FOOTBALL งานพัฒนาองค์ความรู้ ค่มู ือผ้ฝู กึ สอนกฬี าฟตุ บอล ค่มู อื ผู้ฝกึ สอนกีฬาฟตุ บอล กองวชิ าการกฬี า ฝ่ายสารสนเทศและวชิ าการกฬี า การกฬี าแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558
คู่มือผ้ฝู ึกสอนกีฬา หา้ มซอ้ื -ขาย www.sat.or.th
คู่มือผู้ฝกึ สอนกฬี าฟตุ บอล หา้ มซอ้ื -ขาย จดั ท�ำ โดย กองวชิ าการกฬี า การกีฬาแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558
ค�ำนำ� คูม่ ือผูฝ้ ึกสอนกีฬาฟตุ บอลเล่มนี้ การกีฬาแหง่ ประเทศ ได้จัดพมิ พ์ขึน้ เพอื่ เผยแพร่ ใหก้ ับผู้ที่สนใจ ไดศ้ กึ ษา ท้งั ภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชน นกั ศกึ ษา นกั เรียน ที่มคี วาม สนใจในกฬี าฟตุ บอล ใหไ้ ดร้ บั ความรคู้ วามเขา้ ใจทถ่ี กู ตอ้ ง รวมทงั้ เปน็ คมู่ อื ในการฝกึ สอน และใชป้ ระกอบอบรมเพอ่ื พฒั นาบคุ ลากรกฬี า ตลอดจนเปน็ หนงั สอื อา้ งองิ ทางการศกึ ษา โดยไดร้ บั ความรว่ มมอื จาก ดร.ชาญวทิ ย์ ผลชวี นิ รองอธิบดีกรมพลศึกษา เปน็ ผู้จัดท�ำ ต้นฉบบั ให้กับการกฬี าแหง่ ประเทศประเทศไทย การกีฬาแห่งประเทศไทย ขอขอบคุณ ดร.ชาญวทิ ย์ ผลชวี นิ ตลอดจนผู้ทม่ี สี ่วน สนบั สนนุ ใหค้ ู่มือผูฝ้ กึ สอนฉบบั นี้ส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์ มา ณ โอกาสน้ี กองวิชาการกีฬา การกีฬาแหง่ ประเทศไทย พ.ศ. 2558
สารบัญ หนา้ บทท่ี 1 หลกั เกณฑ์พื้นฐานในการฝึกซอ้ ม 1 - ขัน้ ตอนในการฝกึ 6 - หลกั การฝกึ 9 บทท่ี 2 การวิเคราะห์การแข่งขนั 11 บทท่ี 3 การฝึกกลยุทธ์ (Tactical Training) 20 - การครอบครองลูกบอล (Ball Possession) 20 - กฎของความลกึ (Depth) 26 - รูปแบบการปอ้ งกนั ของผู้รักษาประตู 38 - รูปแบบการปอ้ งกันของเซนเตอร์ฮาลฟ์ ตวั สดุ ท้าย 41 - รูปแบบการป้องกนั แบบคุมพืน้ ที่ว่าง 45 - รปู แบบของผูเ้ ล่นกองกลาง 49 - การรุกกบั การยิงประตู 54 - หลกั การรุกและหลกั การปอ้ งกนั 57 - เกมพน้ื ฐานการรกุ และการรบั 63 - กลยุทธ์ในการเล่นลูกตาย 66 บทที่ 4 การฝกึ เทคนคิ (Technical Training) 77 - เทคนิคการเตะ 78 - เทคนคิ การส่ง 79 - การคอนโทรลลูกบอล 80 - เทคนิคการโหมง่ 81 - เทคนคิ การยิงประตู 82 - เทคนิคการเปน็ ผรู้ กั ษาประต ู 83
สารบญั (ตอ่ ) หน้า 85 บทท่ี 5 การฝึกสมรรถภาพ (Condition Training) 85 - การอบอุ่นร่างกาย (Warm-up) 90 - การยดื เหยียดกล้ามเนอื้ (Stretching) 99 - การฝึกความอดทน (Endurance) 101 - การฝกึ ความแข็งแรง (Strength) 103 - การฝึกความเรว็ (Speed) 105 บทท่ี 6 วิวัฒนาการและระบบการเลน่ (System) 123 บทที่ 7 พื้นฐานทางเวชศาสตร์การกีฬา 123 - ร่างกายกบั การออกกำ� ลงั 131 - การฝึกซ้อมและปจั จัยทเ่ี กี่ยวข้องกับสมรรถภาพ 136 - การบาดเจบ็ จากกฬี า 139 - อาหารสำ� หรบั นกั กีฬา 144 บทที่ 8 สง่ิ นา่ รสู้ �ำหรบั ผฝู้ ึกสอน 144 - วตั ถปุ ระสงคข์ องการฝึก 145 - วิธีการฝกึ สอน 146 - เทคนคิ การฝกึ และการสอน 148 - จิตวทิ ยากบั การแขง่ ขัน 157 บรรณานุกรม
คมู่ อื ผู้ฝกึ สอนกฬี าฟุตบอล บทที่ 1 หลักเกณฑพ์ นื้ ฐานในการฝึกซ้อม (FUNDAMENTAL CRITERIA FOR TRAINING) การวิเคราะหก์ ารเลน่ ของนกั กฬี า ปัจจัยส�ำคัญในการจัดโปรแกรมการฝึกซ้อม คือ การวิเคราะห์ด้านเทคนิคของการเล่นที่ผ่านมา แลว้ เพอ่ื นำ� มาใชใ้ นการตดั สนิ ใจวา่ จะฝกึ ซอ้ มอะไรมานอ้ ยเพยี งใด ใหเ้ พยี งพอสำ� หรบั ผเู้ ลน่ ในโปรแกรม การฝึก ความรู้ความสามารถของทีมและผู้เล่นจะเป็นประโยชน์ต่อการจัดโปรแกรมการฝึกได้อย่างมี คณุ ภาพและเหมาะสม (แผนภมู ทิ ี่ 1) ในการวิเคราะห์การเล่นของนักกีฬา ผู้ฝึกสอนต้องใช้ประสบการณ์ทั้งหมดที่ได้สะสมตลอดการ ท�ำงานทางด้านนี้มา และการสังเกตส่วนตัวของผู้ฝึกสอนเองสร้างรูปแบบของโปรแกรมการฝึกซ้อม ประจ�ำวนั ท่จี ะจัดให้ผู้เล่นฝกึ ซอ้ มไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง และมปี ระสทิ ธิภาพ 1. ตัวบคุ คล (THE HUMAN ASPECTS) เซป เฮอร์เบอร์เกอร์ (SEPP HERBERGER) ผู้ฝึกสอนชาวเยอรมันตะวันตก ผู้ซ่ึงท�ำให้เยอรมัน ตะวันตกไดร้ ับชยั ชนะในฟุตบอลโลก ค.ศ.1954 ไดเ้ น้นถงึ ความส�ำคญั ของผ้ฝู กึ สอนตลอดมา จดั ความ สามารถในการสอนและการควบคุมทมี ไว้หลายอย่าง 1.1 ผฝู้ กึ สอนทม่ี คี วามสามารถจะตอ้ งไมเ่ พกิ เฉยตอ่ หนา้ ทที่ างดา้ นจติ วทิ ยาทมี่ ตี อ่ ผเู้ ลน่ ของตน การใช้หลักการของการฝึกซ้อมที่ถูกต้องหมายถึงว่า ผฝู้ กึ สอนตอ้ งเข้าใจถงึ จติ ใจและการปรับจติ ใจของ ผเู้ ลน่ โดยการสรา้ งบรรยากาศในการฝกึ ซอ้ มระหวา่ งผฝู้ กึ สอนกบั ผเู้ ลน่ ใหส้ ามารถทำ� งานรว่ มกนั ไดแ้ ละ น�ำไปสู่ความส�ำเรจ็ การสรา้ งกฎเกณฑใ์ นระหวา่ งการฝกึ ซอ้ มอยา่ งเดยี ว ไมช่ ว่ ยใหค้ วามสมั พนั ธท์ ลี่ ะเอยี ดออ่ นระหวา่ ง ผูเ้ ล่นและผฝู้ กึ สอนเปน็ ไปไดด้ ี ยง่ิ ถ้าผฝู้ กึ สอนสามารถเขา้ ผ้เู ลน่ ได้เป็นรายบคุ คล ความสำ� เรจ็ ในเรือ่ งน้ี ย่ิงมีโอกาสมากข้ึน อย่างไรก็ตามความพยายามในการสร้างความสัมพันธ์น้ีจะต้องอยู่ในขอบเขตของ ลักษณะการฝึกซ้อมด้วย ผู้ฝึกสอนควรพยายามเข้าใจสภาพจิตใจของผู้เล่นในความรับผิดชอบของตน ถ้าผู้ฝึกสอนประสบความส�ำเร็จในการเข้าถึงจิตใจผู้เล่น ก็เท่ากับเป็นก้าวแรกที่จะน�ำไปสู่ความส�ำเร็จ และเป็นปัจจัยท่จี ะตัดสนิ ได้วา่ ผูฝ้ ึกสอนเปน็ ที่ยอมรบั ของผเู้ ลน่ หรอื ไม่ 1
ค่มู อื ผ้ฝู กึ สอนกฬี าฟุตบอล 2 หลกั การและขอบข่ายของการฝกึ ซอ้ ม
คู่มือผฝู้ ึกสอนกฬี าฟตุ บอล การวเิ คราะหก์ ารแข่งขัน 1.2 วธิ ที จ่ี ะเขา้ ถงึ จติ ใจของผเู้ ลน่ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งขน้ึ อยกู่ บั อายขุ องผเู้ ลน่ เนอ่ื งจากตอ้ งใชว้ ธิ กี าร ที่แตกต่างกนั ตามกลมุ่ อายุที่แตกตา่ งกนั ด้วย เช่น ผเู้ ล่นทเ่ี ปน็ เด็กจะไม่สนใจความสามารถของการเลน่ ของเขาเท่ากับผู้เล่นที่มีอายุมากกว่า และเด็กต้องการความเอาใจใส่ด้วยวิธีการหลายรูปแบบอย่าง สม่�ำเสมอ การเน้นใหเ้ ดก็ เห็นว่าสง่ิ ใดผิดในขณะฝกึ ซ้อมสิ่งใดถกู จะช่วยใหเ้ ด็กเรยี นรู้เรว็ ขน้ึ 1.3 ผฝู้ กึ สอนควรรถู้ งึ ภมู หิ ลงั ทางสงั คมของผเู้ ลน่ เชน่ พน้ื เพเดมิ , ครอบครวั , ประวตั คิ วามเปน็ อยู่ ฯลฯ ส่ิงเหล่าน้ีเป็นส่ิงส�ำคัญที่จะช่วยให้ผู้ฝึกสอนเข้าใจในตัวผู้เล่นมากขึ้น และหาทางช่วยเหลือ ผ้เู ลน่ ในบางโอกาส 3
ค่มู อื ผ้ฝู กึ สอนกฬี าฟตุ บอล 1.4 การเลอื กแบบฝกึ ในการฝกึ ซ้อมก็เปน็ ปจั จยั ทสี่ �ำคัญ เนื่องจากแบบฝึกต่างๆ จะช่วยทำ� ให้ ผเู้ ลน่ ยกระดบั ตวั เองในการเลน่ ขน้ึ ได้ การเลอื กแบบฝกึ ตอ้ งเหมาะสมกบั ความสามารถของผเู้ ลน่ ในขณะ ท่ีก�ำลังฝึกอยู่ การเลือกแบบฝึกที่ง่ายไปจะท�ำให้น่าเบื่อ แต่ถ้ายากเกินไปหรือยุ่งยากก็จะท�ำให้เกิด ความเครยี ดในการฝกึ ระบบการฝกึ ทม่ี ขี นั้ ตอนของการฝกึ จะชว่ ยพฒั นาความมน่ั ใจของผเู้ ลน่ พฒั นาความสามารถของ ผเู้ ล่นใหส้ งู ขึน้ ผู้ฝกึ สอนไมค่ วรใหแ้ บบฝกึ ทีผ่ ้เู ล่นรสู้ ึกว่าเป็นเรอื่ งเล่ือนลอย และไมเ่ กีย่ วขอ้ งกับการเลน่ ของเขา แตค่ วรทำ� ให้ผูเ้ ลน่ รู้สึกวา่ ผู้ฝกึ สอนต้องการให้สิง่ ที่เหมาะสมกบั ตัวเขา การยกระดับการเล่นให้ ดขี น้ึ มกั เกดิ จากผเู้ ลน่ และผฝู้ กึ สอนเขา้ ถงึ จติ ใจกนั และในเรอ่ื งนถี้ อื วา่ เปน็ เรอื่ งสำ� คญั มากเพราะจะทำ� ให้ ผเู้ ลน่ รสู้ กึ กระตอื รอื รน้ มคี วามตง้ั ใจจรงิ ทจ่ี ะฝกึ และแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความมานะอดทน ผฝู้ กึ สอนตอ้ งทำ� ให้ ผ้เู ลน่ มคี วามมั่นใจในโปรแกรมฝึกดว้ ย จะเหน็ ไดว้ า่ ผเู้ ลน่ เปน็ สว่ นสำ� คญั ในการทำ� ใหโ้ ปรแกรมการฝกึ ประสบความสำ� เรจ็ ในการพจิ ารณา ของผเู้ ล่นนัน้ ส่ิงหนึ่งทีส่ ำ� คัญคือ ปฏิกิริยาของผเู้ ลน่ ท่ีมตี อ่ สภาพแวดลอ้ ม การจดั สภาพแวดล้อมที่ดีจะ ช่วยให้โปรแกรมการฝกึ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 2. สภาพแวดล้อม 2.1 สภาพอากาศ การแข่งขันฟุตบอลโลก ที่ประเทศสเปน ค.ศ. 1982 และการแข่งขันฟุตบอลเยาวชนโลก ค.ศ. 1983 ทเี่ มก็ ซโิ ก นนั้ ในรายงานทางเทคนคิ ของฟฟี า่ (FIFA) ไดก้ ลา่ วถงึ สภาพอากาศหลายลกั ษณะ ท่ีมีผลต่อการแข่งขัน และฝึกซ้อมมาก เช่น อุณหภูมิ (ความร้อน หนาว) ความช้ืนสัมพันธ์ หิมะ ฝน และความสูงเหนอื ระดบั นำ�้ ทะเล ในระหว่างการฝึกซ้อมและการแข่งขันผู้เล่นทุกคนจะต้องปรับวิธีการเล่น หรือรูปแบบการเล่น หรือรูปแบบการเล่นให้เข้ากับสภาพแวดล้อมต่างๆ ถ้าอุณหภูมิสูงมากต้องระมัดระวัง หากจะเน้นการ ฝกึ เกย่ี วกบั สมรรถภาพ (Condition Training) มากเกนิ ไปควรจะเปน็ เรอ่ื งเทคนคิ (Technique) กลยทุ ธ์ ต่างๆ (Tactics) เช่น การควบคุมลกู บอล (Ball Control) การครอบครองลูกบอล (Ball Possession) การรกุ (Attack) การรบั (Defence) ฯลฯ หรอื ถา้ อากาศหนาวและมฝี นตก ผฝู้ กึ สอนควรจะใหผ้ เู้ ลน่ ฝกึ ซอ้ มในท่ีโลง่ แจ้งมากขึ้น และโปรแกรมการฝึกควรเพิ่มทางดา้ นสมรรถภาพให้มากขนึ้ 2.2 สภาพสนาม การปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั สภาพสนาม และพน้ื สนาม ตอ้ งอาศยั ความรว่ มมอื ของผเู้ ลน่ ทกุ คนผฝู้ กึ สอน ตอ้ งฝกึ ในสภาพสนามทเ่ี ปน็ ฝนุ่ ทราย ขรขุ ระ หรอื เฉอะแฉะเปน็ โคลน จะตอ้ งเลอื กโปรแกรมการฝกึ ซอ้ ม ให้เหมาะสมกับสภาพสนาม ซ่ึงแน่นอนผู้เล่นจะเห็นด้วยหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับแบบฝึกท่ีผู้ฝึกสอนจัดให้ เชน่ สนามเฉอะแฉะเปน็ โคลน ผู้ฝึกสอนควรจะหลีกเลย่ี งการฝึกการควบคุมลูกบอล เป็นตน้ 4
คู่มือผฝู้ กึ สอนกฬี าฟตุ บอล ส�ำหรับการฝึกซ้อมท่ีหนักหรือเข้มข้นข้ึนกว่าปกติ จ�ำเป็นต้องมีอุปกรณ์เครื่องมือท่ีดีและทันสมัย เช่น รอ้ งเทา้ ลูกบอล ลกู บอลทีใ่ ชส้ ำ� หรับแขวน (Pendulums) และก�ำแพงส�ำหรับไว้ยิงประตู (Shooting Walls) อปุ กรณท์ ท่ี ันสมยั เหลา่ นจ้ี ะเปน็ แรงจงู ในในการฝึกซอ้ มของผเู้ ลน่ มากขึ้น สิ่งหนึ่งท่ีนักกีฬาระดับเยี่ยมต้องการ คือ “การมีชีวิตที่เหมาะสมอย่างนักกีฬา” (a suitable- sporting life style) ผ้ฝู กึ สอนตอ้ งถือว่าเป็นเร่อื งหนึ่งทอ่ี ย่ใู นความรบั ผดิ ชอบของตน โดยรว่ มมือกบั หลายฝา่ ยในการจดั สรรหาสิง่ ตา่ งๆ ท่จี ำ� เป็นและเหมาะสมกับสภาพของนักกฬี า การกินอาหารท่ดี ี ท่ี อย่อู าศยั และปจั จัยอน่ื เชน่ เดีย่ วกัน ปจั จยั ทางสภาพแวดล้อมท่ีส�ำคญั อีกประการหน่ึง คอื ความมัน่ ใจ ในการช่วยเหลือทางด้านกีฬาเวชศาสตร์ การได้รับค�ำแนะน�ำที่ถูกต้องในขณะได้รับบาดเจ็บในการฝึก ซอ้ ม หรอื ระหวา่ งการแข่งขนั ซ่งึ เป็นความสำ� คัญทางดา้ นจิตวิทยาประการหนึ่ง ถา้ ผ้เู ลน่ รู้วา่ ได้รบั บาด เจบ็ จากการฝกึ ซอ้ มหรอื แขง่ ขนั จะไดร้ บั การรกั ษาพยาบาลอยา่ งดี และอยา่ งรวดเรว็ จากแพทยจ์ ะทำ� ให้ ผูเ้ ลน่ เกดิ ความม่นั ใจในตัวเองมากข้นึ หลงั จากไดร้ บั บาดเจบ็ วิธีการฝกึ ทัว่ ไป ในการบรรลเุ ปา้ หมายทด่ี ที ส่ี ดุ นน้ั ผฝู้ กึ สอนจำ� เปน็ จะตอ้ งหาวธิ ที ดี่ ที สี่ ดุ ในการใหผ้ เู้ ลน่ เรยี นรู้ โดย ผา่ นการฝึก 3 ระดับ บางทีวธิ ที ดี่ ีท่ีสุดจะต้องไดร้ ับความรว่ มมอื จากผ้เู ล่นและอาจใช้ทศั นูปกรณช์ ่วยได้ หลังจากการอธิบายอาจจะตามดว้ ยการสาธิตใหด้ ูทันที การเลอื กค�ำท่ใี ชอ้ ธบิ ายมคี วามส�ำคัญ แบบฝกึ ท้ังหมดจะต้องมีการวางแผนอย่างมีระบบและเป็นข้ันตอน ผู้ฝึกสอนจะต้องระวังไม่ให้ผู้เล่นเกิดความ ผดิ หวงั หรอื ความเบอ่ื หนา่ ยในระหวา่ งการฝกึ ความรสู้ กึ เชน่ นจี้ ะเกดิ ขน้ึ เมอื่ แบบฝกึ ไมเ่ หมาะสมกบั ระดบั ความสามารถในการเลน่ ของผู้เลน่ หรือของทมี อย่างไรก็ตามแม้จะใช้วิธีที่ดีที่สุดแล้วการฝึกก็ไม่อาจประสบผลส�ำเร็จได้ถ้าไม่ได้รับความร่วมมือ จากผูเ้ ลน่ ความสนใจส่วนตวั เจตคติทีม่ ตี อ่ ระเบยี บวนิ ยั ในการฝึก และความตัง้ ใจจรงิ ของผเู้ ล่น มีสว่ น สำ� คญั ทท่ี ำ� ใหก้ ารฝกึ ประสบผลสำ� เรจ็ สง่ิ เหลา่ นสี้ ามารถทำ� ใหเ้ กดิ ขนึ้ ไดโ้ ดยผฝู้ กึ สอน ผฝู้ กึ สอนควรสรา้ ง ความสมั พนั ธส์ ว่ นตวั กบั ผเู้ ลน่ ทกุ คน และชว่ ยผเู้ ลน่ แกป้ ญั หาถา้ ทำ� ไดก้ จ็ ะทำ� ใหผ้ เู้ ลน่ รสู้ กึ มน่ั ใจ ไวว้ างใจ ในตัวผฝู้ ึกสอนมากขึ้น โดยท่ัวๆ ไปจะเป็นการสรา้ งความสัมพันธ์ระหว่างทุกๆ คนในทีมด้วย เมื่อการฝึกซ้อมผ่านไปตามล�ำดับผู้เล่นแต่ละคนหรือท้ังทีมควรจะรู้สึกว่ามีความก้าวหน้าเกิดข้ึน เรอื่ ยๆ และทกุ คนควรจะได้พฒั นาความม่นั ใจของตนเองในการนำ� เอาความสามารถความช�ำนาญไปใช้ ในสถานการณ์การแข่งขันจริง ผลของความส�ำเร็จเหล่านี้จะช่วยส่งเสริมการพัฒนาการทางด้านจิตใจ การเสริมสรา้ งบุคลิกภาพของผเู้ ลน่ อกี ดว้ ย 5
คมู่ ือผู้ฝกึ สอนกฬี าฟุตบอล ขั้นตอนในการฝกึ มี 3 ขัน้ ตอน มดี ังนี้ 1. ขั้นเรมิ่ แรกหรอื ข้นั เบอื้ งตน้ ข้นั เริม่ แรก (INTRODUCTORY EXERCISE) แบบฝกึ ขน้ั เรมิ่ แรกจะถกู สรา้ งขนึ้ เพอื่ ใหโ้ อกาสผเู้ ลน่ ไดเ้ รยี นรสู้ งิ่ ทเี่ ปน็ พนื้ ฐานทน่ี ำ� ไปใชป้ ฏบิ ตั ไิ ด้ จรงิ ๆ อาจเรยี กได้วา่ เป็น “ขน้ั เบือ้ งตน้ ” ซ่ึงแบบฝึกข้นั พื้นฐาน ผู้เลน่ ควรเรียนรูก้ ารเคล่อื นไหวข้นั พื้น ฐาน โดยการอธิบายและสาธิตง่ายๆ ต่อมาผูเ้ ล่นจงึ ทำ� ดว้ ยตนเอง ผฝู้ ึกสอนควรคาดหวังวา่ ผ้เู ล่นทกุ คน จะฝึกแบบตา่ งๆ ดว้ ยขดี ความสามารถสงู สดุ ของเขา ในขนั้ นผ้ี เู้ ลน่ เพยี งแตบ่ รรลเุ ปา้ หมายถงึ ระดบั การฝกึ ทเี่ รยี กวา่ “ระดบั การใชก้ ำ� ลังปานกลาง (PARADYNAMIC) เทา่ น้ัน” การฝกึ ในขน้ั น้ี เชน่ การสง่ ลกู ระยะสนั้ ๆ การฝกึ เปน็ คใู่ นการเลยี้ งสง่ การเคลอ่ื นทใี่ นการรบั สง่ ลกู ตำ� แหนง่ ในการรบั สง่ ลกู ของผเู้ ลน่ ถกู แนะนำ� โดยผฝู้ กึ สอน ถา้ หากผเู้ ลน่ กระทำ� ผดิ การฝกึ ทส่ี ำ� คญั ในระดบั นี้ คอื การสาธติ ทถ่ี กู ตอ้ ง และการอธบิ ายทช่ี ดั เจนของผฝู้ กึ สอนวา่ จะมกี ารเคลอ่ื นไหวอวยั วะสว่ นใดบา้ ง ยงั มวี ธิ อี นื่ อกี ทจี่ ะปรบั ปรงุ กระบวนการเรยี นรู้ เชน่ การสาธติ อยา่ งชา้ ๆ จะชว่ ยใหท้ า่ ของแบบฝกึ ชัดเจนขนึ้ สำ� หรับผู้เล่น และช่วยหลีกเลี่ยงและปอ้ งกันขอ้ ผิดพลาดท่ีอาจเกิดข้นึ ได้ ผ้ฝู ึกสอนอาจจะใช้ การฝึกปิดจงั หวะทลี ะขั้นตอนแล้วน�ำแตล่ ะขัน้ ตอนมาผสมผสานกนั อกี คร้งั นอกเหนอื จากวธิ กี ารฝกึ นเ้ี ปน็ รปู ธรรมเหน็ ไดช้ ดั แลว้ ผฝู้ กึ สอนอาจจะใชป้ ระสบการณข์ องตนเอง ชว่ ยเหลอื ผเู้ ลน่ ในการแกป้ ญั หาทอี่ าจเกดิ ขน้ึ ไดใ้ นระหวา่ งการฝกึ ซอ้ ม สงิ่ นจี้ ะชว่ ยพฒั นาความมน่ั ใจใน ตวั ผเู้ ล่นเองอีกดว้ ย การฝึกซอ้ มเทคนิคขนั้ พ้ืนฐานในการเล่นฟุตบอลเปน็ สงิ่ สำ� คญั และจ�ำเปน็ ในระยะ เวลาอนั ส้นั ผ้เู ลน่ ก็จะมคี วามสามารถดเี ลิศในการสร้างความสัมพนั ธ์ระหว่างผเู้ ลน่ ดว้ ยกัน 2. ขน้ั สูง (ADVANCE EXERCISE) ในข้ันน้กี ารสรา้ งความชำ� นาญจะตอ้ งเพมิ่ ขน้ึ การฝกึ พิเศษจะตอ้ งถูกนำ� มาใช้เพิม่ เตมิ ตอ่ จากการ เคล่ือนท่ีของผู้เล่นขั้นพื้นฐาน ขั้นน้ีการเคล่ือนที่เป็นปัจจัยที่ส�ำคัญท่ีสุดประการหนึ่ง การฝึกแต่ละคน หรอื ความสามารถของแตล่ ะคนจะถกู นำ� มาใชร้ วมกนั การกำ� หนดแบบฝกึ ตอ้ งยกระดบั ความสามารถที่ สูงขึ้นและอย่างท่ีกล่าวมาแล้ว คือ มักจะน�ำมาในรูปของการเล่นเพ่ือสร้างความสัมพันธ์ระหวา่ งผู้เล่น ด้วยกัน การประสานงานในการเลน่ มักจะมคี วามสำ� คญั มากขน้ึ ความสามารถในการเล่นจะถูกขัดเกลา ให้ดีขึ้นเรื้อยๆ ผู้ฝึกสอนไม่เพียงแต่จะต้องการให้ผู้เล่นทุ่มเทอย่างหนักในการฝึกมากขึ้นเท่าน้ัน แต่ยัง ตอ้ งการใหใ้ ชค้ วามสามารถในการฝกึ แบบฝกึ ใหด้ ขี นึ้ อกี ดว้ ย ผเู้ ลน่ ควรพฒั นาแบบฝกึ ตา่ งๆ ใหด้ ขี น้ึ โดย ใชเ้ วลานอ้ ยลง และควรพัฒนาเอกลกั ษณ์การเล่นของแตล่ ะคนดว้ ย หลักเกณฑ์ท้ังหมดที่กล่าวมาน้ีต้องการการฝึกซ้อมที่หนัก มิฉะน้ันไม่เกิดความก้าวหน้าในการ เลน่ ใหด้ ขี นึ้ นอกจากจะฝกึ อยา่ งหนกั แลว้ ยง่ิ ตอ้ งใชเ้ วลาในการฝกึ ใหม้ ากขนึ้ ดว้ ยถา้ ตอ้ งการใหเ้ กดิ ผลดี 6
คู่มือผูฝ้ กึ สอนกีฬาฟุตบอล รูปแบบการฝึกซ้อมของผู้เล่นแต่ละคนจะถูกน�ำมารวมกันเพ่ือให้เกิดแบบฝึกที่ดีสมบูรณ์แบบให้ ไดใ้ กลเ้ คยี งกบั สถานการณก์ ารแขง่ ขนั จรงิ แตท่ วา่ ยงั ไมม่ คี แู่ ขง่ ขนั สงิ่ เหลา่ นผ้ี เู้ ลน่ ไดฝ้ กึ มาตงั้ แตก่ ารฝกึ ขนั้ พนื้ ฐานในตอนแรกแลว้ อยา่ งไรกต็ ามถา้ ตอ้ งการใหก้ ารเลน่ กา้ วหนา้ ขนึ้ ตอ้ งใชว้ ธิ กี ารเหมาะสมพฒั นา แบบฝึกใหอ้ ยใู่ นระดับสูงขนึ้ ตอ่ ไป ผ้เู ล่นทกุ คนมี “ดารา” ทีเ่ ขาอยากเลียนแบบ การสาธติ รปู แบบ “ดารา” ท่ีผเู้ ล่นนิยมชมชอบจะ ช่วยให้ผูเ้ ล่นมคี วามเขา้ ใจได้ดขี น้ึ 3. ขัน้ การแข่งขนั (COMPETITIVE EXERCISE) ในขน้ั ตอนนมี้ กี ารสรา้ งรปู แบบการฝกึ ทส่ี วยงาม ฝกึ ใหเ้ หมอื นกบั การแขง่ ขนั จรงิ ๆ มกี ารใชเ้ ทคนคิ และกลยทุ ธ์ (TACTICS) ในแบบฝกึ ตา่ งๆ ดว้ ย แบบฝกึ ทกุ แบบจะฝกึ โดยสมมตุ มิ ที มี คแู่ ขง่ ขนั เหมอื นการ แข่งขันจรงิ ซึง่ ในการฝกึ ขน้ั นต้ี ้องมีการวางแผนอย่างมรี ะบบ และมีระเบยี บวินยั ในการฝึกจริงๆ ผู้เล่นจะต้องท�ำตามกฎเกณฑ์ทุกอย่างท่ีผู้ฝึกสอนวางไว้ จึงจะสามารถพัฒนามาตรฐานการเล่น ของตนไดเ้ รอ่ื ยๆ และสามารถนำ� มาใชไ้ ดเ้ มอื่ ตอ้ งการจะใชใ้ นสถานการณแ์ ขง่ ขนั จรงิ การนำ� เอากลยทุ ธ์ หรือวิธีการ ความสามารถส่วนตัวมาใช้ในการเล่นของผู้เล่นจะต้องเอาชนะอุปสรรคส่วนตัว (ความ ประหม่า) และอุปสรรคภายนอก เช่น สิ่งแวดลอ้ ม, อทิ ธิพลจากผดู้ ใู ห้ได้ ผู้เล่นจะใช้แบบฝึกในการฝึกอย่างมั่นคงตลอดเวลาและใช้แบบฝึกโดยอัตโนมัติได้แล้ว ใน สถานการณ์เช่นน้ีแบบฝึกต่างๆ ถูกน�ำมาใช้อย่างประหยัดเวลาในการฝึก ผู้เล่นที่จะฝึกในข้ันนี้จะต้อง เปน็ “พวกทม่ี กี ำ� ลงั อยใู่ นตวั เองอยแู่ ลว้ ” (DYNAMIC PROTOTYPE) ผเู้ ลน่ พวกนต้ี อ้ งการวธิ กี ารฝกึ ซอ้ ม ท่ีแนน่ อน และโดยเฉพาะแบบฝกึ ทเ่ี ขาจะพบกบั คูแ่ ขง่ ขันทม่ี ีความสามารถสูง เพอ่ื ต้องการจะเอาชนะ ใหไ้ ด้ แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามเขาจะตอ้ งประเมนิ ตวั เอง และความสามารถของตนเองอยา่ งระมดั ระวงั เพอ่ื หลกี เลยี่ งขอ้ ผดิ พลาดของตนเอง การวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ตนเองจะทำ� ใหเ้ ลน่ ไดด้ ขี นึ้ ทงั้ ทางดา้ นสมรรถภาพ ด้านเทคนิค และทางด้านแทกติกที่ผู้เล่นจะต้องน�ำมาใช้ได้อย่างคล่องแคล่วในสถานการณ์การแข่งขัน จรงิ และนี่เป็นเหตผุ ลว่าทำ� ไมจงึ ต้องใชแ้ บบฝกึ ในรปู ของการฝึกแบบการแขง่ ขันจรงิ 7
ค่มู อื ผู้ฝกึ สอนกฬี าฟุตบอล การพัฒนาแบบฝึกในระดบั ขั้นตา่ งๆ 8
คู่มอื ผฝู้ กึ สอนกีฬาฟตุ บอล ในการพฒั นาแบบฝกึ นน้ั เปน็ สงิ่ สำ� คญั ทจ่ี ะตอ้ งคอ่ ยๆ เพม่ิ จำ� นวนผเู้ ลน่ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั แบบฝกึ นน้ั ข้นึ ไปเรื่อยๆ หลกั การฝกึ มี 4 ขัน้ ตอน 1. ฝึกเปน็ รายบุคคล (INDIVIDUAL ACTIVITY) 2. ฝกึ เปน็ คู่ (PARTNER ACTIVITY) 3. ฝกึ เป็นกลุ่มยอ่ ย (GROUP ACTIVITY) 4. ฝึกเปน็ ทมี (TEAM ACTIVITY) 1. ฝึกเป็นรายบคุ คล การฝกึ เปน็ รายบคุ คลเหมาะสมกบั แบบฝกึ หลายๆ แบบเพอื่ พฒั นาความ สามารถของผู้เล่น และเป็นการแก้ไขข้อบกพร่องของผู้เล่นด้วยการฝึกแบบน้ี สว่ นใหญจ่ ะประสบปญั หาจากอปุ กรณใ์ นการฝกึ ไมเ่ พยี งพอ เชน่ ลกู บอล สำ� หรบั ผู้เลน่ ทกุ คน 2. ฝกึ เปน็ คู่ การฝกึ เป็นค่จู ะมี 2 ฝา่ ย คือ ฝา่ ยรกุ และฝ่ายรับ ระหว่างการฝึกผเู้ ลน่ จะใช้คู่ของตนเป็นผู้เล่นในทีมเดียวกันหรือคู่แข่งขันก็ได้ข้ึนอยู่กับจุดมุ่งหมาย ในการฝกึ ผเู้ ลน่ จะฝกึ ใชแ้ ทกตกิ ตา่ งๆ กบั คขู่ องตนเองไดแ้ ละนำ� การฝกึ เหลา่ น้ี ไปใช้กบั การแขง่ ขนั เช่น การยงิ ลูกโทษ 2 จงั หวะ การเตะมมุ การทำ� ลูกช่ิง (WALL PASS) รูปแบบการฝึกคู่น้ีใกล้เคียงกับการฝึกแบบการแข่งขันจริง เป็นการวดั ความสามารถและไหวพริบของผ้เู ลน่ แต่ละคนดว้ ย 3. ฝกึ เป็นกลุม่ ย่อย ทมี ผเู้ ลน่ ประกอบดว้ ยกลมุ่ ยอ่ ยๆ ซงึ่ ไมก่ ำ� หนดแนน่ อนตายตวั แตจ่ ะ เปลย่ี นไปตามสถานการณก์ ารแข่งขนั และตามหน้าท่ี ถา้ แบง่ โดยทัว่ ๆ ไป แลว้ จะมี กองหลงั , กองกลาง, และกองหน้ามักจะคดิ กันเสมอวา่ เป็นการดี ถ้ากลุ่มต่างๆ อยู่ในรูปของสามเหลี่ยมในระหว่างการแข่งขัน กฎการรวม กลมุ่ แบบนจี้ ะถกู นำ� มาใชเ้ กยี่ วขอ้ งในขน้ั ตอนตอ่ ไป การฝกึ เปน็ กลมุ่ ยอ่ ยจะ ฝึกได้ท้ังทางด้านสมรรถภาพ ด้านเทคนิค และด้านกลยุทธ์ข้ึนอยู่กับว่า สถานการณ์จะเปน็ ไปในรปู ใด 9
ค่มู อื ผ้ฝู กึ สอนกฬี าฟุตบอล 4. ฝกึ เป็นทีม ฟุตบอล เป็นกีฬาที่เลน่ เป็นทมี จงึ เปน็ การสมเหตุสมผลที่ต้องฝกึ เป็น ทมี รปู แบบการฝกึ จะเน้นในกฎเกณฑ์น้จี ะถกู ท�ำงานข้นึ มาเปน็ ทีม และส่ิงนี้เอง จึงเป็นปัจจัยในการตัดสินใจการแข่งขันว่าแพ้ หรือชนะจะต้องมีการแบ่งหน้าที่ กันในการท�ำงานในขณะทีเ่ ป็นฝา่ ยรบั หรอื ในขณะที่เป็นฝ่ายรกุ 10
คู่มอื ผ้ฝู กึ สอนกีฬาฟตุ บอล บทท่ี 2 การวเิ คราะห์การแข่งขนั (MATCH ANALYSIS) การวเิ คราะหก์ ารแข่งขนั (MATCH ANALYSIS) การวเิ คราะหก์ ารแขง่ ขนั ของทมี จะทำ� ใหก้ ารจดั โปรแกรมการฝกึ ซอ้ มเพอ่ื การแขง่ ขนั และการตงั้ เปา้ หมายของทมี ประสบผลสำ� เรจ็ มากขนึ้ ดงั นน้ั ในขน้ั นจ้ี งึ ควรรวู้ า่ มหี ลกั เกณฑอ์ ะไรบา้ งทจี่ ะใชว้ เิ คราะห์ การแขง่ ขนั การวเิ คราะหก์ ารแขง่ ขนั ในทน่ี ไ้ี มไ่ ดห้ มายถงึ การวพิ ากษว์ จิ ารณ์ แตห่ มายถงึ การสงั เกตของ ผฝู้ ึกสอน เพอื่ ใช้การสังเกตของผูฝ้ ึกสอนไปจัดเตรียมโปรแกรมการฝกึ ซอ้ มให้มปี ระสิทธภิ าพมากยง่ิ ขึ้น หลกั เกณฑ์ในการสงั เกตการณแ์ ขง่ ขันของทีม การสร้างแบบบันทกึ การสังเกตการณแ์ ขง่ ขนั ดงั ตวั อย่างต่อไปนี้ ข้อมลู ทางสถิติ การแข่งขัน...................................................... รอบท.่ี .......................................................... สถานท.่ี .......................................................... วันท่ี............................................................. การแขง่ ขันระหวา่ ง......................................... กบั ................................................................ ทมี A = X ทมี B = O ผูเ้ ล่น ชอ่ื หมายเลข ชื่อ หมายเลข 11
คู่มอื ผ้ฝู ึกสอนกีฬาฟุตบอล ชือ่ หมายเลข ชือ่ ผ ู้เล่นส�ำรอง หมายเลข ผู้ตัดสนิ ...................................................... จาก......................................................................... ผกู้ ำ� กับเสน้ คนท1ี่ ...................................... จาก......................................................................... ผู้กำ� กบั เสน้ คนท่ี 2..................................... จาก........................................................................ สนาม......................................................... จ�ำนวนคนดู.............................................................. สภาพอากาศ............................................. สภาพสนาม.............................................................. ผลของการแขง่ ขัน คร่ึงแรก.................................. : ................................................... ครงึ่ หลัง................................................................ : .……………………………………………………. ต่อเวลา................................................................. : ............................................................. การสังเกตโดยท่วั ๆ ไป ................................................................................................................. ................................................................................................................................................................ ....................... ความพรอ้ มของรา่ งกาย (PHYSICAL FITNESS) ทีม A ทีม B ทมี A ทมี B คร่งึ แรก ดีมาก ครงึ่ หลัง ดี พอใช้ ไม่ดพี อ ข้อสังเกต................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................ ...................................................................................................................................................... 12
คมู่ ือผู้ฝึกสอนกีฬาฟตุ บอล เทคนิค (TECHNIQUE) ทมี A ทมี B คร่งึ แรก ดมี าก ครงึ่ หลงั ทมี A ทีม B ดี พอใช้ ไม่ดพี อ ขอ้ สงั เกต................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................. กลยุทธ์ (TACTICS) การประสานงานโดยท่วั ไปของผู้เลน่ ในการรุก ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ การน�ำกฎการรุกมาใช้ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ การประสานงานของผู้เล่นกองกลางในแดนกลางสนาม ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ การประสานงานทเ่ี ปน็ พเิ ศษของผเู้ ล่นกองกลางในการรุกและการรบั ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ การน�ำกฎการรับมาใช้เป็นพเิ ศษ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 13
คู่มือผู้ฝึกสอนกีฬาฟตุ บอล ผ้เู ล่นทเ่ี ดน่ เป็นพเิ ศษ ทีม...............................หมายเลข.....................................ชื่อ............................................ สโมสร.......................... รายละเอยี ดของลักษณะการเลน่ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 14
ค่มู อื ผู้ฝึกสอนกีฬาฟุตบอล 1. ระบบที่ทมี น�ำมาใช้ การประสานงานในการรบั 1. ใช้วิธตี ัวตอ่ ตัว (มี LIBERO และไมม่ ี LIBERO) 2. ใช้การตงั้ โซน (ZONE MARKING) 3. การวางแผนเชค็ ล้�ำหน้า (LINE DEFENCE OR OFF SIDE TRAP) 4. การรับในแดนกลาง 5. การรับจากกองหน้า 6. การตงั้ รับลูกเตะมมุ 7. การตัง้ รบั ลกู เตะกนิ เปล่า (WALL) 8. การเปล่ยี นจากการรบั เปน็ การรกุ 9. การสงั เกตพเิ ศษ 2. การวเิ คราะห์และประเมินผูเ้ ลน่ ในตำ� แหน่งต่างๆ 2.1 ผ้รู กั ษาประตู (GOALKEEPER) - ลกั ษณะนสิ ัย - การรับลกู บอล - การชกลูกบอล (PUNCHING) - การเตะจากประตู - การขวา้ งลูกบอล - ต�ำแหน่งการยนื (POSITION PLAY) - การตัดสินใจ เม่ือรับการยิง ณ จุดโทษ - จุดออ่ น - ลกั ษณะพิเศษ 2.2 แบคขวา-แบคซา้ ย (RIGHT AND LEFT BACK) - ลกั ษณะนิสยั - เทคนิค - พฤติกรรมท่ีมตี ่อฝา่ ยตรงขา้ ม (การตดั ลกู บอล, การสกัดกัน้ , การวง่ิ ตามฝา่ ยตรงข้าม, เลน่ แรง และเลน่ อย่างใช้ความคดิ เลน่ แรงแต่ไม่ใชค้ วามคดิ - มีบทบาทในการรุก (การเลี้ยงลูกบอล การส่งลูกผ่านฝ่ายตรงข้าม การหลบหนีฝ่าย ตรงขา้ ม จุดจบในการขนึ้ ไปทำ� เกมรุก) 15
คมู่ อื ผู้ฝกึ สอนกีฬาฟุตบอล - ตง้ั รับอย่างเดยี ว - ลักษณะพเิ ศษ 2.3 เซนเตอรฮ์ าลฟ์ ตัวหลัง (LIBERO OR SWEEPER) - ลักษณะนสิ ัย - เทคนคิ - คมุ ท่ีว่างในสนาม (SPACE MARKING) (คุมการส่งลกู ทะลทุ ะลวงผ่านแนวกองหลงั ) (THROUGH PASS) - คมุ คน หรอื ไม่ประกบตวั บุก - บทบาทในการรกุ (ช่วยในการรุกหรอื อยูข่ า้ งหลัง) - การสง่ั งานในการรับ 2.4 เซนเตอรฮ์ าล์ฟตัวหน้า (STOPPER) - ลกั ษณะนสิ ยั - เทคนคิ - ตำ� แหน่งในการเล่น (ติดตามศนู ย์หนา้ ออกไปทางปกี หรอื อยแู่ ต่กลางสนาม) - พฤตกิ รรมท่มี ีตอ่ ฝ่ายตรงข้าม (ดูเกณฑ์ของแบค) - บทบาทในการรกุ (ชว่ ยในการรุกหรืออยู่ข้างหลงั ) 2.5 กองกลางตัวรบั (DEFENSIVE MIDFIELD PLAYER) - ลกั ษณะนสิ ัย - เทคนิค - บทบาทในการรับ (ทำ� เกมรุกให้ชา้ ลง, ต�ำแหน่งในการยนื และการคุมคู่ต่อส)ู้ - บทบาทในการรกุ (การสง่ ลูก การเล้ยี งลูก จดุ จบในการทำ� เกมรุก) - ลกั ษณะพิเศษ 2.6 กองกลางตัวจ่าย (MIDFIELD SCHEMER OR PLAYMARKER) - ลักษณะทางรา่ งกาย - เทคนิค - บทบาทในการรกุ (ความพรอ้ มในการรบั ลกู , การแทรกตวั เขา้ ไป, การเปลยี่ นจงั หวะของ การเลน่ การสง่ ลูกบอล การส่งลกู ชง่ิ (WALL PASS) บุกเจาะโดยการเล้ียงลกู , ความ สามารถในการทำ� ประตู) - บทบาทในการรบั (ปลอ่ ยใหค้ ู่ตอ่ สู้เข้ามาใกล้ ตามคตู่ อ่ สู้ การตดั สนิ ใจ) 2.7 กองกลางตัวรุก (DEEP PLAYING ATTACKER) หรือ ศนู ยห์ นา้ ตวั ตำ่� - ลกั ษณะนิสัย 16
คมู่ อื ผฝู้ กึ สอนกฬี าฟุตบอล - เทคนิค - บทบาทในการรกุ (การเล้ยี งลกู , การส่งลูก, การส่งลูกช่งิ (WALL PASS), รศั มีการเล่น จุดจบในเกมรกุ ) - พฤตกิ รรมทีม่ ีต่อฝา่ ยตรงข้าม - ลักษณะพเิ ศษ 2.8 ศูนยห์ น้า (CENTRE FORWARD) - ลักษณะนิสัย - เทคนคิ - บทบาทในการรกุ (การเลย้ี งลกู การสง่ ลกู การสง่ ลกู ชงิ่ (WALL PASS), จดุ จบในการทำ� ประตู ความสามารถในการท�ำประตู - พฤตกิ รรมท่ีมีตอ่ ฝ่ายตรงข้าม - รศั มีการเล่น (การเปลยี่ นทเ่ี ล่น) - บทบาทในการรับ - ลกั ษณะพิเศษ 2.9 ปีกขวา-ปีกซ้าย (RIGHT AND LEFT WINGS) - ลักษณะนสิ ยั - เทคนิค - บทบาทในการรกุ (การเลย้ี งลกู การหลอกลอ่ การสง่ ลกู การสง่ ลกู ชงิ่ ความสามารถใน การทำ� ประต)ู - พฤตกิ รรมท่มี ตี อ่ ฝา่ ยตรงขา้ ม - รัศมีการเล่น (อยแู่ ต่ที่เส้น เรม่ิ จากเสน้ แลว้ เจาะเขา้ ไปข้างใน) - บทบาทในการรบั - ลกั ษณะพเิ ศษ 17
ค่มู อื ผู้ฝกึ สอนกฬี าฟตุ บอล แบบสงั เกตการณเ์ ลน่ ของนกั ฟตุ บอลรายบคุ คล 18
ค่มู อื ผ้ฝู กึ สอนกฬี าฟตุ บอล แบบวเิ คราะหก์ ารเล่นของทีม 19
คู่มอื ผูฝ้ ึกสอนกฬี าฟุตบอล บทที่ 3 การฝึกกลยุทธ์ (TACTICAL TRAINING) จากการวเิ คราะหห์ ลายๆ ครง้ั แลว้ จะเหน็ วา่ ขอ้ ผดิ พลาดของผเู้ ลน่ ไมว่ า่ จะเปน็ เรอ่ื งธรรมดาหรอื เรอ่ื งใหญๆ่ จะเปน็ ขอ้ ผดิ พลาดเกยี่ วกบั ตำ� แหนง่ และหนา้ ทใี่ นการเลน่ อยา่ งไรกต็ ามความรใู้ นเรอ่ื งเหลา่ นี้มักจะถูกละเลยไปในการจัดโปรแกรมการฝึกตามทฤษฎีสมัยใหม่ การฝึกเกี่ยวกับแทกติก ควรจะได้ รบั การกำ� หนดแนน่ อนวา่ เปน็ วธิ หี นง่ึ ในการปรบั ปรงุ และพฒั นามาตรฐานการเลน่ ของทมี มกั มปี ญั หาท่ี ว่าผ้ฝู กึ สอนไดอ้ ธิบาย หรอื อภปิ รายถกเถียงถงึ ความสำ� คญั ของสิง่ เหลา่ น้ใี ห้แกผ่ ูเ้ ล่นไดท้ ราบแต่ก็มกั จะ ไม่ค่อยได้ฝึกซ้อมกันอย่างหนักในเร่ืองแบบฝึกเก่ียวกับแทกติก และแบบฝึกสถานการณ์ที่เหมือนการ แขง่ จรงิ การครอบครองลกู บอล (BALL POSSESSION) การครอบครองลูกบอลเป็นเรื่องที่โปรแกรมการฝึกควรจะมีการเน้นเป็นพิเศษ เพราะเป็นส่วน ประกอบที่ส�ำคญั ของการเลน่ ฟตุ บอลสมัยใหม่ ทีมที่ได้ครอบครองลูกบอลจะมีโอกาสในการรุก ดงั นั้น ผลท่ีตามมาอย่างสมเหตุสมผล คือทีมที่ได้ครอบครองลูกบอลได้มากจะมีโอกาสในการท�ำประตู และ การทำ� ประตไู ดก้ เ็ ปน็ การตดั สนิ ผลการแขง่ ขนั ดงั นนั้ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งการครอบครองลกู บอล และ ชัยชนะจึงมีความสมั พนั ธก์ นั การรกุ และการรับ ทมี ใดจะเป็นฝ่ายรกุ หรือฝา่ ยรับข้ึนอย่กู ับโอกาสในการครอบครองลกู บอลในระหวา่ งการแข่งขนั ผู้ฝึกสอนควรท�ำให้เห็นชัดเจนว่า การครอบครองลูกบอลเป็นปัจจัยสูงสุดท่ีจะตัดสินการชนะหรือแพ้ และไม่ต้องสงสัยว่าความส�ำคัญในเรื่องนี้จะน�ำมาอภิปรายออกความเห็นกันในระหว่างการประชุม ระหวา่ งผเู้ ลน่ ดว้ ยกนั ผฝู้ กึ ควรเนน้ เรอ่ื งการครอบครองลกู บอลไวก้ บั ทมี ใหม้ าก เพราะถา้ หากไมส่ ามารถ ครอบครองลกู บอลไวก้ บั ทมี ไดแ้ ลว้ แบบแผนหรอื แบบฝกึ ในการโจมตคี ตู่ อ่ สู้ จะไมส่ ามารถนำ� มาใชไ้ ดเ้ ลย 20
คมู่ ือผู้ฝึกสอนกีฬาฟุตบอล จดุ ม่งุ หมายของแบบฝกึ : การครอบครองลูกบอล (BALL POSSESSION) 21
ค่มู อื ผู้ฝกึ สอนกีฬาฟุตบอล การครอบครองลกู บอล แบบฝึกขนั้ เริ่มตน้ แบบฝกึ ขน้ั เร่มิ ตน้ แบบฝึกขนั้ สงู 1. ผู้เล่นขว้างลูกบอลลอยข้ึนไปข้างหน้า แล้วตามลูกบอลไปและเล้ียงลูกบอลไว้เมื่อ แบบฝึกขั้นแข่งขัน ลูกบอลตกลง การเล้ียงลูกบอลตอ้ งมองไปรอบๆ (เป็นการฝึกใช้สายตาไปรอบๆ) 2. ท�ำเหมือนเดิม แต่เตะลูกบอลไปไกล กว่าเดิม ใช้หลายๆ วิธีในการรับลูกบอล (อก หน้าขา หลังเทา้ ขา้ งเทา้ ดา้ นใน ฝ่าเท้า) แบบฝึกข้ันสูง 1. คนมีลูกบอลขว้างลูกบอลลอยข้ึนแล้ว เคลื่อนตัวอย่างรวดเร็วไปยังท่ีใหม่ผู้เล่นอีกคน ต้องมองตามการเคล่ือนไหวและส่งลูกบอลกลับ จงั หวะเดียว 2. ทำ� เหมอื นขอ้ 1 แตค่ ราวนผี้ เู้ ลน่ คนแรก เตะลูกขนึ้ 3. ท�ำเหมือนเดิมแต่ใช้ระยะทางไกลกว่า เดมิ (ผ้รู บั สามารถใช้การโหม่งไดด้ ้วย) แบบฝึกขนั้ แข่งขัน 1. จ�ำนวนผู้เล่นเพ่ิมมากข้ึนผู้เล่นท่ีครอง ลกู บอลอยจู่ ำ� เปน็ ตอ้ งเลอื กวา่ จะสง่ ลกู บอลใหใ้ คร 2. ฝึกให้ชา้ ลง แลว้ จงึ ผา่ นลูกบอล 3. เคล่ือนตัวเข้าสู่ท่ีว่างหลังจากผ่าน ลูกบอลแล้วในสถานการณ์ที่มีฝ่ายตรงข้ามอยู่ ด้วย 22
คู่มอื ผฝู้ ึกสอนกีฬาฟุตบอล การฝกึ แบบสมบรู ณแ์ บบ (COMPLEX TRAINING) หมายถึงการฝึกท่ีเข้มข้นในการ ฝกึ จะเปน็ การพฒั นานกั ฟตุ บอลทง้ั สามดา้ นใน เวลาเดยี วกนั คอื ดา้ นสมรรถภาพ ดา้ นเทคนคิ และด้านกลยุทธ์ ลกั ษณะของแบบฝกึ ทแ่ี สดงไวใ้ นทน่ี เ้ี ปน็ แบบ 1 ต่อ 1 ซึ่งจะมีวิธีทีพ่ ฒั นาจากแบบฝึก ข้ันเร่ิมแรกไปถึงข้ันสูงข้ึนและในท่ีสุดก็จะจบ ลงท่ีระดบั การแข่งขันจรงิ 23
คู่มอื ผ้ฝู ึกสอนกีฬาฟุตบอล การน�ำการฝึกแบบ 1 ตอ่ 1 ไปใชใ้ นการเล่น 1. แบบฝึกข้ันเรมิ่ ตน้ ในการฝกึ ขน้ั เรมิ่ ตน้ ผเู้ ลน่ ทไี่ ดค้ รองลกู บอล (ฝา่ ยรกุ ) จะเลยี้ ง ลูกบอลและจะพยายามท่ีจะล่อหลอกฝ่ายรับ เพื่อท่ีจะสร้างท่ีว่าง ขึน้ หรอื เล้ยี งลกู บอลผ่านใหไ้ ด้แบบฝึกควรคอ่ ยๆ ท�ำอย่างมรี ะบบ ฝ่ายรบั จะค่อยๆ เพมิ่ ความพยายามขน้ึ เรือ่ ยๆ จนกระทั่งกลายเปน็ ฝ่ายรบั ท่ีน่าเกรงขาม 2. แบบฝึกข้นั สูง การใชร้ ปู แบบการฝกึ แบบตวั ตอ่ ตวั นจี้ ะมกี ารเปลยี่ นหนา้ ทจี่ าก ฝา่ ยรกุ เปน็ ฝา่ ยรบั หลงั จากฝา่ ยรบั เปน็ ฝา่ ยรกุ เมอ่ื ลกู บอลถกู แยง่ ไป (หรอื แยง่ ลกู มาได)้ จดุ มงุ่ หมายของแบบฝกึ นค้ี อื ควรจบลงทกี่ ารยงิ ประตู หรอื การผา่ นลกู บอล เมอื่ จบเชน่ นแ้ี ลว้ กจ็ ะเรม่ิ ฝกึ ตง้ั แตต่ น้ ใหม่ พ้นื ทแ่ี ละเวลาทใ่ี ช้ในการฝกึ จะคอ่ ยๆ เพ่มิ ขนึ้ เร่อื ยๆ 24
คู่มือผูฝ้ กึ สอนกฬี าฟุตบอล 3. แบบฝกึ ขนั้ แขง่ ขนั การฝึกข้ันแข่งขัน ผู้เล่นเป็นฝ่ายรุกและฝ่ายรับ 2 คจู่ ะเลน่ อยใู่ นพนื้ ทค่ี รงึ่ หนง่ึ ของเขตโทษ ทงั้ คมู่ ผี รู้ กั ษา ประตูคอยรับลูกบอลอยู่ด้วยองค์ประกอบทั้งหมดของ การเลน่ แบบตวั ตอ่ ตวั จะตอ้ งนำ� มาฝกึ หดั นน่ั คอื การรบั ลูกบอล, การครองลูกบอลเอาไว้ให้ได้ การสร้างท่ีว่าง การยงิ ประตขู องฝา่ ยรกุ ในขณะทฝี่ า่ ยรบั กพ็ ยายามแยง่ ลูกบอล พยายามท�ำที่ว่างให้แคบลงและพยายาม ป้องกนั ไม่ให้ฝา่ ยรุกยิงประตไู ด้ 25
คู่มือผู้ฝกึ สอนกฬี าฟตุ บอล กฎของความลึก (DEPTH) คือ การแบ่งแยกระดบั ขนั้ ต่างๆ ของการรกุ และการรบั 1. ความลึกในการรกุ คอื มีผเู้ ลน่ อกี คนชว่ ยสนับสนนุ หรือประคอง (SUPPORT) ในการรุกความ ลึกในการรบั คอื มผี ู้เลน่ อีกคนชว่ ยในการปอ้ งกนั คุมพืน้ ทีอ่ ยดู่ า้ นหลัง (COVERAGE) กฎเกณฑ์พื้นฐานของการเล่นฟุตบอลข้อหน่ึงนั่นคือ ต้องมีคนอยู่ใกล้ลูกบอลมากกว่าฝ่ายตรงข้ามอยู่ 1 คนเสมอ และการฝึกซอ้ มกฎทงั้ 2 ประการน้นั ไม่ควรฝึกเฉพาะกลยทุ ธ์ ส่วนบคุ คลควรจะฝกึ ท้ังทมี ตอ้ งใหผ้ เู้ ลน่ ฝึกซอ้ มการใช้กฎทงั้ สอง ท้งั ในแง่ทฤษฎแี ละในการแข่งขนั จรงิ 2. กฎในการรกุ และการรบั อกี ขอ้ หนงึ่ คอื ผเู้ ลน่ ทกุ คนตอ้ งคำ� นงึ ถงึ ความสำ� คญั ของสง่ิ เหลา่ นเี้ สมอ คอื - การครองลูกบอล - การทำ� ประตู - การป้องกันประตู ผู้เล่นทุกคนต้องช่วยสนับสนุนเพ่ือนร่วมทีมในการรุก และเช่นเดียวกันก็ต้องช่วยสนับสนุนการ ป้องกนั ดว้ ย ถ้าหากถกู แยง่ ลูกบอลไป ในการฝกึ ซอ้ ม โคช้ จะตอ้ งคอยแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ งของผเู้ ลน่ โดยใชก้ ารวเิ คราะหก์ ารเลน่ และการใช้ จติ วทิ ยาในการพดู กับผเู้ ลน่ อยา่ งเหมาะสม 26
คู่มอื ผู้ฝกึ สอนกีฬาฟตุ บอล รูปภาพแสดงถงึ การแบ่งแยกความลึกออกเป็นระดบั ต่างๆ ของการรกุ และการรบั ผูฝ้ ึกสอนจะใช้ขั้นตอนตา่ งๆ ในการฝึกซ้อม ดงั นี้ 1. ฝกึ โดยเน้นถึงความส�ำคัญของการครองลูกบอล 2. ฝกึ แบบ 1 x 1 คอื ผ้เู ลน่ 1 คน เปน็ ฝ่ายรุก และอกี หน่ึงคนเป็นฝา่ ยรบั สลบั กันเปน็ ฝา่ ยตรง ขา้ มเม่ือถูกอีกฝ่ายแยง่ ลกู ไป ฝึกการครอบครองลูกบอลและทำ� ประตู 3. ฝึกแบบ 2 x 1 คอื มฝี ่ายรุก 2 คน ฝา่ ยรบั 1 คน ฝึกใหผ้ ู้เล่นอกี คนช่วยสนับสนุนในการรุก ผเู้ ล่นจะฝกึ หน้าทีข่ องการเลน่ แบบรกุ 2 อยา่ งคอื การท�ำประตแู ละการสนับสนุน 27
คู่มอื ผูฝ้ กึ สอนกีฬาฟุตบอล 4. ฝกึ แบบ 1 x 2 คอื ฝา่ ยรุก 1 คน ฝา่ ยรับ 2 คน ผ้ยู ิงประตูจะฝึกซอ้ มพร้อมไปกับฝา่ ยรับซ่ึงท�ำ หน้าท่ีคมุ ตัวตอ่ ตัว ฝ่ายรบั คนทส่ี องจะชว่ ยฝา่ ยรับคนทีห่ นึง่ ในการคมุ พน้ื ท่ี และคอยสอด และคุ้มกัน (COVER) 5. ฝึกแบบ 2 x 2 ผูเ้ ลน่ ฝ่ายรกุ มี 2 คน คอื ผู้ยงิ ประตู กบั คนคอยสนับสนนุ ผเู้ ล่นฝ่ายรับมี 2 คน คือ คุมตวั ต่อตัว 1 คน และคอยช่วยคุมพ้ืนที่ 1 คน 6. รปู แบบการฝกึ แบบ 2 x 1 หรอื 1 x 2 คอ่ ยๆ เพม่ิ เปน็ 2 x 3 หรอื 3 x 2 และ 4 x 4 ตามลำ� ดบั การฝึกแบบเขม้ ขน้ -พฤตกิ รรมในการรุกและการรบั จุดมุ่งหมายของทีมทีด่ กี ค็ ือ ตอ้ งมคี วามสามารถทั้งในการรุก และการรบั เทา่ ๆ กัน ดงั น้ันจงึ ตอ้ ง มกี ารฝึกซ้อมการกระจายบทบาทการรุกและการรบั การฝึกแบบ 2 x 1 1. ฝ่ายรุก 2 ฝ่ายรบั 1 ฝ่ายรุก 2 คน จะฝึกหน้าที่ท่ีส�ำคัญ 2 อย่าง คอื หนา้ ที่ในการทำ� ประตู และหนา้ ทีใ่ นการ จา่ ยหรือส่งผา่ นลูก การฝึกแบบ 2 x 1 ขนึ้ ไปจนกระท่ัง 11 x 11 ตามลำ� ดบั ผู้ฝึกสอนต้องสังเกตการเล่นของผู้เล่น เพอ่ื นำ� ไปปรบั การเลน่ ของผเู้ ลน่ ใหเ้ หมาะสมใน การแข่งขันจรงิ คร้งั ตอ่ ไปได้ 28
คมู่ ือผฝู้ กึ สอนกฬี าฟตุ บอล 29
คมู่ ือผฝู้ ึกสอนกีฬาฟุตบอล แบบฝึกข้นั เริ่มต้น แบบฝึกข้ันสงู การฝึกแบบ 2 x 1 สมบูรณ์แบบ 1. แบบฝกึ ขั้นเริ่มต้น เมอ่ื อยใู่ กลป้ ระตหู นา้ ทขี่ องผเู้ ลน่ ทที่ ำ� หนา้ ท่ี รกุ และโดยเฉพาะตวั จา่ ยลกู บอล (SCHEMER) กค็ อื การใหต้ วั ยงิ ประตู (STRIKER) อยใู่ นตำ� แหนง่ ทจ่ี ะยงิ ประตไู ด้ ตวั ยิงประตูควรพยายามหนีจากผู้เล่นฝ่าย ตรงข้าม โดยการเคลื่อนตัวเข้าไปให้ลึกด้านหน้า ประตู หรอื ออกไปสปู่ กี สิ่งท่ีสำ� คญั ล�ำดบั แรก คือ แบบฝกึ ข้นั แขง่ ขนั การครองลูกบอล ดงั นั้น การผ่านลูกบอลกลบั ไปให้ ตวั จา่ ยจงึ ตอ้ งทำ� อยา่ งดี แตก่ ต็ อ้ งหาโอกาสทจี่ ะยงิ ประตดู ว้ ยตลอดเวลาโดยตวั จา่ ยใชท้ ว่ี า่ งใหม้ ปี ระโยชน์ ในการรกุ เมือ่ มโี อกาส ผเู้ ลน่ ฝ่ายรบั ม่งุ เฉพาะการคมุ คนใกลช้ ิดตัวที่สดุ (CLOSE – MARKING) ของตัว ยิงประตู 2. แบบฝกึ ขัน้ สงู มีฝา่ ยรุก 3 คน (STRKIER 2 คน ต่อ MAN-MARKING ของฝา่ ยรบั 2 คน) ย่ิงมฝี ่ายรกุ มากเท่าไร โอกาสในการเคลื่อนตัวเพ่ือเปิดท่ีว่างและการส่งลูกบอลมีมากขึ้น และผู้เล่นท่ีเป็นตัวจ่าย จะต้องตาม เกมให้ทันและใช้ประโยชน์ให้ได้ อีกอย่างหน่ึงท่ีต้องท�ำคือ การยิงประตูให้ได้ และจะต้องไม่มองขา้ ม ความเป็นไปได้ของการสง่ ลูกบอลกลับหลัง (BACK PASSESS) มาให้ในขณะทไ่ี ม่สามารถพาลูกบอลไป ขา้ งหน้าได้ หนา้ ที่ของผเู้ ลน่ ทีเ่ ปน็ MAN MARKING ของฝา่ ยรับกเ็ หมือนเดมิ 30
ค่มู ือผู้ฝึกสอนกีฬาฟุตบอล SCHEMER = ตวั จา่ ย STRIKER = ตวั ท�ำประตู 3. แบบฝกึ ข้ันแขง่ ขนั แบบฝึกนจี้ ะมผี ูเ้ ลน่ ทเี่ ป็นตัวยงิ ประตู และตวั จา่ ยมากขนึ้ เพ่อื มุ่งไปสู่ การฝกึ ใชท้ ว่ี า่ งใหเ้ ปน็ ประโยชนแ์ ละการยงิ ประตเู พม่ิ จำ� นวนฝา่ ยรกุ และ ฝา่ ยรบั ขน้ึ ฝา่ ยรบั เล่นเหมอื นเดมิ 31
คมู่ อื ผู้ฝึกสอนกีฬาฟุตบอล * COMPLEX TRAINING คอื การฝกึ ท่สี มบูรณ์แบบเพราะจะได้ท้งั สมรรถภาพ เทคนคิ และกลยทุ ธใ์ นเวลาเดยี วกัน เป็นวธิ กี ารฝกึ ฟตุ บอลสมัยใหม่ 32
ค่มู อื ผู้ฝกึ สอนกีฬาฟตุ บอล 1. แบบฝกึ ขน้ั เริ่มตน้ 1 : 2 ฝ่ายรุกมีเพียงคนเดียว และจะต้องใช้แทก ติกและเทคนิคทุกอย่างที่มี เพื่อจะสามารถยิง ประตูใหไ้ ด้ ฝา่ ยรับทเี่ ปน็ MAN-MARKER จะถูก ชนี้ ำ� โดยฝา่ ยรบั ทท่ี ำ� หนา้ ที่ COVER และพยายาม ทจ่ี ะครองลกู บอลใหไ้ ด้ ถา้ MAN-MARKER พลาด คนท่ี COVER ก็จะเข้ามาและคนที่พลาดที่จะท�ำ หนา้ ทหี่ มนุ ลงไป COVER แทน (คอื ยงั คงใหจ้ ำ� นวน ของฝ่ายตนมากกว่าฝา่ ยตรงข้าม) 2. แบบฝึกข้ันสงู 2 : 3 ฝา่ ยรกุ มี 2 คน และฝ่ายรบั มี 3 คน ฝา่ ยรับท่ีเพ่ิมเขา้ มาท�ำให้ความเปน็ ไปได้ในการป้องกันมมี าก ขน้ึ ฝา่ ยรกุ กจ็ ะต้องพยายามหาโอกาสท่ีจะเข้าท�ำประตู โดยการส่งผา่ นลกู บอล เลี้ยงและอนื่ ๆ คนทท่ี �ำ หนา้ ท่ี COVER จะทำ� หนา้ ทส่ี งั่ เกม ประสานงานหนกั ขนึ้ และการเลน่ ตามตำ� แหนง่ ของเขากย็ งุ่ ยากขนึ้ ดว้ ย 3. แบบฝึกขึ้นแข่งขนั 3 : 4 จะเพ่ิมจ�ำนวนผู้เล่นมากข้ึนตามล�ำดับ โดยยังให้ฝ่ายรับมีจ�ำนวนมากกว่าฝ่ายรุก และฝ่ายรุก พยายามบกุ เขา้ ไปยงิ ประตู ตอนนฝ้ี า่ ยรกุ ตอ้ งใชก้ ฎทกุ อยา่ งของการรกุ ในการพยายามเจาะแนวปอ้ งกนั ของฝ่ายรบั ท่ีท�ำหน้าท่ี MAM – TO – MAN และการคมุ พื้นท่ี (SPACE – MARKING) 33
ค่มู อื ผ้ฝู กึ สอนกฬี าฟุตบอล 34
คูม่ ือผฝู้ กึ สอนกฬี าฟตุ บอล การฝกึ แบบเข้มข้น – พฤตกิ รรมการรกุ และการรับแบบ 2 : 2 35
คู่มอื ผู้ฝกึ สอนกฬี าฟุตบอล การใช้แบบฝึกแบบ 2 x 2 ในการฝึกเปน็ ทีม แบบฝึกขัน้ เร่มิ ตน้ 2 x 2 ใชพ้ ้นื ทใ่ี หม้ ฝี า่ ยรุก 2 คน และฝ่ายรับ 3 คน จดุ มงุ่ หมายขนั้ พ้ืนฐาน : พยายามครองลกู บอลไว้ และเปล่ียนจากฝา่ ยรุกเปน็ ฝา่ ยรบั หรอื จาก ฝา่ ยรบั เป็นฝา่ ยรกุ แบบฝกึ น้ีเปน็ แบบฝกึ หนา้ ท่ี 4 อย่างท่ใี ชใ้ นการแขง่ ขนั จรงิ นน้ั คือฝา่ ยรกุ ทีเ่ ปน็ ตัวยงิ ประตแู ละเปน็ ตวั สนบั สนนุ ตอ่ สกู้ บั ฝา่ ยรบั 2 คน ทที่ ำ� หนา้ ทคี่ วบคมุ และคมุ พนื้ ทผี่ เู้ ลน่ ทกุ คนตอ้ งสามารถ ทำ� หนา้ ท่ี 4 อย่างนไี้ ด้ แบบฝกึ ข้ันสงู คล้ายแบบฝึก 1x1 นนั้ คือเป็นการพฒั นาใหม้ ีพื้นท่ี เพิ่มขนึ้ และมงุ่ ไปสู่การยงิ ประตู แบบฝกึ ขน้ั แข่งขัน ฝึกในพ้ืนทคี่ รึ่งหนงึ่ ของสนาม ทง้ั ทมี รุกและทมี รบั (รวมผรู้ กั ษาประตูดว้ ย) แตโ่ คช้ จะมอบหมาย หนา้ ทีใ่ ดหน้าทหี่ นงึ่ ให้เฉพาะคน การเลน่ ไปในเชิงแข่งขนั มากขึ้น เพ่อื ฝกึ การใชก้ �ำลังท่ีจ�ำเป็นต้องใชใ้ น การแขง่ ขัน 36
คู่มอื ผฝู้ ึกสอนกีฬาฟุตบอล การใชแ้ บบฝึกแบบ 2 x 2 ในการฝึกเป็นทมี 2 x 2 – 11 x 11 ขอ้ สังเกตตอ่ ไปน้จี ะเหน็ ได้ชัดเจนว่าเนอื่ งจากการเล่นแบบ 2 x 2 นั้น ขึ้นอยูก่ บั การครองลูกบอล จงึ ควรจะฝกึ โดยใช้ฝ่ายรกุ 2 คน กบั ฝา่ ยรบั 2 คน จากแบบฝึกท่ีผ่านมาจะสังเกตได้ว่าการรุกที่ดีต้องมีความลึก (เช่นเดียวกับการับท่ีดีเหมือนกัน) ดังนน้ั จงึ ควรจดั การโดยให้ฝ่ายรุกทเี่ ป็น STRIKER เล่นโดยมีฝ่ายรกุ อีกคนคอย SUPPORT อยูข่ ้างหลงั และให้ฝา่ ยรับเป็น MAN – MARKER มผี ูช้ ว่ ยคอย COVER พื้นทวี่ ่างอยขู่ ้างหลงั แบบฝกึ แบบ 2 x 2 เปน็ หนว่ ยเลก็ ทสี่ ดุ ทก่ี ฎโดยทว่ั ๆ ไปของการเลน่ ฟตุ บอลสามารถนำ� มาฝกึ หดั ได้ ฝ่ายท่ีได้ลกู บอลมาครอง คือฝา่ ยรุกและคตู่ อ่ ส้กู ลายเป็นฝ่ายรบั ไป ผู้เล่นทไ่ี ดค้ รองลกู บอล จะตอ้ ง รตู้ วั วา่ ตอ้ งทำ� หนา้ ทรี่ กุ และผเู้ ลน่ อกี คนหนง่ึ กต็ อ้ งคอย SUPPORT สว่ นฝา่ ยรบั นน้ั ผเู้ ลน่ ทอ่ี ยใู่ กลล้ กู มาก ท่สี ุดจะท�ำหน้าที่ MAN – MARKER ในขณะทผี่ ู้เลน่ อกี คนหนึ่งทำ� หนา้ ท่ีชว่ ย COVER ให้ ทัง้ ฝ่ายรุกและ ฝา่ ยรบั ไมค่ วรเลน่ แนวเดยี วกนั (LINE) มฉิ ะนนั้ จะทำ� ใหล้ มื กฎของความลกึ การฝกึ ควรพฒั นาไปสแู่ บบ ฝกึ แบบ 11 x 11 ซง่ึ โดยพ้นื ฐานแลว้ บทบาทของผเู้ ล่นยังคงเหมือนเดิม แตเ่ นอื่ งจากจำ� นวนท่ีผูเ้ ล่นเพ่มิ ขนึ้ ฝา่ ยรุกกจ็ ะมโี อกาสมากขน้ึ ซ่ึงกจ็ ะเปน็ การเพม่ิ ความระมัดระวังให้แกฝ่ ่ายรบั มีมากขนึ้ ดว้ ย หนา้ ทขี่ องโคช้ ในฐานะผคู้ วบคมุ การเลน่ จะมคี วามสำ� คญั มากขน้ึ โคช้ จะเนน้ หนกั ในเรอ่ื งของการ ดวู า่ ผเู้ ลน่ ทกุ คนตระหนกั ดถี งึ ความมงุ่ หมายทางเทคนคิ และโคช้ จะพยายามคน้ หาสาเหตขุ องขอ้ บกพรอ่ ง ของผเู้ ลน่ ทุกคน โค้ชจะเพมิ่ การฝึกจาก 2 x 2 เป็น 3 x 3, 4 x 4, 5 x 5, 7 x 7, 8 x 8, ไปจนถงึ 11 x 11 ตาม มาตรฐานการเล่นท่ผี ้เู ลน่ เลน่ ได้ตามแตว่ ่าจะตอ้ งการฝกึ แบบไหน 37
ค่มู ือผ้ฝู กึ สอนกีฬาฟุตบอล ในการฝึกขน้ั แข่งขนั เทคนิคและสถานการณ์การเล่นจะเปน็ สว่ นประกอบสำ� คญั และต้องอย่ใู น ระดบั ทเี่ หมอื นกนั ไปแขง่ กบั ทมี อนื่ จรงิ ๆ ดงั นน้ั การจดั โปรแกรมการฝกึ ตอ้ งมรี ปู แบบของการฝกึ ทแี่ สดง การจัดโครงสรา้ งของทมี รวมอยดู่ ว้ ย รูปแบบการปอ้ งกันของผ้รู กั ษาประตู จากการวิเคราะห์การแข่งขันฟุตบอลโลก โดยเฉพาะลักษณะพิเศษ ในการยิงประตูจะน�ำขึ้นมา เพื่อน�ำการฝึกมีผลต่อการเตรียมทีมของผู้ฝึกสอนเป็นอย่างมาก การวิเคราะห์การยิงประตูในลักษณะ ตา่ งๆ ในฟตุ บอลโลกทเ่ี กดิ ขน้ึ ทบ่ี รเิ วณดา้ นหนา้ ของประตู ซง่ึ เปน็ ประตทู ยี่ งิ ไดอ้ ยา่ งไรในบรเิ วณใด และ มีการป้องกันอย่างไรในบริเวณที่มีการยิงประตูน้ี รูปแบบอะไรบ้างที่ถูกน�ำมาใช้ในการป้องกันการเสีย ประตู จากนนั้ จะพจิ ารณาใหล้ งลกึ ไปถงึ หนา้ ทขี่ องฝา่ ยปอ้ งกนั และระบบการเลน่ โดยจดุ แรกจะเรมิ่ จาก ผู้รักษาประตู ในฟุตบอลโลกประตูท่ีได้น้ันส่วนมากจะมาจากแดนที่ใกล้กับประตู จึงท�ำให้มีค�ำถาม มากมายเกิดขึ้นเกี่ยวกับผู้รักษาประตู และท่ีส�ำคัญที่สุดคือระบบป้องกัน ผู้รักษาประตูท่ีมีชื่อเสียงอยู่ มากมายในปัจจุบัน พวกเขาจะนิยมฝึกหน้าท่ีในการรับผิดชอบในการควบคุมผู้เล่นฝ่ายป้องกันในแดน หนา้ ประตู การคุมพ้นื ทีต่ ลอดจนถงึ การผลดั ดนั เกมให้ออกไปจากเขตประตแู ละพนื้ ท่ีอันตราย 38
ค่มู อื ผ้ฝู กึ สอนกฬี าฟตุ บอล รูปแบบการปอ้ งกนั ของผู้รักษาประตู 39
คู่มือผูฝ้ กึ สอนกีฬาฟตุ บอล แบบฝกึ ขั้นเร่มิ ตน้ การฝกึ ผรู้ กั ษาประตอู อกมารบั – สง่ ลกู บอล จากข้างใดข้างหน่ึงของประตูให้ผู้รักษาประตูออก มารับ หรือชก หรอื ปัดลูก แบบฝึกขึน้ สูง ฝึกออกมารับลูกบอลกลางประตูจากการ ผ่านลูกบอลทั้ง 2 ข้าง ของประตู และมีผู้เล่น ฝา่ ยรกุ คนหนง่ึ คอยยงิ ประตูและคอยรบกวน แบบฝกึ ขัน้ แข่งขนั จ�ำนวนของฝ่ายรุกและฝ่ายรับเพิ่มจ�ำนวนมากขึ้น ฝ่ายรับป้องกันตัวต่อตัว โดยฝึกให้ผู้รักษาประตู ป้องกันพื้นที่ที่ว่างอยู่ และเมื่อฝ่ายรับครอบครองลูกบอลได้ให้ผู้เล่นที่ได้ลูกบอลส่งลูกบอลให้ผู้รักษา ประตู เพื่อเริ่มต้นเกมรุก เป็นการประสานงานกันและ สรา้ งความเข้าใจในการพฒั นาการเล่นอีกดว้ ย ขอ้ แนะนำ� 1. อยา่ อยบู่ นเสน้ ประตูตลอดเวลา 2. อยใู่ นตำ� แหนง่ เตรยี มพรอ้ ม 3. สัง่ การและประสานงานกับกองหลัง 40
คมู่ อื ผู้ฝกึ สอนกีฬาฟุตบอล รปู แบบการปอ้ งกนั ของเซนเตอร์ฮาลฟ์ ตวั สดุ ท้าย (Libero or Sweeper) 41
คมู่ อื ผู้ฝกึ สอนกีฬาฟตุ บอล เซนเตอร์ฮาลฟ์ ตัวสดุ ท้าย หนา้ ทห่ี ลกั คือการคุมพื้นทวี่ ่าง (Space making) ของผู้เลน่ ฝ่ายปอ้ งกนั จะตอ้ งไดร้ บั การฝึกใน บรเิ วณของการแขง่ ขนั จรงิ และฝกึ สถานการณก์ ารเลน่ ใหเ้ หมอื นกบั การแขง่ ขนั จรงิ มากทส่ี ดุ โดยฝกึ พน้ื ฐานการเลน่ “ผเู้ ลน่ ฝา่ ยรกุ 1 คน ตอ่ ฝา่ ยปอ้ งกนั 2 คน” โดยมเี ซนเตอรฮ์ าลฟ์ ตวั สดุ ทา้ ยทท่ี ำ� หนา้ ทเี่ ปน็ ตวั กวาด (Liber or Sweeper) อยู่ดา้ นหลงั ผ้เู ลน่ ฝ่ายเดียวกนั ทที่ �ำหนา้ ทค่ี ุมคนตอ่ คน (Man-marking) สงั่ เกมการเลน่ และพรอ้ มเสมอที่จะคอยทำ� หน้าทส่ี อดตดั ลกู บอล หรอื คอยรับลกู บอลจากฝ่ายเดยี วกัน ท่จี ะสง่ ลกู บอลกลับหลงั มาให้เมื่อได้ครอบครองลูกบอล จะเปลยี่ นจากการรบั เปน็ การรกุ ทันที จ�ำนวนของผู้เล่นฝ่ายรุกและฝ่ายรับเพ่ิมข้ึน โดยมีเซนเตอร์ฮาล์ฟตัวสุดท้ายอยู่ด้านหลังเหมือน เดมิ แตส่ ง่ิ สำ� คญั ทจ่ี ะตามมาคอื การฝกึ จากการรบั เปน็ การรกุ กลบั แบบฉบั พลนั (Counter attack) โดย การใหฝ้ า่ ยรกุ ไลต่ ามลกู ทค่ี รอบครองไดส้ ง่ กลบั หลงั การดงึ เกมเชน่ นเ้ี ปน็ ความตงั้ ใจและเปน็ กลยทุ ธอ์ ยา่ ง หนงึ่ เพื่อทจ่ี ะใหท้ มี ฝ่ายตรงข้ามตกหลมุ พราง เปดิ พืน้ ทดี่ า้ นหลงั ไว้เป็นการเปิดโอกาสใหม้ ีพื้นทวี่ ่างใน การเขา้ โจมตอี ยา่ งมาก และเปน็ การผอ่ นคลายความกดดนั จากคตู่ อ่ สู้ โดยการไดค้ รอบครองลกู บอลไวด้ ว้ ย 42
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166