หนงั สอื ทพิ ยอาํ นาจ โดย พระอริยคุณาธาร (ปุสโฺ ส เส็ง ป.๖)
คาํ นาํ ของผเู รยี บเรยี ง เมอ่ื ในพรรษา พ.ศ.๒๔๙๓ ขณะพักวเิ วกอยูใ นปาแหง เขาสวนกวาง จงั หวัดขอนแกน ระลกึ ขึน้ ไดถงึ คาํ อาราธนาของบุคคลหลายคน คําอาราธนาน้ันๆ เราใจใหค ิดแตงหนังสือเลมนข้ี ึ้น. พระอาจารยกนั ตสีลเถระ (เสาร) อาราธนาใหแตง อธิบายโพธปิ กขิยธรรม ดวยสาํ นวนและ ภาษางายๆ เพอ่ื ประโยชนแกนกั ปฏิบตั ิ ผูมกี ารศึกษาปรยิ ตั ธิ รรมนอย จะไดอาศยั ศกึ ษาและปฏบิ ัติ หลวงประฑิตกรณี อาราธนาใหแ ตงสมาธิวิธีท่ีพอจะถือเปนคมู ือในการทาํ สมาธไิ ด. ภิกษรุ ูปหนง่ึ อาราธนาใหแ ตงวิธบี ําเพญ็ ฌานและเจริญญาณทสั นะในพระพทุ ธศาสนา เพอื่ ประโยชนแกผู ตองการปฏบิ ตั ิในดานนี้ และศิษยผ ูอ าราธนาใหแ ตงวิธีสรางทพิ ยอาํ นาจตัง้ แตขนั้ ต่ําๆ ขึ้นไปถงึ ขั้น สงู สดุ เพือ่ เปน คมู ือของผตู อ งการสรางทพิ ยอาํ นาจข้ึนไวบาํ เพญ็ ประโยชน เมอ่ื ประมวลคาํ อาราธนาเหลานี้เขาดว ยกัน เหน็ วา เปนความตองการในแนวเดยี วกัน พอจะทําเปน หนงั สอื เลม เดยี วได จะไดปลดเปล้ืองคําอาราธนานน้ั ใหเ สรจ็ สิ้นไปเสียที ในขณะที่มีกาํ ลงั พอทาํ ไดน.้ี อนึ่ง เม่อื ไดเ รยี บเรียงและพิมพพรหมจรรยคืออะไร? เผยแผไป สังเกตไดวา มผี ูส นใจในการ ฝกฝนจิตใจตามหลักพระพทุ ธศาสนามากขึ้น หนังสือพรหมจรรยค ืออะไร? ไดประมวลหลกั พรหมจรรยใ นพระพทุ ธศาสนาไวเพียงยอๆ ไมพอท่ีจะอาศยั เปน เคร่อื งมอื ของผเู ร่ิมศกึ ษา จงึ เปน โอกาสดีทจี่ ะรีบเรยี บเรยี งวิธีฝกฝนอบรมจติ ใจ ตามหลกั พระพุทธศาสนาไวเสยี ในขณะนี.้ จึงประมวลเรื่องทต่ี องการมาเรยี บเรียงเขาลาํ ดบั และพิจารณาหาคําท่จี ะใชเ ปนชอื่ หนงั สือน้ี ไดคาํ วา “ทพิ ยอํานาจ” ซึง่ เปนคาํ มีความหมายซึง้ ชวนสนใจ และยงั ไมมใี ครเคยใชเปนชอ่ื หนงั สือ ประเภทนีม้ ากอ น แลวตรวจสอบเรอ่ื งเหลา นีใ้ นพระไตรปฎก เชน หมวดพระสตุ ตันปฎ กเทาท่ี สามารถจะคน ได นาํ มาเรียบเรยี งเขา หมวดหมู ตามความเหมาะสมของเร่ืองนนั้ ๆ สวนหนงั สืออ่ืนๆ แมมีความตอ งการจะคนเร่อื งมาเรียบเรยี งบาง ก็ไมมีอยูใกลม ือสกั เลม เดยี ว เพยี งแตอาศัยความ จดจําเร่ืองน้นั ๆ บางประการทีเ่ คยอานมาแลว เทาน้ัน แมเ พียงเทานกี้ ็ตองถือวา เปนหน้ีบุญคณุ ของ หนงั สอื เหลา นี้แลว ขา พเจาขอขอบคุณไวใ นที่นดี้ วย. สาํ นวนโวหารและคําศัพทแ สงตางๆ ทีน่ ํามาใช ไดพยายามใชส ํานวนงา ยๆ และใชคาํ ที่มี ความหมายตายตวั และใชกนั ดื่นแลว ทั้งนม้ี งุ ใหสาํ เร็จประโยชนแ มแ กผ ูพออา นออกเขียนไดแลว . แตก ็ไมพ น ไปจากความยาก เพราะเนอื่ งดว ยหลักวิชาชั้นสูง จะอธิบายใหง า ยเกนิ ไปกไ็ มไดอ ยเู อง ถา ผูอาน อานดวยความสนใจพินิจพจิ ารณาสักหนอ ยก็คงผา นพน ความยากไปไดบ าง. ผลมงุ หมายของการฝก ฝนจติ ใจ ทางพระพุทธศาสนา คือ อาสวักขยญาณ (ญาณเปนเหตุ ทําอาสวะกิเลสใหส ้ินไป) โดยตรง นอกน้ันเปนผลพลอยได ในเมอื่ อบรมจติ ใจไปถงึ ข้ันท่ีควรมี ทพิ ยอํานาจบางประการนน้ั ๆ มิใชผลมุงหมายโดยตรง ถึงอยางนน้ั ผูมงุ บาํ เพ็ญประโยชนกวางขวาง ทพิ ยอาํ นาจ ๒
ก็จําเปนตองฝก ใชท พิ ยอํานาจตางๆ ไปดว ย เพราะคนโดยมากชอบอาํ นาจ ยิ่งเปนอํานาจ มหศั จรรยเทาใด ย่ิงชอบเทา นั้น ที่มีผเู ขา ใจวา สมัยนค้ี นตอ งการเหตุผล ไมจําเปน ตอ งมีฤทธ์ิเดช อํานาจมหัศจรรย ก็สามารถทาํ การเผยแผพ ระพทุ ธศาสนาได ขาพเจาไดยินแลว กน็ ํามาไตรต รอง แลวมองดโู ลกท่ัวๆ ไปในปจ จุบันนี้ กย็ งั เหน็ วา อาํ นาจมหศั จรรยเ ปน ส่ิงจาํ เปน อยนู ่ันเอง มีคน จาํ นวนนอ ยทส่ี ดุ ที่ตองการเหตผุ ล คนสว นมากแมม ีการศกึ ษาสูงสักเพยี งไรก็ตาม มักไมคอยเชื่อ เหตผุ ลเทา ที่พดู สกู ันฟงไดนนั้ เลย ย่ิงเร่อื งท่ีลึกลับเกนิ เหตุผลธรรมดา ซึง่ ไมสามารถหาเหตผุ ล สามญั ธรรมดามาพูดใหฟ งไดแลว เขายง่ิ ไมย อมเช่ือวา มไี ดเ ปน ได เม่อื หาเหตุผลมาพูดใหฟ ง ไมไ ด เขาก็หาวาทางพระศาสนาหลอกลวงเขาใหเ ชอ่ื เขาไว เพ่อื พระศาสนาและคนของพระศาสนาจะ ดํารงอยไู ดเทานน้ั เขาไมเ ห็นวาศีลธรรมตามท่ีทางพระศาสนาสง่ั สอนเขานน้ั เปนประโยชนของเขา เอง ท้ังๆ ที่เขาอยสู บายดว ยรมเงาของศลี ธรรม คนจําพวกน้ตี อ งอาศัยอํานาจมหศั จรรยเ ขา ชวย จึง จะสามารถปลูกศรัทธาในพระศาสนา หรอื ศีลธรรมอันดีแกเขาได. พระพทุ ธศาสนาผา นพนภยั พิบตั ริ า ยแรงมาไดจ นถงึ ปจจุบัน กด็ ว ยอํานาจมหัศจรรย สมยั พุทธกาลไมตอ งพูดถึงกไ็ ด เพราะเปน สมัยเริม่ ต้ังพระพทุ ธศาสนา ยอมเปน ความจําเปนอยดู ี ท่ตี อง ใชอ าํ นาจมหศั จรรยเ ขา ชว ยในการเผยแผพระพทุ ธศาสนา สมยั หลังพทุ ธปรินพิ พานมาปรากฏใน ประวตั ขิ องพระพทุ ธศาสนาวา ไดผา นพนภยั พิบัตริ า ยแรงมาดวยอํานาจมหศั จรรยหลายครง้ั เทา ท่ี นกึ เหน็ พอจะนํามาเลา ได ดงั น้ี ครง้ั หนง่ึ เมื่อพระพุทธศาสนาลวงไดป ระมาณ ๒๓๖ ป พระเจา ศรธี รรมาโศกราชหันมานบั ถอื พระพุทธศาสนา และทํานุบํารงุ เปนการใหญ กเ็ พราะอํานาจมหัศจรรยของพระภกิ ษรุ ูปหนงึ่ และอํานาจมหศั จรรยข องพระโมคคลั ลีบุตรตสิ สเถระ ถึงกับทําใหพระเจาศรีธรรมาโศกราช ทรง มอบพระกายถวายพระชวี ติ ในพระพทุ ธศาสนา และแผพ ระพทุ ธศาสนาเปน การใหญ. อีกครง้ั หนงึ่ เม่อื พระพทุ ธศาสนาลวงไปประมาณ ๕๐๐ ป คณะสงฆต องแตกพาย พระพุทธศาสนาถกู ทําลายลงดว ยมือของพระราชาชาวกรกี ทม่ี ารกุ รานและครอบงาํ อนิ เดยี แหลง กําเนดิ ของพระพุทธศาสนา พระอศั วคตุ ตเถระ ซง่ึ เปน หัวหนาสงฆฝายเหนือ ถึงตอ งไป อญั เชญิ เทพบุตรใหจ ุติลงมาเกิด แลวใหพระผสู ามารถไปพยายามเอามาบวชในพระพุทธศาสนา อบรมใหสําเรจ็ ความรสู ูงสดุ ในพระพทุ ธศาสนา พรอ มดว ยอาํ นาจมหัศจรรยห ลายประการ แลว สง ไปปราบพระราชาชาวกรีก แหง สาคลนคร ประเทศมจั ฉะ ซึง่ ทรงพระนามวา พระเจามลิ นิ ท พระราชาชาวกรีกทรงเห็นอาํ นาจมหศั จรรยข องพระนาคเสนเถระ ท้ังทรงจํานนตอคาํ แกปญ หา ของพระเถระ จึงบังเกิดพระราชศรัทธาในพระพทุ ธศาสนา และทรงมอบพระกาย ถวายพระชีวิต รบั ใชพระพุทธศาสนา ทรงทาํ นบุ ํารงุ และปองกนั ภยั แหงพระพุทธศาสนาดว ยพระราชอาํ นาจ. เมอ่ื หันมามองดูเหตกุ ารณข องโลกในปจ จบุ ันน้ีแลว พจิ ารณาดูทางท่จี ะรอดพนภัยพบิ ตั ิของ พระพทุ ธศาสนา ก็เหน็ มีแตอ ํานาจมหัศจรรยเ ทา นั้นท่จี ะชว ยได เพราะเพยี งแตป ากพดู ปาวๆ ชีแ้ จงเหตผุ ลเปนการไมเพยี งพอเสียแลว คนของพระพุทธศาสนาจะตองเปน คนศักดส์ิ ทิ ธมิ์ ีฤทธเิ์ ดช มหัศจรรย จงึ จะสามารถรกั ษาพระพทุ ธศาสนาใหด าํ รงอยแู ละแผไพศาลไปได ความจรงิ พระพุทธศาสนาเปน พระศาสนาที่ศักดสิ์ ิทธิใ์ นดานเหตผุ ลอยแู ลว คนของพระพทุ ธศาสนาตอง ทิพยอาํ นาจ ๓
ศกั ด์ิสทิ ธ์ิ สามารถเปน พยานในเหตผุ ลตามทีท่ างพระพทุ ธศาสนากลาวไวด ว ยจึงจะสมกนั คือ ตอง พูดไดแ ละทําไดตามพูดดว ย เมื่อเปนไดด งั วา นจี้ ะทําใหพระพทุ ธศาสนาเดน และศกั ด์สิ ทิ ธ์ยิ ่งิ ขึ้น เพียงแตพูดได แตท าํ ไมไดต ามพูด กจ็ ะไมศ กั ดิ์สิทธิ์ จะเขาทาํ นองท่วี า “จงทาํ ตามที่ฉันพดู แตอยา ทําตามฉัน” ในเมือ่ ไปสั่งสอนผอู ื่น ถงึ แมไมพ ูดคาํ นี้ออกมาตรงๆ กต็ าม การทาํ และพฤตกิ ารณท ี่ แสดงออกมา มนั บอกอยูโ ดยตรงแลว คนมคี วามคิดยอมรูจักอยดู ี เมอื่ เปน เชนนี้ คาํ พูดสั่งสอน ยอ มไมมีน้ําหนกั พอจะจูงใจผฟู งใหเช่ือถอื ได กจ็ ะเปนเพยี งสกั วา พูดและฟง กนั ไปเทานน้ั เอง จะหา คนทาํ ตามคาํ สง่ั สอนทางพระพทุ ธศาสนาจริงๆ ไมไ ด เม่ือเปนถงึ ขนั้ นี้ จะชือ่ วา ยงั มพี ระพทุ ธศาสนา อยหู รอื ? ขอเชญิ ชวนพุทธบรษิ ัท มาชวยกันคดิ อา นหาทางทํานบุ ํารงุ และปอ งกันภัย พระพทุ ธศาสนา มาชว ยกนั ทําใหเกิดมบี ุคคล ซ่งึ มตี นเปนพยานในคําส่งั สอนของพระบรมศาสดา- จารย สามารถยนื ยันไดเตม็ ปากวา พระพุทธศาสนาอาํ นวยผลสงู สดุ แกผ ูปฏบิ ัติตามไดจริง ไม ลา สมยั มรรค ผล นิพพาน ธรรมวเิ ศษมจี ริง แมในสมัยปจ จบุ นั ขาพเจา เรียบเรยี งทิพยอํานาจน้ี ขึน้ มงุ หมายหาบคุ คลไดเ ปนพยานในคําสงั่ สอนของพระบรมศาสดา หวงั วาจะไดรบั ความสนใจ จากสาธุชนท่วั กนั . บญุ กุศลอันเกิดจากการเรยี บเรยี งหนังสอื น้ที ั้งหมด ขาพเจา ขออทุ ศิ ถวายแด พระมหา กษัตริยาธริ าชเจา ผเู อกอคั รพุทธศาสนปู ถัมภกทุกพระองค และแกพระโบราณาจารย ผบู รหิ าร พระพุทธศาสนาสืบตอ กันมาทุกทา น จนถงึ สมยั ปจจบุ ันน.้ี อนง่ึ การคดั จากตนราง สาํ เรจ็ ดว ยน้าํ พกั นํา้ แรงของ พระภกิ ษุไกรลาส คนฺธรโต ทั้งสน้ิ จึง ขอขอบคณุ เธอไวในท่นี ้ดี วย. พระอรยิ คณุ าธาร สาํ นักบําเพ็ญธรรมเขาสวนกวาง ขอนแกน ๒๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๙๓ ทพิ ยอํานาจ ๔
สารบาญ บทนาํ ๑๒ ทพิ ยอาํ นาจคืออะไร ๒๐ อุทาหรณป าฏิหาริย ๒๗ ตโิ รภาพปาฏิหารยิ ปาฏิหาริยทเู รภาพ ยมกปาฏิหาริย ปาฏหิ ารยิ ๓ อยาง ทพิ ยวิสัย วิชชา ๘ ประการ บทที่ ๑ อะไรเปน ที่ตั้งแหง ทพิ ยอํานาจ ฌาน ๔ นวิ รณ ๕ องคแ หง ฌาน ๕ ปฐมฌานมลี กั ษณะ ๖ ทตุ ิยฌานมลี กั ษณะ ๕ ปติมลี ักษณะ ๕ ตตยิ ฌานมลี ักษณะ ๖ จตตุ ถฌานมลี กั ษณะ ๖ บทที่ ๒ วิธีเจริญฌาน ๔ วธิ กี ารเกีย่ วกบั เวลา วิธีการแก วธิ กี ารปอ งกัน วิธีการสงเสริม วธิ ีการเกีย่ วกบั อิริยาบถ วิธีเดินจงกรม อานิสงสจ งกรม นง่ั เจรญิ ฌาน ทิพยอาํ นาจ ๕
นอนเจรญิ ฌาน ๓๗ วิธีเจรญิ ฌาน ๕๒ บริกรรมนิมิตต อุคคหนิมิตต ปฏิภาคนมิ ิตต ฌายีบคุ คล วธิ เี ลื่อนฌาน ทพิ ยภาวะ บทที่ ๓ บุพพประโยคแหง ฌาน กรรมฐาน ๒ กรรมฐาน ๔๐ กสิณ ๑๐ วิธีปฏบิ ตั ิในกสิณ อสุภ ๑๐ วิธปี ฏิบตั ิในอสุภ ๑๐ อนสุ สติ ๑๐ อาหาเรปฏกิ ูลสญั ญา จตธุ าตุววัตถาน พรหมวหิ าร ๔ อรปู กรรมฐาน ๔ จริต ๖ อัธยาศยั ๖ ปธานิยังคะ ๕ สัปปายะ ๔ บทท่ี ๔ อุปกรณแ หงทิพยอาํ นาจ ลกั ษณะความดี ๓ อยาง ลักษณะความช่ัว ๓ อยาง โลกุตตรธรรมในมนษุ ย สรีรศาสตร ลักษณะอบรมอนิ ทรีย ทิพยอํานาจ ๖
สังวร ๕ เจรญิ สติปฏฐาน ๔ เจริญอทิ ธิบาท ๔ สรางอนิ ทรีย โพชฌงค ๗ เจรญิ อริยมรรค เจริญอรปู ฌาน เจรญิ สัญญาเวทยติ นโิ รธ กฬี าในพระพุทธศาสนา ๑. ฌานกีฬา ๒. จติ ตกีฬา บทที่ ๕ ๗๔ วิธปี ลกู สรา งทพิ ยอาํ นาจ อภญิ ญา ๖ อิทธวิ ธิ ิ ฤทธ์ติ า งๆ ฤทธิ์ ๑๐ อธิษฐานฤทธิ์ ๑๐ วิกพุ พนาฤทธ์ิ มโนมยั ฤทธ์ิ ญาณวปิ ผาราฤทธิ์ สมาธิผาราฤทธ์ิ อรยิ ฤทธิ์ กมั มวิปากชาฤทธ์ิ ปุญญฤทธ์ิ วิชชามยั ฤทธิ์ สมั มัปปโยคปจจัยอชิ ฌนฤทธิ์ พหภุ าพ เอโกภาพ อาวภี าพ ติโรภาพ ติโรกฑุ ฑาสัชชมานภาพ ปฐวอี ุมมชุ ชภาพ อทุ กาภชิ ชมานภาพ ทพิ ยอาํ นาจ ๗
อากาสจงั กมนภาพ สนั ตเิ กภาพ ทูเรภาพ โถกภาพ พหุกภาพ กายวสกิ ภาพ จิตตวสกิ ภาพ ธูมายิกภาพ ปช ชลิกภาพ กาํ ลงั หนนุ ของอธษิ ฐานบารมี บทที่ ๖ ๙๐ วธิ ีสรางทพิ ยอํานาจ มโนมยั ฤทธ์ิ ๙๗ บทท่ี ๗ ๑๐๖ วิธีสรา งทพิ ยอาํ นาจ ๑๑๓ เจโตปรยิ ญาณ รูจักใจผูอน่ื พุทธกิจประจําวนั ๕ ปาฏหิ ารยิ ๓ สงั ขาร ๓ เปรียบจติ ตสงั ขารเหมือนคล่นื วทิ ยุ เปรยี บวจีสังขารเหมือนคลน่ื เสียง โสฬสจติ อธิบายลกั ษณะกระแสจิต ความกาํ หนดรเู หตุการณและอปุ นสิ ยั ใจของผอู ื่น ๓ อยา ง บทท่ี ๘ ทพิ พโสต หูทพิ ย ธาตุวเิ ศษในกายมนษุ ย ๖ อารมณอนั เปนวสิ ยั ของธาตุ ๖ อธิบายวิธีปลกู สรา งหูทิพย บทที่ ๙ วธิ สี รางทพิ ยอํานาจ ทพิ ยอาํ นาจ ๘
บุพเพนิวาสานุสสติ ระลึกชาตกิ อนได ๑๒๒ เขตของจติ ๑๓๙ ระลกึ ชาตไิ ด รายที่ ๑ ระลึกชาตไิ ด รายที่ ๒ ระลกึ ชาตไิ ด รายที่ ๓ อานิสงสของการระลกึ ชาติได วิธเี อาชนะความหลับ วธิ ีทาํ เพ่ือระลึกชาติได วัฏฏะ ๓ บทที่ ๑๐ ทพิ พจกั ขุ ตาทิพย จักษุ ๘ ตาแกว ทพิ พจกั ขเุ ทียบกบั ศาสตรตางๆ พระพุทธศาสนาแผม าในประเทศไทย โบราณวัตถสุ มัยพระเจาอโศกมหาราช พุทธทํานาย คําทํานายของบคุ คลยคุ ใหม ทิพพจักขุญาณ เทยี บนักปราชญทางโบราณคดี ลกั ษณะญาณ ๓ อตตี งั สญาณ เรอ่ื งราวสมยั ดึกดาํ บรรพ พระเถระทีน่ ําพระพุทธศาสนามาในสุวรรณภูมิ อนาคตงั สญาณ วิธกี ําหนดรูเหตกุ ารณใ นอนาคต ปจจปุ นนังสญาณ ภาพนิมติ ตในขณะหลบั วิธฝี กสมาธิ สมั ปยุตตจิต เจริญกสิณ บทที่ ๑๑ วิธีสรา งทพิ ยอํานาจ รูส ตั วเกิดตาย ทพิ ยอํานาจ ๙
กรรมมีอํานาจใหผ ล ๑๔๘ เหตเุ ราใจใหส ัตวทาํ กรรม ทฏิ ฐธรรมเวทนียกรรม อานิสงสพ รหมจรรย ๙ อปุ ปช ชเวทนยี กรรม อปราปรเวทนียกรรม อโหสิกรรม ชนกกรรม กําเนดิ ๔ อปุ ต ตถมั ภกกรรม อุปปฬกกรรม อุปฆาตกกรรม ครกุ รรม พหุลกรรม อาสนั นกรรม กตตั ตากรรม กรรมมลี กั ษณะ บทที่ ๑๒ วธิ ีสรา งทิพยอํานาจ รูจ ักทําอาสวะใหสิน้ กรรมเกิดจากความรสู กึ แหง ใจ ๓ อยา ง สภาวะที่สมปรารถนา ๗ ประการ ปฏิปทาเพ่ือบรรลุจดุ หมายสูงสุด ๗ ประการ หลกั อนมุ านพระนิพพาน คน ๒ จําพวกไมเหน็ พระนิพพาน วธิ ีเจรญิ วปิ ส สนา เพอ่ื ญาณทสั สนะ ความบริสทุ ธิ์ ๗ ประการ กิเลสของวปิ ส สนา ๑๐ วิปส สนาญาณ ๙ ประการ อารมณข องวิปส สนา วธิ เี จริญวิปสสนาอยางพิสดาร วธิ เี จรญิ วิปส สนาอยางลัด พระไตรลกั ษณญาณ พระอาสวกั ขยญาณ วธิ เี จริญอาสวักขยญาณอยางรวบยอด สัญโญชน ๑๐ ทพิ ยอํานาจ ๑๐
อรยิ วาส ๑๐ ๑๖๙ อินทรียแกว ๑๗๔ บทท่ี ๑๓ วิธรี ักษาทพิ ยอาํ นาจ ส่งิ เสียดแทรกใจไมใ หส งบ นิวรณ ๕ สมั พาธเครอ่ื งคับใจ ๑๐ ความฉลาดในสมาธิ ๗ บทที่ ๑๔ วธิ ใี ชท ิพยอํานาจบําเพ็ญประโยชน คุณอนนั ต โทษมหนั ต พทุ ธจริยา ๓ การบาํ เพญ็ ประโยชน วธิ ีใชทิพยอํานาจคมุ ครองตน ภัยในโลก ๔ ประเภท วิธใี ชทพิ ยอาํ นาจกําจดั ภยั อนั ตรายแกต น วิธใี ชทพิ ยอาํ นาจบําบัดอาพาธแกตน วิธีใชท พิ ยอาํ นาจระงับกเิ ลสของตน วิธีใชทพิ ยอํานาจคุมครองผอู ่ืน วิธใี ชท พิ ยอํานาจบรรเทาภยั แกผ ูอื่น วธิ ีใชทพิ ยอํานาจบาํ บดั อาพาธผอู ื่น วิธใี ชทิพยอาํ นาจปลูกศลี ธรรมแกผูอ ื่น (การคน หาเนอื้ เรอ่ื งท่ีตองการ ใหก ดปุม Ctrl+f แลว พมิ พค าํ ท่ตี องการคนหาลงไป) ทิพยอํานาจ ๑๑
ทิพยอํานาจ พระอรยิ คณุ าธาร เรียบเรยี ง .................................................... บทนํา ทพิ ยอาํ นาจคอื อะไร? .................................................... เมอ่ื ไมนานมานี้ มีขา วในหนาหนังสือพมิ พฉบบั หนง่ึ วา มีสตรีในตางประเทศ เกิดมหี ูทิพย ตาทพิ ย สามารถรเู ห็นเหตุการณในที่ไกล เกินวิสัยตามนษุ ยธรรมดาจะมองเหน็ และสามารถ สนทนากบั วิญญาณของคนท่ีตายไปแลว รเู รอื่ งกันได หนังสอื พิมพฉบับน้ันใหขาวตอ ไปวา มี นกั วทิ ยาศาสตรไปพสิ ูจนความจริงกป็ ระจักษวา สตรคี นน้ันซึ่งไมเ คยรูจักนักวทิ ยาศาสตรค นนั้นมา กอน แตส ามารถบอกความจริงบางอยา งของนกั วทิ ยาศาสตรคนน้ัน ถูกตอ งเปนที่นาพศิ วง แต นกั วทิ ยาศาสตรก็ไมกลา ลงความเหน็ รบั รองวาเปนไดดวยความรขู องสตรีคนนัน้ เอง สงสยั วาจะมี อะไรสงิ ใจอยา งพวกแมม ดหมอผี ซึง่ มีดกดื่นในอัสดงคตประเทศ และเขาพากันรงั เกยี จถงึ กบั มี กฎหมายลงโทษผฝู า ฝน หนังสือพิมพฉ บับนั้นใหขาวรายละเอยี ดตอ ไปวา สตรีคนนัน้ เกิดหทู พิ ยต า ทพิ ยขนึ้ โดยบังเอญิ หลังจากปว ยหนกั มาแลว . เร่อื งคลา ยคลงึ กันน้ี กม็ อี ยแู มในเมืองไทยเรา ขา พเจา ไดรูจ ักกบั สตรีคนหน่ึง เมือ่ ปท่ีแลว มา น้เี อง เม่อื คุนเคยกันแลว สตรีคนนั้นไดเลาใหขา พเจาฟงวา ไดป ว ยหนกั มาแรมเดอื น ในระหวา ง ปวยหนักนั้นใครจะมาหาหรอื พูดจาวา กระไรรลู วงหนา หมด ครัน้ หายปวยแลวก็ยงั มีไดเ ปนบางครัง้ บางคราว แตไมบอ ยนัก เน่ืองจากไมค อยไดสงบใจเหมอื นในคราวยงั ปวยอยู เพราะตองวุนวายกับ ธุรกิจประจําวัน ซง่ึ เปน ธรรมดาของผูครองเรือน. เรอ่ื งที่นาํ มาเลา นี้ เปนพยานใหเ ราทราบวา ภายในรางกายของมนษุ ยเ รานี้ มอี าํ นาจสงิ่ หนงึ่ แปลกประหลาดวิเศษเกินกวา อาํ นาจของคนธรรมดาซอ นอยู ทเี่ มื่อทราบวธิ ปี ลกุ หรอื ปลูก สรางขึน้ ใหม ีประจาํ แลว จะเปน ส่งิ ท่มี หัศจรรย โดยสามารถรูเห็นส่ิงตางๆ ซง่ึ มนษุ ยธรรมดาไมอาจ รเู ห็นได. ในทางพระพทุ ธศาสนา ไดกลาวถงึ อาํ นาจทว่ี าน้ี และเรยี กชอ่ื วา ทิพพจักข-ุ ตาทพิ ย, ทิพพ โสต-หทู ิพยค ลายจะยนื ยนั วา มีอํานาจทพิ ยในรางกายมนษุ ยน ี้ดวยแตนกั ศึกษาทางพระพุทธศาสนา ทพิ ยอาํ นาจ ๑๒
โดยสว นมากมองขา มไป ไมไดสนใจศกึ ษาเพือ่ พิสจู นค วามจริงเรอื่ งนี้ เมือ่ มใี ครพูดถงึ เรอ่ื งนี้ ก็มกั ตาํ หนิหาวางมงาย เช่อื ในสิง่ ซ่ึงไมอาจเปนไปได หาไดเฉลียวใจไมว า พระบรมศาสดาเปน ผูทรง แสดงไว ทง้ั ปรากฏในพระประวตั ขิ องพระองคว าทรงสามารถใชอ ํานาจนนั้ ไดอยา งดีดวย นาที่เรา พทุ ธศาสนิกชนจะพึงศึกษาคน ควาพสิ จู นค วามจริงกันดูบา ง จะเปนส่งิ ไรส าระเทยี วหรือ ถา จะทํา การพิสจู นว ชิ าหทู ิพยตาทิพย ใหทราบความจรงิ อยางมีหลกั ฐาน ขาพเจา กลับเห็นวาจะเปนทาง ชว ยใหพ ระพทุ ธศาสนาเดนขน้ึ อกี เพราะสงิ่ ใดท่พี ระบรมศาสดาตรัสไว ซึ่งปรากฏมีอยใู น พระไตรปฎ กหากเราพสิ จู นใ หเห็นจรงิ วา สิ่งนน้ั เปนไดตามที่ดาํ รสั ไว ก็ยอ มเปนพยานแหง พระ ปญ ญาของพระบรมศาสดา เปนทางใหเ ราเกิดความเช่อื มนั่ ในพระปญญาตรัสรขู องพระบรมศาสดา อยา งแนนแฟน จะเพ่ิมกําลงั ใหเ ราปฏิบตั ิตามพระบรมพทุ โธวาทไดโ ดยไมล งั เลใจ ทัง้ เปน หลักฐาน ตอตา นปรัปวาทดวย เพราะในโลกสมัยวทิ ยาศาสตรเฟองฟนู ี้ เขาไมคอยเชอื่ ในอํานาจลึกลับนี้ เมือ่ พระพทุ ธศาสนากลาวถงึ เขาจงึ นาจะย้ิมเยาะอยูแลว แมแ ตเ ราซ่ึงเปนศาสนิกชนแทๆ ก็ยงั ไม เชือ่ แลวจะใหนักวิทยาศาสตรเขาเชื่ออยางไร? เพราะเขาตั้งหลักเกณฑของเขาไวว า เขาจะเชือ่ เฉพาะสงิ่ ที่เขาไดพสิ จู นทราบความจริงแนช ดั แลว เทา นั้น หลักเกณฑท ่ีเขาต้งั ไวนเ้ี ปนหลักเกณฑท ่ี ดี เปนวิสัยแหง นักศึกษาความจรงิ ซ่งึ จะไมย อมใหความเชอ่ื ของเขาไรเ หตผุ ล แมพระบรมศาสดา ของเราก็ปรากฏวาทรงดําเนินปฏบิ ตั มิ าทาํ นองเดยี วกับนักวิทยาศาสตรใ นสมัยปจจบุ นั คอื ทรงทาํ การพสิ จู นค วามจรงิ ทางใจ จนไดหลักฐานแนนอนแลว จงึ ทรงพอพระหฤทัยวา ไดตรสั รูแลว มไิ ด ทรงไปเทีย่ วเก็บเอาความรูของผูอืน่ ทเ่ี ขาคนควาไวมารอ ยกรองเขา เปน หลกั แหงศลี ธรรมจรรยาที่ ทรงสัง่ สอน และมิไดท รงอา งวาใครเปนศาสดา หรอื ผูบงั คับบัญชาเหนือใหประกาศธรรมสั่งสอน มหาชน พระองคทรงคนพบความจรงิ ดว ยพระองคเ อง แมห ลักความรูน ั้นๆ จะมีมาในลทั ธศิ าสนา หรือในความเชอื่ ถือของมหาชนมาแลว แตโ บราณกาลก็ตาม ถา ยงั ไมไดพ ิสูจนดวยความรูของ พระองคเ องกอ นแลวก็มไิ ดนํามาบัญญัติสั่งสอนมหาชนแตประการใด เปนแตไมม ีความรูสว นใดที่ เกนิ พระปญญาของพระองคไ ปเทานั้นเอง เราจึงไดพบวา บรรดาบญั ญตั ธิ รรมที่ถกู ตองตามหลัก เหตผุ ลนนั้ ๆ ไดม าปรากฏในพระบญั ญตั ิของพระองคทั้งหมด ทีป่ รากฏวามีบางอยา งท่ไี มท รง พยากรณไว กม็ ใิ ชวา ไมท รงทราบ เปนแตท รงเห็นวา ไมเปนประโยชน จงึ ไมท รงกลาวแกห รือแสดง ไว เชน อนั ตคาหิกทิฏฐิ หรอื นิยตมิจฉาทิฏฐิ ไมท รงกลาวแก เปน แตท รงแสดงธรรมโดยปริยายอื่น ใหฟง เมื่อผฟู ง พจิ ารณาตามก็ทราบความจรงิ ในเรอื่ งน้ันดว ยตนเอง แลว สิน้ สงสัยไปเอง วธิ ีการ แกความเห็นของคนทพี่ ระบรมศาสดาทรงใช คลายวิธีการรกั ษาโรคของแพทยผูเช่ยี วชาญ ที่ ตรวจหาสมุฏฐานของโรคกอนแลว จึงรักษาแกท ่ีสมุฏฐาน ไมตามรักษาทอี่ าการเจ็บปวดซ่งึ เปน ปลายเหตุ เพราะเม่ือแกสมุฏฐานถูกตองแลวโรคกส็ งบ อาการเจบ็ ปวดก็หายไปเอง ฉะน้นั เรื่องที่ ไมทรงกลา วแกอันตคาหิกทิฏฐิก็เชน เดยี วกัน เพราะความเหน็ นั้นเปนเพียงปลายเหตุ มใิ ชสมุฏฐาน อนั เปนตัวเหตุดั้งเดิม จงึ ทรงแสดงธรรมโดยปริยายอ่ืนอันสามารถแกตวั เหตเุ ดิมซึ่งเปนสมฏุ ฐาน. อํานาจลึกลับมหศั จรรย เกนิ วสิ ยั สามัญมนุษยนั้นแมมิไดตรัสเรียกวา ทิพยอํานาจ โดยตรง กต็ าม ก็ไดท รงกลา วถึงอาํ นาจนน้ั ไวแลว อยา งพรอ มมูล และตรัสบอกวธิ ีปลกู สรา งอาํ นาจน้ันขึน้ ใช ทิพยอํานาจ ๑๓
อยา งดีดวย เปนการเพยี งพอท่เี ราจะสันนิษฐานวา พระบรมศาสดาไดท รงบรรลอุ ํานาจน้นั ทุก ประการ และทรงใชใ หเกดิ ประโยชนอ ยางมหาศาลมาแลวในสมัยทรงพระชนมอ ยู. ความขอนีม้ หี ลกั ฐานในพระไตรปฎกมากมาย จะนํามาเลา พอเปนอุทาหรณ ดังตอ ไปนี้ ๑.๑ เม่ือตรัสรแู ลวใหมๆ เสดจ็ ไปโปรดภกิ ษเุ บญจวัคคียท ส่ี วนกวาง อนั เปนที่พกั ของฤษี ณ เมืองพาราณสี แลว เสดจ็ จาํ พรรษาที่น่ัน. ในภายในพรรษา ทานพระยศเถระเมื่อยงั มิไดบวช บังเกดิ ความคิดเหน็ ข้ึนวา ฆราวาสคับ แคบวนุ วายสุดทจ่ี ะทานทนได จึงหนอี อกจากบา นไปเฝา พระบรมศาสดาทส่ี วนกวางน้นั เดนิ บนไป ตามทางวา ท่นี ่ีคับแคบ ทน่ี ่ีวุนวาย พระบรมศาสดาไดท รงสดบั จึงทรงขานรับวา ท่ีนไี่ มคับแคบ ทน่ี ไี่ มวุนวาย เชิญมาทีน่ ่ี เราจะแสดงธรรมใหฟง ทานพระยศเถระกเ็ ขา ไปตามเสยี งที่ทรงเรียก เมื่อ ไดถ วายบงั คมและนง่ั เรียบรอ ยแลว กไ็ ดรับฟง พระธรรมเทศนาอันนา จบั ใจ จนไดบ รรลุดวงตาเห็น ธรรมข้ึนในใจ ทันใดนั้นบดิ าของทานกต็ ิดตามไปถึง พระบรมศาสดาเกรงวา เมอ่ื พระยศเถระกับ บิดาไดเ ห็นกัน กจ็ ะเปน อันตรายแกธ รรมาภิสมัย จงึ ทรงทาํ ตโิ รภาพปาฏหิ ารยิ คอื ทรงทาํ ฤทธ์ิ กาํ บงั มใิ หบ ดิ ากับบตุ รเหน็ กัน แลว ทรงแสดงธรรมใหทัง้ สองนั้นฟง จนทา นพระยศเถระไดบรรลุถงึ พระอรหตั ตผล ถึงความเปน ผูบรสิ ทุ ธแ์ิ ลว และบดิ าของทา นไดบ รรลดุ วงตาเห็นธรรมแลว จงึ ทรง คลายฤทธ์ิใหบ ิดากับบุตรเหน็ กัน ทันใดนัน้ บิดาของทานพระยศเถระก็แจง ใหท ราบวา ทางบานพา กันตามหา ขอใหทา นกลับบา น พระบรมศาสดาจงึ ชิงตรัสวา ยศะไดฟง ธรรม ถงึ ความเปนผูไมค วร แกก ารครองเรอื นแลว บดิ าของทา นพระยศเถระจึงทูลอาราธนาพระบรมศาสดากบั ทานพระยศ เถระไปฉันทีเ่ รือน ครนั้ บิดากลบั ไปแลว ทา นพระยศเถระจงึ ทลู ขอบรรพชาอุปสมบทเปนภิกษุใน พระพุทธศาสนา แลวเปนปจ ฉาสมณะตามหลังพระบรมศาสดาไปฉันภัตตาหารที่เรอื นของบดิ า เรอื่ งน้ีเปนอุทาหรณแหง อทิ ธิวิธี ชนิดที่เรยี กวา ตโิ รภาพ หรือทส่ี ามญั ชนเรียกวา กําบังหรือหายตวั ๒.๒ เมือ่ ออกพรรษาแรกนนั้ แลว เสด็จไปสอู ุรเุ วลา ตําบลเสนานคิ ม แควนมคธ เพอ่ื โปรด ชฎิล ๓ พน่ี อง พรอมดว ยบริวาร เสด็จเขา ไปขอพกั อาศัย ทานอรุ ุเวลกสั สปะ ผเู ปนหวั หนาชฎลิ ตอบขัดของ พระบรมศาสดาตรสั ขอรอ งดวยเหตุผลทางสมณวสิ ยั ถงึ ๓ ครงั้ ทา นจงึ ยอมรับใหพ ัก อาศัย พระบรมศาสดาขอพกั ในโรงไฟ ทานก็หามวา มนี าคราย เกรงจะเปน อันตราย ขอใหพักในที่ อื่น พระบรมศาสดาตรสั รับรองวา ไมเ ปนไร แลว เสดจ็ ไปพกั ไดท รงทาํ ฤทธส์ิ ูกับนาครายจนมันหมด พยศ รงุ เชาทรงจบั นาครายใสบ าตรมาใหทานอุรุเวลกสั สปะดู ทานกอ็ ศั จรรย แตยงั ไมป ลงใจเชื่อ วา เปน “พระอรหันต” ผวู ิเศษกวาตน จึงไมย อมเปนสาวก. วนั ตอ มาอกี เสด็จไปบณิ ฑบาตอุตตรกุรทุ วปี ไดผลหวา ลูกใหญมาสูทา นอุรเุ วลกัสสปะฉัน ซึง่ เปนทีร่ ูก ันในสมัยนั้นวา ผลหวา ชนดิ นน้ั ไมมีในทใี่ กลๆ น้นั นอกจากในปาหิมพานต ในวัน ตอ มาอกี เวลากลางคืนมีแสงสวา งในบริเวณทปี่ ระทบั ตลอดราตรีทัง้ สามยาม แตละยามกม็ ีแสง สวางตางสีกันดวย รงุ เชา ทา นอุรเุ วลกสั สปะจึงทลู ถาม ตรัสพฤติการณวา ปฐมยามทา วมหาราชทง้ั ๔ มาเฝา มชั ฌิมยามทา วสกั กเทวราชลงมาเฝา ปจฉมิ ยามทาวมหาพรหมลงมาเฝา ทา นอรุ เุ วล- .......................................................................................................................................................... ๑. ว.ิ มหา. ๔/๑๕. , ๒. วิ. มหา. ๔/๕๔ ทิพยอาํ นาจ ๑๔
กัสสปะหลากใจแสดงความอัศจรรย อยากจะยอมตนลงเปนสาวกแลว แตยังมมี านะเกรงจะได ความอบั อายแกส านศุ ิษย รงุ ขนึ้ อกี วันหน่ึง ฝนพรํา อากาศเยน็ จดั พวกชฎิลหนาวพากันผาฟน เพอ่ื กอ ไฟผงิ พระบรมศาสดาทรงทําปาฏหิ าริยใ หผา ฟน ไมแ ตก และกอไฟไมต ิด พวกชฎิลพากัน หลากใจและลงความเห็นวา เปน ดว ยฤทธ์ิของพระบรมศาสดา จงึ พากนั ไปออนวอนอาจารยข อให พาพวกตนถวายตวั เปน ศษิ ยพ ระบรมศาสดา ทา นอุรุเวลกสั สปะไดโอกาส จึงพาศิษยบ ริวารเขา ขอ บรรพชาอุปสมบทในสาํ นกั พระบรมศาสดา นอ งชายทัง้ สองซ่ึงอยูใ นอาศรมทางใตล งไปพาบรวิ าร มาเยย่ี มพ่ชี าย เหน็ บวชเปน ภิกษแุ ลวก็พากันบวชตามพชี่ าย พระบรมศาสดาทรงเทศนาอบรมทาน ทงั้ สาม พรอมดวยบรวิ ารพันหนงึ่ โดยปรยิ ายตางๆ จนเห็นวา มอี นิ ทรียแกกลา พอจะรับฟง พระ ธรรมเทศนาเพ่ือปญ ญาชนชั้นสูงแลว จงึ พาไปสูตําบลคยาสสี ะ๑ ทรงแสดงอาทติ ตปรยิ าย โปรดให บรรลุอรหตั ตผลทง้ั ๑,๐๐๐ องคพ รอ มกนั พอเวลาอนั สมควรแลว จงึ พาพระอรหันตทงั้ ๑,๐๐๐ องค เสด็จยาตราเขาสกู รงุ ราชคฤห เพ่ือโปรดพระเจาพมิ พสิ ารตอไป. เร่ืองที่เลามาน้ี เปนอทุ าหรณแ หงปาฏหิ ารยิ ท ั้งหลายประการ คอื ทรงทรมานนาครา ยให หายพยศไดน ั้นทรงใชป าฏหิ าริยบ ังควันกอน แลวจึงทรงใชปาฏหิ าริยเปลวเพลิงภายหลงั ที่ทรง แหวกนํา้ จงกรมนั้น ทรงใช ปาฏหิ าริยตโิ รปาการภาพ คือทรงเนรมิตกําแพงขน้ึ กนั้ น้าํ ไว ท่ีเสดจ็ ไป บิณฑบาตอตุ ตรกุรุทวีปนั้น ทรงใชป าฏิหารยิ เ หาะไป ทรงทราบวามเี ทวดามาเฝา ยามทง้ั สามของ ราตรนี น้ั เปนดวยทิพพจกั ขุญาณ และ ทพิ พโสตญาณ ท่ีทาํ ใหพวกชฎิลผาฟน ไมแ ตก กอไฟไมต ดิ นน้ั เปนดวยอธิษฐานฤทธิ.์ ๓.๒ ในสมยั พระธรรมวนิ ยั กาํ ลังแผไ ปทว่ั มัชฌิมชนบทน้นั พราหมณพาวรซี ึ่งตั้งอาศรมอยูฝ ง น้าํ โคธาวารี ในแดนทักษณิ าบถ คือ อินเดยี ภาคใต ไดทราบกติ ติศัพทของพระบรมศาสดาวา เปน พระอรหันตสมั มาสัมพทุ ธเจา จงึ ผกู ปรศิ นาใหศ ิษยผใู หญ ๑๖ คนไปเฝา ทลู ถาม เพือ่ หย่ังภูมิของ พระบรมศาสดาวาจะจรงิ อยางคาํ เลา ลือหรือไม เวลานั้นพระบรมศาสดาเสด็จประทับที่ปาสาณ- เจดยี ประเทศโกศล มาณพศษิ ยพ ราหมณพาวรที งั้ ๑๖ คน พรอมดว ยบริวารไปถึงเขาเฝา ในเวลา เย็น ณ รม เงาปาสาณเจดียน นั้ พระบรมศาสดาทรงปฏิสนั ถารดวยสัมโมทนยี กถาพอสมควรแลว จึงทรงแสดงพระปาฏิหาริยเปนประเดิมกอ นเปดโอกาสใหถามปรศิ นา ดว ยทรงชมโฉมพาวรี พราหมณ ผเู ปนอาจารยของมาณพเหลานนั้ กอนวา มลี กั ษณะของมหาบรุ ุษ ๓ ประการ และตรสั บอกความคดิ ของพาวรที ี่ผูกปรศิ นามาถามวา มีความประสงคเ ชน ไร แลว จงึ เปดโอกาสใหถ าม ปริศนาทีละคนจนจบทัง้ ๑๖ คน ทา นเหลา น้ันกเ็ กิดอศั จรรยใ จขนพองสยองเกลา จนเกอื บจะไม ทลู ถามปรศิ นา แตพระบรมศาสดาเห็นวา การแกปริศนานั้นจะเกิดสําเรจ็ ประโยชนใ หญหลวง จึง ทรงบญั ชาใหถามปริศนาตอไปแลว ทรงแกปรศิ นาน้ันๆ ไดอยางคลองแคลวไมม กี ารขดั ของอึดอัด ในท่สี ุดแหง การแกป ริศนาของแตละทาน ทา นเจาของปรศิ นาพรอ มดวยบรวิ าร กไ็ ดบ รรลุพระ อรหัตตผลทง้ั หมด เวนแตปงคิยะ หลานทานพาวรีเทา น้นั เพราะโทษทีม่ ีใจหวงใยถึงทา นพาวรผี ู เปนลงุ . .......................................................................................................................................................... ๑. คือ คชาสีสะ เขาหัวชาง. พ.ม.ส. , ๒. ข.ุ สุ. ๒๕/๕๒๔ ทพิ ยอํานาจ ๑๕
เร่ืองน้ี เปนอุทาหรณแ หง อทิ ธิปาฏหิ าริยห ลายประการ คอื ทรงทราบลกั ษณะพาวรี พราหมณดวยทิพยจักษญุ าณ ทรงทราบความคดิ ของพาวรพี ราหมณดวยปรจติ ตวิชชาญาณ หรือที่ เรียกวา เจโตปรยิ ญาณ ทรงแกป ริศนาไดคลองแคลวไมต ิดขัดน้ัน เปนดว ยพระปรีชาญาณหลาย ประการ มีพระปฏิสัมภทิ าญาณ เปน ตน. ๔.๑ สมัยหน่งึ ทรงรับนิมนตของพกาพรหมแลว เสด็จไปพรหมโลก ทรงทรมานพกาพรหม ดวยอทิ ธปิ าฏิหารยิ ห ลายหลาก มกี ารเลน ซอ นหาเปน ตน แลวทรงแสดงธรรมสัง่ สอนใหพ กาพรหม ละพยศรายไดดวยวิธที เ่ี รียกวา ญาณคทา. ๕. สมัยหน่งึ พระมหาโมคคลั ลานะ ไปทําความเพยี ร ณ บา นกลั ลวาลมตุ ตคาม ถกู ถีน- มิทธะครอบงาํ สมเดจ็ พระผมู พี ระภาคเจา ทรงทราบดว ยเจโตปริยญาณ จงึ เสดจ็ ไปดว ยพระ มโนมยั กาย ทรงแสดงวิธีแกถีนมิทธะแกพ ระเถระ แลวเสด็จกลบั ทปี่ ระทบั . ๖.๒ อีกครงั้ หน่งึ ทรงทรมานทานพระองคุลีมาลเถระ เมอ่ื ยังเปนโจร ดวยพระปาฏหิ าริย ทูเรภาพ คือ ทรงดาํ เนินโดยปกติ แตทา นพระองคลุ มี าลตามไมท นั เห็นพระองคอ ยใู นระยะไกลอยู เสมอ จงึ ตะโกนบอกใหหยดุ ทรงตอบไปวา พระองคหยุดแลว ทา นเองสิไมห ยุด พระองคุลมี าลรอง ตะโกนไปวา ตรัสมุสา เดนิ อยูแทๆ บอกวา หยุดได ตรสั ตอบวา ทรงหยดุ ทําบาปแลวตางหาก ทา น เองสิไมหยุดทาํ บาปใสต ัว พระองคลุ ีมาลไดสติ จงึ ท้งิ อาวุธเขา ไปเฝา ทูลขอบรรพชาอุปสมบท พระ บรมศาสดาก็โปรดใหบ รรพชาอุปสมบท แลว พามาวดั พระเชตวนั ในวันน้นั . ๗.๓ อกี ครัง้ หนงึ่ ซง่ึ เปน คร้ังท่มี ีประวัติการณโดง ดังท่ีสดุ คอื ครั้งทรงทํา ยมกปาฏิหาริย เพือ่ ทรมานเดยี รถียน ิครนถ ท่มี าแขงดที าทายดวยประการตางๆ ครง้ั นั้นทรงทาํ ทก่ี รุงสาวตั ถี ณ ตนไมม ะมว งชือ่ คัณฑามพฤกษ โดยแสดงพระองคใ หม หี ลากหลาย มีอิรยิ าบถและทํากิจตา งๆ กัน บางนงั่ บางนอน บางแสดงธรรม บา งจงกรมกลางหาว และทรงทาํ ทอ น้ํา ทอไฟ และรังสีสลบั สใี ห พุงออกจากพระวรกายเปน คูๆ แลวเสด็จลับพระองคไ ปในอากาศ ณ ยอดเขาพระสเุ มรุ นยั วา เสดจ็ ไปจาํ พรรษา ณ ดาวดึงส ทรงแสดงพระอภธิ รรมโปรดพระมารดา วนั ออกพรรษาจงึ เสดจ็ ลง ณ ประตูนครสังกสั สะ ทางทิศเหนอื กรุงสาวตั ถี แลว ทรงทาํ อาวีภาพปาฏิหาริย คือทรงเปดโลกใหคน และเทวดาเห็นกนั ได พระองคเสดจ็ ลงโดยบนั ไดแกว ทีเ่ ทวดานฤมิต มีพระอนิ ทรกบั พระพรหมตาม เสดจ็ ท้งั สองขา ง ดวยบันไดเงินและทอง มหาชนไดป ระชุมกันตอนรับโดยสักการะมโหฬาร นยั วามี ผปู รารถนาเปนพระพทุ ธเจากนั ในครั้งนนั้ มากมาย ประมาณเทาเมล็ดทรายในแมน ํ้าคงคา คนและ เทวดาไดเ ห็นกนั ชดั แจงในครง้ั นน้ั . ยมกปาฏิหารยิ เปน สง่ิ ท่ีทําไดยากทสี่ ุด ไมมีพระสาวกรูปใดทําได ไมม ีใครสามารถเปน คแู ขงได จงึ เปน ปาฏหิ าริยท่ีนาอศั จรรยทส่ี ุด. เรื่องเหลา นีเ้ ปน เพยี งสว นนอย นาํ มาเลาพอเปน อุทาหรณเทา น้นั ถา จะเลา เรอ่ื งท่ที รงทาํ ปาฏิหาริยใ นคราวตางๆ ใหสิ้นเชงิ แลว กจ็ ะกลายเปน หนังสอื เลมใหญ ซึ่งมิใชจ ดุ หมายของหนังสอื เลมนี้. .......................................................................................................................................................... ๑. ม. มู. ๑๒/๕๙๐. , ๒. ม. ม. ๑๓/๔๗๙. , ๓. ยมกปฺปาฏหิ ารยิ วตถฺ ุ ธมมฺ ปทฏฐกถา ๖/๒๑๑ ทิพยอํานาจ ๑๖
ปาฏหิ าริยนี้ ทรงแสดงไววามี ๓ ประการ คือ ๑. อทิ ธิปาฏหิ ารยิ ฤทธิอ์ ศั จรรย ๒. อาเทสนาปาฏิหารยิ ดักใจถกู ตอ งอยางนา อัศจรรย ๓. อนุสาสนปี าฏิหาริย คาํ สงั่ สอนทน่ี าอัศจรรย โดยมเี หตุผลพรอมมูล และปฏบิ ตั ิไดผ ล จริงๆ ดว ย. ในปาฏิหารยิ ท ้ัง ๓ ประการนี้ ทรงสรรเสริญอนสุ าสนปี าฏิหาริยว าเปนเยีย่ ม เพราะย่งั ยนื ดาํ รงอยหู ลายช่วั อายุคน และสําเร็จประโยชนแ มแกคนรนุ หลงั ๆ สว นปาฏหิ าริยอกี ๒ ประการน้ัน เปนประโยชนเ ฉพาะแกผไู ดป ระสบพบเห็นเทาน้ัน และเปนสงิ่ ท่ีสาธารณะ แมชาวโลกบางพวกเขา ก็ทาํ ได เชน ชาวคันธาระ และชาวมณีปรุ ะ เปนตน ทีเ่ รยี กกนั ในครั้งน้ันวา คันธารวชิ า มณวี ิชา พระบรมศาสดาจึงไมท รงแสดงบอยนัก เวนแตจําเปน และเหน็ วาจะสําเร็จประโยชนจึงทรงทาํ อิทธิปาฏิหาริยและอาเทศนาปาฏหิ ารยิ นยั วาทรงหา มพระสาวกมใิ หแสดงอทิ ธปิ าฏหิ ารยิ เชนเดียวกนั แตก ป็ รากฏวา มพี ระสาวกแสดงปาฏิหาริยกนั เร่อื ยๆ มา ตง้ั แตส มยั พระบรมศาสดายงั ทรงพระชนมอยู จนถงึ สมัยหลังพุทธปรินพิ พานมานาน ทีต่ รัสส่งั ใหแสดงก็มี เชน ทรงแนะอุปเทศ แหงฤทธ์แิ กพ ระมหาโมคคลั ลานะ ใหทรมานนนั โทปนันทนาคราช และตรัสสัง่ พระมหาโกฏฐิตะไป ทรมานพญานาค ท่ที า ปยาคะ เปนตน เมอ่ื คราวจะทํายมกปาฏิหาริยกม็ พี ระสาวกสาวกิ าหลาย องคข อแสดงฤทธ์แิ ทน แตไมทรงอนุญาต โดยทรงอา งวา เปน พทุ ธวสิ ัย และ พุทธประเพณ.ี อํานาจอันแปลกประหลาดมหศั จรรย ดังทเ่ี ลามาน้ี เปนสง่ิ เกินวิสยั สามัญมนุษยจ ะทาํ ได เปนเหมอื นเทพบันดาลฉะนั้น ขาพเจา จงึ พอใจเรยี กอํานาจชนิดน้ีวา ทิพยอํานาจ แตมไิ ด หมายความวา อาํ นาจนเ้ี ปน ของเทวดาหรอื เทวดาดลใจใหท ํา ขา พเจา หมายถึงภาวะหน่ึงซงึ่ เปน ภาวะทพิ ย มีอยูในภายในกายของมนษุ ยธ รรมดาน่ีเอง หากแตไมทาํ การปลกุ หรือปลูกสรางขึน้ ให มีประจกั ษชดั จึงไมมีสมรรถภาพทําการอนั นา อัศจรรยได สวนผรู ูจักปลกุ หรือปลกู อํานาจชนดิ นนั้ ข้ึนใช ยอ มสามารถทําอะไรๆ ทนี่ าอศั จรรยไดเกินมนุษยธ รรมดา. ทิพยภาวะนัน้ จะปรากฏข้นึ แกบ คุ คลในเม่ือเจรญิ สมาธิจนไดฌาน ๔ แลว และฌาน ๔ นนั้ เองเปน ทพิ ยวิสัย คือ แดนทพิ ย ซ่งึ เม่ือบุคคลเขา ไปถึงแดนทพิ ยน้ีแลว ทกุ สง่ิ ทกุ อยางทเ่ี ก่ียวของ กบั ตนโดยฐานเปนเคร่อื งใช ของกิน ความคดิ นกึ รูส กึ และความรู กย็ อมกลายเปนทพิ ยไปหมด ดงั ที่ ตรัสแกพ ราหมณและคหบดี ชาวเวนาคปุระวา เราเขาฌานท่ี ๑-๒-๓-๔ ถา จงกรมอยูท ่ีจงกรมก็ เปน ทพิ ย ถายืนอยทู ี่ยนื กเ็ ปนทพิ ย ถาน่งั อยูที่นง่ั ก็เปนทพิ ย ถา นอนอยูทน่ี อนก็เปนทิพย ... ดังน้ี และมีในท่อี น่ื อีกหลายแหง ท่ีตรสั เกยี่ วกับเร่ืองน้ี ซ่ึงเม่ือรวมความแลว กท็ รงรับรองวาเม่อื เขา ฌาน ที่ ๑-๒-๓-๔ แลว ทุกสิง่ จะกลายเปนทิพย อาหารทไี่ ดดวยการบิณฑบาตกเ็ ปน ทิพย ผาบังสุกุลก็ เปนทิพย โคนไมท ีอ่ าศยั ก็เปนทพิ ยวมิ าน ยาดองดว ยนํา้ มูตรเนา ก็กลายเปนยาทิพยไ ป เคร่ืองใช สอยตางๆ ก็เปนทพิ ย ภาวะแหงจติ ใจในสมัยนั้นก็บริบรู ณไปดวยทพิ ยภาวะ สงิ่ ท่ีไดประสพพบเหน็ สมั ผสั ถูกตอง ลวนแตน า ชื่นใจ ประหนงึ่ วา ไดเขา ไปอยูใ นโลกทพิ ยอยางเตม็ ท่แี ลว ฉะนั้น. ทิพยอาํ นาจ ๑๗
ฌานท้งั ๔ เปน ท่ีตัง้ แหง ทพิ ยอํานาจทง้ั ปวง คอื ทิพยอํานาจทัง้ ปวงจะเกิดขนึ้ แกบุคคล ยอมตอ งอาศยั ฌาน ๔ เปน บาทฐาน เพราะฌาน ๔ เปน ทิพยวสิ ยั ทีบ่ รบิ ูรณดว ยภาวะทพิ ย ซ่งึ จะ เปนกาํ ลังหนนุ ใหเกิดทพิ ยอํานาจไดง า ย. ทิพยอํานาจนี้ เมอื่ วา โดยลกั ษณะอยางตา่ํ ยอ มหมายถงึ โลกยี อภญิ ญา ๕ ประการ แตเ มือ่ วาโดยลกั ษณะอยา งสงู ยอ มหมายถงึ โลกตุ ตรอภิญญา ๖ ประการ หรอื วิชชา ๘ ประการ คอื ๑. อิทธวิ ิธิญาณ ฉลาดในวธิ ที าํ ฤทธิ์ ๒. มโนมยทิ ธิ ฤทธิส์ ําเรจ็ ดวยใจ ๓. ทพิ พโสตญาณ ฉลาดในโสตธาตทุ พิ ย ๔. เจโตปรยิ ญาณ ฉลาดในการรูใจผูอ่นื ๕. บุพเพนิวาสานุสสตญิ าณ ฉลาดในการระลกึ ชาตกิ อนได ๖. ทพิ พจกั ขุญาณ ฉลาดในทางตาทพิ ย ๗. จตุ ปู ปาตญาณ ฉลาดรจู ุติและอุปบตั ิ ตลอดถงึ การไดดีตกยากของสตั วตามกําลังกรรม ๘. อาสวกั ขยญาณ ฉลาดในการทําอาสวะใหส ิน้ ไป. ขอ ๑-๓-๔-๕-๖ และ ๘ เปน อภญิ ญา ถาขาดขอ ๘ ไปกเ็ ปนเพียงโลกยิ อภญิ ญา ถา มีขอ ๘ กเ็ ปนโลกุตตรอภิญญา อภิญญา ๖ หรอื วิชชา ๘ ประการน้ขี าพเจาจะเรยี กวา ทิพยอาํ นาจตอ ไป. ทิพยอาํ นาจน้ี พระบรมศาสดาและพระสาวกสาวกิ าไดท รงมี และไดใชบาํ เพ็ญประโยชน มาแลว มหี ลักฐานมากมายในพระไตรปฎ ก เราผูอนชุ นหรือปจฉิมชนไมควรจะมองขามไป หรือไม ควรดูหม่ินวาไมน า เช่ือ แลว แหละทอดธุระเสยี . บคุ คลผูฝก ฝนอบรมตนจนไดทิพยอํานาจนี้ แมเพยี งบางประการ จะตองมศี ลี ธรรมเปน หลกั ประจําใจมาแลว อยางพอเพยี ง อยางตา่ํ ก็จะตองมีศลี ๕ และกัลยาณธรรมประจาํ ใจ เปนผรู กั ดเี กลียดบาปกลัวบาป ชอบสงบตามวิสยั ของคนดีไมเ ปนภยั แกส ังคม เขาจงึ ควรไดช ื่อวา “นรเทพ” สว นบุคคลผสู มบูรณดว ยทพิ ยอาํ นาจทุกประการนน้ั ยอมบรบิ ูรณด วยศีลธรรมชน้ั สงู สุด เปนอุดม บรุ ษุ ในพระพุทธศาสนา ไมเ ปน ขาศึกตอ โลก ทา นผเู ชนนี้ควรไดช่อื วา เทวาติเทพ ไดแลว. บคุ คลท้งั สองจาํ พวกนี้ เมือ่ มที พิ ยอํานาจขน้ึ ยอ มวางใจไดว าจะไมน ําอาํ นาจนน้ั ไปใช ในทางทเ่ี ปนโทษหรือผดิ ศีลธรรม ยอมใชบ าํ เพ็ญประโยชนต น ประโยชนท าน และประโยชน สว นรวมของชาติและพระศาสนา ดงั ท่ีพระบรมศาสดาและพระสาวกสาวิกา ไดบําเพ็ญมาแลว. ทีนี้มปี ญหาเกิดขึ้นวา ในสมยั ปจจุบนั น้ี จะสรางทิพยอํานาจขนึ้ ใชไดหรือไม? ขา พเจาขอ ตอบเพยี งส้ันๆ วา เมอ่ื ทิพยอํานาจมไี ดใ นความบงั เอิญ ก็ยอ มจะมไี ดใ นการทําจริง และขอช้แี จงวา พระบรมศาสดาทรงแสดงไววา พระธรรมเปนอกาลโิ ก คือไมจ ํากดั กาล มรรค ผล ธรรมวเิ ศษ มีอยู ทกุ ยุคทกุ สมยั มิไดส ูญหายไปไหน เปน แตเมอ่ื บุคคลไมปฏิบตั ิบาํ เพ็ญ มรรค ผล ธรรมวเิ ศษกไ็ ม ปรากฏ เพราะมรรค ผล ธรรมวิเศษ ข้ึนอยูกบั การปฏบิ ัติของบคุ คล เมื่อบคุ คลเปน ผปู ฏิบตั ิจริงจงั ยอมจะตองไดธ รรมวเิ ศษหรือมรรค ผล อยางใดอยางหน่ึงเปนแน และจะถงึ ความเปน สกั ขีพยาน ของพระบรมศาสดาจารยใ นธรรมนั้นๆ สมยั นปี้ ฏปิ ทาเพอื่ ไดเพือ่ ถึงมรรคผลธรรมวิเศษน้นั ๆ ยังมี บรบิ ูรณ ยังไมอ นั ตรธานไปจากโลก. ทพิ ยอาํ นาจ ๑๘
ขาพเจา ขอเชิญชวนสาธชุ นมารว มกัน พิสูจนค วามจริงดวยการปฏบิ ตั ิ ขาพเจา จะประมวล ปฏปิ ทามาไวในทีเ่ ดยี วกนั เพอ่ื สะดวกแกผ ูตอ งการปฏบิ ัติ ดังจะกลาวในบทตอ ไป. .............................................. ทิพยอาํ นาจ ๑๙
บทท่ี ๑ อะไรเปน ทตี่ งั้ แหง ทพิ ยอาํ นาจ ไดกลาวเกร่ินไวใ นบทนาํ วา ฌาน ๔ เปน ทพิ ยวสิ ัย และเปน ทตี่ ัง้ แหง ทพิ ยอาํ นาจดว ย ดงั น้ันในบทนี้ จึงจะแสดงฌานไวเ พ่ือเปนหลักปฏิบตั ิสืบไป. สมาธแิ ละฌานในพระพทุ ธศาสนามีมากประเภท แตท ตี่ รสั ไวเปนมาตรฐานในการเจริญ เพอ่ื เปน ท่ตี ง้ั แหงทิพยอํานาจนั้น ไดแกฌ าน ๔ ประการ ที่เรยี กชือ่ ตามลาํ ดบั ปรู ณะสังขยาวา ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตตยิ ฌาน และจตุตถฌาน ฌาน ๔ ประการนีต้ รัสเรยี กวา สัมมาสมาธิ จดั เปน องคห น่ึงของมรรค ๘ และเปน องคประธาน มอี งค ๗ นอกนนั้ เปนบริขาร คือเปน สวนประกอบ แตเมอ่ื วาโดยกจิ ตัดกเิ ลสแลว สมั มาทิฏฐเิ ปนหวั หนา เปนองคนํา องค ๗ นอกน้ันเปน สวนประกอบ. สมาธกิ บั ฌานมคี วามหมายกวา งแคบกวากัน คอื สมาธมิ ีความหมายกวางกวา ฌาน ความ สงบม่ันคงของใจต้ังแตช้ันตา่ํ ๆ ชั่วขณะหนงึ่ จนถึงความสงบขนั้ สงู สดุ ไมมีอารมณเปน เครื่อง กําหนด เรียกวาสมาธิไดท้ังน้ัน เชน ขณกิ สมาธิ สงบชวั่ ขณะนดิ หนอ ยมีไดแ กส ามัญชนทวั่ ไป, อปุ จารสมาธิ สงบใกลต อความเปน ฌาน คอื เฉียดฌาน, อปั ปนาสมาธิ สงบแนว แนเปนฌาน, สญุ ญตสมาธิ สงบวางโปรง , อนมิ ติ ตสมาธิ สงบไมมอี ารมณปรุงแตง , อัปปณหิ ติ สมาธิ สงบไมม ี ท่ตี ้งั ลง คอื หาฐานรองรบั ความสงบเชน นนั้ ไมม ี สมาธเิ หลานีเ้ ปน ชั้นสงู มีไดแกบางคนเทาน้ัน. สวนฌานมคี วามหมายจํากดั อยใู นวง คือ มอี งคหรืออารมณเปนเครอ่ื งกําหนดโดยเฉพาะ เปน อยางๆ ไป ฌานที่ ๑-๒-๓-๔ นั้นมีอารมณข ้นั ตนไมจ าํ กดั แตมีองคเ ปนเครอื่ งกาํ หนดหมาย คือ จติ เพง พินิจจดจอ อยูใ นอารมณอ ยา งเดยี วจนสงบลง มอี งคของฌานปรากฏข้ึนครบ ๕ ก็เปน ปฐมฌาน, มีองค ๓ ครบบรบิ ูรณก ็เปนทตุ ิยฌาน, มีองค ๒ ครบบรบิ ูรณก็เปนตติยฌาน, มีองค ๒ ครบบริบูรณกเ็ ปน จตุตถฌาน พระอาจารยใ นปูนกอนทานเรียกช่ือฌานทั้ง ๔ นีไ้ ปตามอารมณ ข้นั ตนก็มี เชน อสภุ ฌาน มอี สภุ ะเปนอารมณ, เมตตฌาน มีเมตตาเปนอารมณ, สติปฏ ฐานฌาน มสี ติปฏฐานเปน อารมณ, อนสุ สตฌิ าน มอี นุสสตเิ ปน อารมณ ฯลฯ ฌานชั้นสูงมอี ารมณเ ปน เครอ่ื งกําหนดเฉพาะอยางๆ ไป เชน อากาสานญั จายตนะ มีอากาศเปน เครอื่ งกําหนด, วญิ ญาณัญจายตนะ มีวญิ ญาณเปน เครื่องกาํ หนด, อากญิ จญั ญายตนะ มคี วามไมม อี ะไรเปนเครือ่ ง กาํ หนด, เนวสัญญานาสญั ญายตนะ มคี วามสงบประณีตเปน เครอื่ งกําหนด ฯลฯ ฌานช้นั สูงนี้จะ ไวก ลา วในบทวา ดวยอุปกรณแหง ทิพยอํานาจขา งหนา บทน้จี ะกลา วแตฌาน ๔ ประการ ซง่ึ เปน ฌานมาตรฐานและเปนทตี่ ัง้ แหงทิพยอํานาจเทานน้ั . กอนทจ่ี ะวนิ ิจฉยั ลกั ษณะของฌาน ๔ ชัน้ น้ี จะขอนาํ พระบาลีอันเปน หลักฐานแสดง ลักษณะฌาน ๔ ชั้นนีม้ าตงั้ ไวเปน หลกั กอ น พระบาลอี ันเปนหลักฐานแสดงฌาน ๔ นม้ี ีมากแหง และแสดงลกั ษณะไวต รงกันหมด ทั้งแสดงวา ฌาน ๔ ชนั้ นี้เปน สมาธพิ ละ สมาธสิ มั โพชฌงค และ สมั มาสมาธิองคแ หง มรรคดวย พระบาลีมดี ังตอ ไปน้ี ทิพยอาํ นาจ ๒๐
๑. ปฐมฌาน – วิวจิ เฺ จว กาเมหิ ววิ ิจจฺ อกุสเลหิ ธมฺเมหิ สวติ กฺกํ สวิจารํ วเิ วกชํ ปต สิ ขุ ํ ปมํ ฌานํ อุปสมปฺ ชฺช วหิ รติ. สงัดเงียบจากกาม สงัดเงยี บจากอกศุ ลธรรม แลว เขาปฐมฌาน ซึ่งมวี ติ ก มวี จิ าร มีปต ิ และมสี ุขเกิดจากวิเวกอย.ู ๒. ทตุ ิยฌาน – วติ กกฺ วจิ ารานํ วูปสมา อชฌฺ ตฺตํ สมปฺ สาทนํ เจตโส เอโกทภิ าวํ อวติ กฺกํ อวิจารํ สมาธิชํ ปต ิสขุ ํ ทตุ ิยํ ฌานํ อุปสมปฺ ชชฺ วิหรต.ิ ระงบั วติ กวิจาร แลวเขาทตุ ิยฌาน ซงึ่ มคี วาม ผอ งใสในภายใน มคี วามปรากฏเดนเปนดวงเดยี วแหง จติ ใจ ไมมวี ิตกวจิ าร มปี ติและสุขเกดิ แต สมาธิอย.ู ๓. ตตยิ ฌาน – ปติยา จ วริ าคา อเุ ปกขฺ โก จ วิหรติ สโต จ สมปฺ ชาโน สขุ จฺ กาเยน ปฏสิ -ํ เวเทติ ยนฺตํ อริยา อาจิกฺขนฺติ “อเุ ปกฺขโก สติมา สขุ วิหารตี ิ ตติยํ ฌานํ อุปสมปฺ ชฺช วหิ รต”ิ สาํ รอก ปติ และเขา ตตยิ ฌาน ซงึ่ เปน ผูวางเฉย มีสตสิ มั ปชัญญะ และเสวยสขุ ดวยกาย ท่ีพระอริยเจา กลาว วา ผวู างเฉยมสี ติอยเู ปนสุข ดังนี้. ๔. จตุตถฌาน – สุขสสฺ จ ปหานา ทุกขฺ สฺส จ ปาหนา ปพุ เฺ พว โสมนสสฺ โทมนสฺสานํ อตถฺ งคฺ มา อทกุ ขฺ มสขุ ํ อุเปกขฺ าสตปิ าริสุทธฺ ึ จตุตถฺ ํ ฌานํ อุปสมปฺ ชชฺ วหิ รต.ิ ละสุขละทุกข และดับ โสมนัสโทมนสั กอ นนัน่ เทียว แลวเขาจตุตถฌาน ซง่ึ ไมมสี ขุ ไมมีทุกข มแี ตอ เุ บกขากบั สติ และความ บริสุทธ์ขิ องจติ เทาน้ัน. นวิ รณ ๕ ในเบ้อื งตนทีจ่ ะทาํ ความเขา ใจลักษณะของฌาน ควรทาํ ความเขา ใจลกั ษณะของกเิ ลสทก่ี ้ัน กางจติ มิใหบ รรลฌุ านกอน เพราะเมื่อกเิ ลสชนดิ ท่เี รียกวานิวรณ ยังมีอาํ นาจครองใจอยแู ลว จิตจะ เขา ถึงฌานไมได นวิ รณน ้ัน มี ๕ ประการ คือ ๑. กามฉนฺโท ความติดใจในกามคณุ ๒. พยาปาโท ความคมุ แคน ๓. ถนี มทิ ธฺ ํ ความทอ ใจและซมึ เซา ๔. อทุ ฺธจจฺ กุกฺกุจจฺ ํ ความฟงุ ซานและรําคาญใจ ๕. วิจิกจิ ฺฉา ความลงั เลใจ กเิ ลสทั้ง ๕ ประการน้ี แมแ ตป ระการใดประการหน่ึงเขาครองอาํ นาจในจติ ใจ ใจจะเสีย คณุ ภาพออนกําลงั เสยี ปญ ญาไปทันที และจะมลี กั ษณะหมองมวั คดิ อานอะไรไมไดเ หตุผลท่ีแจม แจง บางทีถงึ กบั มืดตอ้ื คิดอะไรไมออกเอาทีเดียว. กามคณุ ๕ คอื รูป เสียง กลิน่ รส และโผฏฐัพพะ ตรสั เรียกวา สมั พาธ คือ สิง่ แคบ เมื่อใจ ไปตดิ พันอยูก บั สงิ่ คบั แคบ ก็ยอ มเกิดความรสู ึกคบั แคบขนึ้ ในใจ เหมอื นเขาไปอยใู นทแ่ี คบฉะน้ัน ฌานตงั้ แตปฐมฌานไป ตรสั เรียกวา โอกาสาธคิ ม คือ สภาพวา งโปรง หรอื ชองวา ง ในท่เี ขา ถึง ความสงบ เปนฌานยอ มรูส กึ ปลอดโปรง เหมือนเขาไปอยูในท่ีวางโปรง ฉะนัน้ เมื่อกามคุณทั้ง ๕ ยังมีอาํ นาจเหนอื ใจ ยั่วใหใ จเกิดกาํ หนัดขดั เคืองคุมแคน ขูใ หเ กิดความทอ ใจ ออ นใจ หมดหวงั ให ทิพยอาํ นาจ ๒๑
เปนใจออ นปวเปย ซึมกะทอื เผยอหัวไมข้ึนหรือกลัวหงอ คาํ รามใหเ กิดความตื่นเตนตกใจคิดเพอไป และใหเกดิ รําคาญใจหงุดหงดิ ปน ใหเขาใจผดิ เกิดสองจติ สองใจข้ึน รวนเรไมแนใจวา จะทําอยางไร ดี เหมือนยืนทท่ี างแยก ไมร จู ะไปทางไหนถกู ฉะน้ัน กามคณุ และกิเลสอนั มีลกั ษณะดังกลา วน้ี ยงั มี อํานาจเหนอื จิตใจอยเู พียงไร จติ ใจจะสงบเปน สมาธ-ิ เปนฌานไมไดเ พียงนั้น เมื่อใดกามคณุ และ กิลสเหลานี้สงบลงไป ไมม ีกาํ ลังเหนอื จติ ใจแลว เมื่อนนั้ จติ จะสงบเปน สมาธิและเปนฌาน จะถึง สภาพโปรงใจที่เรียกวา โอกาสาธคิ ม ทันที ปฐมฌานน้ันทา นกําหนดลักษณะเบอ้ื งตน วา สงัดจาก กามและอกุศลธรรม กห็ มายถงึ สงดั จากกามคุณ ๕ และนวิ รณ ๕ นัน่ เอง แลว จงึ สงบใจลงได เขา ถงึ ความเปนฌานตอ ไป ลักษณะของจิตท่สี งดั จากกามและอกุศลธรรมนี้ ทานไมจัดเปนองค ฌาน จดั เปน เพียงบพุ พปโยคฌาน ซ่งึ นา จะไดแกอปุ จารสมาธิ อันเปนความสงบเฉยี ดฌาน คอื ใกล ตอ ความเปนฌานน่ันเอง สว นองคข องปฐมฌานนนั้ ทานจัดไว ๕ คือ วิตก ความตรกึ คือความคิด, วิจาร ความตรอง คอื ความอาน, ปต ิ ความอม่ิ คอื ความชุมชน่ื , สุข คือความสบาย, และ เอกัคคตา คอื ความเปนหนึ่ง ซงึ่ หมายถึงสมาธนิ ่ันเอง เมอื่ ใจเปนสมาธปิ ระกอบดว ยลกั ษณะทง้ั ๕ นแ้ี ลว ชอ่ื วา เขาปฐมฌานได องคฌ าน ๕ ประการนี้ทานวา เปนปฏปิ ก ษกันกบั นวิ รณ ๕ ดังนี้ ๑. วติ ก–ความคิด เปน ปฏปิ ก ษก ับ ถนี มทิ ธะ ๒. วิจาร–ความอาน เปนปฏิปก ษกับ วจิ กิ จิ ฉา ๓. ปต–ิ ความชมุ ช่ืน เปน ปฏิปกษก บั พยาปาทะ ๔. สขุ –ความสบาย เปนปฏิปกษกบั อุทธจั จกกุ กุจจะ ๕. เอกัคคตา–ความเปน หนึ่ง เปน ปฏิปก ษก ับ กามฉันทะ ท้งั นี้ทา นใหอ รรถาธบิ ายไวว า วิตก = ความคิด ยอมมลี กั ษณะยกจติ ข้ึนสูอารมณ และเคลา คลึงอารมณน นั้ ซ่ึงตรงกันขา ม กับถนี มทิ ธะ ซ่งึ มลี กั ษณะหดหูทอถอย ซมึ เซา ปลอยอารมณ ไมอยากคดิ อะไร เมอ่ื ความคิดกบั ความไมอยากคดิ ประจันหนากัน กย็ อ มจะมีการตอสูหักลา งกันขนึ้ และฝา ยใดฝา ยหนง่ึ จะถงึ แก พายแพไ ป ฝา ยชนะกเ็ ขาครองความเปนใหญใ นจติ ตอไป ถาความคิดมีกาํ ลงั แรงกวา ความไม อยากคดิ ก็จะตอ งตกไปจากจติ ทนั ที สมเด็จพระผูมีพระภาคทรงแนะนําพระมหาโมคคลั ลานเถระ ใหแ กถ นี มิทธะกใ็ หใชความคดิ น้เี อง เปนแตใ ชโวหารวา สัญญา คอื วากอ นแตยังไมงว งซึมไดก าํ หนด หมายในอะไร พอความงวงมาถงึ ก็พงึ ใชส ญั ญาน้ันอกี ใหม ากขึน้ กวาเดมิ ซง่ึ บงความวาใหใ ช ความคดิ เปนเครื่องแกถีนมิทธะ. วิจาร = ความอา น มลี ักษณะตรวจตราพจิ ารณาเหตุผล และขอเท็จจรงิ ใหไดความแนชัด ยอ มเปนลกั ษณะตรงกนั ขามกับวจิ ิกิจฉา ซ่งึ มีลกั ษณะสงสัย ไมแ นใจในเหตผุ ลหรือขอ เทจ็ จริงนั้นๆ เม่อื ลกั ษณะทง้ั สองนีม้ าประจันหนา กันเขาก็จะเกดิ การตอสกู นั และฝายใดฝายหนึง่ จะตอ งพายแพ ไป ถา ความอา นมีกาํ ลังเหนือกวากย็ อมชนะ ครองความเปน ใหญในจิตตอ ไป ขอนีม้ องเห็นงาย เรา สงสยั ในเรอื่ งใด เม่อื ตัง้ ใจพนิ ิจเร่ืองน้ันอยา งเอาจริงเอาจัง เรากส็ ้นิ สงสยั ทนั ท.ี - ทพิ ยอาํ นาจ ๒๒
ปต ิ = ความชุมชนื่ มีลกั ษณะช่นื ฉํา่ สดใส ทาํ กายใหผ อ งใส จิตใจสดชืน่ ยอ มเปน ลักษณะท่ี ตรงกันขามกับพยาปาทะ ซึง่ มีลักษณะรุมรอน เหีย่ วแหง จดื ชดื ซีดเผอื ด เมื่อลักษณะท้งั สองมา ประจนั หนากนั เขา ก็จะตองเกดิ ตอ สกู ันขึ้น และจะตองพายแพไปฝา ยหนงึ่ ถาปต ิมกี าํ ลังมากกวา ก็ ยอมชนะ และครองความเปนใหญในจติ ใจตอ ไป ความจรงิ ขอ น้ีพอมองเหน็ ได คนใจดนี ิสัยสดช่ืน รนื่ เรงิ ไมโ กรธงา ย ถงึ โกรธความถือโกรธคมุ แคน ในใจกม็ ีกาํ ลังออ น พลันท่ีจะจางตกลงไปจากใจ. สขุ = ความสบาย มีลกั ษณะปลอดโปรง ไมอึดอดั กลัดกลมุ เปนลักษณะตรงกันขามกับ อุทธัจจะ และกุกกจุ จะ ซ่ึงมลี กั ษณะเดือดพลา น พุพลงุ และหลกุ หลิก ลกุ ลน รําคาญ เหมือนน้าํ เปนคล่นื ระลอกฉะน้ัน เม่ือลกั ษณะทั้งสองฝายนี้มาประจนั หนากนั เขา ก็จะตองเกิดการตอสู หักลางกนั และจะตอ งปราชัยไปฝายหนึ่ง ถา ความสขุ สบายมีกาํ ลงั เหนือกวา ก็ขมอทุ ธจั จะ และ กุกกจุ จะลงได และเขาครองความเปนใหญใ นจติ ใจตอไป คนมีความสขุ ยอมสงบอยไู ด ไมล ุกลน เหมอื นคนมีทุกข เชน น่งั สบายกม็ กั นั่งนานๆ ได แตถ า ไมส บายแลว แมเวลานดิ หนอยกร็ ูสกึ นาน ถา จาํ เปนตอ งน่งั ตอไปกเ็ กดิ รําคาญหงุดหงดิ ข้ึนในใจ. เอกคั คตา หรือ สมาธิ = ความมใี จเปน หน่ึง หรอื ความสงบ มีลักษณะนง่ิ ๆ เที่ยงตรง ไมซ ดั สาย หรอื สั่นไหว เปนลักษณะตรงกันขามกับกามฉันทะ ซึง่ มลี กั ษณะกระสบั กระสา ย ด้ินรน กระดกุ กระดิกเรา จิตใหส่ันสะเทือน เมื่อลักษณะทั้งสองนี้มาประจันหนากนั ก็จะตองเกิดการตอสู กันขึ้น และจะตองพายแพไปฝา ยหน่งึ เม่ือเอกัคคตามีกําลงั กวา กย็ อ มชนะและครองอํานาจในจติ เอกัคคตาเปนลักษณะอยางออ นของอเุ บกขา พูดฟง กันงา ยๆ ก็คือวาเอกคั คตาคืออุเบกขาอยา ง ออนๆ น่ันเอง พระบรมศาสดาตรัสวา กามราคะละไดด ว ยอเุ บกขา กามฉนั ทะ กับกามราคะกม็ ี ความหมายอยางเดียวกัน ฉะน้ัน กามฉันทะจึงระงับดวยเอกัคคตาในปฐมฌาน สมจรงิ กบั พระพุทธ อุทานวา สุขา วริ าคตา โลเก กามานํ สมติกฺกโม ความไมก ําหนัดกามคณุ ครอบงํากามราคะได เปน ความสขุ ดังน้.ี เทา ทอ่ี ธบิ ายมานี้ ไดความวา ปฐมฌาน มีลกั ษณะ ดังนี้ ๑. จติ สงบเงยี บ กามคณุ และอกศุ ลธรรมสงบไป เปนใจปลอดโปรง วงั เวงเหมือนอยูปา เปลย่ี วคนเดียวฉะนั้น. ๒. จิตคิดอารมณห น่งึ คือขอกมั มัฏฐาน ทาํ การเคลาคลงึ คลอเคลยี อยูก บั อารมณนั้น. ๓. จติ อานอารมณ คือพินจิ ขอกมั มัฏฐาน ทาํ การไตส วนสืบสวนอยใู นอารมณนั้น. ๔. จิตชุมช่ืน คอื เบกิ บานเพราะผานพบความสงดั เงยี บจากกามคณุ และอกุศลธรรมซง่ึ ไม เคยผา นมากอน. ๕. จิตมคี วามสขุ คอื สบายใจ โลงใจ เพราะไมม กี ามคณุ และอกุศลธรรมกอกวนใจให วุนวาย. ๖. จติ มีความเปน หน่งึ คอื จติ เปนอิสระแกต ัว มีสิทธ์ทิ าํ กิจอันเปน ประโยชนต นไดอยา ง สบายไมตอ งพะวงวา จะมีนายมาบงั คบั ใหละทงิ้ การงานของตนไปเพอ่ื ประโยชนของนาย หมาย ความสนั้ ๆ วา จติ เสร.ี เมื่อไดค วามในปฐมฌานเชนนี้แลว จะไดอธิบายลักษณะทตุ ยิ ฌานสบื ไป. ทิพยอํานาจ ๒๓
ทตุ ยิ ฌาน ซ่งึ ปรากฏตามพระบาลีทยี่ กมาต้ังไวเปน หลักนัน้ และแสดงลกั ษณะไววา ระงับ วิตกวจิ ารแลว จงึ เขาทุตยิ ฌาน ซงึ่ มคี วามผอ งใสในภายใน ฯลฯ ดังน้ี แปลวา ทุติยฌาน ละองค ๒ ขางตนของปฐมฌานเสีย เหลือแตเพียง ๓ องค คือ ปต ิ สขุ กบั เอกัคคตา และมีลกั ษณะพเิ ศษ เพมิ่ ขน้ึ คอื ผองใสกบั เปนหน่ึงเดนของใจ ซง่ึ ยงั ไมมใี นปฐมฌาน เพราะในปฐมฌานนน้ั จิตตองคดิ อานอารมณ คอื ขอธรรมกมั มฏั ฐานงวนอยู ยงั ไมวางมือในอารมณไ ด จิตจงึ ตองสงั โยคกับอารมณ อนั เปน ภายนอกอยตู ลอดเวลา จงึ ยังไมมลี กั ษณะผองใส และเปนหนึง่ เดน ได คร้ันมาถึงฌานที่ ๒ น้ี วิตกวิจารระงับไป อารมณภายนอกก็ตองระงับไปดวย จึงมแี ตจ ิตดวงเดยี วเสวยอารมณภ ายใน คอื ปติ สุข อันเกิดจากความสงบนน่ั เองอยางชื่นฉํ่า ผูดํารงอยูใ นฌานชั้นนีจ้ ึงเปนผูนงิ่ ๆ ชื่นบาน ณ ภายในใจ ถาจะพูดใหช ดั วา นัง่ อมย้ิมก็ได สมเดจ็ พระบรมศาสดาทรงอธบิ ายคําวา อรยิ ดุษณี ก็ ทรงชีเ้ อาอาการของผูเ ขาทุตยิ ฌาน โดยใจความวา ภิกษุเขาทุติยฌาน มีใจผองใสในภายใน ไมค ิด อา นอะไร และไมสงใจไปอนื่ มหี นา ตาช่ืนบาน ไมพดู จา และไมเคลื่อนไหวอิรยิ าบถ หรอื อากัปกิริยาใดๆ นง่ั น่งิ ๆ อยูอยางน้แี ล เรยี กวา อรยิ ดุษณี ดังน้ี เมื่อวา ตามหลกั ทุตยิ ฌานในพระ บาลีนี้ ตอ งวาประกอบดวยองค ๕ เหมือนกัน แตพระโบราณาจารยท า นกําหนดไวเ พยี ง ๓ องค เทานัน้ เปน อันไดความวา ทตุ ิยฌานมลี กั ษณะแหงจติ ท่ีพึงสาํ เหนียกไว ดงั นี้ ๑. จติ ไมคิดอา นอะไร วางความคดิ อา นอารมณ คือ กัมมฏั ฐานแลว เหมือนคนทาํ ธรุ ะเสร็จ แลว กาํ ลงั พกั ผอ นฉะนั้น. ๒. จิตผอ งใสและเปนหน่ึงเดน คอื จติ ไมส ังโยคกับอารมณอนั เปนภายนอก ทจ่ี ะทําใหมี อาการกระเพื่อม เปนร้ิวระลอกนอ ยๆ จึงเกดิ มีอาการผอ งแผวและเดน ชัดขนึ้ เหมอื นดวงจนั ทรพน จากเมฆฉะน้ัน. ๓. จิตชน่ื บาน ดว ยอาํ นาจความสงบ. ๔. จิตสบาย ดว ยอํานาจความสงบ. ๕. จติ เปน หน่ึงยิ่งขึ้น เพราะปราศจากอารมณอนั เปน ภายนอกเขาควบคูกบั จติ คงมีแต อารมณภายใน คอื ปติ สขุ เทานั้น. เม่ือไดความในทตุ ิยฌานแลว เชนนี้ จะไดอ ธบิ ายลักษณะตติยฌานสบื ไป. ตตยิ ฌาน ตามลักษณะท่ปี รากฏในพระบาลีที่อญั เชญิ มาตงั้ ไวเปนหลักนั้น คอื สิ้นกาํ หนดั ในปตแิ ลว จงึ เขา ตติยฌาน ซึง่ เปนผมู ีอเุ บกขา มีสติ สัมปชัญญะ เสวยสขุ ดวยกาย (คอื นามกาย) อยู โดยนัยนเี้ ปนอนั วา ตอ งละองคท่ี ๓ ของปฐมฌานเสียอกี คงเหลอื แต ๒ องค คือ สขุ กบั เอกัคคตา แตมลี กั ษณะพิเศษเพ่มิ ข้นึ ในฌานชั้นนีอ้ ีก ๓ คือ อเุ บกขา สติ และสัมปชญั ญะ ฉะน้ันจงึ คงมีองค ๕ เหมอื นกนั แตพ ระโบราณาจารยทา นกาํ หนดไวเพียง ๒ องคเ ทาน้ัน. ทําไมในฌานช้ันนจี้ ึงตอ งกาํ จัดปต ิ เปนเรอื่ งท่คี วรรูไว ปต ิน้ันมลี กั ษณะทัง้ ออ นและรนุ แรง ทา นจําแนกตามลักษณะทพี่ อกําหนดได ๕ ลกั ษณะ ดังน้ี ๑. ขทุ ฺทกาปติ ปต เิ ลก็ นอย มีลกั ษณะชน่ื ๆ เพียงนิดหนอ ย เหมือนฝอยนาํ้ กระเซ็นถูกกาย ฉะนนั้ . ทพิ ยอาํ นาจ ๒๔
๒. ตรุณาปติ ปต อิ อนๆ มีลักษณะเยน็ กาย เย็นใจ ช่ืนใจ เหมือนลมออ นๆ พัดมาเฉื่อยๆ ตองกายพอเย็นสบายฉะนั้น. ๓. ผรณาปต ิ ปตซิ าบซา น มีลกั ษณะชมุ ชื่น แผซา นไปทั่วสรรพางคก ายทัว่ ทุกเสนขน เหมือนอาบนํา้ เย็นทว่ั ท้ังตวั ไดรบั ความชุมเยน็ ดฉี ะน้ัน. ๔. โอกฺกนตฺ กิ าปติ ปตซิ ูซ า มีลักษณะชื่นฉ่ํา ทําใหเ กิดอาการขนพองสยองเกลา นาํ้ ตาไหล หวั ใจเตนแรงต้ึกตัก้ เหมือนคนลงแชใ นนาํ้ เย็นนานๆ เกดิ อาการหนาวสัน่ ขึ้นฉะน้นั . ๕. อพุ ฺเพงฺคาปติ ปติตืน่ เตน มีลักษณะฟขู ้นึ ทําใหจติ ใจเบากายเบาและพองโตขน้ึ บางที ถึงกบั ทาํ ใหลอยไปในอากาศได เหมอื นคนทไี่ ดรับสง่ิ ท่นี า ตืน่ เตนท่ีสดุ ในชวี ติ เชน ไดรบั การยกยอ ง หรอื บาํ เหน็จรางวัลจากผหู ลกั ผูใหญโดยไมน ึกไมฝ น ยอมเกดิ ความต่นื เตน ลงิ โลด ถงึ กบั กระโดด โลดเตนอยา งเดก็ ๆ ก็ไดฉะน้ัน. เมือ่ ปตมิ ลี กั ษณะดังกลา วมา แมเ พียงปติเลก็ นอยก็สามารถทําใจใหกระเพือ่ มหรอื ไหวนิดๆ เหมือนน้าํ ใสๆ ทีใ่ สไ วในภาชนะต้งั ไวในท่ีไมม่นั คง เมื่อคนเดินไปเดินมายอ มทาํ ใหน ้าํ ในภาชนะนั้นมี รว้ิ นอ ยๆ ขน้ึ ได ปตจิ งึ เปนอันตรายของอุเบกขาสุข ซ่ึงเปนองคสาํ คัญของตติยฌาน จาํ เปนตอ ง กาํ จดั เสีย ปติดํารงอยูไดดวยอาํ นาจความพอใจยนิ ดรี ับเสวยอยู ไมด ํารงใจใหเ ปนกลางไว เมอื่ เห็น โทษของปตแิ ลว ตอ งการเสวยสุขประณตี สขุ มุ จึงวางความพอใจในปติเสีย ทําสตสิ มั ปชญั ญะกาํ กบั ใจใหเปนกลางย่ิงข้นึ ปตกิ ็คอยจางไปโดยลําดบั ในทส่ี ุดปต กิ ็หายหมดไปจากใจ คงยงั เหลือแตสขุ สุขุมประณีตกระชับกบั อุเบกขา ทา นจึงเรียกวา อุเบกขาสุข และใชเ ปน ชอ่ื ฌานของชน้ั น้ใี นทบ่ี าง แหง ดว ย เมอ่ื ปตจิ างไปหมดแลว กส็ ามารถเขาตติยฌาน และดาํ รงฌานไวต ามตอ งการได. สวนสุขในฌานช้ันน้ีตางจากสขุ ในฌานที่ ๑-๒ ซึ่งผา นมาแลว สุขในฌานที่ ๑-๒ เปน สขุ เวทนาชัดๆ แผคลุมทงั้ ทางกายทางใจ สว นสขุ ในฌานท่ี ๓ นี้ เปนสุขเวทนาทสี่ ุขมุ ใกลไ ปทาง อุเบกขา เปนความสุขทางใจโดยเฉพาะ ไมค ลุมไปถึงรูปกาย ท่วี า เสวยสขุ ดว ยกายน้ันหมายนาม กาย มใิ ชร ูปกาย ฌานชั้นนีพ้ ระอริยเจา ชมเชยวาเปน สุขวิหาร กโ็ ดยฐานท่เี ปนสขุ ประณตี สขุ มุ ใน ภายใน ไมกระเทือนถงึ รปู กาย สามารถหลบทุกขเวทนาทางกายได ทง้ั อาจระงับอาพาธไดดว ย. เปนอนั ไดความวา ตติยฌานมีลกั ษณะเปนทีส่ ังเกต ดังตอ ไปน้ี ๑. จติ จางปติ คอื หมดความรูสึก ดูดดม่ื ชมุ ชนื่ ดังในฌานกอน. ๒. จิตเปน กลาง คอื วางเฉยไมรบั เสวยปต .ิ ๓. จติ มสี ตคิ วบคมุ คือสติมีกาํ ลังแกก ลาขน้ึ มีอาํ นาจควบคุมใจใหด ํารงเปน กลางเทย่ี งตรง. ๔. จิตมสี ัมปชญั ญะกํากับ คือจิตมคี วามรูสกึ ตัวเองชัดขนึ้ รเู ทาอาการของจติ ใจในขณะน้นั ทนั ทุกอาการ. ๕. จติ เสวยสุขมุ สุข คือเสวยสขุ ประณตี ณ ภายในดวยนามกาย ปราศจากความรูสึกทาง รปู กาย ตดั กระแสสมั พนั ธทางรปู กายได. ๖. จติ ถึงความเปนหน่ึง คอื เปนจิตดวงเดียว มอี ารมณนอย สขุ ุมประณตี . เมอ่ื ไดค วามในตติยฌานเชนนี้แลว ควรทําความเขาใจในจตตุ ถฌานตอ ไป. ทิพยอาํ นาจ ๒๕
จตตุ ถฌาน ตามลกั ษณะทป่ี รากฏในพระบาลี ดงั ท่ียกมาต้งั ไวเ ปนหลกั น้ัน คอื ละสุข ทุกข และดบั โสมนสั โทมนัส ไดก อ นแลว จงึ เขา จตตุ ถฌาน ซง่ึ ไมม สี ขุ ทกุ ข มีแตอ ุเบกขา กบั สตแิ ละ ความบรสิ ทุ ธิข์ องจิตอยู. เปนปญหาทน่ี า คิดขอ หนง่ึ คือ ทุกข และโทมนสั นาจะละได และดับไปต้งั แตฌานช้ันตนๆ มาแลว ไฉนจงึ จะตองมาละและดบั ในช้นั นอี้ ยอู ีก? การท่จี ะแกป ญหาขอ นต้ี ก จะตอ งนึกถึงความ จริงขอ หนึ่งวา สขุ ทุกข และโสมนัส โทมนัส เปนเวทนา ซ่งึ มลี ักษณะเปล่ยี นแปลงไมค งท่ี เมอื่ สขุ เวทนามีในทใี่ ด ทกุ ขเวทนาก็ตองมีในท่ีน้นั โสมนัสมีในทใ่ี ด โทมนัสกจ็ ะตองมีในท่นี ้ันดว ย ในเม่อื มันเปลย่ี นแปลงไป ฉะนัน้ ในฌานที่ ๔ นี้ จึงตองมีการละสขุ ทกุ ข และโสมนัส โทมนสั เปน เบอื้ งตนกอน สุขทกุ ขและโสมนัสโทมนัสในเบ้อื งตนนเี้ กดิ มาจากลมอสั สาสะ ปส สาสะ คือลม หายใจเขา-ออกน่ันเอง เพราะลมหายใจนเ้ี ปน หนามของจตุตถฌาน คือ คอยเสยี ดแทงใหเกิดสุข ทกุ ข และโสมนสั โทมนัสอยเู สมอ ถา ยังระงบั ลมหายใจเขา-ออกไมไ ดต ราบใด สุขทุกขแ ละโสมนัส โทมนัสกจ็ ะตองบงั เกดิ มีอยตู ราบนั้น เม่อื เปน เชนนเี้ ราจงึ จบั จุดไดว า ลมหายใจเปนส่งิ ท่ีควรผอ น บรรเทาใหละเอียดลงไปโดยลําดับ จนกวามันจะระงบั ไป เม่ือลมหายใจระงับไปก็ช่อื วา ละสุขทุกข และดบั โสมนสั โทมนสั ไดโ ดยปรยิ าย แลว ยอ มเขา ถึงฌานท่ี ๔ ได ซงึ่ ฌานในช้ันน้ี จิตใจจะรูสกึ ไม สขุ ไมท ุกข มีความเปนกลาง กบั ความมสี ติและความบรสิ ทุ ธิ์กํากับใจอยูเทานนั้ เปนฌานท่ีมีเวทนา จืดชืด ใจบรสิ ทุ ธิ์ผุดผอ ง นม่ิ นวล ไมมสี ่งิ ยวนใจ ปราศจากหมองมวั ในภายใน ควรแกก ารนอ มไป เพอื่ ทิพยอาํ นาจไดแลว เมื่อวา ตามลกั ษณะทป่ี รากฏในพระบาลี จตุตถฌานกป็ ระกอบดว ยองค ๕ เหมอื นกัน แตพ ระโบราณาจารยก ําหนดไวเ พียง ๒ คอื อุเบกขา กับ เอกัคคตา. เปน อนั ไดค วามวา จตตุ ถฌานมีลกั ษณะท่ีควรสงั เกต ดังตอไปน้ี ๑. ละสขุ ทุกข ได คือ ระงบั ลมหายใจอันเปน ทีต่ ้งั แหง สขุ ทุกขได. ๒. ดบั โสมนสั โทมนสั ได คอื ระงับลมหายใจเปน ท่ตี ัง้ ของมันไดน ่ันเอง. ๓. จิตไมมที กุ ข คอื จิตเสวยเวทนาที่จืดชืด ซ่งึ ไมก วนความรสู ึก. ๔. จติ เปนกลาง คอื จิตมคี วามรูสกึ เปน กลาง เทยี่ งธรรม ซึง่ ขอน้ีเปนขอสําคัญทสี่ ุดในองค ฌานท่ี ๔ นี้ ทา นจึงเรยี กช่อื ฌานนวี้ า อเุ บกขาฌาน. ๕. จติ มีสติพละกาํ กับ คอื สตใิ นช้นั น้เี ปน สตพิ ละ สติสมั โพชฌงค และสตสิ ัมมาสติ ซ่งึ เปน องคข องมรรค เขาควบคุมจิตใจไวอ ยางกระชบั ท่ีสุด จึงมีพละกาํ ลังเพียงพอทจ่ี ะเปน บาทฐานแตง สรา งทพิ ยอาํ นาจได. ๖. จิตมคี วามบรสิ ทุ ธิ์ผุดผอง. หมายเหต:ุ องค ๕ ของจตตุ ถฌาน ตามลกั ษณะในพระบาลี คือ ๑. อทกุ ขมสขุ เวทนา รูสกึ ไมสุขไมทุกข. ๒. อเุ บกขา ใจเปน กลางเทย่ี งธรรม. ๓. สติ สตมิ กี าํ ลงั ควบคมุ . ๔. ปารสิ ทุ ธิ จิตใจบรสิ ุทธ์ิผดุ ผอ ง. ๕. เอกัคคตา จิตใจสงบเปนหนึง่ . ทิพยอํานาจ ๒๖
บทที่ ๒ วิธเี จรญิ ฌาน ๔ เมือ่ ไดท ราบลักษณะของฌาน ๔ ดังกลาวมาในบทท่ี ๑ พอสมควรแลว จงึ ควรทราบวธิ ี เจรญิ ฌาน ๔ นนั้ สืบไป เพ่ือเปนขอ สังเกตในเวลาปฏิบัตจิ รงิ ๆ เหมือนเรยี นวิชาแผนทไ่ี วเ ปน ขอ สงั เกตในเวลาไปสํารวจภูมปิ ระเทศฉะนัน้ . ขอสาํ คัญควรทราบไวในเบ้อื งตน คือ การเจริญฌานเปน การอบรมจิตใหส ขุ มุ ประณตี และ บริสทุ ธ์ิ จิตท่ีตองอบรมนั้นคอื อะไร กไ็ มควรเปนปญหายุงยาก เพราะทกุ คนมีจิตใจอยูแลว ตวั ท่ี รจู ักสขุ ทุกขดชี วั่ น่ันแหละคอื จติ หมายถงึ ธรรมชาตชิ นิดหนึ่งซ่ึงมคี วามรเู ปนลักษณะ และครอง ความเปน ใหญใ นอัตภาพของตน ธรรมชาตชิ นดิ น้ีจะเรียกชอ่ื วา กระไรบา งไมส ําคญั ความสําคญั อยู ทรี่ วู า เปนธรรมชาติที่มอี ํานาจในรางกาย ถาไดฝก ใหดีแลว จะนาํ ประโยชนม าใหเหลือหลาย การท่ี พยายามจะรลู ักษณะทีแ่ ทจรงิ ของจติ กอ นการอบรมจติ นน้ั เปนสิง่ เปน ไปไมไ ด เพราะจติ เปน ธรรมชาติละเอียด ทง้ั มสี วนประกอบหลายซับหลายซอ น ถาขืนพยายามจะไปรูเขา จะเกิดยุง ซง่ึ เขา ทํานองวา “รกู อนเกดิ สะเดิดกอนตาย” เปนเรอื่ งยุงยาก มแี ตพ าใหเ กิดกังขาสงสัยรา่ํ ไป ท้ังเปน ทางพอกพูนทิฏฐคิ าหะใหแ นน แฟน ซ่งึ ยากแกก ารชําระเปนอนั มาก. จิตใจเปนที่ตั้งของกิเลส-ความไมมกี เิ ลส, ของความดี-ความไมด ี, ของความสุข-ความทกุ ข, ของความรผู ิด-และรูถ กู . ความรผู ดิ เปน ปจ จยั ของกเิ ลส กิเลสเปนปจจยั ของความไมด ี ความไมดีเปน ปจจัยของความ ทกุ ข โดยนัยตรงกนั ขาม ความรูถกู เปนปจจยั ของความไมม กี ิเลส ความไมม กี เิ ลสเปนปจจยั ของ ความดี ความดีเปนปจ จยั ของความสุข เมือ่ เปนดงั นี้เรากป็ น แดนออกไดเปน ๒ แดน คอื แดนสขุ กบั แดนทุกข ทางที่จะนาํ ไปสแู ดนทง้ั สองน้ี ก็ปนออกเปน ๒ ทางไดเ ชนกนั คอื ทางสุขกับทาง ทุกข ทางสุขไปสแู ดนสขุ ทางทุกขไปสแู ดนทุกข เม่อื เปน เชนนจ้ี ะมุงไปแดนสขุ หรือแดนทุกขกนั แน? ถามงุ ไปแดนไหนก็จงรบี ตัดสินใจ แลวรบี เรงปฏิบตั ิดําเนินไป เม่ือเดินไมหยุด ก็จะตองถึง ทสี่ ดุ ของทางเขาสักวนั หนง่ึ เปน แน ทสี่ ดุ ของทางนั่นแหละเปนแดนที่ทา นมุงไปละสขุ หรอื ทกุ ขก ็รู เอง ไมต อ งถามใคร. เมื่อจับหลกั สาํ คัญไดว า จติ เปน ทตี่ ้ังของสขุ และทกุ ขเ ชน นี้แลว ก็ลงมืออบรมจติ ไดท ันที ไม ตอ งรีรอ เพราะตา งก็มีจติ ซึง่ ตอ งเสวยทกุ ขแ ละสขุ ทกุ วนั ทาํ อยางไรจึงจะมสี ขุ สมบรู ณสม ปรารถนา กค็ วรรีบทาํ อยา งน้ัน ดีกวาจะปลอ ยไปตามยถากรรม ซึ่งไมแ นวาจะไปสขุ หรอื ไปทกุ ข. วธิ ีการเจรญิ ฌาน ซงึ่ เปน การอบรมจิตใจนั้น ทานมิไดจ าํ กดั กาลเวลาและอริ ิยาบถ คือ ให ทาํ ไดทุกเมอื่ และทุกอิรยิ าบถ คือ ยืน เดิน น่ัง นอน แตถ ึงอยา งนั้นก็ยงั มวี ิธกี ารจําเพาะกาล และ อิริยาบถอยูดว ย ซ่ึงเราจาํ ตอ งศกึ ษาใหรไู ว เพื่อปฏบิ ัติใหถูกตอ งตามวธิ ีนั้นๆ ดงั ตอไปนี้ ทิพยอาํ นาจ ๒๗
๑. วิธกี ารเกี่ยวกบั เวลา ชีวิตของคนเราเนือ่ งอยูกับเวลา คอื ชวี ติ จะตองผานเหตุการณตา งๆ ไปทุกระยะวินาที สง่ิ ทผ่ี านมาสมั ผสั เขากับตา หู จมกู ล้ิน กาย และใจของเราน้นั ทา นเรียกวาอารมณ เปนส่งิ ทม่ี อี ยู เตม็ โลก และจะตอ งประกอบกบั ชีวิตของเราเสมอไป เวลาที่สงิ่ เหลา นี้ผา นมาสมั ผสั ทวาร คอื ตา หู ฯลฯ ของเราน่ันแหละเปนเวลาทส่ี าํ คญั ทีส่ ดุ ถา นายประตู คอื สติ เปนผูรอบคอบระมดั ระวงั ดี ก็ไมเ กดิ โทษ แตถา นายประตเู ผลอไมร ะมดั ระวงั ใหดีกเ็ กิดโทษข้ึน โทษทีเ่ กิดขึ้นกม็ ีท้งั อยา งออ นๆ และอยา งรายแรง ทาํ ใหจิตผเู ปน เจาของเสยี คุณภาพไป ถาอารมณทีผ่ า นมาสมั ผัสเปนสิง่ ท่ีจะนํา ใจไปทางบญุ กศุ ล ยอมทาํ ใจใหเกดิ มคี ณุ ภาพดีขึ้น เมอ่ื เปนเชนนี้ ทา นจงึ กาํ หนดวธิ ีการเกย่ี วกับ เวลาไว มีทง้ั วธิ กี ารแก วธิ ีการปองกัน และวิธกี ารสงเสรมิ . วธิ กี ารแก ๑. รีบปฏบิ ัตกิ ารทตี่ รงกันขา มกับโทษน้ันทนั ที เชน ความกาํ หนัดเกิดขนึ้ เพราะเหตุเห็น หรือ นึกคิดอารมณทสี่ วยงามเปนตน กร็ ีบสลัดอารมณน น้ั เสีย แลว คดิ ถงึ ส่งิ ไมสวยไมงาม หรอื รบี สงบใจใหไ ดถ ึงขัน้ เอกคั คตา ความกาํ หนัดกจ็ ะสงบไป ฯลฯ ๒. รบี เปล่ียนอริ ิยาบถทันที เชน นัง่ อยู เกิดอารมณขุนหมองข้ึนในใจโดยเหตใุ ดเหตุหนงึ่ พึงลุกยนื หรอื เดนิ เสีย อารมณเชนน้ันก็จะสงบไป. ๓. รบี ทาํ กิจอยา งใดอยางหน่งึ ทันที เชน อยวู า งๆ ความรสู กึ ฝา ยต่ําเกิดขึน้ พงึ รบี ทํากจิ การ งานอยา งใดอยา งหน่งึ เสีย ใสใ จอยกู ับกิจท่ที ํานัน้ ความรูสกึ ฝายต่าํ กจ็ ะตกไปจากจิตทนั ที. วธิ ีการปอ งกนั สํารวมอนิ ทรีย ๖ (อนิ ทริยสงั วร) ดวย ๑. ทาํ สตคิ วบคุมอินทรียเสมอทกุ ขณะไป (สตสิ ังวร). ๒. ทําความรูเ ทาอารมณใ หท นั ทวงที (ญาณสังวร). ๓. ทาํ ความอดทนตออารมณท ส่ี มั ผัส (ขนั ติสังวร). ๔. ทําความพากเพียรละกิเลสลวงหนาไว (วริ ิยสงั วร). วิธกี ารสงเสรมิ ๑. รีบประคบั ประคองความรสู ึกฝายสงู ใหดําเนนิ ไปจนสดุ กระแสของมัน ถา สามารถตอ กระแสความรูสกึ นั้นใหสงู ยงิ่ ๆ ขึ้นได กร็ ีบทาํ ทนั ที อยาละโอกาส. ๒. รีบทาํ กิจตามความคิดฝา ยสูงท่เี กิดขน้ึ นน้ั ใหส ําเรจ็ ไปโดยเรว็ อยาผดั เวลาไป เพราะจติ เปนธรรมชาตกิ ลับกลอกไว อาจละทิง้ ความคดิ ทด่ี นี ้ันในภายหลงั ได. ๓. รีบทาํ ความพากเพียรอบรมจติ ในเวลาทจ่ี ติ ปลอดโปรง จะไดผลดีรวดเร็ว เพราะเวลา เชนนั้นทานวา เปน เวลามารใหโ อกาส ถาปลอยใหเ วลาเชน นน้ั ผานไปเปลา ๆ จะเสียใจภายหลัง. ทพิ ยอาํ นาจ ๒๘
๔. รีบทาํ ความพากเพยี รกา วหนา เร่อื ยไป ในเมื่อไดส มาธิข้ันตน ๆ แลว อยา วางใจและทอด ธุระเสยี และพงึ ระมดั ระวังอันตรายของสมาธดิ ว ย. ๒. วธิ กี ารเกี่ยวกบั อิรยิ าบถ อริ ิยาบถ คือ อาการเคลอื่ นไหวของรา งกาย ในความควบคุมของใจ มี ๔ ประการ คอื ยนื เดนิ นง่ั นอน วธิ ีการอบรมจติ เกี่ยวกบั อิรยิ าบถ เปนดังนี้ ๑. ยนื อบรมจติ มักใชป ฏบิ ัติคน่ั ในระหวางการเดนิ จงกรม เพ่อื พักผอนรางกายเปนระยะๆ ไป คือ ยนื พักขาขา งหน่ึง โดยผลดั เปลย่ี นกันไป ในเม่ือขาหนง่ึ เม่ือย ก็เปล่ียนพักอกี ขาหนึ่ง ในขณะ ทย่ี นื น้ันก็ทาํ การอบรมจติ เร่อื ยไป เมอ่ื ปฏิบัตใิ นอิรยิ าบถยืนพอสมควรแลว ควรใชอิริยาบถอื่น ตอไป. ๒. เดนิ จงกรม คอื เดินสาํ รวมจติ ไปมา บนทางทท่ี าํ ไวอ ยา งดี ราบร่ืนสะอาด กวาง ประมาณ ๒ ศอก ยาวประมาณ ๒๐ ศอก หรอื ๒๐ กาว ทางเชนนี้เรยี กวา ทางจงกรม ตอ งทาํ ไว ในทเ่ี งยี บสงัด ไมเปดเผยเกินไป และไมท บึ เกินไป อากาศโปรง ถามีที่เหมาะพอทาํ ไดพงึ ทําเปน ทาง เฉียงตะวัน เงาของตัวเองไมร บกวนตัวเอง และทา นวาเปน การตดั กระแส แตถา จะทาํ ที่จงกรมตาม ลักษณะท่ีวา น้ไี มได แมที่เชน ใดเชนหน่งึ ก็พงึ ใชเถิด ขอสาํ คัญอยูท ก่ี ารเดินสํารวมจิตเทาน้นั . วิธจี งกรมนี้ พระบาลไี มแสดงไว แตที่ปฏบิ ัติกนั ใหเ อามอื ทงั้ สองกมุ กนั ไวขางหนา ปลอย แขนลงตามสบาย ทอดสายตาลงตา่ํ มองประมาณชั่ววาหนึง่ ทําสติสมั ปชัญญะควบคมุ จติ ใหอยูใน ความสงบ จะเอากมั มฏั ฐานบทหนึง่ มาเปนอารมณห รอื ไมกต็ าม แลวกาวเดินชาๆ ไปสุดหวั จงกรม แลว หยุดยืนนิดหนอย จงึ กลับหลังหนั กาวเดินมาสูท่ีตั้งตน ครั้นถงึ ที่ต้ังตนหยุดยืนนิดหนอ ย แลว กลับหลงั หนั กาวเดนิ ไปอกี โดยทํานองน้ีเรอื่ ยๆ ไป เมือ่ เมือ่ ยขาพึงยนื พกั ดังทก่ี ลา วไวในอิริยาบถ ยืน หรือจะนง่ั พกั ในอิรยิ าบถนั่ง ซงึ่ จะกลาวตอไปก็ได. อานสิ งสท ่ีไดในการจงกรมนี้ พระบรมศาสดาตรัสวา๑ ๑. เดินทางไกลทน. ๒. ทําความเพียรทน. ๓. เจ็บปว ยนอย เดอื ดรอ นนอ ย. ๔. อาหารท่ดี ่ืมกินแลว คอยๆ ยอ ยไปไมบดู เนา . ๕. สมาธทิ ี่ไดด วยการจงกรม ดํารงมั่นนาน ไมเคล่อื นงาย. สว นการเดินยดื แขง ยืดขาน้ันไมมแี บบ แลวแตอ ธั ยาศยั และความถนัด การเดินชนิดน้ัน ทา นเรียก ชงั ฆวหิ าร เปนชนดิ การเดนิ เลนเรอ่ื ยเปอ ยไปตามอธั ยาศยั น่ันเอง ถงึ อยา งน้ันนกั ปฏิบัติ กไ็ มล ะโอกาสเหมือนกนั ยอมมีสติควบคุมจิตใจ หรอื คิดอา นอะไรๆ ซึ่งเปนเครือ่ งอบรมใจไปดว ย. - - .......................................................................................................................................................... ๑. มาใน สุตตนั ตปฎก อังคุตตรนกิ าย เลม ๒๒ หนา ๓๑. ทิพยอํานาจ ๒๙
๓. น่งั เจรญิ ฌาน อิรยิ าบถนง่ั ในการเจริญฌานน้ี พระบาลีบอกไวส ัน้ ๆ เราเขาใจกันไม คอยแจม แจง ที่ทรงแสดงไวใ นวิธีเจรญิ อานาปานสตวิ า ใหน ่ังคูขา (บาลวี า ปลลฺ งกฺ ํ อาภชุ ิตวฺ า) จะคู ขาแบบไหนก็ไมชดั อกี ท้ังนค้ี งเปนเพราะวิธนี ่งั แบบนน้ั เปนท่ีเขา ใจงายในสมยั โนน ที่ทรงใชคํา ส้ันๆ เชนน้ันพอรูเรอื่ งกัน คําวา ปลฺลงกฺ ํ อาจตรงกบั คาํ ไทยวา นงั่ แทนก็ได กิรยิ านงั่ แทนก็คือ น่งั ขดั สมาธินั่นเอง โดยวิธนี ัง่ คขู าทอนลา งเขามา เอาขาขวาทอ นลา งทับขาซา ยทอ นลาง พอให ปลายเทา ทงั้ สองจดถึงเขา ทั้งสองพอดี วิธีนัง่ แบบน้ีตรงกบั แบบของโยคี ท่เี ขาเรียกวา ปทมาศนะ นั่งแบบกลีบบัว จะดวยเหตุนีก้ ระมัง นักจิตรกรจึงวาดภาพพระพุทธเจานงั่ บนดอกบัว การนง่ั แบบ น้บี ังคับใหตอ งนงั่ ตัวตรงจึงสบาย และน่ังทนดว ย สตรีไทยรงั เกยี จการนง่ั แบบน้ี โดยถอื วา เปน การ ขาดคารวะ จงึ ชอบนัง่ แบบที่เรยี กวา พบั เพยี บ คือ ขาคขู างหน่ึงพบั ไปขา งหลงั อกี ขางหน่ึงคูเ ขา มา ยันเขา ขา งหนึ่งไว ทานีบ้ ุรุษเพศไมค อยถนดั ถึงจะนยิ มใชอยใู นหมผู ดู ีก็นง่ั กันไมค อยทน แมในหมู บรรพชติ ทต่ี อ งใชอ ยบู อ ยๆ ก็นั่งไมค อยทน สแู บบบัลลังกไ มไ ด ยังมแี บบนั่งอีกแบบหนงึ่ ในการ เจริญฌาน คอื แบบนั่งตั่ง ไดแกนงั่ เกา อห้ี อยเทาน่นั เอง วธิ นี ี้ใชใ นการเจริญกสิณ สว นน่งั ตามสบาย นั้นไมม ีแบบตายตวั แลวแตความถนดั ของบุคคล. เมอื่ ไดทราบแบบนัง่ เชนน้แี ลว พงึ ทราบวิธปี ฏบิ ัติในการนง่ั สืบไป. ก. นั่งแบบบัลลงั ก ตั้งตวั ใหตรง อยาใหเอน วางหนา ใหตรง อยากม อยา เงย และอยาเอียง วางมือบนตกั เอามือขวาวางทับมือซา ย พอใหห วั แมมือจดกัน ต้งั สตใิ หมัน่ สํารวมจิตเขา มาตัง้ ไว ตรงกลางทรวงอก เอาขอ กัมมฏั ฐานขอหนงึ่ ที่ตนเลอื กแลว มาคดิ และอา นเรอ่ื ยไปจนกวา จะไดค วาม เมื่อไดค วามแลวจิตจะสงบเปน หนึ่ง มีปตแิ ละสขุ เกิดขนึ้ เล้ียงจิตใหเกิดความชุมชนื่ กายใจ มี ความสขุ กายสบายจติ โปรง ใจข้นึ มากนอยตามกาํ ลงั ของความวเิ วก และความสงบ พงึ ดาํ รง ความรสู ึกเชนนี้ไวใหนานท่ีสุดท่ีจะนานได เมอื่ เห็นวาสมควรแลว พงึ คอ ยๆ ถอยจติ ออก คือ นกึ ขึน้ วาจะออกเทานน้ั จติ ก็จะเคล่ือนจากฐานทันที แลวคอยๆ ผอ นความรสู ึกใหจ างออกทีละนอ ยๆ จนกลบั มาสูความรูส กึ อยา งธรรมดา แลว จงึ พจิ ารณาส่ิงแวดลอ มในขณะนน้ั จดจําเอาไวเปน บทเรยี นสําหรบั คราวหนา และพิจารณาตรวจลักษณะองคฌานทปี่ รากฏแกจ ติ ในคราวนน้ั ใหแจม ใจ แลว จึงเคลือ่ นไหวอิรยิ าบถตอไป อยาออกจากสมาธโิ ดยรีบรอ น จะทําใหป ระสาทไดรบั ความ กระเทือนแรงไป เหมอื นต่ืนนอนแลว รีบลกุ อยางตะลตี ะลาน ยอ มไมสบายฉะนั้น. ข. นัง่ แบบนง่ั ตั่ง นงั่ บนเกา อ้ี หรือตั่ง หอ ยเทาลงจดพนื้ ถา เทา ไมจดถึงพื้นเพราะตั่งหรือ เกา อีส้ ูง พงึ หาอะไรรองเทา พอใหส บายๆ โดยไมตองหอยขาตองแตง วางมือแบบเดยี วกับนงั่ บลั ลงั กก็ได เอามือท้ังสองกมุ กันไวบนตักก็ได วางตวั และหนาใหตรงเชนที่กลา วในขอ ก. (น่ังแบบ บัลลังก) ตอน้นั ไปพึงปฏิบตั โิ ดยนยั ท่กี ลาวในขอ ก. ถาเจรญิ กสิณ ก็พึงตงั้ ดวงกสิณใหหางจากที่น่งั ประมาณวาหน่ึง แลว น่ังตามแบบ ลืมตาดูดวงกสณิ พินิจใหแ นแลว หลบั ตานึกดู จนเห็นภาพดวง กสิณชดั เจนในตาใจ วิธีปฏิบัตติ อ ไปนจ้ี ะไดกลาวไวในขอ วา ดว ยกสณิ พงึ ตดิ ตามไปอา นท่ีน้ันอีก. ค. น่ังแบบพับเพียบ แบบนเ้ี ปนแบบทถี่ นัดของสตรไี ทย พึงนง่ั พบั เพียบวางมือบนตกั วางตวั ใหต รง วางหนา ใหตรง ดาํ รงสติใหมนั่ สาํ รวมจิตคิดอา นขอ กมั มฏั ฐานทเ่ี ลือกไว โดยนัยที่ กลา วในขอ ก. น้ันทกุ ประการ. ทพิ ยอาํ นาจ ๓๐
ง. นงั่ แบบสบาย คอื น่งั ตามถนัดของตนๆ แลว คิดอานขอ กัมมัฏฐานอนั ใดอันหนึ่ง หรือไม คดิ อา นอะไร เพียงแตตั้งสตสิ ําเหนยี กอยทู ่ีจติ คอยจับตาดคู วามเคล่อื นไหวของจิต หรอื สังเกตลม หายใจเขาออกตามแตอ ัธยาศยั . การท่แี นะนําขอ นี้ไวก ็โดยทกี่ ารบาํ เพ็ญฌาน ยอมทําไดท ุกทา ผูไมประมาทยอมไมปลอ ยให เวลาลว งไปเปลาๆ ยอมสาํ เหนียกจับตาดจู ิตใจของตนเสมอๆ แมใ นเวลาทาํ กิจใดๆ อยูกไ็ มล ะท้งิ เลย. อนึง่ ในการนง่ั เจรญิ ฌานน้ี กม็ กี ารพกั ผอ นกายในระหวา งๆ ไดเ ชนเดยี วกนั วธิ พี กั กายใน การนัง่ คือ เม่ือนง่ั ตรงๆ เมื่อยแลว พึงนง่ั ยอตัวลงสักหนอ ย หายเมอ่ื ยแลว จึงนั่งตัวตรงอกี สว นการ พกั มือในระหวางก็ทาํ ไดเชนกัน คอื พักในทา วางมือพลกิ ควา่ํ พลิกหงาย หรอื ประสานมอื ก็ได แต ตองระวังอยาใหจ ิตเคล่อื นจากฐานเทา นนั้ คาํ วา ฐาน น้หี มายถงึ วา จิตดาํ รงอยใู นอารมณเชนไร หรือในความสงบขนาดไหน ในขณะน้นั อันน้ันจดั เปนฐานคือทต่ี ้ังของจิตในขณะนั้น. ๔. นอนเจรญิ ฌาน อิริยาบถนอนในการเจรญิ ฌาน มี ๒ อยา ง คอื นอนพกั ผอ นรางกาย กับนอนเพอ่ื หลบั มีวธิ ปี ฏิบัติตางกนั ดังน้ี ก. นอนพักผอ นรางกาย คอื เม่ือเจริญฌานในอริ ิยาบถท้ัง ๓ มาแลว เกดิ ความมนึ เมอ่ื ย หรอื ออนเพลียรา งกาย พงึ นอนเอนกายเสยี บาง นอนในทา ทส่ี บายๆ ตามถนัด จะหลบั ตาหรือลมื ตาก็ได กาํ หนดใจอยใู นกมั มัฏฐานขอ ใดขอหนึง่ หรือเอาสติควบคมุ ใจใหสงบน่ิงอยูเฉยๆ กไ็ ด. ข. นอนเพื่อหลับ การนอนหลับ เปน การพกั ผอ นที่จาํ เปน ของรางกาย ใครๆ ก็เวนไมได แมแตพ ระอรหันตก ็ตอ งพกั ผอ นหลบั นอนเชน เดยี วกับปุถชุ น ทที่ า นวา พระอรหนั ตไมห ลับเลยนัน้ ทา นหมายทางจิตใจตางหาก มไิ ดห มายทางกาย การหลับนอนแตพ อดี ยอ มทาํ ใหร างกายสดชื่น แข็งแรง ถา มากเกินไปทําใหอวนเทอะทะไมแข็งแรง ถา นอยเกนิ ไปทําใหอดิ โรยออ นเพลีย ความจาํ เสื่อมทรามและงว งซึม ประมาณทพี่ อดนี ้ัน สําหรับผทู าํ งานเบาเพยี ง ๔-๖ ชั่วทุมเปน ประมาณพอดี ผทู ํางานหนกั ตอ งถงึ ๘ ช่วั ทมุ จึงจะพอดี ในเวลาประกอบความเปน ผตู ื่น (ชาครยิ านุโยค) น้ัน ทรงแนะใหพกั ผอ นหลบั นอนเพยี ง ๔ ช่ัวทุม เฉพาะยามทามกลางของราตรี เพยี งยามเดยี ว เวลานอกนนั้ เปนเวลาประกอบความเพยี รทง้ั สิ้น และทรงวางแบบการนอนไว เรยี กวา สีหไสยา คอื นอนอยางราชสีห การนอนแบบราชสีหนน้ั คอื นอนตะแคงขา งขวา เอนไป ทางหลงั ใหหนา หงายนิดหนอย มอื ขางขวาหนุนศีรษะ แขนซา ยแนบไปตามตวั วางเทาทบั เหล่อื ม กนั นิดหนอยพอสบาย แลว ตงั้ สติอธษิ ฐานจติ ใหแขง็ แรงวา ถงึ เวลาเทา น้ันตอ งต่ืนข้ึนทาํ ความเพียร ตอ ไป กอ นหลับพึงทําสตอิ ยา ใหไปอยูกบั อารมณภายนอก ใหอยทู จี่ ติ ปลอยวางอารมณเรอ่ื ยไป จนกวาจะหลบั ถาใหส ติอยูก ับอารมณภ ายนอกแลวจะไมห ลับสนทิ ลงได ครัน้ หลบั แลวต่ืนข้ึน พึง กาํ หนดดูเวลาวา ตรงกบั อธษิ ฐานหรือไม? แลวพึงลุกออกจากท่ีนอน ลา งหนา บวนปาก ทาํ ความ พากเพยี รชาํ ระจิตใจใหบ ริสุทธจิ์ ากนิวรณส ืบไป ถาสามารถบังคบั ใหต่ืนไดต ามเวลาทกี่ ําหนดไวไม เคลือ่ นคลาด ชอื่ วาสําเรจ็ อาํ นาจบงั คับตวั เองขน้ั หน่ึงแลว พงึ ฝก หัดใหช ํานาญตอไป ทั้งในการ บังคบั ใหห ลับ และบังคับใหตื่นไดตามความตอ งการ จึงจะช่ือวามอี าํ นาจเหนือกาย ซึง่ เปน ประโยชนอยา งยงิ่ ในการปฏิบัตอิ บรมจิตใจขนั้ ตอ ๆ ไป. ทิพยอํานาจ ๓๑
เมอ่ื ไดท ราบวธิ เี จริญฌานโดยอิริยาบถทง้ั ๔ เชนน้ีแลว พงึ สาํ เหนยี กวิธเี จริญฌานทวั่ ไป ดงั จะกลา วตอไปน้ี ไดท ราบมาแลว วา การเจริญฌานเปนการอบรมจิตใหสงบ เพอ่ื ใหจ ิตบริสทุ ธผิ์ ุดผอง เหมือนการกล่ันน้ําใหใ สสะอาดฉะนน้ั ธรรมชาติของนํา้ มีความใสสะอาดเปนลกั ษณะดั้งเดมิ ท่ี กลายเปนนํา้ ขนุ เพราะถกู เจือดวยสิง่ อ่ืนในภายหลงั ฉันใด จิตใจโดยเนอ้ื แทก็เปน ธรรมชาติใสผอ ง แตที่จิตน้ันมากลายเปน ธรรมชาติเศรา หมองไป เพราะอุปกเิ ลสจรเขา มาเจอื ปนในภายหลังฉันน้ัน วธิ ีกลัน่ กรองจิตใหบรสิ ุทธผิ์ ดุ ผอ งเปนสภาพแทน ้นั ยอมตอ งอาศยั เคร่ืองกรองทเ่ี หมาะสม เคร่อื ง กรองนั้นไดแ กก มั มัฏฐาน ๔๐ ประการ ดงั จะกลาวในบทตอไป พงึ เลือกใชบ ทหน่ึงหรอื หลายบท ตามควรแกเ หตุ เพือ่ ขม กเิ ลสที่ฟขู ้นึ ในขณะน้นั ใหส งบไป กมั มฏั ฐานนน้ั โดยทั่วไปก็เรยี กวาอารมณ แตเม่ือนําเขา มาอบรมจิตแลว กลบั เรียกวา นิมิตไป พึงทราบความหมายของนมิ ิตในการอบรมจติ ซึง่ แปรสภาพไปตามระยะดงั นี้ ๑. บริกรรมนิมติ ไดแกขอกมั มัฏฐานท่ีนํามาเปนขอ อบรมจิต ปรากฏอยใู นหว งนึกคิดของ บคุ คลเปนเวลาช่วั ขณะจิตหนงึ่ แลว เคล่ือนไป ตอ งตัง้ ใหมเปน พักๆ ไป อยางนีแ้ ลเรยี กวา บริกรรม นมิ ิต จิตในขณะนเี้ ปนสมาธเิ พียงชวั่ ขณะจติ หนง่ึ จึงเรียกวา ขณิกสมาธิ. ๒. อคุ คหนิมติ ไดแกขอกัมมฏั ฐานน้ันเหมอื นกนั ปรากฏอยใู นหว งความนึกคดิ ของบคุ คล อยา งชัดเจนขึ้น ดวยอํานาจกาํ ลงั ของสติสัมปชญั ญะควบคมุ และดํารงอยูน านเกินกวา ขณะจติ หนงึ่ จิตไมต กภวังคง า ย องคของฌานปรากฏขึ้นในจติ เกอื บครบถว นแลว อยา งน้เี รียกวา อคุ คหนมิ ติ จติ ในขณะน้ันเปน สมาธิใกลตอ ความเปนฌานแลว เรียกวา อุปจารสมาธิ ถาจะพดู ใหช ัดอีกกว็ า เขา เขตฌานน่ันเอง. ๓. ปฏภิ าคนิมิต ไดแกข อ กัมมัฏฐานทนี่ าํ มาอบรมจติ นัน่ เอง เขาไปปรากฏอยูในหวงนกึ คิด ของบุคคลแจมแจง ชัดเจน ถา เปนรปู ธรรมก็เปนภาพชดั เจนและผองใสสวยสดงดงามกวาสภาพเดิม ของมนั ถาเปนอรปู ธรรมกจ็ ะปรากฏเหตุผลชดั แจง แกใจพรอมทง้ั อุปมาอปุ ไมยหลายหลาก จะเห็น เหตุผลทีไ่ มเคยเห็น และจะทราบอปุ มาทไี่ มเคยทราบอยางแปลกประหลาด อยา งนี้แลเรยี กวา ปฏภิ าคนมิ ติ จติ ใจในขณะนนั้ จะดํารงมนั่ คง มอี งคฌานครบถว น ๕ ประการเกดิ ขน้ึ ในจติ บํารุง เลย้ี งจิตใหสงบสุขแชมชืน่ อยา งยง่ิ จงึ เรยี กวา อปั ปนาสมาธิ จดั เปน ฌานช้ันตนทแ่ี ทจริง จิตจะ ดํารงอยูในฌานนานหลายขณะจิต จงึ จะเคล่อื นจากฌานตกลงสูภวังค คอื จติ ปกติธรรมดา. นมิ ิตทัง้ ๓ เปน เครือ่ งกําหนดหมายของสมาธทิ ัง้ ๓ ชนั้ ดังกลา วมานน้ั ทานจึงเรียกชอ่ื เชนนน้ั ผูปฏบิ ตั ิพงึ สําเหนยี กไวเปนขอสังเกตขีดขนั้ ของสมาธสิ าํ หรับตนเองตอ ไป. ทนี ี้จะไดเร่มิ กลา วถึงวิธเี จรญิ ฌานทีแ่ ทจ ริงสบื ไป เม่อื ผูปฏิบัตทิ ําการอบรมจิตมาจนถึงได สมาธิ คือความเปน หนงึ่ ของจิตขน้ั ที่ ๓ ท่ีเรยี กวา อปั ปนาสมาธแิ ลว ชือ่ วา เขาข้ันของฌาน เปน ฌายบี คุ คล แลว ในขั้นตอ ไป มีแตจ ะทาํ การเจรญิ ฌานน้นั ใหช่าํ ชองย่ิงข้ึนโดยลําดับขั้นทงั้ ๕ ดงั ตอ ไปน้ี - ทิพยอาํ นาจ ๓๒
๑. ขนั้ นกึ อารมณ ฝก หดั นกึ อารมณท ่ใี ชเปนเครื่องอบรมจติ จนไดฌ านนั้นโดยชาๆ กอน เหมือนเมื่อไดคร้ัง แรก ตองนึกคดิ และอา นอารมณต ั้งนานๆ ใจจึงจะเหน็ เหตผุ ลและหยงั่ ลงสคู วามสงบได แลว คอ ย หัดนึกอารมณน ัน้ ไวเ ขา โดยลําดบั ๆ จนสามารถพอนึกอารมณนน้ั ใจกส็ งบทันที เชนนีช้ ่ือวา มี อํานาจในการนึกอารมณ ทที่ า นเรยี กวา อาวัชชนวสี = ชาํ นาญในการนึก. ๒. ขน้ั เขา ฌาน ฝก หดั เขา ฌานโดยวธิ ีเขาชา ๆ คือ คอยๆ เคลอ่ื นความสงบของจติ ไปสูความสงบย่งิ ขึ้น อยางเชือ่ งชา คอยสังเกตความรูส กึ ของจติ ตามระยะท่เี คลอ่ื นเขา ไปนั้น พรอมกบั อารมณท่ีใหเกดิ ความรสู กึ เชนนน้ั ไปดว ย แลว หัดเขา ใหไวข้นึ ทกุ ทๆี จนสามารถเขา ไดทันใจ ผา นระยะรวดเร็ว เขาถงึ จดุ สงบท่เี ราตอ งการเขาทันที เชนน้ีช่อื วา มีอาํ นาจในการเขาฌาน ท่ที า นเรียกวา สมาปช- ชนวสี = ชํานาญในการเขา. ๓. ขน้ั ดาํ รงฌาน ฝก หัดดํารงฌานโดยวิธกี าํ หนดใจดํารงอยใู นฌานเพียงระยะสัน้ ๆ ใหช าํ นาญดีเสยี กอ น แลว จงึ กาํ หนดใหยัง้ อยูนานยิง่ ข้ึนทลี ะนอ ยๆ จนสามารถดํารงฌานไวไ ดต้งั หลายๆ ชั่วโมง ต้งั วัน จนถงึ ๗ วัน เมอื่ การกาํ หนดฌานเปนไปตามทก่ี ําหนดทกุ ครั้งไมเคลือ่ นคลาดแลว ช่ือวามอี าํ นาจในการ ดาํ รงฌาน ทที่ านเรียกวา อธษิ ฐานวสี = ชํานาญในการอธิษฐาน. ๔. ขน้ั ออกฌาน ฝกหดั ออกฌาน โดยวิธีถอนจิตออกจากความสงบอยา งชาๆ กอน คอื พอดาํ รงอยใู นฌาน ไดต ามกําหนดที่ต้งั ใจไวแ ลว พงึ นกึ ขน้ึ วา ออก เทาน้ันจติ ก็เร่ิมไหวตัว และเคลอ่ื นออกจากจดุ สงบ ที่เขา ไปยับยง้ั อยูน้นั พงึ หดั เคลอื่ นออกมาตามระยะโดยทาํ นองเขา ฌานท่ีกลา วแลว และพึงสงั เกต ความรูสกึ ตามระยะนัน้ ๆ ไวด วย จนมาถึงความรูสกึ อยางปกตธิ รรมดา ช่อื วา ออกฌาน ในครง้ั ตอๆ ไปพงึ หดั ออกใหว องไวข้ึนทีละนอยๆ จนถงึ สามารถออกทนั ทที ี่นกึ วา ออก คือ พอนกึ กอ็ อกไดทันที โดยไมม กี ารกระเทอื นตอ วิถปี ระสาทแตประการใด เชน นี้ชื่อวา มีอาํ นาจในการออกฌาน ที่ทา น เรยี กวา วุฏฐานวสี = ชํานาญในการออก. ๕. ขนั้ พิจารณาฌาน ฝกหดั พจิ ารณาฌาน โดยวธิ เี มื่อถอยจติ ออกจากฌาน มาถงึ ข้ันความรูสึกปกตธิ รรมดาแลว แทนทจ่ี ะลกุ โดยเรว็ ออกจากที่ หรือหันไปสนใจเร่อื งอน่ื กห็ ันมาสนใจอยูกบั ฌานอีกที นึกทวนดู ลกั ษณะฌานพรอ มท้งั องคป ระกอบของฌานนนั้ แตละลกั ษณะใหแ จมใสขน้ึ อีกครั้ง โดยความสขุ มุ ไมรบี รอ น ครงั้ ตอ ไปจงึ หดั พจิ ารณาใหร วดเรว็ ข้ึนทีละนอยๆ จนสามารถพอนึกก็ทราบทั่วไปใน ฌานทนั ที เชนนี้ชอ่ื วา มอี ํานาจในการพิจารณาฌาน ทีท่ า นเรยี กวา ปจ จเวกขณวสี = ชํานาญใน การพิจารณา. ในขั้นตอไปกม็ แี ตขั้นของ การเลื่อนฌาน คือกา วหนาไปสูฌ านชนั้ สูงกวา ถาทา นผปู ฏบิ ัติ ไมใ จรอ นเกินไป เมื่อฝก โดยข้นั ทง้ั ๕ ในฌานขั้นหน่ึงๆ ชํานาญแลว การกาวไปสฌู านช้ันสูงกวาจะ ทพิ ยอาํ นาจ ๓๓
ไมลําบากเลย และไมคอยผดิ พลาดดวย ขอใหถือหลักของโบราณวา “ชาเปน การ นานเปนคณุ ” ไวเปน คตเิ ตือนใจเสมอๆ. วธิ กี ารทจ่ี ะเลอื่ นฌานไดสะดวกดงั ใจน้ัน อยทู ี่กาํ หนดหัวเลย้ี วหัวตอของฌานไวใหด ี คอื ขนั้ ตอไปจะตอ งละองคฌานทเี่ ทาไร และองคฌ านนั้นมีลกั ษณะอยา งไร ดาํ รงอยไู ดดวยอะไร ดงั ที่ ขาพเจาไดอธิบายไวแลว ในตอนวา ดว ยลักษณะฌานท้งั ๔ นั้น เมื่อกาํ หนดรูแจม ชัดแลว พึง กําหนดใจไวดว ยองคท ีเ่ ปนปฏิปกษก ับองคท่ีตองละน้ันใหมาก เพียงเทา น้จี ิตกเ็ ล่อื นขึน้ สฌู านช้ันสูง กวาไดท นั ที เม่อื เขา ถึงขดี ชั้นของฌานช้ันนน้ั แลว พึงทําการฝก หดั ตามขนั้ ทง้ั ๕ ใหชํานาญ แลวจึง เล่ือนสูช ัน้ ท่ีสงู กวา ข้ึนไป โดยนัยนี้ ตลอดทง้ั ๔ ฌาน. เพ่อื สะดวกแกการกาํ หนดหวั ตอ ของฌานดงั กลาวแลว แกผ ูปฏิบัติ จงึ ขอช้ี “หนาม” ของ ฌานใหเ หน็ ชัด โดยอาศัยพระพุทธภาษิตเปน หลัก ดงั ตอไปนี้ พระบรมศาสดาตรัสชี้หนามของฌานไววา เสียง เปนหนามของปฐมฌาน, วติ ก = ความคิด วจิ าร = ความอาน เปนหนามของทุติยฌาน, ปต ิ = ความชมุ ช่ืน เปน หนามของตติย- ฌาน, ลมหายใจ เปนหนามของจตุตถฌาน ดังน.้ี ในขน้ั ปฐมฌาน จิตยังสังโยคกบั อารมณอ ยู อายตนะภายในยังพรอมทจี่ ะรบั สัมผัสอายตนะ ภายนอกไดอ ยฉู ะนั้น เสียง จึงสามารถเสยี ดแทรกเขาไปทางโสตประสาทสจู ุดรวมคือใจ แลวทาํ ใจ ใหก ระเทอื นเคลื่อนจากอารมณท ีก่ ําลังคิดอานอยู บรรดาอายตนะภายนอกท่สี ามารถเสียดแทรก ทําความกระเทือนใจในเวลาทาํ ฌานนน้ั เสียงนบั วาเปน เยย่ี มกวาเพือ่ น ยงิ่ เปน เสียงท่กี ระแทก แรงๆ โดยกะทันหนั ย่ิงเปนหนามท่ีแหลมทสี่ ุด สามารถกระชากจติ จากฌานทนั ทที นั ใด แตถา ดื่ม ด่ําในอารมณของฌานใหม ากยิ่งข้ึนเปน ทวีคูณแลว เสียงก็จะทําอะไรใจเราไมไ ด ไดยินก็เหมือน ไมไดยิน ไมก ระเทอื นถงึ ใจน่ันเลย. ในขนั้ ทุติยฌาน ความคิดความอา น จะกลายเปน หนามตําจติ ขนึ้ มาในทันที คอื เมื่อไรดิง่ ลง สคู วามสงบเงยี บโดยไมค ดิ อานอะไรเลยน้ัน ใจกจ็ ะผอ งแผวอยโู ดดเดี่ยวเดียวดาย ภาพนมิ ิตใน ขณะน้ันคือ จติ จะใสแจว เหมอื นนาํ้ ใสน่งิ ๆ ฉะน้ัน แตคร้ันแลวเพราะความเคยชิน คอื จิตเคย ทอ งเท่ียวอยูใ นอารมณม านาน หรอื อารมณเคยคลอเคลยี อยูกับจติ มานาน เมื่อมาพรากกนั เชนนกี้ ็ จะพรากกนั นานไมไ ด ตอ งมาเยอื นบอยๆ จะคอยๆ ปดุ ขึน้ ในจติ เหมือนปุดฟองนํ้า ทป่ี รากฏขึ้นมา จากสว นใตสดุ ของพื้นนํ้าในเมื่อนํา้ เร่มิ ใสใหมๆ ฉะน้ัน เมอ่ื ความคดิ อานปุดโผลข้ึนในจติ จติ กไ็ หว ฉะน้นั ทานจงึ วา เปนหนามของฌานชั้นน้ี วธิ ีแกกค็ ือ ไมเอาใจใสเ สยี เลย เอาสตกิ มุ ใจใหน งิ่ ๆ ไว เหมอื นแขกมาเยอื น เหมอื นเราไมเ อาใจใสต อนรับ แขกกจ็ ะเกอกลับไป และไมม าอีกบอ ยนัก หรอื ไมม าอกี เลยฉะนั้น. ในข้ันตติยฌาน ปติ = ความชมุ ชื่น ซ่งึ เปน ทิพยาหารในฌานที่ ๑-๒ น้ัน จะเกิดเปนหนาม ของฌานช้ันน้ที ันที จะคอยทาํ ใหจติ ใจฟองฟอู ยบู อยๆ เหตผุ ลก็เหมือนในขั้นทุตยิ ฌานน่นั เอง คอื ปตเิ คยเปนทิพยาหารของใจมานานแลว เม่ือมาพรากไปเสียเชน นี้ ก็อดจะคิดถึงและมาเยอื นไมไ ด วิธแี กก ต็ อ งใชสติกมุ ใจใหว างเฉย ไมเอาใจใสถงึ อีกเลย มนั ก็จะหายหนา ไป ถาไมเรยี ก มันก็จะไม มาอีก. ทิพยอํานาจ ๓๔
ในขนั้ จตุตถฌาน ลมหายใจ ซง่ึ เปน เครอ่ื งปรุงแตง กายสืบตอชีวิตน้นั เปนท่ีตั้งของสขุ ทุกข และโสมนัสโทมนัส เม่ือมาปรากฏในความรับรขู องจิตอยูต ราบใด สุขโสมนัส และทุกขโทมนสั ซง่ึ อาศัยอยกู บั มนั ก็จะปรากฏทําการรบกวนจิตอยตู ราบนนั้ เพราะลมหายใจเปนพาหนะของมัน ลม หายใจมอี ยูไดโดยธรรมดาเอง แมจ ติ ไมเขา ไปเปน เจาการ ก็คงมีอยเู หมือนเวลานอนหลบั แตใน ความรสู กึ ของคนตนื่ อยู คลา ยกะวา มันเปนอันเดียวกันกบั จิต จนไมอ ยากวางธุระในมัน เขาไปเปน เจา การกบั มนั อยเู รื่อยไป ผูเ ขา ฌานไมเหมอื นคนหลบั ตรงกันขามเปน คนต่ืน เมอ่ื เปนเชนนี้ลม หายใจจึงคอยแหลมเขา ไปหาจิตบอ ยๆ เมือ่ แหลมเขาไปเม่ือไรจติ ใจก็มักจะสัมปยตุ ตก ับมนั หรอื มิฉะน้ันกส็ ะเทือน จึงช่ือวาเปนหนามของจตตุ ถฌาน วธิ ีการแกกค็ อื เอาสตกิ ุมจติ ใหว างเฉยท่สี ุด ไมใสใ จถึงสว นหนึ่งสว นใดของกายอีกเลย ลมหายใจกไ็ มป รากฏในความรับรูของจิต ท้งั จะ กลายเปน ลมละเอียดน่ิงเต็มตัว ไมมอี าการเคล่อื นไหวไปมา และเวลานน้ั จะรูสึกประหน่งึ วา ตนน่งั อยูใ นกลุมอากาศใสๆ สงบนิง่ แนอยู เหมอื นน่ังเอาผาขาวสะอาดโปรง บางคลมุ ตัวตลอดศีรษะ ฉะน้นั . ผูปฏบิ ัติพงึ สําเหนียกตอไปอกี วา การเจริญฌานน้ัน เปรียบเหมอื นการสาํ รวจภูมปิ ระเทศ ซ่ึงจําตองเดนิ สํารวจกลับไปกลบั มา เท่ยี วแลว เท่ยี วเลาจนชํา่ ชอง มองเหน็ ภมู ิประเทศในหวงนกึ อยางทะลุปรโุ ปรงฉะนน้ั เพราะฉะน้ัน ตอ งเดินฌานท่ีตนไดแ ลว ตั้งแตปลายจนตน เทีย่ วแลว เทีย่ วเลา เปน เหตใุ หเ กิดความชา่ํ ชองในฌานทะลปุ รโุ ปรง. ทิพยภาวะ กอนจบบทนี้ ขา พเจาขอชีแ้ จงเร่ืองทิพยภาวะท่ไี ดพูดเกร่ินไวใ นตอนตนของบทนส้ี ัก เล็กนอ ย ในคราวท่ีพระบรมศาสดาตรัสแกช าวบา นเวนาคะปรุ ะน้ัน ทรงชแ้ี จงวัตถภุ ายนอกในเมอ่ื เจรญิ ฌานแลววา เปนทพิ ย นั่นเปนการชีว้ ตั ถุท่เี กยี่ วขอ งเพือ่ ใหเ ห็นงาย ทง้ั เปนเครื่องยืนยันถึง ภาวะแหงจติ ใจในขณะน้ันวาบรบิ รู ณไ ปดวยทพิ ยสมบตั ิแลว จะมาไยดีอะไรกับสงิ่ ภายนอกซ่งึ เปน ส่งิ ทหี่ ยาบกวาหลายเทา พนั ทวี เมอื่ ชวี ิตจะตอ งเปน อยูไดดวยวัตถุปจ จัย แมเชนใดเชนหนง่ึ ก็เปนท่ี เพียงพอแลว ไมจ ําเปนตอ งใชวัตถุปจจยั ทเ่ี ลอคา และฟมุ เฟอ ย. ความสุขของคนมไิ ดอยูทีว่ ตั ถุอันเลอคา หรอื ฟุม เฟอ ย แตอ ยทู ่ีความอม่ิ เตม็ ตา งหาก เมอ่ื ใจ ยงั ไมอม่ิ เตม็ แมจะมงั่ มีเหลือลนสกั ปานใด กม็ ิไดร บั ความสขุ ฉะนนั้ จดุ ทเ่ี ราควรเอาใจใสจงึ อยทู ่ีใจ ของเราเอง เม่อื แกใ จใหหายหิว มีความอ่มิ เต็มดว ยอุบายวิธใี ดวิธีหนึง่ ไดแลว นั่นช่อื วา บรรลุถงึ ความสุขท่แี ทจ รงิ . พระบรมศาสดาทรงราํ พงึ เม่ือคราวจะเลกิ ทกุ กรกริ ยิ าวา “เราควรกลวั ดวยหรอื ซงึ่ ความสขุ อันปราศจากอามสิ ทป่ี ถุ ุชนเขาไมเสพกนั เราควรกลบั ไปเดินทางน้ัน ซง่ึ มีสุขชมุ ชืน่ ใจ ก็ แตว า บัดน้รี า งกายเราออนแอเต็มที ไมม ีกาํ ลงั พอที่จะเรม่ิ ความเพยี ร เพือ่ บรรลุสขุ ชนดิ นั้นได เรา ควรบํารงุ รา งกายใหแ ขง็ แรงพอสมควรกอน...” ดงั น้ี ครนั้ แลว ภายหลังกท็ รงบรรลุถงึ ความสุขน้ัน และตรสั วา เปนความสขุ ทีป่ ราศจากอามสิ ผูประสพความสขุ ชนิดนีจ้ ะไมค าํ นงึ ถงึ ความเลอคา และ ทิพยอาํ นาจ ๓๕
ฟมุ เฟอยของวัตถุภายนอก วัตถปุ จจยั แมเชนใดเชนหนง่ึ ก็ดูเหมือนเปนของดวี เิ ศษไปหมด และพอ แกความตองการ ด่งั ท่ีตรัสเรียกวา เปนทิพยน้ันแลว . การท่ีวตั ถภุ ายนอกในความรสู ึกของผูเ ขา ฌาน ๔ ปรากฏเปน ทพิ ยไ ปน้ัน กด็ ว ยมีทิพยภาวะ อยใู นจติ ใจพอเพียง หาไมกป็ รากฏเปนทพิ ยไปไมได ฉะนั้น พึงทราบทิพยภาวะในจติ ใจของผไู ด ฌานไวบ าง การที่จะรไู ดก ต็ องอาศยั อนมุ านจากความรูสึกของคนธรรมดาในบางครง้ั บางคราวเปน หลกั เวลาเราคิดอา นเรอ่ื งอะไรอยา งหนึ่งซ่งึ เราพอใจ เราจะรูสกึ เพลดิ เพลิน เกิดความดูดดื่มไม อยากหยดุ และรูสึกวา มสี ขุ เหลือลน ถา ไดม เี วลาคิดอานอะไรเพลนิ ๆ เชนนน้ั น้ีแหละที่พงึ อาศยั เปน หลัก อนมุ านไปถงึ ความรสู กึ ของผไู ดฌ าน และพึงทราบวา อารมณของผไู ดฌ านประณีตกวา ดกี วา ของคนธรรมดาสามญั หลายเทา พนั ทวี อารมณป ระณตี ทีป่ รุงแตง จิตใจของผูไดฌ านอยใู นขณะนนั้ นน่ั แหละเรยี กวา “ทพิ ยภาวะ” ท่ีทําใหรูสึกสิ่งท้ังปวงภายนอกทีต่ นบริโภคใชส อยอยู แมเปน เพียง สงิ่ พน้ื ๆ ไมว เิ ศษวิโส กลายเปน สิ่งวเิ ศษวโิ ส คือเปนทพิ ยไ ปดว ย และทิพยภาวะนแี้ หละจะเปน เคร่อื งเกื้อหนุนใหเกิดทพิ ยอาํ นาจตอ ไป ผตู อ งการทพิ ยอาํ นาจจะมองขามไป แลว จะปลูกสรา ง ทิพยอาํ นาจข้นึ ไดน้ัน มใิ ชฐานะทีจ่ ะเปน ไปได เพราะฉะนน้ั ผตู อ งการทพิ ยอํานาจจงึ ควรเจรญิ ฌาน ซึ่งเปนทต่ี ั้งแหง ทพิ ยภาวะ ใหเ ปน ผบู ริบรู ณด วยทิพยสมบตั กิ อ น แลวจงึ อาศยั เปน ท่ีปลกู สราง ทิพยอาํ นาจตอ ไป จึงจะเปนไดสมปรารถนา. ทพิ ยอํานาจ ๓๖
บทท่ี ๓ บพุ พประโยคแหง ฌาน ทา นท่ไี ดอานบทท่ี ๑-๒ มาแลว ยอมทราบวา ภมู ิจติ ของผไู ดฌานสงู ย่งิ เพียงไร และ หา งไกลจากลักษณะจติ ใจของมนุษยสามัญปานฟา กบั ดิน การท่ีจะกาวพรวดพราดจากลักษณะ จิตใจของคนสามัญข้นึ ไปสูลกั ษณะจิตใจของผไู ดฌานนัน้ ไมมีทางจะสาํ เรจ็ ได จําจะตองปรับปรงุ ลกั ษณะจติ ใจจากความเปนมนษุ ยผไู รศ ีลข้นึ ไปสูความเปนผมู ศี ีลเสียกอ น เพราะทานวา ศลี เปน ทต่ี ัง้ ของสมาธิและฌาน ผมู ศี ลี สมบูรณด ีจงึ จะมสี มาธิและฌานได ศลี นั้นเม่ือวา โดยตนเคา ไดแ ก ความเปนปกติของจิต คือเปนจติ ทีป่ ราศจากความคิดรา ย ความคดิ เบียดเบียน ความคมุ แคนคิดหา ชอ งทางทาํ รายคนท่ตี นเกลียด เปน จติ ท่ปี ราศจากความคดิ โลภเพงเลง็ หาชอ งยอ งเบาเอาทรพั ยสิน ของผูอ ่นื และลว งกรรมสทิ ธ์ใิ นสิง่ ทเี่ ขาหวงแหน และเปนจิตท่ปี ราศจากความเห็นผดิ ไปจากคลอง ของมนษุ ยธรรม มีความเหน็ ชอบอยา งมนุษยท ด่ี ีเขาเห็นกันอยู คอื เห็นวาทาํ ดไี ดด ี ทาํ ชั่วไดช ่ัว โลก นี้มี โลกอ่นื มี บิดามารดาผใู หกาํ เนิดมี ผเู กิดผดุ ข้นึ เอง (เชน เทวดา) มี ฯลฯ การรกั ษาปกตภิ าพของจติ เปน การรักษาตนศีล สว นการรักษาศลี ตามสกิ ขาบททท่ี รง บญั ญตั ิไวน ้ัน เปนการรักษาปลายศีล เพราะตน เหตุของความดี-ความชว่ั อยทู ่จี ิต ถา จิตช่วั คือมี กเิ ลสและทุจรติ แลว ยอมบงั คบั กายวาจาทําช่ัว ถา จิตดีคอื เปนปกติ กเิ ลสและทุจริตไมค รอง อาํ นาจเหนอื จิต จติ ยอมไมบ ังคบั กายวาจาใหท ําชัว่ การรักษาจติ จึงเปนการรกั ษาตน เหตุ การ รักษากายวาจาเปน การรกั ษาปลายเหตุ แตก เ็ ปน ความจาํ เปนอยเู หมือนกนั ทจี่ ะตอ งรักษาตาม สกิ ขาบทพทุ ธบญั ญัติ เพ่อื ปดกัน้ อกุศลบาปธรรม มิใหม นั หลัง่ ไหลออกไปทางกายวาจา และ ปองกันอกุศลบาปธรรม มใิ หมันไดช อ งเขามาครอบงาํ ยาํ่ ยีจติ ใจ หากแตว าการรักษาศลี ตามขอหา ม นั้นไกลตอ ความเปน สมาธิ ไมพ อจะเปน บาทฐานของสมาธแิ ละฌานได ตองรักษาศีลท่ีจิตใจ คอื รกั ษาความเปนปกติของจิตใจใหม ั่นคงแข็งแรง เมอ่ื จติ ใจดาํ รงอยูในความเปนปกตนิ านๆ เขา ก็ ยอมมลี กั ษณะผอ งแผว ชืน่ บาน เยอื กเย็นและม่นั คง ควรแกความเปนพ้ืนฐานที่ตง้ั ของสมาธติ อ ไป การรักษาศลี อยางนแ้ี ลเปน ศีลในองคอรยิ มรรค ซง่ึ เปนศีลเสมอภาค ผเู ปนพระอรยิ บุคคลไมว า บรรพชิตหรอื คฤหัสถ ยอมมีศีลชนิดน้ีเสมอกัน สว นศีลทร่ี ักษาตามสกิ ขาบทพุทธบญั ญัตินน้ั ยอ ม ไมสมา่ํ เสมอกนั เปนการรักษาศลี ใหเหมาะสมกบั ภาวะท่เี ปนบรรพชิตหรือคฤหสั ถเ ทานั้น เมอื่ รักษาไดดกี เ็ ปน ทางเจริญปต ิปราโมทย ทาํ ใหจติ ใจผอ งแผวขน้ึ ได รกั ษาศีลตามสิกขาบทมวี ธิ ี อยา งไร ไมป ระสงคจะกลาวในที่น้ี ผปู ระสงคจ ะทราบโปรดศกึ ษาจากหนงั สอื อ่ืนๆ ซ่ึงมีผูเขยี นไว มากแลว . อนง่ึ การอบรมจิตใหเ ปน สมาธแิ ละฌานน้นั ยอมตองอาศยั อุบายอนั แยบคายจึงจะสําเร็จ งา ย อบุ ายอันแยบคายนัน้ ทานเรยี กวา กรรมฐาน ทานแยกไวเ ปน ๒ ประเภท คือ สมถกรรมฐาน ประเภทหน่ึง, วปิ ส สนากรรมฐานประเภทหนึ่ง จะกลาวในบทนีเ้ ฉพาะแตสมถกรรมฐาน ซ่ึงเปน ทพิ ยอาํ นาจ ๓๗
ประเภทอบรมจติ ใจใหเ ปน สมาธแิ ละฌาน สว นวิปสสนากรรมฐานอันเปน ประเภทอบรมจิตใจให เกิดปญ ญาน้ัน จะกลาวในบทอน่ื . การอบรมจิตใจใหเ ปน สมาธิและฌานตามหลักสมถกรรมฐาน จัดเปน บุพพประโยคของ ฌาน จะขา มเลยไปเสยี มไิ ด จาํ เปนตอ งใชสมถกรรมฐานขอ หนึง่ หรือหลายขอ เปน เครื่องอบรม จิตใจเสมอไป จิตใจจงึ จะเปนสมาธิและฌานไดดังประสงค. สมถกรรมฐานนน้ั พระบรมศาสดาตรสั ไวในท่ตี า งๆ โดยปริยายหลากหลาย พระโบราณา จารยป ระมวลมาไวในที่เดยี วกนั มจี าํ นวนถงึ ๔๐ ประการ จัดเปนหมวดได ๗ หมวด คือ กสณิ ๑๐ อสุภะ ๑๐ อนุสสติ ๑๐ อาหาเรปฏกิ ูลสัญญา ๑ จตธุ าตวุ วัตถาน ๑ พรหมวหิ าร ๔ อรูปกรรมฐาน ๔ มวี ภิ าคดงั จะกลา วตอไป การที่แสดงอุบายทาํ ความสงบจิตใจไวมากเชน นี้ กเ็ พอื่ ใหเหมาะ แกจ ริตอธั ยาศัยของเวไนย ซ่งึ มจี รติ อธั ยาศัยตางๆ กัน มไิ ดหมายใหทกุ คนเจริญทั้ง ๔๐ ประการ จนครบ. กสณิ คอื วงกลมทาํ ดว ยวตั ถตุ างๆ ขนาดวัดผาศูนยกลางคืบ ๔ น้วิ สาํ หรบั เปน เคร่ืองเพง ทาํ จิตใจใหสงบ มี ๑๐ ประการ คอื ๑. ปฐวีกสณิ วงกลมทําดวยดินบริสุทธิ์สอี รณุ คอื สีเหลอื งปนแดง เชน สหี มอใหม วิธีทาํ เอาดินบรสิ ุทธิ์สีอรุณมาขยาํ ใหเหนียวดีแลว ลาดลงบนแผนกระดานวงกลม ขนาดวดั ผาศูนยกลาง คบื ๔ นิว้ ขัดใหเกลี้ยงงาม ปราศจากมลทนิ เชนเสนหญา เปนตน ทําใหเกลี้ยงเกลา เปนเงาไดยงิ่ ด.ี ๒. อาโปกสิณ วงกลมทาํ ดวยน้าํ ใสบรสิ ุทธิ์ ปราศจากสีและตะกอน วิธีทาํ เอานา้ํ บรสิ ทุ ธิ์ ใสภาชนะที่มขี อบปากกวางกลมมน วดั ผา ศนู ยก ลางไดค บื ๔ นิ้ว ใสน ้ําเตม็ ขอบปาก. ๓. เตโชกสิณ วงกลมทาํ ดว ยไฟ วิธีทํา กอ ไฟดว ยฟนไมแ กน ใหลุกโชนเปน เปลวสีเหลอื ง เหลืองแก และเอาแผนหนงั หรือเสอ่ื ลาํ แพนมาเจาะรเู ปนวงกลม กวางขนาดวัดผา ศูนยกลางคืบ ๔ นวิ้ ต้ังบังกองไฟใหม องเหน็ ไดโ ดยชอ งวงกลมเทา นน้ั . ๔. วาโยกสิณ เพง ลมท่ีพัดสมั ผสั อวัยวะ หรือพัดยอดไมย อดหญาใหห ว่ันไหว กสณิ น้ที ํา เปน วงกลมหรือดวงกลมไมได ทานจึงแนะใหเ พง ลมท่พี ัดอยูโดยธรรมชาติของมันน้นั เปนอารมณ จนมองเหน็ กลุมลมหรือสายลมทพี่ ดั ไปมานนั้ ตดิ ตา หลบั ตามองเห็น ทา นหามเพงลมท่ีพดั ปน ปว น เชน ลมหัวดวน เปนตน. ๕. นีลกสณิ วงกลมทําดว ยสีเขยี ว วธิ ที ํา เอาส่งิ ทีม่ ีสเี ขียวบริสทุ ธิ์ เชน ดอกบวั เขยี ว หรอื ผาเขยี ว ฯลฯ มาทํา ถา เปนดอกไมพึงบรรจลุ งในภาชนะที่มขี อบปากกลม วดั ผาศูนยก ลางไดค ืบ ๔ นวิ้ ใหเ ต็มขอบปาก อยาใหก านหรอื เกสรปรากฏ ใหแลเห็นแตก ลีบสเี ขียว ถาเปน ผาพงึ ขงึ กับ ทิพยอาํ นาจ ๓๘
ไมวงกลมขนาดนั้นใหต ึงดี อยา ใหย ูย่ี ถา ไดผา เน้ือละเอยี ดเปน เหมาะดี สเี ขียวนี้หมายเขียวคราม ท่ี เรยี กวา นลิ นน่ั เอง. ๖. ปตกสณิ วงกลมทําดวยสเี หลือง วิธที าํ เอาสง่ิ ท่ีมีสีเหลอื งบรสิ ทุ ธ์ิ เชน ดอกกรรณิการ เหลอื ง หรอื ผาสเี หลอื งเปน ตน มาทาํ โดยทาํ นองเดียวกับนลี กสิณ สีเหลอื งน้ี หมายถึงสีเหลอื งออน หรือเหลอื งนวลสีเขียวใบไมหรือมรกต เปนสีทใ่ี กลกับสเี หลืองออ น ทา นวาอนโุ ลมเขา กับกสณิ นี้ได. ๗. โลหติ กสิณ วงกลมทําดว ยสีแดง วิธที ํา เอาสิ่งที่มีสีแดง เชน ดอกบัวแดง ผาแดง ฯลฯ มาทาํ โดยทาํ นองเดยี วกันกับนีลกสณิ . ๘. โอทาตกสณิ วงกลมทําดวยสีขาว วธิ ที าํ เอาสง่ิ ทข่ี าวสะอาด เชน ดอกบัวขาว ผาขาว ฯลฯ มาทํา โดยทํานองเดียวกนั กบั นีลกสิณ. ๙. อากาสกสิณ วงกลมอากาศ วธิ ที ํา เจาะฝาเปน รูปกลม วัดผาศูนยก ลางคบื ๔ นิ้ว หรอื เจาะเสอื่ ลาํ แพนขนาดเดยี วกันน้ันก็ได เพง ดูอากาศภายในชองวงกลมน้ัน หรือจะขดไมเปนวงกลม ขนาดนั้นตงั้ ไวบ นปลายหลกั ในทแี่ จง แลวเพง ดอู ากาศภายในวงกลมน้ันก็ได. ๑๐. อาโลกกสิณ วงกลมแสงสวา ง วธิ ที ํา เจาะกนหมอเปนรกู ลม วดั ผาศูนยกลางคบื ๔ น้วิ ตามตะเกยี งหรอื เทยี นไขไวภ ายในหมอ ใหแสงสวางสองออกมาตามรทู เ่ี จาะไว และหันทาง แสงสวา งน้นั ใหไปปรากฏท่ฝี าหรอื กาํ แพง แลวเพง ดูแสงสวา งทีส่ องเปน ลาํ ออกไปจากรทู ไ่ี ปปรากฏ ทฝี่ าหรอื กาํ แพงนั้น. อาโลกกสณิ น้ี ปรากฏในสมถกรรมฐาน ตามทพ่ี ระโบราณาจารยป ระมวลไว แตทป่ี รากฏ ในพระบาลี ในพระไตรปฎกหลายแหงแทนที่ ขอ นเ้ี ปน วญิ ญาณกสิณ คือ เพงวญิ ญาณ ทัง้ น้ีนาจะ เปน เพราะกสณิ ๑-๘ เปนรูปกสิณ สวนกสิณ ๙-๑๐ เปนอรูปกสณิ ซึง่ ใชเปน อารมณข องอรูปฌาน คือ อากาสานัญจายตนะ และ วญิ ญาณัญจายตนะ ตามลําดบั กัน แสงสวางนาจะใกลต อเตโช หรอื มิฉะน้ันกใ็ กลตอวิญญาณ ซง่ึ มลี กั ษณะสวางเชนเดยี วกัน เม่ือเพง ลักษณะสวางแลวนาจะใกลตอ วญิ ญาณมากกวา ถาเปน วญิ ญาณกสิณจะทาํ วงกลมดว ยวัตถุไมได ตอ งกําหนดดวงขึ้นในใจที่เดยี ว ใหเปน ดวงกลมขนาดวดั ผาศูนยกลางคืบ ๔ นว้ิ อาโลกะและวญิ ญาณมีลักษณะใกลก นั มาก และ อํานวยผลแกผูเพงทํานองเดียวกัน คอื นําทางแหงทิพยจักษุอยางดีวเิ ศษ ผดิ กนั แตล กั ษณะการ เพงเทา นน้ั คือ วิญญาณกสณิ ตองเพง ขา งในไมใ ชเพง ขา งนอกเหมอื นอาโลกกสณิ และอาํ นวยตา ทิพยดกี วา วเิ ศษกวาอาโลกกสณิ . วิธปี ฏิบตั ิ พงึ ชาํ ระตนใหส ะอาด นุง หมผา สะอาด ไปสทู ่เี งียบสงัด ปด กวาดบรเิ วณให สะอาด ตง้ั ตั่งสูงคบื ๔ น้วิ สาํ หรับนัง่ อันหนง่ึ สําหรบั วางวงกสณิ อนั หนง่ึ นั่งหา งจากวงกสณิ ประมาณ ๕ ศอก นัง่ ในทาท่สี บาย วางหนาใหตรง ทอดตาลงแลดดู วงกสณิ พอสมควรแลว หลบั ตา นึกดู ถายงั จาํ ไมไ ดพ งึ ลมื ตาข้นึ ดใู หม แลว หลบั ตานกึ ดู โดยทาํ นองน้ี จนกวาจะเหน็ วงกสณิ ในเวลา หลบั ตาได เมอื่ ไดแ ลว พึงไปนัง่ เพง ดวงกสิณในท่อี ยูใหช าํ นาญ จนสามารถทําการขยายดวงกสณิ ให ใหญ และยนใหเลก็ ไดต ามตอ งการ เพยี งเทา นช้ี ่ือวาสาํ เรจ็ กสิณแลว จิตใจจะสงบเปนสมาธิ ตามลําดบั คือ ชัว่ ขณะ เฉียดฌาน และเปนฌาน ๑-๒-๓-๔ ตามลาํ ดบั ไป ในการเลื่อนช้ันของ ฌานนนั้ ตอ งคอยๆ เลอ่ื นไป อยาดวนกา วหนาในเมื่อฌานท่ไี ดแ ลวตนยงั ไมชาํ นาญในการเขา ออก ทพิ ยอํานาจ ๓๙
การย้งั อยู การนึกอารมณของฌาน และการพิจารณาองคข องฌาน จะพลาดพลั้งแลว จะเสียผลท้งั ขา งหนาขา งหลัง. สวนวาโยกสณิ เปนกสณิ ทท่ี าํ วงกลมไมไ ด และยกไปมาไมได ทา นแนะวาพึงแลดูลมทพี่ ัด ไปมาโดยปกตนิ ้ัน แลว จดจาํ ลักษณะอาการเอาไว แลว ไปสทู สี่ งัด ปฏบิ ัติตนโดยนัยทกี่ ลา วมาแลว นั่งนกึ ถงึ อาการลมพัด จนอาการนน้ั ปรากฏชดั แกใ จ ชอ่ื วา ไดก สณิ ขอน้ีแลว ตอไปก็พงึ ปฏิบัตติ าม นัยที่กลาวมาแลว . อสภุ ะ คอื ส่ิงท่ไี มสวยงาม นาพึงเกลียดพึงหนาย เม่ือนึกเปรยี บเทียบกับอตั ภาพท่ียงั มี ชีวิตอยูกจ็ ะทําใหเกดิ ความสังเวช คือ ซาบซ้งึ ถงึ ความจริง อันเปน ลกั ษณะประจาํ ของสงั ขาร รา งกายเปน อยางดี ทานแนะใหนาํ มาพจิ ารณาเปน อารมณ เพือ่ เกดิ สังเวชและเบื่อหนาย บรรเทา ราคะ คือความกาํ หนัดในอัตภาพ และบรรเทาอสั มิมานะ คือความสาํ คัญผดิ คดิ วา เปนตัวตนของ ตนจรงิ จงั อสุภะในทีน่ ห้ี มายเฉพาะที่เปน ซากศพ หรืออวยั วะสว นใดสวนหน่ึงของคนตายแลว ตลอดถึงของสัตวดวย พระโบราณาจารยท านประมวลมาไว ๑๐ ชนดิ คือ ๑. อทุ ธมุ าตกะ ศพข้นึ อืด ๒. วินลี กะ ศพขึ้นพองเขียว ๓. วปิ ุพพกะ ศพเนาเฟะ นํ้าหนองไหล ๔. วิฉนิ ทกะ ศพขาดเปน ทอ นๆ ๕. วิขายติ กะ ศพท่ถี กู สตั วกัดกนิ ๖. วิขติ ตกะ ศพทก่ี ระจดั กระจาย ๗. หตวขิ ติ ตกะ ศพที่ถูกสบั ฟน แทง ๘. โลหิตกะ ศพทีม่ ีเลอื ดแดงๆ ไหล ๙. ปฬุ ุวกะ ศพท่ีหนอนไชคลาคลํ่า ๑๐. อัฏฐิกะ กระดูกชนิดตา งๆ ในมหาสตปิ ฏฐานสตู ร ทีฆนิกาย ทรงแสดงไว ๙ ลกั ษณะ คอื ๑. ศพท่ีตายแลวขน้ึ อืด พองเขียว-เนา เฟะ ๒. ศพทส่ี ตั วมสี นุ ขั เปนตน กาํ ลังกัดกินอยู ๓. โครงกระดูกสัตวม เี อ็นรัดยึดไว ยงั มเี น้ือเลือด ๔. โครงกระดูกสัตวมเี อ็นรัดยดึ ไว เปอ นเนอ้ื เลือด ๕. โครงกระดกู สัตวม เี อน็ รัดยดึ ไว ปราศจากเน้อื เลือด ๖. กระดูกท่กี ระจดั กระจายไปคนละทศิ ละทาง ๗. กระดกู ที่เปน สขี าวๆ ๘. กระดูกที่เปนสเี หลอื งๆ ๙. กระดูกทีผ่ ุยุยเปนผงละเอียดแลว ทพิ ยอํานาจ ๔๐
สว นทสกนิบาต อังคุตตรนกิ าย ทรงแสดงไวโ ดยเปนสัญญา มี ๕ ลกั ษณะ คือ ๑. อัฏฐิกสญั ญา กาํ หนดหมายกระดูก ๒. ปุฬวุ สญั ญา กําหนดหมายหมหู นอนไชศพ ๓. วนิ ลี กสญั ญา กําหนดหมายศพขึ้นพองเขยี ว ๔. วฉิ นิ ทกสัญญา กาํ หนดหมายศพที่เปนทอ นๆ ๕. อทุ ธมุ าตกสัญญา กําหนดหมายศพข้ึนอดื พระโบราณาจารยค งประมวลเอาลกั ษณะที่ใกลก ัน รวมเปนลกั ษณะเดยี ว และเพม่ิ ลกั ษณะ บางอยางซึง่ นา จะมี จงึ รวมเปน ๑๐ ลกั ษณะ อยางไรก็ตามจดุ หมายของการพิจารณาอสภุ ะอยูท่ี ใหเกดิ ความรสู กึ ซาบซงึ้ ในความจริงของอตั ภาพ โดยมีอสภุ ะเปน ประจักษพ ยานเทานนั้ จะใช อสภุ ะในลกั ษณะใดก็ได แมที่สุดแตแผลในตัวของตวั ซง่ึ เกดิ จากเหตตุ า งๆ ก็นํามาพจิ ารณาเปน อสุภะได. วธิ ีปฏบิ ตั ิในเรือ่ งนี้ ทา นแนะนาํ ไวห ลายปริยาย ตามสมควรแกอสุภะน้ันๆ ประมวลแลว เปน ดังน้ี ๑. ไปพจิ ารณาอสุภะในปาชา หรือในที่ใดทีห่ นง่ึ ซงึ่ มีอสุภะ ถาศพน้นั ยงั บริบูรณต องเปน เพศเดยี วกนั จึงจะไมเกิดโทษ เมอ่ื ไดนิมิตแลวพึงกลับมาน่งั นึกถงึ ภาพอสภุ ะนน้ั ในท่อี ยูใหแจมชดั ใน หวงนกึ ยิ่งข้ึน. ๒. ไปนําเอาอสุภะที่พอนาํ มาได ประดษิ ฐานไวในท่อี ันสมควรแลว เพง พจิ ารณาใหเกดิ ภาพ ติดตา นึกเห็นไดโ ดยนยั ขอ ๑. ๓. นึกหมายภาพอสภุ ะขน้ึ ในใจ ใหปรากฏเปน ภาพท่ีนาเบอื่ หนายในหวงนึกของตวั เอง โดยทไ่ี มต อ งไปดอู สุภะก็ได. เมอ่ื จะเจริญกรรมฐาน พงึ ปฏิบตั ิตนโดยนยั ทีก่ ลา วไวใ นเร่ืองกสิณ. อนุสสติ คอื การนึกถึงบคุ คลและธรรม หรอื ความจริงอันจะกอใหเกดิ ความเล่ือมใส ความ ซาบซ้งึ เหตผุ ล หรือความสงบใจอนั ใดอนั หนงึ่ เปนอบุ ายวธิ ที พี่ ระผมู ีพระภาคเจา ทรงวางไวให สาธุชนทวั่ ไปท้งั บรรพชติ ท้ังคฤหัสถ ก็ปฏิบัติไดสะดวก แมจ ะมีภารกจิ ในการครองชพี หรือธุรกิจ ของหมูคณะ ของพระศาสนาลน มอื ก็อาจปฏบิ ตั ิได เพราะเปน อารมณทหี่ าไดง า ยสะดวกสบาย และทาํ ไดในทีแ่ ทบทกุ แหง ทง้ั ในบาน ทงั้ ในปา ท้ังในทีช่ ุมชน เวนอานาปานสติขอ เดยี วท่จี าํ ตองทํา ในท่ีสงัดเงยี บ ปลอดโปรง จึงจะสําเรจ็ ผล อนุสสติ มี ๑๐ ประการ คือ ๑. พทุ ธานสุ สติ นกึ ถงึ พระพุทธเจา คอื บุคคลผหู นึง่ ซ่ึงเปน อจั ฉรยิ มนุษย เปนผูม ีคุณธรรม สงู สุดนาอศั จรรย และนาเคารพบูชา เปน พระบรมศาสดาผชู ม้ี รรคาแหงความพน ทกุ ขแกเ วไนย นกิ ร เปนผูสอ งโลกใหส วาง ฯลฯ ใหน กึ ดว ยความเลอ่ื มใสไปในพระพทุ ธคณุ ตา งๆ ตามทต่ี นไดส ดบั มา โดยเฉพาะทข่ี นึ้ ใจกค็ ือพุทธคณุ ๙ บท มี อรหํ เปนตน บทใดบทหน่งึ หรือทั้งหมด. ๒. ธมั มานุสสติ นึกถงึ พระธรรม คอื สภาวะทีจ่ รงิ แท อันพระบรมศาสดาทรงคนพบ แลว นํามาบัญญัติส่ังสอน เปน ภาวะละเอียดประณีต ดาํ รงความจริงของตนยง่ั ยืน ไมเ ปล่ยี นแปลง เปน สภาวะที่เทีย่ งธรรมไมเ ขา ใครออกใคร ใครปฏิบตั ิผดิ ธรรม ก็ไดรับโทษเปน ทกุ ข ใครปฏิบตั ิถูกธรรม ทพิ ยอาํ นาจ ๔๑
กไ็ ดรับอานสิ งสเ ปน สขุ เปน เชนนี้ทุกกาลสมัย ไมม ีใครเปลย่ี นแปลงหรือลบลา งความจรงิ อนั นไี้ ด ฯลฯ โดยเฉพาะแลว พงึ นึกไปตามพระธรรมคุณ อันเปนทข่ี ึ้นใจ ๖ บท มี สฺวากขฺ าโต ภควตา ธมโฺ ม เปน ตน บทใดบทหน่ึงหรือทง้ั หมด. ๓. สังฆานสุ สติ นึกถึงพระสงฆ คือชนหมูหนง่ึ ซึง่ เปน พระสาวกของพระผมู พี ระภาคเจา เปนผทู ป่ี ฏบิ ัติตามแบบแผนสิกขาสาชพี ของสมณะทพี่ ระบรมศาสดาทรงบญั ญตั ไิ วเ ปนอยา งดี ถงึ ความเปน สกั ขพี ยานของพระบรมศาสดาจารยในธรรมทีท่ รงบญั ญตั ไิ ว คอื เปนผปู ฏิบตั ิตามได และ ประจักษผลสมจริงตามที่ทรงบัญญตั ิไวน ้ัน มอี ยู ๔ จําพวก คือ (๑.) พระโสดาบัน (๒.) พระ สกิทาคามี (๓.) พระอนาคามี (๔.) พระอรหันต เปน บคุ คลที่นา กราบไหวเคารพสักการบูชา เปน นาบุญของชาวโลก ฯลฯ โดยเฉพาะพึงนึกไปตามคณุ บทของพระสงฆ ๙ บท มี สุปฏิปนโฺ น ภควโต สาวกสงโฺ ฆ เปน ตน บทใดบทหนึ่งหรอื ท้ังหมดกไ็ ด. ๔. สีลานสุ สติ นกึ ถึงศลี คอื คณุ ชาติอนั หนง่ึ ซ่ึงมลี ักษณะทาํ ใจใหเ ปนปกติ-ใหเ ยน็ -ใหไ ม เดือดรอ นกินแหนงใจ และควบคมุ ความประพฤติทางกาย ทางวาจาใหป ราศจากโทษ แผค วามสงบ สุข-ความรมเย็นไปยังผอู น่ื -สัตวอ ื่นๆ ทั่วไป แลวนึกถึงศลี ของตนที่ตนไดปฏบิ ตั ิรักษาอยูนั้นวา ปฏบิ ัติรกั ษาไดด เี พียงไร. ๕. จาคานสุ สติ นึกถงึ ทานบริจาค คอื คุณชาตอิ ันหนงึ่ ซง่ึ มลี ักษณะทาํ ใจใหก วา งขวาง-ให เกิดเมตตากรณุ า-ใหกลาสละของรักของหวงแหนเพือ่ ประโยชน เปน คณุ ชาตทิ ค่ี า้ํ ชูโลกใหดาํ รงอยู ในสันตภิ าพ-สนั ติสุข โลกดาํ รงความเปนโลกที่มสี ขุ พอสมควร ดวยอํานาจความเสยี สละของบคุ คล แตละบคุ คลพอสมควร หากโลกขาดทานบริจาคคํา้ จนุ โลกจะถึงความปนปวนและลมจม ชวี ิตของ มนุษยแ ตละชีวิตท่เี ปน มาได ก็ดวยอาํ นาจทานบริจาคของบิดามารดาหรอื ผอู ุปถมั ภ ไมมีชวี ิตใดท่ี ปราศจากการอุปถัมภอุมชขู องผูม ีเมตตาแลว ดํารงอยูได แลวพึงนึกถงึ ทานบรจิ าคของตนเองวา ตน ไดสาํ นกึ ในคณุ ทานบริจาคและไดท ําทานบรจิ าคมาแลวอยา งไรบาง. ๖. เทวตานุสสติ นึกถึงเทวดา หรือบคุ คลผทู าํ ความดีดวยกาย-วาจา-ใจ แลวอบุ ตั ิข้ึนใน สวรรค ถึงความเปนผูบรบิ รู ณดว ยกามคณุ อนั เปน ทิพย เลิศกวา ประณตี กวา กามคณุ อนั เปนของ มนษุ ย แลว นึกถงึ คุณธรรมทีอ่ าํ นวยผลใหไ ปเกดิ ในสวรรค มีศรัทธาความเชอ่ื กรรมวา ทําดีไดด ี ทํา ชว่ั ไดชว่ั เปนตน แลว นึกเปรยี บเทียบตนกับเทวดาวามีคุณธรรมเหมอื นกันหรอื ไม. ๗. อุปสมานสุ สติ นึกถงึ พระนพิ พาน คอื ธรรมชาติอันสงบประณตี อนั หน่งึ ซึง่ เม่ือถงึ เขา แลว ยอ มหมดทุกข-หมดโศก-หมดโรค-หมดภัย มใี จปลอดโปรงเย็นสบาย หมดความวุนวาย- กระเสอื กกระสนทรุ นทุราย ตัดกระแสวงกลมไดขาดสะบัน้ ไมตองหมุนไปในคตกิ าํ เนดิ เกิดแกตาย อกี เลย. ธรรมชาตินัน้ พระบรมศาสดาทรงคนพบดวยพระองคเอง แลว นํามาบญั ญตั เิ ปด เผยให ปรากฏขนึ้ และบอกแนวทางปฏบิ ตั ิไวเปนอยางดี เพือ่ ใหเขา ถึงธรรมชาตนิ ั้น. ธรรมชาติน้ันเปน อมตะ-มสี ุข-สนิ้ สดุ ซ่ึงเปน สง่ิ ตรงกันขามกบั โลก โลกมีลกั ษณะทเี่ รียกวา “ตาย” คือความแตก-ขาด-ทําลาย เปนลกั ษณะประจําตัว โลกมีลกั ษณะทเ่ี รียกวา “ทุกข” คือ ความลาํ บาก-คบั แคนบีบค้นั เปนลกั ษณะประจําตวั โลกมลี ักษณะที่เรียกวา “ไมแ น” คือมคี วาม เปลย่ี นแปลง ไมส ้ินสุด-ไมหยุดยง้ั เปนลกั ษณะประจาํ ตวั โลกเปนดานนอก พระนิพพานเปนดา น ทพิ ยอาํ นาจ ๔๒
ใน คนสามญั มองเห็นแตด า นนอกไมมองดานใน จึงไมไ ดค วามเย็นใจ เมอื่ ใดบุคคลมามองดา นใน ศกึ ษาสําเหนียกดวยดี พินิจดว ยปญ ญาอนั บริสทุ ธิแ์ ลว เมอื่ น้นั เขาจะพบเห็นธรรมชาติอันปราศจาก ทุกข คือ พระนิพพาน. ในท่ีใดมีทกุ ข ความสนิ้ ทุกขก จ็ ะตอ งมใี นทนี่ ้ัน ก็ในทใ่ี ดมีความรมุ รอน ความส้ินแหง ความ รุมรอ นจะตอ งมีในที่น้นั ความยอ คือเมือ่ มีรอ นก็ยอ มมเี ย็นแก มีมดื กย็ อ มมสี วา งแก เมอ่ื มีทกุ ขก็ จะตอ งมีสขุ แกเปน แท. การนึกถงึ พระนพิ พานโดยบดั นกี้ ็ดี โดยนยั ทีต่ นไดศ ึกษาเลาเรยี นมาจากตําราแบบแผนก็ดี จกั เปนอบุ ายทาํ ใจใหส งบเย็นลงได. ๘. มรณานุสสติ นกึ ถงึ ความตาย คอื สภาวะที่จริงแทอนั หนึง่ ซ่ึงเมอ่ื มาสชู วี ติ แลว ทาํ ให ชีวติ ขาดสะบัน้ ลง แตกอนเคยไปมาได ด่ืมกินได นงั่ นอนได ทํากจิ ตา งๆ ได หัวเราะและรองไหไ ด คร้ันมรณะมาถงึ แลว กิริยาอาการเหลานั้นยอมอันตรธานไปทันที มรณะน้ีมีอํานาจใหญย่งิ ท่ีสดุ ไม มมี นษุ ยคนใดเอาชนะมนั ได นกั วิทยาศาสตรท เ่ี กงที่สดุ กย็ งั ไมสามารถเอาชนะมันได พระบรมครู ของเราไดร ับยกยองวา เปนยอดปราชญม อี าํ นาจใหญย งิ่ กวา เทวาและมนุษยหลายเทา พนั สว น ทรง ยนื ยนั พระองคว า “บรรลุถึงธรรมอันไมตาย” ก็ยงั ทรงตอ งทอดทง้ิ พระสรีรกายไวใ นโลก ใหเ ปน ภาระแกพ ุทธบริษทั จัดการถวายพระเพลิง มพี ระบรมธาตเุ ปน สักขีพยานอยใู นปจจบุ ันน้ี. ใครเลา ที่ไมตองตาย? ตลอดกาลอนั ยืดยาวนานของโลกน้ี มีคนเกิดคนตายสืบเน่ืองกันมาจนนับประมาณ ไมถ ว นแลว มใี ครบา งซง่ึ เกดิ แตแ รกมีมนุษยใ นโลกยง่ั ยนื มาจนถงึ บัดน.ี้ อนึ่ง ความตายน้ี จะมาสชู วี ิตของบคุ คลโดยไมมนี มิ ิตบอกเหตุลว งหนา ดว ย ไมมใี ครกาํ หนด รูวนั เวลาตายของตนไดล วงหนานานๆ ท่ีจะไดมีเวลาเตรยี มตัว และกะการงานใหทนั กาํ หนด ฉะนนั้ จึงไมค วรวางใจในชวี ิต กจิ ใดที่ควรทํา ควรรบี ทํากจิ นน้ั เสยี อยา ผดั วนั ประกนั พรงุ . การนกึ ถึงความตายแลว เกิดใจฝอ หมดเยือ่ ใยในชีวติ ไมอยากจะทาํ กิจอะไร งอมืองอเทา รอคอยความตายเชนน้ี ไมสําเร็จประโยชน เปนการคิดผดิ พงึ กลบั ความคดิ เสยี ใหม พึงนกึ ถึงความ ตายแลว เตือนสตติ นใหต่ืนตัวขึ้น ไมป ระมาทหลับใหลอยู รีบทํากรณียท ีค่ วรทําใหทนั เวลา รีบ พากเพียรชาํ ระลางจิตใจของตนใหส ะอาด ปราศจากกิเลส กอ นความตายมาถงึ ดงั นี้จงึ จะสําเร็จ ประโยชนตามความประสงคของกรรมฐานบทน.ี้ ๙. กายคตาสติ นกึ ถึงสิ่งเปนกาย คือสวนหนึง่ ๆ ซึง่ ประกอบกันขน้ึ เปน อตั ภาพรางกาย ท่ี เรียกวา อาการ ๓๒ ไดแก ผม ขน เล็บ ฟน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดกู มาม หัวใจ ตับ พงั ผดื ไต ปอด ไสใ หญ ไสนอ ย อาหารใหม อาหารเกา ดี เสลด หนอง เลือด เหงอื่ มนั ขน นํา้ ตา มันเหลว นาํ้ ลาย น้ํามกู ไขขอ มตู ร สมอง๑ นึกถึงสิง่ เหลาน้แี ตล ะสว นๆ โดย วณฺโณ-สี คนโฺ ธ-กล่ิน รโส-รส โอโช-โอชะ สณฺฐาโน-สัณฐาน ใหป รากฏชัดเจนแกใจ. ขน้ั แรกพงึ ทองจาํ อาการ ๓๒ น้ีใหแ มนยํา วาไดท ้ังตามลาํ ดบั ทง้ั ทวนลาํ ดับ ขนั้ สอง สาํ เหนยี กลักษณะของอาการ ๓๒ น้ันแตล ะส่ิง โดยสี กล่นิ รส โอชะ สัณฐาน ขั้นสามพึงดขู องจรงิ .......................................................................................................................................................... ๑. บางอาจารยวา เย่ือในสมอง. ทิพยอาํ นาจ ๔๓
ใหเ หน็ ดว ยตาแมสกั อยา งหนง่ึ พอใหเ ปน ภาพตดิ ตาไวบาง ข้นั ส่ีทําการนกึ ถึงอาการ ๓๒ นีท้ ัง้ หมด ไปตามลาํ ดับ แลว ทวนกลบั หลายๆ เท่ียว ข้นั หาเมอื่ อาการใดใน ๓๒ น้ันปรากฏชดั เจนแกใจ ที่สดุ พึงถือเอาอาการนน้ั ทาํ การนึกเหน็ ใหมากติดตอ เรือ่ ยๆ จนเกดิ เปนภาพชัดเจนทสี่ ดุ ขยายใหใหญ ใหมากไดต ามตองการ ชอื่ วา สาํ เร็จกายคตาสติแลว . กายคตาสติน้ี พระผมู ีพระภาคทรงพรรณนาอานิสงสไวมากมาย มอี ํานวยผลใหสาํ เร็จ อภญิ ญา ๖ ปฏสิ ัมภทิ า ๔ เปนตน . ๑๐. อานาปานสติ นกึ ถงึ ลมหายใจเขา ออก คอื สภาพปรุงแตงกายใหด าํ รงสืบตอไปได เมือ่ ใดสภาพนหี้ ยุดชะงกั ไป ไมทาํ การสบื ตอ เมอ่ื นน้ั ชวี ติ ก็ขาด ท่ีเรียกวาตาย วญิ ญาณธาตุอนั อาศัยอยูใ นรา งกายกอ็ อกจากรางไป นว้ี า โดยลกั ษณะสามญั สว นลกั ษณะพเิ ศษนน้ั อาการไม หายใจยอ มมไี ดแกบุคคล (๑.) ผูอยูในครรภมารดา (๒.) ผูดํานาํ้ (๓.) ผสู ลบชนดิ หนึ่ง และ (๔.) ผู เขาจตตุ ถฌาน ในเวลาปกตยิ อมตอ งมอี าการหายใจ คือ สดู ลมเขา สูรา งกาย ผายลมออกจาก รางกายเสมอ แมใ นเวลาหลับ สภาพปรงุ แตง กายนีก้ ท็ ําหนา ที่อยูเรื่อยๆ ไป. วิธปี ฏิบัติในกรรมฐานบทนี้ พงึ อยูในปา ในรมไม หรือในท่ีวาง ซงึ่ เปนท่สี งดั อากาศโปรงเย็น สบาย อาบนาํ้ ชําระกายใหสะอาด นุงหมผาสะอาด ปราศจากกลนิ่ เหมน็ สาบ นง่ั ในทา ท่ีเรยี กวา บัลลังก ตั้งกายใหต รง ดาํ รงสติใหม นั่ กาํ หนดลมหายใจเขา-ออก อันเปนไปอยูโดยปกติน้ันใหรทู ัน ท้ังเวลาลมเขา เวลาลมออก แลวกาํ หนดระยะเวลาลมเขาออกสัน้ ยาวใหร ูทัน ตอ น้ันกําหนดท่ีทีล่ ม สมั ผสั คอื ตนลมสมั ผสั ทีป่ ลายจมกู กลางลมสัมผสั ทที่ รวงอก ปลายลมสมั ผัสทต่ี รงสะดือ ในเวลา ลมออกตรงกันขามกบั ท่กี ลาวมานี้ คอื ทวนลาํ ดบั ออกไป ในระยะแรกๆ สติจะปรากฏประหนึ่งวา แลนไปตามอาการของลมเขาลมออก แตเม่อื ทําไปนานๆ ในระยะตอๆ ไปสตจิ ะใหญโ ตครอบคลมุ รางกายแมทงั้ หมดไว จะไมมีอาการแลนตามอาการอกี ตอ ไป และลมหายใจกจ็ ะปรากฏละเอยี ด เขาทกุ ที จนปรากฏวาไมม ใี นท่ีสดุ จะเหน็ วา ลมปรงุ กายซา นอยูทั่วทุกสวน แมก ระทัง่ ปลายเสนขน เมื่อมาถึงขน้ั นีช้ อื่ วาไดผลในการเจริญอานาปานสตกิ รรมฐานขนั้ ตนแลว พึงเจริญใหแคลวคลอง เชยี่ วชาญตอ ไป. อานาปานสตกิ รรมฐานนี้ สามารถตดั กระแสวติ กไดดี เหมาะสําหรบั คนวติ กจรติ คอื คน ชอบคิดชอบนึก เปน กรรมฐานสุขุม ประณตี เหมาะสาํ หรบั มหาบุรุษ พระบรมศาสดาทรงบําเพ็ญ กรรมฐานขอ น้มี าก เวลาทรงพกั ผอ น ท่เี รยี ก “ปฏิสลั ลนี วิหาร” ก็ทรงอยดู ว ยอานาปานสตสิ มาธิ วิหารเสมอ ทรงแสดงอานสิ งสข องกรรมฐานบทน้ีไวมากมายวา กายก็ไมล าํ บาก จักษกุ ไ็ มล าํ บาก จิตกพ็ น จากอาสวะ ละความคิดเกีย่ วกบั เสยี งทเ่ี คยชินได กาํ หนดนาเกลียดในสง่ิ ไมนาเกลียดได กําหนดไมน าเกลียดในส่ิงนาเกลยี ดได กําหนดนา เกลียดไดทั้งในสิ่งไมน า เกลยี ด ทงั้ ในสง่ิ ไมน า เกลยี ด กําหนดไมนา เกลยี ดไดทั้งในสงิ่ นาเกลียด ทั้งในส่งิ ไมน า เกลียด ไดฌานสมบัตโิ ดยไมย าก ตงั้ แตฌานที่ ๑ ถงึ สัญญาเวทยิตนิโรธ กาํ หนดรูเวทนาไดด ี ไดบรรลอุ รหัตตผล หรอื อนาคามีใน ปจ จบุ ัน ฯลฯ. อาหารเรปฏกิ ลู สญั ญา กําหนดความนา เกลียดในอาหาร สง่ิ ที่เรานํามากลนื กินเขา ไปบํารุง เล้ยี งรางกายเรียกวา อาหาร โดยปกติเปน ส่ิงที่เราไมเกลียด ถา รสู ึกเกลียดข้นึ เมอ่ื ไร ก็จะกลืนเขาไป ทพิ ยอํานาจ ๔๔
ไมไดเมื่อนัน้ ส่ิงท่เี ราไมเ กลียดนั้นเปนเคร่ืองสองใหร ูวา เรามฉี ันทะราคะในสิ่งนน้ั อยแู ลว อาหาร ที่เราพอใจเราก็จะอยาก เมอื่ ความอยากรุนแรงกก็ อ เกดิ ความโลภและทุจริตเปน ลาํ ดับไป อาหาร เปนสิง่ ทีเ่ ราตอ งกินทุกวัน ถา เราไมพจิ ารณาใหดีกจ็ ะเปนปากทางใหบ าปอกุศลไหลเขาตัวเราทุกวัน ฉะนั้นจึงควรกาํ หนดความนา เกลยี ดในอาหาร เพ่อื ตดั ตนเหตแุ หงบาปอกศุ ลเหมอื นตดั ตนไฟแตหวั ลมฉะนน้ั ทีจ่ ะเหน็ ความนาเกลยี ดของอาหารได ตองกําหนดเทยี บเคียงเวลาทั้งสอง คือเวลาเขา กบั เวลาออก ไดแกเวลากนิ กบั เวลาถาย เวลากนิ รวมหมูก นั กนิ ได เวลาถายจะทําเชนนั้นไมได นา เกลยี ด ฯลฯ พงึ เพง ดอู าหารท่ีระคนอยใู นภาชนะเทยี บกับอาหารเกาในทอ ง และในเวจกฎุ วี า มี สภาพเหมือนกันหรอื คลา ยคลงึ กัน แตนน้ั ก็จะเกดิ ปฏิกลู สญั ญาขึน้ แทบจะกลนื กนิ อาหารนั้นไมไ ด แตตอ งขืนใจกินดว ยนกึ เพียงวา เปนเคร่ืองยงั ชพี ใหสืบตอไป โดยนยั นี้ความอยากความติดรส อาหาร ความโลภอาหารและความทุจริตเนอื่ งดวยอาหารกจ็ ะบรรเทาเบาบางลง และหายไปโดย ลาํ ดบั จิตใจยอ มสงบระงบั ไมด ิน้ รน จดั วา ไดผ ลในกรรมฐานขอนีใ้ นข้ันตนแลว พึงเจรญิ ใหมาก ให ชํานิชํานาญสืบไป. จตุธาตุววัตถาน กาํ หนดธาตุ ๔ คือ ธาตุดิน ธาตุนาํ้ ธาตไุ ฟ ธาตุลม อันมีอยใู นกายของตน โดยกาํ หนดเอาวา สงิ่ ทีม่ ีลักษณะแขนแข็งในรางกายรวมเปน ธาตุดนิ สิ่งทมี่ ีลักษณะเอบิ อาบซึม ซาบไหลไปมาไดใ นรางกายรวมเปนธาตนุ ํ้า ส่งิ ท่ีมลี ักษณะรอนอบอนุ ในรา งกายรวมเปนธาตไุ ฟ ส่งิ ท่ีมลี ักษณะพดั ไปมาในรางกายรวมเปนธาตลุ ม กาํ หนดใหม องเห็นส่ิงน้นั ๆ ชัดเจน จนเห็นชัดใน ใจวา กายนเี้ ตม็ ไปดวยธาตุท้ัง ๔ หรือเปนกลมุ ธาตุท้ัง ๔ แลวกําหนดส่งิ ทมี่ ลี ักษณะเปนธาตุดิน น้ํา ไฟ ลม ในภายนอก ทม่ี าสัมผัสเขา กบั กายน้ี หรือทีเ่ ราตองกนิ ดมื่ ใชสอยอยูท ุกวันนั้นวา เปนแต ธาตุทัง้ สิ้น จนเหน็ ชัดขึ้นในใจวา “ธาตกุ ินธาตุ” เม่ือใด เมือ่ น้ันช่อื วา ปฏบิ ัติกรรมฐานนี้สาํ เรจ็ ผล ในขัน้ ตน แลว พงึ ปฏิบตั ใิ หช ํานิชาํ นาญตอ ไป. พรหมวหิ าร อยอู ยา งพรหม บุคคลจําพวกหน่ึงซ่งึ ทําความดแี ลว ไดอุบตั ิในพรหมโลก เรียกวาพรหม พรหมนัน้ มีใจสะอาด น่มิ นวล ออนโยน ควบคมุ ใจไวในอํานาจไดดี มคี ุณธรรม ประจาํ ใจ ๔ ประการ คือ เมตตา กรณุ า มุทิตา และอุเบกขา ธรรม ๔ ประการนีจ้ ึงไดน ามวา “พรหมวหิ าร” การอบรมใจโดยยึดเอาลกั ษณะของพรหมเปน ตัวอยา ง และปลกู ธรรม ๔ ประการ น้ันขึ้นในใจของตน ทาํ ตนใหเ หมือนพรหม เรียกวาเจริญพรหมวิหาร พึงเจรญิ ไปตามลาํ ดบั ขอธรรม ๔ ประการ คอื ๑. เมตตา ความรกั ที่บริสุทธ์ิ มีลกั ษณะมงุ ดี หวงั ดี ตรงกันขามกบั ความขึ้งเคียดเกลียดชัง และเปน ความรกั ท่ีปราศจากกามราคะ (คือความกาํ หนดั ) เปนชนิดความรกั ระหวางมารดาบิดากับ บตุ รธิดา. ๒. กรุณา ความเอ็นดู มีลักษณะทนดูดายไมไ ด พอใจชวยเหลือเก้อื กลู ใหเ ขาไดร ับสุข โดย ไมเ หน็ แกเหนื่อยยากและส่งิ ตอบแทน ตรงกันขา มกับความพยาบาทมาดรา ย. ๓. มทุ ติ า ความช่ืนใจ มีลกั ษณะราเริงช่ืนบาน พลอยมีสวนในความสขุ ความเจรญิ ของ ผูอื่น ตรงกนั ขามกับความริษยา ซึง่ ไมอ ยากใหใครไดดมี สี ขุ กวา ตนหรอื เทา เทยี มตน. ทพิ ยอํานาจ ๔๕
๔. อุเบกขา ความเทีย่ งธรรม มลี ักษณะเปน ผใู หญใ จหนักแนน รจู ักส่งิ เปน ได-เปนไมได ดี แลว มองเห็นความเปนไปตามกรรมของสัตวแจง ชัดในใจ ควรชวยก็ชว ย ไมควรชว ยก็ไมชว ย เปน ผูรจู กั ประมาณ ทําใหค ุณธรรม ๓ ขอ ขา งตนสมดลุ กันดวย ใจจะสงบเยน็ ดวยคณุ ธรรมขอ นีอ้ ยา ง มากทีเดยี ว จึงสามารถขมกามราคะไดอ ยางด.ี วธิ ีปฏบิ ตั ิ ปลกู คุณธรรม ๔ ประการนข้ี ึน้ ในใจทลี ะขอกอ น ทาํ ใจใหมลี กั ษณะตาม คณุ ธรรม ๔ ประการนีท้ ีละขอ แลว แผน ํา้ ใจเชน นั้นไปยังผอู ื่น ต้ังตน แตค นทีเ่ รารักอยูแลว (เวน คน ตางเพศกัน) ไป คนท่เี ปนกลาง – คนท่ีเกลียดชัง – คนทั่วไป – สตั วท่ัวไปตลอดสากลโลกทุกทศิ ทุกทาง เมอ่ื ปฏบิ ัตไิ ดถึงขั้นน้ีช่ือวาสําเร็จอปั ปมัญญาเจโตวมิ ตุ ติ ใจจะมีอทิ ธพิ ลเกิดคาดหมาย กาํ จัดศัตรูภาพไดด ี กรณุ าพละกาํ จัดทารุณภาพไดด ี มุทิตาพละกาํ จดั ความทุกขโ ศกของผูอ่ืนไดดี อุเบกขาพละกาํ จดั กามราคะในเพศตรงกนั ขามไดดี สตรีกบั บุรษุ ผูม ีอเุ บกขาพละจะเปน มติ รสนิท สนมกนั ได โดยไมละเมิดอธิปไตยของกันและกนั . อรปู กรรมฐาน คอื สง่ิ มิใชรปู เปนนามธรรมทปี่ รากฏแกใจ หรือทร่ี สู กึ ไดดวยใจ ทา นให นาํ มาเปน บทบริกรรม คือเปน ขออบรมจติ ใหสงบ มี ๔ ประการ คือ ๑. อากาศ ไดแกความเว้ิงวา ง-วางเปลา -ปลอดโปรง-ไมมีท่สี ิน้ สุด-ไมต ิดขดั ไมอ าจมองเห็น ไดด ว ยตาเนื้อ และไมอาจสมั ผสั ไดด วยกาย ส่งิ ที่เห็นไดห รือสัมผสั ไดในอากาศนัน้ เปน อากาสธาตุ คือธาตุในอากาศ เชน กอนเมฆ หรือละอองนํ้า ฯลฯ ๒. วิญญาณ ในที่นไี้ ดแกธ าตุรู ซึง่ เปน ธาตุวิเศษศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ มรี ูเปนลกั ษณะ ประกอบดวย แสงสคี ลายเปลวไฟฉะนนั้ ธรรมดาเปลวไฟยอมมีความรอ นเปน ลกั ษณะ ประกอบดว ยแสง-สี คอื มี แสงสวา งสีตางๆ ฉนั ใด วญิ ญาณก็มี “ร”ู เปนลักษณะ ประกอบดว ยแสง-สี คือมแี สงสวาง สตี างๆ ฉนั น้ัน วญิ ญาณท่ยี ังมสี ี เปนวญิ ญาณที่ยังไมบ ริสุทธ์ิ วญิ ญาณที่ปราศจากสี เปนวญิ ญาณที่ บรสิ ทุ ธ์ิ ซงึ่ มลี กั ษณะใสบรสิ ุทธิ์ดุจแกวมณีโชติ. ๓. ความไมมีอะไร ไดแ กความโปรงใจ ปราศจากความอึดอดั -ความคบั แคน-ความราํ คาญ เหมือนหนึง่ ตนคนเดียวอยโู ดดเดย่ี วในสญุ ญวิมาน ฉะน้นั . ๔. ความสงบ ความประณตี ไดแกค วามดาํ รงมั่นคงของจติ ละเอียดออน ประณีต สละสลวย ไมเปนคล่ืนระลอก กระฉอกกระฉอ นวูบวาบ. วิธีปฏิบตั ิ วางสญั ญาในอารมณตางๆ ทัง้ ท่ีเปนรูปและอรูปเสีย กําหนดจติ ใหอยูในอารมณ อันเดียว คือ อรปู กรรมฐานนี้อันใดอันหนงึ่ เม่ือวางสญั ญาในอารมณต า งๆ ได และจติ กาํ หนดจด จอ อยูแตอ ารมณอันเดียวน้ีได แมจ ะดาํ รงอยูไดเ พยี งชั่วขณะหนง่ึ ก็ชอ่ื วาสาํ เร็จอรูปฌานนแี้ ลว พึง ฝกหัดใหเชี่ยวชาญชํานาญยงิ่ ขึ้นไป. อรปู ฌานน้ี เปน ฌานประณตี โดยอารมณ เรียกชอื่ เชนน้ีตามอารมณท เี่ ปนอรูปเทานั้น เขาใจกนั โดยมากวา ผูจะเจรญิ อรปู ฌานนีไ้ ดจะตอ งเจริญรูปฌานสําเรจ็ มากอ น ความจรงิ อรูป กรรมฐานน้ี เปน อารมณของสมถะชนิดหนง่ึ แตเปนอารมณละเอียดประณีตกวารูปกรรมฐาน เทานั้น เม่อื เปนเชนนี้ จะจับตงั้ ตน เจรญิ อรปู กรรมฐานทีเดยี วก็ยอ มจะได เปนแตทําไดยากสกั หนอ ย ไมเ หมอื นผูเ คยผานรูปกรรมฐานมากอ น. ทพิ ยอํานาจ ๔๖
ความแปลกกันแหงอากาสกสณิ กบั อากาสฌาน นอี้ ยทู ีอ่ ากาสกสณิ เพง วงกลมอากาศ พงุ ออกไปขางนอก สว นอากาสฌานเพง อากาศโดยไมกาํ หนดขางหนาขา งหลงั วางจิตเปน กลาง ใสใ จ แตอ ากาศอยางเดยี ว เม่ือจติ สงบกจ็ ะเหน็ มีแตอากาศเวง้ิ วา ง ไมม ขี อบเขตจาํ กัด ไมม อี ะไรซ่งึ เปน รูปธรรมปรากฏในความรูส กึ ในขณะน้ัน ปรากฏประหนึง่ วา ตนคนเดียวอยโู ดดเดยี่ วในนภากาศ ฉะนั้น อรูปฌานนี้จะไวก ลา วพสิ ดารในบทขางหนา . สมถกรรมฐาน ๔๐ ประการน้ี แยกออกเปน ๒ ประเภท คอื รปู กรรมฐาน และอรูป กรรมฐาน ฌานทส่ี ําเร็จข้นึ โดยอาศัยรูปกรรมฐานเปนอารมณ เรยี กวารปู ฌาน ฌานทส่ี ําเร็จขนึ้ โดยอาศยั อรูปกรรมฐานเปนอารมณเรียกวา อรปู ฌาน. และทานแบงออกโดยกจิ เปน ๒ ประเภทเหมอื นกัน คอื กรรมฐานทเี่ ปนอารมณช นิดใช ความคดิ คํานึงใครค รวญเหตุผลเขาประกอบเพือ่ อบรมจติ ใหส งบน้นั ประเภทหนึง่ ผูบําเพ็ญสมถ- กรรมฐานประเภทนเ้ี รยี กวา “วปิ สสนายานิก” ซ่ึงมคี วามหมายวา ผบู าํ เพญ็ ภาวนาทอ่ี าศยั ความเหน็ เหตุผลหรือความจริงในกรรมฐานขอ นน้ั ชัดใจ เปน พาหนะนําจติ ไปสูความสงบ อกี ประเภทหนงึ่ คอื กรรมฐานที่เปน อารมณสงบ-ประณตี โดยธรรมชาติ ไมตอ งใชความคิดคาํ นงึ ใครครวญเหตุผลเขาประกอบ เพียงแตก ําหนดน่งิ สําเหนียกอยแู ตในอารมณเดียวนั้นเรอ่ื ยไปจนจติ สงบลง ผูบาํ เพ็ญสมถกรรมฐานประเภทนี้ เรียกวา “สมถยานิก” ซึ่งมีความหมายวา ผูบําเพ็ญ ภาวนาที่อาศยั ความสงบเปน ยานพาหนะนําจิตไปสคู วามสงบ ทา นจะเลอื กบาํ เพญ็ ประเภทไหนก็ แลว แตจรติ อธั ยาศยั ของทานจะเหมาะกับกรรมฐานประเภทไหนเปนประมาณ จะถอื เอาความยาก งายเปนประมาณหาไดไ ม ฉะนน้ั กอนแตทา นจะเลือกกรรมฐานบทใดมาเปน บทบรกิ รรม คอื ขอ อบรมจติ น้นั ควรตรวจจรติ อัธยาศัยของตนใหร ูแนชัดเสียกอ น ดังตอไปนี้. จริต ๖ พระบรมศาสดาทรงจาํ แนกจริต คอื กเิ ลส และคณุ ธรรมทที่ องเที่ยวอยูในจติ ใจของบุคคล ฝา ยละ ๓ รวมเปน ๖ ประการ คอื ๑. ราคจริต คนกาํ หนัดกลา มีราคะ คือความกาํ หนดั ในกามคุณทอ งเที่ยวอยูในจิตมาก จนเปน เจาเรือน คอื ครองความเปนใหญใ นจิตใจ ดลใจใหกาํ หนัดในกามคุณมาก ติดพนั ในกามคณุ จนถงึ ลุม หลงมวั เมา ราคะเปน ประดุจหนามยอกใจ การแกร าคะก็ตอ งใชวริ าคะ คอื หนามวิเศษ เหมอื นหนามยอกก็เอาหนามบง ฉะน้ัน ราคะต้งั ลงท่ีกามคุณ คอื รูปสวยงามนารักนา ชนื่ ใจ, เสยี ง ไพเราะ, กลนิ่ หอม, รสอรอ ย, สัมผสั นมุ ละเอยี ดออน ราคะทาํ ใหมองไมเ ห็นตําหนิที่นาเบ่อื หนา ย ของกามคณุ ซ่งึ มอี ยโู ดยธรรมดาแลว วธิ ีแกจึงตองพลกิ เหลย่ี มขน้ึ มองดคู วามนาเบอ่ื หนา ยนา เกลยี ดอันมอี ยใู นกามคุณนั้น ฉะน้ันกรรมฐานเนอื่ งดวย อสภุ ะ-ปฏิกลู จงึ เปน สัปปายะ คือเหมาะ แกค นราคจรติ เปนไปเพ่ือความเจริญ แมปจจยั เลีย้ งชพี กต็ อ งเปน สง่ิ ปอนๆ-เศราหมอง-หยาบ จงึ จะเปน ไปเพื่อถอนราคะออกจากใจได. ทพิ ยอาํ นาจ ๔๗
๒. โทสจริต คนใจราย มีโทสะ คือความดรุ ายทองเทย่ี วอยูในจติ ใจมากจนเปน เจาเรือน คอื ครองความเปน ใหญใ นจติ ใจ ดลใจใหด รุ าย กร้วิ โกรธ แมใ นเหตุเลก็ ๆ นอยๆ อันไมสมควรโกรธ ก็โกรธ ประดจุ ผยี กั ษสงิ ใจฉะนน้ั ธรรมดาผียอ มกลัวเทวดาฉนั ใด อธรรมคือโทสะก็ยอ มพา ยแพแ ก ธรรมฉนั น้นั ธรรมอันจัดเปนเครือ่ งแกโทสะน้นั ตองเปน ธรรมฝายเย็น สภุ าพ ออ นโยน จึงมี ลักษณะตรงกนั ขามกบั โทสะ เมื่อโทสะซ่งึ เปรยี บเหมือนผียกั ษสิงใจอยู จงึ ควรเชญิ ธรรมซง้ึ เปรยี บ เหมือนเทวดามาสิงใจแทนทเ่ี สีย เพราะธรรมดายกั ษย อ มกลัวเทวดาฉนั ใด ธรรมจะกาํ จดั อธรรม ออกไปฉนั นัน้ ฉะนัน้ กรรมฐานอันเนือ่ งดว ยคุณธรรมฝายสงู เชน เมตตา กรณุ า ฯลฯ พุทธคณุ ธรรมคณุ สังฆคณุ ฯลฯ จึงเปนสปั ปายะ คือ เหมาะแกค นมีโทสจริต เปนไปเพ่อื ความเจรญิ แม ปจ จยั เลี้ยงชพี กต็ อ งเปน สิ่งสวยงาม-ประณีต-สขุ มุ จงึ จะเปนไปเพื่อถอนโทสะออกจากจติ ใจ. ๓. โมหจรติ คนหลง มีโมหะ คอื ความหลงทองเท่ียวอยใู นจติ ใจมากจนเปนเจาเรือน คือ ครองความเปนใหญในจติ ใจมาก ดลใจใหม ดื มัว อ้ันตู ไมรจู กั ผิดชอบช่ัวดี แมม วี ัยผา นมานานควร เปน วญิ ูชนไดแ ลว ก็ยังคงมีลักษณะนิสัยเหมือนเด็กๆ อยู และดลใจใหม องเห็นในแงที่ตรงกันขา ม กับเหตผุ ลและความจริงเสมอ ประดุจกลีสงิ ใจฉะนน้ั กลี คอื ผีชนิดหน่ึง มีลกั ษณะมดื ดํา ทาํ ใหเปน คนหลง คลัง่ เพอไปตา งๆ ปราศจากความรสู กึ ผิดชอบชั่วดใี นเมื่อมันเขา สงิ ใจ โมหะทานเปรียบ เหมือนกลนี ้ัน ผีกลกี ลัวแสงสวา ง ฉะนน้ั การแกโ มหะจึงตองอาศัยธรรมะ ซงึ่ มลี ักษณะสวาง- กระจางแจง เปนปจจัย เชน การอยูใ กลไ ดปรึกษาไตถ ามทา นผพู หูสูตเนอื งๆ ขอธรรมที่มเี หตผุ ล กระจา งในตัว ไมมแี งชวนใหส งสัย กรรมฐานที่เหมาะแกคนจําพวกน้ี ตอ งเปนกรรมฐานท่ีเน่ือง ดวยกสิณและอรูป ซ่งึ เปนอบุ ายเปด ใจใหส วาง แมปจ จยั เล้ยี งชีพก็ตองเปน ส่ิงโปรง บาง-เปด เผย- สะดวก ทอ่ี ยูถ า เปน ท่ีโปรงๆ หรือกลางแจงเปน เหมาะทส่ี ุด. ๔. สัทธาจรติ คนเจาศรัทธา มศี รัทธาความเชื่อทอ งเทีย่ วอยูใ นจติ มากจนเปนเจา เรอื น คือ ครองความเปนใหญในจิตใจ ดลใจใหเ ช่อื สิง่ ตา งๆ งายจนเกือบจะกลายเปนงมงายไป ความจริง ศรทั ธาเปนคณุ ธรรม เมอ่ื มีอยูในใจยอมหนุนใหทําความดีไดง า ยเหมือนมีทนุ สํารองอยูแลว ยอม สะดวกแกก ารคา หากําไรฉะนนั้ คนเจา ศรัทธาเปนคนใจบุญสนุ ทาน ชอบดี รักงาม ทาํ อะไรก็ ประณตี บรรจง เปน คนใจละเอยี ดออน บาํ เพญ็ กรรมฐานไดแทบทกุ อยาง แตทเ่ี หมาะทสี่ ุด คอื อนุสสติ และกรรมฐานท่เี กยี่ วกับการคิดคน หาเหตผุ ล เชน จตธุ าตุววตั ถาน ฯลฯ. ๕. พทุ ธจิ รติ คนเจา ปญญา มีพทุ ธคิ อื ความรทู อ งเที่ยวอยใู นจติ มากจนเปนเจาเรอื น คือ ครองความเปนใหญอ ยใู นจิตใจ ดลใจใหรูอะไรๆ ไดงา ยๆ จนเกอื บจะกลายเปนคนสรู ไู ป ความ จริง พุทธิ เปนคณุ ธรรมนาํ ใหร ูเหตผุ ล และความจริงไดงาย คนจาํ พวกน้ีชอบทาํ อะไรๆ ดวยความรู และก็มกั ผิดพลาดเพราะความรเู หมอื นกัน ฉะนั้น กรรมฐานอันเปนทส่ี ปั ปายะแกค นจาํ พวกนี้ ตอ งเปน กรรมฐานที่ประคับประคองจิตใจไปในเหตุผลทถ่ี ูกตอง ทาํ ใหป ญญามหี ลกั ฐานมัน่ คง เชน อุปสมานุสสติ เปน ตน. ๖. วิตกั กจริต คนเจา ความคดิ มีวิตกั กะคอื ความคิดทองเท่ียวอยูในจติ ใจมากจนเปน เจา เรอื น คอื ครองความเปนใหญในจิตใจ ดลใจใหค ิดใหอานอยเู ร่อื ย จนกลายเปนฟงุ ซานหรอื เลอ่ื น ลอยไป ความจริงวติ กั กะเปน คุณธรรม เมือ่ มีอยูในใจยอมหนุนใหเปนคนชางคิดชา งนกึ ในเหตุผล ทพิ ยอาํ นาจ ๔๘
และความจริงจากแงต างๆ เปนทางเรอื งปญ ญา แตถามากเกนิ ไปจะตกไปขา งฝา ยโมหะ กลายเปน หลงทศิ ทางไปได ทเ่ี ขาเรียกวา “ความคิดตกเหว” ไมร จู กั แกไ ขตนออกจากความผิด ไดแ ตคิดเพอ ไปทา เดยี ว กรรมฐานที่เหมาะแกคนจาํ พวกนต้ี อ งเปนกรรมฐานทไี่ มตอ งใชความคิด เชน กสณิ - อรูป และทีเ่ หมาะทีส่ ดุ คอื อานาปานสติ. จรติ ๑ – ๓ เปนอกุศลเจตสิก ๔ – ๖ เปนอัญญสมานาเจตสกิ ใกลไปขา งฝายกศุ ล คนมี จรติ ๑ – ๓ เปน เจาเรือนจงึ มกั ทําความชวั่ ใหป รากฏ สว นคนมจี รติ ๔ – ๖ เปน เจาเรอื นจงึ มักทาํ ความดีใหป รากฏ. อัธยาศัย ๖ ๑. โลภัชฌาสยะ คนมคี วามโลภเปนเจาเรอื น เปนคนมักได-ตระหน่ี-หวงแหน. ๒. โทสชั ฌาสยะ คนมีโทสะเปนเจาเรือน เปน คนดุราย โกรธงา ย ใจรอนเหมือนไฟ. ๓. โมหัชฌาสยะ คนมีโมหะเปนเจาเรอื น เปนคนหลงงายลมื งา ย ใจมดื มัว ซบเซา มึนซมึ . ๔. อโลภชั ฌาสยะ คนมีอโลภะเปนเจาเรอื น เปนคนใจบญุ สุนทาน เอื้ออารี มีใจพรอมท่จี ะ สละเสมอ. ๕. อโทสชั ฌาสยะ คนมีอโทสะเปน เจาเรือน เปน คนใจด-ี เยอื กเย็น มีใจพรอ มท่ีจะใหอภัย เสมอ. ๖. อโมหัชฌาสยะ คนมีอโมหะเปนเจา เรือน เปนคนใจผอ งแผว -เปดเผย มีใจปราศจาก มายาสาไถย พรอ มท่ีจะรับผดิ อยางหนาชืน่ ใจบาน ในเม่อื ทําความผิด. คนมีอัธยาศัยฝา ยอกุศล คือ ๑ – ๓ นน้ั เปนคนหยาบ มักทําความชวั่ หยาบทางกาย วาจา ใจ ใหปรากฏ คนมีอธั ยาศยั ฝายกศุ ล คอื ๔ – ๖ นั้น เปนคนละเอยี ด ประณตี มกี ิเลสนอ ยเบาบาง ในขนั ธสันดาน มกั ไมทําความชวั่ หยาบทางกาย วาจา ใจ ใหปรากฏ มีแตท าํ คุณงามความดีให ปรากฏทางกาย วาจา ใจ เสมอ คนจําพวกนง้ี ายแกการอบรมศลี ธรรมในขั้นสูง ถา ไมประมาทและ ไดกลั ยาณมิตรแลว อาจปฏิบตั บิ รรลมุ รรคผลนพิ พานในชาติปจจบุ ันไดงา ย. เมอื่ รวมจริตและอัธยาศยั เขากนั แลว พเิ คราะหด ูกจ็ ะไดบคุ คล ๓ จาํ พวก คอื (๑.) พวกจรติ อธั ยาศัยหยาบ อินทรยี ออน แนะนําในกศุ ลสัมมาปฏบิ ตั ยิ าก. (๒.) พวกจริตอัธยาศัยปานกลาง อนิ ทรียป านกลาง อาจแนะนาํ ในกุศลสัมมาปฏิบัตไิ ด. (๓.) พวกจริตอธั ยาศยั ประณตี อินทรยี กลา แนะนําในกุศลสัมมาปฏิบตั งิ าย. ปธานยิ ังคะ ๕ เม่ือไดพ เิ คราะหดจู ริตอัธยาศัยแลว พึงพิเคราะหด ูอัตภาพวา สมบรู ณพ รอ ม เกิดมาจากกศุ ล สมบตั หิ รือไม? เพราะถาอตั ภาพไมสมบรู ณพรอม ธาตไุ มแขง็ แรงเนอื่ งจากอกุศลสมบตั เิ ปนปจ จัย ขืนไปทําความพากเพียรอยางขะมกั เขมน เขา เกิดเจบ็ ปว ยรา ยแรงถึงธาตุพกิ าร สตวิ ิปลาสข้นึ ก็จะ ลงโทษขอ ปฏิบัติวาพาใหเ ปน เชนน้ัน เรือ่ งนไ้ี ดเ กิดเปน ขอ หวาดหว่ันแกสาธชุ นอยูมาก เลย กลายเปน เครอ่ื งมือขูอ ยางดขี องมารไป ความจริงขอสมั มาปฏบิ ัตมิ แี ตใ หค ุณ ไมใหโ ทษเลย ผู ทิพยอํานาจ ๔๙
ปฏิบัติตามขอ สัมมาปฏิบัตแิ ลวเกดิ เจบ็ ปว ยขึ้นน้ัน มิใชเ ปน เพราะขอปฏบิ ตั ิ เปนเพราะเหตุอื่น ตางหาก เมือ่ ไดส อบสวนดตู ัวเองแลว เห็นวา สมบรู ณพรอม พอท่ีจะปฏิบัตพิ ากเพียรไดแ ลว ก็ไม ควรจะหวาดหว่นั วา จะเปน บาเปนหลังไป นอกจากพเิ คราะหอตั ภาพแลว พึงพิเคราะหองคคณุ อนั เปน ประธานและเปนกําลังหนนุ ในการปฏิบัติอกี ดว ย. หลักทค่ี วรพจิ ารณานน้ั สมเด็จพระผูมพี ระภาคเจา ทรงวางไวแลว ดงั ตอ ไปน้ี ภิกษทุ ง้ั หลาย องคคุณอนั เปนท่ีตัง้ แหงความเพยี ร มี ๕ ประการ คือ ๑. สทโฺ ธ โหติ สททฺ หติ ตถาคตสฺส โพธึ เปนผมู ีศรัทธาเช่อื พระปญ ญาตรัสรูของตถาคต = เชอ่ื ความรูของคร.ู ๒. อปฺปาพาโธ โหติ อปฺปาตงฺโก สมเวปากินยิ า คหณยิ า สมนฺนาคโต เปนผมู ีอาพาธนอย มคี วามเดือดรอนนอ ย ประกอบดวยธาตุในรา งกายอันสาํ เรจ็ มาแตว ิบากแหงกรรมสมา่ํ เสมอ ไมเย็น เกินไป ไมร อ นเกินไป พอปานกลาง ทนทานตอการพากเพียร. ๓. อสโฐ โหติ อมายาวี เปน คนไมโ ออ วด ไมม มี ายา เปนผูเ ปด เผยตนตามเปนจริงในพระ ศาสดา หรอื ในสพรหมจารีผวู ญิ ชู น. ๔. อารทธฺ วิริโย วิหรติ เปนผูพากเพยี รละอกศุ ล เจรญิ กศุ ล ขยันขันแข็ง บากบ่ันม่ันคง ไม วางธุระในกุศลธรรม. ๕. ปญฺ วา โหติ เปน ผูม ีปญญา ประกอบดวยปญญาอันประเสริฐ ท่ีใหเ กดิ ความเบอ่ื หนา ย เหน็ ความเกิด-ความตาย และใหถงึ ธรรมเปน ท่ีส้นิ ทกุ ขโดยชอบ.๑ เมื่อไดพิเคราะหต ามหลักนแี้ ลว เห็นวาตนเปนผูพ รงั่ พรอมเพอ่ื ปฏบิ ัติพากเพียรแลว พึง เลอื กกรรมฐานอันเหมาะแกจริตอธั ยาศยั แลว แสวงหาทีป่ ระกอบความพากเพียรตอไป. สปั ปายะ ๔ สถานทท่ี ีเ่ หมาะแกก ารพากเพยี รน้นั สมเดจ็ พระบรมศาสดาทรงแสดงไวห ลายปรยิ าย เม่ือ ประมวลแลว ตอ งเปน ทซ่ี ง่ึ ประกอบดว ยสัปปายะ ๔ ประการ คอื ๑. อาวาสสัปปายะ ท่อี ยูเ หมาะสม คือที่ซงึ่ ตนมีอิสระทจี่ ะอยูไดสบาย กลางวันปราศจาก คนพลุกพลาน กลางคืนเงียบสงดั ปราศจากกลิน่ ไอของมนษุ ย เปน ที่ท่ีอมนษุ ยไมหวงแหน หรอื ยินดีใหอ ยูดว ยกันไดโดยปลอดภัย สตั วร ายเชนยุงไมชมุ พอทนได นาํ้ ใชนํา้ กินมอี ยูใกล หาไดงาย โคจรคามไมใ กลเกนิ ไป และไมไ กลเกินไป มที างไปมาสะดวก มีพระเถระพหสู ูตซ่ึงอาจแกค วาม สงสัยใหไ ด อยูใกลหรือยดู วยกนั ในท่ีนัน้ สะดวกแกการไตถามขอ สงสยั ขอ งใจ อากาศปลอดโปรง ถูกกับธาตุ ทั้งอํานวยผลทางใจคอื โลง ใจ สงบใจไดง าย ไดอ บุ ายปญญาบอยๆ ชวนใหทาํ ความเพยี ร และกเิ ลสไมฟุง. ๒. บุคคลสปั ปายะ บคุ คลเหมาะสม คอื ผูอยรู ว มกนั ก็ดี ผไู ปมาหาสชู ัว่ ครง้ั คราวก็ดี เปน ท่ี ถกู อธั ยาศัยกนั สามารถเกื้อกูลกันในทางสัมมาปฏบิ ตั ิได อยา งต่าํ ๆ กต็ อ งไมเ ปนภยั แกก นั ทง้ั .......................................................................................................................................................... ๑. มาใน พระสตุ ตันตปฎก อังคุตตรนิกาย เลม ๒๒ หนา ๗๔. ทพิ ยอาํ นาจ ๕๐
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180