Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 11.ความก้าวหน้าในวิชาชีพครู

11.ความก้าวหน้าในวิชาชีพครู

Published by จํารูญ มลิพันธ์, 2020-08-27 23:23:30

Description: 11.ความก้าวหน้าในวิชาชีพครู

Search

Read the Text Version

การพัฒนา 1 ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา สานักงานคณะกรรมการขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา www.otepc.go.th

กฎหมายเก่ยี วกบั การพฒั นาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา 2 ม. 56 : ผู้ใดได้รับการบรรจแุ ละแตง่ ต้ังใหด้ ารงตาแหนง่ ครผู ้ชู ่วย ใหผ้ ู้นั้นเตรียมความพรอ้ ม และพัฒนาอย่างเขม้ เปน็ เวลาสองปี กอ่ นแต่งตงั้ ให้ดารงตาแหน่งครู ตามหลักเกณฑ์ และวิธกี ารท่ี ก.ค.ศ. กาหนด ม. 79 : ผู้บงั คบั บญั ชามหี นา้ ที่พฒั นาผใู้ ต้บังคับบญั ชาใหป้ ฏบิ ตั ิหน้าท่ีอย่างมีประสทิ ธภิ าพ เกดิ ประสทิ ธผิ ล และความก้าวหน้าแก่ราชการ ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารท่ี ก.ค.ศ. กาหนด ม. 80 : ให้มกี ารพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งตง้ั ให้ดารงตาแหนง่ บางตาแหนง่ และบางวทิ ยฐานะ ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการ ท่ี ก.ค.ศ. กาหนด ม. 81 : ให้ผู้บงั คบั บญั ชามีหนา้ ทใี่ นการส่งเสรมิ สนบั สนุนผอู้ ยใู่ ตบ้ ังคับบญั ชา โดยการใหไ้ ป ศกึ ษา ฝกึ อบรม ดูงาน หรือปฏิบัติงานวจิ ัย และพัฒนาตามระเบยี บที่ ก.ค.ศ. กาหนด

การพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา 3 ผา่ นการสอบแข่งขัน/ ครผู ชู้ ว่ ย ไดร้ ับการแต่งต้งั คดั เลอื ก และไดร้ บั ให้ดารงตาแหนง่ การบรรจแุ ละแตง่ ตั้ง ครู ว. 19/2561 ม. 56 ด้านการปฏบิ ัตติ น ประเมนิ ด้านการปฏบิ ตั ิงาน ทุกๆ 6 เดือน การเตรียมความพร้อม รวม 4 ครงั้ และพัฒนาอยา่ งเข้ม (เปน็ เวลา 2 ปี นบั แต่วันที่ ผ่านการประเมินการเตรียม เขา้ ปฏบิ ตั ิหน้าทร่ี าชการ) ความพรอ้ มและพัฒนาอย่างเขม้

คณะกรรมการเตรยี มความพรอ้ มฯ 4 1. ผอ.สถานศึกษา ประธาน 2. ผดู้ ารงตาแหนง่ ครใู นสถานศกึ ษา กรรมการ 3. ผู้ทรงคณุ วุฒจิ ากภายนอกสถานศกึ ษา กรรมการ - กรณีไมม่ ีผู้ดารงตาแหน่งตามขอ้ 1 ให้แต่งต้งั จากสถานศึกษาอนื่ ทอ่ี ยใู่ กลเ้ คียงกนั หรอื ผู้ท่ี ได้รบั คาสง่ั แตง่ ต้ังให้รกั ษาการในตาแหนง่ ผอ.สถานศกึ ษา ที่ครผู ้ชู ว่ ยได้รบั การบรรจุและแตง่ ต้งั - กรณไี ม่มีผดู้ ารงตาแหนง่ ตามข้อ 2 ให้แตง่ ตัง้ จากสถานศึกษาอ่นื ท่อี ยู่ใกล้เคียงกนั ได้ ตามความเหมาะสม

5 ผูท้ รงคณุ วฒุ ิอื่นจากภายนอกสถานศกึ ษา หมายถึง บคุ คลใด และต้องมคี ณุ สมบัติอย่างไร ผ้ทู ี่มไิ ด้สงั กดั หรือดารงตาแหนง่ ในสถานศกึ ษาทีค่ รผู ้ชู ่วยได้รบั การบรรจแุ ละแตง่ ต้ัง ต้องเปน็ บุคคลที่มคี วามรู้ ความเชย่ี วชาญด้านการศึกษา เปน็ ท่ยี อมรบั ในวงวชิ าชพี ครู สามารถใหค้ าแนะนาครผู ้ชู ่วยเก่ียวกบั การเตรยี มความพร้อมฯ ได้ ท้ังนี้ ให้ สพท. เสนอบญั ชรี ายชอื่ ไปยัง สนง.ศธจ. เพื่อเสนอ กศจ. พจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบ

6 ครผู ชู้ ว่ ยระหวา่ งเตรียมความพร้อมฯ ลาคลอดเกิน 90 วัน จะตอ้ งขยายระยะเวลาการแต่งตั้งใหด้ ารงตาแหน่งครู หรอื ไม่ หลกั เกณฑฯ์ ว 19/2561 ขอ้ 3 วรรคสอง “กรณีครผู ู้ชว่ ยผู้ใดลาคลอดบตุ ร ลาปว่ ย ซ่ึงจาเป็นตอ้ งรักษาตวั เป็นเวลานาน ลาป่วยเพราะประสบอนั ตรายในขณะปฏิบัติราชการ ตามหนา้ ที่ หรือขณะเดินทางไปหรอื กลับจากปฏบิ ัติราชการตามหน้าท่ี หรอื ลาเขา้ รบั การเตรยี มพล ให้นบั วนั ลาดงั กลา่ วรวมเปน็ ระยะเวลาการเตรยี มความพรอ้ มฯ ได้ไม่เกนิ 90 วนั หากลาเกนิ 90 วันผนู้ น้ั ต้องเตรียมความพรอ้ มฯ ตามจานวนวนั ลาทเ่ี กนิ ให้ครบสองปี

7 ครผู ชู้ ว่ ยระหวา่ งเตรียมความพรอ้ มฯ ณ โรงเรียนหนึ่ง ต่อมามคี าส่งั ใหอ้ อกจาก ราชการเพอ่ื ไปรบั ราชการทหาร และได้รบั การบรรจแุ ละแตง่ ตั้งกลบั เขา้ รบั ราชการ อีกโรงเรยี นหนงึ่ จะสามารถนาระยะเวลาการเตรียมความพรอ้ มฯ ณ โรงเรียนแรก รวมกบั โรงเรยี นทส่ี อง เปน็ ระยะเวลาการเตรียมความพรอ้ มฯ ไดห้ รอื ไม่ สามารถนาระยะเวลาการเตรยี มความพรอ้ มนบั ตั้งแตว่ นั ทีบ่ รรจแุ ละแต่งตง้ั ณ โรงเรยี นแรก จนถึงวนั ก่อนออกจากราชการไปรบั ราชการทหาร และให้นบั ตอ่ ในวันทไี่ ด้ บรรจุกลบั ณ โรงเรยี นทีส่ อง ใหค้ รบสองปี

การพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา (ทุกสายงาน) 8 พัฒนาระหวา่ งม. 79 ผบ.การศึกษา ศึกษานิเทศก์ ผบ.สถานศกึ ษา ครู (ว10/51) ประจาการ ม. 80 ครู ร(อวง/2ผ/อ2.5ส6พ2ท). (ว 6ศ/2น5. 51) (วผ4อ/2.ร5ร6.2) (วรอ2ง8ผ/2อ5.ร6ร0.) พฒั นากอ่ นแต่งตง้ั ให้ดารงตาแหน่ง ม. 80 ครู ศกึ ษานเิ ทศก์ ใชแ้ ตง่ ตงั้ ใหม้ แี ละ ชพ. พฒั นากอ่ นแตง่ ตงั้ ผบ.สถานศกึ ษา เลอื่ นวิทยฐานะ ใหม้ ีและเล่อื นวิทยฐานะ ผบ.การศึกษา (ว3/54) ตาม ว 17/2552 ชช. ครู การพฒั นาตาม ใช้เปน็ คุณสมบัติขอมี ชก. หลกั สตู รท่ี ก.ค.ศ. และเลอื่ นวทิ ยฐานะ ชพ. หรือสถาบนั ครุ ุพัฒนา ตาม ว 21/2560 ชช. ม. 81 รบั รอง (ว 22/60) ชชพ. ผบู้ งั คับบญั ชาสง่ เสริม ผูอ้ ยู่ใตบ้ งั คับบัญชาไป ผบ.การศึกษา ผบ.สถานศกึ ษา ศกึ ษานเิ ทศก์ ศึกษา ฝกึ อบรม ดงู าน หรือ ปฏบิ ตั งิ านวจิ ยั ครู (ระเบยี บ ก.ค.ศ. ว่าดว้ ยการส่งเสรมิ ฯ พ.ศ. 2552)

การพฒั นาก่อนแตง่ ตั้งใหม้ แี ละเลือ่ นวิทยฐานะ ว 3/2554 9 1. ใชใ้ นการแตง่ ตั้งใหม้ ีและเลื่อนวิทยฐานะชานาญการพเิ ศษ และเชยี่ วชาญ ตาม ว 17/2552 2. ต้องเปน็ ผู้มคี ุณสมบตั ิในการเสนอขอรับการประเมนิ 3. ผลการพัฒนาให้ใชไ้ ด้ภายใน 3 ปี นับแต่วนั สาเร็จหลักสตู ร 4. สพฐ. ร่วมกบั สคบศ. และสถาบนั อดุ มศึกษา จดั ทาหลักสตู ร แลว้ รายงาน ก.ค.ศ. เพอื่ ทราบ 5. สคบศ. หรือหนว่ ยงานอื่นท่ไี ดร้ บั ความเห็นชอบจาก สคบศ. เป็นหน่วยดาเนินการพฒั นา 6. ข้าราชการครูฯ ย่ืนคาขอเขา้ รับการพัฒนาฯ ต่อ สพท. 7. สพท. ตรวจสอบคณุ สมบัติ แจ้งรายขื่อไปยงั หน่วยพฒั นา ภายในวนั ท่ี 10 ของเดือน 8. ระยะเวลาเขา้ รบั การพัฒนา วทิ ยฐานะชานาญการพเิ ศษ ไมน่ ้อยกวา่ 24 ชั่วโมง วทิ ยฐานะเช่ียวชาญ ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 ชวั่ โมง 9. ตอ้ งเขา้ รบั การพฒั นาไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 และต้องไดค้ ะแนนเฉลยี่ ไมต่ ่ากวา่ รอ้ ยละ 80 10. หนว่ ยพฒั นาแจง้ ผลการประเมินตอ่ สพท.

10 การพฒั นากอ่ นแต่งตงั้ ใหม้ แี ละเลือ่ นวทิ ยฐานะ ว 22/2560 และ ว 14/2561 1. ใชบ้ ังคับตง้ั แต่วันที่ 5 กรกฎาคม 2560 เป็นต้นไป 2. นาไปใช้เป็นคุณสมบตั เิ พื่อขอมีและเลือ่ นวทิ ยฐานะตาม ว 21/2560 ข้อ 2.4 ทกุ วิทยฐานะ 3. หลักสูตรตอ้ งมอี งค์ประกอบ ดา้ นความรู้ ด้านทกั ษะ ดา้ นความเปน็ ครู และคุณลักษณะทคี่ าดหวงั โดยต้องเปน็ หลักสูตรที่สถาบันครุ พุ ฒั นารับรอง หรอื ตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด 4. ขา้ ราชการครฯู ประเมนิ ตนเองและจัดทาแผนพฒั นาตนเองเปน็ รายปี เสนอ ผอ.สถานศกึ ษา พร้อมแนบเอกสารหลักฐานท่เี กีย่ วข้อง 5. ผอ.สถานศกึ ษา ตรวจสอบและพจิ ารณาอนญุ าต 6. ขา้ ราชการครฯู เข้ารบั การพัฒนาอย่างเปน็ ระบบและตอ่ เน่อื งทุกปี 7. ข้าราชการครฯู บันทกึ ผลสาเร็จการพัฒนาลงในบันทึกประวตั ิการปฏบิ ตั ิงาน เสนอ ผอ.สถานศกึ ษา 8. ผอ.สถานศกึ ษา ตรวจสอบสาเนาวุฒิบตั รผา่ นการพัฒนา การรับรองหลกั สตู ร 9. ผอ.สถานศกึ ษารับรองผลสาเร็จการพฒั นาในบันทึกประวตั ิการปฏบิ ัตงิ าน

11 เมื่อข้าราชการครูฯ จะนาผลการพฒั นาตาม ว 22/2560 ไปใชส้ าหรับการขอมีหรอื เล่ือนวทิ ยฐานะ ตาม ว 21/2560  ยื่นคาขอตอ่ ผอ.สถานศึกษา ผอ.สถานศึกษาตรวจสอบคุณสมบตั ิตาม ขอ้ 2.4 ของ ว 21/2560 “ผ่านการพฒั นาตามหลกั เกณฑ์และวิธกี ารท่ี ก.ค.ศ. กาหนด ในชว่ งระยะเวลาย้อนหลัง 5 ปี นบั ถงึ วันที่ย่นื คาขอ” * จานวนชวั่ โมงการผา่ นการพฒั นา ในรอบ 5 ปีตอ้ งมีชั่วโมงการพัฒนา 100 ชว่ั โมง หากไม่ครบ 100 ชว่ั โมง แตไ่ มน่ ้อยกว่า 60 ชว่ั โมง ใหน้ าจานวนช่วั โมง PLC ส่วนท่เี กิน 50 ช่ัวโมงในแต่ละปี มานับรวมใหค้ รบ 100 ชวั่ โมงได้ * จานวนช่วั โมง PLC สว่ นทเ่ี กนิ 50 ช่วั โมงในแต่ละปี (กรณจี านวนช่วั โมงการพฒั นาไมค่ รบ 100 ชัว่ โมง)

12 * ตัง้ แต่วันท่ี 5 กรกฎาคม 2560 – วันที่ 31 ธนั วาคม 2561 ให้ยกเว้นชวั่ โมง การพฒั นาตามหลักสตู รท่ีสถาบันครุ พุ ฒั นารบั รองหรอื ตามหลักสูตรท่ี ก.ค.ศ. กาหนด โดยให้นาจานวนช่วั โมง PLC สว่ นท่เี กนิ 50 ช่ัวโมงในแตล่ ะปี มานบั เป็นชั่วโมงการพฒั นาทดแทนได้ และใหถ้ อื ว่าเปน็ การพฒั นา อย่างต่อเนือ่ งติดตอ่ กนั *ผลการพฒั นาตาม ว 3/2554 ที่เข้ารบั การพัฒนาก่อนวนั ที่ 5 กรกฎาคม 2560 และวุฒบิ ตั ร ยังไม่หมดอายุ 3 ปี นบั ถึงวนั ที่ สนง.ศธจ. หรือสานักงาน ก.ค.ศ. รับเรือ่ ง แลว้ แตก่ รณี สามารถนาผลการพัฒนาน้ัน มาใชเ้ ป็นคณุ สมบัติเพือ่ ขอมีและเลอ่ื นวิทยฐานะ ตาม ว 21/2560 ได้ 1 ครั้ง

การพฒั นาครู และกระบวนการ PLC สูส่ ถานศกึ ษา บรรยายวนั ที่ 19 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2562 ดร.เกศทิพย์ ศุภวานชิ ณ สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งใหม่ เขต 3 ผู้อานวยการสานกั ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ปฏบิ ตั ิหน้าที่ผ้อู านวยการสานักพัฒนาครแู ละบคุ ลากรการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน

ประเดน็ ในการบรรยาย PLC 1 PLeLCarn: iPnrgofCeosmsiomnualnity สพค. 2 การพฒั นาครูและบุคลากรการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน สานกั พัฒนาครูและบุคลากรการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน

Professional Learning ผูม้ ีส่วนเก่ียวข้อง Community (PLC) ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ มีส่วนรว่ มในการแสดง ทางวิชาชีพ ความคดิ เห็น ครู นักเรียน มกี ารแลกเปลยี่ น ไดร้ ับการแกป้ ัญหา เรยี นรูซ้ ึง่ กนั และกนั รายบุคคลตามบริบท

ความหมายของ PLC Professional Learning Community PLC คอื กระบวนการทคี่ รู รวมตัว ร่วมใจ ร่วมพลัง เรียนรู้ร่วมกันและ ร่วมทาเพ่ือพัฒนาผ้เู รยี น รวมทง้ั พัฒนาครดู ว้ ยกนั จนเกิดเป็นวัฒนธรรมองค์กร ท่ีเข้มแข็ง โดยใช้โรงเรียน ห้องเรียนเป็นฐานและนักเรียนเป็นหน้างาน ก่อให้เกิดการเรียนรู้ที่ไม่มีที่ส้ินสุด และหลากหลาย เกิดการพัฒนาท่ีโรงเรียน อย่างต่อเนื่องและย่ังยืน ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาท้ังประเทศอย่าง เป็นรูปธรรม ดร.เกศทพิ ย์ ศภุ วานชิ ผูอ้ านวยการสานกั ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน ปฏบิ ตั หิ นา้ ทผ่ี อู้ านวยการสานกั พฒั นาครูและบคุ ลากรการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

Innovation ของกล่มุ PLC PLC Professional 5 Learning Community

ขน้ั ตอนการดาเนนิ การ PLC แนวทางแกไ้ ข PLCLearniPngrCoomfmeunsitysional ปญั หา สาเหตุ เลือกวธิ ี Lesson Study นาผลมาคยุ สรา้ งแผนการเรียนร้รู ว่ มกัน Active Learning ปรับและนาผลมาคุย นาแผนไปใช้ PBL สรปุ ผล ไมส่ าเรจ็ อื่นๆ สาเร็จ นวัตกรรม/เผยแพร่ 6

ตวั อย่าง การดาเนินการ PLC ในการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของผู้เรียน PLCLearniPngrCoomfmeunsitysional กรณี ครูกลมุ่ สาระวชิ าเดยี วกนั ผลการเรียนเร่อื งพนั ธกุ รรมของนักเรียน ม.6/1 -6/3 ตา่ ลง 50 % ครกู ลมุ่ สาระวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ร่วมกนั กาหนดแนวทางแกป้ ญั หา นาผลมาคยุ เลอื กวธิ ี สาเรจ็ ปรบั และนาผลมาคุย นาแผนไปใช้ นวัตกรร7 ม/เผยแพร่ ไมส่ าเรจ็ สรปุ ผล

ตวั อยา่ ง การดาเนนิ การ PLC ในการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของผ้เู รียน PLCLearniPngrCoomfmeunsitysional กรณี ครูตา่ งกลมุ่ สาระวชิ า นกั เรียนหนีชนั้ เรยี นเป็นประจา ครทู ุกกลมุ่ สาระทเ่ี ผชญิ ปัญหาเชน่ เดยี วกนั รว่ มกันกาหนดแนวทางการ แก้ปัญหา นาผลมาคยุ เลอื กวธิ ี สาเรจ็ ปรับและนาผลมาคุย นาแผนไปใช้ นวัตกรร8 ม/เผยแพร่ ไม่สาเรจ็ สรุปผล

ตัวอยา่ ง การดาเนินการ PLC ในการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของผเู้ รยี น PLCLearniPngrCoomfmeunsitysional กรณี ปญั หาในระดบั โรงเรียน ปัญหาครไู มค่ รบชน้ั เรยี น ครูตา่ งโรงเรียนที่เผชญิ ปญั หาครไู มค่ รบชนั้ รว่ มกันกาหนดแนวทาง DLTV แกป้ ัญหา ขอคาแนะกบั ครู ทมี่ ีความชานาญเฉพาะทาง ฯลฯ นาผลมาคยุ เลอื กวธิ ี สาเร็จ ปรบั และนาผลมาคุย นาแผนไปใช้ สรปุ ผล ไม่สาเรจ็ นวัตกรร9 ม/เผยแพร่

ข้นั ตอนการบันทึก PLC โดยสงั เขป • จับกลุ่มสมาชกิ เมอื่ เกิดปญั หาในชน้ั เรียน หรือต้องการพัฒนาการจดั การเรียนรู้ ครูสามารถหาสมาชิกเพือ่ แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ จนนาไปสู่วิธกี ารท่ีดีที่สุดของแตล่ ะบรบิ ท • บันทึกชว่ ยจา เปน็ การบนั ทกึ ส่ิงทีไ่ ด้จากการสนทนาพูดคุยแต่ละครั้ง ก่อนทีจ่ ะไปถึงแนวทาง แกป้ ัญหาที่ดที สี่ ุดของสมาชกิ แต่ละคน • เลอื กนวัตกรรมนาไปใช้ สมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถเลือกวิธีการ ท่ไี ด้จากการสนทนา แลกเปล่ยี นเรยี นรไู้ ปใช้ในการแกป้ ญั หา/ปรับปรงุ และพัฒนา ตามบรบิ ท ของตนเองได้ โดยอาจไม่จาเปน็ ต้องเปน็ วิธีแก้ปญั หาแบบเดยี วเสมอไป • สรุปผลเรียบเรยี งเปน็ บทคดั ย่อ เมื่อแก้ไขปญั หาแล้ว ครสู ามารถสรุปและเรยี บเรียงส่งิ ที่ได้ ปฏบิ ตั ิ ออกมาในรูปแบบของบทคดั ยอ่ เพ่ือเป็นคลงั ความรู้ ในการคน้ คว้า แกป้ ญั หา และพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ตอ่ ไป

1. จบั กลุม่ สมาชกิ เรามา PLC กนั เถอะ !! การจับกลุ่มสมาชิกในการทา PLC • ครทู มี่ ีบรบิ ทเดยี วกนั หรือ • จดั การเรียนรใู้ นรายวิชาเดยี วกัน หรือ • สอนนักเรยี นกลมุ่ เดียวกัน • มปี ระสบการณ์หรือความเช่ียวชาญ • ครทู ไ่ี ด้รบั การอบรมจากหลกั สตู รท่ีไดร้ ับการรับรองจากสถาบันคุรุพฒั นาและหลักสตู รท่ี ก.ค.ศ. รับรอง ดาเนนิ การรวมกลมุ่ และแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ เพ่อื ระดมสมอง แกป้ ญั หา และพฒั นาการจดั การเรียนรตู้ อ่ ไป OBEC สานกั พฒั นาครแู ละบคุ ลากรการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน

2. บนั ทึกช่วยจา PLC เม่อื ใด บนั ทึกเมือ่ น้ัน สานักพฒั นาครูและบุคลากรการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน • บันทกึ ข้อมูลทไ่ี ด้จากการสนทนา • วิเคราะห์ปญั หา และระดมวธิ กี ารแก้ไขปญั หาของตนเอง • การเลือกแนวทางปฏบิ ตั ทิ ี่จะนาไปใช้ • นาผลที่เกดิ ขึ้นมาแลกเปลยี่ นกันในโอกาสต่อไป OBEC

3. เลอื กแนวทางปฏบิ ตั แิ ละนาไปใช้ แนวทางปฏิบัติเกิดจากการระดมสมอง สานักพัฒนาครแู ละบคุ ลากรการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน • ครูเลอื กแนวทางปฏบิ ตั ิหรือวิธกี ารทไ่ี ด้จากการ ทา PLC ไปสู่การปฏบิ ัติในชั้นเรยี น • นาผลทไ่ี ดม้ าแลกเปล่ยี นเรยี นรกู้ บั สมาชิก • บันทกึ ลงในแบบสรุป PLC ท่ีปรากฏจานวนชัว่ โมง OBEC

ตวั อย่างการบนั ทกึ ชว่ ยจา

ตวั อย่างการบนั ทกึ ชว่ ยจา

ตวั อย่างการบนั ทกึ ชว่ ยจา

ตวั อยา่ งการบนั ทึกสรปุ PLC โดยสงั เขป

ตวั อยา่ งการบนั ทึกสรปุ PLC โดยสงั เขป

4. รายงานให้ ผอ.โรงเรยี นรับทราบ OBEC • ครูนาแนวทางปฏบิ ตั ิท่ไี ด้จากการทา PLC ไปใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ • รายงานผลการแกป้ ญั หาดังกลา่ วให้ ผอ.โรงเรยี นทราบ • ผอ.โรงเรยี นลงนามเพื่อรบั ทราบผลการทา PLC สานักพฒั นาครแู ละบคุ ลากรการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน

ตวั อยา่ งการบนั ทึกสรปุ PLC โดยสงั เขป

5. สรปุ ผลเรียบเรยี งเป็นบทคดั ยอ่ รวบรวมวธิ กี ารแก้ปัญหาเป็นบทคดั ย่อ ครูจะดาเนินการรวบรวมวิธีการแก้ปัญหา และผลท่ีเกิดขึ้นต่อผู้เรียน ในรูปของ บทคัดย่อหรือวิจัยในช้ันเรียน เพ่ือรวบรวมไว้เป็นคลังความรู้ สาหรับผู้ที่สนใจได้ศึกษา คน้ คว้า และนาไปเปน็ ตวั อย่างในการแก้ปัญหาในช้นั เรียนทอ่ี าจเกิดข้ึนไดใ้ นอนาคต OBEC สานกั พฒั นาครูและบุคลากรการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน

ตวั อยา่ งบทคดั ยอ่ ท่ีเกิดจากการใช้ กระบวนการ PLC มาแกป้ ญั หา โดยสังเขป ผอ. รับทราบ

ตวั อยา่ งบทคัดยอ่ ที่เกดิ จากการใช้ กระบวนการ PLC มาแกป้ ัญหา โดยสังเขป หวั ข้อ • ประเด็นปัญหา • ผ้รู ว่ มศึกษา • แนวทางแก้ไขปัญหา • จานวนนกั เรยี นทไ่ี ดร้ บั ประโยชน์ • จานวนครู • ผลสาเรจ็ ท่ไี ด้รับ • จานวนชวั่ โมงทใ่ี ช้ในกระบวนการ PLC

ตวั อยา่ งบทคัดยอ่ ท่เี กิดจากการใช้ กระบวนการ PLC มาแกป้ ญั หา โดยสังเขป

ตัวอยา่ ง • แบบบนั ทึกการเรียนรู้ PLC • แบบบันทึกหลังสอน • แบบสังเกตการสอน

ตวั อยา่ ง 1. ส่งิ ที่ฉนั ร/ู้ เคยเรียนมาแล้ว 2. ส่งิ ท่ีฉนั ยงั ไมค่ ่อยเขา้ ใจ 3. สิง่ ท่ีฉันเขา้ ใจดี

ตวั อยา่ ง ส่ิงที่ฉนั ทาได้ดใี นการสอนครั้งน้ี สิ่งทฉ่ี นั อาจทาใหต้ ่างจากเดิมในครั้งตอ่ ไป สงิ่ /คาถามท่ฉี นั ยังตอ้ งไปหาคาตอบ/เรียนรู้เพิ่มเตมิ

ตวั อยา่ ง

ตัวอยา่ ง PLC การประชุมหลงั การสอน

ตวั อย่าง 30

ตวั อยา่ ง การนเิ ทศภายใน • สรปุ บนั ทกึ การเรยี นรู้ • ผสู้ อนแจกแจงบันทกึ การสอน • ครูผ้สู ังเกตการณ์ นาส่ิงที่ไดไ้ ปประยกุ ตใ์ ช้ 31

ตวั อยา่ ง • สรปุ บันทึกการเรยี นรู้ • แจ้งแบบบันทึกหลังสอน 32

ตวั อย่าง 33

ตวั อย่าง ถามความเหน็ ของครผู ู้สงั เกตการณ์ 34

ตวั อย่าง 35

แหลง่ เรยี นรู้ PLC PLC ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community) https://www.youtube.com/watch?v=ryh_8mhzBaE ชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) โดย รศ.นราพร จนั ทร์โอชา https://www.youtube.com/watch?v=xutzxgmeW0k โรงเรยี นบา้ นปา่ สัก มองมุมใหม่ Five Focus https://www.youtube.com/watch?v=Ilk5TBJb038 Five Focus ตอนท่ี 101 PLC อนบุ าลหนองวัวซอ https://www.youtube.com/watch?v=1FzkKYHx6vw Five Focus ตอนท่ี 98 PLC บ้านเกาะแลหนัง เรียนรู้อย่างมคี วามสขุ https://www.youtube.com/watch?v=ryDCDtGDYYw

การดาเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 PLC ชุมชนครู..เพือ่ การเรียนรู้ของเด็ก พาไปทาความร้จู ัก “ชมุ ชนครู” เพื่อการเรียนร้ขู องเดก็ นักเรียน (ของจรงิ )...อีกหนงึ่ ความพยายามในการปฏริ ูปคณุ ภาพการศึกษาไทย... ทางรายการ Eduguide 4.0 ทอ่ งโลกการศึกษา ทางช่อง ททบ.5 https://www.youtube.com/watch?v=Gmwqg24cTJk ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ดาเนนิ การพัฒนาครใู นโครงการ สอวน. จานวนประมาณ 1,000 คน ในประเด็นต่อไปนี้ • ภาวะผนู้ า (Leadership) • ภาษาองั กฤษ • Digital literacy • PLC (Professional Learning Community) OBEC สานกั พฒั นาครูและบคุ ลากรการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน

การพฒั นาครแู ละบุคลากรการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน 2562งบปปรระะมจาาณปี โครงการพัฒนาครู การพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา รปู แบบครบวงจร โดยยดึ ถอื ภารกิจและพ้ืนท่ปี ฏบิ ัตงิ านเป็นฐาน ดว้ ยระบบ TEPE Online และการพฒั นาตามหลกั สูตร ท่ี ก.ค.ศ. รบั รอง การพัฒนาครู และบคุ ลากรการศกึ ษา ศนู ย์โรงเรียน โอลมิ ปิกวชิ าการ โครงการพัฒนาบุคลากร โรงเรียนกลุ่มพิเศษ สานักพฒั นาครแู ละบุคลากรการศึกษาข้นั พื้นฐาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook