Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ คุณครูประมวล เจริญสุข

แผนการจัดการเรียนรู้ คุณครูประมวล เจริญสุข

Published by jatu library, 2022-06-27 02:23:07

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ คุณครูประมวล เจริญสุข

Search

Read the Text Version

1 คานา แผนการจัดการเรียนร๎ูรายภาคเรยี น ประจาภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 ระดบั ประถมศึกษา แผนการจัดการเรียนร๎ู เป็นเครื่องมือสาคัญสาหรับครูที่จะทาให๎การจัดการเรียนร๎ูบรรลุเปูาหมายท่ีต๎องการ เป็นการ วางแผนไว๎ลํวงหน๎าโดยศึกษาในเรื่อง สาระพระราชบัญญัติการศึกษาแหํงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๔๕) หมวด ๓ ระบบการศึกษา และ หมวด ๔ แนวการจัดการศึกษา ทุกมาตรากรอบของการจัดการศึกษาตาม หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เอกสารเก่ียวกับการประกันคุณภาพ การศกึ ษา โดยจัดกระบวนการเรียนรู๎ใหส๎ อดคลอ๎ งกับมาตรฐานเอกสารเก่ียวกับเนื้อหาในรายวิชาที่จัดการเรียนร๎ู และ ศกึ ษาหาขอ๎ มลู จากแหลงํ เรียนรูต๎ าํ ง ๆ วิธกี ารจัดการเรยี นร๎แู บบตําง ๆ ซึ่งเน๎นผ๎ูเรียนเป็นสาคัญและรูปแบบการเรียนร๎ู โดยกาหนดให๎ใช๎รปู แบบการจดั กระบวนการเรียนร๎ู กศน. (ONIE MODEL) ซงึ่ มี ๔ ขนั้ ตอน ได๎แกํ ขนั้ ตอนท่ี ๑ การกาหนดสภาพ ปญั หา ความตอ๎ งการในการเรียนรู๎ (O : Orientation ) ขั้นตอนท่ี ๒ การแสวงหาข๎อมูลและจัดการ เรียนรู๎ (N : New ways of learning) ขั้นตอนท่ี ๓ การปฏิบัติและนาไปประยุกต์ใช๎ (I : Implementation) ขั้นตอน ที่ ๔ การประเมินผล (E : Evaluation) แผนการเรียนร๎ูจะทาให๎ครูได๎คูํมือการจัดการเรียนรู๎ ทาให๎ดาเนินการจัดการ เรยี นรู๎ได๎ครบถว๎ นตรงตามหลกั สตู รและจดั การเรียนรไู๎ ดต๎ รงเวลา ขอขอบคณุ ผม๎ู สี ํวนเกยี่ วขอ๎ งทกุ ทาํ น ทีใ่ หค๎ วามรู๎ คาแนะนาและให๎คาปรึกษาเป็นแนวทาง ทาให๎แผนจัดการ เรียนรู๎รายภาคเรียนเลํมน้ีจนสาเร็จ เป็นรูปเลํมสมบูรณ์ ผ๎ูจัดทาหวังเป็นอยํางยิ่งวําเอกสารเลํมนี้ จะเป็นประโยชน์ สาหรับ ผู๎นาไปใช๎จัดกิจกรรมการเรียนร๎ู ได๎อยํางมีประสิทธิภาพหากพบข๎อผิดพลาดหรือ มีข๎อเสนอแนะประการใด ผจู๎ ดั ทาขอน๎อมรบั ไวแ๎ กไ๎ ข ปรบั ปรุงด๎วยความขอบคุณยง่ิ นายประมวล เจรญิ สุข ครู กศน.ตาบล

2 สารบญั หน๎า คานา ก สารบัญ ข แผนการกาหนดการจดั การเรยี นการสอน ประจาภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 จ แผนการจัดการเรียนรป๎ู ฐมนเิ ทศ 1 แผนการจดั การเรียนรู๎รายวิชาทักษะการเรยี นร๎ู ครงั้ ที่ 1 5 แผนการจัดการเรียนรู๎รายวิชาศลิ ปศกึ ษา ครั้งท่ี 2 21 แผนการจดั การเรียนรรู๎ ายวิชาวิทยาศาสตร์ คร้ังที่ 3 26 แผนการจดั การเรียนรู๎รายวิชาวิทยาศาสตร์ ครงั้ ที่ 4 36 แผนการจัดการเรียนรู๎รายวิชาคณุ ธรรมและจริยธรรมในการใชส๎ อื่ ออนไลน์ ครง้ั ที่ 5 49 แผนการจัดการเรยี นรู๎รายวชิ าสุขศึกษาพลศึกษา ครง้ั ท่ี 6 61 แผนการจัดการเรยี นรู๎รายวิชาสขุ ศกึ ษาพลศึกษา ครงั้ ที่ 7 71 แผนการจัดการเรยี นรูร๎ ายวชิ าภาษาไทย ครั้งที่ 8 82 แผนการจดั การเรยี นรร๎ู ายวิชาคณุ ธรรมและจริยธรรมในการใชส๎ อื่ ออนไลน์ ครงั้ ที่ 9 86 แผนการจัดการเรียนรู๎รายวิชาศาสนาและหน๎าท่ีพลเมือง คร้ังท่ี 10 95 แผนการจัดการเรียนรู๎รายวิชาศาสนาและหนา๎ ท่พี ลเมือง คร้ังท่ี 11 102 แผนการจัดการเรียนรู๎รายวิชาชํองทางการเขา๎ สูํอาชพี ครั้งท่ี 12 118 แผนการจดั การเรยี นร๎ูรายวชิ าชอํ งทางการเข๎าสูอํ าชีพ คร้ังท่ี 13 125 แผนการจัดการเรียนรู๎รายวิชาสังคมศึกษา คร้งั ท่ี 14 136 แผนการจดั การเรียนรู๎รายวชิ าประวตั ิศาสตร์ชาติไทย ครงั้ ที่ 15 147 แผนการจดั การเรียนร๎ูรายวิชาสังคมศึกษา ครง้ั ที่ 16 156 แผนการจัดการเรยี นรู๎ รายวิชาพัฒนาตนเองชุมชนสงั คม ครงั้ ที่ 17 163 แผนการจดั การเรยี นรู๎รายวิชาพฒั นาตนเองชุมชนสังคม คร้ังท่ี 18 174 แผนการจดั การเรียนรป๎ู จั ฉิมนิเทศ 181 คณะผ๎ูจดั ทา ซ

3 แผนกาหนดการจดั การเรยี นการสอนของนักศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา ๒๕65 หลกั สูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ระดบั ประถมศกึ ษา ชื่อครูผู้สอน นายประมวล เจรญิ สุข ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอจตรุ พกั ตรพมิ าน สานักงาน กศน.จังหวดั ร้อยเอด็ สัปดาห์ วนั /เดอื น/ปี เวลา วิชา/กิจกรรม สถานทจี่ ดั การเรยี น ท่ี กจิ กรรมปฐมนิเทศ การสอน ๑ 17 พ.ค. 2565 ๐๙.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. กศน.ตาบลน๎าใส ๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. กจิ กรรมเรียนรู๎ด๎วยตนเอง กศน.ตาบลนา๎ ใส 1 17 พ.ค. 2565 ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. วชิ าทักษะการเรยี นร๎ู กศน.ตาบลน๎าใส (5 นก.) ทร 11001 ตามอธั ยาศยั ๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. กจิ กรรมเรียนร๎ดู ๎วยตนเอง 2 24 พ.ค. 2565 ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. วิชาศิลปศกึ ษา กศน.ตาบลนา๎ ใส ตามอัธยาศยั (2 นก.) ทช 11003 ๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. กจิ กรรมเรียนรดู๎ ๎วยตนเอง 3 31 พ.ค. 2565 ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. วิชาวิทยาศาสตร์ กศน.ตาบลน๎าใส ตามอธั ยาศัย (3 นก.) พว 11001 ๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. กิจกรรมเรียนรู๎ดว๎ ยตนเอง 4 7 ม.ิ ย. 2565 ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. วิชาวทิ ยาศาสตร์ กศน.ตาบลน๎าใส ตามอธั ยาศยั (3 นก.) พว 11001 ๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. กจิ กรรมเรียนรู๎ดว๎ ยตนเอง 5 14 มิ.ย. 2565 ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. วชิ าคุณธรรมและจรยิ ธรรมในการ กศน.ตาบลน๎าใส ใชส๎ อ่ื สงั คมออนไลน์ (2 นก.) สค020035 ๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. กจิ กรรมเรียนรูด๎ ว๎ ยตนเอง ตามอัธยาศยั 6 21 มิ.ย. 2565 ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. วิชาสุขศึกษาพลศึกษา กศน.ตาบลนา๎ ใส (2 นก.) ทช 11002 กศน.ตาบลน๎าใส ๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. กิจกรรมเรียนรู๎ด๎วยตนเอง

4 แผนกกาหนดการจดั การเรียนการสอนของนักศึกษา ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา ๒๕65 หลักสตู ร การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ระดบั ประถมศึกษา ช่ือครูผู้สอน นายประมวล เจริญสุข ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอจตุรพักตรพิมาน สานักงาน กศน.จังหวัดร้อยเอด็ สัปดาห์ วัน/เดือน/ปี เวลา วิชา/กิจกรรม สถานที่จัดการเรยี น การสอน ท่ี วิชาสุขศกึ ษาพลศกึ ษา (2 นก.) ทช 11002 กศน.ตาบลน๎าใส 7 28 ม.ิ ย. 2565 ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. กิจกรรมเรียนรู๎ดว๎ ยตนเอง กศน.ตาบลน๎าใส กศน.ตาบลน๎าใส ๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. กศน.ตาบลนา๎ ใส กศน.ตาบลนา๎ ใส 8 5 ก.ค. 2565 ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. วิชาภาษาไทย กศน.ตาบลนา๎ ใส กศน.ตาบลนา๎ ใส (3 นก.) พท 11001 กศน.ตาบลน๎าใส กศน.ตาบลนา๎ ใส ๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. กิจกรรมเรยี นรู๎ดว๎ ยตนเอง ตามอธั ยาศัย 9 12 ก.ค. 2565 ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. วชิ าภาษาไทย กศน.ตาบลน๎าใส ตามอธั ยาศยั (3 นก.) พท 11001 กศน.ตาบลน๎าใส กศน.ตาบลนา๎ ใส ๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. กิจกรรมเรยี นร๎ูดว๎ ยตนเอง ๑0 19 ก.ค. 2565 ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. วิชาศาสนาและหนา๎ ท่ีพลเมือง (2 นก.) สค11002 ๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. กจิ กรรมเรียนรด๎ู ว๎ ยตนเอง ๑1 26 ก.ค. 2565 ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. วชิ าศาสนาและหน๎าท่ีพลเมอื ง (2 นก.) สค11002 ๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. กจิ กรรมเรยี นรู๎ด๎วยตนเอง สอบกลางภาค ๑2 2 ส.ค. 2565 ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. วิชาชอํ งทางการเข๎าสูํอาชีพ (2 นก.) อช11001 ๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. กิจกรรมเรียนร๎ูดว๎ ยตนเอง 13 9 ส.ค. 2565 ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. วชิ าชอํ งทางการเขา๎ สํูอาชีพ (2 นก.) อช11001 ๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. กจิ กรรมเรยี นร๎ดู ๎วยตนเอง

5 แผนกาหนดการจัดการเรียนการสอนของนักศึกษา ประจาภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา ๒๕65 หลักสตู ร การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ระดับ ประถมศกึ ษา ช่ือครูผ้สู อน นายประมวล เจริญสุข ตาแหน่ง ครูกศน.ตาบล กศน.อาเภอจตุรพกั ตรพมิ าน สานกั งาน กศน.จงั หวัดร้อยเอ็ด สปั ดาหท์ ี่ วนั /เดอื น/ปี เวลา วชิ า/กจิ กรรม สถานท่จี ดั การเรยี น การสอน ๑4 16 ส.ค. 2565 ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. วิชาสงั คมศึกษา ( 2 นก.) สค11001 กศน.ตาบลน๎าใส ๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. กจิ กรรมการเรียนรด๎ู ๎วยตนเอง ๑5 23 ส.ค. 2565 ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. กศน.ตาบลน๎าใส ประวตั ศิ าสตร์ชาติไทย ๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. (3 นก.) สค12024 กศน.ตาบลน๎าใส กิจกรรมการเรยี นรูด๎ ๎วยตนเอง กศน.ตาบลน๎าใส ๑6 30 ส.ค. 2565 ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. วิชาสงั คมศกึ ษา กศน.ตาบลนา๎ ใส ๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. ( 2 นก.) สค11001 กศน.ตาบลนา๎ ใส ๑7 6 ก.ย. 2565 ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. กจิ กรรมการเรียนรด๎ู ว๎ ยตนเอง กศน.ตาบลนา๎ ใส ๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. กศน.ตาบลนา๎ ใส 18 13 ก.ย. 2565 ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. พฒั นาตนเองชุมชนสังคม กศน.ตาบลนา๎ ใส ๑๓.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. (2 นก.) สค11002 กศน.ตาบลนา๎ ใส 17 - 18 กันยายน 2565 19 20 ก.ย. 2565 ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. กิจกรรมเรียนรด๎ู ว๎ ยตนเอง กศน.ตาบลนา๎ ใส พัฒนาตนเองชมุ ชนสังคม (2 นก.) สค11002 กจิ กรรมเรยี นรด๎ู ว๎ ยตนเอง สอบปลายภาคโรงเรียนน้าใสพิทยาคม ปจั ฉมิ นิเทศ

6 แผนการจดั การเรียนรู้ ปฐมนิเทศ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ระดับประถมศกึ ษา กศน.ตาบลน้าใส 1. สปั ดาห์ที่ 1 วนั ที่ 17 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2565 เวลา 09.00-12.00 น. 2. วชิ า ปฐมนิเทศ 3. มาตรฐานท่ี 4. หน่วยการเรยี นรู้/เร่ือง การจดั การเรยี นรต๎ู ามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 5. สาระสาคัญ โครงสร๎างหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พ.ศ.2551 ประกอบดว๎ ย 5 สาระ การเรียนร๎ู ได๎แกํ ทกั ษะการเรียนร๎ู ทกั ษะการดาเนนิ ชีวติ ความรู๎พืน้ ฐาน การประกอบอาชีพ และการพฒั นาสังคม ซง่ึ แตลํ ะสาระประกอบดว๎ ยรายวชิ าบงั คบั และวชิ าเลอื ก (เลือกบงั คบั และเลอื กเสร)ี ตามจานวนหนวํ ยกติ ในโครงสรา๎ ง รายวชิ าบงั คบั ทกุ วชิ าผู๎เรียนต๎องลงทะเบียนเรยี นตามทีก่ าหนด สวํ นรายวชิ าเลือกเสรีสถานศึกษากาหนดได๎ตาม ความต๎องการ และรายวิชาเลอื กตามที่สํวนกลางกาหนดในรายวชิ าเลือกบังคบั นอกจากน้ที ุกระดับต๎องทากจิ กรรม คณุ ภาพชีวิต อยํางน๎อย 200 ชั่วโมง โครงงาน 3 หนํวยกิต และการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด๎านการศกึ ษา นอกระบบโรงเรียน (N-NET) 6. เนือ้ หา 1. โครงสรา๎ งการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พ.ศ. 2551 2. วิธีการจัดการเรียนรู๎ 7. จดุ ประสงค์การเรียนร/ู้ ผลการเรยี นรู้ทค่ี าดหวงั (ดูจากผังการออกข๎อสอบ) 1. ผ๎ูเรยี นร๎ู และเขา๎ ใจวธิ กี ารจัดการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ. 2551 8. การบรู ณาการกับหลกั แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง (2 เง่ือนไข 3 หลักการ การเชื่อมโยงสู่ 4 มติ )ิ ความรู้ - โครงสร๎างหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 - รปู แบบวธิ ีเรียน - การวดั และประเมนิ ผลการเรียน - การจดั กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชวี ิต (กพช.) - การประเมินคณุ ธรรม - การจบหลกั สูตร คุณธรรม - มคี วามขยัน - ความรับผดิ ชอบ - ความสามัคคี พอประมาณ - การวางแผนทค่ี วามเหมาะสมในการศึกษาเรียนรู๎ - เวลาในการเรยี น - การใช๎สือ่ และแหลํงเรยี นรู๎

7 มเี หตุผล - เหตุผลในการเรียน กศน. - การนาความรแู๎ ละวุฒิการศึกษาไปใชใ๎ นการดาเนนิ ชวี ิต มีภูมคิ มุ้ กนั - การนาความร๎ูที่ไดร๎ บั จากการเรยี น ไปปรบั ใช๎ในชวี ิตประจาวัน วตั ถุ - การนาวฒุ ิการศกึ ษาไปศกึ ษาตอํ ในระดับท่ีสงู ขน้ึ - ผูเ๎ รยี นไดร๎ บั ความร๎ู มีทักษะในการ สังคม - มกี ารทางานรวํ มกนั เป็นกลมุํ แลกเปล่ยี นความคดิ และวเิ คราะห์รํวมกัน ส่ิงแวดล้อม - การใช๎วสั ดุทางการศกึ ษาที่ไมํทาให๎เกิดความเสยี หายกบั ส่ิงแวดล๎อม - การรักษาความสะอาดในการจัดการเรียนการสอน วัฒนธรรม - การอยรํู ํวมกัน - การทางานกลุํม/ การแลกเปลีย่ นเรียนร๎ู - การแบงํ ปัน 9. กระบวนการจดั การเรยี นรู้และกิจกรรมการเรยี นรู้ ขน้ั ที่ 1 กาหนดสภาพปญั หาการเรียนรู้ ครูผู๎สอนกลําวทกั ทายผ๎ูเรยี น และแจ๎งจุดประสงค์ของการปฐมนิเทศ ขัน้ ท่ี 2 แสวงหาข้อมูลและจัดการเรยี นรู้ 1. ครูผ๎ูสอนให๎ผ๎เู รยี นกลําวทักทายและสนทนากันเอง 2. ครอู ธิบายหลกั การโครงสร๎างหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พ.ศ. 2551 ขน้ั ที่ 3 การปฏบิ ัตแิ ละการนาไปใช้ 1. ครูและผเู๎ รียนรํวมกันสรุป 2. ครูให๎ความร๎ูเพ่มิ เตมิ ในสํวนของความร๎ูทยี่ ังไมํครบถว๎ น ข้นั ที่ 4 การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ครผู ๎ูสอนสรุปผลจากการนาเสนอ และเติมเตม็ องค์ความรู๎พร๎อมมอบหมายงาน 10. สื่อ/แหล่งเรยี นรู้ 1. ใบความร๎ู 2. หนงั สอื เรียน 10. การวดั และประเมนิ ผล 10.1 วิธีการวดั และประเมนิ ผล - แบบประเมนิ ผลการสังเกตพฤติกรรมการทางานรํวมกับผ๎อู ่ืนของผ๎ูเรยี นรายบคุ คล - ใบงาน - แบบทดสอบกํอนเรยี น-หลังเรยี น

8 10.2 เครอ่ื งมือวัดและประเมินผล - ประเมินผลการสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรวํ มกบั ผู๎อืน่ ของผ๎เู รยี นรายบคุ คล - ผลจากการตรวจใบงาน - คะแนนแบบทดสอบกํอนเรียนและหลังเรียน 10.3 เกณฑก์ ารวดั และการประเมินผล - แบบประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมการทางานรํวมกับผู๎อนื่ ของผู๎เรยี นรายบคุ คล ระดับดี พอใช๎ และควร ปรบั ปรุง - ใบงานคะแนนเตม็ 10 คะแนน - แบบทดสอบกํอนเรียน-หลงั เรยี น เกณฑ์ผาํ นและไมผํ ําน กจิ กรรมเสนอแนะ ......................................................................................................... ................................................................................ ......................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื …………………………………………….ครผู ูส๎ อน (นายประมวล เจรญิ สขุ ) ครู กศน.ตาบล ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหาร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………............................. ลงชือ่ ………………………………………………………ผูอ๎ นมุ ตั แิ ผน (นางปัทมาภรณ์ ศรีเนตร) ผอู๎ านวยการ กศน.อาเภอจตรุ พักตรพมิ าน

9 บันทกึ หลังการจดั การเรยี นรู้ กศน.ตาบลนา้ ใส คร้งั ที่ 1 วนั ท่ี 17 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2565 ครูผูส๎ อน นายประมวล เจรญิ สขุ ระดบั ประถมศึกษา เวลา 09.00- 12.00 น. เขา๎ เรียน…………………คน ไมํเขา๎ เรียน……………………….คน 1. ผลการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้การประเมนิ โดยใช๎ แบบทดสอบกํอนเรียน - หลังเรียน พบวํา คะแนนการทดสอบหลงั เรียน มากกวาํ กอํ นเรียนจานวน ........ คนคิดเป็นร๎อยละ............ คะแนนการทดสอบหลงั เรยี น นอ๎ ยกวํากํอนเรยี นจานวน ......... คนคดิ เปน็ รอ๎ ยละ............ 2. เนอ้ื หา/สาระ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ 3. กจิ กรรมการเรียนการสอน ............................................................................................................................. ................................... ......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................... 4. ปัญหา/อปุ สรรค การเรยี นการสอน ............................................................................................................................. ................................... .................................................................................... ............................................................................ ............................................................................................................................. ................................... 5. แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................. ................................... ........................................................................................... ..................................................................... ............................................................................................................................. ................................... ลงชอ่ื .....................................................ครผู สู๎ อน (นายประมวล เจรญิ สขุ ) วันที.่ ............../.................../............... ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะของผบู้ ริหาร ............................................................................................................................. ............................................................ ....................................................................................................................................................................................... .. .............................................................................................................. ......................................... ลงชือ่ .................................................................. (นางปทั มาภรณ์ ศรีเนตร) ผอ๎ู านวยการ กศน.อาเภอจตุรพักตรพิมาน

10 แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาทักษะการเรยี นรู้ คร้ังที่ 1 การจัดทาหน่วยเรยี นรู้บูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565 ระดบั ประถมศึกษา กศน.ตาบลน้าใส 1. สัปดาห์ท่ี 1 วนั ที่ 17 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ.2565 เวลา 09.00 - 12.00 น. 2. วชิ า ทักษะการเรยี นรู้ รหสั วิชา ทร11001 จานวน 5 หนวํ ยกิต 3. มาตรฐานท่ี 2. รู้จกั เห็นคุณค่า และใชแ้ หลง่ เรียนรู้ถูกตอ้ ง 4. หนว่ ยการเรยี นรู้/เร่ืองการใชแ้ หล่งเรยี นรู้ 5. สาระสาคัญ การเรยี นรูจากสง่ิ แวดลอมในชุมชนทม่ี อี งคความรูทเี่ รียกวาแหลงเรียนรูตางๆ ทาให ผูเรียนสามารถรูถงึ การส่งั สมความรู ประสบการณท่ีผานมาจากแหลงเรยี นรูประเภทตาง ๆ เรียนรูไดเทา ทันความเปล่ียนแปลงทเ่ี กิดขน้ึ เกดิ โลกทศั นกวางขวางมากยิ่งข้นึ กวาการเรยี นจากการพบกลุมในหอง หรอื การเรียนรูในรูปแบบอน่ื ๆ 6. เนอ้ื หา ๑.ความหมายความสาคัญของแหลํงเรียนรูโ๎ ดยทัว่ ไป ๒.การเข๎าถงึ และเลอื กใช๎แหลํงเรยี นร๎ู ๓.บทบาทหนา๎ ทีแ่ ละการบริการของแหลงํ เรยี นร๎ูดา๎ นตาํ งๆ ๔.กฏกติกาเงอื่ นไขตํางๆ ในการไปขอใชบ๎ รกิ ารแหลํงเรียนรู๎ ๕.ทักษะการใช๎ข๎อมูลสารสนเทศจากหอ๎ งสมุดทสี่ อดคล๎องกับความต๎องการ ความจาเป็นเพื่อนาไปใชใ๎ นการ เรยี นรข๎ู องตนเอง 7. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้/ผลการเรยี นรู้ที่คาดหวัง (ดูจากผงั การออกข๎อสอบ) 1. ผูเรียนสามารถบอกประเภทคุณลักษณะของแหลงเรียนรูและเลือกใชแหลงเรยี นรู ไดตามความเหมาะสม 2. ผูเรยี นเหน็ คณุ คาแหลงเรยี นรูประประเภทตาง ๆ 3. ผูเรียนสามารถสังเกต ทาตาม กฎ กตกิ า การใชแหลงเรียนรู๎ 8. การบูรณาการกับหลักแนวคดิ ของเศรษฐกิจพอเพียง (2 เงือ่ นไข 3หลกั การ การเช่ือมโยงสู่ 4 มติ ิ) ความรู้ 1. ความหมายของการใชแ๎ หลํงเรยี นร๎ู 2. ลาดับความคิดเร่ืองการใช๎แหลงํ เรยี นร๎ูผํานเครือขํายอินเทอรเ์ นต็ ด๎วยตนเอง คุณธรรม 1 .ความรับผดิ ชอบในการจดั กจิ กรรมการเรยี นร๎ู 2. ตรงตอํ เวลา 3. ความเพยี ร ความพยายาม 4. มคี วามสามคั คใี นการทางานกลํมุ พอประมาณ 1. กาหนดหน๎าท่ขี องคนในกลํุมใหเ๎ หมาะสมกับแตลํ ะคน 2. ความสามารรถในเข๎าถงึ แหลํงเรยี นรู๎ 3. ผเ๎ู รยี นสามารถเลอื กแหลํงเรยี นรู๎ทมี่ ีอยูใํ นทอ๎ งถ่ิน

11 มเี หตผุ ล 1. นกั ศกึ ษาสามารถอธิบายความหมายของการใชแ๎ หลงํ เรียนร๎ู 2. นักศึกษามีทักษะในการค๎นควา๎ ความร๎ูผาํ นเครือขํายได๎ดว๎ ยตนเอง 3. นักศกึ ษามีความตระหนกั และเหน็ คุณคําของแหลงํ เรียนรู๎ มีภมู ิคุ้มกนั 1. ผเู๎ รยี นสามารถวางแผนการทางานกลมํุ ได๎ 2. ผเ๎ู รียนสามารถบนั ทึกผลการเรยี นรูต๎ ามใบงานกลํุมได๎ 3. ทาความเขา๎ ใจกับกจิ กรรมการเรียนรทู๎ คี่ รูกาหนด วัตถุ - มที กั ษะในการใช๎สือ่ วัสดุ อุปกรณ๑ในหอ๎ งสมุด เหน็ ความสาคญั ของการใช๎สือ่ วัสดุ อุปกรณ๑ ใน ห๎องสมดุ อยํางคุ๎มคํา สังคม - มีความรู๎ในการแบํงงานในกลุํมตามความถนดั ทางานรวํ มกบั ผอ๎ู น่ื ได๎ - มีความรบั ผดิ ชอบในการทางานยอมรับความคิดเหน็ ของเพอื่ นในกลํุม ส่งิ แวดล้อม - จติ สานกึ และร๎ูวธิ ีใช๎แหลงํ เรียนร๎ู วฒั นธรรม - บอกภมู ิปัญญาทเี่ รยี นรใ๎ู นแหลงํ เรยี นรู๎ และตระหนักถงึ ข๎อมลู ในท๎องถน่ิ 9. กระบวนการจดั การเรียนรแู้ ละกิจกรรมการเรียนรู้ ข้ันท่ี 1 กาหนดสภาพปญั หาการเรียนรู้ (O : Orientation) 1.ครูและผ๎ูเรียนพูดคุย / ซกั ถามความเป็นอยปํู จั จบุ ัน 2.ทบทวน / ตดิ ตามผลการเรียนร๎ดู ว๎ ยตนเอง 3.ทบทวน / ติดตามการศึกษาค๎นคว๎าในสปั ดาห์ทผี่ ํานมา ข้ันที่ ๒ แสวงหาขอ้ มลู และจัดการเรียนรู้ (N : New ways of learning) 1. ให๎นักศึกษาทาแบบทดสอบกอํ นเรียนด๎วย เพื่อทดสอบความร๎เู บื้องตน๎ 2. ให๎นักศึกษาศกึ ษาเรื่องการใชแ๎ หลงํ เรียนรู๎ จากหนงั สือเรียนสาระความร๎ูพ้ืนฐาน รายวชิ าทักษะ การเรยี นร๎ูระดับประถมศึกษา รหัส ทร11001 3. ครูใชส๎ ื่อ You Tube เรือ่ ง แหลํงเรยี นร๎พู อเพยี ง เพ่อื อธิบายความรูเ๎ พ่มิ เตมิ ให๎นักศึกษา ผํานเว็บ https://www.youtube.com/watch?v=MZqZrAs-cqY ขั้นท่ี 3 การปฏิบตั แิ ละการนาไปใช้ (I : Implementation) ครูให๎นักศึกษาระดมความคดิ จากการศึกษาแหลํงเรียนร๎หู ๎องสมุด แหลํงเรยี นร๎ูในท๎องถิน่

12 ข้ันท่ี 4 การประเมนิ ผลการเรียนรู้ (E : Evaluation) 1. ให๎นักศึกษาออกมาหนา๎ ชั้นเรยี น เพ่ือนาเสนอการถอดบทเรียนแหลงํ เรียนรูท๎ ่ีได๎ศึกษามา ให๎สอดคล๎องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง จากน้ันครใู หค๎ ะแนน 2. แบบทดสอบ 3. ใบงาน 10. สือ่ /แหล่งเรียนรู้ 1. หนังสอื เรยี นสาระความรู๎พ้ืนฐาน รายวชิ าทักษะการเรยี นร๎ู ระดบั ประถมศึกษา รหัส ทร11001 2. แหลงํ เรยี นร๎ูในท๎องถนิ่ ห๎องสมุดประชาชน 3. แหลงํ เรียนรู๎ภมู ิปัญญาในท๎องถ่ิน 4. ใบความร๎ู 11. การวดั และประเมนิ ผล 1. วธิ กี ารวัดและประเมนิ ผล - แบบประเมนิ ผลการสงั เกตพฤติกรรมการทางานรํวมกับผอู๎ น่ื ของนกั ศึกษารายบคุ คล - ใบงาน - แบบทดสอบกํอนเรียน-หลงั เรียน 2. เคร่อื งมือวัดและประเมินผล. - ประเมนิ ผลการสงั เกตพฤติกรรมการทางานรวํ มกับผูอ๎ ืน่ ของนกั ศึกษารายบุคคล - ผลจากการตรวจใบงาน - คะแนนแบบทดสอบกอํ นเรียนและหลงั เรียน 3. เกณฑก์ ารวดั และการประเมนิ ผล - แบบประเมนิ ผลการสงั เกตพฤติกรรมการทางานรวํ มกบั ผอู๎ ่นื ของนกั ศึกษารายบุคคล ระดบั ดี พอใช๎ และควรปรับปรงุ - ใบงานคะแนนเต็ม 10 คะแนน - แบบทดสอบกํอนเรียน-หลังเรียน เกณฑผ์ ํานและไมผํ าํ น กิจกรรมเสนอแนะ ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ลงช่ือ…………………………………………….ครูผส๎ู อน (นายประมวล เจรญิ สขุ ) ครู กศน.ตาบล ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร ........................................................................................................................ ................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................ ลงช่ือ………………………………………………………ผ๎ูอนุมตั ิแผน (นางปทั มาภรณ์ ศรีเนตร) ผอู๎ านวยการ กศน.อาเภอจตรุ พกั ตรพมิ าน

13 บันทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้ การจัดทาหน่วยเรยี นรบู้ รู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ครง้ั ท่ี 1 วันที่ 17 เดือน พฤษภาคม พ.ศ.2565 ครูผ๎สู อน นายประมวล เจริญสุข ระดับ ประถมศึกษา เวลา 09.00-12.00 น. สาระทักษะการเรียนรู๎ รายวชิ าทกั ษะการเรยี นร๎ู รหัสวชิ า ทร11001 จานวนผ๎เู รยี นทั้งหมด ............... คนเข๎าเรียน…………………คน ไมํเข๎าเรียน……………………….คน 1. ผลการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้การประเมนิ โดยใช๎ แบบทดสอบกํอนเรยี น - หลงั เรียน พบวาํ คะแนนการทดสอบหลังเรยี น มากกวํากอํ นเรียนจานวน ........ คนคดิ เปน็ ร๎อยละ............ คะแนนการทดสอบหลังเรยี น นอ๎ ยกวํากํอนเรียนจานวน ......... คนคดิ เปน็ ร๎อยละ............ 2. เนือ้ หา/สาระ ......................................................................................................................................................... ....... ........................................................................................................................... ..................................... ............................................................................................................................. ................................... 3. กจิ กรรมการเรียนการสอน ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. .......... 4. ปัญหา/อุปสรรค การเรยี นการสอน ............................................................................................................................. ................................... .................................................................................... ............................................................................ ............................................................................................................................. ................................... 5. แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................. ................................... ........................................................................................... ..................................................................... ............................................................................................................................. ................................... ลงชอื่ ....................................................... (นายประมวล เจริญสุข) ครผู ๎ูสอน วันท่.ี ............../.................../............... ความคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะของผบู้ ริหาร ............................................................................................................................. ............................................................ ................................................................................................................................... ...................................................... ....................................................................................................................................................... ลงช่ือ.................................................................. (นางปัทมาภรณ์ ศรีเนตร) ผูอ๎ านวยการ กศน.อาเภอจตุรพกั ตรพิมาน วันท.่ี ............../.................../...............

14 แบบทดสอบ เรือ่ ง การใชแหลงเรียนรู ระดบั ประถมศกึ ษา 1. แหลงเรียนรูมคี วามสาคญั ตอผูเรียนในขอใดมากที่สดุ ก. การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ข. ชวยสรางเสรมิ ประสบการณภาคปฏบิ ุติ ค. แหลงสรางเสริมความรู ความคดิ วิทยาการ ง. เปนแหลงปลกู ฝงนิสัยรกั การอาน การศึกษาคนควาแสวงหาความรูดวยตนเอง 2. ขอใดใหความหมายของ \"แหลงเรยี นรู ไดสมบรู ณทส่ี ุด ก. เปนแหลงความรูทางวชิ าการ ข. เปนแหลงสารสนเทศใหความรูอยางกวางขวาง ค. เปนแหลงรวมภูมปิ ญญาชาวบานใหศกึ ษาคนควา ง. เปนแหลงขอมลู ขาวสารและประสบการณที่สงเสริมใหผูเรียนแสวงหาความรูดวยตนเอง ตามอัธยาศยั อยางตอเนื่อง 3. ขอใดเปนแหลงเรียนรูกลุมขอมลู ทองถ่ิน ก. สถานประกอบการ ขอใดเปนแหลงเรยี นรูกลมุ ขอมูลทองถ่ิน ข. ภมู ิปญญาชาวบานและปราชญชาวบาน ค. แหลงเรยี นรูในโรงเรียนและหอกระจายขาว ง. แหลงเรยี นรูในโรงเรียนและแหลงเรยี นรูในทองถิ่น 4. ขอใดคือการแสวงหาความรูดวยตนเองจากแหลงเรยี นรูในทองถ่นิ ก. เรยี นทาอาหารไทยจาก ข. ไปที่หองคอมพิวเตอรเพ่ือสบื คนขอมูลมาทารายงาน โรงเรียนสอนอาหารไทย ค. อานหนังสอื คูมือฟสกิ สท่ีศูนยวทิ ยาศาสตร ง. ไปศกึ ษาคนควาเรื่องประโยชนของพชื สมนุ ไพรทสี่ วนสมุนไพร 5. ขอใด คอื แหลงเรยี นรูในชุมชนทม่ี ที รัพยากรสารสนเทศหลากหลายมากที่สุด ก. หองสมุดประชาชน ข. ศนู ยนนั ทนาการ ค. สวนพฤษศาสตร ง. อทุ ยานวิทยาศาสตร์ 6. ถาจะศึกษาคนควาเรอ่ื งความเปนมาของประวัติเขาพระวหิ าร ควรจะศกึ ษาจากแหลงใดท่มี ขี อมูล มากที่สดุ ก. อุทยานประวตั ศิ าสตร ข. พิพธิ ภณั ฑแหงชาติ ค. อนิ เทอรเน็ต ง. เขาพระวหิ าร

15 7. จานง ตองการปลกู ขาวใหไดผลดีมากท่ีสดุ จานงควรเรยี นรูจากแหลงใดมากที่สดุ ก. ภูมปิ ญญา ข. หอกระจายขาว ค. สวนสมนุ ไพร ง. สวนสาธารณะ 8. ขอใดเปนแหลงเรยี นรูกลุมศลิ ปวฒั นธรรม ก. ศาสนสถาน ข. อนุสาวรยี ค. หอศลิ ป ง. ถูกทุกขอ 9. วัตถปุ ระสงคของการจดั แหลงเรียนรูในทองถิน่ คือขอใด ก. เปนขอมลู เพือ่ การพฒั นาประเทศชาติ ข. เปนแหลงคนควาสนับสนุนการเรียนการสอน ค. เพอ่ื เปนการพฒั นาชุมชนใหเจรญิ กาวหนาทันเทคโนโลยี ง. เปนแหลงการศกึ ษาตลอดชีวติ ทป่ี ระชาชนสามารถหาความรูตางๆ ไดดวยตนเอง 10. ขอใดควรปฏบิ ัติในหองสมุดประชาชน ก. ติวเขมเพ่ือเตรยี มตัวสอบ ข. เตรียมอาหารและเคร่ืองด่ืมไปเอง ค. ตองยืมหนงั สือดวยบตั รสมาชิกของตนเอง ง. ทุกครั้งทห่ี ยบิ หนงั สือมาอานใหนาไปเก็บทชี่ ้นั หนงั สอื ดวย เฉลย 1. ง 2. ง 3. ข 4. ง 5. ก 6. ค 7. ก 8. ง 9. ง 10. ค

16 ใบความรู้ การใชแหลงเรียนรู ความหมายของแหล่งเรียนรู้ แหลํงเรยี นรู๎ หมายถึง แหลํงขอ๎ มลู ขาํ วสาร สารสนเทศ และประสบการณ์ ทีส่ นับสนุนสงํ เสริมใหผ๎ เ๎ู รียนใฝุ เรยี น ใฝุรู๎ แสวงหาความร๎แู ละเรยี นร๎ูดว๎ ยตนเองตามอธั ยาศัย อยํางกว๎างขวางและตํอเน่ือง เพ่ือเสริมสร๎างใหผ๎ เู๎ รียนเกิด กระบวนการเรยี นรู๎ และเป็นบุคคลแหํงการเรยี นรู๎ ความสาคญั ของแหล่งเรียนรู้ 1. แหลงํ การศึกษาตามอธั ยาศัย 2. แหลํงการเรยี นรตู๎ ลอดชวี ติ 3. แหลํงปลูกฝงั นิสัยรักการอาํ น การศึกษาค๎นคว๎า แสวงหาความรด๎ู ๎วยตนเอง 4. แหลงํ สร๎างเสริมประสบการณภ์ าคปฏบิ ัติ 5. แหลงํ สรา๎ งเสรมิ ความร๎ู ความคิด วิทยาการและประสบการณ์ ประเภทของแหลง่ เรยี นรู้ แหลงํ เรียนร๎ู จาแนกตามลกั ษณะทต่ี ัง้ ได๎ ดงั น้ี 1. แหลงํ เรียนร๎ใู นโรงเรยี น 2. แหลํงเรียนรใ๎ู นท๎องถน่ิ วตั ถปุ ระสงค์ของการจัดแหล่งเรียนร้ใู นโรงเรียน 1. เพื่อพฒั นาโรงเรยี นให๎เปน็ สงั คมแหํงการเรยี นร๎ู มแี หลงํ ข๎อมลู ขําวสาร ความร๎ู วทิ ยาการ และสรา๎ งเสรมิ ประสบการณ์ ท กว๎างขวางหลากหลาย 2. เพื่อเสรมิ สรา๎ งบรรยากาศการเรยี นรใ๎ู นโรงเรียน โดยเน๎นผ๎เู รียนเปน็ สาคญั 3. เพ่ือจัดระบบและพฒั นาเครือขํายสารสนเทศ และแหลงํ การเรยี นรใู๎ นโรงเรียน 4. เพ่ือสงํ เสริมใหผ๎ ๎เู รียนมที กั ษะการเรียนร๎ู เปน็ ผ๎ูใฝุร๎ู ใฝเุ รียน และเรียนรู๎ดว๎ ยตนเองอยํางตํอเนือ่ ง การนาแหลงํ เรียนร๎ูและภูมิปัญญาท๎องถน่ิ มาใชใ๎ นการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน มแี นวทางดังน้ี 1. ศกึ ษาหลักสตู ร และสาระการเรียนร๎ู 2. จดั ทาข๎อมูลสารสนเทศแหลํงเรยี นรู๎ ภมู ิปัญญาท๎องถน่ิ 3. จดั ทาแผนการเรยี นรู๎ กระบวนการเรยี นร๎ูให๎สอดคล๎องกับจุดประสงค์ 4. ขอความรวํ มมือกับชุมชนและตัววทิ ยากรท๎องถ่นิ 5. เชิญวิทยากรทอ๎ งถ่ินมาถาํ ยทอดความรู๎ หรือนานกั เรยี นไปยังแหลํงเรียนรู๎ 6. ทาการวัด ประเมินผล

17 7. รายงานผล สรปุ ผลให๎ผ๎ูที่เกีย่ วขอ๎ งไดท๎ ราบ ข๎อดีในการนาแหลํงเรยี นร๎ู และภูมิปญั ญาทอ๎ งถน่ิ มาใช๎ในกระบวนการเรยี นการสอน 1. ผู๎เรยี นได๎เรยี นร๎จู ากของจรงิ ทาให๎เกิดประสบการณ์ตรง 2. ผเ๎ู รียนเกิดความสนกุ สนาน 3. ผเ๎ู รียนมเี จตคติท่ีดตี ํอชุมชน และกระบวนการเรยี นร๎ู 4. ผเ๎ู รียนเห็นคุณคําของแหลํงเรียนร๎ู ภมู ิปัญญาทอ๎ งถน่ิ 5. ผเ๎ู รยี นเกดิ ความรักทอ๎ งถ่ินและเกดิ ความรใู๎ นการอนุรักษ์ส่งิ ท่มี ีคุณคําในท๎องถ่ิน ความหมายประเภทของแหล่งการเรยี นรู้ 1.1 ความหมายของแหล่งการเรียนรู้ แหลํงการเรยี นร๎ู หมายถงึ แหลํงขาํ วสารข๎อมลู สารสนเทศ แหลํงความรท๎ู างวทิ ยาการ และประสบการณ์ทีส่ นับสนนุ สํงเสริมใหผ๎ เู๎ รยี น ใฝุเรียน ใฝรุ ๎ู แสวงหาความรู๎และเรยี นรู๎ด๎วยตนเอง ตามอธั ยาศัยอยาํ งกว๎างขวางและตํอเน่ืองจากแหลํงตาํ ง ๆ เพ่อื เสริมสรา๎ งให๎ผเ๎ู รยี นเกดิ กระบวนการเรียนร๎ู และเปน็ บคุ คลแหํงการเรียนรู๎ (กรมสามญั ศกึ ษา, 2544, หนา๎ 6) 1.2 ความหมายประเภทของแหลง่ การเรียนรู้ ในการแบงํ ประเภทของแหลํงการเรียนรน๎ู ้นั พระพทุ ธทาสภกิ ขุ (อา๎ งใน สมุ น อมรววิ ฒั น์ 2548: ออนไลน์) ได๎แสดง ธรรมเร่อื ง “โรงเรียนที่ทาํ นยงั ไมํรจู๎ ัก”มีความตอนหนงึ่ วํา โรงเรียนมีอยูํทัว่ ทุกหนทุกแหํง ตาหตู าตาของทาํ นทัง้ หลาย แตํทาํ นก็ไมรํ ูจ๎ ัก การเรยี นรูจ๎ ากธรรมชาติชวํ ยให๎ผเู๎ รยี นเข๎าใจความเปน็ จรงิ ของชวี ิต ที่มีการเปลย่ี นแปลง มกี ารตํอส๎ดู ิน้ รน มปี ญั หา มีสุนทรียภาพ มีคุณคํา ทั้งความจรงิ ความงามและความดี ในทางตรงกนั ข๎าม ธรรมชาติก็มที งั้ ความเสือ่ ม สลาย และความโหดรา๎ ย ทาลายล๎าง มนุษย์จึงจาเปน็ ต๎องเรียนร๎ู และอยรํู วํ มกับธรรมชาติ ด๎วยการอนรุ ักษ์ และ ยอมรบั คุณคําของธรรมชาติ ปรบั ตนเองได๎ในความเปล่ียนแปลง และทาอยาํ งไรจึงจะให๎เด็กรู๎ ดว๎ ยตนเองมากขน้ึ นน่ั คือ ต๎องสร๎างแหลงํ การเรยี นรู๎ใหเ๎ ขา ตอ๎ งสอนให๎เขาร๎ูจักใช๎แหลํงการเรยี นรู๎ แหลงํ การเรียนรแู๎ บํงได๎2 ประเภทดังนี้ 1) แหลงํ การเรียนรูใ๎ นโรงเรยี น 2) แหลงํ การเรียนร๎ูนอกโรงเรียน หรอื อาจแบ่งแหลง่ การเรยี นรู้ท่ีอย่รู อบตัวผเู้ รยี น (ศิรกิ าญจน์ โกสมุ ภ์ และดารณี คาวจั นงั , 2545, หน๎า 33) เทคโนโลยี ได๎แกํ - คอมพิวเตอร์ - อีเมล์ (e-mail) - อนิ เทอรเ์ น็ต - สิ่งแวดล้อม ได๎แกํ - แหลํงน้า เชนํ แมํนา้ ลาคลอง หว๎ ย หนอง บึง วนอทุ ยาน ภูเขา เชนํ ถ้าหนิ งอก หินย๎อย - สวนพฤกษศาสตร์ เชํน สวนสมนุ ไพร สวนปุาธรรมชาติ สวนพฤกษศาสตรใ์ น โรงเรียน สวนสาธารณะ - สถานที่ ได๎แกํ - สถานทส่ี าคัญทางศาสนา เชนํ วดั โบสถ์ มัสยิด สเุ หรํา

18 - ปชู ณียสถาน โบราณสถาน - โรงเรียน - โรงพยาบาล - ไปรษณีย์ - สถานตี ารวจ - พพิ ธิ ภัณฑ์ - ห๎องสมดุ เชํน ห๎องสมุดโรงเรยี น ห๎องสมุดในชุมชน - ส่ือสารมวลชน ได๎แกํ - หนังสือพมิ พ์ -โทรทศั น์ ETV - วทิ ยุ สารสนเทศ - บคุ ลากร ได๎แกํ - เพือ่ น เชนํ เพื่อนในหอ๎ งเรยี น เพอื่ นในชมุ ชน - ครู เชนํ ครูใหญํ ผูอ๎ านวยการ ครูวชิ าตําง ๆ - ผู๎นาชุมชน เชํน ผู๎นาศาสนา - แพทย์ - องค์การบริหารสํวนตาบล (อบต.) - ตารวจ - ภมู ิปญั ญาชาวบา๎ น เชํน ดนตรี กํอสร๎าง ยารักษาโรค การนวดแผนโบราณ ความสาคญั ของแหล่งการเรยี นรู้ การเพิ่มศกั ยภาพของผเู๎ รยี นให๎สูงข้นึ สามารถดารงชีวติ อยํางมคี วามสุขได๎บนพืน้ ฐานของความเปน็ ไทย และ ความเป็นสากลเป็นการเรยี นรค๎ู ขํู นานระหวํางความรสู๎ ากลกับความรู๎ท๎องถ่นิ เพราะทอ๎ งถิ่นเปน็ ระบบความร๎ูท่ีมี การพัฒนาอยาํ งตํอเนื่อง โดยผํานมติ สิ มั พันธ์การส่งั สมและถาํ ยทอดผาํ นรุนํ สรํู นํุ สํวนใหญํเป็นชิน้ งาน เครื่องดนตรี เครือ่ งใช๎ ผ๎าไหม ผา๎ ฝาู ย การละเลนํ ของเลํน และความรท๎ู ่ีอยูใํ นตัวของบคุ คลทเี่ ปน็ ข๎อควรปฏบิ ัติ บทสวด ภาษา เขียน นิทาน คากลอน บทเพลง ตารายาของปราชญ์ชาวบ๎าน ซ่ึงส่งิ เหลําน้มี ี ความเชือ่ มโยงกบั ธรรมชาติ และ เทคโนโลยพี ื้นบา๎ น สอดคล๎องกับสงั คมการดารงชวี ติ ของผู๎เรียน ถือวาํ เป็นการเรียนรแ๎ู บบคูํขนานระหวาํ งความรู๎ ทอ๎ งถ่นิ สูํสากล 2.1 เจเดด (Jedede 1995: 97-137) ไดเ๎ สนอวาํ รูปแบบของการเรยี นรู๎คขํู นาน ระหวาํ งความร๎ูสากล แหลงํ การเรียนรแ๎ู ละภมู ปิ ัญญา สํงผลตอํ การพฒั นากระบวนการเรียนร๎ทู ่ีมีความจาระยะยาวของผเู๎ รยี น ทาใหส๎ นใจ ใฝุ ร๎ู รักการเรยี นร๎ู แสวงหาความรู๎ และสามารถนาความรู๎ท๎องถน่ิ ไปปรับประยุกตส์ ํสู ากล 2.2 ซนิ เวล่ีและคอรซ์ งิ เลีย (Sinvely และCorsinglia 2001d:a6-34) กลาํ วถงึ กระบวนการ ผสมผสานความรูท๎ ๎องถ่ินเขา๎ กับความรส๎ู ากลในการจดั การเรียนการสอน โดยยึดแหลงํ การเรยี นรใ๎ู นท๎องถน่ิ เปน็ แกน หลกั เสริมการเรยี นรูท๎ าให๎เกดิ การยอมรบั พดู คุยและรับฟงั ความเหมือนความตํางระหวาํ งวฒั นธรรม โครงสรา๎ ง รปู แบบการคิดโดยที่วัฒนธรรมเดิมไมจํ าเป็นต๎องเปล่ียนโครงสรา๎ งตวั เองทั้งหมด กํอนที่จะรบั วัฒนธรรมใหมเํ ขา๎ ไป 2.3 แอพเพิล (Apple 1990: 50-67) การนาวทิ ยาการพน้ื บ๎านมาใชใ๎ นการเรยี น การสอนจะชวํ ยให๎ เกิดความเจรญิ งอกงามทางสติปญั ญา ผู๎เรยี นสามารถดารงชวี ิตอยํไู ดใ๎ นท๎องถ่นิ อยํางปกติสุข บนพื้นฐานของ กระบวนการเรยี นรตู๎ ามสภาพภมู ิศาสตร์ นิเวศวิทยา ความเช่ือ ปรัชญา วิถที ๎องถนิ่ และวิถแี หํงการดารงชวี ติ

19 2.4 กิง่ แก้ว อารีรักษ์ (2548:118) ใหค๎ วามสาคัญของการศึกษาโดยใชแ๎ หลํงเรยี นรู๎ ไวด๎ ังนี้ 1) กระต๎นุ ให๎เกิดการเรยี นร๎ูเรื่องใดเรอ่ื งหน่งึ โดยอาศยั การมีปฏสิ มั พันธก์ บั สอ่ื ที่หลากหลาย 2) ชํวยเสริมสร๎างการเรียนร๎ูใหล๎ ึกซ้ึงข้นึ โดยใช๎เวลาในการรวบรวมขอ๎ มูลสะท๎อนความ คดิ เหน็ จากแหลงํ การเรยี นร๎ู 3) กระตุ๎นมงํุ เนน๎ ลกึ ในเรื่องใดเร่ืองหนง่ึ ซ่งึ ผลักดนั ให๎ผ๎ูเรียนแสวงหาขอ๎ มลู ทเี่ กี่ยวขอ๎ งเพิ่ม มากขึน้ สามารถสรา๎ งผลผลติ ในการเรยี นรท๎ู ม่ี ีคุณภาพสูงข้ึน 4) เสริมสร๎างการเรยี นรู๎ จนเกิดทกั ษะการแสวงหาข๎อมลู ท่มี ีประสิทธิภาพ โดยอาศยั การ สร๎างความตระหนักเชงิ มโนทัศน์เกย่ี วกับธรรมชาตแิ ละความแตกตํางของข๎อมลู 5) แหลํงการเรียนร๎เู สรมิ สร๎างการพัฒนาการคดิ เชํน การแก๎ปัญหา การใหเ๎ หตผุ ล และการ ประเมนิ อยํางมีวจิ ารญาณ โดยอาศยั กระบวนการวจิ ัยอสิ ระ 6) เปลีย่ นเจตคตขิ องครแู ละผ๎เู รยี นทีม่ ีตํอเนื้อหารายวชิ า และผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น 7) พฒั นาทักษะการวิจยั และความเชือ่ มั่นในตนเองในการคน๎ หาขอ๎ มูล 8) เพม่ิ ผลสัมฤทธดิ์ ๎านวชิ าการ ในด๎านเน้อื หา เจตคติ และการคิดอยํางมีวิจารณญาณ โดย อาศยั แหลงํ การเรยี นรทู๎ ่หี ลากหลายในการเรียนรู๎ 2.5 นเรนทร์ คามา (2548 : ออนไลน)์ ได๎กลาํ ว ถึงความสาคญั ของแหลํงการเรียนรไู๎ ว๎ดังนี้ 1) เปน็ แหลํงทีร่ วบรวมขององค์ความรอู๎ ันหลากหลาย พร๎อมท่จี ะใหผ๎ ๎ูเรียนไดศ๎ กึ ษาคน๎ ควา๎ ดว๎ ยกระบวนการจัดการเรียนร๎ทู ี่แตกตาํ งกันของแตํละบุคคล และเปน็ การสํงเสรมิ การเรียนรู๎ตลอดชวี ิต 2) เป็นแหลํงเช่ือมโยงใหส๎ ถานศึกษาและท๎องถิน่ มีความใกล๎ชิดกัน ทาใหค๎ นในท๎องถิ่นมี สํวนรํวมในการจัดการศึกษาแกํบตุ รหลาน 3) เป็นแหลํงข๎อมลู ทที่ าให๎ผ๎ูเรยี นเกดิ การเรียนรู๎อยํางมีความสุข เกดิ ความสนุกสนานและมี ความสนใจที่จะเรียนร๎ูไมํเกิดความเบอื่ หนําย 4) ทาใหผ๎ ๎เู รียนเกดิ การเรียนร๎ูจากการที่ได๎คิดเอง ปฏิบตั เิ อง และสรา๎ งความรู๎ ดว๎ ยตนเอง ขณะเดยี วกนั ก็สามารถเข๎ารวํ มกจิ กรรมและทางานรวํ มกับผู๎อ่ืนได๎ 5) ทาให๎ผูเ๎ รียนไดร๎ ับการปลกู ฝังใหร๎ แู๎ ละรักทอ๎ งถนิ่ ของตน มองเห็นคุณคําและตระหนักถึง ปัญหาในท๎องถ่ิน พรอ๎ มทีจ่ ะเป็นสมาชกิ ที่ดีของท๎องถนิ่ ท้ังปัจจุบันและอนาคต 2.6 ประเวศ วะสี (2536:1) กลําววาํ ท๎องถิ่นมแี หลงํ การเรยี นร๎ู และผรู๎ ู๎ดา๎ นตาํ งๆมากมาย มากกวาํ ที่ ครสู อนทํองหนงั สอื ถ๎าเปิดโรงเรียนสทูํ อ๎ งถ่ินให๎ผเ๎ู รยี นได๎เรียนร๎ูจากครใู นท๎องถน่ิ จะมีครูมากมายหลากหลายเป็นครูท่ีรู๎ จริงทาจรงิ จะทาใหก๎ ารเรยี นรไ๎ู ปสกูํ ารปฏิบตั ิจริง การเรยี นสนกุ ไมนํ าํ เบ่ือ ที่สาคัญเปน็ การปรบั ระบบที่มีคุณคํา เดมิ การศึกษามองข๎ามคุณคําเหลํานี้ เมอื่ ผ๎รู ใ๎ู นท๎องถนิ่ เหลาํ น้เี ป็นครูได๎ จะเปน็ การยกระดบั คุณคาํ ศักดศิ์ รแี ละความ ภาคภมู ิใจของท๎องถิน่ อยํางแรง เป็นการถักทอทางสงั คม แหลํงการเรียนรม๎ู ีบทบาทในการให๎การศึกษาแกํผ๎เู รยี น ทง้ั ใน ระบบและนอกระบบ(กรมสามัญศึกษา 2544 : 7) ดังนี้ 1) แหลํงการเรยี นร๎ูสามารถตอบสนองการเรยี นรู๎ทีเ่ ป็นกระบวนการ (Process Of Learning) การเรียนร๎โู ดยการปฏิบัติจรงิ (Learning By Doing) ทงั้ จากท๎องถิน่ ซึ่งเปน็ แหลงํ การเรยี นรูท๎ ต่ี นเองมีอยูํ แล๎ว 2) เป็นแหลงํ กิจกรรม แหลงํ ทัศนศกึ ษา แหลํงฝึกงาน และแหลํงประกอบอาชีพของผ๎เู รียน 3) เป็นแหลงํ สร๎างกระบวนการเรียนรใู๎ ห๎เกิดขึน้ โดยตรง 4) เปน็ ห๎องเรยี นธรรมชาติ เปน็ แหลํงคน๎ คว๎า วิจัย และฝึกอบรม 5) เปน็ องค์กรเปดิ ผู๎สนใจสามารถเขา๎ ถึงข๎อมลู ได๎อยํางเต็มท่ีและท่ัวถงึ

20 6) สามารถเผยแพรํข๎อมูลแกผํ ูเ๎ รียนในเชงิ รกุ เข๎าสํูกลํุมเปาู หมายอยํางทว่ั ถึงประหยัดและ สะดวก 7) มีการเชอ่ื มโยงและแลกเปลี่ยนขอ๎ มูลระหวํางกัน 8) มีสอ่ื ประเภทตาํ งๆ ประกอบดว๎ ย สอ่ื ส่ิงพมิ พ์ และสอื่ อเิ ลกทรอนิกส์ เพ่ือเสริมกจิ กรรม การเรียนการสอนและพัฒนาอาชีพ สรปุ ความสาคัญของแหลํงการเรียนรูไ๎ ด๎วํา แหลงํ การเรยี นรช๎ู วํ ยเช่ือมโยงเร่ืองราวในท๎องถน่ิ สูํการ เรยี นรูส๎ ากล พัฒนาคุณลักษณะและความคดิ ความเข๎าใจในคณุ คาํ และทัศนคติ คาํ นิยม ใฝุรู๎ ใฝเุ รียน รกั การเรยี นรู๎ มี ทกั ษะการแสวงหาความร๎ู สามารถจัดการความรู๎ ซง่ึ มีความสาคญั และมีความหมายอยํางมากสาหรบั ผเ๎ู รียน ดังนี้ 1) ผู๎เรยี นได๎เรยี นร๎ูจากสภาพชีวิตจริง สามารถนาความรทู๎ ่ีได๎ไปใช๎ในชีวติ ประจาวนั ได๎ ชํวยใหเ๎ กดิ การ พฒั นาคณุ ภาพชวี ิตของตน ครอบครวั ท๎องถิน่ 2) ผเ๎ู รยี นไดเ๎ รยี นในสิง่ ที่มคี ุณคาํ มีความหมายตอํ ชวี ติ ทาใหเ๎ หน็ คุณคํา เห็นความสาคญั ของสง่ิ ทีเ่ รยี น 3) ผ๎เู รยี นสามารถเช่อื มโยงความรู๎ทอ๎ งถนิ่ สูํความร๎ูสากลสิ่งที่อยํูใกลต๎ วั ไปสํูสงิ่ ทอ่ี ยํูไกลตวั ได๎อยํางเปน็ รูปธรรม 4) เหน็ ความสาคัญของการอนุรักษแ์ ละพฒั นาภูมปิ ญั ญาท๎องถน่ิ วัฒนธรรม ทรพั ยากร และส่งิ แวดล๎อม ในทอ๎ งถน่ิ ได๎อยํางตํอเนื่อง 5) มีสํวนรํวมในองค์กร ท๎องถิน่ บคุ คล และครอบครวั ในการพัฒนาท๎องถ่ิน 6) ไดเ๎ รียนรูจ๎ ากแหลํงการเรียนร๎ูทหี่ ลากหลาย ไดล๎ งมือปฏิบตั ิจรงิ สํงผลให๎ เกดิ ทกั ษะการแสวงหา ความรู๎ เป็นบคุ คลแหํงการเรยี นรู๎ ขอบข่ายของอนิ เทอรเ์ น็ต การค้นหาขอ้ มูลผา่ น Website การส่งจดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 3.1 ขอบข่ายของอินเทอร์เนต็ ในปัจจุบนั อนิ เทอรเ์ นต็ มบี ทบาทและมีความสาคญั ตํอชวี ิตประจาวันของคนเราเป็นอยาํ งมาก เพราะทา ใหว๎ ิถชี วี ิตเราทนั สมยั และทันเหตุการณ์อยเูํ สมอ เนอื่ งจากอนิ เทอร์เน็ตจะมีการเสนอข๎อมลู ขาํ วปัจจุบนั และส่ิงตําง ๆ ทีเ่ กิดขน้ึ ใหผ๎ ใู๎ ช๎ทราบเปลย่ี นแปลงไปทุกวนั สารสนเทศทเ่ี สนอในอินเทอรเ์ นต็ จะมมี ากมายหลายรูปแบบเพ่ือสนอง ความสนใจและความต๎องการของผ๎ูใชท๎ ุกกลมุํ อนิ เทอร์เน็ตจึงเป็นแหลงํ สารสนเทศสาคัญสาหรบั ทกุ คนเพราะสามารถ คน๎ หาส่งิ ที่ตนสนใจไดใ๎ นทนั ทีโดยไมํต๎องเสียเวลาเดินทางไปค๎นควา๎ ในห๎องสมุด หรอื แมแ๎ ตํการรบั รขู๎ าํ วสารทัว่ โลกก็ สามารถอาํ นได๎ในอนิ เทอร์เน็ตจากเว็บไซตต์ ําง ๆ ของหนังสอื พิมพ์ ดงั นัน้ อินเทอรเ์ น็ตจึงมคี วามสาคญั กับวถิ ชี วี ติ ของคนเราในปัจจบุ ันเปน็ อยาํ งมากในทุก ๆ ด๎าน ไมํวําจะ เปน็ บุคคลท่ีอยูํในวงการธุรกิจ การศกึ ษา ตาํ งก็ไดร๎ บั ประโยชน์จากอนิ เทอร์เน็ตดว๎ ยกนั ท้งั นั้น 3.1.1 ด้านการศกึ ษา อินเทอร์เน็ตมีความสาคัญ ดงั น้ี 1) สามารถใชเ๎ ป็นแหลํงค๎นคว๎าหาข๎อมลู ไมํวาํ จะเป็นข๎อมูลทางวิชาการ ขอ๎ มลู ด๎านการ บันเทงิ ด๎านการแพทย์ และอื่น ๆ ที่นําสนใจ 2) ระบบเครอื ขาํ ยอนิ เทอรเ์ น็ต จะทาหน๎าที่เปรยี บเสมอื นเป็นห๎องสมดุ ขนาดใหญํ 3) นักเรียนนักศึกษาสามารถใช๎อนิ เทอรเ์ นต็ ติดตํอกบั มหาวทิ ยาลัยหรอื โรงเรยี นอ่ืน ๆ เพ่ือ ค๎นหาขอ๎ มูลท่ีกาลงั ศกึ ษาอยํูได๎ ทง้ั ทข่ี ๎อมลู ท่เี ปน็ ข๎อความเสียง ภาพเคลอื่ นไหวตําง ๆ 3.1.2 ดา้ นธุรกิจและการพาณิชย์ อนิ เทอร์เนต็ มคี วามสาคัญดงั น้ี 1) ค๎นหาข๎อมูลตําง ๆ เพื่อชํวยในการตัดสินใจทางธุรกจิ 2) สามารถซ้ือขายสนิ คา๎ ทาธรุ กรรมผาํ นระบบเครอื ขาํ ย 3) เป็นชํองทางในการประชาสมั พนั ธ์ โฆษณาสนิ คา๎ ตดิ ตํอส่ือสารทางธรุ กิจ

21 4) ผูใ๎ ช๎ทีเ่ ป็นบริษทั หรือองค์กรตาํ ง ๆ ก็สามารถเปดิ ใหบ๎ รกิ าร และสนับสนุนลูกคา๎ ของตน ผาํ นระบบเครือขาํ ยอินเทอรเ์ น็ตได๎ เชนํ การใหค๎ าแนะนา สอบถามปัญหาตําง ๆ ใหแ๎ กํลูกค๎า แจกจํายตวั โปรแกรม ทดลองใช๎ (Shareware) โปรแกรมแจกฟรี (Freeware) 3.1.3 ดา้ นการบันเทงิ อนิ เทอรเ์ น็ตมีความสาคัญดังนี้ 1) การพักผํอนหยํอนใจ สันทนาการ เชนํ การค๎นหาวารสารตําง ๆ ผาํ นระบบเครือขาํ ย อินเทอรเ์ นต็ ที่เรียกวาํ Magazine Online รวมทัง้ หนงั สอื พมิ พ์และขาํ วสารอน่ื ๆ โดยมีภาพประกอบท่ี จอคอมพวิ เตอรเ์ หมือนกับวารสารตามร๎านหนังสอื ทวั่ ๆ ไป 2) สามารถฟังวทิ ยหุ รือดรู ายการโทรทศั นผ์ ํานระบบเครือขาํ ยอนิ เทอรเ์ น็ตได๎ 3) สามารถดงึ ข๎อมูล (Download) ภาพยนตรม์ าดูได๎ 3.2 การสืบค้นขอ้ มูลผา่ น Website Search Engineเป็นเคร่ืองมือหรอื โปรแกรมในการคน๎ หาเวบ็ ตํางๆ โดยมีการเกบ็ รายชอ่ื เวบ็ ไซต์และ ขอ๎ มูลท่ีเกีย่ วข๎องตาํ งๆ ของเว็บไซตแ์ ละนามาจดั เก็บไวใ๎ น server เพ่อื ใหส๎ ามารถค๎นหาและแสดงผลได๎สะดวก และ รวดเรว็ มากยิ่งขน้ึ ทงั้ น้ี บาง search engine อาจไมํได๎มีการเก็บข๎อมูลในserverของตัวเอง แตํอาจอาศัยข๎อมลู จาก เจ๎าของ server นนั้ ๆ เคร่ืองมือหรือโปรแกรมสาหรับการสืบคน๎ (Search Engine) มอี ยูํมากมายและมใี ห๎บริการอยํูตาม เวบ็ ไซต์ตาํ งๆ ท่ีใชบ๎ รกิ ารการสืบคน๎ ขอ๎ มูลโดยเฉพาะ การเลอื กใช๎นั้นขน้ึ กบั ประเภทของข๎อมูล สารสนเทศที่ต๎องการ สบื ค๎น Search Engine ตาํ งๆ จะใหข๎ ๎อมลู ที่มีความลึกในแงํมุมหรือศาสตรต์ ํางๆ ไมํเทาํ กัน ตัวอยาํ ง Search Engine ท่ีนยิ มใชม๎ ที ั้งเวบ็ ไซต์ทเี่ ป็นของตาํ งประเทศ และของไทยเอง เวบ็ ไซต์ Search Engine ยอดนิยม 3.2.1 Sanook http://www.sanook.com เป็นเวบ็ ไซต์ชอื่ ดังของไทยที่เปน็ แหลงํ คน๎ หาข๎อมูลของไทยท่ีมีข๎อมูลให๎ค๎นหามากมายท้งั ของไทยและทว่ั โลกซ่ึงมีท้งั แบบนามานุกรม และคาคน๎ ซ่ึงจะบอกทอ่ี ยูํของเวบ็ ไซต์และมคี าอธบิ ายเว็บที่หาอยํางเขา๎ ใจงําย และยงั สามารถสงํ เวบ็ ไซต์น้ีให๎เพ่ือนๆ ทางอีเมล์ด๎วย 3.2.2 Google www.google.com Google เปน็ เว็บไซต์ฐานข๎อมลู ที่ใหญมํ ากแหํงหนึ่งของโลก ในอดตี เป็นบริษทั ที่ดาเนนิ การดา๎ น ฐานขอ๎ มลู เพอ่ื ให๎บริการแกเํ ว็บไซต์คน๎ หาอื่นๆ ปจั จบุ ันไดเ๎ ปิดเวบ็ ไซตค์ น๎ หาเอง มีฐานข๎อมูลมากกวาํ สามพนั ลา๎ น เว็บไซตแ์ ละเพ่ิมข้นึ เรอื่ ยๆ ทกุ วนั จดุ เดํนที่เหนอื กวําผู๎ใหบ๎ ริการรายอื่นๆ คือเป็นเวบ็ ไซตค์ ๎นหาทส่ี นับสนนุ ภาษาตํางๆ มากกวํา 80 ภาษาท่วั โลก(รวมทง้ั ภาษาไทย) และมเี ครือ่ งเซริ ์ฟเวอร์ใหบ๎ ริการในสํวนตํางๆ ของโลกมากถึง 36 ประเทศ รวมทั้งในประเทศไทย ซ่ึงบริการค๎นหาของ Google จะแยกฐานข๎อมลู ออกเปน็ 4 หมวด และแตลํ ะหมวดมี การค๎นหาแบบพเิ ศษเพิม่ เติมด๎วย คอื - เวบ็ : เปน็ การคน๎ หาข๎อมูลจากเวบ็ ไซตต์ ํางๆ ท่วั โลก - รูปภาพ : เป็นการค๎นหารูปภาพหลากหลายฟอร์แมตจากเว็บไซต์ตาํ งๆ - กลุ่มขา่ ว : เปน็ การค๎นหาเร่ืองราวทีน่ ําสนใจจากกลํุมขําวตํางๆ - สารบนเวบ็ : การคน๎ หาขอ๎ มูลจากเวบ็ ไซตท์ ่ีแยกออกเปน็ หมวดหมํู

22 3.3 วิธกี ารสืบคน้ ขอ้ มลู ทางอนิ เทอรเ์ นต็ 3.3.1 การสืบค๎นขอ๎ มูลทางอินเทอรเ์ น็ต ดว๎ ยการใช๎ Search Engine Search Engine จะมหี นา๎ ทร่ี วบรวมรายชื่อเว็บไซต์ตํางๆ เอาไว๎ โดยจดั แยกเป็นหมวดหมูํ ผ๎ใู ชง๎ าน เพียงแตํทราบหวั ขอ๎ ท่ีต๎องการคน๎ หาแล๎วปูอน คาหรือข๎อความของหวั ขอ๎ นั้นๆ ลงไปในชอํ งทีก่ าหนด คลิกปมุ คน๎ หา เทํานั้น ขอ๎ มลู อยาํ งยํอ ๆ และรายช่อื เวบ็ ไซตท์ เ่ี ก่ียวข๎องจะปรากฏให๎เราเขา๎ ไปศึกษาเพม่ิ เติมได๎ทันที Search Engine แตํละแหํงมีวิธกี ารและการจดั เก็บฐานข๎อมูลทแ่ี ตกตํางกนั ไปตามประเภทของ Search Engine ทีแ่ ตํละเว็บไซต์ นามาใชเ๎ ก็บรวบรวมข๎อมูล ดังน้นั การท่จี ะเขา๎ ไปหาข๎อโดยวิธีการ Search นน้ั อยาํ งน๎อยเราจะตอ๎ งทราบวาํ เวบ็ ไซต์ท่ี จะเขา๎ ไปใชบ๎ รกิ าร ใช๎วิธกี ารหรือ ประเภทของ Search Engine อะไร เนื่องจากแตํละประเภทมีความละเอียดในการ จดั เก็บข๎อมูลตํางกันไป 1) การสบื คน้ แบบใชค้ ีย์เวริ ด์ ใชใ๎ นกรณที ่ีตอ๎ งการคน๎ ขอ๎ มูลโดยใช๎คาทม่ี ีความหมายตรงกบั ความ ต๎องการ โดยมากจะนิยมใช๎คาทมี่ คี วามหมายใกล๎เคยี งกบั เน้ือเรื่องทจ่ี ะสบื คน๎ ข๎อมลู มีวิธกี ารคน๎ หาไดด๎ ังนี้ 1.1) เปิดเวบ็ เพจ ท่ใี ห๎บริการในการสบื คน๎ ข๎อมูล ตัวอยาํ งเชนํ www.google.co.th เป็นเวบ็ ที่ใช๎สืบค๎นข๎อมูลของตํางประเทศ ข๎อดีคอื คน๎ หางําย เรว็ www.yahoo.com เป็นเว็บทใ่ี ชส๎ บื คน๎ ท่ีดีตวั หน่งึ ซ่ึงคน๎ หาข๎อมลู งําย และข๎อเดนํ คือภายใน เว็บของ www.yahoo.com เองจะมีฟรเี วบ็ ไซต์ ทีร่ ๎จู ักกนั ในนาม http://www.geocities.com ซง่ึ มีจานวนเว็บ มากมาย ให๎คน๎ หาข๎อมูลเองโดยเฉพาะ www.sanook.com เป็นเว็บของคนไทย www.siamguru.com เปน็ เว็บของคนไทย โดยพิมพช์ อํ งเวบ็ ทีช่ ํอง Address ดังตวั อยํางซ่ึงใช๎ www.google.co.th 1.2) ทช่ี ํอง คน๎ หา พมิ พข์ ๎อความตอ๎ งการจะคน๎ หา ในตวั อยาํ งจะพิมพ์คาวํา แหลํง ทอํ งเท่ียวเมอื งโคราช 1.3) คลิกปุม ค๎นหาดว๎ ย Google 1.4) จากนน้ั จะปรากฏรายชอื่ ของเวบ็ ที่มีข๎อมลู 1.5) คลิกเวบ็ ที่จะเรียกดูข๎อมูล 2) การสืบคน้ ขอ้ มูลภาพ ในกรณีทนี่ ักเรยี นตอ๎ งการท่จี ะค๎นหาข๎อมูลทเ่ี ป็นภาพ เพอ่ื นามาประกอบกบั รายงาน มวี ิธกี ารคน๎ หาไฟลภ์ าพได๎ดงั นี้ 2.1) เปิดเว็บ www.google.co.th 2.2) คลกิ ตัวเลอื ก รปู ภาพ 2.3) พิมพ์กลุํมชื่อภาพทต่ี ๎องการจะค๎นหา (ตัวอยาํ งทดลองหาภาพเกีย่ วกบั ปราสาทหินพิ มาย) 2.4) คลิกปุม ค๎นหา 2.5) ภาพทีคน๎ หาพบ 2. 6) การนาภาพมาใชง๎ าน ให๎คลิกเมาส์ดา๎ นขวาทีภ่ าพ > Save Picture as 2.7) กาหนดตาแหนงํ ทจี่ ะบนั ทึกที่ชํอง Save in 2.8) กาหนดชอื่ ทชี่ ํอง File Name 2.9) คลกิ ปมุ Save

23 3.4 การส่งจดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส์ จดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-Mail) คือ การสํงข๎อความหรือขําวสารจากบุคคลหนึ่งไปยงั บุคคลอนื่ ๆ ผําน ทางคอมพิวเตอรแ์ ละระบบเครอื ขํายเหมือนกับการสํงจดหมาย แตํอยํูในรูปแบบของสัญญาณข๎อมลู ที่เป็น อิเลก็ ทรอนกิ ส์ โดยเปลีย่ นการนาสงํ จดหมายจากบรุ ุษไปรษณยี ม์ าเป็นโปรแกรม และเปล่ียนจากการใช๎เสน๎ ทางจราจร คมนาคมท่วั ไปมาเป็นชํองสญั ญาณรปู แบบตํางๆ ท่ีเชอื่ มตํอระหวาํ งเครอื ขํายคอมพวิ เตอร์ ซง่ึ จะตรงเข๎ามาสูํ Mail Box ทถี่ ูกจดั สรรใน Server ของผู๎รบั ปลายทางทันที - เมื่อต๎องการสงํ E-Mail มสี วํ นประกอบสาคัญทีต่ อ๎ งให๎รายละเอยี ด คือ 1) To: ระบุ E-Mail Address ของผ๎ูรบั ปลายทาง 2) Subject: ใสหํ ัวเร่อื งยํอๆของเนือ้ หา 3) CC (Carbon Copy): เป็นการระบุ E-Mail Address ของผู๎ทเ่ี ราต๎องการให๎ไดร๎ บั สาเนาของจดหมาย ฉบับนด้ี ๎วย 4) BCC (Blind Carbon Copy): เชํนเดียวกบั CC แตทํ าให๎ผู๎รับไมทํ ราบวําเราต๎องการ สํงใคร 5) Attachment: เราสามารถแนบไฟลไ์ ปกับการสงํ E-Mail ด๎วยก็ได๎ 6) Body: เป็นเน้อื หาข๎อความของจดหมาย การส่ง E- Mail ขน้ั ท่ี 1 นา Mouse ไป Click ท่ี Compose ขนั้ ที่ 2 หลังจากเลือก Compose แลว๎ หลังจากนนั้ มวี ธิ ีการ ดงั นี้ - หลังคาวาํ To: ใหใ๎ สํชือ่ E-Mail ของคนท่เี ราต๎องการจะสํง Mail ไปหา หากต๎องการสํงไปใหห๎ ลายคน ใหใ๎ ช๎เครอ่ื งหมาย Comma (,) คัน่ ระหวําง E-Mail address ของแตํละคน - หลงั คาวาํ Subject: ใหใ๎ สชํ ื่อเรือ่ งของ E-Mail ของเรา หรืออาจจะไมํใสํก็ได๎ - ในชํอง CC: เปน็ การทาสาเนา (Carbon Copy ) ของ Mail ไปถึงผ๎ูรบั โดยการใสํช่ือ E-Mail ของคนท่ี เราต๎องการสงํ Mail ไปให๎ (เพ่ิมเตมิ จากใน To: ) - ในชอํ ง Bcc: เป็นการทาสาเนาแบบ Blind Carbon Copy ใชใ๎ นกรณีที่ต๎องการสํง E-Mail ถึงบุคคลอื่น โดยบคุ คลทีเ่ ราสงํ E-Mail ไปให๎ใน To: และ CC: จะไมทํ ราบวาํ เราสํงไปให๎บุคคลน้ดี ว๎ ย - ในกลํองใหญํในสํวนลําง จะเป็นพนื้ ทใ่ี นการเขียนขอ๎ ความทเี่ ราตอ๎ งการที่จะสงํ - เมือ่ เขียนข๎อความเสรจ็ แลว๎ ใหน๎ า Mouse ไป Click ที่ปุม “Send” การสง่ File ขอ้ มูลใดๆ ไปกับ E-Mail ในกรณีที่เราต๎องการสงํ File ใด ๆ ก็ตามแนบไปกบั E-mail ด๎วย มขี น้ั ตอนการสงํ ดังน้ี 1) นา Mouse ไป Click ทปี่ มุ ทม่ี ีคาวํา “Attachments” 2) เลอื ก File ทต่ี ๎องการจะสํง โดยกดปุมทม่ี ีคาวาํ “Browse” 3) เมอื่ เลอื ก File ท่ตี ๎องการสํงได๎แลว๎ กดปุมท่มี คี าวํา “Open” แลว๎ จะเหน็ วาํ ชอื่ File ทเี่ ราเลือกจะ ปรากฏอยใูํ นชํองวําง 4) ขัน้ ตอํ มากดปุมท่ีมีคาวาํ “Attachments” เพือ่ แนบ File ไปกับ E-mail 5) เห็นได๎วาํ ชื่อ File ทตี่ อ๎ งการจะสํงจะปรากฏบนชํองวําง ถา๎ เราเกดิ ลงั เลเปลยี่ นใจจะเปล่ยี นแปลง File ท่ีจะสงํ สามารถทาได๎โดยการนา Mouse ไป Click ท่ีปุม Remove ถา๎ ทกุ อยํางเรยี บรอ๎ ยแลว๎ ให๎ Click ท่ีปมุ Done (ในที่น้ีทาง Hotmail.com มีขดี ความสามารถในการสงํ File มขี นาดสงู ทสี่ ุดได๎ไมํเกิน 1 Mb เทาํ น้ัน)

24 6) ข้ันตอนสดุ ท๎ายคอื หลังจากทีเ่ รากด Done แลว๎ จะกลับมายงั หนา๎ จอเดิม การจะสงํ E-Mail ท่ีมกี าร แนบ File ใดๆ ไปดว๎ ยน้ัน กใ็ ห๎ทาตามวธิ กี ารสํง E-Mail ตามปกติ จะเห็นไดว๎ าํ ในสวํ นที่มีคาวาํ Attachments จะมชี อ่ื File ทเ่ี ราแนบไปดว๎ ย ขอ้ ดี และข้อจากัดของจดหมายอิเล็กทรอนกิ ส์ 4.1 ความหมายของไปรษณีย์อิเลก็ ทรอนิกส์ ( E-Mail) E-Mail หรือ Electronic Mail เปน็ ไปรษณยี ์อเิ ล็กทรอนิกส์ รับ-สํงเอกสารอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์โดยผาํ น ระบบเครือขํายคอมพวิ เตอร์ (Computer Network) ไปยงั ผร๎ู ับทอ่ี าจจะอยูํท่ีใดก็ได๎ในโลก การใช๎งานอเี มล์ทาใหเ๎ รา สามารถติดตํอกบั ผ๎ูคนทว่ั โลกไดท๎ นั ที โดยที่ เราสามารถรับและตอบจดหมายกลับได๎ภายใน เวลาไมํกน่ี าที ทาให๎ ผใ๎ู ชง๎ านมีความสะดวกรวด เรว็ ไมตํ ๎องเสียเวลารอคอยที่ยาวนานเหมือนกบั ไปรษณยี ์ทว่ั ไป การตดิ ตํอโดยใช๎ไปรษณยี ์ ธรรมดาตดิ ตํอภายในประเทศอาจใชเ๎ วลาประมาณ 1-3 วนั ถ๎าหากเป็นจดหมายท่สี งํ ไปยังตาํ งประเทศ (Air mail) อาจใช๎เวลานานเป็นสัปดาห์ e-Mail ชํวยประหยัดคําใชจ๎ ํายซง่ึ ถกู กวาํ การใช๎โทรศัพทห์ รือการสงํ จดหมายโดยวิธี ปกตทิ ใี่ ชก๎ ันหลายเทําตัวโดยทั่วไป คําใชจ๎ าํ ยในการสงํ e-Mail ไมํวาํ จะสํงจากแหงํ ใดในทกุ มมุ โลกก็ไมตํ าํ งกัน ไมํวํา จดหมายน้ันจะสน้ั หรอื ยาว จะสํงไปใกล๎หรือไกล E-Mail เปน็ ชํองทางสาหรับการสํงข๎อมลู ทไี่ ด๎รบั ความนิยมอยาํ งสงู รปู แบบการใช๎งานแตกตาํ งกันไป นกั เรยี น-นกั ศึกษา นิยมใชใ๎ นการตดิ ตํอสือ่ สาร ระหวํางกนั หรอื ติดตอํ สํงข๎อมลู ขอ๎ ความ ขอคาปรึกษาจากอาจารย์ ผ๎ูสอน องค์กรขนาดใหญๆํ ก็สามารถตดิ ตํอกับบุคลากร หรือทาธรุ กรรมผํานระบบเครือขํายอินเทอร์เน็ตและอเี มล์ เป็น ตน๎ 4.2 ข้อดีของ E-mail - ประหยัดเวลา - ประหยดั เงนิ - สามารถสํงในรูปแบบมลั ตมิ เี ดียได๎ - สามารถแนบไฟลท์ ่ีเป็นเอกสารสงํ ได๎ - สามารถสํงตํอขอ๎ มูลหรือท่ีเรยี กวาํ forward ได๎ 4.3 ขอ้ จากัดของ E-mail - ไมสํ ามารถเขา๎ ถงึ บุคคลไดท๎ ุกคน - ไมํได๎รับตน๎ ฉบับซึ่งควรคาํ แกกํ ารเกบ็ รักษา - อาจมีไวรัสมาพรอ๎ มกบั เอกสารท่สี งํ มา - ถ๎าเครือขํายลมํ ทาใหก๎ ารสํงหรือรับข๎อมูลล๎มเหลว - ถา๎ ข๎อมลู ใน mail box เต็มก็ไมํสามารถรบั ข๎อมลู อื่นได๎ - Angun.จดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์.

25 ใบงาน เร่อื งการใช้แหล่งเรยี นรู้ คาช้ีแจง จงตอบคาถามตอํ ไปนี้ 1. ใหน๎ กั ศึกษาอธบิ ายถงึ ความสาคัญของแหลงํ เรียนรู๎ ............................................................................................................................. ........................................ ..................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ........................................ ............................................................................................................................. ........................................ ..................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ........................................ ................................................................................................................................ ..................................... ............................................................................................. ................................................. ....................... ............................................................................................................................. ........................................ .............................................................................................................................................. ....................... ........................................................................................................... .......................................................... ............................................................................................................................. ........................................ 2. ใหน๎ ักศึกษาสารวจแหลํงเรียนรู๎ภายในชุมชน ตาบล และอาเภอ วํามีแหลงํ เรยี นรู๎อะไรบ๎าง พรอ๎ มท้งั จดั แบํง ประเภทตามลักษณะ 6 ประเภท ............................................................................................................................. ........................................ ............................................................................................................................. ........................................ ...................................................................................... ........................................................ ....................... ............................................................................................................................. ........................................ ....................................................................................................................................... .............................. .................................................................................................... ................................................................. ............................................................................................................................. ........................................ .............................................................................................................................................. ....................... .................................................................................................................. ................................................... ............................................................................................................................. ........................................ .............................................................................................................................................. ....................... ............................................................................................................................. ........................................ ............................................................................................................................. ........................................ ...................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................

26 แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาศิลปศึกษา ครั้งที่ 2 การจัดทาหนว่ ยเรยี นรบู้ ูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2565 กศน.ตาบลนา้ ใส ระดบั ประถมศึกษา 1. สปั ดาหท์ ่ี 2 วนั ท่ี 24 เดือน พฤษภาคม พ.ศ.2565 เวลา 09.00 - 12.00 น. 2. วชิ า ศิลปศึกษา รหสั วชิ า ทช11003 จานวน 2 หนวํ ยกิต 3. มาตรฐานท่ี 4.3 มีความรู๎ความเขา๎ ใจ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ช่นื ชม เห็นคณุ คําความงาม ความไพเราะ ธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ๎ ม ทางทัศนศลิ ป์ไทย ดนตรไี ทย นาฏศลิ ป์ไทย และวิเคราะห์ไดอ๎ ยาํ งเหมาะสม 4. หน่วยการเรียนรู้/เรอื่ งทศั นศิลปพ์ ้นื บา้ น 5. สาระสาคญั มีความรค๎ู วามเข๎าใจ มคี ุณธรรม จริยธรรม ชน่ื ชม เห็นคุณคําความงาม ความไพเราะ ธรรมชาติ สิง่ แวดลอ๎ ม ทางทศั นศลิ ป์ไทย ดนตรีไทย นาฏศลิ ปไ์ ทย และวิเคราะห์ไดอ๎ ยาํ งเหมาะสม 6. เนื้อหา 1. ทัศนศิลปพ์ นื้ บา๎ น 1.1 รปู แบบและวิธกี ารนาจดุ เส๎น สี แสง-เงา รปู รําง รูปทรง มา จนิ ตนาการ สร๎างสรรค์ ประกอบ ให๎เป็นงานทัศนศิลป์พืน้ บ๎าน 1.2 รปู แบบและววิ ฒั นาการของงานทศั นศิลป์พน้ื บา๎ นในด๎าน - จิตรกรรม - ประตมิ ากรรม - สถาปตั ยกรรม - ภาพพิมพ์ 7. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้/ผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวงั (ดจู ากผงั การออกข๎อสอบ) 1.1 มคี วามรู๎ ความเข๎าใจและอธิบายรปู แบบและวิธกี ารในการนา จดุ เสน๎ สี แสง-เงา รปู ราํ ง รปู ทรง มา จินตนาการสร๎างสรรค์ ประกอบให๎เปน็ งานทัศนศลิ ปพ์ ้ืนบา๎ นได๎ 1.2 มคี วามร๎ู ความเขา๎ ใจและอธบิ ายรปู แบบและววิ ัฒนาการในเรอ่ื งของงานทัศนศิลป์พื้นบ๎าน ตํางๆ ได๎ เชนํ - จติ รกรรม - ประตมิ ากรรม - สถาปัตยกรรม - ภาพพิมพ์ 8. การบรู ณาการกบั หลักแนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพียง (2 เง่ือนไข 3 หลกั การการเชื่อมโยงสู่ 4 มติ ิ) ความรู้ -รูปแบบทศั นธาตุ และองค๑ประกอบศิลป์ การออกแบบ ความเป็นเอกภาพ ความกลมกลนื ความสมดลุ -หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง คุณธรรม - มีความรบั ผดิ ชอบ ความมีสติ ความสามัคคี ประหยดั และตรงตํอเวลา

27 พอประมาณ - ผเู๎ รยี นไดเ๎ รยี นร๎ู เร่อื งการแบงํ เวลาใน การทากจิ กรรมตามท่ี ได๎รับมอบหมาย - เรียนรูก๎ ารใชว๎ สั ดุ อปุ กรณ๑และ งบประมาณที่มอี ยูํ อยาํ งประหยัดและ ค๎ุมคาํ - ผ๎เู รียนเรยี นร๎ใู น การทากิจกรรม ภาระ งานได๎เหมาะสมกับ ความร๎ู ความสามารถ ตามวัย ของผู๎เรยี น มีเหตุผล - ผ๎ูเรียนมีความรู๎ และเชื่อมโยงความร๎ู จากกลํุมสาระการ เรียนรูอ๎ น่ื - เสริมสรา๎ ง กระบวนการทางาน การคิด การแกป๎ ัญหา ในการทางาน - ผเู๎ รียนรจ๎ู กั เลือกใช๎ วสั ดุอปุ กรณท๑ ม่ี ีอยํู อยาํ งประหยัดและ คุ๎มคํา - กระต๎ุนให๎ผ๎เู รียนมี ความคิดริเร่มิ สรา๎ งสรรคใ๑ นงาน ทัศนศิลป์ - นาหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งมา ประยุกต๑ใชใ๎ นการ ดารงชวี ติ มภี ูมคิ ุม้ กัน -ร๎จู กั การวางแผน กระบวนการทางาน อยํางเป็นระบบให๎ ประสบความสาเรจ็ และ ปลอดภยั - ปรับตวั ในการ ดาเนนิ ชวี ิตพรอ๎ มรบั การเปล่ยี นแปลงใน สงั คม - เกดิ ความตระหนัก ในการประหยัด วตั ถุ - มีความรู๎ในการ ออกแบบชิ้นงาน ใหมทํ ี่ หลากหลาย - มีความรูค๎ วาม เขา๎ ใจในการ เลอื กใช๎วัสดุ อุปกรณ๑ อยาํ ง คุ๎มคาํ และถกู วธิ ี สงั คม - ร๎จู ักแบํงหน๎าท่ี รับผิดชอบในการ ทางาน -แลกเปลี่ยน เรียนรู๎จากเพื่อน ครูและภมู ปิ ญั ญา ท๎องถิ่น สิง่ แวดล้อม - มคี วามรใ๎ู นการ เหลือใชว๎ ัสดุ อุปกรณ๑ใน ท๎องถิ่นมาใช๎ ประโยชนไ๑ ด๎ อยํางเหมาะสม และ ใชธ๎ รรมชาติรอบ ๆตัวเป็นแบบในการสร๎างสรรค๑งาน - มีความร๎ู เกยี่ วกบั การ รกั ษาธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ๎ ม วฒั นธรรม - มคี วามรค๎ู วามเข๎าใจในภูมปิ ัญญาทอ๎ งถ่นิ มาใช๎ในการ ออกแบบชิน้ งานได๎ อยาํ ง หลากหลาย ร๎จู กั การอนุรักษ๑ภูมิ ปัญญาท๎องถน่ิ 9. กระบวนการจดั การเรียนรู้และกิจกรรมการเรยี นรู้ ขน้ั ท่ี 1 กาหนดสภาพปญั หาการเรยี นรู้ (O : Orientation) ๑. ครใู หน๎ ักเรียนสังเกตธรรมชาติ และสงิ่ แวดล๎อมรอบตัวแล๎วตอบวําสงั เกตเหน็ อะไรบา๎ ง ให๎ นกั เรยี นสงั เกต

28 ๒. ครูอธิบายถงึ เศษใบไม๎ใน ธรรมชาตทิ ีห่ าได๎งํายในโรงเรยี น ใบไมท๎ ี่อาจ เป็นขยะนี้ เราสามารถ นามาสร๎างสรรค๑ เป็น ผลงานทศั นศลิ ป์ได๎โดยใชก๎ ระบวนการทาง ทัศนศิลป ๓. ชี้แจงจดุ ประสงคก์ ารเรียนร๎ู ขั้นที่ 2 แสวงหาข้อมูลและจัดการเรยี นรู้ (N : New ways of learning) 1. ครูอธบิ ายรปู แบบและววิ ัฒนาการในเรอ่ื งของงานทศั นศลิ ป์พ้ืนบ๎าน ตํางๆ ได๎ (หรือเปิด ซีดี ทศั นศิลปพ้นื บา๎ น)จากนนั้ ใหน๎ ักศึกษาทาใบงาน 2. ให๎นักศกึ ษาสรา๎ งสรรคผ์ ลงานทัศนศลิ ป์ด๎านใดก็ได๎ เป็นกลุมํ ตามที่เลํนเกมแบํงไวเ๎ บ้ืองตน๎ หรือตาม ความสมคั รใจของผเ๎ู รยี น ข้ันที่ 3 การปฏบิ ัตแิ ละการนาไปใช้ (I : Implementation) ๑. แบํงนกั เรียนเป็นกลมุํ กลมุํ ละ ๕–๖ คน รวํ มกนั สรา๎ งสรรค๑ตามข้นั ตอน โดย การเตรยี มวสั ดุ อุปกรณ๑ ที่เตรยี มมา ๑.แปงู มันสาปะหลังหรอื แปงู ขา๎ วเหนียว ๒.กระดาษหนังสอื พิมพ๑ ๓.เศษใบไม๎แห๎งท่หี าได๎ ๒. แตํละกลมุํ นาแปูงทีเ่ ตรียมมา มาเทใสํพาชนะที่เตรียมไว๎ ผสมน้า แลว๎ นาตั้งไฟ เคยี่ วให๎เป็นแปูง เปยี ก พกั ใหเ๎ ย็น ๓. นาเศษใบไม๎แห๎งทเี่ กบ็ มาเขยําให๎ ละเอียด กะให๎พอประมาณเพยี งพอตํอความ ตํอการให๎การทา กระถาง แตํละชิ้น ๔. นาเศษใบไมท๎ ่ีได๎มาลงผสมกบั แปูงเปียก คนให๎เข๎ากัน ๕. นาแปงู เปียกท่ผี สมเศษใบไมเ๎ สรจ็ แล๎วมา หลอํ ลงในแบบพิมพ๑กระถางท่ีเตรยี ม ไวอ๎ ัดลงไปให๎ แนนํ เพราะการอดั ไมเํ ต็มจะทา ให๎กระถางท่ีออกมาขาด แหํวงได๎ ๖. นากระถางที่ได๎รปู ไปตากแดดไว๎ ประมาณ ๑ วนั จะแห๎งสนทิ ๗. นากระถางท่ีแห๎งแลว๎ มาประติดด๎วย กระดาษหนงั สือพิมพ๑ ใหเ๎ ต็มกระถาง ทงิ้ ไว๎ให๎ แหง๎ ประมาณ ๑-๒ ชั่วโมง (ท้งิ ไวค๎ าบตํอไป) ๘. นากระถางมา ตกแตํงใหส๎ วยงามดว๎ ย วิธีการปะติดจากกระดาษเหลอื ใช๎ เพ่ือความ สวยงามและ ปอู งกนั น้าได๎อีกด๎วย ๙. ครูและนกั เรียนรํวมกันนาเสนอ ผลงานและบรรยายสรุป ถอดบทเรยี นการ ปฏบิ ตั ิงานการการ สรา๎ งประประติมากรรม กระถางพอเพยี ง โดยครคู อยให๎ความร๎เู สรมิ ในสวํ นทนี่ ักเรยี นไมํเขา๎ ใจหรอื สรปุ ไมตํ รงกบั ข้ันท่ี 4 การประเมินผลการเรียนรู้ (E : Evaluation) 1. ประเมนิ ผลจากการทาใบกิจกรรม 2. การสังเกตการมีสวํ นรวํ ม 10. สอื่ /แหล่งเรยี นรู้ - หนังสอื เรียน - ใบกจิ กรรม 11. การวดั ผลและประเมินผล 1. วธิ กี ารวดั และประเมนิ ผล - แบบประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมการทางานรวํ มกบั ผูอ๎ ่นื ของนักศึกษารายบุคคล - ใบงาน

29 - แบบทดสอบกํอนเรียน-หลังเรียน 2. เครอ่ื งมือวดั และประเมินผล - ประเมินผลการสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรํวมกบั ผอ๎ู น่ื ของนักศกึ ษารายบคุ คล - ผลจากการตรวจใบงาน - คะแนนแบบทดสอบกอํ นเรียนและหลงั เรียน 3. เกณฑก์ ารวัดและการประเมนิ ผล - แบบประเมินผลการสงั เกตพฤติกรรมการทางานรวํ มกับผอู๎ ืน่ ของนกั ศึกษารายบคุ คล ระดับดี พอใช๎ และควรปรบั ปรงุ - ใบงานคะแนนเต็ม 10 คะแนน - แบบทดสอบกํอนเรยี น-หลังเรียน เกณฑ์ผํานและไมผํ ําน กจิ กรรมเสนอแนะ ............................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ลงช่ือ…………………………………………….ครผู ูส๎ อน (นายประมวล เจรญิ สุข) ครู กศน.ตาบล ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ าร ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ลงชือ่ ………………………………………………………ผอู๎ นุมัตแิ ผน (นางปทั มาภรณ์ ศรเี นตร) ผอ๎ู านวยการ กศน.อาเภอจตรุ พักตรพิมาน

30 บันทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้ การจัดทาหน่วยเรยี นร้บู รู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ครั้งที่ 2 วันท่ี 24 เดือน พฤษภาคม พ.ศ.2565 ครูผส๎ู อน นายประมวล เจริญสขุ ระดบั ประถมศึกษา เวลา 09.00-12.00 น. สาระทกั ษะการเรียนร๎ู รหสั วชิ า ทช11003 จานวน 2 หนวํ ยกติ จานวนผเ๎ู รยี นทั้งหมด ............... คนเขา๎ เรียน…………………คน ไมเํ ข๎าเรียน……………………….คน 1. ผลการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้การประเมินโดยใช๎ แบบทดสอบกํอนเรียน - หลงั เรียน พบวาํ คะแนนการทดสอบหลงั เรียน มากกวาํ กอํ นเรียนจานวน ........ คนคดิ เป็นรอ๎ ยละ............ คะแนนการทดสอบหลงั เรียน น๎อยกวํากํอนเรยี นจานวน ......... คนคดิ เป็นร๎อยละ............ 2. เน้อื หา/สาระ ......................................................................................................................................................... ....... ........................................................................................................................... ..................................... ............................................................................................................................. ................................... 3. กิจกรรมการเรียนการสอน ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. .......... 4. ปญั หา/อปุ สรรค การเรียนการสอน ............................................................................................................................. ................................... .................................................................................... ............................................................................ ............................................................................................................................. ................................... 5. แนวทางการแก้ปญั หา ............................................................................................................................. ................................... ........................................................................................... ..................................................................... ............................................................................................................................. ................................... ลงช่อื ....................................................... (นายประมวล เจริญสขุ ) ครูผ๎ูสอน วันท.่ี ............../.................../............... ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะของผบู้ ริหาร ............................................................................................................................. ............................................................ ................................................................................................................................... ...................................................... ....................................................................................................................................................... ลงชื่อ.................................................................. (นางปัทมาภรณ์ ศรีเนตร) ผูอ๎ านวยการ กศน.อาเภอจตรุ พกั ตรพิมาน วนั ที.่ ............../.................../...............

31 แผนการจัดการเรยี นร้รู ายวิชาวิทยาศาสตร์ ครงั้ ที่ 3 การจัดทาหน่วยเรียนรบู้ ูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565 กศน.ตาบลน้าใส ระดับประถมศึกษา ๑. สัปดาห์ที่ 3 วันท่ี 31 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2565 เวลา ๐๙.๐๐-๑๒.๐๐น. ๒. วิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา พว1๑๐๐๑ จานวน 3 หนว่ ยกิต ๓. มาตรฐานท่ี ๒.๒ มคี วามรค๎ู วามเข๎าใจ และทักษะพนื้ ฐานเกย่ี วกับคณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔. หน่วยการเรียนร้/ู เรอ่ื ง โครงงานวิทยาศาสตร์ ๕. สาระสาคัญ มคี วามรู๎ ความเขา๎ ใจ ทักษะ และเหน็ คณุ คาํ เกยี่ วกบั กระบวนการทาง วทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี ส่งิ มีชวี ิต ระบบนิเวศ ทรพั ยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอ๎ มในท๎องถ่นิ สาร แรง พลงั งาน กระบวนการเปลย่ี นแปลง ของโลกและ ดาราศาสตร์ มีจติ วทิ ยาศาสตร์ และนา ความรูไ๎ ปใช๎ประโยชน์ ในการดาเนนิ ชวี ิต ๖. เนอื้ หา กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยี 1.1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 1.2 โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ๗. จุดประสงค์การเรียนรู้/ผลการเรียนร้ทู ีค่ าดหวงั (ดูจากผงั การออกข๎อสอบ) 1. ใชค๎ วามรแู๎ ละกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ใน การดารงชีวติ ไดอ๎ ยํางเหมาะสม 2. อธบิ ายธรรมชาตแิ ละความสาคญั ของ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและอธบิ าย กระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์ได๎ 3. นาความรู๎ และกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์ไปใชแ๎ ก๎ปัญหาตาํ งๆ ได๎ 4. จาแนกประเภทโครงงาน วางแผนการทา โครงงานและเสนอแนวทางการนาความร๎ู เก่ียวกับ โครงงานไปใช๎ได๎ ๘. การบรู ณาการกับหลักแนวคิดของเศรษฐกจิ พอเพียง (2 เงอ่ื นไข 3หลักการการเช่ือมโยงสู่ 4 มิติ) ความรู้ - นกั ศึกษามีความรูเ๎ รื่อง ฮอร๑โมนไขํ ,สรรพคณุ จากไขํ - อุปกรณ๑ และวธิ ีการทาฮอร๑โมนไขํ คุณธรรม - มีความมงํุ มั่นในการทางาน - มีความสามคั คีในหมูํคณะ - ใฝหุ าความรูเ๎ พอื่ พัฒนาอยํเู สมอ พอประมาณ -ร๎ูจักอัตราสํวนของไขํไกํ ผงชูรส นมเปรี้ยว ทาให๎ได๎ฮอร๑โมนไขํ บารุงพืชผัก ท่ีได๎มาตรฐาน และมีคณุ ภาพ - ใช๎วัสดทุ ่ีหางํายในทอ๎ งถ่ิน ทาเปน็ ฮอร๑โมนพชื ได๎อยํางค๎มุ คํา และเกดิ ประโยชนส๑ ูงสดุ มเี หตผุ ล - ไดค๎ วามรูเ๎ ก่ียวกบั การทาฮอรโ๑ มนไขํ

32 - ไดฮ๎ อรโ๑ มนไขํ ใช๎ฮอร๑โมนท่ีมีในท๎องตลาดที่เส่ียงตอํ สารเคมี มีภมู ิคุม้ กนั - ร๎จู ักการทาฮอร๑โมนไขํ เปน็ ผลติ ภัณฑ๑ทางชีวภาพ ซ่งึ ปลอดภัยไมํมสี ารพิษตกคา๎ ง - สามารถตอํ ยอดความร๎ู สร๎างผลติ ภัณฑ๑ สร๎างรายได๎ให๎ชุมชน วตั ถุ - รูจ๎ กั เลือกใช๎ผลติ ภัณฑใ๑ นท๎องถิน่ ได๎อยํางค๎มุ คําและเหมาะสม - มที ักษะในการใช๎อุปกรณว๑ ทิ ยาศาสตร๑ และการดูแลรักษา สังคม - มีทักษะการอยํรู วํ มกันในกลํุม และทางานรํวมกับผ๎ูอื่นได๎อยาํ งมคี วามสขุ - สามารถนาความร๎ูด๎านโครงงานวทิ ยาศาสตร๑ และการฮอรโ๑ มนไขํ ไปตํอยอดใหก๎ บั ชุมชน สิ่งแวดล้อม - รูจ๎ ักการนาวสั ดุทมี่ อี ยใูํ นท๎องถ่นิ มาพฒั นาเปน็ ฮอรโ์ มนไขํ บารงุ พชื ไดอ๎ ยาํ งคุ๎มคาํ และเกดิ ประโยชนส์ งู สุด - ฮอร๑โมนจากไขํ เปน็ ผลิตภณั ฑ๑ธรรมชาติ ไมเํ ปน็ พิษตํอสง่ิ แวดล๎อม วฒั นธรรม - ตํอยอดภมู ปิ ญั ญาท๎องถนิ่ ในการทาฮอร์โมนจากไขํ เพื่อเพิ่มมลู คํา และพฒั นา ผลติ ภัณฑ์ 9. กระบวนการจดั การเรยี นรแู้ ละกจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้นั ที่ ๑ กาหนดสภาพปญั หาการเรียนรู้ (O : Orientation) ๑. ครูสอบถามนักศกึ ษาเรอ่ื งเกีย่ วกบั การเขยี นโครงงานวิทยาศาสตร์ ๒. ชี้แจงจุดประสงคก์ ารเรยี นรู๎ ๓. ครูให๎นกั ศึกษาทาแบบทดสอบกํอนเรียน เพื่อทดสอบดูวาํ นักศึกษามีพืน้ ฐานระดบั ใด ขั้นที่ ๒ แสวงหาขอ้ มูลและจัดการเรียนรู้ (N : New ways of learning) ๑. ครูอธิบายเก่ียวกับความหมาย ความสาคญั วธิ ีการดาเนินการ และการนาเสนอโครงงาน วทิ ยาศาสตร์ ๒. นักศึกษาแบํงกลํมุ ๓ กลุมํ ใหน๎ กั ศกึ ษา ค๎นคว๎าเรื่องโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ๓. ตัวแทนแตลํ ะกลุมํ นาเสนอหน๎าชั้นเรยี น ในรูปแบบผังมโนทัศน(์ Mapping ข้ันที่ 3 การปฏบิ ตั แิ ละการนาไปใช้ (I : Implementation) ครูใหน๎ ักศึกษาระดมความคดิ ถอดบทเรียนโครงงานเร่อื งฮอร์โมนพืช จากไขํ ใหส๎ อดคลอ๎ งกับหลัก เศรษฐกิจพอเพยี งใสํกระดาษชารท์ ขั้นท่ี 4 การประเมินผลการเรียนรู้ (E : Evaluation) 1. ใหน๎ กั ศึกษาออกมาหน๎าช้ันเรียน เพื่อนาเสนอการถอดบทเรยี นโครงงานเรื่องฮอรโ์ มน จากไขํ ให๎ สอดคล๎องกบั หลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง จากนนั้ ครูให๎คะแนน 2. แบบทดสอบกํอนเรยี น 10. สอื่ /แหล่งเรยี นรู้ 1. หนงั สือเรียนสาระความรพ๎ู ้ืนฐาน รายวิชาวทิ ยาศาสตรร์ ะดับประถมศึกษา รหัส พว11001 2. Power point เรือ่ ง ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ และขัน้ ตอนการทาโครงงานวิทยาศาสตร์

33 3. กระดาษชาร์ทถอดบทเรยี นโครงงานเรอื่ งฮอรโ์ มนพชื จากไขํใหส๎ อดคล๎องกบั หลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง 11. การวดั และประเมนิ ผล 1. วิธกี ารวัดและประเมินผล - แบบประเมนิ ผลการสงั เกตพฤติกรรมการทางานรํวมกบั ผ๎ูอนื่ ของนักศึกษารายบุคคล - ใบงาน - แบบทดสอบกํอนเรียน-หลงั เรียน 2. เครื่องมือวัดและประเมินผล. - ประเมินผลการสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรวํ มกับผู๎อนื่ ของนักศกึ ษารายบุคคล - ผลจากการตรวจใบงาน - คะแนนแบบทดสอบกอํ นเรียนและหลงั เรียน 3.เกณฑ์การวัดและการประเมนิ ผล - แบบประเมนิ ผลการสังเกตพฤติกรรมการทางานรวํ มกับผอู๎ นื่ ของนกั ศึกษารายบุคคล ระดับดี พอใช๎ และควรปรับปรงุ - ใบงานคะแนนเต็ม 10 คะแนน - แบบทดสอบกํอนเรียน-หลงั เรียน เกณฑ์ผาํ นและไมํผาํ น กจิ กรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ลงชื่อ…………………………………………….ครผู ูส๎ อน (นายประมวล เจรญิ สขุ ) ครู กศน.ตาบล ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ลงช่อื ………………………………………………………ผ๎ูอนมุ ตั แิ ผน (นางปัทมาภรณ์ ศรีเนตร) ผอ๎ู านวยการ กศน.อาเภอจตรุ พกั ตรพมิ าน

34 บนั ทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้ การจดั ทาหน่วยเรียนรบู้ รู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ครั้งที่ 3 วัน/เดือน/ปีวันที่ 31 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2565 ครูผูส๎ อน นายประมวล เจริญสุข ระดับ ประถมศึกษา เวลา 09.00-12.00 น. สาระความรู๎พืน้ ฐาน รายวชิ า วิทยาศาสตร์ รหสั วิชา พว11001 จานวนผเู๎ รยี นทงั้ หมด ............... คนเขา๎ เรียน…………………คน ไมเํ ข๎าเรียน……………………….คน 1. ผลการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้การประเมินโดยใช๎ แบบทดสอบกํอนเรยี น - หลังเรยี น พบวํา คะแนนการทดสอบหลังเรียน มากกวํากอํ นเรยี นจานวน ........ คนคดิ เป็นร๎อยละ............ คะแนนการทดสอบหลงั เรียน น๎อยกวาํ กํอนเรยี นจานวน ......... คนคดิ เปน็ ร๎อยละ............ 2. เน้ือหา/สาระ/รายวชิ า .................................................................................................................................................................. . ............................................................................................................................. ...................................... 3. กิจกรรมการเรียนการสอน ............................................................................................................................. ...................................... ................................................................................................................................................................... 4. ปัญหา/อุปสรรคการเรยี นการสอน ............................................................................................................................. ...................................... ............................................................................................................................. ...................................... 5. แนวทางการแก้ปัญหา ................................................................................................................................................................ ... ............................................................................................................................. ...................................... ลงชื่อ.........................................................(ผูบ๎ ันทึก) (นายประมวล เจรญิ สุข) ครู กศน.ตาบล ความเหน็ /ข๎อเสนอของผบ๎ู รหิ าร ................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................................... ลงชื่อ.................................................. (นางปัทมาภรณ์ ศรเี นตร) ผ๎ูอานวยการ กศน.อาเภอจตุรพักตรพิมาน

35 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น เรอ่ี ง การเขียนโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ข้อท่ี 1) ข้อใดใหค้ วามหมายของคาว่าโครงงานได้ถูกตอ้ ง ก. วธิ ีการที่ศึกษาอยํางมรี ะบบตามขน้ั ตอน ข. กระบวนการใช๎งบประมาณ ค. วิธกี ารดาเนนิ งานแบบไมํไดว๎ างแบบแผน ง.กระบวนการใช๎ทรัพยากรท๎องถ่ิน ข้อท่ี 2) การวางแผนเพื่อเขียนโครงงานควรเริม่ จากข้อใด ก. ช่ือหวั ขอ๎ โครงงาน ข. ช่ือครทู ปี่ รึกษาโครงงาน ค. ท่ีมาและความสาคญั ของโครงงาน ง. วัตถุประสงค์ของการศึกษาคน๎ คว๎า ข๎อท่ี 3) ความสาคัญของโครงงานขอ๎ ใดไมํถูกต๎อง ก. การปฏบิ ตั งิ านชดั เจน ข. สรา๎ งอคติตอํ บุคคลภายในหนวํ ยงาน ค. การปฏิบตั ิเป็นไปอยาํ งมีประสิทธิภาพ ง. ลดความขัดแย๎งและความซา้ ซ๎อนในหนา๎ ที่ ข๎อท่ี 4) ขอ๎ ใดกลาํ วถึงสํวนประกอบของโครงไดถ๎ ูกตอ๎ ง ก. สํวนนา สวํ นขยาย สรุป ข.สวํ นตน๎ สวํ นกลาง สํวนท๎าย ค. สํวนนา สํวนเนือ้ ความ สวํ นขาย ง. สวํ นเนื้อความ สํวนขยาย สวํ นท๎าย ข๎อที่ 5) ขั้นตอนการทาโครงงานขอ๎ ใดเรียงลาดับถูกต๎อง ก. การคิดและการเลือกหัวเร่อื ง การวางแผน การดาเนินงาน การเขียนรายงาน การนาเสนอ ข. การคิดและการเลอื กหัวเรอ่ื ง การวางแผน การเขยี นรายงาน การดาเนินงาน การนาเสนอ ค. การวางแผน การคิดและการเลอื กหัวเร่ือง การดาเนินงาน การเขียนรายงาน การนาเสนอ ง. การวางแผน การคิดและการเลือกหวั เร่ือง การเขียนรายงาน การดาเนินงาน การนาเสนอ ขอ๎ ที่ 6) เม่อื เลือกหัวเรือ่ งท่ีเหมาะสมได๎แลว๎ ข้ันตอนตํอไปควรทาตามข๎อใด ก. การค๎นคว๎าและรวบรวมข๎อมลู ข. การเรยี บเรียงการทารายงาน ค. กาหนดจดุ มุงํ หมายและขอบเขตของเรื่อง ง. เขียนที่มาและความสาคัญของโครงงาน

36 ขอ๎ ท่ี 7) การเสนอผลงานทาได๎หลายรูปแบบขึ้นอยํูกับความเหมาะสมตํอประเภทโครงงานข๎อใดไมํถูกต๎อง ก. การแสดงบทบาทสมมตุ ิ ข. การใช๎งบประมาณจา๎ งหนวํ ยงานตาํ งๆทา ค. การจัดนทิ รรศการเกยี่ วกับผลงาน ง. การจัดแสดงและการอธิบายดว๎ ยคาพดู ขอ๎ ท่ี 8) การวางแผนการทาโครงงานข๎อใดไมํถกู ต๎อง ก. การวางแผนเพ่อื ให๎การดาเนนิ การเปน็ ไปอยาํ งรอบคอบ ข. การวางแผนจะสามารถรู๎แหลงํ ค๎นคว๎าและรู๎งบประมาณการใชจ๎ าํ ย ค. การวางแผนสามารถทราบถึงจุดประสงคเ์ รื่องทีท่ าและทราบถึงขอบเขตได๎ ง. การวางแผนจะทาโครงงานเสรจ็ เมอ่ื ไหรํกไ็ ด๎ไมํต๎องนาเสนอใหใ๎ ครทราบงานกอํ น ขอ๎ ที่ 9) การเขยี นรายงานโครงงานควรใชภ๎ าษาเขียนแบบใด ก. การเขียนโครงงานควรใชภ๎ าษาท่ีอาํ นเขา๎ ใจงํายและตรงประเด็น ข. การเขียนโครงงานควรใชภ๎ าษาแบบเปน็ กันเองตามความเข๎าใจของผ๎ูจดั ทา ค. การเขยี นโครงงานควรใชท๎ ้ังวจั นภาษาและอวจั นภาษาเพื่อเปน็ ทางเลือกให๎ผู๎อาํ นติดตาม ง. การเขียนโครงงานควรใช๎ท้งั รูปภาพและวัสดจุ รงิ มาเป็นสวํ นประกอบของการเขยี นรายงาน ข๎อที่ 10) ข๎อใดกลําวไมํถูกต๎องเกีย่ วกับการเรียบเรยี งรายงาน ก. เรียบเรยี งขอ๎ มูลตามความสนใจอะไรมากํอนก็ไดท๎ าตามสง่ิ ท่ีวางไว๎ ข. สาคัญทส่ี ุดคือต๎องคัดลอกผลงานผอู๎ ืน่ มาเรยี งเปน็ ผลงานของตวั เองต๎องขอบคุณเขาดว๎ ย ค. เมอื่ จาเปน็ ต๎องคัดลอกข๎อความหรือนาข๎อมลู ของผ๎ูอื่นมาอา๎ งองิ ต๎องบอกใหช๎ ดั เจนนามาจากไหน ง. การเรียบเรยี งเขยี นรายงานควรใช๎สานวนภาษาของตนเองให๎มากท่สี ุดและควรมผี ูต๎ รวจสอบการใชภ๎ าษา เฉลย 1.ก 2.ก 3.ข 4.ข 5.ก 6.ง 7.ข 8.ง 9.ก 10.ก

37 ใบความรู้ เรอ่ี ง การเขียนโครงงานวิทยาศาสตร์ 1. ประเภทโครงงานวทิ ยาศาสตร์ 1. โครงงานวทิ ยาศาสตรป์ ระเภททดลอง โครงงานทมี่ ีลักษณะการออกแบบการทดลอง เพอ่ื ศกึ ษาผลของตัวแปรตวั หนง่ึ โดย ควบคุมตวั แปรอื่น ๆ ตัวอยํางโครงงาน เชนํ การทายากนั ยุงจากพืชในท๎องถ่นิ การใช๎มลู วิธีปอู งกนั วัวกินใบพชื การบงั คับผลแตงโมเป็นรูปสีเ่ หล่ยี ม 2. โครงงานวทิ ยาศาสตร์ประเภทการสารวจ โครงงานประเภทน้ีไมํกาหนดตัวแปรในการเก็บข๎อมลู อาจเป็นการสารวจในภาคสนาม หรอื ในธรรมชาตหิ รอื นามาศึกษาในหอ๎ งปฏบิ ัติการ ตวั อยาํ งโครงงานประเภทนเ้ี ชนํ การสารวจพืช พนั ธุ์ไม๎ในโรงเรียนในท๎องถน่ิ การสารวจพฤติกรรมด๎านตาํ ง ๆ ของสัตว์ 3. โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทส่งิ ประดิษฐ์ โครงงานประเภทน้ีเปน็ การประดษิ ฐส์ ิ่งใดสิ่งหน่ึงเครอ่ื งมือเครอ่ื งใช๎ หรอื อุปกรณ์เพ่ือ ใชส๎ อยตาํ ง ๆ ส่ิงประดิษฐ์อาจคิดขน้ึ มาใหมํ ปรบั ปรงุ หรือสรา๎ งแบบจาลอง โดยประยุกต์หลกั การ ทางวิทยาศาสตร์ ใช๎กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีการกาหนดตวั แปรท่ีจะศึกษา และทดสอบ ประสทิ ธภิ าพของชน้ิ งานด๎วย 4. โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททฤษฎี โครงงานประเภททฤษฎี เป็นโครงงานที่ผ๎ทู าโครงงานจะต๎องศกึ ษารวบรวมขอ๎ มลู ความร๎ู หลกั การ ข๎อเทจ็ จรงิ และแนวความคิดตําง ๆ อยํางลึกซ้ึง แล๎วเสนอเป็นหลกั การ แนวความคดิ ใหมํกฎ หรอื ทฤษฎีใหมํ 2. การเลือกหวั ขอ๎ โครงงาน หัวข้อโครงงานมกั จะได้จากข้อมูลดังต่อไปน้ี 1. สอื่ ส่ิงพมิ พ์เชนํ หนงั สือเรยี น หนงั สอื พิมพ์วารสาร เอกสารเผยแพรํ แผํนพบั 2. สือ่ วิทยโุ ทรทศั น์ 3. การทศั นศึกษา เชนํ การไปศึกษาดูงาน 4. งานอดเิ รก 5. ศึกษาจากโครงงานวทิ ยาศาสตรข์ องผู๎อน่ื ที่ไดท๎ าไว๎แลว๎ 6. การปรกึ ษาผูม๎ ีความร๎ู 7. การหาขอ๎ มลู จากอินเทอรเ์ น็ต

38 ลาดับขน้ั ตอนในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ สารวจและตัดสินใจเลือกเรื่องท่จี ะทาโครงงาน ศึกษาข๎อมลู ทเี่ กยี่ วข๎องกับเรื่องท่ีจะทาเอกสารและแหลงํ ขอ๎ มลู ตาํ ง ๆ วางแผนทดลอง การใชว๎ ัสดอุ ุปกรณแ์ ละระยะเวลาในการดาเนนิ งาน เขียนเคา๎ โครงของโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ลงมอื ศึกษาทดลอง วิเคราะห์ขอ๎ มลู และสรปุ ผล เขยี นรายงานโครงงานวทิ ยาศาสตร์ เสนอผลงานของโครงงานวทิ ยาศาสตร์ 3. การเขียนโครงงาน การเขียนรายงานโครงงาน ควรใช๎ภาษาที่อาํ นแล๎วเขา๎ ใจงําย กะทดั รดั ตรงไปตรงมา และการ เขียนรายงานโครงงานไมํควรยาวเกินไป เพราะทาใหไ๎ มนํ ําสนใจเทาํ ทค่ี วร หัวเร่อื งในการเขยี นรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์มดี ังน้ี 1. ช่ือโครงงาน 2. ชอ่ื ผท๎ู าโครงงาน 3. ช่อื ทปี่ รึกษา 4. บทคัดยํอ 5. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 6. จดุ มุํงหมายของการศึกษาคน๎ ควา๎ 7. สมมตฐิ านของการศึกษาค๎นคว๎า (ถ๎ามี) 8. วิธีดาเนนิ การ 8.1 วัสดุอุปกรณ์ 8.2 วธิ ีดาเนนิ การทดลอง 9. ผลการศกึ ษาคน๎ ควา๎ 10. สรปุ และข๎อเสนอแนะ 11. คาขอบคุณหนวํ ยงาน หรอื บุคลากรทมี่ ีสํวนชํวย 12. เอกอ๎างอิง 4. การนาเสนอโครงงาน

39 หลงั จากทาโครงงานวิทยาศาสตรเ์ สรจ็ แล๎วตอ๎ งนาเสนอโครงงาน การแสดงผลงานโครงงาน นน้ั อาจทาได๎หลายรปู แบบ เชํน การแสดงในรูปนิทรรศการ หรือในรูปของการรายงานปากเปลาํ แตไํ มํวาํ จะแสดงผลงานรปู แบบใด จะต๎องครอบคลุมประเด็นดังตํอไปน้ี 1. ชอ่ื โครงงาน ชอ่ื ผ๎ทู าโครงงาน ช่ือท่ปี รกึ ษา 2. คาอธบิ ายถึงเหตจุ งู ใจในการทาโครงงาน และความสาคัญของโครงงาน 3. วิธดี าเนินการ โดยเลือกเฉพาะขน้ั ตอนทีเ่ ดํนและสาคญั 4. การสาธติ หรอื แสดงผลทีไ่ ด๎จากการทดลอง 5. ผลการสังเกต และข๎อมูลตําง ๆ ท่ีได๎จากการทาโครงงาน นอกจากนี้แล๎วยงั ต๎องคานงึ ถงึ ส่งิ ตําง ๆ ตํอไปนี้ 1. ความแขง็ แรงและความปลอดภัยของนิทรรศการ 2. ความเหมาะสมกบั พ้นื ที่จัดแสดง 3. คาอธบิ ายควรเน๎นหัวข๎อท่ีสาคญั ใชข๎ อ๎ ความกะทัดรดั ชัดเจน และเข๎าใจงําย 4. ใช๎ตาราง และรูปภาพประกอบ 5. สงิ่ ที่จัดแสดงจะตอ๎ งถูกต๎อง ไมํมีคาสะกดผิด หรืออธิบายหลกั การผิด 6. ในกรณที เี่ ปน็ โครงงานประดิษฐ์สิง่ ประดิษฐจ์ ะต๎องสามารถทางานไดอ๎ ยํางสมบรู ณ์ ในกรณีทีจ่ ัดแสดงผลงานดว๎ ยปากเปลํา จะต๎องคานงึ ถงึ เร่ืองตอํ ไปนี้ 1. ตอ๎ งเขา๎ ใจเร่ืองท่ีอธบิ ายอยํางดี 2. ภาษาทีใ่ ช๎ต๎องกะทัดรัด เข๎าใจงาํ ย ตรงไปตรงมา 3. ควรรายงานแบบเปน็ ธรรมชาตไิ มํควรรายงานแบบทํองจา 4. ตอบคา ถามอยํางตรงไปตรงมา 5. ควรรายงานให๎เสรจ็ สน้ิ ภายในเวลาท่ีกาหนด 6. ควรมสี อ่ื อุปกรณ์ ประกอบการรายงานด๎วยเพื่อจะทาให๎การรายงานสมบูรณ์มากย่ิงขึ้น

40 ใบงาน โครงงานวทิ ยาศาสตร์ คาส่งั ให๎ผ๎ูเรียนแบงํ กลุํม ๆ ละ 3 คน เขยี นเคา๎ โครงงานทีต่ นเองต๎องการจะทากลุํมละ 1 โครงงาน 1. ชอื่ โครงงาน............................................................................................................................................................... 2. ชอื่ ผ๎ทู าโครงงาน 1............................................................................................................................ ........................................................ 2 ................................................................................................................................. ................................................... 3. ชอื่ ทีป่ รึกษา................................................................................................................................................................. 4. ทมี่ าและความสาคัญของโครงงาน ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ..................................................................................................................... ......................................................... .......... 5. จุดมํุงหมายของการศึกษาค๎นควา๎ ................................................................................................................................................................................. ........ ........................................................................................................................... ............................................................. 6. สมมตฐิ านการค๎นคว๎า ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... 7. วิธกี ารดาเนนิ การ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………........ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………........... …................................................................................................ ...................................................................................... 7.1 วสั ดุ อปุ กรณ์ และสารเคมี ............................................................................................................................. ............................................................ ..................................................................................................................... ...................................................................

41 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์ ครง้ั ท่ี 4 การจดั ทาหน่วยเรียนรู้บรู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 กศน.ตาบลน้าใส ระดับประถมศกึ ษา ๑. สัปดาห์ที่ 4 วนั ท่ี 7 เดือน มถิ นุ ายน พ.ศ. 2565 เวลา ๐๙.๐๐-๑๒.๐๐น. ๒. วชิ า วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา พว1๑๐๐๑ จานวน 3 หนว่ ยกิต ๓. มาตรฐานท่ี ๒.๒ มีความร๎คู วามเข๎าใจ และทักษะพน้ื ฐานเก่ียวกับคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔. หนว่ ยการเรียนรู/้ เร่ืองการแยกสาร ๕. สาระสาคญั ความสาคญั วธิ กี ารและกระบวนการแยกสารตํอการนาไปใชป๎ ระโยชน์มกี ารใช๎วิธีการแยกสารท่เี หมาะสม ๖. เน้อื หา -การแยกสาร -การเข๎าสรํู าํ งกายของสาร -ประเภทของสารท่ีพบในชีวติ ประจาวนั -สารและผลติ ภณั ฑข์ องสารที่ใชใ๎ นชีวิตประจาวนั -ผลกระทบท่ีเกิดจากสารตํอชีวติ และสิง่ แวดล๎อม ๗. จดุ ประสงค์การเรียนร/ู้ ผลการเรียนรูท้ ค่ี าดหวัง (ดจู ากผงั การออกข๎อสอบ) ๑. อธบิ ายความสาคัญวิธกี ารและกระบวนการแยกสารได๎ ๒. สามารถเลอื กใชว๎ ธิ กี ารแยกสารทเี่ หมาะสมและนาไปใชป๎ ระโยชน์ในชีวิตประจาวันได๎ ๘. การบูรณาการกับหลกั แนวคิดของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (2 เงอ่ื นไข 3หลักการ การเช่ือมโยงสู่ 4 มิติ) ความรู้ 1. ความร๎ูในเรื่องของการแยกสาร 2. มคี วามร๎ูและมีทกั ษะในการใช๎ส่ือและอุปกรณ์ คุณธรรม 1. ความสามัคคี 2. ชํวยเหลือแบํงปัน ความเอื้อเฟื้อเผอ่ื แผํ 3. มวี นิ ัย ตรงตํอเวลาความรับผิดชอบ 4. ใฝุรใู๎ ฝเุ รียน มีจิตอาสา พอประมาณ 1. นักศึกษารู๎จักบริหารเวลาในการทากจิ กรรมในการเรียนการสอน 2. นกั ศึกษาทากจิ กรรมได๎เต็มศกั ยภาพตนเอง มเี หตผุ ล 1. มคี วามรูค๎ วามเขา๎ ใจในการเลอื กใช๎เทคโนโลยีในการสบื คน๎ ข๎อมูลและนาเสนอ 2. นาความรู๎ทไ่ี ดไ๎ ปปรบั ใชใ๎ นชีวิตประจาวนั

42 มีภมู คิ ุ้มกนั 1. มีการวางแผนในการสบื ค๎นขอ๎ มลู จากแหลงํ เรยี นร๎ูตาํ งๆ 2. มีการวางแผนการทางานอยาํ งรอบคอบด๎วยความสามคั คีจนทาให๎งานสาเร็จ วตั ถุ -การใช๎สอ่ื ตําง ๆ ในการศกึ ษาคน๎ คว๎าและแกป๎ ัญหา เพ่ิมเติม สังคม 1. นักศึกษามีความรูเ๎ กย่ี วกับการวางแผนการทางาน 2. นักศกึ ษาสามารถทางานรวํ มกบั ผ๎อู ่ืนทักษะปฏสิ ัมพันธ์ กับบุคคลอ่นื ทักษะการฟังที่ดี สิ่งแวดล้อม - นักศกึ ษาเลือกแนวทางในการใช๎แยกสาร เพ่ือลดผลการทบตํอทรัพยากรธรรมชาติ ในชวี ิตประจาวนั วัฒนธรรม - มีความรับผิดชอบตอํ ตนเองและผอ๎ู น่ื มีความเอ้อื เฟ้ือแบํงปันความรู๎ และชวํ ยเหลือ ผ๎อู นื่ ด๎วยความเตม็ ใจในท๎องถ่ิน 9. กระบวนการจดั การเรยี นรูแ้ ละกจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้ันที่ ๑ กาหนดสภาพปญั หาการเรยี นรู้ (O : Orientation) ๑. ครูสอบถามนกั ศกึ ษาเรอ่ื งการแยกสาร ๒. ชีแ้ จงจุดประสงค์การเรียนร๎ู ขน้ั ที่ ๒ แสวงหาข้อมูลและจัดการเรียนรู้ (N : New ways of learning) 1. ครอู ธิบายวิธกี ารแยกสารตํางๆ 2. นักศกึ ษาอภปิ รายเลือกใช๎วิธกี ารแยกสารท่เี หมาะสม และนามาใช๎ ข้นั ท่ี ๓ การปฏบิ ตั ิและการนาไปใช้ (I : Implementation) ๑. นกั ศึกษาทาแบบทดสอบกํอน - หลงั เรียน ๒. ครูสรุปองค์ความรู๎ในเนื้อหา ๓. นักศึกษาซักถาม และแลกเปลี่ยนความร๎ู ขั้นที่ ๔ การประเมนิ ผลการเรียนรู้ (E : Evaluation) 1. ประเมนิ จากใบงาน 2. สังเกตจากการนาเสนอหน๎าช้นั เรยี น 10. สอื่ /แหล่งเรยี นรู้ 1. หนังสอื แบบเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 2. ใบงาน 1 เร่ือง การแยกสาร 3. แบบทดสอบ 4. ใบความร๎ูเร่อื ง การแยกสาร 5. อนิ เตอรเ์ น็ต

43 6. หอ๎ งสมุด 11. การวดั และประเมนิ ผล 1. วธิ กี ารวัดและประเมินผล - แบบประเมนิ ผลการสงั เกตพฤติกรรมการทางานรํวมกับผ๎อู นื่ ของนักศึกษารายบคุ คล - ใบงาน - แบบทดสอบกํอนเรยี น-หลงั เรียน 2. เครอื่ งมอื วดั และประเมนิ ผล. - ประเมินผลการสงั เกตพฤติกรรมการทางานรํวมกับผอ๎ู น่ื ของนกั ศกึ ษารายบคุ คล - ผลจากการตรวจใบงาน - คะแนนแบบทดสอบกํอนเรียนและหลังเรยี น 3. เกณฑ์การวัดและการประเมนิ ผล - แบบประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมการทางานรํวมกบั ผอ๎ู ื่นของนกั ศึกษารายบคุ คล ระดบั ดี พอใช๎ และควรปรบั ปรงุ - ใบงานคะแนนเต็ม 10 คะแนน - แบบทดสอบกํอนเรยี น-หลงั เรียน เกณฑ์ผาํ นและไมํผําน กิจกรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................ ............................................................. ................................................................................................................................................................... ลงช่ือ…………………………………………….ครผู ู๎สอน (นายประมวล เจรญิ สุข)) ครู กศน.ตาบล ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………........ ลงชอื่ ………………………………………………………ผ๎ูอนมุ ัตแิ ผน (นางปทั มาภรณ์ ศรีเนตร) ผูอ๎ านวยการ กศน.อาเภอจตุรพกั ตรพิมาน

44 บันทึกหลังการจัดการเรยี นรู้ การจดั ทาหน่วยเรียนรูบ้ รู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง คร้งั ที่ 4 วนั ที่ 7 เดือน มถิ นุ ายน พ.ศ. 2565 ครผู ู๎สอน นายประมวล เจรญิ สุข ระดบั ประถมศึกษา เวลา ๐๙.๐๐-๑๒.๐๐ น. สาระความร๎ูพื้นฐาน รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหัสวชิ า พว1๑๐๐๑ จานวนผ๎เู รียนท้งั หมด ............... คนเข๎าเรยี น…………………คน ไมเํ ขา๎ เรยี น……………………….คน ๑. ผลการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้การประเมนิ โดยใช๎ แบบทดสอบกํอนเรียน - หลงั เรียน พบวํา คะแนนการทดสอบหลังเรียน มากกวํากอํ นเรียนจานวน ........ คนคดิ เป็นร๎อยละ............ คะแนนการทดสอบหลังเรียน น๎อยกวาํ กํอนเรยี นจานวน ......... คนคิดเป็นรอ๎ ยละ............ ๒. เน้อื หา/สาระ ............................................................................................................................................................ .... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ๓. กจิ กรรมการเรยี นการสอน ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. .......... ๔. ปญั หา/อุปสรรค การเรียนการสอน ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ๕. แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ลงช่อื ....................................................... (นายประมวล เจริญสขุ )) ครูผ๎สู อน วันท.ี่ ............../.................../............... ความคดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะของผบู้ ริหาร ............................................................................................................................. ............................................................ .............................................................................................................................. ........................................................... ....................................................................................................................................................... ลงชื่อ.................................................................. (นางปัทมาภรณ์ ศรเี นตร) ผูอ๎ านวยการ กศน.อาเภอจตรุ พักตรพมิ าน วนั ท่.ี ............../.................../...............

45 ใบความรู้ เรอ่ื ง การแยกสาร หลกั และวิธีการแยกสาร 1. การแยกสารเนอื้ ผสม 1.1 การกรองคือการทาให๎ของแข็งและของเหลวแยกออกจากกันโดยใช๎วัสดุตํางๆนอกเหนือ จากกระดาษ กรองก็ได๎ เชํน ผ๎าขาวบางหรือผ๎าชนิดตํางๆ เป็นต๎นสํวนวิธีกรองน้ันก็นาที่มีส่ิงอ่ืนๆเจือปนมาเทลงท่ีกระดาษกรองท่ี พับ เป็นรูปกรวยและใสํกรวยแก๎วไว๎แล๎วถ๎าของแข็งที่เจือปนอยํูในของเหลวน้ันมี ขนาดใหญํกวํา10 ยกกาลังลบ4 ของแข็งนั้นก็ไมํสามารถผํานกระดาษกรองไปได๎แตํถ๎า เล็กกวําก็จะสามารถผํานได๎ สาหรับกรณีท่ีของแข็งเล็กกวํา10 ยกกาลงั ลบ4 น้นั เรากส็ ามารถใชก๎ ระดาษเซลโลเฟน ที่มขี นาด10 ยกกาลงั ลบ7 ก็ได๎ 1.2 การระเหดิ (sublimation หรือ primary drying) คือ ปรากฏการณท์ ่สี สารเปล่ียนสถานะจาก ของแข็ง กลายเปน็ ไอหรอื ก๏าซ ท่ีอณุ หภูมิตา่ กวําจดุ หลอมเหลว โดยไมผํ ํานสถานะ ของเหลว ปจั จยั ท่ีมีผลต่อการระเหิด 1.อณุ หภมู ิ อตั ราการระเหิดเป็นสัดสวํ นโดยตรงกับอณุ หภูมิ 2.ชนิดของของแข็ง ของแข็งทีม่ ีแรงยึดเหน่ียวระหวํางอนภุ าคน๎อยจะระเหดิ ไดง๎ าํ ย 3.ความดันของบรรยากาศ ถ๎าความดันของบรรยากาศสงู ของแข็งจะระเหิดไดย๎ าก 4.พ้นื ที่ผวิ ของของแขง็ ถ๎ามีพื้นท่มี ากจะระเหดิ ได๎งําย 5.อากาศเหนือของแขง็ อากาศเหนือของแขง็ จะต๎องมกี ารถํายเทเสมอ เพื่อปูองกนั การอม่ิ ตวั ของไอ สารที่ระเหิดได้ไดแ๎ กํ แนฟทาลีน (ลกู เหม็น)คารบ์ อนไดออกไซด์ (นา้ แขง็ แหง๎ )การบูรพิมเสน 1.3 การใชแ้ ม่เหลก็ ดดู การใช๎อานาจแมํเหล็ก เป็นวิธีท่ีใช๎แยกองค์ประกอบของสารเน้ือผสมซึ่งองค์ประกอบหนึ่งมีสมบัติในการ ถูก แมํเหล็กดูดได๎ เชํน ของผสมระหวํางผงเหล็กกับผงกามะถัน โดยใช๎แมํเหล็กถูไปมาบนแผํนกระดาษท่ีวางทับของผสม ท้ังสอง แมํเหล็กจะดดู ผงเหลก็ แยกออกมา 1.4 การใชม้ อื หยิบออกหรือเขี่ยออก ใช๎แยกของผสมเนื้อผสม ท่ีของผสมมีขนาดโตพอท่ีจะหยิบออกหรือเขี่ยออกได๎ การแพรํคือการเคล่ือนท่ีของ โมเลกุลของสารชนิดหน่ึงจากที่หนึ่งไปยังอีกท่ี หนึ่ง ทั้งนี้การแพรํเกิดได๎หลายรูปแบบแล๎วแตํแรงขับเคลื่อนที่มีใน ขณะน้นั การแพรขํ องสารแบบธรรมดา (simple diffusion) คือการเคลอ่ื นทขี่ องโมเลกุลสาร จากท่ีท่ีความเข๎มข๎นมาก ไปความเขม๎ ข๎นนอ๎ ย ตวั อยาํ งท่ีเห็นงํายๆก็ คือ เวลาเราหยดหมึกลงในน้าแล๎วโมเลกุลหมึกคํอยๆกระจายไปในโมเลกุล นา้ 1.5 การตกตะกอน การตกตะกอน ใชแ๎ ยกของผสมเนื้อผสมท่ีเป็นของแข็งแขวนลอยอยํูในของเหลว ทาได๎โดยนาของผสมนั้นวาง ทิ้งไวใ๎ หส๎ ารแขวนลอยคํอยๆ ตกตะกอนนอนกน๎ ในกรณีทีต่ ะกอนเบามากถ๎าต๎องการให๎ตกตะกอนเร็วข้ึนอาจทาได๎โดย

46 ใช๎สารตัวกลางให๎อนุภาคของตะกอนมาเกาะ เมื่อมีมวลมากขึ้น น้าหนักจะมากขึ้นจะตกตะกอนได๎เร็วขึ้น เชํน ใช๎ สารส๎มแกวงํ อนุภาคของสารสม๎ จะทาหน๎าทเ่ี ป็นตัวกลางใหโ๎ มเลกลุ ของสารท่ตี ๎องการตกตะกอนมาเกาะ ตะกอนจะตก เรว็ ขึน้ 1.6 การใชก้ รวยแยก ใช๎แยกสารเนื้อผสม ท่ีเป็นของเหลวผสมอยํูกับของเหลวแตํไมํรวมเป็นเน้ือเดียวกัน โดยของเหลวที่มี ความ หนาแนํนนอ๎ ยกวาํ จะอยูํข๎างบน ของเหลวท่ีมีความหนาแนํนมากกวํา จะอยูํข๎างลําง ตัวอยําง การแยกน้ามันที่ผสมปน อยํูกับน้า ทาได๎โดยนาของผสมมาใสํลงในกรวยแยก น้ามันมีความหนาแนํนน๎อยกวําน้าจะลอยอยํูเหนือน้า จากนั้น คํอย ๆเปิดกอ๏ กของกรวยแยกไข แยกนา้ ออกมากํอน และแยกน้ามันออกมาทหี ลงั 1.7 การสกัดดว้ ยตัวทาละลาย การสกดั ด๎วยตวั ทาละลาย เป็นวิธีทาสารใหบ๎ รสิ ุทธิ์ หรอื เป็นวธิ ีแยกสารออกจากกันวิธีหน่ึงการสกัดด๎วยตัวทา ละลาย อาศยั สมบัติของการละลายของสารแตลํ ะชนดิ สารทตี่ ๎องการสกดั ตอ๎ งละลายอยูใํ นตัว ทาละลายซอลซ์เลต เป็น เคร่ืองมือที่ใช๎ตัวทาละลายปริมาณน๎อย การสกัดจะเป็นลักษณะการใช๎ตัวทาละลายหมุนเวียนผํานสารที่ต๎องการสกัด หลายๆ คร้งั ตํอเนอ่ื งกนั ไปจนกระทั่งสกดั สาร ออกมาได๎เพียงพอ หลักการสกัดสาร เติมตัวทาละลายที่เหมาะสมลงในการท่ีเราต๎องการสกัดจากนั้นก็เขยําแรงๆหรือนาไปต๎ม เพ่ือให๎สารท่ีเรา ต๎องการจะสกัดละลายในตัวทาละลายท่ีเราเลือกไว๎ สารท่ีเราสกัดได๎น้ันยังเป็นสารละลายอยํู ถ๎าเราต๎องการทาให๎ บริสุทธ์ิเราควรจะนาสารที่ได๎ไปแยกตัวทาละลายออกมากํอน อาจจะนาไประเหย หรือนาไปกลั่นตํอไป ตัวอยํางเชํน การสกัดน้าขิงจากขงิ การสกดั คลอโรฟลี ลข์ องใบไม๎ 2. การแยกสารเนอื้ เดียว 2.1 การระเหยแห้ง การแยกสารด๎วยวิธีน้ีเหมาะสาหรับใช๎แยกสารผสมท่ีเป็นของเหลวและมีของแข็ง ละลายในของเหล วน้ี จน ทาให๎สารผสมมีลักษณะเป็นของเหลวใส ซึ่งเราเรียกสารผสมน้ีวํา สารละลาย เชํน น้าทะเล น้าเชื่อมน้าเกลือ เป็นต๎น การแยกสารโดยวิธีการระเหยแห๎งนิยมใช๎ในการแยกเกลือออกจากน้าทะเล มีการนาเกลือเพ่ือแยกน้าทะเลให๎ได๎เกลือ สมุทรโดยวิธีการระเหยแห๎ง ชาวนาเกลือเตรีมแปงนาแล๎วใช๎กังหันฉุดน้าทะเลเข๎าส๎ูแปลงนาเกลือหลังจาก น้ันปลํอย ให๎น้าทะเลได๎รับแสงแดดเป็นเวลานานจนกระท่ังน้าระเหยจนแห๎ง จะเหลือเกลืออยํูในนา เกลือที่ได๎น้ีเรียกวํา เกลือ สมุทรซ่งึ เป็นเกลอื ทน่ี ามาปรุงอาหาร ทาเคร่ืองด่มื การเปล่ยี นอณุ หภูมิและความดันวธิ นี ใ้ี ชส๎ าหรบั แยกของผสมทีอ่ งคป์ ระกอบทง้ั หมดเปน็ ก๏าซแตํละชนดิ มีจดุ เดอื ดไมํเทํากนั การใช้ความร้อนวธิ นี ีแ้ ยกของผสมชนิดก๏าซละลายในของเหลว 2.2 โครมาโทรกราฟี

47 อาศัยสมบัต2ิ ประการคือ สารตํางชนิดกันมีความสามารถในการละลายในตัวทาละลายได๎ตาํ งกนั สารตํางชนิด กนั มีความสามารถในการถูกดูดซับด๎วยตวั ดดู ซบั ไดต๎ ํางกนั โครมาโทกราฟี (chromatography)เป็นการแยกสารผสมท่ีมีสี หรือสารที่สามารถทาให๎เกิดสีได๎ วิธีการน้ี จะมเี ฟส 2 เฟส คือ เฟสอยํูกบั ที่ (stationary phase) กับ เฟสเคลอื่ นท่ี (mobile phase) โดยทส่ี ารในเฟสอยูํกับที่ จะทาหน๎าที่ดูดซับ (adsorb) สารผสมด๎วยแรงไฟฟูาสถิตย์ สารที่ใช๎ทาเฟสอยํูกับท่ีจึงมีลักษณะเป็นผง ละเอียดมี พื้นท่ีผิวมากเชํนอลูมินา (alumina,Al2O3) ซิลิกาเจล(silica gel,SiO2) หรืออาจจะใช๎วัสดุที่สามารถดูดซับได๎ดี เชนํ ชอลก์ กระดาษ ซง่ึ สารท่ีทาหนา๎ ทีด่ ดู ซับในเฟสอยํูกับท่ี เชํน น้า สํวนเฟสเคลื่อนท่ีจะทาหน๎าที่ชะ (elute)เอาสาร ผสมออกจากเฟสอยูํกับท่ีให๎เคลื่อนท่ีไปด๎วย การจะเคลื่อนที่ ได๎มากหรือน๎อยข้ึนอยํูกับแรงดึงดูดระหวํางสารในสาร ผสมกับตวั ดูดซับในเฟสอ ยํูกับท่ี ดงั นั้นสารท่ีใช๎เป็นเฟสเคล่ือนท่ีจึงได๎แกํ พวกตัวทาละลาย เชํน ปิโตรเลียมอีเทอร์ เฮ กเซน คลอโรฟอร์ม เบนซีน ฯลฯ การทาโครมาโทกราฟีสามารถทาได๎หลายวิธีจะแตกตํางกันที่เฟสอยํูกับที่วํา อยูํใน ลักษณะใด เชนํ -โครมาโทกราฟีแบบคอลัมน์ (column chromatography)ทาได๎โดยการบรรจุสารท่ีเป็นเฟสอยํูกับที่ เชํน อลูมินาหรือซิลิกาเจลไว๎ ในคอลัมน์ แล๎วเทสารผสมที่เป็นสารละลายของเหลวลงสํูคอลัมน์ สารผสมจะผําน คอลัมน์ช๎าๆ โดยตัวทาละลายซ่ึงเป็นเฟสเคล่ือนที่ เป็นผู๎พาไป สารในเฟสอยูํกับท่ีจะดูดซับสารในสารผสมไว๎ สวํ นประกอบใดของสารผสมท่ถี กู ดูด ซับได๎ดีจะเคลื่อนที่ช๎า สํวนที่ถูกดูดซับไมํดีจะเคล่ือนท่ีได๎เร็ว ทาให๎สารผสมแยก จากกันได๎ - โครมาโทกราฟีแบบชั้นบาง (thin layer chromatography)เป็นโครมาโทกราฟีแบบระนาบ(plane chromatography) โดยทาเฟสอยูํกับที่ให๎มีลักษณะเป็นครีมข๎น แล๎วเคลือบบนแผํนกระจกให๎ความหนาของการ เคลือบเทํากันตลอดแล๎วนาไปอบให๎แห๎ง หยดสารละลายของสารผสมท่ีต๎องการแยกบนแผํนท่ีเคลือบเฟสอยูํกับท่ีนี้ไว๎ แล๎วนาไปจํุมในภาชนะท่ีบรรจุตัวทาละลายท่ีเป็นเฟสเคล่ือนท่ีไว๎ โดยให๎ระดับของตัวทาละลายต๎องอยํูต่ากวําระดับ ของจุดท่ีหยดสารผสมไว๎ ตวั ทาละลายจะซมึ ไปตามเฟสอยูํกับที่ด๎วยการซึมตามรูเล็กเหมือนกับน้าที่ซึมไป ในกระดาษ หรือผ๎า เม่ือซึมถึงจุดที่หยดสารผสมไว๎ ตัวทาละลายจะชะเอาองค์ประกอบในสารผสมนั้นไปด๎วยอัตราเร็วท่ีแตกตําง กัน ท้ังนี้ขึ้นอยูํกับสภาพมีข้ัว (polarity) ของสารท่ีเป็นองค์ประกอบกับสารท่ีเป็นตัวทาละลาย ถ๎าตัวทาละลายเป็น โมเลกลุ มขี วั้ (polar molecules) จะชะเอาสารในสารผสมที่เปน็ สารมขี ั้วไปด๎วยได๎เรว็ สํวนสารที่ไมํมีข้ัวในสารผสมจะ ถกู ชะพาไปไดช๎ า๎ สารผสมกจ็ ะแยกออกจากกนั - โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ (paper chromatography)เป็นโครมาโทกราฟีแบบระนาบอีกแบบหน่ึง มี วิธกี ารและหลักการเหมอื นกบั โครมาโทกราฟแี บบช้ันบาง แตกตาํ งกันทีเ่ ฟสอยํูกบั ที่ใช๎กระดาษที่สามารถดูดซับได๎แทน กระจกทีเ่ คลือบ ด๎วยซลิ ิกาเจล – โครมาโทกราฟีแบบแกส๏ (gas chromatography , GC) ใชส๎ าหรบั แยกสารผสมท่เี ป็นแก๏ส โดยมเี ฟสเคล่ือนทเี่ ปน็ แกส๏ เชนํ กนั แตํไมํทาปฏกิ ริ ิยากบั สารผสม เชนํ ฮเี ลียม จะทาหน๎าทีเ่ ปน็ ตัวพา (carier) สารผสม สวํ นเฟสอยํูกับที่ อาจจะเป็นของแข็งหรือของเหลวทบี่ รรจอุ ยใูํ นคอลัมน์ เมือ่ ทัง้ ตัวพาและสารผสมเคลื่อนทีผ่ าํ นคอลัมน์น้ี เฟสอยูํกับท่ี ในคอลัมน์จะดึงดูดดว๎ ยแรงดงึ ดดู ไฟฟูาสถติ ย์ตามความเป็นขัว้ ของ สารกับโมเลกลุ ในสารผสมทาใหอ๎ งคป์ ระกอบในสาร ผสมถูกพาไปด๎วยอัตราเรว็ ท่ตี ําง กนั สารผสมก็จะแยกออกจากกนั

48 ปจั จุบนั เทคนิคของโครมาโทกราฟีได๎ถูกพัฒนาให๎สามารถทางานได๎รวดเร็ว และใช๎แยกสารตัวอยํางได๎ครั้งละ หลายสารตัวอยําง เชํน Gas – Liquid Chromatography (GLC), High Performance Liquid Chromatography (HPLC) เปน็ ต๎น หลักการของโครมาโทกราฟี โครมาโทกราฟี อาศัยหลักการละลายของสารในตัวทาละลาย และการถูกดูดซับโดยตัวดูดซับ โดยสารที่ ต๎องการนามาแยกโดยวิธีน้ีจะมีสมบัติการละลายในตัวทาละลาย ได๎ไมํเทํากัน และตัวถูกดูดซับโดยตัวดูดวับได๎ไมํ เทาํ กัน ทาให๎สารเคล่อื นทไ่ี ด๎ไมเํ ทาํ กัน วธิ ีการทาโครมาโทกราฟี นาสารท่ีต๎องการแยกมาละลายในตัวทาละลายที่เหมาะสมแล๎วให๎เคลื่อนท่ีไปบนตัวดูดซับ การเคล่ือนท่ีของ สารบนตวั ดูดซบั ขึ้นอยํูกับความสามารถในการละลายของสารแตลํ ะชนิดในตัวทาละลาย และความสามารถในการดูด ซบั ท่ีมีตํอสารนั้น กลาํ วคือ สารท่ลี ะลายในตวั ทาละลายไดด๎ ี และถกู ดูดซบั นอ๎ ยจะถูกเคล่ือนที่ออกมากํอน สํวนสารท่ี ละลายได๎นอ๎ ยและถูกดดู ซบั ไดด๎ ี จะเคล่ือนทอ่ี อกมาทหี ลงั ถ๎าใช๎ตวั ดูดซบั มากๆ จะสามารถแยกสารออกจากกันได๎ การเลอื กตัวทาละลายและตัวดูดซบั 1. ตัวทาละลายและสารท่ีต๎องการแยกจะต๎องมีการละลายไมเํ ทํากนั 2. ควรเลือกตัวดูดซบั ที่มีการดูดซับสารได๎ไมํเทํากัน 3. ถา๎ ต๎องการแยกสารท่ผี สมกันหลายชนิด อาจต๎องใช๎ตวั ทาละลายหลายชนดิ หรือใช๎ตัวทาละลายผสม 4. ตวั ทาละลายท่นี ิยมใช๎ ได๎แกํ เฮกเซน ไซโคลเฮกเซน เบนซนี อะซโี ตน คลอไรฟอร์ม เอธานอล 5. ตวั ดดู ซับท่ีนิยมใช๎ ได๎แกํ อะลูมินาเจค (Al2O3) ซิลกิ าเจล (SiO2) ข้อดขี องโครมาโทกราฟี 1. สามารถแยกสารที่มปี ริมาณนอ๎ ยได๎ 2. สามารถแยกได๎ทง้ั สารท่ีมสี ี และไมํมสี ี 3. สามารถใช๎ไดท๎ ้งั ปริมาณวิเคราะห์ (บอกไดว๎ าํ สารท่ีแยกออกมา มปี ริมาณเทาํ ใด)และคณุ ภาพวเิ คราะห์ (บอกไดว๎ าํ สารน้นั เปน็ สารชนิดใด) 4. สามารถแยกสารผสมออกจากกนั ได๎ 5. สามารถแยกสารออกจากกระดาษกรองหรือตัวดดู ซับโดยสกดั ดว๎ ยตวั ทาละลาย 2.3 การกลน่ั (distillation) การกล่ันเปน็ การแยกสารละสายท่เี ปน็ ของเหลวออกจากของผสม โดยอาศัยหลักการระเหยกลายเป็นไปและ ควบแนํน โดนที่สารบริสุทธิ์แตํละชนิดเปล่ียนสถานะได๎ท่ีอุณหภูมิจาเพาะ สารที่มจุดเดือดต่าจะเดือดเป็นไอออกมา กอํ น เมือ่ ทาใหไ๎ อของสารมอี ุณหภมู ติ ่าลงจะควบแนํนกลบั มาเปน็ ของเหลวอีกคร้งั

49 2.3.1การกลน่ั แบบธรรมดาหรือการกลน่ั อย่างงา่ ย(simple distillation) เป็นวิธีการท่ีใช๎กลั่นแยกสารที่ระเหยงํายซึ่งปนอยํูกับสารที่ระเหยยาก การกลั่นธรรมดาน้ีจะ ใช๎แยกสาร ออกเป็นสารบรสิ ุทธิ์เพียงคร้ังเดียวได๎สารทีม่ ีจุดเดอื ดตํางกนั ต้ังแตํ 80 องศาเซลเซียส ข้ึนไปเคร่ืองมือที่ใช๎สาหรับการ กลน่ั อยาํ ง งาํ ย ประกอบดว๎ ย ฟลาสกล่นั เทอร์โมมเิ ตอร์ เคร่ืองควบแนํน และภาชนะรองรับสารที่กล่ันได๎ การกล่ันอยําง งาํ ยมเี ทคนคิ การทาเป็นข้นั ๆ ดังน้ี 1. เทของเหลวท่จี ะกล่นั ลงในฟลาสกลั่น โดยใชก๎ รวยกรอง 2. เตมิ ช้ินกันเดอื ดพลงํุ เพ่ือใหก๎ ารเดือดเปน็ ไปอยาํ งสมา่ เสมอและไมรํ นุ แรง 3. เสยี บเทอร์โมมเิ ตอร์ 4. เปดิ นา้ ใหผ๎ าํ นเข๎าไปในคอนเดนเซอรเ์ พ่อื ใหค๎ อนเดนเซอรเ์ ยน็ โดยใหน๎ า้ เข๎าทางท่ตี า่ แล๎วไหลออกทางทสี่ งู 5. ให๎ความร๎อนแกํพลาสกลั่นจนกระท่ังของเหลวเริ่มเดือด ให๎ความร๎อนไปเร่ือยๆจนกระท่ังอัตราการกลั่น คงท่ี คอื ได๎สารทีก่ ล่นั ประมาณ 2-3 หยด ตํอวนิ าที ใหส๎ ารท่กี ลนั่ ไดน๎ ไี้ หลลงในภาชนะรองรบั 6. การกลน่ั ต๎องดาเนินตํอไปจนกระทง่ั เหลอื สารอยํูในฟลาสกล่ันเพยี งเล็กน๎อยอยํากลั่นให๎แหง๎ การกล่นั สามารถนามาใช๎ทดสอบความบรสิ ุทธข์ิ องของเหลวได๎ ซ่ึงของเหลวท่บี รสิ ทุ ธจิ์ ะมีลักษณะดงั นี้ 1. สํวนประกอบของสารทีก่ ลั่นได๎ จะมลี ักษณะเหมือนกับสํวนประกอบของของเหลว 2. สํวนประกอบจะไมมํ ีการเปลี่ยนแปลง 3. อณุ หภมู ขิ องจุดเดอื ดในขณะกล่ันจะคงทีต่ ลอดเวลา 4. การกลั่นจะทาใหเ๎ ราทราบจุดเดือดของของเหลวบรสิ ุทธิ์ได๎ การกลั่นนอกจากจะนามาใช๎ตรวจสอบ ความบริสุทธิ์ของของเหลวแล๎ว ยังสามารถใช๎กล่ัน สารละลายได๎อีก ด๎วย การกลั่นสารละลายเป็นกระบวนการแยกของแข็งท่ีไมํระเหยออกจากตัวทาละลายหรือ ของเหลวที่ระเหยงําย โดยของแข็งท่ีไมํระเหยหรือตัวละลายจะอยูํในฟลาสกลั่น สํวนของเหลวท่ีระเหยงํายจะถูกกลั่นออกมา เม่ือการกล่ัน ดาเนินไปจนกระทัง่ อุณหภูมิของการกลั่นคงที่แสดงวาํ สารที่เหลอื นนั้ เป็นสารบรสิ ุทธ์ิ อน่ึงในขณะกล่ันจะสังเกตเห็นวําอุณหภูมิของสารละลายจะเพ่ิมข้ึนเร่ือยๆ เพราะสารละลายเข๎มข๎นขึ้น เนอ่ื งจากตวั ทาละลายระเหยออกไปและได๎ของแข็งท่ีบรสิ ทุ ธใิ์ นท่สี ุด 2.3.2การกลั่นลาดับสว่ น(fractional distillation) การกลน่ั ลาดบั สวํ นเปน็ วิธกี ารแยกของเหลวท่ีสามารถระเหยได๎ตัง้ แตํ 2 ชนิดข้นึ ไป มีหลักการเชํนเดียวกันกับ การกลัน่ แบบธรรมดา คือเพื่อต๎องการแยกองค์ประกอบในสารละลายให๎ออกจากกัน แตํก็จะมีสํวนที่แตกตํางจากการ กลน่ั แบบธรรมดา คือ การกลัน่ แบบกล่ันลาดับสํวนเหมาะสาหรับใช๎กลั่นของเหลวท่ีเป็นองค์ประกอบของ สารละลาย ที่จุดเดือดตํางกันน๎อยๆ ในขั้นตอนของกระบวนการกล่ันลาดับสํวน จะเป็นการนาไอของแตํละสํวนไปควบแนํน แล๎ว นาไปกลั่นซ้าและควบแนํนไอเร่ือยๆ ซ่ึงเทียบได๎กับเป็นการการกลั่นแบบธรรมดาหลายๆ ครั้งนั่นเอง ความแตกตําง ของการกลนั่ ลาดับสํวนกับการกลัน่ แบบธรรมดา จะอยํูท่ีคอลัมน์ โดยคอลัมน์ของการกลั่นลาดับสํวนจะมีลักษณะเป็น

50 ชัน้ ซบั ซ๎อน เปน็ ช้ันๆ ในขณะทคี่ อลมั น์แบบธรรมดาจะเป็นคอลมั นธ์ รรมดา ไมํมคี วามซบั ซ๎อนของคอลัมน์ ในการกลั่น แบบลาดับสํวน จะต๎องมีการเพ่ิมอุณหภูมิอยํางช๎าๆ ดังน้ัน จาเป็นท่ีจะต๎องมีอุปกรณ์ที่ให๎ความร๎อน (heater) และ สามารถควบคุมอุณหภูมิได๎ เพราะของผสมท่ีกลั่นแบบลาดับสํวนมักจะมีจุดเดือดท่ีใกล๎เคียงกัน ซึ่งตรงกันข๎ามกับการ กลั่นแบบธรรมดา ความร๎อนที่ให๎ไมํจาเป็นต๎องควบคุมเหมือนการกล่ันลาดับสํวน แตํก็ไมํควรให๎ความร๎อนท่ีสูงเกินไป เพราะความร๎อนทีส่ งู เกินไป อาจจะไปทาลายสารท่ีเราต๎องการกลั่นเพราะฉะน้ัน ประสิทธิภาพในการกลั่นลาดับสํวนจึงดีกวําการ กล่นั แบบธรรมดา 2.3.3การกลนั่ น้ามนั ดิบ (refining) เน่ืองจากน้ามันดิบ ประกอบด๎วยสารประกอบไฮโดรคาร์บอนหลายพันชนิด ดังน้ันจึงไมํสามารถแยกสารท่ีมี อยูํออกเป็น สารเดี่ยวๆได๎ อกี ท้ังสารเหลวน้มี ีจุดเดอื ดใกล๎ เคียงกันมากวิธีการแยกองค์ ประกอบน้ามันดิบจะทาได๎โดย การกล่ันลาดับสวนและเก็บสารตามชวงอุณหภูมิ ซึ่งกํอนท่ีจะกล่ันจะต๎องนาน้ามันดิบมาแยกเอาน้าและสารประกอบ กามะถนั ออกซิเจน ไนโตรเจนและโลหะหนักอ่ืนๆ ออกไปกํอนท่ีจะนาไปเผาที่อุณหภูมิ 320-385 C ผลิตภัณฑ์ที่ได๎ จากการกลั่น ได๎แกํ - ก๏าซ (C1 – C4) ซ่งึ เป็ นของผสมระหวํางกา๏ ซมีเทน อเี ทน โพรเพนและบิวเทน เป็นต๎นประโยชน์ : มีเทนใช๎ เป็นเชื้อเพลงิ ผลติ กระแสไฟฟูา อเี ทน โพรเพนและบิวเทน ใชํในอุตสาหกรรม - ปโิ ตรเคมี และโพรเพนและบวิ เทนใชํ ทากา๏ ซหงุ ต๎ม (LPG) - แนฟทาเบา (C5 – C7) ประโยชน์ : ใชท๎ าตัวทาละลาย – แนฟทาหนัก (C6 – C12) หรือ เรยี กวาํ นา้ - มันเบนซนิ ประโยชน์ : ใชท๎ าเชือ้ เพลงิ รถยนต์ - น้ามนั กา๏ ด (C10 – C14) ประโยชน : ใช๎ทาเชอื้ เพลงิ สาหรบั ตะเกยี งและเคร่ืองยนต์ - น้ามันดเี ซล (C14 – C19) ประโยชน์ : ใชํ ทาเชอ้ื เพลงิ เครือ่ งยนตด์ ีเซล ได๎แกํ รถบรรทุก, เรอื - น้ามนั หลอํ ลืน่ (C19 – C35) ประโยชน์: ใชํทานา้ มันหลํ อล่นื เคร่ืองยนตเครื่องจกั รกล - ไขนา้ มนั เตาและยางมะตอย (C > C35) 2.3.4 การสกดั โดยการกลน่ั ดว้ ยไอน้า เป็นวิธีการสกัดสารออก จากของผสมโดยใช๎ไอน้าเป็นตัวทาละลาย วิธีน้ีใช๎สาหรับแยกสารท่ีละเหยงําย ไมํ ละลายน้า และไมํทาปฏิกิริยากับน้า ออกจากสารท่ีระเหยยาก การสกัดโดยการกลั่นด๎วยไอน้านอกจากใช๎สกัดสาร ระเหยงํายออกจากสารระเหยยาก แล๎วยังสามารถใช๎แยกสารที่มีจุดเดือดสูงและสลายตัวท่ีจุดเดือดของมันได๎อีก เพราะการกล่ันโดยวิธีน้ีความดันไอเป็นความดันไอของไอน้าบวกความดันไอของของ เหลวท่ีต๎องการแยก จึงทาให๎ ความดันไอเทาํ กบั ความดันของบรรยากาศกํอนทอ่ี ณุ หภมู จิ ะถงึ จดุ เดอื ด ของของเหลวที่ต๎องการแยก ของ ผสมจึงกลั่น ออกมาท่ีอุณหภูมิต่ากวําจุดเดือดของของเหลวที่ต๎องการแยก เชํน สาร A มีจุดเดือด 150 C เม่ือสกัดโดยการกลั่น ด๎วยไอน้าจะได๎สาร A กลายเป็นไอออกมา ณ อุณหภูมิ 95 C ที่ความดัน 760 มิลลิเมตรของปรอท อธิบายได๎วํา ที่ 95 C ถ๎าความดันไอของสาร A เทํากับ 120 มิลลิเมตรของปรอท และไอน้าเทํากับ 640 มิลลิเมตรของปรอท เม่ือ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook