Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SAR64 วชิราวุธวิทยาลัย 22-7-65

SAR64 วชิราวุธวิทยาลัย 22-7-65

Published by dujsangtum, 2022-08-01 02:26:05

Description: SAR64 วชิราวุธวิทยาลัย 22-7-65

Search

Read the Text Version

-ก- สารบัญ หนา้ สารบัญ ก สารบัญตาราง ง สารบัญภาพ จ สว่ นที่ 1 บทสรุปของผู้บริหาร ตอนที่ 1 ข้อมูลปจั จบุ นั 1 ตอนท่ี 2 การนาเสนอผลการประเมินตนเอง 3 ส่วนท่ี 2 ขอ้ มลู พ้นื ฐาน 2.1 ขอ้ มลู พ้นื ฐาน 9 2.2 ข้อมูลพ้ืนฐานแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 15 2.3 ผลการดาเนนิ งานตามแผนปฎบิ ัตกิ ารประจาปีของสถานศึกษา 16 2.4 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของผเู้ รยี น 23 2.5 นวัตกรรม/แบบอย่างทด่ี ี 28 2.6 รางวัลทส่ี ถานศกึ ษาไดร้ ับ 39 2.7 การดาเนินงานตามนโยบายและจุดเนน้ กระทรวงศึกษาธิการ 39 2.8 ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกของ สมศ.ท่ผี ่านมา 40 2.9 หน่วยงานภายนอกที่โรงเรยี นเขา้ ร่วมเปน็ สมาชิก 41 ส่วนท่ี 3 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 3.1 ผลการประเมนิ ตนเองรายมาตรฐาน 42 3.2 สรุปผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา 72 3.3 จุดเดน่ 73 3.4 จุดควรพัฒนา 74 3.5 แนวทางการพัฒนา 75 3.6 ความตอ้ งการช่วยเหลือ 77 ภาคผนวก ภาคผนวก ก 78

-ข- หนา้ - ประกาศโรงเรียน เรอื่ งกาหนดมาตรฐานการศึกษาและ 80 ค่าเป้าหมายวชริ าวุธวิทยาลัยปีการศึกษา 2564 - รายละเอยี ดเกณฑ์คุณภาพของประเด็นพจิ ารณาตาม 82 มาตรฐานการศึกษา - รายงานการประชมุ คณะกรรมการบรหิ าร เร่อื งการให้ 90 ความเหน็ ชอบผลการประเมนิ ตนเองของวชิราวุธวิทยาลยั ปีการศึกษา 2564 (SAR 64) - คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจดั ทารายงานการประเมินตนเองของ 92 วชิราวธุ วทิ ยาลยั ปกี ารศึกษา 2564 - หลักฐานแสดงการเผยแพร่ผลการประเมินตนเองของ 94 วชริ าวธุ วิทยาลัยปกี ารศึกษา 2564 ภาคผนวก ข - ประวตั โิ รงเรียนวชิราวธุ วทิ ยาลยั 96 - โครงสรา้ งการบริหารงานวชิราวุธวิทยาลัย พ.ศ. 2564 99 - แผนผังอาคารสถานทว่ี ชิราวธุ วิทยาลัย 100 - แผนผงั การใช้หอ้ งเรียน ปกี ารศึกษา 2563 – 2564 101 ภาคผนวก ค - โครงสรา้ งเวลาเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2564 108 - รายวชิ าเพ่มิ เติมเลอื กตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2564 119 ภาคผนวก ง - ผลการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ปีการศึกษา 2563 124 - ผลการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายนอก (พ.ศ. 2565 – พ.ศ. 2569) 126 ภาคผนวก จ - ตวั อยา่ งแผนการจัดการเรียนรู้ Online และ Onsite 138 - ผลการประเมินดา้ นการพัฒนาครฝู ่ายวิชาการ 158 - การจดั กิจกรรมพัฒนานักเรียนด้านดนตรี ศิลปะ กีฬา 171

-ค- หน้า ชมรมและ สมาคม ภาคผนวก ฉ - ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เร่อื งหลักเกณฑต์ ามข้อกาหนด 181 ออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกาหนดการบริหารราชการ ในสถานการณ์ฉกุ เฉนิ พ.ศ. 2548 (ฉบับท3ี่ 2) - ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรือ่ งหลกั เกณฑ์การเปดิ โรงเรียน 182 หรือสถาบนั การศกึ ษาตามขอ้ กาหนดออกตามความในมาตรา 9 แหง่ พระราชกาหนด การบริหารราชการในสถานการณฉ์ ุกเฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบบั ท่ี32) - ประกาศสานักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน 191 เร่อื งแนวปฎิบัติการจดั การเรียนการสอนและการวัดและประเมนิ ผล ให้มีความยืดหย่นุ ในชว่ งสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 - คณะกรรมการจัดทารายงานการประเมนิ ตนเองของวชริ าวธุ 197 วิทยาลัย ปีการศกึ ษา 2564

-ง- ตารางที่ สารบญั ตาราง 2.1 หน้า 2.2 2.3 แสดงจานวนและร้อยละของนักเรยี นที่มผี ลการเรียนตัง้ แต่ระดับ 3 ข้นึ ไป 23 2.4 ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 – ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2564 2.5 3.1 แสดงจานวนและรอ้ ยละของนกั เรยี นที่มผี ลการเรียนต้ังแต่ระดับ 3 ขึ้นไป 24 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 – ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 แสดงจานวนและรอ้ ยละของนกั เรียนที่มผี ลการเรียนต้ังแต่ระดบั 3 ขน้ึ ไป 26 ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 – ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 แสดงจานวนและรอ้ ยละของนกั เรยี นทมี่ ีผลการเรียนตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป 27 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 – ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 แสดงจานวนและรอ้ ยละของนักเรียนที่มีผลการเรียนต้ังแต่ระดบั 3 ข้นึ ไป 28 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 – ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 แสดงผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรยี นต่อการจดั การเรียนการสอน 55 ของครจู านวน 64 คน ประจาปีการศึกษา 2564 (นักเรียนผปู้ ระเมนิ จานวน 412 คน)

-จ- สารบญั ภาพ ภาพที่ หน้า 1 แสดงระบบการบรหิ ารจดั การวชิราวธุ วิทยาลัย 2 2 แสดงกรอบในการในการปรบั ปรุง/พัฒนารายวชิ าเพ่ิมเติม 31 3 หลักสูตรวชิราวุธวทิ ยาลัย ปกี ารศกึ ษา 2565 - 2567 4 แสดงกระบวนการจัดทาแผนเพอื่ เตรียมความพรอ้ มในการตอบสนอง 36 5 ตอ่ วสิ ยั ทัศน์ พันธกจิ และเปา้ หมายใหมว่ ชิราวุธวิทยาลยั 6 7 สายงานกจิ การนักเรียน 8 แสดงรา่ งแผนแมบ่ ท พ.ศ. 2564 - 2568 สายงานกิจการนักเรียน 37 9 10 แสดง Template เพ่อื ใช้ในการนาเสนอความก้าวหนา้ ในการดาเนินงาน 38 รายไตรมาส แสดงพระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจา้ อยูห่ ัว 60 แสดงคาแปลพระราชบนั ทึก(บางส่วน)ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎ 61 เกล้าเจา้ อยู่หัว แสดงฉากทัศน์ของระบบการศึกษาในอนาคต 61 แสดงทักษะของศตวรรษท่ี 21 62 แสดงภาพรวมยุทธศาสตร์ของวชิราวุธวิทยาลยั 62

รายงานผลการประเมินตนเองวชิราวธุ วิทยาลยั (Self – Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน โรงเรยี นวชริ าวธุ วิทยาลยั เลขท่ี 197 ถนนราชวถิ ี เขตดุสิต กรงุ เทพฯ 10300 สงั กัด สานักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน กระทรวงศกึ ษาธิการ

-1- สว่ นท่ี 1 บทสรปุ ของผู้บริหาร วชิราวุธวิทยาลัยเป็นโรงเรียนในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ก่อต้ังขึ้นเม่ือ วัน พฤหสั บดี ท่ี 29 ธันวาคม พ.ศ. 2453 (ร.ศ. 129) และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานนาม โรงเรียนว่า “โรงเรียนมหาดเล็กหลวง” อีกทั้งทรงรับโรงเรียนให้อยู่ในพระบรมราชูปถัมภ์พิเศษส่วน พระองค์ มีสถานะเป็นส่วนราชการข้ึนตรงต่อองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แต่ฝากการบังคับ บัญชาไว้กบั สภาจางวางกรมมหาดเล็กซ่ึงมหี นา้ ทป่ี กครองบังคับบัญชาราชการทงั้ ปวงในกรมมหาดเล็ก ต่างพระเนตรพระกรรณ มีพระบรมราโชบายในการจัดการศึกษาของวชิราวธุ วิทยาลัยให้เป็นแนวทาง ในการฝึกอบรมนักเรียน โดยพระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์เป็นค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ภายในโรงเรียน ท้งั หมดและพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ในรชั กาลต่อ ๆ มา ทรงเปน็ องคพ์ ระบรมราชปู ถัมภ์โรงเรียน สืบเนอื่ งทกุ พระองค์ การบริหารงานภายในดาเนินการโดยคณะกรรมการอานวยการวชิราวุธวิทยาลัยซ่ึงได้รับ พระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งและกราบบังคมทูลขอพระบรมราชานุมัติแต่งตั้งผู้บริหาร สถานศึกษาสูงสดุ คือ “ผู้บังคับการ” ซึ่งทาหน้าที่บริหารโรงเรียนและลงนามแทนผรู้ ับใบอนุญาตและ ผู้จัดการ ผู้บังคับการคนปัจจุบัน คือ นายเกียรติคุณ ชาติประเสริฐ เข้ารับตาแหน่งในวันท่ี 1 มีนาคม พ.ศ. 2564 มวี าระดารงตาแหนง่ 5 ปี ปัจจุบันวชิราวุธวิทยาลัยมีแนวทางการบริหารและการจัดการวชิราวุธวิทยาลัยที่มุ่ งเน้น การเปิดอิสรภาพการเรียนรู้เพ่ือเติมเต็มศักยภาพและสร้างนักเรียนให้เป็นสุภาพบุรุษวชิราวุธท่ีสมดุล ทั้งด้านวิชาการและคุณภาพความเป็นมนุษย์ ตามแนวพระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมีแนวคิดการบริหารและการจัดการท่ีอิงมาตรฐานระบบคุณภาพที่ เป็นสากล ประกอบด้วย การพัฒนา ด้านการนาองค์กร ด้านกลยุทธ์ ด้านนักเรียน และผู้มีส่วนได้ ส่วนเสยี ดา้ นระบบสารสนเทศ ด้านบุคลากร (ครู ผ้กู ากับคณะ และบุคลากรอื่น ๆ) ด้านกระบวนการ ทางานและดา้ นผลลพั ธ์ มีการปรับโครงสร้างดา้ นการบริหารเพื่อรองรับการดาเนินงานของสถานศึกษา ให้บรรลุตามวิสัยทศั น์และภารกจิ ภายใตบ้ รบิ ทของวชิราวธุ วทิ ยาลยั อยา่ งมีประสิทธิภาพ ดังน้ี จากเดมิ มี 3 สายงาน คือ สายงานวิชาการ สายงานกจิ การนักเรียน และสายงานบริหาร ปัจจบุ ันได้มีการปรับ เพิ่มอีก 1 สายงาน คือ สายงานกลยุทธ์องค์กรและพัฒนาองค์กร เพื่อรับผิดชอบงานฝ่ายกลยุทธ์ องค์กร การประกันคุณภาพการศึกษา และฝ่ายพัฒนาศักยภาพองค์กรและความยั่งยืน (รายละเอียด ผังโครงสร้างบริหารวชริ าวุธวทิ ยาลัยแสดงในภาคผนวก) ทาให้การบริหารงานมีผรู้ ับผิดชอบครอบคลุม ภาระกจิ ของงานทง้ั หมดในโรงเรียน นอกจากน้ัน เพ่ือให้เกิดการขับเคลื่อนและการเปล่ียนแปลงอย่างพลิกโฉมทัน การเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนอย่างรวดเร็วทุกมิติ จึงเชิญผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่มีประสบการณ์และ ความเชี่ยวชาญด้านต่าง ๆ ในรูปแบบของคณะกรรมการเพ่ือให้คาปรึกษาฝ่ายบริหาร เช่น คณะกรรมการวิชาการให้คาปรึกษาการพัฒนาด้านวิชาการ คณะกรรมการ ดูแลและพัฒนา ความเป็นอยู่ของนักเรียนวชิราวุธวิทยาลัย เพื่อพัฒนาด้านการดูแลนักเรียนในระบบคณะ คณะกรรมการพัฒนาและขับเคลื่อนวชิราวุธวิทยาลัย เพื่อให้เกิดการพัฒนาและขับเคล่ือน วชิราวุธวิทยาลัยให้มีประสิทธิภาพตามวิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าหมาย คณะกรรมการตรวจสอบ

-2- ภายใน และคณะกรรมการบริหารจัดการทรัพย์สิน เพ่ือให้มีการใช้จ่ายงบประมาณอย่างประหยัด คุ้มค่า โปร่งใสและตรวจสอบได้ เปน็ ต้น โรงเรียนได้มีการออกแบบระบบการบริหารจัดการวชิราวุธวิทยาลัยเป็นสองส่วน ดังน้ี ส่วนที่ 1 การบริหารจัดการที่ตอบสนองความต้องการของนักเรียนเป็นหลัก (Front - End) ประกอบด้วย สายงานวิชาการ และสายงานกิจการนักเรียน เพื่อมุ่งเน้นพัฒนาการบริหารจัดการ ให้ตอบสนองเป้าหมายและความต้องการของนักเรียนและผู้ปกครอง มีการพัฒนาระบบนิเวศน์ ทางการเรียนรู้ (Vajiravudh Learning Ecosystem) เพ่ือให้นักเรียนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตและต่อยอดเพื่อการศึกษาต่อในระดับสูงต่อไป ตลอดจน ส่งเสริมให้นักเรียนได้สร้างชื่อเสียงและความภาคภูมิใจให้แก่ตนเองผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ที่พึงมี ในบริบทของโรงเรียนประจา สิ่งที่โรงเรียนให้ความสาคัญท่ีสุด คือ นักเรียนจะต้องมีความอบอุ่น มีความปลอดภัย และมีคุณภาพชีวิตที่ดีในกิจวัตรประจาวันท่ีโรงเรียนจัดให้อย่างเหมาะสม ส่วนท่ี 2 การบริหารจัดการที่ตอบสนองการบริหารจัดการภายในโรงเรียนเป็นหลัก (Back - End) ประกอบด้วย สายงานบริหาร และสายงานกลยุทธ์และพัฒนาองค์กร โดยในส่วนนี้จะมุ่งเน้น การพัฒนากลไกการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพสูง (เร็ว แม่นยาสูง ประหยัด และโปรง่ ใส) เพื่อใหก้ ารบริหารจดั การโรงเรยี นทงั้ ระบบมีประสทิ ธิภาพสูงไปด้วย (ดงั ภาพท่ี 1) ภาพที่ 1 แสดงระบบการบรหิ ารจัดการวชิราวุธวทิ ยาลัย ตอนท่ี 1 ข้อมลู ปจั จุบัน วชิราวุธวิทยาลัยเป็นโรงเรียนประจาชาย เปิดสอนต้ังแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 ถึง ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 โดยในปีการศึกษา 2564 มีนักเรียนท้ังสิ้น 991 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2564) จานวนครูและบุคลากร รวมทั้งส้ิน 144 คน (ไม่รวมเจ้าหน้าที่บริการ) จานวนครูด้านวิชาการ 64 คน อัตราส่วนครูต่อนักเรียนเท่ากับ 1 ต่อ 16 มาตรฐานเพื่อการประกัน คุณภาพการศึกษาภายในของวชิราวุธวิทยาลัย ปีการศึกษา 2564 (ตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร และสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ลงวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2561) มีจานวน ทั้งส้ิน 3 มาตรฐาน ดังน้ี มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและ การจดั การ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ นกั เรียนเป็นสาคัญ

-3- ในปีการศึกษา 2564 โรงเรียนได้รับผลกระทบจากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนได้ตามปกติ (Onsite) จึงจาเป็นต้องปรับรูปแบบ การจัดการเรียนการสอนเป็น Online Onsite และ Hybrid และวิธีการวัดประเมินผลให้มี ความยืดหยุ่น โดยยึดนโยบายกระทรวงศึกษาธิการและแนวปฎิบัติการจัดการเรียนการสอนและ การประเมินผลในสถานการณ์ดังกล่าวข้างต้นของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เป็นแนวทางในการบริหารและจัดการศึกษาของวชิราวธุ วิทยาลยั ท้ังน้ี ในการเปิดโรงเรียนเพ่ือให้นักเรียนมาเรียน Onsite โรงเรียนจัดระบบการดูแล ความสะอาดอาคารสถานที่ การจัดอาคารและพ้นื ท่ี ตลอดจนการดูแลเรือ่ งสขุ อนามยั ของนกั เรยี นและ บุคลากร ตามมาตรการ Sandbox: Safety Zone in school สาหรับโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษา ประเภทพักนอน ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเปิดโรงเรียนหรือสถาบัน การศึกษาตามข้อกาหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกาหนดการบริหารราชการใน สถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 42) นอกจากน้ี ในด้านการบริหารจัดการด้านวัคซีนครู/ บุคลากรและนกั เรยี น ไดร้ ับวัคซนี ตง้ั แต่ 3 เข็มขน้ึ ไปคดิ เป็นร้อยละ 100 ตอนที่ 2 การนาเสนอผลการประเมินตนเอง 2.1 สรุปผลการประเมินตนเองจาแนกตามมาตรฐาน มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผเู้ รยี น ดีเลิศ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ยอดเยยี ม มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคญั ดีเลศิ 2.2 สรุปผลการประเมินตนเองจาแนกตามประเด็นมาตรฐาน มาตรฐานการศึกษา ระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รียน ดเี ลศิ ผลสมั ฤทธทิ์ างวชิ าการของผเู้ รยี น ดีเลศิ 1. มคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น การสอื่ สาร และการคิดคานวณ ดีเลิศ 2. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นและแก้ปัญหา ดีเลิศ ดีเลศิ 3. มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม ยอดเยยี่ ม 4. มคี วามสามารถในการในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ยอดเย่ียม 5. มีผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นตามหลักสูตรสถานศกึ ษา 6. มคี วามรูท้ ักษะพนื้ ฐานและเจตคตทิ ี่ดตี ่องานอาชพี ยอดเยี่ยม คุณลักษณะท่ีพึงประสงคข์ องผูเ้ รยี น ยอดเยีย่ ม 1. การมคี ณุ ลกั ษณะและคา่ นยิ มทด่ี ีตามทสี่ ถานศกึ ษากาหนด 2. ความภมู ใิ จในทอ้ งถนิ่ และความเปน็ ไทย

-4- 3. การยอมรับทจี่ ะอยู่รว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย ยอดเยี่ยม 4. สขุ ภาวะทางรา่ งกายและจติ สงั คม ยอดเยี่ยม ยอดเยย่ี ม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ยอดเย่ยี ม ยอดเยี่ยม 1. มีเปา้ หมายวสิ ยั ทศั น์และพนั ธกจิ ทีส่ ถานศึกษากาหนดชดั เจน 2. มรี ะบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษา ยอดเยย่ี ม 3. ดาเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร ดีเลศิ สถานศึกษาและทกุ กลุ่มเป้าหมาย ยอดเยี่ยม ยอดเยย่ี ม 4. พัฒนาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความเช่ียวชาญทางวชิ าชีพ 5. จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเอ้ือต่อการจักการเรียนรู้อยา่ งมีคุณภาพ ดเี ลศิ 6. จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ สนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการ และการจดั การเรยี นรู้ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ ดเี ลศิ 1. จดั การเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ัตจิ ริงและสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิต ดเี ลศิ ได้ ดีเลศิ 2. ใช้ส่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่งเรยี นรู้ทีเ่ อ้ือตอ่ การเรียนรู้ 3. มีการบริหารจดั การช้ันเรยี นเชงิ บวก ดเี ลิศ 4. ตรวจสอบและประเมนิ ผูเ้ รยี นอยา่ งเป็นระบบ และ นาผลมาพัฒนาผเู้ รยี น 5. มีการแลกเปล่ียนเรียนรแู้ ละให้ขอ้ มลู สะท้อนกลับ เพอื่ พัฒนาปรบั ปรงุ การจดั การ เรียนรู้ สรปุ ผลการประเมินดงั น้ี มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน มีคุณภาพระดับ ดีเลิศ ประกอบด้วย ประเด็นหลัก ดา้ นผลสัมฤทธท์ิ างวชิ าการของผู้เรียนมปี ระเด็นพิจารณาทั้งหมด 6 ประเดน็ พบวา่ ประเดน็ พิจารณา ท่ีมีคุณภาพระดับดีเลิศมี 4 ประเด็น ซึ่งเป็นประเด็นท่ีโรงเรียนต้องคานึงถึงและพัฒนาต่อไป คือ ความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร และ การคิดคานวณ ความสามารถใน การคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นและแก้ปัญหา ความสามารถในการสร้างนวัตกรรมความสามารถ มีความสามารถในการในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสาร สาหรับประเด็นหลักด้านคุณลักษณะพึงประสงค์มีประเด็นพิจารณา ท้งั หมด 4 ประเด็น พบว่า ผลการประเมินได้คุณภาพระดบั ยอดเยี่ยม ทุกประเด็น มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มีคุณภาพระดับ ยอดเย่ียม พบว่า จากประเด็นหลักทั้งหมด 6 ประเด็น มีประเด็นท่ีผลการประเมิน ได้คุณภาพระดับยอดเยี่ยม 5 ประเด็น และประเด็นท่ีมีผลการประเมิน ได้คุณภาพระดับ ดีเลิศ 1 ประเด็น คือ พัฒนาครูและ บุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ มีประเด็นพิจารณาท่ียังไม่สามารถบรรลุเป้าหมาย คือ การพัฒนาครูให้สามารถมีผลการปฎิบัติงานท่ีถอดบทเรียนเพื่อสร้างนวัตกรรมหรือวิธีการท่ีเป็น แบบอยา่ งทีด่ ที ส่ี ง่ ผลตอ่ การเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นได้

-5- มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีคุณภาพระดับ ดีเลิศ พบว่า จากประเด็นหลักท้ังหมด 5 ประเด็น มีประเด็นที่มีผลการประเมินระดับยอดเยี่ยม 1 ประเด็น คือ การจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตได้ ซ่ึงเกิดจากการที่ฝ่ายวิชาการพัฒนาครูในเร่ืองการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning อย่างต่อเน่ืองมาเป็นเวลา 3 ปี ตั้งแต่ ปีการศึกษา 2562 จนถึงปัจจุบัน สาหรับประเด็นพิจารณาอีก 4 ประเดน็ มผี ลการประเมิน คณุ ภาพระดบั ดเี ลิศ ทุกประเด็น 2.3) หลักฐานสนบั สนุนผลการประเมินตนเองตามระดับคุณภาพ ด้วยระบบการบริหารจัดการของวชิราวุธวิทยาลัยดังกล่าว ส่งผลให้การดาเนินงาน จัดการศึกษาประสบความสาเร็จ โดยมีหลักฐานสนับสนุน ดังน้ี 1. รายงานสรุปผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนของนักเรียน 2. หลักสูตรสถานศึกษาท่ีได้รับการพัฒนาให้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน มีความยืดหยุ่น ทันสมัย และมีอิสระในการเลือกเรียน ตอบสนองวิสัยทัศน์วชิราวุธวิทยาลัย 3. แผนการจัดการเรียนรู้ของครูท้ัง Online และ Onsite ทุกรายวิชา แสดงให้เห็นถึงการจัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบ Active Learning และพัฒนาทักษะที่สาคัญของนักเรียนในศตวรรษท่ี 21 4. กระบวนการประเมินคุณลักษณะพึงประสงค์ท้ังด้านวิชาการและด้านคณะอย่างรอบด้าน 5. รายงานสรุปผลการประเมินการจัดกิจกรรมพัฒนาครูท่ีแสดงให้เห็นถึงศักยภาพของครู อย่างเป็นรูปธรรม และประเมินความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนการสอนของครู ประจาปีการศึกษา 2564 และประเมินผลการจัดการเรียนการสอน Online ปีการศึกษา 2564 6. กระบวนการจัดทาวิสัยทัศน์ เป้าหมาย พันธกิจ เป้าหมายและตัวชี้วัด ท่ีทุกคนมีส่วนร่วม 7. แผนพัฒนาของทุกสายงานและมีโครงการ/กิจกรรมท่ีคลอบคลุมตัวชีว้ ัดของกลยุทธ์ และมาตรฐาน การศึกษา 8. บันทึกการประชุมของฝ่ายบริหารทุกระดับท่ีแสดงให้เห็นผลการทางานเชิงประจักษ์ ตลอดปีการศึกษา 2564 9. แผนพัฒนาระบบสารสนเทศชัดเจนเป็นรปู ธรรม 10. ผลการจัดกิจกรรม และผลงานนักเรียนปีการศึกษา 2564 11. แผนพัฒนาอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม ทางกายภาพท้ังภายในและภายนอกอาคาร จัดให้มีห้องปฎิบัติการที่เพียงพอ มีอุปกรณ์ทันสมัย พร้อมใช้งาน สาหรับจานวนนักเรียนเข้าห้องพักมีความเหมาะสม มีส่ิงอานวยความสะดวก อย่างพอเพียง สะอาด และปลอดภัย 12. กิจกรรมของวชิราวุธวิทยาลัยในเว็บไซด์ของ วชิราวุธวิทยาลัย 13. ผลการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2564 และ 14. ผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจาปีการศึกษา 2563 และ ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบทสี่ ี่ 2.4) โรงเรียนมีแผนจะพัฒนาตนเองอยา่ งไรใหไ้ ดร้ ะดับคุณภาพทด่ี ีขึ้นกวา่ เดมิ 1 ระดับ แผนปฎิบัตงิ านที่ 1 แผนพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น ประกอบด้วย 1. การพัฒนาคุณภาพนักเรียนทั้งด้านวิชาการและด้านคุณลักษณะพึงประสงค์ให้เข้มข้น มากยงิ่ ข้ึนตามวิสยั ทศั น์และจุดเน้นการจัดการศึกษาของโรงเรียน 2. การพฒั นาหลกั สูตรและรปู แบบการเรียนรู้ มีการปรับหลกั สตู รในสว่ นของวิชาเพ่มิ เติมและ เพ่ิมเติมเลือก ให้มีความทันสมัย และพัฒนาการจัดรูปแบบกิจกรรมในคณะที่เน้นการเปิดโอกาส ใหน้ ักเรยี นได้แสดงบทบาท ความรู้ ความสามารถและหน้าท่ตี ามความถนัดและความสนใจ

-6- 3. การพัฒนาการแนะแนวรูปแบบใหม่โดยจัดให้มีศูนย์ Life Design Center และ สร้างความร่วมมือกับพันธมิตร และเครือข่าย ระดับสถาบันอุดมศึกษาชั้นนาท้ังในประเทศและ ตา่ งประเทศ เพื่อเปน็ การเปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นสามารถเขา้ ศึกษาต่อในระดับอดุ มศกึ ษาต่อไป 4. การพัฒนาระบบบริหารจัดการข้อมูลนักเรียนในการดูแลนักเรียนโดยใช้ฐานข้อมูล จากระบบ SCHOOL MIS ของโรงเรยี น เพอ่ื ให้มคี วามความถกู ต้อง สะดวกรวดเรว็ และเป็นปัจจบุ นั แผนปฎิบัตงิ านที่ 2 แผนพัฒนากระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ประกอบดว้ ย 1. การพฒั นาสายงานด้านกิจการนักเรียน สายงานด้านวิชาการและสายงานบรหิ าร 2. การพัฒนาครู และบุคลากร ทุกสายงานให้มีความเป็นมืออาชีพตามสายงานและ ใช้เทคโนโลยใี นการปฎิบตั งิ านอยา่ งคมุ้ คา่ การลงทุน 3. การพัฒนาโครงสร้างและกระบวนการทางานทั้งองค์กรให้มีประสิทธิภาพสูงอย่างมี มาตรฐานที่เนน้ ความรวดเรว็ ความแมน่ ยา ความประหยัด และความโปรง่ ใส 4. การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารการศึกษาและการสือ่ สารทั้งองค์กร แผนปฎบิ ัตงิ านท่ี 3 แผนพัฒนากระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ ประกอบดว้ ย 1. การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ให้มีการผสมผสานระหว่างการเรียนรู้เชิงกายภาพ (Physical Learning) ให้ครอบคลุมเร่ืองการเรียนรู้ในห้องเรียน การเรียนรู้นอกห้องเรียน เน้นการเรียนรู้เชิง ดิจิทัล (Digital Learning) ให้ครอบคลุมการเรียนรู้ด้วย e-Book, Mixed Media, Collaborative learning, Gamification เป็นตน้ 2. การพฒั นาครใู หม้ ีสมรรถนะตามท่ีโรงเรยี นกาหนดเพอ่ื ใหเ้ ป็นครูมืออาชพี ท่ีมคี วามสามารถ ในการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ผูเ้ รยี นเป็นสาคัญ 3. การพัฒนาหมวดวิชา บรรยากาศและสภาพแวดล้อมในการทางานของครู และ การพฒั นาตนเองของครูด้วย ID Plan 2.5) โรงเรียนไดด้ าเนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ดงั น้ี 6.1 มีการเตรียมความพร้อมเพื่อจัดการศึกษาโดยใช้หลักสูตรสมรรถนะ รวมท้ังแนวทาง การจัดการเรียนรู้เชิงรุกและการวัดประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียนที่สอดคล้องกับมาตรฐาน การศึกษาชาติ ด้วยการจัดอบรมพัฒนาครูเร่ืองการจัดการเรียนรู้เชิงรุก โดยคณะวิทยากร จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อให้ครูมีความรู้ความเข้าใจเชื่อมโยงสู่หลักสูตรสมรรถนะและ สามารถออกแบบและจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning และสามารถเลือกหรือ สร้างเครื่องมือในการประเมินสมรรถนะได้ และครูจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางหลักสูตร สมรรถนะเตรยี มตวั ในปีการศึกษา 2565 6.2 ส่งเสริมการพัฒนากรอบหลักสูตรท้องถ่ินและหลักสูตรสถานศึกษาตามความต้องการ จาเป็นของกลุ่มเป้าหมายและแตกต่างหลากหลายตามบริบทของวชิราวุธ มีหลักสูตรท้องถ่ินของ วชิราวุธวิทยาลัย คือวิชานักเรียนวชิราวุธ วิชาสุภาพบุรุษวชิราวุธ และวิชาพระมหาธีรราชเจ้า 6.3 พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สามารถแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าได้ อย่างมีประสทิ ธภิ าพ โดยจัดการให้ครจู ัดการเรยี นรู้เชิงรุก (Active Learning) ผา่ นสถานการณ์จาลอง และลงมือปฎิบัติ ตลอดจนการจัดการเรียนการสอนให้นักเรียนแสดงความคิดเหน็ สามารถวิพากษ์ได้

-7- โดยอา้ งองิ หลักการทางวชิ าการโดยเปิดสอน รายวิชา Coding การแก้ปญั หาเชิงคณิตศาสตร์ กา้ วแรก กับสะเต็ม สะเตม็ นา่ รู้ ทักษะวิทยาศาสตร์กบั สะเต็ม และสะเต็มศกึ ษา เป็นต้น 6.4 พัฒนาผู้เรียนให้มีความรอบรู้และทักษะชีวิตด้วยการเปิดหลายวิชาเลือกท่ีหลากหลาย ให้นักเรียนมีอิสระในการเลือก ทั้งการรู้เท่าทันเทคโนโลยี กฎหมายเบ้ืองต้น กฎหมายเก่ียวกับ คอมพิวเตอร์ การส่งเสรมิ ใหม้ ีความรกั ในอาชพี ได้แก่ผู้ประกอบการรุ่นเยาว์ เป็นต้น การรักสุขอนามัย และสุขภาวะทางจิตที่ดีด้วยการจัดกิจกรรมภาคบ่ายของฝ่ายกิจกรรม คือ ดนตรี กีฬา ศิลปะและ กิจกรรมสมาคม/ชมรม 6.5 พัฒนาครูให้มีทกั ษะ ความรู้ และความชานาญในการใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทัล ด้วยการจัดการ อบรม Upskill ครูด้านการใช้สื่เคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง ส่งครูและนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน ปัญญาประดิษฐ์เป็นประจาทุกปี เปิดสอนรายวิชาปัญญาประดิษฐ์ โครงงานออกแบบและเทคโนโลยี โครงงานส่ิงประดิษฐ์เป็นวิชาเพ่ิมเติมของนักเรยี นทุกแผนการเรียนในระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย 6.6 ปลูกฝังผู้เรียนให้มีหลักคิดที่ถูกต้องด้านจริยธรรม ด้วยการอบรมตามแนวพระบรมรา โชบายของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท่ีสร้างนักเรียนวชิราวุธให้เป็นสุภาพบุรุษ สุจริต มีวินัย โดยปลูกฝังในกิจวัตรประจาวันของนักเรียนตั้งแต่ตื่นนอนจนกระทั่งเข้านอน รวมท้ังการร่วมกิจกรรม ลูกเสือหลวง มีกิจกรรมรักษาดินแดน กิจกรรมภารกิจพิเศษท่ีเก่ียวข้องกับพิธีการทางศาสนา กจิ กรรมสวดมนต์ เชา้ - เย็น เพือ่ กลอ่ มเกลาจติ ใจนกั เรยี น และสง่ เสริมใหม้ ีกิจกรรมสมาคมหรือชมรม ที่มีลกั ษณะจิตอาสาที่หลากหลาย 6.7 ครูมีการพัฒนาแพลตฟอร์มสาหรับใช้ในการจัดการเรียนการสอน online เพื่อให้นักเรียนใช้ดิจิทัลเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ นอกจากน้ัน ยังเปิดสอนรายวิชาท่ีเก่ียวกับการใช้ แพลตฟอร์มดิจิทัลเป็นจานวนมากในวิชาเพ่ิมเติมเลือก เช่น สร้างสรรค์งานกับไมโครบิท การสร้าง แอพพลเิ คชน่ั การออกแบบเวบ็ ไซด์ เปน็ ตน้ 6.8 ส่งเสริมการพัฒนาสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ให้สามารถ เป็นอาชีพและสร้างรายได้ โดยเปิดรายวิชาประเภทโครงงาน เช่น ผู้ประกอบการรุ่นเยาว์ โครงงาน นวัตกรรม โครงงานสะเต็มศึกษา โครงงานไมโครบิท โครงงานบูรณาการ วิทยาการหุ่นยนต์ และ นวัตกรรุ่นเยาว์ เปน็ ตน้ นอกจากนัน้ ยังนานักเรียนเข้าร่วมการประกวดแข่งขันในรายการตา่ ง ๆ ได้แก่ ผู้ประกอบการร่นุ เยาว์ เข้าแข่งขันในรายการ UN International Day of Education and Pitch @ School Awards Ceremony จัดโดย Gen Thailand ร่วมกบั สาธติ ปญั ญาภวิ ัฒน์ ได้รบั รางวัลชมเชย การนาเสนอแผนธุรกจิ \"นา้ ทอ่ ม\" และรางวัลชนะเลิศ การแขง่ ขัน Board Game \" Land of Growth\" และหมวดวิชาศิลปะและออกแบบนานักเรียนเข้าร่วมแข่งขันหุ่นยนต์ในรายการ World Robot Olympiad Thailand 2021 ประเภททั่วไป รุ่นอายุไม่เกิน 15 ปี (Junior) ได้รับรางวัล รองชนะเลิศ อันดับ 2 จาก LEGO Gammaco และ อพวช. เปน็ ตน้ 6.9 สนับสนุนกิจกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ โดยให้ครู สอนสอดแทรกทกุ รายวิชา 6.10 พัฒนาครูทุกระดับให้มีทักษะ ความรู้ที่จาเป็น เพื่อทาหน้าที่วิทยากรมืออาชีพ (Train The Trainer) และขยายผลการพัฒนาผ่าศูนย์พัฒนาศักยภาพ บุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (Human Capital Excellence Center: HCEC) โดยกาหนดสมรรถนะครูให้ครอบคลุมทักษะความรู้ท่ีจาเป็น จานวน 4 ด้าน คือ 1. ดา้ นศาสตร์การสอน 2. ด้านดิจิทลั และภาษา 3. ด้านพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ผู้เรียน และ 4. ดา้ นการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ และพฒั นาครูใหม้ สี มรรถนะตามมาตรฐานวชริ าวธุ วทิ ยาลยั

-8- 6.11 มีแผนพัฒนารายบุคคลสู่ความเป็นเลิศ (Excellence Individual Development Plan :EIDP) โดยให้ครูทุกคนประเมินและใช้ผลการประเมินสมรรถนะตนเองมาออกแบบการพัฒนา ตนเองและจัดทา ID Plan และสนับสนุนครูให้จัดทาไฟล์ Portfolio Teacher ในระบบดิจิทัล เพ่ือรวบรวมประวัติ เอกสารประกอบการสอน การสืบค้น การเข้าร่วมอบรม/ประชุม/สัมมนา และ ผลงานนวัตกรรมการสอนของตนเอง นายเกียรตคิ ุณ ชาตปิ ระเสริฐ ผู้บังคับการวชิราวุธวิทยาลยั

-9- ส่วนท่ี 2 ขอ้ มูลพืน้ ฐาน 2.1 ข้อมูลพ้นื ฐาน 2.1.1 ขอ้ มลู โรงเรียน โรงเรียน (School Name) : วชริ าวธุ วทิ ยาลยั รหัสโรงเรียน : 1110100022 ทอ่ี ยู่ (Address) : 197 อาคาร (Bldg) : - หมู่ที่ (Village No.) : - ตรอก (Alley) : ซอย (Lane) : - ถนน (Street) : ราชวถิ ี ตาบล/แขวง (Sub-district) : ดุสิต เขต/อาเภอ (District) : ดสุ ิต จงั หวดั (Province) : กรุงเทพมหานคร รหสั ไปรษณยี ์ (Post Code) : 10300 โทรศพั ท์ (Tel) : 026694526 โทรสาร (Fax) : 022436995 อีเมล (E-mail) : - เวบ็ ไซต์ (Website) : http://www.vajiravudh.ac.th ไลน์ (Line) : - เฟซบกุ๊ (Facebook) : - ไดร้ ับอนญุ าตจัดต้งั วันท่ี 29 เดือนธนั วาคม พ.ศ. 2453 ระดับช้นั ท่เี ปิดสอน ประถมศึกษาปีที่ 4 ถงึ ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 จานวนนกั เรียน 991 คน จานวนครูและบุคลากร 144 คน ลกั ษณะผ้รู บั ใบอนญุ าต  บุคคลธรรมดา  นติ บิ ุคคล  มลู นิธิในพทุ ธศาสนา/การกุศลของวัด  ห้างหุ้นส่วนจากดั  มูลนิธใิ นครสิ ต์ศาสนา  มูลนิธิในศาสนาอิสลาม

- 10 - 2.1.2 จานวนห้องเรียน/ผู้เรียนจาแนกตามระดบั ชน้ั ที่เปิดสอน (ณ เดอื น มิ.ย. พ.ศ. 2564) ระดับทเี่ ปดิ สอน การจดั จานวน จานวน จานวนผเู้ รียน รวม การเรยี นการสอน ห้องเรียน ผเู้ รยี นปกติ ทม่ี คี วาม จานวน ผู้เรียน ระดับประถมศกึ ษา 5 ชาย หญงิ ต้องการพเิ ศษ ประถมศึกษาปีที่ 4 ห้องเรียนปกติ 4 ชาย หญงิ 112 ประถมศึกษาปีท่ี 5 ห้องเรียนปกติ 5 112 - 98 ประถมศึกษาปีที่ 6 ห้องเรยี นปกติ 14 98 - -- 115 115 - -- 325 รวม ห้องเรียนปกติ 6 325 - -- ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 6 -- 126 มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 หอ้ งเรียนปกติ 6 126 - 125 มัธยมศึกษาปที ่ี 2 ห้องเรยี นปกติ 18 125 - -- 136 มัธยมศึกษาปที ี่ 3 หอ้ งเรียนปกติ 136 - -- 387 6 387 -- รวม ห้องเรยี นปกติ 5 102 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 5 102 - -- 90 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 หอ้ งเรียนปกติ 16 90 - -- 87 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 หอ้ งเรียนปกติ 48 87 - -- 279 มัธยมศึกษาปที ี่ 6 ห้องเรียนปกติ 279 991 991 รวม หอ้ งเรียนปกติ รวมทัง้ สิน้ ห้องเรียนปกติ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ตาแหนง่ ระดบั การศกึ ษา ชอื่ -นามสกุล ปริญญาโท ผู้บังคับการ ปริญญาเอก นายเกยี รตคิ ุณ ชาตปิ ระเสริฐ ปริญญาโท ดร.อญั ชลี ประกายเกยี รติ รองผู้บังคับการสายงานวชิ าการ ปรญิ ญาโท พลเรอื เอกพสิ ิษฐ์ ทองดเี ลิศ รองผบู้ งั คบั การสายงานกิจการ ปรญิ ญาโท นายเจษฎา กาญจนโบษย์ นายพรพงศ์ กนษิ ฐานนท์ นกั เรยี น รองผู้บังคบั การสายงานบริหาร รองผู้บงั คับการสายงานยทุ ธ์ศาสตร์ และพัฒนาองคก์ ร

- 11 - 2.1.3 จานวนครู และบุคลากรทางการศกึ ษา (เฉพาะที่บรรจุเท่านนั้ ) 1) สรุปจานวนครแู ละบุคลากรทางการศึกษา จาแนกวุฒิการศกึ ษาและประเภท/ตาแหนง่ ประเภท/ตาแหนง่ จานวนครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ป.เอก รวม ตา่ กวา่ ป.ตรี ป.ตรี ป.บณั ฑิต ป.โท 17 ผ้สู อนการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน 1 ระดบั ประถมศึกษา 45 1 1. ครไู ทย - 11 - 6 - 64 2. ครชู าวตา่ งชาติ - 1 - - - 3 61 ระดบั มธั ยมศึกษา 16 80 1. ครูไทย - 25 - 20 - 144 2. ครชู าวตา่ งชาติ - 1 - - - รวม 0 38 0 26 0 บุคลากรทางการศึกษา - บรรณารกั ษ์ - 3 - -- - เจ้าหนา้ ที่ 3 45 - 12 1 บคุ ลากรอื่น ๆ - 4 - 12 - รวม 3 52 0 24 1 รวมท้งั สิ้น 3 90 0 50 1 ทีม่ า: ฝา่ ยวชิ าการและทรัพยากรบุคคล สรุปอัตราส่วน สรปุ อตั ราส่วน จานวน จานวน จานวน ผเู้ รยี นตอ่ ครู ผเู้ รียนต่อหอ้ ง ระดบั ประถมศกึ ษา ห้อง นักเรยี น ครู 19 : 1 24 : 1 14 325 18 ระดับมธั ยมศกึ ษา 34 666 46 15 : 1 20 : 1

- 12 - 2) จานวนครผู สู้ อนจาแนกตามระดบั และกลุ่มสาระการเรียนรู้ ก. จานวนครูผ้สู อนจาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดบั ชั้นที่สอนและตรงเอก/ไม่ตรงเอก จานวนครผู สู้ อน ระดับ/กลมุ่ สาระ ปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษา การเรยี นรู้ รวม ตรง ไมต่ รง ตรง ไม่ตรง ไมต่ รง ภาษาไทย เอก เอก เอก เอก ตรงเอก เอก คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์และ 1 - 5 -6 เทคโนโลยี 3 - 8 - 11 สังคมศึกษา ศาสนา วฒั นธรรม 2 - 7 2 11 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 3 - 7 - 10 ศิลปะ การงานอาชพี 2 - 3 -5 ภาษาตา่ งประเทศ 3 - 3 -6 1 1 3 27 รวม 2 - 3 38 17 1 39 7 64

- 13 - ข. จานวนครูผู้สอนจาแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับช้ันที่สอนและตรงเอก/ไม่ตรงเอก และวฒุ กิ ารศกึ ษา ระดับชน้ั ท่ีสอน วุฒิการศกึ ษา ระดับ ระดบั มธั ยมศึกษา ประถมศึกษา หมวดวิชา ภาษาไทย ปรญิ ญา ปรญิ ญา ปริญญา รวม ตรงเอก ไม่ตรง ตรงเอก ไมต่ รง ตรี โท เอก เอก เอก 3 3 - 61 - 5 - คณิตศาสตร์ 6 5 - 11 3 - 8 - วทิ ยาศาสตร์และ 4 7 - 11 2 - 7 2 เทคโนโลยี สงั คมศึกษา ศาสนาฯ 6 4 - 10 3 - 7 - สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 4 1 - 5 2 - 3 - ศิลปะ 4 2 - 6 3 - 3 - การงานอาชพี 5 2 - 71 1 3 2 ภาษาต่างประเทศ 6 2 - 82 - 3 3 รวม 38 26 - 64 17 1 39 7 ค. ตารางสรุปจานวนครทู ส่ี อนกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน จานวนครผู ู้สอน ประถมศกึ ษา มัธยมศกึ ษา รวม กจิ กรรมนักเรียน - ลกู เสือ 21 43 64 - รกั ษาดนิ แดน (ร.ด.) -- - กิจกรรมชมุ นมุ ชมรม 21 43 64 1 12 กจิ กรรมแนะแนว 14 14 28 กิจกรรมเพื่อสงั คม และสาธารณประโยชน์ 57 101 158 รวม

- 14 - ง. สรุปจานวนครูและบุคลากรทางการลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาดและผู้บาเพญ็ ประโยชน์ ลูกเสือ/เนตรนารี/ยวุ กาชาด/ จานวน จานวนวฒุ ทิ างลูกเสอื สถานการณ์ ผูบ้ าเพ็ญประโยชน์ ผู้บังคับบัญชา มีวุฒิ ไมม่ วี ุฒิ จัดต้ังกองลกู เสือ ลกู เสอื เนตรนารี สารอง 1 - - ไม่จัดต้งั ลูกเสือ เนตรนารี สามญั 19 18 1 จัดตัง้ ลกู เสอื เนตรนารี สามญั ร่นุ ใหญ่ 31 ลูกเสือ เนตรนารี วสิ ามญั - 43 - จัดตง้ั ยวุ กาชาด - ผู้บาเพ็ญประโยชน์ - - - ไมจ่ ัดตัง้ 51 รวม - - ไมจ่ ัดตั้ง - - ไมจ่ ัดตง้ั 61 1 จ. สรุปจานวนครทู ีท่ าหน้าท่คี ัดกรอง และนักเรียนท่มี คี วามต้องการจาเปน็ พเิ ศษ (กรณโี รงเรียน มนี ักเรยี นพเิ ศษเรียนร่วม) จานวนครทู ีท่ าหน้าทคี่ ดั กรอง จานวนนกั เรยี นพิเศษ ครทู ไี่ ด้รบั การขนึ้ ทะเบียน ครทู มี่ ีวฒุ ิ ท้ังหมด ข้นึ ไม่ขึน้ เปน็ ผู้คดั กรอง ทางการศกึ ษาพเิ ศษ ทะเบยี น ทะเบยี น ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร -- -- - ฉ. สรปุ จานวนครทู ่เี ขา้ รับการอบรมเกี่ยวกับโรงเรียนคุณธรรม หนว่ ยงานท่เี ขา้ รับการอบรม จานวนครทู เ่ี ขา้ รบั การอบรม ปที ีอ่ บรม - --

- 15 - 2.2 ข้อมูลพ้นื ฐานแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา วิสยั ทศั น์ (Vision) อิสรภาพในการเรียนรู้ เพ่ือเติมเต็มศักยภาพของผู้เรียน (Liberalizing Individual Potential) ให้ความสาคัญกับศักยภาพเฉพาะตัวของแต่ละบุคคลให้อิสรภาพในการเรียนรู้ อย่างสนุกสนานเพลิดเพลินตามความสนใจ สร้างสมดุลในด้านวิชาการกับ การเสริมสร้างทัศนคติและบุคลิกภาพภายใต้วิถีวชิราวุธ เพ่ือสร้างสุภาพบุรุษที่ พนั ธกจิ (Mission) เปน็ พลเมืองคุณภาพ มีความรคู้ วามสามารถ มคี ณุ ธรรมและศลี ธรรม รูจ้ กั หนา้ ที่ มีวินัยและรับผิดชอบ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม มีความเป็นไทยเท่าทันโลกที่ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มุ่งม่ันบากบ่ันที่จะเผชิญความท้าทาย และสามารถ สรา้ งชีวิตและสังคมท่มี คี วามสุขได้ในอนาคต เปา้ หมาย (Goal) หน่ึงในโรงเรียนประจาชายล้วนท่ีดีที่สุดในโลกโรงเรียนประถมที่เป็นเลิศใน การสร้างทัศนคติและบุคลิกภาพ และเป็นโรงเรียนมัธยมท่ีเป็นเลิศในการสร้าง ศกั ยภาพและความรู้ดา้ นวิชาการ คุณคา่ (Values) จงรักภักดี (Loyalty) ซ่ือสัตย์ (Integrity) ให้เกียรติผู้อื่น (Respect) อ่อนน้อม ถ่อมตน (Humble) รับผิดชอบ (Accountability) เห็นแก่ส่วนรวม (Social Responsibility) นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ อิสรภาพในการเรียนรู้ คือ เสรีภาพท่ีโรงเรียนมอบให้ตามความสนใจของ กลยทุ ธ์ ผเู้ รยี นแต่ละคน ในบรรยากาศการเรียนร้อู ย่างเพลดิ เพลนิ เพิม่ เตมิ จากหลักสูตร พื้นฐานของกระทรวงศึกษาธิการ ภายใต้ศีลธรรมและจรรยาบรรณของสังคมที่ เหมาะสม วิถีวชิราวุธ คือ “ระบบนิเวศแห่งการเรียนรู้” (Vajiravudh Learning Ecosystem) เน้นผู้เรียนเป็นศูนยก์ ลาง (Student Centric) ภายใต้บรรยากาศ ที่มีอิสรภาพในการเรียนรู้ (Liberalizing) อย่างสนุกสนานเพลินเพลิน (Play & Learn) เพ่ือตอบสนองศักยภาพ (Potential) และความใฝ่รู้ (Curiosity) ของผู้เรียนแต่ละคน (Individual) ภายใตส้ มดลุ ระหวา่ งองค์ความรู้ (Academic Knowledge) กบั การพัฒนาคุณภาพมนุษย์ (Human Quality) ดา้ นนักเรยี น ดา้ นบคุ ลากร ดา้ นการบริหารจดั การ

- 16 - 2.3 ผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏิบตั กิ ารประจาปีของสถานศึกษา ปรมิ าณ (รอ้ ยละ) มาตรฐาน ยทุ ธศาสตร์ นโยบาย สช. จุดเนน้ โครงการ เป้าหมาย ผลสาเรจ็ การศกึ ษา ศธ. วชิราวธุ วทิ ยาลัย ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 1. โครงการเสริมศักยภาพ นร. ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ขอ้ ในศตวรรษท่ี 21 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 ดา้ นผ้เู รียน ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 4, 3 ,9 2. โครงการพฒั นากีฬาฟุตบอล ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ข้อ 4 วช. โครงการต่อเนอ่ื ง 2 ปี 100 80 มาตราฐานที่ 1 ขอ้ 4 3. โครงการส่งนักกีฬาว่ายน้า ยุทธศาสตร์ท่ี 3 แขง่ ขนั ภายในและภายนอก 100 100 มาตรฐานที่ 1 ข้อ 4 4. โครงการส่งรักบ้ีฟุตบอล ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 แข่งขันภายในประเทศและ 100 70 มาตรฐานท่ี 1 ขอ้ 4 ต่างประเทศ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 5. โครงการพัฒนากีฬาฟุตบอล 100 100 มาตรฐานที่ 1 ขอ้ 3 วชิราวุธวิทยาลัย (ชลบุรี FC) ยุทธศาสตร์ท่ี 3 โครงการต่อเนือ่ ง 2 ปี 100 100 มาตรฐานที่ 1 ขอ้ 6. โ ค ร ง ก า ร The Duke of ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 4, 7, 9 Edinburgh's International 100 100 มาตรฐานที่ 1 Award (ข้นั พน้ื ฐาน) ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 ข้อ 7. โครงการจัดอยู่ค่ายพักแรม 100 100 มาตรฐานที่ 1 4, 7, 9 ลูกเสือช้ันประถมศึกษาปีที่ 4-6 100 80 มาตรฐานที่ 1 ขอ้ 3, 7 8. โครงการจัดอยู่ค่ายพักแรม ลูกเสือระดับช้ันมัธยมศึกษา 80 80 มาตรฐานท่ี 1 ขอ้ 3, 4 ปที ่ี 1 – 3 (จดั เฉพาะชั้น ม.1) 9. โ ค ร ง ก า ร พั ฒ นา ทักษะ 80 60 มาตรฐานที่ 1 ก ร ะ บ ว น ก า ร เ รี ย น รู้ ด้ ว ย โครงงาน 10. โครงการสร้างเสริมทักษะ แ ล ะ ศั ก ย ภ า พ นั ก เ รี ย น ท า ง วชิ าการภายนอก

- 17 - ปริมาณ (ร้อยละ) มาตรฐาน ยุทธศาสตร์ นโยบาย สช. จดุ เน้น โครงการ การศึกษา ศธ. เปา้ หมาย ผลสาเร็จ วชริ าวธุ วทิ ยาลยั ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 ข้อ 11. โครงการพฒั นาการเรยี นรู้ 80 80 มาตรฐานท่ี 1 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 3, 4, 10 ด้านเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ขอ้ 12. โครงการผู้ประกอบการ 80 80 มาตรฐานที่ 1 ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 3, 4, 10 รนุ่ เยาว์ 80 80 มาตรฐานที่ 1 ข้อ 6 70 80 มาตรฐานท่ี 1 13. โครงการพัฒนาการเรียน ข้อ 4 ก า ร ส อ น ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ สู่ 100 80 มาตรฐานท่ี 1 มาตรฐานสากล ข้อ 4, 8, 10 14. โครงการ การแข่งขัน วิชา กา ร ทา งสั งค ม ศึ กษา ภายนอก หมวดสังคมศึกษา ประจาปีการศกึ ษา 2564 15. โ ค ร งกา ร เ ส ริ ม ทักษะ นักเ รี ย นด้ า นเ ทค โ นโ ล ยี (แข่งขันภายนอก) - แ ข่ ง ขั น หุ่ น ย น ต์ World Robot Olympiad Thailand Online 2021 - ป ร ะ ก ว ด อ อ ก แ บ บ ส่ื อ อ นิ เ ม ช่ั น FAAMAI Youth Projection Mapping Competition 2022

- 18 - โครงการ ปรมิ าณ (รอ้ ยละ) มาตรฐาน ยุทธศาสตร์ นโยบาย เป้าหมาย ผลสาเรจ็ การศกึ ษา สช. จุดเน้นศธ. วชิราวุธ วทิ ยาลยั ยุทธศาสตร์ที่ 3 ขอ้ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 1, 2, 9 ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ด้านบคุ ลากร ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 ขอ้ 1. โครงการอบรมบุคลากร 100 100 มาตรฐานที่ 2 ยุทธศาสตร์ท่ี 3 3, 5, 12 ท า ง ก า ร ลู ก เ สื อ ร ะ ดั บ ชั้ น 85 90 มาตรฐานที่ 3 ความร้เู บ้ืองต้น 95 75 มาตรฐานที่ 2 ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 ขอ้ 5 100 100 มาตรฐานที่ 2 ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 2. พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ค รู ข้อ 4 ด้านดิจิทัล อบรม Upskill 100 100 มาตรฐานท่ี 3 Reskill 85 90 มาตรฐานท่ี 3 ข้อ - อบรมการเรียนการสอน 3, 5, 12 Imake ข้อ 3. โครงการพัฒนาการเรียน 3, 5, 12 ก า ร ส อ น ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ สู่มาตรฐานสากล 4 . พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ค รู ด้านพัฒนาคุณภาพชี วิต ผู้เรียนด้วยการจัดอบรมเร่อื ง เสริมพลังครูเพ่ือปรับปรุง พฤติกรรมเด็กวัยเรียนและ วัยรุ่น โดยคณะวิทยากร จากสถาบันสุขภาพจิตและ วัยรนุ่ ราชนครนิ ทร์ 5 . พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ค รู ด้านศาสตร์การสอนเร่ือง การจัดการเรียนรู้เชิงรุก โดย ค ณ ะ วิทย า กร จ า กจุ ฬ า - ลงกรณ์มหาวิทยาลยั 6 . พั ฒ น า ค รู ใ ห้ มี ค วา ม ส ามา รถ ในการใช้ เทคโนโลยีการสอน เรื่อง Upskill Digital Learning Instuctor

- 19 - โครงการ ปริมาณ (ร้อยละ) มาตรฐาน ยทุ ธศาสตร์ นโยบาย เป้าหมาย ผลสาเรจ็ การศกึ ษา สช. จดุ เน้นศธ. วชริ าวุธ วิทยาลยั ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 ขอ้ 3, 5, 12 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 ด้านบุคลากร ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 ข้อ 7 . พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ค รู 100 100 มาตรฐานท่ี 3 3, 5, 12 85 90 มาตรฐานท่ี 2 ด้ า น ศ า ส ต ร์ ก า ร ส อ น จ า ก การสอบสกู่ ารสอน เน้นใหค้ รู สามารถออกแบบการจดั การ เ รี ย น ก า ร ส อ น เ พื่ อ พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ก า ร คิ ด ใ ห้ นั ก เ รี ย น โดยคณะวิทยากรจากคณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ 8 . พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร ใ ห้ มี ค วา ม ส ามา รถ ในการใช้ เ ทค โ นโ ล ยี เ ร่ื อง Digital Literacy : Google Workspace

- 20 - โครงการ ปรมิ าณ (รอ้ ยละ) มาตรฐาน ยทุ ธศาสตร์ นโยบาย การศึกษา สช. จุดเนน้ ศธ. เป้าหมาย ผลสาเรจ็ วชิราวธุ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 วทิ ยาลยั ข้อ 9 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 ด้านการบรหิ ารจดั การ ข้อ 9 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 7 1. โครงการอุปกรณ์ประกอบ 100 100 มาตรฐานท่ี 2 ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 ขอ้ 8 เครื่องแบบ(ชดุ ลกู เสอื หลวง) ยุทธศาสตร์ท่ี 7 ขอ้ 9 ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 ขอ้ 8 2. โครงการบูรณะโต๊ะหมู่บชู า ธง 100 100 มาตรฐานที่ 2 ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 ข้อ 9 กรมนักเรียนเสือป่าหลวงและทา ขอ้ 9 ชน้ั เก็บเต้นทข์ องกจิ กรรมลูกเสือ ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 ขอ้ 9 3. โครงการ New Internet 100 100 มาตรฐานที่ 2 ยุทธศาสตร์ท่ี 7 4. โครงการเปลี่ยนสลิงลิฟต์ 100 100 มาตรฐานท่ี 2 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 ขอ้ 8 โดยสาร 100 100 มาตรฐานที่ 2 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 7 ข้อ 9 5. โครงการซื้อ Firewall 100 100 มาตรฐานท่ี 2 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ข้อ 8 ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 ขอ้ 9 6. โครงการปรับปรงุ บอ่ ดกั ไขมนั 100 100 มาตรฐานที่ 2 ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ขอ้ 9 ข้อ 9 7. โครงการปรับปรุงเคร่ืองเสียง ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 หอประชมุ ขอ้ 9 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 8. โครงการปรับปรุงทางหน้า 100 100 มาตรฐานท่ี 2 ข้อ 9 คณะสนามจนั ทร์ - นันทอุทยาน 9. โครงการปรับปรุง Visual & 100 100 มาตรฐานท่ี 2 Audio หอ้ งประชุม 100 100 มาตรฐานที่ 2 100 100 มาตรฐานท่ี 2 10. โครงการทาสรี ้านค้า 100 100 มาตรฐานท่ี 2 11. โครงการปรบั ปรงุ Website 100 100 มาตรฐานที่ 2 12. โครงการทาตัวครอบเตาเพ่ือ 100 100 มาตรฐานที่ 2 ยึดกระทะ 13. โครงการทาปล่องดูดควันเตา ย่าง 14. โครงการปรับปรุงหลังคา อาคารวชริ าวุธานสุ รณ์ 15. โครงการเปลี่ยนวัสดุและ 100 100 มาตรฐานท่ี 2 ครุภัณฑ์ประจาคณะ 16. โ ค ร ง ก า ร เ ป ล่ี ย น 100 100 มาตรฐานที่ 2 เคร่อื งปรบั อากาศท่วั ไป

- 21 - โครงการ ปริมาณ (ร้อยละ) มาตรฐาน ยทุ ธศาสตร์ นโยบาย เป้าหมาย ผลสาเร็จ การศกึ ษา สช. จดุ เนน้ วชริ าวุธ ศธ. 17. โครงการปรับพ้ืนที่บริเวณ 100 100 วิทยาลยั ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 จดุ กรองนา้ / กรองถังนา้ 100 100 มาตรฐานท่ี 2 ข้อ 9 100 100 ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 18. โ ค ร ง ก า ร ส ร้ า ง ห้อ ง น้ า มาตรฐานท่ี 2 ขอ้ 9 พนักงานโภชนาการ ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 มาตรฐานท่ี 2 ขอ้ 9 19. โครงการติดตั้งอ่างล้างมือ ก่อนเข้าปฏบิ ตั งิ าน 20. โ ค ร ง ก า ร ใ ห้ ค า ป รึ ก ษา 100 85 มาตรฐานท่ี 2 ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 ขอ้ 9 เก่ียวกับการปฏิบัติตาม พรบ. คมุ้ ครองส่วนบคุ คล (PDPA) 21. โครงการจัดทาของที่ระลึก 100 100 มาตรฐานท่ี 2 ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ข้อ 9 เพ่ือจาหน่าย 22. โครงการแผนตอบโต้ภาวะ 100 100 มาตรฐานที่ 2 ยุทธศาสตร์ที่ 7 ข้อ 9 ฉกุ เฉินทางสาธารณสุขใน วช. 23. โครงการกาจัดขยะติดเชื้อ 100 100 มาตรฐานท่ี 2 ยุทธศาสตรท์ ี่ 7 ขอ้ 9 ในสถานพยาบาล 24. โครงการดาเนินงานปรับ 100 มาตรฐานที่ 2 โครงสร้างหน่วยงานและระบบ 85 กระบวนการ ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ข้อ 13 บรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล บรหิ ารจดั การ 25. โครงการซ่อมสงวนรักษา 80 มาตรฐานท่ี 2 อนุรักษ์สิ่งของที่มีคุณค่าในงาน 80 กระบวนการ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ขอ้ 9 จดหมายเหตวุ ชิราวุธวิทยาลัย บรหิ ารจดั การ 26. โ ค ร ง ก า ร จั ด ท า ร ะ บ บ 80 มาตรฐานที่ 2 สารสนเทศงานจดหมายเหตุ 80 กระบวนการ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 7 ขอ้ 8 วชริ าวุธวทิ ยาลัย บรหิ ารจดั การ

- 22 - ยทุ ธศาสตรข์ องสานกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การพัฒนาหลกั สตู ร การเรียนการสอน การวดั และประเมินผล ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การปฏริ ปู ระบบทรัพยากรเพื่อการศึกษาเอกชน ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 การเสริมสร้างประสิทธภิ าพการจดั การศึกษาของโรงเรียนเอกชน ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 การสง่ เสริมการมีสว่ นร่วมในการจดั และสนับสนุนการศึกษาเอกชน ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 การส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบเพอ่ื สรา้ งสงั คมแห่งการเรียนรู้ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 6 การพัฒนาการศึกษาเอกชนในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 7 การพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน

- 23 - 2.4 ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของผู้เรียน 2.4.1 ระดบั ประถมศกึ ษา ตารางท่ี 2.1 แสดงจานวนและร้อยละของนักเรยี นท่มี ผี ลการเรียนตัง้ แตร่ ะดบั 3 ขึน้ ไป ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 – ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ปกี ารศึกษา 2564 ระดับชั้นประถมศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรียนรู/้ ป.4 (N=112) ป.5 (N=98) ป.6 (N=115) รายวชิ า จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย 74 66.07 84 85.71 67 58.26 คณิตศาสตร์ 101 90.18 79 80.61 88 76.52 วทิ ยาศาสตร์ 91 81.25 83 84.69 90 78.26 วิทยาการคานวณ 85 75.89 84 85.71 102 88.70 สงั คมศกึ ษา 112 100.00 83 84.69 88 76.52 ประวัติศาสตร์ 112 100.00 95 96.64 89 77.39 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 112 100.00 98 100.00 115 100.00 ศลิ ปะ 102 91.07 95 96.94 102 88.70 การงานอาชพี 57 50.89 95 96.94 102 88.70 ภาษาต่างประเทศ 96 85.71 96 97.96 99 86.09 รายวิชาเพ่มิ เตมิ ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ เ พื่ อ 105 93.75 95 96.94 105 91.30 การสอ่ื สาร ภาษาต่างประเทศที่ 2 111 99.11 95 96.94 104 90.43 คณติ ศาสตร์เพม่ิ เติม 88 78.57 - - - - วทิ ยาศาสตร์เพม่ิ เติม 100 89.29 - - - - - การใช้ iPad เบอ้ื งตน้ 93 83.04 - - - - - - - ก า ร อ อ ก แ บ บ ก ร า ฟิ ค - - 78 79.59 ด้วย iPad

- 24 - กลุม่ สาระการเรียนร้/ู ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษา รายวชิ า ป.4 (N=112) ป.5 (N=98) ป.6 (N=115) จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ - เรียนรกู้ บั Microbit - - 86 87.76 - - - - การสร้างหนั งส้ัน - - - - 112 97.39 ด้วย iPad - - - 108 93.91 - สะเต็มศกึ ษา หนา้ ทีพ่ ลเมือง 112 100.00 92 93.88 110 95.65 2.4.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ตารางท่ี 2.2 แสดงจานวนและรอ้ ยละของนักเรยี นที่มผี ลการเรยี นต้งั แต่ระดับ 3 ขนึ้ ไป ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 – ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาตอนตน้ ภาคเรยี นที่ 1/2564 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ม.1 (N=126) ม.2 (N=125) ม.3 (N=136) จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ รายวชิ าพืน้ ฐาน ภาษาไทย 43 34.13 95 76.00 92 67.65 คณิตศาสตร์ 64 50.79 42 33.60 103 75.74 วิทยาศาสตร์ 75 59.52 79 63.20 78 57.35 วิทยาการคานวณ 102 80.95 123 98.40 - - ออกแบบและ 113 89.68 124 99.20 - - เทคโนโลยี สังคมศึกษา 102 80.95 111 88.80 123 90.44

- 25 - ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ภาคเรียนท่ี 1/2564 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ม.1 (N=126) ม.2 (N=125) ม.3 (N=136) จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ ประวตั ิศาสตร์ 95 75.40 83 66.40 102 75.00 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 126 100.00 125 100.00 131 96.32 ทศั นศิลป์ 107 84.92 48 38.40 126 92.65 ดนตรี-นาฎศลิ ป์ 112 88.89 116 92.80 123 90.44 การงานอาชพี - - - - 106 77.94 ภาษาต่างประเทศ 101 80.16 98 78.40 100 73.53 รายวชิ าเพิ่มเติมบังคับ ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ เ พ่ื อ 87 69.05 80 64.00 65 47.79 การสื่อสาร ภาษาตา่ งประเทศท่ี 2 108 58.71 120 96.00 134 98.53 คณติ ศาสตร์เพิม่ เตมิ 82 65.08 100 80.00 96 70.59 ส ะ เ ต็ ม ศึ ก ษ า แ ล ะ 100 79.37 - - -- โครงงานบรู ณาการ

- 26 - ตารางที่ 2.3 แสดงจานวนและรอ้ ยละของนักเรียนที่มผี ลการเรียนตง้ั แตร่ ะดบั 3 ขน้ึ ไป ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 – ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ภาคเรยี นท่ี 2/2564 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ม.1 (N=126) ม.2 (N=125) ม.3 (N=136) จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ รายวชิ าพ้ืนฐาน ภาษาไทย 75 59.52 108 86.40 112 82.35 คณติ ศาสตร์ 80 63.49 56 44.80 83 61.03 วิทยาศาสตร์ 86 68.25 97 77.60 99 72.79 วิทยาการคานวณ - - - - 102 75.00 สังคมศกึ ษา 109 86.51 100 80.00 112 82.35 ประวตั ิศาสตร์ 110 87.30 89 71.20 106 77.94 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 123 97.62 117 93.60 136 100.00 ทศั นศลิ ป์ 111 88.10 75 60.00 115 84.56 ดนตรี-นาฎศลิ ป์ 126 100.00 125 100.00 135 99.26 การงานอาชพี 34 26.98 100 80.00 - - ภาษาตา่ งประเทศ 87 69.05 121 96.80 136 100.00 รายวชิ าเพ่มิ เติมบังคับ ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ เ พ่ื อ 95 75.40 80 64.00 90 66.18 การสือ่ สาร ภาษาต่างประเทศท่ี 2 106 84.13 105 84.00 120 88.24 คณิตศาสตร์เพมิ่ เตมิ 108 85.71 104 83.20 94 69.12 สะเต็มศึกษาและโครงงาน 113 89.68 - - - - บูรณาการ

- 27 - 2.4 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ตารางท่ี 2.4 แสดงจานวนและรอ้ ยละของนักเรียนท่ีมผี ลการเรยี นตง้ั แตร่ ะดับ 3 ขนึ้ ไป ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 – ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนท่ี 1/2564 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ม.4 (N=102) ม.5 (N=90) ม.6 (N=87) จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ รายวิชาพน้ื ฐาน ภาษาไทย 96 94.12 82 91.11 71 81.61 คณติ ศาสตร์ 91 89.22 49 54.44 49 56.32 สงั คมศึกษา 88 86.27 73 81.11 70 80.46 ประวตั ิศาสตร์ 90 88.24 59 65.56 - - สุ ข ศึ ก ษ า แ ล ะ 101 99.02 90 100.00 86 98.85 พลศกึ ษา ศิลปศกึ ษา 67 65.69 89 98.89 68 78.16 การงานอาชีพ 101 99.02 66 73.33 - - ภาษาต่างประเทศ 90 88.24 67 74.44 71 81.61 รายวิชาเพ่ิมเติมบังคบั ทกั ษะ-อา่ นเขยี น 88 86.27 71 78.89 62 71.26 หนา้ ที่พลเมือง - - 85 94.44 80 91.95

- 28 - ตารางที่ 2.5 แสดงจานวนและร้อยละของนกั เรยี นที่มีผลการเรียนต้งั แตร่ ะดับ 3 ข้ึนไป ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4 – ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาคเรยี นท่ี 2/2564 ม.6 (N=87) ม.4 (N=102) ม.5 (N=90) จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 96 94.12 71 78.89 75 86.21 คณติ ศาสตร์ 77 75.49 45 50.00 29 33.33 สงั คมศกึ ษา 95 93.14 75 83.33 58 66.67 ประวัตศิ าสตร์ 92 90.20 64 71.11 - - สุ ข ศึ ก ษ า แ ล ะ 99 97.06 80 88.89 82 94.25 พลศกึ ษา ศิลปศึกษา 94 92.16 73 81.11 49 56.32 การงานอาชพี - - 85 94.44 - - ภาษาตา่ งประเทศ 90 88.24 64 71.11 61 70.11 รายวชิ าเพมิ่ เติมบังคับ ทักษะ-อา่ นเขยี น 97 95.10 61 67.78 44 50.57 การออกแบบ - - - - 50 57.47 พอตโฟรโิ อ หน้าที่พลเมอื ง 99 97.06 81 90.00 - - 2.5 นวตั กรรม/แบบอย่างที่ดี (Inovation/Best Practice) ชอื่ นวัตกรรม มาตรฐานดา้ น ระดับการศึกษา ทุกระดับชัน้ 1. กระบวนการพัฒนาและบริหารจัดการ คณุ ภาพผู้เรยี น หลกั สูตรวชริ าวธุ วิทยาลยั แบบมีส่วนรว่ ม ทุกระดับชนั้ 2. ก ร ะ บ ว น ก า ร เ ต รี ย ม ค ว า ม พ ร้ อ ม ในการตอบสนองต่อวิสัยทัศน์ พันธกิจ และ เ ป้ า ห ม า ย ใ ห ม่ ข อ ง ว ชิ ร า วุ ธ วิ ท ย า ลั ย การบรหิ ารและการจัดการ ผ่านการจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management) สายงานกิจการนกั เรียน

- 29 - รายละเอยี ดของนวตั กรรมประจาปีการศึกษา 2564 มีดังนี้ 1. กระบวนการพัฒนาและบริหารจัดการหลักสูตรวชิราวุธวิทยาลัยแบบมีส่วนร่วม โดยสายงาน วชิ าการ วชิราวุธวิทยาลัยจัดการเรียนรู้ตามแนวพระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจา้ อยหู่ ัว และตามกรอบทศิ ทางของหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ซ่งึ เป็นการจัด หลักสูตรเพ่ือพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามมาตรฐานตัวช้ีวัดท่ีสอดคล้องกับ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของวชิราวุธวิทยาลัยท่ีจัดทาขึ้นในปีการศึกษา 2564 มุ่งพัฒนานักเรียนให้มี องค์ความรู้ทางวิชาการ (Academic Knowledge) ภายใต้การเรียนรู้และทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะ ด้านภาษา (Language) ด้านตัวเลข (Numeric) ด้านวิทยาศาสตร์ (Scientific) ด้านเทคโนโลยี (ICT) ด้านการเงิน (Finance) ด้านวัฒนธรรมและสังคม (Culture & Civic) รวมทั้งจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ที่เน้นให้นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ (Critical Thinking) การแก้ปัญหา (Problem Solving) ความคดิ สรา้ งสรรค์ (Creativity) การสอ่ื สาร (Communication) การร่วมมือกบั ผู้อนื่ และการทางาน เป็นทีม (Collaboration & Teamwork) รวมถึงการสร้างความเข้าใจในความแตกต่างทางสังคมแล ะ วัฒนธรรม (Social & Cultural Awareness) ท่ีเน้นการพัฒนาศักยภาพเฉพาะตัวของนักเรียนแต่ละบุคคล ตามหลักพหุปัญญา (Multiple Intelligences) 8 ด้าน โดยให้ความสาคัญกับการจัดหลักสูตรและกิจกรรม รายวิชาที่หลากหลายมีความทันสมัย (Multitasks Classroom Learning) เปิดโอกาสให้นักเรียนมีอิสรภาพ ในการเรียนรู้อย่างสนุกสนานเพลิดเพลินตามความสนใจอย่างสมดุลผ่านการบูรณาการระหว่างวิชาการกับ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ท่ีเสริมสร้างทัศนคติและบุคลิกภาพภายใต้วิถีวชิราวุธ มีความเป็นสุภาพบุรุษท่ีเป็น บุคคลคุณภาพ (Human Quality) มีคุณธรรมและศีลธรรม มีวินัยและรับผิดชอบ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม มีความรอบรู้ (Well - Rounded) มีความเป็นไทยที่เท่าทันโลกที่เปลี่ยนแปลง และสามารถสร้างชีวิตที่มี ความสุขได้ในอนาคต ขั้นตอนการวางแผน กาหนดคณะทางานพัฒนาหลักสูตรโดยบูรณาการกับทุกสายงานบริหารท่ีเก่ียวข้องซ่ึงประกอบด้วย ทปี่ รึกษาผู้บงั คับการและผทู้ รงคุณวุฒิ รองผบู้ ังคบั การสายงานวชิ าการ รองผบู้ งั คับการสายงานกจิ การนักเรียน ผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ ผู้อานวยการฝ่ายกิจกรรม หัวหน้าหมวด หัวหน้างานพัฒนาหลักสูตร หัวหน้างาน ทะเบียนวัดผล และผู้เก่ียวข้อง และคณะทางานร่วมกันประชมุ วางแผนจัดทาแผนปฎิบัตกิ ารดาเนินการพฒั นา หลักสูตรวชิราวุธวิทยาลัย 2565 – 2567 เก่ียวกับการกาหนดขอบเขตและเป้าหมาย ข้ันตอนการดาเนินงาน ระยะเวลา ในการดาเนนิ งาน การตดิ ตามนเิ ทศและประเมนิ หลักสูตร ขั้นตอนการดาเนนิ งานจัดทาร่างหลกั สูตร 1. ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานสาหรับเป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตร ได้แก่ 1. แนวทาง พระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว 2. วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ของวชิราวุธวิทยาลัยในปัจจุบัน 3. คุณลักษณะความเป็นสุภาพบุรุษวชิราวุธของนักเรียนวชิราวุธวิทยาลัย 4. การพัฒนาความสามารถทางวิชาการของนักเรียนตามแนวทางข้อสอบ PISA 5. กรอบแนวคิดเก่ียวกับ หลักสูตรสมรรถนะของกระทรวงศึกษาธิการประกอบด้วยการจัดการตนเอง การคิดข้ันสูง การสื่อสาร การรวมพลังทางานเป็นทีม การเป็นพลเมืองท่ีเข้มแข็ง และการอยู่ร่วมกับธรรมชาติและวิทยาการอย่างย่ังยืน

- 30 - 6. ทกั ษะทีจ่ าเป็นของนักเรียนในศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills for Student ) และ 7. แนวคิดเก่ียวกบั การพัฒนาอยา่ งย่ังยนื 2. ศึกษาเปรียบเทยี บการจดั การเรยี นการสอนดา้ นวชิ าการกบั โรงเรียนในสังกดั สพฐ. ปรากฎดงั ตาราง ต่อไปน้ี ประเด็น รร. สพฐ. ก่อนปรับ วชริ าวุธวิทยาลัย 5 วนั หลังปรบั การเปลี่ยนแปลง 1. จานวนวันท่ีเรียนวิชาการ 5 วนั ตอ่ สด. 6 คาบ/วัน 6 วนั เพมิ่ 1 วนั 2. จานวนคาบเรียนวิชาการ 8 คาบ/วัน ต่อวัน 40 นาที/คาบ 6 คาบ/วัน ไมม่ ี 3. จานวนเวลาที่ใช้เรียน 55 นาที/คาบ 30 คาบ/สด. การเปลย่ี นแปลง วิชาการตอ่ คาบ 40 คาบ/สด. 240 ชม./ปี 4. จานวนคาบเรียนตอ่ สด. 120 ชม./ปี 50 นาที/คาบ เพมิ่ วนั ละ 10 นาที 5. จานวนชัว่ โมงกจิ กรรมตาม หลกั สตู ร 35 คาบ/สด. เพิ่ม 5 คาบ/สด. 120 ชม./ปี ลดลง 50% จากตารางข้างต้น พบว่า การจัดการเรียนการสอนด้านวิชาการก่อนการพัฒนาหลักสูตร เม่ือเปรียบเทียบกับโรงเรียนในสังกัดสพฐ. (สพฐ. จัด 2,200 นาที/สด. และ วช. จัด 1,200 นาที/สด.) วชิราวุธวิทยาลัยมีเวลาเรียนน้อยกว่าโรงเรียนสังกัด สพฐ. คิดเป็นร้อยละ 45.45 ซึ่งแสดงให้เห็นว่า มีเวลา ให้กับด้านวิชาการน้อยเกินไป แต่มีจานวนช่ัวโมงกิจกรรมตามหลักสูตรสูงกว่าคิดเป็นร้อยละ 100 เนอื่ งจากการจดั กิจกรรมตามหลักสูตรมีความซา้ ซ้อนกบั กิจกรรมของคณะตามบริบทวชริ าวุธวิทยาลยั 3. การตอบสนองต่อวิสัยทัศน์และเป้าหมายของการจัดการศึกษาของวชิราวุธวิทยาลัย ท่ีให้ความสาคัญกับความสมดุลในการพัฒนานักเรียนท้ัง AK และ HQ จึงมีการศึกษาเวลาในการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนที่เหมาะสมสาหรับวชิราวุธวิทยาลัยควรเป็นเท่าไร (ก่อนการพัฒนาคาบละ 40 นาที 30 คาบ/สด. คิดเป็น 1,200 นาที/สด. และหลังการพัฒนาคาบละ 50 นาที 35 คาบ/สด. คดิ เป็น 1,750 นาท/ี สด. เพิ่มขึ้นคิดเป็น 1.45 เท่าของของเดิม) ทาให้มีเวลาเรียนเพ่ิมขึ้นอีก 5 คาบ/สด. หรือ 2.5 หน่วยกิต และ บูรณาการจานวนชั่วโมงกิจกรรมตามหลักสูตรกับกิจกรรมตามบริบทวชิราวุธวิทยาลัยให้เท่ากับเกณฑ์ ท่ีหลักสูตรกาหนด นอกจากน้ัน การพัฒนาหลักสูตรวิทยาลัย ปีการศึกษา 2565 - 2567 มีการใช้กรอบ แนวคิดหลักสูตรฐานสมรรถนะเพื่อรองรับการวางแผนของกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีให้เร่ิมใช้หลักสูตรฐาน สมรรถนะระดับมัธยมศึกษาเฉพาะโรงเรียนท่ีมีความพร้อมและทุกโรงเรียนในระดับประถมศึกษา ในปีการศกึ ษา 2566 4. กาหนดประเด็นในการเพ่ิมเวลาเรียนหรือหน่วยกิตใหม่เพื่อจัดรายวิชาในการพัฒนาหลักสูตร ประกอบดว้ ย การเพ่ิมรายวชิ าเพิม่ เตมิ หรือเพมิ่ เตมิ เลอื ก ใหน้ กั เรยี นมอี สิ ระในการเลอื กเรยี นอีกอยา่ งน้อย 2.5 หน่วยกิต หรือ 5 คาบต่อสัปดาห์ ผลสืบเนื่องจากการปรับจานวนเวลาเรียนจาก 30 คาบ /สด. เป็น 35 คาบ/สด. โดยเน้นการสร้างรายวิชาท่ีมีเนื้อหาสาระตอบสนองต่อยุคดิจิทัล สร้างเสริมสมรรถนะสาคัญของ นักเรียนในยุคศตวรรษท่ี 21 ท่ีสนองตอบตามความต้องการของนักเรียน/ผู้ปกครอง มีการกาหนด ผลการเรียนรู้ให้ครบทั้ง K – S – A - C รวมทั้ง การเตรียมความพร้อมของการเปลี่ยนหลักสูตรอิงมาตรฐาน (Standards-Based Curriculum) เปน็ หลกั สูตรฐานสมรรถนะ (Competency-Based Curriculum)

- 31 - 5. ทบทวนโครงสรา้ งหลกั สตู ร ปกี ารศึกษา 2564 – 2566 มกี ารปรบั เพิม่ - ลด หน่วยกิตวิชาพ้นื ฐาน โดยท่ียังครอบคลุมมาตรฐาน ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและ หน่วยกิตในภาพรวมครบตามท่ีกระทรวงศึกษากาหนด ดังน้ี เพิ่มหน่วยกิตรายวิชาออกแบบและเทคโนโลยี เป็น1.0 หน่วยกิต จัดวิชาพลศึกษาและสุขศึกษารวมเป็นวิชาเดียวกัน 0.5 หน่วยกิต ซึ่งเดิมแยกเป็น สองรายวิชารวม 1.0 หน่วยกิต จัดรายวิชาวิทยาการคานวณเพ่ิมขึ้นให้นักเรียนเรียนทุกภาคเรียน ทดแทน การจัดรายวิชาการงานอาชพี และปรับเพ่มิ หนว่ ยกติ วชิ าภาษาอังกฤษพน้ื ฐานเป็น 1.0 หน่วยกิต ทุกระดับชัน้ 6. กาหนดกรอบในการปรับปรุง/พัฒนารายวิชาเพ่ิมเติม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของทุกระดับชั้น ตั้งแต่ระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 ถึงช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 โดยมีเป้าหมายสาคัญของการจัดหลักสูตรและ กิจกรรมรายวิชาที่หลากหลายมีความทันสมัย (Multitasks Classroom Learning) ให้สามารถสร้างและ พัฒนาสมรรถนะสาคัญของนกั เรยี นใน 21st (Century Skills for Student ) รวมทั้งมุ่งตามวิสัยทัศนโ์ รงเรยี น ที่พัฒนานักเรียนอย่างองค์รวมรอบด้านท้ังด้านองค์ความรู้ (Academic Knowledge) และการพัฒนาคุณภาพ มนษุ ย์ (Human Quality) แสดงดังภาพที่ 2 ภาพท่ี 2 แสดงกรอบในการในการปรับปรุง/พฒั นารายวชิ าเพิ่มเติม หลักสตู รวชิราวุธวิทยาลัย ปกี ารศกึ ษา 2565 - 2567 7. กาหนดความคาดหวังของหลักสูตรเน้นการพัฒนาศักยภาพนักเรียนเป็นรายบุคคลให้เก่ง ในแบบตัวเอง มีสุขภาวะ (Well – Being) ทั้งในด้านสุขภาพ ความฉลาดรู้ สังคมและอารมณ์อย่างสมดุล พัฒนาสมรรถนะท่ีจาเป็นในการดารงชีวิต การแก้ปัญหา ในสถานการณ์ต่างๆในชีวิตประจาวันและ สรา้ งประโยชน์ตอ่ สงั คม รวมท้งั ร้เู ท่าทันและพร้อมปรับตวั ต่อการเปลี่ยนแปลง

- 32 - 8. ดาเนินการจัดทาร่างหลักสูตร กาหนดช่ือวิชา สาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ และสมรรถนะ จานวนหน่วยกติ ระดบั ช้นั ที่เปดิ สอน และจดั ทาคาอธิบายรายวิชาตามแนวทางหลักสตู รสมรรถนะ 9. การดาเนินการปรับปรุง/พัฒนารายวิชาเพ่ิมเติม ระดับประถมศึกษาตอนปลาย มีการเปลี่ยนและ เพ่ิมรายวิชาเพิ่มเติมมุ่งเน้นให้ทันสมัยในยุคดิจิทัลและส่งเสริมสมรรถนะท่ีจาเป็น รายวิชาที่เปิดใหม่ ได้แก่ ภาษาจีน ภาษาญ่ีปุ่น สะเต็มน่ารู้ การแก้ปัญหาเชิงคณิตศาสตร์ การสร้างสรรค์งาน กราฟฟิคกับ iPad และ Microbit Project เปน็ ตน้ 10. การดาเนินการปรับปรุง/พัฒนารายวิชาเพิ่มเติมเลือกระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและ มัธยมศึกษาตอนปลายมีการเปิดรายวิชาเพ่ิมเติมเลือกจานวนมากให้นักเรียนเลือกเรียนตามความถนัด ความสนใจ และศักยภาพ ท่ีคลอบคลมุ ตามกรอบความคิด Foundational Literacies ดงั นี้ ICT Literacy (Applied) หมายถึง การสร้างใหน้ ักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์/ทักษะ การคิดสร้างสรรค์ในการเข้าถึงส่ือประเภทต่าง ๆ การผลิตสื่อ การรู้เท่าทันส่ือ และการใช้สื่ออย่างสุภาพและ มวี ินัย และสง่ เสรมิ คุณลักษณะรักการทางานและอาชีพ ได้แก่ สรา้ งสรรค์ดนตรีดว้ ย iPad สรา้ งสรรคศ์ ลิ ป์ดว้ ย iPad การถ่ายภาพและตัดต่อภาพดิจิทัล การออกแบบเกม การออกแบบเว็บไซด์ เทคนิค นาเสนอผลงาน โลกของเทคโนโลยี NFT การสร้างภาพเคล่ือนไหว 3D การสร้างยูทูปคอนเท้นท์ คิดสร้างสรรค์ด้วย LEGO โลกของเทคโนโลยี NFT & Fintech & Metaverse และ Digital Painting เปน็ ต้น Literacy เน้นส่งเสริมและพัฒนานักเรียนทุกคนให้มีความสามารถและมีสมรรถนะด้านการสื่อสาร ภาษาต่างประเทศและภาษาไทย (Communication) ด้านภาษาอังกฤษ ได้แก่ รายวิชา Forensic Science, Voice Acting, Social Enterprise, Robotics, Presentation, Personal Finance ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ เพื่อการนาเสนอ การสร้างภาพยนตร์ภาษาอังกฤษและการเรียนร้ภู าษาอังกฤษจากสอื่ ดิจิทัล เป็นต้น และยังมี การเปิดหลักสูตรห้องเรียนพิเศษ Mini English Program ควบคุมคุณภาพโดยใช้กรอบมาตรฐาน ความสามารถทางภาษาอังกฤษท่ีเป็นสากล CEFR (The Common European Framework of Reference for Languages ) เป็นกรอบความคิดหลักในการจัดการเรียนการสอน นอกจากน้ัน โรงเรียนยังจัดให้นักเรียน ชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้นเรียนเพ่ิมเวลาเรียนวิชาภาษาอังกฤษและจัดวิชาเลือกภาษาจีนหรือ ญ่ีปุ่นเป็นภาษาที่สอง สาหรับด้านการใช้ภาษาไทยเพื่อการส่ือสารอย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ รายวิชาการอ่าน วรรณกรรมเฉพาะเร่ือง การพูดเชิงสร้างสรรค์ การอ่านเพื่อการแสดงทรรศนะ ศิลปะการวิจารณ์ การพูด ในที่ประชุมชน การสื่อสารในโลกออนไลน์ การพัฒนาการอ่าน เทคนิคการนาเสนอผลงาน การจัดละครเวที การเขียนบทสมั ภาษณแ์ ละพธิ ีกร สนุ ทรียศาสตรท์ างภาษาไทย และภาษาไทยกบั การใชว้ ิจารณญาณ เปน็ ตน้ Financial Literacy สร้างความฉลาดรู้ด้านการเงินให้กับนักเรียน จัดการเรียนรู้เร่ืองการวางแผน การเงิน การบริหารจัดการการเงินอย่างฉลาด เข้าใจระบบเศรษฐกิจ และรอบรู้การดารงชีวติ ในปัจจุบัน ได้แก่ รายวิชาการจัดการเงินผ่านแอพพลเิ คชั่น การสร้างธรุ กิจในระบบดิจทิ ัล การจัดการการเงินและวยั รุ่นนักลงทนุ การจัดการการเงนิ ทกั ษะการแก้ปัญหา ขยะสรา้ งคุณคา่ ธรุ กจิ ออนไลน์ และธุรกจิ การกฬี า เป็นตน้ Innovation สร้างเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นให้นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะด้านการคิด วิเคราะห์ (Critical Thinking) การแก้ปัญหา (Problem Solving) ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) การสือ่ สาร (Communication) และการรว่ มมือกบั ผูอ้ ื่นในการทางานเป็นทมี (Collaboration & Teamwork) การรวบรวมความรู้ สร้างองค์ความรู้ใหม่นาไปใช้ในการสร้างสรรค์ผลงาน ได้แก่ รายวิชา โครงงาน STEM โครงงานบูรณาการ โครงงานสมองกล โครงงานสิ่งประดิษฐ์ โครงงานนวัตกรรม นวัตกรรมรุ่นเยาว์

- 33 - ผูป้ ระกอบการรุ่นเยาว์ ท้าประลองวิทยาศาสตร์ การโปรแกรมอุปกรณเ์ คล่ือนที่ RC Racer แฟชน่ั แอนด์จิวเวล ล่ีดีไซด์ และโปรดักสแ์ อนดอ์ นิ ทเี รยี ดไี ซด์ เปน็ ต้น Numeracy เน้นให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการใช้คณิตศาสตร์ในชีวิตประจาวันใช้ตอบโจทย์ เชิงสังคม เชิงวิทยาศาสตร์ และเชิงศิลป/ออกแบบ ได้แก่รายวิชาเกมทางคณิตศาสตร์ คณิตกับศิลป์ ภาษาอังกฤษกับการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ในชีวิตประจาวัน การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ นาเสนอข้อมลู ดว้ ยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เรยี นรู้คณิตศาสตรจ์ ากภาพยนตร์ และคณติ ศาสตร์ธรุ กจิ เปน็ ต้น Scientific Literacy เน้นให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการใช้วิทยาศาสตร์เพ่ือสุขภาพ ส่งิ แวดล้อม และเพ่ือสง่ิ มชี ีวติ อ่นื การใช้พลงั งานทดแทนเพ่ิอความยั่งยืน ประกอบด้วยรายวิชาวิทยาศาสตร์กับ การแก้ปัญหาส่ิงแวดล้อม โครงงานไฟฟ้าและอีเล็คทรอนิกส์ พลังงานไฟฟ้ากับชีวิตประจาวัน วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีทางการอาหาร เรียนรู้สิ่งแวดล้อมในวชิราวุธวิทยาลัย การฟื้นฟูร่างกาย เพศวิถี เรียนรู้ อีสปอร์ท แอพพลิเคชั่นทางสุขภาพ วิทยาการประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ กีฬาเพื่อสุขภาพ การป้องกัน การบาดเจ็บจากการเลน่ กีฬา และการจดั การแข่งขนั กีฬา เปน็ ต้น Culture and Civic Literacy ให้นักเรียนมีความเขา้ ใจผู้อน่ื ในฐานะพลเมืองโลก เข้าใจวัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมโลก ภูมิศาสตร์โลก และความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ประกอบด้วยรายวิชาวิเคราะห์ เหตุการณ์ปัจจุบัน อาหารสะท้อนสังคม หุ่นละครเล็ก ศิลปะการแสดง ศิลปะประดิษฐ์ เรียนรู้คู่แผ่นฟิล์ม การพัฒนาเมืองสู่ความยั่งยืน กฎหมายใกล้ตัว ภาษาและวัฒนธรรมจีน อาชญาวิทยา และการเรียนรู้เท่าทัน สงั คม 11. มีรายวิชาเพ่ือการเตรียมความพร้อมให้นักเรียนในการสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาต่อ ในระดับอุดมศึกษาสาหรับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ได้แก่ รายวิชา ภาษาไทย GAT เชื่อมโยง ภาษาอังกฤษ SAT ภาษาอังกฤษเพื่อการทดสอบมาตรฐาน ความถนัดทางมัณฑนศิลป์ ความถนัดทางสถาปัตย์ ความถนัด ทางวิศวกรรม และการจัดทาพอตโฟริโอ เป็นตน้ 12. สรปุ ภาพรวมการการพฒั นาหลกั สตู รวชิราวธุ วิทยาลัยของหลักสตู ร 2565 - 2567 ชนั้ สิง่ ท่ีพัฒนา แนวทางการพฒั นา ป.4 - ป.6 หลักสูตร MEP (Mini English เรียนวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษา ม.1 - ม.3 อังกฤษ เป็นภาษาอังกฤษกับครูชาวต่างชาติ Program) รวม 15 คาบ/สด. รายวชิ าเพ่ิมเตมิ จัดวิชานักเรียนวชิราวุธ ในช้ัน ป.4 จัดวิชา คณิตศาสตร์และสะเตม็ ศกึ ษาใหเ้ รยี นทุกระดับช้นั หลักสูตร MEP (Mini English เรียนวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษา อังกฤษ เป็นภาษาอังกฤษกับครูชาวต่างชาติรวม Program) 15 คาบ/สด. รายวิชาเพม่ิ เตมิ จัดวิชาสุภาพบุรุษวชิราวุธและพระมหาธีรราชเจ้า ในช้ัน ม.1 เพ่ิมหน่วยกิตวิชาภาษาอังกฤษจาก 1.0 นก.เป็น 1.5 นก. ทกุ ระดบั ช้ัน

- 34 - จัดวิชาเพิ่มเติมเลือกให้นักเรียน ม.1 เลือกเรียน รายวิชาเพ่มิ เติมเลือก 2 น ก . แ ล ะ ม . 2 - ม . 3 เ ลื อ ก เ รี ย น 8 น ก . รวม 10 นก. ตลอดช่วงชั้น ม.4 - ม.6 รายวิชาเพ่มิ เตมิ แผนการเรียนคณิต-อังกฤษ เพ่ิมวิชาคณิตศาสตร์ รายวิชาเพิม่ เตมิ เลือก 6 นก. แผนการเรียนศิลป์-ภาษา เพ่ิมวิชาภาษา อังกฤษ 6 นก. จัดวิช าเพิ่มเติมเลือกให้เลือกรว ม 19 นก. ตลอดชว่ งชั้น 13. สรปุ จานวนรายวิชาเพิ่มเติมเลือกของหลกั สตู ร 2564 – 2566 กับหลกั สูตร 2565 - 2567 จานวนวชิ าเพิ่มเติมเลือก จานวนวชิ าทน่ี ักเรยี นมีอิสระ ระดบั ชั้น ทีจ่ ัดให้ ในการเลือก ม.1 - ม.3 2564 - 2566 2565 - 2567 2564 - 2566 2565 - 2567 ม.4 - ม.6 16 วชิ า 40 วิชา 4 วชิ า 10 วิชา รวม 38 วชิ า 76 วชิ า 10 วชิ า 19 วชิ า 54 วิชา 116 วชิ า 14 วิชา 29 วิชา พบวา่ หลกั สตู ร 2565 - 2567 มกี ารจัดรายวิชาเพ่มิ เตมิ เลือกสาหรบั ให้นักเรียนเรียนจากเดมิ 54 วิชา เป็น 116 วิชา เพิ่มข้ึน 62 วิชา เท่ากับเพิ่มข้ึน 2.15 เท่าจากหลักสูตรเดิม แสดงถึงการมีวิชาให้เลือก อย่างหลากหลายเพียงพอ และปรับจานวนวชิ าท่ีให้นักเรียนมีสิทธิใ์ นการเลือกเพ่ิมอีก 15 วิชาจากเดมิ 14 วิชา เป็น 29 วิชา เท่ากับเพม่ิ ขึ้น 2.07 เท่าจากหลักสูตรเดิม แสดงถงึ การเปิดโอกาส ให้นกั เรยี นมอี สิ ระในการเลือก อยา่ งเตม็ ที่ 14. ประชุมพิจารณาความถูกต้องสมบูรณ์ของหลักสูตรฉบับร่างโดยหัวหน้าหมวดวิชา ผู้ทรงคุณวุฒิ และนาเสนอต่อคณะกรรมการบริหารวิชาการและฝ่ายบริหารของโรงเรียน และนามาปรับแก้ก่อนนาไปใช้ จดั ทาเปน็ หลกั สตู รวชิราวธุ วิทยาลัย 2565 - 2567 ต่อไป 15. พฒั นารูปแบบการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนวชิราวธุ วิทยาลยั ประกอบด้วย กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน ตามหลักสูตรได้แก่ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมสมาคม/ชมรม กิจกรรมลูกเสือ/รักษาดินแดน กิจกรรมบาเพ็ญ ประโยชน์เพ่ือสาธารณะ เป็นตน้ และกจิ กรรมเสริมหลักสูตร ได้แก่กจิ กรรมดนตรี กจิ กรรมกีฬา และกิจกรรม พิเศษอื่น ๆ เช่น กิจกรรมร่วมพิธีงานสาคัญชาติศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์ กิจกรรมทางวิชาการ กิจกรรมทัศนศึกษาแหล่งเรยี นรตู้ า่ ง ๆ เป็นตน้ ขัน้ ตอนการบรหิ ารจดั การการนาหลกั สูตรสกู่ ารปฎบิ ัติ ข้ันตอนการบริหารจัดการหลักสูตรเป็นการเตรียมความพร้อมเพื่อนาหลักสูตรวชิราวุธวิทยาลัย 2565 - 2567 ส่กู ารปฎิบัตใิ นปีการศึกษา 2565 ดาเนนิ การดังนี้นาเสนอ (ร่าง) หลักสูตรวชริ าวุธวิทยาลยั 2565 - 2567 ในการประชุมคณะกรรมการวิชาการและฝ่ายบริหารวชิราวุธวิทยาลัยจัดทาหลักสูตรวชิราวุธวิทยาลยั ฉบับสมบูรณ์และประกาศใช้หลักสูตรในเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2565 จัดให้มีการสื่อสารทาความเข้าใจ ผู้เก่ียวข้องและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ ฝ่ายบริหาร ครู บุคลากร ผู้ปกครองและนักเรียน สาหรับการเตรียม

- 35 - ความพร้อมด้านการเรียนการสอน มอบหมายหัวหน้าหมวดดาเนินการจัดอัตรากาลังตามโครงสร้างหลักสูตร 2565 - 2567 จัดประชุมเชงิ ปฎิบัติการให้ครผู ู้สอนมีความร้คู วามเข้าใจเรือ่ งหลักสตู รฐานสมรรถนะ การจัดทา คาอธิบายรายวิชา การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้รูปแบบอิงสมรรถนะ วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ส่ือการสอน การวัดและประเมินผล และการเขียนบันทึกการสอนสู่การวิจัยในชั้นเรียน กาหนดให้ครจู ดั ทาแผนการสอนรายคาบและส่งลว่ งหน้า 1 เดอื นกอ่ นทาการสอน ขน้ั ตอนการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล เน่ืองจากการพัฒนาหลักสูตร ดาเนินการในปีการศึกษา 2564 และประกาศใช้เพ่ือนาหลักสูตร สู่การปฎิบัตใิ นปีการศึกษา 2565 มีการวางแผนนิเทศและติดตามการใช้หลกั สูตรโดยการประชุมหวั หน้าหมวด เดือนละ 1 คร้ังและประชุมครูผู้สอนภาคเรียนละ 1 คร้ัง และจัดให้มีการประเมินการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนของครูโดยนักเรียนเป็นประจาปีการศึกษาละ 1 คร้ัง ในระหว่างการจัดการเรียนการสอน ครูได้มี การแลกเปล่ียนเรียนรู้ซ่ึงกันและกันตามระบบ PLC ท่ีมีลักษณะการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ประสบการณ์ ใหม่ ๆ จากเพ่ือนครูและร่วมคิดร่วมแก้ปัญหา การนิเทศ กากบั ตดิ ตาม การใช้หลักสูตรดาเนนิ การเปน็ ระยะ ๆ จากหัวหน้าหมวด ครูผู้สอน และนักเรียน การประเมินผลการใช้หลักสูตรดาเนินการภาคเรียนละ 1 คร้ัง โดยการจัดประชุมหัวหน้าหมวดและครูผู้สอนพร้อมกันเพ่ือรายงานผลการใช้หลักสูตร ปัญหา อุปสรรคและ ข้อเสนอแนะ รวมท้ังจัดให้มีการประเมินผลการใช้หลกั สูตรโดยการใช้แบบสอบถามความคิดเห็นของครูผู้สอน และนกั เรียนต่อการจดั การเรียนการสอน ข้ันตอนการนาผลการประเมินไปใช้ในการปรบั ปรุงและพัฒนา นาผลจากข้ันตอนการนิเทศ ติดตามและประเมินผล มาจัดทาเป็นข้อมูลสารสนเทศ เพ่ือใช้ใน การปรบั ปรุงและพฒั นาในขัน้ ตอนการประชมุ เชิงปฎบิ ตั ิการเพอ่ื ทบทวนการใช้หลักสตู รทุกปีการศึกษา ผลผลติ (Outputs) จากกระบวนการพัฒนาหลกั สตู ร 1. รายวิชาเพิ่มเติมเลือกมีความหลายหลายและมีรายวิชาเฉพาะทางท่ีเน้นพัฒนานักเรียน ตามศักยภาพเปน็ รายบุคคล เพือ่ ตอบสนองต่อการศึกษายุคใหม่ ในทุกระดับชนั้ 2. มีรายวิชาเฉพาะทาง ท่เี น้นการคดั เลือกเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา 3. มีหลักสูตร MEP (Mini English Program) เพ่ือตอบสนองและพัฒนาศักยภาพนักเรียน ทั้งด้าน วิชาการและดา้ นภาษาอังกฤษ 4. มีรายวิชาจานวนมากท่ีให้อสิ ระนักเรียนในการเลือกเรียนตามความสนใจตลอดหลักสูตร ม.1 - ม.6 รวม 116 วิชา 5. มีรายวิชาท่ีสร้างทักษะให้นักเรียนสามารถสร้างผลงานเชิงประจักษ์ท่ีสะท้อนศักยภาพของตนเอง ในการจดั ทา portfolio 6. มีการลดความซ้าซ้อนในการจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียนและกิจกรรมเสริมหลักสูตรเหลือเพียง 120 ช่ัวโมงตอ่ ปี ผลลัพธ์ (Outcomes) จากกระบวนการพัฒนาหลักสตู ร 1. นกั เรยี นสามารถเติมเตม็ ความสามารถตามศกั ยภาพตนเอง 2. นักเรียนสามารถเข้าศกึ ษาต่อในระดับอดุ มศึกษาตามความคาดหวัง 3. นกั เรียนสามารถต่อยอดองคค์ วามรูแ้ ละนาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ได้

- 36 - 4. ผู้ปกครองมีความเช่ือม่ันในการพัฒนาศักยภาพนักเรียนอย่างสมดุลรอบด้าน ท้ังด้านวิชาการและ ทกั ษะชวี ติ 2. กระบวนการ จัดทาแผนเพื่อเตรียมความพร้อมในการตอบสนองต่อวิสัยทัศน์ พันธกิจ และ เป้าหมายใหม่ของวชิราวุธวิทยาลัย ผ่านการจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change nagement) โดยสายงานกจิ การนักเรยี น กรอบแนวคิด ในปีการศึกษา 2564 วชิราวุธวิทยาลัยได้มีการปรับเปล่ียนผู้บังคับการ คณะกรรมการอานวยการ และคณะกรรมการบริหาร พร้อมท้ังได้จัดทา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของโรงเรียนใหม่ โดยกาหนด คุณลักษณะพึงประสงค์ของนักเรียนวชิราวุธวิทยาลัยให้มีความสมดุลระหว่างด้านวิชาการ (Academic Knowledge) กับด้านคุณภาพความเป็นคนท่ีดี (Human Quality) ภายใต้การเรียนรู้/พัฒนาทักษะ แห่งศตวรรษที่ 21 และการส่งเสริมศักยภาพนักเรียนตามทฤษฎีพหุปัญญา (Multiple Intelligences) โดยตลอดปีการศึกษา 2564 โรงเรียนไม่สามารถดาเนินการรับนักเรียนเข้าพักในคณะได้ตามปกติเน่ืองจาก สถานการณ์ COVID-19 เพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปล่ียนแปลงจากท้ังภายในและนอกโรงเรียน สายงาน กิจการนักเรียนจึงได้พิจารณาดาเนินการ “นาร่อง” ด้านการเตรียมความพร้อมในการตอบสนองต่อวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายใหม่ของวชิราวุธวิทยาลัย ผ่านการจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management) เพื่อ New & Next Normal โดยมีเป้าหมายท่ีเป็นรูปธรรมในการดาเนินงาน คือ (ร่าง) แผนแม่บท (Strategic Plan) และแผนปฏิบัติการ (Operational Plan) เฉพาะสายงานกิจการนักเรียนที่พร้อมจะปรับให้สอดคล้อง และเชื่อมโยงกับแผนหลักของโรงเรียน โดยเฉพาะสายงานวิชาการ โดยดาเนินการตามขั้นตอนการจัดการ การเปลย่ี นแปลง (Change Management, CM) 6 ข้ันตอน ทส่ี อดคลอ้ งกับวงจร PDCA ดงั ภาพที่ 3 ภาพที่ 3 แสดงกระบวนการจัดทาแผนเพื่อเตรียมความพร้อมในการตอบสนองต่อวสิ ัยทัศน์ พันธกิจ และเปา้ หมายใหม่วชิราวธุ วทิ ยาลยั สายงานกิจการนกั เรยี น

- 37 - ขนั้ วางแผน (P) CM 1: จัดประชุมและช้ีแจงแก่บุคลากรในสายงานที่เก่ียวข้อง (ผู้กากับคณะ ผู้ช่วยผู้กากับคณะ หัวหนา้ ครคู ณะ และฝา่ ยกิจกรรม) เพื่อทาความเขา้ ใจถึงความสาคญั /จาเป็นที่ต้องเปลีย่ นแปลง (Clarify Need for Change) ข้ันดาเนินการ (D) ดังข้ันตอนตอ่ ไปน้ี CM 2: ประเมินความพร้อมและเตรียมความพร้อมเพ่ือการเปล่ียนแปลง (Assess Readiness and Prepare for Change) โ ด ย พิ จ า ร ณ า Gap Analysis 2 ด้ า น ห ลั ก ท่ี ต้ อ ง ไ ด้ รั บ ก า ร ปิ ด ช่ อ ง ว่ า ง เป็นการ “ตดิ อาวุธทางปัญญา เพื่อสรา้ งความเป็นมอื อาชีพ” โดยการจัดอบรม/อบรมเชิงปฏิบตั ิการ ไดแ้ ก่ - การจดั ทาขอ้ เสนอโครงการและแผนงาน และ Kick Off การจัดทาแผนงบประมาณปี 2565 - การพัฒนาความรู้/ทักษะสมัยใหม่ที่จาเป็นของสายงานกิจการนักเรียน ในการดูแลนักเรียนให้มี ความเป็นอยู่ท่ีคณะอย่างมีความสุข ควบคู่ไปกับการสร้างสมดุล AK-HQ ร่วมกับสายงานวิชาการ ได้แก่ 1) How to be a Good Mentor 2) How to Develop 21st Century Skills 3) Active Listening the Art of Conversation 4) How to Practice Constructive Dialogue 5) Critical Thinking, Problem Solving & Decision Making Skills 5) “Self” และ 6) Let’s Move Forward การเตรียมความพร้อม เพ่อื อนาคตของสายงานกจิ การนกั เรียน CM 3: ใชก้ ระบวนการในการจดั ทาแผนฯ ของสายงานเปน็ เครอ่ื งมอื ในกาขบั เคลือ่ นการเปลีย่ นแปลง (Plan Change via Develop Strategic and OperationalPlan Together with Learning by Doing) การพัฒนาแผนแม่บทและแผนปฏิบตั ิการของสายงานกิจการนักเรยี น พ.ศ. 2565 - 2568 โดยกาหนด ยุทธศาสตร์ 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านผู้เรียน 2) ด้านการเรียนรู้และพัฒนา 3) ด้านกระบวนการภายใน และ 4) ด้านงบประมาณและทนุ ดาเนนิ การแล้วเสรจ็ และได้นาเสนอต่อคณะกรรมการดแู ลและพัฒนาความเป็นอยู่ ของนักเรียนวชิราวุธวิทยาลัย พ.ศ. 2564 เม่ือวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 พร้อมที่จะเร่ิมดาเนินการ เป็นตัวอย่างนาร่องในปกี ารศกึ ษา 2565 (ปรากฏดังภาพท่ี 4) ภาพที่ 4 แสดงร่างแผนแม่บท พ.ศ. 2564 - 2568 สายงานกจิ การนักเรยี น

- 38 - ข้ันตดิ ตาม ประเมนิ ผล เพอื่ ปรับปรงุ /พัฒนา (CA) CM 4: ดาเนินการตามแผน ติดตามผล (Implement Change-Project/Activity Deliverable) โดยกาหนดการติดตามผ่านการประชุมนาเสนอความก้าวหน้าในการดาเนินการทุกไตรมาส ด้วยกระบวน ก า ร ป ร ะ เ มิ น แ บ บ “Total Management Integration (TMI)” ท่ี มี ก า ร พิ จ า ร ณ า ทั้ ง แ ผ น ง า น แผนงบประมาณ แผนบุคลากร และแผนประชาสัมพันธ์ ในเวลาเดียวกัน โดยจะเร่ิมดาเนินการในปีการศึกษา 2565 มีการออกแบบ Template เพอ่ื ใช้ในการนาเสนอความก้าวหน้าในการดาเนินงานรายไตรมาส (แสดงดัง ภาพท่ี 5) ภาพที่ 5 แสดง Template เพื่อใชใ้ นการนาเสนอความกา้ วหนา้ ในการดาเนนิ งานรายไตรมาส CM 5: การจัดการเปล่ียนผ่าน (Manage Transition) ด้วยการพัฒนา/ปรับปรุง/แก้ไข โดยพิจารณา ผลจากกระบวนการ TMI ตลอดปีการศกึ ษา 2565 เปน็ ระยะเวลา 1 ปี CM 6: จัดทารายงานและปรับแผนปฏิบัติการ (Report and Rolling Plan) สาหรับปีการศึกษา 2566 ให้เหมาะสม/สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทการดาเนินงานของโรงเรียนมากยิง่ ขน้ึ CM 7: สร้างความยั่งยืนของการเปลี่ยนแปลง (Sustain Change) โดยดาเนินการร่วมกับทุกสายงาน ในการสร้างวัฒนธรรมนวัตกรรม (Innovative Culture) วชริ าวุธวิทยาลัย ทั้งนี้ ขั้นติดตาม ประเมินผล เพ่ือปรับปรุง/พัฒนา (CA) (CM 4 - 7) จะเริ่มดาเนินการอย่างต่อเน่ือง ในปีการศกึ ษา 2565 ดา้ นผลผลิต ในปีการศึกษา 2565 สายงานกิจการนักเรียนมีโครงการ/กิจกรรม ท่ีตอบสนองแผนแม่บท ทั้งส้ิน 38 โครงการ จานวนตัวช้วี ัด 93 ตวั ชว้ี ดั ปรากฏดงั ตาราง แผนแมบ่ ทดา้ น จานวน จานวน จานวน ตวั ช้วี ัด ดา้ นผเู้ รียน แผนปฎิบัตกิ าร โครงการ/กิจกรรม ด้านการเรียนรูแ้ ละพัฒนา 38 ดา้ นกระบวนการภายใน 3 11 25 ดา้ นงบประมาณและทนุ 17 3 10 13 รวม 93 3 12 25 11 38

- 39 - 2.6 รางวลั ทีส่ ถานศกึ ษาไดร้ ับ 6.1 ปกี ารศึกษาปัจจุบัน ไม่มี 6.2 ปกี ารศกึ ษาท่ผี า่ นมา (ย้อนหลังไมเ่ กิน 3 ปี) ไม่มี 2.7 การดาเนนิ งานตามนโยบายและจุดเนน้ กระทรวงศึกษาธิการ นโยบายและจดุ เน้น มี ไมม่ ี 1. จัดการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท โดยใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะ รวมท้ังแนวทาง ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ เ ชิ ง รุ ก แ ล ะ ก า ร วั ด ป ร ะ เ มิ น ผ ล เ พ่ื อ พั ฒ น า ผู้ เ รี ย น  ทีส่ อดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศกึ ษาแห่งชาติ 2. ส่งเสริมการพัฒนากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นและหลักสูตรสถานศึกษาตามความ ต้ อ ง ก า ร จ า เ ป็ น ข อ ง ก ลุ่ ม เ ป้ า ห ม า ย แ ล ะ แ ต ก ต่ า ง ห ล า ก ห ล า ย  ตามบรบิ ทของพ้ืนท่ี 3. พัฒนาผู้เรียนให้มีทัก ษะ ก ารคิ ดวิเ ครา ะห์ สามารถแก้ไขส ถาน ก า ร ณ์ เฉพาะหน้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) จาก ประสบการณ์จริงหรือจาก สถานการณ์จาลองผ่านการลงมือปฏิบัติ ตลอดจนจัดการ  เ รี ย น ก า ร ส อ น ใ น เ ชิ ง แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น เ พ่ื อ เ ปิ ด โลกทศั นม์ มุ มองร่วมกนั ของผเู้ รยี นและครูให้มากขึน้ 4. พั ฒ น า ผู้ เ รี ย น ใ ห้ มี ค ว า ม ร อ บ รู้ แ ล ะ ทั ก ษ ะ ชี วิ ต เ พื่ อ เ ป็ น เ ค รื่ อ ง มื อ ในการดารงชีวิตและสร้างอาชีพ อาทิ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล สุขภาวะและทัศนคติท่ีดี  ต่อการดแู ลสุขภาพ 5. พัฒนาครูให้มีทักษะ ความรู้ และความชานาญในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ปั ญ ญ า ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ แ ล ะ ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ร ว ม ท้ั ง ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น  เพื่อฝึกทกั ษะการคิดวเิ คราะห์อยา่ งเป็นระบบ และมเี หตผุ ลเป็นขั้นตอน 6. ส่งเสริมให้ใช้ภาษาท้องถิ่นร่วมกับภาษาไทยเป็นสื่อจัดการเรียนการสอน  ในพ้ืนที่ท่ีใช้ภาษาอย่าง หลากหลาย เพื่อวางรากฐานให้ผู้เรียนมีพัฒนาการด้านการคิด วิ เ ค ร า ะ ห์ ร ว ม ทั้ ง มี ทั ก ษ ะ ก า ร ส่ื อ ส า ร แ ล ะ ใ ช้ ภ า ษ า ที่ ส า ม ในการต่อยอดการเรียนรู้ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ 7. ปลูกฝังผู้เรียนให้มีหลักคิดท่ีถูกต้องด้านคุณธรรม จริยธรรม และเป็นผู้มีความ  พอเพียง วนิ ยั สจุ รติ จิตอาสา โดยกระบวนการลูกเสอื และยวุ กาชาด 8. พัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อ การเรียนรู้ และใช้ดิจิทัลเป็นเครื่อ ง มื อ  การเรยี นรู้ 9. เสริมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และส่งเสริมคุณลักษณะและ  พฤติกรรมที่พงึ ประสงคด์ า้ นสงิ่ แวดลอ้ ม

- 40 - นโยบายและจดุ เนน้ มี ไม่มี 10. ส่งเสริมการพัฒนาส่ิงประดิษฐ์และนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม  ให้สามารถเป็นอาชพี และสรา้ งรายได้ 11. สนับสนุนกิจกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติ  มิชอบ 12. พัฒนาครูทุกระดับให้มีทักษะ ความรู้ที่จาเป็น เพื่อทาหน้าที่วิทยากร มอื อาชีพ (Train The Trainer) และขยายผลการพัฒนาผ่านศนู ย์พัฒนาศักยภาพบุคคล  เพ่อื ความเป็นเลิศ (Human Capital Excellence Center: HCEC) 13. ใ ห้ ผู้ เ รี ย น ค รู ผู้ บ ริ ห า ร ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า มี แ ผ น พั ฒ น า ร า ย บุ ค ค ล  ผา่ นแผนพฒั นารายบคุ คล 2.8 ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกของ สมศ. ทผี่ า่ นมา รอบการประเมนิ มาตรฐาน ระดบั คณุ ภาพ ผลการรับรอง รอบที่ 2 ระดบั ดี รบั รอง มาตรฐานด้านผ้บู รหิ าร ระดบั ดี รับรอง (พ.ศ. 2549 - 2553) ระดบั ดี มาตรฐานดา้ นครู รบั รอง รอบท่ี 3 ระดบั ดมี าก (พ.ศ. 2554 - 2558) มาตรฐานดา้ นผเู้ รียน 7 ตวั บง่ ช้ี ระดับดมี าก รอบท่ี 4 กล่มุ ตวั บง่ ช้พี ้นื ฐาน 2 ตัวบง่ ชี้ (พ.ศ. 2559 - 2563) มี 8 ตวั บ่งช้ี ระดบั ดีมาก 2 ตวั บง่ ช้ี กลมุ่ ตวั บง่ ชีอ้ ตั ลกั ษณ์ ระดบั ดมี าก มี 2 ตัวบ่งชี้ ระดบั ดี กล่มุ ตัวบ่งช้ีมาตรการ สง่ เสริม 2 ตัวบ่งช้ี ระดับดี คะแนนรวม ระดบั ดี มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพ ผู้เรียน มาตรฐานท่ี 2 กระบวน การบริหารและการจัดการ มาตรฐานท่ี 3 กระบวน การจัดการเรียนการสอน เน้นผูเ้ รยี นเป็นสาคัญ

- 41 - 2.9 หน่วยงานภายนอกที่โรงเรียนเข้าร่วมเป็นสมาชิก เครือข่ายโรงเรียน และหน่วยงานให้ ความร่วมมือ 2.9.1 หนว่ ยงานภายนอกประเภทสมาคม  สมาคมคณะกรรมการประสานและสง่ เสริมการศึกษาเอกชน  สมาคมสหพนั ธโ์ รงเรียนเอกชนแห่งประเทศไทย  สมาคมครูสถานศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย  สมาคมประถมศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย  สมาคมโรงเรียนสอนภาษาจีน 2.9.2 โรงเรยี นเครอื ข่ายสมเดจ็ พระมหาธรี ราชเจ้า 2.9.3 สถาบนั อุดมศกึ ษาในประเทศและในตา่ งประเทศ

- 42 - สว่ นที่ 3 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (ระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐาน) 3.1 ผลการประเมนิ ตนเองรายมาตรฐาน มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรยี น (จานวนเด็กทง้ั หมด 991 คน) การปฎบิ ตั งิ าน จานวนผ้เู รียน ผลการประเมนิ เปา้ หมาย ร้อยละ คุณภาพ ประเดน็ พจิ ารณา ท้งั หมด ผ่าน ปฎิบตั ิ ไมป่ ฎบิ ตั ิ (รอ้ ยละ) เกณฑ์ ผลสมั ฤทธทิ์ างวิชาการของผู้เรียน 1. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน  80 991 762 76.89 ดีเลิศ การสอ่ื สารและการคิดคานวณ  894 90.21  684 69.02 1 . 1 ร้ อ ย ล ะ ข อ ง ผู้ เ รี ย น มี ทั ก ษ ะ  773 78.00 ในการอ่านในแต่ระดับชั้นตามเกณฑ์ 696 70.23 ท่สี ถานศึกษากาหนด   80 991 835 84.26 ดีเลศิ 1 . 2 ร้ อ ย ล ะ ข อ ง ผู้ เ รี ย น มี ทั ก ษ ะ  ในการเขียนในแต่ละระดับช้ันตามเกณฑ์ 800 80.73 ที่สถานศึกษากาหนด 857 86.48 849 85.67 1 . 3 ร้ อ ย ล ะ ข อ ง ผู้ เ รี ย น มี ทั ก ษ ะ 80 991 815 82.24 ดเี ลิศ ในการส่ือสารในแต่ละระดับช้ันตามเกณฑ์ ท่ีสถานศกึ ษากาหนด 1.4 ร้อยละของผเู้ รยี นมที ักษะในการคิด ค า น ว ณ ใ น แ ต่ ล ะ ร ะ ดั บ ช้ั น ต า ม เ ก ณ ฑ์ ทสี่ ถานศึกษากาหนด 2. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอ ย่างมี วิจ ารณญ าณ อ ภิ ป ราย แลกเปลย่ี นความคดิ เห็นและแกป้ ญั หา 2.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถ ในการคิดจาแนก แยกแยะ ใคร่ครวญ ไตร่ตรองอย่างรอบคอบโดยใช้เหตุผล ประกอบการตัดสินใจ 2.2 ร้อยละของผู้เรียนมีการอภิปราย แลกเปลีย่ นความคิดเห็น 2.3. ร้อยละของผู้เรียนมีการแก้ปัญหา อย่างมีเหตุผล 3. มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม

- 43 - การปฎบิ ัตงิ าน เป้าหมาย จานวนผ้เู รยี น ผลการประเมิน ร้อยละ คณุ ภาพ ประเด็นพิจารณา ปฎบิ ตั ิ ไมป่ ฎบิ ัติ (รอ้ ยละ) ทั้งหมด ผา่ น เกณฑ์ 3.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถ ในการรวบรวมความรู้ได้ทั้งตัวเองและ  918 92.63 การทางานเปน็ ทมี  918 92.63 3.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถ ในการรวบรวมความรู้ได้ทั้งตัวเองและ  711 71.75 การทางานเปน็ ทมี 80 991 869 87.69 ดเี ลิศ 3.2 ร้อยละของผ้เู รียนสามารถเช่ือมโยง  882 89.00 อ ง ค์ ค ว า ม รู้ แ ล ะ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ม า ใ ช้ ในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ อาจเป็น  856 86.38 แนวความมคดิ โครงการ โครงงาน ชน้ิ งาน ผลผลิต 80 991 991 100.0 ยอด 4. มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี  0 เยยี่ ม สารสนเทศ และการสื่อสาร 80 991 100.00 4.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถ  ใ น ก า ร ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ แ ล ะ 991 935 94.35 ยอด การส่ือสาร  เย่ียม 4.2 ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถ 982 99.09 ใ น ก า ร น า เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ แ ล ะ การสื่อสารเพ่ือพัฒนาตนเอง และสังคม 887 89.51 ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทางาน อย่างสรา้ งสรรค์ และมคี ณุ ธรรม 5. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม หลักสูตรสถานศกึ ษา 5.1 ร้อยละของผู้เรียนบรรลุการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รสถานศึกษา 6. มคี วามรู้ทักษะพืน้ ฐาน และเจตคติท่ีดี ตอ่ งานอาชพี 6.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ พนื้ ฐานและเจตคติทีด่ ใี นการศกึ ษาตอ่ 6.2 ร้อยละของผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ พื้ น ฐ า น แ ล ะ เ จ ต ค ติ ที่ ดี ใ น ก า ร จั ด ก า ร การทางานหรอื งานอาชพี