Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อัล-มุรอญิอาต เล่ม 1

อัล-มุรอญิอาต เล่ม 1

Published by thaiislamlib.com, 2022-06-06 05:29:41

Description: จดหมายสนทนาโตตอบทางวิชาการระหว่างอุลามาชีอะห์กับผู้รู้ซุนนี

Search

Read the Text Version

ไมเพียงแตเปนหลักฐานที่อธิบายในแงมุมของการเปนคอลีฟะฮฺเทาน้ัน หากแตยังเปนหลักฐานที่ ปรากฏอยงเห็นไดชัดวาทานเอง ถาหากทานจะออกเดินทางไปท่ีใดโดยท่ียังมิไดแตงตั้ง ทานอาลี เปนผูแ ทนตวั ของทานอยขู างหลงั แลวไซร แนนอนท่สี ดุ การกระทําเชนนน้ั เปน สิ่งท่ีทานไมอาจจะ กระทําไดเ หตุผลในขอนี้มิใชค วามหมายจากแงม ุมใด นอกเสียจากวาเนื่องจากความจรงิ ดงั กลาวนั้น เปนสิ่งที่ถูกบัญชามากจากอัลลอฮฺผูทรงอานุภาพสูงสุดเกี่ยวกับเรื่องใหทานไดแตงตั้งตัวแทนของ ทา นเอาไว ทาํ นองเดยี วกนั กับหลักฐานท่ืปรากฏอยา งเหน็ ไดช ดั ในการอรรถาธิบายโองการของอลั ลอ ฮฺ ผูทรงสูงสุด ในโองการท่ีวา “โอรอซูลเอย จงประกาศส่ิงที่ถูกประทานมายังเจา จากพระผูอภ“โอรอซูลเอย จง ประกาศสิ่งที่ถูกประทานมายังเจา จากพระผูอภิบาลของเจาเถิด และถาหากเจามิไดกระทํา ดังนั้น เจาก็มไิ ดประกาศศาสน ของพระองคเ ลย” (อลั -มาอิตะฮฺ : 67) ไดมีผูพยายามพิจารณาโองการของอัลลอฮฺผูทรงสูงสุดในวรรคน้ี (ดังน้ัน เจามิไดประกาศ สาสนของพระองคเลย) แลวไดนําไปพิจารณาเปรียบเทียบในถอยคําของทานนบี (ขออัลลอฮฺทรง ประทานความจําเริญและความสันติสุขแตทานและแดบรรดาลูกหลานของทาน) ที่วา “เมื่อได พิจารณาขอความทั้งสองนี้แลว ก็สามารถเห็นไดชัดวา สองขอความน้ีตางมีจุดมุงหมายมุงไปสู เหตุผลเดียวกันอยางมิตองสงสัย และเราตองไมลืมถอยคําของทานศาสนทูต (ขออัลลอฮฺทรง ประทานความจําเริญและความสันติสุขแดทานและแดบรรดาลูกหลานของทาน) ท่ีมีปรากฏอยูใน ฮาดีษนี้วา “เจาคือผูปกครองของผูศรัทธาทุกคนหลังจากฉัน” นั่นคือรายละเอียดซ่ึงเปนหลักฐานที่ บงช้ีวาทานอาลี คือ ผูมีอํานาจหนาที่รับผิดชอบในกิจการตาง ๆ เปนผูดํารงอยูในฐานะตัวแทน ของทานศาสดาในภารกิจท้ังหลายทั้งปวง ดังเชนที่ทานกวี กุมัยต (ขออัลลอฮฺทรงประทานความ เมตตาแกเขา) ไดกลาวสดุดีไววา “เปนความโปรดปรานอันประเสริฐ สําหรับผูไดอํานาจการ ปกครอง หลังจากการปกครองของทานศาสดา เปนที่ท่ีพ่ึงพาอาศัยสําหรับผูยําเกรงและเปนความ โปรดปรานสาํ หรบั ผูม อี ารยธรรม” วัสลาม

(ช) อลั -มุรอญอิ ะฮฺ ๒๗ 18 ซลุ -อจิ ญะฮฺ 1329 • ความสงสยั ทยี่ งั มีอยใู นเรื่องของสายสือบฮาดีษทีว่ า ดวยฐานะของทา นอาลี ฮาดีษที่วาดวยตําแหนงฐานะของทานอาลีน้ัน เปนฮาดีษที่ศอฮี้ฮฺถูกตองและเปนท่ี ยอมรบั กัน อยางทวมทน แตทวาผูท่ีมีความพิจารณาอยางพิถีพิถันในหมูผูทรงคุณวุฒิคือ “อามิดียฺ” ผูท่ีมี ชื่อเสียงดีเดน เปนผูทรงคุณวุฒิในแขนงวิชาการ ข้ันพื้นฐานของหลักศาสนา เขายังมีขอสงสัยอยู ในสายสืบของฮาดีษ และความเที่ยงแทในกระแสนรายงานของมันอยู ในบางครั้งฝายตางขามกับ ทา นไดใหค วามเช่ือมนั่ ไปตามทศั นะของเขา ซง่ึ ทานจะมีหลกั ฐานแสดงแกพวกเขาไดอ ยา งไรบา ง? วสั ลาม (ซ) อลั -มุรอญิอะฮฺ 28 19 ซลุ -ฮจิ ญะฮฺ 1329 1. ฮาดษี ทีว่ า ดว ยตําแหนง ฐานะของทานอาลนี น้ั เปน ขอ มูงทีม่ หี ลักฐานมง่ั คงแขง็ แรง 2. ผสู ันทันกรณที ีม่ ีคุณวุฒิตาง ๆ ไดย ืนยนั สนบั สนุนความถูกตองอยา งสมบรู ณของฮาดษี น้ี 3. ฮาดีษบทนีไ้ ดถ กู นําบนั ทกึ โดยนกั ปราชญฝ า ยซุนนะฮฺ

4. สาเหตุของการท่ีนักปราชญอามิตียฺยังมีความสงสัยในความถูกตองของสายสืบฮาดีษ บทนี้ 1. นักปราชญอามิดียฺท่ีอยุติธรรมตอตัวเองเทาน้ันที่มีความสงสัยเก่ียวกับสายสืบของฮาดีษ บทนี้ เพราะแทจริงฮาดีษที่ไดรับการยืนยันวาศออี้ฮฺถูกตอง โดยนักปราชญของฝายซุนนะฮฺเอง และยังเปนฮาดษี ทีถ่ อื ไดวาเปนขอมลู ซ่ึงเปน ท่ียอมรับกนั อยางมั่นคงแข็งแรง 2. ไมมีผูใดท่ีมีความสงสัยคลางแคลงใจ ในความถูกตองของสายสืบฮาดีษบทน้ี และไม เคยไดป รากฏวา ในหมูของผทู ีเ่ ขมงวดกวดขันทง้ั หลายจะมคี นใดหยบิ ยกปญ หาความแนน อนของฮา ดีษบทนี้มาทําการถกเถียง ดวยการตั้งปญหาทางถวยคํากันขึ้น แมกระทั่งทานซะฮะบียผูซึ่งมีความ คิดเห็นท่ีขัดแยงกันกับกลุมอะหลุลบัยตฺก็ยังอธิบายไวในหลังสือตัลคีศมุสตัดร็อกวาฮาดีษบทน้ีมี หลักฐานที่ยืนยันวาถูกตอง(134) ทานอิบนุ ฮะญัร ฮัยษุมียก็ยังไดกลาวยกยองสายสืบของฮาดีษบทนี้ ไวในหนังสือเศาะวาอิก หัวขอที่ 12 โดยทานไดอางถอยคําท่ียืนยันถึงหลักฐานท่ีถูกตองของฮาดีษ บทน้ีมาจากบรรดานักปราญชฮาดีษระดับผูนําของฝายซุนนะฮฺ ซึ่งพวกเขาเหลานั้นไมมีผูใดกลาว ตาํ หนฮิ าดีษบทนี้ไดเลย ซ่ึงทานสามารถท่ีจะนอนกลับไปพิจารณาได(135) และถาหากวาฮาดีษบทนี้ ไมม ีหลักฐานทม่ี ั่งคงแข็งแรงจริง ๆ แลว ทา นอิมามบุคอรีจะไมบันทึกไวใ นหนังสือศอฮ้ีฮฺของทาน ทัง้ น้กี ็เพราะวา ทานเปนบุคคลที่มี่ความคิดเห็นรุนแรงโดยสวนตัวของทานเองตอเกียรติคุณที่มีอยาง เฉพาะของทานอิมามอาลี และเกียรติยศของบรรดาอะหฺลุลบัยตฺ ซ่ึงทัศนะของทานนั้นมีความไม เห็นดวยเปน การสว นตวั แมแตมุอาวียะฮฺผูเปนหัวหนาของเหลาบรรดากลุมบุคคลผูละเมิดผูเปนปรปกษที่ขับเคร่ียว กันตลอดมากับทานอิมามอะมีรุลมุมีนีนถึงขนาดกลาวคําสาปแชงตาง ๆ นานาตอทานอาลีบน มิมบัรของบรรดามุสลิมท้ังหลายและยังไดออกคําสั่งแกสาธารณชนใหทําการแชงดาประจานทาน อาลี เขาเปนบุคคลท่ีอยูในกลุมของเหลาศัตรูที่โอหังบังอาจอยางที่สุดตอทานอาลี แตกระน้ันเขาก็ ยังมิไดปฏิเสธตอฮาดีษท่ีวาดวยฐานะและตําแหนงของทานอาลีเขาไมไดแสดงอํานาจบาตรใหญใน ความสาํ คัญของฮาดษี บทนต้ี อทา นสะอดั บิน อาบกู อศเลย เม่ือตอนทท่ี านผูนี้ไดกลา วแกเขาตามทีม่ ี บนั ทึกอยูในศอฮีฮ้ มฺ ุสลมิ (136) วา มุอาวียะฮไฺ ดกลาววา “อนั ใดท่ียับย้ังทาน มิใหดาประจานอะบูตูรอบ (ฉายานามหนึง่ ของทานอาลี)?” ทานสะอดั กลา ววา “เพราะ

(134) ทา นไดพ ิจารณาเรอื่ งนผ้ี านไปแลวในมรุ อญยิ ะฮทฺ ่ี 16 ซึ่งเปนบทอธิบายความถูกตอง ของสายสืบฮาดี บทน้ี (135) โปรดดูหนา 29 ของหนังสือ “เศาะวาอกิ ”ฃ (136) ในบาบท่ีวาดวยเกียรติยศของทานอาลี ตอนที่ 1 หนา 324 ุชอฺท่ี 2 หนังสือศอฮ้ีฮฺ มสุ ลิม เหตุวา ฉนั ยังจําไดถึงถอยคํา 3 ขอ ท่ีทา นศาสนทตู ไดเคยกลาวถึงเขาฉะนั้นจงึ ไมอ าจดา ประจานเขา ได ทเ่ี ปน ขอซ่ึงฉนั ประทําใจยิ่งเสยี กวาไดอ ฐู สแี ดงนัน้ กค็ ือฉนั ไดยนิ ทา นศาสนทูต ไดกลาวแกเขา โดยที่ทานไดตั้งใหเขาเปนตัวแทนของทาน เม่ือนตอนทานไปทําสงคราม ครั้งหน่ึงวา “เจามิได พอใจดอกหรือตอการท่ีเจากับฉันน้ีมีตําแหนงเหมือนฮารูนที่มี่ตอมูซ? นอกจากวา จะไมมีนบี ภายหลังจากฉันแลวเทาน้ันเอง”(137) ดังนั้นมุอาวียะฮฺจึงไดรับความผิดหวังแตก็ตองระงับตอการที่ จะบีบค้ันกับทานสะอัด ขาพเจาใครที่จะขอเพิ่มเติมรายละเอียดท่ีนาสนใจของเรื่องนี้วามุอาวียะฮฺเองก็ยังไดเกลาว ถึงฮาดีษที่วาดวยฐานะและตําแหนงของทานอาลีดวยตัวของเขาเอง ดังท่ีทานอิบนุ ฮะญัรไดกลาว ไวในหนังสือเศาะวาอิกของทานวา(138) ทานอะหุมันไดบันทึกวา มีชายคนหน่ึงไดถามมุอาวียฮฺถึง ปญหาขอหน่ึง แลวเขาไดกลาววา “จงเอาปญหาน้ีไปถามตอาลีเถิดเพราะเขาเปนคนรูกวา” ชาย คนน้ันไดกลาวอีกวา “คําตอบของทานท่ีมี่ตอปญหาน้ีเปนความพใจสําหรับฉัน ย่ิงกวาจะได คําตอบของอาล”ี มุอาวยี ะฮฺไดกลา ววา “ทานไดพูดคําทีเ่ ลวท่สี ดุ .....แนนอนย่ิงทานไดดูหมิ่นบุคคล ที่ทานรอซูลุลลอฮฺ ไดฝกฝนทางวิชาการใหอยางดีเปนพิเศษ ซึ่งแนนอนที่สุดทานเคยไดกลาวแก เขาวา “เจามิไดพอใจหรือ ตอการท่ีเจากับฉันน้ีมีตําแหนงเหมือนฮารูนท่ีมีตอมูซา นอกจากวาจะ ไมมีนบีภายหลังจากฉันแลวเทานั้นเอง” แมแตทานอุมัร เมื่อติดขัดในปญหาหนึ่งปญหาใดแลว ก็ ยงั ตองยอมรับเอาความรูมาจากเขา (137) อิมามฮากิมไดบันทึกฮาดีษบทนี้ดวยเชนกัน อยูในตอนท่ี 1 หนา 109 ุซอฺท่ี ๓ หนังสือมุสคัดร็อกแลวยืนยันวาฮาดีษบทนี้มาตรฐานศอฮี้อฺตรงตามเง่ือนไขของผูอาวุโศทั้งสอง ทานซะฮะบียก็ไดอธิบายไวอยางละเอียดในหนังสือตัลคีศของทานแลวจํากัดความไววา เปนฮาดีษ ท่ศี ฮฮ้ีฮตฺ ามเงอื่ นไขของทา นมสุ ลิม (138) หนา 107 หนังสอื “เศาะวาอิก”

นน่ั คือตอนทายสดุ ของคํากลา วของเขา(139) โดยสรุปแลวจะเห็นไดอยางชัดเจนวาฮาดีษที่วา ดวยตําแหนงและฐานะของทานอาลีบทนี้เปนฮาดีษท่ีไมเคยไดรับความสงสัยใด ๆ ในความมั่นคง ของมนั ทง้ั นโ้ี ดยมติท่ีเปน เอกฉันทแลว ของบรรดามสุ ลมท้งั หลายไมวาพวกเขาจะอยใู นลกั ษณะทม่ี ี ขอ แตกตางกันทางมัซฮบั หรือแนวทางทีแ่ ตกตา งกนั เพียงใดก็ตาม. 3.แนนอนท่ีสุดฮาดีษบทน้ีไดรับการบันทึกโดยกลุมนักปราชญที่ไดลงมติกันเปนเอกฉันท แลวในตําราศิฮาฮุสสิตตะฮฺ(140) แบะกลุมนักปราชญท่ีมีมติรวมเปนเอกฉันทของบรรดานักปราชญ เจาของตําราศอฮี้ฮฺทั้งหลาย(141) ฮาดีษบทนี้ยังมีบันทึกอยูในหนังสือศอฮี้ฮฺบุคอรี หมวดท่ีวาดวย สงครามตาบูก(142) และยังมีบันทึกอยูในหนังสือศอฮ้ีฮฺมุสลิม(143) และยังมีบันทึกอยูในหมวดที่วา ดวยเกยี รตยิ ศของสาวกแหงศาสดาในหนังสือสุนันของอิบนุมาญะฮฺ(144) และยังมีบันทึกอยูในหมวด ทว่ี า ดวยเกยี รตยิ ศของทานอาลีในหนังสือมุสตัดร็อกของทานฮากิน(145) ทานอิมามอะหฺมัด บิน ฮัน บัลก็ไดบันทึกฮาดีษบทน้ีไวในหนังสือมุสนัดของทาน ซึ่งเปนฮาดีษท่ีรายงานมาโดยทานสะอัด ดวยสายสืบท่ีมากมายหลายกระแส(146) และทานไดรายงานฮาดีษบทนี้ไวในหนังสือมุสนัดอีก เชนเดียวกนั จากฮาดีษทกุ ๆ บท (139) รายละเอยี ดของเรอื่ งนี้มีขอความที่เพ่ิมเติมอยูอีกในหนังสือเศาะวาอิก หนา 107 โดย บงช้ีวากลุมนักปราชญ ฮาดีษทั้งหลายนอกจากทานอะหฺมัดไดบันทึกฮาดีษท่ีวาดวย ตาํ แหนง บทนี้โดยสายสบื ท่ี อางไปถงึ มุอาวียะฮฺ (140) ในหมวดที่วา ดวยเกยี รติยศของทานอาลี (141) ในหมวดท่ีวาดวยความดีเดนที่ประเสริฐสุดของทานอาลี และในหมวดท่ีวาดวยสง ความตบุ ูกทกุ เลม (142) หนา 58 ซุ อทฺ ี่ ๓ (143) หนา 323 ุซอทฺ ี่ ๒ (144) หนา 28 ซุ อทฺ ี่ ๑ ตอนท่กี ลา วถึงเกียรติยศของทานอาลี (145) ในตอนแรกของหนา 109 ุซอฺท่ี ๓ และบทตอมาซ่ึงผูศึกษาสามารถทําการพิสูจน ได (146) ดูหนา 173, 175, 177, 179, 182, 185 แลวทานจะไดรับความกระจางจากหนาตาง ๆ เหลา นี้ในซุ อฺที่ ๑ ของหนังสือมสุ นดั

ที่รายงานมาจากอิบนุอับบาส(147) อัสมะอ บินต อุมัยส(148) อาบูสะอีดอัล-คุดรีย(149) มุอาวียะฮฺ บิน อาบซู ฟุ ยาน(150) และกลมุ ซอฮาบะฮฺอื่น ๆ อกี เปน จํานวนมาก ทานฎ็อบรอนียไ ดร ายงานฮาดษี บทนี้ โดยอา งจากฮาดีษทุกตอนของอัสมะฮฺ บินต อุมัยส, อุมมุสะละมะฮฺ, หุบัยส บิน ุนาดาฮฺ, อิบนุ อุมัร, อิบนุอับบาส, ญาบิร บิน สามุเราะฮฺ, ซัยด บิน อัรก็อม, บัรเราะอฺ บิน อาซิบ, อาลี บิน อาบีฎอลิบ,(151) และอื่น ๆ อีกหลายทานทานบัซซาซไดรายงานฮาดีษน้ีไวในหนังสือมุสนัดของ ทาน(152) ติรมีซียก็ไดบันทึกฮาดีษนี้ไวเชนกันในหนังสือศอฮ้ีฮฺของทาน(153) จากฮาดีษของอาบีสะ อึด อัลคุดรีย ทานอิบนุอับดุลบัรร ไดอธิบายรายละเอียดของฮาดีษนี้ไวในหมวดท่ีวาดวยเร่ืองของ ทานอาลใี นหนงั สืออลั อีสตีอาบ หลังจากน้ันทานกไ็ ดก ลาวถึงสิง่ ที่เปน ขอ สงั เกตของทานวา ฮาดีษนีเ้ ปน ผลงานทถี่ กู ตอ งดว ย ความมั่นคงและสมบูรณตามหลักฐานอยางชัดเจนซึ่งทานสะอัด บิน อาบู วักกอศ ไดนํารายงาน ฮาดีษบทนมี้ าจากทา นนบีโดยตรง แลวกลาวอีกวาฮาดีษของทานซะอัดในเร่ืองนี้มีแถลงไวมากมาย เหลือเกิน ซ่งึ ทา นอิบนุอาบู คัยสมุ ะฮและบคุ คลอ่ืน ๆ กไ็ ดก ลาวไวอยางน้เี ชนเดียวกนั ดว ย ทา นได กลา วอกี วาทานอิบนุอบั บาส, อาบูสะอดี อัลคดุ รยี , (147) ดหู นา 331 ซุ อฺท่ี 1 หนงั สอื มสุ นดั (148) ดหู นา 396, 438 ุซอฺท่ี 6 หนงั สอื มสุ นัด (149) ดหู นา 32 ซุ อทฺ ่ี 3 หนังสือมุสนัด (150) เราไดกลาวถึงเร่ืองน้ีผานไปแลวครั้งหนึ่งวาเปนขอความที่ปรากฏอยูในบาบท่ี 11 หนังสือเศาะวาอกี หนา 107 (151) ทานอิบนุฮะญัรไดระบุฮาดีษน้ีไวเปนฮาดีษหนึ่งจาก 40 ฮาดีษ ซ่ึงทานไดรวบรวม ไวในภาคที่ ๒ บาบที่ 9 หนา ๗๒ หนังสือเศาะวาอิก ทานซะยูฎีไดกลาวถึงในเรื่องราว ของทานอาลจี ากประวัตขิ อง คอลีฟะฮฺวา ทานฎ็อบรอนียไดรายงานฮาดีษบทนี้มาจากพวก เขาเหลานัน้ ทุกคนโดยเพิ่ม อัสมะอฺ บินต กัยส (152) ดังท่ีทานซะยูฎีไดระบุถึงเร่ืองนี้ไวในหมวดที่วาดวยเหตุการณตาง ๆ ของทานอาลี ในหนังสือประวัตศิ าสตรคอลีฟะฮฺ หนา 65 (153) เปนฮาดีษท่ีไดมีปรากฏอยูในหัวขอฮาดีษท่ี 2504 จากหนังสือรวบรวมกันซ หนา 152 ซุ อฺที่ 6

อมุ มุสะละมะฮ,ฺ อัสมะฮฺ บินต อุมัยส, ทานญาบีร บิน อับดุลลอฮฺ, ก็ไดรายงานฮาดีษบทน้ีคําพูด ของอิบนอุ บั ดลุ บรั ในตอนนี้ไดกลาวถึงจํานวนของบุคคลเหลาน้ีอยางยืดยาว ซ่ึงทุกคนเหลาน้ันตาง ก็ไดยืนยันถึงเรื่องการทําสงครามตาบูก จากบรรดานักฮาดีษ นักประวัติศาสตรและนักวิชาการที่ พวกเขาไดอา งถงึ ฮาดษี บทนแ้ี ละการอางอิงของทา นในทุก ๆ สวนนัน้ ลวนแตใ หความหมายท่ีสําคัญ ตอทา นอาลไี มว าจะเปนกลุมบคุ คลรนุ หน่ึงรนุ ใดทม่ี คี วามขดั แยงกันในเร่ืองแนวทางและมัซฮับของ พวกเขา และฮาดีษบทน้ีก็ยังไดถูกบันทึกไวในตําราทุก ๆ เลมที่กลาวถึงเกียรติยศของอะหฺลิลบัยตฺ และเกียรติยศของบรรดาสาวก โดยบรรดาอิมามท้ังหลายเชนทานอะหฺมัด บิน ฮํนบัล และบุคคล อื่น ๆ ทั้งปรากฎนามกอนทานหรือมาทีหลังทาน ฮาดีษนี้จึงเปนฮาดีษหน่ึงของจํานวนฮาดีษ ทัง้ หลายอนั เปนท่ถี กู ยอมรับกนั ในทุกยุคทกุ สมยั ของประชาชาติน้ี 4. ฉะนั้นจึงไมมีเงื่อนไขใด ๆ สําหรับความสงสัยของนักปราชญอามิดียในสายสืบฮาดีษ บทน้ีของเขา เพราะวาโดยแทจริงแลวเขามิไดเปนนักวิชาการฝายฮาดีษแตอยางใด วิทยปญญาของ เขาในความรูเ ก่ยี วกบั สายสืบและกระแสรายงานฮาดีษน้นั เปนวิทยปญญาทย่ี งั ไมลึกซ่ึงถึงขอเท็จจริง ทาํ นองเดยี วกันกบั บรรดาผทู ี่ไมเขา ใจฮาดษี ทงั้ หลายและเขายังคับแคบอยใู นวิชาการข้ันพื้นฐานของ ศาสนา ฉะนั้นเขาจึงไมอาจท่ีจะมาอยูในฐานะการพิจารณาเงื่อนไขท่ียากยิ่งเหลาน้ีได ท้ังนี้ เน่ืองจากความคิดเห็นของเขาผูกติดอยูกับพทนฐานของการอธิบายที่ไมอํานวยใหกับความบริสุทธ์ิ ใจเขาจึงมแี ตค วามสงสยั คลางแคลงในสายสืบของฮาดีษนี้ โดยความสงสยั ที่เกดิ ข้ึนมาจากตัวเขาเอง ซ่ึงสิ่งเหลานี้ไดเปนสิ่งท่ีเกิดขึ้นอยูเสมอ ฉะนั้นจึงเปนการหางไกลและหางไกลจากความจริงโดย ส้ินเชงิ อัล-มรุ อญอิ ะฮฺ ๒๙ 20 ซุล-ฮิจญะฮฺ ๑๓๒๙ 1. เชือ่ มั่นตามสิ่งทเี่ ราไดกลาวไปแลว ในเรื่องของสายสบื ฮาดษี 2. ความสงสัยในความหมายของฮาดีษนีว้ า ระบถุ ึงเหตกุ ารณโดยทั่วไปหรอื ไม 3. ขอ สงสยั ในหลักฐานฮาดีษดังกลา ว

1. ทุกส่ิงทุกอยางตามท่ีทานไดกลาวถึงไปแลว เกี่ยวกับความมั่นคงแข็งแรงของฮาดีษท่ีวา ดวยตําแหนง และฐานะของทานอาลีน้ัน เปนขอเท็จจริงท่ีปราศจากความคลางแคลงสงสัยใด ๆ ในเรื่องน้ีอีกแลวโดยสิ้นเชิง สวนนักปราชญ อามิดีย นั้นเขามีทัศนะท่ีผิดพลาด ในหลักฐานฮาดีษ บทน้ี อันเปนความผิดพลาดที่แสดงใหเห็นถึงความเหินหางของเขาจากวิชาการทางฮาดีษ แนนอน ท่ีสุดขาพเจาไดสรางภาระที่หนักใหแกทานดวยการกลาวถึงทัศนะของเขา ซึ่งทานก็ไดเสนอ หลักฐานตาง ๆ ของทานใหแกเราจนเปนที่กระจางชัดอยางแจมแจง และความผิดในขอน้ีเราตอง ขออภัยจากทานดวย 2. บดั นข้ี าพเจาไดรูมาแลววาฝายตรงขามกับพวกทานท้ังหลายบางกลุมน้ีนอกเหนือไปจาก อามิดียแลว ก็ยังมีความเช่ือมั่นกันอยูวา ความหมายของฮาดีษที่วาดวยฐานะและตําแหนงของทาน อาลีน้ัน มิไดระบุถึงฐานะโดยท่ัวไป หากแตวาฮาดีษบทน้ีมีความหมายเพียงเฉพาะแตบางกรณี เทานั้น และยังไดมีการแสดงหลักฐานการตีความฮาดีษโดยอางถึงเหตุการณท่ีมาของมัน เน่ืองจากวาเปนฮาดีษท่ีทานศาสดาไดกลาวแกทานอาลีเฉพาะเพียงแตในยามที่ทานไดตั้งใหทาน อาลีเปนตัวแทนดูแลนครมะดีนะฮฺ ในยามสงครามตาบูกเทาน้ัน โดยอางถึงคํากลาวท่ีทานอิมาม (อัลลอฮฺทรงปติช่ืนชมตอทาน) ไดกลาวแกทานศาสดาวา ทานจะแตงตั้งใหฉันเปนผูปกครองดูแล หมสู ตรีและเยาวชนหรือ ? แลวทานศาสนทูต (อัลลอฮฺทรงประทานความจําเริญและความสันติสุข แดทา นและแดบ รรดาลกู หลานของทา น) ไดกลา ววา “เจามิไดพ อใจดอกหรือตอ การท่ีเจากับฉันนี้มี ฐานะเชน ฮารูนกับมูซา เพียงแตวา จะไมมนี บีภายหลงั จากฉนั แลว เทานั้นเอง” ถอยคําดังกลาวนี้คลายกับวาทานศาสนทูต (อัลลอฮฺทรงประทานความจําเริญและความ สันติสุขแดทานและแดบรรดาลูกหลานของทาน) มีความประสงคที่จะใหทานอาลีกับทานอยูใน ฐานะของฮารูนที่มีตอมูซาเชนการท่ีทานนบีมูซาไดแตงต้ังใหนบีฮารูนอยูดูแลพรรคพวกของทาน ในตอนที่ทา นเดนิ ทางไปยังภูเขาฎร ดงั นั้นใจความของประโยคน้ันก็เทา กบั วาเธอยูในฐานะของฉัน เฉพาะแตใ นยามสงครามตาบูกเหมือนกับฐานะของฮารูนทมี่ ตี อมูซา ในยามที่ทา นไดป ลีกตนไปเฝา พระผูอ ภิบาลของทา นเทาน้นั เอง 3.บางครั้งพวกเขาเหลา นนั้ ไดกลา ววา “ฮาดีษนมี้ ิไดเ ปนหลักฐานทจี่ ะบง ช้ีในเร่ืองใดเลย ท่ี จะระบุวาฐานะของทานอาลีน้ันไดรับการเกี่ยวของกับเหตุการณท่ัว ๆ ไป ทั้งน้ีก็เน่ืองจากวาฮาดีษ บทน้ีเปนฮาดีษท่ีถูกจํากัดมาเฉพาะแตเหตุการณหนึ่งเทาน้ัน และโดยทั่วไปแลวส่ิงที่ถูกจํากัด ขอบเขตไวอ ยางเฉพาะเชน นย้ี อมไมม ีขอ พสิ ูจนใด ๆ ทเ่ี หลอื ไวเพอ่ื การพจิ ารณาได

อัล-มุรอญิอะฮฺ 30 ‘ 22 ซลุ -ฮิจญะฮฺ ๑๓๒๙ 1. ผสู ันทดั ในหลกั ภาษาตอ งตระหนักวา เปน ฮาดษี ที่มใี จความกลาวถึงเหตุการณโดยทั่ว ๆ ไป 2. คํากลาวที่วา ฮาดษี นี้มคี วามหมายระบุถึงเหตุการณเฉพาะนนั้ เปน ความผดิ พลาด 3. คาํ กลา วใด ๆ ทลี่ บลางหลักฐานของฮาดษี น้ียอ มถอื วา เปน โมฆะ 1. เราขอมอบหมายการตอบคํากลาวหาของผูท่ีไมยอมรับในความหมายโดยทั่วไปที่ กลาวถึงฮาดีษนี้ ไปยังนักศึกษาและผูรอบรูในหลักภาษาอาหรับซ่ึงทานเองก็เปนผูทรงคุณวุฒิของ ภาษาอาหรับคนหนึ่ง ทานยอมไมปฏิเสธและผลักไส ฉะน้ันกลุมผูทรงคุณวุฒิของทานในทาง ภาษามคี วามคิดเห็นเกีย่ วกบั การตคี วามถึงตําแหนงและฐานะโดยท่วั ไปของทานอาลีจากความหมาย ของฮาดีษบทนี้ดวยหรือ ? และอะไรท่ียังซอนเรนความหมายที่ชัดเจนเหลาน้ีอยู ? เปลาเลยโดย ฐานะแหงคุณวุฒิอยางทานยอมที่จะตีความไดทันทีวา เปนเหตุการณท่ีกลาวถึงโดยทั่วไป เพราะ เปน ประโยคที่ใชส รรพนามท่ีประกอบขึ้นอยางสมดุล ซ่ึงยืนยันถึงความจริงขอน้ีท้ังหมด ดังนั้นถา หากวาทานไดกลาวแกขาพเจาวา “ฉันไดมอบหมายใหทานใชอํานาจของฉันเก่ียวกับการงานชิ้น หน่ึงชิ้นใดแลวไซร จะเปนไปไดหรือที่ขาพเจาจะใชอํานาจตามคําส่ังของทาน ในการทํางานช้ินน้ี เฉพาะเพยี งบางสว นของงานเทา น้ัน ? หรอื วาจะตอ งดาํ เนนิ การอยา งสมบรู ณจ นทั่วถึงกับงานตาง ๆ เหลา น้ันทั้งหมดจงึ จะถอื ไดวาเปน ผูยดึ มน่ั ตามคาํ ส่ังนน้ั อยางแทจ รงิ ?” ขอใหอัลลอฮฺทรงคุมครองตอการที่ทานจะมีทัศนะเห็นวาเหตุการณเชนนี้ มิไดมีสวน เก่ียวของกับการณีทั่ว ๆ ไป และขอใหอัลลอฮฺทรงคุมครองตอการที่ทัศนะเชนนั้นไดตีความ หลักฐานฮาดีษไปสูความผิดพลาด และถาหากวาผูปกครองประชาคมมุสลิมท้ังหลายไดกลาวแก สหายของเขา คนหนึ่ง วา “ฉันขอแตงตั้งใหทานใชอํานาจของฉันแกประชาชน หรือใหทานอยูใน ตําแหนงขอฉันตอพวกเขาเหลานั้น” คํากลาวเชนน้ี จะสามารถตีกควาใหรับกันกับสติปญญาได หรือวามิใชเปนคําสั่งท่ีเก่ียวของกับเหตุการณโดยท่ัวไป ? และถึงแมวาผูน้ันจะถูกบัญชาใหทําการ ปกครอง โดยเฉพาะเพียงบางสวนของภาระหนา ที่ท้งั หลาย เขาก็ไมค วรที่จะเปนอยางอน่ื นอกจาก

การเปน คอลีฟะฮใฺ ชหรือไม ? และถาหากวาผปู กครองไดก ลาวแกผูร วมภารกิจของเขาสักคนหนึ่งวา “หนาที่ของทานในสมัยของฉันนค้ี ือใหอ ยูในฐานะเชน อุมัรมีฐานะในสมัยของอาบูบักรฺ เวนแตวา แทจริงทา นนั้นหาไดเปน สาวกของฉนั ไม” จากขอความที่เปรียบเทียบข้ึนเหลาน้ี ดวยทัศนะของผูท่ีมีความเช่ียวชาญในทางภาษา อาหรบั แลว จะเหน็ วาเปนคาํ สง่ั ท่ีมเี งือ่ นไข เฉพาะในเหตกุ ารณหน่ึง ๆ เพียงบางสวนเทานั้น หรือ วา มีความหมายรวมไปถึงเหตุการณทัว่ ๆ ไปดวย ? ดวยพระนามของอัลลอฮฺ ทานยอมจะมอไมเห็นแงของความหมายอันน้ีท่ีจะตีความไป ในทางอ่ืนได นอกจากวา จะตองเปนความหมายท่ีกินความถึงเหตุการณโดยทั่วไปและขาพเจามี ความม่ันใจในตัวทานวา จะตองมีความเห็นวา ในถอยคําของทานศาสนทูต (ขออัลลอฮฺทรง ประทานความจําเริญและความสันติสุขแดทานและแดบรรดาลูกหลานของทาน) นั้น จะตองเปน คํากลาวทีม่ ีความหมายถงึ ฐานะโดยตลอดไปของทานอาลี ตามที่ทานศาสนทูตไดกลาววา “เธอกับ ฉันอยูในฐานะของฮารูนท่ีมีกับมูซา” โดยอาศัยการเปรียบเทียบใจความของถอยคําดังกลาวนี้ กับ หลักวิชาทางดานภาษาอาหรับกจ็ ะเห็นไดวา ความหมายทนี่ อกเหนือจากการยกยองของทา นศาสดา แลวแนนอนท่ีสุดฮาดีษน้ียังชี้ใหเห็นวาทานไดระบุอยางชนิดท่ีเห็นไดอยางชัดเจนวา เปนคําสั่งที่ กลาวถึงเหตุการณืโดยท่ัวไป วิชาการทางดานภาษาอาหรับนั้น เปนสิ่งที่อยูกับตัวของทานอยูแลว ฉะนน้ั ขอใหทานไดพ จิ ารณาเร่ืองนีก้ บั หลักวชิ าอนั น้ันดเู ถิด 2. สําหรับคํากลาวของฝายตรงขามวาแทจริงฮาดีษบทนี้เปนฮาดีษท่ีมีใจความบงชี้ถึงเหตุ เฉพาะกลางเทา นนั้ สาํ หรับปญ หาน้ีขอใหท าํ การพจิ ารณาดว ยหลกั สองประการ คือ.... ประการที่หน่ึง ดวยเหตุที่วาแทจริงฮาดาบทน้ีมีความหมายอยูในตัวอยางชัดเจนดังท่ีทาน เองก็ทราบดีอยูแลววา เปนฮาดีษท่ีมีความหมายถึงเหตุการณทั่วไปโดยตลอด ดังน้ันสําหรับ ความหมายของฮาดีษบทนี้ ถาหากเราจะยอมรับวาเปนฮาดีษท่ีมีเนื้อหาจํากัดเฉพาะเพียงกรณีหน่ึง ใด โดยไมยอมรับวาเปนฮาดีษที่มีเน้ือหาระบุถึงเรื่องราวที่จะตองเปนไปโดยตลอด ทั้ง ๆ ที่ ใจความของฮาดีษท้ังหมดมิไดเปนใจความที่บงช้ีถึงเหตุเฉพาะกาลเลย ตามที่รูปประโยคไดผูกข้ึน อยา งสมั พันธอยใู นมูลฐานของมนั เอง กข็ อใหทานไดสังเกตดวยวาหากทานไดเห็นคนมีุนุบ (ผูท่ี ยงั มิไดอ าบนํา้ ตามศาสนบัญญัติหลงั จากรว มประเวณีหรือสตรีที่มีประจําเดือน) สัมผัสจับตองกับอา ยะฮฺกุรสีย แนนอนทานจะตองกลาวแกเขาวา “ผูมีฮะดัษ (ผูมีุนุบ) จับตองสัมผัสโองการ ทั้งหลายของอัล-กุรอานมิได” จะเปนไปไดหรือที่วาคําพูดคํานี้จะมีใจความระบุถึงวรรคหนึ่งวรรค

ใดโดยเฉพาะ? หรือวามีใจความรวมถึงวรรคอ่ืน ๆ โดยท่ัว ๆ ไปของโองการแหงอัล- กุรอาน ท้ังหมดและสําหรับผูมีฮะดัษทุก ๆ คนดวย? ขาพเจาไมสงสัยเลยวาจะมีบุคคลใดท่ีเขายังเขาใจวา คําสั่งน้ีมีความหมายเฉพาะเพียงแกผูมีุนุบผูน้ันโดยเฉพาะที่เขาจะสัมผัสจับตองเฉาพะแตอายะฮฺ กรุ สียเ ทาน้นั และถาหากวานายแพทยเหน็ คนปว ยกนิ ลูกอนิ ทรผลมั แลวเขาไดห ารมผูปว ยคนนันมิ ใหกินของหวานจะเปนไปไดหรือที่ผูมีความรูในทางภาษาจะพิจารณาวาความหมายของประโยค เชนน้ีมคี วามหมายเพยี งเฉาพะสัมหรบั อนิ ทผลมั เม็ดนัน้ ? หรือวา เขาจะตอ งมีความเขา ใจโดยปรยิ าย วา จะตอ งหมายถึงของหวานทกุ ๆ ชนิด ? โดยทว่ั ไปอีกดวย ? ดวยพระนามของอลั ลอฮฺ ขา พเจาเหน็ วา คงจะไมม ีบคุ คลใดทเี่ ขากลาวประโยคน้ีโดยมคี วาม หายที่จะใหตีควาไปวาความหมายของเขาท่ีพูดไปน้ันขึ้นอยูกับเรื่องราวหน่ึง ๆ โดยเฉพาะเจาะจง เทานั้นเพราะเหตุวาเปนความหมายที่อยูหางไกลกันเหลือเกินจากพ้ืนฐานในรูปประโยคเปนความ เขาใจท่ีหางไกลจากหลักเกณฑทางดานภาษาศาสตร เปนการหางไกลอยางส้ินเชิงจากหลักวิชา ทางดานไวยกรณของภาษา เปนการหางไกลอยางสุดเหลือประมาณจากภาษาทุก ๆ ภาษาแหงโลก ของเรา เพราะฉะนั้นก็เปนเรื่องทํานองเดียวกันกับการกลาวถึงฮาดีษที่วาดวยตําแหนงและฐานะ ของทานอาลีวามีความหายที่ข้ึนอยูกับเหตุการณท่ีเฉพาะแตเพียงในสงครามตะบูกเทานั้น ซึ่งความ เขา ใจเชน น้ีก็ไมแ ตกตา งอะไรกับความเขาใจผดิ ในขอเปรียบเทยี บของประโยคดังทีไ่ ดก ลาวมาแลว ประการท่ีสอง แทจริงฮาดีษบทนี้ ความหายของมันมิไดถูกจํากัดวาทานอาลีมีฐานะ ปกครองเมอื งมะดีนะฮใฺ นยามสงครามตะบูกโดยเฉพาะเพยี งเหตุการณเดยี วตามทีท่ ศั นะของฝายตรง ขามเขามีความเชื่อถืออยางน้ัน โดยหลักฐานที่ถูกตองอยางแนชัดของเราซึ่งขึ้นอยูกับสายสืบท่ี สอดคลองตองกันมาจากบรรดาอิมามผูสืบเชื้อสายท่ีบริสุทธ์ิตางก็ไดยืนยันถึงเน้ือหาสาระท่ีสําคัญ ของฮารดีษบทน้ีไวเปนรายละเอียดอีกแขนงหน่ึงดวย ฉะน้ันผูคนควาเพื่อหาคําอธิบายตลอดจนถึง นักปราชญทยี่ ึดม่นั อยูกบั ตํารบั ตําราของฝา ยอะฮลฺ ุซซนุ นะฮฺควรท่ีจะไดยอ นกลบั ไปพิจารณามันบาง แลวจะไดเห็นความจริงในเร่ืองน้ีประจักษชัดข้ึน ดังเชนผูที่เขาไดติดตามศึกษาคนควาไดรูไปแลว ฉะนั้นถอยคําของผูท่ีปฏิเสธความหมายของฮาดีษบทน้ี ซ่ึงดึงเน้ือหาฮาดีษบทนี้มาทําการตีความ เพื่อแสดงใหเห็นวาฐานะของทานอาลีนั้นมีเฉพาะแตเพียงในเหตุการณสงครามตาบูก จึงเปนการ ตีความที่ไมสามารถบรรลุผลถึงขอพิสูจนอันควรแกการรับฟงได โดยท่ีไมมีขอแมใด ๆ เวนไว สาํ หรับความสงสัยอีกเลย

3. สําหรับคํากลาวของพวกเขาเหลานั้นท่ีวาฮาดีษบทน้ีมีความหมายเพียงเฉพาะแตใน เหตุการณหน่ึงน้ันยอมไมเปนมูลฐานทีจ่ ะเหลือไวสาํ หรบั การพิจารณาใด ๆ อกี เลย เพราะเปนความ เขา ใจผดิ อยา งชัดแจง เปนความผิดพลาดอยางเห็นไดชัด ฉะนั้นใครก็ตามท่ีเขากลาวหาโดยตีความ ฮาดีษน้ี อยางเชนทีไ่ ดอางไปแลวนั้น,ยอมเปนบคุ คลทก่ี ระทําการอยา งมุทะลุ,ซึง่ การกระทําเชนนั้น, เทา กับเขาไดดําเนินทัศะไปทามกลางความเลือนราง,เปรียบประประดุจการอาศัยยานพาหนะหน่ึงท่ี ขับข่ีไปในความมืดมิดของกลางคืน เราขอความคุมครองจากอัลลอฮฺใหพนจากความโงเขลาเบา ปญ ญา,และขอสรรเสริญตอ พระองคสาํ หรบั ความเออื้ เฟอทพ่ี ระองคท รงประทานใหแ กเรา แนนอน ท่ีสุดรายละเอียดท่ีลึกซึ้งเปนพิเศษท่ีกลาวกันไดโดยท่ัว ๆ ไป ซ่ึงเปนขอพิสูจนท่ีเขากันไดกับ สตปิ ญญานั้น,ยงั มิไดน ําออกมาแถลงเพ่ือใหหมดความสงสัยเพราะจะเปนการยืดเย้ือโดยใชเหตุ แต ขอใหไดสังเกตขอความตาง ๆ ตามท่ีระบุไวในเร่ืองราวของเราอีกประการหน่ึง นั้นก็คือถาสมมุติ วาเจา นายคนหน่งึ ไดกลาวแกค นใชข องเขาวา “ทุก ๆ คนท่ีทาํ งานใหฉันทัง้ หมด ในวันน้ีฉันขอให เกียรติแกเขาทุกคนยกเวน ซัยต” ฉะนั้นเปนอันวาลูกจางทุกคนยอมไดรับการใหเกียรติอยางดี ยกเวนแตซัยดเพียงคนเดียว อันเนื่องมาจากเขาเปนคนที่ขัดขืนคําส่ังของนายจางซ่ึงคนทั้งหลายท่ีมี สติสัมปชัญญะยอมสามารถท่ีจะยอมรูไดวาเขาเปนคนมีความผิดที่ควรจะไดรับการตัดสินที่เขากับ เหตุผลทางสติปญญาและหลัการที่ถูกตองวาผูฝาฝนจะตองไดรรับบทลงโทษและบทลงโทษน้ัน ๆ ก็จะตองเปน ไปตามขอบเขตแหงความประพฤติของเขาเองในกรณีความผิดนั้น ๆ น่ีคือการตัดสินท่ี ชอบดว ยสตปิ ญญาตลอดจนถงึ หลกั การ ไมมีใครแมแตสังคนเดียวในหมูของผูท่ีมีสติสัมปชัญญะท่ี จะมองไปยังขอแมของเขาวาขอแมอันนี้เปนเหตุการณท่ีเฉพาะสําหรับกรณีหนึ่ง แตทวาขอแมของ เขาที่ไดประพฤติโดยตลอดมานั้นไดเปนท่ีประจักษดีแกบรรดาพรรคพวกท้ังหลายท่ีแสดงความ รงั เกียจตอ ความประพฤตทิ ี่ผิด ๆ ของเขา ฉะน้ันจึงไมมีเหตุผลอ่ืนใดอีกแลวนอกจากทางเดียวเทาน้ันที่แสดงออกไดอยางชัดเจนวา เรื่องนี้เปนเหตุการณท่ีจะตองกินความหมายโดยทั่ว ๆ ไป มิใชเปนขอแมท่ีบงในลักษณะของเหตุ เฉพาะกาลเลยโดยไมต องสงสยั และทา นเองก็ไดทราบดีกันอยแู ลววา แทจ ริงการดําเนินชีวิตของบรรดาสมุสลิมและบุคคล อื่น ๆ น้ันลวนแตดําเนินกันไปตามหลักฐานตาง ๆ ที่มีลักษณะบงชี้ถึงเหตุการณโดยท่ัว ๆ ไปเปน พิเศษอยูแลว แมตบรรพชนไมวาในยุคสมัยของศอฮาบะฮฺ ตาบิอึนเขาก็ไดดําเนินชีวิตกันไปใน ลักษณะท่ีถือกันวาฮาดีษบทน้ีเปนหลักฐานที่บงชี้ในลักษณะท่ีกลาวถึงเหตุการณท่ัว ๆ ไป เชนกัน

แมแตบรรดาสานุศิษยของเหลาตาบิอึน ตลอดจนถึงบรรดาผูที่ปฏิบัติตามพวกเขาเหลานั้นตราบ จนถึงปจจุบันนี้ก็ยังยึดมั่นตอทัศนะเชนนี้โดยดีกันมาตลอด ยอมเปนท่ีแนนอนเหลือเกินสําหรับ ทัศนะของบุคคลตาง ๆ ไมวาจะเปนบรรดาอิมามแหงอะหฺลุลบัยตฺ ตลอดจนถึงบรรดาอิมามผูนํา ของประชาชาติมุสลมิ ทัง้ มวลก็ตาม และสิ่งเหลานี้เปนสิ่งท่ีไมมีขอแมใด ๆ ที่จะมีไวสําหรับความสงสัยในเรื่องนั้นอีก หวังวา คงเปนท่ีเพียงพอใหแกทานเกี่ยวกับหลักฐานของฮาดีษบทนี้ท่ีจะพอเปนขอพิสูจนช้ีไดอยางชัดเจน วา เปนเหตุผลท่จี ะตอ งยอมรบั กนั ถงึ ความหมายท่บี งบอกถึงเหตุการณโดยทั่ว ๆ ไป ทัศนะดังกลาว มิใชวาจะมิไดเปนขอพิสูจนอยางชัดเจนโดยบรรดาอิมามท้ังสี่มัซฮับ ตลอดจนถึงเหลานักปราชญ อ่ืน ๆ ผูรอบรูตอประตูแหงวิชาการรูหลักเกณฑบทบัญญัติเง่ือนไขรายละเอียดตาง ๆ ทุกทาน เหลาน้นั ตางก็ไดบงชถ้ี ึงหลกั ฐานที่แสดงไวเกีย่ วกับเร่อื งน้อี ยางตอเนอื่ ง ดังน้ัน ถาหากวาไดถือหลักการปฏิบัติตามวิชาการท่ีไดกลาวโดยทั่วไปตามขางตนแลวนี้ก็ สามารถท่ีจะเขาใจปญหาได แตทวาการตีความที่จํากัดเพื่อเหตุการณหน่ึงโดยเฉพาะเทานั้น เปน การผิดพลาดทต่ี องตกอยกู บั ความมืดมน และเม่ือน้ันประตูแหงวิชาการตาง ๆ ก็จะถูกปดทันที เรา ขอความคมุ ครองจากอัลลอฮฺไวด วย วัสลาม (ช) อลั -มรุ อญิอะฮฺ ๓๑ 22 ซุล-ฮจิ ญะฮฺ ๑๓๒๙ • ตองการท่จี ะไดพิสูจนกับใจความโดยละเอยี ดของฮาดษี ททน้ี ทานยังมิไดอางถึงเหตุการณโดยละเอียดอันเปนที่มาแหงฮาดีษนี้ในประเด็นที่นอกเหนือจาก การทําสงครามตะบูก ขาพเจามีความปรารถนาอยางแรงกลาในอันที่จะรูเรื่องราวตาง ๆ ท้ังหมด

(ในกรณีทีท่ า นศาสนทูตไดแตง ตง้ั ใหทา นอาลีอยูในฐานะ เชน ฮารูน) ทานพอท่ีจะอํานวยประมวล หลักฐานตา ง ๆ เก่ียวกบั เรอื่ งเหลานนั้ ใหแกข าพเจาโดยละเอยี ดไดหรือไม วสั ลาม (ช) อลั -มรุ อญิอะฮฺ 32 24 ซุล-ฮจิ ญะฮฺ 1329 1. เรอ่ื งราวบางประการที่เกิดขึ้นเมอ่ื ตอนท่ที านศาสนทตู ไปเยีย่ มอุมมุซาลิม 2. เร่อื งราวของ บินต ฮมั ซะฮฺ 3. ตอนที่ทานศาสนทูตเอนกายทบั ลงบนตัวของทา นอาลเี มอ่ื ออ นเพลีย 4. การประกาศความเปน พี่นอ งในครงั้ ทีห่ นึ่ง 5. การประกาศควมเปนพน่ี อ งในครัง้ ท่ีสอง 6. การปด ประตูทั้งหลาย 7. ทานนบีไยกยองวาทานอาลี และทานนบีฮรูนน้ันเปนเสมือนฟรกอดัยน (ดาวดวงที่อยู ตรงบริเวณขัง้ โลกเหนือซ่งึ เปนทส่ี งั เกตของชาวเรือ) 1.เรื่องราวบางประการในวันที่ทานศาสนทูต (อัลลอฮฺทรงประทานความจําเริญและความ สันติแดทานและแตบรรดาลูกหลานของทาน) ไดกลาวแกอุมมุซาลิม(154) ผูซ่ึงไดทําการผละจาก การนบั ถอื ศาสนาอนื่ มาเขา (154) ทา นหญิงผนู ี้ เปนบตุ รสาวของมิลฮาน บิน คอลิด อัล-อันศอรียและเปนนองสาวของ ฮะรอมบิน มิลฮาน บิดาของทานและพ่ีชายของทานไดเสียชีวิตโดยการพลีชีพเมื่อเขาทํา สงครามรับอิสลาม และทานผูน้ีอยูในตําแหนงสตรีคนสําคัญคนหน่ึงที่ทานศษสนทูต (อัลลอฮฺทรงประทานความจําเริญและความสันติสุขแดทานและแดบรรดาลูกหลานของ ทา น) ไดใหเกียรติเพราะการเปนกลุมบุคคลรุนแรกท่ีไดเขามาสวามิภักดิ์ตอศาสนาอิสลาม ดวยความบริสุทธ์ิใจ ความซาบซึ้งใจและมีความอดทนอยางดีเยี่ยมตอภัยพิบัติตาง ๆ ที่ ทานหญิงไดประสบคร้ังหนึ่งทานนบีไดเคยไปเยี่ยมเยียนและสนทนากับทานหญิงในบาน ของทาน ทานเคยไดกลาวกับทานหญิงผูนี้ประโยคหน่ึงวา “อุมมุซาลิมเอย แทจริงอาลี

นั้นเนื้อของเขาคือเน้ือของฉัน และเลือดของพรอมกับทานศษสนทูต (ศ) ทานหญิงเปน สภุ าพสตรีท่มี ีเกียรตยิ ศและมสี ติปญ ญาสูงยิง่ คนหนึ่ง ทา นไดจ ดจาํ ฮาดีษตาง ๆ จากทา นศษ สนทตู (ศ) ไวเ ปนจาํ นวนมาก นอกจานี้บตุ รของทา นผูหนงึ่ คอื อานสั ก็ไดเ รียนรฮู าดษี ตา ง ๆ จากทานหญิงดวย ท้ังนี้รวมถึงทานอิบนุ อับบาส ทานซัยต บิน ษาบิต อาบูสะลามะฮฺ บน อับคุรเราะมาน และบุคคลอื่น ๆ ที่เปนกลุมบุคคลผูซึ่งอยูในกลุมของศาสนิกอ่ืนมา กอน และตอมาก็ไดเขารับนับถือศาสนาอิสลาม เมื่อครั้งท่ีทานหญิงยังอยูในสังคมของ ชาวญาฮีลียะฮฺน้ันทานเปนภรรยาของมาลิก บิน นัฎร โดยไดใหกําเนินบุตรชายคนหน่ึงคือ ทานอานัส บิน มาลิก ครั้งเม่ืออัลลอฮฺไดเปดโอกาสใหแกศาสนาอิสลาม ทานหญิงก็ได เปนคนหนึ่งในกลุมบุคคลรุนแรกท่ีไดใหการยอมรับโดยผลันทานหญิงไดเคยเชิญชวนให มาลิก สามีของทานไดยอมรับตอลัลลอฮฺและศาสนทูตของพระองค แตแลวเขาก็ได ปฏิเสธไมยอมรับ ดังน้ันทานหญิงจึงจําเปนตองหยารางกับเขา สวนมาลิกก็ไดมุงออกไป ยังซีเรียดวยความโกรธ แลวเขาไดถึงแกกรรมที่น่ันในสภาพกาฟร ทานหญิงไดอบรมส่ัง สอนบุตรของทานที่ช่ือ อานัส ซึ่งในขณะนั้นทานยังเปนเด็กอายุเพียงสิบขวบ ทานหญิง จึงมอบใหไปทําการรับใชทานศษสนทูต (ศ) ดังนั้นทานศาสนทูตก็ไดใหการรับรองโดย การใหเกียรติแดทานหญิง และไดสั่งสอนใหทานหญิงไดรูถึงจริยธรรมตาง ๆ ของชาว อาหรับ ซง่ึ ตอนหนึ่งทานหญิงไดกลา ววา “ขา พเจา จะไมแตงงานจนกวาอานัส จะบรรลุวัย เขาสูร ะดับความเปน ผูใหญท ่รี จู ักรบั ผดิ ของตวั เอง” ทานอานัสจึงไดกลาววา “ขอใหอัลลอ ฮฺทรงประทานการตอบแทนท่ีดีที่สุดใหแกมารดาของขาพระองคดวยเถิดผูซึ่งไดชุบเลี้ยง ดูแล รักษาขาพระองคอยางดีที่สุด” นอกจากนี้ยังเปนท่ียอมรับกันถึงคุณสมบัติของทาน หญิงอีกวา เม่ือครั้งที่อาบูฏ็อลฮะฮฺ อัล-อันศอรียยังเปนการฟรอยูน้ันเขาเคยไดสูขอทาน หญิงผูนี้มาแลวคร้ังหนึ่ง แตทานหญิงก็ไดปฏิเสธไมยอมแตงงานดวย ฉะน้ันเขาจึงเขา ยอมรับอิสลามตามคําเรียกรองเชิญชวนของทานหญิง และทานก็ไดประจักษแกตัวเองวา อาบูฏ็อลฮะฮฺไดเขารับนับถือศาสนาอิสลามจริง ทานหญิงจึงยินยอมแตงงานดวย อาบฏู อ ลฮะฮฺกบั เขาก็คือเลือดของฉัน เขากับฉันอยูในฐานะเชนฮารูนท่ีมีตอมูซา(155) ยอมไมมีสิ่งใดท่ีซอนเรนจาก ความรูของทานไดวาแทจริงฮาดีษบทน้ีเปนถอยคําท่ีกลาวข้ึนมาโดยทานศาสนทูต (อัลลอฮฺทรง

ประทานความจําเริญและความสันติสุขแดทานและแดบรรดาลูกหลานของทาน) โดยท่ีมิไดมี จุดมุงหมายเพ่ือสาเหตุอ่ืนใดเลยนอกจากเพื่อเปนการประกาศ และแจงใหทราบเพื่ออัลลอฮฺผูทรง สูงสุดในการขยายความใหแจมชัดในเรื่องฐานะตําแหนงของผูปกครองในยุคสมัยของทาน และ เปนผูที่จะมาดํารงตําแหนงในสถานภาพท่ีทานไดบงชี้ไวหลังจากทาน ฉะนั้นจึงเปนไปไมไดที่ ถอ ยคาํ ดงั กลาวนจี้ ะมีความหมายจาํ กัดอยู ทานหญิงผูน้ีไดมีบุตรดวยกันคนหนึ่งซ่ึงตอมาเขาไดปวยและเสียชีวิตลงทานหญิงไดกลาว ข้ึนวาขออยาใหใครไดบอกเลาเรื่องการตายของลูกคนนี้ใหบิดาเขาฟงกอนฉัน” ตอมาคร้ัง เมอื่ อาบฏู ็อลฮะฮฺไดมาถงึ แลว ไดไ ตถ ามถึงบุตรของตน ทานหญงิ ก็ไดกลาววา “เขาอยูในที่ ท่ีเขาอยู” ดังนั้นอาบูฏ็อลฮะฮฺจึงคิดวาลูกของตนนอนหลับและแลวนางก็ไดไปหาอาหาร นํามาใหผูเปนสามีรับประสานจนอื่นหนํา เสร็จแลวก็ไดตกแตงประดับประดาและ ประพรมน้ําหอมใหแกเขา เขาก็ไดหลับนอนรวมกับนาง จนกระท่ังเมื่อถึงตอนเชาตรูนาง ไดกลาวแกเ ขาวา “บุตรของทานไดเ สยี ชีวติ แลว” ดังนน้ั ทา นอาบูฏ็อลฮะฮกฺ ไ ดนําเรอ่ื งเราว เหลานี้ของนางไปบอกแกรานรอซูลุลลอฮฺ ซ่ึงทานไดกลาวชมเชยวา “อัลลอฮฺทรง ประทานความจําเริญใหแกทานท้ังสองในคืนท่ีผานไปน้ีทานหญิงไดกวาววา “ทานรอซู ลุลลอฮฺไดออนวอนขอพรจากอัลลอฮฺใหแกฉัน” จนตอมาในคืนน้ันเองทานหญิงก็ไดต้ัง ครรภบตุ รอกี คนหน่งึ คืออบั ดุลลอฮฺ บิน อาบีฏ็อลฮะฮฺ ซ่ึงเปนสิ่งที่อัลลอฮฺไดทรงประทาน ความจําเริญย่ิงใหแกเขา และตอมาเขาก็ไดเปนบิดาของอิสฮาก บิน อับดุลลอฮฺ บิน อา บีฏอ็ ลฮะฮฺ ผูปราดเปร่ืองพ่ีนองของเขาทั้งหมดมีดวยกันสิบคน ซ่ึงแตละคนตางก็มีความรู ปราดเปรื่อง ทานหญงิ อุมมุซาลิมไดออกสงครามรวมกันกับทานศาสนทูตในสงครามอุหุด ทานหญิงไดถือกริชไวกับมือโดยไดตอสูห้ําห่ันกับชาวมุชริกีนที่เขามาตอสูกับทาน ทาน หญิงเปนกุลสตรีท่ีมีความอดทนอยางลํ้าเลิศในอิสลาม และไมเคยปรากฏใหเปนท่ีรูวายังมี สตรีคนอ่ืนนอกเหนือจากนางท่ีทานศาสดาถึงกับไปเยี่ยมเยี่ยนท่ีบานอยางใหเกียรติเชนน้ี ทานหญิงผูน้ีเปนบุคคลที่ใหความสําคัญเปนพิเศษกับเรื่องราวตาง ๆ ของเชื้อสายทาน ศาสดา และเปนผรู อบรูในสิทธติ าง ๆ ของบรรดาอมิ ามเหลา น้นั (155) ฮาดิษน้ีเปนฮาดิษที่ ๒๕๕๔ จากหนังสือรวบรวมฮาดีษกันซ หนา 154 ุซอฺท่ี 6 และมีในตอนทา ย ๆ ของหนา ๓๑ ุซอทฺ ่ี ๕ หนังสือมุสนดั ของทา นอะหฺมัด

เฉพาะแตเพียงในเรอ่ื งการทาํ สงครามตาบูก 2. ทํานองเดียวกันน้ีก็ยังมีฮาดีษที่สําคัญซ่ึงเกิดขึ้นเมื่อคร้ังท่ีมีกรณีพิพาทกันระหวาง บินต ฮัมซะฮฺ ที่ไดถกเถียงกันกับนางโดยทานอาลี ทานญะอฺฟรและทานซัยด ซ่ึงทานรอซูลุลลอฮฺ (อัลลอฮฺทรงประทานความจําเริญและความสันติสุขแดทานและแดบรรดาลูกหลานของทาน) ได กลา ววา “โออ าลีเจากบั ฉนั อยูในฐานะของฮารนู ”(156) 3. ทํานองเดียวกันนี้ยังมีอีกฮาดีษหน่ึงซ่ึงเปนเร่ืองราวท่ีปรากฏข้ึนตอหนาอาบูบักรฺ ทาน อุมัร ทานอาบูอุบัยดะฮฺ บิน ญะรออฺ ขณะที่ทุกคนอยูกับทานนบี (ศ) ซ่ึงขณะน้ันทานไดเอนกาย นอนพักบนตักของทานอาลี ทานไดเอามือของทานวางบนตัวของทานอาลีแลวกลาววา “อาลีเอย เจาเปนคนแรกของบรรดาผูศรัทธาที่มีความศรัทธาและเปนคนแรกในหมูพวกเขาท่ีเขารับอิสลาม และเจา กับฉันนีม้ ฐี านะเชน ฮารูนกับมูซา”(157) 4. และยังมีรายงานฮาดีษที่สําคัญอีกจํานวนหนึ่งซ่ึงดปรากฏขึ้นในวันประกาศความเปนพ่ี นองที่มีความสัมพันธกันอยางแนบแนนคร้ังท่ีหนึ่ง นั้นก็คือเหตุการณที่ปรากฏข้ึนในเมืองมักกะฮฺ กอนการอพยพ ทานรอซูลุลลอฮฺ (อัลลอฮฺทรงประทานความสันติสุขและความจําเริญแดทานและ แดบรรดาลูกหลานของทาน) ไดประกาศความเปนพ่ีนองของทานกับทานอาลีระหวางกลุมชาวผู อพยพโดยเฉพาะ 5. และเหตุการณในวันประกาศความเปนพี่นองครั้งท่ีสองซึ่งไดเกิดข้ึนในนครมะดีนฮฺ หลังจากไดทําการอพยพแลวเปนเวลา 5 เดือน ณ ที่น้ันทานศาสนทูตไดประกาศความเปนพ่ีนอง ขน้ึ (156) รายงานโดยทานอิมามนะสาอีย หนา 19 หนงั สือเคาะศออิศ อุลุวยี ะฮฺ (157) รายงานโดยทานฮาซัน บิน บัตร และทานฮากิม ในหนังสือกัลปมียาต และทาน ชัยรอซีย ในหังสืออัลกอบ ุซอฺท่ี 6 ทานอิบนุนัจญารก็ไดบันทึกไวดวย เปนฮาดีษที่ 6029 และ 6032 จากหนังสือรวบฮาดษี กนั ซ หนา 395 ระหวางบรรดาผูอพยพ (มุฮาญิรีน) กับบรรดาผูใหการอนุเคราะหชวยเหลือ (อันศอร) ซึ่งใน เหตุการณท้ังสองครั้งนี้ทานศาสนทูตไดเลือกเอาทานอาลีไวเปนพี่นองสําหรับตัวของทาน โดยท่ี ทานมิไดเลือกบุคคลอื่น ๆ มาเปนพ่ีนองของทานเลย(158) เปนการใหเกียรติอยางที่บุคคลอื่นไมมี โอกาสไดร ับ

และทานไดกลาวแกทานอาลีวา “เจากับฉันมีฐานะเชนฮารูนกับมูซา เพียงแตวาแทจริงจะ ไมมีนบีภายหลังจากฉันอีกแลว” จํานวนฮาดีษท่ีประกาศในเหตุการณน้ีมีสายสืบที่สอดคลอง ตรงกัน มาจากสายสืบทางดานเช้ือสายของเหลาบรรดาผูบริสุทธ์ิ และทานสามารถท่ีจะคนควา พิจารณาไดจากฮาดีษตาง ๆ ที่มีมาจากสายสืบของบุคคลอ่ืน ๆ ท่ีไดกลาวถึงเหตุการณการประกาศ ความเปนพน่ี อ งคร้ังที่หนึ่งไดโดยอาศัยการพิจารณากับฮาดีษของซัยด บิน อาบีเอาฟา ซ่ึงเปนฮาดีษ ท่ีไดมีการบันทึกไว โดยอิมามอะหฺมัด บิน ฮัมบัล ในหมวด “มานะกิบ อาลี” และฮาดีษน้ียังไดมี การบนั ทกึ โดยทาน อิบนุ (158) ทานอิบนุอับดุลบัรไดกลาวไวในหนังสืออิสตีอาบ หมวดที่กลาวถึงอาลีวา ทาน รอซูลุลลอฮฺ (อัลลอฮฺทรงประทานความจําเริญและความสันติสุขแดทานและแดบรรดา ลกู หลานของทาน) ไดป ระกาศความเปนพน่ี อ งของทานและทา นอาลขี ้นึ ทามกลางบรรดาผู อพยพหลังจากนั้นทานก็ไดประกาศความเปนพ่ีนองกันอีกคร้ังหน่ึงทามกลางบรรดาผู อพยพและบรรดาชาวอันศอร ซ่ึงในทุกคร้ังของท้ังสองวาระน้ีทานไดกลาวแกทานอาลีวา “เจาเปน พี่นองของฉนั ท้ังในโลกนี้และปรโลก” รายละเอียดของเร่ืองเหลานี้มีปรากฏอยูใน หนังสือตาง ๆ ที่วาดวยชีวประวัติและหนังสือบันทึกเหตุการณสําคัญ สําหรับรายละเอียด ที่สําคัญของการประกาศความเปนพ่ีนองครั้งท่ีหน่ึงในหนา 26 และหนา 120 ซึ่งเปนการ ประกาศความเปนพ่ีนองครั้งที่สอง จากุซอฺท่ี 2 ของหนังสือ “ซีเราะตุล-ฮะละบียะฮฺ” ทานจะไดเห็นถึงเกียรติยศท่ีไดแกทานอาลีซ่ึงมีเหนือกวาบุคคลอ่ืน ๆ ทั้งมวลดวยการที่ ทานนบีไดประกาศความเปนพี่นองกับทานถึงสองคร้ัง และในหนังสือ “ซีเราะตุล-ดะห ลานียะฮฺ” น้ันก็มีรายละเอียดท่ีกลาวถึงการประกาศความเปนพ่ีนองครั้งท่ีหนึ่งและครั้งท่ี สอง เชนเดียวกันกับท่ีมีบันทึกอยูในหนังสือซีเราะตุลฮะละบียะฮฺ และไดระบุเวลาของ การประกาศความเปนพีน่ องคร้งั ทีส่ องไวดว ยวา เกดิ ข้ึนหลงั จากทําการอพยพแลว เปน เวลา 5 เดือน อาซากิร ในหนังสือตารีคของทาน(159) ฮาดีษนี้ยังไดมีการบันทึกไวโดยทานบัฆวียและทานฎ็อบ รอนียในหนังสือมัจญมุอฺของทานทั้งสองและฮาดีษน้ียังไดมีการบันทึกไวโดยทานบารูดียใน หนังสือ “มะรีฟต ” และทา นอบิ นอุ าดยี ( 160) ตลอดจนถงึ บุคคลอน่ื ๆ อีกเปนจํานวนมาก เปนฮาดีษ ทีม่ คี วามยดื ยาวโดยไดอธิบายถึงรายละเอียดอยางสมบูรณของวิธีการประกาศความเปนพ่ีนอง และ

ในตอนทายของฮาดีษเหลาน้ันไดมีประโยคคําพูดท่ีทานอาลีไดกลาวไวดวยวา “โอทานศาสนทูต ของอัลลอฮฺ แนนอนที่สุด วิญญาณของฉันและสันหลังของฉันแทบวาจะแตกแยกออกไปเสียแลว ในขณะที่ฉันไดเห็นวาทานไดกระทํากับบรรดาสาวกของทานโดยที่ทานมิไดเลือกคนอ่ืนเลย นอกจากฉัน ฉะนั้นถาหากวาเร่ืองนี้มีผูใดท่ีไดกลาวตําหนิติเตียนตอฉันแลวไซร ขอใหทานโปรด ไดม คี วามเอ็นดเู มตตาและเอ้อื เฟอ ดว ยเถิด” แลวทานรอซูลุลลอฮฺ (อัลลอฮฺทรงประทานความจําเริญและความสันติสุขแดทานและแด บรรดาลูกหลานของทาน) ไดกลาวววา “ฉันขอสาบานตอพระผูซ่ึงไดทรงแตงตั้งฉันมาดวยสัจ ธรรม ฉันจะไมปลอยท้ิงเจาไปไหน นอกจากวาเจาจะตองอยูกับตัวของฉัน และเจากับฉันอยูใน ฐานะของฮารูนที่มีตอมูซา เพียงแตวาตางกันตรงท่ีจะไมมีนบีภายหลังจากฉันอีกแลวแตเจาคือพี่ นองของฉนั และเปน ผูส บื มาดกของฉนั ” (159) มกี ารอา งอิงฮาดษี เหลา นีเ้ ปน จาํ นวนมาก ซ่ึงบนั ทกึ ไวโดยทานอิมามอะหุมัด และ ทานอิบนุอาซากิร ซึ่งเปนบุคคลที่มีช่ือเสียงท่ีมั่นคงในกลุมนักปราชญผูทรงคุณวุฒิและอีก คนหนึ่งของพวกเขาเหลานน้ั กค็ ือทานมตุ ตากีย อัล-ฮินดีย โปรดพิจารณาฮาดีษท่ี 918 ใน ตอนแรก ๆ ของหนา 40 ุซอฺท่ี 5 และมีการอางอิงไวในหนา 390 ุซอฺที่ 6 รายงาน โดยทาน อะหมฺ ดั ในมะนากิบ อาลี ซึ่งเปน ฮาดษี ท่ี 5900 ในหนงั สือกนั ซฯ ดังน้นั ขอให พิจารณาดว ย (160) ไดมีการกลาวถึงฮาดีษน่ีจากทุกฝายของบรรดานักปราชญระดับผูนําของกลุม นักปราชญผูทรงคุณวุฒิที่มีช่ือเสียงมั่นคงทั้งหลาย บุคคลหน่ึงจากบรรดาพวกเขาเหลานั้น คือทานมุตตากีย อัล-ฮินดีย เปนฮาดีษท่ีอยูในตอนตนของหนา 41 ุซอฺท่ี 5 หนังสือ กลั ซลุ อุมาล เปน ฮาดีษที่ 919 ขอไดโ ปรดพิจารณาดว ย ทา นอาลไี ดก ลา ววา “อะไรบา งทเี่ ปน มรดกของทา น ?” ทานศาสนทูตไดกลาววา “ส่ิงที่เปนมรดกของบรรดานบีท้ังหลายกอนหนาฉันน้ันก็คือ อลั -กุรอานของพระผูอภบิ าลของพวกเขา และแบบฉบับตา ง ๆ ของบรรดานบีของพวกเขา และเจา จะไดอ ยูก ับฉันในปราสาทของฉันในสวนสวรรคพรอมกับฟาฏิมะฮฺบุตรสาวของฉัน และเจาเปนพ่ี นอ งและเพ่ือนสนิทของฉัน”

หลังจากนน้ั ทา นศาสนทตู (อลั ลอฮทฺ รงประทานความจาํ เริญและความสนั ตสิ ขุ แดทานและ แ ด บ ร ร ด า ลู ก ห ล า น ข อ ง ท า น ) ไ ด อ า น โ อ ง ก า ร จ า ก พ ร ะ ม ห า -คั ม ภี ร อั ล -กุ ร อ า น “เปนพน่ี องกนั อยูบนท่นี อนสูง เปน ผพู บปะซ่งึ กันและกัน” (อัล-ฮิจรฺ : 47) หมายถึงเปนผูท่ีมั่นคงตอความรักในเอกองคอัลลอฮฺ ท่ีพวกเขาเหลาน้ันไดมองเห็นซึ่งกัน และกัน ทานสามารถที่จะทําการพิจารณาไดจนเปนที่เพียงพอ สําหรับฮาดีษท่ีกลาวถึงเหตุการณ การประกาศความเปนพ่ีนองในครั้งที่สอง ดวยการพิจารณาถึงฮาดีษท่ีบันทึกโดยทานฎ็อบรอนีย ในหนังสือ อัลกาบีร อันเปนรายงานฮาดีษท่ีมาจากทานอิบนุ อับบาส ซ่ึงไดกลาวถึง ตอนที่ ทานศาสนทูตไดกลา วแกท านอาลีวา “เจาโกรธฉันเพราะการทฉ่ี ันไดเ ลือกเจา เปน พน่ี องทามกลางบรรดาผอู พยพและชาวอนั ศอร โดยที่ฉันมิไดเลือกคนอื่น ๆ ในหมูพวกเขามาเปนพ่ีนองกระนั้นหรือ เจามิไดภูมิใจ หรือตอการที่ เจากับฉนั น้ีมตี ําแหนงเชน ฮารนู กบั มซู า ตา งกันแตวา จะไมม ีนบี ภายหลงั จากฉันอกี แลว ?” (161) 6. ในทํานองเดียวกันนี้ก็ยังมีอีกหลายฮาดีษซึ่งไดเลาเหตุการณโดยละเอียดในเรื่องของการ ท่ีทานศาสนทูตส่ังใหทําการปดประตูตาง ๆ ท่ีจะผานไปยังมัสญิดยกเลนประตูของทานอาลี ทาน จะสามารถพิจารณาฮาดีษนี้ไดอยางเต็มท่ีกับฮาดีษของทานญาบีร บิน อับดุลลอฮฺ(162) ท่ีไดกลาววา ทานศาสนทูตแหง อลั ลอฮฺ (อลั ลอฮฺทรง (161) ไดมกี ารอางฮาดีษนโ้ี ดยทานมุตตากีย อัลฮินดีย ในหนังสือกันซุลอะมาล และใน หนังสือมุนตาค็อบ ซึ่งขอใหพิจารณาหนังสือมุนตาค็อบ หนา 31 ุซอฺท่ี 5 จากมุสนัด อะหมฺ ัด ทานจะไดเ หน็ วา เปน ประโยคเดียวกันกับที่เราไดอธิบายไปแลว และแนนอนท่ีสุด สําหรับสิ่งท่ีมีความหมายอยูในคํากลาวของทานศาสนทูตท่ีไดกลาววา “เจาโกรธฉันหรือ ....นั้น” คือความรูสึกที่เต็มไปดวยความออนโยนและทะนุถนอมฉันทบิดาท่ีมีตอบุตร ที่ ไดมีปฏิริริยาตอบิดาซึ่งเปนการแสดงความเอ็นดูที่เต็มไปดวยความปรานี จะสังเกตไดถึง ถอยคําท่ีทานไดกลาวในทํานองวา ทานจะปลอยใหทานอาลีผานเลยไปโดยท่ีทานมิได เลือกไวเปนพี่นองของทานไดอยางไร อีกในประกาศคร้ังที่สอง ท้ัง ๆ ที่ทานก็ไดเคย ประกาศไปแลว ในครงั้ ท่ีหนึ่งโดยยนื ยนั ไวเชนน้เี หมือนกัน ซ่ึงเปนการยืนยันถึงเจตนาของ ทา นอกี คร้งั หน่งึ ถาหากเราไดเปรยี บเทียบเหตุการณค รั้งที่สองและคร้ังที่หนึ่ง เน่ืองจากวา

เหตกุ ารณคร้งั ท่หี น่ึงน้นั เปน การประกาศความเปน พี่นอ งทมี่ ขี น้ึ เฉพาะในกลุมชาวมุฮาญิรีน อันจะสังเกตไดวาในกลุมนั้นไมมีบุคคลใดท่ีจะอยูในลักษณะความเปนพี่นองของทานนบี ยิ่งไปกวาทานอาลีอยูแลว ซึ่งแตกตางกับลักษณะของเหตุการณในครั้งที่สอง เพราะใน คร้ังนี้เปนการประกาศความเปนพี่นองข้ึนระหวางบรรดามุฮาญิรีนกับชาวอันศอร คือ หมายความวา ในครัง้ ทีส่ องน้ีชาวมุฮาญิรีนท้ังหลายจะตองเลือกพี่นองของเขาไดเฉพาะแต เพียงชาวอันศอรเทาน้ันและชาวอันศอรก็จะตองเลือกชาวมุฮาญิรีนมาเปนพ่ีนองของเขา เชนเดียวกัน แตทวาทานนบีกับทานอาลีน้ันท้ังสองก็เปนชาวมุฮาญิรีนดวยกัน ซึ่งมี ขอสังเกตที่ควรพิจารณาวา ในครั้งสองน้ีทานไมควรท่ีจะจับคูเปนพ่ีนองกันอีก ซึ่งทาน อาลีก็คิดในใจวาพ่ีนองของทานในคราวน้ีก็ควรจะไดเปนชาวอันศอรเทาน้ัน แตแลว ทานศษสนทูตก็มิไดเลือกชาวอันศอร คนใดมาเปนพี่นองของทานในวันน้ันเลยนอกจาก ทานอาชีเชนเดิม ซ่ึงเปนเรื่องที่อัลลอฮฺและรอซูลของพระองคมีความประสงคท่ีจะแสดง เกียรติยศใหแกทานใหเปนที่ประจักษแกสายตาของบรรดามุฮาญิรีน และชาวศอรในวัน นน้ั (162) มีปรากฏอยูในตอนทายของบาบท่ี 9 หนังสือยุนาบิอุล มะวัดดะฮฺ อางมาจาก หมวดวา ดว ยเกียรติยศของอะหลฺ ลุ บยั ตฺ ประทานความจําเรญิ และความสนั ติสุขแดท า นและแดบ รรดาลกู หลานของทา น) ไดกลา ววา “โอลา ลี แทจริงส่ิงตาง ๆ ในมัสญิด ซ่ึงเปนท่ีอนุมัติใหแกฉันน้ันยอมเปนท่ีอนุมัติใหแกเจาดวย และท จริงเจา กับฉนั อยูในฐานะเชน ฮารูนทม่ี ีตอมูซา ตางกนั แตวา จะไมมนี บีภายหลงั จากฉันเสยี แลว ” และยงั มรี ายงานฮาดษี ทีเ่ ลา โดยฮซุ ัยฟะฮฺ บิน อุสัยต อัล-ฆ็อฟฟารีย(163) ไดกลาววา ทานน บี (อัลลอฮทฺ รงประทานความจําเริญและความสันติสุขแดทานและแดบรรดาลูกหลานของทาน) ได ลุกขึ้นประกาศเนื่องในวันสง่ั ใหทาํ การปด กั้นประตตู า ง ๆ วา “แทจริงประชาชนทั้งหลายเขายอมมี ความรูสกึ สะดุดใจในประการหนึ่ง คอื วา แทจ ริงอาลีนนั้ ไดมีอากสพักแรมอยูท่ีมัสญิด แตพวกเขา ท้ังหลายไดถูกส่ังใหออกไป ขอสาบานดวยพระนามของอัลลอฮฺวา ฉันมิไดสั่งใหพวกเขาออกไป หรืออนุญาตใหอาลพี ักแรมอยโู ดยพละการของฉันเอง หากแตวา อัลลอฮฺทรงประสงคท่ีจะใหพวก เขาเหลานั้นออกไปและใหอาลีพกัแรมอยู แทจริงอัลลอฮฺ ผูทรงอานุภาพสูงสุดไดทรงมีวะหยูแกมู ซาและพ่ีนองของเขาใหสรางสถานท่ีพํานักของเขาดวยกันที่ประเทศอียิปต และไดสั่งใหบรรดาผู ศรัทธา (สาวก) ของเขาสรางบานข้ึนมาเปนท่ีอยูตางหากและเปนที่ตํารงการนมาซตงหาก” ซึ่ง

ตอมาทานศาสนทตู ก็ไดกลาวอีกวา “อาลีกับฉันอยูในฐานะของฮารูนกับมูซาเขาคือ พ่ีนองของฉัน และไมเ ปนทอ่ี นุมตั ิใหแ กผูใดอยูกับภรรยาในมสั ญิดนอกจากอาลี” ยังมีฮาดีษอีกจํานวนมากท่ีเปนรายงานเลาเหตุการณในเร่ืองเหลาน้ี ซ่ึงไมอาจจะนํามา บันทกึ ไวใ นเนื้อท่ที ่จี ํากัดเหลา น้ไี ด แตห วงั เปนอยา งยง่ิ วา เทา ทไ่ี ดก ลา วมาแลวน้ีคงเปนขอมูลพอจะ ลบลางคํากลาวหาที่วาฮาดีษท่ีบงช้ีถึงฐานะและตําแหนงของทานอาลีนั้น มีความหมายเฉพาะแต เพียงในเหตุการณสงครามตะบูกได และคงจะไดเห็นน้ําหนักของคํากลาวหาเชนนั้นได ในเม่ือเอา มาเปรียบเทยี บพรอ ม ๆ กันกบั จํานวนฮาดีษอนั มากมายทีม่ รี ายละเอียด ดงั ทไี่ ดกลา วไปแลว นี้ 7.ใครก็ตามที่ไดทําการศึกษาชีวประวัติของทานศาสนทูตแลวก็จะไดเห็นวาทานศาสนทูต (อัลลอฮฺทรงประทานความจําเริญและความสันติสุขแดทานและแดบรรดาลูกหลานของทาน) ได อุปมาทานอาลีกับทานนบีฮารูนไวในลักษณะของดาวฟรกอดัยนโดยมีลักษณะเปนอันหน่ึงอัน เดียวกัน อยางชนิดท่ีไมมีการจําแนกสวนหนึ่งของคนหน่ึงกับอีกคนหน่ึงไวเลยไมวาในเร่ืองใด ๆ และน่ีก็คือสวนหนึ่งของหลักฐานที่มั่นคงแข็งแรงอันแสดงใหเห็นวา ฮาดีษเก่ียวกับฐานะและ ตําแหนงของทานอาลีนั้นจะตองมีความหมายคลุมไปถึงเหตุการณทั่ว ๆ ไปโดยตลอด อันเปน ความหมายที่แสดงวาตําแหนงฐานะของทานอาลีที่มีอยูตลอดโดยท่ัวไปนั้น เปนการเขาใจท่ี สอดคลองตองกันกับรูปประโยคที่ประจักษแกสายตาไปแลวจากขอมูลตาง ๆ ที่แข็งแรง เชนเดยี วกบั ทเ่ี ราไดอธบิ ายนน่ั เอง วสั ลาม (ซ) อัล-มุรอญิอะฮฺ 33 25 ซลุ -ฮจิ ญะฮฺ 1329 • ทานศาสนทูต (ศ) ไตทําการอุปมาทานอาลีและนบีฮารูนวาเปนดาวฟรกอดัยน เมือ่ ไหร ? ถวยคําของทานยังมิไดใหความกระจางแจงแกเราถึงตอนท่ีวาทานศาสนทูต (อัลลอฮฺ ทรง

ประทานความสันติสุขแดทานและแดบรรดาลูกหลานของทาน) ไดทําการเปรียบเทียบใหทานอาลี และนบีฮารูนเปนเสมือนดาวฟรกอดยน ซ่ึงมีลักษณะเปนอันหนึ่งอันเดียวกันและอยากทราบวา ทา นไดทําการเปรยี บเทียบเรื่องดงั กลาวนเี้ มือ่ ไหร ? วสั ลาม (ซ) อัล-มุรอญิอะฮฺ 34 25 ซุล-ฮจิ ญะฮฺ 1329 1. เร่ืองของชะบรั , ชบุ ยั ร,และมชุ บริ 2. ในเหตกุ ารณแ หงวันประกาศความเปนพ่ีนอง 3. ในเหตุการณแ หง วนั ประกาศปดกนั้ ประตูทั้งหลาย ถาทานไดทําการติดตามศึกษาชีวประวัติของทานศาสนทูต (อัลลอฮฺทรงประทานความ จําเริญและความสันติสุขแดทานและแดบรรดาลูกหลานของทาน) ทานก็ยอมจะไดทราบวาทานศา สนทูตไดทําการเปรียบเทยี บทานอาลแี ละทานนบีฮารูนไวเสมือนดาวฟรกอดัยนท่ีปรากฏในทองฟา และเปรียบเสมือนนัยนตาท้ังสองท่ีใบหนา ทานมิไดทําการจําแนกความแตกตางของบุคคลทั้งสอง เลยในหมปู ระชาชาติของทา น 1.ทา นจะสามารถเห็นไดอยางชัดเจนวา ไมอาจมีใครปฏิเสธวาช่ือของบรรดาบุตรของทาน อาลีน้ันมีลักษณะนามไมคลายคลึงกันกับชื่อของบรรดาบุตรของทานนบีฮารูนจะเห็นไดวาช่ือของ ลูก ๆ ของทานอาลีนั้น คือ ฮาซัน ฮุเซน และมุหซิน ทานศาสนทูตไดกลาววา (164) “แทจริง ช่ือ ของพวกเขาเหลานไี้ ดตง้ั ข้นึ โดยสรรพนามตาม (164) บรรดานักฮาดีษไดบันทึกฮาดีษบทนี้โดยอางสายสืบท่ีศอฮี้ฮฺมาจากตําราสุนันตาง ๆ ทานไมอาจหลีกพนฮาดีษน้ีไดในหนา 265 และหนา 168 จากุซอฺที่ 3 หนังสือมุสตัด รอ็ ก อันเปน ชอ่ื ของลูก ๆ ของนบฮี ารูน ทช่ี อ่ื วา ชะบัร ชุบัยร และมุชบรั ”

2. ทานศาสนทูตมีความประสงคที่จะย้ําใหเห็นความสําคัญและความละมายคลายคลึงกัน ระหวางฮารูนทั้งสอง ซ่ึงในลักษณะความคลายคลึงกันของท้ังสองบุคคลดังกลาว ที่จะอยูตําแหนง ฐานะและลักษณะความเปนไปเสมอเหมือนเทาเทียมกัน สําหรับเหตุผลท่ีสําคัญท่ีสุดนี้เองที่ทานศา สนทูตไดยึดถือเอาทานอาลีเปนพี่นองของทาน และโดยเน้ือหาสาระดังกลาวน้ี เปนส่ิงท่ีไมมีผูใด เสมอเหมือน เปนขอพิสูจนที่ยืนยันใหเห็นถึงความจริงของลักษณะความคลายคลึงระหวางฐานะ ของฮารูนท้งั สองกบั พน่ี อ งของเขาท้งั สองและทา นมคี วามปรารถนาท่จี ะชใ้ี หเห็นวาไมมีปญหาใด ๆ ทจ่ี ะแบง แยกความแตกตางระหวางบุคคลทง้ั สองโดยความจรงิ แลว กเ็ ปน ทร่ี กู ันในหมสู าวกทัง้ หลาย ของทา นวา ทานศาสนทูต (อัลลอฮฺทรงประทานความจําเริญและความสันติสุขแดทานและแดบรรดา ลกู หลานของทาน) ไดประกาศความเปนพ่ีนองกับทานอาลีถึงสองวาระดวยกัน ซ่ึงคร้ังหน่ึงน้ันได ประกาศขึ้นตอหนาอาบูบักรฺและทานอุมัร ขณะท่ีทั้งสองไดประกาศความเปนพ่ีนองกัน ทาน อุษมานกับทานอับดุรเราะมาน บิน เอาฟ ก็ไดประกาศความเปนพี่นองกัน และสําหรับในการ ประกาศความเปนพีน่ อ งครั้งทส่ี องนนั้ ฮาดีษทีม่ ีสายสืบตรงตามมาตรฐานของผูอาวุโสท้ังสอง (บุคอรีและมุสลิม) ฮาดีษน้ีรายงาน โดยทานอิมามอะหฺมัดอีกดวย ซึ่งเปนฮาดีษท่ีเลาโดยทานอาลี ในหนา 98 ุซอฺท่ี 1 หนังสือมุสนัด ทานอิบนุ อับดุลบัรก็ไดบันทึกฮาดีษบทนี้ไวในตอนอรรถาธิบาย ชีวประวัติของทานฮาซันในหนังสือ อัลอิสตีอาบ และยังเปนฮาดีษท่ีทานซะฮะบียก็ได บันทึกไวดวยในหนังสือตัลคีศโดยกลาวยืนยันวาเปนฮาดีษท่ีศอฮ้ีฮฺ ทั้ง ๆ ที่เปนคนแสดง การตอตานในเร่ืองนี้อยางเปดเผย และทานบัฆวียก็ไดบันทึกฮาดีษนี้ไวในหนังสือมุอฺญิม ทานอับดุลฆอนียก็ไดบันทึกไวในหนังสืออีฎออฺ ทํานองเดียวกันนี้ก็ยังมีบันทึกอยูในหนา 115 ของหนังสือศอวาอิก มุฮัรรอเกาะฮฺ จากรายงานของสุลัยมาน และทํานองเดียวกันน้ี ทานอิบนุอะซากิรกไ ดบ นั ทกึ ไวด วย อาบูบักรฺกับคอรีญะฮฺ บิน ซัยด ไดประกาศความเปนพี่นองกัน สวนทานอุมัรก็ไดประกาศความ เปนพ่ีนองกันกับอุตบาน บิน มาลิก แตทานก็ยอมรูอยูแลววา ท้ังสองครั้งสองครามน้ันทานอาลี ไดรับการประกาศความเปนพ่ีนองของทานศาสนทูต (อัลลอฮฺทรงประทานความจําเริญและความ สนั ตสิ ุขแดทานและแดบ รรดาลกู หลานของทาน)

สําหรบั ในรายละเอยี ดซง่ึ เปน สายสืบทย่ี ืนยนั โดยมาตรฐานท่ีศอฮี้ฮฺถูกตองของเรอ่ื งเหลาน้ีมี รายงานฮาดีษมากมายซึ่งเน้ือท่ีของเรามีจํากัดไมอาจที่จะกลาวถึงใหละเอียดถ่ีถวนได ท้ังนี้เปนฮา ดีษท่ีอาศัยการรายงานมาจากทานอิบนุ อับบาส ทานอิบนุ อุมัร ทานซัยดบิน อัรก็อบ ทานซัยด บิน อาบูอูฟา ทานอานัส บิน มาลิก ทานฮุซัยฟะฮฺ บิน ยะมาน ทานมัคดูจญ บิน ยาซีน ทนอุมัร บนิ ค็อฏฎ็อบ ทานบัรรออฺ บิน อาซิบ ทานอาลี บิน อาบีฏอลิบ และบุคคลอ่ืน ๆ อีกเปนจํานวนมาก ไดยืนยันวา.... ทานรอซูลุลลอฮไฺ ดก ลาววา “เจาเปนพีน่ อ งของฉันท้งั ในโลกนแี้ ละปรโลก”(165) และทานก็มีโอกาสไดรับทราบไปแลวคร้ังหนึ่งในอัล-มุรอญิ-อะฮฺท่ี 20 สําหรับตอนท่ีมีฮา ดีษเลาวาทานศาสนทูตไดเอ้ือมมือของทานไปวางที่ศีรษะของทานอาลี แลวกลาววา “แทจริง นี่คือ พน่ี อ งของฉนั และเปน ทายาทของฉนั ในภายภาคหนา และเปน ตัวแทนของฉันใน (165) ฮาดีษนี้บันทึกโดยทานฮากิม ในหนา 14 ุซอฺที่ 3 หนังสือมุสตัดร็อก จาก รายงานของทา นอิบนอุ มุ ัร โดยสายสืบท่ีศอฮี้ฮฺตรงตามมาตรฐานของบุคอรีและมุสลิมทาน ซะฮะบียก็ไดบันทึกฮาดีษบทน้ีไวในหนังสือตัลคีสแลวระบุวาเปนฮาดีษศอฮี้ฮฺ ทานติรมี ซียไดบันทึกฮาดีษบทน้ี ซึ่งทานอิบนุฮะญัรไดอางไวหนา 72 หนังสือศอวาอิก มุฮัรรอ เกาะฮฺ โปรดพจิ ารณาฮาดีษท่ี 7 จากประมวลฮาดีษตอนท่ี 2 บาบที่ 9 หนังสือศอวาอิก ซ่ึง ไดรวบรวมฮาดีษรายงานตาง ๆ ที่เก่ียวของถึงเหตุการณประกาศความเปนพี่นองมาแสดง ไวโดยอา งจากหลักฐานของนักประวัติศาสตรท ี่สาํ คญั ตา ง ๆ หมูพวกทา นท้งั หลาย ดังน้นั พวกทา นจงเชอื่ ฟงและจงปฏิบตั ิตามเขา” และในวนั หนงึ่ ทานศาสนทตู (อัลลอฮฺทรงประทานความจําเริญและความสันติสุขแดทานและแดบรรดาลูกหลานของทาน) ได ออกมาทาํ การสนทนากับบรรดาสาวกของทานดวยในหนาท่ีมีความอ่ิมเอิบ ทานอับดุรเราะมานบิน เอาวฟ ไดถามทาน (ถึงเรื่องท่ีทานมีความช่ืนใจ) ทานไดกลาววา “ฉันไดรับขาวดีที่สุดจากพระผู อภิบาลของฉันในเรื่องของพี่นองของฉัน ผูเปนลูกของลุงกับบุตรสาวของฉัน เพราะวาแทจริง อัลลอฮฺไดท รง (อนมุ ตั ิ) จัดการแตงงานอาลีกับฟาฎมิ ะฮฺแลว”(166) เม่อื น้ันเองท่ีแสดงใหเห็นถึงความ เหมาะสมท่ีคูควรกันระหวาง ประมุขของบรรดาสตรี กับหัวหนาของเช้ือสายท่ีบริสุทธ์ิ นั่นคือ ทา นอาลี

ทานศาสนทูต (อัลลอฮฺทรงประทานความจําเริญและความสันติสุขแดทานและแดบรรดา ลูกหลานของทาน) ไดกลาวอีกวา “โออุมมุอัยมัน จงไปเรียกพี่นองของฉันมาเถิด” ทานอุมมุอัย มันไดกลาวขนึ้ วา “เขาเปนพี่นองของทานแลว ทานจะใหเขาแตงงานกับบุตรสาวของทานหรือ ?” ทานกลา ววา “ใชแ ลว อุมมุอัยมันเอย” วาแลวนางก็ไดไปเรียกทานอาลีซึ่งทานก็ไดมาหา(167) และ มีฮาดีษจํานวนมากทีช่ ้ีระบุถงึ เหตกุ ารณท าํ นองนเี้ ชนคาํ ที่ทา นศาสนทตู ไดกลาววา “น่ีคือพี่นองของ ฉัน บุตรของลงุ ของฉนั บุตรเขยของฉนั และเปนบดิ าแหงลกู ๆ ของฉัน” (168) และคําท่ที า นเอย (166) รายงานฮาดีษนี้โดยอาบูบักรฺ เคาะวาริซมีย ดังท่ีมีปรากฏอยูในหนา 103 ของ หนงั สือศอวาอกิ (167) รายงานฮาดษี นโ้ี ดยทานฮากิม ในหนา 159 ซฺ อฺที่ 3 หนงั สือมุสตดั รอ็ ก และยังเปน ฮาดีษท่รี ายงาน โดยทานซะฮะบีย ซ่งึ มปี รากฏอยใู นหังสือคัลคีศ โดยระบุวาเปนฮาดีษศอ ฮ้ฮี ฺ ทา นอบิ นอุ ะญรั ไดอ างฮาดษี นีไ้ วในบาบที่ 11 หนังสือศอวาอิกโดยไดอางถึงเรื่องราวที่ เหมาะสมกันกับทานหญงิ ฟาฏมิ ะฮฃฺ (168) เปนฮาดษี ที่ทา นชัยรอซียไดบ นั ทึกไวใ นหนงั สืออัล-อัลกอ็ บ ทานอิบนนุ จั ญารไดรับ รายงานฮาดีษน้ีมาจากทานอิบนุมุมัร ทานมุตตากีย อัลฮินดียไดอางฮาดีษบทนี้ไวใน หนังสือกันชฯ และหนงั สือมนุ ตาค็อบท่ีถูกพิมพรวบรวมอยูในฮามิช มุสนัด ขอไดโปรด พิจารณาบรรทันท่ี 2 จากหนังสือฮามิช หนา 32 ฺซอทฺ ่ี 5 ดวย ถึงอยบู อย ๆ น้ัน กค็ อื ฮาดีษที่ทานไดก ลวแกท า นอาลีวา “เจาเปนพ่ีนองของฉันและเปนเพ่ือนสนิท ของฉัน”(169) และบอยครั้งท่ีทานไดพูดวา “เจาเปนพ่ีนองของฉัน เปนสหายของฉัน และเปนมิตร ของฉันในสวนสวรรค”(170) และทานไดเคยตักเตือนทานอาลี ในวันท่ีเกิดการถกเถียงกันขึ้น ระหวางทานและระหวางพี่ชายของทานคือญะอฺฬร กับซัยดบิน ฮารีษะฮฺ โดยทานไดกลาววา “สาํ หรบั เจาน้นั อาลีเอยเจา คอื พ่ีนองของฉัน และเปน บดิ าแหงลูก ๆ ของฉนั และเปนผไู ดรับอํานาจ ตาง ๆ สืบตอจากฉัน”(171) และทานศาสนทูตไดเคยสัญญากับทานในวันหน่ึงวา “เจาคือพี่นองของ ฉันเปนผูรวมภารกิจของฉัน เจาเปนผูชําระหนี้สินตาง ๆ ของฉัน และเจาเปนผูชําระสะสางขอ ผกู พนั สญั ญาตาง ๆ ของฉัน และเจา เปนผทู ําใหฉนั ไดคลาดแคลวจากความผิดพลาดของฉนั ”(172) และเมอื่ ตอนท่ที า นศาสนทตู ใกลจ ะถึงวาระสดุ ทาน ทานไดกลาวข้ึนวา “จงไปเรียกพี่นอง ของฉันมาหาเถิด” ดังนั้นก็ไดมีคนไปเรียกทานอาลีใหมาหาทานแลวทาไดกลาววา “ใหเขามาชิด

ตวั ฉันเถิด” ดงั นัน้ ทานอาลีก็ไดเขาไปจนถงึ ตัวทา น และทานไดวางศรีษะของทานศาสดาไวกับตัก ของทานเอง ดังนั้นทานศาสดาก็ไดถึงแกวะฟาตลงที่นั่น โดยไดส่ังเสียเร่ืองที่สําคัญบางอยางของ ทาน (อลั - (169) รายงานฮาดีษนี้โดยทานอิบนุอับดุลบัร ในตอนอธิบายชีวประวัติของทานอาลี หนังสอื อิสตีอาบโดยสายสบื ของทานอิบนอุ ับบาส (170) ฮาดีษน้ีบันทึกโดยทานคอฏีบ เปนฮาดีษท่ี 6015 จากหนังสือรวบรวมกัลซุล อุ มาลหนา 402 ซุ อฺท่ี 6 (171) บันทกึ โดยทานฮากมิ ในหนา 217 ซุ อทฺ ี่ 3 หนังสอื มสุ ตดั รอ็ ก โดยสายสืบทศ่ี อฮี้ ฮฺ ตรงตาม มาตรฐานของทานมุสลิม ทานซะฮะบีย ก็ไดยืนยันไวในหนังสือตัลคีศ ของ ทา นวาเปน ฮาดษี ทศ่ี อฮฮี้ ฺ ตรงตามมาตรฐานนี้ (172) รายงานโดยทานฎ็อบรอนียในหนังสืออัลกาบีร เปนฮาดีษที่เลาโดยทานอิบนุมุอัร ทานมุตตากยี  อลั ฮลิ ดยี ไดอ างฮาดษี นีไ้ วในหนังสือกันซ และในหนังสือมุนตาค็อบ ขอได โปรดพจิ ารณาหนังสือ มนุ ตาค็อบทมี่ ีผนวกอยใู นหนา 32 ซุ อฺที่ 5 หนงั สอื มสุ นดั ลอฮฺทรงประทานความจําเริญและความสันติสุขแดทาน และแดบรรดาลูกหลานของทาน) แกทาน อาลี(173) ทานศาสนทูต (อัลลอฮฺทรงประทานความจําเริญและความสันติสุขแดทานและแดบรรดา ลูกหลานของทาน) ไดกลาวอีกวา “ขอความที่ถูกบันทึกไว ณ ประตูของสวรรคนั้นคือ” ลาอิลา ฮะอิลลัลลอฮฺ (ไมมีพระเจาอื่นใดนอกจากอัลลอฮฺ) นุฮัมมะตุรรอซูลุลลอฮฺ (มุฮัมมัตเปนศาสนทูต ของอัลลอฮฺ) อาลอี าคูรซลู ุลลอฮฺ (อาลเี ปนพ่ีนอ งของรอซลู ลุ ลอฮ)ฺ ”(174) และมีอีกฮาดีษหนึ่งท่ีทานศาสนทูตไดกลาววา “อัลลอฮฺผูทรงอานุภาพสูงสุด ไดทรง ประทานวะหยูใหแกญ บิ รออลี และมกี าอีลในคืนแหงการอพยพ (จากมักกะฮฺไปสูนครมะดีนะฮฺ) วา “แทจริงฉันไดสรางสรรคความเปนพี่นองระหวางพวกเจาท้ังสอง โดยท่ีฉันไดกําหนดใหอายุของ เจาคนหนึ่ง ฉะนนั้ จะมีคนใดบางที่จะยอมเสียสละชีวิตเพ่ือพ่ีนองของเขา ดังนั้นมะลาอิกะฮฺท้ังสอง ตางก็เลือกเอาฝายท่ีมีชีวิตดวยกันท้ังคู อัลลอฮฺจึงไดวะหยูแกมะลาฮิกะฮฺท้ังสองวา “ทําไมเจาทั้ง สองจึงไมมีใครถือปฏิบัติตามเย่ียงอยางของอาลี บิน อาบีฎิลิบที่ฉันไดสรางสรรคความเปนพี่นอง ระหวางเขากับมุฮัมมัด (อัลลอฮฺทรงประทานความจําเริญและความสันติสุขแดทานและแดบรรดา

ลูกหลานของทาน) บัดนี้เขาไดนอนอยูบนที่นอนของมุฮัมมัดเพ่ือท่ีจะพลีรางกายและเสียสละชีวิต เพื่อมุฮัมมัด ฉะนั้นเจาท้ังสองจงรีบไปยังพ้ืนโลกเด๋ียวน้ีแลวจงพิทักษรักษาเขาใหแคลวคลาดจาก ศัตรู” ดังนั้นมะลาอิกะฮฺทั้งสองก็ไดเสด็จลงมาโดยที่ญิบรออีลน้ันประทับอยูทางดานศรีษะของ ทา นอาลี สว นมีกาอีลนน้ั อยูต รงเบ้อื งเทาของทานและทา นญิบรออีลก็ไดกลาวข้ึนวา “ดเี หลือเกิน... ดเี หลอื เกิน จะมีใครท่ีไหนสามารถ (173) รายงานโดยทานอิบนุสะอัดในหนา 51 ภาคที่ 2 ุซอฺท่ี 2 หนังสือฎอบากอต และหนา 55 ุซอฺท่ี 4 หนงั สือกัลซลุ อมุ าล (174) รายงานโดยทานฎ็อบรอนียในหนังสืออัลเอาสัฎ และทานคอฎีบไดบันทึกไวใน หนังสือมุตตาฟกและมุฟตารีก โปรดพิจารณาหนังสือมุนตาค็อบที่มีผนอกอยูในหนา 35 ุซอทฺ ่ี 5 หนงั สอื มุสนัดอะหฺมัด ทําตามเยี่ยงอยางของทานไดเลา โอบุตรของอาบีฏอลิบ อัลลอฮฺไดทรงยกยองเกียรติคุณใหแกทาน เหนือกวามะลาอิกะฮฺ และอัลลอฮฺผูทรงสูงสุดไดประทานโองการในเรื่องน้ีวา “และเร่ืองนี้วา “ผู หนึ่งของบรรดาประชาชนนั้นคือผูที่เขาไดขายชีวิตของเขาเพ่ือแสวงหาความโปรดปรานจานอัลลอ ฮฺ”(175) ทานอาลีไดเคยกลาววา “ฉันคือบาวของอัลลอฮฺและพี่นองของศาสนทูตของอัลลอฮฺ ฉัน คอื ผทู ีม่ ีความเช่ือมนั่ ทซี่ อื่ สตั ยยิง่ จะไมม ผี ใู ดสามารถกลา วประโยคนีไ้ ดอีกแลวหลงั จากฉนั เวน แต คนมุสา”(176) และทานไดกลาวอีกวา “ขอสาบานดวยพระนามของอัลลอฮฺ แนนอนที่สุดฉันน้ีคือพี่ นองของศาสนทแหงอัลลอฮฺ และเปนเพ่ือนของทาน และเปนบุตรแหงลุงของทานและเปนผูสืบ มารดกทางวิชาการของทา นฉะนน้ั จะมีใครอกี เลา ท่ีมีคณุ สมบตั ิตอทา นใหด ยี ิ่งไปกวาฉนั ?(177) ทานอาลีไดกลาวในวันประชุมเพื่อปรึกษาหารือกันในกิจการ (อัชชูรออฺ) เพื่อทานอุสมาน และทานอับดุรเราะมานกับทานสะอัดทานซุบัยรวา “ฉันขอสาบานดวยพระนามของฮัลลอฮฺ พวก ทานท้ังหลายก็รูอยูแลววาในหมูพวกทานน้ีมีผูหนึ่งที่เปนพ่ีนองของรอซูลุลลอฮฺท่ีใกลชิดฉะน้ันผู เปนพ่ีนองของทานในมวลมุสลิมทั้งหลายน้ีจะมีใครท่ีไหนนอกเหนือจากฉันบาง ? พวกเขา เหลา นน้ั กลา ววา “โออ ลั ลอฮพฺ วกเราขอยนื ยนั วาไมม ใี คร”(178) (175) นักปราชญอะฮฺลิซซุนนะฮฺไดบันทึกไวในสมุสนัดตาง ๆ อิมามฟครุดดีน รอซียไดระบุไว ในการตฟั สีรโองการนี้ ซูเราะบะเกาะรอฮฺ หนา 189 ซุ อฺท่ี 2, ตฟั สรี อัล-กะบรี

(176) ทานนะสาอียไดบันทึกไวใน “เคาะศออิศ อุลุวียะฮฺ” ทานฮากิมบันทึกไวในตอนแรกของ หนา 112 ุซอฺที่ 3 หนังสือมุสตัดร็อก อิบนุอาบีชัยบะฮและอิบนุอาบูอาศิม บันทึกไว ใน “อัซซุนนะฮฺ” อาบูนาอีมไดบันทึกไวใน “อัล-มะอฺริฟะฮฺ” ทานมุตตากีย อัล-ฮินดีย อางไวในกัลซุล อุมาล” และใน “มุนตาค็อบ” โปรดพิจารณาบทผนวก หนา 40 ุซอฺที่ 5 ของ “มสุ นดั อะหฺมดั ” (177) โปรดพิจารณาหนา 126 ุซอฺท่ี 3 หนังสือ “มุสตัดร็อก ซะฮะบีย” ทานซะฮะบีย บนั ทกึ ไวใ น “ตัลคศี มสุ ลมิ ” โดยระบุวา เปน ฮาดีษศอฮ้ฮี ฺ (178) รายงานโดยอิบนุ อับดุลบัร ในหัวขอเร่ือง “ทานอาลี” หนังสือ อัล-อิสตีอาบ และ มี ผูท รงคณุ วุฒอิ ืน่ ๆ อีกจาํ นวนหนึ่งทีไ่ ดบันทกึ ฮาดษี บทน้ไี ว และในวันที่ทานอาลีไดปะทะกําลังกันกับวะลีดในสงครามบะดัร โดยท่ีวะลีดไดกลาวแก ทานวา “เจาคือใคร ?” ทานอาลีไดตอบวา “ฉันคือบาวของอัลลอฮฺ และพี่นองของศาสนทูต แหงอัลลอฮฺ”(179)ทานอาลีไดถามทานอุมัรเม่ือสมัยที่ทานอุมัรยังดํารงตําแหนงเปนคอลีฟะอฺอยูวา “ทานมีความคิดเห็นอยางไรบาง ถาสมมุติวาปวงชนชาวบะนีอิสรออีลไดมาหาทานแลวเขาคน หน่ึงดก ลา วแกท า นวา ฉันคอื บตุ รของลุงแหงนบีมซู าทานจะใหเ ขาไดร บั การตองรับโดยยกฐานะไว เปนพิเศษเหนือบรรดาพรรคพวกของเขาหรือไม ?” ทานอุมัรตอบวา “แนนอนตองเปนอยางน้ัน” ทา นอาลีกลาวอีกวา “ฉะนั้น ดวยพระนามของอลั ลอฮฺฉนั ของสาบานวา ฉันคอื พ่นี อ งของศาสนทูต แหงอัลลอฮฺและเปนบุตรแหงลุงของเขา” ดังน้ันทานอุมัรจึงไดถอดเส้ือคลุมของตนออกมาปูบน พนื้ ตอนรับทาน แลวทานกลาววา “ขอสาบานดวยพระนามของอัลลอฮฺวา ไมมีที่นังอ่ืนใดสําหรับ ทาน เวนแตผาคลุมผืนน้ี จนกวาเราจะไดแยกจากการสนทนากัน” ดังนั้นทานอาลีก็จึงดมีโอกาส นั่งลงลนผาคลุมผืนนั้นและไดทําการตัดเตือนคนทั้งหลาย จนกระท่ังผูคนไดถึงเวลาแยกตัวออก สวนทานอุมัรน้ันก็ยังคงนั่งอยูกับทานตอไป ดวยการมีอัธยาศัยท่ียกยองเปนพิเศษกับพ่ีนอง และ ลูกพ่ีลูกนอ งของทานศาสนทูต(180) 3. แลว ก็นไ่ี ง กับกระแสรายงานจากรายละเอยี ดแหงขอ มูลของพวกเราคือวาทานศาสนทูต (อัลลอฮฺทรงประทานความจําเริญและความสันติสุขแดทานและแดบรรดาลูกหลานของทาน) ได ออกคาํ สง่ั ใหทําการปด (179) ทานอิบนุ สะอัดไดบันทึกไวในเรื่อง “สงครามบะตัร” หนังสือ “อัฏฏอบากต” หนา 15 ภาคที่ 1 ุซอทฺ ี่ 2

(180) ในบันทึกของทานดาเราะกุฏนยี น น้ั เปนประโยคเดยี วกนั กบั ทม่ี ีบันทึกอยูในหัวขอท่ี 5 ของ การตัฟสีรโองการ “มะวัตตะตุฟล-กุรบา” ซึ่งเปนโองการที่ 14 ของบรรดาโองการ ทั้งหลาย ซง่ึ ไดร ะบถุ ึงเรอื่ งน้นั โดยทา นอิบนฮุ ะญัร ในบาบที่ 11 หนังสือเศาะวาอิก หนา 107 ประตูทุกบานของบรรดาสาวกที่ประตูเหลาน้ันเคยเปดอาเปนทางผานไปสูมัสญิด ทั้งน้ีก็ เพราะเหตุวา จะไดเ ปน การหวงหามมใิ หบ ุคคลผนู ้ีมีนุ ุบผานเขาในมัสญิด แตทวาทานยังใหคงไว อยูเชนเดิมสําหรับประตูของทานอาลี และเนื่องจากทานไดรับการอนุโลกจากอัลลอฮฺ ผูทรงสูงสุด ท่ีจะใหเขาไปในมัสญิดไดแมแตขณะท่ีุนุบซ่ึงลักษณะเชนน้ีก็คือการอนุโลมท่ีเปนลักษณะสําหับ ทา นนบฮี ารนู เราจะไดยกเหตุผลขอน้ีมาเปนขอเปรียบเทียบเพ่ือใหเห็นถึงความเทาเทียมกันระหวาง ฮารนู ทัง้ สอง (ขอความสนั ตสิ ุขพงึ มแี ดท า นท้ังสอง) ทานอิบนุ อับบาส ไดกลาววา “ทานศาสนทูตของอัลลอฮฺ (อัลลอฮฺทรงประทานความ จําเริญและความสันติสุขแดทานและแดบรรดาลูกหลาของทาน) ไดสั่งใหทําการปดประตูตาง ๆ ของมัสญิด ยกเวนประตูของทานอาลี ฉะน้ันทานจึงเขามัสญิดกับเสนทางของทานไดท้ัง ๆ ท่ีมีุ นุบ โดยทานไมจําเปนทจี่ ะตอ งใชเสน ทางอนื่ ”(181) ทานอุมัร บิน ค็อฏฏ็อบไดกลาวไว ดังมีปรากฏเปนอาดีษท่ีศอฮ้ีฮฺ(182) ตรงตามเง่ือนไข ของผูอาวุโสทั้งสอง (บุคอรี-มุสลิม) อีกวา “แนนอนท่ีสุดาลี บิน อาบีฏอบิลไดรับคุณสมบัติที่ สูงสง สามประการแทจริงถาหากหน่ึงในสามประการนี้มีโอกาสสําหรับฉันแลวไซรจะเปนความช่ืน ชอบใหแ กฉ นั เสียยิง่ กวาไดอฐู สีแดง นัน่ คอื ....ภรรยาของเขาคือฟาฏมิ ะฮ (181) รายละเอียดของฮาดีษนี้มีอยูในฮาดีษที่บงบอกความดีงาม 10 ประการของทานอาลีตามที่ เราไดอ ธิบายผา นไปแลว ใน อัล-มรุ อญอิ ะฮทฺ ่ี 16 (182) มีปรากฏอยูในหนา 125 ุซอฺที่ 3 “หนังสือมุสตัดร็อก” รายงานโดยอาบูยะลาอฺ ดังมี ปรากฏอยูในตอนท่ีสาม บาบท่ี 9 หนังสือ “เศาะวาอิก” โปรดพิจารณาท่ีหนา 76 ดวย ซ่ึงเขาไดบันทึกฮาดีษบทนี้ไวตามสํานวนที่ใกลเคียงกันกับทานอะหฺมัด บิน ฮันบัล ซึ่ง เปนรายงานฮาดีษจากทานอับดุลลอฮฺ บิน อุมัร หนา 26 ุซอฺท่ี 2 หนังสือมุสนัด และ บรรดานักปราชญผูทรงคุณวุฒิอีกจํานวนไมนอยก็ยังไดบันทึกรายงานบทนี้ท่ีเลาโดยทาน อมุ รั และทานอับดุลลอฮบฺ ุตรของทา น ดวยสายสืบท่แี ตกตางกันไป

บุตรของศาสนทูตแหงอัลลอฮฺ สถานท่ีอยูอาศัยของเขาก็คือมัสญิดอันเปนท่ีอยูรวมกับ ทานศาสนทูตแหงอัลลอฮฺ ส่ิงตาง ๆ ท่ีถูกอนุมัติแกศาสนทูตในสถานที่นั้นยอมเปนส่ิงที่ถูกอนุมัติ ใหแกเ ขาดว ย และเขาคอื ผูถอื ธงชยั แหง สงครามคยั บัร” ทานสะอัด บิน มาลิกไดกลาวถึง เร่ืองราวเหลานั้นดวยขอความบางสวนท่ีเก่ียวของกับ ทานอาลี ไวในฮาดีษที่มีมาตรฐานศอฮี้ฮฺอีกวา(183) ทานศาสนทูตแหงอัลลอฮฺไดส่ังใหลุงของทาน และบุคคลอ่ืน ๆ ออกไปจากมัสญิด ทานอับบาสจึงไดกลาวอุทรณแกทานวา “ทานไดสั่งใหเรา ออกไป แตทานไดใหอาลีพักอาศัยอยูกระนั้นหรือ ?” ทานกลาววา “ฉันมิไดส่ังใหพวกทาน ออกไปและมิไดใหเขาอาศัยอยูโดยพละการของฉันเอง หากแตวาอัลลอฮฺทรงกําหนดใหพวกทาน ออกไป และทรงอนมุ ตั ใิ หเ ขาพักอาศัยอยู” ทานซัยด บิน อัรก็อม ไดกลาวไววา(184) “ไดมีประตูหลาย ๆ ประตูที่เปนทางเดินไป ในมัสญิดที่บรรดาสาวกของทานศาสนทูตแหงอัลลอฮฺใชเปนทางผาน” ตอมาทานศาสนทูต แหงอัลลอฮฺ (อัลลอฮฺทรงประทานความจําเริญและความสันติสุขแดทานและแดบรรดาลูกหลาน ของทาน) ไดกลาววา “พวกทานจงปดประตูทั้งหลายเหลาน้ีเสียเถิด ยกเวนประตูของอาลี” ดังนี้ ประชาชนจึงพากันพดู ตา ง ๆ นานา ในเร่ืองนี้ ทานรอซูลุลลอฮฺ (อัลลอฮฺทรงประทานความจําเริญ และความสันติสุขแดทานและแดบรรดาลูกหลานของทาน) จึงไดลุกข้ึนยืนแลวทําการสรรเสริญ สดดุ ตี ออัลลอฮฺ หลังจากน้ัน (183) ดังที่มีปรากฏอยูในตอนที่ 1 ของหนา 17 ุซอฺที่ 3 หนังสือมุสตัดร็อก “ฮาดีษ” บทน้ีมี ปรากฏอยูในบันทึกของนักปราชยอะฮฺลิสซุนนะฮฺ ตาง ๆ ที่มีสายสืบศอฮ้ีฮฺ ซ่ึง ผทู รงคณุ วุฒิทสี่ าํ คญั ๆ ของฝา ยอะฮฺลสิ ซุนนะฮฺ จาํ นวนไมน อยไดบ ันทกึ ฮาดีษบทน้ีเอาไว (184) เปนฮาดีษท่ีทานอะหฺมัดไดบันทึกอยูในหนา 369 ุซอฺที่ 4 หนังสือมุสนัด รายงานโดย ทานฎียาออีกเชนกัน ตามที่ปรากฏอยูในหนังสือ “กันซุลอุมมาล” และ “มุนตาค็อบ” โปรดพิจารณาในภาคผนวกมุนตาคอ็ บ หนา 29 ซุ อทฺ ่ี 5 หนงั สือมสุ นดั ทา นกไ็ ดกลา ววา “แนนอนที่สุด สําหรับกรณที ี่ฉันไดออกคําส่ังใหทําการปดประตูทั้งหลายเหลาน้ี โดยยกเวน ประตูของอาลีนั้น ไดมีคนกลาวขานโจษจันกันในหมูพรรคพวกของทานเก่ียวกับเรื่องนี้ ขอใหรไู วด วยวา แนนอนที่สุดฉนั มไิ ดทาํ การปด กน้ั สิ่งหน่ึงสง่ิ ใด และมิไดท ําการเปด โอกาสใหแก เขา โดยพละการของฉัน แตทวาเมื่อฉันไดถูกบัญชาใหดําเนินการเกี่ยวกับสิ่งหน่ึงสิ่งใดแลว ฉันก็ จะตอ งปฏบิ ัตติ ามสิง่ น้ัน ๆ” รายงานโดยทา นฎอ็ บรอนยี ห นังสืออัล-กะบีร

จากการบอกเลาของทานอิบนุอับบาสอีกตอนหน่ึงไดกลาววา(185) “แทจริงทานศาสนทูต แหงอัลลอฮฺ (อัลลอฮฺทรงประทานความจําเริญและความสันติสุขแดทานและแดบรรดาลูกหลาน ของทาน) ไดลุกข้ึนยืนประกาศในวันหน่ึงวา “ฉันมิไดออกคําสั่งใหพวกทานท้ังหลายออกไป (จากมัสญิด) โดยพละการของฉัน และฉันก็มิไดปลอยใหเขา (อาลี) อยู หากแตวาอัลลอฮฺเปนผู ทรงบัญชาใหพวกทานออกไป และทรงอนุมัติใหเขาอยู แทจริงสําหรับฉันเปนเพียงบาวผูซึ่งถูก บัญชาการ ฉะนั้นส่ิงใดท่ีฉันถูกบัญชาโดยพระองคแลว ฉันจะกระทํา ฉันมิไดปฏิบัติตามส่ิงหนึ่ง ส่งิ ใด เวน แตส่ิงท่ีถูกวะหย มู ายังฉนั ” ทานรอซูลลุ ลอฮฺ (อัลลอฮทฺ รงประทานความจําเริญและความสันติสขุ แดท านและแดบรรดา ลูกหลานของทาน ไดกลาอีกวา(186) “โออาลีเอย ไมเปนท่ีอนุมัติใหแกผูใดเลยท่ีจะอยูในมัสญิดใน สภาพมีุนบุ ยกเวนฉนั กับเจา ” รายงานมาจรากทานสะอัด บิน อาบูวะกอศ ทานบัรเราะอฺ บิน อาซิบ ทานอิบนุบาส ทานอิบนุอมุ รั และทานฮุซัยฟะฮฺ บิน (185) ทานมุสตากยี  อัลฮินดียไ ดบ ันทกึ ไวในตอนทา ยของหนงั สอื มุนตาค็อบ 75 (186) ทา นติรมีซียไดบ นั ทึกฮาดีษบทน้ีไวในหนงั สอื “ศอฮฮ้ี ”ฺ ของทาน ทานมุสตากียอ ลั ฮินดยี ก็ ไดอางฮาดีษบทนี้ดังท่ีเราไดชี้แจงผานไปแลวในหนังสือ “มุนตาค็อบ” ทานบัซซาซ ได รายงานฮาดีษน้ีมาจากทานสะอัดตามที่มีปรากฏอยูในฮาดีษที่ 13 จากหลาย ๆ ฮาดีษซ่ึง ทานอิบนุฮะญัรไดเสนอไวในสวนท่ี 2 บาบท่ี 9 หนังสือ “เศาะวาอิก” ขอใหพิจารณาดู ในหนา 73 อุสัยดุล-ฆ็อฟฟารีย ไดแถลงเชนเดียวกันทั้งหมดวา(187) ทานศาสนทูต (อัลลอฮฺทรง ประทานความจําเริญและความสันติสุขแดทานและแดบรรดาลูกหลานของทาน) ไดออกไป ยังมัสญิด แลวไดกลาววา “แทจริงอัลลอฮฺไดทรงวะหยูไปยังทานนบีมูซาของพระองควา “ใหทํา การกอสรางมัสญิดท่ีสะอาดเพ่ือฉันโดยอยาใหผูใดอาศัยอยูในนั้นยกเวนเจากับฮารูน” และแทจริง อลั ลอฮฺกไ็ ดท รงวะหย มู ายังฉนั เพ่อื ใหฉ นั ไดทําการกอสรา งมัสญดิ ที่สะอาด มใิ หผ ใู ดอาศัยอยูในนั้น เวนแตฉนั และอาลีผูเ ปนพีน่ อ งของฉนั ” เร่ืองราวเหลาน้ีมีมากมายเสียจนเกินกวาที่เราจะสามารถนํามาบันทึกไวใหหมดสิ้นลงใน หนากระดาษที่จํากัดนี้ได ทั้งน้ีก็คือรายงานอันเปนหลักฐานที่แนนอนในเรื่องน้ีซ่ึงเปนฮาดีษท่ีเลา

มาโดยทานอิบนุอับบาส ทานอาบูสะอึดอัล-ดุดรีย ทานซัยด บิน อัรก็อมและบุคคลตาง ๆ ในหมู สาวกแหงค็อษอัม ทานอัสมะอฺ บินต อุมัยส ทานอุมมุสะลามะฮฺ ทานฮุซัยฟะฮฺ บิน อุสัยด, ทานสะ อัด บิน อาบูวักกอศ ทานบัรรออฺ บิน อาซิบ ทานอาลี บิน อาบีฏอลิบ และทานอุมัร ทานอับดุลลอฮฺ บิน อุมัร ทานอาบูซัร ทานอาบีฏฟยล ทานบุรัยดะฮฺ อัลอัสลามีย ทานอาบูรอฟอิ์ (คนรับใชของ ทา นศาสนทตู แหง อลั ลอฮฺ) ทา นญาบีร บนิ อับดุลลอฮฺ ฯลฯ และในความหมายแหงบทขอพรของทานนบี (อัลลอฮฺทรงประทานความจําเริญและความ สนั ติสุขแดท านและแดบ รรดาลูกหลานของทาน) ทท่ี านไดเ คยออ นวอนวา “โออ ัลลอฮฺ แทจริงทพ่ี นอ งของฉันคอื มซู าน้ันเขาไดเ คยวงิ วอนขอตอพระองควา “โอพระผูอภิบาลของฉันขอไดทรงโปรด ใหความปลอดโปรงแกฉันซึ่งทรวงอกของฉัน และขอไดทรงทําใหสะดวกแกฉันซ่ึงกิจการตาง ๆ ของ (187) เปนฮาดีษที่ไดรับการบันทึกไวทั้งหมดจากบุคคลเหลาน้ีโดยทานอาลี บิน มุฮัมมัดอัล คอฏีบนักปราชญืฟะกีฮฺแหงมัซฮับซาฟอีย ผูที่ถูกรูจักกันในนามของอิบนุมะฆอซะลียใน หนังสือ “อัล-มะนากิบ” โดยสายสืบท่ีมีสํานวนแตกตางกัน สานุศิษยคนสําคัญช่ือบะลา คีย กไ็ ดอางฮาดีษบทนีบ้ นั ทึกไวใ นบาบท่ี 17 หนงั สอื “ยูนาบีอ”ฺ ฉัน และขอไดทรงคลี่คลายเง่ือนงําท่ีติดอยูกับล้ินของฉันใหพวกเขาเหลานั้นไดเขาใจ ถอ ยคําของฉนั และขอไดท รงแตงตง้ั ผูชวยเหลอื ใหแ กฉ ัน ซึ่งไดแกพ่ีนองของฉันที่มาจากครอบครัว ของฉันคือฮารูน ขอใหพระองคทรงทําใหแข็งแรงข้ึนแกภารกิจของฉันโดยเขา และใหพระองคทํา ใหเขารวมรับผิดชอบในกิจการตาง ๆ ของฉัน” ดังน้ันพระองคก็ไดทรงวะหยูแกเขา (มูซา) วา “เรา จะใหความมัน่ คงแขง็ แรงแกแขนของเจา (ภารกจิ ) ดว ยพ่นี องของเจา และเราไดด ําเนินการใหเ จา ทงั้ สองไดรบั ซ่ึงอํานาจตาง ๆ” “โออัลลอฮฺแทจริงขาพระองคคือบาวของพระองคและรอซุลของพระองค มุฮัมมัด ดังนั้น ขอพระองคไดทรงทําใหปลอดโปรงแกฉัน ซ่ึงทรวงอกของฉัน และขอใหพระองคใหความ สะดวกแกฉันซึ่งภารกิจตาง ๆ ของฉันและขอพระองคไดทรงแตงต้ังผูรวมภารกิจท่ีมาจาก ครอบครวั ของฉัน นนั่ คืออาลีผูเ ปน พน่ี อ งของฉนั (188)

และยังมีอีกฮาดีษหน่ึงที่คลายคลึงกันนี้ ซึ่งรายงานมาจากทานบัซซาซ ไดกลาววา “แทจริงทานศาสนทูตแหงอัลลอฮฺ (อัลลอฮฺทรงประทานความจําเริญและความสันติสุขแดทานและ แดบรรดาลูกหลานของทาน) ไดจับมือของทานอาลีแลวกลาววา “แทจริงนบีมูซาน้ันทานได วิงวอนตอพระผูอภิบาลของทานเพ่ือที่จะใหมัสญิดของทานน้ันสะอาด โดยการมีสวนรวมของฮา รูน และแทจริงฉันก็ไดวิงวอนขอตอพระผูอภิบาลของฉันวา ใหมัสญิดของฉันนี้ไดสะอาดโดยการ มสี ว นรว มของเจา” หลงั จากนนั้ ทา นไดออกคาํ สัง่ ใหอาบูบักรทฺ าํ การปดประตูของเขาเสีย อาบูบกั รฺ ไดแสดงความฉงนใจ หลังจากน้ันทานก็ไดกลาววา “ฉันเปนผูเช่ือฟงและฉันเปนผูปฏิบัติตาม” แลวทานศาสดาก็ไดอ อกคาํ สงั่ นไ้ี ปยงั ทา นอุมรั ถดั จากน้ันกอ็ อกคําสงั่ ไปยงั ทาน (188) ทานอาบูอิสฮาก ษะลาบียไดรายงานฮาดีษบทนี้มาจากทานอาบูซัร ฆ็อบฟารียในตอน อธิบายโองการที่วา (แทจริงผูปกครองของสูเจานั้นมีเพียงอัลลอฮฺและศาสนทูตของ พระองคและบรรดาผูซึ่งศรัทธา...) ในซูเราะฮฺมาอิดะฮฺ หนังสือ “ดัฟสีร อัล-กาบีร และ นกั ปราชญบ ะลาคยี ก ็ไดอา งไวอกี ดังมีปรากฎอยูจ ากมสุ นัดอมิ ามอะหมฺ ดั อบั บาสในลักษณะเดียวกัน และแลวทานศาสนทูต (อัลลอฮฺทรงประทานความจําเริญและความสันติสุขแดทานและแด บรรดาลูกหลานของทาน) ไดกลาววา “ฉันมิไดสั่งปดประตูท้ังหลายของพวกทานแลวสั่งใหเปด ประตูของอาลี โดยพละการของฉัน แตทวาอัลลอฮฺตางหากที่พระองคไดเปดประตูของเขาและปด ประตูทั้งหลายของพวกทา น”(189) ขอมลู ตา ง ๆ เหลานค้ี งจะเปน ที่เพยี งพอสาํ หรับสง่ิ ทีเ่ ราไดเ สนอไปแลว วาทา นอาลีกับนบีฮา รูนน้นั มลี ักษณะท่ีเสมอเหมือนกันในทกุ ๆ มาตรการและคุณลกั ษณะ (ยกเวน การเปน นบ)ี วัสลาม (ช) อลั -มุรอญอิ ะฮฺ 35 27 ซุล-ฮจิ ญะฮ 1329 • ขอพสิ ูจนหลักฐานอ่ืน ๆ ท่ียังเหลอื อยู หน้า ๒๓๔


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook