แผนการจดั การเรียนรู้ มงุ่ เน้นสมรรถนะอาชพี และบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง รหสั 20200-1004 วิชา พมิ พด์ ดี ไทยเบ้ืองต้น จานวน 2 หนว่ ยกิต 4 ชว่ั โมง/สัปดาห์ หลักสูตรประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวช.)พุทธศกั ราช 2562 จดั ทาโดย นางศิรินทร์ทพิ ย์ ทองบรุ าณ วทิ ยาลัยการอาชีพสอยดาว สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร
คานา แผนการสอนวิชา พิมพ์ไทยเบื้องต้น (20200-1004) เล่มนี้ จัดทาข้ึนด้วย จุดประสงค์เพ่ือให้ครูผู้สอนวิชานี้ได้ใช้ประโยชน์และเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการ สอนวิชา หลักการจัดการ ได้สะดวกย่ิงข้ึน นอกจากนี้ถ้าแผนการสอนเล่มนี้มี จดุ บกพร่องเพิ่มเติม หรือผู้ที่นาไปใชอ้ าจจะเกิดแนวคดิ ที่แปลกใหม่ สามารถนาขอ้ มลู ต่าง ๆ ที่ได้มาปรับปรุงหรือดัดแปลง และแนะนาให้ผู้จัดทาปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมกับการ เรียนการสอนต่อไป ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยง่ิ ว่า แผนการสอนพมิ พ์ไทยเบือ้ งต้น (20200-1004) เลม่ นีจ้ ะอานวยประโยชน์ ให้แกค่ รูผสู้ อน และนกั ศึกษา ในการจดั การเรียนการสอนไดเ้ ป็น อย่างดี ผจู้ ดั ทา นางศริ นิ ุทรท์ พิ ย์ ทองบุราณ
สารบญั หน้า คานา 1 สารบัญ 1 คาอธิบายรายวชิ า 1 จดุ ประสงคร์ าวชิ า 2 มาตรฐานรายวชิ า 3 ตารางวิเคราะหห์ น่วยสมรรถนะ/โครงการสอน 4 ตารางวเิ คราะห์หลักสูตร 9 แผนการเรียนรหู้ น่วยท่ี 1 18 แผนการเรยี นรหู้ น่วยท่ี 2 27 แผนการเรียนรหู้ น่วยที่ 3 37 แผนการเรียนรหู้ นว่ ยท่ี 4 46 แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 5 55 แผนการเรียนรหู้ นว่ ยที่ 6 63 แผนการเรยี นรู้หนว่ ยท่ี 7 69 แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 8 76 แผนการเรยี นรหู้ นว่ ยที่ 9 83 แผนการเรียนรหู้ น่วยท่ี 10 55 แผนการเรยี นรหู้ นว่ ยที่ 11 63 แผนการเรยี นรู้หน่วยท่ี 12 69 แผนการเรียนรู้หนว่ ยที่ 13 76 แผนการเรยี นรหู้ น่วยท่ี 14 83 แผนการเรยี นรหู้ น่วยที่ 15 83 แผนการเรยี นรหู้ น่วยที่ 16 แผนการเรยี นรู้หนว่ ยที่ 17
โครงการสอนรายวชิ า วิชา พิมพ์ไทยเบ้อื งต้น รหสั วชิ า 20200-1004 ระดับช้นั ปวช.1 จานวนคาบ/สปั ดาห์ 4 คาบ คาอธบิ ายรายวิชา ศกึ ษาและปฏิบตั ิเกยี่ วกับหลักการพิมพ์ไทยแบบสัมผัส การพิมพ์ แปน้ อักษร แป้นตัวเลขสัญลักษณ์ เคร่ืองหมาย การพิมพ์ประโยค การ และการบารงุ รกั ษาเครือ่ งพิมพด์ ีดหรือเครื่องคอมพิวเตอร์ คานวณคาสุทธิ จดุ ประสงคร์ ายวิชา 1. เพื่อใหม้ คี วามร้คู วามเขา้ ใจเกย่ี วกับการพิมพ์ไทย 2. เพ่อื ใหม้ ีทักษะในการพมิ พ์ไทยแบบสัมผัส 3. เพื่อใหม้ ีกิจนิสยั ท่ีดีในการพิมพ์ สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกีย่ วกบั หลักการพมิ พ์ไทยแบบสัมผัส 2. พิมพส์ ัมผัสแปน้ พมิ พ์ตา่ ง ๆ ตามหลักการ 3. คานวณคาสุทธติ ามหลักเกณฑ์ 4. บารุงรกั ษาเครอื่ งพมิ พ์ดดี หรอื เครื่องคอมพวิ เตอรต์ ามคมู่ อื
การวเิ คราะหเ์ นอื้ หา การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา มุ่งเน้นให้เกิดสมรรถนะในตัวผู้เรียนหรือมาตรฐาน ดังน้ัน ท่านต้องดูจากหลักสูตรว่ารายวิชาน้ีมีมาตรฐานเป็นอย่างไร หรือมุ่งให้เกิดสมรรถนะใดกับ ผู้เรียนให้นาสมรรถนะหรือมาตรฐานแต่ละข้อมาวิเคราะห์ว่าผู้เรียนต้องรู้เน้ือหา/สาระใด จึงจะเกิด สมรรถนะหรือมาตรฐานดังกล่าว โดยพิจารณาจากคาอธิบายรายวิชาภายใต้กรอบของ จุดประสงค์ รายวชิ า มาตรฐาน เนอื้ หา/สาระ - ประวตั ิความเปน็ มาของเคร่ืองพิมพด์ ดี - สว่ นประกอบของเครอ่ื งพิมพด์ ดี - เทคนิคเบ้ืองต้นในการเรียนพมิ พด์ ดี - ความรู้เบ้อื งต้นในการพิมพ์ดดี - ความร้เู บอ้ื งตน้ ในการพิมพ์ดดี ด้วย โปรแกรม Microsoft Word 1. แสดงความรู้เก่ียวกับหลักการพิมพ์ - ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft ไทยแบบสัมผัส Word - การต้ังคา่ หนา้ กระดาษและการกาหนด ระยะขอบกระดาษ - การบารุงรกั ษาการป้อนขอ้ มูล - การบันทึกขอ้ มลู - การสร้างเอกสารใหม่ - ขน้ั ตอนการเปิดเอกสารเก่าเพือ่ ใช้งาน หรือแก้ไขเอกสาร - การออกจากโปรแกรม - การบารุงรกั ษาเคร่อื งพิมพ์ดดี 2. บารุงรักษาเคร่ืองพิมพ์ดีด หรือ - การบารุงรักษาเคร่อื งพมิ พด์ ดี เครอื่ งคอมพวิ เตอรต์ ามคู่มอื - หลักการพิมพ์ดดี แบบการพิมพ์สัมผัส - วิธีการพิมพแ์ ละทา่ นั่งพมิ พท์ ่ถี ูกต้อง - การพิมพส์ ัมผสั แปน้ เหย้า
- การพมิ พแ์ ปน้ นว้ิ ช้ซี ้ายและการพมิ พน์ ้ิว ขวา วิธกี ารพมิ พ์แบบสืบนิว้ - การพิมพ์เพอื่ สร้างทกั ษะความเรว็ และ ความ แม่นยา - การพิมพก์ ารพมิ พ์สัมผสั แปน้ อักษร (HOME KEY) ฟ ห ก ด ่ า ส ว - การพมิ พ์สัมผัสแปน้ อกั ษร เ พ ้ ี ง - การพิมพส์ ัมผัสแป้นอกั ษร ะ ำ ั ร ย - การพิมพ์สมั ผัสแป้นอกั ษร แ ม ไ ป น - การพิมพ์สัมผัสแปน้ อกั ษร ถ ุ ค ึ ต - การพมิ พ์สมั ผัสแปน้ อักษร ภ ผ ฝ บ ล
มาตรฐาน เนือ้ หา/สาระ - การพิมพส์ มั ผัสแป้นอักษร จ ข ช ๆ - การพิมพ์สมั ผัสแปน้ อกั ษร โ ฌ ฑ ็ - การพิมพ์สัมผัสแปน้ อกั ษร ฮ ธ ์ ณ - 15 การพิมพส์ ัมผัสแป้นอกั ษร ฏ ฎ ู ษ - การพมิ พ์สัมผัสแป้นอกั ษร ฉ ฒ ฆ ศ ฬ - การพิมพส์ ัมผัสแป้นอักษร ฤ ซ ญ ฐ ฦ - การพมิ พส์ ัมผัสแปน้ สญั ลกั ษณ์และ เครือ่ งหมาย “” ฯ • . ◦ % - การพิมพส์ ัมผัสแป้นสญั ลกั ษณ์และ เครอ่ื งหมาย ( ) / , ? _ - - การพิมพส์ มั ผสั แป้นตัวเลข 1 2 3 4 5 - การพิมพส์ ัมผัสแป้นตัวเลข 6 7 8 9 0 3. พิมพส์ มั ผสั แปน้ พิมพ์ตา่ ง ๆ ตามหลักการ - การพฒั นาความเร็วและความแม่นยา - การวางศนู ยต์ ามแนวนอนและแนวตั้ง - การพิมพบ์ ัญชร 4. คานวณคาสุทธติ ามหลักเกณฑ์ - หลกั การพิมพ์จบั เวลา - หลกั การคดิ คาสุทธิ - วิธีการคิดคาผิดและการนับคับที่ถูกต้อง
หน่วย หัวขอ้ การสอน จุดประสงค์รายวชิ า สมรรถนะรายวิชา ท่ี 1234 1234 1 ความรพู้ ื้นฐานในการเรียนพิมพด์ ดี 2 ความรเู้ บื้องต้นในการพิมพ์ดีดดว้ ยโปรแกรม Microsoft Word 3 การบารุงรักษาเคร่ืองพิมพ์ดีดและเคร่ือง คอมพิวเตอร์ 4 การเรียนร้แู ปน้ อกั ษรแป้นเหยา้ ฟ ห ก ด ่า ส ว 5 การเรียนรแู้ ปน้ อกั ษร เ พ ี ้ ง 6 การเรยี นรแู้ ป้นอักษร ะ ำ ั ร ย 7 การเรียนรแู้ ป้นอักษร อ ิ ท ื ใ 8 การเรยี นรแู้ ปน้ อกั ษร แ ม ไ ป น 9 การเรยี นรแู้ ปน้ อักษร ถ ุ ค ึ ต 10 การเรยี นรูแ้ ปน้ อกั ษร ภ ผ ฝ บ ล 11 การเรียนรแู้ ปน้ อักษร จ ข ช ๆ 12 การพิมพท์ บทวน 13 การเรียนรแู้ ปน้ อักษร โ ฌ ฑ ็ 14 การเรยี นรแู้ ปน้ อักษร ฮ ธ ณ 15 การเรียนรูแ้ ป้นอักษร ฎ ฏ ู ษ 16 การเรียนรแู้ ปน้ อักษร ฉ ฒ ฆ ศ ฬ 17 การเรียนรแู้ ป้นอักษร ฤ ซ ญ ฐ ฦ 18 การเรยี นร้แู ปน้ อักษร “..” ฯ • . % 19 การเรยี นรแู้ ป้นอกั ษร ( ) / , ? - _ 20 การเรยี นรู้แป้นอกั ษร 1 2 3 4 5 21 การเรียนรแู้ ป้นอกั ษร 6 7 8 9 0 22 การพัฒนาความเร็วและความแม่นยา 23 การพมิ พว์ างศูนยต์ ามแนวนอนและแนวต้ัง 24 การพมิ พบ์ ญั ชร หรือการพิมพเ์ ว้นระยะจากดั ตอน รวม
การแบ่งหนว่ ยการสอน นาเนื้อหา/สาระ มาจัดกลมุ่ เปน็ หน่วยการเรยี น มาตรฐานแตล่ ะด้านอาจ มีมากกว่า 1 หน่วยการเรียนก็ได้ ใน 1 หน่วยการเรียนจะประกอบไปดว้ ยหวั ข้อการสอน (หัวขอ้ ใหญ่) หลายหวั ข้อ ในแต่ละหัวข้อมีการสอนโดยใช้เวลาต่าง ๆ กัน บางหัวข้อเป็นทฤษฎี บางหัวข้อเป็นปฏิบัติ แล้วแต่ จุดประสงค์
สปั ดาห์ หน่วย หวั ข้อการสอน คาบ จานวนคาบ ท่ี ท่ี ท่ี ทฤษฎี ปฏบิ ัติ รวม 1 1 - ความรเู้ บือ้ งต้นในการพมิ พ์ดีด 1-2 1 12 - ประวัติความเปน็ มาของเครื่องพมิ พด์ ดี - ประวัติความเปน็ มาของเครือ่ งพิมพ์ดดี - เทคนิคเบื้องต้นในการเรยี นพมิ พด์ ดี 1 2 - ความรเู้ บอ้ื งต้นในการพมิ พ์ดีดดว้ ยโปรแกรม 3-4 1 12 Microsoft Word - การเรียนใชง้ านโปรแกรม Microsoft Word 2010 สว่ นประกอบของโปรแกรม - การตง้ั คา่ หนา้ กระดาษและการกาหนดระยะ ขอบกระดาษ - การปอ้ นขอ้ มลู - การบนั ทกึ ข้อมูล - การสรา้ งเอกสารใหม่ - ข้นั ตอนการเปดิ เอกสารเกา่ เพ่อื ใชง้ านหรอื แกไ้ ข เอกสาร - การออกจากโปรแกรม 2 3 - การบารุงรักษาเครอื่ งพมิ พ์ดดี และเครอื่ ง 5-6 1 12 คอมพวิ เตอร์ 2 4 การเรยี นรแู้ ปน้ อกั ษรแปน้ เหย้า ฟ ห ก ด ก่ กา 7-8 1 12 สว - การวางนิว้ บนแป้นเหย้า - การพิมพผ์ สมคา และการเคาะวรรค 3 5 - การทบทวนอักษรแป้นเหยา้ 9-12 2 24 - การเรยี นรู้แปน้ อกั ษร เ พ ี ้ ง - การพิมพ์ผสมคา 13-16 2 24 - การพมิ พ์ประโยค 4 6 - การทบทวนอักษรแป้นเหยา้
- การเรยี นรู้แปน้ อักษร ะ ำ ั ร ย - การพิมพ์ผสมคา - การพิมพป์ ระโยค 5 7 - การทบทวนอกั ษรแป้นเหยา้ 17-18 1 12 - การเรยี นร้แู ปน้ อกั ษร อ ิ ท ื ใ สปั ดาห์ หนว่ ย หวั ขอ้ การสอน คาบ จานวนคาบ ท่ี ท่ี ท่ี ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ รวม - การพิมพผ์ สมคา - การพมิ พ์ประโยค 5 8 - การเรยี นรู้แป้นอักษร แ ม ไ ป น 19-20 1 11 - การพิมพผ์ สมคา - การพิมพป์ ระโยค 6 9 - การทบทวนอักษรแปน้ เหย้า 21-24 2 24 - การเรยี นรู้แปน้ อกั ษร ถ ุ ค ึ ต - การพมิ พ์ผสมคา - การพิมพ์ประโยค 7 10 - การทบทวนอักษรแป้นเหย้า 25-26 1 12 - การเรียนรู้แปน้ อกั ษร ภ ผ ฝ บ ล 27-28 1 12 - การพมิ พ์ผสมคา - การพมิ พป์ ระโยค 29-32 2 24 7 11 - การทบทวนอกั ษรแป้นเหยา้ 33-36 2 24 - การเรยี นร้แู ป้นอกั ษร จ ข ช ๆ - การพมิ พ์ผสมคา 37-38 1 12 - การพมิ พป์ ระโยค 8 12 - การพมิ พ์ทบทวน 9 13 - การพมิ พท์ บทวน - การเรยี นรแู้ ปน้ อกั ษร โ ฌ ฑ ็ - การพิมพ์ผสมคา - การพิมพป์ ระโยค 10 14 - การพิมพท์ บทวน - การเรียนรแู้ ปน้ อักษร ฮ ธ ณ - การพิมพผ์ สมคา
- การพมิ พป์ ระโยค 10 15 - การพิมพ์ทบทวน 39-40 1 12 - การเรียนรู้แปน้ อกั ษร ฎ ฏ ู ษ - การพมิ พผ์ สมคา - การพิมพป์ ระโยค 11 16 - การพิมพท์ บทวน 41-44 2 24 - การเรียนรแู้ ป้นอกั ษร ฉ ฒ ฆ ศ ฬ - การพิมพผ์ สมคา - การพมิ พ์ประโยค 12 17 - การพมิ พท์ บทวน 45-46 1 12 สัปดาห์ หน่วย หัวข้อการสอน คาบ จานวนคาบ ท่ี ท่ี ท่ี ทฤษฎี ปฏิบตั ิ รวม - การเรยี นรู้แป้นอกั ษร ฤ ซ ญ ฐ ฦ - การพิมพ์ผสมคา - การพมิ พ์ประโยค 12 18 - การพิมพ์ทบทวน 47-48 1 12 - การเรยี นรู้แปน้ อกั ษร “..” ฯ • . % - การพมิ พ์ผสมคา - การพิมพป์ ระโยค 13 19 - การพมิ พท์ บทวน 49-50 1 12 - การเรยี นรู้แปน้ อกั ษร ( ) / , ? - _ - การพมิ พ์ผสมคา - การพิมพ์ประโยค 13 20 - การพมิ พ์ทบทวน 51-52 1 12 - การเรียนรแู้ ปน้ อักษร 1 2 3 4 5 - การพิมพ์ผสมคา 53-56 2 24 - การพมิ พป์ ระโยค 14 21 - การพมิ พท์ บทวน - การเรยี นรแู้ ป้นอักษร 6 7 8 9 0 - การพมิ พผ์ สมคา
- การพมิ พป์ ระโยค 15 22 - การพมิ พท์ บทวน 57-60 2 24 - การพฒั นาความเรว็ และความแมน่ ยา 24 16 23 - การพิมพ์ทบทวน 61-64 2 24 - การพมิ พ์วางศนู ย์ตามแนวนอนและแนวตงั้ -4 34 72 17 24 - การพิมพท์ บทวน 65-68 2 - การพิมพบ์ ญั ชร หรอื การพิมพ์เว้นระยะจากดั ตอน 18 - - สอบปรายภาค 69-72 4 รวม 38
แผนการวัดผล รหัสวิชา 20201-1004 รายวชิ า พมิ พ์ดดี ไทยเบื้องตน้ แนวทางวัดผล ส่วนท่ี 1 1.เน้ือหาสาระ 80 คะแนน -ทฤษฎี (แบบทดสอบ) 20 คะแนน คะแนน -ปฏบิ ัติ (กระบวนการเรยี นรู้) 30 -สอบปลายภาค 30 คะแนน 2.คณุ ธรรมจรยิ ธรรม 20 คะแนน - เวลาเรียน 10 คะแนน 2 คะแนน - ความรบั ผดิ ชอบ 2 คะแนน - การแต่งกาย 2 คะแนน 2 คะแนน - การตรงต่อเวลา 2 คะแนน คะแนน - ความซ่อื สตั ย์ 4 - ความประหยัด 3.5 3 รวม 100 2.5 2 สว่ นท่ี 2 1.5 1 การประเมนิ ผล 0 ถา้ คะแนน 80-100 ได้เกรด ถา้ คะแนน 75-79 ได้เกรด ถ้าคะแนน 70-74 ไดเ้ กรด ถา้ คะแนน 65-69 ได้เกรด ถ้าคะแนน 60-64 ไดเ้ กรด ถ้าคะแนน 55-59 ไดเ้ กรด ถา้ คะแนน 50-54 ไดเ้ กรด ถา้ คะแนน 0-49 ไดเ้ กรด
1 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 หนว่ ยท่ี 1 วิชา พมิ พไ์ ทยเบ้อื งตน้ (20200-1004) สอนครง้ั ที่ 1 ชื่อหน่วย ความรเู้ บ้ืองต้นเก่ยี วกบั เคร่ืองพิมพ์ดีดไทย คาบรวม 4 ชือ่ เรอ่ื ง ความรู้เบ้ืองต้นเกย่ี วกับเคร่ืองพมิ พ์ดดี ไทย จานวนคาบ 4 1.สาระสาคญั 1. ความรแู้ ละประวตั ขิ องเครื่องพิมพด์ ดี 2. กิจนิสัยที่ดแี ละสิ่งที่ต้องปฏบิ ตั ิเมื่อใช้หอ้ งพิมพ์ดีด 3. ส่ิงทคี่ วรปฏบิ ัตเิ ม่อื ใชห้ ้องพิมพด์ ีด 4. สิ่งท่ไี มค่ วรปฏิบตั เิ มื่อใช้หอ้ งพมิ พ์ดีด 5. การพับผ้าคลุมเคร่อื งพมิ พด์ ดี 6. คาแนะนาสาหรับผู้เรยี น 7. สว่ นตา่ ง ๆ ของเครื่องพิมพด์ ดี 8. การเตรยี มตัวสาหรบั พมิ พด์ ีด 9. หลกั ในการพมิ พด์ ดี 2.จุดประสงค์การเรียน จดุ ประสงค์ท่ัวไป เพื่อใหน้ กั เรยี นมีกิจนิสยั ที่ดใี นการพิมพด์ ดี พับผา้ คลมุ เครื่องพิมพ์ดีดไดถ้ ูกตอ้ ง สามารถ ปฏิบัติในห้องพิมพด์ ดี บอกส่วนตา่ ง ๆ ของเครือ่ งพมิ พด์ ดี ไทย พิมพ์ดีด หรอื เคาะ อา่ นแบบฝึกและใช้ ส่วนตา่ ง ๆ ของเครื่องพมิ พ์ดีดไทย จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม พุทธพิสัย 1. บอกประวตั ิและววิ ฒั นาการของเคร่อื งพิมพ์ดีดไทยได้ 2. มกี จิ นิสัยทีด่ ใี นการพิมพด์ ดี ทักษะพสิ ัย 3. พับผา้ คลุมเครอ่ื งพมิ พ์ดีดไดถ้ กู ตอ้ ง 4. สามารถปฏิบัตใิ นหอ้ งพิมพ์ดีดได้ จติ พิสยั 5. บอกส่วนตา่ ง ๆ ของเคร่ืองพิมพด์ ดี ไทยได้ 6. พมิ พด์ ดี หรือเคาะ อ่านแบบฝึก และใชส้ ว่ นต่าง ๆ ของเคร่อื งพมิ พด์ ีดไทยได้
2 กิจกรรมการเรยี นรู้ อธิบายพร้อมสาธติ 1. ให้นกั เรียนไดซ้ ักถาม 2. แบ่งกลุ่มมอบหมายงานให้ปฏบิ ัติ โดยกาหนดหวั ข้อเรื่องใหร้ ับผิดชอบ 3. นกั เรยี นปฏบิ ตั ิดว้ ยตนเองใหเ้ กดิ ทักษะและความชานาญ 4. ถาม – ตอบ สรุปผลรว่ มกันระหวา่ งครูกับนักเรยี น ส่อื และแหลง่ การเรียนรู้ 1. เครอ่ื งพิมพ์ดีดไทยพรอ้ มโต๊ะสาธิต 2. เครือ่ งพิมพ์ดีดไทยสาหรับผู้เรียนพรอ้ มโต๊ะเก้าอ้ี 3. แบบฝึกพมิ พด์ ดี ไทย 4. กระดาษฝกึ พิมพ์ และกระดาษรองพมิ พ์ 5. แผนภมู ิแป้นอกั ษรเครื่องพมิ พด์ ดี ไทย จากเดิมแผนภมู แิ ป้นอกั ษรเคร่อื งพิมพด์ ีดไทย ใช้ ปา้ ยไวนิล เปลย่ี นเปน็ Power Point และ You Tube การวัดและประเมินผล ก่อนเรียน ทาแบบทดสอบประเมนิ ผลกอ่ นเรียน ขณะเรียน 1. การตอบคาถามของนักเรยี น 2. สังเกตความสนใจ และความสามารถเปน็ รายบคุ คล หลังเรยี น 1. ทาแบบทดสอบประเมนิ ผลหลงั เรยี น 2. บนั ทกึ ข้อมูลพฤตกิ รรมการเรยี น และการปฏิบัตงิ านของนักเรยี น 3. ตรวจผลงานให้คะแนนรายบคุ คล ความรเู้ รือ่ งเครอ่ื งพมิ พด์ ดี
3 เครื่องพิมพ์ดีด เป็นเคร่ืองจักรเล็ก ๆ ที่สามารถพิมพ์ตัวอักษรไทย และเครื่องหมายตามที่ เราคิด และเขียนออกมาเป็นตัวหนังสือได้ เราสามารถทาสาเนาได้หลายฉบับจากเครื่องพิมพ์ดีด เรา สามารถทาเอกสารที่เป็นประโยชน์แก่สานักงานเอกชนและรัฐบาล ใบความรู้และใบงานใน หนังสือนี้ก็จัดทาต้นฉบับจากเครื่องพิมพ์ดีด ก่อนที่จะส่งพิมพ์แท่นพิมพ์ใหญ่ เครื่องพิมพ์ดีด ประกอบด้วยแป้นอักษรจานวนมาก มีถึง 48 (โดยเฉพาะเคร่ืองพิมพ์ดีดรุ่นใหม่) ที่จะใช้ตีพิมพ์ ตัวอักษรทีละตัวลงบนผ้าหมึกพิมพ์กดแบบของตัวอักษรลงบนกระดาษ ขณะที่เคาะหรือดีดอักษร ลงบนแป้นแต่ละตัวก็เล่ือนแป้นทีละ 1 คร้ัง โดยอัตโนมัติจนหมดบรรทัด แต่ละบรรทัดแต่ละหน้า พนักงานพิมพ์ดีดก็จะปัดแครแ่ ละพมิ พ์บรรทัดต่อไปจนหมดขอ้ ความ การท่ีพนักงานพิมพ์ดีดจะพิมพ์ได้ รวดเร็วถูกต้องจะต้องได้รับการฝึกหัดการใช้เครื่อง ใช้นิ้วอย่างถูกวิธี ฝึกเพ่ิมทักษะให้ถูกวิธีขั้นตอน จนกระท่ังพิมพ์โดยอัตโนมัติตามแบบโดยไม่ต้องมองที่แป้นอักษร เราเรียกว่าพิมพ์แบบสัมผัส 10 น้ิว นกั เรียนทกุ คนจะเป็นพนกั งานพิมพ์ดดี ทดี่ ีไดเ้ มื่อทาการฝกึ ตามท่คี รผู สู้ อนได้แนะนาการเรียนพมิ พด์ ดี ไทย 1 คาบ ตามจานวนคาบท่ีได้กาหนดไว้แล้ว ทุกคนจะสาม ประวตั ิของเคร่ืองพิมพด์ ีด เคร่ืองพิมพ์ดีด เครื่องแรกเป็นแบบภาษาอังกฤษ ได้จดทะเบียนสิทธิบัตรเม่ือ พ.ศ. 2237 (17 มกราคม ค.ศ. 17144) ทป่ี ระเทศอังกฤษโดยวิศวกรชาวอังกฤษชื่อ เฮนรี่ มิล (Henry Mill) โดยใช้ชื่อวา่ Writing Machine สามารถเขยี นหนงั สือได้สะดวกรวดเรว็ และเปน็ ระเบียบเรียบร้อย แต่มเี พยี งเคร่ืองเดยี วและไม่ทราบสาเหตุว่าทาไมไม่สร้างข้ึนเป็นเครื่องท่ีสอง จากแนวความคิดของ เฮนรี่ มิล (Henry Mill) ทาใหช้ าวอเมริกนั ชอ่ื วลิ เลยี ม ออสติน (William Austin Burt) ได้ ประดษิ ฐ์เครอื่ งเขียนหนังสือโดยใช้ช่อื ว่า Typographer มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมทาด้วยไม้ท้ังสิ้น วิธีพิมพ์ต้องหมุนแป้นคล้ายหน้าปัดนาฬิกาตัวอกั ษรท่ีต้องการจะพิมพ์เม่ือพบแล้วกดลงไปบน กระดาษ เปน็ ทีน่ ่าเสียดายยิง่ ที่สานักงานสิทธบิ ตั รทก่ี รุงวอชิงตนั ถกู ไฟไหมแ้ ละไดเ้ ผาเครือ่ ง ๆ น้ีดว้ ย เมอ่ื พ.ศ. 2379 ในปี พ.ศ. 2376 ชาวฝรั่งเศสช่ือ Progin ได้ประดิษฐ์เครื่องเขียนหนังสือสาหรับคนตา บอด เรียกว่า Ktypographic เคร่อื งนี้ประกอบด้วยที่รวมของแปน้ อกั ษร เม่ือเคาะลงไปบนแป้น ตวั อกั ษรจะดีดก้านอักษรตไี ปท่จี ุดศูนยก์ ลางของเครอ่ื งอันเปน็ ตน้ แบบของเคร่อื งพมิ พ์ดีดในยุคปัจจุบัน หลงั จากนน้ั กม็ นี ักประดิษฐ์คิดคน้ สร้างเครือ่ งพมิ พด์ ดี ใหด้ ยี ิ่งข้ึน และได้นาไปจดทะเบยี นที่สานักงาน สทิ ธบิ ัตรในสหรัฐอเมรกิ ามากมายแต่ประชาชนยงั ไม่นยิ มเพราะยงั แก้ปัญหาไม่ได้ท่ีตอ้ งใชแ้ รงกดมาก และช้ากวา่ การเขียนด้วยมอื มาก ในระหว่าง พ.ศ. 2360-2430 ได้มีนักประดิษฐ์ชาวอเมริกันชื่อ Chistopher Latham shie ได้ประดษิ ฐ์เคร่ืองพิมพด์ ีดใช้ชื่อว่า Type-Writer แต่ก็ยังไม่มใี ครสนใจมากนัก แม้ว่าเขาได้ตั้ง
4 โรงงานผลิตเครื่องพิมพ์ดีดมาแล้ว ต่อมาจึงได้ขายลิขสิทธ์ิให้แก่บริษัท E.Remington & Son ในปี พ.ศ. 2416 ก็ได้มีเครื่องพิมพ์ดีดแบบมาตรฐานสู่ตลาด ในปี พ.ศ.2447 Edwerd B. Her and Lews C.Mayers ก็ได้สร้างเคร่ืองพิมพ์ดีดย่ีห้อ Royal และเป็นอีกแบบหนึ่งท่ีแก้ปัญหาเร่ืองการใช้กาลัง น้อยในการกดแป้นอักษรและสามารถพิมพ์ได้เร็วกว่าเดิม ในสหรัฐอเมริกามีเครื่องพิมพ์ที่ประสบ ความสาเร็จในการจาหน่ายเพียง 4-5 ยี่ห้อ คือ รอยัล เรมิงตัน ไอบเี อ็ม สมิธโคโรนา อันเดอร์ วดู ในยโุ รปก็มนี ักประดิษฐ์คดิ ทาพมิ พด์ ดี ออกจาหนา่ ยหลายยี่หอ้ เชน่ ในเยอรมนี โอลิมเปีย แอดเลอร์ ออนตมิ า ในอิตาลีมีโอลวิ ติ ้ี ในฮอลแลนดม์ ี เฮอร์เนส ในขณะที่อเมริกากาลังประดิษฐ์เครื่องพิมพ์ดีดภาษาอังกฤษ เอดวิน แมคฟาแลนด์ เลขานุการส่วนพระองค์ของสมเด็จกรมพระยาดารงราชานภุ าพ เสนาบดีกระทรวงธรรมการ ได้เดินทาง กลับไปพักผ่อนที่สหรัฐอเมริกา มีแนวความคิดที่จะดัดแปลงมาเป็นเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทย เนื่องจากภาษาไทยมีสระและวรรณยุกต์มากกว่าภาษาอังกฤษ จึงต้องใช้เคร่ืองพิมพ์ดีดยี่ห้อน้ี และ ช่วยกันแก้ตัวอักษรไทยและคิดค้นวางตัวอักษร สระ วรรณยุกต์มากกว่าภาษาอังกฤษ จึงต้องใช้ เครอื่ งพิมพ์ดดี ยี่ห้อนี้ และช่วยกันแก้ตัวอักษรไทยและคิดค้นวางตัวอักษร สระ วรรณยุกต์ ท้ังหลายลง ในเคร่อื งพมิ พ์ภาษาไทย และมีความจาเปน็ ตอ้ งตัดตัวอักษรบางคาออกสองตวั แตก่ ารพมิ พ์กย็ งั ใช้แบบ สัม ผัส ไม่ได ้ ต้อ งใช้นิ ้ว จิ้ม ท ีล ะ ตัว จ าก ก าร ป ร ะ ดิษ ฐ์เค รื่อ งพ ิม พ ์ดีด ข อ ง เม ล ฟ าร ม ได้อานวยความสะดวกและประโยชน์ให้แก่ราชการไทยอย่างมากมายแต่เมื่อ เอดวิน แมคฟาร์ม แลนด์ ได้นาเคร่ืองพิมพ์ดีดภาษาไทยกลับมาเมืองไทย สมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพได้ทรง ยา้ ยไปดารงตาแหน่งเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ตาแหน่งเลขาส่วนพระองค์ของ เอดวิน แมคฟาร์ม แลน จึงได้กลับไปศึกษาวิชาเภสัชกรรม ที่สหรัฐอเมริกา แต่ยังไม่สาเร็จถึงแก่กรรมใน พ.ศ. 2438 ในขณะท่ีป่วยได้มอบกรรมสิทธิ์เคร่ืองพิมพ์ดีดภาษาไทยให้หมอยอร์ช บี แมค ฟาร์มแลนด์ (พระอาจ วิทยาคม) น้องชายให้เป็นผหู้ าวธิ ีแกไ้ ขปรับปรงุ และเผยแพรเ่ คร่อื งพิมพด์ ีดภาษาไทยให้อย่างกว้างขวาง ต่อไป หลังจากที่ เอ็ดวิน แมคฟาร์มแลนดถ์ งึ แกก่ รรม พระอาจวิทยาคมได้รับกรรมสิทธยิ์ หี่ ้อสมิธ พรเี มยี ร์ไปตั้งแสดงที่สานักงานทาฟัน ทีต่ าบลปากคลองตลาด ซงึ่ เปน็ ร้านทาฟนั แหง่ แรกของประเทศ ไทย หลงั จากที่ทา่ นได้ลาออกจากราชการแล้ว มีประชาชนและข้าราชการไปทาฟันที่สานักงานแห่งน้ี มาก และทุกคนได้รบั คาแนะนาให้รูจ้ ักเครอื่ งพมิ พ์ดีดภาษาไทย ให้ทดลองใชเ้ คร่ืองพมิ พ์ ทุกคนต่างก็ พอใจเพราะตวั อกั ษรที่เกดิ จากเคร่ืองพิมพ์ดีดเป็นระเบียบ เรียบร้อย อ่านง่าย และรวดเร็วกว่าการ เขียนธรรมดามาก ได้รับความนิยมอย่างรวดเร็ว จงึ ไดเ้ ปิดจาหน่ายเคร่อื งพิมพ์ดดี ภาษาไทย และ เคร่อื งพิมพ์ดดี ภาษาไทยสมธิ พรีเมยี ร์รุน่ แรกมาถึงประเทศไทย พ.ศ. 2480 และได้รับความนิยมจน ต้องขยายกิจการไปเปิดร้านใหม่ท่ีตรงหัวมุมถนนวงั หลงั บรู พาใหช้ อื่ วา่ สมิธพรีเมียร์ ในปี พ.ศ. 2441
5 และใน 2-3 ปีต่อมา ไดข้ ายเครือ่ งพิมพ์ดดี ภาษาไทยได้หลายพันเคร่ือง ต่อมาโรงงานผลิตเคร่ือง พิมพ์ดีดได้เลิกกิจการและไปรวมกิจการกับบริษัท เรมิงตัน เครื่องพิมพ์ดีดย่หี ้อพรีเมียร์เปน็ เครื่องพมิ พ์ดีแคร่ตาย ไม่สามารถพมิ พ์สัมผัส 10 นิ้วได้ บริษทั เรมงิ ตัน ได้ส่ังให้เลิกผลิต และได้ ผลิตแบบยกแคร่ หรือยกกระจาดเข้ามาจาหน่ายแทน แต่ผู้ใช้ยังติดแบบเดิมอยู่จึงไม่ได้รับความ นิยมใช้ พ.ศ. 2464 พระอาจวิทยาคมและภรรยา ได้กลับไปพักผ่อนท่ีสหรัฐอเมริกา ได้ไปให้ ความรู้เรอื่ งภาษาไทย และไดช้ ว่ ยออกความคดิ เห็นจนบริษทั เรมิงตัน สามารถผลิตเครอ่ื งพิมพด์ ดี ชนิด กระเป๋าหวิ้ รปู รา่ งเลก็ กระทดั และสามารถพมิ พส์ ัมผัส 10 นิว้ ได้ จงึ ทาใหผ้ ู้ใช้นิยมเพราะพิมพ์ได้ไม่ ยาก เคร่อื งพิมพด์ ดี แบบดงั กล่าวมจี าหนา่ ยในประเทศไทยเม่ือ พ.ศ. 2463 เครอื่ งพิมพด์ ีดภาษาไทยในขณะน้นั ยงั มีขอ้ บกพร่องอยบู่ ้างตามสมควร เพราะการพิมพข์ ัดกบั การเขยี น เช่น ตัว ฝ จะต้องพิมพ์ ผ แล้วต่อหาง คาว่า “กิน” ต้องพิมพ์สระกอ่ น แล้วจงึ พิมพ์ ก และ น ในปี พ.ศ. 2467 พระอาจวิทยาคม จึงได้ร่วมปรึกษาค้นคว้ากับ พนักงานของบริษัท 2 คน คือ นายสวัสด์ิ มากประยูร และนายสุวรรณ ประเสริฐ (กิม เฮง) เกษมณี โดยนายสวัสดิ์ มากประยูร เป็นวศิ วกรออกแบบประดิษฐต์ ัวอกั ษร นายสวุ รรณ ประเสริฐ (กิมเฮง) เกษมมณี ทาหน้าท่ีฝ่ายวชิ าการ ออกแบบวางแปน้ อกั ษรโดยนาคาท่ีใชบ้ ่อยรวม 167-456 คา จากหนังสือ 38 เล่ม ใช้เวลา 7 ปี ก็วางแป้นอักษรใหม่สาเร็จและเห็นว่า เหมาะสมท่ีสุด ในปี พ.ศ. 2475 สามารถพมิ พไ์ ด้ถนดั ทส่ี ดุ และรวดเรว็ ท่ีสุดให้ช่ือว่า “เกษมณ”ี และใช้มาจนถงึ ปจั จบุ นั น้ี เครื่องพิมพ์ดีด แบบท่ีเราเรียกว่าแบบเกษมณี ได้มีผู้วิจัยว่ามีข้อบกพร่องและคิดวางแป้น อักษรใหม่ ใช้ชื่อว่า แบบปัตตะโชติ เสนอต่อสภาวิจัยแห่งชาติ สภาวิจัยแห่งชาติได้ตรวจสอบแล้ว ยอมรับว่าหากนาเครื่องพิมพ์ดีดแบบปัตตะโชติ นาไปใช้จะทาให้พิมพ์ได้เร็วกว่าเดิม ประมาณ 25.8% ในระหว่าง พ.ศ. 2508-2516 ทาให้วงการใช้เครื่องพิมพ์ดีดสับสน คณะรัฐมนตรีลงมติให้ หน่วยราชการท่ีได้รับงบประมาณค่าเคร่ืองพิมพ์ดีดจัดซื้อเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยแบบปัตตะโชติ ทาให้ หน่วยราชการ รัฐวิสาหกิจ บริษัท ห้างร้าน ต้องส่งพนักงานพิมพ์ดีดเข้าไปรับการฝึกอบรม การใช้ เคร่ืองพิมพ์ดีดแบบปัตตะโชติ แต่เนื่องด้วยการเปลยี่ นแปลงดังกลา่ ว จะต้องใชเ้ วลาเป็นเครอ่ื งพสิ ูจน์ ท้ังไม่อาจล้างความเช่ือเดิมของผู้ใช้ในระยะเวลานั้นได้ และประกอบกับมีการเปลี่ยนแปลงทาง การเมืองเกิดขึ้น หลังวนั ที่ 16 ตุลาคม 2516 ทาให้นโยบายถูกยกเลิก โดยมติคณะรัฐมรจรี (นว.ที่ 38 พ.ศ. 2516) ตั้งแต่นั่นเป็นต้นมาการจัดซื้อเครื่องพิมพ์ดีดให้เป็นไปตามความต้องการของแต่ ละหน่วยงาน โดยปฏิบัติให้เป็นไปตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2521 และแก้ไขใหม่ ฉบับที่ พ.ศ. 2523 ฉบับท่ี 3 พ.ศ. 2525 ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2527 และฉบับที่ 5 พ.ศ. 2528 และฉบบั ที่ 6 พ.ศ. 2528
6 เครอ่ื งพิมพ์ดีดสามารถดัดแปลงเป็นภาษาตา่ ง ๆ ได้มากกว่า 100 ภาษา มบี างภาษาแครจ่ ะ เลอ่ื นจากทางด้านขวาไปด้านซ้าย เช่น ภาษาอาหรับ ฮิบรู วิวัฒนาการในการสร้างเครื่องพิมพด์ ีด ได้เดินก้าวหน้าไปเรอื่ ย ๆ ไมห่ ยดุ ย้งั สามารถพิมพ์ไดเ้ รว็ กว่าธรรมดาเพราะสามารถเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้ ในเคร่อื ง เชน่ เดียวกับคอมพวิ เตอรส์ ามารถพิมพ์ข้อความเดียวกัน แบบฟอร์มเหมือนกัน ปรับให้ อักษรท่ีพิมพ์ออกมาทางด้านหน้า ด้านหลังตรงกนั เปน็ บรรทัดใช้เวลานอ้ ยลง ลบได้ในตัวตวั เครอื่ ง เองอตั โนมตั ิ มบี างเครื่อง บางย่ีห้อสามารถตอบคาถามตา่ ง ๆ ทีเ่ ข้าไปในเคร่ือง ตอบออกมาเปน็ ตัวอักษร โดยรวดเร็ว แต่ราคาค่อนข้างแพงจึงยังต้องใช้กันในกิจการที่เป็นองค์การระหว่างประเทศและ บริษัทใหญ่ ๆ ของชาวต่างประเทศ เครื่องพมิ พด์ ดี ทม่ี จี าหนา่ ยในท้องตลาดขณะน้เี ป็นแบบยกแคร่ มี บางแบบที่เป็นแบบกระเปา๋ หิ้ว แบบตั้งโต๊ะ แบบทีใ่ ช้ไฟฟ้า บริษัทหา้ งร้านทมี่ กี จิ การกวา้ งขวาง มี บริการลูกคา้ มากมายนิยมใชเ้ คร่ืองพมิ พ์ดีดชนดิ 2 ภาษา เปน็ เคร่ืองพิมพ์ดดี ทม่ี ีท้งั ภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษในเครอื่ งเดียวกนั ขนาดของตัวพมิ พด์ ดี โดยทัว่ ไปขนาดตวั พมิ พ์ดดี ท่ใี ชก้ นั อยมู่ ี 3 ขนาด 1. ตัวอักษรขนาดใหญ่ เรยี กวา่ ไปก้า (Piga) ในเน้อื ที่ 1 นว้ิ จะพิมพ์ตวั อักษรได้ 10 เคาะ หรือ 10 ดีด 2. ตวั อกั ษรขนาดเล็ก เรยี กวา่ อีลิท (Elite) ในเนื้อที่ 1 นิว้ จะพิมพต์ ัวอกั ษรได้ 12 เคาะ หรือ 12 ดีด 3. ตวั อกั ษร IBM เปน็ ตัวอกั ษรขนาดเลก็ จะเป็นของเครื่องพมิ พ์ดีดไฟฟา้ IBM (International Business machines) แบบของเครื่องพิมพ์ดีด การวางแป้นอักษรเป็นสัญลักษณ์ของเคร่ืองพิมพ์ดีด โดยเฉพาะเครื่องพมิ พด์ ีด ภาษาไทย มกี ารพฒั นาการวางแปน้ อักษรขน้ึ ในระหวา่ งปี พ.ศ. 2510-2516 ทาให้การวางแปน้ แตกตา่ งไปจากเดิมทพี่ ระอาจวทิ ยาคม และนายสุวรรณ ประเสริฐ (กิมเฮง) เกษมมณี วางไวเ้ ป็นแบบ ปัตตะโชติ ซ่ึงวางแป้นเหยา้ ไปจาก ฟ ห ก ด ่ า ส ว ไปเปน็ ท ง ก า น เ ไ เรียกชือ่ แบบตามชื่อผปู้ ระดิษฐ์ ประเภทของเครื่องพมิ พ์ดดี เครอ่ื งพิมพ์ดดี ที่ใชก้ นั ในประเทศไทย ในปัจจุบนั แบ่งได้ 2 ชนดิ คือ 1. เครอื่ งพิมพด์ ีดท่ีแปน้ เปน็ ภาษาไทยล้วน 2. เคร่อื งพิมพด์ ีดที่แปน้ อักษรไทย และอกั ษรภาษาอังกฤษในเครื่องเดียวกนั
7 ก. เคร่ืองพิมพด์ ดี ทแ่ี ป้นอักษรไทยลว้ น สว่ นใหญ่แบบยกแคร่และยงั แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ คือ 1. แบบธรรมดา (Manual Typewriter) มีทงั้ แบบตงั้ โต๊ะ (Table) แบบกระเป๋า ห้วิ (portable) ใชม้ อื พมิ พย์ กแคร่ 2. แบบไฟฟ้า (Electric typewriter) สว่ นใหญเ่ ปน็ แบบยกแคร่ ข. เคร่ืองพมิ พด์ ีดทแ่ี ป้นเปน็ อกั ษรไทยและอกั ษรภาษาองั กฤษอยใู่ นเครื่องเดยี วกัน มี 2 แบบ เป็นแบบเฟืองหมุน (Ribbon Cartridge) และแบบกอล์ฟบอล (Golf Ball) พิมพ์ดีด ชนิด 2 แป้นอักษรในเครือ่ งเดยี วกนั นไ้ี ดม้ กี ารพฒั นาไปโดยไม่หยดุ ยงั้ จนกระท่ังปัจจบุ ัน (พ.ศ. 2530) เคร่อื งพิมพ์ดีดรุน่ ล่าสดุ (Officeline) การพมิ พ์ต่าง ๆ ควบคุมโดยระบบอเิ ลก็ ทรอนิกสท์ าให้เกิดความ คลอ่ งตัวในการใชไ้ มว่ า่ จะเป็นการเปลย่ี นแบบตัวอักษรท่ีมีมากกวา่ 30 แบบ ท้ังไทยและอังกฤษ ก็ กระทาได้สะดวก เพราะมขี นาดชอ่ งไฟ 4 แบบ ได้แก่ 10, 12, 15 และช่องไฟมาตรฐาน (Proportional) การปรับระยะบรรทัดก็ทาได้ง่าย ถ้าตอ้ งการพมิ พ์สาเนาหลาย ๆ แผน่ ก็สามารถลดปุ่ม พิเศษ เพอ่ื เพิ่มนา้ หนักตัวพิมพ์ให้กดลงบนกระดาษได้ถงึ 3 ระดบั ทาใหส้ าเนาฉบับสุดทา้ ยคมชัด เชน่ เดยี วกบั แผ่นแรก
8 เทคนิคการใชเ้ ครื่องพมิ พด์ ดี 1. โตะ๊ ทางานใหส้ ะอาด ไมว่ างสิ่งของทไ่ี มจ่ าเป็นบนโต๊ะ 2. กระดาษพมิ พ์ และกระดาษรองพมิ พ์ 3. น่งั ตัวตรงเท้าวางราบกับพืน้ 4. ใส่กระดาษเขา้ เครอื่ งพมิ พ์ ฟงั คาส่งั จากครูผู้สอน สิ่งท่ีควรปฏิบัตเิ มือ่ ใช้หอ้ งพมิ พด์ ดี กอ่ นการพิมพ์ 1. ตรงตอ่ เวลา น่ังประจาท่ที ีก่ าหนด 2. เตรียมกระดาษพมิ พ์และอปุ กรณอ์ ่นื ๆ ให้พร้อม 3. ตรวจความเรยี บรอ้ ยของโตะ๊ เก้าอี้ และเครื่องพมิ พ์ 4. เปดิ ผา้ คลมุ เคร่ืองพมิ พ์และพับเก็บใหเ้ รียบรอ้ ย 5. ใส่กระดาษพรอ้ มแผน่ รองพิมพ์ 6.ปฏิบตั ิตามคาส่งั จากครผู ู้สอน หลังการพิมพ์ 1. ถอดกระดาษออกจากเคร่ืองพิมพ์ 2. เลื่อนแคร่ไวท้ ่ีก่งึ กลางของเครอ่ื ง 3. คลุมเครื่องพิมพด์ ว้ ยผ้าคลุมใหเ้ รยี บร้อย 4. เลื่อนเกา้ อี้เข้าใตโ้ ต๊ะ ดแู ลให้เป็นระเบียบเรียบรอ้ ย 5. เกบ็ กระดาษท้งิ ในตะกร้า ดูแลความสะอาดท่ัวไป
9 สงิ่ ทคี่ วรปฏบิ ัติเมื่อใช้ห้องพมิ พ์ดีด 1. ห้ามเปลยี่ นทีน่ งั่ ก่อนไดร้ บั อนญุ าต 2. หา้ มโยกย้าย/แก้ไขเคร่ืองพิมพ์โดยพลการ 3. ห้ามเข้าหอ้ งเรียนกอ่ นได้รับอนญุ าต 4. ห้ามนาอาหารเข้าไปรับประทานในหอ้ งพมิ พด์ ีด การพบั ผา้ คลุมเครือ่ งพิมพ์ดีด วธิ พี บั ปฏิบตั ติ ามขน้ั ตอนต่อไปน้ี 1. นง่ั ประจาโตะ๊ พมิ พด์ ดี สารวจท่านัง่ ให้ถกู ตอ้ งตามท่านง่ั พมิ พด์ ดี 2. ใช้ขอ้ มือทงั้ สองขา้ งจบั มมุ ซา้ ยและขวายกขน้ึ ให้พ้นเครอ่ื งพมิ พด์ ีด 3. กลับดา้ นในของผา้ คลมุ เคร่ืองพมิ พไ์ วบ้ นเครื่องพมิ พ์ ใหม้ มุ ที่จบั ท้ัง 2 ขา้ ง อยู่ด้านใน 4. จดั มุมท้งั 2 ขา้ ง พบั เขา้ หากนั แลว้ พบั สว่ นท่ีเหลือเป็นรปู สี่เหลี่ยม 5. กะพบั เปน็ 3 ส่วนเท่า ๆ กนั โดยพบั ส่วนท่ี 1 ทับสว่ นท่ี 2 และ 3 ทับสว่ น ท่ี 1 (ดงั รูป) 6. ใช้มือรีดให้เรียบ วางในทีท่ ่ไี ม่เกะกะในการพมิ พด์ ีด หรอื ถา้ โต๊ะมีลน้ิ ชักควรเกบ็ ไวใ้ นลนิ้ ชกั จะเหมาะสมทีส่ ดุ 7. ฝกึ พับผา้ คลมุ เครอ่ื งภายในเวลาท่ีกาหนดหลาย ๆ คร้ัง
10 การบารุงรกั ษาเครือ่ งพิมพด์ ีด 1. ตรวจเช็คสภาพเคร่ืองพิมพ์ดีดก่อนลงมือพมิ พท์ กุ ครั้งวา่ อยูใ่ นสภาพดหี รือไม่ 2. ผา้ คลมุ เคร่อื งตอ้ งพบั ใหเ้ รียบรอ้ ย และอย่าวางกดี ขวางจนดไู ม่เรียบร้อย 3. ทาความสะอาดเครอ่ื งพมิ พ์ดดี เสมอโดยใช้แปรงปัดเศษฝุ่นละอองภายในเคร่ือง และ ตามซอกตา่ ง ๆ ของเครอ่ื งพมิ พ์ 4. ใช้ผ้าบางอ่อนเชด็ ถภู ายนอกและตวั เครื่องพมิ พด์ ดี ในบางโอกาส เพอ่ื ใหเ้ ครื่องพิมพด์ ดี อยใู่ นสภาพใหม่อยู่เสมอ 5. อย่าเปิดฝาครอบเครือ่ งพิมพด์ ดี วางกบั พน้ื และหมุนผ้าหมกึ เล่น 6. เมื่อเครอื่ งขัดข้องต้องรบี แจง้ ให้คุณครูผู้สอนทราบ เพ่อื แจง้ ให้ชา่ งทาการซ่อมให้ อยใู่ นสภาพที่ใช้งานได้ตลอดเวลา 7. อยา่ เคล่อื นยา้ ยเคร่อื งพมิ พด์ ดี กอ่ นไดร้ ับอนญุ าต 8. คลมุ ผ้าคลมุ เคร่อื งทกุ เคร่ืองเมือ่ เลิกใช้เคร่อื งพิมพแ์ ล้ว เพอื่ ปอ้ งกันฝนุ่ ละออง 9. หมัน่ หยอดนา้ มันเครอ่ื งในสว่ นที่เป็นกลไกสาคัญ คาแนะนาสาหรบั ผเู้ รียน ฝึกนิสยั การทางานให้เป็นคนตรงต่อเวลา ปฏิบตั ติ ามคาแนะนาของครผู ู้สอน การฝึกปฏิบตั ิ และพยามเรียนดว้ ยความเอาใจใส่ กอ่ นทางานในช้นั เรียน ควรจัดโตะ๊ เรยี นให้เรยี บร้อย พับผ้าคลุมเครื่อง วางแบบพิมพ์ทางด้าน ขวามอื นัง่ ตวั ตรง เท้าวางราบกับพื้น ลาตัวห่างจากเคร่ืองประมาณ 1 คบื แขนแยกจากลาตวั เล็กน้อย วางมือใหพ้ อดี ไม่เกร็งแขนจนรสู้ กึ หนัก ขอ้ มือหา้ มวางไวท้ ่ีขอบเครื่องพิมพ์ นวิ้ มือวางบนแป้นเหย้างอน้วิ เล็กนอ้ ย ตามองที่แบบพิมพ์ ฟงั คาสงั่ จากครผู ู้สอน หลังการพิมพท์ ุกครัง้ เลือ่ นแคร่พมิ พ์ใหอ้ ย่กู ง่ึ กลาง ปรบั กา้ นคลายกระดาษ และคานทับลง คลุม เครือ่ งให้เรยี บรอ้ ย เลอื่ นเก้าอี้เข้าใต้โต๊ะให้เรียบร้อย กอ่ นออกจากห้อง เศษกระดาษนาไปทิ้งลงใน ตะกร้า ความเรียบรอ้ ยในการจดั ห้องเรยี น จะนาไปสกู่ ารทางานท่เี ป็นระเบียบ อย่าเรง่ พมิ พ์เพ่อื หวงั ผลในการพมิ พ์เร็วอยา่ งเดยี ว จะไม่ไดผ้ ลดีเพราะขาดความแมน่ ยา ผูเ้ รยี นตอ้ ง ตระหนกั เสมอว่า การพมิ พแ์ ม่นยาดีกว่าพมิ พเ์ ร็วแตผ่ ดิ มาก
11 ส่วนตา่ ง ๆ ของเคร่ืองพมิ พ์ดดี ไทย
12 ชอ่ื สว่ นต่าง ๆ ของเครอ่ื งพิมพด์ ีด 1. ด้ามปัดแครข่ ้ึนบรรทัดใหม่ (line space) 2. หลอดผ้าหมึกพิมพ์ (Ribbon) ซ้าย – ขวา (ขา้ งใน) 3. คันโยกลอ็ คแคร่ และถอดแคร่ (Carriage locking levers) ซ้าย – ขวา (ในฝาครอบ) 4. ปมุ่ กดปรับบรรทดั (Variable interliner) 5. ปมุ่ บดิ ลกู ยางใหญ่ ซ้าย – ขวา (Platen knobs) 6. ปมุ่ ปล่อยแคร่ ซา้ ย – ขวา (Carnage release) 7. คนั โยกฟรีบรรทดั (Platen releasse) 8. แคร่เคร่ืองพมิ พ์ (Carriage) 9. คนั โยกระยะบรรทัดตงั้ ระยะบรรทดั (Line space regulator) 10. เหลก็ กัน้ หน้ากระดาษซา้ ยมอื (Left – hand margin stop) 11. แผงนากระดาษ (Paper guide) 12. สเกลหลังกระดาษ (Margin scale) 13. สเกลหน้ากระดาษและลกู ยางทับกระดาษ หรอื คานทับกระดาษ (Paper bail with bail rolls) 14. ป่มุ กดเหล็กรองหลงั กระดาษ (Release for paper support) 15. แผงบงั คับก๊ารด์ มรี ูดนิ สอปากกาซา้ ย – ขวา (Line finders) 16. เหล็กรองกระดาษวัดกระดาษ (end of sheet indicator) 17. ลูกยางใหญ่ (Platen) 18. เหลก็ บังคับกา๊ ร์ด (Card holder) 19. เหล็กกน้ั หลักกระดาษขวามอื (Right – hand) 20. แผงรองลบ (Erasing table) 21. คนั โยกปลอ่ ยกระดาษให้หลวม หรอื ก้านคลายกระดาษ หรือป่มุ คลายกระดาษ (Paper release) 22. คันบังคับหนกั เบา (ในฝาครอบ) (Touch control) 23. ฝาครอบถอดได้ (Top cover) 24. แปน้ ตง้ั ระยะ ปลดระยะปดั แคร่และคานย่อหนา้ (Tabulator) 25. แป้นถอยหลัง (Back space)
13 26. แปน้ อกั ษรบน หรือยกแคร่ (Shift key) 27. คานเวน้ วรรค (Correcting space bar) 28. แถวแป้นอักษร (Standard keyboard) 29. แป้นล่ันพมิ พอ์ ักษรบน (Shift look) 30. แปน้ ขอตวั ปล่อยล็อคกนั้ หนา้ ก้ันหลงั กระดาษ (Margin release) 31. ปมุ่ บงั คบั ผา้ หมกึ (Ribbon adjuster) สว่ นของเคร่ืองพิมพ์ดดี ท่ีสาคญั เพ่อื สะดวกในการใชส้ ่วนต่าง ๆ ของเคร่อื งพิมพด์ ดี อย่างถกู วธิ ี ผูเ้ รยี นควรจะได้ศึกษาและ จดจาส่วนของเคร่อื งพิมพ์ดดี ที่สาคญั ๆ และใช้อยเู่ ปน็ ประจาก่อนก่อนคอื 1. แผงนากระดาษใหอ้ ยูท่ ่ี 0 แผงน้เี คลือ่ นทไี่ ปมาได้ ใช้ประโยชนส์ าหรบั ชว่ ยนา กระดาษสง่ เขา้ เครอื่ งพมิ พ์ดดี เพ่อื ให้ขอบซา้ ยเท่ากัน ฉะน้ันขอบซ้ายของกระดาษจะต้องแนบกบั แผง นี้เสมอ ซึง่ ถ้าหากไมม่ แี ผงน้ีในเครอื่ งพมิ พด์ ีดก็จะทาให้ผูพ้ ิมพ์เสียเวลาในการจดั กระดาษ 2. คานทบั กระดาษ ใชส้ าหรบั ทบั กระดาษให้เรยี บและให้แนบกบั ลูกยางใหญ่ และยงั แบ่งลกู ยางท่ีวางทบั กระดาษใหอ้ ยหู่ า่ งกันประมาณหน่ึงในสามของกระดาษ ดังนน้ั ก่อนใส่ กระดาษเขา้ เครอ่ื งพมิ พ์ดดี ผ้พู ิมพค์ วรยกคานทบั กระดาษขึน้ กอ่ น 3. ด้ามปัดแคร่ (Line Spacer) เป็นดา้ มทใี่ ช้ปดั สาหรบั ข้ึนบรรทดั ใหม่ การปัดใหใ้ ช้ มอื ซ้ายปัดแคร่โดยวางนวิ้ ทง้ั 4 (ชี้ กลาง นาง กอ้ ย) ใหช้ ดิ กนั สว่ นหวั แม่มือให้พบั งอลงข้างล่าง และใช้ข้อมอื เหวย่ี งให้แรงพอสมควร มือไม่ตอ้ งตามแคร่ไปจนสดุ ทุกครงั้ ท่ปี ัดแคร่ขึ้นบรรทดั ใหม่ มือ ขวาจะต้องอยูท่ ่แี ป้นเหยา้ 4. ป่มุ บดิ ลกู ยางใหญซ่ า้ ย – ขวา มีไวเ้ พื่อปอ้ นกระดาษเข้าเคร่อื ง และปรบั กระดาษ ขึน้ ลง โดยใชม้ อื บิดท่ีตัวลกู บดิ ใชไ้ ดท้ ้ังมือซา้ ยและมอื ขวา 5. ป่มุ กน้ั หน้ากระดาษซา้ ยมือและขวามอื ใช้สาหรบั ตง้ั กน้ั ระยะหน้าหลัง เพื่อให้ทราบว่าจุดเร่ิมต้นอยู่ตรงไหน ส้นิ สุดบรรทัดไหน เมอื่ ต้องการกน้ั ระยะหนา้ และก้นั ระยะหลัง ใหก้ ดปุ่มกน้ั ระยะลงพรอ้ มกบั เลือ่ นปุ่มไปยงั จุดทีต่ ้องการ 6. กา้ นคลายกระดาษ ใชเ้ มอื่ ถอดกระดาษออกจากเครอื่ ง และปรับกระดาษให้เข้า ท่ี ต้องการจะเว้นวรรค วิธเี คาะคานใช้นว้ิ หัวแมม่ อื ซ้ายหรือขวาเคาะทกุ ครงั้ ไม่ควรใชน้ ้ิวอนื่ 7. คานเวน้ วรรค เปน็ คานยาวอย่ใู ตแ้ ปน้ อักษรลา่ งสุด ใช้สาหรับเคาะเม่ือตอ้ งการจะเวน้ วรรค วิธีเคาะคานใชน้ ว้ิ หัวแม่มอื ซ้ายหรือขวาเคาะทกุ ครัง้ ไมค่ วรใชน้ ิ้วอ่ืน
14 8. ระยะบรรทดั มตี ัวเลขบอกระยะบรรทดั ซ่งึ สามารถ มองเห็นได้ ใช้สาหรบั ตั้งความหา่ ง ระหวา่ งบรรทดั โดยปกตพิ มิ พด์ ดี ภาษาไทยจะใช้ระยะบรรทัด 2 การเรียนรูว้ ธิ ใี ชส้ ว่ นต่าง ๆ ของเครือ่ งพมิ พ์ดีดน้ี จะชว่ ยให้นักเรยี นฝึกปฏบิ ัตกิ ารพิมพ์ได้งา่ ย ข้ึน ถ้ายังสงสยั วิธใี ช้สว่ นตา่ ง ๆ ตอ้ งถามครูผู้สอนใหเ้ ข้าใจอยา่ งถูกต้องจรงิ ๆ ตวั อย่างระยะบรรทัด การเตรียมตัวสาหรบั พิมพ์
15 ให้น่ังตัวตรง ให้ลาตัวห่างจากเครื่องพิมพป์ ระมาณ 1 คบื เทา้ วางราบกับพ้ืนเท้าข้างหน่งึ เย้อื งมา ขา้ งหน้าเล็กน้อย จัดเกา้ อ้ีนง่ั ให้สัมพันธ์กบั โตะ๊ วางเครอื่ งพมิ พ์ วางหนงั สอื ทางด้านขวามือ เหหัว หนงั สือออกไปเล็กน้อย หนุนหวั หนงั สือใหอ้ ่านงา่ ยขึ้น การนงั่ ท่ีถกู วธิ ีจะทาใหพ้ ิมพไ์ ด้ ถนดั รวดเร็ว แม่นยา พิมพไ์ ดน้ าน ไม่เหน็ดเหนื่อยเท่าท่ีควร ถา้ นงั่ ผดิ วธิ ี จะทาใหพ้ มิ พผ์ ดิ บ่อย ปวดเม่ือยหวั ไหล่ และหลงั เสียสุขภาพ 2. การเคาะแป้นให้ถกู วธิ ี เคาะงอนิว้ ใหถ้ กู ลักษณะ เคาะแปน้ ใหน้ ้าหนกั สม่าเสมอและเรว็ อยา่ กดแป้นอักษร ให้ สังเกตถา้ พิมพแ์ ลว้ อักษรเป็น 2 รอยซอ้ นกนั แสดงว่านกั เรียนกดไมไ่ ด้เคาะ การเคาะคานเว้นวรรค ให้ใช้หวั แม่มือขวา เท่าน้ัน การเคล่ือนไหวของมือตามภาพ ก. ถูกตอ้ งตามวิธีพิมพ์ดีดมากท่ีสุด การเคล่ือนไหวของแป้ นอกั ษร น้าหนกั พอสมควร ยอ่ มจะเกิดความเร็ว 3. การปัดแคร่ เม่ือนักเรียนพิมพ์จวนจะหมดบรรทัด จะได้ยินเสียงกร่งิ ดังเป็นสัญญาณให้กลับแคร่ใหม่ ให้ใช้มือซ้ายโดยนิว้ ทง้ั 4 ชิดกัน (นว้ิ ช้ี กลาง นาง กอ้ ย) หวั แม่มอื พับงอลงขา้ งลา่ ง ปดั ทมี่ อื ปัด
16 แคร่ ให้นิ้วชี้สมั ผัสกับมอื ปัดแคร่ ปัดโดยการใชข้ ้อมือเหวย่ี งให้พอสมควร มือไม่ต้องตามแคร่ไปจน สุด ส่วนมอื ขวา ยังอยูท่ ี่แป้นเหยา้ 4. ต้ังแผงนากระดาษใหอ้ ยู่ที่ “0” ต้งั แผงนากระดาษใหอ้ ยู่ที่ “0” ของสเกลวดั ระยะกระดาษ (PAPER GUIDE) แผงนา กระดาษ มลี ักษณะเปน็ แผน่ เหล็กบาง ๆ อยู่ทางซา้ ยของแผงรบั กระดาษ เคลือ่ นทไ่ี ปมาได้ ใช้ ประโยชน์สาหรับนากระดาษเขา้ เคร่อื งพมิ พ์ เพื่อให้ขอบและช่องว่างดา้ นซ้ายมอื ของกระดาษเทา่ กัน ถา้ ขาดแผงนากระดาษน้จี ะทาใหเ้ สียเวลาในการจัดกระดาษเพอื่ จดั ให้ช่องวา่ งดา้ นซา้ ยเทา่ กนั ทุกครั้งที่มี การเปลยี่ กระดาษ หากแผงนากระดาษชารุดหรือคด จะทาใหใ้ ส่กระดาษไมต่ รอง ฉะน้นั ก่อนลงมือพมิ พ์ทุก ครั้ง จะต้องจดั แผงนากระดาษให้ชดิ กบั “0” เสมอไป
17 5. การใสก่ ระดาษเข้าแท่นพมิ พ์ เพอื่ ความคล่องตวั และไม่ให้กระดาษพมิ พย์ บั หรืองอ เวลาท่ีใส่กระดาษให้ปฏบิ ัตดิ งั นี้ ดังรางทบั กระดาษข้ึน จับกระดาษตรงกลางแผน่ ด้วยมือซ้ายเพียงเบา ๆ ใหห้ ัวแม่ มืออยดู่ า้ นหนา้ อีก 4 น้ิว อยู่ด้านหลัง สอดกระดาษลงหลังลูกยางให้ขอบชิดแผงนากระดาษ (ซึ่ง จดั อยู่ตรง “0”) บดิ ลกู ยางดว้ ยมือขวา ใชน้ ้วิ เพียง 3 นิ้วคือ หัวแมม่ อื น้วิ ชี้ และน้ิวกลางเท่าน้ัน บิดอย่างเร็วและแรงเพียงครง้ั เดียวแล้วปรับรางทับกระดาษใหก้ ระชับ 6. จดั ลกู ยาง – รางทบั กระดาษ เม่อื ใสก่ ระดาษแลว้ ให้จัดลกู ยางแบง่ กระดาษออกเปน็ 3 สว่ น เทา่ ๆ กนั เพื่อ มิใหก้ ระดาษยับหรือโป่ง และแนบกับ ลูกยางใหญ่
18 หากกระดาษไม่ตรงตามแนวดง่ิ ให้ปรับใหม่ โดยยกรางทบั กระดาษขน้ึ แล้วคลายลกู ยางทางขวามือ จดั กระดาษใหเ้ ท่ากนั แล้วทับไวอ้ ยา่ งเดมิ 7. การตั้งระยะบรรทัด เป็นการจัดเนอ้ื ที่กระดาษท่ีจะพิมพใ์ หเ้ ปน็ สัดสว่ นสวยงาม กระดาษทใี่ ช้พิมพ์และถือเป็น กระดาษ มาตรฐานมขี นาดดงั นี้ กระดาษขนาดยาว (Foolscap Size) 8 ½ x 13 นวิ้ กระดาษขนาดสน้ั (Letter Size) 8 ½ x 11 นว้ิ กระดาษขนาดกวา้ ง 8 ½ นิว้ นน้ั สามารถบรรจุตัวอักษรใหญ่ (PICA) ได้ 85 อักษร เดิน และบรรจุตัวเลก็ (ELITE) ได้ 102 อกั ษรเดิน อกั ษรตวั ใหญ่ 1 นิ้วฟตุ บรรจุ 10 อกั ษรเดิน อักษรตัวเล็ก 1 น้ิวฟุต บรรจุ 12 อกั ษรเดิน
19 ถา้ จะต้งั ระยะ 5” หรอื 50 อักษรใหญ่ จะต้องก้ันหน้าที่ 17 ถา้ ตวั อกั ษรเลก็ จะตั้งกน้ั ระยะ หน้าที่ 21 8. ระยะบรรทัด การตงั้ ระยะบรรทัดสาหรบั ภาษาไทยสว่ นใหญ่ใช้ระยะบรรทัดสอง (ระยะค)ู่ เพียงระยะเดยี ว เทา่ นน้ั แตร่ ะยะบรรทัดในเครือ่ งพิมพโ์ ดยทั่วไปมี 3 ระยะบรรทัด คอื ระยะ 1, 2 และ 3 ตัวอยา่ งระยะบรรทัดคู่ ตัวอย่างระยะบรรทัดสาม
20 เทคนิคเบื้องต้นการเตรียมตัวกอ่ นพมิ พ์ ตั้งแผงนากระดาษท่ีหมายเลข 0 เพื่อประโยชน์ในการคานวณจานวนพิมพ์ติดบนกระดาษพิมพ์ 1. ต้งั ระยะบรรทัด ที่หมายเลข 2 เนอื่ งจากเป็นระยะบรรทัดท่ีนิยมใช้ในการจบั เวลา และเป็นระยะ 2. กลาง ต้ังระยะกน้ั หนา้ ท่หี มายเลข 15 กั้นหลงั ท่หี มายเลข 90 หรอื ครผู ูส้ อนจะสัง่ 3 ยกคานกระดาษขึ้นออกจากลูกยางใหญ่เพ่ือเตรียมการใส่กระดาษ ใส่กระดาษให้ชิดขอบแผง 4 นากระดาษดว้ ยการจับกระดาษมอื ซ้าย สอดกระดาษลงด้านหลงั ลกู ยางใหญ่จบั ปมุ่ ลกู บิดยางใหญ่ ทางดา้ นขวามอื และบดิ ลกู ยางใหญ่ขึน้ เม่ือใส่กระดาษเรียบร้อยแล้ว ให้ตรวจสอบดูว่าริมกระดาษขอบบนและขอบล่างตรงกัน 5. หรอื ไม่ ใหย้ กกา้ นคลายลูกยางใหญเ่ พ่ือคลายกระดาษ แลว้ จดั กระดาษให้ตรงพรอ้ มท้งั ผลกั กา้ น คลายลกู ยางใหญ่เขา้ ที่เดมิ 6. การปัดแคร่ ใหใ้ ชน้ ว้ิ ทั้ง 4 ของมอื ซา้ ย ผลกั ดา้ มปดั แคร่ให้สุด 7. การเคาะแปน้ ตัวอักษร ให้งอนิ้วเล็กนอ้ ยในการเคาะ หลักในการพิมพด์ ดี
21 1. หลักในการพมิ พด์ ดี 3 ประการ การฝึกพิมพ์ดดี ผู้เรียนจะต้องตัดเล็บใหส้ ้นั อยเู่ สมอ ถา้ เล็บยาวจะทาใหเ้ จบ็ ขณะทป่ี ลายนว้ิ เคาะลงไปที่แป้นอกั ษร การใชน้ ้วิ เคาะควรจะเร่ิมจากมอื ขวากอ่ น การเคาะโดยเรมิ่ จากมอื ท่ถี นดั จะทาให้งา่ ยข้นึ การ ใชน้ ้ิวเคาะให้ถูกต้องควรจะมากอ่ น การเรง่ ความเรว็ และความแมน่ ยาควรมาทีหลงั การฝกึ ตามข้นั ตอนในใบงานแต่ละชว่ั โมง ต้องเคลื่อนไหวนวิ้ ตง้ั แต่เรมิ่ แรกให้ถูกตอ้ งตามที่ ครูผู้สอนสาธิตให้ดู ผู้เรยี นตอ้ งแกไ้ ขทกุ คร้งั ท่ีร้วู า่ ทาไม่ถูก ทาซา้ ๆ กนั จนกระทั่งคลอ่ งเริ่มพัฒนา ความเร็วและความแมน่ ยา หลกั ในการพมิ พด์ ีด 3 ประการ ซ่งึ ผ้เู รียนจะต้องพงึ ปฏบิ ตั ิ มดี งั นี้ ก. การดีด 1. ใช้น้ิวไดถ้ ูกต้องตามที่ครสู าธติ 2. เคาะแป้นใหเ้ ร็วแลว้ กา้ วนิว้ กลับโดยเรว็ อยา่ แชน่ ้วิ ไว้ 3. การก้าวนิว้ ไปพิมพ์ตวั อน่ื เมอื่ เคาะแลว้ ให้ก้าวกลับแปน้ เหยา้ กลักทันที ข. การใชส้ ่วนต่าง ๆ ของเครื่องพมิ พ์ดดี ได้ถกู ต้อง ปฏิบตั ิตามทค่ี รูสาธิต เพอื่ สรา้ งนิสยั การพมิ พท์ ่ีดี ทุกส่วนของเครอื่ งพมิ พ์ดดี ทผี่ ้เู รียนใช้ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ สว่ นต่าง ๆ 6 สว่ น ดังต่อไปนี้ 1. การปดั แคร่ 2. การใช้คานเว้นวรรค 3. การใช้ปุ่มตงั้ ระยะจากัดตอน 4. ปมุ่ กั้นหน้ากระดาษซ้ายมอื 5. ป่มุ กนั้ หลังกระดาษขวามือ 6. แป้นถอยหลัง ค. การอ่านแบบฝึกพมิ พ์ ผู้เรยี นจะตอ้ งปฏบิ ัติ ดังน้ี 1. ในแบบฝึกพิมพร์ ะยะแรก ๆ ครูผสู้ อนจะขานนา ผูเ้ รียนควรจะดูแบบฝกึ พมิ พต์ าม ไปด้วยความต้งั ใจ โดยอา่ นเปน็ กลมุ่ ตัวอักษรแต่ละดดี (1 – 2 ดดี ) จะทาให้การพิมพต์ ่อเน่อื ง 2. เมอื่ พิมพแ์ บบฝึกพิมพ์ระยะหลังท่สี ามารถผสมเป็นคา ๆ ไดแ้ ลว้ เวลาอ่านแบบฝกึ พมิ พ์ให้อา่ นทีละคา หรอื พิมพ์ตามที่ครูผู้สอนสั่งโดยจะขานเปน็ คา ๆ ผู้เรียนกจ็ ะต้องดูแบบพมิ พ์ตาม ไปด้วย 3. เมอื่ จาแป้นอกั ษรได้มากขึ้น เวลาอ่านแบบฝกึ พมิ พ์ ให้พยายามอา่ นใหจ้ บความเปน็ ตอน ๆ หรือเปน็ ประโยค
22 2. การเคาะคานเวน้ วรรค ผูเ้ รยี นจะต้องปฏิบตั ดิ งั นี้ 1. ใหว้ างนิ้วมอื ทง้ั 8 นวิ้ ที่แปน้ เหย้าหลัก 2. ฝึกเคาะคานเว้นวรรคท้ัง 2 น้วิ คือ ใชน้ ้วิ หัวแม่มอื ดา้ นขวาและดา้ นซา้ ย 3. ฝกึ ให้เคาะคานเว้นวรรคจนกระทงั่ คล่อง 4. อยา่ ให้ขอ้ มอื วางบนขอบเคร่ืองพิมพ์ 3. การปัดแคร่ให้ถกู ตอ้ ง ควรปฏิบัติดงั น้ี 1. ใชม้ อื ซ้ายเหยยี ดนว้ิ ให้ตรง งอนิว้ มือ ใช้ด้านข้างของนว้ิ แตะด้ามปดั แคร่ 2. อยา่ กระแทกด้ามปดั แครห่ นกั เกนิ ไป 3. ฝึกปฏบิ ตั จิ นคลอ่ ง และสามารถปดั ไดอ้ ย่างถูกต้อง 4. ฝึกเคาะคานเว้นวรรคไปเรือ่ ย ๆ จนกระทง่ั ถึงก้นั ระยะหลัง (ปัดแคร่) 5. เมอ่ื ปัดแคร่แล้วให้ฝกึ ปดั แครจ่ นคล่องและถกู ต้อง 4. ขอ้ พงึ ปฏิบัติในการฝกึ พมิ พด์ ีด 1 การมองแบบฝึกพิมพท์ ถ่ี ูกต้อง 1.1 สายตาจับอยู่ทแ่ี บบฝึกพมิ พ์หรือใบงาน 1.2 นกึ ถึงตาแหนง่ ของตัวอักษรบนแป้นของเคร่อื งพมิ พ์ดีดอยูเ่ สมอ 2. ท่านงั่ นั่งในทา่ ทถ่ี กู ตอ้ งกอ่ นลงมือพมิ พ์ทุกครั้ง 3. ชว่ งแขน ไหล่ วางขา้ งตัวอยา่ งสบาย ขอ้ ศอกไม่กาง ช่วงข้อศอกกับ ข้อมือพยายามใหเ้ ปน็ เสน้ ตรง ปลายนิว้ งอ ใหส้ ว่ นท่เี ป็นปุ่มเนือ้ กับปลายเลบ็ วางบนแป้นเหย้า 4. การเคาะแปน้ อักษร 4.1 ใหข้ ้อศอกและไหลเ่ คล่อื นไหวแต่น้อย 4.2 ขอ้ มือจะเปน็ สว่ นทีเ่ คลอ่ื นไหว 4.3 เวลาก้าวน้วิ ไม่ควรยกสงู 5. มีสมาธิ ต้งั ใจในการพิมพ์ ไมพ่ ยายามคิดถึงสงิ่ อื่น ตัง้ ใจเพียง 5 นาที ดีกว่าพิมพ์โดยไม่ ตง้ั ใจ 20 นาที 5. เทคนิคในการใชป้ มุ่ ต้ังระยะ ปุ่มตัง้ ระยะจากดั ตอนเป็นสว่ นหน่ึงของเคร่ืองพมิ พ์ดีด แต่ละยห่ี ้ออาจทาเป็นคาน (Bar) บาง ยี่หอ้ ทาเปน็ แป้น หลักในการใช้ป่มุ ตั้งระยะ ดังน้ี
23 1. ใช้ตั้งระยะจากัดตอนในการพิมพ์ตาราง หรือจานวนเงิน ประโยชน์ของปุ่มตั้งระยะ จากดั ตอนทาให้การเลือ่ นแคร่ได้โดยอตั โนมตั ิและรวดเรว็ โดยเฉพาะการพมิ พ์ตารางหรือจานวนเงนิ พมิ พไ์ ด้อยา่ งรวดเร็วและระยะเท่ากัน 2. หลงั การใชง้ านควรล้างปุ่มตั้งระยะจากดั ตอน เคร่ืองพมิ พด์ ดี บางยห่ี อ้ ล้างไดโ้ ดยกดปุ่ม เพียงครงั้ เดยี ว บางยี่ห้อลา้ งได้คร้ังละ 1 จดุ 3. การต้งั ระยะจากดั ตอน และลา้ งระยะจากัดตอน ควรปฏบิ ัติให้ถกู วธิ ี
24 แบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 แบบทดสอบ 1.1 คาชีแ้ จง ให้พจิ ารณาข้อความต่อไปน้ีว่าถูกหรอื ผิดโดยใส่เคร่อื งหมาย หรอื X กากับหนา้ ข้อ ……… 1 แผงนากระดาษใชส้ าหรบั กนั้ ระยะ ……… 2 ก่อนใสก่ ระดาษเข้าเครอ่ื งพมิ พ์ดดี ควรยกคานทับกระดาษขน้ึ ……… 3 ระยะบรรทดั ใช้กน้ั ระยะหน้า – หลัง ……… 4 เม่อื ต้องการดงึ กระดาษออกจากเครื่องพิมพ์ดีดควรใช้ก้านคลายกระดาษ ……… 5 การปดั แคร่ใช้ไดท้ ัง้ มือซ้ายและมือขวา ……… 6 กา้ นคลายกระดาษให้หลวม เรียกกันว่า “คานเคาะวรรค” ……… 7 การเคาะคานเวน้ วรรคควรใช้นิ้วหวั แม่มอื ……… 8 การปดั แคร่ มอื ที่สมั ผัสด้ามปัดแคร่ คือ นิว้ หวั แม่มอื ชี้ กลาง นาง ก้อย ……… 9 การปัดแคร่ นกั เรยี นจะตอ้ งให้มือตามแครไ่ ปจนสุด ……… 10 เครื่องพมิ พด์ ดี หากไมม่ ี แผงนากระดาษ จะทาให้เสยี เวลาในการจัดกระดาษ ……… 11 การใชร้ ะยะบรรทัด 1, 2, 3 ของเครอื่ งพมิ พด์ ดี ไทย สามารถใชร้ ะยะบรรทัด อยา่ ง ใดอยา่ งหนึง่ ไดต้ ามความเหมาะสม ……… 12 การใชป้ มุ่ ตงั้ กน้ั ระยะหนา้ /หลงั จะชว่ ยให้มีเน้ือที่ว่างใชเ้ ตมิ ขอ้ ความทพ่ี มิ พต์ กได้ ……… 13 ตอ้ งการใหร้ มิ กระดาษซ้ายเขา้ เครอ่ื งพมิ พ์อยู่ตรงแนวเดียวกัน จาเป็นตอ้ งอาศยั แผงนากระดาษ ……… 14 การปรับกระดาษใหเ้ ขา้ ทีไ่ ม่จาเป็นตอ้ งใชก้ ้านคลายกระดาษ ……… 15 ลกู ยางใหญต่ อ้ งดูแลรักษาให้สะอาดอยเู่ สมอ มฉิ ะนั้นจะทาใหก้ ระดาษพมิ พ์สกปรกได้
25 แบบทดสอบ 1.2 คาชแี้ จง ใหเ้ ลือกตอบคาตอบท่ีถูกท่ีสุดเพยี งคาตอบเดียว 1. นกั เรยี นตอ้ งการเลอ่ื นแครไ่ ปทางซ้าย หรือขวาสดุ โดยเรว็ นักเรยี นควรกดสว่ นใด ของเครือ่ งพมิ พด์ ีด ก. กดปุ่มตัง้ ระยะจากัดตอน ข. กดปมุ่ ล้างระยะจากัดตอน ค. กดปุ่มปล่อยแคร่ซา้ ย – ขวา ง. ปัดแคร่ไปเร่อื ย ๆ 2. เมื่อต้องการดงึ กระดาษออกจากเครอ่ื งพิมพ์ดีดจะตอ้ งปฏิบัติตาม ขอ้ ใด ก. บดิ ลูกยางข้ึนไปเรอื่ ย ๆ ข. ดึงกา้ นคลายกระดาษใหห้ ลวม ค. ปัดแคร่ออกทีละบรรทดั ง. ดงึ ออกเลยเมือ่ ตอ้ งการ 3. ลูกยางทับกระดาษมี 2 ลกู ควรจดั ใหล้ กู ยางทับกระดาษ ใหเ้ ท่า ๆ กนั กี่ส่วน ก. 2 สว่ น ข. 3 สว่ น ค. 4 ส่วน ง. กี่ส่วนกไ็ ด้ 4. เหตุผล ทตี่ อ้ งยกก้านคลายกระดาษข้ึนกอ่ นดงึ กระดาษออกจากเครอ่ื งพมิ พ์ ตรงกับขอ้ ใด ก. ให้ง่ายต่อการดงึ ข. ยืดอายกุ ารใช้งานของลกู ยาง ค. เพือ่ มิใหก้ ระดาษพิมพข์ าด ง. คา ตอบข้อ ข และ ค ถกู 5. ขณะกา้ วน้ิวจากแปน้ เหย้าไปเคาะแป้น อักษรแถวบนหรอื ลา่ ง การวางน้ิวอน่ื อีก 3 นิ้ว จะอยู่ ตาแหน่งใด ก. เคลื่อนท่ีตามไปดว้ ย
26 ข. เคาะเบา ๆ บนแปน้ เหย้า ค. วางไว้ทีใ่ ดก็ได้ ง. ยกข้ึนให้สงู ไว้ 6. การปัดแคร่ดว้ ยมอื ซ้าย วิธีใด ปฏิบตั ไิ ด้ถกู ต้อง ก. หงายมือชิดกัน และใชข้ อ้ นวิ้ ซา้ ยดนั ด้ามปัดแครใ่ หเ้ ล่อื นไป ข. ใช้ฝ่ามือแบน ๆ ออกแรงดันด้ามปดั แคร่ให้เลอื่ นไป ค. คว่ามือใหน้ ิ้วชดิ กนั และใช้ข้อนวิ้ ช้ีสมั ผัสด้ามแคร่ และปดั โดยเร็ว ง. ทาอยา่ งไรก็ได้สดุ แตค่ วามสะดวก และความพอใจของผพู้ มิ พ์ 7. ปมุ่ ปรบั ระยะที่อยูซ่ ้ายสดุ ของแคร่ ตรงกับ วัตถปุ ระสงค์ ในขอ้ ใด ก. ตั้งระยะบรรทัด ข. ตงั้ ความกวา้ งของกระดาษ ค. ตง้ั ชอ่ งว่างของขอบกระดาษหน้า – หลงั ง. ตั้งระยะหา่ งของแต่ละบรรทดั 8. การเคาะคานเว้นวรรคทถ่ี กู ตอ้ งเคาะ ตรงกบั ขอ้ ใด ก. ใชห้ ัวแม่มือดา้ นซ้าย ข. ใชห้ วั แม่มือขวา ค. ใช้น้วิ ชข้ี วาซา้ ยพรอ้ ม ๆ กนั ง. ถกู ทุกข้อ 9. ตาแหนง่ คานเคาะวรรคของเคร่ืองพมิ พ์ดดี อยู่ระหวา่ ง ตาแหน่งใด ก. แถวบนสดุ ของเคร่อื งพมิ พ์ ข. แถวทส่ี ามนับจากลา่ งด้านขวามอื ค. แถวทีส่ ามนับจากลา่ งด้านซ้ายมอื ง. แถวลา่ งสุดของเครอื่ งพิมพ์ 10. การเคาะแป้นอกั ษรท่ีถกู ต้องท่ีสดุ นกั เรียน ควรใชน้ ิ้วตามลกั ษณะใด ก. เคาะเบา ๆ นวิ้ งอเล็กน้อย ข. เคาะแบบสปริง โดยงอนว้ิ เลก็ นอ้ ย ค. เคาะบนแป้นตามแรงของน้วิ ให้สดุ แล้วยกขน้ึ ง. เคาะแบบสปรงิ และยกขึน้ ทันทีโดยใชป้ ลายนิ้วให้เคาะตรงกลางของแป้นอักษร น้วิ งอเล็กน้อย
27 แบบทดสอบ 1.3 คาชแี้ จง จงพิจารณาข้อความตอ่ ไปนีว้ า่ ถูกหรือผดิ โดยใส่เครอื่ งหมาย หรอื X กากับไว้หน้าขอ้ ………. 1 การเร่งความเรว็ ในการพิมพ์ควรมาก่อนการเคาะให้ถกู ต้อง ………. 2 การใชน้ ว้ิ เคาะพิมพ์ดีดจะเรมิ่ จากมอื ใดก่อนก็ไดแ้ ล้วแต่ครูผู้สอนจะสง่ั ………. 3 ขณะพิมพด์ ดี ควรเคาะแปน้ ด้วยน้าหนักทีแ่ รงทสี่ ุด ………. 4 การพิมพ์ดดี ควรเคาะแปน้ ด้วยนา้ หนักท่ีแรงท่ีสุด ………. 5 การอา่ นแบบฝกึ พมิ พ์ขณะพมิ พ์ นักเรียน ควรอา่ นทีละตัวอักษร ………. 6 การเคาะคานเวน้ วรรค กาหนดให้ใชน้ ้วิ หัวแมม่ อื เพยี งน้วิ เดยี ว ………. 7 ทุกคนจะเรียนพมิ พ์ดีด เล็บมอื จะต้องตัดให้ส้นั อยู่เสมอ ………. 8 วธิ ีแกไ้ ขการพมิ พ์ที่ไมถ่ ูกต้องของนักเรยี นขึ้นอยกู่ บั ครูผู้สอนเทา่ นั้น ………. 9 การอ่านแบบฝกึ พมิ พ์ขณะพิมพท์ ีละตัวอักษรจะช่วยให้การพิมพเ์ รว็ และแมน่ ยาขึ้น ………. 10 การพมิ พ์เพอื่ เร่งความเรว็ ความแม่นยา นักเรยี นควรฝกึ อย่างสมา่ เสมอ ………. 11 ขณะทีพ่ มิ พ์น้ิวทีไ่ มใ่ ช้พิมพ์ กาหนดให้วางไว้ท่ีแป้นใดแป้นหนึ่งของเคร่ืองพมิ พ์กไ็ ด้ ………. 12 การปัดแคร่ให้เหยียดนิ้วมือซ้ายให้ตรงงอน้วิ หวั แมม่ ือ ใช้ด้านข้างของน้ิวช้ีแตะด้ามปัดแคร่ ……… 13 ท่านงั่ พิมพ์ดดี ขน้ึ อยกู่ บั ความพอใจของนกั เรียน ……… 14 การวางนิ้วบนแปน้ เหยา้ หลกั ควรให้ขอ้ มือโคง้ สูงกวา่ ข้อศอก ……… 15 ประโยชนข์ องปุ่มต้ังระยะทาให้เลือ่ นแครไ่ ดโ้ ดยอัตโนมตั ิ ……… 16 นกั เรียนควรลา้ งระยะจากดั ตอนทุกครั้ง หลงั พมิ พต์ ารางหรอื จานวนเงนิ เรียบรอ้ ย
31 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 2 หน่วยที่ 1 สอนครงั้ ที่ 2 วิชา พิมพไ์ ทยเบ้อื งต้น (20200-1004) คาบรวม 8 ช่อื หนว่ ย การเรียนรแู้ ปน้ อักษร ฟ ห ก ด จานวนคาบ 4 า สว ชื่อเรอื่ ง การเรียนรู้แป้นอักษร ฟ ห ก ด า สว สาระการเรียนรู้ 1. แป้นเหยา้ หลัก ฟ ห ก่ ด า ส ว 2. หลกั การฝกึ พมิ พ์สัมผัสอักษรแป้นเหยา้ หลัก 3. ฝึกพมิ พอ์ กั ษรแป้นเหยา้ หลัก 4. ฝึกพมิ พ์ประสมอกั ษรแป้นเหยา้ หลกั จุดประสงค์ 1. น่ังพิมพ์ และวางน้วิ บนแป้นเหย้าหลกั ได้ถูกต้อง 2. พมิ พแ์ ปน้ เหย้าหลัก ฟ ห ก ด ่ า ส ว ไดถ้ กู ต้องตามหลักการพิมพ์ สมั ผัส 3. พิมพป์ ระสมคาอักษรแปน้ เหยา้ หลกั และเว้นวรรคไดถ้ กู ต้อง การจัดกจิ กรรม 1. ครอู ธบิ ายใหน้ กั เรียนปฏบิ ัติตามดังน้ี 1.1 การสาธติ 1.2 การอธิบายเพม่ิ เติม 1.3 การฝกึ ปฏิบัติ เพ่อื ให้เปน็ ไปตามจุดประสงค์ เช่น - เคาะก้าวน้ิว สอนเทคนคิ ในการกา้ วนิ้ว เคาะแป้นอักษรใหม่ (วิธเี คาะแป้นอักษร เพอ่ื ให้นักเรยี นไดพ้ ิมพ์สมั ผัส) - ใหพ้ มิ พต์ ามคาบอก (ปดิ แบบเรียน) สอนการบังคับแป้นอักษร ให้เกิดความชานาญ - ให้ทบทวนความจา เพอื่ เปน็ การทบทวนและพิมพ์ แมใ้ นวนั แรกการฝกึ จะหมดชัว่ โมงก่อนกเ็ ปน็ วธิ ีทดี่ ี
32 - ใหฝ้ ึกหดั พิมพ์ตามแบบเรยี น การฝกึ นี้เป็นเวลาสาหรับครูผู้สอน เดนิ ไป รอบ ๆ หอ้ ง และช่วยแก้ไขนักเรียนทไี่ มป่ ฏิบตั ิตามเทคนคิ หรอื วธิ ีทดี่ ี ในการฝกึ หัดเปน็ รายบุคคล เวลา เนือ้ หา และวธิ กี ารต่าง ๆ สาหรับครผู ู้สอน 1. พบั ผ้าคลุมให้เรยี บรอ้ ย เก็บไว้ในลิ้นชกั โต๊ะ 2. ท่าน่ังประจาเครอ่ื งพิมพ์ (ครผู สู้ อนสาธติ ) 2.1 ท่านัง่ ในลกั ษณะเตรียมพรอ้ ม 2.2 เทา้ ทัง้ สองขา้ งวางราบกับพนื้ เท้าซา้ ยหรอื ขวาเยือ้ งไปข้างหนา้ เล็กน้อย 2.3 สะโพกชิดพนกั หลงั เก้าอี้ 2.4 เอนตัวเยือ้ งจากสะโพกไปขา้ งหน้านอ้ ย ๆ 2.5 ควรให้สว่ นบนของเข่าอยู่ห่างจากขอบเครอื่ งพิมพป์ ระมาณ 6 – 8 นิ้ว 2.6 ขอ้ ศอกแยกจากลาตัวพอประมาณ 2.7 นั่งหา่ งจากเครอ่ื งพมิ พด์ ดี ประมาณ 1 คืบ 2.8 วางนวิ้ โค้งบนแป้นเหย้า งอปลายนวิ้ เล็กน้อย 2.9 หวั แมม่ อื ซ้าย – ขวาอยู่เหนอื คานเคาะวรรค 3. หนังสือ หรือแบบพมิ พ์วางไว้ทางด้านขวาของเครอื่ งเฉยี ง ประมาณ 45 องศา อยู่ในระดบั สายตาให้อ่านงา่ ย 4. แนะนาส่วนต่าง ๆ (ครผู ูส้ อนแนะนาแตล่ ะส่วนใหด้ ู) 4.1 คานทับกระดาษ 4.2 ใช้กระดาษ 2 แผ่น คอื กระดาษพมิ พ์งานและกระดาษ รองพมิ พ์ 4.3 วางกระดาษให้ชดิ แผงนา (เลข 0) 4.4 มือขวาจับลูกบิด ใช้น้วิ หัวแม่มือ น้ิวชี้ และนิ้วกลางซา้ ย นิ้วชี้อยตู่ รงกับคานทับกระดาษ บิดลกู บิดขวาโดยเร็วเพียง คร้ังเดยี ว 4.5 ปรับคานทับกระดาษลง เพ่ือให้กระดาษกระชบั กับลูกยาง เมอ่ื จะ ไมเ่ กิดเสียงดงั
33 4.6 เพื่อช่วยใหน้ ักเรียนที่ทาไม่ถูก ครผู ู้สอนปฏบิ ตั จิ ริงอีกครัง้ ใหน้ ักเรียนลองปฏิบตั ิใหม่ 5. ปุ่มกน้ั ระยะซา้ ย - ขวา ในชั่วโมงแรกของการเรียนร้ยู งั ไม่ควร แนะนาให้นักเรยี นใช้ ควรตรวจเช็คเคร่ืองพิมพ์ การปรบั ระยะ บรรทัด ปมุ่ ปรับผา้ หมกึ พมิ พใ์ หอ้ ยู่ในตาแหน่งทีถ่ กู ตอ้ ง และ ปรับแผงนากระดาษอยู่ท่ีเลข 0 ใหเ้ รียบร้อย 6. การปดั แคร่ (ครผู ้สู อนสาธิต) 6.1 ใชม้ ือซ้าย นิ้วมือทงั้ 4 นิ้วเรยี งชดิ กัน ฝา่ มอื ค่าลง นว้ิ หวั พบั เขา้ ใต้ฝา่ มอื ใชด้ า้ นข้างน้ิวชีซ้ า้ ยแตะทด่ี า้ มปัดแคร่ ปดั โดยเรว็ ใหส้ ุดบรรทัด 6.2 สะบดั ข้อมอื อย่าปัดแคร่โดยเอามือตามแคร่ไปดว้ ย 6.3 ฝกึ ปดั แคร่ จนกว่านักเรียนจะสามารถทาไดจ้ นคล่อง 6.4 ครผู ู้สอนควรเดนิ ดเู พื่อแนะนาใหน้ กั เรยี นท่ีไมส่ ามารถ ปดั แครไ่ ด้ จนปฏบิ ตั ิได้ถกู วิธี 7. แป้นอกั ษร (ครูผสู้ อนสาธติ ) 7.1 การเคาะแป้น เคาะด้วยน้าหนกั ทสี่ ม่าเสมอไม่ใชเ่ คาะด้วย การกด อย่าให้น้วิ กดแป้นอักษรไปจนสุด จะทาให้ช้า เมอ่ื เคาะแลว้ รบี ปลอ่ ยน้ิวลง 7.2 ครผู สู้ อนส่ังใหน้ ักเรียนเคาะ ฟ ห ก ด และ ่ า ส ว และขานนาจนนกั เรียนทาถูกวิธี 7.3 “จงฝกึ ปฏบิ ตั พิ ิมพ์ตามแบบเรยี น จนกวา่ นักเรยี นจะ สามารถพิมพไ์ ด้คล่องและไมผ่ ดิ ตามองทแี่ บบเรยี น พมิ พจ์ นหมดบรรทดั ” 8. ดูแลรักษาเครอื่ งพมิ พ์ดดี เมอ่ื หมดชวั่ โมงเรียน 8.1 “ถอดกระดาษออก” (ดงึ กา้ นคลายกระดาษข้นึ ) 8.2 เล่ือนแคร่ให้อยู่ตรงกลางเคร่อื ง 9. คลุมเครื่องพิมพ์ ดว้ ยผ้าคลุมให้เรยี บร้อย 9.1ภาพทา่ นง่ั พิมพ์ดดี ท่ถี กู ต้อง ตดิ บอร์ดในห้องเรยี น 9.2ขอ้ ความ “ระเบียบการใช้ห้องพิมพด์ ีด” ติดบอรด์ ใน ห้องเรียน
34 เครื่องมือและวสั ดุอุปกรณ์การเรียน 1. เครอ่ื งพิมพ์ดีดไทยพรอ้ มโตะ๊ สาธิต 2. เคร่อื งพิมพด์ ีดไทยสาหรับนกั เรียนพรอ้ มโตะ๊ เก้าอ้ี 3. แบบฝึกพิมพ์ดีดไทย 4. กระดาษฝึกพิมพ์ และกระดาษรองพมิ พ์ 5. แผนภมู แิ ปน้ อกั ษรเคร่อื งพิมพด์ ดี ไทย 6. เคร่อื งเสียงพร้อมลาโพง การวัดและประเมนิ ผล 1. สงั เกตพฤติกรรม และการปฏบิ ตั ิงานเป็นรายบคุ คล 2. การตอบคาถามของนกั เรียน 3. ตรวจงานให้คะแนนงานรายบุคคล 4. ทดสอบประเมนิ ผลหลงั เรียนด้านทฤษฎีและปฏบิ ตั ิ หมายเหตุ ครูต้องแจง้ นักเรยี นให้มีความซื่อสตั ยส์ ุจริต โดยไมล่ อกคาตอบจากเพ่อื น หรือเปิดดคู าตอบ ก่อนทจี่ ะตอบคาถาม แปน้ อกั ษรพมิ พ์ดดี ไทย
35 นิ้วกอ้ ย นิ้วนาง นิ้วกลาง นิ้วช้ี นิ้วช้ี นิ้วกลาง นิ้วนาง นิ้วกอ้ ย มือซา้ ย มือขวา หมายเหตุ แป้นเคร่ืองหมายวรรคตอนและเครือ่ งหมายอนื่ ๆ ของเครอ่ื งพิมพ์แต่ละชนิด อาจจะวางตาแหน่งไมเ่ หมือนกัน ใหส้ ังเกตเครื่องพมิ พ์ทใ่ี ช้งานว่าเครื่องหมาย ดังกล่าววางไวใ้ นตาแหนง่ ใด แล้วใช้น้ิวในตาแหน่งที่ถูกต้องพมิ พ์ 1. หลกั การฝกึ พิมพส์ ัมผสั อักษรแป้นเหยา้ หลัก ฟ ห ่ก ด า ส ว แปน้ เหย้า หมายถงึ แปน้ อักษรซ่งึ ใชเ้ ปน็ ที่พักน้ิวระหวา่ งพิมพ์ อยแู่ ถวท่ี 2 จากแถวลา่ งสดุ ไมว่ า่ น้ิวใดจะกา้ วไปพมิ พ์แปน้ อกั ษรใดกต็ าม เมื่อเคาะแปน้ อักษรใด เสรจ็ แล้วจะต้องกา้ วน้วิ กลับมาไว้บนตาแหนง่ แป้นเหย้าของน้วิ นน้ั ทุกคร้ัง
36 นิ้วกอ้ ย นิ้วนาง นิ้วกลาง นิ้วช้ี นิ้วช้ี นิ้วกลาง นิ้วนาง นิ้วกอ้ ย มือซา้ ย มือขวา หลกั การฝกึ พิมพ์สมั ผัส อกั ษรแป้นเหยา้ ฟ ห ก ด ่า ส ว 1. วางน้วิ ลงบนแปน้ เหยา้ s]yd 2. เคาะคานเว้นวรรคด้วยหัวแมม่ ือซ้ายหรือขวา 3. เร่มิ เคาะแปน้ เหย้าหลักอย่างถูกวิธี ปฏิบัติใหถ้ ูกต้อง
37 แปน้ ฟ = นว้ิ กอ้ ยมอื ซ้าย แป้น ห = นว้ิ นางมือซ้าย แป้น ก = นิว้ กลางมอื ซา้ ย แปน้ ด = นิ้วช้ีมือซ้าย แป้น ่ = นว้ิ ชมี้ ือขวา แป้น า = นวิ้ กลางมอื ขวา แป้น ส = นิ้วนางมือขวา แปน้ ว = น้ิวก้อยมือขวา 2. การฝึกพิมพส์ มั ผสั อกั ษรแป้นเหยา้ ฟ ห ก ด ่ า ส ว การฝกึ พมิ พแ์ ปน้ อักษรเหย้า ครผู สู้ อนขานนา พร้อม ๆ กบั นกั เรียนท้งั หอ้ ง และเคาะอกั ษรพรอ้ มกับออกเสยี ง และบอกจังหวะเคาะเมอื่ พิมพ์จบบรรทดั ให้ปัดแคร่ ขึ้นบรรทัดใหม่ ตวั อยา่ ง 12 34 12 34 ด ด ด ด ด ด ด ด ด ด ด ด (ชว่ งเว้นวรรคใหใ้ ช้หัวแม่มอื ออกเสียง เคาะคานเว้นวรรค) ด 1 2 3 4ด ด 1 2 3 4 ด (ครูขานนาและนกั เรยี นออกเสยี งพรอ้ มกนั ) 1234 1234 งาย ๆ ใชไหมคะ ออกเสียง ่ ่ ่ ่ ่่ ่ ่ ่ ่ ่่ ่ ่่ ่ ่่ ่่
38 1234 1234 (วรรณยกุ ต์ ่เป็นอกั ษรตาย ตอ้ งพมิ พ์ 1 เคาะ) 2.1 จงพมิ พแ์ ปน้ อกั ษรแปน้ เหยา้ หลกั กลุ่มละ 6 ตวั ๆ 3 บรรทัด ตามมองแบบฝกึ สงสยั ให้มองที่แผนผัง ดดดดดด ดดดดดด ดดดดดด ดดดดดด ดดดดดด ดดดดดด กกกกกก กกกกกก กกกกกก กกกกกก กกกกกก กกกกกก หหหหหห หหหหหห หหหหหห หหหหหห หหหหหห หหหหหห ฟฟฟฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟ ฟฟฟฟฟฟ ่่ ่่ ่่ ่่ ่่ ่่ า่า า่า า า ่า า่า า า า่า า่า า า ่า า่า า า า่า า่า า า ่า า่า า า่ ่ า่ ่ า่ ่ า่ ่ สสส่สสส สสส่สสส ่่ ่่ สสส่สสส สสส่สสส สสสส่สส สสส่สสส 2.2่่ฝึกพิมพท์ ด่่สอบนวิ้ จนเก่่ดิ ความชาน่่าญ โดยไม่ม่่องแป้น ่ ่ ววววววว ววววววว ววววววว ววววววว ววววววว ววววววว ดาว ดาว ดาว ดาว ดาว ดาว ดาว ดาว ดาว ดาว ดาว ดาว สาว สาว สาว สาว สาว สาว สาว สาว สาว สาว สาว สาว หาว ดาว ฟาก วาก กาก กาด วาว วา; กาว หาว ฟาว ดาว ดาว กาว สาว กาว สาว ดาว กาว สาว ดาว กาว สาว ดาว ฟาก ว่าว ว่าว ฟาก ฟาด วาด วาด ฟาก ฟาด ว่าว ว่าว ฟาก ดา่ ว ก่าว สาว ฟา่ ว ว่าว ด่าว ก่าว สาว ฟา่ ว วา่ ว ดา่ ว ด่าว กา่ ว หา่ ว ฟา่ ว วา่ ว กา่ ว หาว ฟา่ ว วา่ ว ก่าว ฟา่ ว ว่าว ก่าd สาว ดาว ฟาด สก หาก วาด วา่ ว กาก กาด กวาด วสว วาว
39 3. การพมิ พป์ ระสมคาแปน้ เหย้า จงฝึกพมิ พ์ประสมคาอักษรแป้นเหยา้ จนชานาญ โดยใชค้ วามคิด ตามองแบบพิมพ์ ก้าวนวิ้ ใหถ้ ูกจงั หวะ พร้อมกบั พิมพ์ให้เร็วและถกู ตอ้ ง สดสาววาดหาดหกสาดสา พยามอีกนิด สกาวดาวสดกว่าสาฟากหาด นะครับ … วาวกว่าสดดกหกฟากสดดาว สวาดกวาดหาดสดสาดหกดาว ฟากหาดดาวสาวกว่าวาวว่าว กาดหาดฟากสดดาวสกหกฟาก สาวหาดดาวกดสาหาดฟาดวาว ฟากหากดสดว่าสดกว่าสาวดาวหก
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211