Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือedit114 (1)

คู่มือedit114 (1)

Published by Freedom Top, 2022-07-26 09:27:51

Description: คู่มือedit114 (1)

Search

Read the Text Version

ค สารบญั หนา้ คำนำ ก คำชแี้ จง ข สารบญั ค สว่ นที่ 1 บทนำความเปน็ มา 1 ความสำคญั 1 วัตถุประสงค์ของการทำคู่มอื นเิ ทศ 2 ความมุง่ หมายของหลักสูตรหลกั สตู รต้านทุจริตศกึ ษา 2 คำอธิบายรายวิชา 5 สาระและผลการเรียนรู้ 5 แนวทางการนำหลักสูตรต้านทจุ ริตศึกษาไปใชใ้ นสถานศึกษา 6 สว่ นท่ี 2 การนเิ ทศแบบมสี ว่ นรว่ มเพอ่ื นำหลกั สตู รต้านทจุ รติ ไปใชใ้ นสถานศกึ ษา 16 ความหมายของการนิเทศการศกึ ษา 16 รปู แบบและกระบวนการนเิ ทศการศกึ ษา 19 การนเิ ทศแบบมีส่วนร่วม 31 การนเิ ทศภายในสถานศึกษา 37 กระบวนการนิเทศภายในโรงเรยี น 40 สว่ นที่ 3 แนวทางการดำเนนิ การนเิ ทศ 42 กระบวนการนิเทศแบบมสี ว่ นร่วมนำไปสู่การปฏิบตั ิ 42 สว่ นที่ 4 เครอ่ื งมอื ทเี่ กบ็ รวบรวมขอ้ มลู การนเิ ทศแบบมสี ว่ นรว่ ม 45 - แบบสัมภาษณค์ รผู สู้ อนท่นี ำหลักสตู รตา้ นทจุ ริตศึกษาไปใชใ้ นสถานศกึ ษา 47 สงั กัดสำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 18 (กอ่ น/หลงั การจดั การเรียนร)ู้ - แบบบันทกึ การสังเกตการสอนการจัดการเรียนรูข้ องครผู ู้สอน 51 ท่ีนำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาไปใช้ในสถานศกึ ษา สังกดั สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 18 - แบบทดสอบความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั เรอ่ื งหลกั สูตรต้านทจุ ริตศกึ ษา 56 - แบบทดสอบความรูค้ วามเข้าใจเรื่อง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทาง 67 Coaching

ง - เครื่องมือนเิ ทศการดำเนินงานหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา 71 แบบรายงานผลการนำหลกั สูตรทุจริตศึกษาไปใชใ้ น กจิ กรรมการเรยี นการสอน 75 - แบบนเิ ทศ และรายงานผล การดำเนนิ งานหลกั สูตรต้านทจุ ริตศึกษา 80 - แบบสำรวจความคดิ เหน็ ต่อการนเิ ทศแบบมีสว่ นร่วมเพือ่ การนำ หลักสตู รต้านทจุ รติ ศึกษาไปในสถานศกึ ษา 82 - แบบประเมนิ ตนเองของนักเรยี นท่ีรับการจดั การเรียนรู้ตาม แนวทางหลักสูตรตา้ นทุจริตศึกษาสำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา 84 มธั ยมศกึ ษาเขต 18 84 สว่ นที่ 5 การรายงานผลการนเิ ทศและการเผยแพร่ 86 การจัดทำรายงานผลการนเิ ทศ 87 การเผยแพร่ 89 บรรณานกุ รม 90 ภาคผนวก 96 - ตวั อย่างแผนการจดั การเรียนรู้ 98 - แบบประเมนิ ความพึงพอใจคมู่ อื นิเทศแบบมีสว่ นร่วมเพอ่ื การนำ หลักสตู รต้านทุจรติ ศกึ ษาไปใช้ในสถานศึกษา 100 - แบบสำรวจความพึงพอใจการนเิ ทศแบบมสี ่วนรว่ มเพ่ือการนำ หลักสตู รต้านทุจริตศึกษาไปในสถานศึกษา 102 107 - ตารางการอบรมประชุมเชงิ ปฏิบตั กิ ารขับเคลื่อนหลกั สูตรตานทจุ ริตศึกษา ไปใชในสถานศึกษา - ตัวอยางรปู แบบกิจกรรมที่นาํ หลักสตู รตานทุจรติ ศกึ ษาไปใชในสถานศึกษา - ขน้ั ตอนการดาํ เนินการนเิ ทศแบบมีสว นรว มไปสูการปฏบิ ตั ิในสถานศกึ ษา





3 :

5

5



7 ้



9 เครือ่ งมอื ทใี่ ชป้ ระเมนิ - แบบทดสอบ - แบบประเมนิ การปฏบิ ัติงาน - แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัตงิ าน การประเมนิ ผล นักเรียนผา่ นการประเมินทุกกิจกรรม ร้อยละ 80 ขึน้ ไป จึงจะถือว่าผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน 6.2 การบรู ณาการการเรยี นการสอนกับกลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และ วฒั นธรรม สถานศกึ ษาสามารถนำหลกั สูตรต้านทจุ ริตศึกษา สู่การปฏิบัตใิ นการบูรณาการกบั กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามข้นั ตอน ดังน้ี 1. ศึกษาหลกั สูตรตา้ นทุจริตศึกษา 2. ศึกษาคู่มือการใช้หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา 3. ประชุม วางแผนการบรู ณาการกับครูผสู้ อน กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษาศาสนา และวฒั นธรรม โดยครผู ู้สอน วเิ คราะหม์ าตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ดั และเนื้อหา ในกล่มุ สาระการ เรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ทสี่ อดคล้องกบั หลกั สตู รต้านทุจริตศึกษาในแต่ละหนว่ ยการ เรียนรู้ในแต่ละชัน้ 4. กำหนดสาระการเรยี นรูแ้ ละตวั ชวี้ ดั ทจ่ี ะบรู ณำการกบั หลักสตู รต้านทุจริตศึกษา 5. ครผู ้สู อนศกึ ษาแผนการจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตรตา้ นทุจริตศกึ ษาในระดับชนั้ เรยี น ท่ี จะนำไปบรู ณาการในการสอนกบั กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 6. นำแผนการจัดการเรียนรู้ในหลกั สตู รต้านทุจรติ ศึกษา บูรณาการเข้ากบั เน้ือหาท่จี ะสอน ในกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 7. ครูบูรณาการแผนการจดั การเรยี นรู้ ส่กู ารสอนในชนั้ เรยี น 8. ครวู ัดและประเมนิ ผลผ้เู รียนเป็นรายบุคคล 9. สรปุ ผลการวัดและประเมินผลผเู้ รียนเปน็ รายช้ัน และรายงานผลตอ่ ผบู้ ริหาร สถานศึกษา



11



19 13 6.4 จดั ในกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น สถานศกึ ษาสามารถนำหลกั สูตรต้านทุจรติ ศึกษา สูก่ ารปฏิบัตใิ นกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน สามารถดำเนนิ การตามขนั้ ตอนได้ ดงั นี้ 1. ศกึ ษาคู่มือ หลักสตู รต้านทุจรติ ศึกษา ให้มีความรู้ความเขา้ ใจ 2 สถานศกึ ษาจดั ประชุมครู ทง้ั สถานศึกษาเพ่ือชีแ้ จงสรา้ งความเขา้ ใจเก่ียวกับหลกั สตู ร ตา้ นทจุ รติ ศกึ ษา 3. วางแผนการนำหลกั สูตรต้านทจุ รติ ศึกษาไปจัดในกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นซง่ึ กจิ กรรมท่ี สามารถนำหลักสูตรตา้ นทุจริตศึกษาไปจัด ได้แก่ 3.1 กจิ กรรมแนะแนว หน่วยการเรียนรู้ทค่ี วรนำไปจัดในกิจกรรมแนะแนว ได้แก่ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและ ผลประโยชน์สว่ นรวม หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจรติ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 STRONG : จิตพอเพียงตา้ นทจุ ริต หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พลเมืองกับความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม 3.2 กจิ กรรมนกั เรียน หน่วยการเรยี นรูท้ ่ีควรนำไปจดั ในกจิ กรรมลกู เสอื เนตรนารี ยุวกาชาด ผบู้ ำเพ็ญประโยชน์ และชมุ นมุ /ชมรม ได้แก่ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและ ผลประโยชน์สว่ นรวม หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 2 ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 STRONG : จติ พอเพยี งตา้ นทุจรติ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 พลเมืองกับความรบั ผิดชอบต่อสังคม 3.3 กิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ หน่วยการเรียนร้ทู ี่ควรนำไปจัด กิจกรรมการเรียน ไดแ้ ก่ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและ ผลประโยชน์สว่ นรวม หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจรติ หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 3 STRONG : จิตพอเพียงต้านทจุ ริต หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 พลเมืองกบั ความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม

14 ตวั อย่าง การนำหลกั สูตรตา้ นทจุ ริตศึกษาไปจัดในกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น หลักสูตรตา้ นทุจริต ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ให้ผู้เรียนสามารถปรับตัวได้อย่างเหมาะสม หนว่ ยที่ 1 การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์ และอยู่ร่วมกบั ผู้อนื่ ไดอ้ ย่างมคี วามสุข ส่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม ประเด็นหลัก 3.3 ปรับตัวด้านส่วนตัวและ - วเิ คราะหค์ วามเป็นพลเมืองด้านคุณค่า ค่านิยม สังคมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและพฤติกรรมเพ่ือสรา้ ง สำนกึ พลเมืองต่อสังคมโลก ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 สาระที่ 2 กิจกรรมนักเรียน หน่วยที่ 4 พลเมอื งกับความรบั ผิดชอบต่อสงั คม - กิจกรรมลูกเสอื (ลกู เสือสามัญรุ่นใหญ)่ เนือ้ หา เนื้อหา - ระเบยี บ กฎ กตกิ า กฎหมาย - ระเบียบแถวลกู เสอื สาระที่ 3 กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและ หนว่ ยที่ 2 STRONG : จติ พอเพียงตา้ นทจุ รติ สาธารณประโยชน์ เนอื้ หา เนื้อหา - ความเอื้ออาทร (Generosity) ความเอื้ออาทรตอ่ ผู้อนื่ 6.5 จัดเปน็ กิจกรรมเสริมหลักสูตร หรือบรู ณาการกับวถิ ชี ีวติ ในสถานศึกษา สถานศึกษาสามารถนำหลักสูตรตา้ นทจุ ริตศึกษา จดั เป็นกจิ กรรมเสริมหลักสตู ร หรอื บูรณาการกับวถิ ีชีวิตในสถานศึกษา เช่น หอ้ งเรยี น English Program (EP) ว่ายนำ้ เพือ่ ชีวติ ห้องเรยี น ดนตรี และห้องเรียนกฬี า เป็นต้น ซงึ่ สามารถจัดกจิ กรรมให้สอดคล้องกบั หนว่ ยท่ี 3 STRONG : จิตพอเพียงตา้ นทจุ ริต และหน่วยที่ 4 พลเมืองกับความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม หรอื บูรณาการกับวิถชี ีวติ ในสถานศกึ ษา เช่น การเข้าแถว การรบั ประทานอาหาร การแต่งกาย และกจิ กรรมหนา้ เสาธง เป็นตน้ ซึ่งสามารถจัดกจิ กรรมใหส้ อดคล้องกับหน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ น ตนและผลประโยชน์ส่วนรวม และหนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ

15

16 ส่วนที่ 2 การนเิ ทศแบบมีส่วนรว่ มเพือ่ นำ หลักสตู รตา้ นทจุ ริตศกึ ษาไปใชใ้ น สถานศกึ ษา 2.1 ความหมายของการนเิ ทศการศึกษา นักการศึกษาได้ให้ความหมายของการนเิ ทศการศึกษาไว้ดังต่อไปน้ี วัชรา เลา่ เรียนดี (2550, หนา้ 5) กลา่ วว่า การนเิ ทศการศึกษาเป็นการปรบั ปรุง พัฒนา คุณภาพการศึกษาและคุณภาพการสอนโดยเนน้ ความร่วมมือ ความเป็นประชาธปิ ไตย และเน้นการ ให้บริการ ใหค้ วามชว่ ยเหลือ สนับสนุนมากกวา่ การบังคบั ให้ปฏบิ ัตติ าม วรี ะศกั ดิ์ ชมพูคำ (2551, หน้า 2) สรปุ ความหมายการนเิ ทศการศึกษาวา่ เปน็ กระบวนการในการทำงานรว่ มกันระหว่างผู้นิเทศกับผูร้ บั การนเิ ทศการนิเทศการศึกษาเปน็ การ พัฒนาคณุ ภาพของผู้เรยี นของนกั เรยี น โดยผา่ นตัวกลางคือครูและบุคลากรอื่นๆท่ีเกย่ี วข้องทาง การศึกษา จิรวัฒน์ รกั พว่ ง (2552, หน้า 42) ให้ความหมายของการนิเทศการศกึ ษาวา่ การนเิ ทศ การศกึ ษาเปน็ การแนะนำ พาคิดพาทำ ระหว่างผู้นเิ ทศทำการนิเทศแบบมีกระบวนการกับครผู รู้ ับ การนเิ ทศ ทำให้พฤตกิ รรมการจัดการเรียนการสอนของครเู ปลยี่ นแปลงไปในทางท่ดี ี นักเรยี นมี ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนที่สงู ข้ึน หนว่ ยศึกษานเิ ทศก์ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน (2562, หน้า 2) ได้ กลา่ วถงึ การนเิ ทศการศกึ ษาไวว้ ่า เป็นกระบวนการทีม่ จี ดุ มุ่งหมายเพ่ือชว่ ยเหลอื ชแี้ นะและพฒั นา งานให้ประสบความสำเรจ็ ทันต่อสภาพการเปลีย่ นแปลงท่ีเกดิ ขนึ้ อีกท้งั เป็นองค์ประกอบสำคัญที่ ช่วยเหลอื สนับสนุนกระบวนการบริหาร และกระบวนการเรียนการสอนให้มีคณุ ภาพ

17 กระทรวงศึกษาธกิ าร (2552 ,หนา้ 33) กลา่ วถึงวตั ถุประสงค์ของการนิเทศไว้ว่า 1. เพ่ือช่วยผบู้ รหิ ารสถานศึกษาและครูผูส้ อนให้เกิดการปรับปรงุ พฒั นาการจัดการศกึ ษาใหม้ ี ประสทิ ธภิ าพย่ิงขนึ้ 2. เพ่ือพัฒนาหลักสตู รและการเรยี นรใู้ ห้มีประสทิ ธิภาพ สอดคล้องกับความต้องการของชมุ ชน สังคม ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทกุ ด้าน 3. เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนปฏิรปู ระบบบริหาร โดยให้ทุกคนมสี ว่ นรับผดิ ชอบและชื่นชมในผลงาน 4. เพื่อใหเ้ กิดการประสานงานและความรว่ มมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระหว่างผู้ท่ี เกยี่ วขอ้ ง ไดแ้ ก่ ชมุ ชน สงั คม ฉววี รรณ พนั วนั (2552, หนา 9) สรปุ ไวว าการนเิ ทศการศกึ ษา หมายถึง กระบวนการรว ม กันทางการศกึ ษาของผบู ริหารโรงเรยี น และบุคลากรทางการศกึ ษา เพอื่ พัฒนาการเรยี นการสอนใหมี คุณภาพและเกิดผลสมั ฤทธสิ์ งู สุดแกผูเ รยี นทําใหผเู รียนไดพฒั นาเต็มตามศักยภาพตามจดุ หมายของ หลักสูตร นอกจากน้ี วัชรา เลา่ เรียนดี (2556, หนา้ 7) ไดน้ ยิ ามการนิเทศการศกึ ษาไว้วา่ การ นิเทศการศึกษา หมายถึง กระบวนการของผนู้ เิ ทศ ที่มงุ่ ให้คำแนะนำและความชว่ ยเหลือครูผู้สอน ในการปรับปรุงและพฒั นากระบวนการเรยี นการสอน เพ่ือใหเ้ กิดผลดีตอ่ การเรยี นรแู้ ละพัฒนาการ ของผู้เรยี น ดงั นี้ 1. เพือ่ พฒั นาทางด้านวิชาการ ความรู้ นวตั กรรมทางการศึกษา หลักสตู ร นโยบายการ จัดการศกึ ษามีการปรับเปล่ียนอยา่ งรวดเรว็ และต่อเนอ่ื ง 2. เพื่อใหท้ นั ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาวะทางการเมือง เศรษฐกิจ และสงั คม มีการ ปรบั เปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา 3. เพอื่ แก้ไขปัญหาในการจัดการศกึ ษา เพื่อป้องกนั ความผิดพลาดในการจดั การศึกษา เพ่อื กอ่ ใหเ้ กิดความคิดสร้างสรรค์ในการจดั การศึกษา 4. เพอ่ื ยกระดับมาตรฐานทางการศึกษา

18 วชิรา เครอื คำอา้ ย (2558, หน้า 3) สรปุ ความหมายของการนิเทศการศึกษาวา่ การ นเิ ทศการศึกษาเป็นกระบวนการทำงานร่วมกันระหว่างผ้นู ิเทศและผูร้ บั การนเิ ทศรวมถงึ ผูท้ ่ี เก่ียวขอ้ งโดยกระบวนการดังกล่าวนัน้ จำเปน็ ตอ้ งใช้ท้งั ศาสตรแ์ ละศลิ ปใ์ นการให้ความชว่ ยเหลือ ช้แี นะแนวทางเพอ่ื พฒั นาการสอนของครูอยา่ งต่อเน่ืองและสรา้ งสรรคแ์ ละช่วยใหค้ รูเกิดความ เจริญงอกงาม ในวชิ าชีพในท่ีสดุ จะส่งผลต่อเป้าหมายสงู สุดคอื การพฒั นาผูเ้ รยี นท้ังทางด้านจิตใจ ปัญญาและร่างกายอย่างสมดุล ไวลล์ (Whill อ้างถึงใน ชญากาญจธ์ ศรเี นตร, 2558, หน้า 21) กลา่ ววา่ การนเิ ทศ การศกึ ษาเป็นกิจกรรมบริการทชี่ ่วยปรับปรุงการสอนช่วยให้ครทู ำงานในหน้าท่ีได้ดขี น้ึ มีขวัญ กำลงั ใจดขี ้ึนและ กิจกรรมเหล่าน้ี รวมทัง้ การอบรมครแู ละการพัฒนาหลกั สูตร งานนเิ ทศการศึกษาเป็นงานที่ปฏิบตั ิกบั ครู เพ่ือให้เกิดผลต่อคุณภาพผูเ้ รยี นโดยตรง โดย มีจดุ มุ่งหมายท่ีสำคัญ คือ 1. เพอ่ื ช่วยพัฒนาความสามารถของครผู สู้ อน 2. เพอ่ื ช่วยให้ครสู ามารถวเิ คราะหป์ ัญหาและหาแนวทางแก้ไขปัญหาได้ดว้ ยตนเอง 3. เพื่อชว่ ยใหค้ รคู ้นหาวิธีการทำงานด้วยตนเอง 4. เพอ่ื ชว่ ยใหค้ รูมีความศรัทธาในวชิ าชีพของตน 5. เพอ่ื ชว่ ยให้ครมู ีความกา้ วหนา้ ในวชิ าชพี 6. เพอ่ื ชว่ ยใหค้ รูมีทักษะในการปฏิบัตงิ าน เชน่ การพฒั นาหลักสูตร การปรับปรุง การเรียนการสอน การใชแ้ ละผลิตส่ือการสอน การวดั และประเมนิ ผล เปน็ ต้น 7. เพอื่ ชว่ ยครใู ห้สามารถทำวิจยั ในชัน้ เรียนได้ จากการศึกษาแนวคิดของนักการศึกษาเกย่ี วกับความหมายของการนิเทศการศึกษา สรุปไดว้ ่า การนิเทศการศึกษา หมายถงึ กระบวนการปรบั ปรุงและพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา โดย ความร่วมมอื ระหวา่ งผ้นู เิ ทศและผู้รบั การนิเทศ ทีเ่ นน้ การให้ความช่วยเหลอื แนะนำ และผรู้ บั การ นเิ ทศยอมรบั เพื่อประสทิ ธิภาพของการจัดการศึกษา

19 2.2 1. PIDRE P-Planning) Informing-I) Doing-D) Reinforcing-R) Evaluating-E)

5 PIDRE

21 2 PDCA Circle Demming Cycle D- 2 Circle Demming Cycle) P-D-C-A Demming circle) P-Planning) Do) C-Check) A-Act) PDCA

22 ่ ้ ีี P-Plan) D-Do) C-Check) A-Act)

23 กระบวนการนเิ ทศการศึกษา ไดใ้ ชก้ ระบวนการ PDCA ในการดำเนนิ การมขี ้นั ตอนของการ วางแผนการนเิ ทศเป็นสว่ นสำคัญ ดงั นี้ จัดระบบขอ้ มูลสารสนเทศ ผลการประเมนิ คณุ ภาคการศกึ ษา กำหนดจดุ พฒั นาการนิเทศ ปญั หาการดำเนินการนเิ ทศ จดั ทำแผนการนเิ ทศ ความต้องการในการพัฒนา จดั ทำโครงการนิเทศ นโยบายจากหน่วยงานเจ้าสังกัด พ.ร.บ.การศึกษาแหง่ ชาติ การวางแผน (Plan) การปฏิบตั ิงานตาม แผน (Do) กระบวนการนิเทศ การตรวจสอบ ภายในสถานศกึ ษา (Check) การประเมนิ ผล สรปุ ผล เก็บรวบรวมขอ้ มูล และนำผลการประเมินมา วเิ คราะห์ข้อมูล ปรับปรุง (Action) สรปุ ผลการประเมนิ จัดทำรายงานผลการนเิ ทศ เสนอผลการนเิ ทศและเผยแพร่ พฒั นาต่อเนอ่ื ง ภาพที่ 3 แผนภูมกิ ระบวนการ PDCA

INN Information/ Node/ Network ( Information Node Node Network

25 ่ ่้ ้

8 7. 6. 5. 4. 3. 2. 1.

27 Coaching) Coaching (Two way communication) (Coach) (Coachee)

28 2. การพัฒนาความรู้ ทักษะ หรอื ความสามารถในการทำงาน 3. การประยุกตใ์ ช้ทักษะหรือความรใู้ นการทำงาน ทีต่ ้ังอยู่บนหลักการของการเรียนรู้ รว่ มกัน โดยยึดหลกั วา่ ไมม่ ีใครรมู้ ากกว่าใคร จึงต้องเรียนไปพรอ้ มกนั เพ่อื ให้ค้นพบวิธกี ารแกไ้ ขปัญหา ด้วยตนเอง หลกั การสำคัญในการนเิ ทศแบบชีแ้ นะ 1. การเรยี นรูร้ ว่ มกนั คือ ไม่มีใครรมู้ ากกว่าใคร จึงต้องเรยี นไปพร้อมกัน 2. การเรียนรู้วิธีการทำงาน ลกั ษณะการเรียนรูเ้ ปน็ การเรียนรู้จากการปฏบิ ตั งิ าน พัฒนา งานจากผู้เช่ยี วชาญทเี่ สนอแนะอยา่ งใกล้ชิด 3. ผูช้ ีแ้ นะหรือผู้เชี่ยวชาญมีความเชยี่ วชาญเพียงพอที่จะเปน็ ผู้แนะนำ 4. บรรยากาศของการนเิ ทศแบบชแ้ี นะเปน็ บรรยากาศของความเปน็ กลั ยาณมิตร 5. การเสรมิ พลงั เป็นการชว่ ยค้นหาพลังในตัวบุคคล เม่ือค้นเจอกค็ นื พลังน้นั ให้เขาไป นน่ั คอื ต้องชใ้ี ห้คน้ พบวธิ ีการแก้ปัญหาดว้ ยตนเอง บทบาทหน้าทขี่ องผู้ชแ้ี นะ ผู้โค้ชหรือผู้ชีแ้ นะควรเปน็ ผูร้ ักการอา่ น รักการแสวงหาความรู้ และเปน็ ผู้ขวนขวาย หาข้อมลู ความรู้ใหม่ ๆ อยตู่ ลอดเวลา รวมท้งั แสวงหาประสบการณใ์ หม่ จากการเขา้ กลุ่มหรอื สมาคม ตา่ ง ๆ เพื่อจะได้นำความรู้และประสบการณท์ ี่ได้รับมาทำหน้าทบ่ี ทบาทนักฝึกอบรม นกั พัฒนา นักเปลี่ยนแปลง ผใู้ หค้ ำปรึกษา นกั จติ วทิ ยา นกั แก้ไขปญั หา นักคาดคะเน นักคิด นักประดิษฐ์ และ นักปฏิบตั ิ บทบาทดังกล่าวจะแสดงออกในบทบาทใดนั้นขน้ึ อยูก่ ับสถานการณ์ท่ีแตกตา่ งกันไป ซ่งึ บางครัง้ อาจแสดงบทบาทเดยี วหรอื แสดงมากกว่าหน่ึงบทบาท ลักษณะนสิ ัยของผู้ชีแ้ นะ ไม่ว่าผู้ชแ้ี นะจะสวมบทบาทใดกต็ ามจะตอ้ งอย่บู นพ้นื ฐานของลักษณะนสิ ัยท่ดี ีเปน็ ท่ียอมรับ ของลกู น้อง ลักษณะนิสัยท่ีดี ได้แก่ การยอมรบั ความจรงิ เห็นอกเหน็ ใจ มองโลกในแง่ดี กระตือรือรน้ ชอบใหโ้ อกาส ยืดหยนุ่ มน่ั ใจในตนเอง กล้ารับผิดและรับชอบ และมองไปข้างหน้า ควรหลีกเลี่ยง ลักษณะนสิ ัยท่ไี ม่ดี ได้แก่ การไม่ไว้วางใจ ข้รี ำคาญ เอาแต่ได้ ถือตวั ชอบเปรยี บเทียบ รอไม่ได้ ไม่ มั่นใจในตนเอง ไมห่ วังดี และไมร่ ีบร้อน

29 2

culture) Learning by Doing Learning Learning by Sharing Learning by Teaching

31 ชว่ ยเหลือผูม้ ปี ระสบการณ์น้อยกว่า ในเรอื่ งงานวิชาชพี ไปสเู่ ป้าหมายทีไ่ ด้วางไวร้ ว่ มกนั เทคนคิ ดงั กล่าวเป็นเทคนิคที่อยูใ่ นกลุ่มงานการนเิ ทศการศกึ ษาของศกึ ษานเิ ทศก์ เพราะการนิเทศเปน็ การ ดำเนินงานโดยผ้มู ีประสบการณ์ มีความรมู้ ีความสามารถในการท่ีจะใช้กระบวนการ วิธีการ หรือ เทคนคิ ตา่ ง ๆ ในการใหค้ วามช่วยเหลืออำนวยการ สง่ เสรมิ สนบั สนุน กำกับดแู ล ช้แี นะให้คำปรกึ ษา คลีค่ ลายปัญหา อบรม ฝกึ ฝน และรว่ มปฏิบตั กิ จิ กรรมเพ่ือผู้เข้ารับการฝกึ สามารถพัฒนาความรู้ความ สามารถได้ตามเป้าหมายและบรรลตุ ัวชี้วัด 22.3.3 กกาารรนนเิ ทิเทศศแแบบบบมมสี สี ่ วนวรนว รม่ วม ความหมายของการมสี ่วนร่วม การนเิ ทศแบบมีสว่ นรว่ มเป็นการใหค้ วามร่วมมือกนั ระหว่างผนู้ ิเทศและผรู้ บั การนเิ ทศซง่ึ มี นกั การศึกษาได้กำหนดความหมายของการนเิ ทศแบบมสี ่วนร่วมไวด้ ังน้ี ลมโชย อุยยะพฒั น์ (2550, หน้า 100) กลา่ วว่า การนิเทศแบบมสี ่วนร่วม เป็นกระบวนการ ทเี่ กิดจากการรว่ มมือกันในการพฒั นาประสิทธภิ าพการปฏิบัติงานระหวา่ งผูน้ เิ ทศเละผรู้ ับการนิเทศ โดยมกี ารกำหนดเป้าหมาย การวางแผน การกำหนดกจิ กรรมและวิธกี ารดำเนินงานรว่ มกนั ตามความ ต้องการทั้งในระดับบุคคลและกลุม่ บุคคล เพ่ือการบรรลุประสทิ ธภิ าพของงานที่กำหนดไว้ วัชรา เลา่ เรียนดี (2550, หน้า 137 อ้างอิงจาก Glickman, 1981, p. 6) กลา่ วว่า การนิเทศแบบมสี ่วนร่วม เป็นการนเิ ทศแบบรว่ มมือทัง้ ผู้นเิ ทศและครูร่วมกนั ตดั สนิ ใจในวธิ ี การแกป้ ัญหาและการปฏบิ ัติงานตลอดเวลา ท้งั ครูและผนู้ เิ ทศจะใหข้ อ้ เสนอแนะแก่กันและกันเพ่ือ รว่ มกันพิจารณาข้อตกลงรว่ มกนั ในการปฏบิ ตั ิ พนิดา มาแกว้ สอง (2554, หนา้ 63) กลา่ ววา่ การนเิ ทศแบบมีส่วนรว่ มเปน็ การนิเทศที่ ผูน้ เิ ทศและผู้รบั การนิเทศมสี ว่ นรว่ มในการดำเนินงานอย่างเป็นระบบตามบทบาทและหน้าทีต่ ัง้ แต่ การวางแผนการพฒั นาการกำหนดจุดมุ่งหมายและเป้าหมาย การลงมอื ปฏิบัติการวางแผนพัฒนา การประเมนิ ผลและปรับปรงุ เผยแพร่ ผลงาน จากที่กล่าวมาข้างตน้ การนิเทศแบบมสี ่วนรว่ มเป็นการนเิ ทศที่ผนู้ เิ ทศและผู้รับการนเิ ทศมี การดำเนนิ งานรว่ มกันทกุ ขัน้ ตอน ต้ังแต่กระบวน วางแผนการนเิ ทศ รว่ มจัดทำเคร่อื งมอื นิเทศ ดำเนนิ การนเิ ทศ รว่ มจดั รว่ มทำรว่ ม รว่ มนเิ ทศ ประเมนิ ผล เพือ่ ให้ได้ผลสำเร็จของงานบรรลตุ าม วตั ถปุ ระสงค์ท่ตี อ้ งการ โดยอาศยั บุคคลทุกฝ่ายทเ่ี กี่ยวข้องในการนเิ ทศติดตาม ประเมินผลใน ทุกข้ันตอน จนทำให้งานประสบผลสำเร็จลลุ ว่ งไปได้ดว้ ยดี



33



35



37 2.4

Glickman p 6 Ben M Harris POLCA Planning Organizing Heading Controlling Assessing

39 1) 1) 2) 2) 3) 3) 4) 4) 5) 5) 6) 7)

2.5 ัั

41

่่ ้





39


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook