Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้วิชาการบัญชีเบื้องต้น รหัสวิชา 20200-1002

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาการบัญชีเบื้องต้น รหัสวิชา 20200-1002

Published by krutip.2550, 2022-04-08 07:01:33

Description: แผนการจัดการเรียนรู้วิชาการบัญชีเบื้องต้น รหัสวิชา 20200-1002

Search

Read the Text Version

140 บนั ทึกหลงั การสอน ข้อสรปุ หลงั การสอน .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ปัญหาที่พบ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. แนวทางแกป้ ัญหา .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................

141 แผนการจดั การเรียนรแู้ บบบรู ณาการที่ 12 หน่วยที่ 9 รหสั วิชา 20200-1002 การบญั ชเี บ้ืองตน้ (2-2-3) สอนครงั้ ท่ี 12 (45-48) จานวนชวั่ โมง 4 ช.ม. ช่ือหน่วย/ชื่อเรื่อง กระดาษทาการ แนวคิด กระดาษทาการเป็นเคร่อื งมอื ท่นี ามาใชใ้ นการจาแนกตวั เลขจานวนเงนิ ของบญั ชตี ่างๆ จากงบทดลอง นามาจดั ทางบกาไรขาดทุน เพ่อื คานวณหาผลการดาเนินงานของกจิ การว่าเป็นกาไรสุทธหิ รอื ขาดทุนสุทธิ และ จดั ทางบดลุ เพอ่ื แสดงฐานะการเงนิ ของกจิ การว่ามสี นิ ทรพั ย์ หน้สี นิ และสว่ นของเจา้ ของเป็นเท่าใด ผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวงั 1.อธบิ ายความหมายและประโยชน์ของกระดาษทาการได้ 2.บอกรปู แบบของกระดาษทาการชนดิ 6 ช่องได้ 3.จดั ทากระดาษทาการ 6 ชอ่ ง ตามขนั้ ตอนได้ 4.มกี ารพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทค่ี รสู ามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเรอ่ื ง 4.1 ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ 4.2 ความมวี นิ ยั 4.3 ความรบั ผดิ ชอบ 4.4 ความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ 4.5 ความเช่อื มนั่ ในตนเอง 4.6 การประหยดั 4.7 ความสนใจใฝร่ ู้ 4.8 การละเวน้ สงิ่ เสพตดิ และการพนนั 4.9 ความรกั สามคั คี 4.10 ความกตญั ญกู ตเวที สมรรถนะรายวิชา 1.แสดงความรเู้ กย่ี วกบั หลกั การ และวธิ กี ารบญั ชสี าหรบั กจิ การเจา้ ของคนเดยี วประเภทธรุ กจิ บรกิ าร 2.ปฏบิ ตั งิ านบญั ชสี าหรบั กจิ การเจา้ ของคนเดยี วประเภทธุรกจิ บรกิ ารตามหลกั การบญั ชที ร่ี บั รองทวั่ ไป

142 สาระการเรียนรู้ 1.ความหมายและประโยชน์ของกระดาษทาการ 2.รปู แบบของกระดาษทาการชนิด 6 ช่อง 3.ขนั้ ตอนในการจดั ทากระดาษทาการ 6 ช่อง กิจกรรมการเรียนรู้ ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรียน 1.ครแู ละผเู้ รยี นสนทนากนั ว่ากระดาษทาการ (Work Sheet) หมายถงึ แบบฟอรม์ ซง่ึ เป็นเครอ่ื งมอื ทช่ี ่วยใน การจดั เตรยี ม ทางบการเงนิ ใหส้ ะดวก รวดเรว็ ขน้ึ และไมผ่ ดิ พลาด โดยกระดาษทาการจะมดี ว้ ยกนั หลายชนดิ เช่น ชนิด 6 ชอ่ ง 8 ช่อง หรอื 10 ชอ่ ง เป็นตน้ 2.ครแู ละผเู้ รยี นบอกประโยชนข์ องกระดาษทาการ 1) ทาใหท้ ราบผลการดาเนินงานสาหรบั ระยะเวลาหน่ึงว่ามกี าไรสทุ ธแิ ละขาดทุนสทุ ธิ เป็นจานวนเทา่ ใด 2) แสดงใหเ้ หน็ ฐานะการเงนิ ของกจิ การว่ามสี นิ ทรพั ย์ หน้สี นิ และสว่ นของเจา้ ของเป็นจานวนเงนิ เทา่ ใด 3) ชว่ ยใหก้ ารจดั ทางบการเงนิ สะดวก และรวดเรว็ 4) วยในการตรวจสอบความถกู ตอ้ งของการจดั ทางบการเงนิ 3) ผเู้ รยี นบอกสว่ นประกอบงบการเงนิ เชน่ งบแสดงฐานะการเงนิ งบกาไรขาดทนุ เป็นตน้

143 ขนั้ สอน 3.ครแู ละผเู้ รยี นอธบิ ายความหมายและประโยชนข์ องกระดาษทาการ โดยกระดาษทาการ (Work Sheet) หมายถงึ แบบฟอรม์ ซง่ึ เป็นเครอ่ื งมอื ทช่ี ว่ ยในการจดั เตรยี ม ทางบการเงนิ ใหส้ ะดวก รวดเรว็ ขน้ึ และไม่ ผดิ พลาด โดยกระดาษทาการจะมดี ว้ ยกนั หลายชนดิ เชน่ ชนดิ 6 ช่อง 8 ช่อง หรอื 10 ชอ่ ง เป็นตน้ กระดาษทาการ เป็นเครอ่ื งมอื ทช่ี ว่ ยใหก้ ารแบ่งแยกบญั ชตี ่างๆ ในงบทดลองไปจดั ทางบกาไรขาดทุน และ งบแสดงฐานะทางการเงิน โดยจะนาหมวดรายได้และค่าใช้จ่ายไปจดั ทางบกาไรขาดทุน เพ่ือแสดงผลการ ดาเนินงาน และนาบญั ชหี มวดสนิ ทรพั ย์ หน้ีสนิ และส่วนของเจา้ ของไปจดั ทางบแสดงฐานะการเงนิ เพ่อื แสดง ฐานะการเงนิ ของกจิ การ 4.ครบู อกประโยชน์ของกระดาษทาการ ดงั น้ี 1) ทาใหท้ ราบผลการดาเนนิ งานสาหรบั ระยะเวลาหน่ึงว่ามกี าไรสทุ ธหิ รอื ขาดทนุ สทุ ธเิ ท่าใด 2) แสดงใหเ้ หน็ ฐานะการเงนิ ของกจิ การวา่ มสี นิ ทรพั ย์ หน้สี นิ และสว่ นของเจา้ ของเป็นจานวนเงนิ เท่าใด 3) ชว่ ยใหก้ ารจดั ทางบการเงนิ สะดวก และรวดเรว็ ขน้ึ 4) ช่วยในการตรวจสอบความถูกตอ้ งของการจดั ทางบการเงนิ 5.ครูแสดงรูปแบบของกระดาษทาการชนิด 6 ช่อง โดยการจดั ทากระดาษทาการสามารถทาได้หลาย รูปแบบข้นึ อยู่กบั ความต้องการของแต่ละกจิ การท่มี ีลกั ษณะการประกอบธุรกจิ ท่แี ตกต่างกนั สาหรบั หน่วยน้ีจะ กลา่ วถงึ เฉพาะกระดาษทาการ 6 ชอ่ ง ช่ือกิจการ………………………….(1.1) กระดาษทาการ (1.2)  สาหรบั รอบระยะเวลา….…สิ้นสดุ วนั ที่……(1.3) ชอ่ื บญั ชี เลขท่ี งบทดลอง งบกาไรขาดทุน งบแสดงฐานะการเงนิ บญั ชี เดบติ เครดติ เดบติ เครดติ เดบติ เครดติ        ซง่ึ มรี ปู แบบและสว่ นประกอบต่างๆ ดงั น้ี  สว่ นหวั ของกระดาษทาการ 1.1 ช่อื กจิ การ 1.2 ขอ้ ความทร่ี ะบวุ ่า “กระดาษทาการ” 1.3 รอบระยะเวลาบญั ชแี ละงวดบญั ชที จ่ี ดั ทา  ช่องช่อื บญั ชี  ชอ่ งเลขทบ่ี ญั ชี  ช่องงบทดลอง แบง่ ออกเป็นดา้ นเดบติ และเครดติ  ช่องงบกาไรขาดทุน แบง่ ออกเป็นดา้ นเดบติ และเครดติ  ช่องงบแสดงฐานะการเงนิ แบ่งออกเป็นดา้ นเดบติ และเครดติ 6.ครแู ละผเู้ รยี นสาธติ ขนั้ ตอนในการจดั ทากระดาษทาการ 6 ชอ่ ง โดยใชส้ อ่ื Power Point ประกอบ

144 และการจดั ทากระดาษทาการมวี ธิ ปี ฏบิ ตั ิ ดงั น้ี 1) สว่ นหวั ของกระดาษทาการ แบง่ เป็น 3 บรรทดั เขยี นตามลาดบั ดงั น้ี บรรทดั ท่ี 1 เขยี นช่อื กจิ การ บรรทดั ท่ี 2 เขยี นวา่ “กระดาษทาการ” บรรทดั ท่ี 3 เขยี นว่า สาหรบั รอบระยะเวลาบญั ชที ก่ี ระดาษทาการแสดง 2) นายอดคงเหลอื ของบญั ชแี ยกประเภท หรอื ลอกงบทดลองทไ่ี ดจ้ ดั ทาไวแ้ ลว้ มาแสดงในกระดาษทาการ ช่องช่อื บญั ชี ช่องเลขทบ่ี ญั ชี ชอ่ งงบทดลอง แลว้ รวมเงนิ ชอ่ งเดบติ และเครดติ ซง่ึ ทงั้ 2 ชอ่ งจะตอ้ งเทา่ กนั 3) นาจานวนเงนิ ในช่องงบทดลองไปใสท่ ช่ี ่องงบกาไรขาดทุน ช่องงบแสดงฐานะการเงนิ ดงั น้ี บญั ชหี มวดสนิ ทรพั ย์ นาไปใสใ่ นช่องงบแสดงฐานะการเงนิ ดา้ นเดบติ บญั ชหี มวดหน้สี นิ นาไปใสใ่ นช่องงบแสดงฐานะการเงนิ ดา้ นเครดติ บญั ชหี มวดสว่ นของเจา้ ของ (ทุน) นาไปใสใ่ นช่องงบแสดงฐานะการเงนิ ดา้ นเครดติ บญั ชหี มวดสว่ นของเจา้ ของ (ถอนใชส้ ว่ นตวั ) นาไปใสใ่ นช่องงบแสดงฐานะการเงนิ ดา้ นเดบติ บญั ชหี มวดรายได้ นาไปใสใ่ นช่องงบกาไรขาดทุนดา้ นเครดติ บญั ชหี มวดคา่ ใชจ้ า่ ย นาไปใสใ่ นชอ่ งงบกาไรขาดทุนดา้ นเดบติ 4) รวมยอดเงนิ ในช่องเดบติ และเครดติ ของงบกาไรขาดทุน และงบแสดงฐานะการเงนิ 5) หาผลต่างระหว่างช่องเดบติ และเครดติ ของงบกาไรขาดทุน ถ้ายอดรวมด้านเครดติ มากกว่าด้านเดบติ ผลต่างกค็ อื กาไรสุทธิ ใหเ้ ขยี นจานวนเงนิ กาไรสทุ ธใิ นช่องกาไรขาดทุนดา้ นเดบติ และในช่องงบแสดงฐานะการเงนิ ดา้ นเครดติ แต่ถ้ายอดรวมดา้ นเดบติ มากกว่าดา้ นเครดติ ผลต่างกค็ อื ขาดทุนสุทธิ ให้เขยี นจานวนเงนิ ในช่องงบ กาไรขาดทนุ ดา้ นเครดติ และชอ่ งงบแสดงฐานะการเงนิ ดา้ นเดบติ 6) รวมยอดเงนิ ในชอ่ งงบกาไรขาดทนุ และงบแสดงฐานะการเงนิ ดา้ นเดบติ และดา้ นเครดติ ตอ้ งเทา่ กนั เสมอ 7.ผเู้ รยี นแสดงการทากระดาษทาการ 6 ชอ่ ง ดงั น้ี ตวั อยา่ งท่ี กรณีทม่ี กี าไรสทุ ธิ รา้ นกระปกุ บรกิ าร งบทดลอง วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25X8 ชอ่ื บญั ชี เลขท่ี เดบติ เครดติ บญั ชี บาท สต. บาท สต. เงนิ สด 101 80,000 - ลกู หน้ีการคา้ 102 15,000 - อุปกรณ์ 103 70,000 - เครอ่ื งตกแต่ง 104 40,000 - อาคาร 105 350,000 - เจา้ หน้ีการคา้ 201 21,000 - ทนุ – นางกระปกุ 301 495,000 - ถอนใชส้ ว่ นตวั 302 15,000 -

145 รายไดค้ า่ บรกิ าร 401 92,000 - คา่ เช่า คา่ พาหนะ 501 16,000 - เงนิ เดอื น คา่ สาธารณูปโภค 502 2,500 - 503 15,000 - 504 4,500 - 608,000 - 608,000 - การจดั ทากระดาษทาการ 6 ช่อง เป็นดงั นี้  นายอดคงเหลือหรอื ลอกงบ เขียนหวั งบ  นาสนิ ทรัพย์ หน้สี นิ และสว่ นของ ทดลองมาเขยี นในช่องงบทดลอง กระดาษทาการ เจ้าของไปใสใ่ นช่องงบแสดงฐานการเงนิ ของกระดาษทาการ นารายได้และค่าใช้จ่ายไปใส่ในช่องงบ รา้ นกระปกุ บริการ กาไรขาดทุน กระดาษทาการ สาหรบั ปี สิ้นสดุ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25X8 ชอ่ื บญั ชี เลขท่ี งบทดลอง งบกาไรขาดทุน งบแสดงฐานะการเงนิ เงนิ สด บญั ชี เดบติ เครดติ เดบติ เครดติ เดบติ เครดติ ลกู หน้ีการคา้ อุปกรณ์ 101 80,000 80,000 เครอ่ื งตกแต่ง อาคาร 102 15,000 15,000 เจา้ หน้ีการคา้ ทุน – นางกระปกุ 103 70,000 70,000 ถอนใชส้ ่วนตวั รายไดค้ ่าบรกิ าร 104 40,000 40,000 คา่ เชา่ คา่ พาหนะ 105 350,000 350,000 เงนิ เดอื น คา่ สาธารณูปโภค 201 21,000 21,000 กาไรสทุ ธิ 301 495,000 495,000 302 15,000 15,000 401 92,000 92,000 501 16,000 16,000 502 2,500 2,500 503 15,000 15,000 504 4,500 4,500 608,000 608,000 38,000 92,000 570,000 516,000 54,000 54,000 92,000 92,000 570,000 570,000  หาผลต่างของเดบติ และเครดติ ของงบกาไรขาดทุน  รวมยอดเงินในช่องเดบิต -ถ้าด้านเครดติ มากกว่าเดบติ ผลต่าง คือ กาไรสทุ ธิ และเครดิตของงบกาไรขาดทนุ และ -ถ้าด้านเดบิตมากกว่าด้านเครดติ ผลต่าง คอื ขาดทุนสทุ ธิ งบแสดงฐานะการเงิน  รวมยอดเงนิ ในช่องงบกาไรขาดทนุ และ งบแสดงฐานะการเงนิ ด้านเดบิตและด้าน เครดติ จะต้องเทา่ กนั เสมอ

146 8.ผเู้ รยี นจดั ทากระดาษทาการ 6 ชอ่ ง สาหรบั ปีสน้ิ สดุ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25X8 ในกรณีขาดทนุ สทุ ธิ ตวั อยา่ งท่ี  กรณีท่ีมีผลขาดทุนสทุ ธิ รา้ นกระปกุ บริการ กระดาษทาการ สาหรบั ปี สิ้นสุด วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25X8 ชอ่ื บญั ชี เลขท่ี งบทดลอง งบกาไรขาดทนุ งบแสดงฐานะการเงนิ บญั ชี เดบติ เครดติ เดบติ เครดติ เดบติ เครดติ เงนิ สด 101 160,000 160,000 ลกู หน้กี ารคา้ อุปกรณ์ 102 35,000 35,000 เครอ่ื งตกแต่ง อาคาร 103 50,000 50,000 เจา้ หน้กี ารคา้ ทนุ – นางกระปกุ 104 40,000 40,000 ถอนใชส้ ่วนตวั รายไดค้ ่าบรกิ าร 105 270,000 270,000 ค่าเช่า คา่ พาหนะ 201 80,000 80,000 เงนิ เดอื น ค่าสาธารณูปโภค 301 490,000 490,000 302 12,000 12,000 401 60,000 60,000 501 16,000 16,000 502 2,500 2,500 503 40,000 40,000 504 4,500 4,500 630,000 630,000 63,000 60,000 567,000 570,000 ขาดทนุ สุทธิ 3,000 3,000 63,000 63,000 570,000 570,000 9.ผเู้ รยี นฝึกทกั ษะจดั ทากระดาษทาการ 6 ช่อง ตามรปู แบบ ดงั น้ี รา้ นพาเพลินบริการ กระดาษทาการ สาหรบั ปี สิ้นสุด วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25X8 ชอ่ื บญั ชี เลขท่ี งบทดลอง งบกาไรขาดทุน งบแสดงฐานะการเงนิ บญั ชี เดบติ เครดติ เดบติ เครดติ เดบติ เครดติ เงนิ สด 101 40,000 ลกู หน้ีการคา้ 102 3,000 อุปกรณ์ 103 50,000 เครอ่ื งตกแต่ง 104 12,000 อาคาร 105 200,000 เจา้ หน้ีการคา้ 201 18,000 ทุน – นางพาเพลนิ 301 150,000 ถอนใชส้ ่วนตวั 302 2,000

147 รายไดค้ า่ บรกิ าร 401 195,000 คา่ เชา่ 501 15,000 ค่าพาหนะ 502 8,000 เงนิ เดอื น 503 30,000 ค่าสาธารณูปโภค 504 3,000 กาไรสุทธิ 363,000 363,000 10.ผเู้ รยี นฝึกทกั ษะจดั ทากระดาษทาการ 6 ชอ่ ง ตามรปู แบบ ดงั น้ี รา้ นสะอาดซกั รดี บรกิ าร กระดาษทาการ สาหรบั ปีสน้ิ สดุ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25X8 ชอ่ื บญั ชี เลขท่ี งบทดลอง งบกาไรขาดทนุ งบแสดงฐานะการเงนิ บญั ชี เดบติ เครดติ เดบติ เครดติ เดบติ เครดติ เงนิ สด 101 40,000 ลกู หน้ีการคา้ 102 3,000 อุปกรณ์ 103 20,000 เครอ่ื งตกแต่ง 104 12,000 อาคาร 105 180,000 เจา้ หน้ีการคา้ 201 38,000 ทุน-นายสะอาด 301 230,000 ถอนใชส้ ว่ นตวั 302 2,000 รายไดค้ ่าบรกิ าร 401 80,000 คา่ เชา่ 501 25,000 ค่าพาหนะ 502 13,000 เงนิ เดอื น 503 50,000 คา่ สาธารณูปโภค 504 3,000 348,000 348,000 กาไรสุทธิ 11.เปิดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นแสดงความคดิ เหน็ ร่วมกนั และนาผลงานสง่ ครเู พ่อื ประเมนิ ผล 12.ผเู้ รยี นทากจิ กรรมฝึกปฏบิ ตั หิ น่วยท่ี 8 13.ผเู้ รยี นทากจิ กรรมใบงาน ขนั้ สรปุ และการประยกุ ต์ 14.สรปุ โดยใหผ้ เู้ รยี นตอบคาถามเป็นกล่มุ หรอื รายบคุ คล และทาใบงาน ทาแบบประเมนิ ผล โดยครจู ะ เฉลยใสแ่ ผน่ ใสใหผ้ เู้ รยี นสลบั กนั ตรวจเอง

148 15.ครแู ละผเู้ รยี นแสดงขนั้ ตอนการทากระดาษทาการ จดั ทาขน้ึ เพอ่ื เป็นเครอ่ื งมอื ในการจดั ทางบการเงนิ ไดร้ วดเรว็ ขน้ึ และสามารถทราบผลการดาเนินงานและฐานะการเงนิ โดยไมต่ อ้ งทาการบนั ทกึ ปิดบญั ชกี ่อน ทาให้ สามารถนางบการเงนิ ไปใชป้ ระโยชน์ในการวางแผน ควบคมุ และตดั สนิ ใจไดท้ นั ที และเป็นการช่วย ตรวจสอบการ บนั ทกึ บญั ชใี หเ้ ป็นไปอย่างถูกตอ้ ง การจดั ทากระดาษทาการ 6 ชอ่ ง จะจดั ทาตามรปู แบบหรอื แบบฟอรม์ ท่ี กาหนดตามขนั้ ตอนในการจดั ทาเพ่อื นาไปใชป้ ระโยชนต์ ่อไป 16.ครแู นะนาใหผ้ เู้ รยี นยดึ หลกั ในการครองตนเป็นพลเมอื งดี เชน่ ไมเ่ สยี เวลาไปกบั การถกเถยี งเร่อื งไร้ สาระ ไม่ใจแคบ ไม่ประมาท กระตอื รอื รน้ ทุกเวลา ปฏบิ ตั ภิ ารกจิ หน้าทส่ี ม่าเสมอโดยสมบูรณ์ มคี วามสภุ าพ ออ่ น น้อมและยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของคนอ่นื 17.ผเู้ รยี นวางแผนการนาหลกั ของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยกุ ตใ์ ชด้ งั น้ี (1) สรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ทด่ี ใี นตวั เองได้ เช่น ใชค้ วามรอบคอบในการบนั ทกึ บญั ชไี มใ่ หผ้ ดิ พลาด (2) มเี หตุผลในการวเิ คราะหร์ ายการคา้ แต่ละรายการ เพ่อื บนั ทกึ บญั ชี (3) มคี วามเพยี งพอ ในการซอ้ื ขายสนิ คา้ เพ่อื บรโิ ภคหรอื จาหน่าย (4) มเี ง่อื นไขดา้ นคณุ ธรรม ไดแ้ ก่ บนั ทกึ บญั ชใี หถ้ ูกตอ้ ง (5) มเี งอ่ื นไขดา้ นวชิ าการ ไดแ้ ก่ บนั ทกึ บญั ชตี ามหลกั การบญั ชที ย่ี อมรบั ทวั่ ไป และมคี วามรเู้ รอ่ื ง มาตรฐานการบญั ชี (6) สามารถนารายการบญั ชไี ปบนั ทกึ ในเคร่อื งคอมพวิ เตอรห์ รอื โปรแกรมสาเรจ็ รปู บญั ชไี ด้ 18.ผเู้ รยี นทาแบบประเมนิ ผลหลงั เรยี น ส่ือและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนงั สอื เรยี นวชิ าการบญั ชเี บอ้ื งตน้ (20200-1002) ของสานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์ 3. ใบความรู้ 4. มาตรฐานการบญั ชี 5. อนิ เทอรเ์ น็ต 6. Power Point หลกั ฐาน 1.บนั ทกึ การสอนของสถานศกึ ษา 2.ผลงานของผเู้ รยี น 3.แผนจดั การเรยี นรู้ การวดั ผลและการประเมินผล วิธีวดั ผล 1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล 2. ตรวจใบงาน 3. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรกู้ อ่ น/หลงั เรยี น 4. ตรวจแบบประเมนิ ผลการฝึกปฏบิ ตั ิ 5. ประเมนิ กจิ กรรมเสนอแนะผเู้ รยี นเป็นสาคญั และสง่ เสรมิ คุณธรรมนาความรู้

149 6 ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุม่ 7 สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ 8 การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เครอ่ื งมอื วดั ผล 1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล 2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ (โดยคร)ู 3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุม่ (โดยผเู้ รยี น) 4. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน 5. แบบประเมนิ ผลแบบฝึกปฏบิ ตั ิ 6. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรกู้ อ่ น/หลงั เรยี น 7. แบบประเมนิ กจิ กรรมเสนอแนะผเู้ รยี นเป็นสาคญั และสง่ เสรมิ คุณธรรมนาความรู้ 8. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครแู ละผเู้ รยี น ร่วมกนั ประเมนิ เกณฑก์ ารประเมินผล 1. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ตอ้ งไมม่ ชี ่องปรบั ปรงุ 2. เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกล่มุ คอื ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป) 3. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป) 4. กจิ กรรมใบงาน เกณฑผ์ า่ น คอื 50% 5. แบบประเมนิ ผลแบบฝึกปฏบิ ตั ิ เกณฑผ์ ่าน 50% 6. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรกู้ ่อน/หลงั เรยี นมเี กณฑผ์ ่าน 50% 7. แบบประเมนิ กจิ กรรมเสนอแนะผเู้ รยี นเป็นสาคญั และสง่ เสรมิ คุณธรรมนาความรผู้ า่ น 50% 8 แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อย่กู บั การประเมนิ ตามสภาพจรงิ กิจกรรมเสนอแนะ 1. ทาใบงานและแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 2. บนั ทกึ การรบั -จ่าย 3. ฝึกทกั ษะการทากระดาษทาการเพม่ิ เตมิ และสม่าเสมอ

150 การบรู ณาการ 1) กลุ่มวชิ าภาษาไทย ไดแ้ ก่ ทกั ษะการฟงั ทกั ษะการอ่าน ทกั ษะการเขยี นและทกั ษะการพดู 2) ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3) คณุ ธรรมจรยิ ธรรม และศลี ธรรม กล่มุ วิชาภาษาไทย 4) หน้าทพ่ี ลเมอื งดี 5) อ่นื ๆ กล่มุ วิชาคณิตศาตร์ กล่มุ วิชาวิทยาศาสตร์ กล่มุ วิชากฏหมาย กระดาษทาการ การบรู ณาการ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 6 ช่อง หนา้ ท่ีพลเมือง กล่มุ วิชาการขายและคอมพิวเตอร์ กล่มุ วิชาภาษาองั กฤษ

151 คาชี้แจง : ใหบ้ นั ทกึ บญั ชรี ายรบั -รายจา่ ย ตามความเป็นจรงิ 1. จากการลงบนั ทกึ มเี งนิ เหลอื เกบ็ หรอื ไม่……………เพราะเหตุใด………………..………….……… 2. จะเกดิ อะไรขน้ึ ถา้ มรี ายจา่ ยมากกว่ารายรบั ………………………..…………….………………….…

152 แบบประเมินกิจกรรมส่งเสริมคณุ ธรรมนาความรู้ คาชี้แจง ใหป้ ระเมนิ รายการแต่ละขอ้ แลว้ เขยี นเคร่อื งหมาย  ลงในช่องระดบั คุณภาพตามความเป็นจรงิ โดยกาหนดน้าหนกั คะแนน ดงั น้ี 5 = ดมี าก, 4 = ด,ี 3 = พอใช,้ 2 = ควรปรบั ปรุง, 1 = ใชไ้ ม่ได้ รายการประเมิน พฤติกรรมบง่ ชี้ ระดบั คณุ ภาพ 54 3 21 1.การมมี นุษยสมั พนั ธ์  แสดงกรยิ าทา่ ทางสภุ าพต่อผอู้ ่นื  รบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ ่นื 2.ความมวี นิ ยั  ตรงต่อเวลาในการทางาน  ประพฤตติ นถูกตอ้ งตามศลี ธรรมอนั ดงี าม 3.ความรบั ผดิ ชอบ  ปฏบิ ตั งิ านทไ่ี ดร้ บั มอบหมายเสรจ็ ตามกาหนด  ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความละเอยี ดรอบคอบ 4.ความซ่อื สตั ยส์ จุ รติ  ไมน่ าผลงานผอู้ ่นื มาแอบอา้ งเป็นของตนเอง  พดู ในสงิ่ ทเ่ี ป็นความจรงิ 5.ความสนใจใฝร่ ู้  ศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง  แสวงหาประสบการณ์และความรใู้ หมๆ่ 6.ความเช่อื มนั่ ในตนเอง  กลา้ แสดงความคดิ เหน็ อยา่ งมเี หตผุ ล  กลา้ ทกั ทว้ งในสงิ่ ทไ่ี ม่ถูกตอ้ ง รวมคะแนนที่ได.้ .....................................คะแนน ขอ้ คิดเหน็ เพ่ิมเติม 1.กระบวนการคดิ ทใ่ี ช้ คอื ……….…………………………………….………………………… 2.สง่ิ ทค่ี วรปรบั ปรงุ คอื ……….…………………………………….…………………………… ผปู้ ระเมนิ .....…………….......................... เกณฑก์ ารประเมินระดบั คณุ ภาพ 28-30 คะแนน = ดมี าก 15-19 คะแนน = ควรปรบั ปรงุ 25-27 คะแนน = ดี 0-14 คะแนน = ใชไ้ มไ่ ด้ 20-24 คะแนน = พอใช้ หมายเหตุ อา้ งองิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยมและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา สานกั งาน มาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ออกแบบโดย; เพญ็ ศรี เลิศเกียรติวิทยา

153 บนั ทึกหลงั การสอน ขอ้ สรปุ หลงั การสอน .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ปัญหาท่ีพบ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. แนวทางแกป้ ัญหา .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................

154 แผนการจดั การเรียนรแู้ บบบูรณาการที่ 13 หน่วยที่ 10 รหสั วิชา 20200-1002 การบญั ชเี บ้ืองตน้ (2-2-3) สอนครง้ั ที่ 14 (49-52) จานวนชวั่ โมง 4 ช.ม. ช่ือหน่วย/เร่ือง งบการเงิน แนวคิด งบการเงนิ เป็นการนาเสนอฐานะการเงนิ และผลการดาเนนิ งานทางการเงนิ ของกจิ การอย่างมี แบบแผน เพอ่ื ใหข้ อ้ มลู เกย่ี วกบั ฐานะการเงนิ ผลการดาเนนิ งานและกระแสเงนิ สดของกจิ การ ซง่ึ เป็นประโยชน์ต่อ การตดั สนิ ใจเชงิ เศรษฐกจิ ของผใู้ ชง้ บการเงนิ กล่มุ ต่างๆ นอกจากน้งี บการเงนิ ยงั แสดงถงึ ผลการบรหิ ารงานของ ฝา่ ยบรหิ ารซง่ึ ไดร้ บั มอบหมายใหด้ แู ลทรพั ยากรของกจิ การ เพ่อื ทจ่ี ะบรรลวุ ตั ถุประสงคด์ งั กล่าว งบการเงนิ ตอ้ งให้ ขอ้ มลู ของกจิ การเกย่ี วกบั สนิ ทรพั ย์ หน้สี นิ สว่ นของเจา้ ของ รายไดแ้ ละคา่ ใชจ้ า่ ย รวมถงึ ผลกาไรและขาดทนุ รวมทงั้ เงนิ ทุนทไ่ี ดร้ บั จากผเู้ ป็นเจา้ ของและการจดั สรรสว่ นทุนใหผ้ ูเ้ ป็นเจา้ ของในฐานะทเ่ี ป็นเจา้ ของ และกระแส เงนิ สด โดยขอ้ มลู เหลา่ น้แี ละขอ้ มลู อน่ื เปิดเผยในหมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ ชว่ ยผใู้ ชง้ บการเงนิ ในการ คาดการณ์เกย่ี วกบั จงั หวะเวลาและความแน่นอนทก่ี จิ การจะกอ่ ใหเ้ กดิ กระแสเงนิ สดในอนาคตของกจิ การ ผลการเรียนร้ทู ี่คาดหวงั 1.อธบิ ายความหมายของงบการเงนิ ได้ 2.บอกจุดมุ่งหมายของงบการเงนิ ได้ 3.อธบิ ายงบการเงนิ ฉบบั สมบรู ณ์ได้ 4.อธบิ ายการกาหนดรายการยอ่ ทต่ี อ้ งมใี นงบการเงนิ ได้ 5.จดั ทางบกาไรขาดทุนได้ 6.มกี ารพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทค่ี รสู ามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเรอ่ื ง 6.1 ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ 6.2 ความมวี นิ ยั 6.3 ความรบั ผดิ ชอบ 6.4 ความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ 6.5 ความเชอ่ื มนั่ ในตนเอง 6.6 การประหยดั 6.7 ความสนใจใฝร่ ู้ 6.8 การละเวน้ สงิ่ เสพตดิ และการพนนั 6.9 ความรกั สามคั คี 6.10 ความกตญั ญกู ตเวที

155 สมรรถนะรายวิชา 1.แสดงความรเู้ กย่ี วกบั หลกั การ และวธิ กี ารบญั ชสี าหรบั กจิ การเจา้ ของคนเดยี วประเภทธรุ กจิ บรกิ าร 2.ปฏบิ ตั งิ านบญั ชสี าหรบั กจิ การเจา้ ของคนเดยี วประเภทธุรกจิ บรกิ ารตามหลกั การบญั ชที ร่ี บั รองทวั่ ไป สาระการเรยี นรู้ 1.ความหมายของงบการเงนิ 2.จุดมุ่งหมายของงบการเงนิ 3.งบการเงนิ ฉบบั สมบรู ณ์ 4.การกาหนดรายการยอ่ ทต่ี อ้ งมใี นงบการเงนิ 5.งบกาไรขาดทนุ ภาพรวม (Big Idea) กิจกรรมการเรยี นรู้ ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรยี น 1.ครแู ละผเู้ รยี นสนทนาว่าตามมาตรฐานการบญั ชฉี บบั ท่ี 1 เร่อื งการนาเสนองบการเงนิ ของสภาวชิ าชพี บญั ชี ไดใ้ หร้ ายละเอยี ด ขอ้ กาหนดต่างๆ และวธิ กี ารเกย่ี วกบั การนาเสนองบการเงนิ บางสว่ น 2.ครอู ภปิ รายวา่ งบการเงนิ เป็นการนาเสนอฐานะการเงนิ และผลการดาเนนิ งานของกจิ การอยา่ งมแี บบ แผน เพ่อื ใหข้ อ้ มลู เกย่ี วกบั ฐานะการเงนิ ผลการดาเนินงานและกระแสเงนิ สดของกจิ การ ซง่ึ เป็นประโยชน์ต่อการ

156 ตดั สนิ ใจเชงิ เศรษฐกจิ ของผใู้ ชง้ บการเงนิ กลุ่มต่างๆ ยงั แสดงถงึ ผลการบรหิ ารงานของฝา่ ยบรหิ ารซง่ึ ไดร้ บั มอบหมายใหด้ แู ลทรพั ยากรของกจิ การ งบการเงนิ ตอ้ งใหข้ อ้ มลู ทกุ ขอ้ ดงั ต่อไปน้เี กย่ี วกบั กจิ การ 3.ผเู้ รยี นบอกสว่ นประกอบงบการเงนิ แต่ละประเภท เช่น งบแสดงฐานะการเงนิ งบกาไรขาดทนุ เป็นตน้ 4.ผเู้ รยี นทาแบบประเมนิ ผลกอ่ นเรยี น โดยใชเ้ วลาประมาณ 10 นาที แลว้ สลบั กนั ตรวจ ขนั้ สอน 5.ครแู ละผเู้ รยี นใชเ้ ทคนิควธิ สี อนแบบใชโ้ สตทศั นวสั ดุ (Audio-Visual Meterial of Instruction Method) เป็นวธิ สี อนทน่ี าอปุ กรณ์โสตทศั น์วสั ดุมาชว่ ยพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นการสอน โสตทศั น์วสั ดดุ งั กล่าว ไดแ้ ก่ Power Point เพอ่ื อธบิ ายความหมายของงบการเงนิ โดยงบการเงิน (Financial Statement) ตามมาตรฐานการ บญั ชี ฉบบั ท่ี 1 หมายถงึ งบการเงนิ ทจ่ี ดั ทาขน้ึ เพอ่ื สนองความตอ้ งการของผใู้ ชง้ บการเงนิ ซง่ึ ไมอ่ ย่ใู นฐานะทจ่ี ะ เรยี กรอ้ งใหก้ จิ การจดั ทารายงานทม่ี กี ารดดั แปลงตามความตอ้ งการขอ้ มลู ทเ่ี ฉพาะเจาะจง 6.ครแู ละผเู้ รยี นใชเ้ ทคนิควธิ กี ารจดั การเรยี นรแู้ บบอภปิ ราย (Discussion Method) คอื กระบวนการท่ี ผสู้ อนม่งุ ใหผ้ เู้ รยี นมโี อกาสสนทนาแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ หรอื ระดมความคดิ โดยมจี ดุ มงุ่ หมายเพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี น เขา้ ใจเน้อื หาไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยอภปิ รายเรอ่ื งจดุ มงุ่ หมายของงบการเงนิ โดยงบการเงนิ เป็นการนาเสนอ ฐานะการเงนิ และผลการดาเนินงานทางการเงนิ ของกจิ การอย่างมแี บบแผน โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ใหข้ อ้ มลู เกย่ี วกบั ฐานะการเงนิ ผลการดาเนินงาน และกระแสเงนิ สดของกจิ การ ซง่ึ เป็นประโยชน์ต่อการตดั สนิ ใจเชงิ เศรษฐกจิ ของผใู้ ชง้ บการเงนิ กลุ่มต่างๆ นอกจากน้งี บการเงนิ ยงั แสดงถงึ ผลการบรหิ ารงานของฝา่ ยบรหิ ารซง่ึ ไดร้ บั มอบหมายใหด้ แู ลทรพั ยากรของ กจิ การ เพ่อื ทจ่ี ะบรรลวุ ตั ถุประสงคด์ งั กล่าว งบการเงนิ ตอ้ งใหข้ อ้ มลู ทกุ ขอ้ ดงั ต่อไปน้ีเกย่ี วกบั กจิ การ 1) สนิ ทรพั ย์ 2) หน้สี นิ 3) สว่ นของเจา้ ของ 4) รายไดแ้ ละคา่ ใชจ้ ่าย รวมถงึ ผลกาไรและขาดทนุ 5) เงนิ ทนุ ทไ่ี ดร้ บั จากผเู้ ป็นเจา้ ของและการจดั สรรสว่ นทนุ ใหผ้ เู้ ป็นเจา้ ของในฐานะทเ่ี ป็นเจา้ ของ 6) กระแสเงนิ สด 7.ครอู ธบิ ายงบการเงนิ ฉบบั สมบรู ณ์ โดยงบการเงนิ ฉบบั สมบรู ณ์ (The complete financial statement) ตามมาตรฐานการบญั ชปี ระกอบดว้ ย 1) งบแสดงฐานะการเงนิ ณ วนั สน้ิ งวด (Statement of the financial position) 2) งบกาไรขาดทุนเบด็ เสรจ็ สาหรบั งวด (Statement of comprehensive income) 3) งบแสดงการเปลย่ี นแปลงสว่ นของเจา้ ของสาหรบั งวด (Statement of changes in shareholders' equity) 4) งบกระแสเงนิ สดสาหรบั งวด (Cash flow statement) 5) หมายเหตุประกอบงบการเงนิ ซง่ึ ประกอบดว้ ยสรปุ นโยบายการบญั ชที ส่ี าคญั ขอ้ มลู ท่ี ใหค้ าอธบิ ายอ่นื (Notes to financial statement) 6) งบแสดงฐานะการเงนิ ณ วนั ตน้ งวดของงวดทน่ี ามาเปรยี บเทยี บงวดแรกสดุ

157 เม่อื กจิ การไดน้ านโยบายการบญั ชใี หม่มาถอื ปฏบิ ตั ยิ อ้ นหลงั หรอื การปรบั งบการเงนิ ยอ้ นหลงั หรอื เม่อื กจิ การมกี ารจดั ประเภทรายการในงบการเงนิ ใหม่ กจิ การอาจจะใชช้ อ่ื อน่ื สาหรบั งบการเงนิ นอกเหนอื จากทร่ี ะบใุ นมาตรฐานการบญั ชฉี บบั ท่ี 1 น้ี หมายเหตุ 1.งบการเงนิ ทนี่ ามาศกึ ษาในหน่วยการเรยี นน้ี จะกล่าวถงึ เฉพาะกจิ การเจา้ ของคนเดยี ว ประเภทธุรกจิ บรกิ ารเท่านนั้ แบ่ง ออกเป็นงบกาไรขาดทนุ และงบแสดงฐานะการเงนิ 2.กรมพฒั นาธุรกจิ การค้า ไม่ได้กาหนดรายการย่อทตี่ ้องมใี นงบการเงนิ สาหรบั กจิ การเจ้าของ คนเดยี ว ดงั นัน้ จงึ นางบ การเงนิ ของหา้ งหุน้ ส่วนจดทะเบยี น (ตามแบบที่ 1) มาประยกุ ต์ใชก้ บั หน่วยการเรยี นน้ี เพอื่ ใหส้ ามารถเรยี นรแู้ ละฝึกทกั ษะการจดั ทา งบการเงนิ สาหรบั กจิ การเจา้ ของคนเดยี วประเภทการใหบ้ รกิ ารได้ 7.การกาหนดรายการย่อทต่ี อ้ งมใี นงบการเงนิ กรมพฒั นาธุรกจิ การคา้ กาหนดใหง้ บการเงนิ ของผมู้ หี น้าท่ี จดั ทาบญั ชตี อ้ งมรี ายการย่อ ดงั น้ี หา้ งหนุ้ สว่ นจดทะเบยี น ตอ้ งมรี ายการยอ่ ตามแบบ 1 บรษิ ทั จากดั ตอ้ งมรี ายการยอ่ ตามแบบ 2 บรษิ ทั มหาชนจากดั ตอ้ งมรี ายการย่อตามแบบ 3 นติ บิ คุ คลทต่ี งั้ ขน้ึ ตามกฎหมายต่างประเทศ ตอ้ งมรี ายการยอ่ ตามแบบ 4 กจิ การร่วมคา้ ตามประมวลรษั ฎากร ตอ้ งมรี ายการยอ่ ตามแบบ 5 เพ่อื ใหผ้ มู้ หี น้าทจ่ี ดั ทาบญั ชเี ขา้ ใจถงึ แนวคดิ ในการกาหนดรปู แบบและความหมายของรายการยอ่ ทต่ี อ้ งมี ในงบการเงนิ รวมทงั้ เพอ่ื ใหก้ ารจดั ทางบการเงนิ มมี าตรฐานเดยี วกนั กรมพฒั นาธรุ กจิ การคา้ จงึ ขอชแ้ี จงดงั น้ี 1) การกาหนดความหมายและรปู แบบของรายการยอ่ ที่ต้องมีในงบการเงิน 1.1 ความหมายของศพั ทท์ ม่ี คี วามหมายเฉพาะ กจิ การทไ่ี มม่ สี ว่ นไดเ้ สยี สาธารณะ (Non-Publicly Accountable Entities: NPAEs) หมายถงึ กจิ การทไ่ี ม่เขา้ ลกั ษณะ ดงั ต่อไปน้ี (1) กจิ การทม่ี ตี ราสารทุนหรอื ตราสารหน้ีของกจิ การ ซง่ึ มกี ารซอ้ื ขายต่อประชาชน ไมว่ า่ จะเป็นตลาด หลกั ทรพั ยใ์ นประเทศหรอื ต่างประเทศ หรอื การซอ้ื ขายนอกตลาดหลกั ทรพั ย์ (Over the Counter) รวมทงั้ ตลาด ในทอ้ งถน่ิ และในภมู ภิ าค หรอื กจิ การทน่ี าสง่ หรอื อยใู่ นกระบวนการของการนาสง่ งบการเงนิ ของกจิ การใหแ้ ก่ สานกั งานคณะกรรมการกากบั หลกั ทรพั ยแ์ ละตลาดหลกั ทรพั ยห์ รอื หน่วยงานกากบั ดแู ลอ่นื เพ่อื วตั ถุประสงคใ์ น การออกขายหลกั ทรพั ยใ์ ดๆ ต่อประชาชน (2) กจิ การทด่ี าเนินธุรกจิ หลกั ในการดแู ลสนิ ทรพั ยข์ องกลมุ่ บคุ คลภายนอกในวงกวา้ ง เชน่ สถาบนั การเงนิ บรษิ ทั ประกนั ชวี ติ บรษิ ทั ประกนั วนิ าศภยั บรษิ ทั หลกั ทรพั ยก์ องทนุ รวม ตลาดสนิ คา้ เกษตรลว่ งหน้าแห่งประเทศ ไทย ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการนนั้ เป็นตน้ (3) บรษิ ทั มหาชนจากดั ตามกฎหมายว่าดว้ ยบรษิ ทั มหาชนจากดั (4) กจิ การอน่ื ทส่ี ภาวชิ าชพี บญั ชจี ะกาหนดเพมิ่ เตมิ 1.2 การกาหนดรปู แบบรายการย่อทต่ี อ้ งมใี นงบการเงนิ (1) รปู แบบรายการยอ่ ทต่ี อ้ งมใี นงบการเงนิ ของบรษิ ทั มหาชนจากดั (แบบ 3) กาหนดขน้ึ โดยอา้ งองิ มาจาก มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ทส่ี ภาวชิ าชพี บญั ชปี ระกาศกาหนดตามมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ระหว่างประเทศ (International Financial Report Standard: IFRS)

158 (2) รปู แบบรายการยอ่ ทต่ี อ้ งมใี นงบการเงนิ ของหา้ งหนุ้ สว่ นจดทะเบยี น (แบบ 1) บรษิ ทั จากดั (แบบ 2) นิตบิ คุ คลทต่ี งั้ ขน้ึ ตามกฎหมายต่างประเทศ (แบบ 4) และกจิ การรว่ มคา้ ตามประมวลรษั ฎากร (แบบ 5) กาหนด ขน้ึ โดยอา้ งองิ มาจากมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ สาหรบั กจิ การทไ่ี ม่มสี ว่ นไดเ้ สยี สาธารณะ (TFRS for Non- Publicly Accountable Entities: TFRS for NPAEs) ท่ี สภาวชิ าชพี บญั ชปี ระกาศกาหนด 1.3 การกาหนดความหมายของรายการยอ่ ทต่ี ้องมใี นงบการเงนิ ความหมายของรายการย่อทต่ี อ้ งมใี นงบ การเงนิ จะอธบิ ายเฉพาะคานิยามของแต่ละรายการเทา่ นนั้ สาหรบั การรบั รรู้ ายการ และการวดั มลู ค่า ใหก้ จิ การถอื ปฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานรายงานทางการเงนิ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 2) การจดั ทางบการเงิน 2.1 ผมู้ หี น้าทจ่ี ดั ทาบญั ชตี อ้ งจดั ทางบการเงนิ ตามประกาศของกรมพฒั นาธุรกจิ การคา้ ไดแ้ ก่ (1) ผมู้ หี น้าทจ่ี ดั ทาบญั ชที ต่ี อ้ งจดั ทางบการเงนิ และตอ้ งนาสง่ ตอ่ กรมพฒั นาธรุ กจิ การคา้ ตามมาตรา 11 แห่งพระราชบญั ญตั กิ ารบญั ชี พ.ศ.2543 ไดแ้ ก่ หา้ งหนุ้ สว่ นจดทะเบยี น บรษิ ทั จากดั บรษิ ทั มหาชนจากดั นติ ิ บุคคลทต่ี งั้ ขน้ึ ตามกฎหมายต่างประเทศ และกจิ การรว่ มคา้ ตามประมวลรษั ฎากร (2) นิตบิ คุ คลทต่ี งั้ ขน้ึ ตามกฎหมายต่างประเทศ คอื นิตบิ คุ คลทไ่ี มไ่ ดจ้ ดทะเบยี นในประเทศไทยและเขา้ มา ประกอบธุรกจิ ในประเทศไทยทกุ กรณี ไม่ว่าจะไดร้ บั อนุญาตตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการประกอบธรุ กจิ ของคนต่าง ดา้ วหรอื ไม่กต็ าม โดยครอบคลมุ ถงึ สานกั งานผแู้ ทนของนิตบิ ุคคลต่างประเทศในธรุ กจิ การคา้ ระหว่างประเทศและ สานกั งานภูมภิ าคของบรษิ ทั ขา้ มชาตดิ ว้ ย (3) การกาหนดรายการยอ่ ของงบการเงนิ ตามประกาศกรมพฒั นาธรุ กจิ การคา้ เป็นการกาหนดรายการยอ่ ของงบการเงนิ สาหรบั ธรุ กจิ ทวั่ ไปเท่านนั้ ธุรกจิ ทต่ี อ้ งปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายเฉพาะ เช่น สถาบนั การเงนิ บรษิ ทั ประกนั ภยั บรษิ ทั หลกั ทรพั ย์ บรษิ ทั บรหิ ารสนิ ทรพั ย์ บรษิ ทั โฮลดง้ิ ทเ่ี ป็นบรษิ ทั แมข่ องกลมุ่ ธุรกจิ ทางการเงนิ ให้ ใชร้ ายการย่อตามทก่ี าหนดในกฎหมายเฉพาะนนั้ 2.2 หลกั การจดั ทางบการเงนิ (1) ผมู้ หี น้าทจ่ี ดั ทาบญั ชแี ต่ละประเภทตอ้ งจดั ทางบการเงนิ ดงั น้ี (2) ผมู้ หี น้าทจ่ี ดั ทาบญั ชที เ่ี ป็นหา้ งหนุ้ สว่ นจดทะเบยี น บรษิ ทั จากดั นิตบิ ุคคลทต่ี งั้ ขน้ึ ตามกฎหมาย ต่างประเทศ และกจิ การรว่ มคา้ ตามประมวลรษั ฎากร ทเ่ี ขา้ เง่อื นไขเป็นกจิ การท่มี สี ว่ นไดเ้ สยี สาธารณะหรอื เขา้ เง่อื นไขเป็นกจิ การทไ่ี มม่ สี ว่ นไดเ้ สยี สาธารณะแตม่ คี วามประสงคจ์ ะจดั ทาบญั ชตี ามมาตรฐานการรายงานทาง การเงนิ ทส่ี ภาวชิ าชพี บญั ชปี ระกาศกาหนดโดยอา้ งองิ มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ระหวา่ งประเทศ (IFRS)

159 ใหผ้ มู้ หี น้าทจ่ี ดั ทาบญั ชดี งั กล่าวจดั ทางบการเงนิ โดยนารปู แบบรายการยอ่ ทต่ี อ้ งมใี นงบการเงนิ ของบรษิ ทั มหาชน จากดั (แบบ 3) มาใชโ้ ดยปรบั ปรุงรายการทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั สว่ นของเจา้ ของใหส้ อดคลอ้ งกบั ขอ้ เทจ็ จรงิ ตามกฎหมาย และขอ้ กาหนดของมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ (3) เมอ่ื ผมู้ หี น้าทจ่ี ดั ทาบญั ชเี ลอื กแสดงงบกาไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็ แบบใดแบบหน่งึ หรอื เลอื กแสดงงบกาไร ขาดทนุ แบบใดแบบหน่งึ ของกรมธุรกจิ กาคา้ ผมู้ หี น้าทจ่ี ดั ทาบญั ชคี วรถอื ปฏบิ ตั อิ ยา่ งสม่าเสมอเพ่อื ประโยชน์ใน การเปรยี บเทยี บ อยา่ งไรกต็ าม หากผมู้ หี น้าทจ่ี ดั ทาบญั ชมี กี ารเปลย่ี นแปลงแบบทเ่ี ลอื กไวใ้ หก้ จิ การปฏบิ ตั ติ าม มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง และใหเ้ ปิดเผยไวใ้ นหมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ ดว้ ย (4) ผมู้ หี น้าทจ่ี ดั ทาบญั ชที เ่ี ป็นนติ บิ คุ คลทต่ี งั้ ขน้ึ ตามกฎหมายต่างประเทศ ตามขอ้ 2.1 (2) เมอ่ื จดั ทา รายการยอ่ ทต่ี อ้ งมใี นงบการเงนิ ตามแบบ 4 ในรายการทุนขนั้ ต่าตามกฎหมายแยกตามประเภทธรุ กจิ ใหแ้ ยกทุน ขนั้ ต่าตามกฎหมายทไ่ี ดร้ บั จากสานกั งานใหญ่ตามประเภทธุรกจิ นนั้ โดยอาจแสดงรายละเอยี ดแต่ละประเภทใน งบการเงนิ หรอื อาจแสดงยอดรวมไวใ้ นงบการเงนิ แลว้ เปิดเผยรายละเอยี ดแยกตามประเภทธรุ กจิ ไวใ้ นหมายเหตุ ประกอบงบการเงนิ กไ็ ด้ (5) ผมู้ หี น้าทจ่ี ดั ทาบญั ชที ม่ี ฐี านะเป็นคนต่างดา้ วและไดร้ บั อนุญาตใหป้ ระกอบธุรกจิ ตาม กฎหมายว่าดว้ ยการประกอบธุรกจิ ของคนต่างดา้ วใหเ้ ปิดเผยขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ ในหมายเหตุประกอบงบการเงนิ เกย่ี วกบั รายการดงั ต่อไปน้ดี ว้ ย (6) กรณที ผ่ี มู้ หี น้าทจ่ี ดั ทาบญั ชจี ดั ทางบการเงนิ ตามแบบ 3 และไดน้ านโยบายการบญั ชใี หม่ มาถอื ปฏบิ ตั ยิ อ้ นหลงั หรอื การปรบั งบการเงนิ ยอ้ นหลงั หรอื เม่อื กจิ การมกี ารจดั ประเภทรายการในงบการเงนิ ใหม่ ผมู้ หี น้าทจ่ี ดั ทาบญั ชตี อ้ งนาเสนองบแสดงฐานะการเงนิ ณ วนั ตน้ งวดของงวดทน่ี ามาเปรยี บเทยี บทใ่ี กลท้ ส่ี ดุ ดว้ ย (7) สาหรบั รอบระยะเวลาบญั ชแี รกทจ่ี ดั ทางบการเงนิ หรอื กรณที ม่ี กี ารแปรสภาพกจิ การระหว่างปีงบ การเงนิ ของรอบระยะเวลาบญั ชกี ่อนทน่ี ามาเปรยี บเทยี บอาจมกี ารจดั ประเภทรายการหรอื มรี ปู แบบทแ่ี ตกต่างจาก ประกาศฉบบั น้ี ผมู้ หี น้าทจ่ี ดั ทาบญั ชคี วรจดั ประเภทรายการหรอื รปู แบบ ทจ่ี ะนามาเปรยี บเทยี บใหส้ อดคลอ้ งกบั ประกาศฉบบั น้ดี ว้ ย เวน้ แต่ในทางปฏบิ ตั ิไมส่ ามารถทาได้ (8) การจดั ประเภทรายการในงบการเงนิ ใหพ้ จิ ารณา ดงั น้ี ใหพ้ จิ ารณาลกั ษณะการดาเนนิ งานของธุรกจิ และมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั เรอ่ื ง นนั้ ๆ รวมทงั้ คานงึ ถงึ นโยบายการกากบั ดแู ลของหน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ใหพ้ จิ ารณาเน้อื หาเชงิ เศรษฐกจิ มากกวา่ รปู แบบทางกฎหมาย เชน่ หนุ้ บุรมิ สทิ ธซิ ง่ึ ใหส้ ทิ ธผิ มู้ หี น้าท่ี จดั ทาบญั ชที อ่ี อกหนุ้ ในการบงั คบั ไถ่ถอนดว้ ยจานวนเงนิ ทแ่ี น่นอนหรอื ทส่ี ามารถทราบได้ ณ วนั ทก่ี าหนดไวห้ รอื วนั ทท่ี ราบได้ หรอื หุน้ บรุ มิ สทิ ธซิ ง่ึ ใหส้ ทิ ธแิ กผ่ ถู้ อื หุน้ ในการเรยี กรอ้ งใหผ้ มู้ หี น้าทจ่ี ดั ทาบญั ชไี ถ่ถอนหุน้ ในหรอื หลงั วนั ทท่ี ก่ี าหนดไวด้ ว้ ยจานวนเงนิ ทแ่ี น่นอนหรอื ทท่ี ราบไดห้ นุ้ บุรมิ สทิ ธนิ นั้ ตอ้ งจดั ประเภทเป็นหน้สี นิ ในงบแสดง ฐานะการเงนิ เป็นตน้ ทงั้ น้ีผมู้ หี น้าทจ่ี ดั ทาบญั ชตี อ้ งเปิดเผยขอ้ มลู ใหส้ อดคลอ้ งตามขอ้ เทจ็ จรงิ และมาตรฐานการ รายงานทางการเงนิ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง (9) รปู แบบรายการย่อเป็นเพยี งแนวทางทก่ี าหนดใหแ้ สดงรายการแยกเป็นแต่ละบรรทดั พรอ้ มจานวนเงนิ หากผมู้ หี น้าทจ่ี ดั ทาบญั ชไี มม่ รี ายการตามทแ่ี บบรายการย่อกาหนดไวก้ ไ็ มต่ อ้ งแสดงรายการดงั กล่าวไวใ้ นงบ การเงนิ เช่น - งบกาไรขาดทุนเบด็ เสรจ็ หากผมู้ หี น้าทจ่ี ดั ทาบญั ชไี มม่ รี ายการกาไรขาดทุนเบด็ เสรจ็ อ่นื

160 กไ็ มต่ อ้ งแสดงรายการดงั กลา่ ว โดยใหแ้ สดงรายการกาไร (ขาดทนุ ) เบด็ เสรจ็ รวมสาหรบั ปีต่อจากรายการกาไร (ขาดทนุ ) สาหรบั ปี - งบแสดงการเปลย่ี นแปลงสว่ นของผถู้ อื หนุ้ ถา้ ในระหวา่ งปีมกี ารเปลย่ี นแปลงเฉพาะกาไร (ขาดทนุ ) สาหรบั ปีเทา่ นนั้ ไมม่ กี ารเปลย่ี นแปลงในรายการอน่ื กใ็ หแ้ สดงเฉพาะการเปลย่ี นแปลงในกาไร (ขาดทุน) สาหรบั ปีเทา่ นนั้ (10) กรณที ผ่ี มู้ หี น้าทจ่ี ดั ทาบญั ชมี รี ายการนอกเหนอื จากทร่ี ปู แบบรายการย่อกาหนดไวใ้ หแ้ สดงรายการ นนั้ ไดต้ ามความจาเป็นและเหมาะสมแกก่ รณเี ชน่ แบบรายการยอ่ กาหนดใหแ้ สดงรายการยอ่ ไวเ้ พยี งรายการเดยี ว ผมู้ หี น้าทจ่ี ดั ทาบญั ชจี ะแสดงรายละเอยี ดภายใตร้ ายการนนั้ กไ็ ด้ แต่ตอ้ งแสดงรายการใหถ้ กู ตอ้ งตามประเภทและ ลกั ษณะของสนิ ทรพั ยห์ น้สี นิ สว่ นของเจา้ ของ รายไดห้ รอื ค่าใชจ้ า่ ย เป็นตน้ สว่ นกรณีทม่ี าตรฐานการรายงานทาง การเงนิ กาหนดใหม้ รี ายการยอ่ นอกเหนอื จากรายการทก่ี าหนดในประกาศฉบบั น้ใี หแ้ สดงรายการนนั้ เพมิ่ เตมิ ตามทม่ี าตรฐานการรายงานทางการเงนิ กาหนด (11) การแสดงรายการสว่ นเกนิ (ต่ากวา่ ) มลู คา่ หุน้ บรุ มิ สทิ ธหิ รอื สว่ นเกนิ (ต่ากว่า) มลู ค่าหุน้ สามญั หากมี ทงั้ สว่ นเกนิ และสว่ นต่าของหนุ้ ทนุ ประเภทเดยี วกนั และมเี น้อื หาเศรษฐกจิ เดยี วกนั สามารถนามาหกั กลบ และ แสดงเป็นมลู คา่ สทุ ธไิ ด้ เชน่ สว่ นต่ากวา่ มลู คา่ หนุ้ สามญั สามารถหกั กลบกบั สว่ นเกนิ มลู ค่าหุน้ สามญั ไดแ้ ต่ไม่ใหห้ กั กลบสว่ นต่ากว่ามลู ค่าหุน้ สามญั กบั สว่ นเกนิ มลู คา่ หุน้ บรุ มิ สทิ ธเิ น่อื งจากเป็นหุน้ ทนุ คนละประเภทและมสี ทิ ธติ าม กฎหมายทแ่ี ตกต่างกนั ทงั้ น้ีการหกั กลบดงั กลา่ วเป็นเพยี งการนาเสนอขอ้ มลู ในงบการเงนิ เท่านนั้ อยา่ งไรกต็ าม ในการบนั ทกึ รายการบญั ชจี ะตอ้ งแยกบนั ทกึ รายการสว่ นเกนิ มลู คา่ หุน้ และสว่ นต่ากวา่ มลู คา่ หุน้ ของทงั้ หนุ้ บรุ มิ สทิ ธแิ ละหนุ้ สามญั เป็นแต่ละบญั ชแี ยกจากกนั รายการสว่ นเกนิ มลู ค่าหุน้ ต้องเป็นเงนิ หรอื สงิ่ ตอบแทนทไ่ี ดร้ บั จากการขายหนุ้ สว่ นทส่ี งู กว่ามลู ค่าทต่ี ราไวต้ ามทจ่ี ดทะเบยี นหรอื ทไ่ี ดม้ าจากการลดทุนจดทะเบยี นในสว่ นทไ่ี ดม้ ี การชาระเงนิ จากผถู้ อื หุน้ แลว้ และมไิ ดค้ นื กลบั ใหผ้ ถู้ อื หนุ้ (12) การกาหนดหน่วยจานวนเงนิ บาท อาจแสดงเป็นหน่วยของหลกั พนั หลกั หมน่ื หลกั แสน หลกั ลา้ นได้ ตามความเหมาะสม แต่ตอ้ งระบหุ น่วยของหลกั ทใ่ี ชไ้ วใ้ นงบการเงนิ (13) หมายเลขกากบั รายการทป่ี รากฏในงบการเงนิ มไี วเ้ พ่อื ความสะดวกในการอา้ งองิ เทา่ นนั้ ในการจดั ทา งบการเงนิ ไมต่ อ้ งแสดงหมายเลขดงั กลา่ ว (14) รายการย่อของงบการเงนิ ตามทก่ี าหนดไวใ้ นประกาศกรมพฒั นาธุรกจิ การคา้ เร่อื ง กาหนดรายกาย่อ ทต่ี อ้ งมใี นงบการเงนิ จะไดก้ ลา่ วต่อไป 8.ครอู ธบิ ายงบกาไรขาดทนุ (Income Statement or profit and loss statement) หมายถงึ งบทแ่ี สดงผล การดาเนนิ งานของกจิ การในรอบระยะเวลาใดเวลาหน่ึงว่ามรี ายได้ ค่าใชจ้ า่ ย และกาไรหรอื ขาดทุนสทุ ธเิ ทา่ ใด ซง่ึ อาจจะจดั ทางบกาไรขาดทุนสาหรบั ระยะเวลา 3 เดอื น 6 เดอื น หรอื 12 เดอื น งบกาไรขาดทนุ แบบรายงาน สามารถแสดงได้ 2 รปู แบบ คอื 1) งบกาไรขาดทุน จาแนกคา่ ใชจ้ า่ ยตามลกั ษณะของคา่ ใชจ้ ่าย 2) งบกาไรขาดทนุ จาแนกคา่ ใชจ้ ่ายตามหน้าท่ี แบง่ ออกได้ 2 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ 2.1 จาแนกคา่ ใชจ้ า่ ยตามหน้าท-่ี แบบขนั้ เดยี ว (Single step) 2.2 จาแนกค่าใชจ้ ่ายตามหน้าท-่ี แบบหลายขนั้ (Multiple step)

161 อย่างไรกต็ าม การจดั ทางบกาไรขาดทุนไม่ว่ารูปแบบใด หากพิจารณาแล้วจะมีบญั ชหี ลกั ๆ อยู่ 3 กลุ่ม ดว้ ยกนั ไดแ้ ก่ รายได้ คา่ ใชจ้ ่าย (รวมตน้ ทุน) และกาไร (ขาดทุน) สทุ ธิ ซง่ึ สาหรบั กจิ การเจา้ ของคนเดยี วประเภท ธุรกิจบรกิ ารได้นาเอางบกาไรขาดทุนของห้างห้นุ ส่วนจดทะเบียน (ตามแบบที่ 1) มาประยุกต์ใช้โดยเน้น สาระสาคญั ของเนื้อหาของกจิ การเจา้ ของคนเดยี วประเภทธุรกจิ บรกิ าร มากกวา่ รปู แบบ 9.ผเู้ รยี นบอกขนั้ ตอนการจดั ทางบกาไรขาดทุนอย่างง่ายๆ ไดด้ งั น้ี 1) เขยี นหวั งบกาไรขาดทุน 2) นาบญั ชหี มวดรายได้ทเ่ี ป็นยอดสทุ ธมิ าใส่ในงบกาไรขาดทุนแลว้ รวมยอดทงั้ สน้ิ ถ้ารายการใดท่ตี ้อง หารายไดส้ ทุ ธใิ หแ้ สดงไวใ้ นหมายเหตุประกอบฯ แยกต่างหาก นาเฉพาะรายไดส้ ทุ ธมิ าใส่เท่านนั้ 3) นาบญั ชหี มวดค่าใชจ้ ่าย ทเ่ี ป็นยอดรวมแต่ละประเภทมาแสดงไวใ้ นงบกาไรขาดทุน ถ้ารายการใดมี มากกวา่ 1 รายการ ใหแ้ สดงไวใ้ นหมายเหตุประกอบ ฯ แยกไวต้ ่างหาก แลว้ นาเฉพาะยอดรวมมาใสเ่ ทา่ นนั้ 4) หาผลต่างระหวา่ งยอดรวมของรายไดแ้ ละยอดรวมของคา่ ใชจ้ า่ ย 4.1 ถา้ ยอดรวมของรายไดม้ ากกว่ายอดรวมของคา่ ใชจ้ า่ ย ผลต่างคอื “กาไรสทุ ธ”ิ 4.2 ถา้ ยอดรวมของค่าใชจ้ า่ ยมากกว่ายอดรวมของรายได้ ผลต่างคอื “ขาดทนุ สทุ ธ”ิ  งบกาไรขาดทนุ จาแนกคา่ ใช้จา่ ยตามลกั ษณะของค่าใช้จ่าย หน่วย : บาท หมายเหตุ 25XX 1. รายได้ XX 1.1 รายไดจ้ ากการใหบ้ รกิ าร XX 1.2 รายไดอ้ น่ื XX รวมรายได้ (1.1 + 1.2) XX 2. คา่ ใชจ้ า่ ย XX 2.1 งานทก่ี จิ การทาและถอื เป็นรายจา่ ยฝา่ ยทนุ XX 2.2 คา่ ใชจ้ ่ายพนกั งาน XX 2.3 ขาดทนุ จากการดอ้ ยคา่ ของสนิ ทรพั ย์ XX 2.4 คา่ ใชจ้ า่ ยอน่ื XX รวมค่าใชจ้ า่ ย (2.1+2.2+2.3+2.4) XX XX 3. กาไร (ขาดทุน) กอ่ นตน้ ทุนทางการเงนิ (1-2) 4. ตน้ ทนุ ทางการเงนิ หน่วย : บาท 5. กาไร (ขาดทนุ ) สทุ ธิ (3-4)  งบกาไรขาดทุน จาแนกคา่ ใช้จา่ ยตามหน้าท่ี XX XX 2.1 งบกาไรขาดทุน จาแนกค่าใช้จ่ายตามหน้าท่ี – แบบขนั้ เดียว XX หมายเหตุ 25XX 1. รายได้ 1.1 รายไดจ้ ากการใหบ้ รกิ าร 1.2 รายไดอ้ น่ื รวมรายได้ (1.1 + 1.2)

162 2. คา่ ใชจ้ า่ ย XX 2.1 ตน้ ทนุ การใหบ้ รกิ าร XX 2.2 คา่ ใชจ้ ่ายในการใหบ้ รกิ าร XX 2.3 คา่ ใชจ้ า่ ยในการบรหิ าร XX 2.4 ค่าใชจ้ า่ ยอ่นื XX รวมค่าใชจ้ า่ ย (2.1+2.2+2.3+2.4) XX XX 3. กาไร (ขาดทนุ ) กอ่ นตน้ ทุนทางการเงนิ (1-2) XX 4. ตน้ ทุนทางการเงนิ 5. กาไร (ขาดทุน) สุทธิ 2.2 งบกาไรขาดทนุ จาแนกคา่ ใช้จ่ายตามหน้าท่ี – แบบหลายขนั้ หน่วย : บาท หมายเหตุ 25XX 1. รายไดจ้ ากการใหบ้ รกิ าร XX 2. ตน้ ทุนการใหบ้ รกิ าร XX 3. กาไร (ขาดทุน) ขนั้ ตน้ (1-2) XX 4. รายไดอ้ น่ื XX 5. กาไร (ขาดทุน) กอ่ นค่าใชจ้ ่าย (3+4) XX 6. ค่าใชจ้ ่ายในการใหบ้ รกิ าร XX 7. ค่าใชจ้ า่ ยในการบรหิ าร XX 8. คา่ ใชจ้ า่ ยอ่นื XX 9. รวมค่าใชจ้ ่าย (6+7+8) XX 10. กาไร (ขาดทนุ ) กอ่ นตน้ ทนุ ทางการเงนิ (5-9) XX 11. ตน้ ทนุ ทางการเงนิ XX 12. กาไร (ขาดทนุ ) สุทธิ (10-11) XX *กรณีทกี่ จิ การเลอื กแสดง “งบกาไรขาดทุน แบบจาแนกค่าใชจ้ า่ ยตามหน้าท”ี่ ต้องเปิดเผยขอ้ มูลเพมิ่ เตมิ ในหมาย เหตุประกอบงบการเงนิ เกยี่ วกบั ค่าใชจ้ ่ายตามลกั ษณะของคา่ ใชจ้ า่ ย ตามทกี่ าหนดในมาตรฐานการบญั ชี 10.ครแู ละผเู้ รยี นอธบิ ายหมายเหตุประกอบงบการเงนิ โดยหมายเหตุประกอบงบการเงนิ ตอ้ งจดั ทาให้ สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการบญั ชี มี 2 สว่ น คอื 1) สรุปนโยบายการบญั ชที ส่ี าคญั และ 2) ขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ อ่นื 11.ครแู ละผเู้ รยี นสาธติ การจดั ทางบกาไรขาดทนุ ตวั อยา่ งที่ กระดาษทาการของรา้ นเนเจอรซ์ าลอน ซง่ึ มนี ายเนมเป็นเจา้ ของมขี อ้ มลู ดงั น้ี รา้ นเนเจอรซ์ าลอน กระดาษทาการ สาหรบั รอบระยะเวลา 1 ปี สิ้นสดุ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25X8 ชอ่ื บญั ชี เลขท่ี งบทดลอง งบกาไรขาดทนุ งบแสดงฐานะการเงนิ บญั ชี เดบติ เครดติ เดบติ เครดติ เดบติ เครดติ เงนิ สด 101 100,000 100,000 เงนิ ฝากธนาคาร 102 60,000 60,000 ลกู หน้กี ารคา้ 103 35,000 35,000

163 อุปกรณ์ 104 50,000 50,000 40,000 เครอ่ื งตกแต่ง 105 40,000 270,000 อาคาร 105 270,000 12,000 เจา้ หน้กี ารคา้ 201 38,000 38,000 60,000 เงนิ กรู้ ะยะยาว 6% 202 60,000 400,000 ทนุ -นายเนม 301 400,000 ถอนใชส้ ว่ นตวั -นายเนม 302 12,000 รายไดค้ า่ บรกิ าร 401 320,000 320,000 รายไดอ้ ่นื ๆ 402 80,000 80,000 คา่ พาหนะ 501 12,000 12,000 คา่ โฆษณา 502 110,000 110,000 คา่ รบั รองลกู คา้ 503 30,000 30,000 คา่ สาธารณูปโภค 504 40,000 40,000 ค่าเสยี หายจากน้าท่วม 505 14,000 14,000 คา่ ใชจ้ า่ ยอ่นื ๆ 506 15,000 15,000 ดอกเบย้ี จา่ ย 507 32,000 32,000 เงนิ เดอื น 508 78,000 78,000 898,000 898,000 331,000 400,000 567,000 498,000 567,000 กาไรสุทธิ 69,000 69,000 567,000 400,000 400,000 งบกาไรขาดทุน จาแนกค่าใช้จา่ ยตามลกั ษณะของคา่ ใช้จา่ ย รา้ นเนเจอรซ์ าลอน งบกาไรขาดทนุ สาหรบั รอบระยะเวลา 1 ปี สน้ิ สดุ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25X8 หมายเหตุ หน่วย: บาท รายได้ 320,000 80,000 รายไดจ้ ากการใหบ้ รกิ าร 400,000 รายไดอ้ ่นื ๆ 118,000 152,000 รวมรายได้ 29,000 299,000 ค่าใช้จา่ ย 101,000 32,000 งานทก่ี จิ การทาและถอื เป็นรายจา่ ยฝา่ ยทุน  69,000 ค่าใชจ้ ่ายในการใหบ้ รกิ ารและบรหิ าร  คา่ ใชจ้ ่ายอ่นื ๆ  รวมคา่ ใชจ้ ่าย กาไรกอ่ นตน้ ทนุ ทางการเงนิ หกั ตน้ ทนุ ทางการเงนิ กาไรสทุ ธิ

164 งบกาไรขาดทุน จาแนกตามหน้าท่ี-แบบขนั้ เดียว รา้ นเนเจอรซ์ าลอน งบกาไรขาดทุน สาหรบั รอบระยะเวลา 1 ปี สน้ิ สดุ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25X8 หมายเหตุ หน่วย: บาท รายได้ 320,000 80,000 รายไดจ้ ากการใหบ้ รกิ าร 400,000 รายไดอ้ น่ื ๆ 118,000 152,000 รวมรายได้ 29,000 299,000 คา่ ใช้จ่าย 101,000 32,000 ตน้ ทนุ การใหบ้ รกิ าร  69,000 คา่ ใชจ้ า่ ยในการใหบ้ รกิ ารและบรหิ าร  หน่วย: บาท 320,000 คา่ ใชจ้ า่ ยอ่นื ๆ  118,000 202,000 รวมค่าใชจ้ ่าย 80,000 282,000 กาไรก่อนตน้ ทนุ ทางการเงนิ 152,000 29,000 หกั ตน้ ทุนทางการเงนิ 181,000 101,000 กาไรสทุ ธิ 32,000 69,000 งบกาไรขาดทุน จาแนกตามหน้าท่ี-แบบหลายขนั้ รา้ นเนเจอรซ์ าลอน งบกาไรขาดทุน สาหรบั รอบระยะเวลา 1 ปี สน้ิ สดุ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25X8 หมายเหตุ รายไดจ้ ากการใหบ้ รกิ าร หกั ตน้ ทุนการใหบ้ รกิ าร  กาไรขนั้ ตน้ บวก รายไดอ้ น่ื กาไรก่อนค่าใชจ้ า่ ย คา่ ใชจ้ ่ายในการใหบ้ รกิ ารและบรหิ าร  ค่าใชจ้ ่ายอน่ื  รวมคา่ ใชจ้ า่ ย กาไรก่อนตน้ ทนุ ทางการเงนิ หกั ตน้ ทุนทางการเงนิ กาไรสทุ ธิ

165 หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน หมายเหตฯุ  งานที่กิจการทาและถือเป็นรายจ่ายฝ่ายทุน (และต้นทนุ การให้บริการ) คา่ สาธารณูปโภค 40,000 บาท เงนิ เดอื น 78,000 บาท รวม 118,000 บาท หมายเหตฯุ  คา่ ใช้จา่ ยในการให้บริการและบริหาร ค่าพาหนะ 12,000 บาท ค่าโฆษณา 110,000 บาท คา่ รบั รองลกู คา้ 30,000 บาท รวม 152,000 บาท หมายเหตฯุ  ค่าใช้จ่ายอ่ืนๆ ค่าเสยี หายจากน้าทว่ ม 14,000 บาท คา่ ใชจ้ า่ ยอน่ื ๆ 15,000 บาท รวม 29,000 บาท 12.ครเู พมิ่ เตมิ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง นอกเหนือจากคณุ ลกั ษณะดา้ นความพอประมาณ ยงั มี คุณลกั ษณะดา้ นความมเี หตุผลตอ้ งเป็นไปอยา่ งมเี หตุผลโดยพจิ ารณาจากเหตุปจั จยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ตลอดจนคานงึ ถงึ ผลทค่ี าดว่าจะเกดิ ขน้ึ จากการกระทานนั้ ๆ อยา่ งรอบคอบ นามาประยุกตใ์ หเ้ ขา้ กบั การดาเนนิ ชวี ติ ไดอ้ ยา่ งไร 13.ผเู้ รยี นฝึกปฏบิ ตั กิ จิ กรรม ดงั น้ี 1) บนั ทกึ รายการเปิดบญั ชแี ละรายการคา้ ระหว่างเดอื นสงิ หาคมในสมดุ รายวนั ทวั่ ไป 2) ผ่านรายการจากสมุดรายวนั ทวั่ ไป ไปบญั ชแี ยกประเภททวั่ ไป 3) งบทดลอง 4) กระดาษทาการ 5) งบกาไรขาดทนุ 14.เปิดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นแสดงความคดิ เหน็ ร่วมกนั และนาผลงานสง่ ครเู พ่อื ประเมนิ ผล 15.ผเู้ รยี นทากจิ กรรมใบงาน ขนั้ สรปุ และการประเมินผล 16.สรปุ โดยใหผ้ เู้ รยี นฝึกทาแบบฝึกปฏบิ ตั ติ ามตวั อยา่ งการเรยี นการสอนเพ่อื นาไปประยกุ ตใ์ ชต้ อ่ ไป 17.ครผู สู้ อนปลกู ฝงั ใหผ้ เู้ รยี นพดู จาไพเราะ มคี วามสภุ าพอ่อนโยน ไมห่ ยาบคาย มคี วามเสงย่ี มงาม รกั ความประณตี สะอาด เรยี บรอ้ ย รจู้ กั เผอ่ื แผแ่ บ่งปนั ช่วยเหลอื คนทวั่ ไป มนี ้าใจเออ้ื เฟ้ือสงเคราะหม์ ติ รสหาย เป็น ผมู้ สี ว่ นบารุงพระสงฆ์ ผทู้ รงความรู้ ผทู้ รงศลี เป็นตน้ 18.ผเู้ รยี นฝึกทางบกาไรขาดทนุ ในแบบฝึกปฏบิ ตั ิ

166 สื่อและแหล่งการเรยี นรู้ 1. หนงั สอื เรยี นวชิ าการบญั ชเี บอ้ื งตน้ (20200-1002) ของสานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์ 3. ใบความรู้ 4. มาตรฐานการบญั ชี 5. อนิ เทอรเ์ นต็ 6. Power Point หลกั ฐาน 1.บนั ทกึ การสอนของสถานศกึ ษา 2.ผลงานของผเู้ รยี น 3.แผนจดั การเรยี นรู้ การวดั ผลและการประเมินผล วิธีวดั ผล 1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล 2. ตรวจใบงาน 3. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรกู้ อ่ น/หลงั เรยี น 4. ตรวจแบบประเมนิ ผลการฝึกปฏบิ ตั ิ 5. ประเมนิ กจิ กรรมเสนอแนะผเู้ รยี นเป็นสาคญั และสง่ เสรมิ คุณธรรมนาความรู้ 6 ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ 7 สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ 8 การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เครอื่ งมอื วดั ผล 1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล 2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยคร)ู 3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยผเู้ รยี น) 4. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน 5. แบบประเมนิ ผลแบบฝึกปฏบิ ตั ิ 6. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรกู้ อ่ น/หลงั เรยี น 7. แบบประเมนิ กจิ กรรมเสนอแนะผเู้ รยี นเป็นสาคญั และสง่ เสรมิ คณุ ธรรมนาความรู้ 8. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครแู ละผเู้ รยี น รว่ มกนั ประเมนิ เกณฑก์ ารประเมินผล 1. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ตอ้ งไมม่ ชี อ่ งปรบั ปรุง 2. เกณฑผ์ ่านการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป)

167 3. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป) 4. กจิ กรรมใบงาน เกณฑผ์ ่าน คอื 50% 5. แบบประเมนิ ผลแบบฝึกปฏบิ ตั ิ เกณฑผ์ ่าน 50% 6. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรกู้ ่อน/หลงั เรยี นมเี กณฑผ์ ่าน 50% 7. แบบประเมนิ กจิ กรรมเสนอแนะผเู้ รยี นเป็นสาคญั และสง่ เสรมิ คณุ ธรรมนาความรผู้ ่าน 50% 8 แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อย่กู บั การประเมนิ ตามสภาพจรงิ กิจกรรมเสนอแนะ 1. ทาใบงานและแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 2. บนั ทกึ การรบั -จา่ ย -. ฝึกปฏบิ ตั จิ ดั ทางบกาไรขาดทนุ การบรู ณาการ 1) กลุ่มวชิ าภาษาไทย ไดแ้ ก่ ทกั ษะการฟงั ทกั ษะการอ่าน ทกั ษะการเขยี นและทกั ษะการพดู 2) ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3) คุณธรรมจรยิ ธรรม และศลี ธรรม กล่มุ วิชาภาษาไทย 4) หน้าทพ่ี ลเมอื งดี 5) อน่ื ๆ กล่มุ วิชาคณิตศาตร์ กล่มุ วิชาวิทยาศาสตร์ กล่มุ วิชากฏหมาย งบการเงิน การบรู ณาการ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง หนา้ ที่พลเมือง กล่มุ วิชาการขายและคอมพิวเตอร์ กล่มุ วิชาภาษาองั กฤษ

168 คาชี้แจง : ใหบ้ นั ทกึ บญั ชรี ายรบั -รายจา่ ย ตามความเป็นจรงิ 1. จากการลงบนั ทกึ มเี งนิ เหลอื เกบ็ หรอื ไม่……………เพราะเหตุใด………………..………….……… 2. จะเกดิ อะไรขน้ึ ถา้ มรี ายจา่ ยมากกว่ารายรบั ………………………..…………….………………….…

169 แบบประเมินกิจกรรมส่งเสริมคณุ ธรรมนาความรู้ คาชี้แจง ใหป้ ระเมนิ รายการแต่ละขอ้ แลว้ เขยี นเคร่อื งหมาย  ลงในช่องระดบั คุณภาพตามความเป็นจรงิ โดยกาหนดน้าหนกั คะแนน ดงั น้ี 5 = ดมี าก, 4 = ด,ี 3 = พอใช,้ 2 = ควรปรบั ปรุง, 1 = ใชไ้ ม่ได้ รายการประเมิน พฤติกรรมบง่ ชี้ ระดบั คณุ ภาพ 54 3 21 1.การมมี นุษยสมั พนั ธ์  แสดงกรยิ าทา่ ทางสภุ าพต่อผอู้ ่นื  รบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ น่ื 2.ความมวี นิ ยั  ตรงต่อเวลาในการทางาน  ประพฤตติ นถูกตอ้ งตามศลี ธรรมอนั ดงี าม 3.ความรบั ผดิ ชอบ  ปฏบิ ตั งิ านทไ่ี ดร้ บั มอบหมายเสรจ็ ตามกาหนด  ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความละเอยี ดรอบคอบ 4.ความซ่อื สตั ยส์ จุ รติ  ไมน่ าผลงานผอู้ ่นื มาแอบอา้ งเป็นของตนเอง  พดู ในสงิ่ ทเ่ี ป็นความจรงิ 5.ความสนใจใฝร่ ู้  ศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง  แสวงหาประสบการณ์และความรใู้ หม่ๆ 6.ความเชอ่ื มนั่ ในตนเอง  กลา้ แสดงความคดิ เหน็ อยา่ งมเี หตผุ ล  กลา้ ทกั ทว้ งในสงิ่ ทไ่ี ม่ถูกตอ้ ง รวมคะแนนที่ได.้ .....................................คะแนน ขอ้ คิดเหน็ เพ่ิมเติม 1.กระบวนการคดิ ทใ่ี ช้ คอื ……….…………………………………….………………………… 2.สง่ิ ทค่ี วรปรบั ปรงุ คอื ……….…………………………………….…………………………… ผปู้ ระเมนิ .....…………….......................... เกณฑก์ ารประเมินระดบั คณุ ภาพ 28-30 คะแนน = ดมี าก 15-19 คะแนน = ควรปรบั ปรงุ 25-27 คะแนน = ดี 0-14 คะแนน = ใชไ้ มไ่ ด้ 20-24 คะแนน = พอใช้ หมายเหตุ อา้ งองิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยมและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา สานกั งาน มาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ออกแบบโดย; เพญ็ ศรี เลิศเกียรติวิทยา

170 บนั ทึกหลงั การสอน ขอ้ สรปุ หลงั การสอน .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ปัญหาท่ีพบ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. แนวทางแก้ปัญหา .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................

171 แผนการจดั การเรียนรแู้ บบบรู ณาการที่ 14 หน่วยที่ 10 รหสั วิชา 20200-1002 การบญั ชเี บ้ืองตน้ (2-2-3) สอนครง้ั ท่ี 14 (53-56) ช่อื หน่วย/เรอ่ื ง งบการเงิน (ต่อ) จานวนชวั่ โมง 4 ช.ม. แนวคิด งบการเงนิ เป็นการนาเสนอฐานะการเงนิ และผลการดาเนนิ งานทางการเงนิ ของกจิ การอย่างมี แบบแผน เพ่อื ใหข้ อ้ มลู เกย่ี วกบั ฐานะการเงนิ ผลการดาเนนิ งานและกระแสเงนิ สดของกจิ การ ซง่ึ เป็นประโยชน์ต่อ การตดั สนิ ใจเชงิ เศรษฐกจิ ของผใู้ ชง้ บการเงนิ กลุม่ ต่างๆ นอกจากน้งี บการเงนิ ยงั แสดงถงึ ผลการบรหิ ารงานของ ฝา่ ยบรหิ ารซง่ึ ไดร้ บั มอบหมายใหด้ แู ลทรพั ยากรของกจิ การ เพ่อื ทจ่ี ะบรรลวุ ตั ถุประสงคด์ งั กล่าว งบการเงนิ ตอ้ งให้ ขอ้ มลู ของกจิ การเกย่ี วกบั สนิ ทรพั ย์ หน้สี นิ สว่ นของเจา้ ของ รายไดแ้ ละค่าใชจ้ ่าย รวมถงึ ผลกาไรและขาดทุน รวมทงั้ เงนิ ทุนทไ่ี ดร้ บั จากผเู้ ป็นเจา้ ของและการจดั สรรสว่ นทนุ ใหผ้ ูเ้ ป็นเจา้ ของในฐานะทเ่ี ป็นเจา้ ของ และกระแส เงนิ สด โดยขอ้ มลู เหล่าน้แี ละขอ้ มลู อน่ื เปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงนิ ชว่ ยผใู้ ชง้ บการเงนิ ในการ คาดการณ์เกย่ี วกบั จงั หวะเวลาและความแน่นอนทก่ี จิ การจะกอ่ ใหเ้ กดิ กระแสเงนิ สดในอนาคตของกจิ การ ผลการเรยี นร้ทู ี่คาดหวงั 6.จดั ทางบแสดงฐานะการเงนิ ได้ 7.มกี ารพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทค่ี รสู ามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเรอ่ื ง 7.1 ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ 7.2 ความมวี นิ ยั 7.3 ความรบั ผดิ ชอบ 7.4 ความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ 7.5 ความเช่อื มนั่ ในตนเอง 7.6 การประหยดั 7.7 ความสนใจใฝร่ ู้ 7.8 การละเวน้ สงิ่ เสพตดิ และการพนนั 7.9 ความรกั สามคั คี 7.10 ความกตญั ญกู ตเวที สมรรถนะรายวิชา 1.แสดงความรเู้ กย่ี วกบั หลกั การ และวธิ กี ารบญั ชสี าหรบั กจิ การเจา้ ของคนเดยี วประเภทธรุ กจิ บรกิ าร 2.ปฏบิ ตั งิ านบญั ชสี าหรบั กจิ การเจา้ ของคนเดยี วประเภทธุรกจิ บรกิ ารตามหลกั การบญั ชที ร่ี บั รองทวั่ ไป

172 สาระการเรยี นรู้ 6.งบแสดงฐานะการเงนิ กิจกรรมการเรียนรู้ ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรียน 1.ครอู ภปิ รายงบแสดงฐานะการเงนิ (Statement of the financial position) เป็นงบทแ่ี สดงถงึ ฐานะทาง การเงนิ ของกจิ การ ณ วนั สน้ิ งวด หรอื วนั ทจ่ี ดั ทางบแสดงฐานะการเงนิ นนั้ บญั ชที แ่ี สดงในงบแสดงฐานะการเงนิ ไดแ้ ก่ บญั ชปี ระเภทสนิ ทรพั ย์ หน้สี นิ และทุนหรอื สว่ นของเจา้ ของ 2.ผเู้ รยี นยกตวั อย่างรายการทจ่ี ะแสดงในงบแสดงฐานะการเงนิ จากความรเู้ ดมิ ทเ่ี คยศกึ ษามาบา้ งแลว้ ขนั้ สอน 3.ครแู ละผเู้ รยี นใชเ้ ทคนิควธิ กี ารจดั การเรยี นรแู้ บบอภปิ ราย (Discussion Method) คอื กระบวนการท่ี ผสู้ อนมุ่งใหผ้ เู้ รยี นมโี อกาสสนทนาแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ หรอื ระดมความคดิ โดยมจี ุดมงุ่ หมายเพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี น เขา้ ใจเน้อื หาไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยอภปิ รายเร่อื งความหมายของงบแสดงฐานะการเงิน (Statement of the financial position) หมายถงึ งบทแ่ี สดงถงึ ฐานะทางการเงนิ ของกจิ การ ณ วนั ใดวนั หน่งึ บญั ชที แ่ี สดงใน ไดแ้ ก่ บญั ชปี ระเภทสนิ ทรพั ย์ หน้สี นิ และทนุ หรอื สว่ นของเจา้ ของ (ทนุ ) สาหรบั กจิ การเจา้ ของคนเดยี วประเภทธรุ กจิ บรกิ ารนนั้ ตามมาตรฐานการบญั ชฉี บบั ท่ี 1 และกรมพฒั นา ธุรกจิ การค้าไม่ได้กาหนดรูปแบบไว้ จงึ นารูปแบบงบแสดงฐานะการเงนิ ของห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน (แบบ 1) มา ประยุกตใ์ ชแ้ ละกาหนดรายการบญั ชตี ามความเหมาะสมของธุรกจิ บรกิ ารสาหรบั เจา้ ของคนเดยี ว

173 4.ครแู ละผเู้ รยี นสาธติ การจดั ทางบแสดงฐานะการเงนิ ตามกรมพฒั นาธุรกจิ การจะมรี ปู แบบเดยี วคอื แบบ รายงาน ซง่ึ จะแบง่ รายการออกเป็น 2 สว่ น คอื ส่วนท่ีหนึ่ง จะแสดงรายการเกย่ี วกบั สนิ ทรพั ยท์ งั้ หมดเรยี งกนั ลงมาตามลาดบั แลว้ ทาการรวมยอดเงนิ ของสนิ ทรพั ยท์ งั้ หมด ส่วนที่สอง จะแสดงรายการหน้สี นิ และสว่ นของเจา้ ของเรยี งกนั ลงมาเช่นเดยี วกนั แลว้ ทาการรวมยอด หน้สี นิ และทุน ซง่ึ ยอดรวมทงั้ สองสว่ นคอื ดา้ นสนิ ทรพั ย์ หน้สี นิ และสว่ นของเจา้ ของจะตอ้ งเท่ากนั ดงั น้ี 1) เขยี นหวั กลางกระดาษ โดยจะประกอบดว้ ย 3 บรรทดั คอื  บรรทดั แรก เขยี นช่อื กจิ การ  บรรทดั ท่ี 2 เขยี นคาว่า “งบแสดงฐานะการเงนิ ”  บรรทดั ท่ี 3 เขยี นวนั ทท่ี จ่ี ดั ทางบแสดงฐานะการเงนิ 2) เขยี นคาว่า “สนิ ทรพั ย”์ ไวก้ ลางกระดาษ แลว้ นาบญั ชสี นิ ทรพั ยม์ าใสแ่ ละรวมยอดสนิ ทรพั ยท์ งั้ หมด 3) เขยี นคาว่า “หน้ีสนิ และสว่ นของเจา้ ของ” ไวก้ ลางกระดาษ แลว้ ใหน้ าบญั ชหี มวดหน้ีสนิ มาใส่และรวม ยอดหน้ีสนิ ทงั้ หมด ต่อจากนนั้ ใหน้ าบญั ชหี มวดสว่ นของเจา้ ของ มาใส่และนายอดรวมของสว่ นของเจา้ ของ รวมกบั ยอดรวมหน้สี นิ ทงั้ หมด ซง่ึ จะตอ้ งเท่ากบั ยอดรวมของสนิ ทรพั ย์ รปู แบบงบแสดงฐานะการเงนิ ของกจิ การเจา้ ของคนเดยี วประเภทธุรกจิ บรกิ ารทป่ี ระยกุ ตจ์ ากรูปแบบของ หา้ งหนุ้ สว่ นจดทะเบยี น (แบบ 1) ตามประกาศของกรมพฒั นาธุรกจิ การคา้ มดี งั น้ี รายการยอ่ ตามแบบท่ี 1 งบแสดงฐานะการเงิน ------------------------------------ สินทรพั ย์ หน่วย : บาท หมายเหตุ 25XX 1. สินทรพั ยห์ มนุ เวียน 1.1 เงนิ สดและรายการเทยี บเท่าเงนิ สด 1.2 เงนิ ลงทุนชวั่ คราว 1.3 ลกู หน้กี ารคา้ – สทุ ธิ 1.4 เงนิ ใหก้ ยู้ มื ระยะสนั้ แก่บคุ คลหรอื กจิ การทเ่ี กย่ี วขอ้ งกนั 1.5 เงนิ ใหก้ ยู้ มื ระยะสนั้ แกบ่ คุ คลหรอื กจิ การอน่ื 1.6 สนิ คา้ คงเหลอื 1.7 สนิ ทรพั ยห์ มนุ เวยี นอน่ื รวมสนิ ทรพั ยห์ มนุ เวยี น 2. สินทรพั ยไ์ มห่ มนุ เวียน 2.1 เงนิ ลงทนุ ระยะยาวอน่ื 2.2 เงนิ ใหก้ ยู้ มื ระยะยาวแก่บุคคลหรอื กจิ การทเ่ี กย่ี วขอ้ งกนั 2.3 เงนิ ใหก้ ยู้ มื ระยะยาวแกบ่ คุ คลหรอื กจิ การอ่นื 2.4 ทด่ี นิ อาคาร และอุปกรณ์ – สทุ ธิ 2.5 สนิ ทรพั ยไ์ มม่ ตี วั ตน – สทุ ธิ 2.6 สนิ ทรพั ยไ์ มห่ มนุ เวยี นอน่ื

174 รวมสนิ ทรพั ยไ์ มห่ มนุ เวยี น รวมสินทรพั ย์ หนี้สินและส่วนของผเู้ ป็นห้นุ ส่วน 3. หนี้สินหมนุ เวียน 3.1 เงนิ เบกิ เกนิ บญั ชแี ละเงนิ กยู้ มื ระยะสนั้ จากสถาบนั การเงนิ 3.2 เจา้ หน้กี ารคา้ 3.3 เงนิ กยู้ มื ระยะยาวทถ่ี งึ กาหนดชาระภายในหน่งึ ปี 3.4 เงนิ กยู้ มื ระยะสนั้ จากบคุ คลหรอื กจิ การทเ่ี กย่ี วขอ้ งกนั 3.5 เงนิ กยู้ มื ระยะสนั้ จากบคุ คลหรอื กจิ การอ่นื 3.6 ประมาณการหน้สี นิ ระยะสนั้ 3.7 หน้สี นิ หมนุ เวยี นอ่นื รวมหน้สี นิ หมนุ เวยี น 4. หนี้สินไม่หมนุ เวียน 4.1 เงนิ กยู้ มื ระยะยาวจากบุคคลหรอื กจิ การทเ่ี กย่ี วขอ้ งกนั 4.2 เงนิ กยู้ มื ระยะยาวจากบคุ คลหรอื กจิ การอน่ื 4.3 ประมาณการหน้สี นิ ระยะยาว 4.4 หน้สี นิ ไมห่ มนุ เวยี นอ่นื รวมหน้สี นิ ไมห่ มนุ เวยี น รวมหนี้สิน 5. ส่วนของผเู้ ป็นห้นุ ส่วน 5.1 ทนุ ของผเู้ ป็นหนุ้ สว่ นแต่ละคน 5.2 ผลกาไร (ขาดทุน) ทย่ี งั ไมเ่ กดิ ขน้ึ จรงิ 5.3 กาไร (ขาดทุน) สะสมยงั ไมไ่ ดแ้ บง่ รวมส่วนของผเู้ ป็นหุน้ สว่ น รวมหนี้สินและส่วนของผเู้ ป็นห้นุ ส่วน เพอ่ื ใหง้ ่ายต่อการทาความเขา้ ใจ จงึ มกี ารปรบั ปรงุ รายการบางสว่ นในการนางบแสดงฐานะการเงนิ ไป ประยุกตใ์ ชใ้ นหน่วยการเรยี นรู้ ดงั ต่อไปน้ี รปู แบบงบดลุ แบบรายงาน รา้ น..............  งบแสดงฐานะการเงนิ วนั ท่ี ......เดอื น............พ.ศ. ........ สินทรพั ย์ สินทรพั ยห์ มุนเวียน เงนิ สด XX สินทรพั ยไ์ มห่ มนุ เวียน รถยนต์ XX + อุปกรณ์สานกั งาน เคร่อื งตกแต่ง XX + XX XX

175 รวมสินทรพั ย์ XX หนี้สินและส่วนของเจ้าของ หนี้สินหมนุ เวียน เจา้ หน้ี XX หนี้สินไม่หมนุ เวียน + เงนิ กรู้ ะยะยาว XX ยอดรวม รวมหน้สี นิ XX เท่ากนั ส่วนของเจา้ ของ ทนุ (เจา้ ของกจิ การ) XX + + บวก กาไรสทุ ธิ XX หกั ถอนใชส้ ว่ นตวั XX XX XX - รวมหนี้สินและสว่ นของเจา้ ของ XX 5.ครอู ธบิ ายการจดั ทาหมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ โดยตามมาตรฐานการบญั ชฉี บบั ท่ี 1 กลา่ วถงึ หมาย เหตุประกอบงบการเงนิ ประกอบดว้ ย ขอ้ มลู ทแ่ี สดงเพมิ่ เตมิ จากขอ้ มลู ทแ่ี สดงในงบแสดงฐานะการเงนิ งบกาไร ขาดทนุ เบด็ เสรจ็ งบเฉพาะกาไรขาดทนุ (ถา้ มกี ารนาเสนอ) งบแสดงการเปลย่ี นแปลงสว่ นของเจา้ ของ และงบ กระแสเงนิ สด หมายเหตุประกอบงบการเงนิ เป็นการอธบิ ายหรอื การแยกแสดงของรายการทน่ี าเสนอในงบการเงนิ ดงั กลา่ วและขอ้ มลู เกย่ี วกบั รายการทม่ี คี ณุ สมบตั ไิ ม่เพยี งพอทจ่ี ะรบั รใู้ นงบการเงนิ ทน่ี าเสนอ 6.ครอู ธบิ ายเพมิ่ เตมิ เกย่ี วกบั งบการเงนิ หมายความรวมถงึ หมายเหตุประกอบงบการเงนิ รายละเอยี ด ประกอบและขอ้ มลู อ่นื เช่น งบการเงนิ อาจแสดงขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ อน่ื ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั รายการในงบแสดงฐานะการเงนิ และงบกาไรขาดทุนซง่ึ จาเป็นต่อผใู้ ชง้ บการเงนิ งบการเงนิ อาจรวมถงึ การเปิดเผยขอ้ มลู เกย่ี วกบั ความเสย่ี ง และ ความไม่แน่นอนทม่ี ผี ลกระทบต่อกจิ การ และขอ้ มลู เกย่ี วกบั ทรพั ยากรหรอื ภาระผกู พนั ทไ่ี ม่ไดแ้ สดงไวใ้ นงบแสดง ฐานะการเงนิ (เช่น ปรมิ าณสารองแร)่ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั การจาแนกสว่ นงานทางภมู ศิ าสตรแ์ ละทางอตุ สาหกรรม และ ผลกระทบต่อกจิ การจากการเปลย่ี นแปลงระดบั ราคา 7.ครแู ละผเู้ รนี สยกตวั อยา่ งหมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน หมายเหตฯุ  เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หน่วย: บาท เงนิ สด XX เงนิ ฝากกระแสรายวนั และออมทรพั ย์ XX ตวั ๋ เงนิ ทม่ี อี ายคุ งเหลอื ไม่เกนิ กวา่ 3 เดอื น XX หกั เงนิ ฝากเพอ่ื ลกู คา้ (XX) รวมเงนิ สดและรายการเทยี บเท่าเงนิ สด XX

176 8.ครแู ละผเู้ รยี นสาธติ การจดั ทางบแสดงฐานะการเงนิ โดยใชโ้ จทยต์ วั อยา่ งท่ี 2 รา้ นเนเจอรซ์ าลอน งบแสดงฐานะการเงิน วนั ที่ 31 ธนั วาคม 25X8 สินทรพั ย์ หมายเหตุ หน่วย: บาท สินทรพั ยห์ มุนเวียน เงนิ สดและรายการเทยี บเท่าเงนิ สด  160,000 ลกู หน้ีการคา้ -สทุ ธิ 35,000 รวมสนิ ทรพั ยห์ มนุ เวยี น 195,000 สินทรพั ยไ์ มห่ มุนเวียน อุปกรณ์ 50,000 เคร่อื งตกแต่ง 40,000 อาคาร 270,000 รวมสนิ ทรพั ยไ์ มห่ มุนเวยี น 360,000 รวมสินทรพั ย์ 555,000 หนี้สินและส่วนของเจา้ ของ หนี้สินหมนุ เวียน เจา้ หน้ีการคา้ 38,000 หนี้สินไม่หมนุ เวียน เงนิ กยู้ มื ระยะยาว 6% 60,000 รวมหนี้สิน 98,000 ส่วนของเจา้ ของ ทนุ -นายเนม  457,000 รวมหนี้สินและสว่ นของเจา้ ของ 555,000 หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน หมายเหตฯุ  เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงนิ สด 100,000 บาท เงนิ ฝากธนาคาร 60,000 บาท รวม 160,000 บาท หมายเหตฯุ  ส่วนของเจา้ ของ ทุน-นายเนม 400,000 บาท บวก กาไรสทุ ธิ 69,000 บาท 469,000 บาท

177 หกั ถอนใชส้ ว่ นตวั 12,000 บาท ทุน-นายเนม 457,000 บาท 9.ผเู้ รยี นฝึกปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเสรมิ ทกั ษะ ความชานาญ ดงั น้ี 1) บนั ทกึ รายการเปิดบญั ชแี ละรายการคา้ ในสมดุ รายวนั ทวั่ ไป 2) ผ่านรายการไปบญั ชแี ยกประเภททวั่ ไป 3) งบทดลอง 4) กระดาษทาการ 5) งบกาไรขาดทุน 6) งบแสดงฐานะการเงนิ 10.ครแู นะนาใหผ้ เู้ รยี นนาเงอ่ื นไขความรไู้ ปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ ประกอบดว้ ยความรอบรเู้ กย่ี วกบั วชิ าการ ต่างๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งรอบดา้ น ความรอบคอบทจ่ี ะนาความรเู้ หล่านนั้ มาพจิ ารณาใหเ้ ชอ่ื มโยงกนั เพ่อื ประกอบการ วางแผนและความระมดั ระวงั ในการปฏบิ ตั ิ และเงอ่ื นไขคณุ ธรรมทจ่ี ะตอ้ งเสรมิ สรา้ ง ประกอบดว้ ยมคี วามตระหนกั ใน คณุ ธรรม มคี วามซ่อื สตั ยส์ จุ รติ และมคี วามอดทน มคี วามเพยี ร ใชส้ ตปิ ญั ญาในการดาเนนิ ชวี ติ 11.ผเู้ รยี นทากจิ กรรมใบงาน 12.ผเู้ รยี นฝึกปฏบิ ตั ทิ กั ษะทา้ ยหน่วยการเรยี น ขนั้ สรปุ และการประเมินผล 12.งบการเงนิ คอื รายงานทางการเงนิ ขนั้ สดุ ทา้ ยของขบวนการทางบญั ชี เพ่อื แสดงขอ้ มลู ทางการเงนิ ของกจิ การโดยการสรุปผลการดาเนินงานของกจิ การตามงวดบญั ชแี ละฐานะการเงนิ ของกจิ การวา่ มรี ายการ สนิ ทรพั ย์ หน้สี นิ และสว่ นของเจา้ ของเทา่ ไร ซง่ึ งบการเงนิ ทไ่ี ดก้ ลา่ วถงึ ในหน่วยการเรยี นรนู้ ้ี ไดแ้ ก่ งบกาไร ขาดทุนและงบแสดงฐานะการเงนิ 10.ผเู้ รยี นวางแผนการนาหลกั ของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยกุ ตใ์ ชด้ งั น้ี (1) สรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ทด่ี ใี นตวั เองได้ เช่น ใชค้ วามรอบคอบในการบนั ทกึ บญั ชไี ม่ใหผ้ ดิ พลาด (2) มเี หตุผลในการวเิ คราะหร์ ายการคา้ แต่ละรายการ เพอ่ื บนั ทกึ บญั ชี (3) มคี วามเพยี งพอ ในการซอ้ื ขายสนิ คา้ เพ่อื บรโิ ภคหรอื จาหน่าย (4) มเี งอ่ื นไขดา้ นคุณธรรม ไดแ้ ก่ บนั ทกึ บญั ชใี หถ้ ูกตอ้ ง (5) มเี ง่อื นไขดา้ นวชิ าการ ไดแ้ ก่ บนั ทกึ บญั ชตี ามหลกั การบญั ชที ย่ี อมรบั ทวั่ ไป และมคี วามรเู้ ร่อื ง มาตรฐานการบญั ชี (6) สามารถนารายการบญั ชไี ปบนั ทกึ ในเคร่อื งคอมพวิ เตอรห์ รอื โปรแกรมสาเรจ็ รปู บญั ชไี ด้ 11.สรุปโดยใหผ้ เู้ รยี นฝึกทาแบบฝึกปฏบิ ตั ติ ามตวั อยา่ งการเรยี นการสอน และแบบประเมนิ ผลหลงั เรยี น สื่อและแหล่งการเรยี นรู้ 1. หนงั สอื เรยี นวชิ าการบญั ชเี บอ้ื งตน้ (20200-1002) ของสานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์ 2. ใบความร,ู้ มาตรฐานการบญั ชี 3. อนิ เทอรเ์ น็ต 4. Power Point

178 หลกั ฐาน 1.บนั ทกึ การสอนของสถานศกึ ษา 2.ผลงานของผเู้ รยี น 3.แผนจดั การเรยี นรู้ 4.แบบประเมนิ กจิ กรรม การวดั ผลและการประเมินผล วิธีวดั ผล 1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล 2. ตรวจใบงาน 3. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรกู้ ่อน/หลงั เรยี น 4. ตรวจแบบประเมนิ ผลการฝึกปฏบิ ตั ิ 5. ประเมนิ กจิ กรรมเสนอแนะผเู้ รยี นเป็นสาคญั และสง่ เสรมิ คุณธรรมนาความรู้ 6 ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุม่ 7 สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม 8 การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เครอื่ งมือวดั ผล 1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล 2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ (โดยคร)ู 3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ (โดยผเู้ รยี น) 4. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน 5. แบบประเมนิ ผลแบบฝึกปฏบิ ตั ิ 6. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรกู้ อ่ น/หลงั เรยี น 7. แบบประเมนิ กจิ กรรมเสนอแนะผเู้ รยี นเป็นสาคญั และสง่ เสรมิ คุณธรรมนาความรู้ 8. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครแู ละผเู้ รยี น รว่ มกนั ประเมนิ เกณฑก์ ารประเมินผล 1. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ตอ้ งไมม่ ชี ่องปรบั ปรุง 2. เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป) 3. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป) 4. กจิ กรรมใบงาน เกณฑผ์ า่ น คอื 50% 5. แบบประเมนิ ผลแบบฝึกปฏบิ ตั ิ เกณฑผ์ า่ น 50% 6. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรกู้ อ่ น/หลงั เรยี นมเี กณฑผ์ ่าน 50% 7. แบบประเมนิ กจิ กรรมเสนอแนะผเู้ รยี นเป็นสาคญั และสง่ เสรมิ คุณธรรมนาความรผู้ า่ น 50% 8 แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อยกู่ บั การประเมนิ ตามสภาพจรงิ

179 กิจกรรมเสนอแนะ 1. ทาใบงานและแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 2. บนั ทกึ การรบั -จา่ ย 3. ฝึกทกั ษะการจดั ทางบแสดงฐานะการเงนิ เพมิ่ เตมิ การบูรณาการ 1) กลุม่ วชิ าภาษาไทย ไดแ้ ก่ ทกั ษะการฟงั ทกั ษะการอ่าน ทกั ษะการเขยี นและทกั ษะการพดู 2) ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3) คุณธรรมจรยิ ธรรม และศลี ธรรม กล่มุ วิชาภาษาไทย 4) หน้าทพ่ี ลเมอื งดี 5) อ่นื ๆ กล่มุ วิชาคณิตศาตร์ กล่มุ วิชาวิทยาศาสตร์ กล่มุ วิชากฏหมาย งบการเงิน การบรู ณาการ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง หนา้ ท่ีพลเมือง กล่มุ วิชาการขายและคอมพิวเตอร์ กล่มุ วิชาภาษาองั กฤษ

180 คาชี้แจง : ใหบ้ นั ทกึ บญั ชรี ายรบั -รายจา่ ย ตามความเป็นจรงิ 1. จากการลงบนั ทกึ มเี งนิ เหลอื เกบ็ หรอื ไม่……………เพราะเหตุใด………………..………….……… 2. จะเกดิ อะไรขน้ึ ถา้ มรี ายจา่ ยมากกว่ารายรบั ………………………..…………….………………….…

181 แบบประเมินกิจกรรมส่งเสริมคณุ ธรรมนาความรู้ คาชี้แจง ใหป้ ระเมนิ รายการแต่ละขอ้ แลว้ เขยี นเคร่อื งหมาย  ลงในช่องระดบั คุณภาพตามความเป็นจรงิ โดยกาหนดน้าหนกั คะแนน ดงั น้ี 5 = ดมี าก, 4 = ด,ี 3 = พอใช,้ 2 = ควรปรบั ปรุง, 1 = ใชไ้ ม่ได้ รายการประเมิน พฤติกรรมบง่ ชี้ ระดบั คณุ ภาพ 54 3 21 1.การมมี นุษยสมั พนั ธ์  แสดงกรยิ าทา่ ทางสภุ าพต่อผอู้ ่นื  รบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ น่ื 2.ความมวี นิ ยั  ตรงต่อเวลาในการทางาน  ประพฤตติ นถูกตอ้ งตามศลี ธรรมอนั ดงี าม 3.ความรบั ผดิ ชอบ  ปฏบิ ตั งิ านทไ่ี ดร้ บั มอบหมายเสรจ็ ตามกาหนด  ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความละเอยี ดรอบคอบ 4.ความซ่อื สตั ยส์ จุ รติ  ไมน่ าผลงานผอู้ ่นื มาแอบอา้ งเป็นของตนเอง  พดู ในสงิ่ ทเ่ี ป็นความจรงิ 5.ความสนใจใฝร่ ู้  ศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง  แสวงหาประสบการณ์และความรใู้ หมๆ่ 6.ความเชอ่ื มนั่ ในตนเอง  กลา้ แสดงความคดิ เหน็ อยา่ งมเี หตผุ ล  กลา้ ทกั ทว้ งในสงิ่ ทไ่ี ม่ถูกตอ้ ง รวมคะแนนที่ได.้ .....................................คะแนน ขอ้ คิดเหน็ เพ่ิมเติม 1.กระบวนการคดิ ทใ่ี ช้ คอื ……….…………………………………….………………………… 2.สง่ิ ทค่ี วรปรบั ปรงุ คอื ……….…………………………………….…………………………… ผปู้ ระเมนิ .....…………….......................... เกณฑก์ ารประเมินระดบั คณุ ภาพ 28-30 คะแนน = ดมี าก 15-19 คะแนน = ควรปรบั ปรงุ 25-27 คะแนน = ดี 0-14 คะแนน = ใชไ้ มไ่ ด้ 20-24 คะแนน = พอใช้ หมายเหตุ อา้ งองิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยมและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา สานกั งาน มาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ออกแบบโดย; เพญ็ ศรี เลิศเกียรติวิทยา

182 บนั ทึกหลงั การสอน ขอ้ สรปุ หลงั การสอน .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ปัญหาที่พบ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. แนวทางแกป้ ัญหา .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................

183 แผนการจดั การเรียนรแู้ บบบรู ณาการที่ 15 หน่วยท่ี 11 รหสั วิชา 20200-1002 การบญั ชเี บ้ืองตน้ (2-2-3) สอนครงั้ ท่ี 16 (57-60) ชอ่ื หน่วย/เรอ่ื ง รายการปรบั ปรงุ บญั ชี จานวนชวั่ โมง 4 ช.ม. แนวคิด การปรบั ปรงุ บญั ชเี ป็นการปรบั ปรงุ จานวนเงนิ ทบ่ี นั ทกึ ไวใ้ นบญั ชใี หถ้ กู ตอ้ งก่อนการจดั ทางบการเงนิ ซง่ึ ตอ้ งบนั ทกึ ในสมุดรายวนั ทวั่ ไปและผ่านไปสมดุ บญั ชแี ยกประเภททวั่ ไปทเ่ี กย่ี วขอ้ ง โดยจะตอ้ งทาในวนั สน้ิ งวด บญั ชี เน่อื งจากจะมผี ลทาใหง้ บการเงนิ แสดงใหเ้ หน็ ว่ากจิ การมสี นิ ทรพั ย์ หน้สี นิ และสว่ นของเจา้ ของ ณ วนั สน้ิ งวดจานวนเท่าใด และทาใหท้ ราบว่ากจิ การมผี ลการดาเนินงานอยา่ งไรบา้ ง รายการปรบั ปรงุ ทจ่ี าเป็น ไดแ้ ก่ รายไดร้ บั ล่วงหน้า รายไดค้ า้ งรบั ค่าใชจ้ า่ ยลว่ งหน้า ค่าใชจ้ า่ ยคา้ งจ่าย หน้สี งสยั จะสญู วสั ดสุ านกั งาน และคา่ เสอ่ื มราคา ผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวงั 1.อธบิ ายเกณฑก์ ารบนั ทกึ บญั ชไี ด้ 2.อธบิ ายความหมายและบอกประเภทของรายการปรบั ปรงุ บญั ชไี ด้ 3.คานวณและบนั ทกึ บญั ชรี ายไดร้ บั ลว่ งหน้าได้ 4.คานวณและบนั ทกึ บญั ชรี ายไดค้ า้ งรบั ได้ 5.คานวณและบนั ทกึ บญั ชคี า่ ใชจ้ ่ายล่วงหน้าได้ 6.มกี ารพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทค่ี รสู ามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเรอ่ื ง 6.1 ความมมี นุษยสมั พนั ธ์ 6.2 ความมวี นิ ยั 6.3 ความรบั ผดิ ชอบ 6.4 ความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ 6.5 ความเชอ่ื มนั่ ในตนเอง 6.6 การประหยดั 6.7 ความสนใจใฝร่ ู้ 6.8 การละเวน้ สงิ่ เสพตดิ และการพนนั 6.9 ความรกั สามคั คี 6.10 ความกตญั ญกู ตเวที สมรรถนะรายวิชา 1.แสดงความรเู้ กย่ี วกบั หลกั การ และวธิ กี ารบญั ชสี าหรบั กจิ การเจา้ ของคนเดยี วประเภทธรุ กจิ บรกิ าร 2.ปฏบิ ตั งิ านบญั ชสี าหรบั กจิ การเจา้ ของคนเดยี วประเภทธุรกจิ บรกิ ารตามหลกั การบญั ชที ร่ี บั รองทวั่ ไป

184 สาระการเรยี นรู้ 1.เกณฑก์ ารบนั ทกึ บญั ชี 2.ความหมายและประเภทของรายการปรบั ปรงุ บญั ชี 3.รายไดร้ บั ล่วงหน้า 4.รายไดค้ า้ งรบั 5.คา่ ใชจ้ ่ายลว่ งหน้า ภาพรวม (Big Idea) กิจกรรมการเรียนรู้ ขนั้ นาเขา้ สบู่ ทเรยี น 1.ครอู ภปิ รายถงึ รายไดท้ เ่ี กดิ ขน้ึ ในระหวา่ งงวดบญั ชี ไม่ว่าจะไดร้ บั เงนิ สดมาแลว้ หรอื ไม่กต็ ามใหถ้ อื เป็น รายไดข้ องงวดบญั ชนี นั้ สว่ นค่าใชจ้ า่ ยกเ็ ชน่ เดยี วกนั ใหถ้ อื เป็นคา่ ใชจ้ า่ ยทงั้ หมด สาหรบั รายการทเ่ี กดิ ขน้ึ ใน ระหว่างงวดบญั ชี ไมว่ า่ จะจา่ ยเงนิ ไปแลว้ หรอื ไมก่ ต็ าม การคานวณกาไรขาดทุนตามเกณฑค์ งคา้ งจงึ ตอ้ งมกี าร ปรบั ปรุงบญั ชรี ายไดแ้ ละบญั ชคี า่ ใชจ้ า่ ยใหถ้ ูกตอ้ งตามงวดบญั ชนี นั้ ๆ เพอ่ื แสดงผลกาไรขาดทนุ ใหถ้ ูกตอ้ ง 2.ครกู ล่าวถงึ การปรบั ปรงุ จานวนเงนิ ทบ่ี นั ทกึ ไวใ้ นบญั ชใี หถ้ กู ตอ้ งกอ่ นการจดั ทางบการเงนิ ซง่ึ จะตอ้ ง บนั ทกึ ในสมุดรายวนั ทวั่ ไปและผา่ นไปสมุดบญั ชแี ยกประเภททวั่ ไปทเ่ี กย่ี วขอ้ ง โดยรายการปรบั ปรุงเป็นรายการท่ี สาคญั รายการหน่ึงทจ่ี ะตอ้ งทาในวนั สน้ิ งวดบญั ชี เน่อื งจากจะมผี ลทาใหง้ บการเงนิ แสดงว่ากจิ การมสี นิ ทรพั ย์ หน้สี นิ และสว่ นของเจา้ ของ ณ วนั สน้ิ งวดจานวนเท่าใด และทาใหท้ ราบวา่ กจิ การมผี ลการดาเนินงานอย่างไรบา้ ง 4.ผเู้ รยี นทาแบบประเมนิ ผลกอ่ นเรยี น โดยใชเ้ วลาประมาณ 10 นาที แลว้ เปลย่ี นกนั ตรวจ

185 ขนั้ สอน 5.ครอู ธบิ ายถงึ เกณฑก์ ารบนั ทกึ บญั ชี โดยการบนั ทกึ บญั ชที จ่ี ะนามาใชใ้ นรายการปรบั ปรุงน้ี ไดแ้ ก่ 1) เกณฑเ์ งินสด (Cash basis) คอื วธิ กี ารบนั ทกึ รายไดแ้ ละค่าใชจ้ า่ ยเมอ่ื กจิ การไดร้ บั เงนิ สด หรอื จ่ายเงนิ สดไปจรงิ โดยไมค่ านึงถงึ งวดเวลาทเ่ี กย่ี วขอ้ งของเงนิ ทไ่ี ดร้ บั มาหรอื จา่ ยไป 2) เกณฑค์ งค้าง (Accrual basis) หรอื เกณฑส์ ทิ ธิ คอื วธิ กี ารบญั ชที ใ่ี ชเ้ ป็นหลกั ในการพจิ ารณาเพอ่ื บนั ทกึ รายไดแ้ ละคา่ ใชจ้ า่ ยใหอ้ ยใู่ นงวดเวลาต่างๆ โดยคานงึ ถงึ รายไดท้ พ่ี งึ รบั และคา่ ใชจ้ ่ายทพ่ี งึ จา่ ย เพอ่ื ให้ แสดงผลการดาเนินงานของแต่ละงวดนนั้ ไดอ้ ย่างเหมาะสม โดยไม่คานงึ ถงึ รายรบั และรายจ่ายทเ่ี ป็นเงินสดวา่ ได้ เงนิ มาแลว้ หรอื จา่ ยเงนิ ไปแลว้ หรอื ไม่ตามเกณฑเ์ งนิ สด 6.ครอู ธบิ ายความหมายและประเภทของรายการปรบั ปรงุ บญั ชี โดยใชส้ อ่ื Power Point ประกอบ 7.ครบู อกประเภทของรายการปรบั ปรงุ ไดแ้ ก่ รายการดงั ต่อไปน้ี 1) รายไดร้ บั ลว่ งหน้า (Deferred revenue) 2) รายไดค้ า้ งรบั (Accrued revenue) 3) คา่ ใชจ้ า่ ยล่วงหน้า (Prepaid expenses) 4) ค่าใชจ้ ่ายคา้ งจา่ ย (Accrued expenses) 5) หน้สี งสยั จะสญู (Doubtful Account or Doubtful debt) 6) วสั ดสุ านกั งาน (Office supplies) 7) ค่าเสอ่ื มราคา (Depreciation) 8.ครอู ธบิ ายรายได้รบั ลว่ งหน้า (Deferred revenue)หมายถงึ รายไดท้ ก่ี จิ การไดร้ บั มาลว่ งหน้าจาก ลกู คา้ แลว้ แต่กจิ การยงั ไมไ่ ดใ้ หบ้ รกิ ารตอบแทนแกล่ กู คา้ เม่อื รบั เงนิ มาแลว้ จะยงั ไมถ่ อื ว่าเป็นรายไดข้ องกจิ การ แต่ ถอื ว่ากจิ การมพี นั ธะในหน้สี นิ เกดิ ขน้ึ ซง่ึ ตอ้ งชาระคนื เมอ่ื ถงึ กาหนดระยะเวลาทไ่ี ดท้ าสญั ญากนั ไว้ เชน่ ค่าเช่ารบั ล่วงหน้า รายไดค้ า่ บรกิ ารรบั ลว่ งหน้า เป็นตน้ รายไดร้ บั ลว่ งหน้าถอื เป็นบญั ชหี น้สี นิ หมุนเวยี น โดยจะแสดงยอด ไวใ้ นงบแสดงฐานะการเงนิ ณ วนั สน้ิ งวดบญั ชี 9.ครสู าธติ การคานวณและการบนั ทกึ บญั ชรี ายไดร้ บั ลว่ งหน้ามกี ารบนั ทกึ รายการได้ 2 วธิ คี อื วิธีที่ 1 บนั ทึกไว้เป็ นรายได้ ณ วนั ที่กิจการได้รบั เงินสด เม่อื กจิ การบนั ทกึ บญั ชเี ป็นรายไดท้ งั้ จานวน ณ วนั ทไ่ี ดร้ บั เงนิ กจิ การต้องทาการปรบั ปรุงบญั ชเี ม่อื วนั สน้ิ งวดบญั ชี เฉพาะสว่ นท่ยี งั ไม่ได้ใหบ้ รกิ ารตอบแทน เป็นรายไดร้ บั ล่วงหน้า โดยบนั ทกึ รายการปรบั ปรงุ บญั ชี ดงั น้ี สมุดรายวนั ทวั่ ไป หน้า พ.ศ.25XX รายการ เลขท่ี เดบติ เครด1ติ เดอื น วนั ท่ี บญั ชี บาท สต. บาท สต. 1 เงนิ สด 101 XX - รายได.้ ....(ระบุชอ่ื ) 401 XX - เมอ่ื บนั ทกึ รายไดท้ งั้ จานวน 2 รายได.้ ...(ระบุชอ่ื ) 401 XX - รายไดร้ บั ลว่ งหน้า 203 XX - เมอ่ื ปรบั ปรุงรายไดร้ บั ลว่ งหน้า

186 วิธีที่ 2 บนั ทึกไว้เป็นรายได้รบั ลว่ งหน้า ( หนี้สิน) ณ วนั ที่กิจการไดร้ บั เงินสด ณ วนั ทร่ี บั เงนิ กจิ การจะบนั ทกึ บญั ชเี ป็นหน้สี นิ ทงั้ จานวน ดงั นนั้ กจิ การจงึ ตอ้ งปรบั ปรงุ บญั ชเี ม่อื สน้ิ งวดบญั ชี เฉพาะสว่ นทใ่ี หบ้ รกิ ารตอบแทนแลว้ เป็นรายได้ โดยมกี ารปรบั ปรุงบญั ชดี งั น้ี หน้า 1 สมดุ รายวนั ทวั่ ไป พ.ศ.25XX รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ เดอื น วนั ท่ี บญั ชี บาท สต. บาท สต. 1 เงนิ สด 101 XX - รายไดร้ บั ล่วงหน้า 203 XX - เมอ่ื บนั ทกึ รายไดร้ บั ลว่ งหน้าทงั้ จานวน 2 รายไดร้ บั ลว่ งหน้า 203 XX - รายได.้ ....(ระบชุ อ่ื ) 401 XX - เมอ่ื ปรบั ปรุงรายไดร้ บั ลว่ งหน้า 10.ผเู้ รยี นฝึกทกั ษะการบนั ทกึ บญั ชวี ธิ ที ่ี 1 บนั ทกึ ไวเ้ ป็นรายได้ ณ วนั ทก่ี จิ การไดร้ บั เงนิ สด และการ ผา่ นรายการไปบญั ชแี ยกประเภททวั่ ไป 11.ผเู้ รยี นแสดงการบนั ทกึ บญั ชวี ธิ ที ่ี 2 บนั ทกึ ไวเ้ ป็นรายไดร้ บั ล่วงหน้า ( หน้สี นิ ) ณ วนั ทก่ี จิ การ ไดร้ บั เงนิ สด และการผา่ นรายการไปบญั ชแี ยกประเภททวั่ ไป ดงั น้ี 12.ครอู ธบิ ายรายไดค้ า้ งรบั (Accrued revenue) หมายถงึ รายไดท้ เ่ี กดิ ขน้ึ แลว้ ในงวดบญั ชปี จั จบุ นั แต่ กจิ การยงั ไม่ไดร้ บั ชาระเงนิ สด เพราะยงั ไมถ่ งึ วนั ครบกาหนดรบั เงนิ จนกว่าจะถงึ งวดบญั ชหี น้า จงึ ตอ้ งปรบั ปรงุ รายไดค้ า้ งรบั น้ใี หเ้ ป็นรายไดใ้ นงวดบญั ชปี จั จบุ นั เชน่ รายไดด้ อกเบย้ี คา้ งรบั รายไดค้ า่ เช่าคา้ งรบั เป็นตน้ บญั ชี รายไดค้ า้ งรบั เป็นบญั ชสี นิ ทรพั ยห์ มนุ เวยี น ซง่ึ จะตอ้ งแสดงยอดไวใ้ นงบแสดงฐานะการเงนิ ณ วนั สน้ิ งวดบญั ชี 13.ผเู้ รยี นสาธติ การคานวณรายไดค้ า้ งรบั มวี ธิ กี ารปรบั ปรุงในสมดุ รายวนั ดงั น้ี หน้า 1 สมดุ รายวนั ทวั่ ไป พ.ศ.25XX รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ เดอื น วนั ท่ี บญั ชี บาท สต. บาท สต. รายไดค้ า้ งรบั 106 XX - รายได.้ .... 401 XX - ปรบั ปรงุ รายไดค้ า้ งรบั 14.ผเู้ รยี นแสดงการบนั ทกึ บญั ชใี นสมุดรายวนั ทวั่ ไป และการผ่านรายการไปบญั ชแี ยกประเภททวั่ ไป 15.ครอู ธบิ ายคา่ ใช้จา่ ยลว่ งหน้า (Prepaid expenses) หมายถงึ ค่าใชจ้ า่ ยทก่ี จิ การไดจ้ ่ายไปก่อน สาหรบั บรกิ ารทจ่ี ะไดร้ บั ประโยชน์ในอนาคต และจะใชห้ มดไปในระยะเวลาสนั้ แตม่ บี างสว่ นทเ่ี ป็นของงวดบญั ชี ถดั ไปรวมอยดู่ ว้ ย เชน่ ค่าเบย้ี ประกนั จา่ ยลว่ งหน้า คา่ เช่าจา่ ยล่วงหน้า เป็นตน้ คา่ ใชจ้ า่ ยล่วงหน้าเป็นคา่ ใชจ้ ่ายทก่ี จิ การจ่ายไปเป็นค่าบรกิ ารแลว้ ในงวดบญั ชปี จั จุบนั แต่ยงั ไดร้ บั ประโยชน์ไมห่ มด เหลอื บางสว่ นทส่ี ามารถจะใชป้ ระโยชน์ในงวดบญั ชถี ดั ไป จงึ ตอ้ งปรบั ปรุงค่าใชจ้ า่ ยสว่ นทย่ี งั ไม่ ถงึ กาหนดเวลาการไดร้ บั ผลประโยชน์ตอบแทนเป็นคา่ ใชจ้ า่ ยล่วงหน้าบญั ชคี า่ ใชจ้ ่ายล่วงหน้าเป็นบญั ชสี นิ ทรพั ย์ หมุนเวยี น ตอ้ งแสดงยอดในงบแสดงฐานะการเงนิ ณ วนั สน้ิ งวดบญั ชี มวี ธิ บี นั ทกึ รายการปรบั ปรงุ ได้ 2 วธิ ดี งั น้ี 1) เม่อื มคี า่ ใชจ้ า่ ยเกดิ ขน้ึ ใหบ้ นั ทกึ ไวเ้ ป็นบญั ชคี ่าใชจ้ ่าย ณ วนั ทก่ี จิ การจา่ ยเงนิ

187 2) เม่อื มคี ่าใชจ้ ่ายจ่ายล่วงหน้าเกดิ ขน้ึ ใหบ้ นั ทกึ ไวเ้ ป็นบญั ชสี นิ ทรพั ย์ ณ วนั ทก่ี จิ การจา่ ยเงนิ วิธีท่ี 1 บนั ทึกไว้เป็ นค่าใช้จ่าย ณ วนั ท่ีกิจการจ่ายเงิน เม่ือกิจการจ่ายเงินสดจะบนั ทึกบญั ชีเป็น คา่ ใชจ้ ่ายทงั้ จานวน เม่อื สน้ิ งวดบญั ชจี งึ ปรบั ปรุงเฉพาะสว่ นทย่ี งั ไม่ถงึ กาหนดเวลาทจ่ี ะไดร้ บั ประโยชน์ตอบแทน เป็นคา่ ใชจ้ า่ ยลว่ งหน้า โดยบนั ทกึ บญั ชดี งั น้ี สมดุ รายวนั ทวั่ ไป หน้า 1 พ.ศ.25XX รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ เดอื น วนั ท่ี บญั ชี บาท สต. บาท สต. 1 คา่ ใชจ้ า่ ย (ระบุชอ่ื บญั ช)ี 50X XX - เงนิ สด 101 XX - เมอ่ื กจิ การจ่ายคา่ ใชจ้ า่ ยเป็นเงนิ สด 2 คา่ ใชจ้ า่ ยล่วงหน้า 10X XX - คา่ ใชจ้ า่ ย (ระบชุ อ่ื บญั ช)ี 50X XX - เมอ่ื ปรบั ปรงุ คา่ ใชจ้ า่ ยล่วงหน้า วิธีท่ี 2 บนั ทึกไว้เป็นสินทรพั ย์ ณ วนั ท่ีกิจการจา่ ยเงิน เมอ่ื กจิ การจา่ ยเงนิ สดกจ็ ะบนั ทกึ บญั ชคี า่ ใชจ้ ่าย ล่วงหน้าทงั้ จานวน หรอื ณ วนั ทก่ี จิ การจา่ ยเงนิ บนั ทกึ บญั ชคี ่าใชจ้ า่ ยไปเป็นสนิ ทรพั ยท์ งั้ จานวน จงึ ตอ้ งปรบั ปรุง บญั ชเี ม่อื สน้ิ งวดบญั ชี เฉพาะสว่ นทไ่ี ดร้ บั ผลประโยชนต์ อบแทนไปแลว้ เป็นค่าใชจ้ ่าย โดยปรบั ปรงุ บญั ชดี งั น้ี สมุดรายวนั ทวั่ ไป หน้า 1 พ.ศ.25XX รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ เดอื น วนั ท่ี บญั ชี บาท สต. บาท สต. 1 คา่ ใชจ้ า่ ยล่วงหน้า 10X XX - เงนิ สด 101 XX - เมอ่ื กจิ การจา่ ยคา่ ใชจ้ า่ ยเป็นเงนิ สด 2 คา่ ใชจ้ ่าย (ระบชุ อ่ื บญั ช)ี 50X XX - คา่ ใชจ้ ่ายล่วงหน้า 10X XX - เมอ่ื ปรบั ปรงุ ค่าใชจ้ า่ ยลว่ งหน้า 16.ผเู้ รยี นฝึกทกั ษะบนั ทกึ บญั ชตี ามวธิ ที ่ี 1 บนั ทกึ ไวเ้ ป็นค่าใชจ้ า่ ย ณ วนั ทก่ี จิ การจ่ายเงนิ และการผา่ น รายการไปบญั ชแี ยกประเภททวั่ ไป 17.ผเู้ รยี นฝึกทกั ษะบนั ทกึ บญั ชตี ามวธิ ที ่ี 2 บนั ทกึ ไวเ้ ป็นสนิ ทรพั ย์ ณ วนั ทก่ี จิ การจา่ ยเงนิ และการผา่ น รายการไปบญั ชแี ยกประเภททวั่ ไป 18.ครแู นะนาใหผ้ เู้ รยี นนาเง่อื นไขความรไู้ ปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ ประกอบดว้ ยความรอบรเู้ กย่ี วกบั วชิ าการ ต่างๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งรอบดา้ น ความรอบคอบทจ่ี ะนาความรเู้ หลา่ นนั้ มาพจิ ารณาใหเ้ ช่อื มโยงกนั เพ่อื ประกอบการ วางแผนและความระมดั ระวงั ในการปฏบิ ตั ิ และเงอ่ื นไขคุณธรรมทจ่ี ะตอ้ งเสรมิ สรา้ ง ประกอบดว้ ยมคี วามตระหนกั ใน คณุ ธรรม มคี วามซ่อื สตั ยส์ จุ รติ และมคี วามอดทน มคี วามเพยี ร ใชส้ ตปิ ญั ญาในการดาเนินชวี ติ ขนั้ สรปุ และการประยุกต์ 19.ผเู้ รยี นแต่ละคนการปรบั ปรุงแต่ละรายการ โดยใหบ้ นั ทกึ หน้าชนั้ เรยี น

188 20.ครสู งั เกตพฤตกิ รรมกลมุ่ และร่วมกนั สรปุ เน้อื หาอกี ครงั้ จาก Power Point 21.จดั กจิ กรรมต่อเน่อื ง แลว้ วเิ คราะหส์ รปุ ผล ส่ือและแหล่งการเรยี นรู้ 1. หนงั สอื เรยี นวชิ าการบญั ชเี บอ้ื งตน้ (20200-1002) ของสานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์ 3. ใบความรู้ 4. มาตรฐานการบญั ชี 5. อนิ เทอรเ์ น็ต 6. Poewer Point หลกั ฐาน 1.บนั ทกึ การสอนของสถานศกึ ษา 2.ผลงานของผเู้ รยี น 3.แผนจดั การเรยี นรู้ 4.แบบประเมนิ กจิ กรรม การวดั ผลและการประเมินผล วิธีวดั ผล 1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล 2. ตรวจใบงาน 3. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรกู้ ่อน/หลงั เรยี น 4. ตรวจแบบประเมนิ ผลการฝึกปฏบิ ตั ิ 5. ประเมนิ กจิ กรรมเสนอแนะผเู้ รยี นเป็นสาคญั และสง่ เสรมิ คณุ ธรรมนาความรู้ 6 ประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม 7 สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ 8 การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เครอื่ งมอื วดั ผล 1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล 2. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุม่ (โดยคร)ู 3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกล่มุ (โดยผเู้ รยี น) 4. แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน 5. แบบประเมนิ ผลแบบฝึกปฏบิ ตั ิ 6. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรกู้ อ่ น/หลงั เรยี น 7. แบบประเมนิ กจิ กรรมเสนอแนะผเู้ รยี นเป็นสาคญั และสง่ เสรมิ คุณธรรมนาความรู้ 8. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครแู ละผเู้ รยี น รว่ มกนั ประเมนิ

189 เกณฑก์ ารประเมินผล 1. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ตอ้ งไมม่ ชี อ่ งปรบั ปรุง 2. เกณฑผ์ ่านการประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50 % ขน้ึ ไป) 3. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ขน้ึ ไป) 4. กจิ กรรมใบงาน เกณฑผ์ ่าน คอื 50% 5. แบบประเมนิ ผลแบบฝึกปฏบิ ตั ิ เกณฑผ์ ่าน 50% 6. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรกู้ อ่ น/หลงั เรยี นมเี กณฑผ์ า่ น 50% 7. แบบประเมนิ กจิ กรรมเสนอแนะผเู้ รยี นเป็นสาคญั และสง่ เสรมิ คณุ ธรรมนาความรผู้ ่าน 50% 8 แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อยกู่ บั การประเมนิ ตามสภาพจรงิ กิจกรรมเสนอแนะ 1. ทาใบงานและแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 2. บนั ทกึ การรบั -จ่าย 3. ฝึกทกั ษะทากจิ กรรมบนั ทกึ รายการปรบั ปรงุ สม่าเสมอ การบรู ณาการ 1) กลุ่มวชิ าภาษาไทย ไดแ้ ก่ ทกั ษะการฟงั ทกั ษะการอ่าน ทกั ษะการเขยี นและทกั ษะการพดู 2) ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3) คุณธรรมจรยิ ธรรม และศลี ธรรม กล่มุ วิชาภาษาไทย 4) หน้าทพ่ี ลเมอื งดี 5) อ่นื ๆ กล่มุ วิชาคณิตศาตร์ กล่มุ วิชาวิทยาศาสตร์ กล่มุ วิชากฏหมาย รายการปรบั ปรุงบญั ชี การบรู ณาการ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง หนา้ ท่ีพลเมือง กล่มุ วิชาการขายและคอมพิวเตอร์ กล่มุ วิชาภาษาองั กฤษ