Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อาหารเรื่องน่ารู้

อาหารเรื่องน่ารู้

Description: namtaal_sukhphaaphaelakaarcchadkaardaankaarbriophkhthiiehmaaasm (2)

Search

Read the Text Version

นาํ้ ตาล สุขภาพ และการจัดการด้านการบรโิ ภคท่เี หมาะสม บรรณาธิการ จันทนา อ้ึงชศู ักดิ์ พมิ พ์ครง้ั แรก กนั ยายน 2555 จำ�นวน 1,000 เล่ม สนบั สนนุ โดย  ส�ำ นักงานคณะกรรมการอาหารและยา ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการอาหารแหง่ ชาติ  แผนงานเครือขา่ ยควบคมุ โรคไม่ตดิ ตอ่ พิมพท์ ่ี โรงพมิ พ์ องคก์ ารสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถมั ภ์

สารบญั บทน�ำ หนา้ พฤติกรรมการบริโภคของคนไทย 1 นํ้าตาลกบั สขุ ภาพ 3 ผลกระทบในเชงิ เศรษฐศาสตร์และคุณภาพชวี ิต 21 ขอ้ ก�ำ หนดและเกณฑ์ท่ีเหมาะสมของนา้ํ ตาลในอาหาร 35 หลักฐานทแ่ี สดงถึงผลการด�ำ เนนิ การ 45 ตามนโยบายทางด้านโภชนาการในโรงเรยี น 63 แนวทางการควบคมุ และจ�ำ กดั การบริโภคอาหารหวาน และเครอื่ งด่มื ผสมน้าํ ตาลโดยจ�ำ แนกตามแหล่งผลติ 81 การรณรงค์และมาตรการทางกฎหมาย เพือ่ ปรับพฤตกิ รรมบริโภค 97 ข้อเสนอแนะมาตรการและการคน้ คว้าวจิ ัยเพิ่มเติม 119 นา้ํ ตาล สขุ ภาพ และการจดั การด้านการบริโภคที่เหมาะสม ก

4ข นา้ํ ตาล สุขภาพ และการจัดการด้านการบริโภคที่เหมาะสม

บทนำ� นํ้าตาลเป็นคาร์โบไฮเดรตชนิดหน่ึงที่เป็นหน่วยย่อยที่เล็กท่ีสุด และเปน็ อาหารใหพ้ ลงั งานทส่ี ำ�คญั ของรา่ งกาย แตห่ ากบรโิ ภคมากเกนิ ไปหรือถ่ีบ่อยเกินไป ก็จะเกิดผลเสียต่อร่างกาย โดยเฉพาะท�ำ ให้เพิ่ม ความเสย่ี งตอ่ ภาวะอว้ นและโรคทเี่ กดิ เนอื่ งจากความอว้ น เชน่ เบาหวาน หลอดเลอื ดหัวใจ และน้าํ ตาลยังเปน็ ปจั จัยสำ�คญั ทีก่ อ่ ใหเ้ กดิ โรคฟันผุ ในภาวะปกติ น้ําตาลท่ีเราบริโภคจะถูกย่อยและถูกดูดซึมเข้าสู่ กระแสเลือด ฮอร์โมนอินซูลินจะท�ำ หน้าที่นำ�นํ้าตาลจากกระแสเลือด เข้าสู่เซลของเนื้อเย่ือกล้ามเนื้อและเนื้อเย่ือไขมัน เพ่ือรักษาสมดุลของ ระดับนํ้าตาลในกระแสเลือด นํ้าตาลในเซลจะถูกเก็บเป็นพลังงานใน รูปไกลโคเจน และถูกนำ�ออกมาใช้เม่ือร่างกายต้องการพลังงาน แต่ หากบริโภคนํ้าตาลมากเกินไปอย่างต่อเนื่องจะทำ�ให้เกิดความไม่สมดุล และรบกวน ระบบการทำ�งานของเซลในการตอบสนองต่ออินซูลิน ซ่ึงในระยะยาวจะทำ�ใหเ้ กดิ ภาวะอ้วนและโรคเร้อื รงั หลายอยา่ งได้ น้ําตาลอาจแบ่งตามลักษณะทางเคมีเป็น น้ําตาลเชิงเดี่ยว (Monosaccharaides) ได้แก่กลโู คส ฟรกุ โตส และกาแลคโตส นาํ้ ตาล เชงิ คู่ (Disaccharides)ไดแ้ ก่ซูโครส หรอื เรียกกนั ท่ัวไปวา่ น้ําตาลทราย ในปี 1989 คณะกรรมการนโยบายอาหารดา้ นการแพทย์ (Committee on Medical Aspects of Food Policy; COMA) ยงั ไดแ้ บง่ นาํ้ ตาลเปน็ 3 กลุ่มใหญๆ่ ตามการเกิดฟนั ผุ คอื Intrinsic sugar เปน็ นํ้าตาลที่อยู่ ในเซลของอาหารตามธรรมชาตโิ ดยไมผ่ า่ นกระบวนการใดๆ นา้ํ ตาลนม (Milk sugars) เปน็ นาํ้ ตาลทอี่ ยใู่ นนมและผลติ ภณั ฑจ์ ากนมตามธรรมชาติ และนา้ํ ตาลซึ่งไม่ใช่ทงั้ 2 ประเภททก่ี ลา่ วมา คือ Non-milk extrinsic sugars เป็นนํ้าตาลท่ีสกัดออกมาและแปรรูปแล้ว เช่นนํ้าตาลทราย (ซโู ครส) กลูโคสไซรปั หรือน้ําผลไม้ นา้ํ ตาล สุขภาพ และการจดั การด้านการบรโิ ภคทเ่ี หมาะสม 1

นอกจากนี้ ยงั มคี ำ�วา่ Added sugar หรือ Free sugars ซึง่ มี ความหมายใกล้เคียงกบั Non-milk extrinsic sugars โดยใหน้ ยิ ามว่า หมายถึงนํ้าตาลเชิงเดี่ยวหรือเชิงซ้อนท่ีเติมลงในอาหาร ที่เติมบนโต๊ะ อาหาร ทงั้ ทเ่ี ปน็ อาหารปรงุ เอง อาหารอตุ สาหกรรม รวมทัง้ นํ้าตาล ธรรมชาติในนํ้าผ้งึ น้ําหวาน นาํ้ เชอ่ื ม และนา้ํ ผลไมค้ ้ัน แต่ไมน่ ับนํา้ ตาลตามธรรมชาตใิ นอาหาร น้ําตาลจัดเป็น “พลังงานสูญเปล่า” เน่ืองจากให้แต่พลังงาน อยา่ งเดียวโดยไม่ใหส้ ารอาหารอน่ื ใดเลย โดย นํ้าตาล 1 กรมั จะให้ พลงั งาน 4 กิโลแคลอรี ในชว่ งศตวรรษท่ีผ่านมา ความเจรญิ ทางอตุ สาหกรรมและความ มง่ั คงั่ ของสงั คมท�ำ ใหล้ กั ษณะการกนิ อาหารของมนษุ ยเ์ ปลยี่ นไป อาหาร ประเภทคารโ์ บไฮเดรตสงั เคราะห์ เชน่ นา้ํ ตาล แปง้ ขดั ขาว เปน็ อาหาร ทบ่ี รโิ ภคกนั ในปรมิ าณสงู และมคี วามถบ่ี อ่ ยครง้ั มากขนึ้ ในแตล่ ะวนั ท�ำ ให้ เกดิ โรคตา่ งๆ ตามมาอยา่ งตอ่ เนือ่ ง อนั เปน็ ผลโดยตรงจากพฤติกรรม การบรโิ ภคทไี่ มเ่ หมาะสม ดว้ ยเหตดุ งั กลา่ วจงึ มกี ลมุ่ นกั วชิ าการและกลมุ่ องคก์ รท่ีเหน็ ปัญหาจากการบรโิ ภคนํ้าตาลล้นเกิน รว่ มกันรณรงคแ์ ละ เสนอแนะมาตรการตา่ งๆ เพอื่ ใหป้ ระชาชนเกดิ ความเขา้ ใจ และเรยี กรอ้ ง ให้ผู้มีส่วนรับผิดชอบได้แสดงบทบาทในการคุ้มครอง/สนับสนุน ประชาชน โดยเฉพาะกล่มุ เดก็ ใหส้ ามารถลดการบรโิ ภคนา้ํ ตาลลงถึง ระดบั ทเ่ี หมาะสมกับชวี ติ ประจำ�วันได้ 2 น้ําตาล สขุ ภาพ และการจดั การด้านการบรโิ ภคทีเ่ หมาะสม

พฤติกรรมการบริโภคของคนไทย ทพญ.จนั ทนา อึ้งชูศกั ดิ์* การบรโิ ภคนา้ํ ตาลของคนไทย สถิติจากแหล่งต่างๆ ช้ีให้เห็นว่าคนไทยบริโภคน้ําตาลเพ่ิม ปรมิ าณมากขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ดงั เหน็ ไดจ้ ากการส�ำ รวจภาวะอาหารและ โภชนาการของประเทศไทยทท่ี ำ�การสำ�รวจใน ปี พ.ศ. 2503, 2518 และ 2529 พบว่าการบรโิ ภคน้าํ ตาลเพม่ิ ขนึ้ จาก 7.0 กโิ ลกรมั ต่อคน ต่อปี เป็น 9.0 และ 24.0 กิโลกรมั ต่อคนตอ่ ปี ตามล�ำ ดับ1 ข้อมูลจาก สำ�นักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ําตาลทราย ชี้ว่าอัตราการบริโภค นํ้าตาลของประชากรไทยเพ่ิมขน้ึ ต้งั แต่ 12.7 กิโลกรมั ตอ่ คนตอ่ ปี ใน ปี 2526 เป็น 33.8 กโิ ลกรัมตอ่ คนตอ่ ปี ในปี 2553 (ภาพที่ 1) น้ําตาลเหล่านี้เป็นน้ําตาลส่วนเพิ่มขึ้นจากน้ําตาลที่เราได้รับจากอาหาร ต่างๆ ในธรรมชาติ แสดงใหเ้ หน็ ว่าในภาพรวมคนไทยมแี นวโน้มการ บริโภคน้าํ ตาลเฉลย่ี ต่อคนสงู ขนึ้ อยา่ งเห็นไดช้ ดั เช่นกนั * ส�ำ นักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ 3 น้าํ ตาล สขุ ภาพ และการจัดการดา้ นการบริโภคทีเ่ หมาะสม

ภาพท่ี 1 สดั สว่ นการบริโภคนา้ํ ตาลภายในประเทศ (กิโลกรัม/คน/ปี) พ.ศ. 2526-2553 ทีม่ า: สำ�นักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ําตาลทราย กระทรวงอุตสาหกรรม www.oie.go.th การบริโภคน้ําตาลทรายของคนไทยนั้นมีทั้งการบริโภคโดยตรง และโดยออ้ ม ซึ่งขนษิ ฐ์ รัตนรังสิมา2 (2555) ได้ศึกษารปู แบบการ บรโิ ภคนาํ้ ตาลทรายของประชากรไทย โดยวเิ คราะหจ์ ากฐานขอ้ มลู ของ ส�ำ นักงานออ้ ยและน้าํ ตาลทราย ปี 2540-2553 พบว่า สดั ส่วนของ การบริโภคโดยตรง (หมายถึง การจำ�หน่ายผ่านพอ่ ค้าคนกลาง หรือ จำ�หน่ายให้กับผู้บริโภคโดยตรง) สูงกว่าสัดส่วนการบริโภคโดยอ้อม (หมายถงึ การจ�ำ หนา่ ยใหแ้ กอ่ ตุ สาหกรรมอาหาร เครอื่ งดม่ื และยา) โดย การจำ�หนา่ ยน้าํ ตาลทรายโดยตรงอยรู่ ะหวา่ ง ร้อยละ 54.4 - 71.1 และการจำ�หนา่ ยน้าํ ตาลทรายโดยอ้อม อยูร่ ะหว่าง ร้อยละ 28.9 - 45.6 อยา่ งไรกต็ าม สัดสว่ นการบรโิ ภคโดยตรงมีแนวโน้มลดลง ใน ขณะท่ีสัดส่วนการบริโภคโดยอ้อมมีแนวโน้มเพ่ิมมากข้ึนอย่างต่อเน่ือง แสดงใหเ้ ห็นถึงทิศทางการใชน้ ํ้าตาล ซง่ึ จะมาทางอุตสาหกรรมอาหาร สำ�เร็จรูปมากข้นึ (ภาพท่ี 2) 4 น้าํ ตาล สขุ ภาพ และการจัดการด้านการบริโภคท่เี หมาะสม

ภาพที่ 2 สัดส่วนการบริโภคนํ้าตาลภายในประเทศท่ีบริโภคโดยตรง และโดยอ้อม พ.ศ.2540-2553 บรโิ ภคโดยตรง บริโภคโดยอ้อม ทม่ี า: ขนิษฐ์ รัตนรังสมิ า 2555 เมื่อพิจารณาเฉพาะการจำ�หน่ายน้ําตาลทรายโดยอ้อม พบว่า อุตสาหกรรมเครื่องดืม่ มีสัดส่วนยอดจ�ำ หน่ายสงู สุด รอ้ ยละ 45.5- 47.7 รองลงมาไดแ้ กอ่ าหาร (รวม อาหารกระปอ๋ งและนา้ํ ปลา) นมและ ผลติ ภณั ฑจ์ ากนม ลกู อมลูกกวาด ขนมปงั (รวมสรุ าและเบยี ร)์ และยา ตามล�ำ ดับ (ภาพที่ 3) การบริโภคอาหารหวานและเครอ่ื งดืม่ ผสมนา้ํ ตาล หลักฐานเชิงประจักษ์จากการศึกษาวิจัยต่างๆ ให้ข้อมูลว่าการ บริโภคน้ําตาลที่เพ่ิมขึ้น มาจากการบริโภคเคร่ืองด่ืมและอาหารว่างที่ เพม่ิ ข้ึนเป็นส�ำ คญั เช่น รายงานการจัดกิจกรรมครอบครัวอ่อนหวาน ของจนั ทนา อึ้งชศู กั ด์ิ ในปี 25473 พบว่าเด็กไทยอายตุ ํ่ากวา่ 5 ปี นํ้าตาล สุขภาพ และการจัดการดา้ นการบรโิ ภคทเ่ี หมาะสม 5

เกอื บ 2 ใน 3 บรโิ ภคนา้ํ ตาลเฉล่ียวนั ละ 30.4 กรัม (8 ชอ้ นชา) และ 1 ใน 4 บริโภคมากกว่าวันละ 40 กรมั (10 ช้อนชา) เกินกวา่ เกณฑม์ าตรฐานท่แี นะนำ�ไมเ่ กินวนั ละ 24 กรมั (6 ช้อนชา) ภาพที่ 3 การใชน้ า้ํ ตาลทางออ้ มในอตุ สาหกรรมอาหารกลมุ่ เครอื่ งดมื่ อาหาร ผลติ ภัณฑ์นม ลูกกวาด และขนมปงั พ.ศ. 2540- 2553 ทม่ี า: ขนษิ ฐ์ รตั นรงั สมิ า 2555 ปัญหาท่ีน่าเป็นห่วงคือกระแสการบริโภคอาหารว่างประเภท เคร่ืองดื่ม ขนมขบเคี้ยว ขนมเบเกอร่ีท่ีมีน้ําตาลเป็นส่วนผสมใน ปรมิ าณมากและรสชาตหิ วานจดั จากขอ้ มลู การส�ำ รวจภาวะอาหารและ โภชนาการของประเทศไทย โดยกองโภชนาการ กรมอนามยั ครง้ั ลา่ สดุ ในปี พ.ศ.25464 พบวา่ คนไทยดมื่ เครอ่ื งดม่ื ทว่ั ไป ซงึ่ ไมใ่ ชน่ าํ้ ดม่ื และ นม เพม่ิ ขน้ึ คนละ 6.8 เทา่ ซงึ่ เครอ่ื งดมื่ ทว่ั ไปนส้ี ว่ นใหญก่ ค็ อื เครอ่ื งดม่ื ท่ีมีส่วนประกอบของนํ้าตาลปริมาณสูง และมีการจำ�หน่ายท่ัวไปใน ทอ้ งตลาด ตวั เลขของการกนิ นา้ํ ตาลทเ่ี พมิ่ ขน้ึ ประกอบกบั ความนยิ มใน 6 นาํ้ ตาล สขุ ภาพ และการจดั การด้านการบริโภคทเ่ี หมาะสม

เครอ่ื งดม่ื ทม่ี สี ว่ นประกอบของนา้ํ ตาลปรมิ าณทส่ี งู ขนึ้ ของคนไทย ท�ำ ให้ เกิดปัญหาสขุ ภาพตามมาหลายอย่าง การศกึ ษาในเดก็ 3-15 ปี ของอไุ รพร จิตตแ์ จ้ง5 พบว่าเดก็ ได้ รบั พลงั งานจากขนมและเครอ่ื งดมื่ รอ้ ยละ 27 ของพลงั งานทคี่ วรไดร้ บั ใน 1 วัน และการศกึ ษาของอารยา ต้ังวฑิ ูรย6์ ในปี 2550 เกย่ี วกบั พฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารวา่ งและขนมของเดก็ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 จากโรงเรยี นรฐั บาลและเอกชนของอ�ำ เภอหาดใหญ่ ไดข้ อ้ มลู ทสี่ อดคลอ้ ง กันว่าเด็กนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มพี ฤตกิ รรมบริโภคขนมซอง ทม่ี ีแปง้ และไขมนั ปริมาณมาก โดยบรโิ ภคเฉลย่ี วันละ 3-4 ครง้ั ส่วน เครื่องด่ืมท่ีนิยมบริโภคมากท่ีสุด คือ น้ําอัดลม และพบโรคอ้วนใน เด็กเพมิ่ มากขนึ้ เมือ่ เทยี บกับการศึกษาทผี่ ่านๆมา การศกึ ษานยี้ งั พบว่า โดยเฉลี่ยเด็กได้รับพลังงานจากขนมและเครื่องดื่มประมาณ 495 กโิ ลแคลอรี หรือเทยี บเท่าร้อยละ 30 ของพลังงานทต่ี ้องการต่อวัน มากกว่าปริมาณมาตรฐานที่ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย ก�ำ หนดไวท้ รี่ อ้ ยละ 10 ซง่ึ จะสง่ ผลใหร้ ่างกายเปลย่ี นพลังงานสว่ นเกิน น้เี ปน็ ไขมนั อาจสง่ ผลให้เด็กเกดิ ภาวะนํา้ หนักเกินหรืออ้วนได้ การสำ�รวจพฤติกรรมการบริโภคอาหารของคนไทยอายุตั้งแต่ 6 ปขี นึ้ ไปโดยส�ำ นกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ ในปี 2548 และ 25527,8 พบวา่ คนไทยรบั ประทานขนมทานเล่นและขนมกรบุ กรอบตอ่ สัปดาห์ เพ่ิมขนึ้ จากรอ้ ยละ 48.9 เปน็ รอ้ ยละ 51.0 และดม่ื เครอ่ื งดม่ื ประเภทนาํ้ อดั ลม และเครอื่ งดื่มท่มี ีรสหวานรอ้ ยละ 71.7 และ 69.9 ตามลำ�ดบั ซึง่ เปน็ ปัจจัยสำ�คัญที่เด็กและเยาวชนจะได้รับพลังงานส่วนเกินจากส่วนผสม นาํ้ ตาลทม่ี าจากอาหารวา่ ง นอกจากน้ี การสำ�รวจการบรโิ ภคเครอื่ งดม่ื รสหวานของเดก็ ไทยทม่ี อี ายุ 3-12 ปี ใน 24 ชว่ั โมง9 จ�ำ นวน 5,764 คน ทวั่ ประเทศในปี 2548 พบวา่ เครอื่ งดมื่ ทนี่ ยิ มดมื่ อนั ดบั ท่ี 1 คอื นมเปรย้ี ว ร้อยละ 18.16 รองลงมาเป็น นํา้ หวาน/น้าํ ผลไมเ้ ตมิ นํา้ ตาล ร้อยละ นา้ํ ตาล สขุ ภาพ และการจัดการด้านการบรโิ ภคทีเ่ หมาะสม 7

14.40 นํ้าอัดลมรสโคล่าร้อยละ 10.33 น้ําอัดลมสีต่างๆ ร้อยละ 5.45 นมรสหวานรอ้ ยละ 8.15 เคร่ืองดมื่ รสโกโก้รอ้ ยละ 6.92 และ ชาเขียวร้อยละ 3.41 เปน็ ต้น ในปี 2552 กลุ พร สขุ มุ าลตระกลู 10 ไดศ้ กึ ษาเครอื่ งดมื่ ทจี่ �ำ หนา่ ย ในโรงเรียน เพื่อให้ได้ข้อมูลปริมาณนํ้าตาลในเครื่องดื่มที่จ�ำ หน่ายให้ แกน่ กั เรยี น และศึกษาพฤติกรรมการผลิตเครื่องดมื่ ของผู้ประกอบการ ท่ีจำ�หน่ายเครื่องดื่มในโรงเรียน โดยเก็บข้อมูลจากพ้ืนที่ 8 จังหวัด จ�ำ นวน 32 โรงเรยี น พบวา่ รอ้ ยละ 77.8 ของผจู้ ดั จ�ำ หนา่ ย มคี วามรู้ เกี่ยวกับผลกระทบของการบริโภคน้ําตาลมากเกินไป แต่ผู้จำ�หน่าย ร้อยละ 39.2 เชือ่ ว่าเครื่องด่มื ท่ีมีรสหวานมีประโยชนม์ ากกวา่ นํา้ เปล่า วิธีการผสมน้ําตาลในเคร่ืองด่ืม ใช้กะประมาณตามความเคยชิน (73.2%) มากกวา่ การ ชั่ง ตวง วัด การวิเคราะหข์ ้อมลู ปริมาณการ ใชน้ ํ้าตาลในเครือ่ งดืม่ 128 ตวั อยา่ ง วดั ค่าความหวานด้วยเครื่องมือ Refractometer พบว่าระดบั ความหวานของเครอื่ งดืม่ เรยี งลำ�ดับจาก มากไปหาน้อยได้แก่ ชานมเยน็ /ชาเขยี ว มีคา่ ความหวานโดยนาํ้ หนัก ร้อยละ 31.01 โอวัลตินเย็น/ไมโลเย็น (23.75) เคร่ืองด่ืมที่ผสม เฮลบลูบอย (23.64) นํ้าส้มป่ัน (21.08) โกโก้เย็น (20.90) นํา้ แอปเป้ลิ (20.49) นาํ้ มะพร้าว (16.84) นา้ํ เกก๊ ฮวย (15.89) และ น้ํามะนาว (15.03) ตามล�ำ ดบั ปัจจุบัน นํ้าผลไม้เป็นเครื่องดื่มท่ีเด็กนิยมดื่มกันมากขึ้น ผปู้ กครองสามารถเตรยี มใหห้ รอื ซอ้ื หานาํ้ ผลไมท้ บ่ี รรจภุ าชนะชนดิ ตา่ งๆ ได้งา่ ย บางครอบครวั ทารกท่ีอายุต่ํากว่า 6 เดือน ก็อาจได้ด่มื นํา้ ผลไม้แล้ว มีการศึกษาพบว่าในนํ้าผลไม้มีน้ําตาลซูโครสอยู่ในปริมาณ ค่อนข้างสูง ซ่ึงจากการศึกษาของ ศาสตราจารย์ นายแพทย์พิภพ จริ ภญิ โญ และคณะ (พภิ พ จริ ภญิ โญ อา้ งถงึ ใน อรุ วุ รรณ แยม้ บรสิ ทุ ธ,ิ์ 2550)11 ไดท้ �ำ การวเิ คราะหน์ าํ้ ผลไม้ ในบรรจภุ ณั ฑท์ ข่ี ายในทอ้ งตลาด 8 นํ้าตาล สขุ ภาพ และการจัดการดา้ นการบริโภคท่เี หมาะสม

จ�ำ นวน 40 ชนิด พบวา่ มีน้าํ ตาลซโู ครสตั้งแต่ 2-112 กรัมต่อลิตร กลูโคส 20-58 กรมั ตอ่ ลติ ร ฟรักโทส 5-75 กรัมต่อลิตร การศึกษาของชูลสแ์ ละคณะ12 สอดคลอ้ งกับแนวโนม้ การบรโิ ภค ของไทย โดยพบวา่ ในระยะ 40 ปที ผี่ า่ นมา การดม่ื เครอื่ งดม่ื ทม่ี นี า้ํ ตาล เพิ่มขึน้ ทวั่ โลก เฉพาะในอเมรกิ าเพิ่มขึน้ เป็นสองเทา่ ในขณะทีป่ ระเทศ ก�ำ ลงั พัฒนาเช่นอินเดียและจนี เฉพาะใน ปี ค.ศ. 2007 มกี ารจำ�หน่าย โคคาโคลา่ เพ่ิมข้นึ ร้อยละ 14 และ 18 ตามลำ�ดบั เครอื่ งดืม่ ท่ีมสี ่วน ผสมของนาํ้ ตาลไดแ้ ก่น้ําอัดลม น้าํ ผลไม้ เครอ่ื งดม่ื ชูก�ำ ลังและวติ ามนิ ซ่ึงผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพเรียกร้องให้มีการลดการบริโภคลง เพราะ อาจท�ำ ให้เกดิ โรคอ้วนได้ ปจั จยั ทเ่ี สริมใหบ้ ริโภคนา้ํ ตาลมากเกนิ ไป การตลาดของอาหารนบั เปน็ ตวั กระตนุ้ ส�ำ คญั ทท่ี �ำ ใหผ้ คู้ นบรโิ ภค มากขนึ้ ทงั้ นร้ี วมถงึ อาหารทผ่ี ลติ ในระดบั อตุ สาหกรรม นโยบายสง่ เสรมิ การผลติ และแปรรปู อาหารในทอ้ งถ่ิน รวมท้ังการจำ�หน่ายอาหารแบบ ปรงุ เองทเี่ ขา้ ถึงง่าย และการโฆษณาเพือ่ กระตุ้นยอดขาย การตลาดของอาหารในโรงเรยี น เปน็ ตวั เสรมิ ทส่ี �ำ คญั มากทที่ �ำ ให้ เดก็ บรโิ ภคมากขนึ้ การส�ำ รวจสถานการณก์ ารตลาดอาหารในโรงเรยี น โดยแผนงานรณรงคเ์ พอ่ื เดก็ ไทยไมก่ นิ หวาน ในปี 255213 ด�ำ เนนิ การ ส�ำ รวจสถานการณ์ เฉพาะเรอื่ งเคร่อื งดื่มและขนม ในโรงเรียนรฐั และ เอกชน 291 แหง่ โดยการสมั ภาษณ์ ผู้บริหารโรงเรยี น 291 คน ผจู้ ำ�หนา่ ยสินค้าในโรงเรียน 345 คน นกั เรยี นชั้น ป.5/6 จำ�นวน 8,447 คน ผูป้ กครองนักเรยี น 5,695 คน ร่วมกบั การสังเกตการ โฆษณาประชาสัมพันธ์และชนิดผลิตภัณฑ์ที่วางจำ�หน่ายในโรงเรียน ผลการศกึ ษาพบวา่ มรี า้ นคา้ ทจี่ ำ�หนา่ ยขนมกรบุ กรอบไมเ่ คลอื บนา้ํ ตาล มากทสี่ ดุ คิดเป็นรอ้ ยละ 49.3 ขนมประเภทโปรตนี อบแห้ง รอ้ ยละ นํา้ ตาล สุขภาพ และการจดั การดา้ นการบรโิ ภคท่ีเหมาะสม 9

38.6 จ�ำ หนา่ ยนาํ้ อดั ลม รอ้ ยละ 5.8 มีรา้ นค้าจำ�หนา่ ยนา้ํ หวาน/นา้ํ ผลไม้ทเี่ ติมนํา้ ตาลมากเปน็ 4.5 เทา่ ของร้านคา้ ท่จี �ำ หน่ายนํา้ ผลไมไ้ ม่ เตมิ นาํ้ ตาล เครอ่ื งดม่ื /ขนมทจ่ี �ำ หนา่ ยดที ส่ี ดุ 3 อนั ดบั แรก คอื ขนมปงั ไส้ตา่ งๆ รงั ผึ้ง ไอศกรีม น้าํ หวาน/นํ้าผลไม้ ดา้ นการโฆษณาทางตรง มีหลายรูปแบบ ได้แก่ ป้ายโฆษณา เอกสาร อุปกรณ์การเรียนท่ี มีตราสินค้า รวมทั้ง การแจกสินค้าให้ลองชิม และการมอบคูปอง สว่ นลดราคาสนิ คา้ พบวา่ การแจกสนิ คา้ ใหท้ ดลองเปน็ รปู แบบทเี่ ขา้ ถงึ นักเรียนได้มากที่สุดเม่ือเปรียบเทียบกับการตลาดในโรงเรียนในทุก รปู แบบ นกั เรยี นรอ้ ยละ 29.1 ยอมรบั วา่ ซอื้ สนิ คา้ ตามทเี่ หน็ โฆษณาใน รร. สว่ นการโฆษณาทางออ้ ม/การสนบั สนนุ เปน็ การประชาสมั พนั ธโ์ ดย ผ่านทางการจัดกจิ กรรมตา่ งๆ ได้แก่ การสนบั สนนุ รางวัลในกจิ กรรม ต่างๆ การสนับสนุนกิจกรรมประกวด การให้ทุนการศึกษา รวมท้ัง การสนบั สนุนอปุ กรณห์ รือสือ่ การสอน เช่น การสนับสนนุ อุปกรณก์ ฬี า โปสเตอรใ์ หค้ วามรู้ การตดั สนิ ใจเลอื กขนม/เครอ่ื งดมื่ ใหจ้ �ำ หนา่ ยใน รร. สว่ นใหญท่ ำ�ในรปู คณะกรรมการ โดยคำ�นงึ ถงึ เรอื่ ง มตี รา อย. และผล ตอ่ สขุ ภาพนกั เรียนเป็นหลกั นอกจากการบรโิ ภคอาหารและเครอ่ื งดม่ื ทม่ี สี ว่ นผสมของนา้ํ ตาล มากเกนิ ไป เพราะติดใจในรสชาติแลว้ ยังมีปัจจัยเส่ียงเสรมิ อ่นื ๆ ทีเ่ พ่มิ โอกาสให้บริโภคมากเกินควรได้ง่ายขึ้น เช่น การใช้เวลาอยู่หน้าจอ ทีวีหรือคอมพิวเตอร์มากข้ึน การรับประทานอาหารนอกบ้านมากขึ้น ทง้ั นี้ ขณะดทู วี หี รอื เลน่ เกมกจ็ ะดมื่ เครอื่ งดม่ื ทมี่ นี าํ้ ตาล ควบคไู่ ปกบั การ รบั ประทานของขบเคี้ยว การศกึ ษาถงึ กิจกรรมที่มักทำ�ควบคูไ่ ปกบั การ รบั ประทานขนมขบเคย้ี ว14 พบวา่ สว่ นใหญม่ กั เปน็ “การดูโทรทัศน์” คิดเป็นร้อยละ 48.5 ลำ�ดับรองลงมาคือ “การฟังเพลง/ฟังวิทยุ” ร้อยละ 9.5 และ “การชมภาพยนตร์ที่โรงภาพยนตร”์ ร้อยละ 8.5 สำ�หรับเครื่องดื่มที่ผู้บริโภคเห็นว่าเหมาะสมและต้องการรับประทาน 10 น้าํ ตาล สขุ ภาพ และการจดั การด้านการบรโิ ภคที่เหมาะสม

พรอ้ มขนมขบเคยี้ ว ไดแ้ กเ่ ครอ่ื งดม่ื ประเภทนา้ํ อดั ลม คดิ เปน็ รอ้ ยละ 53.5 ล�ำ ดบั รองลงมาคือ เคร่อื งดม่ื ประเภทพรอ้ มดื่มเย็น เชน่ กาแฟ โกโก้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 15.0 นา้ํ เปลา่ รอ้ ยละ 13.0 นาํ้ ผลไม้ รอ้ ยละ 8.0 และ นมพรอ้ มดม่ื รอ้ ยละ 5.0 จะเหน็ ไดว้ า่ ขณะรบั ประทานขนมขบเคย้ี วนนั้ ผู้บริโภคด่ืมน้ําอัดลมมากที่สุด ส่วนเครื่องด่ืมที่มีประโยชน์เช่น นา้ํ เปลา่ นาํ้ ผลไมห้ รอื นมพรอ้ มดม่ื มผี ดู้ ม่ื นอ้ ยกวา่ นาํ้ อดั ลม 4-10 เทา่ การศึกษาในคนอเมริกัน พบว่าการออกไปรับประทานอาหาร นอกบา้ น โดยเฉพาะการไปรบั ประทานตามภตั ตาคาร มกั ท�ำ อาหารจาน ใหญ่ ซง่ึ มไี ขมนั และแคลอรมี ากกวา่ อาหารทท่ี �ำ ทบ่ี า้ น และดม่ื เครอื่ งดมื่ ท่ี เตมิ นาํ้ ตาล ท�ำ ใหผ้ ใู้ หญใ่ นอเมรกิ ามอี ตั ราโรคอว้ นเพมิ่ ขน้ึ 15 และจาก การ ศึกษาของ กลิ ลสิ และบาร์-ออร1์ 6 พบว่า เดก็ และเยาวชนทเี่ ปน็ โรคอ้วน บรโิ ภคเนื้อและเนอื้ แปรรูป รับประทานอาหารนอกบ้าน ดมื่ เคร่ืองดมื่ ท่ีเติมนํ้าตาล และมันฝร่ังอบ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับเปอร์เซ็นต์ ไขมันในรา่ งกาย เดก็ และวยั รุน่ ท่เี ปน็ โรคอ้วน บริโภคเครอื่ งดื่มทเ่ี ตมิ นา้ํ ตาลบอ่ ยครงั้ กวา่ เดก็ ทไี่ มอ่ ว้ นอยา่ งมนี ยั ส�ำ คญั ทางสถติ ิ (p < 0.002) และบริโภคอาหารนอกบ้านบ่อยคร้ังกว่าเด็กที่ไม่อ้วนอย่างมีนัยสำ�คัญ ทางสถติ ิ (p < 0.0001) นอกจากเครอื่ งดม่ื มนี าํ้ ตาลและขนม-ของวา่ งแลว้ มผี ตู้ งั้ ขอ้ สงั เกต วา่ แมแ้ ตอ่ าหารคาวของไทยกม็ แี นวโนม้ จะหวานมากขนึ้ ดงั ขอ้ เขยี นของ ในคอลมั น์ “มมุ มองบา้ นสามยา่ น” เผยแพรใ่ นหนงั สอื พมิ พ์ กรงุ เทพธรุ กจิ ฉบับวันที่ 9 กรกฎาคม 2552 ได้กลา่ วถึงอาหารไทยวา่ แม้รสนยิ ม ของคนไทยจะถือว่าอาหารไทยจะต้อง “หวานนำ�” แต่อาหารคาว ในปัจจุบัน ได้ทวีความหวานมากขึ้นกว่าในอดีต ซึ่งอาจมาจากการ ท่ีนํ้าตาลซ้ือหาได้ง่ายขึ้น หรือเป็นรสชาติของคนเมืองซึ่งน้ําตาลเป็น สญั ลักษณข์ องความม่งั คัง่ 17 น้าํ ตาล สุขภาพ และการจดั การด้านการบรโิ ภคที่เหมาะสม 11

ปัญหาอีกประการหน่ึงที่อาจมีส่วนทำ�ให้เด็กและเยาวชนบริโภค ขนมหรือ Junk food มากยิ่งข้ึน คอื การไม่รบั ประทานอาหารเชา้ ดงั ผลการส�ำ รวจ สุขภาพคร้ังที่ 418 พบว่า ประชากรอายุ 15 ปขี ึ้นไป กินอาหารครบ 3 มือ้ ต่อวัน คดิ เป็นร้อยละ 77.3 และกลุม่ ทก่ี ินครบ 3 ม้ือน้อยท่สี ดุ คือ อายุ 15-29 ปี และจากการส�ำ รวจพฤติกรรมการ รบั ประทานอาหารเชา้ ของเดก็ นักเรยี นในกรงุ เทพฯ ชนั้ ป.5-6 ในปี 2549 จ�ำ นวน 914 คน และชนั้ ป.3-4 ในปี 2552 จ�ำ นวน 904 คน โดยประไพศรี ศิรจิ ักรวาล และคณะ (อา้ งใน สุนนั ทา สขุ สมุ ิตร, 2554)19 พบว่า เด็กชน้ั ป.5-6 ร้อยละ 48 มีพฤติกรรมงดอาหาร เชา้ หรอื ไม่กินอาหารเช้าสมาํ่ เสมอ ขณะท่ี เดก็ ชน้ั ป.3-4 ร้อยละ 40 มพี ฤติกรรมงดอาหารเชา้ ทางด้านเครือข่ายคนไทยไร้พุง20 ก็ได้ช้ีว่าอาหารม้ือเช้ามีความ สำ�คัญต่อสุขภาพร่างกาย เน่ืองจากน้ําตาลในเลือดอยู่ในระดับตํ่าเม่ือ ตนื่ นอนตอนเชา้ การกนิ อาหารเชา้ จะท�ำ ใหร้ ะบบเผาผลาญของรา่ งกาย ท�ำ งานเปน็ ปกติ การไมก่ นิ อาหารมอ้ื เชา้ ท�ำ ใหช้ ว่ งเวลาระหวา่ งอาหาร 2 มอื้ หา่ งกนั มาก ท�ำ ใหร้ สู้ กึ หวิ มากกวา่ ปกติ อาจจะกนิ อาหารกลางวนั มากเกนิ ความตอ้ งการของร่างกาย หรือทำ�ให้กนิ อาหารจุบจิบระหว่าง มอื้ เชน่ ขนมขบเคยี้ ว และนา้ํ อดั ลม ท�ำ ใหน้ า้ํ หนกั เกนิ หรอื อว้ นไดง้ า่ ยขนึ้ ผลงานวจิ ยั จากตา่ งประเทศ ระบวุ า่ ผทู้ ก่ี นิ อาหารเชา้ ทกุ วนั จะมโี อกาส เกดิ ภาวะอว้ น และโรคเบาหวานนอ้ ยกวา่ ผทู้ ไี่ มก่ นิ อาหารเชา้ ถงึ 35-50 เปอรเ์ ซนต์ โดยผลวจิ ยั ลา่ สดุ ทไ่ี ดเ้ ผยแพรใ่ นวารสาร American Journal of Clinical Nutrition ชว้ี ่า การงดกนิ อาหารเช้า นอกจากจะเสย่ี งตอ่ การเกดิ โรคอว้ น และโรคเบาหวานแลว้ อาจกอ่ ใหเ้ กดิ โรคหวั ใจได้ และ การงดกนิ อาหารเชา้ เปน็ ประจ�ำ เปน็ เวลานานนนั้ นา่ จะสง่ ผลใหน้ าํ้ หนกั เพิ่มจนอาจเกิดภาวะอ้วนได้21 ทั้งนี้พบว่า เด็กวัยรุ่นมักจะเป็นกลุ่มท่ี รับประทานอาหารไมค่ รบทง้ั สามม้ือ มากกวา่ วัยอ่นื 12 นํ้าตาล สขุ ภาพ และการจดั การดา้ นการบรโิ ภคท่เี หมาะสม

ในขณะท่ีคนไทยมีปัญหาการบริโภคน้ําตาลมากเกินไป กลับ พบว่าการบริโภคผักและผลไม้ของคนไทยน้อยกว่าท่ีควรจะเป็น ดังจะ เห็นได้จากการสำ�รวจภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนคนไทยโดย การตรวจรา่ งกายครงั้ ที่ 322 พบว่าในประชากรอายุ 15 ปีข้ึนไปท้งั เพศชายและหญงิ บรโิ ภคผกั และผลไมย้ งั ไมถ่ งึ เกณฑข์ นั้ ตาํ่ ทกี่ �ำ หนดไว้ คอื 400-800 กรมั ตอ่ คนตอ่ วนั และการบรโิ ภคจะลดลงตามอายทุ เี่ พม่ิ ขน้ึ โดยกลมุ่ อายุ 80 ปีข้นึ ไปพบว่าบริโภคนอ้ ยทส่ี ดุ ประมาณ 200 กรมั ตอ่ คนตอ่ วันเทา่ นน้ั ในปี 2551 มกี ารส�ำ รวจขอ้ มูลการบริโภคอาหาร ของประเทศไทย โดยสถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล23 ภายใต้การสนับสนุนของสำ�นักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร แห่งชาติ โดยทำ�การสำ�รวจการบริโภคอาหารของคนไทยต้ังแต่ทารก แรกเกิดจนถึงวัยสูงอายุ พบว่าคนกรุงเทพฯ ทั้งกลุ่มผู้หญิงและผู้ชาย ดม่ื นมและกนิ เนอ้ื สตั วม์ ากกวา่ คนตา่ งจงั หวดั เดก็ กรงุ เทพฯ ดม่ื นมโดย เฉลยี่ วนั ละ 300 มลิ ลลิ ติ ร และพบวา่ คนตา่ งจงั หวดั บรโิ ภคนา้ํ ตาล ผลไม้ และขนมหวานมากกว่าคนกรุงเทพฯ ทั้งหญิงและชาย ส่วนอาหาร วา่ งนั้นกลมุ่ ทีน่ ิยมบริโภคคือกลุ่มวยั รุน่ และพบวา่ เด็กต่างจงั หวัดนิยม บริโภคอาหารวา่ งมากกวา่ เดก็ ในกรงุ เทพฯ โดยภาพรวมพบว่าคนไทย กินอาหารทมี่ ไี ขมนั เพม่ิ มากขึ้น กนิ ผัก-ผลไมล้ ดลง การสำ�รวจภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนคนไทยโดยการ ตรวจร่างกายคร้ังท่ี 4 ยังพบข้อมูลท่ีสอดคล้องกันกับการสำ�รวจ ครง้ั ท่ี 3 ทกุ กลมุ่ อายทุ ง้ั เพศชายและหญงิ ยงั คงบรโิ ภคผกั และผลไมไ้ มถ่ งึ เกณฑข์ นั้ ตาํ่ ทก่ี �ำ หนดไว้ และกลมุ่ อายุ 80 ปขี น้ึ ไปกย็ งั บรโิ ภคนอ้ ยทส่ี ดุ เช่นเดิม การส�ำ รวจสภาวะสุขภาพคนไทยครั้งท่ี 4 ยงั พบว่าเดก็ อายุ 2 ถงึ 14 ปี กินผักโดยเฉลี่ยวันละ 0.7 สว่ น นอ้ ยกวา่ ขอ้ แนะน�ำ ทรี่ ะบุ ว่าเดก็ ควรกนิ ผกั ไม่น้อยกวา่ 3 สว่ นมาตรฐานตอ่ วัน ผักและผลไมน้ ับ ว่าเปน็ อาหารท่ีจำ�เป็นสำ�หรับร่างกาย เป็นปจั จยั คุม้ ครอง (Protective factor) ในโรคหลายๆโรค นํ้าตาล สุขภาพ และการจัดการดา้ นการบริโภคท่ีเหมาะสม 13

ปัจจัยท่ีอาจช่วยลดการบริโภคน้าํ ตาล แมว้ ่าภาคเอกชนผ้ปู ระกอบการอตุ สาหกรรมอาหาร โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในกลุ่มอาหารสำ�หรับเด็ก จะมีแนวโน้มใช้ความหวานจาก นาํ้ ตาลเปน็ ตวั กระตนุ้ ยอดขาย แตใ่ นทางกลบั กนั หากมกี ารรณรงคส์ รา้ ง กระแสจนเกิดความตระหนักและความต้องการในสังคม ภาคเอกชนก็ มักจะปรับเปล่ียนสูตรอาหารให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ตวั อยา่ งเชน่ การสรา้ งแบรนดน์ า้ํ อดั ลมปราศจากนาํ้ ตาล แมอ้ ตั ราครอง ตลาดจะต่ํามากเมอ่ื เทยี บกับสูตรปกติ แตก่ เ็ ปน็ อีกทางเลือกหนึง่ ใหก้ ับ ผบู้ ริโภค ปัจจบุ ันมผี ลติ ภัณฑ์และเวชภัณฑอ์ ย่ไู ม่น้อยทคี่ �ำ นงึ ถงึ สุขภาพ ได้ผลิตอาหารกลุ่มที่มีนํ้าตาลน้อยหรือไม่มีนํ้าตาลออกมาจำ�หน่ายใน ตลาดไทยมากข้ึน เช่น การศึกษาของอาจารย์และนักศึกษาสถาบัน ราชภัฏพระนครเหนือ24 เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงของผลิตภัณฑ์และ เวชภัณฑ์นํ้าตาลน้อยและไม่มีนํ้าตาล ท่ีมีจ�ำ หน่ายในท้องตลาด โดย ส�ำ รวจรา้ นค้าปลีก - ค้าส่ง รวมถงึ ห้างสรรรพสนิ ค้าชอ่ื ดังและร้านค้า OTOP ทง้ั ในกรงุ เทพฯ และปริมณฑล พบวา่ ในช่วงปี 2552 และ 2553 ผลิตภัณฑ์ไม่มีนํ้าตาล-หวานน้อย มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ไดแ้ กป่ ระเภท เคร่อื งดืม่ อาหารท่วั ไป ขนมขบเขย้ี ว ลูกอม-หมากฝรั่ง เคร่ืองปรุงรส และยา แต่ละประเภท แสดงข้อความส่งเสริมสุขภาพ (การขาย) ใหเ้ ห็นชัดทงั้ ภาษาไทยและภาษองั กฤษ อาทิ ไม่เติมน้าํ ตาล, ไม่หวาน, หวานนอ้ ย, โลว์ ชูการ,์ ชูการ์ ฟร,ี นับเป็นทางเลอื กใหม่เพอ่ื ความสะดวกและส่งเสริมคนไทยทส่ี นใจลดการบรโิ ภคหวาน สรุป ข้อมูลจากสำ�นักงานคณะกรรมการอ้อยและนํ้าตาลทราย รวม ท้งั การศึกษาวิจัยตา่ งๆ ยนื ยนั ตรงกนั ว่าคนไทยบรโิ ภคนํ้าตาลเพิ่มมาก ข้นึ เปน็ ล�ำ ดบั ในช่วง 50 ปีทผ่ี า่ นมา ท้ังนี้ นํ้าตาลท่บี รโิ ภคส่วนใหญ่ 14 นํ้าตาล สขุ ภาพ และการจัดการดา้ นการบรโิ ภคที่เหมาะสม

มากบั เครอ่ื งดมื่ ขนม ของวา่ ง ทมี่ สี ว่ นผสมของนา้ํ ตาล รวมทง้ั อาหาร จานหลกั หรอื อาหารคาวทมี่ แี นวโนม้ “หวาน” มากขน้ึ การบรโิ ภคขนม และเครื่องดื่มของเด็ก คิดเป็นพลังงานต่อวัน มากกว่าที่แนะนำ�โดย ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์ถึง 3 เท่า การบริโภค ยังถูกกระตุ้นจาก พฤตกิ รรมการใชช้ วี ติ โดยเฉพาะการใชช้ วี ติ ในรปู แบบ “ไมเ่ คลอ่ื นไหว” เชน่ การดโู ทรทศั น์ การใชค้ อมพวิ เตอร์ ฯลฯ ซง่ึ มกั บรโิ ภคขนมขบเคย้ี ว และเครอ่ื งดมื่ ทม่ี ีนํ้าตาลไปพร้อมกนั นอกจากน้นั การดม่ื เครือ่ งด่มื ยัง เป็นพฤติกรรมร่วมของการกินขนม โดยเครื่องดื่มยอดนิยมได้แก่นํ้า อดั ลม ปญั หาอีกประการหนงึ่ ท่อี าจมีส่วนทำ�ใหเ้ ด็กและเยาวชนบรโิ ภค ขนมและเครอ่ื งดม่ื มากยงิ่ ขนึ้ คอื การไมร่ บั ประทานอาหารเชา้ ซง่ึ พบมาก ในกลมุ่ เยาวชน และการจ�ำ หนา่ ยขนมและเครอื่ งดมื่ ในโรงเรยี น ซงึ่ เปน็ ปจั จยั กระต้นุ ที่สำ�คญั ท่สี ุด การบรโิ ภคนาํ้ ตาลมากเกินไป ยังสวนทาง กบั การบรโิ ภคผกั ผลไม้ ทต่ี า่ํ กวา่ เกณฑม์ าตรฐานมาโดยตลอด ทกุ การ สำ�รวจและในทุกกลุ่มวัย การปรับพฤติกรรมบริโภคของคนไทยจึงนับ เป็นประเด็นเร่งด่วนทจ่ี ะตอ้ งดำ�เนินการ เพ่อื ลดความเสย่ี งของปญั หา โรคอ้วนท่เี พ่มิ ขึ้นเปน็ ลำ�ดับ เอกสารอา้ งอิง 1. วณี ะ วรี ะไวทยะ และสงา่ ดามาพงษ,์ ววิ ฒั นาการงานโภชนาการ. นนทบุรี: กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. 2545 2. ขนษิ ฐ์ รตั นรงั สมิ า. (2555). สถานการณก์ ารบรโิ ภคนาํ้ ตาลของ ประชากรไทย ว.ทันต.สธ.2555;17(2) 3. จนั ทนา องึ้ ชศู กั ด,์ิ บบุ ผา ไตรโรจน,์ สภุ าวดี พรหมมา. รายงานการ จดั กิจกรรมรณรงค์ “วันครอบครัวอ่อนหวาน” ในสว่ นภมู ิภาค สืบค้นวันที่ 10 สิงหาคม 2555 เข้าถึงได้จาก http://www. น้ําตาล สขุ ภาพ และการจดั การด้านการบรโิ ภคทเ่ี หมาะสม 15

sweetenough.in.th/index.php?option=com_jdownloads&view= viewcategory&catid=4&Itemid=182 4. กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. 2549). รายงานการส�ำ รวจภาวะอาหารและโภชนาการของประเทศไทย ครงั้ ท่ี 5 พ.ศ. 2546. สบื คน้ วันท่ี 30 กรกฎาคม 2555 เช้าถึงได้จาก http://www.fhpprogram.org/index.php? option=com_docman&task=doc_details&gid=6&Itemid= 280 5. อไุ รพร จิตต์แจง้ , ประไพศรี ศิรจิ กั รวาล, กิตติ สรณเจริญพงศ์, ปิยะดา ประเสรฐิ สม, และผุสดี จันทรบ์ าง. (2548). การศึกษา พฤตกิ รรมบรโิ ภคขนมและอาหารวา่ งของเดก็ 3-15 ปี เอกสาร รายงานการศกึ ษาของเครอื ขา่ ยเดก็ ไทยไมก่ นิ หวาน สืบค้นวันที่ 15 กรกฎาคม 2555 เขา้ ถึงไดจ้ าก http://www.sweetenough. in.th/ 6. อารยา ต้ังวิฑูรย์. พฤติกรรมการบริโภคอาหารว่างและขนม ของเด็กชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ในอ�ำ เภอหาดใหญ่ : (2550) วิทยานิพนธ์การศึกษาและฝึกอบรมตามหลักสูตรเพื่อวุฒิบัตร แสดงความรู้ความช�ำ นาญในการประกอบวชิ าชีพเวชกรรม สาขา กุมารเวชศาสตร์ของแพทยสภา พ.ศ.2550 สืบค้นวันท่ี 18 กรกฎาคม 2555 เข้าถึงได้จาก http://kb.psu.ac.th/psukb/ bitstream/2553/3828/2/293424.pdf 7. สำ�นักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่อื สาร. (2554). สรปุ ผลการส�ำ รวจ ภาวะเศรษฐกจิ และสงั คม ของครัวเรอื น พ.ศ. 2553. กรงุ เทพ: ศรเี มืองการพมิ พ์. 8. สำ�นักงานสถิติแห่งชาติ. สรุปการสำ�รวจพฤติกรรมการดูแล สขุ ภาพของประชากร พ.ศ. 2548 (พฤตกรรมการบรโิ ภคอาหาร) 16 น้าํ ตาล สขุ ภาพ และการจดั การด้านการบรโิ ภคทเี่ หมาะสม

สืบคน้ วนั ท่ี 31 กรกฎาคม 2555 เข้าถึงไดจ้ าก http://www. fhpprogram.org/index.php?option=com_docman&task=docvi ew&gid=60&tmpl=component&format=raw&Itemid=342 9. ปิยะดา ประเสริฐสม, อังศณา ฤทธ์ิอยู่และ ผุสดี จันทร์บาง. การบรโิ ภคเครอื่ งดมื่ ของเดก็ ไทยใน 24 ชว่ั โมง ใน ปิยะดา ประเสรฐิ สม. (บรรณาธกิ าร), (2550). น้าํ ตาล ความหวานใน ขนม เครอ่ื งดม่ื นมพร้อมดืม่ นมผงส�ำ หรับเด็ก. กรงุ เทพ: นโม พรินติ้งแอนดพ์ ับบลชิ ช่ิง. 10. กุลพร สุขุมาลตระกูล. รายงานการสำ�รวจปริมาณน้ําตาลใน เครอ่ื งดม่ื เพือ่ พฒั นาและสรา้ งแนวทางการ ผ ส ม เ ค รื่ อ ง ดื่มท่ีมีปริมาณน้ําตาลเหมาะสมจำ�หน่ายในโรงเรียน. สำ�นัก โภชนาการ กรมอนามยั เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.sweetenough. in.th/index.php?option=com_jdownloads&Itemid=192&task= finish&cid=111&catid=4&m=0 11. อรุ ุวรรณ แยม้ บริสทุ ธิ์ (2550). น้ําผลไม้กับสขุ ภาพเด็ก. สืบคน้ วนั ที่ 14 กรกฎาคม 2555 เขา้ ถงึ ได้จาก http://www.doctor. or.th/article/detail/1230 12. Schulze, M.B., Manson;J.E., Ludwig, D.S. et al. (2004). Women incidence of type 2 diabetes in young and middle-Aged. [Electronic Version]. JAMA, 292 (8) 927- 934 Retrieved July 10, 2112, from http://jama.ama-assn. org/cgi/content/full/292/8/927 13. สุวรรณา เอื้ออรรถการุณ, ปิยะดา ประเสริฐสม, และจันทนา อึ้งชูศักด์ิ. (2554). การศึกษาการจำ�หน่ายขนมในโรงเรียน. สบื คน้ วันท่ี 29 กรกฎาคม 2555 เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www. sweetenough.in.th/index.php?option=com_jdownloads&view= viewcategory&catid=4&Itemid=182 นํ้าตาล สขุ ภาพ และการจัดการด้านการบริโภคทเี่ หมาะสม 17

14. นาโนเซิรช. (ม.ป.ป.) พฤติกรรมการรับประทานขนมขบเคี้ยว. สืบคน้ วนั ที่ 10 กรกฎาคม 2555. เขา้ ถงึ ได้จาก http://www. nanosearch.co.th/product_pdf/472.pdf 15. Binkley, J.K, & Eales, J. (2000) The relationship between dietary change and rising US obesity. Intl J Obesity 24:1032-1039, 2000. 16. Gillis, L.J. & Bar-Or, O. (2003). Food away from home, sugar-sweetened drin Consumptio and juvenile obesity. Journal of the American College of Nutrition. 22(6): 539-545. 17. “มมุ มองบ้านสามยา่ น” อาหารไทย ความหวาน และน้ําตาล สืบค้นวันท่ี 2 สิงหาคม 2555 หนังสือพิมพ์ กรุงเทพธุรกิจ ฉบบั วันที่ 9 กรกฎาคม 2552 เข้าถึงไดจ้ าก http://anukpn. wordpress.com/2009/11/16/ 18. วชิ ยั เอกพลากร (บรรณาธกิ าร) (2552). รายงานส�ำ รวจสขุ ภาพ ประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกาย ครง้ั ที่ 4 พ.ศ. 2551- 2552 (หนา้ 47-126). กรงุ เทพ : เดอะกราฟิกซสิ เต็มส์. 19. สนุ นั ทา สขุ สมุ ติ ร. (2554). อาหารเชา้ เรอื่ ง (ไม)่ เลก็ ของเดก็ ๆ. สบื ค้นวนั ท่ี 6 สงิ หาคม 2555 เขา้ ถึง ได้จาก http://www. thaihealth.or.th/healthcontent/article/18999 20. เครอื ขา่ ยคนไทยไร้พุง. (ม.ป.ป.). อาหารเช้า ไม่กินเสย่ี งโรคอว้ น สืบค้นวนั ท่ี 2 สิงหาคม 2555 เข้าถึงได้จาก http://www.never- age.com/diet/diet.php?did=268 21. Davis, J. (2009). The importance of eating breakfast. Retrieved July 11, 2112, from http://www.everydayhealth. com/health-report/healthy-breakfast/importance-of-eating- breakfast.aspx 18 น้าํ ตาล สขุ ภาพ และการจัดการดา้ นการบริโภคทีเ่ หมาะสม

22. เยาวรตั น์ ปรปกั ษข์ าม และ พรพนั ธ์ุ บญุ ยรตั พนั ธ์ุ (บรรณาธกิ าร) (2549). รายงานสำ�รวจสุขภาพ ประชาชนไทยโดยการ ตรวจร่างกายคร้ังท่ี 3 พ.ศ. 2546-2547 (หนา้ 77-158). กรุงเทพ : โรงพิมพ์องค์การทหารผา่ นศึก. 23. Gourmet Cuisine (2551). การบรโิ ภคอาหารของคนไทย สบื คน้ วนั ที่ 12 กรกฎาคม 2555 เข้าถงึ ได้จาก http://www.gour- metthai.com/newsite/nutrition/nutrition_detail.php?content_ code=CONT328 24. ธานินทร์ อ่อนนุชมงคล. 200 ผลิตภัณฑ์ไม่มีนํ้าตาล-หวาน นอ้ ย เพอื่ สขุ ภาพคนไทยไมก่ นิ หวาน. สบื คน้ วนั ท่ี 12 กรกฎาคม 2555 เข้าถึงได้จาก http://www.sweetenough.in.th/index. php?option=com นํ้าตาล สขุ ภาพ และการจัดการด้านการบรโิ ภคทีเ่ หมาะสม 19

20 นา้ํ ตาล สุขภาพ และการจัดการดา้ นการบรโิ ภคทเ่ี หมาะสม

นา้ํ ตาลกบั สขุ ภาพ พญ. ชตุ ิมา ศริ กิ ุลชยานนท์* ทพญ.จันทนา อ้ึงชูศักด์ิ ** ความต้องการนํา้ ตาลในแต่ละช่วงวัย นา้ํ ตาลมีรสหวานและมักเปน็ ทช่ี ื่นชอบของคนสว่ นใหญ่ เป็นการ เตมิ ในอาหาร ขนม และเคร่อื งดมื่ แต่การบริโภคมากเกินไปสง่ ผลเสีย ตอ่ สขุ ภาพ จะเปน็ โรคอว้ น และปญั หาโรคหวั ใจและหลอดเลอื ด1 สมาคม โรคหวั ใจแหง่ ประเทศสหรฐั อเมรกิ า (American Heart Association) ได้ มกี ารทบทวนเรอ่ื งอาหารและวถิ ชี วี ติ โดยเฉพาะขดี จ�ำ กดั ของการบรโิ ภค นา้ํ ตาลทเี่ ตมิ ในอาหาร และแนะน�ำ ใหบ้ รโิ ภคจากอาหารทมี่ นี า้ํ ตาลตาม ธรรมชาติ และคารโ์ บไฮเดรตเชงิ ซอ้ น ซงึ่ จะมกี ารยอ่ ยและดดู ซมึ ชา้ กวา่ อาหารหรอื เครอ่ื งดมื่ ทเี่ ตมิ นา้ํ ตาล เมอ่ื บรโิ ภคแลว้ จะดดู ซมึ เขา้ สรู่ า่ งกาย อยา่ งรวดเร็ว อาหารที่ดตี ่อสขุ ภาพตามธรรมชาติจะมีนํา้ ตาลเชิงเดี่ยว (Monosaccharide) ไดแ้ ก่ ฟรคุ โตส๊ และ นา้ํ ตาลเชงิ คู่ (Disaccharide) ไดแ้ ก่ ซูโครส (sucrose) และแลคโตส (lactose) ซงึ่ เปน็ องคป์ ระกอบ ในผลไม้ นม และผลิตภณั ฑ์ผัก และธญั พืช การบรโิ ภคนํา้ ตาลเพื่อไมใ่ หเ้ กิดผลเสยี ตอ่ สขุ ภาพ ดงั ได้กล่าวมาแลว้ วา่ ไมจ่ ำ�เปน็ ตอ้ งเตมิ นา้ํ ตาลในอาหาร แตห่ าก จะเติมหรือต้องการบริโภค ควรพจิ ารณาปริมาณท่ีมใี นอาหารน้นั และ ควรดูตามวัยและพลงั งานทีไ่ ดร้ ับต่อวัน *คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหดิ ล **ส�ำ นกั ทนั ตสาธารณสขุ กรมอนามัย น้ําตาล สุขภาพ และการจดั การด้านการบรโิ ภคทเ่ี หมาะสม 21

ข้อแนะนำ�การบริโภคนา้ํ ตาลท่เี หมาะสมตอ่ วนั องคก์ ารอนามยั โลก 2003 ใหข้ อ้ แนะน�ำ การบรโิ ภคนา้ํ ตาลทเ่ี ตมิ ในอาหารไมค่ วรเกนิ ร้อยละ 10 ของพลังงานทีไ่ ดร้ ับใน 1 วัน ตามขอ้ แนะน�ำ ขององคก์ ารอนามยั โลกและธงโภชนาการ1 ระบวุ า่ นาํ้ ตาลคืออาหารทีใ่ หพ้ ลังงานสญู เปล่า (Empty calories) กล่าวคอื ให้ พลงั งานโดยไมม่ สี ารอาหารอน่ื ใด ดงั นนั้ จงึ กำ�หนดวา่ ปรมิ าณนาํ้ ตาลท่ี เปน็ Free sugar รา่ งกายควรไดร้ บั ใน 1 วนั ควรนอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 10 ของพลงั งานทงั้ หมด หรอื ไมเ่ กนิ 200 กโิ ลแคลอรตี อ่ วนั (Diet, nutrition and the prevention of chronic diseases. WHO technical report series 916. Geneva, World Health Organization, 2003: 56) (ตามมาตรฐาน Thai ADA กำ�หนดพลังงานทคี่ วรไดร้ บั ใน 1 วัน เท่ากบั 2,000 กิโลแคลอร)ี นอกจากนี้ กรมอนามัยไดจ้ ัดทำ�เอกสาร “ธงโภชนาการ” เผยแพร่ โดยแนะนำ�วา่ นาํ้ ตาลและนา้ํ มัน เปน็ อาหาร ทีอ่ ยใู่ นประเภท ควรบริโภคแต่น้อยเท่าท่ีจำ�เปน็ ไมค่ วรเกนิ 4, 6 และ 8 ชอ้ นชา ในผ้ทู ่ตี อ้ งการพลงั งานวันละ 1600, 2000 และ 2400 กโิ ลแคลอรตี ามล�ำ ดบั และเปน็ ทน่ี า่ สงั เกตวา่ การกำ�หนด “สารอาหาร ที่แนะนำ�ให้บริโภคประจำ�วันสำ�หรับคนไทยอายุต้ังแต่ 6 ปีขึ้นไป (Thai RDI)” เพ่ือเป็นฐานหรือเป็นตัวเลขกลางในการค�ำ นวณตัวเลข เพอื่ การแสดงฉลากโภชนาการนนั้ มกี ารก�ำ หนดคา่ ความตอ้ งการอาหาร ประเภทตา่ งๆ ไวเ้ ปน็ ปรมิ าณโดยนา้ํ หนกั แต่ ไมม่ กี ารก�ำ หนดปรมิ าณ “นา้ํ ตาล” ทแี่ นะน�ำ ตอ่ วนั แตไ่ ดห้ มายเหตไุ วว้ า่ “ส�ำ หรบั นา้ํ ตาลไมค่ วร บริโภคเกนิ ร้อยละ 10 ของพลงั งานทง้ั หมดทีไ่ ดร้ ับตอ่ วนั ” ในปี 2555 ส�ำ นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา ไดอ้ อกประกาศ กระทรวงสาธารณสุขท่ี เรื่องการแสดงฉลากโภชนาการในรูปแบบ GDA แบบไม่มีสี ตามมติคณะกรรมการอาหาร เห็นชอบประกาศ กระทรวงสาธารณสขุ มผี ลบงั คับใช้ เมอื วนั ที่ 24 สิงหาคม 2554 22 นํ้าตาล สุขภาพ และการจัดการดา้ นการบริโภคทีเ่ หมาะสม

เรอื่ ง การแสดงฉลากของอาหารสำ�เรจ็ รปู ทพี่ รอ้ มบรโิ ภคทนั ทบี างชนดิ (ฉบบั ท่ี 2) กำ�หนดใหแ้ สดงคา่ พลังงาน น้าํ ตาล ไขมนั และโซเดียม ในรปู แบบ GDA2 กบั อาหาร 5 ชนดิ ซึ่งเปน็ กลมุ่ อาหารตามประกาศ กระทรวงสาธารณะสขุ ฉบบั ที่ 305 (พ.ศ.2550) ไดแ้ ก่ มนั ฝร่งั ทอด หรืออบกรอบ ข้าวโพดค่ัวทอดหรืออบกรอบ ข้าวเกรียบหรืออาหาร ขบเคี้ยวชนิดอบพอง ขนมปังกรอบหรือแครกเกอร์หรือบิสกิต และ เวเฟอรส์ อดไส้ โดยประกาศฉบบั นี้ มผี ลบงั คับใช้ในวนั ที่ 24 สิงหาคม 2554 รปู แบบฉลากตาม GDA ก�ำ หนดปรมิ าณพลงั งานสงู สดุ ทบ่ี รโิ ภค ตอ่ วนั มีค่าเท่ากับ 2000 กิโลแคลอรี แบง่ เปน็ ได้ไขมัน 65 กรมั น้าํ ตาล 65 กรัม โซเดยี ม 2400 มลิ ลกิ รัม ปัจจุบันประเทศสหรัฐอเมริกาพบปัญหาว่า อาหารตลอดจน อาหารวา่ งและเครอื่ งดม่ื เตมิ นาํ้ ตาลในปรมิ าณทมี่ าก ประสบปญั หาของ ผลเสียจากการบริโภคนา้ํ ตาลต่อสุขภาพอยา่ งมาก กรมวชิ าการเกษตร สหรัฐอเมริกาจึงได้เสนอข้อแนะนำ�ปริมาณน้ําตาลท่ีเติมในอาหารได้ สงู สดุ ตอ่ วนั ส�ำ หรบั ชาวอเมรกิ นั 33 จากท่ี ไดศ้ กึ ษาและใหข้ อ้ แนะน�ำ ในการ บรโิ ภคนา้ํ ตาลดงั ตารางท่ี 1 หากจะบรโิ ภคนาํ้ ตาลท่ีเติมในอาหาร ในแต่ละวยั ไมค่ วรเกนิ ทก่ี ำ�หนด กล่าวคอื วัยกอ่ นเรยี น และวัยเรียน ไมค่ วรเกนิ 4 ชอ้ นชา/วนั วัยรุ่นไม่เกิน 5 ช้อนชา/วัน และผู้ใหญ่ท่ี สุขภาพปกตไิ มเ่ กิน 8 ชอ้ นชา/วนั ผทู้ ีเ่ ปน็ เบาหวานควรลดน้อยกวา่ คนปกติ นํา้ ตาล สุขภาพ และการจดั การด้านการบริโภคทีเ่ หมาะสม 23

ตารางท่ี 1 คำ�แนะนำ�ปริมาณนํ้าตาลที่เติมในอาหารได้สูงสุดต่อวัน จากกรมวชิ าการเกษตร สหรัฐอเมริกา33 กิโลแคลอร่ี วัยกอ่ น วัยเรยี น วยั ร่นุ ผใู้ หญ่ ผูส้ งู เรียน (1400- (1800) (2000) อายุ (1200) 1600) (1600) ปริมาณนํ้าตาล 4 4 583 (ช้อนชา) จำ�เปน็ หรือไมท่ ตี่ อ้ งเตมิ น้าํ ตาลในอาหาร มกั มคี วามเขา้ ใจผดิ วา่ นาํ้ ตาลเปน็ สง่ิ จ�ำ เปน็ ทช่ี ว่ ยใหพ้ ลงั งาน และ ตอ้ งเพมิ่ เพอ่ื ใหน้ าํ้ ตาลในเลอื ดไมต่ า่ํ แตจ่ รงิ ๆ แลว้ อาหารมอ้ื หลกั 3 มอื้ ท่มี ปี ริมาณและพลงั งานท่เี หมาะสมครบ 5 หมู่ ได้แก่ ขา้ ว โดยเฉพาะ ข้าวกล้อง เน้ือสตั ว์ ผกั และผลไม้ เมอ่ื ไดร้ บั การย่อยท้ังข้าว ธัญพืช และผลไม้ กจ็ ะได้นํ้าตาล และเป็นแหลง่ พลงั งานทเ่ี พยี งพอ สำ�หรับขา้ วกลอ้ ง ผักและผลไม้ มใี ยอาหาร จะช่วยใหก้ ารย่อย และดูดซึมระดับน้ําตาลในเลือดขึ้นอย่างช้าๆ และคงอยู่ในเลือดได้ ยาวนานกว่า ทำ�ให้อ่ิมนานและดีกว่าการรับประทานข้าวขัดสี หรือ อาหารท่เี ติมน้ําตาล อาหารประเภทแปง้ สกุ (Cooked starch) เช่น ขนมปงั ขา้ ว มนั ฝรงั่ จะมผี ลตอ่ การยอ่ ยและดดู ซมึ กลโู คส เชน่ เดยี วกบั กลโู คส แตถ่ า้ เปน็ แปง้ ดบิ จะดดู ซมึ ชา้ กวา่ และระดบั นาํ้ ตาลขน้ึ อยา่ งชา้ ๆ 24 นํ้าตาล สุขภาพ และการจดั การด้านการบรโิ ภคทีเ่ หมาะสม

ผลของการบรโิ ภคอาหารท่ีมีน้ําตาลสูง จากการศึกษาผลของเคร่ืองดื่มที่ให้พลังงานสูงจากการเติม นา้ํ ตาล ทำ�ให้เกิดปัญหา โรคอว้ น และไดร้ ับสารอาหารที่มปี ระโยชน์ ตอ่ รา่ งกายลดลง3,4 และการไดร้ บั นา้ํ ตาลฟรคุ โตส มากเกนิ ไป มผี ลตอ่ ภาวะด้ือตอ่ อินซลู ิน โรคอ้วน ความดนั โลหติ สงู ไขมันในเลอื ดสงู และ เบาหวานชนิดท่ี 2 ในคน 5-9 มีไขมันในชอ่ งท้องเพ่ิม10 น้าํ ตาลท่มี ากเกินความจำ�เปน็ จะสง่ ผลตอ่ สุขภาพดงั น้ี 1. ระดับไขมนั ชนิดของคาร์โบไฮเดรตสง่ ผลต่อระดับไขมันในรา่ งกาย โดย เฉพาะระดบั Triglyceride (TG) จะสูงข้ึน และ high-density lipopro- tein cholesterol (HDL-C) ลดลง11-13 น้ําตาลทราย (sucrose) และฟรคุ โตส มผี ลต่อการเพิม่ ขึ้นของ ระดับ TG หลังบริโภคอาหาร เน่อื งจากมกี ารสร้าง TG มากข้ึนท่ตี บั และ Very low -density lipoprotein (VLDL) ขณะเดียวกัน ลดการทำ�งานของ lipoprotein lipase ท่เี ซลล์ไขมัน ซงึ่ ทำ�หน้าท่ใี น การก�ำ จัด TG14,15 2. ความดันโลหติ การบรโิ ภคอาหารทม่ี นี า้ํ ตาลสงู อาจสง่ ผลตอ่ ความดนั โลหติ สงู 16 3. โรคฟันผุ การศึกษาวิจัยยืนยันว่าน้ําตาลเป็นสาเหตุของโรคฟันผุ นา้ํ ตาลเป็นปจั จัยหน่งึ แม้ไม่ใช่ปจั จยั เดียวเปน็ องคป์ ระกอบส�ำ คัญของ การเกดิ โรคฟนั ผุ ทงั้ นี้ การศกึ ษากระบวนการทางเคมพี สิ จู นว์ า่ หลงั การ บริโภคนํ้าตาลซูโครส ค่าพีเอชในคราบจุลินทรีย์จะลดตํ่าลงกว่า 5.5 ภายในระยะเวลา 2 นาที โรคฟนั ผเุ กดิ จากการกระท�ำ ของกรดอินทรีย์ ต่อเคลือบฟันที่อยู่บริเวณผิวฟัน นํ้าตาลในอาหารจะถูกเปล่ียนแปลง น้าํ ตาล สขุ ภาพ และการจดั การด้านการบริโภคทเ่ี หมาะสม 25

อย่างรวดเร็วให้กลายเป็นกรดได้ภายในไม่กี่นาทีโดยการทำ�งานของ แบคทีเรียในแผ่นคราบจุลินทรีย์บนผิวฟัน ทุกๆคร้ังท่ีมีการบริโภค นํ้าตาลก็จะเกิดการสูญเสียแคลเซียมและฟอสเฟตของเคลือบฟัน แม้ กระบวนการนอี้ าจเกดิ การยอ้ นกลบั ไดเ้ มอ่ื เวลาผา่ นไดร้ าว 20 นาทถี งึ 2 ชว่ั โมง แรธ่ าตทุ สี่ ญู เสยี ไปกอ็ าจไดร้ บั การแทนทโ่ี ดยนาํ้ ลาย อยา่ งไร กต็ าม ถ้ามกี ารบริโภคน้ําตาลบอ่ ยๆ ก็จะทำ�ใหก้ ารสูญเสียแรธ่ าตขุ อง เคลือบฟันเกิดขึ้นซํ้าๆจนไม่อาจทดแทนได้ ซึ่งถ้าการเสียสมดุลนี้เกิด ตดิ ต่อกันเป็นเวลาระยะหน่งึ กจ็ ะน�ำ ไปส่กู ารเกดิ ฟนั ผไุ ดใ้ นทสี่ ดุ นํ้าตาลทุกชนิดทำ�ให้เกิดฟันผุได้ แต่น้ําตาลซูโครสอาจมีผล ต่อการเกิดฟันผุสูงสุด การศึกษาของ Woodward และ Walker17 โดยเปรยี บเทยี บสภาวะฟนั ผจุ ากฐานขอ้ มลู องคก์ ารอนามยั โลก กบั การ บรโิ ภคนา้ํ ตาลของ 90 ประเทศ พบวา่ โดยภาพรวมคา่ เฉลย่ี ฟนั ผสุ มั พนั ธ์ กบั การบรโิ ภคน้ําตาลทเ่ี พิ่มขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศกำ�ลงั พัฒนา แม้ว่าการวิจัยในระยะหลังๆท่ีมีการใช้ฟลูออไรด์มากข้ึน จะพบความ สัมพันธ์ของการบริโภคน้ําตาลกับการเกิดฟันผุน้อยลง แต่การบริโภค บอ่ ยๆและมากเกินไป ยังคงมคี วามสัมพนั ธ์ โดยภาพรวม การบรโิ ภค นา้ํ ตาลจึงยังเปน็ ปจั จยั เสีย่ งต่อการเกิดโรคฟันผุ 4. การอักเสบในรา่ งกาย (Inflammation) มีรายงานจากหลายการศกึ ษา18-20 พบวา่ การบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มที่มีน้ําตาลสูง มีความสัมพันธ์กับการเกิดการอักเสบและ Oxidative stress ในรา่ งกาย 5. โรคอ้วน โรคอว้ นเกดิ จากการไดร้ บั พลงั งานจากอาหารมากเกนิ ไป และ มกี ารใชพ้ ลงั งานนอ้ ยเกนิ ไป นาํ้ ตาลเปน็ อาหารอกี กลมุ่ หนง่ึ ทอ่ี าจทำ�ให้ คนไดร้ บั พลงั งานมากเกนิ ไป โดยเฉพาะจากเครอื่ งดมื่ ตา่ งๆ รายงานหลาย 26 นาํ้ ตาล สุขภาพ และการจดั การด้านการบริโภคทีเ่ หมาะสม

การศึกษา พบความสัมพันธ์ของการเกิดโรคอ้วนกับการด่ืมเคร่ืองด่ืม ท่มี ีนํ้าตาลสูง21-23 และจะท�ำ ใหบ้ ริโภคอาหารเพิม่ ข้ึนรอ้ ยละ 10 ใน เพศหญงิ และรอ้ ยละ 26 ในเพศชาย24 Troiano และคณะ25 รายงานวา่ พบความสมั พนั ธข์ องการดม่ื นา้ํ อดั ลมกบั โรคอว้ น การศกึ ษาของ Berkey CS. ในปี 200426 รายงานถึงการเพิม่ BMI ในเด็กอายุ 9-14 ปี พบว่าเด็กหญิงท่ีดื่มเคร่ืองดื่มมีน้ําตาลเป็นประจำ�จะมีน้ําหนักมากกว่า อย่างมีนัยสำ�คัญ และท้ังเด็กหญิงและชาย พบความสัมพันธ์เชิง dose-response ของ การดม่ื เครอื่ งดม่ื มนี าํ้ ตาลกบั BMI และการศกึ ษา ของ Ludwig และคณะ27 ถงึ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งความชกุ ของโรคอว้ นใน เดก็ และการบรโิ ภคเครอื่ งดม่ื ทม่ี นี าํ้ ตาล ระหวา่ งปี 1995-1997 พบวา่ 548 คน อายเุ ฉลย่ี 11.7 ปี ติดตามตอ่ เนอ่ื ง 19 เดอื น เปรียบ เทียบการบริโภคเครื่องด่ืมที่มีนํ้าตาล ตั้งแต่เร่ิมต้นจนส้ินสุดโครงการ และความสัมพันธ์กับโรคอ้วน ผลการศึกษาพบว่า ทุกๆแก้วของการ ดม่ื เครื่องด่มื รสหวานทีเ่ พ่ิมขึน้ จะสมั พันธก์ บั การเพม่ิ ของ BMI และ ความชกุ ของการเกดิ โรคอว้ นอยา่ งมนี ยั สำ�คญั ผวู้ จิ ยั สรปุ วา่ การบรโิ ภค เคร่อื งดืม่ ทมี่ ีนาํ้ ตาล มีความสมั พนั ธ์กบั โรคอว้ นในเดก็ 6. โรคเบาหวาน การศึกษาท่ีผ่านมา ยังไม่สามารถอธิบายความสัมพันธ์ โดยตรงระหวา่ งการบรโิ ภคนา้ํ ตาลกบั โรคเบาหวาน แตม่ รี ายงานถงึ การ เกดิ โรคเบาหวานชนดิ ท่ี 2 เพ่ิมมากขนึ้ ในผู้ทบี่ ริโภคน้ําตาลปริมาณ มากและมภี าวะอว้ น เช่น การศกึ ษาของ Schulze และคณะ ในปี 200428 ได้ศกึ ษาติดตามไปขา้ งหน้าในกลุ่มพยาบาลหญิงเป็นเวลา 8 ปี พบวา่ กลมุ่ ตัวอย่างทีด่ ืม่ นา้ํ อดั ลม เคร่อื งด่มื มีนํา้ ตาล และนาํ้ ผลไม้ วันละ 1 คร้ังหรอื มากกวา่ จะมนี ้ําหนกั ตวั เพม่ิ ข้นึ มากกว่ากลุ่มทีล่ ด การดม่ื ลงอยา่ งมนี ยั สำ�คญั และมคี วามเสย่ี งตอ่ การเกดิ เบาหวานชนดิ ที่ สอง 1.83 เทา่ เมือ่ เทียบกบั ผู้ทดี่ ืม่ นอ้ ยกว่าเดือนละ 1 ครงั้ สำ�หรบั นํา้ ตาล สุขภาพ และการจดั การดา้ นการบรโิ ภคที่เหมาะสม 27

ผทู้ ่ดี มื่ นาํ้ ผลไม้วันละ 1 ครัง้ จะมคี วามเสี่ยงเป็น 2 เท่า ของผทู้ ด่ี ื่ม เดือนละ 1 ครั้งเช่นเดียวกัน ผู้วิจัยสรุปว่าการด่ืมเค่ืองดื่มมีนํ้าตาล มีความสัมพันธ์กับน้ําหนักตัวเพิ่มขึ้น และเพ่ิมความเสี่ยงในการเป็น เบาหวานชนดิ ที่ 2 ทง้ั นเ้ี พราะผดู้ มื่ จะไดร้ บั พลงั งานสว่ นเกนิ เพมิ่ มากขนึ้ และมีการดดู ซมึ นํ้าตาลไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ 7. ความชอบ ทั้งอาหารรสหวาน และไขมันสูงจะกระตุ้นให้เกิดความ อยากอาหาร มีการหลง่ั opioids และ dopamine ท�ำ ใหร้ บั ประทาน อาหารเพ่มิ ขึน้ 29-30 หลายการศึกษาในเด็กพบว่า มคี วามสมั พนั ธ์ ของ ความเครียดกบั เครอื่ งด่ืมท่ีเตมิ น้าํ ตาล ลูกอมและขนมหวาน31-32 8. ผลของเคร่ืองด่มื กบั การบรโิ ภคอาหารพลงั งานสงู รูปแบบของอาหารที่บริโภค มีความสัมพันธ์กับความสมดุล ของพลังงาน มรี ายงานการศึกษาพบว่า เครอ่ื งด่ืมที่ใหพ้ ลังงานสูงทำ� ให้นา้ํ หนักเพ่มิ มากกว่าอาหารธรรมดา (solid food) ทีใ่ หพ้ ลงั งานสงู ได้ให้เหตุผลว่าเคร่ืองดื่มรสหวานส่งสัญญาณไปศูนย์ความอิ่มในสมอง ได้นอ้ ยกว่า solid food ทีใ่ หพ้ ลงั งานสงู 33-35 และมีการศึกษายืนยนั ว่าการลดเคร่ืองดื่มท่ีเติมน้ําตาล มีผลต่อการลดน้ําหนักได้มากกว่า solid food ทพี่ ลงั งานสูง36 9. การได้รับสารอาหารอน่ื จากการส�ำ รวจโภชนาการและสขุ ภาพแหง่ ชาติ ครง้ั ที่ 3 ของ ประเทศสหรัฐอเมรกิ าพบวา่ เครือ่ งดมื่ ท่มี ีนํ้าตาล ท�ำ ใหก้ ารไดร้ ับสาร อาหาร แคลเซย่ี ม วติ ามนิ เอ ธาตเุ หลก็ และสงั กะสลี ดลง โดยเฉพาะกลมุ่ ทบ่ี ริโภคน้าํ ตาลเกิน ร้อยละ 25 ของพลังงาน มีผู้ศกึ ษาพบวา่ อาหาร ท่มี นี ้าํ ตาลสูง มกั จะมีสารอาหารนอ้ ยกวา่ อาหารท่มี ีนา้ํ ตาลน้อยกวา่ 37 บบทสรปุ 28 น้ําตาล สุขภาพ และการจดั การด้านการบรโิ ภคท่ีเหมาะสม

มีการค้นพบองคค์ วามรู้ใหมๆ่ เพม่ิ มากข้นึ จากการศกึ ษาวจิ ัยถึง ผลกระทบของนํ้าตาลต่อสุขภาพ แม้ว่าผลของนํ้าตาลต่อการเกิดฟันผุ จะเป็นโรคที่อธิบายได้ชัดเจนท่ีสุดด้วยปฏิกิริยาทางเคมี แต่การศึกษา ทางระบาดวิทยา ท้ังแบบตัดขวางและติดตามไปขา้ งหนา้ ท�ำ ใหเ้ ห็นถงึ ความสมั พนั ธ์ของการบรโิ ภคน้ําตาลมากเกินไปกับโรคอ้วน และทำ�ให้ เพม่ิ ความเสย่ี งของการเป็นโรคเบาหวาน การเพมิ่ ของไขมัน และการ ได้รับสารอาหารทมี่ คี ณุ คา่ อื่นๆน้อยลง เอกสารอ้างองิ 1. Howard BV, Wylie-Rosett J. Sugar and cardiovascular disease: a statement for healthcare professionals from the Committee on Nutrition of the Council on Nutrition, Physical Activity, and Metabolism of the American Heart Association. Circulation 2002;106:523-527. 2. National Cancer Institute. Usual intake of added sugars. In: Usual Dietary Intakes: Food Intakes, US Population 2001-04. November 2008. Available at: http://riskfactor. cancer.gov/diet/usualintakes/pop/t35.html. Accessed Janu- ary 4, 2009. 3. Vartanian LR, Schwartz MB, Brownell KD. Effects of soft drink consumption on nutrition and health: a systematic review and meta-analysis. Am J Public Health 2007;97: 667- 675. 4. Tordoff MG, Alleva AM. Effect of drinking soda sweetened with aspartame or high-fructose corn syrup on food intake and body weight. Am J Clin Nutr 1990;51:963-969. 5. Lê KA, Tappy L. Metabolic effects of fructose. Curr Opin น้าํ ตาล สขุ ภาพ และการจดั การด้านการบริโภคทีเ่ หมาะสม 29

Clin NutrMetab Care. 2006;9:469-475. 6. Havel PJ. Dietary fructose: implications for dysregulation of energy homeostasis and lipid/carbohydrate metabolism. Nutr Rev. 2005;63:133-157. 7. Gross LS, Li S, Ford ES, Liu S. Increased consumption of refined carbohydrates and the epidemic of type 2 diabetes in the United States: an ecologic assessment. Am J Clin Nutr 2004;79:774 -779. 8. Elliott SS, Keim NL, Stern JS, Teff K, Havel PJ. Fructose, weight gain, and the insulin resistance syndrome. Am J Clin Nutr 2002;76:911-922. 9. Dhingra R, Sullivan L, Jacques PF, Wang TJ, Fox CS, Meigs JB, et al. Soft drink consumption and risk of developing cardiometabolic risk factors and the meta- bolic syndrome in middle-aged adults in the community. Circulation 2007;116:480-488. 10. Stanhope KL, Schwarz JM, Keim NL, Griffen SC, Bremer AA, Graham JL, et al. Consuming fructose-sweetened, not glucose-sweetened, beverages increases visceral adiposity and lipids and decreases insulin sensitivity in overweight/obese humans. J Clin Invest. 2009;119: 1322-1334. 11. Hellerstein MK. Carbohydrate-induced hypertriglyceridemia: modifying factors and implications for cardiovascular risk. Curr Opin Lipidol 2002;13:33-40. 12. Mensink RP, Zock PL, Kester AD, Katan MB. Effects 30 นํ้าตาล สุขภาพ และการจัดการด้านการบรโิ ภคที่เหมาะสม

of dietary fatty acids and carbohydrates on the ratio of serum total to HDL cholesterol and on serum lipids and apolipoproteins: a meta-analysis of 60 controlled trials. Am J Clin Nutr 2003;77:1146 -1155. 13. Appel LJ, Sacks FM, Carey VJ, Obarzanek E, Swain JF, Miller ER III, et al. Effects of protein, monounsaturated fat, and carbohydrate intake on blood pressure and serum lipids: results of the OmniHeart randomized trial. JAMA 2005; 294:2455-2464. 14. Fried SK, Rao SP. Sugars, hypertriglyceridemia, and cardiovascular disease. Am J Clin Nutr. 2003;78:873S- 880S. 15. Chong MF, Fielding BA, Frayn KN. Mechanisms for the acute effect of fructose of postprandial lipemia. Am J Clin Nutr 2007;85:1511-1520. 16. Dhingra R, Sullivan L, Jacques PF, Wang TJ, Fox CS, Meigs JB,et al. Soft drink consumption and risk of de- veloping cardiometabolic risk factors and the metabolic syndrome in middle-aged adults in the community. Circu- lation 2007; 116:480-488. 17. Woodward M., and Walker A.R.P. (1994) Sugar consumption and dental caries: Evidence from 90 countries. Br Dent J; 176, 297-302 18. Liu S, Manson JE, Buring JE, Stampfer MJ, Willett WC, Ridker PM. Relation between a diet with a high glycemic load and plasma concentrations of high-sensitivity นา้ํ ตาล สขุ ภาพ และการจดั การด้านการบรโิ ภคทเี่ หมาะสม 31

C-reactive protein in middle-aged women. Am J Clin Nutr 2002;75:492- 498. 19. Price KD, Price CS, Reynolds RD. Hyperglycemia-induced ascorbic acid deficiency promotes endothelial dysfunction and the development of atherosclerosis. Atherosclerosis 2001;158:1-12. 20. Scribner KB, Pawlak DB, Ludwig DS. Hepatic steatosis and increased adiposity in mice consuming rapidly vs. slowly absorbed carbohydrate. Obesity (Silver Spring) 2007;15:2190-2199. 21. Bachman CM, Baranowski T, Nicklas TA. Is there an association between sweetened beverages and adiposity? Nutr Rev 2006;64: 153-174. 22. Malik VS, Schulze MB, Hu FB. Intake of sugar-sweetened beverages and weight gain: a systematic review. Am J Clin Nutr. 2006;84:274-288. 23. Palmer JR, Boggs DA, Krishnan S, Hu FB, Singer M, Rosenberg L. Sugar-sweetened beverages and incidence of type 2 diabetes mellitus in African American women. Arch Intern Med. 2008;165:1487-1492. 24. Flood JE, Roe LS, Rolls BJ. The effect of increased beverage portion size on energy intake at a meal. J Am Diet Assoc. 2006;106:1984 -1990. 25. Troiana R.P., Briefel R.R., maeeoll M.D., Bialostosky K. (2000) Energy and fat intakes of children and adolescents in the United States: Data fron National 32 นา้ํ ตาล สุขภาพ และการจดั การดา้ นการบริโภคท่ีเหมาะสม

Health and Nutrition Examination Surveys. Am J Clin Nutr;70:1343S-1353S. 26. Berkey CS, Rockett HRH, Field AE, Gillman MW, and Colditz GA. Sugar-Added Beverages and Adolescent Weight Change. OBESITY RESEARCH Vol. 12 No. 5 May 2004 778-788 27. Ludwig D.S., Petersen K.E., Gortmaker S.L.(2000) Relation between consumption of sugar-sweetened drinks and childhood obesity; a prospective, observational analysis. Lancet 357:505-508 28. Shulze MB., Manson JAE., Ludwig DS.,Colditz GA., Stampfer MJ., Willett WC and Hu FB., Sugar-Sweetened Beverages, Weight Gain, and Incidence of Type 2 Diabetes in Young and Middle-Aged Women. JAMA, (2004); 292(8):927- 934 Downloaded From: http://jama.jamanetwork.com/ on 08/13/2012 29. Kelley AE, Bakshi VP, Haber SN, Steininger TL, Will MJ, Zhang M. Opioid modulation of taste hedonics within the ventral striatum. Physiol Behav. 2002;76:365-377. 30. Pelchat ML, Johnson A, Chan R, Valdez J, Ragland JD. Images of desire: food-craving activation during fMRI. Neuroimage. 2004;23:1486-1493. 31. Nguyen-Michel ST, Unger JB, Spruijt-Metz D. Dietary correlates of emotional eating in adolescence. Appetite. 2007;49:494-499. 32. Oliver G, Wardle J. Perceived effects of stress on food นา้ํ ตาล สุขภาพ และการจดั การดา้ นการบริโภคที่เหมาะสม 33

choice. Physiol Behav. 1999;66:511-515. 33. Dallman MF, Pecoraro N, Akana SF, La Fleur SE, Gomez F, Houshyar H, et al. Chronic stress and obesity: a new view of “comfort food.” Proc Natl Acad Sci U S A.2003;100:11696 -11701. 34. Mattes R. Fluid calories and energy balance: the good, the bad, and the uncertain. Physiol Behav. 2006;89:66-70. 35. DiMeglio DP, Mattes RD. Liquid versus solid carbohydrate: effects on food intake and body weight. Int J Obesity. 2000;24:794-800. 36. Chen L, Appel LJ, Loria C, Lin PH, Champagne CM, Elmer PJ, et al. Reduction in consumption of sugar-sweetened beverages is associated with weight loss: the PREMIER trial. Am J Clin Nutr. 2009;89:1299 -1306. 37. Johnson R K, Appel LJ, Brands M, Howard BV, Lefevre M, Lustig RH, et al.Dietary Sugars Intake and Cardiovascular Health. A Scientific Statement From the American Heart Association. Circulation 2009; 120: 1011-1020. 34 นาํ้ ตาล สุขภาพ และการจดั การด้านการบริโภคท่ีเหมาะสม

ผลกระทบในเชิงเศรษฐศาสตรแ์ ละ คณุ ภาพชวี ติ ทพญ.จันทนา อึ้งชศู กั ด์*ิ การบรโิ ภคนา้ํ ตาลมากเกนิ ไป อาจสง่ ผลกระทบเชงิ เศรษฐศาสตร์ 2 ดา้ น ดา้ นแรกคอื ผลกระทบโดยตรงดา้ นคา่ ใชจ้ า่ ยทเี่ พมิ่ ขน้ึ ของบคุ คล หรอื ครัวเรือน ดา้ นที่สองมาจากคา่ ใช้จ่ายเนอื่ งมาจากสขุ ภาพและการ เจบ็ ปว่ ย ขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษแ์ สดงใหเ้ หน็ วา่ การบรโิ ภคนา้ํ ตาลมากเกนิ ไป ทงั้ ในเชงิ ปรมิ าณและความถ่ี กอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาสขุ ภาพทส่ี �ำ คญั 2 ประการ คือ โรคอ้วน (และโรคท่ีตามมาจากความอ้วน) และโรคฟันผุ การทบทวนวรรณกรรมต่อไปนี้จึงเน้นท่ีผลกระทบท่ีเกิดจากโรคอ้วน และโรคฟันผุเปน็ หลกั คา่ ใช้จ่ายของบุคคลหรือครวั เรอื น ส�ำ นกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ (2543) ไดร้ ายงานผลการสำ�รวจภาวะ เศรษฐกิจและสงั คมของครวั เรอื น พ.ศ. 25431 ไวว้ ่าครวั เรือนไทยมี คา่ ใชจ้ า่ ยในการซอ้ื นาํ้ ตาลและขนมหวานเฉลย่ี 101 บาท/เดอื น กาแฟ และชา 94 บาท/เดือน เคร่ืองด่ืมไม่มีแอลกอฮอล์ (ได้แก่นํ้าอัดลม นาํ้ หวาน นา้ํ ผลไม้ ฯลฯ) 87 บาท/เดอื น โดยครวั เรอื นในกรงุ เทพมหานคร และภาคกลางมีรายจ่ายกล่มุ นส้ี งู สุด รองลงมาได้แก่ภาคใต้ ภาคเหนือ และภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ตามลำ�ดับ *ส�ำ นกั ทนั ตสาธารณสุข กรมอนามยั 35 นาํ้ ตาล สุขภาพ และการจัดการด้านการบรโิ ภคทเ่ี หมาะสม

ค่าใช้จ่ายในการซ้ือน้ําตาลและขนมหวานในครัวเรือนน้ี อีก ส่วนหนึ่งท่ีมากกว่า เป็นค่าใช้จ่ายสำ�หรับเป็นค่าขนมให้เด็กและ เยาวชนไปโรงเรียน ดังเชน่ การศึกษาของ สถาบนั มายา หรือสถาบนั ศลิ ปวฒั นธรรมเพอ่ื การพฒั นา ในโครงการเดก็ ไทยรทู้ นั เมอ่ื ปี 25472 รายงานวา่ เดก็ และเยาวชนอายุ 5-24 ปี ประมาณ 21 ล้านคน ใช้จา่ ยเงนิ เป็นค่าขนมไปโรงเรียน ปีละ “หน่งึ แสนหกหมน่ื หนง่ึ พันหา้ ร้อยแปดสิบลา้ นบาท” หรอื คดิ เปน็ ร้อยละ 15.7 ของเงินงบประมาณ แผน่ ดนิ พ.ศ.2547 หรอื มากกวา่ งบประมาณประจ�ำ ปขี อง 6 กระทรวง หลักรวมกัน การศึกษาในครอบครัวไทย 16 ล้าน ครวั เรอื น ให้เงิน ลูกซ้อื ขนม เฉลี่ยคนละ 9,810.56 บาท ตอ่ ปี หรอื เฉลี่ย 800 บาท ตอ่ คนตอ่ เดอื น ในขณะทคี่ รอบครวั ใชจ้ า่ ยเงนิ เพอ่ื การศกึ ษาของลกู เฉลย่ี ปีละเพียง 3,024 บาท น้อยกวา่ เงนิ ซอื้ ขนมถึง 3.24 เท่า ส�ำ หรับการศึกษาของเครอื ข่ายเดก็ ไทยไม่กินหวานในปี 25483 โดยการสำ�รวจในเดก็ อายุ 3-12 ปี ในโรงเรียนและศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ ใน 24 จังหวดั ทั่วประเทศน้ัน พบว่าเด็กมคี ่าใชจ้ ่ายเปน็ คา่ ขนม เฉล่ยี คนละ 8-10 บาท/วัน ค่าเคร่อื งด่ืม 5 บาท/วัน รวมประมาณ 13-15 บาท/วัน เม่ือคิดต่อเด็กท้ังหมด จะมีมูลค่าเป็นค่าขนมและ เครื่องด่ืม117-135 ลา้ นบาท/วันเลยทเี ดียว นอกจากนย้ี ังพบว่าการ ได้รบั นาํ้ ตาลจากเครือ่ งด่ืมตอ่ ขนม คิดเปน็ สัดส่วน 7.4 : 2.8 ขอ้ มลู ทงั้ สองของการศกึ ษาขา้ งต้น ยนื ยนั เพม่ิ เตมิ จากข้อมูลชดุ ย่อยทบี่ ันทึกดว้ ยระบบบัญชีครวั เรอื น เช่นรายงานบัญชีครวั เรือน ของ ต�ำ บลก�ำ แมด อ.กดุ ชมุ จ.ยโสธร รายงานโดยส�ำ นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การวิจยั จังหวัดยโสธร เมื่อ 14 มิถนุ ายน 25554 พบวา่ ครัวเรือน ในตำ�บล มีรายจ่ายค่าขนมขบเค้ียว 142 บาท ค่า ชา กาแฟ น้าํ อัดลม 105 บาท ค่าขนมเด็กไปโรงเรียน 1,226 บาท รวมเปน็ รายจา่ ย 1,473 บาท/เดือน หรอื คิดเปน็ ร้อยละ 42.7 ของรายจ่าย 36 น้าํ ตาล สขุ ภาพ และการจดั การด้านการบรโิ ภคทเ่ี หมาะสม

ค่าอาหาร หรือเปน็ ร้อยละ 11.7 ของรายได้ตอ่ เดอื น ในขณะทจ่ี า่ ย คา่ ผักผลไมเ้ พียง 98 บาท ค่าใช้จ่ายของประชาชน ยังอาจพิจารณาได้จากตัวเลขมูลค่า การตลาดของขนมหวาน ขนมขบเค้ียว และเครื่องด่ืม นิตยสาร Positioning5 รายงานตลาดขนมหวานส�ำ เรจ็ รปู ปี 2552 วา่ ในเอเชยี มีอัตราการขยายตัวประมาณร้อยละ 5.7 โดยแบ่งสัดส่วนเป็นขนม ในกลุ่มช็อคโกแลตมากทีส่ ุดถึงร้อยละ 51.2 ตามด้วยขนมหวานจาก นาํ้ ตาลรอ้ ยละ 31.6 และหมากฝรง่ั รอ้ ยละ 15.6 ตามลำ�ดบั สว่ นตลาด ขนมหวานส�ำ เรจ็ รปู ของไทยในปี 2551 มมี ลู ค่าตลาดรวมในประเทศ กวา่ 10,000 ล้านบาท แบง่ สัดส่วนไดโ้ ดยประมาณเป็นกล่มุ ลูกอมถงึ ร้อยละ 50 หมากฝรั่งและช็อคโกแลตมีสดั ส่วนเท่าๆ กนั คือ รอ้ ยละ 25 ซงึ่ ในทกุ ผลติ ภณั ฑม์ มี ลู คา่ ตลาดสงู ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ในขณะทตี่ ลาด ขนมขบเคย้ี วปี 2552 มมี ลู คา่ ตลาดอยทู่ ป่ี ระมาณ 12,000 ลา้ นบาท6 ขณะท่ีศูนย์วิจัยกสิกรไทย รายงานสัดส่วนมูลค่าตลาดเครื่องดื่ม ปี 2553-2554 เพิ่มขึ้นจาก 75,000 ล้านบาท เป็น 84,000 ล้านบาท ในปี 2554 แบ่งสัดสว่ นเปน็ น้าํ ดืม่ บรรจุขวดร้อยละ 25.0 นาํ้ อดั ลม 45.0 นา้ํ ผกั ผลไม้ 11.2 ชาพรอ้ มดมื่ 10.8 และฟงั กช์ นั นลั ดรงิ ก์ 7.1 นอกจากน้ี ข้อมลู จากบริษัท The Nielsen Co.Ltd. รายงานว่า ปี 2552-2554 มูลคา่ การตลาดของนํา้ ผลไม้เพิม่ จาก 8,494 ล้าน บาท เปน็ 10,384 ลา้ นบาท สว่ นมลู ค่าตลาดน้าํ อดั ลมมแี นวโนม้ สงู ขนึ้ ต้ังแตป่ ี 2552 จาก 28,443 เปน็ 29,738 ท้ังนมี้ ูลคา่ การตลาด ท้ังของเครือ่ งดมื่ และของว่าง เพม่ิ ข้นึ เกือบทุกหมวด ดงั ตารางที่ 2 นํ้าตาล สุขภาพ และการจัดการด้านการบริโภคทเ่ี หมาะสม 37

ตารางท่ี 2 มลู ค่าการจ�ำ หน่ายเครือ่ งด่ืม Sugar beverage, Non alcohol ทกุ ประเภท ขนมถงุ ส�ำ เรจ็ รปู ประเภทตา่ งๆ ทงั้ ประเทศ ปี 2552 - 2554 มูลคา่ จำ�หนา่ ย (Sale Value/ลา้ นบาท) มลู ค่าท้ังประเทศ 2552 2553 2554 1. นา้ํ ผลไม้ 8,494 10,104 10,384 2. นาํ้ อดั ลม 28,443 30,995 29,738 3. ชาพร้อมด่มื (RTD Tea) 6,317 7,788 9,462 4. กาแฟพร้อมด่มื (RTD coffee) 8,804 9,419 9,747 5. Instant Coffee (Pure) 4,231 4,128 4,133 6. Instant coffee (ชนดิ Mix, 10,907 12,878 14,296 3 in 1 และ อนื่ ๆ) (Kgs) 7. เคร่ืองดม่ื ชูก�ำ ลงั (Energy 15,210 16,654 17,592 Drinks) 8. Liquid Milk 34,674 36,853 39,709 (UHT+Pasteurize+Sterlise) 9. Snack ท่ีเป็น โปรตีน 5,665 6,086 7,126 10. Snack อน่ื ๆ 14,739 16,055 18,210 11. Biscuits 8,007 8,837 9,947 12. Candy 5,385 5,468 5,995 13. Ice Cream 4,836 5,393 5,805 ทม่ี า: บริษัท The Nielsen Co., Ltd., มิถุนายน 2555 38 นา้ํ ตาล สุขภาพ และการจดั การดา้ นการบริโภคท่เี หมาะสม

ผลกระทบในเชิงเศรษฐศาสตร์และคุณภาพชวี ิตจากโรคอว้ น มกี ารศกึ ษาทง้ั ในประเทศไทยและตา่ งประเทศ ทย่ี นื ยนั วา่ โรคอว้ น สง่ ผลกระทบในทางลบตอ่ ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศ ปญั หาทเี่ กดิ จาก โรคอว้ นมไิ ดม้ ีผลเฉพาะตอ่ ระบบสาธารณสขุ เทา่ นน้ั แต่มผี ลตอ่ สุขภาพ และการเสยี ชีวติ กอ่ นวัยอันควร มนทรตั ม์ ถาวรเจรญิ ทรัพยแ์ ละคณะ (2554)8 ไดศ้ กึ ษาผลกระทบในเชงิ เศรษฐศาสตรแ์ ละคณุ ภาพชวี ติ จาก โรคอว้ นในประเทศไทย โดยคดิ ค่าใชจ้ ่ายทางตรงและทางออ้ มจากโรค ทมี่ สี าเหตุมาจากความอว้ นครอบคลมุ 13 โรค พบว่าค่าใชจ้ ่ายดา้ น สขุ ภาพทเ่ี กดิ ขน้ึ จากโรคอว้ นในปดี งั กลา่ ว มมี ลู คา่ สงู ถงึ 5,584 ลา้ นบาท คา่ ใชจ้ า่ ยทเ่ี กดิ ขน้ึ ในเพศหญงิ สงู กวา่ เพศชาย 2.5 เทา่ โรคทม่ี สี าเหตมุ า จากความอว้ นซงึ่ กอ่ ใหเ้ กดิ การสญู เสยี คา่ รกั ษาพยาบาลมากทสี่ ดุ 3 อนั ดบั ได้แก่ เบาหวาน หัวใจขาดเลือด และมะเร็งลำ�ไส้ตามลำ�ดับ ท้ังน้ี ตน้ ทนุ ทางเศรษฐกจิ ทเ่ี กดิ จากโรคอว้ นในประเทศไทยมมี ลู คา่ รวมทง้ั สน้ิ ถึง 12,142.2 ล้านบาท คดิ เปน็ ร้อยละ 0.13 ของผลิตภณั ฑม์ วลรวม ประชาชาติ และค่าใช้จ่ายดา้ นสขุ ภาพจากโรคอ้วน คดิ เป็นรอ้ ยละ 2.2 ของคา่ ใช้จา่ ยดา้ นสขุ ภาพทัง้ หมดในปีเดยี วกนั ในด้านผลกระทบของโรคอ้วนต่อคุณภาพชีวิต การศึกษาของ มนทรัตมแ์ ละคณะ ยงั พบวา่ โรคอว้ นสง่ ผลกระทบด้านลบตอ่ คณุ ภาพ ชีวิตอย่างมีนัยสำ�คัญ โดยพบว่าผู้ท่ีมีน้ําหนักเกินและมีภาวะอ้วน รายงานว่า “มปี ัญหา” ในการเคลือ่ นไหวและการเจบ็ ปวด ไมส่ ขุ สบาย สงู กวา่ ผ้มู ีน้าํ หนักปกติ การศกึ ษาจ�ำ นวนปที ส่ี ญู เสยี ปสี ขุ ภาวะของประชากรไทยตามกลมุ่ ของสาเหตรุ ะหว่าง พ.ศ.2542 และ 2547 จำ�แนกตามเพศ และ กลมุ่ ของสาเหตุ พบว่า ความสญู เสียปสี ุขภาวะทเี่ กิดจากโรคทีม่ ีสาเหตุ มาจากความอ้วน พบไดใ้ นกลุ่มอายุ 30-59 ปี และ 60 ปี ขนึ้ ไป โดยในกลุ่มอายุ 60 ปี ข้นึ ไป สาเหตุหลกั ทง้ั ในชายและหญิง ไดแ้ ก่ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเรง็ และโรคเบาหวาน9 นํ้าตาล สุขภาพ และการจดั การดา้ นการบริโภคท่ีเหมาะสม 39

ผลกระทบในเชิงคณุ ภาพชีวิตจากโรคฟันผุ ความถข่ี องการบรโิ ภคนาํ้ ตาล มคี วามสมั พนั ธโ์ ดยตรงกบั การเกดิ โรคฟนั ผซุ ง่ึ เปน็ สาเหตขุ องการสญู เสยี ฟนั ในประชากรทกุ วยั โรคในชอ่ ง ปากส่วนใหญแ่ ม้จะไม่รุนแรงจนเป็นเหตใุ หเ้ สยี ชวี ติ แต่เป็นโรคท่ีกอ่ ให้ เกดิ การสญู เสยี ทางเศรษฐกจิ และคณุ ภาพชวี ติ ของประชากร การศกึ ษา ของทรงชัย ฐติ โสมกลุ และคณะ ในปี 2550 ในกลมุ่ เดก็ กอ่ นวยั เรียน จ.สงขลา พบวา่ ผลกระทบจากการท่เี ด็กปวดฟันคอื เด็กจะร้องไหง้ อแง (รอ้ ยละ 69.2) กนิ อาหารไดน้ ้อยลง (ร้อยละ 67.2) เค้ียวอาหารไมไ่ ด้ (รอ้ ยละ 63.4) เด็กมอี ารมณห์ งุดหงิด (ร้อยละ 61.4) และมีกลิ่นปาก (รอ้ ยละ 59) ในขณะท่ีผปู้ กครองร้อยละ 14.0-17.4 ต้องหยุดงานมา ดูแลเด็กหรือพาเดก็ ไปหาหมอ10 การสำ�รวจของกองทันตสาธารณสุข กรมอนามัยในปี 2550 รายงานว่า ในรอบปีที่ผ่านมา โรคฟันผุส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิต ประจ�ำ วนั ของเดก็ วยั เรียน ร้อยละ 30.8 ตอ้ งทรมานกับการปวดฟนั ร้อยละ 4.3 หรือประมาณ 43,000 คน ต้องขาดเรียนเฉล่ยี 2.5 วนั เพราะการปวดฟนั เชน่ เดยี วกบั เยาวชนอายุ 15 ปี รอ้ ยละ 26.5 ปวดฟนั รอ้ ยละ 4.1 ต้องขาดเรียนเฉลี่ย 4.5 วนั ในรอบปีทผ่ี ่านมาเพราะการ ปวดฟนั 11 ด้านผู้สูงอายุ ปัญหาจากการสูญเสียฟันท�ำ ให้ประสิทธิภาพการ บดเคย้ี วลดลง การศึกษาของ Brennan DS และคณะ ในปี 2551 รายงานการศึกษาในประเทศออสเตรเลียว่าจำ�นวนฟันที่ใช้งานได้ใน ช่องปาก มีความสัมพันธ์ทางตรงกับประสิทธิภาพการบดเคี้ยว และ ประสิทธิภาพการบดเค้ียว มีความสัมพันธ์โดยตรงกับสุขภาพทั่วไป การเลอื กรับประทานอาหาร และความสุขในการกินอาหาร ซ่ึงเป็นตัว สะทอ้ นคณุ ภาพชวี ติ 12 ขอ้ มลู ดงั กลา่ วยนื ยนั เชน่ เดยี วกนั จากการทบทวน งานวิจัยอยา่ งเป็นระบบของ Gerritsen AE รายงานในปี 255313 40 น้าํ ตาล สุขภาพ และการจัดการดา้ นการบริโภคทเี่ หมาะสม

ซง่ึ สรปุ ไวว้ า่ มหี ลกั ฐานทหี่ นกั แนน่ วา่ การสญู เสยี ฟนั มผี ลตอ่ คณุ ภาพชวี ติ ตำ�แหน่งและจำ�นวนฟันที่สูญเสียไป ทำ�ให้ความรุนแรงของปัญหา แตกต่างกนั ไป สรปุ การบรโิ ภคนา้ํ ตาลมากเกนิ ไป สง่ ผลตอ่ การสญู เสยี ทางเศรษฐกจิ ทง้ั ทางตรงและทางออ้ ม ทางตรงไดแ้ กค่ า่ ใชจ้ า่ ยเพอ่ื การบรโิ ภคอาหาร ท่ีมสี ่วนประกอบของนํ้าตาล เชน่ เครอื่ งด่มื ขนมขบเค้ยี ว และการ ซ้ือนํ้าตาลใชใ้ นครวั เรือน ทางอ้อมได้แกค่ า่ ใชจ้ า่ ยดา้ นสุขภาพและการ สูญเสียคุณภาพชีวิต เม่ือเกิดโรคท่ีส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการบริโภค นํ้าตาลมากเกินควร ทัง้ นี้ การสญู เสียทางเศรษฐกจิ เฉพาะจากค่าขนม และเครอื่ งดม่ื ของเดก็ วยั 3-12 ปี สงู ถงึ 117-135 ลา้ นบาท/วนั และ คา่ ใชจ้ ่ายดา้ นสุขภาพท่ีเกิดขน้ึ จากโรคอ้วนตอ่ ปี มีมูลคา่ สูงถึง 5,584 ล้านบาท เอกสารอ้างองิ 1. สำ�นักงานสถิติแห่งชาติ สำ�นักนายกรัฐมนตรี. การสำ�รวจภาวะ เศรษฐกิจและสงั คมของครวั เรือน พ.ศ. 2543. 2. เดก็ ไทยรูท้ นั http://www.jthai.thmy.com/article/child.htm 3. ปยิ ะดา ประเสรฐิ สม องั ศณา ฤทธอิ์ ยู่ ผสุ ดี จนั ทรบ์ าง การบรโิ ภค ขนมและเครือ่ งด่มื ของเดก็ ไทยอายุ 3-12 ปี พ.ศ. 2548 ใน เครอื ขา่ ยเดก็ ไทยไมก่ นิ หวาน นาํ้ ตาล ความหวานในขนม เครอ่ื งดม่ื นมพร้อมด่ืม นมผงส�ำ หรับเด็ก พ.ศ.2550. มโนพริ้นติ้งแอนด์ พับบลิชชิ่ง. 4. สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยจังหวัดยโสธร. (2555) โปรแกรมบัญชีรายรับรายจ่ายครัวเรือน โครงการวิจัยเชิง ปฏิบัติการเพื่อการเปล่ียนแปลง (KCC) สำ�นักงานกองทุน นํา้ ตาล สขุ ภาพ และการจัดการด้านการบรโิ ภคท่เี หมาะสม 41

สนับสนุนการวิจัยจังหวัดยโสธร. สืบค้นวันที่ 1 สิงหาคม 2555เข้าถึงได้จากhttp://www.trfyasothon.com/select_news. php?news_id=23 5. ตลาดขนมหวานสำ�เร็จรูป’52 : เผชิญความท้าทายรอบด้าน. (2552, สิงหาคม 2). Positioning Magazine สบื คน้ วันที่ 31 กรกฎาคม 2555 เขา้ ถงึ ไดจ้ ากhttp://www.positioningmag.com/ prnews/prnews.aspx?id=81978 6. ขนมขบเค้ียวปี’52 : ก�ำ ลังซอื้ หด...มูลคา่ ตลาดลดลง 5% (2552, กุมภาพันธ์ 18). Positioning Magazine สืบค้นวันที่ 31 กรกฎาคม 2555 เข้าถึงไดจ้ าก http://www.positioningmag. com/prnews/prnews.aspx?id=77436 7. Business brief นา้ํ ดมื่ บรรจขุ วดป’ี 54 : เตบิ โตรอ้ ยละ 15...ทา่ มกลาง สภาพอากาศไม่เอื้ออำ�นวย. (2544, เมษายน 22). ศูนย์วิจัย กสิกรไทย. 17 (3089). 8. มนทรตั ม์ ถาวรเจริญทรัพย์, เนติ สุขสมบูรณ์, ไพบูลย์ พิทยา เธยี รอนนั ต,์ จอมขวัญ โยธาสมุทธ, วิชัย เอกพลากรและ ยศ ตรี ะวฒั นานนท.์ (2554). การศกึ ษาผลกระทบในเชงิ เศรษฐศาสตร์ และคณุ ภาพชวี ติ จากโรคอว้ นในประเทศไทย. นนทบรุ :ี เดอะ กราฟโิ ก ซสิ เตม็ ส”์ 9. สำ�นัก นโยบายและยทุ ธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสขุ รายงาน การศกึ ษาภาระโรคและการบาดเจบ็ ของประชากรไทย พ.ศ.2547 สบื คน้ วนั ที่ 6 สงิ หาคม 2555 เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.thaibod. net/documents/bod2547.pdf 10. ทรงชยั ฐิตโสมกลุ , องั คณา เธียรมนตรี, สพุ ชั รินทร์ พิวัฒน์, รวี เถยี รไพศาลม วรรธนะ พธิ พรชยั กุล, ออ้ ยทิพย์ ชาญการค้า และคณะ (2550, กรกฎาคม). รายงานผลการวิจยั การศกึ ษา 42 นํ้าตาล สขุ ภาพ และการจัดการดา้ นการบริโภคทเ่ี หมาะสม

ระยะยาวถงึ ปจั จยั ทม่ี ผี ลตอ่ การพฒั นาการของฟนั และใบหนา้ และ การเกิดโรคตา่ งๆ ในช่องปากของเด็กอายุ 4-5 ขวบ ใน อำ�เภอ เทพา จงั หวดั สงขลา. เอกสารอดั สำ�เนา. คณะทนั ตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 11. กองทนั ตสาธารณสขุ กรมอนามยั . (2550). รายงานผลการส�ำ รวจ สภาวะสขุ ภาพชอ่ งปาก ระดบั ประเทศ ครง้ั ท่ี 6 ประเทศไทย พ.ศ. 2549-2550. กรงุ เทพ: โรงพมิ พ์ องคก์ ารสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ 12. Brennan DS, Spencer AJ, Roberts-Thomson KFTooth loss, chewing ability and quality of life. Qual Life Res. 2008 Mar;17(2):227-35. 13. Gerritsen AE, Allen PF, Witter DJ, Bronkhorst EM และ Creugers NH. Tooth loss and oral health-related quality of life: a systematic review and meta-analysis. Health and Quality of Life Outcomes 2010, 8:126 เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http:// www.hqlo.com/content/8/1/126/ นํา้ ตาล สขุ ภาพ และการจดั การด้านการบริโภคท่เี หมาะสม 43

44 นา้ํ ตาล สุขภาพ และการจัดการดา้ นการบรโิ ภคทเ่ี หมาะสม

ขอ้ กำ�หนดและเกณฑ์ทเี่ หมาะสม ของน้ําตาลในอาหาร ดร.เนตรนภสิ วฒั นสุชาติ และศริ ิพร ตนั จอ* อาหารและเครอื่ งดมื่ ทบ่ี รโิ ภคประจำ�วนั มแี หลง่ ทมี่ าหลายรปู แบบ เชน่ เตรยี มดว้ ยตนเองทบี่ า้ น ซอ้ื จากรา้ นอาหาร แผงลอย หาบเร่ หรอื จาก ผลติ ภณั ฑอ์ าหารและเครอ่ื งดม่ื สำ�เรจ็ รปู ทผี่ ลติ เชงิ อตุ สาหกรรม เปน็ ตน้ ดังน้ันในการควบคุมการบริโภคอาหารและเคร่ืองด่ืมท่ีมีนํ้าตาลสูง นอกจากผู้บริโภคจะจำ�กัดหรือควบคุมการใช้น้ําตาลกับอาหารและ เครือ่ งดมื่ ที่เตรยี มเอง หรือหลกี เลี่ยงการเติมนํ้าตาลได้แลว้ ผู้ผลติ หรือ ผู้ประกอบควรให้ความร่วมมือในการปรับลดปริมาณน้ําตาลลง เพ่ือ ให้ได้ผลิตภัณฑ์ทางเลือกเพ่ือสุขภาพจำ�หน่ายในท้องตลาด เนื่องจาก ผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรมทจ่ี �ำ หนา่ ยสว่ นใหญเ่ ปน็ อาหารวา่ งประเภทขนม ขบเคยี้ ว ขนมอบ ไอศกรมี เครอื่ งดมื่ นา้ํ อดั ลม เครอื่ งดมื่ ผลไมป้ รงุ แตง่ กลนิ่ รส ชา และกาแฟ เปน็ ตน้ ลว้ นแตม่ นี า้ํ ตาลเปน็ สว่ นผสมในปรมิ าณสงู เรียกได้ว่าเป็นน้ําตาลซ่อนเร้น (hiden sugars) ซึ่งมองไม่เห็นจาก ลักษณะปรากฎของผลิตภัณฑ์ หากผู้บริโภคไม่สนใจอ่านฉลากอาหาร หรอื ขอ้ มลู โภชนาการบนบรรจภุ ณั ฑแ์ ลว้ กจ็ ะไมท่ ราบวา่ มปี รมิ าณนา้ํ ตาล มากเพียงใด จึงไม่ระวังการบริโภคน้ําตาลท่ีมากเกินไป ดังน้ัน แนวทางส�ำ คญั ในการควบคมุ และจ�ำ กดั การบรโิ ภคนา้ํ ตาลนนั้ หนว่ ยงาน ทเี่ กยี่ วขอ้ งควรมมี าตรการสง่ เสรมิ การจดั ท�ำ ขอ้ มลู โภชนาการในรปู แบบ *สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ 45 นาํ้ ตาล สุขภาพ และการจดั การด้านการบรโิ ภคทเี่ หมาะสม

ทสี่ อื่ ใหผ้ บู้ รโิ ภคเขา้ ใจและทราบปรมิ าณนา้ํ ตาลในผลติ ภณั ฑอ์ าหารและ เครอ่ื งดม่ื นน้ั ๆไดง้ า่ ย หรอื อาจเปน็ รปู สญั ลกั ษณต์ า่ งๆตลอดจนควรมกี าร จดั ท�ำ ขอ้ ก�ำ หนดและเกณฑท์ เ่ี หมาะสมของนา้ํ ตาลทคี่ วรบรโิ ภคในแตว่ นั สำ�หรับคนไทย โดยการศึกษาแนวทางการดำ�เนินการจดั ท�ำ ขอ้ กำ�หนด ปริมาณน้าํ ตาลในต่างประเทศ การจัดทำ�ขอ้ กำ�หนดการบริโภคนา้ํ ตาลสำ�หรับคนไทย เป็นที่แน่ชัดแล้วว่าอาหารและโภชนาการมีบทบาทสำ�คัญในการ ปอ้ งกนั ท้ังโรคขาดสารอาหาร (nutrient deficiency) และโรคไมต่ ดิ ตอ่ เรื้อรงั (non-communicable chronic diseases) เช่นโรคเบาหวาน โรคความดนั โลหติ สงู โรคหวั ใจ เปน็ ตน้ ในการสง่ เสรมิ สขุ ภาพทดี่ ที าง โภชนาการ ประเทศไทยไดจ้ ดั ท�ำ ขอ้ ก�ำ หนดปรมิ าณสารอาหารทร่ี า่ งกาย ควรไดร้ บั ประจ�ำ วันสำ�หรบั คนไทยเป็นครง้ั แรก ในปี พ.ศ. 2516 และ ไดป้ รบั ปรงุ ขอ้ มลู สารอาหารใหค้ รอบคลมุ ยง่ิ ขนึ้ ในปี พ.ศ. 2532 ตอ่ มา ในปี พ.ศ. 2546 ไดม้ กี ารทบทวนและปรับปรุงข้อกำ�หนดสารอาหาร เพมิ่ เตมิ ความร้ดู ้านอาหารและโภชนาการใหท้ นั สมัยและเป็นสากลมาก ขึ้นเพ่ือเป็นประโยชน์ต่อนักวิชาการที่จะนำ�ข้อมูลไปใช้อ้างอิง ท้ังน้ีได้ มีการกำ�หนดปริมาณคาร์โบไฮเดรตร้อยละ 45-65 ของพลังงานท่ี ร่างกายควรได้รับต่อวันแต่ยังไม่มีการกำ�หนดปริมาณน้ําตาลท่ีเติมลง ในอาหาร (กองโภชนาการ, 2549) ในการจัดทำ�ธงโภชนาการ (Nutrition flag) เพ่ือแนะนำ�ให้ ประชาชนเลอื กกนิ อาหารทถ่ี กู ตอ้ งตามหลกั โภชนาการ ตามหลกั อาหาร 5 หมู่ และจ�ำ นวนหน่วยบรโิ ภคของอาหารแต่ละกลุ่มท่ีใหส้ ารอาหาร เหมาะสมตามอายุ เพศ และกิจกรรมประจ�ำ วัน เพอ่ื นำ�ไปสกู่ ารปฏิบัติ ที่เข้าใจได้ง่ายข้ึนในการเลือกอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ ทั้งน้ีได้ แนะน�ำ ใหจ้ �ำ กดั การบรโิ ภคนา้ํ ตาลเพอื่ ปอ้ งกนั ปญั หาไขมนั ไตรกลเี ซอไรด์ 46 นาํ้ ตาล สขุ ภาพ และการจดั การด้านการบริโภคท่เี หมาะสม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook