Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมเล่ม_นวัตกรรมด้านชิ้นงานสร้างสรรค์ 2566

รวมเล่ม_นวัตกรรมด้านชิ้นงานสร้างสรรค์ 2566

Published by Wanpen Instructor, 2023-07-29 17:48:11

Description: รวมเล่ม_นวัตกรรมด้านชิ้นงานสร้างสรรค์ พ.ศ. 2566 ในงานประชุมวิชาการ เรื่อง การวิจัยเชิงสุขภาพ สร้างดุลยภาพชีวิตในยุค Next Normal ณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

Search

Read the Text Version

ตารางท่ี 2 ความพึงพอใจหลงั การใช้นวัตกรรมของผูพ้ กิ ารทางสายตา (n=31) ความพงึ พอใจต่อการใช้นวัตกรรม Mean S.D ดา้ นการคดิ และออกแบบ 4.90 .30 ด้านรปู แบบ 4.85 .42 ด้านการใช้งาน 4.67 .22 ด้านการใช้ประโยชน์ 4.84 .27 ดา้ นความมคี ุณคา่ 4.86 .30 จากตารางที่ 2 พบว่าระดับความพึงพอใจในการใชน้ วตั กรรมตู้ยาเพอื่ คุณของกลุม่ ตวั อยา่ ง โดยภาพรวมอย่ใู น ระดับมาก เม่ือพิจารณารายข้อพบว่าส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก โดยพิจารณาแต่ละด้าน ดังนี้ ด้านการคิดและออกแบบ ( M= 4.90, S.D=.30) ด้านรูปแบบ( M = 4.85, S.D=.42) ด้านการใช้งาน ( M = 4.67, S.D=.22) ด้านการใช้ประโยชน์ ( M= 4.84, S.D=.27) ด้านความมีคุณค่า ( M= 4.86, S.D=.30) โดยข้อท่ีมีระดับความพึงพอใจมากที่สุด คือ ตู้ยาเพื่อคุณมี ประโยชน์ต่อผู้พิการทางสายตา และผู้ดูแล ( M = 5.00, S.D=.22) และรองลงมาในระดับความพึงพอใจมาก คือ ความ แข็งแรง ทนทานของวัสดุท่ีนามาทาตู้ยาเพ่ือคุณ, มีความเหมาะสมของรูปร่าง ขนาด ต่อการนาไปใช้งาน, เนื้อหาคาแนะนา และวิธีการใช้ยามีความกระชับ เข้าใจง่าย ไม่ยืดเย้ือจนเกินไป, ความสะดวกในการหยิบยารับประทานได้ด้วยตนเอง,ระดับ เสียงท่ีได้ยินอยู่ในระดบั ที่เหมาะสม ชัดเจน ( M = 4.95, S.D=.22) อภปิ รายผลการวิจยั ผู้พิการทางสายตามีคะแนนเฉลี่ยความถูกต้องของการใช้ยาสามัญประจาบ้านหลังการใช้นวัตกรรมตูยาเพื่อคุณ (M=63.03, S.D = 1.02) สูงกวา่ กอ่ นใชน้ วตั กรรมตยู้ าเพอื่ คุณ (M=54.19, S.D = 2.27) อยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดับ .01 (t=21.43, p < .01) ซึ่งอภิปรายผลได้ว่า การพัฒนานวัตกรรมตู้ยาเพ่ือคุณต่อความถูกต้องในการใช้ยาสามัญประจาบ้าน พฒั นาโดยใชห้ ลักการของการคดิ เชิงออกแบบ (Design Thinking Process) ซง่ึ เป็นการคิดแกป้ ัญหาอยา่ งสร้างสรรคโ์ ดยแยก ออกเปน็ มิตทิ างการคิด ไดแ้ ก่ การคดิ อย่างมวี ิจารญาณและความคดิ สรา้ งสรรค์ เพอ่ื สร้างผลงานการออกแบบและมิตทิ างการ ปฏิบัติด้วยการเรียนแบบโครงการ โดยกระบวนการของการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking Process) มี 5 ข้ันตอน (Schmarzo, 2017) คือ 1) Empathize การเข้าใจปัญหา กาหนดกลุ่มเป้าหมาย ใช้ประสบการณ์ตรงจากกลุ่มเป้าหมาย ร่วมกันทาความเข้าใจกบั ปัญหาใหถ้ ่องแท้ในทุกมุมมอง หรือเข้าใจในส่งิ ที่ต้องการแก้ไข เพื่อหาหนทางท่ีเหมาะสมและดีที่สดุ ให้ได้ การเข้าใจปัญหาเริ่มตั้งด้วยการต้ังคาถาม สร้างสมมติฐาน ทบทวนวรรณกรรม เพื่อกระตุ้นให้เกิดการใช้ความคิดที่ นาไปสู่ความคิดสร้างสรรค์ท่ีดีได้ ตลอดจนวิเคราะห์ปัญหาให้ถ้วนถ่ี เพื่อหาแนวทางท่ีชัดเจนให้ได้ การเข้าใจในปัญหาอย่าง ลึกซ้ึงถูกต้องน้ันจะนาไปสู่การแก้ปัญหาท่ีการใช้ยาสามัญประจาบ้านของผู้พิการทางสายตาได้ตรงประเด็น 2) Define เป็น การกาหนดปัญหาให้ชัดเจน เม่ือรู้ถึงข้อมูลปัญหาที่ชัดเจน ตลอดจนวิเคราะห์อย่างรอบด้านแล้ว ให้นาเอาข้อมูลท้ังหมดมา วิเคราะห์เพ่ือท่ีจะคัดกรองให้เป็นปัญหาที่แท้จริง กาหนดหรือบ่งช้ีปัญหาเพื่อท่ีจะเป็นแนวทางในการปฏิบัติการต่อไป 3) Ideate – ระดมความคิด กลุ่มผู้วิจัยระดมความคิด การนาเสนอแนวความคิดตลอดจนแนวทางการแก้ไขปัญหาในรูปแบบ ต่างๆ อย่างไม่มีกรอบจากัด ระดมความคิดในหลากหลายมุมมอง หลากหลายวิธีการ ออกมาให้มากที่สุด เพื่อท่ีจะเป็น ฐานข้อมูลในการท่ีเราจะนาไปประเมินผลเพื่อสรุปเป็นความคิดท่ีดีท่ีสุดสาหรับการแก้ไขปัญหา พัฒนานวัตกรรมการใช้ยา สามัญประจาบา้ นของผูพ้ กิ ารทางสายตา 4) Prototype กลุม่ ผู้วจิ ัยสร้างต้นแบบนวัตกรรมกอ่ นนาไปทดสอบ และ 5.Test คอื

ขั้นทดสอบ ทดลองนาต้นแบบนวัตกรรมตู้ยาเพ่ือคุณทดสอบประสิทธิภาพกับผู้พิการทางสายตา ประเมินผล นาเอาปัญหา หรือขอ้ ดขี อ้ เสยี ท่เี กิดขน้ึ เพ่ือนามาปรบั ปรงุ แก้ไข ผลจากการทดลองใช้นวัตกรรมตู้ยาเพ่ือคุณทั้งก่อนและหลังทดลองต่อความถูกต้องในการใช้ยาสามัญประจาบ้าน และ ความพึงพอใจต่อนวัตกรรมตู้ยาเพ่ือคุณของผู้พิการทางสายตา สอดคล้องกับแนวคิดการรับรู้สมรรถนะแห่งตนเอง (Perceived Self-Efficacy) โดยการที่บุคคลตัดสินความสามารถของตนเอง ในการประกอบกิจกรรมที่กาหนดภายใต้ สถานการณ์ท่ีจาเพาะได้ สามารถผสมผสานการเรียนรู้ทางสังคมเข้ากับพฤติกรรมที่เกิดจากความรู้ความเข้าใจ (Cognitive Behavior) ซึ่งพฤติกรรมของบุคคลเกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกันระหว่าง 3 องค์ประกอบนั้นคือ 1) ปัจจัยในตัวบุคคล (Behavior Personal Factor) ได้แก่ ความเช่ือ การรับรู้ความคาดหวัง ความรู้สึก 2) เง่ือนไขพฤติกรรม (Behavior Condition) ได้แก่ การปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน และ 3) เงื่อนไขเชิงสภาพแวดล้อม ( Environment Condition) ได้แก่ บทบาทและอิทธิพลทางสังคม ซึ่งทั้ง 3 องค์ประกอบมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงซ่ึงกันและกัน โดยการ พัฒนาการรับรู้สมรรถนะแห่งตนเกิดจากการท่ีบุคคลเรียนรู้ข้อมูลมาจาก 4 แหล่งน้ีคือ 1) การกระทาท่ีประสบความสาเร็จ ด้วยตนเอง (Enactive Mastery Experience) จะช่วยให้บุคคลมีการรับรู้ว่าตนเองมีสมรรถนะสูง บุคคลท่ีกระทากิจกรรมที่ สาเรจ็ หลาย ๆ ครงั้ จะทาให้รู้สกึ วา่ มีความเช่อื มน่ั ในความสามารถของตนเอง 2) การสงั เกตตัวแบบ (Model) หรือการสังเกต ประสบการณ์ของผู้อ่ืน (Vicarious Experience) จะมีผลต่อการรับรู้ความสามารถของผู้ที่สังเกตเร่ืองนั้นด้วย ถ้าตัวแบบมี สถานการณ์ใกล้เคียงกับผูส้ งั เกตมากเท่าใดก็จะย่งิ มีผลต่อการรับรู้ของผู้สงั เกตมากข้ึนเทา่ นั้น 3) การได้รับคาแนะนาหรือชัก จูงด้วยคาพูด (Verbal Persuasion) บคุ คลทเี่ ชอื่ ถอื ของบคุ คลอื่นทตี่ นเองนั้นเชอ่ื ม่ัน โดยทบี่ คุ คลน้นั ไดแ้ สดงออกคาพูดวา่ เขา มีความเชื่อม่ันในความสามารถของตนเองว่าจะสามารถกระทากิจกรรมต่างๆได้ ทาให้บุคคลนั้นม่ันใจ มีกาลังใจและมีความ พยายามท่ีจะทาส่งิ ต่างๆให้สาเร็จมากข้นึ และ 4) สภาวะทางสรรี ะและอารมณ์ (Physiological and Affective States มีผล ต่อการรับรสู้ มรรถนะของตนเอง โดยบุคคลท่ีเผชิญกับภาวะเครยี ดหรือสถานการณท์ ี่คุกคามความรู้สกึ เช่น ความกลวั ความ วิตกกังวล ทาให้การรับรู้สมรรถนะลดลงเกิดความรู้สึกท้อถอยที่จะกระทากิจกรรมใดๆ ให้สาเร็จ (รุจิกาญจน์ สานนท์ และ ฐานริณทร์ หาญเกียรตวิ งศ์, 2563) ผลการวจิ ัยคร้ังนี้สอดคล้องกับการศกึ ษาของ ศิริพร ชุดเจือจีน, ประไพพิศ สิงหเสม และ สุดารัตน์ วุฒิศักดิ์ไพศาล (2560) ท่ีศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการสร้างเสริมทักษะชีวิตตอ่ พฤติกรรมสขุ ภาพทางเพศในวัยร่นุ ตอนตน้ ซึ่งผลการวิจัยพบว่าการรบั รู้สมรรถนะแห่งตน ทักษะชีวิต และพฤติกรรมสขุ ภาพ ทางเพศ ของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และสอดคล้องกับการศึกษาของกฤตยา แสวงทรัพย์และเอ้ือญาติ ชูชื่น, 2562 การรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อพฤตกิ รรมการดูแลสขุ ภาพกายและสุขภาพจิตชุมชนของ อาสาสมัครสาธารณสขุ ประจาหมู่บ้าน พบว่า อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมบู่ ้านส่วนใหญ่ มีการรับรสู้ มรรถนะแห่งตนใน การดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิตชุมชนอยู่ในระดับปานกลางร้อยละ 63.2 และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการดูแล สุขภาพกายและสุขภาพจิตชุมชนโดยรวมของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับ พฤติกรรมการดูแลสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตชุมชนอยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถิติ (r = .79, p < .05) สรุปไดว้ ่านวตั กรรมตยู้ า มสี ว่ นชว่ ยใหผ้ ้พู ิการทางสายตามีการรับรูส้ มรรถนะแหง่ ตนไดด้ ีขน้ึ และมีความพึงพอใจต่อ นวัตกรรมตู้ยา ซ่ึงนวัตกรรมน้ีสามารถนาไปใช้ในโรงเรียนและสถานท่ีท่ีมีผูพ้ ิการทางสายตามม่ี ีการไดย้ ินปกติและสามารถใช้ อักษรเบรลล์ เพ่อื ส่งเสรมิ ใหผ้ พู้ ิการทางสายตาได้หยิบยาใช้เองไดอ้ ย่างถกู ต้องและสามารถช่วยเหลอื ตนเองและผอู้ น่ื ได้

7. ขอ้ เสนอแนะ นวัตกรรมตู้ยาเพ่ือคุณสามารถช่วยให้ผู้พิการทางสายตามีสมรรถนะแห่งตนในการหยิบยาใช้ด้วยตนเอง แต่มีข้อ คานึงถึงความปลอดภัย จึงมีความสาคัญท่ีต้องมีผู้ดูแลตู้ยา เช่น ครู ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ในการตรวจสอบชนิด ของยา วนั หมดอายุ และการเตมิ ยาในตยู้ าใหถ้ กู ตอ้ ง เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความปลอดภัยตอ่ ผ้พู ิการทางสายตาเมอ่ื มาหยบิ ยาด้วยตนเอง และควรใหผ้ ู้พิการทางสายตามีการแจ้งการใชย้ าให้กบั ผดู้ แู ลทราบดว้ ยเมือ่ มีการใชย้ า เพ่ือตดิ ตามความเสี่ยงท่อี าจเกดิ ขึน้ เชน่ การแพย้ า หรือผลข้างเคยี งจากการใชย้ า 8. เอกสารอา้ งอิง 1. ราชกิจจานเุ บกษา.(2556).พระราชบญั ญัติ ส่งเสรมิ และพัฒนาคุณภาพชวี ติ คนพิการ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2556. เลม่ 130 ตอนที่ 30 ก. 2. ทบั ทิม ศรวี ิไล, ภมร ขันธะหัตถ์ และ ธนิศร ยืนยง. (2565). การบรหิ ารการพฒั นาทส่ี ง่ ผลตอ่ คุณภาพชวี ติ คนพิการ โดยกรมสง่ เสรมิ และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพกิ าร ในเขตภาคกลาง, วารสารรัชตภ์ าคย,์ 16(49),371-385. 3. สทุ ธาทพิ ย์ ออประยูร, อลั จนา เฟ่ืองจันทร์. (2560). การพฒั นาฉลากยาสาหรับผูพ้ ิการทางสายตา. วารสารเภสชั กรรมไทย, 9(1), 237-250. 4. ธญั ชนก ผวิ คา, สุรชยั สุขสกลุ ชัย. (2560). การศึกษาปญั หาและความตอ้ งการของผพู้ กิ ารทางสายตา ศูนยฝ์ ึกอาชีพหญิงตาบอดสามพราน จังหวดั นครปฐม, วารสารสหศาสตร์ศรปี ทุม ชลบุร,ี 3(2), 30-38. 5. สเุ ทพ เตรยี มวทิ ยา เเละ สมชาย เลก็ เจรญิ . (2560). แอพพลิเคชนั่ สาหรับผพู้ กิ ารทางสายตากับการอ่านฉลากยา. มหาวทิ ยาลัยเพชรบรู ณ์, 964-965. 6. ศิริพร ชดุ เจอื จนี เเละคณะ. (2560). ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรบั รู้สมรรถนะแหง่ ตนในการสร้างเสรมิ ทักษะชวี ติ ต่อพฤตกิ รรมสขุ ภาพทางเพศของนกั เรยี น.วารสารเครอื ข่ายวทิ ยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้,4(2), 269-272. 7. รึจกิ านต์ สานน, ฐานรณิ ทร์ หาญเกียรตวิ งศ.์ (2563). การประยกุ ต์ใชท้ ฤษฎปี ญั ญาสงั คมในการอธบิ ายพฤติกรรม สุขภาพ. วารสารมนุษยศ์ าสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 3(1), 13-20. 8. กฤตยา แสวงทรพั ย์ และเออ้ื ญาติ ชชู ื่น. (2562). การรบั รสู้ มรรถนะแหง่ ตนต่อพฤตกิ รรมการดแู ลสขุ ภาพกายและ สุขภาพจิตชุมชนของอาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมู่บา้ น. วารสารศรีนครนิ ทร์วิโรฒวจิ ัยและพฒั นา (สาขา มนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร)์ , 11(22), 1-10. 9. Schmarzo, B. (2017). Can Design Thinking Unleash Organizational Innovation? Retrieved fromhttps://www.datasciencecentral.com/profiles/blogs/can-design-thinking- unleashorganizational-innovation

นวัตกรรมแคนดี้ลดชา นภสั สิริ บุตรฉำ่ 1, นันทนา แนนผักแว่น1, พัทธมน ไข่บัว1, บษุ ยมาศ แก้วศรนี วม1, เบญญทพิ ย์ แซจ่ ัง1, ปราณี วัฒน วงศ1์ , วมิ ลสิริ สนพลาย1, ปวรรตั น์ กลิน่ เมอื ง1,พนิตนันท์ แซ่ลมิ้ 2,ศภุ รสั มิ์ วิเชียรตนนท์2 และเรยี ม นมรักษ์2 1นกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม, นครปฐม 2อาจารยค์ ณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม, นครปฐม *ผรู้ บั ผดิ ชอบบทความ: [email protected] บทคดั ย่อ นวัตกรรมแคนดลี้ ดชา ครง้ั นมี้ ีวตั ถุประสงค์เพ่อื ชว่ ยการกระต้นุ การไหลเวียนของโลหิต ปอ้ งกนั ปัญหาสุขภาพด้านร่างกาย ลดภาวะแทรกซ้อนทางระบบประสาทส่วนปลาย อาการชา รวมไปถงึ การสูญเสยี ความรู้สึกของเท้าจากผู้ทีเ่ ป็นเบาหวานและเสีย่ ง ต่อการเกิดภาวะแทรกซอ้ น ในชุมชนหมู่บา้ นหนองหมา หมู่ 11 ตำบลโพรงมะเดื่อ อำเภอเมอื งนครปฐม จังหวัดนครปฐม จากการ สำรวจประชาชนในชมุ ชนทีป่ ว่ ยเป็นโรคเบาหวานและเส่ยี งตอ่ การเกิดภาวะแทรกซอ้ นเทา้ ชา 21 ราย ซ่งึ เลอื กกลมุ่ ตัวอย่างทงั้ ส้นิ 5 ราย โดยก่อนทำการทดลองใช้นวัตกรรมได้มีการทดสอบปลายเท้าด้วย Monofilament 4 ตำแหน่ง พบว่าผู้ป่วยไม่สามารถบอก ความรู้สึกในแต่ละจุดได้ถูกต้อง จึงนำนวัตกรรมมาทดลองใช้ 20 นาที แล้วทำการทดสอบซ้ำด้วย Monofilament Test 4 จุด พบว่าผู้ป่วยสามารถบอกตำแหน่งในแต่ละจุดได้ถูกต้อง และแบบประเมินความพึงพอใจต่อนวัตกรรม พบว่าคะแนนอยู่ในระดับดี มากทสี่ ดุ รอ้ ยละ 94 คำสำคญั : ผู้ป่วยเบาหวาน, อาการชา, นวตั กรรมแคนดล้ี ดชา

1. ความเป็นมาและความสำคญั ของปญั หา โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่มีอุบัติการณ์เพิ่มมากขึ้นและเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญทั่วโลก เป็น 1 ใน 5 ของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) มีสาเหตุหลักมาจากกรรมพันธุ์และจากพฤติกรรม จากรายงานสถิติสาธารณสุข กระทรวง สาธารณสุข ประเทศไทยพบอุบัติการณ์โรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้น 3 แสนคนต่อปี และมีผู้ป่วยโรคเบาหวานอยู่ในระบบทะเบียน 3.3 ล้านคน ในปี 2563 มีผู้เสียชีวิตจากโรคเบาหวานทั้งหมด 16 ,388 คน (อัตราตาย 25.1 ต่อประชากรแสนคน) ค่าใช้จา่ ยด้านสาธารณสุขในการรักษาโรคเบาหวานเฉลี่ยสูงถึง 47,596 ล้านบาทต่อปี นอกจากนี้โรคเบาหวานยังคงเป็นสาเหตุหลักที่ก่อให้เกิดโรคอื่นๆ ในกลุ่มโรค NCDs เช่น โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรค ความดันโลหิตสูง และโรคไตวายเรื้อรัง ฯลฯ ปัญหาหลักของการรักษาโรคเบาหวานในประเทศไทย คือ ผู้ป่วยจำนวนมากไม่ สามารถควบคมุ เบาหวานใหล้ ดลงตามเกณฑ์ปฏิบัติ และทำใหเ้ กิดภาวะแทรกซ้อนตา่ งๆ ตามมา ทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง (สำนักโรคไม่ตดิ ต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2565) โรคเบาหวานทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ มากมาย ท่ี พบบ่อย เกิดจากปลายประสาทส่วนปลายเสื่อม ภาวะแทรกซ้อนทางไต ตา และเท้า ภาวะแทรกซ้อนสำคัญจะมีผลให้เกิด อาการเท้าชา สูญเสียการรับสัมผัสที่เท้าและเป็นสาเหตุหลักของการเกิดแผล ที่เท้าหากมีการติดเชื้อรุนแรงจะนำไปสู่การ สูญเสยี อวยั วะหรืออาการชาท่ปี ลายเท้าในผปู้ ่วยโรคเบาหวานจะ มโี อกาสเกดิ มากกว่าคนทว่ั ไป มีอาการชาเกิดขน้ึ ทีเ่ ท้า ผปู้ ่วย ไม่รู้สกึ ตวั เม่อื เหยยี บตะปูหรือของมีคม เนือ่ งจากเส้นประสาทสว่ นปลายเสอื่ มทำใหส้ ูญเสยี ความรู้สกึ ส่งผลใหเ้ กดิ แผลเรื้อรังท่ี เท้า นำมาซึ่งการสูญเสียเท้าในที่สุด แต่อาการชาที่เท้านี้สามารถป้องกันเพื่อไม่ให้เกิดการสูญเสียความรู้สึกของเท้าได้ พื้นที่ ตำบลโพรงมะเดื่อ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม เป็นพื้นที่เป้าหมายในการพัฒนาสุขภาพของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ในระหว่างวันที่ 20 กุมภาพันธ์ – 15 มีนาคม 2566 คณะผู้จัดทำซึ่งฝึกปฏิบัติการพยาบาล ชุมชน 1 ได้ลงสำรวจพื้นที่ชุมชนหมู่ 11 ตำบลโพรงมะเดื่อ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ได้พบว่ามีผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อน จากการเป็นโรคเบาหวาน จำนวน 21 คน หรอื ร้อยละ 31.2 ของประชาชนหมู่ท่ี 11 โดยผู้ปว่ ยเหล่านีเ้ สย่ี งต่อภาวะเเทรกซอ้ น เทา้ ชา สง่ ผลใหเ้ ป็นอุปสรรคต่อการดำเนินชีวิตประจำวนั และอาจเกิดแผลทีเ่ ท้าตามมาได้ ดังนั้นคณะผู้จดั ทำตระหนักและให้ ความสำคัญในการดแู ลภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานจาก อาการชาที่เท้าของผู้ป่วยโรคเบาหวาน จึงไดค้ ิดค้นพฒั นาผลงาน นวัตกรรมด้านการพยาบาล \"เเคนดีล้ ดชา\" ขึ้นเพื่อช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต และลดอาการชาของเท้า ผู้จัดทำหวงั เป็นอยา่ งยงิ่ วา่ นวตั กรรมชิ้นนี้สามารถผลิตได้เองทบี่ ้านและสามารถนำไปเผยแพร่ให้เกิดประโยชน์แกผ่ ูร้ ับบริการได้ 2. วัตถปุ ระสงค์ 1.เพอ่ื ชว่ ยการกระต้นุ การไหลเวยี นของโลหิต ปอ้ งกันปญั หาสุขภาพด้านร่างกาย 2.เพอื่ ลดภาวะแทรกซ้อนทางระบบประสาทส่วนปลาย อาการชา รวมไปถงึ การสญู เสียความรสู้ ึกของเท้า 3. กล่มุ เป้าหมาย กล่มุ ผปู้ ว่ ยที่เปน็ โรคเบาหวานและเสีย่ งต่อภาวะแทรกซอ้ นเท้าชา โดยใชก้ ลุ่มตัวอยา่ ง 5 ราย จากผปู้ ่วยโรคเบาหวานและเสย่ี ง ตอ่ ภาวะแทรกซ้อนทัง้ สิน้ 21 ราย 4. กระบวนการพัฒนา (ตามขัน้ ตอน plan do check act) 4.1. Plan 1) ประชมุ ปรึกษาหารอื กับอาจารย์ประจำกล่มุ และศกึ ษาขอ้ มลู ท่เี กดิ ข้นึ ในชมุ ชน 2) ทบทวนวรรณกรรม/เอกสารทเี่ กีย่ วข้อง พบว่า มกี ารใช้ “นวัตกรรมลูกปดั ไมน้ วดกดจดุ ลดอาการชาท่ีเทา้ ในกลุ่มผูป้ ่วย โรคเบาหวาน” เป็นการศกึ ษาเพ่ือศกึ ษาผลของการนวดกดจุดลดอาการชาฝา่ เทา้ ด้วยตนเองในผ้ปู ว่ ยทม่ี ีภาวะเส้นประสาทสว่ น ปลายเสื่อมเน่อื งจากโรคเบาหวาน โดยผลการวจิ ยั พบวา่ กลุม่ ตวั อยา่ งเปน็ เพศหญงิ ส่วนใหญอ่ ยใู่ นชว่ งอายุต้งั แต่ 60 ปขี น้ึ ไป มี

สถานภาพสมรส/คู่ กลมุ่ ตวั อยา่ งมอี าการชาทเ่ี ท้าซ้ายและเท้าขวาสูงสุดที่ 4 จุด โดยอาการชาท่เี ท้าซ้ายก่อนการทดลองมากทสี่ ุดคือ อาการทเ่ี ท้าจำนวน 1 จุด และภายหลังจากการใช้นวตั กรรมไมพ่ บอาการชาทเี่ ท้า จากการทบทวนวรรณกรรม จงึ สรปุ ไดว้ ่า การ นวดหรอื กดจดุ ที่ฝ่าเท้า สามารถลดอาการชาในผู้ป่วยเบาหวานได้จรงิ งานวิจยั น้ีจึงพัฒนาต่อยอดจากงานวิจัยท่ีได้ศกึ ษา โดยปรับ ใหม้ กี ารใช้เมด็ ลูกปดั มาร้อยเข้ากบั ตวั PVC และไมไ้ ผ่ท่ีหาไดใ้ นชมุ ชนเป็นสงิ่ ทีจ่ ะใช้นวด เพอ่ื กระตนุ้ ฝ่าเท้า มผี ลต่อการไหลเวียน ของโลหติ ทีม่ าเล้ยี งบรเิ วณฝา่ เทา้ 3) เสนอแบบนวตั กรรมให้กบั อาจารยป์ ระจำกลมุ่ เพอ่ื พจิ ารณา 4) สรุปแบบนวตั กรรมและวางแผนในการประดษิ ฐ์นวัตกรรม 4.2. Do 1. เริ่มออกเเบบรปู เเบบโครงสร้างของนวตั กรรม 2. ประดิษฐ์นวตั กรรม จดั หาอปุ กรณ์ ประกอบชิน้ งาน ตามข้ันตอน ดงั น้ี 2.1 มีการนำไมไ้ ผท่ ข่ี นาดเสน้ ผ่าศนู ย์กลางประมาณ 15 มิลลเิ มตร มาตดั ใหม้ คี วามยาวประมาณ 60 เซนติเมตร จำนวน 20 ทอ่ น หลังจากนน้ั นำท่อ PVC ทมี่ ขี นาดเสน้ ผา่ ศนู ย์กลางประมาณ 1 น้วิ มาตดั จำนวน 20 ทอ่ น นำทอ่ PVC ท่ตี ดั ไว้มาเจาะรูให้ มีลกั ษณะเปน็ เกลียวรอบ PVC ภาพที่ 1 เจาะรรู อบทอ่ PVC 2.2. จากน้นั นำเส้นเอ็นร้อยลกู ปดั มาร้อยใสใ่ นรทู อ่ PVC ทท่ี ำการเจาะรไู ว้ โดยทำการรอ้ ยลูกปดั ใหค้ รบ 20 ทอ่ นของ PVC ภาพที่ 2 รอ้ ยลูกปัดกบั ท่อ PVC

2.3 นำท่อ PVC เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางขนาด 1.5 น้วิ จำนวน 14 ท่อน มาตอ่ กับขอ้ ต่อ เพอ่ื ทำเปน็ โครงในการยดึ ตัวแกนหมุน นำ PVC ที่รอ้ ยลกู ปดั แล้วมาใสต่ รงตัวโครง ภาพที่ 3 ต่อทอ่ PVC กบั ขอ้ ต่อ ภาพท่ี 4 แคนด้ลี ดชา 4.3. Check 1) นำเสนอนวัตกรรมกับอาจารยท์ ่ปี รกึ ษาเพ่ือเเกไ้ ข ปรับปรงุ นวตั กรรมตามขอ้ เสนอแนะ 2) นำไปทดลองใช้กบั กลุ่มตัวอย่างผปู้ ว่ ยเบาหวานท่ีมภี าวะเเทรกซอ้ นเท้าชา 5 ราย ตารางที่ 1 ผลการประเมนิ ความพึงพอใจจากกลมุ่ ตัวอยา่ งผู้ใชน้ วตั กรรมแคนด้ลี ดชา ลำดบั หวั ขอ้ การประเมิน มากทีส่ ุด มาก ระดับการวดั นอ้ ย น้อยที่สุด (คน) (คน) ปานกลาง (คน) (คน) 1 วัสดุทใี่ ช้มีความแข็งแรงทนทาน 4 2 สามารถเคลอ่ื นยา้ ยสะดวก 5 1 (คน) 3 ขัน้ ตอนใช้งานสะดวก ไมซ่ บั ซ้อน 5 4 มคี วามสวยงามนา่ ใชง้ าน 4 1 5 สามารถใช้งานได้จรงิ 5 6 สามารถบรรเทาอาการชาบรเิ วณฝา่ เท้าน้อยลง 5 7 ขณะทใ่ี ชง้ านรสู้ ึกสบายเทา้ 5

ลำดบั หัวขอ้ การประเมนิ มากทสี่ ุด ระดบั การวดั น้อยทสี่ ดุ (คน) มาก ปานกลาง น้อย (คน) 8 ขณะใช้งานผู้ปว่ ยสามารถรับรสู้ ัมผัสของฝ่าเทา้ มากข้นึ 5 (คน) (คน) (คน) 9 นวตั กรรมไมเ่ ป็นอันตรายต่อผู้ใชง้ าน 5 0 10 นวตั กรรมมีประโยชน์กบั ผู้ใชไ้ ด้จรงิ 4 1 0 ความถ่สี ะสม 47 210 คะแนนที่ได้ 235 830 คะแนนรวม คะแนนเฉล่ยี 246 246*5/250 = 4.9 จาก 5 คะแนน จากผลการทดสอบเบ้ืองต้น พบว่า นวัตกรรมมีความแขง็ แรงทนทาน สามารถใช้งานและเปน็ ประโยชน์กบั ผใู้ ช้งานไดจ้ รงิ มี ความสวยงามนา่ ใชง้ านและสามารถพกพาไดส้ ะดวก 4.4. Action ปรบั ปรงุ นวตั กรรม สรุปข้อเสนอแนะ ดงั น้ี - มกี ารแกไ้ ขแกนหมุนใหม้ คี วามลืน่ ไหลมากขึ้นกวา่ เดิม - เปลย่ี นแกนหมุนจากไมไ้ ผเ่ ปน็ อลูมเิ นยี ม เพอื่ ความแขง็ แรงและความปลอดภยั ในการใชง้ าน 5. รายละเอียดและวธิ กี ารใชง้ านนวัตกรรรม วิธีการใชง้ าน ขั้นตอนที่ 1 นำนวัตกรรมไปจัดตงั้ ท่ีบริเวณพ้นื ราบและชิดกำแพงหรอื เสาเพือ่ ป้องกนั การเกดิ อบุ ตั เิ หตขุ ณะการใช้งาน ขนั้ ตอนท่ี 2 ใหผ้ ปู้ ่วยนั่งบนเก้าอ้ี เพ่อื สะดวกตอ่ การทำกิจกรรม ขน้ั ตอนท่ี 3 ใหผ้ ปู้ ว่ ยนำเท้าทงั้ สองข้างไปวางบนช้นิ งานนวัตกรรม ข้ันตอนท4ี่ ให้ผปู้ ่วยคลึงฝา่ เท้าบนลกู กลิ้งนาน 20นาที เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย เเบบประเมินการตรวจเท้าเบื้องตน้ ด้วย Monofilament Test 4 จุด สำหรับผู้ป่วยเบาหวานเพ่ือประเมินความรู้สึกที่เท้า และเเบบประเมนิ ความพงึ พอใจต่อนวัตกรรม ซึ่งมีลกั ษณะขอ้ คำถาม เป็น เเบบประเมินค่า 5 ระดับ ได้แก่ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยมาก เกณฑ์ระดับการให้คะแนนของความพึงพอใจ มาก ทีส่ ดุ =5 มาก=4 ปานกลาง=3 นอ้ ย=2 และนอ้ ยมาก=1 6. ผลการทดลองใชน้ วตั กรรมและการอภิปรายผล จากการทดลองใชน้ วตั กรรมในผ้ปู ว่ ยเบาหวานและเสี่ยงภาวะแทรกซอ้ นเทา้ ชา จำนวน 5 ราย ไดผ้ ล ดังน้ี 6.1 ก่อนการทดลองใช้นวัตกรรมกับกลุ่มตัวอย่างในผู้ป่วยเบาหวานที่เสี่ยงภาวะแทรกซ้อนเท้าชาจำนวน 5 ราย โดยใช้ Monofilament Test ทดสอบ พบว่ากลุ่มตัวอย่างทุกรายมีอาการชาที่เท้าตั้งแต่ 2 จุดขึ้นไป จึงทดลองใช้นวัตกรรมแคนดี้ลดชา โดยทดลองใชน้ วตั กรรมเป็นเวลา 20 นาที ตอ่ 1 ครง้ั

ภาพที่ 5 แบบบันทึกการตรวจเท้าเบื้องต้นสำหรับผปู้ ่วยเบาหวาน 6.2 ประเมนิ ผลระดับอาการชาหลงั การทดลองใช้นวัตกรรม ดว้ ย Monofilament Test 4 จุด และประเมินความพึงพอใจ พบวา่ กลุ่มตวั อย่างสามารถบอกตำแหนง่ ในการใช้ Monofilament test ในการทดสอบไดถ้ กู ต้อง การอภิปรายผล จากการทดลองนี้ มีการนำลูกปัดมาประดิษฐ์เพิ่มในนวัตกรรม เป็นการกระตุ้นจุดท่ีสะท้อนฝ่าเท้า ทำให้กระตุน้ การไหลเวียน ของเลือดบริเวณฝ่าเท้าเพิ่มมากขึ้น เส้นประสาทจึงมีการปรับสภาพทำให้รูส้ กึ ว่ามีอาการชาที่เท้าลดลง การใส่ลูกปัดเพ่ิมเข้าไปใน นวตั กรรมแคนดล้ี ดชา เป็นการพัฒนาให้นวตั กรรมมีการกดจดุ และนวดฝา่ เทา้ ทำให้การไหลเวยี นเลือด และลดอาการชาลงได้อย่าง ชัดเจน ทั้งนี้ผู้ทดลองใช้นวัตกรรมมีความพึงพอใจในระดับสูง จึงสรุปได้ว่า นวัตกรรม “แคนดี้ลดชา” สามารถเพิ่มการไหลเวียน เลือด ป้องกันปัญหาสุขภาพ และลดภาวะแทรกซ้อนทางระบบประสาทส่วนปลาย อาการชา รวมไปถึงการสูญเสียความรู้สึกของ เท้าได้ 7. ข้อเสนอแนะ 1. มีการแกไ้ ขแกนหมุนให้มคี วามลนื่ ไหลมากข้นึ กวา่ เดมิ 2. เปลย่ี นแกนหมนุ จากไมไ้ ผเ่ ป็นอลมู ิเนยี ม เพ่อื ความแข็งแรงและความปลอดภยั ในการใชง้ าน 8. เอกสารอ้างองิ [1] ณฐมน สบื ชุย, ศศธิ ร สกุลกมิ , ภคั จฑุ านนั ท์ สมมงุ่ , จฑุ ารตั น์ พิมสาร, กาญจนำ เพชรลอื ชา และอรวรรณ วมิ ลทอง. (2560). ประสทิ ธผิ ลของนวัตกรรมลกู ปัดนวดกดจุดลดอาการชาที่เทา้ ในกล่มุ ผปู้ ว่ ยโรคเบาหวาน. ก้าวทนั โลกวทิ ยาศาสตร์,17 (1), 87-89. [2] นิธิพงศ์ ศรีเบญจมาศ และคณะ. (2557).ประสิทธิผลของโปรแกรมการลดอาการชาเท้าของผู้ป่วยเบาหวานกลุ่มตัวอย่างจาก ผู้ปว่ ยเบาหวานทีม่ ีอาการชาเท้า.มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พิบลู สงคราม [3] พนิดา กุลประสูติดลิ ก. (2547). กดจุดมอื จุดเท้ารักษาสขุ ภาพ. (พมิ พ์คร้ังท2่ี ). กรุงเทพฯ:บรษิ ทั ตถาตาพับลิเคชน่ั จำกัด. ศศิธร สกุลกิม, พิมพ์วดี โรจน์เรืองนนท์, ปัญญา ปุริสาย, กาญจนำ วินทะไชย์ และกิจจำ จิตรภิรมย์ .(2561). ผลของการใช้ นวัตกรรมพรมมะค่าลดอาการชาที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองนกชุม. วารสารควบคุม โรค,44 (3), 258-273. [5] สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวง สาธารณสุข. ( 2565). ข้อมูลโรคไม่ติดต่อ. สืบค้นจาก. https://pr.moph.go.th/?url=pr/detail/2/02/181256/

กลอ่ งความจำ ไม่รู้ลมื Magic brain magic box จริ าพร ศรพี รแกว้ , ชชั ญา วรสหวัฒน์, ธิติมา อยดู่ ี, เนตรนริน ไทยป้อม, ศศธิ ร ต้สู มบตั ิ, ศุภรตั น์ พุฒซ้อน, สุธาสินี ชว่ ยเน่อื ง และ อันธยิ า ไทรพงษ์พนั ธ์ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี, คณะพยาบาลศาสตร์, สถาบนั พระบรมราชชนก *ผู้รบั ผิดชอบบทความ: [email protected] บทคัดย่อ ในปัจจุบนั ภาวะสมองเสอื่ มในผู้สงู อายเุ ป็นปญั หาทสี่ ำคัญทางสาธารณสขุ ทวั่ โลก และเปน็ กลมุ่ อาการท่พี บบ่อยในผู้สูงอายุ จากสถิตขิ ององคก์ ารอนามยั โลกในปี ค.ศ. 2015 พบผสู้ ูงอายุท่ีมภี าวะสมองเสอื่ มถึง 47.47 ล้านคน ประมาณการณ์วา่ จะเพิ่มสูงถึง 75 ล้านคนในปี ค.ศ.2030 จากข้อมูลสถิติผู้สูงอายุของประเทศไทย 77 จังหวัด ณ ปี พ.ศ.2563 พบมีจำนวนผู้สูงอายุรวมทั้งส้ิน 11,627,130 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 17.57 ของประชากร จงึ คาดการณ์วา่ ผูส้ ูงอายุท่ีมีภาวะสมองเส่ือมในประเทศไทยอาจมีจำนวนสูง ถึงกว่าล้านคน หากเกิดภาวะสมองเส่ือมขึ้นแล้ว จะส่งผลให้ผู้สูงอายุมภี าวะทุพพลภาพและมภี าวะพึ่งพา ต้องการความชว่ ยเหลือ จากบุคคลอื่นๆทุกๆด้านอย่างต่อเนื่อง อันเป็นผลกระทบด้านลบต่อครอบครวั ญาติ ผู้ดูแล และระบบบริการสุขภาพของประเทศ ดงั น้ันการป้องกันภาวะสมองเส่ือมจึงเป็นส่ิงสำคญั ในการส่งเสรมิ สุขภาพผสู้ ูงอายุใหส้ ามารถใช้ชวี ติ ได้อย่างมีคุณภาพชีวิตท่ีดี คณะ ผจู้ ดั ทำจงึ ออกแบบอุปกรณท์ ช่ี ่วยในการส่งเสริมทกั ษะและพัฒนาสมองดา้ นการคดิ รู้ จำ ใหก้ ับผู้สูงอายุ ชือ่ นวัตกรรมกล่องความจำ ไม่ร้ลู มื (Magic brain, Magic box) คำสำคญั : ผ้สู งู อายุ สมองเสอื่ ม ชะลอภาวะสมองเส่ือม 1. ความเปน็ มาและความสำคัญของปญั หา ภาวะสมองเสื่อมเป็นกลุ่มอาการที่เกิดจากความผิดปกติในการทำงานของสมอง ที่ทำให้เกิดความเสื่อมถอยของ ความสามารถด้านการรู้คิดอย่างต่อเนื่อง จากระดับปกติที่เคยเป็นอยู่และค่อนข้างมากเกินกว่าที่พบในคนสูงอายุปกติ โดยมีการ เสื่อมของความจำเป็นอาการเด่น ในขณะที่มีสติสัมปชัญญะปกติ โดยอาการสมองเสื่อมในระยะแรกจะพบว่า มีการความจำ (Amnestic mild cognitive Impairment) แต่สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ โดยในระยะนี้ผู้ป่วยจะเริ่มรู้ว่าตัวเองผิดปกติ และเมือ่ ไปพบแพทย์จะยังไม่สามารถตรวจพบความผิดปกติที่ชัดเจนได้ ความเส่ียงตอ่ การเกดิ โรคสมองเสื่อมได้ อาการแสดงมกั จะ รุนแรงเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยที่อาการในระดับที่รุนแรงมากผู้ป่วยจะสูญเสียความจำอย่างมากสับสน ไม่รับรู้ เวลา สถานที่ บุคคล ไม่สามารถคิดและตัดสินใจได้ด้วยตนเอง ไม่พูดหรือพูดไม่รู้เรื่องกิจวัตรประจำวันบกพร่องและไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ซึ่ง

ความบกพร่องดังกล่าวเป็นผลมาจากสมองถูกทำลาย (Eliopoulos, 2010) กลายเป็นผู้ป่วยหนักที่เร้ือรัง เป็นอัมพาต เคลื่อนไหว ไม่ได้ ตอ้ งการการดูแลและความชว่ ยเหลือจากผู้อื่นตลอดเวลา ผลจากภาวะสมองเสื่อมเป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อภาวะสุขภาพทั้งของผู้สูงอายุและบุคคลในครอบครัว โดยเฉพาะผู้ดูแล ภาระที่เกิดขึ้นจากโรคสมองเสื่อมเปน็ ปัญหาสำคญั ในผู้สงู อายุ ซึ่งมีค่าใช้จ่ายสูงขึน้ ตามระยะของโรคที่รุ่นแรงขน้ึ ทง้ั นเี้ น่อื งจากภาวะสมองเส่ือมจะทำให้ผสู้ งู อายุมีการเสอื่ มในหน้าทีข่ องการเรยี นรู้และเชาวป์ ญั ญาอย่างรุนแรง ประกอบกบั มีปญั หา ด้านการสื่อสารเพื่อใหบ้ ุคคลอื่นเกิดความเข้าใจ จำไม่ได้ว่าตนพูดหรอื ทำอะไรไปบ้าง ลืมสิง่ ของที่วางไว้ จนเกิดอาการหวาดระแวง ว่าคนอื่นจะมาขโมยสิ่งของของตน อาการดังกล่าวนี้ผู้สูงอายุจะไม่สามารถควบคุมอาการของตนได้ เกิดการเปลี่ยนแปลงของ บคุ ลกิ ภาพ การเปลี่ยนแปลงดา้ นอารมณ์ โดยอารมณ์โรคซึมเศร้าจัดเปน็ ปญั หาสุขภาพจิตที่พบได้บอ่ ยทส่ี ุดในกล่มุ ผสู้ งู อายุและบาง รายอาจมีอาการทางจิต โดยจะพบอาการหูแว่ว เห็นภาพหลอน จะเห็นได้วา่ โรคสมองเสื่อมเปน็ ปัญหาท่ีสำคัญและเป็นปัญหาใหญ่ ระดับประเทศ ที่มีผลกระทบต่อภาวะเศรษฐกิจ การเมืองและการสาธารณสุข และที่สำคัญโรคสมองเสือ่ มจะเป็นปัญหาในอนาคต อนั ใกลข้ องประเทศไทยเนอ่ื งจากคนไทยมอี ายทุ ี่ยนื ยาวขนึ้ ภาวะสมองเสื่อม (Dementia หรือ Major neurocognitive disorder) เป็นภาวะทีป่ ระสิทธิภาพการทำงานของสมอง ลดลง สมองสูญเสียหน้าที่การทำงานในด้านต่างๆ ทำให้กระบวนการรู้คิด (Cognition) บกพร่อง จนส่งผลกระทบต่อการดำเนิน ชีวิตประจำวันและการอยู่ร่วมกันในสังคม ถือเป็นกลุ่มอาการที่พบบ่อยและเป็นปัญหาที่สำคัญในผู้สูงอายุ จากสถิติขององค์การ อนามัยโลกในปี ค.ศ. 2015 พบผสู้ งู อายทุ ม่ี ีภาวะสมองเสอื่ มถงึ 47.47 ล้านคน และประมาณการณ์ว่าจะเพิ่มสงู ถึง 75 ล้านคนในปี ค.ศ.2030 สำหรับภาวะสมองเสื่อมในประเทศไทยน้ัน พบความความชุกของภาวะสมองเสื่อมโดยเฉลี่ยร้อยละ 2 ถึง 10 และจาก ข้อมูลสถิติผู้สูงอายขุ องประเทศไทย 77 จังหวัด ณ ปี พ.ศ.2563 พบมีจำนวนผู้สูงอายุรวมทั้งสิ้น 11,627,130 คน คิดเป็นร้อยละ 17.57 ของประชากร จงึ คาดการณว์ า่ ผสู้ งู อายทุ ม่ี ีภาวะสมองเสือ่ มในประเทศไทยอาจมีจำนวนสงู ถงึ กว่าล้านคน หากภาวะสมองเสื่อมเกิดขึ้นแล้ว จะส่งผลให้ผู้สูงอายุมีภาวะทุพพลภาพและมีภาวะพึ่งพา ต้องการความช่วยเหลือจาก บคุ คลอืน่ ๆทกุ ๆดา้ นอย่างต่อเนอ่ื ง อนั เปน็ ผลกระทบดา้ นลบต่อครอบครัว ญาติ ผดู้ ูแล และระบบบรกิ ารสขุ ภาพของประเทศ ดังนน้ั ความรู้ความเข้าใจในการอาการและอาการแสดง สาเหตุ การวินิจฉัย รวมถึงการดูแลรักษาจะมีส่วนช่วยอย่างมาก ในการที่จะ บรรเทาปญั หาตา่ งๆ ทเี่ กิดขึ้น ถึงแม้ว่าในปจั จบุ นั ภาวะนี้ยังไมส่ ามารถท่ีจะรักษาใหห้ ายขาดได้กต็ าม 2. วตั ถปุ ระสงค์ 2.1 เพ่ือส่งเสริมกระบวนการคดิ และความจำของผ้สู ูงอายุ 2.2 เพ่อื ให้ผ้ดู แู ลผู้สูงอายใุ นชุมชน มอี ปุ กรณส์ ำหรับใช้ทำกิจกรรมส่งเสรมิ กระบวนการคดิ และความจำของผูส้ งู อายุ 3. กล่มุ เปา้ หมาย - ผ้สู งู อายุท่ีมอี ายุ 60 ปี ขึน้ ไป จำนวน 5 คน

4. กระบวนการพฒั นา (ตามข้นั ตอน plan do check act) ข้ันเตรียมการ(Plan): 1. ประชุมกับเพื่อนที่เป็นสมาชิกกลุ่มและอาจารยป์ ระจำกลมุ่ เพื่อวางแผนจัดทำนวัตกรรม 2. ศกึ ษาขอ้ มูลจากวารสาร ตำรา งานวิจัย และบทความวิชาการทาง Internet องค์ความรทู้ เ่ี กี่ยวข้องกบั การสร้างนวตั กรรม การปฏิบัติ (Do): 1. ร่วมกนั วางแผนออกแบบรูปแบบนวัตกรรม โดยคำนงึ ถึงกจิ กรรมที่ช่วยสง่ เสรมิ กระบวนการคิด ความจำใหก้ บั ผู้สูงอายุใน หลากลายรปู แบบ โดยให้ผู้สงู อายสุ ะดวกใช้ และผ้ดู ูแลสามารถนำไปใช้ในชุมชนไดอ้ ย่างสะดวก ภาพท่ี 1 รูปแบบของกลอ่ งความจำไมร่ ู้ลมื (โมเดลจำลอง) ภายนอก - กลอ่ งมขี นาดกวา้ ง 22 เซนตเิ มตร ยาว 30 เซนตเิ มตร สูง 15 เซนติเมตร โดยกล่องจะมีตวั ลอ็ กปิด-เปิด ภาพที่ 2 รปู แบบของกล่องความจำไมร่ ูล้ มื (โมเดลจำลอง) ฝากล่อง - ฝากลอ่ งมขี นาดกวา้ ง กว้าง 22 เซนตเิ มตร ยาว 30 เซนตเิ มตร ฝากลอ่ งจะมีทจี่ บั เพอ่ื สะดวกตอ่ การเคล่ือนย้ายและมีคิว อาร์โค้ดสแกนเข้า LINE Official

ภาพที่ 3 และ ภาพที่ 4 ภายในกลอ่ งจะแบ่งออกเป็น4ช่องใหญ่เทา่ ๆกับสำหรบั ใสเ่ กมส์ 2. ดำเนินการจัดทำนวัตกรรมโดยการออกแบบกลอ่ งสำหรับใสอ่ ุปกรณท์ ีเ่ ป็นเกมส์ต่างๆไวภ้ ายใน และจ้างชา่ งไม้ในการทำ ภาพที่ 5 กล่องความจำไม่รลู้ มื หลังประดษิ ฐ์ช้ินงานสำเร็จ 3. ดำเนนิ การจดั ทำ เกมจบั ผิดภาพ, เกมบตั รภาพ, เกมจิ๊กซอวแ์ ละเกมจบั คู่ การจัดทำนวัตกรรมครัง้ ที่ 1 ภาพท่ี 6 เกมในกลอ่ งความจำไมร่ ลู้ ืม ชื่อเกมวา่ “เกมบตั รภาพ” รปู แบบเกา่

ภาพที่ 7 เกมในกลอ่ งความจำไมร่ ลู้ ืม ช่ือเกมว่า “เกมจับคู่” รปู แบบเกา่ ภาพที่ 8 เกมในกล่องความจำไมร่ ลู้ มื ช่ือเกมว่า “เกมจิ๊กซอว์” รปู แบบเกา่ ภาพท่ี 9 เกมในกลอ่ งความจำไมร่ ลู้ ืม ช่อื เกมวา่ “เกมจบั ผดิ ภาพ”

สรปุ การทำนวตั กรรมคร้งั ท่ี 1 หลงั การจัดทำนวตั กรรมครั้งที่ 1 พบปัญหาดงั นี้ - เกมบตั รภาพ มขี นาดภาพเล็กจนเกนิ ไปไม่เหมาะกับผ้สู ูงอายุท่ีมปี ัญหาทางดา้ นการมองเหน็ - เกมจับคู่ ภาพดูคล้ายกนั แตไ่ มไ่ ด้เหมอื นกนั ทำใหผ้ ู้สงู อายุเกิดความสบั สน - เกมจิ๊กซอว์ มภี าพทีล่ ะเอียดเกินไปและตอ่ ได้ยาก ใชเ้ วลาตอ่ นาน บางภาพไมเ่ หมาะกับผสู้ งู อายุ เนือ่ งจากเป็นภาพทไ่ี มค่ นุ้ ตา และไม่ได้อย่ใู นชวี ติ ประจำวัน จึงทำใหไ้ มส่ ามารถต่อได้ จากการพบปัญหาหลังการจดั ทำนวตั รกรรมครัง้ ที่ 1 จงึ นำไปสู่การพฒั นา ปรับเปลี่ยนรปู แบบ นวตั รกรรมครง้ั ที่ 2 ดงั นี้ การจัดทำนวัตกรรมครั้งท่ี 2 ภาพท่ี 10 เกมในกล่องความจำไมร่ ูล้ มื ช่ือเกมวา่ “เกมบตั รภาพ” รปู แบบใหม่ ภาพที่ 11 เกมในกลอ่ งความจำไมร่ ลู้ มื ช่ือเกมว่า “เกมจก๊ิ ซอว์” รปู แบบใหม่

ภาพที่ 12 เกมในกล่องความจำไมร่ ูล้ ืม ชื่อเกมว่า “เกมจบั ค่”ู รปู แบบใหม่ สรปุ การทำนวตั กรรมครงั้ ท่ี 2 หลังจากนำนวัตกรรมครั้งที่ 1 มาปรับปรุงให้มีรูปแบบที่เป็นปัจจุบัน พบว่าผู้สูงอายุสามารถเล่นเกมได้ทุกเกม ไม่เกิด ความสับสน หรอื ปัญหารปู ภาพทม่ี ขี นาดเลก็ อีกต่อไป 4. ดำเนินการจัดทำคิวอาร์โค้ดไว้สำหรับสแกน เมื่อสแกนเรียบร้อยจะขึ้น LINE Official โดยใน LINE Official จะมีวีดีโอ เก่ียวกบั ความจำเสอื่ ม สาเหตขุ องการเกิดความจำเสอ่ื ม วิธีการปอ้ งกันความจำเสื่อม วธิ ีการเล่นเกมส์และสาธิตการเล่น เป็นความรเู้ พ่ิมเตมิ ภาพท่ี 13 แสกนควิ อารโ์ คด้ เขา้ สู่ Line official ช่ือวา่ กลอ่ งความจำไมร่ ลู้ ืม ภาพที่ 14 เมนูของ Line official กล่องความจำไมร่ ลู้ ืม

การตรวจสอบ (Check): ประเมนิ ผลการใช้นวตั กรรมโดยใหผ้ ู้สูงอายทุ ดลองใชจ้ ริงในชุมชน จากน้ันประเมนิ ความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรม ประเมินพรอ้ มรับฟงั ข้อเสนอแนะในการพัฒนา แบบประเมนิ ความพงึ พอใจดังกลา่ วใช้แนวคิดของลเิ ครท์ (Likert's Scale) สร้าง เปน็ ข้อคำถามทแี่ สดงเจตคติหรอื ความรสู้ กึ ตอ่ สิ่งหนึ่งส่งิ ใด แบง่ ออกเป็น 5 ระดับ สถิตทิ ใี่ ช้ ได้แก่ ค่าเฉลย่ี (Mean) และสว่ น เบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยกำหนดเกณฑก์ าร ประเมนิ ดังน้ี 4.51 – 5.00 หมายถึง ระดับมากท่สี ดุ 3.51 – 4.50 หมายถึง ระดับมาก 2.51 – 3.50 หมายถึง ระดบั ปานกลาง 1.51 – 2.50 หมายถงึ ระดบั น้อย 0.51- 1.50 หมายถึง ระดับน้อยทสี่ ุด ตารางที่ 1 ระดบั ความพึงพอใจของผ้ทู ดลองใชง้ านนวตั กรรมกลอ่ งความจำ ไมร่ ู้ลมื การประเมนิ ผล คา่ เฉลยี่ S.D. ระดบั 1. ความสะดวกในการใช้งาน 4.6 0.55 ระดับมากทส่ี ดุ 2. ช่วยฝึกคิดวเิ คราะห์ 5 0 ระดับมากทสี่ ดุ 3. ชว่ ยกระตนุ้ ความจำ 4.8 0.45 ระดับมากท่ีสดุ 4. มีความสวยงาม 4.8 0.45 ระดบั มากทส่ี ุด 5. รูปแบบของนวัตกรรมมี 4.2 0.45 ระดับมาก ความทันสมัย แบบประเมินความพึงพอใจของผู้สูงอายุในกลุ่มตัวอย่างที่ได้ใช้ชิ้นงานนวัตกรรมในครั้งนี้ ได้ผ่านการตรวจสอบจาก ผ้ทู รงคุณวุฒทิ ั้ง 7 ทา่ น ก่อนทจ่ี ะนำไปใช้ประเมนิ ระดับความพงึ พอใจในผ้สู ูงอายใุ นกลุ่มตัวอย่าง

ตวั อยา่ งแบบประเมิน แบบประเมินความพงึ พอใจ คำอธิบาย แบบประเมินฉบับนี้มีทั้งหมด 3 ส่วน ขอให้ผู้ตอบทำแบบประเมินให้ครบทั้ง 3 ส่วน เพื่อให้การดำเนินโครงการเป็นไป ตามวตั ถปุ ระสงค์และเพ่ือเป็นประโยน์ในการนำไปใช้ต่อไป คำช้แี จง โปรดทำเครอ่ื งหมาย ✓ ลงใน ☐ ที่ตรงกบั ความคดิ เหน็ ของท่านมากที่สดุ สว่ นที่ 1 แบบสอบถามขอ้ มูลท่ัวไป 1. เพศ ☐ หญิง 2. อายุ ☐ ชาย 3. การศกึ ษา ........ปี ☐ ไม่ได้เรียน ☐ ประถมศกึ ษา ☐ มธั ยม หรอื เทยี บเทา่ ☐ ปรญิ ญาตรี ☐ สงู กว่าปริญญาตรี 4. อาชพี .................................... 5. โรคประจำตวั .................................... สว่ นที่ 2 ระดบั ความพึงพอใจ โปรดทำเคร่อื งหมาย / ลงในชอ่ งทตี่ รงกบั ความพงึ พอใจ เกณฑ์การใหค้ ะแนน 5 = มากทส่ี ดุ 2 = นอ้ ย 4 = มาก 1 = น้อยทสี่ ดุ 3 = ปานกลาง

ตารางที่ 2 ตัวอยา่ งตารางแบบประเมินระดบั ความพงึ พอใจของผู้ทดลองใชง้ านนวัตกรรมกลอ่ งความจำ ไมร่ ลู้ ืม รายการประเมิน ระดับการประเมนิ 54321 ช้นิ งานมนี ้ำหนักเบา ทนทานและมคี วามสะดวกในการใช้งาน ชนิ้ งานมีประสทิ ธภิ าพ สามารถใช้งานได้จรงิ ชว่ ยชะลอภาวะสมองเสือ่ มได้ รปู ภาพมสี สี ันสวยงาม และทันสมยั ค่มู อื ในการใช้งานอธิบายถึงวธิ ีการใช้งาน มีความเขา้ ใจงา่ ย สามารถฝึกสมอง ได้มีการคดิ วิเคราะห์ และทบทวนความจำ สว่ นท่ี 3 ข้อเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................. Act: นำผลการประเมินและข้อเสนอแนะจากผู้สูงอายุที่ทดลองใช้งานจริงมาปปรับปรุงแก้ไขในส่วนที่ต้องการเพิ่มเติม ดังน้ี เพิ่มชนดิ ของเกมส์ให้มีความหลากหลายมากขึ้น เพ่ือประโยชน์ในการส่งเสรมิ การทำงานของสมองได้ครอบคลุมท้ังการคิดแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ และการกระตุ้นความทรงจำ 5. รายละเอียดและวธิ กี ารใช้งานนวัตกรรม ขั้นตอนที่1 ได้ทำการศึกษาสภาพปัญหาและทาการทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้อง ทำการสืบค้นรูปแบบสิ่งประดิษฐ์ท่ี เกี่ยวขอ้ งจากฐานขอ้ มูลและออกแบบนวตั กรรมทีม่ ีชอื่ ว่า กลอ่ งความจำไมร่ ู้ลืม ข้นั ตอนที่ 2 ขั้นตอนการประดิษฐน์ วตั กรรม 2.1 การประดษิ ฐ์นวัตกรรมกล่องความจำไมร่ ้ลู ืม 2.1.1 นำไม้สักมาประกอบกันเป็นกล่องสี่เหลี่ยมให้มีขนาดกว้าง 22 เซนติเมตร ยาว 30 เซนติเมตร สูง 15 เซนติเมตร โดยบริเวณฝากล่องจะติดที่จับเพื่อสามารถเคลื่อนย้ายได้สะดวก และนำสายของกระเป๋ามาต่อกับกล่องสี่เหลี่ยมเพื่อให้กล่อง สามารถสะพายได้ 2.1.2 ตัดกระดาษ เกมส์จิ๊กซอ ขนาดกระดาษ กว้าง 11 เซนติเมตร ยาว 11 เซนติเมตร เกมส์บัตรภาพ ขนาดกระดาษ 10 เซนติเมตร สงู 12 เซนตเิ มตร เกมส์จับผดิ ภาพ ขนาดกระดาษ กวา้ ง 11 เซนติเมตร สูง 11 เซนตเิ มตร เกมส์จับคู่ ขนาดกระดาษ กวา้ ง 6 เซนตเิ มตร ยาว 8 เซนติเมตร เพ่ือที่จะนำเกมส์ มาใสล่ งในกล่องความจำไม่รู้ลืม

2.1.3 ด้านหน้ากล่องจะมคี ิวอารโ์ คด้ ไวส้ ำหรับสแกน เม่ือสแกนเรียบรอ้ ยจะขึ้น LINE Official โดยใน LINE Official จะมี วดี โี อเกี่ยวกับ 1. ความจำเสอื่ ม 2. สาเหตุของการเกิดความจำเสอื่ ม 3. วธิ ีการป้องกันความจำเสือ่ ม 4. วธิ ีการเลน่ เกมส์และสาธติ การเล่น วธิ ีการใชง้ าน 1. สแกนควิ อารโ์ ค้ดท่ีอยดู่ า้ นหนา้ ของกล่อง เม่อื สแกนเรียบร้อยจะขึน้ LINE Official 2. ใน LINE Official รวบรวมวีดีโอเกี่ยวกับความหมายของภาวะสมองเสื่อม สาเหตุของของภาวะสมองเสื่อม แนว ทางการปอ้ งกันภาวะสมองเสอ่ื ม และวีดีโอเกี่ยวกบั วธิ กี ารเล่นเกมส์ 3. หลงั จากดคู ลิปวีดีโอ ผู้รับบรกิ ารทำการเลน่ เกมส์แต่ละเกมส์ 6. ผลการทดลองใชน้ วตั กรรมและการอภปิ รายผล 6.1 สรปุ ผลการดำเนินงาน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายอุ ยูใ่ นช่วง 70-79 ปี มากที่สุด (ร้อยละ 80) รองลงมาคือช่วงอายุ 60-69 ปี (ร้อยละ 20) เป็นเพศชายมากที่สุด จำนวน 4 คน (ร้อยละ80) เพศหญิง 1 คน (ร้อยละ20) จบระดับการศึกษา ประถมศกึ ษา จำนวน 1 คน (ร้อยละ 20) ไมไ่ ด้เรยี นหนงั สอื จำนวน 4 คน (ร้อยละ 80) เพศชายมโี รคประจำตัว 3 คน (รอ้ ยละ 60) โรคประจำตัวที่พบมากที่สุด คือ โรคความดันโลหิตสูงจำนวน 3 คน ในส่วนของข้อมูลของภาวะสมองเสื่อมพบว่าไม่มีภาวะสมอง เสื่อมจำนวน 5 คน (ร้อยละ 100) นอกจากนี้ยังพบว่าความรู้เร่ืองโรคและการป้องกันโรคสมองเสื่อมของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มี ความรเู้ รอ่ื งโรคและการปอ้ งกันโรคสมองเส่ือมอยู่ในระดับน้อย จำนวน 4 คน (ร้อยละ 80 ) รองลงมาคือระดับปานกลาง จำนวน 1 คน (รอ้ ยละ 20)

ตารางที่ 3 ระดับความพงึ พอใจของผทู้ ดลองใชง้ านนวตั กรรมกลอ่ งความจำ ไมร่ ู้ลมื การประเมินผล ระดบั การประเมนิ 1. ความสะดวกในการใช้งาน มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยทสี่ ดุ 3 คน (รอ้ ยละ60) 2 คน (ร้อยละ 40) - - - 2. ช่วยฝกึ คดิ วิเคราะห์ 5 คน (ร้อยละ100) - --- 3. ช่วยกระตนุ้ ความจำ 4 คน (รอ้ ยละ80) 1 คน (รอ้ ยละ 20) - - - 4. มคี วามสวยงาม 4 คน (ร้อยละ 80) 1 คน (ร้อยละ 20) - - - 5. รูปแบบของนวัตกรรมมีความ 1 คน (รอ้ ยละ 20) 4 คน (ร้อยละ 80) - - - ทันสมัย ความสะดวกในการใช้งานอยู่ในระดับมากที่สุด (x=4.6,S.D.=0.55) ช่วยฝึกคิดวิเคราะห์อยู่ในระดับมากที่สุด (x= 5,S.D.=0) ช่วยกระตุ้นความจำอยู่ในระดับมากท่ีสุด (x=4.8,S.D.=0.45) มีความสวยงามอยูใ่ นระดับมากที่สดุ (x=4.8,S.D.=0.45) รปู แบบของนวตั กรรมทคี วามทนั สมัยอย่ใู นระดับมาก (x=4.2,S.D.=0.45) 6.2 อภปิ รายผลการดำเนินงาน จากการดำเนินงานในการสรา้ งนวัตกรรม กล่องความจำไมร่ ลู้ ืม (Magic brain magic box) ในคร้ังนมี้ วี ัตถุประสงค์เพ่อื ชะลอความเส่อื มของภาวะสมองเสื่อมและส่งเสรมิ ให้มีการฝกึ คิดวเิ คราะหแ์ ละพัฒนาการทำงานของสมองใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ สถานท่ใี นการดำเนินงาน หมู่บา้ นบอ่ หวี อำเภอสวนผ้งึ จงั หวัดราชบรุ ี พบวา่ กลมุ่ ตัวอย่างที่เป็นผสู้ งู อายสุ ว่ นใหญม่ หี ลายชาติพันธุ์ และส่วนใหญ่ไม่ไดร้ บั การศึกษา จึงไม่สามารถอา่ นหนังสือได้ จำเปน็ ต้องมผี ้ดู เู เลในการอ่านคู่มอื เพือ่ ใชท้ ดสอบนวัตกรรมกล่อง ความจำไมร่ ลู้ มื หลงั จากทไี่ ด้สอนการใช้กลอ่ งนวัตกรรมไปแลว้ กลมุ่ ตัวอยา่ งท่เี ป็นผสู้ ูงอายุสามารถเลม่ เกมสไ์ ดอ้ ย่างถกู ตอ้ งโดยไม่ จำเปน็ ต้องอ่านค่มู อื เอง ซ่งึ เวลาท่ีใชใ้ นเเตล่ ะเกมสไ์ มเ่ ท่ากัน ดงั นัน้ ในการทดสอบนวตั กรรมโดยการเลน่ เกมส์ทัง้ หมดใชเ้ วลา ประมาณ 10 -15 นาที อีกทง้ั ในเเต่ละเกมส์ยงั สามารถชว่ ยให้ผสู้ ูงอายไุ ดฝ้ กึ คิด วิเคราะห์และไดท้ บทวนความจำอกี ดว้ ย 7. ขอ้ เสนอแนะ 7.1 ข้อเสนอแนะในการนำนวัตกรรมไปใช้ (กลุ่มผู้ทรงคุณวฒุ )ิ 1.) กล่องมีน้ำหนกั มากเกินไป อาจไม่เหมาะสมกบั การใช้ในผู้สูงอายุ 2.) เกมส์จิ๊กซอว์หรือเกมส์ต่อรูปภาพมีขนาดเล็ก และรูปภาพควรจะเป็นรูปที่ผู้สูงอายุเห็นบ่อยๆ มีภาพที่ไม่ ซบั ซ้อน สีชดั เจน

7.2 ขอ้ เสนอแนะในการนำนวตั กกรมไปใช้ (กล่มุ ตัวอย่างผูใ้ ช้งาน) 1.) นวตั กรรมกล่องความจำไม่รู้ลืมมีน้ำหนักมากเกนิ ไป หากมีน้ำหนกั เบากจ็ ะมคี วามสะดวกในการใช้มากขน้ึ 2.) รปู เเบบกล่องนวัตกรรมควรมพี ลาสติกครอบเพือ่ ป้องกันไม่ให้ไมเ้ ปยี กฝน 3.) รูปเเบบเกมส์ทีเ่ ป็นประเภทรปู ภาพมีความยากเกินไป ถา้ เปน็ รปู ภาพทผี่ ู้สงู อายรุ จู้ ัก 4.) มีความต้องการท่ีจะมเี กมส์หลากหลายรปู เเบบเพ่อื ไม่ใหเ้ กดิ ความนา่ เบือ่ เวลาใช้งาน 5.) คมู่ ือควรใชส้ ำหรบั ผู้สูงอายทุ ี่สามารถอา่ นหนงั สอื ออกได้ หรือมีผู้ดูเเลในการอ่านคมู่ อื 8. เอกสารอา้ งองิ ภรัญวิทย์ อนันต์ดิลกฤทธิ์. “ภาวะสมองเสื่อม”. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9 : วารสารส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม15 (พฤษภาคม): 392-397. ชัชวาล วงศ์สารี. “ภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ: การพยาบาลและการดูแลญาติผู้ดูแล”. วารสาร มฉก.วิชาการ 22 (กรกฎาคม): 166-176. สุรพงษ์ คงสัตย์. (2558). การหาค่าความเที่ยงตรงของแบบสอบถามIOC. สืบค้นเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2565. จากเว็บไซต์: https://www.mcu.ac.th/article/detail/14329 กรกนก นาเครือ. (2564). เกมฝึกสมองสำหรับผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงสมองเสื่อม. สืบค้นเมื่อวันที่ 9 กันยายน 25 65, จากเว็บไซต์ : https://hpc.go.th/rcenter/_fulltext/20211025213035_4489/20211025213050_622.pdf กมลวรรณ ตันตา. (2558). กล่องฝึกสมอง ชะลอความเสือ่ ม: นวัตกรรมนักศึกษาพยาบาลหลักสตู รพยาบาลศาสตรบัณฑิต. สืบคน้ เมื่อวันที่ 7 กันยายน2565, จากเว็บไซต์ https://he02.tci-thaijo.org/index.php/trcnj/article/ download/41629/34400/95842 กลุ่มงานเวชศาสตร์โรงพยาบาลสิรินธร. (2564). ถุงกันลืม. สืบค้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2565 , จากเว็บไซต์ http://www.sirindhornhosp.go.th/userfile/file/ha/ 4_62.pdf พิชญา ธรรมร่มดี. (2564). การสังเคราะห์งานวิจัยเกมกับพัฒนาการผู้สูงอายุ. สืบค้นเมื่อวันที่ 4 กันยายน 2565 , จากเว็บไซต์ https://so04.tci-thaijo.org/index. php/NRRU/article/view/250160/174618 Alzheimer’s Society. (2021). What is dementia?. September 6, 2022, from https://www.alzheimers.org.uk/sites/default/files/2018-10/400% 20What%20is%20dementia.pdf Dening T. (2015). Dementia: definitions and types. Nursing standard: official newspaper of the Royal College of Nursing. 29(37): 37-42

1. ชอ่ื ผลงาน/โครงการพัฒนา นวตั กรรม ”การพฒั นาระบบการให้บริการศนู ยเ์ ปลออนไลน์ โรงพยาบาลนครปฐม” Development of Online Hospital Porter System In Nakhonpathom Hospital 2. ชอ่ื และท่อี ยู่หน่วยงาน/องค์กร งานผู้ปว่ ยนอก กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลนครปฐม 3. คำสำคญั ระบบการให้บริการออนไลน์ , ศูนยเ์ ปล, โรงพยาบาลนครปฐม 4. สรปุ ผลงานโดยยอ่ การพัฒนาระบบการให้บริการศูนยเ์ ปล โรงพยาบาลนครปฐม เป็นการนำระบบการขอใช้บริการแบบ ออนไลน์ ร่วมกับการใช้วิทยุสื่อสารมาใช้ ผ่านคอมพิวเตอร์ PANACEA ควบคู่ไปกับการใช้วิทยุสื่อสาร มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการให้บริการของศูนย์เปล ศึกษาความพึงพอใจ ด้านความสะดวก รวดเร็ว ทันเวลาและลดระยะเวลารอคอยรวมทั้งลดการใช้กระดาษในระบบศูนย์เปล กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบ เฉพาะเจาะจง ประกอบด้วย พนักงานเปล จำนวน 48 คน และหน่วยงานที่ใช้บริการจำนวน 20 หน่วยงาน เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาประกอบด้วย ระบบการขอเปลออนไลน์ และแบบสอบถามความพึงพอใจ ผลการ พัฒนาพบว่า ระบบการขอใช้บริการแบบออนไลน์ เพิ่มประสิทธภิ าพการปฏิบัตงิ าน ให้มีความสะดวก รวดเร็ว ติดตามการให้บริการของพนักงานเปล และมีการจัดเก็บภาระงานในภาพรวมและรายบุคคล เมื่อเปรียบเทียบ ความพึงพอใจด้านความสะดวก รวดเร็ว และทันเวลา สามารถลดระยะเวลารอคอยลดการใช้กระดาษเพ่ิม อตั ราความพงึ พอใจจากเดิม รอ้ ยละ .428 เป็น 96.6 5. ปัญหาและสาเหตโุ ดยย่อ โรงพยาบาลนครปฐมเป็นโรงพยาบาลศูนย์ขนาด 860 เตียง เปิดให้บริการเฉพาะทางและมีแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญให้บริการทุกสาขา มีผู้มารับบริการเพิ่มขึ้นทั้งในจังหวัดและจังหวัดใกล้เคียง โดยพบว่ามีผู้มารับ บริการแผนกผู้ป่วยนอก ในปี 2563 - 2565 ตามลำดับดังนี้ แผนกผู้ป่วยนอก จำนวน 434,214 คน 448,776 คน และ 430,676 (ข้อมูลสถิติโรงพยาบาลนครปฐม ,2565) ในแต่ละวันมีผู้มาใช้บริการศูนย์เปล เฉลี่ย 670 เที่ยวต่อวัน การให้บริการที่เพิ่มมากขึ้นดังกล่าวทำให้ เกิดการรับส่งผู้ป่วยล่าช้า ไม่ทันเวลา เกิด ความไม่พอใจทั้งต่อเจ้าหน้าที่ ผู้ป่วยและญาติ และเกิดความผิดพลาดในการรับส่งผู้ปว่ ย โดยระบบการขอใช้ บริการเปลแบบเดิม ใช้วิธกี ารโทรศัพท์ประสานที่ศนู ยเ์ ปล เจ้าหน้าที่ท่ีมีหน้าท่ีรับโทรศัพท์จะจดบันทกึ ลงสมุด รับงาน ข้อมลู ทจี่ ดประกอบดว้ ย แผนกท่ตี ้องไปรบั และแผนกทีต่ อ้ งส่งผปู้ ่วย ประเภทรถท่ตี อ้ งการใช้ โดยเฉล่ีย มีการรบั โทรศัพท์ ทุก 1 นาที พนกั งานเปลท่ีมหี น้าทีร่ บั ส่งผู้ป่วยจะมารบั ใบกระดาษงานกอ่ นออกไปให้บริการ บางครั้งกระดาษสูญหายทำให้เกิดความล่าช้า มีการตกหล่นต้องมีการโทรศัพท์ขอไปใหม่ ทำให้เจ้าหน้าที่ ทำงานซ้ำซ้อน และไม่สามารถตรวจสอบงานได้ เมื่อรับส่งเคสเสร็จ พนกั งานเปลจะตอบวทิ ยกุ ลับมาท่ีศูนย์เปล อกี ครั้งเพื่อรับเคสตอ่ ไป ทำให้เสียเวลาในการให้บริการ เกิดความผดิ พลาดและยังไมส่ ามารถตรวจสอบได้ เพื่อแก้ไขปัญหาและสอดรับกับเข็มมุ่งของโรงพยาบาลในปี 2566 ที่จะเป็น Smart Hospital งาน ผ้ปู ่วยนอกจึงได้พฒั นาระบบการใหบ้ ริการของศูนยเ์ ปล แบบออนไลน์เพื่อทจ่ี ะทำให้สามารถทราบต้องการของ ผใู้ ช้บริการทนั ที สามารถตรวจสอบความถกู ตอ้ งของข้อมูล และสั่งการไดอ้ ย่างต่อเน่ือง รวดเรว็ และทันต่อเวลา

เพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการมากขึ้น สร้างความพึงพอใจทั้งผู้รับบริการ เจ้าหน้าที่ประจำห้องตรวจหรือ หอผปู้ ่วยและพนักงานเปล รวมทงั้ สามารถลดการใช้กระดาษใบงานวนั ละ 370 ใบ หรือปลี ะ 200 รีม 6. เป้าหมาย 1. มกี ารใชร้ ะบบขอเปลออนไลน์ทุกหนว่ ยงานในงานผู้ปว่ ยนอก 2. ผ้รู บั บริการมคี วามพงึ พอใจดา้ นความสะดวก รวดเร็ว ถูกตอ้ ง ทันเวลา > ร้อยละ 80 3. พนกั งานเปลมีความพึงพอใจ 4. ลดระยะเวลารอคอยของผู้รบั บรกิ าร 5. ลดการใชก้ ระดาษ > ร้อยละ 50 7. กิจกรรมการพัฒนา 7.1 ขน้ั ตอนการวางแผน 1) ค้นหาปญั หาท่ีพบในที่ทำงาน จดั ลำดับความสำคัญของปญั หา สืบค้นงานวิจยั ทเ่ี กีย่ วข้อง 2) ศึกษาคน้ ควา้ เอกสารทางวชิ าการทีเ่ กี่ยวข้องกบั ศนู ยเ์ ปล 3) ออกแบบนวัตกรรม “ศูนย์เปลออนไลน์” จดั หาและเลอื กวัสดุอปุ กรณท์ เี่ หมาะสม 4) นำนวัตกรรมไปทดลองใช้กบั กล่มุ ตวั อยา่ ง 5) ปรบั ปรงุ และพัฒนานวตั กรรม 6) นำนวัตกรรมไปใชก้ บั กลุ่มเปา้ หมายจรงิ คือ หน่วยงานผูป้ ว่ ยนอก โรงพยาบาลนครปฐม 7) ประเมินผลการใชน้ วตั กรรม โดยใชแ้ บบประเมินความพงึ พอใจกบั นวตั กรรมของผู้รับบรกิ าร และพนักงานเปล 7.2 แนวทางการดำเนนิ โครงการทงั้ หมด ระยะเวลาดำเนนิ การ 8 มนี าคม – 30 เมษายน 2566 ลำดบั กิจกรรม สัปดาห์ สัปดาห์ สปั ดาห์ สปั ดาห์ สปั ดาห์ สัปดาห์ ท่ี ท่ี 1 ท่ี 2 ท่ี 3 ที่ 4 ที่ 5 ที่ 6 1 ค้นหาปญั หาที่พบในที่ทำงาน จัดลำดับความสำคัญของปญั หา สบื ค้นงานวจิ ัยที่เกีย่ วข้อง 2 ออกแบบนวตั กรรม“ศนู ย์เปล ออนไลน์”จัดหาคอมพวิ เตอร์และ ลงโปรแกรมท่ีเหมาะสม 3 นำมาทดลองใช้งานคร้ังที่ 1 4 ทบทวนรูปแบบโปรแกรมและ ปรับปรงุ นวตั กรรม 5 นำมาทดลองใช้งานครั้งที่ 2 6 ประเมนิ ผลและสรปุ ผลโครงการ นวตั กรรม

7.3 ข้นั ตอนการทำนวตั กรรม ขั้นตอนการทำนวัตกรรม คร้ังที่ 1 วธิ กี ารทำนวตั กรรม (น่าจะบอกที่มาของโปรแกรม เปดิ มาแล้วหนา้ ตาเปน็ อยา่ งไร ของพยาบาลผู้ขอ กับ ผรู้ บั สารใส่รูปเพ่ิม) 1. ตดิ ตั้งคอมพิวเตอร์และลงโปรแกรม 2. ออกแบบข้นั ตอนการทำงานและรายละเอียดการรบั ส่งข้อมูล รวมทั้งออกแบบหน้าจอและส่วน ติดต่อผู้ใชง้ าน มรี ายละเอยี ดดงั น้ี ตารางบรกิ ารศูนยเ์ ปล Online 3. การสรา้ งพจนานุกรมข้อมูล การสร้างพจนานกุ รมขอ้ มลู Data Dictionary เป็นการบนั ทกึ รายละเอยี ดของโครงสร้างและ ชนิดของข้อมูลที่อยู่ในฐานข้อมูลของโปรแกรม พจนานุกรมข้อมูลจะบอกว่า ข้อมูลใด รายการใด เก็บไว้ที่ตารางไหนและมีลักษณะเป็นตัวอักษรหรือ ตัวเลข หรือเป็นรูปแบบอื่นๆ โดยหากไม่มีการจัดทำ

พจนานุกรมข้อมูล จะทำให้การปรับปรุงโปรแกรมในอนาคตเป็นได้โดยยากลำบาก นอกจากนั้นการ ดึงรายงานจากฐานข้อมูลให้ออกมาได้อย่างถูกต้องก็ต้องอาศัยพจนานุกรมที่ดี จึงสามารถเขียนคำสั่งที่ดึง รายงานไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ Description KEY รหสั คำรอ้ งข้อใช้บริการ รหสั ประจำตัวผ้ปู ่วย หน่วยงานทีแ่ จง้ กิจกรรมทข่ี อให้บรกิ าร หนว่ ยงานปลายทาง ชว่ งเวลาทท่ี ำงาน อปุ กรณ์ทใ่ี ชใ้ นการบริการ พาหนะท่ใี ช้บริการผ้ปู ว่ ย สถานะความเร่งด่วน หมายเหตุ สถานการณ์ทำงาน เจา้ หนา้ ทีข่ อใชบ้ รกิ าร เวลาท่ีขอใชบ้ รกิ าร เจา้ หนา้ ทเ่ี ปลทใ่ี ห้บรกิ าร เวลาท่ีเรม่ิ ดำเนินการ เวลาทใ่ี หบ้ รกิ ารเสร็จสน้ิ อุปกรณ์อ่นื ๆ รหัสห้องตรวจ ประเภทพนื้ ทีบ่ ริการ Flow Chart ผรู้ ับบริการจากแผนก คียข์ อ้ มลู เขา้ ใน หวั หนา้ เวรจ่ายเคส ตา่ งๆ ระบบขอเปล โดยวิทยสุ ื่อสาร ออนไลน์ พนกั งานเปลรับงาน ตามรหสั ประจาตวั นาขอ้ มูลจดั เกบ็ ในระบบ หวั หนา้ เวรปิ ดรับจบงาน เมอ่ื ส่ง/ เคสเรียบร้อย

ปัญหาและอุปสรรคท่พี บขณะทดลองนวตั กรรมครงั้ ท่ี 1 เบ้อื งต้นกบั สมาชิกทมี 1. การใส่ชื่อพนักงาน เกิดการผิดพลาด เนือ่ งจากพนกั งานรับงานจำได้แตเ่ ลขประจำตวั ของพนักงานเปล 2. พนักงานรบั งานยังใช้โปรแกรมไมค่ ล่อง จึงยังมกี ารล่าชา้ 3. พนักงานรบั งานยงั ไม่สามารถใชโ้ ปรแกรมได้ทุกคน 4. พยาบาลผู้ใชโ้ ปรแกรมยงั ไมค่ ุน้ เคยกับการใช้โปรแกรม ข้นั ตอนการทำนวัตกรรม คร้ังท่ี 2 นำปญั หาท่พี บมาปรบั ปรงุ เพอ่ื ใหใ้ ช้งานง่าย ให้สะดวกและเหมาะสมกบั การนำไปใช้ 1. เปล่ียนจากการใสช่ ่อื พนักงานเปล เปน็ เลขประจำตวั ของพนกั งาน 2. ฝึกการใช้โปรแกรมใหเ้ ช่ยี วชาญ เพอ่ื ความรวดเร็ว 3. ฝกึ อบรมการใช้โปรแกรมในพนกั งานเปล 4. มกี ารสอนการใช้โปรแกรมการใชท้ ี่หน้างานทกุ ห้องตรวจ 8. การประเมนิ ผลการเปล่ียนแปลง (Performance) โดยระบุ จากการพัฒนาระบบบริการพบว่า การขอเปลด้วยระบบออนไลน์ที่สามารถเข้าใช้งานได้ทั้งเครื่อง คอมพิวเตอร์ ในโปรแกรมPANACEA เพิ่มความงา่ ยและสะดวกสบายทั้งต่อผู้ใช้บริการและผู้ให้บรกิ าร ช่วยลด ระยะเวลารอคอยในการรับส่ง จากเดมิ เฉลยี่ 20 – 30 นาที ลดลงเหลือเพียง 5 – 10 นาที นอกจากน้ียังพบว่า การนำ Google Sheet มาใช้สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการได้รวดเร็วขึ้น ส่วนในด้านการ จัดเก็บภาระงานสามารถจัดเก็บเป็นรายบุคคล หน่วยงาน และยังสรุปเป็นภาพรวมในการให้บริการในแต่ละ วันได้ ทำให้สามารถบรหิ ารจัดการหากเกิดปญั หาไดอ้ ย่างรวดเรว็ และสามารถวางแผนควบคุมกำกับติดตามงาน ได้อย่างเหมาะสม ลดความผิดพลาดในการรับส่ง สามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ทั้งต้นทาง ปลายทาง และ พนกั งานเปลท่ีให้บริการ การใช้กระดาษใบงานสามารถลดลงจากเดมิ 670 แผน่ ลดเหลอื 300 แผ่น ดา้ นความพึงพอใจพบวา่ ผ้ใู ช้บรกิ ารในหน่วยงานต่าง ๆ มีความพึงพอใจต่อระบบการขอเปลออนไลน์ เพม่ิ ขึ้นจากระบบเดิมคดิ เปน็ ร้อยละ 42.8 เพิ่มเปน็ ร้อยละ 92.5 ลดระยะเวลารอคอย จากเดมิ เฉลยี่ 20 – 30 นาที ลดลงเหลือเพยี ง 5 – 10 นาที และมีการนำสง่ ถูกต้อง รอ้ ยละ 95.0 ตารางแสดงความพึงพอใจต่อนวตั กรรมของพนักงานเปล เกณฑ์ท่ีใช้ในการพิจารณา น้อยทีส่ ุด น้อย ปานกลาง มาก มากท่ีสุด ด้านคุณภาพ 16.7% 16.7% 1. เปน็ นวัตกรรมที่มีความเหมาะสม 83.3% 33.3% 33.3% 2. เปน็ นวัตกรรมที่สามารถนำไปใชไ้ ด้จรงิ 83.3% 16.7% 3. เป็นนวัตกรรมที่ช่วยลดภาระงาน 66.7% 4. เป็นนวตั กรรมทีพ่ ัฒนาคณุ ภาพการบรกิ าร 66.7% 5. เป็นนวัตกรรมทีท่ ันสมัย 83.3% ดา้ นประสทิ ธิภาพ 66.7% 33.3% 1. การใชง้ านง่ายและสะดวก

เกณฑท์ ่ีใช้ในการพิจารณา น้อยทส่ี ดุ นอ้ ย ปานกลาง มาก มากท่สี ุด 2. ลดระยะเวลารอคอย 66.7% 33.3% 3. ลดการใชก้ ระดาษ 83.3% 16.7% เกณฑ์ที่ใชใ้ นการพจิ ารณา 7.5% 92.5% ความพึงพอใจต่อนวตั กรรมในภาพรวม ตารางแสดงความพึงพอใจต่อนวัตกรรมของพยาบาล เกณฑ์ท่ใี ช้ในการพจิ ารณา นอ้ ยท่สี ุด นอ้ ย ปานกลาง มาก มากท่ีสุด ด้านคุณภาพ 1. เป็นนวัตกรรมทมี่ คี วามเหมาะสม 75.3% 24.7% 2. เปน็ นวัตกรรมที่สามารถนำไปใช้ได้จริง 83.3% 16.7% 3. เป็นนวตั กรรมทีช่ ว่ ยลดภาระงาน 75.3% 24.7% 4. เปน็ นวตั กรรมทพ่ี ฒั นาคุณภาพการบรกิ าร 83.3% 16.7% 5. เป็นนวตั กรรมทที่ ันสมยั 83.3% 16.7% ดา้ นประสทิ ธิภาพ 75.3% 24.7% 1. การใช้งานงา่ ยและสะดวก 3.4% 96.6% 2. ลดระยะเวลารอคอย เกณฑท์ ี่ใช้ในการพจิ ารณา 3.4% 96.6% ความพึงพอใจตอ่ นวัตกรรมในภาพรวม 9. บทเรยี นท่ไี ดร้ บั สรุปผลการดำเนินงาน 1. มีการใช้ระบบขอเปลออนไลนท์ กุ หน่วยงานในงานผู้ป่วยนอก 2. พยาบาลหอ้ งตรวจพึงพอใจในนวตั กรรมโปรแกรมเปลออนไลน์ 96.6% 3. พนักงานเปลมคี วามพงึ พอใจโปรแกรมเปลออนไลน์ 92.5% 4. ลดระยะเวลารอคอยของผู้รับบรกิ ารจากเดมิ เฉล่ยี 20 – 30 นาที ลดลงเหลอื เพยี ง 5 – 10 นาที 5. ลดการใช้กระดาษ สามารถลดลงจากเดิม 670 แผ่น ลดเหลือ 300 แผ่น 6. ไม่มขี ้อร้องเรียนในการรับบริการ นวตั กรรมเปลออนไลน์

ขอ้ จำกัดและข้อเสนอแนะ หลังการพัฒนาระบบการให้บริการ พบว่ามีปัญหาด้านอุปกรณ์ ต่างๆ เช่น จำนวนรถนั่ง เปลนอน ไม่เพียงพอต่อการใช้งานจำนวนถังออกซิเจน มีไม่เพียงพอ วิทยุสื่อสารไม่มีสำรองใช้ พนักงานเปลไม่เพียงพอ ทำให้เกิดข้อจำกัดในการให้บริการ และนอกจากนี้ยังพบว่า ช่วงเวลาเร่งด่วนมักจะตรงกับช่วงเวลาพักและ ช่วงต่อเวร ทำให้ยังมีปัญหาเรื่องการให้บริการล่าช้า ในช่วงเวลาดังกล่าว ดังนั้นจึงควรมีเพิ่มจำนวนรถนั่ง เปลนอนและพนักงานเปล พัฒนาบริการพนกั งานเปลรวมทง้ั เวลาเรง่ ด่วน ช่วงตอ่ เวร จดั พนกั งานเสรมิ 10. สมาชกิ ทีม - นพ.ประยงค์ เจตนม์ งคลรตั น์ ตำแหน่ง หวั หน้ากลมุ่ งานผปู้ ว่ ยนอก - นางสุรักขณา คงคาเพชร ตำแหนง่ รองหวั หนา้ พยาบาลด้านยทุ ธศาสตร์และสารสนเทศ - นางธดิ า ชนื่ ชม ตำแหนง่ หวั หน้างานผปู้ ่วยนอก - นางปุณปวรี ์ กติ ติกุล ตำแหน่ง หวั หนา้ งานศนู ย์เคลือ่ นยา้ ยผู้ปว่ ย - หวั หนา้ ห้องตรวจ งานผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลนครปฐม - พนักงานเปลทุกท่าน 11. การติดตอ่ กับทีมงาน นางปุณปวีร์ กิตตกิ ลุ ท่ีอยู่ งานศูนยเ์ คลอ่ื นย้ายผปู้ ว่ ย โทร. 080 – 6588853 E-mail : [email protected] กิตติกรรมประกาศ ขอขอบพระคุณผู้อำนวยการโรงพยาบาลนครปฐม นายแพทย์สรุ ชัย โชคครรชิตไชย ทไี่ ด้ช่วยส่งเสริม สนับสนนุ นวตั กรรมเปลออนไลน์จนสำเรจ็ ลุลว่ ง ขอขอบพระคุณหัวหน้าพยาบาลและผู้บริหารทางการพยาบาลทุกท่าน ที่ช่วยชี้แนะ พัฒนาโปรแกรม เปลออนไลน์ ขอขอบพระคุณรองศาสตราจารย์ดร.สมบรู ณ์ ศิรสิ รรหริ ัญ ท่ีได้ตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือที่ใช้ในการ เกบ็ รวบรวมข้อมลู และโครงรา่ งนวัตกรรมเปลออนไลน์ ขอขอบคุณพนักงานเปลทกุ ท่านทีเ่ ป็นผู้ให้ข้อมลู วิธกี ารปฏบิ ัติงาน และลกั ษณะของการใหบ้ ริการใน ระบบแบบเดิม และความต้องการในระบบใหม่ เพอื่ นำมาประกอบในการพฒั นาจนเกิดโปรแกรมเปลออนไลน์ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการใหบ้ รกิ ารอย่างเปน็ รปู ธรรม สามารถนำขอ้ มูลมาใชไ้ ดจ้ รงิ เอกสารอ้างองิ จรญู แกว้ ม.ี การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจดั การระบบเคล่ือนย้ายผปู้ ว่ ยโรงพยาบาล ตตยิ ภมู ิขน้ั สงู แหง่ หน่ึงในภาคใต้. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข 2560;27 (Special Issue):104 – 20. สุกัญญา นวลประสทิ ธ์ิ, สุจิตรา ก่อกิจไพศาล, พรทิพย์ เจริญพารากุล. ผลของการมีส่วนรว่ มในการ พฒั นาการให้บริการเปล โรงพยาบาลสรุ าษฎรธ์ าน.ี วารสารวิชาการแพทย์เขต 11 2557; 28(4):847 – 57.

แบบประเมินการใชโ้ ปรแกรมเปลออนไลน์ คำช้ีแจง ขอใหผ้ ปู้ ระเมนิ ไดก้ รณุ าแสดงความคดิ เหน็ โดยทำเคร่ืองหมาย ✓ ลงในชอ่ งคะแนนท่ตี รงกบั ความ คิดเหน็ ของทา่ นมากทส่ี ุด เกณฑก์ ารประเมนิ นวัตกรรม มากทสี่ ดุ ข้อความนน้ั ตรงกบั ความคิดเห็นของท่านมากทสี่ ดุ มาก ข้อความนน้ั ตรงกบั ความคิดเห็นของท่านมาก ปานกลาง ขอ้ ความนั้นตรงกบั ความคดิ เห็นของท่านปานกลาง น้อย ข้อความนัน้ ตรงกับความคิดเห็นของท่านนอ้ ย นอ้ ยที่สดุ ขอ้ ความนั้นตรงกบั ความคดิ เห็นของท่านน้อยท่ีสดุ เกณฑท์ ใี่ ชใ้ นการพจิ ารณา น้อยทีส่ ดุ นอ้ ย ปานกลาง มาก มากที่สดุ ด้านคุณภาพ 1. เปน็ นวัตกรรมท่ีมคี วามเหมาะสม 2. เปน็ นวตั กรรมทส่ี ามารถนำไปใช้ได้จริง 3. เป็นนวัตกรรมทชี่ ่วยลดภาระงาน 4. เปน็ นวัตกรรมที่พัฒนาคุณภาพการบริการ 5. เปน็ นวตั กรรมทท่ี ันสมยั ดา้ นประสทิ ธภิ าพ 1. การใชง้ านงา่ ยและสะดวก 2. ลดระยะเวลารอคอย 3. ลดการใชก้ ระดาษ เกณฑ์ทใี่ ช้ในการพจิ ารณา ความพึงพอใจตอ่ นวัตกรรมในภาพรวม ข้อเสนอแนะเพม่ิ เติม ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ขอขอบคุณท่ีตอบแบบสอบถาม

ต้มยาํ สมุนไพร: เบาใจ-เบาหวาน รณชติ สมรรถนะกุล1*, นารีรัตน สนิ สุนทรสิทธิ์2 และ ปทมา จันทรง าม3 1อาจารยสาขาวิชาการพยาบาลชมุ ชน คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลยั ราชภัฏบุรรี มั ย 2,3นักศกึ ษาพยาบาลศาสตร ชนั้ ปที่ 4 คณะพยาบาลศาสตร มหาวทิ ยาลัยราชภฏั บรุ รี มั ย, บุรรี มั ย *ผูรบั ผดิ ชอบบทความ: [email protected] บทคัดยอ ผูปว ยเบาหวานเร้อื รงั จํานวนมากลว นประสบปญหาความยากลําบากในการดแู ลตนเองดา นการควบคมุ ระดบั นํา้ ตาลใน เลือดใหเปนปกติ อีกทงั้ ยงั มปี ญ หาดา นการเกดิ บาดแผลทเี่ ทาไดง ายจากความรสู กึ ชาตามบริเวณปลายเทาจงึ ไมรสู กึ เจบ็ เม่อื เทา เปน แผลแลวจึงขาดการดูแลรักษาเปนเวลานาน สง ผลใหแ ผลผูปวยเบาหวานเกดิ การตดิ เชื้อจนอาจตองตดั อวยั วะสว นนัน้ ทิง้ ไป หมูบานโคกขาม หมทู ่ี 11 ตาํ บลบา นดาน อาํ เภอบา นดา น จังหวดั บุรีรัมย อยใู นพ้นื ทีร่ ับผิดชอบของโรงพยาบาลสงเสรมิ สุขภาพ ตาํ บลบา นดงกะทิง ตําบลโนนขวาง อาํ เภอบา นดาน จงั หวดั บุรรี มั ย มีผปู วยเบาหวานในหมบู า นจํานวน 35 คน คณะผูศึกษาได เขาไปใชพน้ื ทีข่ องชมุ ชนบานโคกขาม เปนแหลง ฝก ปฏิบัตวิ ชิ าการพยาบาลชมุ ชน สําหรับนกั ศึกษาช้ันปท ี่ 4 กลมุ A2 จาํ นวน 6 คน โดยมีอาจารยนเิ ทศการฝก ปฏิบตั ิงานของนกั ศกึ ษาจาํ นวน 1 คน จากการสํารวจหมบู า นโดยใชเครอ่ื งมอื 7 ช้นิ ในการศึกษาชมุ ชน ไดแ ก 1) แผนท่ีเดินดนิ 2) ผังเครือญาติ 3) โครงสรา งองคกรชุมชน 4) ระบบสขุ ภาพชุมชน 5) ปฏิทนิ ชุมชน 6) ประวัตศิ าสตร ชมุ ชน และ 7) ประวตั ิชีวติ ตบุคคลในชุมชน พบวา มีปญหาสุขภาพทส่ี ําคัญไดแก โรคเบาหวาน และความดนั โลหติ สงู ใน การศึกษาคร้งั นี้คณะผูศกึ ษาไดนําผลการสาํ รวจชมุ ชนเสนอตอ ท่ีประชมุ ประชาคมหมบู าน เพื่อคดั เลือกปญหาสุขภาพทีส่ าํ คญั ท่สี ุด เพียง 1 ปญ หาเพือ่ นาํ ไปจดั ทาํ โครงการแกไ ขปญหาสุขภาพ จนกระทงั่ ไดม ตริ วมกัน คือ การแกไขปญ หาโรคประจําตวั ไดแ ก โรคเบาหวาน และโรคความดนั โลหิตสงู จากนน้ั คณะผศู กึ ษาไดร ว มกนั วางแผนการจัดทาํ โครงการ “โคกขามรวมใจหวงใยรกั สขุ ภาพ” โดยมกี ิจกรรมใหความรแู กประชาชนและผปู ว ย ในสว นของโรคเบาหวานนน้ั ไดนําเสนอนวตั กรรม “ตม ยําสมุนไพรเบา ใจ-เบาหวาน” ซึ่งเปน นวตั กรรมสงิ่ ประดิษฐท มี่ ลี กั ษณะเปนการนําสมนุ ไพรท่หี าไดงายในชมุ ชน นาํ มาแปรรูปเปนนา้ํ สมุนไพร สาํ หรับแชเทา ผูปวยเบาหวานเพอื่ บรรเทาอาการชาตามปลายเทา รปู แบบการศึกษาเปน การทดลองในกลุมตัวอยา ง 1 กลมุ จํานวน 30 คนท่ีสมคั รใจเขา รวมโครงการ เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ นการศกึ ษา ไดแก เครือ่ งมอื 7 ชนิ้ ในการศกึ ษาชุมชน Monofilament สอื่ การสอนสขุ ศึกษาเรื่องโรคเบาหวาน นวตั กรรม “ตม ยาํ สมนุ ไพรเบาใจ-เบาหวาน” แบบบนั ทกึ ขอ มูล และแบบประเมินความพงึ พอใจจากการเขารวมกจิ กรรมโครงการ เก็บรวบรวมขอมูลโดยการสาํ รวจชุมชน การเย่ียมบานเพ่อื สมั ภาษณก ลุม ตัวอยา ง และ ตดิ ตามประเมนิ ผลในระยะกอ นและหลังจดั ทาํ โครงการ เปน ระยะเวลา 4 สัปดาห วเิ คราะหข อ มูลเชงิ พรรณนาจากการเกบ็ รวบรวม ขอ มูลท่ไี ดจ ากการเยย่ี มบา นผูปว ยเบาหวาน โดยการวิเคราะหอ าการชาทีเ่ ทากอ นและหลงั การเขา รวมกจิ กรรมโครงการ และ ความพึงพอใจในการเขา รวมโครงการ แลวนํามาแปรผลเปน คาเฉลยี่ ผลการศกึ ษา พบวา ผปู ว ยเบาหวานทีม่ อี าการชาบริเวณปลายเทาและยินดเี ขารว มโครงการจาํ นวน 25 คน มอี าการชา ปลายเทา ลดลงหลงั การแชเ ทา ดวยนวัตกรรมน้าํ สมนุ ไพรอยา งนอย 1 จุด จาํ นวน 14 คน (คดิ เปนรอ ยละ 56.0) ระบบการยอ ย อาหารดีขน้ึ ระบบการไหลเวียนโลหติ ดขี ้ึน นอนหลับพกั ผอนไดส นิท รูสกึ ผอนคลายความตึงเครียดและสขุ สบายมากขึน้ ผปู วย เบาหวานที่ไดท ดลองใชน วตั กรรม“ตม ยาํ สมนุ ไพร: เบาใจ-เบาหวาน” พึงพอใจตอการเขารวมกิจกรรมโครงการในระดบั มาก จํานวน 18 คน (คดิ เปนรอ ยละ 72.0) การศึกษาคร้ังน้มี ขี อเสนอแนะในการทําวจิ ยั เชงิ ทดลองประสิทธิผลของการนาํ นวัตกรรมนี้ ไปใชก บั ผูป ว ยเบาหวานท่ีมอี าการชาเทาในชมุ ชนอ่นื ๆ การพัฒนาสูตรของนวตั กรรมใหมปี ระสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขึน้ และสงเสรมิ ใหม ี การใช หรอื แปรรูปนวตั กรรมนใ้ี หเปน สนิ คา บรรจหุ ีบหอ ที่พรอมจําหนา ยในตลาดทัว่ ไปและตลาดสินคา ออนไลน คาํ สําคัญ: ผูปวยเบาหวาน นวัตกรรม สมนุ ไพร

1. ความเปน มาและความสําคัญของปญหา โรคเบาหวานจดั เปนโรคไมต ิดตอทพ่ี บบอ ยท่ีสุด ควบคกู ับโรคความดันโลหติ สูงและไขมนั ในเลือดผดิ ปกติ โรคนพี้ บบอย มากกวา รอ ยละ 5 ขนึ้ ไปในประชาชนไทยวยั 30 ถงึ 60 ป หากนบั เฉพาะประชากรในชมุ ชนเมืองอาจจะมีความชุกถงึ รอ ยละ 10 (อมร ลีลารศั มี ใน สมาคมโรคเบาหวานแหง ประเทศไทย, 2560: 5) โรคนเี้ ปน ปญ หาสาธารณสขุ ทีค่ ุกคามสุขภาพคนไทยเพมิ่ สงู ขึน้ ทกุ ป จากขอ มูลความชุกของ โรคเบาหวานในประชากรอายตุ ง้ั แต 15 ป ขนึ้ ไป พบวาเบาหวานเพิม่ ขึน้ จากรอ ยละ 6.9 ใน พ.ศ. 2552 เปน รอ ยละ 8.9 ใน พ.ศ. 2557 และมีแนวโนม สูงขึน้ เรือ่ ยๆ ปจ จุบนั ประเทศไทยมีผูเปนเบาหวานไมน อยกวา 4 ลา นคน (ธรี พล โตพันธานนท ใน สมาคมโรคเบาหวานแหงประเทศไทย, 2560: 9) โรคเบาหวาน เปนโรคทเ่ี กดิ จากความผิดปกติของตบั ออ น ซ่ึงมีหนาทีผ่ ลติ ฮอรโ มนอินซลู นิ เม่ือเรากินอาหารเขา ไป รา งกายก็จะทําการยอยแปง (คารโบไฮเดรต) เปนนาํ้ ตาลกลโู คส แลว จงึ ดูดซึมเขา สกู ระแสเลอื ด โดยทีอ่ นิ ซูลินจะทําหนา ท่ีนําน้ําตาลไปยงั เซลลเ นอ้ื เยื่อตาง ๆ เพอ่ื ใชใ นการสรา งพลงั งาน หากตบั ออ น ผดิ ปกติ ไมส ามารถทจ่ี ะสรางอินซลู ินได หรือ สรา งไดนอ ย หรือ เนอ้ื เย่ือตาง ๆ ของรางกายไมตอบสนองตออินซลู ิน หรอื การ ตอบสนองของอนิ ซลู นิ ลดลง ไมวา ดวยสาเหตุใดสาเหตหุ นงึ่ กจ็ ะทําใหร ะดับนาํ้ ตาลในเลือดสงู ขนึ้ เพราะรา งกายไมส ามารถนาํ นาํ้ ตาลไปเปลี่ยนเปนพลงั งานได จงึ ทาํ ใหมอี าการออ นเพลีย หิวนํา้ บอ ย และเมื่อระดบั นาํ้ ตาลในเลอื ดสงู ขนึ้ เวลาเลือดผา นไต น้าํ ตาลสว นหน่ึงก็จึงถกู ขับออกทางไตผานปส สาวะ จงึ เรยี กวา เบาหวาน และหากปลอยใหร ะดับนาํ้ ตาลในเลอื ดสงู นาน ๆ ก็จะทาํ ใหม ีความผดิ ปกตขิ องอวยั วะอื่น ๆ ตามมา หรอื ที่เรยี กวา อาการแทรกซอนจากโรคเบาหวาน (กรมกิจการผสู ูงอายุ, 2564) ผปู วย โรคเบาหวานจะมีระดับน้าํ ตาลในเลือดสูงกวาปกติอยางตอเนื่อง อาจเกิดจากความผิดปกติของตับออนท่ีหลั่งฮอรโมน อินซูลินไดนอยกวาปกติ หรือเกิดจากภาวะดื้อตออินซูลินซึ่งพบไดในโรคอวน เนื่องจากผูที่ชอบรับประทานอาหารรส หวานจะไดรับพลังงานมากเกินไป การวินิจฉัยโรคเบื้องตนสามารถตรวจเบาหวานไดโดยการตรวจนํา้ ตาลในเลือดหลังงด อาหารประมาณ 8 ช่ัวโมง หากระดับนาํ้ ตาลในเลือดมากกวาหรือเทากับ 126 มก.ตอเดซิลิตร หรือตรวจคานํ้าตาลสะสม ไดมากกวา 6.5% ก็เขาเกณฑของโรคเบาหวาน (สิระ กอไพศาล, 2565) นอกจากนี้การรับประทานอาหารมากเกนิ ความ ตอ งการของรางกาย ทาํ ใหเกดิ การสะสมพลังงาน มีไขมนั สูงตามรางกาย ทั้งในเสน เลือด ชองทอง อีกท้งั รูปแบบการดาํ เนินชวี ิต ของคนในยคุ ปจ จบุ นั ทีใ่ ชเวลาสวนใหญอยกู ับโตะ ทาํ งาน รางกายไมคอยไดเ คลือ่ นไหว หรอื ออกกําลงั กาย พลงั งานในแตละวันท่ี เหลอื จงึ แปรเปลีย่ นเปน ไขมันสะสมทําใหนาํ้ หนกั เพมิ่ ข้นึ เร่ือยๆ จนกลายเปน โรคอวน แมโรคอว นจะกอใหเ กดิ ปญหาสขุ ภาพ โดยรวมทําใหรา งกายไมแ ขง็ แรง สง ผลตอสมรรถนะในการทํางาน การใชชีวิต บางคนอว นมากจนชวยเหลือตวั เองไดนอ ย เคลื่อนตวั ไปไหนมาไหนลาํ บาก หรือบางคนอว นมากจนขยับตัวไมไ ดเ ลย มีความเสยี่ งท่จี ะเปน โรคตา งๆ เชน เบาหวาน ความดนั โลหติ สูง ขอ เขา เส่ือม โรคตบั นิ่วในถงุ น้ําดี นิว่ ในไต โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลอื ดหวั ใจ โรคไขมนั ในเลือดสูง มปี ญหาในการหายใจ มกั เปนโรคนอนหลบั แลว หยดุ หายใจ อีกทง้ั ยังเสีย่ งตอการเกดิ มะเรง็ หลายโรค เชน มะเรง็ เตานม มะเร็งลาํ ไสใหญ มะเรง็ หลอดอาหาร และมะเร็งกระเพาะอาหาร (โรงพยาบาลราชวิถ,ี 2559) แตท วา ยงั มีโรครายท่ีนากลัวกวาโรคอวน นั่นก็คือ “โรคเบาหวาน” แมเบาหวานจะเปน โรคไมต ดิ ตอ เรอื้ รงั (Non-communicable disease: NCD) ทสี่ ามารถรกั ษาไดโ ดยขนึ้ อยกู ับชนดิ ของเบาหวาน ซงึ่ มอี ยู 4 ชนิด คือ (สมาคมโรคเบาหวานแหงประเทศไทย, 2560: 21-23) 1) โรคเบาหวานชนดิ ท่ี 1 (type 1 diabetes mellitus, T1DM) เปนผลจากการทาํ ลายเบตาเซลลท่ีตบั ออนจาก ภูมคิ มุ กันของรา งกายโดยผานขบวนการ cellularmediated สวนใหญพบในคนอายนุ อ ย รูปรา งไมอว น มีอาการปส สาวะมาก กระหายนํา้ ดื่มนา้ํ มาก ออนเพลยี น้าํ หนักลด อาจจะเกดิ ขนึ้ ไดอยางรวดเรว็ และรนุ แรง (มักพบในวัยเดก็ ) 2) โรคเบาหวานชนิดท่ี 2 (type 2 diabetes mellitus, T2DM) เปนผลจากการทําลายเบตาเซลลทต่ี บั ออ นจาก ภมู ิคมุ กนั ของรางกายโดยผานขบวนการ cellularmediated สวนใหญพ บในคนอายุนอย รปู รา งไมอว น มีอาการปสสาวะมาก กระหายน้าํ ดืม่ นํ้ามาก ออนเพลยี นํ้าหนกั ลด อาจจะเกิดขึ้นไดอ ยางรวดเรว็ และรนุ แรง (มักพบในวยั เด็ก)

3) โรคเบาหวานขณะตงั้ ครรภ (gestational diabetes mellitus, GDM) เกิดจากการที่มภี าวะด้อื ตอ อินซูลินมากขึน้ ใน ระหวา งตัง้ ครรภ จากปจ จัยจาก รก หรอื อืน่ ๆ และตบั ออ นของมารดาไมส ามารถผลิตอนิ ซลู ินใหเ พียงพอกบั ความตอ งการได 4) โรคเบาหวานท่ีมสี าเหตจุ าํ เพาะ (specific types of diabetes due to other causes) เปน โรคเบาหวานทีม่ สี าเหตุ ชดั เจน ไดแก โรคเบาหวานท่ีเกดิ จากความผดิ ปกตทิ างพันธกุ รรมเชน MODY (Maturity-Onset Diabetes of the Young) โรคเบาหวานทเ่ี กิดจากโรคของตับออน จากความผดิ ปกติของ ตอ มไรท อ จากยา จากการตดิ เช้ือ จากปฏิกริ ยิ าภูมิคมุ กัน หรือ โรคเบาหวานทีพ่ บรวมกับกลุมอาการตา ง ๆ การดแู ลรักษาโรคเบาหวานในคลนิ กิ และชุมชน (สมาคมโรคเบาหวานแหงประเทศไทย, 2560: 45-53) ทาํ ไดด ังนี้ - การใหความรแู ละสรา งทักษะเพอ่ื การดแู ลโรคเบาหวานดวยตนเอง (Diabetes Self-Management Education; DSME) - การชวยเหลือสนับสนุนใหด แู ลตนเอง (Diabetes Self-Management Support; DSMS) เปนสงิ่ ทีม่ คี วามสําคัญในการ บรรลเุ ปาหมายของการรักษา - การดูแลสขุ ภาพทางรา งกายและจติ ใจ ของผปู ว ยเบาหวาน สําหรับผูที่มคี วามเส่ียงตอ การเกดิ โรคเบาหวานสามารถใช หลักการและวธิ กี ารเดียวกนั เพอื่ ปองกนั ไมใหเกิดโรคเบาหวาน เมอื่ บคุ คลในครอบครัวและชุมชนเจบ็ ปว ยเปน เบาหวานและไมไ ดร บั การดแู ลรกั ษาท่ีถกู ตอ งจะกอ ใหเ กดิ ภาวะแทรกซอ น ในหลายระบบของรางกาย (สมาคมโรคเบาหวานแหง ประเทศไทย, 2560: 48) ไดแ ก ภาวะแทรกซอน เฉียบพลันและเร้อื รังอนั เน่ืองมาจากเบาหวาน โรคแทรกซอ นเฉยี บพลัน ไดแ ก ภาวะนํ้าตาลตา่ํ ในเลือด ภาวะเลอื ดเปนกรดจากสารคโี ตน (diabetic ketoacidosis, DKA) ภาวะเลือดขนจากระดับนาํ้ ตาลในเลอื ดทส่ี งู มาก (hyperosmolar hyperglycemic state, HHS) จงึ ควรให ความรผู ูปวยและญาตเิ กีย่ วกบั สาเหตุของการเกิด วิธีการปอ งกันและการแกไ ข สวนโรคแทรกซอ นเรือ้ รงั เชน โรคแทรกซอนเร้ือรัง ที่ตา ไต ระบบประสาท ปญหาที่เทาจากเบาหวาน ควรใหความรผู ปู ว ยและญาตเิ กย่ี วกับปจจยั ที่ทาํ ใหเกิดและการปอ งกนั โรคท่มี กั พบรว มกบั เบาหวาน เชน ไขมันในเลอื ดสงู ความดันโลหติ สงู โรคอว น ความเกย่ี วขอ งกับเบาหวาน ใหร แู ละเขา ใจวิธีปองกันและ การแกไ ข สําหรบั บทความนี้ จะไดน าํ เสนอเกีย่ วกบั นวตั กรรม “ตม ยาํ สมุนไพร: เบาใจ-เบาหวาน” เพือ่ เปน ทางเลือกหน่ึงในการ ชวยบรรเทาปญ หาอาการแทรกซอ นหนง่ึ ของโรคเบาหวานทีม่ กั จะเกิดขึน้ บอย ๆ กับผูปว ยเบาหวานที่รบกวนความเปน อยูใน ชีวิตประจาํ วันของผูปวย กอ ใหเกดิ ความทกุ ขท รมานหรือความไมส ขุ สบาย นั่นคือ อาการชาบรเิ วณปลายเทา อนั จะนาํ ไปสูความ ไมรสู กึ เจบ็ เมื่อเกดิ บาดแผลท่ีเทาซงึ่ เมอ่ื เกดิ บาดแผลแลว จะหายไดย าก ดงั จะไดก ลา วถงึ รายละเอียดของประโยชนแ ละสรรพคณุ ใน การแกไขปญ หาดังกลา ว รวมท้ังข้ันตอนการออกแบบนวตั กรรม การผลิต การทดลองใช การปรบั ปรงุ แกไ ขคุณภาพ และการ ประเมนิ ผล ในลําดับถัดไป 2. วตั ถุประสงค 2.1 เพือ่ กระตุนการไหลเวยี นโลหติ บรเิ วณเทาและบรรเทาอาการชาเทา ในผูป ว ยเบาหวาน 2.2 เพ่ือเพิม่ ทกั ษะในการดูแลเทา ของผูปว ยเบาหวานอนั จะเปน การปอ งกันภาวะแทรกซอนในการเกดิ แผลทเ่ี ทาได 2.3 เพ่อื สงเสริมใหผ ปู ว ยเบาหวานและครอบครวั นําสมุนไพรท่หี าไดง ายในชมุ ชนมาประยุกตใ ชใ นการบรรเทาอาการชา เทา ของผูปวยเบาหวานได 3. กลุม เปาหมาย ผูปวยเบาหวานในชมุ ชนบานโคกขาม หมทู ่ี 11 ตําบลบานดาน อําเภอบานดาน จังหวัดบุรรี ัมย

4. กระบวนการพัฒนา (ตามขั้นตอน plan do check act) การดาํ เนินการตามกระบวนการคณุ ภาพ PDCA PLAN วางแผนการดําเนนิ งาน 1. สาํ รวจพื้นที่เปา หมาย คอื ชุมชนบา นโคกขาม หมทู ี่ 11 ตาํ บลบา นดาน อาํ เภอบานดา น จงั หวดั บรุ ีรมั ย นกั ศึกษา พยาบาลศาสตรช ั้นปท ี่ 4 จํานวน 6 คน ดําเนินงานโดยใชเ ครอ่ื งมือ 7 ชิน้ ในการสํารวจชมุ ชน ไดแก 1) แผนท่ีเดินดิน 2) ผงั เครอื ญาติ 3) โครงสรา งองคกรชมุ ชน 4) ระบบสขุ ภาพชมุ ชน 5) ปฏทิ ินชุมชน 6) ประวัติศาสตรชมุ ชน และ 7) ประวตั ิชวี ติ ตัวแทนบคุ คลกลมุ ตาง ๆ ในชุมชน 2. คัดเลอื กสถานทส่ี าํ หรับจัดโครงการ : ศาลาประชาคมหมูบานโคกขาม หมทู ่ี 11 ตําบลบา นดา น อําเภอบา นดา น จังหวดั บรุ ีรมั ย 3. เกบ็ รวบรวมขอมลู ตามเครอ่ื งมอื 7 ชน้ิ ไดแ ก ขอ มูลปฐมภมู ิ และทุตยิ ภมู ิจากแหลงขอ มลู บุคคลสําคญั และหนวยงาน/ องคกรที่เกย่ี วของทงั้ ภายในและนอกชมุ ชน เชน ผนู ําชมุ ชน ครอบครัว กลุมตา ง ๆ ในชมุ ชน อสม. รพ.สต. วัด โรงเรยี น อบต. เปนตน 4. วเิ คราะหขอมลู วินิจฉยั ชมุ ชนโดยนําเสนอปญหาของชุมชนในเวทีประชาคมหมบู าน และรวมกับประชาชนในการ จดั ลําดับความสําคัญของปญ หาชุมชน เพอ่ื คดั เลือกปญ หาท่สี าํ คญั ทส่ี ดุ เพยี ง 1 ปญหามารวมกันหาแนวทางแกไ ขโดยเนน การแกไข ปญหาสขุ ภาพ 3. ประชมุ คณะทาํ งานเพื่อจัดทําการวเิ คราะหห าสาเหตขุ องปญ หาสขุ ภาพที่เลือกมาแกไ ข โดยใชท ฤษฎีการโยงใยสาเหตุ ของปญ หา (Web of Causation) แลว นาํ มาจดั ทํารายละเอยี ดโครงการ 4. นาํ เสนอโครงการ รายละเอยี ดของกิจกรรมและงบประมาณทใี่ ช พรอ มท้ังจํานวนประชาชนกลมุ เปา หมายผูเขา รว ม โครงการ และกําหนดการดาํ เนนิ โครงการแกอ าจารยน เิ ทศเพ่อื พิจารณาอนุมตั ิ DO ดาํ เนนิ การตามโครงการทีก่ าํ หนดไว 1. กจิ กรรมเตรียมการ - แบงหนา ท่ีรับผิดชอบของคณะทาํ งานออกเปน ฝา ยตา ง ๆ ไดแก ฝายพิธกี าร ฝายปฏิคม ฝา ยวชิ าการและ ประชาสมั พันธ ฝายสถานท่แี ละโสตทัศนูปกรณ ฝา ยลงทะเบยี นและประเมินผล ฝายการเงินและพสั ดุ - แตละฝา ยประชมุ ยอ ยในการวางแผนเตรยี มการดาํ เนินกจิ กรรมยอ ยในโครงการตามทไี่ ดตกลงกัน และไดรบั มอบหมาย จากประธานคณะทาํ งาน - ฝก ซอ มกิจกรรมยอ ย และพธิ ีการตามกําหนดการท่ีวางแผนไว 2. กิจกรรมในโครงการ “โคกขามรวมใจหวงใยรักสขุ ภาพ” - พิธีเปดโครงการ โดยนางกนกวรรณ มณีทอง ผใู หญบานโคกขาม หมูท่ี 11 ตาํ บลบา นดา น อําเภอเมอื ง จังหวดั บรุ รี ัมย กลา วรายงานประธาน โดย ประธานคณะทํางานนักศกึ ษาพยาบาลศาสตร ชน้ั ปท ี่ 4 กลุมฝก ปฏบิ ตั วิ ชิ าการพยาบาลชุมชน ณ ชุมชนบานโคกขาม - นนั ทนาการ เชน การเตนบาสโลบประกอบเพลงร่ืนเริง การตอบคาํ ถามสุขภาพชิงรางวัล - บรรยายแบบมสี วนรวม เร่อื ง “โรคเบาหวาน” โดยมรี ายละเอยี ดเกยี่ วกบั ความหมาย อาการ สาเหตุ การแบง ประเภทของเบาหวานชนิดตา ง ๆ การรักษา การดแู ลสุขภาพตนเองเพื่อปอ งกนั ภาวะแทรกซอ นของเบาหวาน - แลกเปล่ียนเรยี นรภู มู ปิ ญ ญาทอ งถนิ่ “ตม ยําสมนุ ไพร: เบาใจ-เบาหวาน” ระหวางนักศึกษากับประชาชน โดยการบรู ณา การองคความรดู า นการบาํ บดั ทางเลือกดวยการใชสมุนไพรท่หี าไดงา ยในหมูบาน การพยาบาลชมุ ชน และการรักษาโรคเบ้อื งตน รวมกับ อสม. และผสู ูงอายุในหมบู าน คดิ คน วธิ กี ารสงเสรมิ ปองกนั โรค บําบัดรกั ษา และฟนฟสู ภาพเทา ของผูปว ยเบาหวานให

บรรเทาจากอาการชา นํามาสนู วัตกรรมนา้ํ สมนุ ไพรแชเทาทีม่ ลี ักษณะคลายตม ยํา เมื่อใชแ ลว ทาํ ใหผ ปู ว ยรสู ึกบรรเทาจากอาการ ชาเทา และสขุ กาย สบายใจมากยง่ิ ข้ึน - ตรวจคดั กรองหาภาวะแทรกซอ นในกลุม ผูปว ยโรคเบาหวานทม่ี ารว มประชุม โดยตรวจประเมินประสาทความรสู ึกทเ่ี ทา 4 จดุ ดวยวิธีการ monofilament - เชญิ ชวนประชาชนทเ่ี ปน โรคเบาหวานและมอี าการเทาชามาทดลองแชเ ทาดวยนวตั กรรม “ตม ยําสมนุ ไพร: เบาใจ- เบาหวาน” - หลังสนิ้ สุดกจิ กรรม สัมภาษณค วามคิดเหน็ ทม่ี ีตอนวัตกรรม ภาพที่ 1 การเตรียมวตั ถุดบิ สมุนไพรทหี่ าไดงา ยในชุมชนเพอื่ ทํานวัตกรรม “ตม ยาํ สมนุ ไพร: เบาใจ-เบาหวาน” ในชมุ ชนบา นโคกขาม ต.บานดาน อ.บา นดา น จ.บุรรี มั ย ที่มา: นักศึกษาพยาบาลศาสตรช ั้นปท ี่ 4 รนุ ท่ี 2 กลุม A2 คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลยั ราชภฏั บุรรี ัมย ภาพท่ี 2 นักศึกษาพยาบาลสาธิตการใชน วตั กรรม “ตม ยําสมุนไพร: เบาใจ-เบาหวาน” กับผูปวยเบาหวานทเี่ ปน อาสาสมคั ร ในโครงการ “โคกขามรวมใจหว งใยรักสุขภาพ” ท่มี า: นกั ศึกษาพยาบาลศาสตรช้ันปท ี่ 4 รุนที่ 2 กลมุ A2 คณะพยาบาลศาสตร มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรัมย

ภาพที่ 3 ผปู ว ยเบาหวานใหความสนใจตอ การใชน วัตกรรม “ตมยาํ สมุนไพร: เบาใจ-เบาหวาน” แชเทาหลงั การสาธิต ท่มี า: นกั ศึกษาพยาบาลศาสตรชัน้ ปที่ 4 รนุ ท่ี 2 กลมุ A2 คณะพยาบาลศาสตร มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรมั ย - สรปุ และประเมนิ ผลความสําเร็จของโครงการ กจิ กรรมอนื่ ๆ - การตอบคําถามสุขภาพชงิ รางวลั - การมอบของที่ระลกึ ใหแกผ นู าํ ชุมชน เชน วัสดุอปุ กรณท ่ีใชส ําหรบั ทํานวัตกรรม - การถายภาพหมรู ะหวางผูนาํ ชมุ ชน กลมุ อสม. ประชาชนทเ่ี ขา รวมโครงการ เจา หนาท่จี าก รพ.สต. คณะนักศึกษา และ อาจารยน ิเทศ CHECK ประเมนิ ผล 1. ประเมินระหวา งการดาํ เนนิ กิจกรรมในแตล ะชวง - เพื่อใหทราบผลการปฏบิ ตั ิท่ผี า นมาแตล ะชว งของการจดั กิจกรรมตา ง ๆ เพ่อื นาํ ผลมาปรับปรงุ แกไ ขและปอ งกนั การ เกิดปญ หาอุปสรรคทอี่ าจจะเกิดขน้ึ ได กอนจะจัดกจิ กรรมอื่น ๆ ตอไป 2. ประเมินผลภายหลังเสร็จส้นิ โครงการ - ประเมินผลในภาพรวมเพ่อื สรุปผลการดําเนนิ งานท้งั หมด ACT ปรบั ปรุง 1. จัดทาํ รายงานสรปุ ผลการดําเนินงานเสนอตออาจารยน เิ ทศ รพ.สต. และผนู าํ ชุมชน 2. วิเคราะหปญหา แนวทางแกไ ขปรบั ปรงุ และขอ เสนอแนะสําหรับการดาํ เนนิ โครงการในปตอไปเก่ียวกบั ดานกาํ ลังคน วสั ดุ อุปกรณ เงิน การบริหารจดั การ การประสานงาน 3. คณะนักศึกษานําเสนอผลการดําเนนิ งานรวมกับคณะนกั ศกึ ษากลุมทฝี่ กปฏบิ ัตในชุมชนอนื่ ๆ เพอ่ื แลกเปล่ียนเรยี นรู ประสบการณท ่ไี ดกบั เพ่ือนนกั ศึกษาท่ฝี กปฏบิ ตั ริ ายวชิ าการพยาบาลชมุ ชนในชวงเวลาเดียวกัน โดยมคี ณะอาจารยน เิ ทศรวมรับฟง และใหข อ เสนอแนะ แลว อาจารยผ ูรับผิดชอบรายวิชาสรุปผลการจดั การเรียนการสอนนําเสนอตอ คณะกรรมการหลกั สูตรพยาบาล ศาสตรเพ่อื พิจารณาตอไป 5. รายละเอียดและวิธกี ารใชงานนวตั กรรม การเตรียมนวตั กรรม “ตม ยําสมุนไพร: เบาใจ-เบาหวาน”

- เกบ็ รวบรวมสมนุ ไพรทห่ี าไดงายในหมูบาน 4 ชนดิ ไดแก 1) มะกรดู มีสรรพคณุ ชวยใหผิวชมุ ชน้ื นา้ํ มนหอมระเหย จากเปลือกชวยลดอาการซมึ เศราที่อาจเกิดขนึ้ กบั ผปู วยเบาหวานจากการเจบ็ ปว ยเรอ้ื รังมาเปนระยะเวลายาวนานได 2) ใบมะขาม ซึ่งมสี รรพคุณชาํ ระลา งความสกปรกตามรขู มุ ขนและคราบไขมันบนผิวหนังไดด ี 3) ขา มีสรรพคณุ ชว ยแกอาการตะคริวและเหน็บ ชา 4) ตะไคร มสี รรพคณุ ชว ยเสริมสรางความแขง็ แรงและชว ยซอมแซมระบบประสาทซ่ึงในผปู วยเบาหวานทีม่ ีภาวะแทรกซอนจะ มีปญ หาเร่อื งอาการทางประสาทโดยเฉพาะการเกดิ ความรสู กึ ชาตามปลายมือปลายเทา - นําสมุนไพรทั้งหมดหน่ั เปนชน้ิ ใสล งในหมอสาํ หรับตม (ยกเวน มะกรดู ) จากนน้ั เทนาํ้ ลงไปใหทว มสมนุ ไพร - ตมใหเดอื ดนาน 10-15 นาที จากนน้ั ยกหมอ ลงตั้งท้งิ ไวประมาณ 10 นาทึ - ตักนา้ํ สมนุ ไพรและชน้ิ สว นสมุนไพรท้งั หมดใสล งในกะละมงั สําหรับแชเ ทา นํามะกรูดที่หัน่ เปน แวนลงลอย โรยเกลือลง ไปในนกะละมังแชเทาดวย - เตมิ น้ําสะอาดลงไปผสมในกะละมงั จนน้ําอุน ใชวธิ ที ดสอบโดยใชห ลังมือของผทู ดสอบแตะสัมผสั กบั ผวิ น้ําในกะละมัง เพือ่ ทดสอบความรอน และใหเ ตมิ น้ําลงไปใหไ ดป ริมาณนํ้าในกะละมังสูงพอจนทว มถึงระดับเหนือตาตมุ ของผูปว ยเบาหวาน การแชเทา - ทําความสะอาดเทา โดยใชส บฟู อกท่ีเทา จนสะอาดและลา งออกดว ยนาํ้ สะอาด - แชเทาดวยนวัตกรรม “ตมยําสมนุ ไพร: เบาใจ-เบาหวาน” นาน 15 นาที - เชด็ เทา ดวยผาทสี่ ะอาดและนมุ เครื่องมอื ท่ีใชใ นการประเมินผล - Monofilament - แบบบันทึกขอมูล และแบบประเมินความพึงพอใจจากการเขารว มกจิ กรรมโครงการ การเก็บรวบรวมขอ มลู และการวิเคราะหขอมลู - การประเมนิ ผลจากการสมั ภาษณผูป ว ยเบาหวานทม่ี อี าการชาเทาและยนิ ดีเขา รว มโครงการ ทั้งในระยะกอนและหลัง การเขารว มกจิ กรรมโครงการจํานวน 30 คน เปน ระยะเวลา 4 สัปดาห สัปดาหล ะ 2 วนั ตงั้ แตเ ดือนมิถุนายน ถงึ กรกฎาคม 2565 - วิเคราะหข อมลู เชงิ พรรณนาจากการเกบ็ รวบรวมขอมลู ท่ีไดจ ากการเยี่ยมบา นผปู ว ยเบาหวาน โดยการวิเคราะหอาการ ชาทีเ่ ทา กอนและหลงั การเขารว มกจิ กรรมโครงการ และความพึงพอใจในการเขา รว มโครงการ แลวนาํ มาแปรผลเปนคาเฉล่ยี 6. ผลการทดลองใชนวตั กรรมและการอภปิ รายผล จากการวิเคราะหข อ มลู พบวา ผปู วยเบาหวานทมี่ ีอาการชาบรเิ วณปลายเทาและยนิ ดเี ขารว มโครงการจํานวน 25 คน กลาววา ปญ หาอาการชาปลายเทา ลดลงในคร้ังท่ี 4 หลงั การแชเ ทา ดว ยนวตั กรรมนาํ้ สมนุ ไพรอยางนอย 1 จุด จาํ นวน 14 คน (คดิ เปนรอยละ 56.0) ตลอดจนระบบการยอ ยอาหารดขี ึ้น สามารถรับประทานอาหารไดเ ปนปกติ ระบบการไหลเวียนโลหติ ดขี ึ้น ความดนั โลหติ ทเ่ี คยสูงกลบั ลดลง นอนหลับพักผอ นไดส นทิ รูส ึกผอ นคลายความตึงเครยี ดและสุขสบายมากขน้ึ ผปู ว ยเบาหวานที่ ไดทดลองใชน วัตกรรม“ตม ยาํ สมุนไพร: เบาใจ-เบาหวาน” พงึ พอใจตอการเขา รวมกจิ กรรมโครงการในระดบั มาก จาํ นวน 18 คน (คดิ เปนรอยละ 72.0) 7. ขอ เสนอแนะ 7.1 ควรทําวิจัยเชิงทดลองเพอื่ ทดสอบประสิทธผิ ลของการนํานวตั กรรม “ตม ยําสมนุ ไพร: เบาใจ-เบาหวาน” ไปใชก บั ผปู ว ยเบาหวานท่มี อี าการชาเทา ในชมุ ชนอืน่ ๆ 7.2 ควรพัฒนาสตู รของนวัตกรรม “ตมยาํ สมนุ ไพร: เบาใจ-เบาหวาน” โดยปรบั เปลี่ยนวสั ดุ สว นผสม และวธิ กี ารเตรียม นํ้ายาสมุนไพรดว ยเทคนิคตา ง ๆ ใหม ีประสิทธิภาพมากยิง่ ข้ึน

7.3 ควรสง เสรมิ ใหม กี ารใช หรือแปรรปู นวัตกรรมนใ้ี หเ ปนสินคา บรรจหุ ีบหอท่ีพรอ มจาํ หนายในตลาดทว่ั ไปและตลาด สินคา ออนไลน เพ่ือเปนการสงเสริมและปองกันภาวะแทรกซอนของโรคเบาหวานทเี่ กย่ี วกบั อาการชามอื ชาเทา และเปน การสรา ง รายไดใหแ กประชาชนในชมุ ชนไดอ ีกทางหนงึ่ 8. เอกสารอางอิง กรมกิจการผูสงู อาย.ุ (2564). วธิ ีรักษาโรคเบาหวานใหหายขาด. คนเมื่อ 1 พฤษภาคม 2566 จาก https://www.dop.go.th/th/know/15/658 โรงพยาบาลราชวิถี (2559). อันตรายของโรคอวน. คน เมอ่ื 1 พฤษภาคม 2566 จาก https://www.rajavithi.go.th/rj/?p=4110 สมาคมโรคเบาหวานแหง ประเทศไทยในพระราชปู ถัมภส มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี. (2560). แนวทางเวช ปฏบิ ัติสําหรบั โรคเบาหวาน 2560. (พิมพคร้ังท่ี 3). ปทมุ ธานี: บรษิ ทั รม เย็น มีเดีย จํากัด.สิระ กอไพศาล (2565). การ รักษาโรคเบาหวาน คนหาสาเหตุและวธิ แี กไขไดท น่ี .่ี คน เมอ่ื 1 พฤษภาคม 2566 จาก https://www.rama.mahidol.ac.th/ramachannel/article/diabetes-treatment-guidelines/ สุดรตั น กางทอง. (2557). นวัตกรรมสมุนไพรแชเ ทา ดแู ลผูปว ยเบาหวาน รพ.สต. บานพอกนอ ยพัฒนา สกลนคร. Hfocus เจาะลึกระบบสขุ ภาพ. คนเมื่อ 3 พฤษภาคม 2566 จาก https://www.hfocus.org/content/2014/12/8779 โรงพยาบาลสงั คม. (2562). สมนุ ไพรแชเ ทา ลดอาการชาในผูป วยเบาหวาน ต.แกง ไก อ.สังคม จ.หนองคาย. คน เมอ่ื 4 พฤษภาคม 2566 จาก https://www.sangkhomhospital.com

การวิจัยเชิงสุขภาพ สร้างดุลยภาพชีวิตในยุค Next Normal หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่ม 1 รวมบทความนวัตกรรมประเภทชิ้นงานสร้างสรรค์ การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 15 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม หัวของการจัดงาน “วิจัยและพัฒนา บนพื้นฐานเศรษฐกิจ BCG สู่การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” และการประชุม สาขาพยาบาลศาสตร์ เรื่อง “การวิจัยเชิงสุขภาพ สร้างดุลยภาพชีวิตในยุค Next Normal “ ระหว่างวันที่ 13-14 กรกฎาคม 2566 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook