ที่เก่ียวข้องกับเกาหลศี ึกษา และในครั้งน้ีถือเป็นโอกาสอันดที ่ีนักวชิ าการทัง้ ชาวไทยและชาวเกาหลจี ะได้ร่วมมอื ในการสง่ เสริม และสนับสนุนใหไ้ ดเ้ กิดการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ในศาสตร์ของเกาหลศี ึกษา เพ่อื เปน็ การสง่ เสรมิ และพฒั นาการเรยี นการสอนเกาหลีศึกษาในประเทศไทยใหม้ ีศักยภาพมากย่ิงขึน้ ท้ังยงั เป็นการส่งเสริมการสร้างเครอื ขา่ ยผสู้ อนเกาหลศี กึ ษาและภาษาเกาหลใี นประเทศไทยทัง้ ระดับมัธยมศกึ ษาและอดุ มศึกษาอกี ด้วย กระผมขอขอบคณุ The Academy of Korean Studies (AKS) ที่เปน็ ผ้สู นับสนนุ หลักในการจดั งานและขอขอบคุณคณาจารย์ ผนู้ ําเสนอ และผมู้ ีเกียรติทกุ ท่านที่มีสว่ นรว่ มในการประชุมครง้ั น้ี สุดท้ายน้ี กระผมขออาราธนาคณุ พระศรรี ัตนตรัย อาํ นวยพรใหก้ ารสมั มนาเชิงปฏิบตั กิ ารในคร้ังนีด้ าํ เนนิ ไปอย่างเรียบรอ้ ยประสบความสําเร็จ และบรรลวุ ตั ถุประสงคต์ ามทตี่ ้งั ไว้ทกุ ประการ (ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.บญุ รอด บุญเกดิ ) คณบดีคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

เกาหลกี บั สังคมโดยรอบ: เกาหลศี ึกษาทช่ี ัดเจนยิ่งขึ้น Korea and Vicinity: Korean Studies in Focus รองศาสตราจารย์ ดร. ดํารงค์ ฐานดี ศูนยเ์ กาหลศี กึ ษา มหาวิทยาลยั รามคําแหงAbstract This article, written by Dr. DamrongThandee – Director of Center for Korean Studiesat Ramkhamhaeng University, illustrates the development of the Center deliberating andenhancing Thailand’s first institute on Korean Studies. At the beginning of its establishmentin 1985, it launched two notable publications: South Korea – The Role of Government inNational Development, and Korean Society and Culture. The course on Korean Society andCulture wastogether offered and has had drawn a large number of students to enroll in eachsemester until today. In response to such a high demand of literature in Thai language, aseries of publications were published including books, research papers, articles in journalsand newspapers on various topics, both past and contemporary issues, of Korean politics,economy, and socio-culture. Two decades later, the Center extended to broader its focus by covering in-depth onthe study of China and Japan in order to understand their roots and relationship with Koreathrough time. Such an attempt has bear a fruitful and better insights on Korean Studiesbecause it shed light on the similarities and differences between the two great and theKorean civilizations. It is therefore suggested that one should also go further investigationinto Korean vicinity while pursuing Korea Studies in focus.Key words: Center for Korean Studies, Ramkhamhaeng University, publications, vicinityบทคัดย่อ นับตง้ั แต่ตาํ ราชือ่ ประวัตศิ าสตร์เกาหลีสมัยใหม่ เขยี นโดยภูวดล ทรงประเสรฐิ อาจารย์สาขาประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาํ แหงไดจ้ ดั พิมพข์ น้ึ เมอื่ ปี พ.ศ. 2521 การศึกษาเร่อื งราวเก่ยี วกบั สงั คมบนคาบสมทุ รเกาหลกี ็ไดเ้ ร่ิมกระทําขึ้นอย่างจรงิ จังโดยนักวชิ าการไทย จรงิ อย่ทู ่กี อ่ นหนา้ นนั้ ไดม้ กี ารเขียนหนงั สือ แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 1 태국 내 한국학 발전 현황

เรียนประวตั ิศาสตรแ์ ละภมู ิศาสตรร์ ะดบั มธั ยมศกึ ษาทีอ่ ้างถึงสังคมในอนุภมู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงเหนอื แต่เน้อื หาสาระส่วนใหญ่มกั จะกล่าวถงึ เร่ืองราวของจนี และญ่ีปุนเปน็ หลัก โดยอา้ งถงึ คาบสมทุ รเกาหลีเพยี งเล็กนอ้ ย อีกท้งั ข้อมลู ท่ีนาํ มาเขียนจะอ้างจากแหล่งข้อมูลของนกั วิชาการตะวนั ตก ทง้ั นี้ อาจเป็นเพราะประวัตศิ าสตร์อันขมขืน่ ท่เี กาหลตี กเปน็ อาณานคิ มของญป่ี ุนระหว่างปี ค.ศ. 1910-1945 (พ.ศ. 2453-2488) ท่ีเกาหลีถูกลบออกจากแผนท่ีโลกไปให้อยใู่ ต้การปกครองของญป่ี ุน ติดตามมาดว้ ยสงครามเกาหลี ระหว่างปีค.ศ. 1950-1953 (พ.ศ. 2493-2496) ที่โหดรา้ ยทารณุ และสรา้ งความหายนะอนั ใหญ่หลวงต่อคนและสังคมบนคาบสมุทรเกาหลีอยา่ งท่ไี ม่อาจพรรณนาออกมาเป็นคําพดู ไดท้ าํ ให้ความสนใจของนกั วชิ าการทวั่ โลก รวมทง้ัของไทยใหค้ วามสนใจต่อสังคมบนคาบสมุทรเกาหลีกันน้อย จะมีเพียงทหารผ่านศึกสงครามเกาหลที ี่เขียนเรอื่ งราว และนาํ ประสบการณ์จากการทเี่ คยพักอาศัยอยใู่ นช่วงสงครามมาเป็นเพลงอารีดงั (คนเกาหลีเรียกวา่อารีรัง ซงึ่ เป็นชือ่ ของภูเขาลกู หนึง่ ทผ่ี ู้คนจาํ ต้องจากเคหะสถาน โดยข้ามเทอื กเขานั้นไปทาํ ภารกิจทจ่ี าํ เปน็ทว่ งทาํ นองของเพลงจะเน้นความเเศรา้ สรอ้ ยย่ิงท่ตี ้องจากลาผู้เปน็ ทรี่ กั ไป) และทาํ เปน็ ละครโทรทศั น์หลายคร้งัหลายครา คร้งั หลังสดุ ออกอากาศเมอ่ื ปี พ.ศ. 2542การพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศสาธารณรฐั เกาหลี ตามแผนพัฒนาฉบบั ที่ 1 (ค.ศ. 1962-1967)ตดิ ตามดว้ ยแผนพฒั นาหา้ ปอี ีกสองสามแผนต่อมา ได้ทําให้สังคมเกาหลเี ปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว แตค่ นไทยก็ยงั ให้ความสนใจไมม่ ากนักเพราะภาพพมิ พ์ของสังคมเกาหลีทีไ่ ดร้ ับจากทหารผา่ นศึกทเ่ี ล่าถงึ ความทกุ ขร์ ะทมบ้านแตกสาแหรกขาด และหายนะที่เกดิ ขึ้นยงั คงอยู่ในความทรงจาํ ของคนท่ัวไป ทําใหร้ ฐั บาลของประธานาธิบดีปกั จุงฮี ไดใ้ ห้สถานเอกอคั ราชทตู พิมพเ์ อกสารเรอื่ ง ข้อความจรงิ เกยี่ วกบั เกาหลี เปน็ ภาษาไทยขน้ึ ในปี พ.ศ. 2517 (ค.ศ. 1974) โดยเขยี นถึงความพยายามของรัฐบาลในการพฒั นาประเทศ และได้รบัความสาํ เรจ็ ในระดบั หน่งึ แล้ว ทาํ ใหค้ นไทยได้เรม่ิ เรยี นรูว้ า่ สงั คมเกาหลีมีการเปล่ยี นแปลงไปในทางทดี่ ขี นึ้ บา้ งแล้ว อยา่ งไรก็ตาม การเผยแพรเ่ อกสารนไี้ มไ่ ดก้ ระทาํ อยา่ งกว้างขวาง เพราะจํานวนเลม่ ทีพ่ มิ พม์ ีไม่มากนกั แต่ก็ทาํ ใหค้ นไทยบางกลุม่ เท่านนั้ ได้รับขา่ วสารของเกาหลใี ต้ ดงั นนั้ เมอื่ หนังสือทางวชิ าการด้านประวัตศิ าสตร์เลม่ แรกเขยี นโดยอาจารยไ์ ทยที่ปรากฏขึ้นในอีกหา้ ปตี ่อมา คนไทยจงึ เรม่ิ ใหค้ วามสนใจเกย่ี วกบั เกาหลี อีกทัง้ มีชาวเกาหลีเดนิ ทางเข้ามาค้าขายและทํางานในฐานทัพอเมรกิ นั ในประเทศไทยที่ทาํ สงครามเวยี ดนาม โดยกล่าวกันว่า มคี นเกาหลอี าศัยอยู่ในประเทศไทยกวา่ 500 คนในช่วงน้ันในปี พ.ศ. 2526 บรษิ ทั เกาหลีเริม่ เข้ามาลงทนุ ในประเทศไทย ในขณะที่มหาวิทยาลยัสุโขทัยธรรมาธริ าชได้พมิ พ์หนงั สือชุดการเมอื งและการปกครองของประเทศตา่ ง ๆ ซงึ่ รวมท้งั มีหน่วยการเรียนรเู้ ร่ืองของเกาหลแี ยกเป็นบทตา่ งหาก สว่ นมหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีไดเ้ ปิดสอนภาษาเกาหลเี ปน็ วิชาเลือกในปี พ.ศ. 2529 และไดส้ ่งอาจารย์ไปสอนภาษาไทยท่ีมหาวทิ ยาลัยฮนั กกุ๊ ( HankukUniversity of Foreign Studies) เปน็ การแลกเปลีย่ นกบั การรับอาจารยเ์ กาหลมี าสอนภาษาเกาหลี อกี ทั้งมีนักศึกษาเกาหลเี ข้ามาเรยี นภาษาไทยอกี ด้วย อาจารย์ทเ่ี คยไปสอนภาษาไทยทเี่ กาหลไี ด้เขยี นหนงั สือทั่วไปเช่น บนั ทึกจากเกาหลใี ต้ (พ.ศ. 2530) และท่ีนีเ่ กาหลใี ต้ (2535) ข้อความจริงเกยี่ วกบั เกาหลใี ต้กไ็ ดป้ รากฏสู่สาธารณชนชาวไทยมากยง่ิ ขน้ึ ในขณะที่มหาวิทยาลยั รามคําแหงเร่มิ เปิดสอนวชิ าการเมอื งเกาหลที ่คี ณะ แนวทางการพฒั นาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 2 태국 내 한국학 발전 현황

รัฐศาสตร์ และวิชาสงั คมและวฒั นธรรมเกาหลี (AN 353) ทภี่ าควชิ าสังคมวิทยาและมานษุ ยวทิ ยา คณะมนษุ ยศาสตรโ์ ดยได้เขยี นตําราชื่อ การเมืองเกาหลี (สอนในคณะรฐั ศาสตร์ ปี 2528) ขนึ้ ต่อมา ศนู ย์เกาหลีศึกษา มหาวทิ ยาลัยรามคําแหงไดอ้ อกหนงั สอื ชอ่ื เกาหลใี ต้ : บทบาทของรัฐในการพัฒนาประเทศ (2530) และสังคมวฒั นธรรมเกาหลี (2531) ขน้ึ ในช่วงเวลาใกล้เคยี งกนั อีกทงั้ ไดเ้ ปดิ สอนวชิ าสงั คมและวฒั นธรรมเกาหลีขนึ้ เปน็ วชิ าเลอื กเสรีใหก้ ับนักศึกษาทุกคณะท่ีสนใจสว่ นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ไดก้ ่อต้ังสถาบันเอเชยี ศกึ ษาที่ทําการศึกษาวิจยั ประเทศตา่ งในทวีปเอเชียและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรไ์ ดต้ ัง้ สถาบันเอเชียตะวนั ออกศึกษาท่ีเน้นการศึกษาวจิ ัยสงั คมจีน เกาหลี และญ่ปี ุน โดยท้งั สองสถาบนั มงี านวจิ ัยเก่ยี วกับเกาหลบี า้ งประปรายตอ่ มาเมอื่ มกี ารจัดให้มีการแข่งขนั กฬี าโอลมิ ปกิ ฤดรู อ้ นที่กรุงโซลขึน้ ในปี พ.ศ. 2531 คนไทยจึงได้รบั รแู้ ละให้ความสนใจในประเทศเกาหลีผา่ นทางข่าวโทรทัศนท์ ่ีนาํ เสนอข่าวคราวบ้านเมอื งทท่ี ันสมยั ขน้ึ มาก แต่ก็ยังคงสงวนท่าทอี ยเู่ พราะการเมอื งของเกาหลใี ตย้ งั คงเรา่ ร้อน รุนแรงในชว่ งตอนปลายของยคุ ประธานาธิบดีชุนดฮู วานและประธานาธบิ ดีโรห์ เตวูส่วนนอกรั้วมหาวิทยาลยั มีหนังสอื เก่ียวกบั เกาหลีศึกษาท่ีไดต้ ีพมิ พม์ ากขึน้ เชน่ เจาะลกึ เกาหลีเสอืเอเชียตวั ใหม่ (2534) เขยี นโดยแรมและแกะรอยโสม (2534) ทเ่ี ปน็ พระราชนิพนธ์ของสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เปน็ ตน้ อย่างไรกต็ าม หนังสอื เหล่าน้ีผเู้ ขียนตา่ งได้พมิ พ์ขน้ึ เพยี งครง้ั เดียวและไม่ได้เขียนต่ออีก เพราะเนื้อหาที่เขียนมักเป็นเรือ่ งเลา่ ประสบการณท์ ี่ได้ไปเยีย่ มประเทศเกาหลีในคร้งั นน้ัเทา่ น้นั แต่กม็ ีอิทธิพลตอ่ ผอู้ ่านท่เี ป็นคนไทยท่ีได้รบั รแู้ ละเรยี นรคู้ วามเปน็ ไปของสังคมเกาหลีในชว่ งปี 2530-2540 ในยุคดังกล่าว มูลนิธเิ กาหลี (Korea Foundation) ไดเ้ รมิ่ ให้ทนุ นักเรยี นและอาจารย์ไทยไปเรียนภาษาเกาหลีตง้ั แต่ ปี พ.ศ. 2534 เพ่ือให้กลับมาสอนภาษาเกาหลีในมหาวิทยาลัยต่างๆ ซง่ึ ตอ่ มาไดม้ ีการเปดิสอนภาษาเกาหลีเป็นวิชาเลือกเพิม่ ข้นึ เช่น มหาวทิ ยาลัยบูรพา มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม และมหาวิทยาลยัศิลปากร สว่ น KOICA ไดส้ ง่ อาสาสมคั รมาทาํ งานในประเทศไทย แต่ส่วนใหญต่ อ้ งทํางานเป็นอาจารย์สอนภาษาเกาหลีในสถาบันการศกึ ษา ทั้งในมหาวทิ ยาลัยและสถาบนั ราชภัฏทขี่ าดแคลนอยา่ งหนกั ในยุคนัน้ ต่อมา ศูนยเ์ กาหลีศึกษา มหาวทิ ยาลัยรามคําแหงไดพ้ มิ พ์หนังสอื ชอื่ การบรหิ ารงานแบบเกาหลี(2536) และ การเมืองการปกครองของสาธารณรัฐเกาหลปี ระชาธิปไตยประชาชนเกาหลีและสาธารณรัฐเกาหลี(2536) อกี ทั้งพิมพ์งานวิจยั เรอ่ื ง ปจั จยั ทางสังคมและวฒั นธรรมทสี่ ง่ ผลต่อการพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศสาธารณรฐั เกาหลี (พ.ศ. 2539) นอกจากน้ี อาจารย์ประจําศูนย์ฯ ยงั ไดเ้ ขียนบทความเก่ยี วกบั เหตกุ ารณ์ของสังคมเกาหลีพมิ พล์ งในหนงั สือพมิ พ์ สยามรัฐ และมติชนแทบทุกอาทติ ยเ์ ป็นเวลากวา่ 10 ปี พร้อมๆ กับการสอนวิชาสงั คมและวัฒนธรรมเกาหลอี ยา่ งต่อเนอ่ื ง โดยมีนักศกึ ษาลงทะเบยี นเพิ่มจากภาคเรยี นละ 1,500 คนจนถงึ 11,000 คนในช่วงปี พ.ศ. 2538-2548 ดว้ ยความพยายามของสถาบนั การศกึ ษาดังกล่าวข้างต้น ส่งผลใหค้ นไทยใหค้ วามสนใจเพิ่มมากขึน้ ในวงกวา้ ง การเขา้ รว่ มเปน็ ประเทศคเู่ จรจาของเกาหลีใตใ้ นสมาคมประชาชาตเิ อเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตต้ ั้งแต่ปี พ.ศ. 1934 (ค.ศ. 1991) ไม่ทาํ ใหค้ นไทยท่วั ไปกระตือรอื ร้นในเรื่องนเ้ี ทา่ ใดนกั แมว้ ่าในช่วงทศวรรษ 2440แนวทางการพัฒนาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 3 태국 내 한국학 발전 현황

จะมีความสนใจเร่ืองราวเกี่ยวกับเกาหลมี ากขึน้ แลว้ กต็ าม ทง้ั นอ้ี าจเป็นเพราะท้งั ไทยและเกาหลีใต้ตา่ งเผชญิ กับวกิ ฤตทิ างเศรษฐกจิ ครั้งประวตั ิศาสตรใ์ นปี 2540 (ค.ศ. 1997) ทําให้แตล่ ะประเทศตา่ งตอ้ งเรง่ สะสางแกไ้ ขปัญหานั้นใหห้ มดไปโดยเรว็ ในขณะท่ีญปี่ ุนและจนี ตา่ งใหค้ วามช่วยเหลอื เพือ่ กู้เศรษฐกจิ ที่ยํ่าแย่ในตอนนน้ัผคู้ นจงึ ยงั คงให้ความสนใจในการเรยี นรปู้ ระเทศญ่ีปุนและจีนมากกว่าในตอนปลายทศวรรษ 2530 เอกสารและหนังสือการสอนภาษาเกาหลีเบอ้ื งตน้ เร่ิมออกวางจาํ หน่ายใหก้ บั ผู้เรียนภาษาเกาหลี และมีจํานวนมากข้นึ เร่อื ย ๆ รวมทงั้ ไดพ้ ฒั นาใหม้ เี นื้อหาทเ่ี หมาะสมกับนักศึกษาไทยแทนหนงั สอื สอนภาษาเกาหลีท่เี ขยี นข้ึนโดยคนเกาหลีและพิมพท์ ่ีประเทศเกาหลีจุดเปล่ียนผ่านที่สาคัญ ศูนย์เกาหลีศึกษา มหาวทิ ยาลัยรามคําแหง เร่มิ ตระหนักถึงความจําเป็นทีจ่ ะต้องขยายความรู้ออกไปศึกษาประเทศเพอื่ นบ้าน เพราะหากตอ้ งการท่จี ะเรยี นรู้เร่ืองราวของเกาหลีศกึ ษาอย่างลึกซงื้ แล้ว คงไมอ่ าจจะเจาะลึกเฉพาะประเทศสาธารณเกาหลีเทา่ น้นั ทง้ั นี้เพราะสังคมเกาหลีใต้มีความเกีย่ วขอ้ งผกู พนั กนั กับประเทศสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี จนี และญี่ปุนอยา่ งแนน่ แฟูน และในทุกมิติ ด้วยเหตนุ ี้ อาจารย์ประจําศนู ยฯ์ จึงตอ้ งเรมิ่ คน้ หาความรู้และทาํ วจิ ัยเร่อื ง เกาหลีเหนือ: สงั คมและวัฒนธรรม (2541) ซึ่งไดร้ ับการตอบรับเปน็ อย่างดีย่ิงจากนักศกึ ษาและคนท่วั ไป ต่อมา ไดพ้ ิมพเ์ อกสารทางวิชาการเรอื่ ง จนี วันน้ี (2542) ญปี่ ุนวันน้ี (2542) และปรับแต่งเปน็ หนังสือชือ่ สังคมและวฒั นธรรมจนี (2544) และสังคมและวฒั นธรรมญี่ปนุ(2545) นอกจากน้ี ได้เปดิ สอนวิชาสังคมและวฒั นธรรมจนี (AN 354) และวชิ าสงั คมวัฒนธรรมญปี่ ุน (AN 355)ควบคกู่ บั การสอนวชิ าสังคมวฒั นธรรมเกาหลใี นภาควชิ าสังคมวิทยาและมานษุ ยวทิ ยา คณะมนุษยศาสตร์เรือ่ ยมาจนถงึ ปจั จุบนั อนง่ึ ได้พิมพห์ นงั สืออีกเล่มหนงึ่ ชือ่ การเมืองเกาหลี (2546) ขึน้ มาเพ่ือเป็นหนงั สืออา่ นประกอบในวิชาสงั คมและวัฒนธรรมเกาหลี เพราะคณะรฐั ศาสตร์ได้ปดิ วชิ านี้อันเป็นผลมาจากอาจารย์ผ้สู อนได้เกษียณอายุราชการไปในปี พ.ศ. 2548 อาจารยป์ ระจาํ ศนู ย์เกาหลศี กึ ษา ไดร้ บั เชญิ ให้เขยี นบทความ เรอื่ ง “ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสาธารณรฐั เกาหลี” เพื่อตีพมิ พใ์ นตํารา ชื่อ กระบวนการพฒั นาและทางเลือกสาธารณะ (2548)ระดบั บัณฑิตวทิ ยาลัย ของมหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราชในขณะเดียวกัน การศึกษาเกี่ยวกบั เกาหลีไดก้ ระทําไปทวั่ ทุกหวั ขอ้ ในทศวรรษที่ 2540 แหง่พทุ ธศักราช เช่น สังคมวฒั นธรรม นิทานชาวบา้ น การเมอื ง การพัฒนา เศรษฐกจิ การค้า การลงทุน รวมท้งัความสัมพนั ธ์ระหวา่ งประเทศ และมีการเปิดสอนวิชาภาษาเกาหลีเป็นวิชาเอกอีกในหลายมหาวิทยาลยั และกระจายการสอนภาษาเกาหลไี ปส่โู รงเรยี นชน้ั มัธยมตอนปลายท่ตี ้งั อยู่โดยรอบมหาวิทยาลยั ที่เปดิ สอนภาษาเกาหลีอกี ดว้ ย ปัจจยั สาํ คัญที่เป็นแรงขับเคลือ่ นของความนยิ มในเรอื่ งภาษาและวัฒนธรรม ก็คือ กระแสเกาหลี(Korean Wave) ในรูปของละครโทรทศั น์และภาพยนต์ท่เี ริ่มหล่งั ไหลเข้ามาในประเทศไทยตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2544(ค.ศ. 2001) โดยที่ทัศนคตขิ องคนไทยได้เปลี่ยนไปโอบรับกระแสวัฒนธรรมน้ี ทงั้ น้ี เปน็ เพราะรฐั บาลเกาหลไี ด้แนวทางการพฒั นาเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย 4 태국 내 한국학 발전 현황

ถือเป็นวาระแหง่ ชาติที่จะใช้กระแสเกาหลเี ปน็ อาวธุ สาํ คญั ในการสรา้ งภาพพจนข์ องประเทศไปท่ัวทัง้ เอเชยีในขณะท่กี ารคา้ และการลงทนุ ไดร้ กุ เข้าเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใตเ้ พอื่ ขอสว่ นแบง่ จากญปี่ ุนและจีนภายหลังที่ตลาดในสหรัฐฯและยโุ รปถงึ จดุ อ่ิมตวัในชว่ งนี้ ศนู ย์เกาหลศี ึกษา มหาวทิ ยาลยั รามคําแหง จงึ ได้ระดมสรรพกาํ ลงั ในการเรยี นรู้เร่อื งราวของประเทศเพือ่ นบา้ นของเกาหลีอยา่ งลกึ ซ้ืง เพราะจะทําใหม้ องเหน็ ภาพของเกาหลีศึกษาได้ในมุมมองกวา้ งขึน้และชดั เจนยิ่งขึน้ ทงั้ นเี้ ปน็ เพราะประเทศในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงเหนือ (Northeast Asia) มปี ระวัติศาสตร์รว่ มกนั ก่อให้เกดิ เป็นบรเิ วณวฒั นธรรมสําคัญแห่งหนง่ึ ของโลก แมว้ ่าญี่ปุนและเกาหลีต่างอา้ งถงึ ความเปน็ เอกพนั ธ์ุ (homogeneity) และสายเลอื ดบริสุทธ์ิของชนชาติของตนเองว่าแตกต่างไปจากคนกลุ่มอน่ื ทัง้ ๆ ท่บี รรพบุรุษของพวกเขาส่วนใหญจ่ ะอพยพออกจากบรเิ วณตอนกลางของจีนกต็ าม อนง่ึ จากความเชอ่ื ดังกล่าวกอ่ ให้เกดิ เปน็ ลทั ธชิ าตินยิ มทีใ่ ชบ้ รเิ วณที่อยอู่ าศัยเป็นเส้นเขตกนั้ พรมแดน เขตวฒั นธรรมของตนเอง และเขตการเมืองที่เดน่ ชดั ท่ีชนนอกเชือ้ ชาติจะล่วงละเมิดไมไ่ ด้ จากความเช่อื น้เี องที่ทําใหอ้ นภุ ูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉยี งเหนือกลายเป็น “ทะเลแห่งความขดั แย้ง” (Sea of Conflict) นับแตอ่ ดตี และมคี วามเข้มข้นย่งิ ขน้ึ ในตอนปลายคริสต์ศตวรรษ 2000 มาจนถึงทุกปจั จุบันจากความเหมือนและความตา่ งกนั ของจีน เกาหลี และญป่ี ุนน้เี อง จึงกลายเป็นหัวข้อท่ศี นู ยเ์ กาหลีศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยรามคาํ แหงไดใ้ ห้ความสนใจในการค้นหา และไดท้ มุ่ เทกาํ ลงั ทุกทางในการสรา้ งเปน็ องค์ความรู้ของเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือทา่ มกลางความพยายามทจี่ ะเรยี นร้เู รอ่ื งเกาหลีศึกษาใหเ้ กดิ ความลมุ่ ลกึมากยงิ่ ขน้ึอนึ่ง การศึกษาเรอื่ ง ความมน่ั คงของเอเชียตะวันออก (Security in East Asia) จึงเปน็ หัวขอ้ ทีไ่ ด้รับความสนใจยิ่ง โดยอาจารย์ประจาํ ศนู ย์ฯ ได้รบั เชิญให้ไปเปน็ Visiting professor บรรยายในวชิ าน้ที ่ี SeoulNational University เมอ่ื ปี พ.ศ. 2553 ภายหลงั ที่ทาํ วิจัยเรอ่ื ง ความสัมพนั ธ์ระหว่างจนี ญป่ี นุ และเกาหลใี ต้ :ตั้งแตต่ ้นครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 20 – ปจั จบุ ัน (2550) และ เอเชยี ตะวันออกเฉยี งเหนือ : ความสัมพันธ์ระหวา่ งจีนเกาหลี และญ่ีปุน – ต้ังแต่ยคุ โบราณจนถงึ ปลายครสิ ต์ศตวรรษท่ี 19 (2551) เสรจ็ สิน้ และพมิ พเ์ ป็นรายงานวจิ ัยฉบับสมบรู ณ์ภายใตช้ ือ่ เอเชียตะวันออกเฉียงเหนอื : ความสมั พันธร์ ะหวา่ งจนี เกาหลี และญ่ีปุน จากยุคโบราณจนถึงปี ค.ศ. 2009 (2553) ตอ่ มาพมิ พเ์ ป็นหนงั สืออ่านประกอบวิชา สังคมและวัฒนธรรมจนี AN 354 (S) ในปีเดียวกนัผลของการเรยี นรเู้ รื่องราวของเอเชยี ตะวันออกเฉียงเหนอื ในยุคปัจจบุ นั โลกไดเ้ ปลย่ี นไปอย่างรวดเร็ว การทเี่ ราจะเรียนรูส้ ง่ิ ใดใหเ้ กิดผลอยา่ งแทจ้ รงิ แลว้ จําเป็นที่จะตอ้ งมองใหก้ ว้างไกลจากเขตแดนที่เคยขดี ไว้ตั้งแตแ่ รก เพราะ “การไร้พรมแดน” เป็นสิ่งที่เกดิ ข้นึ จริงและเป็นทป่ี ระจกั ษ์ เฉกเช่น คนจีน คนเกาหลี และคนญ่ีปนุ จะมองเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใตเ้ ปน็ บริเวณหนึง่ เดียวกนัและเรียกว่า อษุ าคเนย์ (Southeast Asia) มากกว่าทจ่ี ะแยกออกเป็นแต่ละประเทศ แม้จะเนน้ ศึกษาทลี ะ แนวทางการพฒั นาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 5 태국 내 한국학 발전 현황

ประเทศใหม้ คี วามลมุ่ ลึกก็ตาม (ซึง่ จะไดก้ ลา่ วในรายละเอียดในหวั ข้อถัดไป) ในทางตรงขา้ มเอเชยีตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มไิ ดร้ วมกันเปน็ หนงึ่ ดัง่ เชน่ เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใตท้ รี่ วมกันเปน็ อาเซียน (ASEAN) ทงั้ นี้อาจเปน็ เพราะแต่ละประเทศมีประวัตศิ าสตร์อนั ขมขืน่ ระหวา่ งกัน และปัจจบุ ันตา่ งแขง่ ขนั แยง่ ชิงความเปน็ใหญ่ หรอื เป็นผู้นําในอนุภมู ภิ าค และผ้นู าํ ของเอเชีย และโลกในดา้ นเศรษฐกจิ และการเมือง โดยแต่ละประเทศเน้นความเปน็ ทห่ี นงึ่ ไม่ตอ้ งการเปน็ รองใคร และต่างมีเข้ยี วเล็บที่จะประหตั ประหารกนั ดงั เชน่ ในอดตีท่ีผา่ นมาอยา่ งไรก็ตาม หากเราตอ้ งการเรยี นรูเ้ ร่อื งราวของเอเชียตะวันออกเฉียงเหนืออย่างละเอียด เราอาจวิเคราะหท์ ีละประเด็นเพ่อื ดคู วามเก่ียวข้องระหว่างกนั โดยเฉพาะทางสงั คมและวฒั นธรรม และการพัฒนาประเทศ ทใี่ ชล้ ัทธิชาตนิ ยิ มเป็นแรงขับเคลอื่ น ดังน้ี1. สงั คมและวฒั นธรรมไมเ่ ปน็ ทน่ี ่าสงสยั เลยวา่ อทิ ธพิ ลทางสงั คมและวฒั นธรรมของจีนมีเหนอื ดินแดนบนคาบสมุทรเกาหลีและญ่ปี ุนมาแตค่ ร้งั อดตี กาล ประการแรกก็คอื ภาษา ทเ่ี กาหลแี ละญีป่ นุ ในอดีตใช้ภาษาจนี เป็นภาษาราชการโดยใช้ในการเขียนบนั ทกึ และเอกสารสําคญั รวมทงั้ วิทยาการทกุ สาขา ดงั นั้น จงึ มกี ารสง่ คนไปเรยี นร้ทู ร่ี าชสํานักจนี ในด้านภาษา วรรณกรรม และศลิ ปวิทยาการ จนแตกฉานเพอื่ นาํ กลับไปสั่งสอนคนทัว่ ไปในสังคมของตน ตอ่ มาแม้ว่าจะมกี ารประดิษฐต์ ัวอักษรของตนเองข้ึน เช่น ปี ค.ศ. 1443 ประดษิ ฐต์ วั อักษรฮนั่ กึลในราชอาณาจกั รโชซอน และในสมยั เฮอันที่นักเขียนและพระในประเทศญป่ี ุนทําการประดิษฐ์ระบบตวั อักษรท่ีใช้ในการออกเสยี งพยางค์ข้ึนมา 2 ชุด โดยอาศยั รูปแบบทีม่ าจากภาษาจนี เรยี กว่า อักษรคานะ ในปี พ.ศ. 1400อกั ษรฮริ างานะ ซ่ึงอักษรทั้งสองชดุ ใชร้ ว่ มกบั ตวั คนั จขิ องจีน อยา่ งไรก็ตาม การใช้ภาษาเขียนของจีนยงั คงใช้อยา่ งแพรห่ ลายมาถงึ ยคุ ใหม่ ดงั นัน้ คําศพั ทข์ องจนี มากมายยงั คงถกู ใช้ในภาษาเกาหลแี ละภาษาญีป่ ุนในปจั จุบนั เชน่ คําว่า ซาน แปลวา่ ภเู ขา เป็นอาทิ อกี ทั้งตอ้ งเทยี บเคยี งกบั ภาษาจีนเมอ่ื เกดิ ขอ้ สงสัยว่า คํานน้ั จะออกเสียง หรือมคี วามหมายเป็นเชน่ ไร นอกจากนย้ี งั สง่ ผลใหค้ นจนี คนเกาหลี และคนญ่ปี นุ นยิ มโคลงกลอนการเขยี นตวั หนังสือจีน และภาพวาด ซง่ึ ต้องใชพ้ ูก่ ันเปน็ เครือ่ งมอื การเขียนประการท่ีสอง ลัทธิธรรมเนยี มขงจอ้ื ถือเปน็ แบบฉบับของการดําเนินชีวติ ประจาํ วนั ของชาวจนี ฮ่ันเกาหลี และญ่ีปนุ ส่วนพทุ ธศาสนาน้นั จีนรบั มาจากอนิ เดียและส่งออกไปยงั เกาหลี และผา่ นไปยังญ่ปี ุนทําให้ทั้งสามสงั คมมีความเชอ่ื ในลัทธขิ งจอื้ และพุทธศาสนา ซึง่ เขา้ มาเป็นอกี สว่ นหน่งึ รว่ มกับความเชอ่ื ลทั ธดิ ั้งเดิมของแตล่ ะสงั คม (ในยุคดง้ั เดมิ น้นั ชาวจนี เช่ือในเทพเจ้าชือ่ เตีย้ น ชาวเกาหลเี ช่อื ในลทั ธิคนทรง และชาวญป่ี ุนเชื่อในลทั ธิชินโต)ลัทธิขงจอ้ื กลายเป็นพน้ื ฐานของวฒั นธรรมของสงั คมเหลา่ นี้ และตา่ งมคี วามเช่อื คล้ายคลึงกนั ไดแ้ ก่การนบั ถือความรู้ ผรู้ ู้ ปราชญ์ นับถือผู้อาวโุ ส บรรพบุรษุ พ่อแมผ่ ู้ให้กาํ เนิด ยึดถือผชู้ ายเป็นใหญใ่ นครอบครัวจัดหาคคู่ รองผ่านทางแม่สอื่ (match maker) ยดึ ถือกฎระเบียบและขนบธรรมเนยี มประเพณอี ย่างเคร่งครดั ในการดาํ รงชีวิต และเน้นครอบครัวว่าเป็นหัวใจหลักของแบบแผนความสัมพันธข์ องคน อีกท้ังมีวันรวมญาติท่ที ุก แนวทางการพฒั นาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 6 태국 내 한국학 발전 현황

คนจะเขา้ รว่ มกราบไหวบ้ รรพบรุ ษุ อน่ึง ลัทธิขงจื้อเนน้ ให้คนขยนั ทาํ งาน ประหยดั และรักในความเปน็ผปู้ ระกอบการ ทําให้ผู้คนเปน็ พ่อคา้ ท่ีฉลาด แสวงหาความแปลกใหมใ่ นการพัฒนาอาชพี และเนน้ ความเปน็“กลมุ่ นิยม” มากกวา่ ปัจเจกชนนยิ ม ซึง่ กลายเป็นค่านยิ มของคนในสังคมทั้งสามทยี่ ึดถอื และปฏบิ ัตติ ามชามสังคโลกเปน็ มรดกทางวฒั นธรรมทคี่ ล้ายคลงึ กนั และมักจะยกย่องว่าเปน็ ของลา้ํ ค่า มักเกบ็ ไว้ในตู้โชว์ สว่ นจานและชามท่ีใชบ้ รรจุอาหารรับประทานในชีวิตประจําวันนั้น จะมคี วามหลากหลายและสวยงามการใชถ้ ว้ ยใสข่ ้าวและตะเกยี บสาํ หรบั คีบอาหารถอื เปน็ วัฒนธรรมรว่ ม จงึ กลายเปน็ สงั คมทม่ี ี “วัฒนธรรมขา้ วควบคู่ไปกับการเปน็ ผคู้ นผวิ เหลืองมองโกลอยด์” ซ่งึ เป็นลกั ษณะเดน่ ที่แตกตา่ งไปจากคนท่อี าศัยอยู่ในทวีปอืน่ ๆ ของโลกลทั ธิขงจ้ือยงั เนน้ ระบบการเมอื งทว่ี ่า ทั่วทง้ั จกั รวารมเี พยี งครอบครวั ใหญ่ครอบครวั หนึง่ ทกุ สง่ิ จะมีความเกี่ยวขอ้ งกนั และกัน และจะมกี ารเรียงลําดบั ความสูงตา่ํ อีกทง้ั มีการกาํ หนดความสมั พนั ธร์ ะหว่างผู้ปกครองกบั ผอู้ ยูใ่ ตก้ ารปกครองตามขอ้ บญั ญัติโอรยุน จักรพรรด์ิจะเป็นหวั หนา้ ของคนทั้งชาติทป่ี ระชาชนจะตอ้ งใหค้ วามเคารพและเชือ่ ฟงั อนึ่ง ในอดีตนัน้ จนี จะถอื ว่า ประเทศของตนเป็นหัวหน้าของครอบครัวใหญท่ ่ีรัฐเล็ก ๆ รอบขา้ ง ไมว่ ่าจะเปน็ เกาหลี และรวิ กวิ จะตอ้ งส่งบรรณาการไปถวายพระเจ้ากรงุ จีนเป็นประจาํอยา่ งไรกต็ าม เม่อื มีการยดึ ถอื “กลมุ่ ชาตพิ ันธุ์” ของตนเองวา่ สาํ คญั และแตกตา่ งจากชนกล่มุ อน่ื ทําใหค้ นเกาหลี และคนญีป่ นุ เช่ือในความเป็น “เอกพันธุ์” (homogeneity) หรอื สายเลอื ดบริสุทธิ์ (pure blood) ของเผ่าพนั ธ์ตุ นเอง และปฏิเสธท่ีจะยอมรับ “คนนอกสายเลอื ด” มาเปน็ สมาชิกของกล่มุ ความรู้สกึ เชน่ น้ี หรอื ที่เรยี กวา่ in-group vs.out-groupก่อใหเ้ กดิ การทําลาย การยึดครอง และการยกตนเป็นใหญเ่ หนอื ชนกลมุ่ อ่นืทาํ ให้จีนสรา้ งอทิ ธพิ ลเหนือเกาหลแี ละโจมตญี ่ปี ุนในสมยั ราชวงศห์ ยวน ญ่ปี นุ ทาํ สงครามกบั จีน ปี ค.ศ. 1895ญ่ีปนุ โจมตีเกาหลใี นยคุ โชกนุ ฮเิ ดโยชิ (ค.ศ. 1592 และ 1597) และยดึ เป็นอาณานคิ มระหวา่ งปี ค.ศ. 1910-1945 อีกทัง้ ญ่ปี นุ ได้ปฏบิ ตั กิ ารอันโหดเห้ียมต่อจีนและเกาหลกี อ่ นและระหวา่ งสงคราม โลกครง้ั ท่สี อง2. ครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 20: ศตวรรษแห่งความเกลยี ดชงัทงั้ จนี และเกาหลตี ่างเขียนประวัตศิ าสตร์แหง่ ความทุกขร์ ะทมจากการกระทําของญ่ีปุน เชน่ Rape ofNanjing และ comfort women เปน็ อาทิ ในขณะท่ีการอ้างสิทธิ์เหนอื ดนิ แดนหมเู่ กาะเต้ียวหยวี๋ (ระหว่างจีน-ญ่ีปุน) และโด๊กโด (ระหวา่ งเกาหลี-ญี่ปุน) กลายเปน็ ขอ้ พิพาททไ่ี ม่มหี นทางที่จะประนีประนอมกันได้สงครามเย็นกเ็ ปน็ อกี ปัจจัยท่ีทําใหเ้ อเชยี ตะวนั ออกเฉยี งเหนือกลายเป็นสมรภมู ริ บระหว่างคนเกาหลีด้วยกันเอง อกี ทงั้ ดงึ ประเทศอืน่ ๆ รวมท้งั นาํ ไทยเขา้ ไปพวั พนั ในสงครามเกาหลี นอกจากนี้ ยงั กอ่ ใหเ้ กดิ การแบ่งกลุม่ ระหว่างจีน รสั เซยี เกาหลเี หนือ และเกาหลใี ต้ ญป่ี นุ สหรฐั ฯ แมว้ ่าจะมคี วามพยายามท่จี ะลดความตงึเครียดบนคาบสมทุ รเกาหลลี ง เช่น การประชมุ หกฝาุ ยอย่างต่อเนอ่ื ง แตก่ ย็ ังไมเ่ ปน็ ผล ทาํ ใหก้ ารประนีประนอมยังอย่หู า่ งไกลเพราะมีความพยายามท่จี ะเอาชนะ และสร้างความเปน็ ใหญเ่ หนอื ต่างชาติอยู่ตลอดเวลานน่ั เอง และแม้จะมคี วามพยายามท่ีจะจดั การประชุมสดุ ยอดระหว่างผูน้ ําจนี เกาหลี และญี่ปุนเพอ่ืหาทางสร้างสันติภาพและความร่วมมือทางเศรษฐกิจรว่ มกันในตอนปลายทศวรรษ 2000 และสามารถจัดการแนวทางการพฒั นาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 7 태국 내 한국학 발전 현황

ประชมุ ไดห้ ลายครงั้ โดยหมนุ เวยี นใหแ้ ตล่ ะประเทศเป็นเจา้ ภาพในแต่ละปี แต่ก็การประชมุ รว่ มก็สะดุดหยุดลงมาแล้วสามปเี พราะปญั หาการอา้ งสทิ ธเิ์ หนอื หมู่เกาะพพิ าท และการเสริมสรา้ งกาํ ลงั ทหารและอาวุธของแต่ละประเทศ ทาํ ใหส้ นั ตภิ าพของภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งเหนือยงั อยู่ “ไกลเกินเออื้ ม”ในแง่ของความเกลยี ดชังกันน้ัน มแี นวโนว้ เพมิ่ ความรุนแรงขึน้ โดยคนญี่ปุนท่ีเคยสงบเงยี บตอ่ คนเกาหลกี วา่ 600,000 คนทอี่ าศัยอยูใ่ นประเทศต้ังแตค่ รงั้ ยุคอาณานิคม และกลายเป็นประชากรชน้ั สอง ได้แสดงบทบาทแจง้ ชัดดว้ ยการเดนิ ขบวนตามทอ้ งถนนขบั ไลค่ นเช้ือสายเกาหลีออกจากประเทศแทบทุกวนั ในขณะเดียวกนั คนเกาหลตี า่ งประท้วงและประนามท่ีหน้าสถานทตู ญปี่ ุนอยา่ งตอ่ เน่อื ง เช่น ในเร่ืองการอ้างสิทธิ์เหนอื หมู่เกาะโด๊กโด เรื่องหนังสอื ประวัตศิ าสตร์ของนกั เรียนมัธยมของญปี่ ุน เรื่องการเยียวยาหญิงบริการที่ถกูญ่ปี ุนกวาดต้อนไปสนองกามารมณ์ทหารญ่ีปนุ ในชว่ งสงครามโลกคร้ังที่สอง และเรือ่ งการให้ญี่ปุนขอโทษซํ้าแล้วซํ้าอกี ทีย่ ดึ ครองคาบสมทุ รเกาหลเี ป็นอาณานคิ มอยา่ งปาุ เถื่อนเป็นเวลานานถึง 35 ปี (ระหว่างปี ค.ศ.1910-1945)ชาวญปี่ ุนเดนิ ขบวนต่อตา้ นจนี ทีใ่ ชเ้ รือพฆิ าตวนเวียนใกล้หมู่เกาะพพิ าท ในขณะท่ีจนี ประทว้ งทีค่ นญีป่ นุ ขนึ้ ไปบนเกาะเตยี้ วหยวี อีกทงั้ ท้ังจีนและเกาหลีตา่ งแสดงความไมพ่ อใจทกุ ครั้งทนี่ ายกรฐั มนตรเี ดนิ ทางไปคารวะศาลเจ้ายาซูกนู ิ (Yasukuni) หรือแม้แตส่ ่งดอกไมไ้ ปทาํ ความเคารพก็ตามนเี่ ป็นเพียงไมก่ ี่ตวั อย่างทชี่ นท้ังสามชาตแิ สดงความเกลยี ดชังกนั และกนั ทาํ ให้เปน็ ที่น่าฉงนใจว่าประเทศที่อยูใ่ นบรเิ วณวัฒนธรรมเดยี วกนั มคี วามเหมือนกันมากมายทางวฒั นธรรม เหตใุ ดจงึ โกรธเกลยี ดกันถงึ เพยี งน้ีสว่ นบทบาทของเกาหลเี หนือกไ็ ดร้ ับความสนใจติดตามเรอื่ งราวมาโดยตลอด และทางศูนยเ์ กาหลีฯ ได้เขียนเอกสารประกอบการบรรยาย เรือ่ ง “ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลีและประเทศสาธารณรัฐเกาหลกี บั ความม่ันคงของประเทศไทย” แกน่ กั ศึกษาวิทยาลยั ปูองกันราชอาณาจกั ร ต้งั แตป่ ี พ.ศ.2542 เรื่อยมาจนถึงปัจจบุ นั และได้พมิ พเ์ อกสารทางวิชาการเรื่อง The Possible Responses of ASEAN tothe North Korean Instability:The Perspective of Thailand (2555) และวกิ ฤตเิ กาหลี ปี 2013 :คาบสมทุ รเกาหลีร้อนระอุจรงิ หรอื (2557)3. ความร่วมมอื เชิงการแขง่ ขนัแม้วา่ เอเชยี ตะวันออกเฉยี งเหนือจะไมส่ ามารถสรา้ งองค์กรระหว่างประเทศรว่ มกันไดเ้ ฉกเช่น สมาคมอาเซียน แต่กม็ คี วามพยายามในการแสวงหาความรว่ มมือในทางเศรษฐกจิ การค้า และการลงทนุ ซงึ่ ทําให้มูลคา่ ทางการคา้ ระหวา่ งสามประเทศพงุ่ สูงข้นึ เปน็ ประวัติการณ์นบั แต่ตอนปลายคริสต์ศตวรรษท่ี 20 มาจนถึงปัจจุบนั อาจกล่าวได้ว่า ความสัมพันธท์ างเศรษฐกจิ เปน็ ไปดว้ ยดี ในทางตรงกนั ข้าม ความสมั พนั ธท์ างการเมืองกลับเลวรา้ ยลงไปเรอื่ ยๆ เพราะแต่ละฝาุ ยต่างอ้างจุดยืนของตนตามประวัติศาสตร์และสิทธเิ หนอื ดนิ แดน การเผชิญหน้าระหว่างกันจงึ หลกี เลี่ยงไมพ่ ้น และส่งผลตอ่ การคา้ และการลงทุนเป็นอย่างมาก เชน่ การรณรงค์ไม่ซือ้ สินคา้ ของญป่ี ุน การเข้าทําลายทรพั ย์สนิ ของญี่ปุนในจีนและเกาหลี ส่วนการแขง่ ขนั สรา้ งความร่วมมือกับ แนวทางการพฒั นาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 8 태국 내 한국학 발전 현황

ประเทศอน่ื ต่างภูมิภาคก็เปน็ ไปอย่างเขม้ ขน้ เชน่ การแยง่ ชิงความเปน็ มติ รกับอาเซยี น ทง้ั น้ที ง้ั นน้ั ขอเรียกปรากฏการณ์นว้ี ่า ความร่วมมือเชงิ การแขง่ ขัน (competitive cooperation)4. ความสัมพันธ์กบั อาเซียนอาเซียนบวกสาม (ASEAN Plus Three) เป็นคําทีเ่ ราคุ้นชนิ และรจู้ ักกันอย่างแพร่หลายในวงการทางวชิ าการ การเมอื งระหว่างประเทศ เศรษฐกิจ และสงั คมวฒั นธรรมในยคุ ปัจจุบนั โดยคาํ ศัพท์ดงั กล่าวบง่ บอกถึงความสมั พันธอ์ ยา่ งใกล้ชิดระหวา่ ง “อาเซยี น” และ “บวกสาม” หรอื ระหวา่ งประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาตแิ ห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กบั ประเทศในเอเชยี ตะวันออกเฉยี งเหนอื 3ประเทศ คือ จีน เกาหลใี ต้ญี่ปุน โดยความสัมพนั ธ์ดงั กล่าวมอี ย่ใู นหลากหลายมติ ิ และนับวนั จะเพิ่มความใกล้ชดิ ระหว่างกนั มากยง่ิ ขน้ึเรามาเรยี นร้คู าํ ศัพท์ข้างต้นอยา่ งละเอยี ดว่า คําศัพทแ์ ต่ละคําบ่งบอกถงึ อะไรและหมายถงึ อะไรบา้ งอาเซยี น หรอื สมาคมประชาชาตแิ ห่งเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ( Association of Southeast AsianNations – ASEAN) เปน็ สมาคมของกลมุ่ ประเทศจํานวน 10 ประเทศท่ีต้ังอยใู่ นอนภุ ูมิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ (Southeast Asia) โดยมีประวัตเิ รมิ่ ก่อต้ังในเดอื นกรกฎาคม ค.ศ. 1961 (พ.ศ. 2504) โดยประเทศไทย มาเลเซยี และฟิลิปปนิ ส์ได้รว่ มมอื กันจัดตั้งสมาคมอาสาหรือ Association of Southeast Asia – ASAขึ้นเพ่ือใหเ้ กิดความร่วมมือกนั ทางเศรษฐกิจ สังคมและวฒั นธรรม แต่ดําเนนิ การไดเ้ พยี ง 2 ปี กต็ อ้ งหยดุ ชะงกัลงเนอ่ื งจากความผกผนั ทางการเมืองระหวา่ งประเทศมาเลเซียและประเทศอินโดนีเซียตอ่ มาในชว่ งปลายทศวรรษท่ี 1960 ระบอบการปกครองแบบคอมมิวนิสต์ได้แพร่ขยายเขา้ มาสู่ภมู ิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ (เรยี กว่ายุคสงครามเยน็ ) ทาํ ใหเ้ กดิ ความกงั วลทางด้านเสถยี รภาพทางการเมอื งและเศรษฐกิจ ประกอบด้วยประเทศมหาอาํ นาจเรม่ิ ไม่สนับสนนุ ให้ความชว่ ยเหลือเท่าทีค่ วร ทําให้ประเทศในอนุภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้หันมาหาความร่วมมอื ซึง่ กนั และกนั และไดม้ ีการฟื้นฟูสัมพันธภาพระหว่างประเทศขึ้น ดว้ ยเหตนุ ี้จึงหาลู่ทางจัดตง้ั องค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภมู ภิ าคสมาคมประชาชาตแิ หง่ เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้จึงไดร้ บั การจัดต้งั ขึ้นโดยรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการต่างประเทศของประเทศสมาชิกกอ่ ตงั้ 5 ประเทศ ไดแ้ ก่ ไทย อนิ โดนเี ซยี ฟิลิปปนิ ส์ มาเลเซยี และสงิ คโปร์ ได้ลงนามในปฏิญญากรุงเทพฯ ( Bangkok Declaration) หรอื ท่ีเรียกว่า ปฏิญญาอาเซียน ( ASEANDeclaration) ท่พี ระราชวงั สราญรมย์ เมื่อวนั ท่ี 8 สิงหาคม ค.ศ. 1967 (พ.ศ. 2510) โดยมีวัตถุประสงค์เพือ่ส่งเสริมความเข้าใจอนั ดรี ะหว่างกันในอนภุ ูมภิ าค ธํารงไวซ้ ึง่ สันตภิ าพ เสถยี รภาพ และความมัน่ คงทางการเมือง สรา้ งสรรคค์ วามเจรญิ ทางด้านเศรษฐกจิ การพฒั นาทางสงั คมและวัฒนธรรม การกนิ ดอี ยดู่ ีบนพน้ื ฐานของความเสมอภาคและผลประโยชนร์ ่วมกนั ของประเทศสมาชิกตอ่ มา มกี ารขยายสมาชกิ ภาพ โดยบรูไน ดารสุ ซาลามเขา้ เปน็ สมาชิกลาํ ดับท่ี 6 เมือ่ ปี ค.ศ. 1984(พ.ศ. 2527) เวยี ดนามเขา้ เป็นสมาชิกลําดับที่ 7 ในปี ค.ศ. 1995 (พ.ศ. 2538) สปป.ลาวและพมา่ เข้าเป็น แนวทางการพัฒนาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 9 태국 내 한국학 발전 현황

สมาชิกพร้อมกนั เม่ือปี ค.ศ. 1997 (พ.ศ. 2540) และกัมพูชาเขา้ เป็นสมาชกิ ลา่ สดุ เมื่อปี ค.ศ. 1999 (พ.ศ.2542) ทาํ ให้จาํ นวนสมาชกิ ของอาเซยี นในปัจจุบันมี 10 ประเทศอาเซยี นบวกสาม เปน็ กรอบความรว่ มมือระหวา่ งประเทศสมาชกิ อาเซยี นกบั ประเทศนอกกลมุ่ 3ประเทศ คือ จนี เกาหลีใต้ และญปี่ ุนเพอื่ ส่งเสริมความร่วมมือในระดบั ภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกและเพอ่ื นําไปสู่การจัดตั้งชุมชนเอเชยี ตะวนั ออก ( East Asia Community) โดยใหอ้ าเซยี นและกระบวนการตา่ ง ๆ ภายใต้กรอบความร่วมมืออาเซียนบวกสามเป็นกลไกสาํ คญั ในการผลกั ดนั ให้บรรลุเปูาหมายเน่ืองในโอกาสครบรอบ10 ปขี องการจดั ต้ังกรอบความร่วมมืออาเซยี นบวกสามเม่อื ปี ค.ศ. 2007 (พ.ศ. 2550) ผู้นําของประเทศสมาชกิ ไดล้ งนามในแถลงการณร์ ว่ มว่าด้วยความรว่ มมือเอเชยี ตะวันออกฉบบั ท่ี 2(Second Joint Statement on East Asia Cooperation: Building on the Foundations of ASEANPlus Three Cooperation) พร้อมกบั ความเหน็ ชอบให้มกี ารจัดทําแผนดําเนินงานเพ่อื สง่ เสริมความรว่ มมือระหวา่ งกนั (ASEAN + 3 Cooperation Work Plan ค.ศ. 2007-2017) และเพอื่ สง่ เสริมความร่วมมอื ในระยะยาวและผลักดนั ใหเ้ กดิ ชุมชนอาเซยี น ( ASEAN Community) ภายในปี ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558) โดยมุง่ เนน้การส่งเสรมิ ความร่วมมอื ใน 5 ดา้ น ได้แก่(1) ดา้ นการเมืองและความม่ันคง(2) ดา้ นความรว่ มมือทางเศรษฐกิจและการเงิน(3) ด้านพลงั งานส่ิงแวดลอ้ ม การเปลยี่ นแปลงสภาวะอากาศโลกและการพฒั นาอยา่ งยั่งยนื(4) ดา้ นสงั คมและวัฒนธรรม(5) การพัฒนาด้านการส่งเสริมกรอบการดําเนนิ งานในด้านต่างๆ และกลไกตา่ งๆ ในการตดิ ตามผลโดยแผนความรว่ มมือกันดงั กล่าวท้งั 5 ดา้ นนี้ ถือเป็นการประสานความรว่ มมอื และการรบัความสมั พนั ธร์ ะหว่างกล่มุ ประเทศอาเซยี นกับประเทศในอนภุ ูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงเหนอื มากย่ิงขึน้ โดยแทจ้ ริงแล้ว ประเทศ “บวกสาม” คือ จีน เกาหลีใต้ และญ่ีปุนมิไดร้ วมตัวกนั เป็นสมาคมหรอืประชาคมเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งเหนือดังเชน่ กรณขี องอาเซียน แตล่ ะประเทศเปน็ อสิ ระตอ่ กันและสร้างความสมั พนั ธก์ บั อาเซียนด้วยขอ้ ตกลงของตนเอง หรือเรียกกันวา่ อาเซียนบวกหนง่ึ (3 ครงั้ ) กอ่ ใหเ้ กดิ รูปแบบของพันธะสัญญาเปน็ อาเซียน-จนี อาเซยี น-เกาหลใี ต้ และอาเซยี น-ญี่ปนุ ทาํ ให้กรอบความร่วมมอื ของแตล่ ะประเทศกับอาเซยี นใน 5 ด้านไม่เหมือนกนั ในทุกเรอื่ ง แตก่ ็ไม่ได้มีความแตกต่างกนั อยา่ งสิน้ เชิงอนง่ึ กรณีของอาเซียนเองก็เปน็ เช่นเดียวกนั สมาชกิ ของอาเซียนบางประเทศได้แยกทําข้อตกลงกับจนี หรอื เกาหลีใต้ หรอื ญปี่ ุนของตนเอง เช่น มีการทําข้อตกลงเขตการคา้ เสรรี ะหวา่ งเกาหลีใต้-สงิ คโปร์ ญ่ปี ุนกับสงิ คโปร์ เปน็ ตน้ อย่างไรกด็ ี อาเซียนกลายเป็นบรเิ วณหนึง่ เดยี วกันทีค่ นภายนอกมองว่ามีความเก่ยี วขอ้ งกนัอย่างใกลช้ ิด หากลงทุนผลิตรถยนต์ในไทย ก็สามารถหาตลาดในประเทศสมาชกิ อ่นื ๆ ไดด้ ้วยเพราะเรามีการคา้เสรีระหวา่ งอาเซียนดว้ ยกันเอง ในหลายกรณีมกี ารใช้ประเทศหนงึ่ เป็นทีก่ ระจายสนิ คา้ ไปยังประเทศขา้ งเคียงไดง้ า่ ย (แต่วิธกี ารน้ี ไม่สามารถใชไ้ ดก้ บั ประเทศในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เพราะแต่ละประเทศตา่ งเป็นอิสระต่อกัน และไม่ต้องการใหใ้ ช้เป็นฐานการผลติ หรือสง่ ต่อกระจายสินค้าไปยังประเทศข้างเคียง) อยา่ งไรก็ แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 10 태국 내 한국학 발전 현황

ตาม การกระทําได้เช่นน้ี มที งั้ ขอ้ ดแี ละขอ้ เสยี กลา่ วคอื ทาํ ใหร้ าคาสินค้าถูกลงเพราะลดค่าใช้จา่ ยทางด้านการขนส่ง และเปน็ ตลาดขนาดใหญท่ ่รี องรับสนิ ค้าได้ทลี ะมากๆ แต่ข้อเสยี กค็ ือการเสยี เปรยี บดลุ การค้า จะทาํ ได้งา่ ยข้ึนเพราะไมต่ อ้ งเสียเวลาและคา่ ใชจ้ ่ายในการตอ่ รองกับทลี ะประเทศ ผลที่เกดิ ข้นึ กค็ ือ ประเทศในกลุ่มอาเซยี นขาดดลุ การค้ากับประเทศญ่ปี ุนและเกาหลใี ต้เป็นจาํ นวนมากในแตล่ ะปี ศนู ยเ์ กาหลศี ึกษา มหาวทิ ยาลยั รามคําแหงได้ทําวจิ ยั และพมิ พ์งานออกมาเป็นหนงั สือเรยี น ชื่อความสัมพันธ์ทางสงั คมและวัฒนธรรมระหว่างอาเซยี นกับเอเชียตะวนั ออก (2558) ซึง่ ได้ค้นพบว่าความสัมพนั ธ์ระหว่างสองอนภุ ูมภิ าคมีมานานหลายพันปีแล้ว และความสัมพนั ธไ์ ด้ผันแปรเร่อื ยมาเม่ือบริบทของโลกหรอื ระบบโลก (world order) ไดเ้ ปลี่ยนไปโดยไดแ้ บง่ ยุคสมัยเพือ่ การวิเคราะหอ์ อกเปน็ 4 ยุค คือ (1)ยคุ โบราณจนถึงต้นครสิ ตกาล (2) ยุคล่าอาณานคิ มของชาตติ ะวันตกและญ่ีปนุ (3) ยุคหลงั สงครามโลกครงั้ ที่สองจนถึงส้นิ สุดสงครามเยน็ และ (4) ยคุ ปจั จุบัน แตส่ ิ่งทีแ่ น่นอนที่คน้ พบ ก็คือ คนเกาหลีใต้และญ่ีปนุ ทง้ั ในอดตี และปัจจบุ นั ต่างดูถูกเหยยี ดหยามคนจากอุษาคเนย์ วา่ เปน็ รูปลักษณท์ างร่างกายเปน็ คนปาุ เถือ่ น ด้อยความเจริญ โงเ่ งา่ ขี้เกียจ ไม่อยากร้จู ักและคบคา้ เป็นมิตร แตท่ ตี่ อ้ งกระทาํ อยกู่ ็เพราะเหตุผลทางเศรษฐกจิเท่านน้ั ข้อมลู นมี้ ีผลงานการวจิ ัยอื่นๆ สนบั สนนุ และมขี อ้ มลู ในสอ่ื สารมวลชนของเกาหลแี ละของตา่ งประเทศมากมาย และยิง่ มคี นเอเชยี อาคเนย์นับลา้ นเข้าไปทาํ งานเปน็ กรรมกรในงาน 3 D (Dirty DifficultDangerous) ในเกาหลแี ละญปี่ นุ ดว้ ยแลว้ การดถู กู เหยยี ดหยาม ทั้งทางรา่ งกายและคาํ พูด (physical andverbal abuse) กย็ ่งิ มมี ากขน้ึ ในขณะท่ีคนจนี มขี อ้ รงั เกียจนอ้ ยหนอ่ ย เพราะมชี าวจีนโพ้นทะเลอาศยั อย่ใู นอษุ าคเนย์ถึง 30 ล้านคน และสิงคโปรก์ ็ถือเปน็ ประเทศจนี ในเอเชียอาคเนยน์ น่ั เอง อนึง่ ศนู ย์เกาหลศี กึ ษาฯ ได้วเิ คราะหป์ ระเดน็ ดังกล่าวอย่างละเอยี ดในเอกสารทางวชิ าการเรอ่ื ง อคตติ อ่ ชาวต่างชาตทิ ่ีอาศยั อย่ใู นเกาหลใี ต้(2556) และด้านมืดของความสมั พนั ธ์ทางสงั คมและวฒั นธรรมระหว่างคนเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใตก้ ับคนเอเชียตะวนั ออกเฉียงเหนอื (2558) เป็นตน้สรปุจากเหตุการณ์ท่ีปรากฏขึ้นในเอเชียตะวนั ออกเฉยี งเหนอื นบั แต่อดตี จนถงึ ปจั จบุ ัน ทาํ ใหผ้ เู้ ขียนเชื่อวา่หากเราตอ้ งการจะคน้ หารายละเอียดในเร่อื งขอ้ เกาหลีศึกษา จําเป็นตอ้ งมองภาพในวงกว้างท้งั บรเิ วณเอเชยีตะวันออกเฉยี งเหนือพร้อมๆ กบั การเจาะลึกถึงประเทศเกาหลีในด้านภาษาและวฒั นธรรม ทั้งนี้เพราะบริบทของภมู ริ ฐั ศาสตร์แห่งนม้ี ีรายละเอยี ด สลบั ซบั ซอ้ น และเกีย่ วพันกนั ตลอดหว้ งประวัติศาสตร์อนั ยาวนาน อันจะทําให้ภาพการศกึ ษาเกี่ยวกบั เกาหลีศึกษามคี วามชดั เจนย่ิงข้นึบริเวณศกึ ษา (Area studies) ของเอเชยี ตะวันออกเฉียงเหนือน้ี ควรมองท้ังแงป่ ระวตั ิศาสตรส์ ังคมวฒั นธรรม เศรษฐกจิ การค้าและการลงทุน และการเมืองของแต่ละประเทศและการเมืองระหวา่ งประเทศ โดยมองเปน็ กลุ่มประเทศก่อนท่จี ะแยกออกมาวเิ คราะห์ทลี ะประเทศ อนงึ่ ยงั มหี ัวขอ้ อกี หลากหลายประเดน็โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ในเรอื่ งทเี่ กีย่ วกับสังคมและเศรษฐกิจยคุ ใหมท่ ร่ี อให้ผู้ท่ีสนใจศกึ ษาเจาะลึก เพอื่ หาจุดเดน่ จดุด้อยท่ีเราจะนาํ มาสรา้ งประโยชน์ใหแ้ กส่ งั คมของเราและอาเซียนดงั เช่นงานเขยี นเรอื่ ง การสร้างผู้ประกอบการ : แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 11 태국 내 한국학 발전 현황

กรณศี ึกษาไทยกบั เกาหลใี ต้ (2557) ซึง่ แน่นอนที่สุด เราย่อมจะมองเห็นทัง้ ข้อดแี ละขอ้ เสยี เมอื่ ต้องคบกบั คน“จากทางเหนอื ” (brutal Northerners)-----------------------------------------------หมายเหตุ: ดร. สุรรี ัตน์ บํารงุ สุข แห่งมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้รวบรวมผลงานทางดา้ นเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทยโดยศกึ ษาจากฐานข้อมูล ThaiLISพบวา่ หมวดหมูเ่ น้อื หาสาระของผลงานดา้ นเกาหลีศึกษาท้ังหมด11 เรือ่ ง มีเน้ือหาทป่ี รากฏมากทส่ี ุด ไดแ้ ก่ เศรษฐกจิ ร้อยละ 32 วัฒนธรรม รอ้ ยละ 22 และภาษา รอ้ ยละ 14ส่วนสถาบันท่ผี ลิตผลงานมากท่ีสดุ เรยี งลาํ ดับดงั น้ี มหาวทิ ยาลยั รามคําแหง ร้อยละ 21.64 ธรรมศาสตร์ ร้อยละ 14.62 และจฬุ าฯ รอ้ ยละ 9.94เอกสารผลงานทางวชิ าการของศนู ยเ์ กาหลศี กึ ษา มหาวิทยาลัยรามคาแหงอันดับท่ี 1 เกาหลีใต้ : บทบาทของรัฐในการพัฒนาประเทศ .กรุงเทพฯ : สาํ นกั พิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2530.อนั ดบั ที่ 2 สงั คมและวฒั นธรรมเกาหลี.กรงุ เทพฯ: สาํ นกั พิมพม์ หาวทิ ยาลัยรามคาํ แหง, 2536.อันดบั ท่ี 3 การบริหารงานแบบเกาหลี.กรงุ เทพฯ: สาํ นกั พมิ พม์ หาวิทยาลัยรามคาํ แหง, 2536.อนั ดบั ที่ 4 ปัจจยั ทางสังคมวัฒนธรรมท่ีส่งผลตอ่ การพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศสาธารณรฐั เกาหลี (เกาหลีใต้).รายงานการวจิ ยั ศูนย์เกาหลีศึกษา มหาวทิ ยาลยั รามคําแหง, 2539.อนั ดบั ท่ี 5 Asian Trade Information: South Korea. Data Bank Project. Presented to Department of Businesses Economics, Ministry of Commerce. Institute ofอนั ดับที่ 6 Asian Studies, Chulalongkorn University, 1988. Correcting of Thai Publications on Korean Studies. Research report, Centerอนั ดับท่ี 7 for Korean Studies, Ramkhamhaeng University, 1996. สังคมและวฒั นธรรมญีป่ ุน .เอกสารทางวิชาการ ศูนย์เกาหลศี ึกษา มหาวิทยาลยัอนั ดับท่ี 8 รามคาํ แหง, 2540. สังคมและวฒั นธรรมจนี .เอกสารทางวิชาการ ศูนยเ์ กาหลศี ึกษา มหาวทิ ยาลัยรามคําแหง,อนั ดบั ที่ 9 2540. เกาหลีเหนอื : สงั คมและวัฒนธรรม .รายงานการวจิ ยั ศูนย์เกาหลีศกึ ษา มหาวิทยาลัยอันดับท่ี 10 รามคําแหง, 2541.อันดับที่ 11 เกาหลีใตว้ ันน้ี.เอกสารทางวิชาการ ศนู ยเ์ กาหลศี ึกษา มหาวทิ ยาลัยรามคาํ แหง, 2542.อนั ดบั ที่ 12 จีนวนั นี้.เอกสารทางวชิ าการ ศนู ย์เกาหลีศึกษา มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2542. ญี่ปนุ วนั น้ี. เอกสารทางวิชาการ ศูนย์เกาหลศี ึกษา มหาวิทยาลัยรามคาํ แหง, 2542. แนวทางการพฒั นาเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย 12 태국 내 한국학 발전 현황

อันดับท่ี 13 โฉมหน้าญป่ี นุ ปี 2000.เอกสารทางวิชาการ ศูนย์เกาหลศี ึกษา มหาวิทยาลัยรามคาํ แหง ,อนั ดับท่ี 14 2543.อนั ดบั ที่ 15 โฉมหนา้ จนี ปี 2000.เอกสารทางวชิ าการ ศนู ยเ์ กาหลศี กึ ษา มหาวิทยาลยั รามคําแหง ,อนั ดบั ที่ 16 2543.อนั ดบั ท่ี 17 โฉมหน้าเกาหลี ปี 2000. เอกสารทางวิชาการ ศูนย์เกาหลศี กึ ษา มหาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง ,อันดับท่ี 18 2543.อันดบั ท่ี 19 สงั คมและวฒั นธรรมเกาหลี . (แกไ้ ขปรับปรงุ ใหม่ทง้ั เล่ม ) กรงุ เทพฯ : สาํ นกั พิมพ์อันดับที่ 20 มหาวทิ ยาลัยรามคําแหง, 2544. สงั คมและวฒั นธรรมจีน. กรงุ เทพฯ: สาํ นักพิมพ์มหาวทิ ยาลัยรามคําแหง, 2544.อนั ดบั ท่ี 21 สงั คมและวัฒนธรรมญีป่ นุ . กรุงเทพฯ: สํานกั พมิ พ์มหาวทิ ยาลัยรามคําแหง, 2545.อันดบั ที่ 22 การเมืองเกาหลี. กรงุ เทพฯ: สํานกั พิมพ์มหาวทิ ยาลยั รามคําแหง, 2546 “การเมืองการปกครองของสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนเกาหลแี ละสาธารณรัฐอันดับที่ 23 เกาหลี,” การเมอื งการปกครองของประเทศในเอเชยี . (ฉบบั ปรบั ปรุงครงั้ ท่ี 1) เอกสาร การสอนชุดวชิ า หนว่ ยที่ 3 #82321 สาขาวชิ ารัฐศาสตร์ กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์อันดบั ที่ 24 มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช, 2548. หนา้ 3-1 - 3-106; และ “ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาอันดบั ที่ 25 ของสาธารณรฐั เกาหลี ,” กระบวนการพฒั นาและทางเลือกสาธารณะ .หน่วยท่ี 9 ตอนท่ี 9.1 #83705 บัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ มหาวิทยาสโุ ขทัยธรรมาธิราช, 2548. หน้า 9-4 – 9-23. ความสมั พันธ์ระหวา่ งจนี -เกาหลใี ต-้ ญ่ปี ุน : ตง้ั แต่ตน้ ครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 20 - ปัจจบุ ัน . รายงานการวจิ ยั ศูนย์เกาหลศี กึ ษา มหาวทิ ยาลัยรามคาํ แหง, 2550. เอเชยี ตะวันออกเฉยี งเหนอื : ความสัมพนั ธร์ ะหว่างจนี เกาหลี และ ญี่ปุน - ตั้งแต่ยุค โบราณจนถึงตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19. เอกสารทางวิชาการ ศูนย์เกาหลศี ึกษา มหาวิทยาลยั รามคําแหง, 2551. เอเชียตะวนั ออกเฉยี งเหนือ : ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งจนี เกาหลี และญปี่ ุน - จากยคุ โบราณ จนถงึ ปี ค.ศ. 2009 . รายงานการวจิ ยั ฉบับสมบรู ณ์ ศูนยเ์ กาหลศี กึ ษา มหาวิทยาลัย รามคาํ แหง, 2553.และพมิ พ์เป็นหนังสอื อ่านประกอบวชิ า สงั คมและวัฒนธรรมจีน (AN 354 (S)) กรงุ เทพ: สํานกั พิมพม์ หาวทิ ยาลัยรามคําแหง. เกาหลีปี 2553: วันน้ีทีเ่ ปลย่ี นไป. เอกสารทางวชิ าการ ศูนย์เกาหลศี ึกษา มหาวทิ ยาลัย รามคําแหง, 2554. เอเชยี ตะวนั ออก : พฒั นาการความสัมพันธข์ องคน สงั คมและวฒั นธรรม ระหว่างเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงเหนือและเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้. รายงานการวิจยั ศูนย์เกาหลศี ึกษา แนวทางการพัฒนาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 13 태국 내 한국학 발전 현황

อนั ดับที่ 26 มหาวิทยาลัยรามคาํ แหง, 2555 และพมิ พเ์ ปน็ หนงั สืออา่ นประกอบวชิ า สังคมและ วัฒนธรรมญ่ีปนุ (AN 355 (S)). กรงุ เทพฯ: สํานักพิมพม์ หาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง.อนั ดับท่ี 27 พัฒนาการทางการเมอื งการปกครองของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลีอันดับที่ 28 (เกาหลเี หนอื ) และสาธารณรัฐเกาหลี(เกาหลีใต้). เอกสารทางวชิ าการ ศนู ยเ์ กาหลศี กึ ษาอันดับที่ 29 มหาวทิ ยาลัยรามคาํ แหง, 2555.อนั ดับท่ี 30 อาเซยี นบวกสาม: ความสัมพันธร์ ะหว่างกันในยคุ ปจั จบุ ัน.เอกสารทางวชิ าการ ศูนยเ์ กาหลีอนั ดบั ที่ 31 ศกึ ษา มหาวิทยาลยั รามคําแหง, 2555.อนั ดับที่ 32 คนเกาหลี : มุมมองจากคนภายใน (Koreans: ”Emic” View on Korean Stereotype).อันดับที่ 33 เอกสารทางวชิ าการ ศนู ย์เกาหลีศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง ,2555.อันดบั ท่ี 34 สาธารณรฐั เกาหลีและสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนเกาหลกี ับความมน่ั คงแหง่ ชาติอนั ดบั ท่ี 35 ของประเทศไทย. เอกสารทางวิชาการ ศนู ยเ์ กาหลศี ึกษา มหาวิทยาลัยรามคาํ แหง, 2555.อนั ดบั ท่ี 36 ไทย – เกาหลีใต้ – อาเซียนบวกสาม. เอกสารทางวิชาการ ศูนยเ์ กาหลีศกึ ษา มหาวทิ ยาลยัอนั ดับท่ี 37 รามคําแหง, 2555.อันดบั ที่ 38 พฒั นาการทางการเมอื งของประเทศสาธารณรฐั เกาหลี . เอกสารทางวิชาการ ศนู ย์เกาหลี ศึกษามหาวิทยาลยั รามคําแหง, 2556. สาธารณรัฐเกาหลีและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลีกับความมน่ั คงแหง่ ชาติ ของประเทศไทย. เอกสารทางวิชาการ ศนู ยเ์ กาหลีศึกษา มหาวิทยาลยั รามคาํ แหง, 2556. อคติตอ่ ชาวต่างชาตทิ อ่ี าศยั อย่ใู นเกาหลใี ต้ .เอกสารทางวิชาการ ศนู ย์เกาหลีศกึ ษา มหาวิทยาลัยรามคาํ แหง, 2556. มัง่ คั่งและมน่ั คง : นโยบายของผู้นาํ ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงเหนือ .เอกสารทางวิชาการ ศูนย์เกาหลศี กึ ษา มหาวทิ ยาลยั รามคําแหง, 2557. วิกฤตเิ กาหลี ปี 2013 : คาบสมุทรเกาหลรี ้อนระอุจรงิ หรือ. เอกสารทางวชิ าการ ศนู ย์ เกาหลีศึกษา มหาวทิ ยาลัยรามคําแหง, 2557. การสร้างผปู้ ระกอบการ : กรณีศึกษาไทยกับเกาหลีใต้ . เอกสารทางวิชาการ ศูนยเ์ กาหลี ศึกษา มหาวทิ ยาลยั รามคาํ แหง, 2557. ความสมั พันธ์ทางสังคมและวัฒนธรรมระหว่างเอเซียนกับเอเชยี ตะวนั ออก . กรงุ เทพฯ : สาํ นักพิมพม์ หาวิทยาลัยรามคาํ แหง, 2558. ดา้ นมืดของความสัมพันธ์ทางสังคมและวฒั นธรรมระหวา่ งคนเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใตก้ บั คนเอเชียตะวันออกเฉยี งเหนอื . เอกสารทางวชิ าการ ศนู ย์เกาหลศี กึ ษา มหาวิทยาลยั รามคาํ แหง, 2558. แนวทางการพฒั นาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 14 태국 내 한국학 발전 현황

เกยี่ วกับผู้เขียน ไดร้ บั ปรญิ ญาศลิ ปศาสตรบัณฑติ จากมหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ สังคมวทิ ยามหาบณั ฑติ จากจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประกาศนยี บัตรช้นั สูง (เทยี บเทา่ ปรญิ ญาโท) จากมหาวิทยาลยั ลอนดอน สหราชอาณาจักร โดยได้รบั ทุน The British Council และดุษฎบี ณั ฑิตสาขารัฐศาสตร์จากมหาวทิ ยาลยั ฮาวาย สหรฐั อเมริกา โดยไดร้ ับทนุ The East-West Center รวมทัง้ ไดร้ ับประกาศนยี บัตรการเข้ารับการศึกษาอบรม เรื่องEnvironment and Policy ระหวา่ งปี พ.ศ. 2524-2528 มีความเชี่ยวชาญด้านการพฒั นาและพัฒนาชนบท(นโยบายและการดําเนนิ งานการพฒั นา) สิ่งแวดล้อมศกึ ษา เกาหลีศึกษา มานุษยวทิ ยา และรฐั ศาสตรป์ จั จุบันเป็นผ้อู าํ นวยการศูนย์เกาหลีศกึ ษา ภาควชิ าสังคมวทิ ยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยรามคาํ แหง <[email protected]>เคยเปน็ นกั วิจยั ประจาํ สถาบันสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2512-2515) และอาจารย์ประจาํ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย (พ.ศ. 2534-2538) เคยเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาแกอ่ งคก์ าร USAID(พ.ศ. 2523-2524) เป็นคณะทาํ งานในโครงการ Traditional Agriculture in Southeast Asia: A HumanEcology Perspective ของสถาบนั ส่ิงแวดลอ้ มและนโยบาย แห่ง The East West Center, Hawaii (พ.ศ.2524-2528) เข้ารบั การฝึกอบรมในหัวข้อ Trade and Development Policies จัดโดย InternationalDevelopment Exchange Program, Korea Development Institute (KDI) ท่ี Korea DevelopmentInstitute, Seoul, Korea (พ.ศ. 2530) ทําวิจยั ทมี่ หาวิทยาลยั Hankuk University of Foreign Studiesโดยได้รับทนุ จาก Korea Foundation (พ.ศ. 2539) และเป็น Visiting Professor ในวิชา Security Issuesin Contemporary East Asia ท่ี Seoul National University ประเทศสาธารณรฐั เกาหลี (พ.ศ. 2553)นอกจากน้ี เปน็ อาจารยผ์ ้บู รรยายในสถาบันการศกึ ษาหลายแห่ง เช่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัศิลปากร มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ รวมท้ังสถาบนั พระปกเกลา้ และวทิ ยาลยัปูองกนั ราชอาณาจักรมีผลงานการเขียนตําราและพิมพ์งานวจิ ัยจาํ นวน 40 เร่ือง และบทความทางวิชาการมากกวา่ 120เรือ่ ง พมิ พ์ทงั้ ในและต่างประเทศศนู ยเ์ กาหลศี กึ ษา มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง<www.ru.ac.th/korea> แนวทางการพฒั นาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 15 태국 내 한국학 발전 현황

แนวทางการพฒั นาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 16 태국 내 한국학 발전 현황

แนวทางการพฒั นาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 17 태국 내 한국학 발전 현황

แนวทางการพฒั นาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 18 태국 내 한국학 발전 현황

แนวทางการพฒั นาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 19 태국 내 한국학 발전 현황

แนวทางการพฒั นาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 20 태국 내 한국학 발전 현황

แนวทางการพฒั นาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 21 태국 내 한국학 발전 현황

Korean Studies Development in Historical and Economic Dimension Boondech Kanokwan Korean language department of Prince of Songkla University Pattani CampusAbstract Korean studies are the academic works which create knowledge about Korean fields,for example, history, language, geography, politics, economy, society, culture, music andreligion. The early Korean studies provide the feeling of nationalism or conservatism. Mostcontents relate to history, culture, society and politic. On the other hand, the today Koreanstudies are one of academic branch which have been studied globally. The studies are notlimited to conservatism which focuses on study Korean history but includes its society andculture in the present day. The word Korean Studies has been used firstly in 1940. After its IndependenceDeclaration day at 15 August 1945, the word Korean Studies has been spread. Later, afterthe Korea War (25 June 1950-27 July 1953), the Korean researches became morevarious. In June 1978, Korean government constitutes the Academy of Korean Studies(한국학중앙연구원) with the purpose to encourage historical and cultural researches todemonstrate the difference between Korean culture and Chinese culture and to create thenational identity. Besides, the government intended to extend Korean studies to increaseKorean and foreign researchers in USA or Japan. In Thailand, the early period of Korean studies was only included in social studies,history and religion. Later, when the Korean mainstream enter the country, the educationalinstitutes from high school to college began to put Korean language in their course asKorean language department for major and minor, resulting in its higher attention inacademic field. According to the survey in Thailis database, Thai Library Integrated Systemunder Office of Higher Education Commission via website http://tdc.thailis.or.th, whichprovides data searching services for researches from universities around the country, it foundthat the Korean studies has been increased every year from 1971-present and from 230works. The popular topics are economy and commerce. As a result, the Korean languagecourse of Prince of Songkla University, Pattani Campus has added history and economy since แนวทางการพฒั นาเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย 22 태국 내 한국학 발전 현황

1999 for major branch. In other words, history and economy can be the original coursessince arrangement of Korean language department.Keywords: Korean studies development, History and Economy courses แนวทางการพฒั นาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 23 태국 내 한국학 발전 현황

แนวทางการพัฒนาเกาหลศี กึ ษา ในมติ ิของประวัตศิ าสตร์และเศรษฐกจิ กนกวรรณ บญุ เดช แผนกวิชาภาษาเกาหลี ภาควชิ าภาษาตะวันออก มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตปตั ตานีบทนา เกาหลีศกึ ษา (Korean studies) คอื งานวชิ าการท่ีสรา้ งองค์ความรู้เกยี่ วกบั เกาหลใี นสาขาต่าง ๆ ท้ังดา้ นประวัติศาสตร์ ปรชั ญา ภาษา ภูมิศาสตร์ การเมอื ง เศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม ดนตรี ศาสนา เปน็ ตน้ซ่งึ ผลงานวิชาการด้านเกาหลีศกึ ษาในยุคแรก ๆ เปน็ งานวิชาการทใ่ี ห้ความรสู้ ึกไปในแนวชาตนิ ิยมหรอื อนรุ ักษ์นิยม ผลงานวชิ าการส่วนใหญ่จะมเี น้ือหาเชื่อมโยงกับประวัตศิ าสตร์ วฒั นธรรม สังคม การเมือง แตป่ จั จุบนัเกาหลศี กึ ษาเปน็ งานวชิ าการสาขาหนึง่ ทม่ี กี ารศกึ ษากนั ทว่ั ไปอย่างแพรห่ ลาย ผลงานทศี่ กึ ษาวจิ ัยไม่ไดจ้ ํากดัขอบเขตในแนวอนุรกั ษ์นิยมทีม่ ุ่งศึกษาเรอ่ื งราวทเี่ ป็นประวตั ศิ าสตร์เกาหลีในด้านต่าง ๆ เทา่ นน้ั แต่ยงั รวมถงึการศึกษาเกี่ยวกับสังคมและวฒั นธรรมเกาหลใี นยุคปัจจบุ นั อีกด้วย เกาหลศี ึกษาเปน็ คาํ ที่เรม่ิ ใชเ้ ป็นคร้ังแรกในปี ค.ศ. 1940 และหลงั เหตุการณ์การประกาศอิสรภาพของเกาหลีในวันท่ี 15 สงิ หาคม ค.ศ. 1945 ก็ไดม้ ีการใช้คําวา่ เกาหลีศึกษากนั อยา่ งแพร่หลายตอ่ มาหลงั ส้นิ สุดสงครามเกาหลี (Korea War; 25 June 1950 – 27 July 1953) งานวจิ ยั ดา้ นเกาหลศี ึกษากเ็ ริ่มมีความหลากหลายมากขึน้ ในเดอื นมถิ ุนายน ปี ค.ศ. 1978 รัฐบาลสาธารณรฐั เกาหลไี ดส้ รา้ งสถาบนั วิจยั เกาหลีศกึ ษา(The Academy of Korean Studies; 한국학중앙연구원) ขนึ้ มาจดุ ประสงคเ์ พ่อื ตอ้ งการส่งเสรมิผลงานวิจยั ทเ่ี กย่ี วกบั ประวตั ศิ าสตร์ วฒั นธรรมของชาติแสดงให้เห็นถงึ ความแตกต่างระหวา่ งวัฒนธรรมเกาหลีและวฒั นธรรมจีนเพ่อื สร้างอตั ลักษณ์ความเปน็ ชาติ อีกทงั้ เพื่อต้องการเผยแพร่เกาหลศี ึกษาให้กว้างขวางออกไปทําใหป้ ริมาณนกั วจิ ยั ทศี่ ึกษาในดา้ นเกาหลศี ึกษาทั้งชาวเกาหลีและชาวต่างชาตมิ ีจาํ นวนเพ่ิมมากข้ึนไม่วา่ จะเปน็ ในประเทศสหรฐั อเมรกิ าหรือญ่ปี ุน ในประเทศไทยเกาหลีศึกษาในยุคแรก ๆ เป็นเพยี งเนอ้ื หาส่วนหนงึ่ ในวิชาสังคมศึกษาประวัตศิ าสตร์และศาสนาเท่านัน้ ตอ่ มาเมอื่ กระแสเกาหลเี ริ่มเข้ามาสปู่ ระเทศไทยสถาบนั การศึกษาระดบั มัธยมศกึ ษาระดบั อุดมศึกษาได้บรรจุรายวิชาภาษาเกาหลีเขา้ ไวใ้ นหลักสตู รในฐานะแผนภาษาเกาหลี วิชาเอก วชิ าโททาํ ใหก้ ารศกึ ษาวจิ ยั ดา้ นเกาหลศี กึ ษาไดร้ บั ความสนใจในวงวชิ าการมากขึน้ และเม่ือสาํ รวจงานวจิ ัยใน ThaiLis1พบวา่ ผลงานวจิ ยั ดา้ นเกาหลีศึกษาทม่ี จี ํานวนเพม่ิ ข้นึ ทุกปจี ากปี พ.ศ.2520-ปจั จุบนั และจาก 230 ผลงานวชิ าการ หวั ขอ้ ทไ่ี ด้รบั ความสนใจในการศกึ ษามากสุดคอื สงั คมวทิ ยาหัวขอ้ รองลงมาคอื เรื่องเศรษฐกิจ การค้า1ThaiLis คอื ฐานข้อมลู โครงการเครือขา่ ยห้องสมุดในประเทศไทย สังกัดสาํ นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษาซึง่ ให้บริการสืบค้นฐานขอ้ มลู งานวจิ ัยทรี่ วบรวมจากมหาวทิ ยาลัยตา่ ง ๆ ท่วั ประเทศ แนวทางการพัฒนาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 24 태국 내 한국학 발전 현황

หลักสูตรภาษาเกาหลี มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปัตตานีไดบ้ รรจรุ ายวชิ าสงั คมและวัฒนธรรมในฐานะรายวชิ าเอกบังคับและบรรจุรายวชิ าประวัตศิ าสตร์และเศรษฐกิจในฐานะรายวชิ าเอกเลอื กในปี พ.ศ.2542กลา่ วไดว้ ่ารายวชิ าสงั คมและวฒั นธรรม รายวชิ าประวตั ิศาสตร์และเศรษฐกิจเปน็ รายวชิ าทีม่ ีดัง่ เดิม ตงั้ แตเ่ รมิ่จัดตง้ั วชิ าเอกภาษาเกาหลีจดุ ประสงคใ์ นการศึกษา 1. เพื่อศึกษาแนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในมิติของประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ 2. เพ่ือศกึ ษาปริมาณผลงานวิชาการท่เี ก่ียวกบั เกาหลีศกึ ษาในประเทศไทยวธิ กี ารเก็บรวบรวมขอ้ มูล 1. สาํ รวจงานวิจยั เกาหลศี กึ ษาใน ThaiLisฐานขอ้ มลู โครงการเครือขา่ ยหอ้ งสมดุ ในประเทศไทย สงั กดั สาํ นักงานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษาจากเว็บไซต์ http://tdc.thailis.or.th/ 2. สมั ภาษณน์ กั ศึกษาที่ผ่านการเรียนในรายวิชาประวตั ศิ าสตรเ์ ศรษฐกจิ โดยใชค้ ําถามปลายเปิดสรุปผลการศึกษา1) ปรมิ าณผลงานวชิ าการที่เกีย่ วกบั เกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย จากการสํารวจข้อมลู การทาํ วิจัยที่เกีย่ วข้องกับเกาหลีศกึ ษา เชน่ ตาํ รา หนังสอื วทิ ยานิพนธ์ บทความวชิ าการ เอกสารทุกประเภทท่อี ยู่ในฐานข้อมูลโครงการเครอื ขา่ ยหอ้ งสมุดในประเทศไทย ThaiLis พบผลงานวิชาการ ตงั้ แต่ ปีพ.ศ. 2520 จนถงึ ปีปจั จุบันพ.ศ.2558 รวมระยะเวลา 39 ปปี ระกอบดว้ ยจาํ นวนผลงานวิชาการ ทง้ั สน้ิ 230 ผลงาน ผูว้ ิจัยทําการแบง่ ชว่ งเวลาในการศึกษาออกเป็นชว่ งเวลาละ 10 ปีไดท้ ้งั หมด 4ช่วง ช่วงท่ี 1 พ.ศ.2520-2529 ประกอบดว้ ย 3 ผลงาน ชว่ งท่ี 2 พ.ศ.2530-2539 ประกอบดว้ ย 9 ผลงานช่วงที่ 3 พ.ศ.2540-2549 ประกอบด้วย 48 ผลงาน และช่วงที่ 4 พ.ศ.2550-ปจั จบุ ัน ประกอบดว้ ย 170ผลงานดังรายละเอยี ดตามแผนภูมภิ าพตอ่ ไปนี้ แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 25 태국 내 한국학 발전 현황

แผนภูมภิ าพที่ 1 : แสดงปรมิ าณผลงานวิชาการทเ่ี ก่ยี วกับเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย จากผลงานวิจยั ทีม่ ีปริมาณเพิม่ ขึน้ ทุกช่วงเวลาแสดงให้เห็นถึงความสนใจเกาหลศี ึกษาในประเทศไทยผลงานใน ช่วงท่ี 1 ซง่ึ มีปรมิ าณนอ้ ยทสี่ ดุ ในบรรดา 4 ชว่ ง ผลงานวชิ าการที่ปรากฏอาทเิ ช่น แซมาอึลอนุ ดง(Saemaeul Movement) กบั ความสาํ เร็จในการพัฒนาชุมชนการศกึ ษาเปรยี บเทยี บวิธีการชําระหนี้ระหวา่ งไทย เกาหลี ฟลิ ิปปินส์ และบทความเร่ืองโคชจู ังอาการหมกั เกาหลี ซง่ึ ทัง้ สามเร่อื งท่กี ลา่ วมานน้ั แสดงใหเ้ หน็ วา่เน้ือเร่ืองทหี่ ยิบยกมาศึกษาเป็นเพยี งความสนใจเฉพาะของผู้วิจัยเท่านนั้ โดยไม่ไดร้ ับอทิ ธพิ ลจากกระแสเกาหลีแตอ่ ย่างใด ชว่ งที่ 2 ผูว้ ิจัยตั้งขอ้ สังเกตวา่ รูปแบบของงานวจิ ยั เปล่ียนไปอยา่ งเหน็ ได้ชดั เจนจากงานวจิ ยั 9 ผลงานประกอบไปด้วยวิทยานิพนธ์ 7 ผลงาน และบทความวิชาการ 2 ผลงาน แสดงใหเ้ ห็นถึงความสนใจทต่ี ้องการศึกษาดา้ นเกาหลศี กึ ษาท่ีเร่มิ จริงจงั มากข้ึนผลงานท่ีทาํ การศกึ ษาในชว่ งนปี้ ระกอบไปดว้ ยหวั ข้อทหี่ ลากหลายท้ังด้านประวัตศิ าสตร์ การเมอื ง เศรษฐกจิ ภาษา เปน็ ต้น แต่ปริมาณงานวิจัยยังไมม่ ากนัก ช่วงท่ี 3 ถอื เป็นจดุ เปลยี่ นทีเ่ ห็นไดอ้ ย่างชัดเจนประกอบกบั การเริ่มรบั กระแสเกาหลที ําให้ผศู้ ึกษาด้านเกาหลีมีปริมาณเพิม่ มากขนึ้ และมคี วามสนใจศกึ ษาในหวั ข้อที่หลากหลายมากกวา่ 2 ช่วงแรกในช่วงน้ีผลงานวิจยั ประกอบไปดว้ ยวทิ ยานพิ นธ์ 28 ผลงานบทความ 15 ผลงานงานวจิ ยั 5 ผลงาน งานวิชาการท่มี ีการศึกษามากท่สี ุดคือดา้ นเศรษฐกิจมผี ลงานทงั้ สนิ้ 11 ผลงานคิดเป็นร้อยละ 22.91 ซึ่งถือเปน็ ร้อยละของความสนใจท่มี ากทสี่ ดุ ในช่วงที่ 3 ในชว่ งท่ี 4 ถอื เป็นชว่ งเวลาทีก่ ระแสเกาหลแี พร่กระจายเขา้ มาสู่เอเชียตะวนั ออกเฉียงใตแ้ ละแพรก่ ระจายไปยงั ประเทศต่าง ๆ ทวั่ โลก ทําใหผ้ ลงานวิจยั มีความหลากหลายมากกวา่ ทุกชว่ งที่ผา่ นมา จากแผนภมู ิเห็นได้วา่ จาํ นวนผลงานวิชาการด้านเกาหลีศึกษามีจํานวนเพิ่มขน้ึ อย่างเห็นได้ชดั เจนเรียงตามลําดับชว่ งเวลาท่ี 1 ปีพ.ศ. 2520 จนกระท่งั ถงึ ชว่ งเวลาที่ 4 ปีพ.ศ. 2558 โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ในช่วงเวลาที่3 และ 4 ระหว่าง ปีพ.ศ. 2540-2558 รวมระยะเวลา 39 ปจี ํานวนผลงานวชิ าการดา้ นเกาหลศี กึ ษามีเพ่ิมมากขน้ึ อยา่ งเห็นไดช้ ัดเจนสง่ ผลให้แนวโนม้ ของการศึกษาดา้ นเกาหลใี นประเทศไทยน่าจะมจี ํานวนผลงานทาง แนวทางการพัฒนาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 26 태국 내 한국학 발전 현황

วชิ าการเพ่มิ ข้นึ ตามทิศทางของเส้นกราฟที่ปรากฏ ผลงานวิชาการที่เพม่ิ ขน้ึ สอดคลอ้ งกับชว่ งเวลาท่กี ระแสเกาหลีแพร่กระจายเขา้ มาสู่เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้และแพร่กระจายไปยังประเทศตา่ ง ๆ ทวั่ โลกซ่งึ เปน็ การสง่ เสริมใหผ้ ลงานวิจยั เกาหลีศึกษามีปรมิ าณและความหลากหลายมากขึ้น 1.1) สัดส่วนของประเภทผลงานจาก 230 ผลงาน จากผลงานวิชาการทัง้ ส้ิน 230 ผลงาน เมื่อจัดแบง่ ตามประเภทของเอกสารพบว่าเปน็ เอกสารประเภทวทิ ยานิพนธ์ 171 ผลงาน บทความ 40 ผลงาน งานวจิ ัย 16 ผลงาน e-book 2 ผลงาน และText 1 ผลงาน(แผนภมู ภิ าพท2่ี :สัดสว่ นของประเภทผลงานจาก 230 ผลงาน)แผนภมู ภิ าพท่ี 2 :สดั ส่วนของประเภทผลงานจาก230ผลงานระหว่างพ.ศ.2520-พ.ศ.2558 จากแผนภูมิภาพข้างต้นพบวา่ ผลงานวชิ าการเกาหลีศกึ ษามีสดั สว่ นประเภทผลงานทเ่ี ป็นวทิ ยานิพนธ์สงู ถงึ รอ้ ยละ 74 รองลงมา คอื ผลงานประเภทบทความคิดเป็นรอ้ ยละ 17 ประกอบกับปรมิ าณผลงานวิชาการเพม่ิ ขึน้ อยา่ งมากในชว่ งที่ 3 และ 4 แสดงใหเ้ หน็ ได้อยา่ งชดั เจนถงึ แนวโนม้ ความสนใจศกึ ษาวิจยั ด้านเกาหลีศกึ ษาที่จะมีเพ่ิมสงู ข้นึ ในอนาคต 1.2) หวั ข้องานวชิ าการด้านเกาหลศี ึกษาทม่ี ีผู้สนใจศึกษามากทสี่ ดุ ในประเทศไทย นอกจากน้ีเพือ่ ตอ้ งการทราบหัวข้องานวิชาการด้านเกาหลศี ึกษาทีม่ ีผู้สนใจศึกษามากทีส่ ุด ผวู้ ิจยั ไดแ้ บง่หมวดงานวิชาการเกาหลศี ึกษาออกเป็น 8 หมวด อาทเิ ช่น ประวัตศิ าสตร์วฒั นธรรม ภาษา การศึกษา ศาสนาการเมือง เศรษฐกิจ สงั คมวทิ ยาและอื่น ๆ เปน็ ตน้ พบวา่ หัวข้อท่ไี ด้รบั ความสนใจศึกษามากสดุ คอื ด้านสงั คมวิทยา รองลงมาคือหวั ขอ้ เรื่องเศรษฐกิจ การค้าสรปุ ไดต้ ามแผนภูมิภาพตอ่ ไปน้ี แนวทางการพฒั นาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 27 태국 내 한국학 발전 현황

แผนภูมิภาพท3ี่ : ผลงานเกาหลีศกึ ษาด้านตา่ ง ๆ ในประเทศไทยระหว่างปี พ.ศ.2520-พ.ศ.2558 จากแผนภูมิภาพข้างต้นสรุปไดว้ ่าหัวข้อความสนในเกาหลศี ึกษาในประเทศไทยทนี่ ยิ มศึกษามากทสี่ ุด3 อนั ดบั แรกไดแ้ ก่ ด้านสังคมวิทยาคดิ เปน็ รอ้ ยละ 47 ดา้ นเศรษฐกจิ รอ้ ยละ 22 ดา้ นการเมืองร้อยละ 11 จากงานวิจยั เรอื่ งผลงานวิชาการเกาหลใี นประเทศไทยไดแ้ บง่ ชว่ งเวลาในการศึกษาตงั้ แตป่ พี .ศ. 2520-พ.ศ.2556 ของสรุ ีรัตน์ บํารุงสุข (2557: 206) ซ่งึ ไดก้ ลา่ วไวว้ ่า กลมุ่ เน้ือหาทีพ่ บผลงานทางวชิ าการดา้ นเกาหลีศกึ ษามากทส่ี ุดจาก 171 ผลงานคอื เนือ้ หาที่เก่ียวขอ้ งกับเศรษฐกิจ จากงานวจิ ยั เรื่องผลงานวิชาการเกาหลีในประเทศไทยทาํ ใหท้ ราบวา่ ทิศทางความสนใจเกาหลีศึกษาในประเทศไทยมีการเปลย่ี นแปลงไปอยา่ งชดั เจนจาก 2 ปีที่ผ่านมา สรปุ ได้วา่ ตง้ั แต่ ปีพ.ศ.2557-พ.ศ.2558เกิดปรากฏการณก์ ารเปลีย่ นหวั ขอ้ ความสนใจในการวจิ ัยด้านเกาหลีศึกษาจากเดมิ มุง่ ศึกษาดา้ นเศรษฐกจิ ไปศึกษาในดา้ นสังคมวทิ ยาซง่ึ เป็นหวั ข้อทไ่ี ดร้ ับความสนใจเป็นอันดบั ที่ 1 ทาํ ใหค้ วามสนใจศึกษาดา้ นเศรษฐกิจเกาหลตี กมาอยใู่ นอนั ดับที่ 2 ผวู้ จิ ยั ต้ังข้อสังเกตวา่ การเปลย่ี นไปของหัวข้องานวิจัยเกดิ จากกระแสเกาหลที ่ีเข้ามาในประเทศไทยท่สี ่งผลให้เกดิ ปรากฏการณท์ างสังคมตา่ ง ๆ ประกอบกับการท่ีรฐั บาลเกาหลใี หท้ ุนสนับสนนุนักวิจยั ตา่ งชาตจิ ากท่วั โลกให้ศกึ ษาดา้ นเกาหลศี กึ ษาทําใหห้ ัวขอ้ การวิจยั ดา้ นเกาหลศี ึกษามีความหลากหลายมากขนึ้2) การพฒั นาเนอ้ื หารายวิชาประวตั ศิ าสตรแ์ ละเศรษฐกิจตามความสนใจของผ้เู รียน ในส่วนของรายวิชาประวตั ิศาสตร์และเศรษฐกิจของหลักสตู รภาษาเกาหลี มหาวิทยาลยัสงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตปัตตานีเป็นรายวชิ าบรรยายจดั อย่ใู นหมวดวิชาเอกเลือกประกอบด้วย 3 หน่วยกิต45 ช่วั โมงต่อ 1 ภาคการศกึ ษา เน้อื หารายวชิ า <ตาราง 1>เปน็ การบรรยายเก่ยี วกบั ประวัติศาสตร์ พฒั นาทางการคา้ อุตสาหกรรมและเศรษฐกิจของสาธารณรฐั เกาหลีโดยสังเขป วธิ กี ารสอนเปน็ การบรรยายโดยยกตวั อยา่ งสถานการณ์วิกฤตเศรษฐกิจเกาหลีเชอ่ื มโยงกับเศรษฐกิจของโลกโดยให้นกั ศึกษาอภปิ ราย แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 28 태국 내 한국학 발전 현황

แลกเปล่ยี นความคิดเหน็ โดยมีการกาํ หนดประเด็นจดุ เดน่ ของรายวิชาประวัตศิ าสตร์เศรษฐกิจเกาหลอี ยู่ที่นกั ศกึ ษาไมจ่ ําเปน็ ตอ้ งมพี นื้ ฐานความร้ภู าษาเกาหลีเลยกส็ ามารถลงทะเบยี นเรียนได้ตารางที่ 1: โครงการสอนรายวิชาประวัติศาสตรแ์ ละเศรษฐกิจเกาหลีลาดบั เนอ้ื หา กิจกรรมการเรยี นการสอน1. ▪แนะนํารายวิชาขอบเขต วัตถุประสงค์ วิธีการประเมนิ ผล ▪เศรษฐกิจโลกกบั เศรษฐกิจเกาหลี ▪แผนภาพ : ประวตั ศิ าสตร์เศรษฐกจิ เกาหลี/ พฒั นาการ หนังสืออ้างองิ ทางการคา้ ▪การใชส้ ารานกุ รมอนิ เทอรเ์ นต็ ในการสืบคน้ ขอ้ มูล ฉบบั THE ▪บุคคลสาํ คญั ท่เี ป็นจุดเปล่ยี นทางเศรษฐกิจของ ACADEMY OF KOREAN STUDIES สาธารณรฐั เกาหลี ▪การใช้สารานกุ รมอนิ เทอรเ์ นต็ ในการสืบคน้ ข้อมลู ฉบับ doopedia ▪การเติบโตของเศรษฐกิจเกาหลี ▪การเตบิ โตทางเศรษฐกิจ –อุตสาหกรรมภายในประเทศ ▪제 1 장 세계경제와 한국경제 ▪การเติบโตทางเศรษฐกจิ –เงอ่ื นไขในการเติบโตทาง ธุรกิจ2. ▪제 2 장 경제성장 ▪การรักษาเสถยี รภาพทางเศรษฐกิจ3. ▪제 3 장 경제성장-산업차원 ▪การรักษาภาวะสมดลุ ทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม4. ▪제 4 장 경제성장-기업차원 ▪คุณภาพประชากร ▪โครงสรา้ งระบบเศรษฐกจิ แบบตลาด : การเติบโตและ5. ▪제 5 장 경제안정 การพัฒนา6. ▪제 6 장 형평 ▪ระบบการลงทนุ : การเตบิ โตและการพัฒนา7. ▪제 7 장 삶의 질 ▪การเปล่ยี นแปลงโครงสรา้ งการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ใน8. ▪제 8 장 시장경제제도의 성립과 발전 ภาคการเกษตร ▪โครงสรา้ งอุตสาหกรรมในปจั จบุ นั9. ▪제 9 장 금융제도의 형성과 발전 ▪ระบบการลงทุนในประเทศเกาหลี10 ▪제 10 장 근현대 농업의 성장과 구조변동 ▪การเปลยี่ นแปลงราคาสินค้าจากอดีตถึงปัจจบุ ัน ▪ระบบการค้าระหวา่ งประเทศจากอดีตถึงปัจจบุ ัน11. ▪제 11 장 오늘날 산업의 구조 ▪การพัฒนาทางเศรษฐกจิ กับการเปลี่ยนแปลงจาํ นวน12. ▪제 12 장 투자 ประชากร13. ▪제 13 장 물가변동14. ▪제 14 장 국제무역15. ▪제 15 장 인구변화와 경제발전แนวทางการพฒั นาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 29 태국 내 한국학 발전 현황

จากเนอื้ หาในโครงการสอนทง้ั 15 สัปดาห์ พบว่าหัวข้อท่นี ักศกึ ษาสนใจ 3 อันดบั แรก ได้แก่ เร่ืองบคุ คลสาํ คญั ทเ่ี ปน็ จดุ เปลย่ี นทางเศรษฐกจิ ของสาธารณรฐั เกาหลี ระบบการลงทนุ : การเตบิ โตและพัฒนา และคณุ ภาพประชากรและเพอื่ การเปน็ ปรบั ปรงุ พัฒนารายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป ผวู้ ิจยั ได้ทาํ การสัมภาษณ์นักศึกษาทีผ่ า่ นการเรียนรายวชิ าประวัติศาสตรแ์ ละเศรษฐกจิ เกาหลโี ดยใช้คําถามปลายเปดิ เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนสามารถแสดงความคดิ เหน็ ได้อยา่ งอิสระ จักรพนั ธ์ หนอ่ ทอง นกั ศกึ ษาชั้นปีที่ 4 ให้สมั ภาษณเ์ กย่ี วกบั รายวชิ าประวตั ิศาสตรเ์ ศรษฐกิจวา่กระผมมคี วามสนใจทางด้านประวัตศิ าสตรเ์ ปน็ ทนุ เดิมอยู่แล้วจงึ มคี วามตง้ั ใจท่ีจะลงเรยี นวชิ าประวตั ิศาสตร์และเศรษฐกิจของเกาหลี ถ้าหากพดู ถงึ ประเทศเกาหลใี นเชงิ วชิ าการ สิ่งท่นี ่าสนใจทส่ี ุดในการศึกษากค็ อืประวัติศาสตรท์ างดา้ นตา่ ง ๆ รวมถึงเศรษฐกจิ ท่เี จรญิ เตบิ โตอยา่ งน่าสนใจดว้ ยเหตนุ ้ที ําให้ผมสนใจที่จะลงรายวิชาน้ี เนือ่ งจากผมเป็นนักศกึ ษาวิชาโทประวัติศาสตร์ผมจึงสามารถนาํ ความรทู้ ีเ่ รยี นในรายวิชาประวัติศาสตร์และเศรษฐกจิ น้ไี ปบูรณาการและใชใ้ นวชิ าโทไดอ้ ย่างเตม็ เม็ดเตม็ หน่วยและสามารถตอ่ ยอดเรือ่ งราวเพอ่ื ความเขา้ ใจงา่ ยขน้ึ เกยี่ วกับประวตั ศิ าสตรเ์ กาหลี อทิ ธิพลจากประวตั ศิ าสตร์เอเชยี และสงครามโลก แต่มสี ่ิงท่อี ยากให้เพ่ิมเติมในรายวชิ านีม้ เี นอื้ หาและความรทู้ นี่ า่ สนใจเป็นอยา่ งดอี ยู่แลว้ อาจารย์ผู้สอนก็อธิบายเขา้ ใจเห็นภาพ ผมจึงมีความคดิ วา่ เพยี งแค่ update ความร้ใู หม่ ๆ ขา่ วเกีย่ วกบั เศรษฐกจิ ในปัจจบุ ัน กน็ า่ จะเพยี งพอแลว้ [ จกั รพนั ธ์ หนอ่ ทอง (สัมภาษณ์) 20 พฤศจิกายน 2558 ] ทษิ ฏยา ปานสขุ นักศกึ ษาชั้นปที ่ี 4 ใหส้ มั ภาษณ์เกี่ยวกบั รายวชิ าประวัตศิ าสตร์เศรษฐกิจวา่ เนอ่ื งจากวิชาประวตั ิศาสตรแ์ ละเศรษฐกิจของเกาหลีจะสะทอ้ นให้เห็นถึงอดีตและปจั จบุ นั ของประเทศเกาหลวี ่ามที ีม่ าและกําลงั ขบั เคลื่อนไปในทางทิศใดตนเองจึงสนใจลงเรยี นในรายวชิ านีส้ ่วนประโยชน์ท่ีได้รับจากการเรยี นรายวชิ านค้ี อื สามารถมองเหน็ ความแตกตา่ งระหวา่ งการวางรากฐาน แนวคดิ ต่าง ๆ ของประเทศไทยกับประเทศเกาหลไี ดอ้ ยา่ งชดั เจน ส่วนส่ิงท่อี ยากใหเ้ พ่ิมเตมิ ในรายวิชา อยากให้มีการตดิ ตามขา่ วเศรษฐกิจของประเทศเกาหลใี นทุกสปั ดาหแ์ ละนํามาวิเคราะหก์ บั เศรษฐกิจของประเทศไทยวา่ มคี วามเหมอื นหรือแตกตา่ งอย่างไร [ทิษฏยา ปานสุข (สัมภาษณ์) 23 พฤศจกิ ายน 2558 ] จาก 2 บทสัมภาษณ์ขา้ งตน้ ผู้วิจัยพบวา่ สงิ่ ท่ตี ้องเพมิ่ เติมเขา้ ไปใน เน้อื หารายวชิ าประวตั ศิ าสตรแ์ ละเศรษฐกจิ เกาหลี เพ่อื พัฒนาเน้อื หารายวชิ านีค้ อื การสอดแทรกประเด็นขา่ วเศรษฐกิจของเกาหลที ี่เกยี่ วขอ้ งกับประเทศมหาอํานาจหรอื เก่ยี วข้องกับประเทศไทยข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาเนื้อหารายวิชาประวตั ศิ าสตร์และเศรษฐกิจ - พฒั นาความร่วมมือกบั สถาบนั วิจยั เกาหลศี กึ ษาส่งเสริมการเรียนการสอนทางไกลผ่านระบบอินเทอรเ์ นต็ ควบคกู่ ับการอธบิ ายโดยอาจารยผ์ ู้สอนชาวไทย - แลกเปลี่ยนความคิดเห็นดา้ นการเรยี นการสอนรายวิชาประวตั ิศาสตรแ์ ละเศรษฐกจิ ระหว่างผสู้ อนชาวไทย แนวทางการพฒั นาเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย 30 태국 내 한국학 발전 현황

เอกสารอา้ งอิงสรุ ยี ์รัตน์บาํ รุงสุข. (2557). “ผลงานวิชาการดา้ นเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย”. 東南亞 24 3 : 201-224.dict.longdo[Homepage of the dict.longdo]. [Online]. Available:http://dict.longdo.com/index.php [Accessed 5 Nov. 2015].Korean Studies History [Homepage of the Doosan Encyclopedia]. [Online]. Available:http://www.doopedia.co.kr [Accessed 15 Nov. 2015].ThaiLIS is Thailand Library Integrated System[Homepage of theThaiLIS]. [Online]. Available:http://tdc.thailis.or.th/tdc//index.php [Accessed 15 Nov. 2015].The Academy of Korean Studies[Homepage of the AKS]. [Online]. Available:http://www.aks.ac.kr/univ/index.do [Accessed 10 Nov. 2015]. แนวทางการพัฒนาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 31 태국 내 한국학 발전 현황

써니: using a film to improve the teaching effectiveness in Korean Studies Naridtiphol Srisongka Mahasarakham UniversityAbstract The purpose of this study was to examine how students in Korean Studies class atMahasarakham University evaluate film named Sunny (써니) as a tool for developingunderstanding of Korean family values. As a part of action research cycle, the data collectedfrom fifty students through the questionnaire consisted of 15 Likert scaling items and open-ended items. Student’s reaction in their reflection questionnaire were analyzed indescriptive statistic and through thematic analysis. The results indicate that employing“Sunny” in Korean Studies class can enhance students’ analytical skills about Korean familyvalue and encouraged them to become more engaged in class. Moreover, visualizing Koreanfamily values on film made it easier to understand than lecture note. It can be concludethat “Sunny” was evaluated as an effective tool for developing understanding of Koreanfamily values.Keywords: Sunny, teaching method, film, Korean Studies, family valeIntroduction Korean Studies is an academic discipline can be best understood as focusing onhistory, culture and society, politics, economics, language and literature. This subjectconsiders as essential for Korean language learners to understand Korean culture in order toimprove their communication skills properly in the target language society. Korean language Program, Mahasarakham University have Korean Studies course forthird-year major student aiming to analysis Korean social structure by focused ondevelopment of society, politics, governance and economy, the changes of Korean societyand culture from the past until the present time. Korean family values is one importanttopic placed in Korean Studies’ curriculum consists of gender roles, marriage, cohabitationand divorce which became more progressive challenging the instructor to find a tool for แนวทางการพฒั นาเกาหลีศึกษาในประเทศไทย 32 태국 내 한국학 발전 현황

developing understanding of Korean family values which hard for students who have notexperienced Korean culture to comprehend. As technology and media become more popular pedagogical tools for instructors,the discussion of using films as a way to help students understand lack-of-experiencecontent. Using film within the context of learning and teaching is not a new phenomenon. Itis witnessed to the fact that Importance of audio-visual media in classroom (training videos,films, television, and internet) has always been appreciated by academicians acrossdisciplines (Rajendran and Adrew, 2014), (Pandey, 2012). There are many researcheshighlights diverse and innovative uses of film to teach various issues include women’sstudies (Kolmar, Killian, Liebowitz, Derbyshire, & Pierman, 2002), gender issues of South Asianwomen (Anwary, 2003), social conflict (Collett, Kelly, & Sobolewski, 2010), and war (Hortonand Clausen, 2015). The advantage of using films is that they offer students an opportunity to witnessbehaviors, reactions, and attitudes that may not be obvious in texts. Films encapsulate theway people feel, think, greet, and react in a culture. Films also connect students withlanguage and cultural issues simultaneously (Stephens, 2001: 21-25). In addition Lee HeeJung (2014: 348) stated that films are much easier than reading materials since they consistof scenes and dialogues. Also, in the case of films, it is able to directly show social, politicaland historical events. Therefore, the Korean culture (history) education utilizing movies haslots of advantages because they show how the people at the time acted and responded tothese events. This research specially addresses the use of the film Sunny (Kang Hyung Chul, 2011)as pedagogy in the context of Korean family values in Korean Studies course. This film, set inKorea in 1980s and present day, obviously shows Korean family value through the maincharacters; Im Na Mi, a wealthy housewife and mother, have a perfect sustenance on theoutside such as luxury home, successful-businessmen husband, beautiful daughter but she isdepressed as being only mother and wife but loosing herself identity; Ha Chun hwa, asuccessful unmarried businesswoman, but has terminal cancer; Kim Jang-mi, a life insurancesales agent who is obsessed with her looks, and desires cosmetic surgery for her eyes;Hwang Jin-hee, married rich, but her husband cheats, and she pretends to be well-bredwoman; Geum-ok, unemployed and living in a small apartment with her bossy sister-in-law,her sister-in-law's husband, and she have to take care her sister-in-law newborn; Bok-hee แนวทางการพัฒนาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 33 태국 내 한국학 발전 현황

who had to leave school after her mother's salon went bankrupt and be prostitution at lastso her daughter lives at an orphanage. This film can help to raise awareness of the Koreanfamily values and attitudes from multiple perspectives such as home life, family structure,clear division of gender roles, and gender inequality in the field of education, employmentand career prospects.Methodology This research has a purpose to understand students’ perceived effectiveness ofpopular film “Sunny” as pedagogy in the context of Korean family values in Korean Studiescourse. Action research was selected as the most appropriate choice to meet this purpose.Mertler (2009) suggested that action research might have a number of different goals andfoci. Thus, the action research may focus on a teaching method, when instructors may beconsidering developing or trying a new teaching method or approach. In this case, the actionresearch uses to conduct a systematic investigation of the effectiveness of new method andprovides the cause of an observed problems, and implementation of alternative course ofaction. Mertler and Charles (2008) pointed out that the instructors may be interested inunderstanding how to capitalize on students’ interests and learning preferences, or increasethe effectiveness of self-directed learning, or make learning more meaningful and interestingto individual learners. Rejendran and Andrew (2014: 7) demonstrated the process of theaction research into four phases which also applied in this researchTable: Application of Action Research Action in the research Stages of the action-research cycle Noticing student’s lack of engagement in teaching and learning Korean family valueIdentifying a classroom problem Designing an intervention using “sunny” as the tool for teaching and assessing familyDeveloping and implementing an action values issueresearch plan Designing a research using students’ feedback to evaluate the effectivenessCollecting and analyzing data Analyzing data, and preparing to implement further improvementsUsing and sharing results แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 34 태국 내 한국학 발전 현황

Participants The participants of this research were 50 third-year students, enrolled on the KoreanStudies course in Korean Language Program, Mahasarakham University.Instrumentation and Data Collection An instrument to collect data in this research consisted of two parts. The first partincluded 15 Likert scaling related to students’ opinions of the implemented Korean familyvalues topic, based on film “Sunny”. The questionnaire consisted of 10 positive items and 5negative items. The items in the questionnaire were rated on a 5-point Likert scale asfollows: 1-Strongly disagree (x̄ = 1.00-1.80); 2-Disagree (x̄ = 1.81-2.60); 3-Neutral (x̄ = 2.61-3.40); 4-Agree (x̄ = 3.41-4.20); 5-Strongly agree (x̄ = 4.21-5.00). The last part of thequestionnaire offered an open-ended items asking student’s reflections on and learningexperiences using “Sunny” as a tool for developing understanding of Korean family valuesespecially the pros and cons.Data Analysis At the end of the course, a questionnaire collecting student’s feedback to evaluatethe effectiveness of film named “Sunny” as a tool for developing understanding of Koreanfamily values. Quantitative findings from the questionnaire were analyzed descriptively.Mean values of the participants’ feedback were computes for each item. In order to makeclear comments on the data, the mathematical mean intervals of the items wererecalculated such as all mean values from 4.21-5.00 was commented as ‘very positive’.Then all mean values were ordered from the higher values to the lower ones in a table. Inaddition, the open-ended items which related to student’s reactions were analyzed throughqualitative content analysis and thematic analysis.Result The information in the Table is a summary of quantitative means of the datacollected from the students through the questionnaire with regard to their reflection onemploying “Sunny” as a tool for developing understanding of Korean family values.Table : Mean and Standard Deviation Values related to the opinions of students แนวทางการพัฒนาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 35 태국 내 한국학 발전 현황

x̄ SD 0.53 Watching “Sunny” is a great way to improve my analytical skills 4.6 0.61 0.53 about Korean family value 0.67 0.51 Watching “Sunny” encouraged me to become more engaged in 4.48 0.66 0.59 class 0.77 0.58 Watching “Sunny” helped me to better understand Korean 4.42 0.63 0.94 family value 0.87 0.93VERY POSITIVE Watching “Sunny” helped me to memorize about Korean 4.42 0.77 family value I developed my learning abilities and study skills during this 4.24 class Watching “Sunny” helped me to bridge the gap between 4.14 students and teacher Watching “Sunny” helped me to better understand subject 4.12POSITIVE description Watching “Sunny” helped me to expand my cultural 4.04 knowledge and broaden my worldview I understood after watching “Sunny” that Korean family value 4.02 has important links with other courses It is convenient to watch “Sunny” anytime and anywhere 3.74 Watching “Sunny” provided me more heavier class work loads 2.52 comparing to lecture class It is not necessary to lecture more about Korean family value 2.38NEGATIVE after watching “Sunny” Watching “Sunny” didn’t raise my attentiveness to study about 2.02 Korean family value Watching “Sunny” is too slow to study Korean family value 2 comparing to lecture class แนวทางการพฒั นาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 36 태국 내 한국학 발전 현황

x̄ SD Watching “Sunny” caused me to become stressed when study 1.7 0.73 Korean family valueVERY NEGATIVE As illustrated in the Table , the following items were considered as top-three verypositive: watching “Sunny” is a great way to improve their analytical skills about Koreanfamily value (x̄ = 4.6); watching “Sunny” encouraged them to become more engaged inclass (x̄ = 4.48), and watching “Sunny” helped them to better understand Korean familyvalue (x̄ = 4.42).However, there were the only one item considered as very negative which iswatching “Sunny” caused them to become stressed when study Korean family value (x̄ =1.7).Strengthens and limitations of the implemented Korean family values topic, based onfilm “Sunny” This section presents the results of the two open ended questions asking for thepros and cons using “Sunny” as a tool for developing understanding of Korean familyvalues. A range of the key themes emerged from analyzing the data. Theme 1: Advantages of visual dimension Twenty-six students commented that visualizing Korean family values on film madeit easier to understand than lecture note. Ten students mentioned that “Sunny” illustratedexample of social values which could be directly linking to family values. Moreover, three ofthem said that by watching, the film images were stuck in their mind and leaded to easiermemorization especially examples of family value. Theme 2: Extra knowledge gain from movie All students said that they learned many issues about Korea besides family value;fifteen students learned more about women role in Korean society, ten of them learnedregarding Korean lifestyle, and nine students learned about history related in the moviesscenes such as military regime and student uprising. Theme 3: Problems with audio-visual aids แนวทางการพัฒนาเกาหลศี ึกษาในประเทศไทย 37 태국 내 한국학 발전 현황

Ten student complained about technical issues related to television, computer andoverhead projector which lack of capability to visualize the movie. Moreover, two studentsthought that learning using film is time-consuming that they cannot watch entire movies inthe class. Two students expressed preferences for textbook or article about family value inThai language could be better complement or even replace the film study.Discussion and conclusion Family value is very essential topic in Korean Studies class as it helps in developingknowledge about gender roles, marriage, cohabitation and divorce. “Sunny” was evaluatedas an effective tool for developing understanding of Korean family values according toquantitative findings from the questionnaire and based on qualitative analysis of reflectionnotes, perceived satisfaction regarding improving students’ analytical skills about Koreanfamily value and encouraged them to become more engaged in class. Moreover, visualizingKorean family values on film made it easier to understand than lecture note. This researchstrengthens the claims made by Rajendran and Adrew (2014), Pandey (2012), Mallinger andRossy (2003) and Schere and Baker (1999) that films engage students more intensely as afamiliar, attention-capturing visual medium, and illustrate concept in action be creatingexperience. However using film for illustrating family value was not effective solely withoutdemonstration by teacher before or after watching film, as was also found by Rajendran andAdrew (2014) that pre-teaching was required which made it easier to understand. Limitationof technical issues also stated in this research due to advanced technologies required largesum of university budget.ReferencesAnwary, A. 2003. “Teaching South Asian women through film.” Teaching Sociology 31(4):428-440.Collett, J. L., Kelly, S., & Sobolewski, C. 2010. “Using Remember the titans to teach theories of conflict.” Teaching Sociology 38(3): 258-266.Horton, T. A., & Clausen, K. “Extending the History Curriculum: Exploring World War II Victors, Vanquished, and Occupied Using European Film.” The History Teacher 48, no. 2:321-338. แนวทางการพฒั นาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 38 태국 내 한국학 발전 현황

Kang Hyung-Chul. (Director). 2010. Sunny [Motion picture]. South Korea: CJ Entertainment.Kolmar, W., Killian, C., Liebowitz, D., Derbyshire, L., & Pierman, C. J. 2002. “The films we teach: Using Rosie the riveter, Global assembly line, Dreamworlds II, and Fast food women in the women’s studies classroom.” Women’s Studies Quarterly 30(1-2): 296-311.Lee Hee Jung. 2014. “A Study on the Korean Culture (History) Education for Foreign Learners.” International Conference on Education Reform and Modern Management (ERMM2014). Atlantis Press: 348.Mertler, C. A. 2009. Action research: Teachers as researchers in the classroom. Thousand Oaks, CA: Sage Publication, Inc.Mallinger, M., & Rossy, G. 2003. “Film as a lens for teaching culture: Balancing concepts, ambiguity, and paradox.” Journal of Management Education 27: 608-624.Mertler, C.A., & Charles, C. M. 2008. Introduction to educational research (6th Ed.). New York: Pearson Education, Inc.Pandey, S. 2012. “Using popular movies in teaching cross-cultural management.” European Journal of Training and Development 36, no. 2/3: 329-347.Rejendran, & Andrew. 2014. \"Using Film to Elucidate Leadership Effectiveness Models: Reflection on Authentic Learning Experiences.\" Journal Of University Teaching & Learning Practice 11, no. 1: 1-16.Scherer, R. F., & Baker, B. 1999. “Exploring social institutions through the films of Frederick Wiseman.” Journal of Management Education, 23(2): 143-153.Stephens, J. L. 2001. “Teaching culture and improving language skills through a cinematic lens: A course on Spanish film in the undergraduate Spanish curriculum.” ADFL Bulletin 33, no. 1: 22-25. แนวทางการพฒั นาเกาหลีศกึ ษาในประเทศไทย 39 태국 내 한국학 발전 현황

영화를 활용한 한국어 문화 교육의 실제-태국 씰라빠껀 대학교 ‘영화로 읽는 한국어와 한국 문화 수업’을 중심으로- 박은경2국문초록│언어교육에서 문화의 중요성은 강조하지 않아도 이미 알고 있는 사실이다.한국학을 교육하는데 있어 한국어라는 언어 역시 이미 도구어가 될 수 있을정도로 많은 고급 학습자들이 생겨나고 있다. 2015 년 현재 태국 대학의 한국어전공생들 역시 고급수준의 학습자들이 증가하고 있다. 태국 대학생들의한국어능력 수준의 높아지게 된 배경에는 물론 전공생으로서의 학습도 주요배경이지만, 지금의 전공생들이 태국의 한류 바람 속에 자라나 한국의 영상매체에 10 대 이전부터 노출된 학생들이라는 점도 그들의 학습 동기나 한국어노출환경에 큰 영향을 미쳤다. 대중매체를 활용한 한국어 문화교육은 학습자들의학습 요구가 매우 높은 수업이다. 학습자들이 이미 한국의 대중매체, 특히영상매체에 익숙하고 큰 흥미를 느끼기 때문이다. 그러나 대중매체를 어떻게수업에 활용할지, 어떤 매체를 선정할지 등 대중매체를 교육에 어떻게 적용할것인가에 대한 문제는 쉽지 않다. 선행 연구들을 살펴보면, 대중매체를 활용한교육 방안에 대한 연구분야는 활발히 논의되고 있지만 교육의 적용과 실제에대한 연구는 미비한 수준이다. 따라서 본 연구의 목적은 태국 대학 한국어전공4 학년 수업에의 적용을 위해‘대중매체를 통한 한국어 문화교육’에 대한학습자 요구 조사를 실시하고 이를 분석하여 수업에 적용한 후, 대중매체를활용한 수업의 효과와 문제점을 살펴보는 것이다. 이를 통해 대중매체를 활용한효과적인 교수-학습의 적용점을 제안했다는데 연구의 의의가 있다.핵심어│ 한국어 문화교육, 대중매체, 영상매체, 영화, 상호문화이해1. 서론 새로운 언어를 학습한다는 것은 그 자체로 문화를 학습하는 것이며 또 다른세계를 만나는 것이다. 언어교육에서 문화의 중요성은 전혀 새롭지 않다. 그러나최근 한류를 통한 한국 문화에 대한 관심이 고조된 가운데 한국 문화와 콘텐츠에대한 관심은 자연스럽게 한국어에 대한 관심으로 이어져 한국어 학습자의 수증가 로이어져 국내 어학연수생의 증가뿐만 아니라 해외 대학에서의 한국어 및한국학 전공개설에 영향을 주고 있다. 이러한 배경에서 언어교육에서의 문화교육의 중요 성도 더욱 대두되었으며,한국어 교육에서의 문화교육에서 나아가2 태국 Silpakorn University 한국어학과 전임강사 แนวทางการพัฒนาเกาหลศี กึ ษาในประเทศไทย 40 태국 내 한국학 발전 현황


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook