4. กระบวนการพัฒนา (ตามข้ันตอน plan do check act) Plan วัตถุประสงคก์ ารทำ แผนกิจกรรม Do Check Act นวตั กรรม 1.เพ่ือสรา้ งสื่อการ 1.ขน้ั เตรียมการ การทำเครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ น 1. ประเมินผลความ - การพฒั นา เรยี นรผู้ า่ น 1.1. ประชมุ กบั การวิจัยครง้ั นี้ พึงพอใจจากการใช้ แอพพลเิ คช่นั สื่อให้ แอพพลิเคช่นั เร่อื งการ สมาชกิ ในกลมุ่ ประกอบด้วย 2 สว่ น คือ งานแอพพลเิ คช่ัน ของ ความรู้ออนไลน์ การ ฉดี ยาทางกลา้ มเนือ้ กำหนดหัวข้อ 1.เครื่องมือทใ่ี ชใ้ นการ นักศึกษาพยาบาลศา ฉีดยาเข้ากล้ามเน้อื ของนกั ศกึ ษา เป้าหมาย ทดลองแอพพลเิ คช่ัน สตรบณั ฑติ ชน้ั ปีท่ี 2 ท่ี สำหรบั นักศกึ ษา พยาบาลศาสตร วตั ถุประสงคแ์ ละวาง เร่ืองการฉดี ยาทาง ได้ จากการใช้งาน นักศึกษาพยาบาลศา บัณฑิตชั้นปีที่ 2 แผนการดำเนนิ งาน กลา้ มเน้ือ เปน็ แอพพลเิ คช่ันมีผลสรุป สตรบณั ฑติ ชั้นปที ่ี 2 มี 2.เพอ่ื ศึกษาผลการ และแบ่งงานภายใน แอพพลิเคชั่นที่เขยี นขึ้น ได้วา่ กลมุ่ ตัวอย่างมี ดังนี้ จดั การเรียนรผู้ า่ น กลุ่ม จากโปรแกรมสำเร็จรปู ความพึงพอใจโดย 1. ควรมกี ารจดั การ แอพพลิเคชั่นเร่อื งการ 1.2. สำรวจคน้ หา Gilde App เปน็ รวมอยูใ่ นระดบั ดมี าก จำนวนการเข้าใชง้ าน ฉดี ยาทางกล้ามเนอ้ื ปัญหาทพี่ บและศกึ ษา โปรแกรมในการสรา้ งสอื่ มผี ลสรปุ ได้ ว่า โดย แอพพลเิ คช่ัน ต่อความรู้ และ ความ ขนั้ ตอนการทำงาน แบง่ เปน็ 2. ควรมกี ารจดั การ การสอนตอ่ จาก พึงพอใจของนกั ศึกษา โดยละเอียด -ด้านเนือ้ หา จำลองสถานการณ์ โปรแกรมเวบ็ พยาบาลศาสตร 1.3. สืบคน้ และ แบบทดสอบ กรณีศกึ ษาท่ี บัณฑิตชน้ั ปีที่ 2 ทบทวนงานวจิ ัยท่ีผา่ น แอพพลเิ คชนั่ ในระบบ สถานการณ์จำลอง หลากหลาย และเพิม่ 3.เพอ่ื เปรียบเทยี บ มารวบรวมและเตรยี ม จะประกรอบไปดว้ ยสือ่ การฉดี ยาเขา้ เรื่องของการคำนวณ ความร้กู ่อน และหลัง ข้อมลู นำเขา้ การสอนดา้ นเน้ือหา กล้ามเน้อื กลมุ่ ยา การใช้สอ่ื การเรียนรู้ 1.4. วางแผนจดั ทำ แบบขอ้ มลู ไฟล์วดิ โี อ ตัวอย่างมีความพงึ 3. ควรมีการจดั การสือ่ ผา่ นแอพพลิเคช่นั เรือ่ ง นวตั กรรม เพื่อแก้ไข ไฟล์ อนิเมชั่นใน พอใจโดย รวมอยูใ่ น ท่หี ลากหลาย เชน่ การฉีดยาทาง ปัญหาและมอบหมาย สถานการณ์ตวั อยา่ ง ระดบั ดมี าก (คะแนน ภาพพื้นหลังให้ดู กล้ามเน้ือของ งานและหนา้ ท่ี ทต่ี อ้ ง ความสะดวกสบายใน เฉล่ีย = 4.45) น่าสนใจ ขนาด นักศึกษาพยาบาลศา รบั ผิดชอบ การใช้งาน ระบบเข้าใจ -ด้านความชัดเจนของ ตัวอกั ษร ความช้า-เร็ว สตรบณั ฑติ ชัน้ ปที ่ี 2 1.5. ออกแบบ ง่าย ระบบที่สามารถเข้า สอ่ื การเรียนรตู้ ามการ ของสือ่ วีดีโอ ความ นวตั กรรม ใช้ได้ทุกอปุ กรณ์ ทำงาน แบบออนไลน์ คมชดั ของรปู ภาพและ 1.6. นำเสนอ ซงึ่ โดยออกแบบส่อื เปน็ ความถูกตอ้ งของ เสียง รวมไปถึงสรปุ นวตั กรรมกบั อาจารย์ ภาพ และวดิ โี อ ผา่ น คำตอบจากการ เนื้อหาใหม้ ีความ ทป่ี รกึ ษา แอพพลเิ คชนั Canva แสดงผลแบบออนไลน์ กระชบั และเข้าใจงา่ ย 1.7. นำนวตั กรรมมา ร่วมกบั Cap cut กลุ่มตวั อย่างมคี วาม มากยง่ิ ข้ึน ปรบั ปรุงแก้ไขตาม สำหรบั สร้างสอื่ กราฟกิ พงึ พอใจโดยรวมอยูใ่ น - ข้อเสนอแนะในการ ทำวิจัยครงั้ ต่อไป จาก
Plan Do Check Act วตั ถุประสงคก์ ารทำ แผนกิจกรรม ดีไซน์ แกไ้ ขภาพถา่ ย ระดบั ดมี าก (คะแนน ผลการวิจัยทไ่ี ดส้ รปุ นวัตกรรม และตดั ตอ่ วิดโี อ และ เฉล่ยี = 4.23) และอภปิ รายผล ข้อเสนอแนะของ Ibis paint ในการ -ดา้ นการใช้งาน ผู้วจิ ยั มแี นวคดิ เป็น อาจารยป์ ระจำกลมุ่ ออกแบบภาพวาด ใน แอพพลิเคชน่ั สามารถ ขอ้ เสนอแนะ ดงั น้ี 1.8. ดำเนนิ การ การจดั ทำเวบ็ ไซตเ์ รอื่ ง นำไปประยกุ ต์ใช้ใน 1. แอพพลเิ คช่ันไม่ ตามทีไ่ ดว้ างแผนไว้ การฉดี ยาทางกลา้ มเน้ือ การฉดี ยาได้จรงิ อยใู่ น สามารถเข้าใชง้ านได้ มีรายการการใชง้ าน ระดับ ดมี าก (คะแนน เป็นจำนวนมากใน และใช้งาน ดงั นี้ เฉลยี่ = 4.52) เวลาเดียวกัน และ 1.กรอกขอ้ มลู ผเู้ ขา้ การ บางคร้ังอนิ เตอรเ์ นต็ มี เรียนรู้ ปญั หากจ็ ะทำใหช้ ้า 2.เลือกเข้าสรู่ ายการ (Menu) 3.ทบทวนความรกู้ าย วภิ าคและสรรี วิทยาของ กลา้ มเนื้อ (Anatomy and physiology) 4.สือ่ วดิ ีโอการฉดี ยา (Medicinal Injection Demonstration Video) 4.1 การเตรียมยาฉดี -การตรวจสอบยา ตาม หลกั 10R -การเตรยี มอปุ กรณ์ (Syringe, เข็มฉีดยา) -การเตรยี มยา 4.2 การจัดท่า การวัด และเลือกบริเวณท่ีฉดี ยา 4.3 การฉดี ยา
Plan Do Check Act วตั ถุประสงคก์ ารทำ แผนกิจกรรม 5.แบบทดสอบ นวัตกรรม สถานการณ์จำลองการ ฉดี ยาทางกล้ามเนือ้ (มี 3 สถานการณ์) 5.1 อา่ น Doctor’s order ตรวจสอบยา 5.2 เลือกชนิดของขนาด Syringe และเบอรข์ อง เขม็ ฉีดยา 5.3 เลือกกล้ามเนื้อฉดี ยา 5.4 เลือกการวดั ตำแหน่งฉดี ยา 5.5 กดฉดี ยา (ถา้ เลอื ก ข้อ 5.2-5.5 ผดิ โปรแกรมจะแจง้ เตือนให้ เลอื กใหมโ่ ดยมี คำแนะนำข้ึนตามหัวขอ้ ท่เี ลือกผิดแลว้ ให้กลบั ไป เลือกใหม่) 5.6 ถา้ เลือกถูกครบทุก ขอ้ โปรแกรมจะทำการ ฉีดยา และจะมีแถบโชว์ รายละเอียดท่ถี กู ตอ้ งขึน้ แสดง 5.7 เลอื กคำแนะนำท่ี เหมาะสมกับสถานการณ์ 2.เครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการ เกบ็ รวบรวมข้อมูล ประกอบดว้ ย
Plan Do Check Act วัตถุประสงค์การทำ แผนกิจกรรม 2.1 แบบประเมนิ ความรู้ นวตั กรรม การฉดี ยาเข้ากลา้ มเนื้อ โดยใชป้ ระเมนิ หลงั การ ใชส้ ื่อการเรยี นรู้ผ่าน แอพพลเิ คชั่นเรือ่ งการ ฉีดยาทางกล้ามเนือ้ 2.2 แบบประเมินความ พึงพอใจของผู้ใช้ แอพพลิเคชัน่ เรอื่ งการ ฉดี ยาทางกล้ามเนือ้ 5. รายละเอียดและวิธกี ารใช้งานนวตั กรรม ข้นั ตอนท่ี 1 กรอกข้อมลู ผเู้ ขา้ การเรียนรู้ ขั้นตอนท่ี 2 เลอื กเขา้ สู่รายการ (Menu) ขั้นตอนที่ 3 ทบทวนความรู้กายวภิ าคและสรรี วทิ ยาของกลา้ มเนอื้ (Anatomy and physiology) ขั้นตอนที่ 4 สือ่ วิดีโอการฉดี ยา (Medicinal Injection Demonstration Video) 4.1 การเตรียมยาฉดี - การตรวจสอบยา ตามหลกั 10R - การเตรยี มอุปกรณ์ (Syringe, เข็มฉดี ยา) - การเตรยี มยา 4.2 การจดั ทา่ การวัดและเลือกบรเิ วณที่ฉดี ยา 4.3 การฉดี ยา ข้ันตอนที่ 5 แบบทดสอบ สถานการณจ์ ำลองการฉดี ยาทางกล้ามเนอ้ื (มี 3 สถานการณ)์ 5.1 อา่ น Doctor’s order ตรวจสอบยา 5.2 เลือกชนดิ ของขนาด Syringe และเบอร์ของเข็มฉดี ยา 5.3 เลอื กกลา้ มเนื้อฉีดยา 5.4 เลือกการวัดตำแหน่งฉีดยา 5.5 กดฉีดยา (ถา้ เลือกขอ้ 5.2-5.5 ผิด โปรแกรมจะแจง้ เตือนใหเ้ ลอื กใหม่โดยมคี ำแนะนำขึ้น ตามหวั ข้อทีเ่ ลือกผดิ แล้ว ใหก้ ลับไปเลือกใหม่) 5.6 ถ้าเลอื กถกู ครบทุกขอ้ โปรแกรมจะทำการฉดี ยา และจะมแี ถบโชว์รายละเอยี ดทถ่ี กู ตอ้ ง ขึ้นแสดง 5.7 เลอื กคำแนะนำที่เหมาะสมกบั สถานการณ์
6. ผลการทดลองใชน้ วัตกรรมและการอภปิ รายผล การวิจัยครั้งนี้มีวัตถปุ ระสงค์เพือ่ พัฒนา สื่อการใหค้ วามรูท้ างออนไลน์ จากเป็นเว็บแอพพลิเคชั่น เป็น แอพพลิเคชั่น สื่อ การให้ความรทู้ างออนไลน์การฉีดยาเขา้ กล้ามเน้ือ ที่มคี ณุ ภาพ สำหรบั นักศึกษาพยาบาลศา สตรบณั ฑิตช้นั ปีท่ี2 และศกึ ษาความพึง พอใจท่ีมีต่อแอพพลิเคช่นั การฉดี ยาเข้ากล้ามเน้ือ ไดแ้ บ่งออกเปน็ 3 ประเดน็ 1) คุณภาพของ แอพพลิเคชน่ั การฉีดยาเขา้ กลา้ มเนอื้ 2) ผลการจัดการความร้ดู ้านเน้อื หา 3)ความพึง พอใจจากการใชง้ านแอพพลิเคช่ัน 5.7.1.คณุ ภาพของ แอพพลิเคช่นั การฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ สำหรบั นกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตรบณั ฑิตชั้นปที ่ี 2 มี ผลสรปุ ไดว้ า่ จากการประเมินผ่านผู้ทรงคุณวุฒิ ตรวจสอบแบบสอบถามการวจิ ยั พบคา่ ความเที่ยงตรงของ แบบสอบถาม (คา่ IOC = 0.68) 5.7.2.ผลการจัดการความร้ดู ้านเนื้อหา ของนักศกึ ษาไดค้ วามรู้ ด้านคา่ เฉลีย่ คะแนนความรภู้ ายหลงั การทดลองใช้สื่อการ เรียนการสอนของนักศึกษาพยาบาลศาสตร บัณฑิตชั้นปีท่ี 2 จำนวน 88 คน ผลการศึกษาพบว่า การเปรียบเทียบค่าเฉลีย่ คะแนน ความรู้ก่อน หลงั การใช้ สอ่ื การเรียนการสอน เพิม่ ขึ้นอย่างมีนัยสำคญั ทางสถติ ทิ ีร่ ะดบั 0.00 เนอื่ งจากมีการใหค้ วามรู้ผ่านสื่อวีดีโอ และ รูปภาพประกอบที่สามารถทำให้ผู้เรียนมีความรู้เพิ่มขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ธีระยุทธ์ หมันหลี ศึกษา การพัฒนา บทเรยี นออนไลน์ เรอื่ ง การประเมนิ พัฒนาการเดก็ ตามคู่มอื เฝ้าระวัง และสง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวัย สำหรับนิสิตแพทย์ พบวา่ บทเรียนออนไลน์ มีคะแนนหลังเรยี นสูงกว่าคะแนนทดสอบก่อนเรียน อยา่ ง มนี ยั สำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.00 จากการศึกษาดังกล่าวจะเห็นว่า การจัดการเรียนการสอนในยุคปัจจุบันที่มีความเจริญก้าวหน้าด้าน เทคโนโลยี ผู้เรียน สามารถประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยมี าช่วยให้เกดิ ประโยชน์ อีกทงั้ สื่อการเรียนการสอนออนไลน์ ผา่ นแอพพลิเคช่นั สามารถเรียนได้ง่าย สะดวก สง่ ผลให้ ผ้เู รยี นมคี วามพึงพอใจตอ่ การใชอ้ ย่ใู นระดี 5.7.3.ความพึงพอใจจากการใช้งานแอพพลิเคชั่น ของ นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 2 ที่ได้ จากการใช้งาน แอพพลเิ คช่นั มผี ลสรุปได้ว่า กล่มุ ตัวอยา่ งมคี วามพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดบั ดีมาก มผี ลสรุปได้ วา่ โดยแบ่งเป็น -ดา้ นเน้ือหา แบบทดสอบสถานการณ์จำลองการฉดี ยาเขา้ กล้ามเนื้อ กลุ่มตวั อยา่ งมคี วามพึงพอใจโดย รวมอยใู่ นระดับ ดี มาก (คะแนนเฉลี่ย = 4.45) -ดา้ นความชัดเจนของส่ือการเรยี นรูต้ ามการทำงาน แบบออนไลนค์ วามถกู ต้องของคำตอบจากการ แสดงผลแบบออนไลน์ กลุ่มตัวอย่างมคี วามพึงพอใจโดยรวมอย่ใู นระดบั ดีมาก (คะแนนเฉลี่ย = 4.23) -ด้านการใชง้ าน แอพพลเิ คชนั่ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการฉีดยาได้จรงิ อยู่ในระดับ ดีมาก (คะแนนเฉลีย่ = 4.52) 7. ข้อเสนอแนะ การพัฒนาแอพพลิเคชั่นส่ือให้ความรูอ้ อนไลน์ การฉีดยาเข้ากล้ามเนือ้ สำหรับนักศกึ ษานกั ศึกษาพยาบาลศาสตรบณั ฑิต ช้ันปีที่ 2 ควรมขี ้อคำนงึ ดงั นี้
5.8.1 แอพพลิเคชั่นสอื่ ใหค้ วามรู้ออนไลน์ การฉดี ยาเขา้ กล้ามเนือ้ สำหรับนักศกึ ษานกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปี ท่ี 2 ควรมกี ารจัดการจำนวนการเข้าใช้งานแอพพลเิ คชน่ั 5.8.2.แอพพลิเคช่ันสื่อใหค้ วามรู้ออนไลน์ การฉดี ยาเขา้ กลา้ มเนอ้ื สำหรับนกั ศึกษานักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตช้ันปที ่ี 2 ควรมกี ารจดั การจำลองสถานการณ์กรณศี กึ ษาทห่ี ลากหลาย และเพม่ิ เร่อื งของการคำนวณยา 5.8.3.แอพพลิเคช่ันสื่อให้ความรู้ออนไลน์ การฉีดยาเข้ากลา้ มเนื้อ สำหรับนักศึกษานักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชน้ั ปที ่ี 2 ควรมีการจัดการสื่อที่หลากหลาย เช่น ภาพพื้นหลังให้ดูน่าสนใจ ขนาดตัวอักษร ความช้า-เร็วของสื่อวีดีโอ ความคมชัดของ รูปภาพและเสียง รวมไปถึงสรปุ เนอ้ื หาใหม้ คี วามกระชบั และเข้าใจง่ายมากยิ่งขนึ้ 5.9.ข้อเสนอแนะในการทำวิจยั ครัง้ ตอ่ ไป จากผลการวิจัยทไ่ี ด้สรุปและอภปิ รายผล ผ้วู จิ ยั มแี นวคดิ เปน็ ข้อเสนอแนะ ดงั น้ี 5.9.1. แอพพลเิ คชัน่ ไมส่ ามารถเข้าใช้งานไดเ้ ป็นจำนวนมากในเวลาเดยี วกัน และบางครงั้ อินเตอร์เนต็ มปี ญั หาก็ จะทำให้ช้า 8. เอกสารอา้ งอิง กาญจนา จันทร์ไทย. หนงั สือบทบาทหน้าทขี่ องพยาบาลวิชาชพี (พมิ พค์ ร้ังที่ 1). (2561). บรษิ ทั สำนักพิมพ์สอ่ื ตะวัน จำกดั . ณัฎจริ า วนิ ิจฉัย. ผลของการจัดการเรยี นรูด้ ว้ ยโปรแกรม Simulation ฉีดยาต่อความพึงพอใจของ นักศึกษาพยาบาลศาสตรช์ ้ันปีท่ี 2. (2564). วารสารการพยาบาลและสขุ ภาพ ปี 15 ฉบับที่1. ณฐั ธยาน์ ชาบวั คำ. ผลการใช้สถานการณ์จำลองตอ่ ระดบั การรับรู้สมรรถนะตนเองดา้ นทกั ษะการฉดี ยา และ ทักษะการฉดี ยาของ นักศึกษาพยาบาล. (2565). วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสขุ . บังอร ฉางทรพั ย.์ กายวภิ าคศาสตร์1 . พมิ พค์ ร้งั ท8่ี . กรงุ เทพ; สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย;2563. ปฐมามาศ โชติบัณ ,กติ ติพร เนาวส์ วุ รรณ ,ธารนิ ี นนทพุทธ ,จรญุ รตั น์ รอดเนียม. นวตั กรรมชดุ หุน่ ฝกึ ทกั ษะการปฏบิ ตั ิการ พยาบาล Innovation of Assisted Models for Practicing Basic Nursing Skills . (2559). วารสาร วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนสี งขลา ปีที่5 ฉบับท่ี 3. ปรางทิพย์ ฉายพุทธ. การประชุมพยาบาลแหง่ ชาติ คร้งั ที่ 16. จดหมายข่าวสภาการพยาบาล (2562). ปที 2่ี 1 ฉบับท่ี 6. พรทพิ ย์ วงศส์ นิ อดุ ม. การพัฒนาแอปพลิเคชันบทเรียนบนคอมพิวเตอร์พกพา รว่ มกับการเรยี นแบบเพ่ือนชว่ ย เพื่อนทส่ี ่งผลตอ่ การ เรยี นรรู้ ่วมกนั ของนกั เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จังหวัดเพชรบุรี. (2558). วิทยานพิ นธ์ ของมหาวิทยาลัยศิลปากร. มณี อาภานันทกิ ลุ . จริยธรรมในการปฏบิ ัติการพยาบาลของพยาบาลไทยตามการรบั รขู้ องผบู้ รหิ ารทางการพยาบาล. วารสารสภา การพยาบาล, (2557). 29(2) 5-20. มนสภรณ์ วิทูรเมธา. การพฒั นาแนวทางการส่งเสรมิ ความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาลของ นักศกึ ษาพยาบาล. (2559).
วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก ปีที่ 27 ฉบบั ที่ 2. ศริ ิพล แสนบุญสง่ , ช่นื กมล เพ็ชรมณี และธนารยี ์ ปี่ทอง. การพัฒนาเว็บไซตส์ าํ เรจ็ รปู เพือ่ การเรยี นรู้เร่อื ง หลกั การทํางานของระบบ คอมพวิ เตอรส์ ําหรับนกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรยี นเทศบาลท่าเรือ ประชานกุ ลู . (2563). วารสารแม่โจ้เทคโนโลยี สารสนเทศและนวตั กรรม ปีที่ 6 ฉบับท่ี 1. ศยามล รมพิพัฒน์. การพฒั นาแบบจำลองเพอ่ื ฝึกฉีดวัคซนี เข้าในหนังและประสทิ ธิผล ของการใช้แบบจำลอง ตอ่ ทกั ษะการปฏิบตั ิ และความพงึ พอใจ ของนักศกึ ษาพยาบาลชั้นปที ่ี 3. (2564). วารสารวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ปที ่ี 29 ฉบบั ท่ี 4. Chang Chu-Ling. Effectiveness of learning intramuscular injection techniques with aid of an Interactive APP. (2565). Journal of Nursing Education and Practice. Yeter Kurt , Havva Ozturk Professor. The effect of mobile augmented reality application developed for injections on the knowledge and skill levels of nursing students: An experimental controlled study ผลกระทบของ แอปพลเิ คช่ันความเปน็ จริงเสรมิ มอื ถอื ที่พัฒนาขนึ้ สำหรับ การฉีดตอ่ ระดับความรูแ้ ละทักษะของนักศกึ ษาพยาบาล: การศึกษาควบคุมเชิงทดลอง. (2021).https://www.sciencedirect.com/journal/nurse- educationtoday/vol/103/suppl/C
Necklace สร้อยคอขอเกี่ยว กมลวรรณ คำด1ี , กัญญาณัฐ อารีย์2 , จฑุ ารตั น์ ดิษฐปาน3 , ทิพย์วรรณ เกดิ บชู า4 , นันทติ า เวียนทอง5, นิภาวรรณ บญุ ทำนกุ 6 , พจิ ิกาญน์ พวงเงินสกลุ 7 , นางสาวสาลนี า สาเเละ8 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชะนี จักรรี ัช คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบนั พระบรมราชชนก บทคดั ย่อ การผ่าตัดเจาะคอและใส่ท่อหลอดลมคอสำหรับผู้ป่วยภาวะวิกฤต เป็นการรักษาที่พบบ่อยและเกิด ภาวะแทรกซ้อนได้ง่าย พยาบาลในหอผปู้ ่วยมบี ทบาทสำคญั ในการดูแลเพื่อป้องกนั ภาวะแทรกซ้อนในผูป้ ่วยที่ได้รับ การเจาะคอและ ใสท่ ่อหลอดลมคอ การวจิ ยั น้ีเปน็ การวิจยั แบบก่งึ ทดลอง (Quasi experimental research) โดย มวี ัตถปุ ระสงค์ เพอื่ 1) ลดการเลอ่ื นหลุดของแผน่ ท่อเจาะคอขณะทำแผล 2) ลดภาระงานและระยะเวลาในการทำ แผลของพยาบาลและนักศึกษาพยาบาลศาสตร์และ3) ศึกษาความพึงพอใจต่อชิ้นงานนวัตกรรม กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรทางการแพทย์ในโรงพยาบาลและผ้ดู ูแลผู้ปว่ ยที่มีการเจาะคอใส่ท่อหลอดลมคอ จำนวน 30 คน เคร่ืองมือ ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ เครอ่ื งมือทีใ่ ชส้ ำหรบั การทดลอง ไดแ้ ก่ Necklace สร้อยคอขอเกย่ี ว และ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมินความพึงพอใจในนวัตกรรม“Necklace สร้อยคอขอ เกี่ยว” และแบบประเมินคุณภาพผลงานนวัตกรรม “Necklace สร้อยคอขอเกี่ยว” วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปโดยใช้ สถิติใช้แจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและสถิติค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ซึ่งการดูแลท่อหลอดลมคอ จำเป็นต้อง ได้รับการทำความสะอาดอย่างระมัดระวัง ถ้าพยาบาลและผู้ดูแลผู้ป่วยสามารถประเมินปัญหาดังกล่าวได้ จะช่วย ปอ้ งกนั ภาวะแทรกซอ้ นในผปู้ ่วยที่ได้รบั การเจาะคอจากการเล่ือนหลุดของท่อหลอดลมคอ คำสำคัญ: บทบาทพยาบาลการดูแลผูป้ ่วยภาวะวิกฤต,การเจาะคอ,ท่อหลอดลมคอ 1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา การเจาะคอและใส่ท่อหลอดลมคอ เป็นการรักษาที่พบบ่อยในผู้ป่วยที่มีภาวะวิกฤตที่มีปัญหาเกี่ยวกับ ทางเดนิ หายใจสว่ นบน เชน่ มีการอุดก้ันทางเดินหายใจสว่ นบน หรือผปู้ ่วยท่ใี สท่ ่อช่วยหายใจทางช่องปากเวลานาน ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการเจาะคอ2 ทั้งนี้เนื่องจากผู้ป่วยไม่สามารถหายใจได้เอง จำเป็นต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ ผู้ป่วย ที่ไม่สามารถไอขับเสมหะได้เอง เมื่อถึงระยะเวลาต้องเอา ท่อช่วยหายใจออกเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนท่ี เกิดจาก การใส่ท่อช่วยหายใจระยะเวลานาน ผู้ป่วยในหอผู้ป่วยไอซียูจะเป็นทีมผู้ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับ การเจาะคอ และใส่ท่อหลอดลมคอ และพยาบาลในหอผู้ป่วย ไอซียูเป็นหนึ่งในทีมสุขภาพที่สำคัญในการดูแลผู้ป่วยที่มี ภาวะ
วิกฤตที่ได้รับการเจาะคอ และการใส่ท่อหลอดลมคอ เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆที่จะเกิดขึ้นได้1 เช่น ภาวะ hypoxia / ทอ่ เจาะคอเลอื่ นหลุด งานศัลยกรรมกง่ึ วิกฤตใหบ้ ริการผ้ปู ว่ ยหนักทางดา้ นศลั ยกรรม ระบบประสาท และกระดูกและข้อ คิด เป็น ร้อยละ80 เป็นผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจและท่อเจาะคอ โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีปัญหาทางระบบประสาทและ สมอง ซง่ึ ใสท่ ่อระยะเวลา เกิน 14 วัน และปรับเปน็ เจาะคอใส่ท่อเจาะคอแทน มกี ารวางแผนการจำหนา่ ยผู้ป่วย โดยมีท่อ เจาะคอกลบั บ้าน เกดิ อุบตั ิการณ์การเล่ือนหลุดของท่อเจาะคอ 1 ครงั้ ในปงี บประมาณ2560 ความ รนุ แรงระดับ H มีการช่วยฟื้นคนื ชีพ เป็นสาเหตใุ หผ้ ้ปู ว่ ยต้องนอนโรงพยาบาลนานข้ึน9 จากที่กล่าวไว้ข้างต้น แสดงให้เห็นถึงความสำคัญของปัญหาการเกิดเลื่อนหลุดของท่อเจาะคอและใส่ท่อ หลอดลมคอระหว่างเปลี่ยนเชือกผกู แผ่นท่อชั้นนอก ซึ่งแนวทางการดูแลและป้องกันคือการทำความสะอาดที่ตอ้ ง ใช้ความระมัดระวังรวมไปถึงการเปลี่ยนสายเชือกที่ผูกยึด เพราะในระหว่างเปลี่ยนจะเกิดอุบัติการณ์เลื่อนหลุดได้ งา่ ย จากประสบการณ์การขนึ้ ฝึกปฏิบัติงานบนหอผปู้ ่วยและฝึกปฏิบัติงานในชุมชน พบประเดน็ สำคัญที่เป็นปัญหา คือ กลุ่มผู้ปว่ ยที่เกิดการหลดุ ของท่อเจาะคอและใส่ท่อหลอดลม เมื่อต้องใส่กลับเขา้ ไปจะต้องให้แพทย์เป็นผู้ทำคือ ต้องผ่าตัดใหม่เท่านั้น ผู้จัดทำจึงเกิดความสนใจประดิษฐ์นวัตกรรม necklaceสร้อยคอขอเกี่ยว ซึ่งมีลักษณะเป็น ทอ่ ขนาดเลก็ คล้ายสร้อยคอ 1 ชิน้ มีตะขอสปรงิ 2 ชน้ิ สามารถยึดเกี่ยวแผ่นท่อหลอดลมคอด้านนอก ส่งผลต่อการ ป้องกันหรอื ลดอุบตั กิ ารณก์ ารเลอ่ื นหลุด 2. วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ ลดการเลื่อนหลุดของแผน่ ท่อเจาะคอขณะทำหตั ถการ 2. เพอ่ื ลดภาระงานและระยะเวลาในการทำแผลของพยาบาลและนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ 3. เพื่อศึกษาความพงึ พอใจต่อช้นิ งานนวัตกรรม 3. กลุม่ เป้าหมาย บคุ ลากรทางการแพทย์ในโรงพยาบาลและผดู้ แู ลทางการพยาบาลผู้ปว่ ยท่ีมกี ารเจาะคอใส่ท่อหลอดลมคอ 4. กระบวนการพฒั นา (ตามขนั้ ตอน plan do check act) วิธกี ารดำเนินงานตามหลัก PDCA
ขัน้ ตอนที่ 1 การเตรยี มการ (PLAN) 1. การศึกษาเอกสารแนวคดิ และหลกั การ 1.1.ศึกษาค้นคว้าและสำรวจแนวทางการพัฒนา ปัญหาในการพัฒนานวัตกรรมที่คล้ายคลึงกัน รวมทั้ง แนวทางในการแกไ้ ขปญั หา เพ่ือใช้เปน็ แนวคิดและแนวทางที่สามารถนำมาพฒั นา 1.2. แลกเปลย่ี นเรยี นรูแ้ ละการแสวงหาแนวคดิ และหลักการเพอ่ื นำมาสรา้ งนวตั กรรมท่มี ีประสิทธภิ าพ 1.3. ศึกษาเอกสารงานวจิ ัยและจากประสบการณ์ของผทู้ ี่เก่ียวข้อง นำมารวบรวมเป็นฐานขอ้ มูล 2. เลือกนวตั กรรมและวางแผนในการสร้างนวัตกรรม เลือกนวัตกรรมและวางแผนในการสร้างนวัตกรรม โดยประชุมปรึกษากับสมาชิกภายในกลุ่มของ นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช เพื่อพิจารณาเลือกนวัตกรรม โดยเลือก จาก ลักษณะของนวัตกรรมที่มีการเรียนรู้ที่ดีและสร้างประโยชน์ สามารถแก้ไขปัญหาได้ โดยมีแนวทางการ พจิ ารณาการเลือกนวัตกรรม ดังน้ี 2.1 เปน็ นวัตกรรมการเรยี นรู้ทตี่ รงกับความตอ้ งการและมีความจำเป็นในการดำเนนิ ชีวติ ประจำวันหรือ ในการทำงาน 2.2 มคี วามน่าเช่อื ถือและมีความเปน็ ไปไดส้ ูงทจี่ ะสามารถแก้ไขปญั หาและสง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนได้มีการ พฒั นาการเรียนรู้มากขึ้น 2.3 เปน็ นวัตกรรมทีม่ ีแนวคดิ หรือหลกั การทางวิชาการรองรับส่งเสริมให้เกิดความ นา่ เช่ือถอื มากยง่ิ ข้ึน 2.4 สามารถนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ รงิ ใช้งานได้งา่ ย มคี วามสะดวกต่อการใช้และมกี ารพัฒนางาน นวัตกรรมอย่างต่อเน่อื ง 2.5 มีผลการพิสูจน์เชิงประจักษว์ ่า มีการใช้งานนวัตกรรมนี้ในสถานการณจ์ ริงแล้ว สามารถแก้ไขปัญหา ได้ และมกี ารพัฒนาคณุ ภาพการจัดการเรยี นรู้ไดอ้ ยา่ งพงึ พอใจ 3. กำหนดงบประมาณสำหรับการทำนวตั กรรม 4. สำรวจและจัดเตรยี มอปุ กรณ์วัสดุอุปกรณ์ที่จะนำมาใชส้ รา้ งนวัตกรรม 5. นำนวตั กรรมไปทดลองใช้ 6. ตดิ ตามและประเมนิ ผลหลังการนำนวตั กรรมไปทดลองใช้ในกลมุ่ เป้าหมาย ขั้นตอนท่ี 2 การดำเนินการ (DO) 1.ออกแบบนวัตกรรม
2.ลงมอื ตามแผนที่วางไว้ 3.การประดิษฐน์ วัตกรรม -วสั ดอุ ปุ กรณท์ ีใ่ ชใ้ นการประดิษฐน์ วัตกรรม 1.ทอ่ ซลิ โิ คนนม่ิ ขนาด 10x7 mm ยาว 30 เซนติเมตร 2.สปริงดงึ สแตนเลสขนาด 1x3 cm จำนวน 2 อนั
3.เชอื กผูกท่อ Tracheostomy tube -การประดิษฐ์ 1.นำทอ่ ซลิ ิโคนกรดี กลางเพอื่ ใสเ่ ชือกข้างใน 2.เจาะรปู ลายทอ่ ท้งั 2 ดา้ นของทอ่ ซิลิโคนเพ่ือนำสปรงิ มาเกยี่ ว 3.นำเชือกใสเ่ ขา้ ท่อซิลโิ คน 4.วิธกี ารสร้างนวตั กรรม 1.ออกแบบนวัตกรรม “Necklace สรอ้ ยคอขอเกย่ี ว” 2.ลงมือทำนวัตกรรมตามทไ่ี ด้ออกแบบไว้ 3.นำนวัตกรรมที่เสร็จสมบูรณไ์ ปทดลองใช้กับกลุ่มเป้าหมาย 5.การนำนวตั กรรมไปใช้ นำนวัตกรรมไปใช้กบั กลุ่มผู้ป่วยท่ีมกี ารเจาะคอและใสท่ ่อหลอดลมคอในโรงพยาบาลบา้ นโป่ง และ โรงพยาบาลพทุ ธมณฑล
ข้ันตอนท่ี3 การกำกับติดตาม (Check) 1.สรปุ ผลการตรวจสอบประสิทธภิ าพของผลงานนวัตกรรมที่ประดิษฐ์คิดคน้ 2.สรุปผลการนำนวตั กรรมไปทดลองใชก้ ับกลุ่มเป้าหมาย โดยสรปุ จาก - ทำแบบประเมนิ หลงั ทดสอบใชน้ วัตกรรม “Necklace สรอ้ ยคอขอเกี่ยว” - นำเสนอผลการทำแบบประเมิน หลงั การใช้นวตั กรรม ขน้ั ตอนท่ี 4 การปรบั ปรงุ นวัตกรรม (ACT) 1.ปรบั ปรุงชน้ิ งานนวตั กรรมให้มปี ระสิทธภิ าพและประสิทธิผลตามคำแนะนำของผ้เู ชยี่ วชาญ 2.ปรับปรงุ ชน้ิ งานนวัตกรรมให้มปี ระสิทธภิ าพและประสิทธิผลภายหลงั การทดลอง 3.ปรบั ปรุงชน้ิ งานนวตั กรรมจากแบบประเมนิ คุณภาพและความพงึ พอใจ 5. รายละเอยี ดและวิธีการใช้งานนวัตกรรม 1.เตรยี มชนิ้ งานนวตั กรรม และนำมาเก่ียวกบั Protect tube tracheostomy ด้านนอกก่อนทำแผล 2.จากนน้ั ทำความสะอาดแผลทง้ั หมด และผกู เชอื กเสร็จจงึ นำนวตั กรรมออก 6. ผลการทดลองใช้นวัตกรรมและการอภปิ รายผล จากผลการวเิ คราะห์ พบวา่ ประชากรและกล่มุ ตัวอย่างสว่ นใหญ่เป็นเพศหญงิ อายเุ ฉล่ีย 31 ปฏบิ ตั ิงานส่วนใหญ่ โรงพยาบาลบา้ นโปง่ มีระยะเวลาในการปฏบิ ตั งิ านเฉล่ยี 7 ปี และระยะเวลาที่ผู้ปว่ ยใส่เจาะคอมากกวา่ 2 เดือน ดา้ นการออกแบบโครงสรา้ งนวตั กรรม 1.การออกแบบนวัตกรรมมีความคิดสรา้ งสรรค์ อย่ใู นระดับพงึ พอใจมากที่สุด 2.วัสดุอปุ กรณ์ที่ใช้ในนวตั กรรมมีความเหมาะสม อยใู่ นระดับพึงพอใจมาก 3.ขนาดของนวตั กรรมมคี วามเหมาะสม อยู่ในระดับพึงพอใจมากทสี่ ุด 4.นวัตกรรมมีราคาประหยัด อยใู่ นระดับพึงพอใจมากทีส่ ุด ด้านการใช้งาน 1.นวัตกรรมมคี วามเหมาะสมสะดวกในการใช้งาน อย่ใู นระดับพึงพอใจมากท่สี ุด 2.นวตั กรรมสามารถชว่ ยลดระยะเวลาในการทำหัตถการ อยใู่ นระดับพงึ พอใจมากที่สดุ 3.นวัตกรรมมมีความปลอดภัย อยใู่ นระดบั พงึ พอใจมาก 4.นวัตกรรมชว่ ยใหท้ ำหัตถการไดง้ ่าย อยู่ในระดบั พงึ พอใจมากทสี่ ุด
ด้านการนำไปใช้ประโยชน์ 1.นวตั กรรมนำไปใชป้ ระโยชน์ได้จริง สะดวกและรวดเรว็ อยูใ่ นระดบั พึงพอใจมากทสี่ ดุ 2.นวตั กรรมสามารถทำความสะอาดได้งา่ ย และสามารถนำกลับมาใชใ้ หม่ได้ อยูใ่ นระดบั พึงพอใจมาก ดา้ นความปลอดภยั ทำหัตถการปกตเิ สี่ยงต่อการเล่ือนหลดุ ของท่อเจาะคอระหวา่ งทำหัตถการ และทำหัตถการโดยใช้ นวตั กรรมเลยี่ งตอ่ การเล่อื นหลดุ ของท่อเจาะคอระหว่างทำหตั ถการ ดา้ นระยะเวลาในการทำหัตถการ ระยะเวลาทำหตั ถการปกติ และระยะเวลาทำหัตถการโดยใชน้ วัตกรรม อภปิ รายผล จากการศึกษา พบว่า ความพึงพอใจในการใชน้ วัตกรรมในภาพรวม อยูใ่ นระดบั พึงพอใจมากที่สดุ และ ดา้ นความปลอดภัยของการใช้นวัตกรรมกับผ้ปู ว่ ยช่วยลดภาวะแทรกซ้อนจากการเลื่อนหลดุ ของท่อเจาะคอ มากกวา่ การทำหตั ถการปกติ ด้านระยะเวลาในการทำหตั ถการโดยใชน้ วตั กรรมใช้เวลาน้อยกวา่ การทำหัตถการท่ี ไมใ่ ช้นวัตกรรม ซง่ึ สอดคล้องกับบังอร นาคฤทธิ์ และคณะ(2558) ศึกษาเรือ่ ง “การเลื่อนหลุดของท่อช่วยหายใจ และระยะเวลาการใส่เครอื่ ง ช่วยหายใจในผ้ปู ่วยวกิ ฤตท่ีได้รับการดแู ลโดยใช้แนวปฏิบตั ิการ พยาบาลที่สรา้ งจาก หลักฐานเชิงประจักษ์ วทิ ยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑติ ” ผลการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยท่ไี ดร้ ับการดแู ลตามแนว ปฏิบัตกิ ารพยาบาล รว่ มกับการดแู ลตามแนวปฏิบตั ิเดมิ มผี ลทำให้ จำนวนครั้งของการเลื่อนหลุดของท่อชว่ ยหายใจ ลดลง แพทย์และพยาบาลให้การดูแล และปฏบิ ัตติ ามมาตรฐานของแตล่ ะวิชาชีพและ ประสบการณ์ของตนเอง หลงั จากท่ไี ด้นำแนวปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลท่สี รา้ งจากหลกั ฐาน เชงิ ประจกั ษ์ ผูป้ ่วยได้รับการประเมินระดบั ความ รสู้ กึ ตัว การรบั รู้และให้ขอ้ มลู เกี่ยวกบั ความจำเป็นในการใส่ท่อชว่ ยหายใจ อปุ กรณท์ างการ แพทย์ท่ีอย่ใู นตวั ผปู้ ว่ ย แผนการรักษา วิธีการ ตดิ ตอ่ ส่ือสาร ทำให้ผ้ปู ่วยรับร้ถู งึ สถานการณ์ของตนเอง มีความเขา้ ใจและร่วมมือในการ รักษา การประเมินภาวะกระสบั กระสา่ ย/กระวนกระวาย ทำให้พยาบาลมแี นวทางในการประเมนิ ภาวะ กระสับกระส่าย/กระวนกระวายของผูป้ ว่ ย 7. ข้อเสนอแนะ 1.ควรทำใหม้ คี วามแนน่ กันหลดุ ได้มากกว่านี้ 2.อาจเกดิ สนมิ ทีส่ ปริงได้ และบริเวณทเี่ ก่ยี วมคี วาแหลมคมอยู่ อาจเกดิ อันตรายกบั ผู้ปว่ ยได้
3.ปลายลวดที่เก่ยี วสามารถหาวสั ดุปดิ หรอื คลุมไวเ้ พื่อป้องกนั การเสยี ดสี 8. เอกสารอ้างอิง 1.บงั อร นาคฤทธ์ิ . อำภาพร นามวงศ์พรหม เเละน้ำอ้อย ภักดีวงศ์. การเล่อื นหลุดของท่อชว่ ยหายใจและ ระยะเวลาการใสเ่ ครอ่ื ง ช่วยหายใจในผปู้ ่วยวกิ ฤตท่ไี ด้รับการดูแลโดยใชแ้ นวปฏิบตั ิการ พยาบาลท่สี ร้าง จากหลักฐานเชิงประจักษ์.วทิ ยานพิ นธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑติ 2558 [เขา้ ถึงเมอื่ 10 กรกฎาคม 2565]. เขา้ ถึงไดจ้ าก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/kcn/article/download/46863/38840/107929. 2.นงเยาว์ บรรณโศภิษฐ์ และอุราภรณ์ เชยกาญจน์.ผลของการใช้นวัตกรรม neosafe ยึดตรึงท่อหลอดลมคอ ต่ออุบัตกิ ารณเ์ ลื่อนหลุดของท่อหลอดลมคอในทารกแรกเกิด โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช Benefit of neosafe innovation for endotracheal tubes stabilization on incidence of unplanned extubations in the neonates at Maharaj Nakhon Si Thammarat Hospital.โรงพยาบลมหาราชนครศรีธรรมราช.วารสารพยาบาลศาสตร์ และสุขภาพ 2562. [เขา้ ถึงเม่ือ 10 กรกฎาคม 2565]. เขา้ ถงึ ได้จาก: file:///C:/Users/Acer/Downloads/nukkujo,+%23%23default.groups.name.manager%23%23,+12+% E0%B8%99%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%8C%20(2) .pdf. 3.ปารยะ อาศนะเสน . การดูเเลท่อหลอดลมคอหลังการเจาะคอ [หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส]์ . [เข้าถงึ เม่ือ 10 กรกฎาคม 2565]. เขา้ ถงึ ได้จาก https://www.si.mahidol.ac.th/siriraj_online/thai_version/Health_detail.asp?id=1111 , 4.น๊อต เตชะวัฒนวรรณา, ฉนั ชาย สทิ ธพิ นั ธ์, สมเกียรติ วงษท์ มิ และวศิ ษิ ฏ์ อุดมพาณิชย.์ (2548). การถอดท่อ ช่วยหายใจโดยไม่ตั้งใจในหอผปู้ ่วยวิกฤตอายุรกรรม.วารสารวัณโรค,26, 89-100.
5.ณรงค์กร ชัยวงศ.์ แนวคดิ และหลักการพยาบาลผูปวยผูใหญ แบบองครวมในระยะวิกฤตและฉกุ เฉนิ .[เข้าถงึ เมอ่ื 25 กรกฎาคม 2565].เข้าถงึ ไดจ้ าก: https://dspace.bru.ac.th/xmlui/bitstream/handle/123456789/7830/%E0%B9%81%E0%B8%99% E0%B8%A7%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0 %B8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%9C%E0% B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8 %B4%E0%B8%81%E0%B8%A4%E0%B8%95.pdf?sequence=1&isAllowed=y 6. เบญจพร โชคทวีอนันต์, .ภทั ราภรณ์ แกว้ ใหม่, ปริยพงศ์ กจิ นติ ยช์ วี ์.การใหค้ วามรู ้ดา้ นสุขภาพ :การดูแลท่อหลอดลมคอ (Tracheostomy care).2564.[เข้าถึงเม่อื 25 กรกฎาคม 2565].เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: http://www.med.nu.ac.th/dpMed/fileKnowledge/291_2021-07-19.pdf. 7.Kiekkas P, Aretha D, Panteli E, Baltopoulos G, Filos, S. Unplanned extubation in critically ill adults: clinical review. Nurs Critl Care 2012; 18(3): 123-134. 8.Silva PS, Fonseca MC. Unplanned endotracheal extubations in the intensive care unit: systematic review, critical appraisal and evidence-based recommendations. Anesth Analg 2012; 114: 1003-14. 9.Chang, L. Y., Liu, P. F., Katherine Wang, K.W., Chao, Y. F. (2008). Influence of physical restraint on unplanned extubation of adult intensive care patients: A case-control study. American journal of critical care, 17, 408-416. 10. Curry, K., Cobb, S., Kutash, M.,,Didds, C. (2008). Characteristics associated with unplanned extubations in a surgical intensive care unit. American journal of critical care, 17, 45-52.
นวัตกรรมอปุ กรณ์พยุง ลกุ ขน้ึ นัง่ กลุ นษิ ฐ์ สายจำปา1 , ธฌาคพ์ ัสร ใจหลัก2 , ธันยช์ นก หนขู าว3 , นวภัทร เอา๊ เจริญ4 นันทนา เจริญหงษ์ษา5 , ภชั ชญา โชชญั ยะ6 , มติการ์ รกั อู่7 , มนชั นก เอี่ยมจำปา8 ผศ.ดร.พิมพ์ลดา อนันตส์ ิริเกษม9 1วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จกั รีรชั คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบนั พระบรมราชชนก *[email protected] บทคัดยอ่ การบาดเจ็บไขสนั หลงั ที่กอ่ ใหเ้ กดิ ภาวะอัมพาตทอ่ นล่าง สง่ ผลกระทบต่อชวี ิตของผู้ป่วยทง้ั ทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ ตลอดจนทำให้ผู้ป่วยไม่สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับคนอื่นๆในสังคมได้อย่างเต็มที่ชีวิตของผู้ปว่ ยจะเปลี่ยนไปโดยสิ้นเชิงจาก ภาวะอสิ ระสามารถพึง่ พาตนเองได้ไปสูภ่ าวะท่ีตอ้ งพ่ึงพาผ้อู ื่นมากขึ้นเเละต้องเรียนรู้วธิ ีการจัดการชีวิตของตนเองใหม่ การทำ นวัตกรรมครงั้ น้ีมีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือส่งเสริมผู้ป่วยสามารถพยุงลกุ ขึ้นน่งั ได้เองโดยไม่ตอ้ งพ่ึงพาอาศัยผู้อื่น โดยศึกษาผู้ที่มีปัญหา ดา้ นการลุกนั่งและครอบครัวกรณีศกึ ษาทม่ี ีปญั หาด้านการลกุ น่งั ทั้งกอ่ นและหลงั ใช้นวตั กรรม เคร่อื งมือวิจยั ได้แก่ นวัตกรรม อุปกรณพ์ ยุง ลกุ ข้นึ นง่ั ซ่ึงผ้วู ิจัยประดษิ ฐ์เป็นอปุ กรณ์เสริมท่ใี ช้กบั เตียงปกติทบ่ี ้านของคนไข้ เครื่องมือท่ีใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แบบประเมินความสามารถการลุกขึ้นนั่งบนเตียงของผู้ป่วย และ 2) แบบประเมินความพึงพอใจการใช้นวัตกรรม เครอื่ งช่วยพยงุ ลุกขึน้ น่งั โดยเปรียบเทียบการประเมนิ ก่อนและหลังใชน้ วัตกรรม ผลการศกึ ษา พบว่า กอ่ นใช้นวัตกรรม ผปู้ ่วยไม่สามารถใช้เวลาในการลุกขน้ึ น่งั ด้วยตนเองได้ หลงั ใช้นวตั กรรมผู้ป่วย สามารถลุกนั่งด้วยตนเองได้ ใช้เวลา 12 วินาที จากการศึกษาจะเห็นได้ว่าหลังจากใช้นวัตกรรมเคร่ืองพยุง ลุกขึ้นนั่ง ผู้ป่วย สามารถลกุ ข้นึ นั่งไดด้ ้วยตนเองโดยไม่ตอ้ งพึ่งพาผอู้ นื่ ซึง่ เป็นการสร้างคุณค่าในตนเองและแบง่ เบาภาระหนา้ ท่ีของผู้ดูแลได้มาก ขึน้ อกี ดว้ ย จงึ มีผลทำให้มีทศั นคติทดี่ ีในการมอี ายุยืนยาว มีจติ ใจท่ีเข้มแขง็ มกี ำลังใจทม่ี ุ่งมน่ั เป็นผ้ใู หท้ ่ดี ี คำสำคัญ : บาดเจบ็ ไขสันหลัง อมั พาตทอ่ นล่าง การสร้างคุณค่าในตัวเอง 1. ความเปน็ มาและความสำคัญของปญั หา สมองและไขสันหลังถือว่าเป็นระบบประสาทส่วนกลาง (central nervous system) ไขสันหลังเป็นส่วนของระบบ ประสาทส่วนกลางที่ต่อเนื่องลงมาจากกา้ นสมอง ประกอบด้วยเซลล์ประสาท(neuron) เซลล์เกลีย(glia) ซึ่งทำหน้าที่ค้ำจุน เซลล์ประสาท โพรงน้ำไขสันหลัง (central canal) และเยื่อหุ้มไขสันหลัง (spinal meninges) โครงสร้างทั้งหมดบรรจุอยู่ ภายในช่องกระดูกสนั หลัง(spinal canal) ไขสันหลังทำหน้าท่ถี ่ายทอดกระแสประสาทระหว่างสมองกับส่วนต่างๆของร่างกาย ควบคมุ การตอบสนองของร่างกายหรือรีเฟลก็ ซ์(reflex) และควบคุมศนู ยส์ ร้างรูปแบบการเคลือ่ นไหวกลาง (central (central pattern generator) ของรา่ งกายทั้งหมดไขสันหลงั เป็นเส้นประสาทท่ีอยูภ่ ายในกระดกู สันหลงั ที่เชื่อมไปถึงกระดูกคอ มีหนา้ ที่ ควบคุมระบบประสาทส่วนกลางซง่ึ เปน็ ตัวกลางเช่อื มสัญญาณระหว่างสมองกบั ร่างกายในการรบั รูค้ วามรสู้ กึ ตา่ ง ๆ ทำให้สมอง สามารถสั่งการควบคุมการแสดงออก ปฏิกิริยา และการเคลื่อนไหวต่าง ๆ ของร่างกายได้ ดังนั้น เมื่อไขสันหลังเกิดความ เสียหาย เช่น กระดูกบริเวณคอ หรือกระดูกสันหลงั บาดเจ็บจากแรงกระแทก อาจทำให้ไขสันหลังได้รับความเสียหายจนไม่ สามารถส่งสญั ญาณจากสมองไปยังกลา้ มเนื้อเพ่อื ควบคมุ การเคล่อื นไหวได้
การบาดเจ็บไขสันหลัง (Spinal cord injury SCI) คือ การบาดเจ็บไขสันหลงั รวมถึงรากประสาทท่ีอยู่ ในโพรงของ กระดูกสันหลัง รวมถึงภาวะอาการกดทับรากประสาทส่วน Cauda equina ที่อยู่ในช่องไขสันหลังบริเวณหลังส่วนล่าง การ บาดเจ็บไขสันหลังจะทำให้เกิดความผิดปกตทิ ี่เกิดขึ้นตามหลงั การบาดเจบ็ คือ Paraplegia หมายถงึ การอ่อนแรงหรืออัมพาต ท่อนขา หรอื ทั้งทอ่ นขาและลำตวั อาจเปน็ ทั้งหมดหรือบางสว่ น เนื่องจากมีพยาธิสภาพต้งั แตร่ ะดบั กระดกู หลงั T2 ลงมา ส่งผล ให้ร่างกายส่วนลา่ งของผู้ป่วยไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ โดยอาจมีอาการขาอ่อนแรง สูญเสียความรู้สึกบริเวณขา ระบบ ขบั ถา่ ยผิดปกติ หรอื ปวดหลงั ช่วงล่างอยา่ งรนุ แรง นกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 2 กล่มุ ฝกึ งานท่ี รพ.สต. หนองกลางดา่ น จงึ มกี ารคิดค้นนวัตกรรมอุปกรณ์ พยุง ลุกขึ้นนั่ง ซึ่งเป็นอุปกรณท์ ี่สามารถช่วยใหผ้ ู้ป่วยลุกขึ้นนัง่ ได้ทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเองได้โดยที่ไม่ตอ้ งพึ่งพาผู้อืน่ และส่งเสริมให้ผ้ปู ว่ ยรสู้ กึ มคี ุณคา่ ในตนเองมากขนึ้ 2. วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสง่ เสริมผู้ป่วยสามารถพยงุ ลกุ ขึ้นน่ังไดเ้ องโดยไม่ตอ้ งพ่งึ พาอาศัยผู้อน่ื 3. กลุ่มเปา้ หมาย ผู้ปว่ ยท่มี ีปัญหาดา้ นการลกุ น่งั จำนวน 1 คน 4. กระบวนการพฒั นา (ตามขั้นตอน plan do check act) การเตรียมการ (PLAN) 1.ศึกษาปญั หากำหนดหัวข้อนวตั กรรมท่สี นใจทำโดยนำปัญหาจากประสบการณ์การเยยี่ มบา้ น กรณีศกึ ษา ไดท้ ราบถึงปญั หาของคุณกลอ่ มเกีย่ วกบั โรคกล้ามเนอ้ื อ่อนแรง จากนน้ั จึงคน้ ควา้ หาข้อมลู วิจัย เพ่ิมเตมิ มาสร้างเปน็ งานนวัตกรรม “เครอื่ งพยุง ลกุ ข้ึนนง่ั (The crutches bar)” 2.เสนอหัวข้อ/แนวคดิ เกย่ี วกับนวัตกรรมกบั อาจารยท์ ป่ี รกึ ษา 3.กำหนดโครงออกแบบรา่ งนวัตกรรม 4.กำหนดวัตถปุ ระสงค์ และขอบเขตการดำเนินงาน 5.กำหนดตวั ชว้ี ัดและต้ังเปา้ หมาย 6.กำหนดประชากรและกลมุ่ ตวั อย่างแบบเจาะจง การดำเนนิ การ (DO) การออกแบบเกบ็ ข้อมลู จากเคสกรณศี กึ ษาวา่ มีปัญหาในเร่ืองใด จากนนั้ นำวิเคราะหป์ ัญหาและหาขอ้ มลู เกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ชว่ ยในการลกุ น่ัง เมอื่ หาข้อมลู เรยี บร้อยจึงวางแผนและออกแบบอุปกรณท์ ่จี ะชว่ ยใหล้ กุ ขน้ึ นง่ั ด้วยตนเองโดย ทไ่ี มต่ ้องมคี นอนื่ ชว่ ย
การประดษิ ฐ์ 1.ออกแบบนวัตกรรม 2.นำแบบนวัตกรรมทีอ่ อกแบบไปใหช้ ่างเพอื่ ทำการประดิษฐ์ การเกบ็ รายละเอยี ด ตรวจสอบข้อมูลชน้ิ งานนวตั กรรม ก่อนนำไปทดลองใชจ้ รงิ การติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ (CHECK) 1.อาจารยป์ ระจำกลุ่ม ตรวจสอบความถูกต้องของเนือ้ หาก่อนนำไปทดลองใชก้ ับเคสกรณีศกึ ษา 2.ให้ความรแู้ ละประโยชน์ของเครอ่ื งพยุง ชว่ ยลกุ ข้ึนนั่ง (The crutches bar) 3.ใหเ้ คสกรณศี กึ ษาทดลองใชน้ วัตกรรมเครอ่ื งพยงุ ชว่ ยลงุ ข้นึ น่งั (The crutches bar)และติดตามอาการ หลังใชน้ วตั กรรม 4.แบบประเมนิ ความพงึ พอใจหลงั การใชน้ วตั กรรม 5.จากการประเมนิ ผลครอบครัวเคสกรณีศึกษา ครอบครวั มีความเขา้ ใจเรื่องการใชเ้ คร่ืองพยุง ชว่ ยลุกขึ้นน่งั (The crutches bar)และสามารถนำไปใชไ้ ด้อย่างเหมาะสมกบั สง่ิ ที่เปน็ อยู่ การนำผลการประเมนิ ไปปรบั ปรุงพัฒนา(ACT) นำผลการประเมนิ ท่ีได้ไปใช้ปรับปรงุ และพัฒนานวัตกรรม 1.มกี ารปรบั ทีส่ อดใตเ้ ตียงเพื่อเพม่ิ ความมนั่ คงของนวัตกรรม 2.มกี ารเพิ่มท่หี มุ้ เพ่ือลดการเกิดการกระแทก 3.มกี ารปรับแท่นจับเพอ่ื ให้สามารถปรบั ให้เหมาะกับสภาพร่างกายของผู้ปว่ ย
5. รายละเอียดและวธิ กี ารใชง้ านนวัตกรรม ขนั้ ตอนท่ี 1 นำเอานวัตกรรมไปใช้กบั ผู้ปว่ ยท่ีมีปญั หาลุกนัง่ โดยมีขัน้ ตอนในการใช้ ดงั นี้ -อธิบายและสาธิตการใชง้ านนวตั กรรมเครือ่ งพยงุ ลุกขึ้นนัง่ ให้กบั ผูร้ ับบรกิ ารและผูด้ แู ลเพ่อื ความรู้ ความเข้าใจกบั ตวั นวัตกรรมเครอื่ งพยุง ลุกข้ึนน่ังทต่ี รงกนั มากที่สดุ ว่าใชง้ านอย่างไรและมีความเหมาะสมกบั ผูป้ ่วยมากเพียงใด -นำเอานวตั กรรมเครื่องพยุงลุกข้ึนน่ังไปสอดเขา้ ท่ใี ต้เตยี งนอนของผู้ท่ีรบั บรกิ ารเพื่อเพม่ิ ความมน่ั คงของนวตั กรรม มี ทห่ี ุม้ เพ่อื ลดการเกดิ การกระแทกเขา้ กบั ตวั ผู้ท่รี ับบริการ -ปรบั แทน่ จบั ของนวัตกรรมเพื่อใหส้ ามารถปรับให้เหมาะสมกับสภาพรา่ งกายของผูท้ ี่มารบั บรกิ าร -ในระหว่างท่ผี ูร้ บั บริการกำลงั ใช้นวัตกรรมเพ่ือลุกข้ึนนัง่ ด้วยตนเองจะมีการตดิ ตามอาการอาการหลังใช้นวัตกรรม ขั้นตอนที่ 2 สำรวจความพงึ พอใจกับตัวนวัตกรรมโดยใชแ้ บบสอบถามความพงึ พอใจ 6. ผลการทดลองใชน้ วัตกรรมและการอภปิ รายผล การจัดทำนวัตกรรมเครื่องพยุง ลุกขึ้นนัง่ (The crutches bar) จัดทำขึ้นเพ่ือให้ผูเ้ รียนมีความรูค้ วามเข้าใจในเรื่อง ของการทำนวตั กรรมเครื่องพยุง ลุกขึ้นนั่ง การคิดค้นออกแบบนวัตกรรมให้เหมาะสมและสนองตามความต้องการของผู้ปว่ ย สถานที่ทำนวัตกรรม ร้านคุณหมีเชื่อมเหล็ก ตำบลกรับใหญ่ อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ตั้งแต่วันที่ 13 กุมภาพันธ์ -1 มนี าคม พ.ศ.2566 ผลการประเมินนวัตกรรมในการบรรยายตามลำดับ ดงั นี้ ตอนที่ 1 ความสามารถการลุกขึ้นนั่งบนเตยี งของผู้ป่วย พบว่าก่อนใช้นวัตกรรมอุปกรณ์พยงุ ลุกขึ้นนั่ง ผู้ป่วยไม่สามารถลุกนั่งได้ดว้ ยตนเอง แต่สามารถลุกได้เมือ่ มคี นชว่ ย หลงั จากใช้นวตั กรรมอุปกรณพ์ ยงุ ผ้ปู ่วยสามารถลุกข้ึนนัง่ ไดเ้ องโดยใชเ้ วลา 12 วินาที ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจการใช้นวตั กรรมเครือ่ งช่วยพยงุ ลกุ ขนึ้ นั่ง พบว่าผู้ป่วยมีความต้องการของผู้รับบริการต่อนวัตกรรมในระดับมากที่สุด มีความสนใจของผู้รับบริการที่มีต่อ นวัตกรรมในระดับมากท่ีสุด นวัตกรรมเหมาะกบั ผู้รับบรกิ ารในระดับมากที่สดุ นวัตกรรมมีประโยชน์ต่อผู้รับบริการในระดับ มากท่สี ดุ และนวตั กรรมช้นิ นสี้ ามารถดดั แปลงและพัฒนาไปใช้ในระดับมาก อภปิ รายผล จากการศึกษาจะเหน็ ไดว้ ่าหลงั จากใชน้ วตั กรรมเคร่อื งพยงุ ลกุ ขึ้นนง่ั ผู้ปว่ ยสามารถลกุ ข้นึ น่งั ได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้อง พงึ่ พาผอู้ ื่น และยังใชเ้ วลาในการลุกขึ้นน่งั ลดลง ซงึ่ เปน็ การสรา้ งคุณคา่ ในตนเองและแบง่ เบาภาระหน้าที่ของผู้ดูแลได้มากข้ึน อีกด้วย ซึ่งสอดคล้องกับผลการประเมนิ ของตอนที่ 1 ประเมินความสามารถการลุกขึ้นนั่งบนเตยี งของผู้ป่วย พบว่าผู้ป่วยใช้ เวลาไดเ้ ร็วและดีกว่าท่ีต้ังไว้ในการประเมิน จึงมีผลทำให้มีทัศนคติที่ดีในการมีอายุยืนยาว มจี ิตใจที่เข้มแข็ง มีกำลังใจท่ีมุ่งมั่น เป็นผูใ้ ห้ทีด่ ี ส่วนตอนท่ี 2 ความพึงพอใจการใชน้ วตั กรรมเครื่องชว่ ยพยุง ลุกข้ึนนัง่ พบวา่ ความต้องการต่อนวตั กรรมที่ผู้ป่วยได้ ให้ความสนใจในระดับมากทีส่ ุด นวตั กรรมมคี วามเหมาะสมกับผู้รบั บริการในระดับมากทส่ี ุดและสามารถนำนวัตกรรมช้ินนี้ไป ปรับใชแ้ ละพัฒนาต่อยอดในการไปใชใ้ นระดับมาก 7. ขอ้ เสนอแนะ 7.1 ขนาดของชิน้ งานตอ้ งปรับให้เหมาะสมตามขนาดเตียงของผูป้ ว่ ย 7.2 ใช้ในผ้ปู ว่ ยท่ีพอมแี รงดงึ แตไ่ ม่สามารถลกุ ขน้ึ นั่งเองได้
8. เอกสารอา้ งองิ สถาบนั สริ ินธรเพอ่ื การฟนื้ ฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ . (2560). คูม่ ือการดแู ลคนพิการบาดเจบ็ ไขสนั หลงั สําหรับผูป้ ว่ ยบาดเจบ็ ไขสันหลัง อัมพาตครง่ึ ล่าง(พาราพลเี จยี ). (พมิ พ์ครัง้ ท่ี 1). นนทบรุ :ี บรษิ ัท สหมติ รพรนิ้ ติง้ แอนดพ์ ับลสิ ช่ิง จํากัด อภิชนา โฆวนิ ทะ. บทท่ี12การฟนื้ ฟสู ภาพผูป้ ่วยบาดเจบ็ ที่ไขสนั หลงั . คน้ จาก https://w1.med.cmu.ac.th/rehab/images/Study_guide/19_Rehab_in_SCI_AK.pdf อภชิ นา โฆวินทะ. บาดเจ็บทไี่ ขสนั หลัง : แนวทางการประเมินระบบประสาท. เชียงใหม่ : สทุ ินการพิมพ์, 2548. Thaiseniormarket. (2566). การสร้างคุณค่าในตัวเองสำหรับผู้สูงวัย. สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2566. ค้นจาก http://www.thaiseniormarket.com/article-detail/422
เบาะลมชว่ ยพลิกตะแคงตัวผปู้ ว่ ย จริ าทพิ ย์ อนุ่ ธง1 , จีรนันท์ มโนธรรมมั่นคง2 , จรุ ีรัตน์ พมิ พา3 , ชญานนั ท์ จารพุ งษ์4 , ชฎาภร จนั ทร์เทวี5 , ชนาภา มลู ทองคา6 , ญาณศิ า ยารมั ย์7 และเนาวรัตน์ น้อยพนั ธุ์8 1วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี จักรรี ชั โทรศพั ท์ 0810106797 [email protected] บทคัดย่อ การศกึ ษาจัดทานวตั กรรมเบาะลมชว่ ยพลิกตะแคงตวั ผปู้ ่วยมีวัตถปุ ระสงคเ์ พ่อื พัฒนานวตั กรรมที่ชว่ ยลดการเกิดแผล กดทับ เพ่ือสร้างนวัตกรรมช่วยผ่อนแรงในการพลิกตะแคงผู้ป่วยกลมุ่ ติดเตียง และเพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อนวัตกรรมเบาะ ลมชว่ ยพลกิ ตะแคงตัวผปู้ ่วยกลุ่มติดเตียง กลุม่ ตวั อย่างคือผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตยี ง 2 คน จาก หมู่ 2 ตาบลลาดบัวขาว อาเภอบา้ น โปง จังหวัดราชบุรี และนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีท่ี 3 จานวน 13 คน รวม 15 คน มีเคร่ืองมือในการประเมินคือ แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ทดสอบนวัตกรรมเบาะลมช่วยพลิกตะแคงตัวผู้ป่วย ผลการศึกษาพบว่าคะแนนเฉล่ียแบบ ประเมินด้านปัญหาและการพัฒนาเท่ากับ 4.47 แปลผลเป็น มีความพึงพอใจมาก ด้านโครงสร้างนวัตกรรมเท่ากับ 4.52 แปล ผลเป็น มีความพึงพอใจมากท่ีสุด ด้านการใช้งานนวัตกรรมเท่ากับ 4.52 แปลผลเป็น มีความพึงพอใจมากท่ีสุด ด้านผู้ผลิต นวัตกรรมเทา่ กบั 5.33 แปลผลเป็น มีความพึงพอใจมากท่ีสดุ ด้านประโยชน์ของนวตั กรรมต่อบคุ ลากรและผู้ปว่ ยเทา่ กับ 4.36 แปลผลเป็น มีความพึงพอใจมาก ด้านจุดเด่นของนวัตกรรมเท่ากับ 4.55 แปลผลเป็น มีความพึงพอใจมากที่สุด และค่าเฉลี่ย ทกุ ด้านเทา่ กับ 4.48 ดงั น้นั จากการใชน้ วตั กรรมกบั กลมุ่ ตัวอย่างพบวา่ มีความพึงพอใจอยู่ในระดบั มาก คาสาคัญ: ผปู้ ่วยตดิ เตียง , พลกิ ตะแคงตัว
1.ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา แผลกดทบั เกดิ จากแรงกดทับซ่งึ แรงกดท่มี ากกวา่ 32 มิลลเิ มตรปรอท กระทาต่อร่างกายอย่างตอ่ เน่อื งเป็นเวลานาน จะทาใหเ้ ลอื ดไปเลีย้ งบรเิ วณท่ถี ูกกดไมเ่ พยี งพอ ผวิ หนังและเน้อื เยือ่ ขาดออกซเิ จน ทาใหเ้ กิดการตายของผวิ หนงั และเนอื้ เยือ่ ต่าง ๆ ซงึ่ เปน็ ภาวะแทรกซอ้ นทีพ่ บไดบ้ ่อยในผปู้ ว่ ยทีม่ ภี าวะบกพร่องทางการเคล่อื นไหวหรอื ถกู จากัดการเคล่ือนไหวไมว่ ่าจะ เกิดจากพยาธสิ ภาพของโรคเองเชน่ ผู้ปว่ ยบาดเจ็บบรเิ วณไขสันหลงั (spinal cord injury) หรือผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดในสมอง (stroke)1 จากรายงานสถานการณก์ ารเกดิ แผลกดทับในตา่ งประเทศพบวา่ มีแนวโนม้ เพมิ่ สงู ข้ึนทั่วโลก โดยพบการเกดิ แผลกด ทบั ในผปู้ ว่ ยเรอื้ รงั จานวนร้อยละ 0.4-3.8 แตกต่างกันตามบริบทของโรงพยาบาล สาหรบั ประเทศไทยพบอุบัติการณ์การเกดิ แผลกดทบั จานวนรอ้ ยละ 10.8-11.18 หรอื คิดเป็นอตั ราการเกดิ แผลกดทบั 0.58-3.64 ตอ่ 1,000 วนั ที่ผูป้ ว่ ยนอนใน โรงพยาบาล โดยกลมุ่ ผู้ปว่ ยมกั เปน็ ผูส้ งู อายแุ ละมกั จะมจี านวนวนั ทน่ี อนภายในโรงพยาบาลเปน็ ระยะเวลานาน2 ระดับของ แผลกดทบั ทีเ่ กดิ ขน้ึ บอ่ ยท่ีสดุ คือระดับท่ี 1 (43.5%) และระดบั ที่ 2 (28.0%)3 ตาแหน่งของรา่ งกายทีพ่ บบ่อยทีส่ ดุ ท่ไี ดร้ บั ผลกระทบจากความเสยี หายจากแรงกด คอื กระเบนเหน็บ (28%-36%) ส้นเท้า (23%-30%) และก้นกบ (17%-20%)1,4 การดูแลผู้ป่วยติดเตียง การจัดท่านอนและพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยจึงเป็นกิจกรรมที่มีความสาคัญและมีความจาเป็น อยา่ งยงิ่ ในการปอ้ งกันการเกดิ แผลกดทบั โดยเฉพาะในผปู้ ว่ ยทีช่ ว่ ยเหลือตนเองไม่ไดแ้ ละต้องนอนบนเตยี งนาน ๆ5 โดยการพลิก ตะแคงตัวมีแนวปฏิบัติดังนี้ ท่านอนหงาย ใช้หมอนรองบริเวณศีรษะ ไหล่ และใช้หมอน ผ้าหรือเบาะสอดใต้หัวเข่าและน่อง เพ่ือยกส้นเท้าลอยจากพื้นผิวเตียงป้องกันการกดทับบริเวณส้นเท้า กรณีเตียงปรับระดับได้ ให้จัดท่านอนหงายศีรษะสูง 30 องศา และปรับระดับใต้เขา่ สูงข้นึ เพื่อป้องกนั การเลื่อนไถล จดั ทา่ นอนตะแคงกง่ึ หงายเอยี ง 30 องศา โดยนอนตะแคงก่งึ หงาย ให้สะโพกเอียงทามุม 30 องศากับที่นอน เพ่ือหลีกเล่ียงแรงกดโดยตรงกับปุ่มกระดูกบริเวณไหลแ่ ละสะโพก ใช้หมอน ผ้าหรือ เบาะสอดค่นั ระหวา่ งเขา่ และขาทั้งสองขา้ ง เพอ่ื ป้องกันการเสียดสีและลดแรงกดทับระหวา่ งปุม่ กระดูก6 แผลกดทับส่งผลให้มีการอักเสบของเนื้อเยื่อ เกิดการติดเชื้อในกระแสเลือดท่ีรุนแรงจนอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ทาให้ คา่ ใชจ้ ่ายในการดูแลแผล ค่ายา และอปุ กรณ์สิ้นเปลืองสูงขนึ้ ผ้ปู ่วย ครอบครัว และผู้ดแู ล มีความทุกข์ มีความเครียดและวติ ก กังวล สูญเสียภาพลักษณ์ ทาให้ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลงการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพผู้ป่วยมาใช้ สาหรับลดหรือรักษาแผลกดทับ เพ่ือเพิ่มประสทิ ธภิ าพในการดูแลผูป้ ่วยทีม่ แี ผลกดทบั จึงเปน็ ส่งิ สาคญั 7 จากทก่ี ล่าวไว้ขา้ งตน้ แสดงให้เห็นถึงความสาคญั ของปัญหาการเกดิ แผลกดทบั ในผู้ป่วยตดิ เตียง ซึ่งแนวทางการดูแล และป้องกนั คือการพลกิ ตะแคงตวั ผปู้ ่วยทุก 2 ชั่วโมง จากประสบการณ์การขึ้นฝึกปฏิบตั งิ านบนหอผ้ปู ว่ ย พบประเดน็ สาคัญที่ เป็นปัญหาคือ กลุ่มผู้ป่วยที่ถูกจากัดการเคล่ือนไหว หรือมีความสามารถในการเคลื่อนไหวลดลง มีจานวนมาก เม่ือต้องพลิก ตะแคงตัวให้ผู้ป่วย บุคลากรจะต้องออกแรงและเป็นกระบวนการที่ใช้เวลาอย่างมาก บางคร้ังบุคลากรประจาหอผู้ป่วยติด กิจกรรมทางการพยาบาลกบั ผปู้ ว่ ยฉุกเฉินหรอื วิกฤติ ทาใหผ้ ู้ป่วยบางรายตอ้ งไดร้ ับการพลิกตะแคงตัวโดยญาตหิ รอื ผ้ดู แู ล ส่งผล ให้ญาติหรือผู้ดูแลเกิดความอ่อนล้า ส่งผลต่อเน่ืองทาให้อุบัติการณ์การเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น ซึ่งผลกระทบที่ รุนแรงเมื่อเกิดแผลกดทับคือ อาจเกิดการติดเชื้อในกระแสเลือดทาให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ ผู้จัดทาจึงเกิดความสนใจประดิ ษฐ์ นวัตกรรมเบาะลมพลิกตะแคงตัวผู้ป่วย ซึ่งมีลักษณะเป็นเบาะทรงสามเหล่ียม 2 ช้ิน สามารถเปิดปล่อยลมเพ่ือช่วยผ่อนแรง และเพ่มิ ประสิทธิภาพของผูด้ แู ลในการจดั ทา่ พลิกตะแคงตวั ผูป้ ว่ ย ส่งผลต่อการป้องกนั หรือลดอบุ ัตกิ ารณก์ ารเกิดแผลกดทับได้ 2.วตั ถุประสงค์ 1.เพ่ือพัฒนานวตั กรรมที่ช่วยลดการเกิดแผลกดทบั 2.เพื่อสรา้ งนวตั กรรมชว่ ยผ่อนแรงในการพลกิ ตะแคงผูป้ ่วยกลุม่ ติดเตียง 3.ศกึ ษาความพงึ พอใจต่อนวตั กรรมเบาะลมช่วยพลกิ ตะแคงตัวผปู้ ว่ ยกลุม่ ตดิ เตยี ง
3.กล่มุ เป้าหมาย ผู้ป่วย ณ หอผู้ป่วยอายุรกรรมชายโรงพยาบาลบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี จานวน 1 คน โดยการคัดเลอื กกลุ่มตวั อย่าง เป็นการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling) และกาหนด คุณสมบัติของกลุ่มตัวอย่าง ดังนี้ ผู้ป่วยติดเตียงที่ไม่ สามารถชว่ ยเหลือตนเองได้ มีคะแนนตามแบบประเมนิ Braden score ชว่ ง 10-12 คะแนน ซึ่งอยู่ในกลุม่ ผู้ปว่ ยมคี วามเสย่ี งสงู (High risk) และมีแผลกดทับต้ังแต่ระดับ 1-2 และบุคลากรท่ีดูแลผู้ป่วย ประกอบด้วย พยาบาล 3 คน ผู้ช่วยพยาบาล 3 คน ญาต/ิ ผูด้ แู ลผู้ปว่ ย 3 คน 4. กระบวนการพัฒนา (ตามข้ันตอน plan do check act) 4.1 ขนั้ ตอนการเตรียม (PLAN) 1. ศกึ ษาปัญหา งบประมาณ ตวั ชว้ี ดั ตา่ ง ๆ กาหนดหัวขอ้ นวตั กรรม แล้วเขียนโครงการนาเสนอ 2. เสนอหวั ข้อและการทางานของนวตั กรรมทร่ี ่างไว้กับอาจารย์ทีป่ รกึ ษากลุ่ม 3. ปรับแกแ้ นวคดิ การทางานของนวัตกรรมและเสนออาจารยท์ ่ีปรกึ ษา 4. สารวจวสั ดอุ ปุ กรณแ์ ละจดั สรรงบประมาณท่ีตอ้ งการใชใ้ นการสรา้ งนวัตกรรม 5. แจกแจงงานใหก้ ับสมาชิกแต่ละคน 4.2 ขนั้ ตอนดาเนนิ งาน (DO) 1. ศกึ ษาเอกสารทีเ่ ก่ียวข้องและวสั ดทุ ี่ใชใ้ นการสรา้ ง 2. กาหนดโครงรา่ งนวัตกรรม รา่ งแบบนวัตกรรมและสง่ ใหอ้ าจารยท์ ีป่ รกึ ษาตรวจสอบ 3. จัดทานวัตกรรมบทที่ 1 2 3 4. พฒั นานวัตกรรม การออกแบบครง้ั ที่ 1 การออกแบบครัง้ ท่ี 2
การออกแบบครั้งที่ 3 สรุป จากการออกแบบคร้ังที่ 2 เนื่องจากแรงท่ีต้องยกผู้ป่วยมีทิศทางไม่เป็นแนวตรง ทาให้ต้องมีการแตกแรง เพ่ือ คานวณแรงที่ใช้ แล้วนามาเปรียบเทียบระหว่างมุม 30๐ 45๐ และ 60๐ เพ่ือหาแรงกระทากับพ้ืนราบน้อยท่ีสุด เมื่อนามา เปรียบเทยี บกบั การใชเ้ บาะลมช่วยพลกิ ตะแคงตวั ผูป้ ว่ ย หมายความว่า จะมีการออกแรงในการพลกิ ตะแคงตวั ผู้ป่วยน้อย จึงได้ อา้ งองิ จากการแตกแรงของหลักฟิสกิ ส์ พบว่า มุม 60๐ เปน็ มุมท่ีมีแรงกระทากับพ้นื ราบนอ้ ยท่สี ดุ ซงึ่ หากนามาเปรยี บเทียบกับ การใช้เบาะลมช่วยพลกิ ตะแคงตัวผปู้ ่วย พบว่า จะใช้แรงในการพลกิ ตะแคงผ้ปู ่วยนอ้ ยท่ีสุด จึงเลือกมมุ 60๐ มาทาในสว่ นของ ตวั เบาะลมชว่ ยพลิกตะแคงผปู้ ่วย 5. นาไปทดลองใช้ โดยนาไปใช้กับนักศึกษาปี 3 จานวน 15 คน จากนั้นให้ทาแบบสอบถาม แล้วนามาสรุปค่าความ พงึ พอใจ และปรับแก้นวัตกรรมตามขอ้ เสนอแนะ 6. ประสานวิทยาลยั ในการทาหนงั สอื ประสานขออนุญาตกับทางโรงพยาบาล เพ่ือทดลองใช้นวตั กรรม 7. คัดเลอื กผูป้ ว่ ย โดยประสานงานกบั หัวหน้ารพสต. และอสม.หมู่ 2 ตาบลลาดบวั ขาว อาเภอบ้านโปง่ จงั หวัด ราชบรุ ี เพือ่ ทดลองใชน้ วัตกรรม ตามเกณฑ์ Braden score ชว่ ง 15-18 คะแนน ซึง่ อยใู่ นกลมุ่ ผ้ปู ่วยมคี วามเสย่ี ง (At rick) และมแี ผลกดทบั ตงั้ แต่ระดับ 1-2 ซ่งึ ไดผ้ ปู้ ่วยจานวน 1 คน 8. คดั เลือกพยาบาล ผชู้ ว่ ย ญาต/ิ ผู้ดแู ล โดยวธิ กี ารเลือกกลุ่มตวั อย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) กาหนด คุณสมบตั ิคือเปน็ พยาบาลหรอื ผดู้ แู ลท่ใี ช้นวตั กรรมในการช่วยพลกิ ตะแคงตวั ผู้ป่วยซงึ่ ไดญ้ าตทิ ี่เปน็ ผ้ดู แู ลผูป้ ว่ ยจานวน 2 คน 9. ทดลองใช้นวัตกรรม งบประมาณและวัสดอุ ุปกรณ์ในการทา 382 บาท 1. ผา้ ยางเคลอื บ PVC 117 บาท 2. กาวตดิ ผา้ ใบ 158 บาท 3. ปัม๊ ลม 125 บาท 4. จุกยาง 150 บาท 5. ผา้ ปูที่นอน 87 บาท 6. แปรงทากาว 71 บาท 7. เข็มและดา้ ย 210 บาท 8. อปุ กรณท์ าโมเดลและเอกสารประกอบนวัตกรรม 1,300 บาท รวม
4.3 ขน้ั ตอนการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ (CHECK) 1. ให้พยาบาล ญาต/ิ ผดู้ ูแลในโรงพยาบาลทไี่ ดใ้ ชง้ านนวตั กรรม ประเมินผลความพงึ พอใจการใชง้ านนวตั กรรมเบาะ ลมพลกิ ตะแคงตวั ผปู้ ว่ ย 2. ประเมินผปู้ ่วยหลงั ใช้งานนวัตกรรมโดยใช้แบบประเมนิ Braden score รวมรวมแบบประเมนิ และขอ้ เสนอแนะ 3. แปลผลการประเมนิ แบบประเมินความพงึ พอใจตอ่ การใชน้ วัตกรรมเบาะลมพลิกตะแคงตัวผูป้ ่วย และสรปุ รวม ขอ้ เสนอแนะ เครอ่ื งมอื และการตรวจสอบคุณภาพเครือ่ งมอื เครือ่ งมอื ท่ใี ชใ้ นการวิจัยครงั้ นีป้ ระกอบด้วย 2 ส่วน คอื 1. เคร่อื งมอื ทใี่ ชใ้ นการทดลอง นวัตกรรมเบาะลมพลิกตะแคงตวั ผู้ป่วย ซึ่งมีลักษณะเป็นเบาะทรงสามเหลย่ี ม 2 ช้ิน สามารถเปิดปล่อยลมเพื่อชว่ ย ผอ่ นแรงและเพ่ิมประสิทธิภาพของผดู้ ูแลในการจัดท่าพลิกตะแคงตัวผูป้ ่วย 2. เครอ่ื งมอื ทใี่ ช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 2.1 แบบประเมนิ ของบราเดน (The Braden Scale for Predicting Pressure Sore Risk) มีการ ประเมินท้ังหมด 6 ด้าน ได้แก่ การรับความรู้สึก (sensory perception) ความเปียกช้ืนของผิวหนัง (skin moisture) ความสามารถในการเคล่อื นไหวของรา่ งกาย (mobility) การปฏิบัตกิ จิ กรรม (activity) ภาวะ โภชนาการ (nutrition) และแรง เสยี ดสแี ละแรงไถล (friction and shear) ช่วงคะแนนอยู่ระหว่าง 6 - 23 คะแนน ค่าคะแนนยิ่งน้อยยง่ิ เส่ียงมาก หรอื แปลผลตามช่วงคะแนน ดังน้ี 19 - 23 คะแนน ไมม่ ภี าวะเสยี่ ง 15 - 18 คะแนน เร่ิมมภี าวะเส่ียง 13 - 14 คะแนน มภี าวะเส่ียงปานกลาง 10 - 12 คะแนน มีภาวะเส่ียงสงู 6 - 9 คะแนน มภี าวะเสี่ยงสูงมาก ซึ่งโดยท่ัวไปคา่ คะแนนเทา่ กับ 16 คือ เร่มิ มีภาวะเส่ยี ง แต่ในกรณีท่ีใช้เครื่องมือน้กี บั ผสู้ ูงอายุ คา่ คะแนนทเี่ ริ่มมภี าวะ เส่ียงจะเทา่ กับ 18 แบบประเมนิ ของบราเดนเปน็ เคร่อื งมือประเมินความเสย่ี งทม่ี คี วามนา่ เชื่อถอื และความแมน่ ยาอยู่ในระดบั ที่ ยอมรบั ได้ แตผ่ ู้ประเมนิ ต้องมีความรู้และเขา้ ใจเก่ียวกบั ปจั จยั เสี่ยงทั้ง 6 ดา้ น ทร่ี ะบไุ วใ้ นเครอ่ื งมือเปน็ อย่างดี โดยคณะผู้จัดทา จะทาการประเมนิ ผ้ปู ่วยทัง้ กอ่ นและหลังใชน้ วัตกรรมเบาะลมช่วยพลิกตะแคงตัวผู้ปว่ ย 2.2 แบบประเมนิ ความพึงพอใจหลังใช้นวัตกรรมเบาะลมช่วยพลิกตะแคงตัวผู้ปว่ ย สร้างแบบประเมินความพึงพอใจ ของผู้เรียนที่สร้างข้ึนโดยผ่านผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน พิจารณาความสอดคลอ้ งของความพึงพอใจทาการวิเคราะหข์ ้อมูลโดยหาค่า IOC เพื่อนามาปรับปรุงแก้ไขคุณภาพของเคร่ืองมือ ความตรงเชิงเนื้อหา ทดสอบโดยการพิจารณาความสอดคล้องจากการ ประเมินโดยให้ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ประเมินให้คะแนนแต่ละข้อคาถาม โดยพิจารณาความสอดคล้องของข้อคาถามกับเนื้อหา ดังนี้ ให้คะแนน +1 สาหรับขอ้ ที่แนใ่ จว่าสอดคล้อง ใหค้ ะแนน 0 สาหรบั ขอ้ ท่ีไม่แนใ่ จ ให้คะแนน -1 สาหรับข้อท่แี นใ่ จวา่ ไมส่ อดคล้อง
หาค่าสมั ประสิทธิค์ วามสอดคลอ้ ง (Index of Item-Objective Congruence, IOC) ซึง่ มีสูตรคานวณ ดังนี้ การวิเคราะห์รายหัวข้อจะเป็นการประเมินเพ่ือดูความสัมพันธ์ของแบบสอบถามในรายหัวข้อด้วยการใช้ตัวสถิติ จานวนหนึ่ง โดยค่าสถิติท่ีสาคัญคือ ความตรงเชิงเน้ือหา ทดสอบโดยการพิจารณาความสอดคล้องจากการประเมินโดยให้ ผ้เู ชี่ยวชาญ 3 ทา่ น ประเมินให้คะแนนแต่ละขอ้ คาถาม โดยพจิ ารณาความสอดคลอ้ งของขอ้ คาถามกับเนอื้ หา ดงั น้ี ใหค้ ะแนน +1 สาหรบั ขอ้ ทแี่ น่ใจวา่ สอดคล้อง ใหค้ ะแนน 0 สาหรับข้อทไี่ มแ่ นใ่ จ ให้คะแนน -1 สาหรบั ขอ้ ท่ีแนใ่ จวา่ ไมส่ อดคลอ้ ง หาคา่ สัมประสทิ ธคิ์ วามสอดคล้อง (Index of Item-Objective Congruence, IOC) ซง่ึ มสี ตู รคานวณ คือ เกณฑ์การพิจารณา คือ ข้อคาถามที่มคี ่า IOC ต้ังแต่ 0.5 ขนึ้ ไป เปน็ ข้อคาถามที่ใช้ได้ ส่วนข้อคาถามที่ มีค่า IOC น้อยกว่า 0.49 ลงมา เป็นขอ้ คาถามทตี่ ้องปรับปรุงและตดั ออก การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ผู้วิจัยร่างหนังสือขออนุญาตในการนานวัตกรรมเบาะลมพลกิ ตะแคงตัวผปู้ ่วย จากคณะอาจารย์และผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ และนาไปยืน่ ให้กบั โรงพยาบาลบา้ นโปง่ จังหวัดราชบุรี 2. ผู้ช่วยวิจัยทาการช้ีแจงวัตถุประสงค์ของการวิจัย โดยแจกเอกสารช้แี จงผ้เู ข้าร่วมการวิจัยและหนังสือแสดงเจตนา ยินยอมเข้าร่วมงานวิจัยให้กลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้ป่วยติดเตียงที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ จานวน 1 คน ได้อ่าน ถ้ากลุ่ม ตัวอย่างยินดีเข้าร่วมงานวิจัยให้กลุ่มตัวอย่างลงช่ือในแบบฟอร์มท่ีกาหนด ประเมินโดยใช้แบบประเมินของบราเดน (The Braden Scale for Predicting Pressure Sore Risk) เพื่อให้ได้ผู้ป่วยติดเตียงตามลักษณะที่กาหนด คือ มีคะแนนตามแบบ ประเมิน Braden score ชว่ ง 10-12 คะแนน ซึง่ อยูใ่ นกลุ่มผู้ปว่ ยมีความเสย่ี งสงู (High risk) และมีแผลกดทับตง้ั แต่ระดับ 1-2 นานวัตกรรมไปใช้โดยอธิบายข้ันตอนการใช้นวัตกรรมเบาะลมพลิกตะแคงผู้ป่วยให้กับพยาบาล ผู้ช่วยพยาบาล ญาติ/ผู้ดูแล ผู้ป่วย จานวนกลุ่มละ 3 คน หลังจากน้ันประเมินความพึงพอใจและประเมินบราเดน (The Braden Scale for Predicting Pressure Sore Risk) หลงั ใช้นวตั กรรม การพทิ ักษ์สทิ ธกิ์ ลมุ่ ตัวอยา่ ง ผู้วิจัยได้ทาการพิทักษ์สิทธิของกลุ่มตัวอย่าง โดยผู้วิจัยขอความยินยอมจากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด ด้วยการช้ีแจง วัตถุประสงค์ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ระยะเวลาที่ใช้ในการตอบแบบสอบถามและสิทธิเข้าร่วม หรือถอนตัว จากการวิจัย หลังจากผู้เข้าร่วมให้การยินยอม ผู้วิจัยดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล และผู้วิจัยเก็บข้อมูลของผู้เข้าร่วมวิจัยเป็นความลับ สาหรบั การนาเสนอผลการวจิ ัย
สถิติทใ่ี ชก้ ารวเิ คราะห์ข้อมลู ผวู้ ิจยั นาข้อมลู ทไ่ี ดม้ าวเิ คราะหโ์ ดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (SPSS Windows Version 17.0) 1. ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอยา่ ง นามาแจกแจงความถ่ี และคานวณคา่ รอ้ ยละ 2. คะแนนความพึงพอใจตอ่ การทดลองหลังใช้งานนวัตกรรมเบาะลมชว่ ยพลกิ ตะแคงตัวผู้ปว่ ย โดยหา ค่าเฉลี่ย ค่ามากที่สดุ ค่าน้อยท่สี ดุ และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 5 = มากทส่ี ุด คา่ เฉล่ยี 4.51-5 4 = มาก ค่าเฉล่ยี 3.51-4.5 3 = ปานกลาง ค่าเฉลยี่ 2.51-3.5 2 = นอ้ ย คา่ เฉลยี่ 1.51-2.5 1 = น้อยทส่ี ดุ คา่ เฉลยี่ 1-1.5 4.4 ข้นั ตอนการนาผลการประเมนิ ไปปรบั ปรงุ พฒั นา (ACT) 1. วเิ คราะหแ์ ละอภิปรายผลการประเมนิ แบบประเมิน Braden score และแบบประเมนิ ความพงึ พอใจตอ่ การใช้ นวัตกรรมเบาะลมชว่ ยพลิกตะแคงตัว นาข้อเสนอแนะมาสรปุ แนวทางการพฒั นานวตั กรรม 2. ทาการเขียนสรปุ จุดเดน่ จุดด้อย และแนวทางการพัฒนานวัตกรรมหลงั การวเิ คราะห์ 5. รายละเอียดและวิธีการใชง้ านนวัตกรรม 1.นาเอาเบาะลมใสผ่ า้ ปูที่นอน 2.วางผา้ ปูและเบาะลมบนเตยี งผปู้ ว่ ย 3.จัดทา่ ให้ผู้ปว่ ยอยตู่ รงกลาง โดยเบาะลมวางอยูใ่ นช่วงบรเิ วณไหล่ถงึ สะโพกผปู้ ว่ ย ในสว่ นของจุกป๊มั ลมอย่บู ริเวณ ข้างลาตวั 4.เสียบปัม๊ ลมกบั จุกยาง ด้านทีต่ ้องการใหเ้ บาะลมช่วยดันตวั ผู้ป่วยขน้ึ 5.ผู้ดแู ลจัดทา่ และพลกิ ตวั ผ้ปู ่วยขณะเบาะลมดันตวั ผูป้ ว่ ยสงู ขึน้ 6.ดูแลจัดทา่ นอนผปู้ ว่ ย โดยการใชห้ มอนหรือผา้ หม่ รองบรเิ วณดา้ นหลงั และระหว่างขา เพ่ือใหผ้ ปู้ ่วยอยู่ในท่านอน ตะแคง 7.สูบลมทเ่ี บาะลมออก หลงั จากจดั ทา่ ผู้ป่วยเสรจ็ แล้ว อกี 2 ช่ัวโมงทาซ้า แตเ่ ปลยี่ นข้างของเบาะลม 6. ผลการทดลองใชน้ วตั กรรมและการอภิปรายผล ผลการทดลองใช้นวตั กรรม สถติ ทิ ี่ใชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มูลไดแ้ ก่ คา่ เฉลยี่ (���̅���) และคา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) จากการวเิ คราะหข์ อ้ มูลทาง สถติ พิ บวา่ 1.. คุณภาพของเครือ่ งมอื แบบประเมินความพงึ พอใจในการใชน้ วตั กรรมเบาะลมช่วยพลิกตะแคงตวั ผปู้ ว่ ย โดยผู้ช่วยพลกิ ตะแคงตวั ผปู้ ว่ ย อยใู่ นระดบั มากทส่ี ดุ 2. ความพึงพอใจของนกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตรบณั ฑติ จากการทดลองใช้ อยใู่ นระดบั มากที่สุด ตาราง แปลผลคะแนนคา่ เฉล่ยี แต่ละดา้ นจากแบบประเมินความพึงพอใจของการทดลองใช้นวตั กรรม เบาะลมชว่ ยพลกิ ตะแคง ตัวผ้ปู ่วย (Air cushion assisting patient positioning) หลังการทดลอง โดยใช้ค่าเฉล่ียและคา่ สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน
เม่ือแปลผลคะแนนค่าเฉล่ียแต่ละด้านจากแบบประเมิน ความแตกต่างค่าเฉลี่ยคะแนนจากแบบประเมินความพึง พอใจของการทดลองใช้นวัตกรรม เบาะลมช่วยพลกิ ตะแคงตัวผู้ป่วย (Air cushion assisting patient positioning) หลังการ ทดลอง โดยใช้ค่าเฉล่ยี และค่าส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานหลงั เรยี น จานวน 21 ขอ้ โดยมีขอ้ ตกลงตามตารางขา้ งตน้ การอภิปรายผล การทานวัตกรรมครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.) เพ่ือพัฒนานวัตกรรมที่ช่วยลดการเกิดแผลกดทับ 2.)เพื่อสร้าง นวตั กรรมช่วยผ่อนแรงในการพลกิ ตะแคงผู้ป่วยกลุ่มตดิ เตยี ง 3.) ศึกษาความพึงพอใจตอ่ นวตั กรรมเบาะลมช่วยพลิกตะแคงตัว ผปู้ ่วยกล่มุ ตดิ เตียง 1. ผลการประเมินด้านเพศโดยภาพรวมมคี ่าความถี่อย่ทู ี่ 15 รอ้ ยละ 100 ระบุแปลคอื เป็นเพศหญงิ ทง้ั หมด 2. ผลการประเมินด้านอายุโดยภาพรวม อายุ 20-40 ปี มีค่าความถ่ีอยู่ที่ 14 ร้อยละ 93.3 อายุ 40 ปีขึ้นไป มี คา่ ความถอี่ ยูท่ ่ี 1 รอ้ ยละ 6.7 เฉลีย่ อายทุ ั้งหมดเฉล่ียอยู่ 15 รอ้ ยละ 100 ระบุแปลผลคอื เป็นชว่ งอายุ 20-40 ปโี ดยสว่ นรวม 3.ผลการประเมนิ ด้านอาชพี โดยภาพรวม รบั จ้างทัว่ ไปมีคา่ ความถ่ีอยูท่ ่ี 2 รอ้ ยละ 13.3 นักศกึ ษามีค่าความถี่อย่ทู ่ี 13 รอ้ ยละ 86.7 เฉลยี่ อายุทง้ั หมดเฉลย่ี อยู่ 15 รอ้ ยละ 100 ระบุแปลผลคือเป็นอาชพี นักศกึ ษาพยาบาลโดยสว่ นรวม สรปุ ผล คุณภาพของคุณภาพของนวัตกรรมเบาะลมช่วยพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยสามารถผ่อนแรงได้จริง ผลสรุปได้ว่า ผลการ ประเมิน สาหรับกลุ่มตัวอย่างอูย่ในระดับมาก หัวข้อการประเมินท่ีมีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการช่วย พลิกตะแคงตัวผปู้ ่วยสามารถผ่อนแรงไดจ้ รงิ (คะแนนเฉลี่ย =4.48) มีผลสรุปได้ว่า นวัตกรรมเบาะลมช่วยพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยสามารถผ่อนแรงได้จริง ผลสรุปได้ว่า ผลการประเมิน สาหรับกลุ่มตวั อย่างอูยใ่ นระดบั มาก หัวข้อการประเมินที่มคี ่าเฉลีย่ สงู สดุ คือ สามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในการช่วยพลิกตะแคง ตวั ผ้ปู ว่ ยสามารถผ่อนแรงไดจ้ รงิ (คะแนนเฉล่ีย =4.48) 7. ขอ้ เสนอแนะ การพฒั นานวตั กรรมเบาะลมช่วยพลกิ ตะแคงตัวผู้ปว่ ย เพอ่ื ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากขนึ้ ควรมขี อ้ คานึงดงั นี้ 1. ควรลดเสยี งของป๊มั ลมให้เสยี งดังลดลง เพอื่ ลดเสียงรบกวนผูป้ ว่ ยขณะพักผอ่ น 2. การเสยี บจกุ ปัม๊ ลม มวี ิธีการเสยี บยาก และตอ้ งใชแ้ รงเยอะ 3. ควรมีสายเชือ่ มตอ่ เบาะลมกับปม๊ั เพอ่ื ให้เสียบปมั๊ ลมไดง้ า่ ยข้นึ 4. ป๊ัมลมควรมีระยะในการสูบน้อยลง
8.อ้างอิง 1.จฬุ าพร ประสงั สติ , กาญจนา รุ่งแสงจนั ทร์ และยวุ รตั น์ มว่ งเงนิ . (2559). การดแู ลแผล หลักฐานเชงิ ประจักษ์ และ ประสบการณ์จากผเู้ ชยี่ วชาญ. กรงุ เทพฯ: บริษัท พ.ี เอ.ลีฟวิ่ง จากัด. 2.ผกามาศ พีธรากร. การพยาบาลผปู้ ่วยท่มี แี ผลกดทบั โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจกั ษ:์ บทบาพยาบาล.หวั หินเวชสาร 2564;1:1-3 3.นายธนรชั คงสมบรู ณ์. ระบบอัตโิ นมตั เิ พือ่ ปอ้ งกนั แผลกดทับ [อินเทอร์เนต็ ]. Social innovation; 2565 [เขา้ ถึงเมอ่ื 13 กรกฎาคม 2565]. เข้าถึงไดจ้ าก https://social.nia.or.th/2022/open0043/ 4.Zhaoyu Li a, Frances Lin, Lukman Thalib and Wendy Chaboyer. Global prevalence and incidence of pressure injuries in hospitalized adult patients: A systematic review and meta-analysis. International Journal of Nursing Studies. 2020;103546:1-13. 5.Ricci JA, Bayer LR and Orgill DP. Evidencebased medicine:the evaluation and treatment of pressure injuries. Plast Reconstr Surg. 2017;1:275–286. 6.ศิริกัญญา อสุ าหพริ ิยกลุ , ศากลุ ช่างไม้ และวนี สั ลฬี หกลุ . ผลของโปรแกรมการดแู ลผู้ปว่ ยสงู อายกุ ลมุ่ เส่ียงท่ีมภี าวะพึ่งพา ตอ่ ความสามารถในการลงมือปฏิบัติการดแู ลเพ่อื ป้องกนั แผลกดทับ. วารสารคณะพยาบาลศาสตรม์ หาวิทยาลัยบรู พา 2562;4:21-23 7.เทพนารี กว้างเงิน, จารวุ รรณ์ เวชพนั ธ์ และวรรณภิ า อานาจวชิ ญกุล. การป้องกันการเกดิ แผลกดทบั [หนงั สืออเิ ล็กโทร นิกส์]. 2561 [เข้าถึงเมือ่ 10 กรกฎาคม 2565]. เข้าถึงได้จาก https://www.si.mahidol.ac.th/th/division/hph/admin/news_files/660_49_1.pdf 8.นายธนรชั คงสมบรู ณ.์ ระบบอัตโิ นมตั เิ พือ่ ปอ้ งกันแผลกดทบั [อนิ เทอรเ์ น็ต]. Social innovation; 2565 [เข้าถึงเม่อื 13 กรกฎาคม 2565]. เขา้ ถึงไดจ้ าก https://social.nia.or.th/2022/open0043/ 9.บญุ เกดิ ยศรุ่งเรอื ง.เรือ่ ง แรงและกฎการเคล่ือนท่ี [เอกสารประกอบการสอน]. 2563 [เข้าถงึ เม่อื 29 สิงหาคม 2565]. เขา้ ถงึ ได้จาก http://www.krukird.com/L03_1_63.pdf 10.กาญจนา ศรีสวุ รรณจติ ต์ และปวีณา มีประดษิ ฐ์. การศกึ ษานารอ่ งการปรบั ปรงุ อปุ กรณ์ยกเคล่อื นย้ายผู้ปว่ ยดา้ นขา้ งเพือ่ ลด ความเสย่ี งตอ่ การปวดหลังของบุคลากรในโรงพยาบาล. วารสารพยาบาลทหารบก 2564;1: 380-389
ภาพที่ 1 เบาะลมชว่ ยพลกิ ตะแคงตัวผ้ปู ว่ ย
สเต็ปกา้ วลดเท้าชา ณิชาภา เรอื งวงษ์1*, ณฐั ิดา ภักด2ี , ณรี นุช บุญรอด3, ดรุณี ซังยนื ยง4 , เมรสิ า ไชยกติ ติโสภณ5 , วนสั นันท์ สร้อยซม้ิ 6, โสภิตา โดยคำดี7 และอลิสา สขุ สม8 1วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรรี ัช คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบนั พระบรมราชชนก *[email protected] บทคดั ยอ่ โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus) เป็นโรคที่เกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อชนิดหนึ่ง ทำให้ตับอ่อนไม่สามารถ ผลิตหรือหลั่งฮอร์โมนอินซูลินออกมาให้มากเพียงพอ ที่จะใช้เปลี่ยนน้ำตาลที่ร่างกายได้รับจากอาหารพวกแป้งให้เกิดเป็น พลังงานท่ใี ชส้ ำหรับเคลอ่ื นไหว และการทำงานของอวยั วะต่างๆ หรอื เกบ็ สะสมน้ำตาลไว้ในร่างกายทำใหร้ ะดบั นำ้ ตาลในเลือด สูงมากกว่าปกติ จนกลายเป็นโรคดังกล่าว ซึ่งผู้ที่เป็นโรคเบาหวานยังมีอาการแทรกซ้อนจากโรคอีกหลายอย่าง เช่น อาการชา ตามบริเวณปลายประสาท ซึ่งส่งผลให้สูญเสียการรับความรู้สึกอาจเริ่มจากชาตามปลายนิว้ และลุกลามต่อไปยังส่วนอ่ืนๆของ ร่างกาย ไม่ว่าร่างกายส่วนที่สูญเสียการรับรู้ความรู้สึกจะไปสัมผัสกับสิ่งที่ร้อนหรือเยน็ หรือแม้แต่ได้รับบาดแผลผู้ป่วยก็จะไม่ รู้สึกตัวเลย เท้าเป็นอวัยวะของผู้ป่วยเบาหวานที่มีโอกาสเกิดการบาดเจ็บได้ง่ายที่สุดเนื่องจากผู้ป่วยต้องใช้เท้าเดินไปไหนมา ไหนหากประสาทการรับรูท้ ีเ่ ท้าสูญเสียไปเมือ่ ผูป้ ่วยเบาหวานเดนิ ไปเหยียบตะปูหรือของมีคมก็จะไมร่ ู้สึกตัว ยิ่งไปกว่าน้นั แผล ของผู้ป่วยเบาหวานกจ็ ะหายช้ากวา่ คนปกตอิ กี ดว้ ย หากดูแลแผลไม่ดีอาจทำให้เกิดการลกุ ลามจนอกั เสบและตดิ เชื้อได้ ทางผู้จดั ทำจึงได้คิดนวตั กรรมสเต็ปก้าวลดเท้าชา โดยมสี เต็ปการก้าวเดนิ ของแต่ละชอ่ งและแต่ละช่องจะมที ีก่ ดจุด เพ่ือป้องกัน อาการชาบริเวณเท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน และหลกี เล่ียงการเกิดภาวะแทรกซ้อนท่อี าจเกิดขึ้นในภายหลงั เชน่ แผลทเ่ี ท้า คำสำคัญ: เบาหวาน เท้าชา กดจดุ
Stepping Foot Nichapha Rueangwong1*, Natthida Phakdee2, Neeranuch Boonrod3, Darunee Sangyuenyong4 , Merisa Chaikittisophon5, Wanatsanun Sroisim6, Sophita Doikhamdi7 and Alisa Suksom8 1Boromarajonani College of Nursing, Chakriraj: Faculty of Nursing, Praboromarajchanok Institute *[email protected] Abstract Diabetes Mellitus is a type of endocrine disorder.The pancreas cannot produce or secrete enough of the hormone insulin. to convert the sugars that the body receives from starchy foods into energy for movement and functioning of various organs or store sugar in the body, causing blood sugar levels to be higher than normal until it becomes such a disease. People with diabetes also have complications from many other diseases, such as paresthesia in the nerve endings. As a result, loss of sensation may begin with numbness in the fingertips and spread to other parts of the body. No matter if the part of the body that has lost its sensation comes in contact with something hot or cold, or even injures, the patient is completely conscious. Feet are the organs of diabetics that are most prone to injury because patients have to use their feet to walk around if nerves in the feet are lost when diabetics step on nails or objects. sharp, it will not feel In addition, the wounds of diabetic patients will heal more slowly than normal people as well. If the wound is not properly taken care of, it can lead to inflammation and infection.The organizer therefore came up with an innovative step to reduce numb feet. There is a step to walk in each channel and each channel has a pressure point. to prevent foot paresthesia in diabetic patients And avoid complications that may occur later, such as foot ulcers Keywords: Diabetes Mellitus , paresthesia, pressure point
1. บทนำ โรคเบาหวาน คือ โรคที่เซลล์ร่างกายมีความผิดปกติในกระบวนการเปลี่ยนน้ำตาลในเลือดให้เป็นพลังงาน โดย กระบวนการน้ีเกย่ี วข้องกบั อินซลู นิ ซง่ึ เป็นฮอรโ์ มนทีส่ ร้างจากตับออ่ นเพ่ือใช้ควบคมุ ระดบั น้ำตาลในเลอื ด เม่ือน้ำตาลไมไ่ ด้ถกู ใช้ จึงทำให้ระดับนำ้ ตาลในเลอื ดสงู ข้นึ กวา่ ระดับปกติ ภาวะแทรกซอ้ นทางระบบประสาทสว่ นปลายจากโรคเบาหวาน หรือบางคน อาจเรียก “เบาหวานลงเท้า” ภาษาทางการแพทย์เรียก diabetic polyneuropathy อย่างไรก็ตามอาการเท้าชา ซึ่งเป็น ภาวะแทรกซอ้ นเรื้อรังที่เกิดในผูเ้ ป็นเบาหวานได้บ่อยโดยเฉพาะเมื่อเป็นเบาหวานมานาน ๆ และควบคุมระดบั น้ำตาลในเลือด ได้ไม่ดีนัก เกิดขึ้นจากระบบประสาทส่วนปลายเสื่อม ทำให้สูญเสียประสาทรับความรู้สึก ลักษณะอาการเท้าชาที่ เกิดจาก โรคเบาหวาน มักจะมีอาการชาหรือคล้ายเป็นเหน็บและความรู้สึกสัมผัสลดลง ทำให้เมื่อเท้าสัมผัสของมีคม จะไม่รู้สึกเจ็บ อาการเท้าชาที่เกิดขึ้นมักจะมีอาการทั้งสองข้างพร้อม ๆ กัน และเริ่มชาจากปลายนิว้ เท้าก่อน แล้วเริ่มชาไล่ขึ้นไปบริเวณหลงั เท้าและขาทั้งสองข้าง ในกรณีรุนแรงจะมีระบบประสาทอัตโนมัติเสื่อมร่วมด้วย ทำให้ผิวหนังบริเวณเท้าทั้งสองข้างแห้ง ปริ แตกไดง้ ่าย เสย่ี งตอ่ การเกิดแผลเรอื้ รงั ถา้ มรี ะบบประสาทส่วนปลายเสือ่ มอยนู่ าน ๆ ทำใหก้ ลา้ มเน้อื เลก็ ๆ บางมัดบริเวณเท้า ฝ่อลง เกิดเท้าบดิ ผิดรูป ซึ่งจะสง่ ผลต่อน้ำหนักท่ีกดทับบริเวณฝ่าเท้าเวลาเดิน ซึ่งเปน็ สาเหตสุ ำคัญท่ีทำให้เกิดแผลเร้ือรังท่เี ท้า และเพิ่มความเสี่ยงต่อการถูกตัดนิ้วเท้าหรือขา โดยเฉพาะถ้ามีความผิดปกติของหลอดเลือดส่วนปลายร่วมด้วย ปัจจัยเสี่ยง สำคญั ทท่ี ำให้เกิดอาการชา หรือระบบประสาทส่วนปลายเสอ่ื ม ได้แก่ ระยะเวลาท่ีเป็นเบาหวาน การควบคุมระดับนำ้ ตาลท่ีไม่ ดี การสูบบุหร่ี ระดบั ไขมนั ในเลือดสูง และ โรคความดันโลหติ สงู [2] เปน็ ตน้ ดงั น้ันการรักษาท่ีสำคญั คอื การควบคุมระดับนำ้ ตาล ใหอ้ ยู่ในเกณฑ์ปกติ ลดปัจจัยเส่ียงต่าง ๆ ได้แก่ ควบคมุ ความดันโลหิตและระดบั ไขมันให้อยใู่ นเกณฑ์ท่ตี อ้ งการ งดการสูบบุหรี่ และออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ในรายที่มีอาการชามากๆ แล้วการรักษามักไม่ได้ผลดี ยารักษาปลายประสาทอักเสบบาง ชนิดอาจช่วยให้อาการดีขึ้นได้บ้างแต่ไม่สามารถทำให้อาการชาหายไปได้ โดยการรักษาส่วนใหญ่จะรักษาด้วยการแช่น้ำอุ่น นวดผ่าเทา้ ซึ่งวธิ ีเหลา่ นี้รักษาอาการเทา้ ชาได้ในระยะสน้ั และมักใชร้ ะยะเวลาในการรักษา[1] ทั้งนี้ทางผู้จัดทำจึงเล็งเห็นความสำคัญและได้คิดนวตั กรรมนี้ข้ึนมา เพื่อบรรเทาอาการเท้าชาในผู้ป่วยโรคเบาหวาน หากแนะนำการออกกำลงั กายกอ็ าจจะทำให้ผู้ปว่ ยเบ่ือไมอ่ ยากทำ นวัตกรรมน้ีเพ่ือใหผ้ ปู้ ่วยไดอ้ อกกำลงั กายโดยมจี ังหวะในการ เคลื่อนไหวและเกิดความเพลดิ เพลินในการออกกำลังกาย เนื่องจากเพิ่มในเรื่องของจงั หวะและเสียงเพลงเพื่อกระตุ้นให้ผู้ปว่ ย ออกกำลงั กายโดยไมน่ า่ เบื่อ นอกจากนี้ยังสามารถเสรมิ สรา้ งสมรรถภาพร่างกายใหแ้ กผ่ ู้ทใ่ี ชน้ วตั กรรมอกี ด้วย 2. วธิ วี จิ ัย 2.1 เคร่อื งมอื ทใี่ ชใ้ นการวจิ ัย เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในงานวจิ ัย 2.1.1 ตอนที่1 แบบสอบถามความพึงพอใจผู้ใช้บริการนวัตกรรม “การพัฒนานวัตนกรรมสเต็ปก้าวลดเท้าชาใน ผูป้ ่วยเบาหวาน” โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลลาดบวั ขาว อำเภอบา้ นโปง่ จังหวัดราชบุรี โดยแบง่ ออกเป็น 2 สว่ น ดังน้ี ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วยเบาหวาน ประกอบด้วย เพศ การศึกษา การประกอบอาชีพ ประเภท เบาหวาน ระยะเวลาทีเ่ ปน็ โรคเบาหวาน การสญู เสียความร้สู กึ ส่วนที่ 2 แบบสอบถามความพึงพอใจต่อนวัตกรรมการให้บริการ จำนวน 6 ข้อ กำหนดข้อคำถามเป็น Rating Scale 5 ระดับ ได้แก่ ความพงึ พอใจมากทีส่ ดุ = 5 มาก = 4 ปานกลาง = 3 น้อย = 2 น้อยท่สี ุด = 1 2.1.2 ตอนที่2 แบบตรวจประเมินเท้าสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน (Initial Foot Assessment Form for Diabetes ) ประกอบด้วย ประวัติ ประเมินสภาพเท้า แผลที่เท้า การประเมินประสาทความรู้สึก ประเมินชีพจรเสน้ เลือดแดง การจำแนก ความเส่ยี ง และการติดตาม แนวทางการดูแลรักษาเท้า 2.2 การตรวจสอบคุณภาพเครอื่ งมอื 2.2.1 การตรวจสอบความตรงทางเน้ือหา (Content Validity) ผู้วิจัยทำการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมอื ก่อนนำเครือ่ งมือไปใช้หาความตรง (Validity) จากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพส่วนตำบลบ้านเลือก 1 ท่าน อาจารย์วิทยาลัย 2 ท่าน เพื่อตรวจสอบ ความตรงทางเนื้อหาโดยใช้ดัชนีความสอดคล้องทางข้อคำถาม (Index of Item Objective Congruence : IOC) และนำมา ปรับปรุงข้อคำถามใหค้ รอบคลุมเนือ้ หาก่อนนำเคร่ืองมือไปใช้การวัดความเทีย่ ง (Reliable)+1 หมายถึง คำถามนั้นสอดคล้อง
กับวัตถุประสงค์, 0 หมายถึง คำถามนั้นไมแ่ น่ใจว่าสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หรือไม่, -1 หมายถึง คำถามนั้นไม่สอดคล้องกบั วตั ถุประสงค์ 2.3 สถติ ทิ ่ีใชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมลู 2.3.1 วเิ คราะห์ข้อมลู ทัว่ ไปโดยใช้สถติ ใิ ช้แจกแจงความถีร่ อ้ ยละ 2.3.2 การวเิ คราะห์เปรียบเทียบพฤตกิ รรมการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มอี าการเท้าชาร่วมด้วยทั้งก่อน และหลงั ใชน้ วัตกรรมสเต็ปกา้ วลดเท้าชา 2.3.3 การวิเคราะห์ความพึงพอใจตอ่ นวตั กรรมสเต็ปก้าวลดเทา้ ชา โดยใชค้ า่ เฉลีย่ และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และ แจกแจงความถ่รี อ้ ยละ 3. ผลการวจิ ยั 3.1 ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วยเบาหวาน ประกอบด้วย เพศ อายุ การศึกษา การประกอบอาชีพ ประเภท เบาหวาน ระยะเวลาท่เี ปน็ โรคเบาหวาน การสญู เสียความร้สู ึก โดยผลการวเิ คราะห์ จากการเก็บข้อมลู กลุ่มตวั อย่าง 3 คน ผล การดำเนินงานนวัตกรรมพบว่า กลุ่มตัวอย่างเป็น เพศชายร้อยละ 33.3 เพศหญิงร้อยละ 66.7 การศึกษาอยู่ในระดับชั้น ประถมศกึ ษาทุกรายคิดเป็นร้อยละ 100 ประกอบอาชพี ค้าขายทกุ รายคิดเป็นร้อยละ 100 และเป็นเบาหวานประเภทที่ 2 ทุก รายคิดเป็นร้อยละ 100 โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นโรคเบาหวานมาแล้วเฉล่ีย 11 ปี มีภาวะแทรกซ้อนน้ำตาลในเลือดสงู ทุกรายคิด เป็นร้อยละ 100 และมอี าการชาทุกรายคดิ เป็นร้อยละ 100 ภาพท่ี 1 การเปรยี บเทยี บจำนวนจุดท่ีสูญเสยี ความร้สู กึ ก่อน-หลงั ใช้ สูญเสยี ความรสู้ ึกเทา้ ขวา กอ่ นใช้นวัตกรรม พบว่ากลมุ่ ตวั อย่างสูญเสียความรู้สึกเท้าขวา 2 จุด คดิ เปน็ ร้อยละ 66.7 (2คน) และ 1 จุด คิดเป็น ร้อยละ 33.3 (1คน) หลังใช้นวัตกรรม พบว่ากลุ่มตัวอย่างสูญเสียความรู้สึกเท้าขวา 1 จุด คิดเป็นร้อยละ 66.7 (2คน) และเท้าปกติคิด เป็นร้อยละ 33.3 (1คน) สญู เสยี ความรู้สกึ เทา้ ซ้าย ก่อนใช้นวตั กรรม พบวา่ กลุ่มตัวอยา่ งสูญเสียความรสู้ กึ เท้าซ้าย 2 จุด คดิ เป็นรอ้ ยละ 33.3 (1คน) และ 1 จุด คิดเปน็ ร้อยละ 33.3 (1คน) และเทา้ ปกติคดิ เป็นรอ้ ยละ 33.3 (1คน) หลังใช้นวัตกรรม พบว่ากลุ่มตัวอย่างสูญเสยี ความรู้สึกเท้าซ้าย 1 จุด คิดเป็นร้อยละ 33.3 (1คน) และเท้าปกติคดิ เปน็ รอ้ ยละ 66.7 (2คน) 3.2 ส่วนที่ 2 แบบสอบถามความพึงพอใจต่อนวัตกรรมการให้บรกิ าร จำนวน 6 ข้อ กำหนดข้อคำถามเป็น Rating Scale 5 ระดับ ได้แก่ ความพึงพอใจมากที่สุด=5 มาก=4 ปานกลาง=3 น้อย=2 น้อยที่สุด=1 โดยผลการวิเคราะห์ข้อมูล ความพึงพอใจของนวัตกรรม “การพัฒนานวัตกรรมสเต็ปก้าวลดเท้าชาในผู้ป่วยเบาหวาน” กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจ นวัตกรรม คอื
ค่าเฉล่ียระดับความพงึ พอใจหลงั ใช้นวตั กรรมสเตป็ กา้ วลดเทา้ ชา x̄ S.D หัวข้อประเมนิ 4.3 0.57 4.3 0.57 ความเหมาะสมของขนาด รูปร่าง นำ้ หนกั ท่ีนำมาใชข้ องนวัตกรรม 4.3 0.57 ความแข็งแรง และปลอดภัยของโครงสร้าง 40 วัสดุท่ีนำมาใช้มีความแขง็ แรง ทนทาน 4.3 0.57 ความเหมาะสมของชว่ งในการเดนิ 40 ลดอาการปวดเม่อื ยของกล้ามเนื้อบรเิ วณฝา่ เท้า 4.7 0.57 อาการชาทฝ่ี า่ เท้าลดลง 4.28 0.41 สามารถประยกุ ต์ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด และคมุ้ คา่ รวมเฉลย่ี ท้ังหมด ด้านการผลติ 1.ความเหมาะสมของขนาด รปู ร่าง นำ้ หนกั ที่นำมาใช้ของนวัตกรรม ก่อนใช้นวัตกรรม อยู่ในระดับมากคิดเป็นร้อยละ 66.7 (2คน) และอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุดคิดเป็น ร้อยละ 33.3 (1คน) หลังใช้นวัตกรรม อยู่ในระดับมากคิดเป็นร้อยละ 66.7 (2คน) และอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุดคิดเป็น ร้อยละ 33.3 (1คน) 2.ความแข็งแรง และปลอดภัยของโครงสร้าง ก่อนใช้นวัตกรรม อยู่ในระดับมากคิดเป็นร้อยละ 66.7 (2คน) และอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุดคิดเป็น ร้อยละ 33.3 (1คน) หลังใช้นวัตกรรม อยู่ในระดับมากคิดเป็นร้อยละ 66.7 (2คน) และอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุดคิดเป็น ร้อยละ 33.3 (1คน) 3.วสั ดุที่นำมาใช้มคี วามแขง็ แรงทนทาน ก่อนใช้นวัตกรรม อยู่ในระดับมากคิดเป็นร้อยละ 66.7 (2คน) และอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุดคิดเป็น ร้อยละ 33.3 (1คน) หลังใช้นวัตกรรม อยู่ในระดับมากคิดเป็นร้อยละ 66.7 (2คน) และอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุดคิดเป็น ร้อยละ 33.3 (1คน) ด้านความพงึ พอใจ 1.ความเหมาะสมของชว่ งในการเดนิ ก่อนใช้นวัตกรรม อยู่ในระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 66.7 (2คน) และอยู่ในระดับพึงพอใจมากคิดเป็นร้อยละ 33.3 (1คน) หลงั ใช้นวัตกรรม อยใู่ นระดบั มากคดิ เปน็ ร้อยละ 100 (3คน) 2.ลดอาการปวดเมอื่ ยของกลา้ มเนอื้ บริเวณฝา่ เท้า ก่อนใช้นวตั กรรม อยใู่ นระดับปานกลางคดิ เป็นร้อยละ 33.3 (1คน) อยู่ในระดบั มากคิดเป็นร้อยละ 33.3 (1คน) และ อยใู่ นระดบั พึงพอใจมากท่สี ดุ คดิ เป็นร้อยละ 33.3 (1คน) หลังใช้นวัตกรรม อยู่ในระดับมากคิดเป็นร้อยละ 66.7 (2คน) และอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุดคิดเป็น ร้อยละ 33.3 (1คน) 3.อาการชาที่ฝา่ เท้าลดลง กอ่ นใชน้ วตั กรรม อยใู่ นระดับปานกลางคดิ เป็นร้อยละ 33.3 (1คน) และอยใู่ นระดับมากคดิ เป็นรอ้ ยละ 66.7 (2คน)
หลงั ใช้นวัตกรรม อย่ใู นระดับมากคิดเป็นรอ้ ยละ 100 (3คน) ด้านความคุ้มคา่ คุม้ ทุน 1.สามารถประยกุ ต์ใช้ทรัพยากรอย่างประหยดั และคมุ้ ค่า กอ่ นใช้นวัตกรรม อยใู่ นระดบั มากคิดเปน็ รอ้ ยละ 66.7 (2คน) และอย่ใู นระดับพึงพอใจมากทีส่ ุดคิดเปน็ รอ้ ยละ 33.3 (1คน) หลงั ใช้นวตั กรรม อยใู่ นระดับมากคิดเปน็ รอ้ ยละ 33.3 (1คน) และอยใู่ นระดบั พงึ พอใจมากทส่ี ดุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 66.7 (2คน) 4. สรปุ ผล อภปิ รายผล จากผลการวิเคราะห์ พบว่า กลุ่มตัวอย่างสว่ นใหญ่เป็นเพศหญิง มีการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา ประกอบอาชพี คา้ ขาย มีโรคประจำตัวคอื โรคเบาหวาน ประเภทท่ี 2 และมีอาการแทรกซอ้ นจากภาวะน้ำตาลในเลอื ดสูงคือ มีภาวะอาการเทา้ ชาซ่ึงใช้ Monofilament ในการตรวจสอบการสญู เสียความรู้สกึ ทเี่ ทา้ 4.1 อาการสญู เสียความรู้สกึ เทา้ ขวา พบวา่ หลังใชน้ วัตกรรมจำนวนจดุ ชาทเ่ี ทา้ ลดลง เท้าซ้าย พบว่าหลังใชน้ วัตกรรมจำนวนจดุ ชาท่เี ทา้ ลดลง 4.2 ความพงึ พอใจตอ่ การใช้ “นวัตกรรมสเตป็ กา้ วลดเทา้ ชา” สามารถสรปุ ผลไดด้ งั นี้ ดา้ นการผลติ 1.ความเหมาะสมของขนาด รปู รา่ ง นำ้ หนกั ที่นำมาใช้ของนวัตกรรม อยู่ระดบั พงึ พอใจมาก 2.ความแข็งแรง และปลอดภยั ของโครงสรา้ ง อยู่ระดับพงึ พอใจมาก 3.วสั ดทุ ่ีนำมาใช้มคี วามแขง็ แรง ทนทาน อยูร่ ะดบั พงึ พอใจมาก ด้านความพึงพอใจ 1.ความเหมาะสมของช่วงในการเดิน อยรู่ ะดับพึงพอใจมาก 2.ลดอาการปวดเมอ่ื ยของกลา้ มเนอ้ื บริเวณฝ่าเท้า อยรู่ ะดับพึงพอใจมาก 3.อาการชาที่ฝ่าเทา้ ลดลง อยู่ระดับพงึ พอใจมาก ด้านความคุ้มค่าคุ้มทนุ 1.สามารถประยกุ ต์ใช้ทรพั ยากรอย่างประหยัด และคมุ้ ค่า อยู่ระดับพึงพอใจมากท่ีสดุ 5. อภิปรายผล จากการศึกษา พบว่า ความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรม ในภาพรวม อยู่ในระดับพึงพอใจมาก และอาการสูญเสีย ความรู้สกึ ลดลง เน่ืองจากอาการชาของกลุ่มตวั อยา่ งมีอาการดีขึ้นคือ อาการชาที่เท้าลดลงจากเดิม ซ่งึ สอดคล้องกับงานศึกษา ของ Napat Tiewwilai et al. [6] ศกึ ษาเรื่อง “ประสิทธิผลการใชแ้ ผงไขล่ ูกกอลฟ์ นวดเทา้ ลดอาการชาในผปู้ ่วยเบาหวาน ตำบล กุดชุมแสง อำเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ” ผลการศึกษาพบว่า ประสิทธิผลของแผงไข่ลูกกอล์ฟนวดเท้าลด อาการชาใน ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ทำการประเมินอาการชาที่เท้าด้วย Monofilament 4 จุด ระยะเวลาในการทดลอง 8 สัปดาห์ ผลคือมี อาการชาที่เท้าหลังทดลองลดลงกว่าก่อนการ ทดลอง อย่างไรก็ตามการวิจัยในครั้งนี้การวางจุดตำแหน่งของลูกกอล์ฟไม่ สามารถนวดกด จุดได้ตรงตำแหน่งครบทัง้ 1 2 3 7 9 และ 11 จุด ทำให้ผลการศกึ ษาอาจเกิดการนวดจริง แค่ 2 จุด ส่วนจดุ อื่น ๆ ไม่ได้เน้นถูกนวดและกดจุดแต่เป็นการนวดในภาพรวมหลายจุด ส่วนในเรื่องความพึงพอใจผู้ใช้แผงไข่ลูกกอล์ฟมี ความรู้สึกพอใจและประเมินมาอยใู่ นระดบั มากท่ีสดุ
เอกสารอ้างอิง [1] Wanwisa Samrannet , Pattarin Thamduangsri and , Petlada Chansri. (2020). The Nurse’s Role in Preventing Diabetic Foot Ulcers, Journal of Nursing, Siam University, 21(40), 71-82. (In Thai) [2] Yawitthaa Sukwassana, Orapin Sikaow and Taweesak Kasiphol. (2021). The Association of Personal Factor, Health Literacy, Self-care Behaviors and Glycemic Control in People with Type 2 Diabetes. Journal of Boromarajonani College of Nursing, Surin, 11(1),52-65. (In Thai) [3] Raksita Phanuphan, Uraiwan Saisud, Supitcha Chanawong and Prasert Prasomruk. (2021). Health literacyand self-care behaviors of diabetic mellitus patients with controllable and uncontrollable glucose level in NajikSub-district, Muang District, Amnat Charoen Province, Thai Health Science Journal and community public health, 4(1),35-47. (In Thai) [4] Dopartment of Thai Traditional and Alternative Medicine Ministry of public health. (2021). Foot Reflexology. (In Thai) [5] Saitida Lapanantasin, Sirikan Jedtanaprakrit, Ruangrak Assarach, Watinee Inklum and Siraprapha Jamnongphon. (2014). Effect of massage with peripheral vascular circulation exercise on neuropathic symptoms of lower legs in type 2 diabetic patients: a pilot study, Thai Journal of Physical Therapy, 36(3), 97-105. (In Thai) [6] Napat Tiewwilai , Netdao Sanguansin, Nathamon Seubsui, Rattana Netphol and Prapaporn Ardwichai. (2021). Effectiveness of Golf Ball in Egg Panel to Reduce Foot Numbness in Diabetic Patients at Kut Chum Saeng, Nong Bua Daeng, Chaiyaphum Province, Advanced Science Journal, 21(2), 52-65. (In Thai)
สเต็ปกา้ วลดเท้าชา ณิชาภา เรอื งวงษ์1*, ณฐั ิดา ภักด2ี , ณรี นุช บุญรอด3, ดรุณี ซังยนื ยง4 , เมรสิ า ไชยกติ ติโสภณ5 , วนสั นันท์ สร้อยซม้ิ 6, โสภิตา โดยคำดี7 และอลิสา สขุ สม8 1วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรรี ัช คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบนั พระบรมราชชนก *[email protected] บทคดั ยอ่ โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus) เป็นโรคที่เกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อชนิดหนึ่ง ทำให้ตับอ่อนไม่สามารถ ผลิตหรือหลั่งฮอร์โมนอินซูลินออกมาให้มากเพียงพอ ที่จะใช้เปลี่ยนน้ำตาลที่ร่างกายได้รับจากอาหารพวกแป้งให้เกิดเป็น พลังงานท่ใี ชส้ ำหรับเคลอ่ื นไหว และการทำงานของอวยั วะต่างๆ หรอื เกบ็ สะสมน้ำตาลไว้ในร่างกายทำใหร้ ะดบั นำ้ ตาลในเลือด สูงมากกว่าปกติ จนกลายเป็นโรคดังกล่าว ซึ่งผู้ที่เป็นโรคเบาหวานยังมีอาการแทรกซ้อนจากโรคอีกหลายอย่าง เช่น อาการชา ตามบริเวณปลายประสาท ซึ่งส่งผลให้สูญเสียการรับความรู้สึกอาจเริ่มจากชาตามปลายนิว้ และลุกลามต่อไปยังส่วนอ่ืนๆของ ร่างกาย ไม่ว่าร่างกายส่วนที่สูญเสียการรับรู้ความรู้สึกจะไปสัมผัสกับสิ่งที่ร้อนหรือเยน็ หรือแม้แต่ได้รับบาดแผลผู้ป่วยก็จะไม่ รู้สึกตัวเลย เท้าเป็นอวัยวะของผู้ป่วยเบาหวานที่มีโอกาสเกิดการบาดเจ็บได้ง่ายที่สุดเนื่องจากผู้ป่วยต้องใช้เท้าเดินไปไหนมา ไหนหากประสาทการรับรูท้ ีเ่ ท้าสูญเสียไปเมือ่ ผูป้ ่วยเบาหวานเดนิ ไปเหยียบตะปูหรือของมีคมก็จะไมร่ ู้สึกตัว ยิ่งไปกว่าน้นั แผล ของผู้ป่วยเบาหวานกจ็ ะหายช้ากวา่ คนปกตอิ กี ดว้ ย หากดูแลแผลไม่ดีอาจทำให้เกิดการลกุ ลามจนอกั เสบและตดิ เชื้อได้ ทางผู้จดั ทำจึงได้คิดนวตั กรรมสเต็ปก้าวลดเท้าชา โดยมสี เต็ปการก้าวเดนิ ของแต่ละชอ่ งและแต่ละช่องจะมที ีก่ ดจุด เพ่ือป้องกัน อาการชาบริเวณเท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน และหลกี เล่ียงการเกิดภาวะแทรกซ้อนท่อี าจเกิดขึ้นในภายหลงั เชน่ แผลทเ่ี ท้า คำสำคัญ: เบาหวาน เท้าชา กดจดุ
Stepping Foot Nichapha Rueangwong1*, Natthida Phakdee2, Neeranuch Boonrod3, Darunee Sangyuenyong4 , Merisa Chaikittisophon5, Wanatsanun Sroisim6, Sophita Doikhamdi7 and Alisa Suksom8 1Boromarajonani College of Nursing, Chakriraj: Faculty of Nursing, Praboromarajchanok Institute *[email protected] Abstract Diabetes Mellitus is a type of endocrine disorder.The pancreas cannot produce or secrete enough of the hormone insulin. to convert the sugars that the body receives from starchy foods into energy for movement and functioning of various organs or store sugar in the body, causing blood sugar levels to be higher than normal until it becomes such a disease. People with diabetes also have complications from many other diseases, such as paresthesia in the nerve endings. As a result, loss of sensation may begin with numbness in the fingertips and spread to other parts of the body. No matter if the part of the body that has lost its sensation comes in contact with something hot or cold, or even injures, the patient is completely conscious. Feet are the organs of diabetics that are most prone to injury because patients have to use their feet to walk around if nerves in the feet are lost when diabetics step on nails or objects. sharp, it will not feel In addition, the wounds of diabetic patients will heal more slowly than normal people as well. If the wound is not properly taken care of, it can lead to inflammation and infection.The organizer therefore came up with an innovative step to reduce numb feet. There is a step to walk in each channel and each channel has a pressure point. to prevent foot paresthesia in diabetic patients And avoid complications that may occur later, such as foot ulcers Keywords: Diabetes Mellitus , paresthesia, pressure point
1. บทนำ โรคเบาหวาน คือ โรคที่เซลล์ร่างกายมีความผิดปกติในกระบวนการเปลี่ยนน้ำตาลในเลือดให้เป็นพลังงาน โดย กระบวนการน้ีเกย่ี วข้องกบั อินซลู นิ ซง่ึ เป็นฮอรโ์ มนทีส่ ร้างจากตับออ่ นเพ่ือใช้ควบคมุ ระดบั น้ำตาลในเลอื ด เม่ือน้ำตาลไมไ่ ด้ถกู ใช้ จึงทำให้ระดับนำ้ ตาลในเลอื ดสงู ข้นึ กวา่ ระดับปกติ ภาวะแทรกซอ้ นทางระบบประสาทสว่ นปลายจากโรคเบาหวาน หรือบางคน อาจเรียก “เบาหวานลงเท้า” ภาษาทางการแพทย์เรียก diabetic polyneuropathy อย่างไรก็ตามอาการเท้าชา ซึ่งเป็น ภาวะแทรกซอ้ นเรื้อรังที่เกิดในผูเ้ ป็นเบาหวานได้บ่อยโดยเฉพาะเมื่อเป็นเบาหวานมานาน ๆ และควบคุมระดบั น้ำตาลในเลือด ได้ไม่ดีนัก เกิดขึ้นจากระบบประสาทส่วนปลายเสื่อม ทำให้สูญเสียประสาทรับความรู้สึก ลักษณะอาการเท้าชาที่ เกิดจาก โรคเบาหวาน มักจะมีอาการชาหรือคล้ายเป็นเหน็บและความรู้สึกสัมผัสลดลง ทำให้เมื่อเท้าสัมผัสของมีคม จะไม่รู้สึกเจ็บ อาการเท้าชาที่เกิดขึ้นมักจะมีอาการทั้งสองข้างพร้อม ๆ กัน และเริ่มชาจากปลายนิว้ เท้าก่อน แล้วเริ่มชาไล่ขึ้นไปบริเวณหลงั เท้าและขาทั้งสองข้าง ในกรณีรุนแรงจะมีระบบประสาทอัตโนมัติเสื่อมร่วมด้วย ทำให้ผิวหนังบริเวณเท้าทั้งสองข้างแห้ง ปริ แตกไดง้ ่าย เสย่ี งตอ่ การเกิดแผลเรอื้ รงั ถา้ มรี ะบบประสาทส่วนปลายเสือ่ มอยนู่ าน ๆ ทำใหก้ ลา้ มเน้อื เลก็ ๆ บางมัดบริเวณเท้า ฝ่อลง เกิดเท้าบดิ ผิดรูป ซึ่งจะสง่ ผลต่อน้ำหนักท่ีกดทับบริเวณฝ่าเท้าเวลาเดิน ซึ่งเปน็ สาเหตสุ ำคัญท่ีทำให้เกิดแผลเร้ือรังท่เี ท้า และเพิ่มความเสี่ยงต่อการถูกตัดนิ้วเท้าหรือขา โดยเฉพาะถ้ามีความผิดปกติของหลอดเลือดส่วนปลายร่วมด้วย ปัจจัยเสี่ยง สำคญั ทท่ี ำให้เกิดอาการชา หรือระบบประสาทส่วนปลายเสอ่ื ม ได้แก่ ระยะเวลาท่ีเป็นเบาหวาน การควบคุมระดับนำ้ ตาลท่ีไม่ ดี การสูบบุหร่ี ระดบั ไขมนั ในเลือดสูง และ โรคความดันโลหติ สงู [2] เปน็ ตน้ ดงั น้ันการรักษาท่ีสำคญั คอื การควบคุมระดับนำ้ ตาล ใหอ้ ยู่ในเกณฑ์ปกติ ลดปัจจัยเส่ียงต่าง ๆ ได้แก่ ควบคมุ ความดันโลหิตและระดบั ไขมันให้อยใู่ นเกณฑ์ท่ตี อ้ งการ งดการสูบบุหรี่ และออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ในรายที่มีอาการชามากๆ แล้วการรักษามักไม่ได้ผลดี ยารักษาปลายประสาทอักเสบบาง ชนิดอาจช่วยให้อาการดีขึ้นได้บ้างแต่ไม่สามารถทำให้อาการชาหายไปได้ โดยการรักษาส่วนใหญ่จะรักษาด้วยการแช่น้ำอุ่น นวดผ่าเทา้ ซึ่งวธิ ีเหลา่ นี้รักษาอาการเทา้ ชาได้ในระยะสน้ั และมักใชร้ ะยะเวลาในการรักษา[1] ทั้งนี้ทางผู้จัดทำจึงเล็งเห็นความสำคัญและได้คิดนวตั กรรมนี้ข้ึนมา เพื่อบรรเทาอาการเท้าชาในผู้ป่วยโรคเบาหวาน หากแนะนำการออกกำลงั กายกอ็ าจจะทำให้ผู้ปว่ ยเบ่ือไมอ่ ยากทำ นวัตกรรมน้ีเพ่ือใหผ้ ปู้ ่วยไดอ้ อกกำลงั กายโดยมจี ังหวะในการ เคลื่อนไหวและเกิดความเพลดิ เพลินในการออกกำลังกาย เนื่องจากเพิ่มในเรื่องของจงั หวะและเสียงเพลงเพื่อกระตุ้นให้ผู้ปว่ ย ออกกำลงั กายโดยไมน่ า่ เบื่อ นอกจากนี้ยังสามารถเสรมิ สรา้ งสมรรถภาพร่างกายใหแ้ กผ่ ู้ทใ่ี ชน้ วตั กรรมอกี ด้วย 2. วธิ วี จิ ัย 2.1 เคร่อื งมอื ทใี่ ชใ้ นการวจิ ัย เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในงานวจิ ัย 2.1.1 ตอนที่1 แบบสอบถามความพึงพอใจผู้ใช้บริการนวัตกรรม “การพัฒนานวัตนกรรมสเต็ปก้าวลดเท้าชาใน ผูป้ ่วยเบาหวาน” โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลลาดบวั ขาว อำเภอบา้ นโปง่ จังหวัดราชบุรี โดยแบง่ ออกเป็น 2 สว่ น ดังน้ี ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วยเบาหวาน ประกอบด้วย เพศ การศึกษา การประกอบอาชีพ ประเภท เบาหวาน ระยะเวลาทีเ่ ปน็ โรคเบาหวาน การสญู เสียความร้สู กึ ส่วนที่ 2 แบบสอบถามความพึงพอใจต่อนวัตกรรมการให้บริการ จำนวน 6 ข้อ กำหนดข้อคำถามเป็น Rating Scale 5 ระดับ ได้แก่ ความพงึ พอใจมากทีส่ ดุ = 5 มาก = 4 ปานกลาง = 3 น้อย = 2 น้อยท่สี ุด = 1 2.1.2 ตอนที่2 แบบตรวจประเมินเท้าสำหรับผู้ป่วยเบาหวาน (Initial Foot Assessment Form for Diabetes ) ประกอบด้วย ประวัติ ประเมินสภาพเท้า แผลที่เท้า การประเมินประสาทความรู้สึก ประเมินชีพจรเสน้ เลือดแดง การจำแนก ความเส่ยี ง และการติดตาม แนวทางการดูแลรักษาเท้า 2.2 การตรวจสอบคุณภาพเครอื่ งมอื 2.2.1 การตรวจสอบความตรงทางเน้ือหา (Content Validity) ผู้วิจัยทำการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมอื ก่อนนำเครือ่ งมือไปใช้หาความตรง (Validity) จากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพส่วนตำบลบ้านเลือก 1 ท่าน อาจารย์วิทยาลัย 2 ท่าน เพื่อตรวจสอบ ความตรงทางเนื้อหาโดยใช้ดัชนีความสอดคล้องทางข้อคำถาม (Index of Item Objective Congruence : IOC) และนำมา ปรับปรุงข้อคำถามใหค้ รอบคลุมเนือ้ หาก่อนนำเคร่ืองมือไปใช้การวัดความเทีย่ ง (Reliable)+1 หมายถึง คำถามนั้นสอดคล้อง
กับวัตถุประสงค์, 0 หมายถึง คำถามนั้นไมแ่ น่ใจว่าสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หรือไม่, -1 หมายถึง คำถามนั้นไม่สอดคล้องกบั วตั ถุประสงค์ 2.3 สถติ ทิ ่ีใชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมลู 2.3.1 วเิ คราะห์ข้อมลู ทัว่ ไปโดยใช้สถติ ใิ ช้แจกแจงความถีร่ อ้ ยละ 2.3.2 การวเิ คราะห์เปรียบเทียบพฤตกิ รรมการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มอี าการเท้าชาร่วมด้วยทั้งก่อน และหลงั ใชน้ วัตกรรมสเต็ปกา้ วลดเท้าชา 2.3.3 การวิเคราะห์ความพึงพอใจตอ่ นวตั กรรมสเต็ปก้าวลดเทา้ ชา โดยใชค้ า่ เฉลีย่ และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และ แจกแจงความถ่รี อ้ ยละ 3. ผลการวจิ ยั 3.1 ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วยเบาหวาน ประกอบด้วย เพศ อายุ การศึกษา การประกอบอาชีพ ประเภท เบาหวาน ระยะเวลาท่เี ปน็ โรคเบาหวาน การสญู เสียความร้สู ึก โดยผลการวเิ คราะห์ จากการเก็บข้อมลู กลุ่มตวั อย่าง 3 คน ผล การดำเนินงานนวัตกรรมพบว่า กลุ่มตัวอย่างเป็น เพศชายร้อยละ 33.3 เพศหญิงร้อยละ 66.7 การศึกษาอยู่ในระดับชั้น ประถมศกึ ษาทุกรายคิดเป็นร้อยละ 100 ประกอบอาชพี ค้าขายทกุ รายคิดเป็นร้อยละ 100 และเป็นเบาหวานประเภทที่ 2 ทุก รายคิดเป็นร้อยละ 100 โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นโรคเบาหวานมาแล้วเฉล่ีย 11 ปี มีภาวะแทรกซ้อนน้ำตาลในเลือดสงู ทุกรายคิด เป็นร้อยละ 100 และมอี าการชาทุกรายคดิ เป็นร้อยละ 100 ภาพท่ี 1 การเปรยี บเทยี บจำนวนจุดท่ีสูญเสยี ความร้สู กึ ก่อน-หลงั ใช้ สูญเสยี ความรสู้ ึกเทา้ ขวา กอ่ นใช้นวัตกรรม พบว่ากลมุ่ ตวั อย่างสูญเสียความรู้สึกเท้าขวา 2 จุด คดิ เปน็ ร้อยละ 66.7 (2คน) และ 1 จุด คิดเป็น ร้อยละ 33.3 (1คน) หลังใช้นวัตกรรม พบว่ากลุ่มตัวอย่างสูญเสียความรู้สึกเท้าขวา 1 จุด คิดเป็นร้อยละ 66.7 (2คน) และเท้าปกติคิด เป็นร้อยละ 33.3 (1คน) สญู เสยี ความรู้สกึ เทา้ ซ้าย ก่อนใช้นวตั กรรม พบวา่ กลุ่มตัวอยา่ งสูญเสียความรสู้ กึ เท้าซ้าย 2 จุด คดิ เป็นรอ้ ยละ 33.3 (1คน) และ 1 จุด คิดเปน็ ร้อยละ 33.3 (1คน) และเทา้ ปกติคดิ เป็นรอ้ ยละ 33.3 (1คน) หลังใช้นวัตกรรม พบว่ากลุ่มตัวอย่างสูญเสยี ความรู้สึกเท้าซ้าย 1 จุด คิดเป็นร้อยละ 33.3 (1คน) และเท้าปกติคดิ เปน็ รอ้ ยละ 66.7 (2คน) 3.2 ส่วนที่ 2 แบบสอบถามความพึงพอใจต่อนวัตกรรมการให้บรกิ าร จำนวน 6 ข้อ กำหนดข้อคำถามเป็น Rating Scale 5 ระดับ ได้แก่ ความพึงพอใจมากที่สุด=5 มาก=4 ปานกลาง=3 น้อย=2 น้อยที่สุด=1 โดยผลการวิเคราะห์ข้อมูล ความพึงพอใจของนวัตกรรม “การพัฒนานวัตกรรมสเต็ปก้าวลดเท้าชาในผู้ป่วยเบาหวาน” กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจ นวัตกรรม คอื
ค่าเฉล่ียระดับความพงึ พอใจหลงั ใช้นวตั กรรมสเตป็ กา้ วลดเทา้ ชา x̄ S.D หัวข้อประเมนิ 4.3 0.57 4.3 0.57 ความเหมาะสมของขนาด รูปร่าง นำ้ หนกั ท่ีนำมาใชข้ องนวัตกรรม 4.3 0.57 ความแข็งแรง และปลอดภัยของโครงสร้าง 40 วัสดุท่ีนำมาใช้มีความแขง็ แรง ทนทาน 4.3 0.57 ความเหมาะสมของชว่ งในการเดนิ 40 ลดอาการปวดเม่อื ยของกล้ามเนื้อบรเิ วณฝา่ เท้า 4.7 0.57 อาการชาทฝ่ี า่ เท้าลดลง 4.28 0.41 สามารถประยกุ ต์ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด และคมุ้ คา่ รวมเฉลย่ี ท้ังหมด ด้านการผลติ 1.ความเหมาะสมของขนาด รปู ร่าง นำ้ หนกั ที่นำมาใช้ของนวัตกรรม ก่อนใช้นวัตกรรม อยู่ในระดับมากคิดเป็นร้อยละ 66.7 (2คน) และอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุดคิดเป็น ร้อยละ 33.3 (1คน) หลังใช้นวัตกรรม อยู่ในระดับมากคิดเป็นร้อยละ 66.7 (2คน) และอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุดคิดเป็น ร้อยละ 33.3 (1คน) 2.ความแข็งแรง และปลอดภัยของโครงสร้าง ก่อนใช้นวัตกรรม อยู่ในระดับมากคิดเป็นร้อยละ 66.7 (2คน) และอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุดคิดเป็น ร้อยละ 33.3 (1คน) หลังใช้นวัตกรรม อยู่ในระดับมากคิดเป็นร้อยละ 66.7 (2คน) และอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุดคิดเป็น ร้อยละ 33.3 (1คน) 3.วสั ดุที่นำมาใช้มคี วามแขง็ แรงทนทาน ก่อนใช้นวัตกรรม อยู่ในระดับมากคิดเป็นร้อยละ 66.7 (2คน) และอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุดคิดเป็น ร้อยละ 33.3 (1คน) หลังใช้นวัตกรรม อยู่ในระดับมากคิดเป็นร้อยละ 66.7 (2คน) และอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุดคิดเป็น ร้อยละ 33.3 (1คน) ด้านความพงึ พอใจ 1.ความเหมาะสมของชว่ งในการเดนิ ก่อนใช้นวัตกรรม อยู่ในระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 66.7 (2คน) และอยู่ในระดับพึงพอใจมากคิดเป็นร้อยละ 33.3 (1คน) หลงั ใช้นวัตกรรม อยใู่ นระดบั มากคดิ เปน็ ร้อยละ 100 (3คน) 2.ลดอาการปวดเมอื่ ยของกลา้ มเนอื้ บริเวณฝา่ เท้า ก่อนใช้นวตั กรรม อยใู่ นระดับปานกลางคดิ เป็นร้อยละ 33.3 (1คน) อยู่ในระดบั มากคิดเป็นร้อยละ 33.3 (1คน) และ อยใู่ นระดบั พึงพอใจมากท่สี ดุ คดิ เป็นร้อยละ 33.3 (1คน) หลังใช้นวัตกรรม อยู่ในระดับมากคิดเป็นร้อยละ 66.7 (2คน) และอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุดคิดเป็น ร้อยละ 33.3 (1คน) 3.อาการชาที่ฝา่ เท้าลดลง กอ่ นใชน้ วตั กรรม อยใู่ นระดับปานกลางคดิ เป็นร้อยละ 33.3 (1คน) และอยใู่ นระดับมากคดิ เป็นรอ้ ยละ 66.7 (2คน)
หลงั ใช้นวัตกรรม อย่ใู นระดับมากคิดเป็นรอ้ ยละ 100 (3คน) ด้านความคุ้มคา่ คุม้ ทุน 1.สามารถประยกุ ต์ใช้ทรัพยากรอย่างประหยดั และคมุ้ ค่า กอ่ นใช้นวัตกรรม อยใู่ นระดบั มากคิดเปน็ รอ้ ยละ 66.7 (2คน) และอย่ใู นระดับพึงพอใจมากทีส่ ุดคิดเปน็ รอ้ ยละ 33.3 (1คน) หลงั ใช้นวตั กรรม อยใู่ นระดับมากคิดเปน็ รอ้ ยละ 33.3 (1คน) และอยใู่ นระดบั พงึ พอใจมากทส่ี ดุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 66.7 (2คน) 4. สรปุ ผล อภปิ รายผล จากผลการวิเคราะห์ พบว่า กลุ่มตัวอย่างสว่ นใหญ่เป็นเพศหญิง มีการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษา ประกอบอาชพี คา้ ขาย มีโรคประจำตัวคอื โรคเบาหวาน ประเภทท่ี 2 และมีอาการแทรกซอ้ นจากภาวะน้ำตาลในเลอื ดสูงคือ มีภาวะอาการเทา้ ชาซ่ึงใช้ Monofilament ในการตรวจสอบการสญู เสียความรู้สกึ ทเี่ ทา้ 4.1 อาการสญู เสียความรู้สกึ เทา้ ขวา พบวา่ หลังใชน้ วัตกรรมจำนวนจดุ ชาทเ่ี ทา้ ลดลง เท้าซ้าย พบว่าหลังใชน้ วัตกรรมจำนวนจดุ ชาท่เี ทา้ ลดลง 4.2 ความพงึ พอใจตอ่ การใช้ “นวัตกรรมสเตป็ กา้ วลดเทา้ ชา” สามารถสรปุ ผลไดด้ งั นี้ ดา้ นการผลติ 1.ความเหมาะสมของขนาด รปู รา่ ง นำ้ หนกั ที่นำมาใช้ของนวัตกรรม อยู่ระดบั พงึ พอใจมาก 2.ความแข็งแรง และปลอดภยั ของโครงสรา้ ง อยู่ระดับพงึ พอใจมาก 3.วสั ดทุ ่ีนำมาใช้มคี วามแขง็ แรง ทนทาน อยูร่ ะดบั พงึ พอใจมาก ด้านความพึงพอใจ 1.ความเหมาะสมของช่วงในการเดิน อยรู่ ะดับพึงพอใจมาก 2.ลดอาการปวดเมอ่ื ยของกลา้ มเนอ้ื บริเวณฝ่าเท้า อยรู่ ะดับพึงพอใจมาก 3.อาการชาที่ฝ่าเทา้ ลดลง อยู่ระดับพงึ พอใจมาก ด้านความคุ้มค่าคุ้มทนุ 1.สามารถประยกุ ต์ใช้ทรพั ยากรอย่างประหยัด และคมุ้ ค่า อยู่ระดับพึงพอใจมากท่ีสดุ 5. อภิปรายผล จากการศึกษา พบว่า ความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรม ในภาพรวม อยู่ในระดับพึงพอใจมาก และอาการสูญเสีย ความรู้สกึ ลดลง เน่ืองจากอาการชาของกลุ่มตวั อยา่ งมีอาการดีขึ้นคือ อาการชาที่เท้าลดลงจากเดิม ซ่งึ สอดคล้องกับงานศึกษา ของ Napat Tiewwilai et al. [6] ศกึ ษาเรื่อง “ประสิทธิผลการใชแ้ ผงไขล่ ูกกอลฟ์ นวดเทา้ ลดอาการชาในผปู้ ่วยเบาหวาน ตำบล กุดชุมแสง อำเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ” ผลการศึกษาพบว่า ประสิทธิผลของแผงไข่ลูกกอล์ฟนวดเท้าลด อาการชาใน ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ทำการประเมินอาการชาที่เท้าด้วย Monofilament 4 จุด ระยะเวลาในการทดลอง 8 สัปดาห์ ผลคือมี อาการชาที่เท้าหลังทดลองลดลงกว่าก่อนการ ทดลอง อย่างไรก็ตามการวิจัยในครั้งนี้การวางจุดตำแหน่งของลูกกอล์ฟไม่ สามารถนวดกด จุดได้ตรงตำแหน่งครบทัง้ 1 2 3 7 9 และ 11 จุด ทำให้ผลการศกึ ษาอาจเกิดการนวดจริง แค่ 2 จุด ส่วนจดุ อื่น ๆ ไม่ได้เน้นถูกนวดและกดจุดแต่เป็นการนวดในภาพรวมหลายจุด ส่วนในเรื่องความพึงพอใจผู้ใช้แผงไข่ลูกกอล์ฟมี ความรู้สึกพอใจและประเมินมาอยใู่ นระดบั มากท่ีสดุ
เอกสารอ้างอิง [1] Wanwisa Samrannet , Pattarin Thamduangsri and , Petlada Chansri. (2020). The Nurse’s Role in Preventing Diabetic Foot Ulcers, Journal of Nursing, Siam University, 21(40), 71-82. (In Thai) [2] Yawitthaa Sukwassana, Orapin Sikaow and Taweesak Kasiphol. (2021). The Association of Personal Factor, Health Literacy, Self-care Behaviors and Glycemic Control in People with Type 2 Diabetes. Journal of Boromarajonani College of Nursing, Surin, 11(1),52-65. (In Thai) [3] Raksita Phanuphan, Uraiwan Saisud, Supitcha Chanawong and Prasert Prasomruk. (2021). Health literacyand self-care behaviors of diabetic mellitus patients with controllable and uncontrollable glucose level in NajikSub-district, Muang District, Amnat Charoen Province, Thai Health Science Journal and community public health, 4(1),35-47. (In Thai) [4] Dopartment of Thai Traditional and Alternative Medicine Ministry of public health. (2021). Foot Reflexology. (In Thai) [5] Saitida Lapanantasin, Sirikan Jedtanaprakrit, Ruangrak Assarach, Watinee Inklum and Siraprapha Jamnongphon. (2014). Effect of massage with peripheral vascular circulation exercise on neuropathic symptoms of lower legs in type 2 diabetic patients: a pilot study, Thai Journal of Physical Therapy, 36(3), 97-105. (In Thai) [6] Napat Tiewwilai , Netdao Sanguansin, Nathamon Seubsui, Rattana Netphol and Prapaporn Ardwichai. (2021). Effectiveness of Golf Ball in Egg Panel to Reduce Foot Numbness in Diabetic Patients at Kut Chum Saeng, Nong Bua Daeng, Chaiyaphum Province, Advanced Science Journal, 21(2), 52-65. (In Thai)
ไมต่ อ้ งใสเ่ ลขหนา้ นวัตกรรม “ตยู้ าเพอ่ื คุณ” เพ่ือผูพ้ กิ ารทางสายตา Talking Medicine Cupboard For Visually Impaired อัจฉรา สามร้อยยอด1, สุดารัตน์ ไชยชาติ1, วศินี เชื้อใหญ่1 , ชนิดาภา บญุ ชว่ ย1, พรภิมล ขลิบสวุ รรณ์1, เมธินี สิงห์ทอง1, ศุทธินี เครือ่ งทิพย์1 , กรกช ยวงผ้งึ 1 และ จินตนา ทองเพชร1* 1 วทิ ยาลยั พยาบาลพระจอมเกลา้ จงั หวดั เพชรบุรี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก, เพชรบรุ ี *ผ้รู ับผดิ ชอบบทความ: email [email protected] บทคดั ยอ่ นวัตกรรมตู้ยาเพ่ือคุณ พัฒนาตามแนวคิดหลักการของการคิดเชิงออกแบบ 5 ข้ันตอน คือ 1) เข้าใจปัญหา 2) กาหนด ปัญหา 3) สร้างสรรรวบรวมไอเดีย 4) สร้างต้นแบบ 5) ทดสอบ ร่วมกับแนวคิดของการเสริมสร้างแรงจูงใจเพ่ือเพิ่มสมรรถนะแห่ง ตน นาไปทดลองกับกลุ่มตัวอย่างท่ีเป็นผู้พิการทางสายตา ประเมินความถูกต้องของการใช้ยาสามัญประจาบ้าน ก่อนและหลังใช้ นวัตกรรมตูย้ าเพือ่ คณุ และประเมินถามความพงึ พอใจตอ่ การใช้นวตั กรรม โดยใช้การวจิ ยั ก่ึงทดลองแบบกล่มุ เดียววัดกอ่ นและหลงั การทดลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้พิการทางสายตา จานวน 31 คน เครื่องมือวิจัยผ่านการตรวจสอบความตรงและความเท่ียงจาก ผู้เชี่ยวชาญจานวน 3 ทา่ น ค่า CVI เทา่ กบั 1.00 และความเช่ือมนั่ เทา่ กับ 0.7 ขึ้นไป วิเคราะหข์ ้อมูลดว้ ย ค่าร้อยละ คา่ เฉลย่ี และ สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และสถิตทิ ี ( dependent t-test ) ผลการทดลอง พบว่า 1.ผู้พิการทางสายตามคี ะแนนเฉลย่ี ความถูกต้องของการใชย้ าสามัญประจาบา้ นหลังใช้นวตั กรรมตู้ยาเพื่อคณุ (M=63.03, S.D = .1.02) สงู กวา่ กอ่ นใช้นวตั กรรมตู้ยาเพอื่ คุณ (M=54.19, S.D = 2.27) อยา่ งมีนยั สาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 2.ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจต่อการใช้นวัตกรรมตู้ยาเพ่ือคุณของผู้พิการทางสายตา ด้านการคิดการออกแบบ เท่ากับ 4.90 (S.D=.30) ด้านรูปแบบเท่ากับ 4.85, (S.D=.42) ด้านการใช้งาน เท่ากับ 4.67 (S.D=.22) ด้านการใช้ประโยชน์เท่ากับ 4.84 (S.D=.27) และด้านความมีคุณค่าเทา่ กับ 4.86 (S.D=.30) และผดู้ ูแลเท่ากบั 4.72 (SD = .32 นวัตกรรมตยู้ าเพ่ือคณุ สามารถเอ้อื อานวยความสะดวก สง่ เสรมิ สมรรถนะแห่งตน เพม่ิ ความเช่อื มั่นในการดูแลตนเองเมื่อ เกดิ การเจบ็ ป่วยของผู้พิการทางสายตา และชว่ ยลดภาระของผดู้ แู ล คาสาคญั : นวัตกรรมต้ยู า , การใชย้ าสามัญประจาบา้ น, การรับรูส้ มรรถนะแหง่ ตน , ผู้พิการทางสายตา
1. ความเปน็ มาและความสาคัญของปญั หา คนพิการ เป็นบุคคลท่ีมีข้อจากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจาวัน หรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคมเนื่องจากมีความ บกพร่องทางการมองเห็น การไดย้ ิน การเคลอ่ื นไหว การสอ่ื สารหรือความบกพรอ่ งอ่นื ใดประกอบกับมอี ปุ สรรคในด้านตา่ งๆ และมี ความจาเป็นเป็นพิเศษที่จะต้องได้รับความช่วยเหลือในด้านใดด้านหน่ึง (พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของคน พิการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550) ผู้ท่ีมีความบกพร่องทางการมองเห็น หรือเรียกว่า “ผู้พิการทางสายตา” ได้แก่ บุคคลที่สูญเสียการ มองเห็นตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนถึงบอดสนิท ส่วนอื่นของร่างกายมีความปกติเช่นเดียวกับคนทั่วไปแต่มีความบกพร่องทางการ มองเห็นเพียงอยา่ งเดียวน้นั สามารถประกอบกิจกรรมอยา่ งอืน่ ได้ตามปกติ เช่น การศึกษาหาความรู้ การพูดคุย สื่อสาร การทางาน การเดินทางด้วยตนเอง ทาให้ผู้พิการทางสายตาเพียงอย่างเดียวสามารถใช้ชีวิตได้ตามสมควรแก่สภาพร่างกาย แต่อย่างไรก็ตามผู้ พิการทางสายตาก็ยังมีความยากลาบากในการใช้ชีวิต จากการศึกษางานวิจัยท่ีผ่านมาพบว่าผู้พิการทางสายตาส่วนใหญ่มีฐานะ ยากจน จบการศกึ ษาเพียงระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนต้นประกอบอาชีพเกษตรกรรมรับจา้ ง และพบว่าผูพ้ ิการทางสายตาจะมปี ัญหา ด้านการรับข้อมลู ข่าวสาร ในปัจจุบันประเทศไทยมจี านวนคนพิการที่ได้รับการออกบัตรประจาตวั คนพิการจานวน 1,995,767คน แยกตามประเภทของผู้ที่มีความบกพร่องทางการมองเห็นออกมาได้จานวน 196,081 คนในอายุ 6-14 ปี มีจานวน 2,109 คน (ทับทิม ศรีวิไล, ภมร ขันธะหตั ถ์ และ ธนศิ ร ยืนยง, 2565) ผู้ที่ตาบอดสนิทนั้นมีข้อจากัด คือ ไม่สามารถเรียนรู้โดยการเห็น หรือการดู แต่สามารถเรียนรู้ด้วยประสาทการรับรู้ อ่ืนๆ ทุกประเภท คนตาบอดจึงใช้อักษรเบลล์ในการอ่าน และเขยี น ส่วนขอ้ จากดั ของผทู้ ี่มองเห็นในสภาพเลอื นลาง คือ ไม่สามารถ เห็น หรือเรยี นรู้ด้วยการเหน็ เหมอื นเด็กท่ัวไป สามารถเห็นเฉพาะส่งิ ที่มีขนาดใหญต่ ามศกั ยภาพของแต่ละคน คนสายตาเลอื นลางจงึ อ่านและเขียนดว้ ยอักษรขนาดใหญ่ หรืออ่านโดยใช้แว่นขยายอักษร และอาจใช้หรือไม่ใช้อักษรเบลล์ ผู้ที่มีความบกพรอ่ งทางด้าน การมองเห็น (ตาบอด) ส่วนใหญ่ประสบปัญหาในการดาเนินชีวิตประจาวัน เช่น การเคล่ือนไหวการรับประทานอาหารการเดิน ทางการรับร้ขู ้อมลู บนฉลากยาการรักษา อาการเบ้ืองตน้ การใช้ยาสามัญประจาบา้ น เป็นต้น (ธัญชนก ผวิคา และสรุ ชยั สุขสกุลชยั , 2560) การใช้ยา พบวา่ ผ้ทู ่มี คี วามบกพร่องทางดา้ นการมองเห็น (ตาบอด) ไมส่ ามารถรับรู้ขอ้ มลู บนฉลากยาได้ ไม่ทราบแหน่งของ ต้ยู าสามญั ประจาบ้าน ทาให้ใชย้ าผดิ ชนิดทาใหเ้ กิดอันตรายจากการรบั ประทานยา เนอื่ งจากลกั ษณะของยา มีความคลา้ ยคลงึ กัน ผู้ ที่มีความบกพร่องทางด้านการมองเห็น(ตาบอด) จึงไม่สามารถแยกแยะชนิดของยาได้ และส่งผลถึงประสิทธิภาพทางการรักษ า ผู้ป่วยบางคนอาจแพ้ยาและอาจเกิดภาวะแทรกซอ้ นข้ึนได้ โดยพบว่า มีอุบัติการณ์การหยิบยาผิดชนิด ร้อยละ 43 (สุทธาทิพย์ ออ ประยรู และอลั จนา เฟื่องจนั ทร์, 2560) จะเหน็ ไดว้ ่าคนตาบอดจึงเปน็ บคุ คลอกี กลมุ่ หน่ึงท่ีต้องการไดร้ บั โอกาสทางการสาธารณสุข การดูแลตนเองในแตล่ ะดา้ นไมน่ ้อยไปกว่าคนปกติทว่ั ไป โดยเฉพาะการพฒั นาความสามารถในการรบั ประทานยา เพือ่ ให้คนตาบอด เหล่านน้ั สามารถใช้ชีวติ และประกอบอาชีพท่ดี ไี ด้ แต่ด้วยความบกพรอ่ งทางรา่ ยกายทาใหไ้ มส่ ามารถดแู ลรักษาสุขภาพได้อย่างเต็ม ศักยภาพตามที่ตอ้ งการ จึงจาเป็นต้องอาศัยส่ิงประดิษฐห์ รือนวัตกรรมต่าง ๆ ที่จะช่วยอานวยความสะดวก และในท่ีนี้นวัตกรรมที่ เก่ียวขอ้ งกบั สุขภาพ จึงถือไดว้ ่ามคี วามสาคัญและมบี ทบาทอยา่ งยงิ่ ต่อการตอบสนองความตอ้ งการข้างต้น ในปัจจุบันในประเทศไทยได้มีการนาเอาเทคโนโลยี เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวัน มากข้ึน และได้มีการพัฒนา เทคโนโลยีอย่างต่อเนื่องเพ่ือให้ทุกคนสามารถเข้าถึงข้อมูลแหล่งต่าง ๆ ได้ง่าย ใช้อย่างแพร่หลาย ในด้านศิลปะ ด้านการแพทย์ การศึกษา และการพานิช ที่ช่วยให้เข้าถึงแหล่งข้อมูลได้ง่ายขึ้น วิธีการเข้าถึงแหล่งข้อมูลประกอบด้วย การอ่าน การฟัง การได้ สัมผัส เป็นกระบวนการท่ีทาให้ได้รับรู้ข้อมูลเหล่าน้ัน แต่สาหรับผู้พิการทางสายตา การเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่างๆ น้ันมีได้ 2 วิธี คือ
การได้ยิน ได้สัมผัสเท่าน้ัน ซึ่งไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลด้วยวิธีจากการมองเห็น เพราะฉะนั้นเรื่องการอ่านโดยใช้ดวงตาจึงเป็นเร่ือง ยากมาก ในการถงึ ขอ้ มลู ดงั น้นั การพฒั นานวัตกรรมเพื่อรองรบั สาหรับผู้พิการทางสายตาสาหรับการอา่ นฉลากยา จะเนน้ ในการใช้ เสียง และใช้การสัมผัสเป็นส่วนใหญ่ โดยเอาเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับเสียง และเซ็นเซอร์ ( Censor) เข้ามาเป็นตัวช่วยสาหรับผู้พกิ าร ทางสายตา (สุเทพ เตรียมวิทยา และ สมชาย เล็กเจริญ, 2560) จากการทบทวนวรรณกรรมผู้วิจัยในฐานะผดู้ ูแลด้านสุขภาพ ไม่เพียงดูแลผู้ป่วยท่ีมีอวัยวะรา่ งกายครบสมบูรณเ์ ทา่ นัน้ การดูแล ส่งเสริมให้ผู้พิการทางสายตามีการรับรู้สมรรถนะแห่งตนสูงขึ้น เพ่ิมความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเอง จึงได้นา แนวคดิ การสง่ เสริมสมรรถนะแหง่ ตน ร่วมกบั แนวคิดการคิดเชิงออกแบบ มาพัฒนานวัตกรรมต้ยู าเพื่อคุณ เพ่อื ใหผ้ พู้ ิการทางสายตา สามารถหยบิ ยาจากตูย้ าสามัญประจาบา้ น โดยไม่จาเป็นตอ้ งพึ่งพาอาศยั ผอู้ น่ื อย่ตู ลอด และผู้พิการทางสายตาสามารถใช้ยาได้อย่าง ถูกตอ้ ง ถกู วิธี และไมเ่ ปน็ อันตรายต่อตนเอง ตลอดจนสามารถช่วยเหลอื ผู้พิการทางสายตา และผพู้ ิการคนอื่นๆ ไดด้ ้วย 2. วตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ศึกษาประสิทธิผลของนวตั กรรมต้ยู าเพอื่ คณุ ต่อความถูกต้องในการใชย้ าสามญั ประจาบา้ นของผพู้ ิการทางสายตา และ ความพึงพอใจต่อการใชน้ วัตกรรมของผู้พกิ ารทางสายตาและผู้ดูแล 3. กลมุ่ เป้าหมาย นักเรยี นผพู้ ิการทางสายตา ชว่ งอายุ 14-20 ปี จานวน 31 คน โรงเรยี นสอนคนตาบอดแห่งหนงึ่ โดยกาหนดเกณฑ์การ คดั เลอื กกลุ่มตวั อยา่ ง ดงั น้ี 1) นกั เรยี นผ้พู ิการทางสายตา โรงเรียนสาหรบั ผพู้ ิการทางสายตา ช่วงอายุ 14-20 ปี 2) เพศชาย เพศ หญงิ และเพศทางเลือก 3) ผพู้ ิการทางสายตาที่สามารถเดินได้ การได้ยินปกติ 4) สามารถในการใชอ้ ักษรเบรลลไ์ ด้ 5) ไมม่ ีอาการ ทางสมองหรือเรยี นรชู้ า้ 6) ยินดเี ขา้ รว่ มการวิจยั 4. กระบวนการพัฒนา การพฒั นาและประเมินประสทิ ธผิ ลนวตั กรรม “ตยู้ าเพือ่ คุณ” เพ่อื ผ้พู ิการทางสายตาไดน้ าหลักการของการคิดเชงิ ออกแบบ (Design Thinking Process) มาใช้ในการดาเนินงานดงั นี้ 1.การเขา้ ใจปญั หา (Empathize) โดยการสงั เกตปญั หาทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการสังเกต และสัมภาษณป์ ัญหาการใชย้ าสามัญ ประจาบา้ นของผพู้ กิ ารทางสายตา รวมทั้งผู้ดูแล 2.ระบุปัญหาและกรอบของปัญหา (Define) หลังจากที่ทาความเข้าใจปัญหา ระบุถึงปัญหาที่ต้องการแก้ไขและ แนวทาง การแกไ้ ขปัญหาผูพ้ กิ ารทางสายตาไม่สามารถหยิบยาสามญั ประจาบ้านได้เอง ตอ้ งมีผู้ดูแล เชน่ ครู ผ้ปู กครอง ฯลฯ 3.ระดมสมอง (Brainstorm) ค้นหาความคิดใหม่ๆท่ีจะสามารถตอบโจทย์ ปัญหาความต้องการของผู้ใช้ (User) มาก ท่ีสุด โดย การระดมสมองน้ีประกอบด้วย เภสัชกร พยาบาล ครู/ผู้ดูแลประจาโรงเรยี นสอนคนตาบอด ผู้พิการทางสายตา และทีม พัฒนานวัตกรรม “ตยู้ าเพ่ือคุณ” รวบรวมความคิดเห็นข้อเสนอแนะก่อนไปสขู่ ้ันตอนการสรา้ ง 4.สรา้ งต้นแบบ (Prototype) เพื่อใชส้ ่อื สารอธิบายกบั ผ้ใู ช้งาน (Users) ว่าไอเดยี ทค่ี ดิ คน้ ข้ึนสามารถตอบโจทยป์ ัญหา และความต้องการของผู้ใชง้ านได้หรือไม่ 5.ข้ันทดสอบ (Test) เพื่อเก็บข้อมูลประสิทธิภาพ ตอบคาถาม “อะไรที่ผู้ใช้ชอบ” “อะไรที่เราต้องปรับปรุง โดยใช้ รปู แบบการวจิ ยั ก่ึงทดลอง เพื่อประเมนิ ประสทิ ธิผลของนวัตกรรมตู้ยาเพอ่ื คณุ
5. รายละเอยี ดและวิธกี ารใชง้ านนวัตกรรม ตยู้ าเพอ่ื คุณ (Talking Medicine Cupboard for Visually Impaired) หมายถึง ตยู้ าทาดว้ ย พลาสวดู ขนาด 12.5 X 40 X 37 เซนติเมตร มลี นิ้ ชกั 8 ล้ินชัก สาหรบั ใส่ยาสามญั ประจาบา้ น 8 ชนิด ( ยาลดไข้ แก้ปวด ยาลดกรดแบบเมด็ ยาระบายมะขาม แขก ยาแก้แพ้ ผงเกลือแร่ เจลว่านหางจระเข้ และคารามายโลชั่น) มีอักษรเบรลล์ช่ือยาตดิ อยู่หน้าหน้าลิ้นชักแตช่ ่อง เม่ือดึงลนิ้ ชกั จะมีเสียงบอกชื่อยา อธิบายสรรพคณุ วิธีใช้และอาการข้างเคียง ด้านบนกล่องยาจะมลี าโพง และมี sensor ระยะ 1 เมตร สาหรับ บอกตาแหนง่ ของตู้ยา โดยมีเสียงวา่ “หากท่านกาลังมีความเจบ็ ปว่ ยอยู่ ต้ยู าสามญั อยู่ทางนีค้ ่ะ ค่อยๆ เดนิ อยา่ งระมดั ระวัง ตยู้ าอยู่ ทางนี้นะคะ” จะดงั ทกุ ๆ 30 วนิ าที โดยรายละเอียดมดี ังน้ี 1.เซนเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหว ในระยะ 5 เมตร เมื่อมีความเคล่ือนไหวด้านหน้าของ เซนเซอร์ ตัวเซนเซอร์จะส่ง สญั ญาณไปยัง บอรด์ Arduino เพ่ือให้ บอรด์ ส่งคาสัง่ ให้ Serial MP3 Player ส่งเสยี ง \" สวสั ดคี ่ะตยู้ าสามญั อย่ทู างน้คี ะ 2.Magnetic Switch สวิตช์แม่เหลก็ จะอยู่ด้านหลงั ของลิน้ ชักท่ีใช้สาหรบั ใส่ยา เมื่อมีการดึงลิ้นชักออกมาจะส่งสัญญาณ ไปยัง บอร์ด บอร์ด Arduino เพื่อให้ บอร์ดส่งคาสั่งให้ Serial MP3 Player ส่งเสียท่ีบันทึก เป็น ชนิดยาของแต่ละช่องออกทาง ลาโพง 3.บอร์ด Arduino UNO R3 ใช้สาหรับควบคุมและส่งคาส่ังต่างๆไปยังอุปกรณ์อ่ืน โดยเม่ือมีความเคลื่อนไหวทางด้าน หน้าของตู้ยา ในระยา 5 เมตร Motion Sensor จะส่งคาสั่งมายงั บอร์ดให้สง่ คาส่งั ไปยงั Serial MP3 Player ให้ส่งเสียงออกทาง ลาโพง “หากทา่ นกาลงั มีความเจบ็ ป่วยอยู่ ตยู้ าสามญั อยู่ทางน้ีคะ คอ่ ยๆเดินอยา่ งระมดั ระวังตยู้ าอยู่ทางนี้นะคะ” หรือ เม่ือมคี ลา อกั ษรเบลลท์ ี่ติดอย่หู น้าลนิ้ ชกั ในแต่ ช่องเมือ่ มกี ารดงึ ลนิ้ ชักออกมา Magnetic Switch สวิตชแ์ ม่เหล็ก จะทางานโดยการตรวจจบั วา่ ลน้ิ ชักถูกดงึ ออกมาแลว้ จะส่งเสียง บอก “ชนิดของยาแต่ละชอ่ งทีบ่ ันทึกไว้” 4.Serial MP3 Player ทาหนา้ ทร่ี บั คาสั่งเสียงจาก บอร์ด Arduino UNO R3 และสง่ เสียงไปยัง ลาโพง 5.ลาโพง ทาหนา้ ทร่ี ับคาสั่งเสยี งจาก Serial MP3 Player และเล่นเสยี งตามท่ีกาหนด การนาโปรแกรมเข้าสู่ บอร์ด Arduino UNO R3 จะใช้โปรแกรม Arduino โดยนาโค้ดท่จี ัดทาไว้ใสล่ งไปและอัพโหลดโปรแกรมลง ผา่ นทางสาย USB ไปยงั บอรด์ Arduion
วิธีการใช้งาน เม่ือเปิดลิ้นชักจะมีเสียงอธิบายของช่ือยา สรรพคุณ วิธีใช้และอาการข้างเคียง ด้านบนกล่องยาจะมีลาโพงไว้บอก ตาแหน่งโดยมี sensor ในระยะ 5 เมตร โดยมีเสียงว่า “หากท่านกาลังมีความเจ็บป่วยอยู่ ตู้ยาสามัญอยู่ทางน้ีค่ะ ค่อยๆเดินอย่าง ระมดั ระวัง ตูย้ าอยู่ทางนี้นะคะ” จะดงั ทุกๆ 30 วินาที โดยรายละเอียดมีดงั นี้ 1.ตู้ยาจะส่งเสียงร้อง “หากท่านกาลังมีความเจ็บป่วยอยู่ ตู้ยาสามัญอยู่ทางนี้ค่ะ ค่อยๆเดินอย่างระมัดระวัง ตู้ยาอยู่ ทางนี้นะคะ “ โดยจะดังเม่ือมีคนเดินผ่านในระยะ 5 เมตร ทาให้ผู้พิการทางสายตาได้ยินเสียง ที่ต้องการจะหยิบยาใช้เองทราบ ตาแหน่งของตยู้ า และสามารถเดนิ มายงั ตาแหน่งของตู้ยาได้ 2.เมือ่ เดินมาถงึ ตู้ยากจ็ ะคลาอกั ษรเบรลลท์ ต่ี ดิ อยูบ่ รเิ วณช่องใส่ยาแต่ละชอ่ ง ว่าเปน็ ยาอะไร รวมถงึ คลาอักษรเบรลลท์ ี่ ตดิ อยูท่ ี่ซองยาดา้ นในดว้ ย เพ่อื เป็นการตรวจสอบความถกู ตอ้ งของช่อื ยาอีกครง้ั กอ่ นหยิบออกจากซองยา 3.เม่ือพบยาท่ีต้องการก็สามารถดึงล้ินชักออกเพ่ือนายาออกมา จากนั้นก็จะมีเสียงท่ีบอกช่ือยา สรรพคุณ วิธี รบั ประทาน รวมถึงผลขา้ งเคียงของยานน้ั ๆ เพอ่ื ให้ผู้พกิ ารทางสายตารบั ประทานยาได้อยา่ งถกู ตอ้ ง 6. ผลการทดลองใชน้ วัตกรรมและการอภปิ รายผล ส่วนที่ 1 ขอ้ มลู ทัว่ ไป กลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 83.87 รองลงมาเป็นเพศชายคิดเป็นร้อยละ 16.13 ตามลาดับ อายุ ปัจจุบันอายุในช่วง 12-14 ปี จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 6.45 อายุในช่วง15-17 ปีจานวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 67.74 อายุ ในชว่ ง 18-20 ปี จานวน 7 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 22.58 อายใุ นชว่ ง 21-23 ปี จานวน 1คน คดิ เป็นร้อยละ 3.23 ระดบั การศกึ ษาสว่ น ใหญ่อยู่ระดับชั้นมัธยมศกึ ษา คิดเป็นร้อยละ 96.77 รองลงมาระดับช้ันประถมศึกษาหรอื ตา่ กว่า คิดเป็นร้อยละ 3.23 เม่ือเจ็บป่วย สามารถเดนิ ไปหยิบยาเองคดิ เป็นรอ้ ยละ 9.68 และเมื่อเจบ็ ป่วยมผี ดู้ ูแลนายามาให้ คดิ เป็นร้อยละ 90.32 ตามลาดบั รปู แบบการทา ความเข้าใจวิธีการใชย้ า ทราบจากแพทย์หรอื เภสัชกร คิดเปน็ รอ้ ยละ 3.23 และใหผ้ ู้อนื่ อ่านให้ฟงั คิดเปน็ ร้อยละ 96.77 ตามลาดับ สว่ นท่ี 2 ความถกู ต้องของการใช้ยาสามัญประจาบ้านของผพู้ กิ ารทางสายตา กอ่ นและหลงั การใช้นวัตกรรม “ตยู้ าเพื่อคุณ ตารางที่ 1 การวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บความถกู ตอ้ งของการใช้ยาสามญั ประจาบา้ นของผู้พิการทางสายตา ความถกู ตอ้ งของการใชย้ า N Mean S.D t P- value ก่อนใช้ 31 54.19 2.27 21.43 .000* หลงั ใช้ 31 63.03 1.02 จากตารางท่ี 1 พบว่า หลงั การใชน้ วตั กรรมตู้ยาเพื่อคณุ ผู้พิการทางสายตามคี ะแนนเฉลีย่ ความถกู ตอ้ งของการใช้ยา สามัญประจาบา้ นสูงกวา่ ก่อนใชน้ วัตกรรมตยู้ าเพือ่ คุณ อย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ รี่ ะดบั .01
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239