แผนการจัดการเรยี นรูฐ้ านสมรรถนะ หลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวช.) พทุ ธศกั ราช 2562 ประเภทวิชา อุตสาหกรรม สาขาวชิ าเครอื่ งมอื กล สาขางานเครอ่ื งมอื กล รหัส 20102 - 2004 วิชา วัดละเอียด จดั ทำโดย นางสาวอัญชลี ศรที องใบ ครผู ู้ชว่ ยแผนกวิชาชา่ งกลโรงงาน วทิ ยาลยั เทคนคิ อา่ งทอง พ.ศ.2564
ก คำนำ แผนการจัดการเรียนรู้เล่มน้ี จัดทำขึ้นเพ่ือไว้เป็นแนวทางในการใช้ประกอบการสอนวิชาวัด ละเอียด รหัสวิชา 20102-2004 ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2562 สาขาวิชาช่างกลโรงงาน โดยใช้ควบคู่กับเอกสารประกอบการเรียนที่ผู้จัดทำได้เรียบเรียงขึ้น หรืออาจใช้ แหล่งเรยี นรอู้ ่ืนๆ ประกอบการเรียนการสอนก็ได้ แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วย รายละเอียดรายวชิ า การวเิ คราะหห์ ลกั สูตรรายวชิ า แผนการจดั การเรียนรู้ ผจู้ ัดทำได้จัดทำแผนการเรียนรเู้ พอื่ ปฏิบตั ิการสอน 18 ครัง้ ประกอบด้วย หัวข้อเร่ือง สาระสำคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำคัญ กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการเรียนการสอน การวัดและ ประเมนิ ผล งานท่มี อบหมาย เฉลยแบบฝึกหัด การประเมนิ จิตพสิ ยั และบนั ทกึ หลงั การสอน ผู้จัดทำหวังว่าแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ตอ่ ผสู้ อนทุกทา่ นท่ีสอนวิชาวัดละเอยี ด หากมีสิง่ หนึ่งสง่ิ ใดขาดตกบกพร่อง ผดิ พลาดไปต้องขออภยั มา ณ โอกาสนี้ และหากมีข้อเสนอแนะประการ ใด ผู้จัดทำพร้อมรบั ฟังคำแนะนำด้วยความยินดียิ่ง นางสาวอญั ชลี ศรีทองใบ ผูจ้ ัดทำ
สารบัญ ข คำอธิบายรายวชิ า หนา้ การวิเคราะห์หวั ข้อเร่ือง 1 การวิเคราะหเ์ นื้อหาสำคัญของหัวข้อเรื่อง 2 การวิเคราะห์ระดบั วัตถุประสงค์การเรยี นรู้ 3 หนว่ ยท่ี 1 24 หน่วยที่ 2 32 หน่วยท่ี 3 43 หน่วยที่ 4 59 หนว่ ยท่ี 5 91 หน่วยท่ี 6 119 หน่วยท่ี 7 135 หนว่ ยท่ี 8 152 186
1 หลักสูตรรายวชิ า หลกั สูตร ประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) พทุ ธศักราช 2562 ประเภทวชิ า ช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชา ชา่ งกลโรงงาน วชิ า วดั ละเอียด รหัสวชิ า 20102-2004 จำนวน 2 หนว่ ยกิต 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ จุดประสงค์รายวิชา 1. เข้าใจหลักการทำงานของเครือ่ งมอื วดั และเครื่องมอื ตรวจสอบ 2. มีทักษะการปฏิบัติงานดา้ นเครื่องมือวดั และเครอื่ งมือตรวจสอบ 3. มีทกั ษะการบำรงุ รักษาเครื่องมือวดั และเครื่องมือตรวจสอบ 4. มีกิจนิสัยในการทางานอย่างมีระเบียบแบบแผน สร้างสรรค์ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและ สว่ นรวม สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เก่ียวกับหลักการและกระบวนการ การบำรุงรักษา เคร่ืองมือวัด และเคร่ืองมือ ตรวจสอบ 2. วัด ตรวจสอบชน้ิ งานดว้ ยเคร่ืองมือวัด เคร่ืองตรวจสอบตามหลกั การ และกระบวนการ 3. บำรงุ รกั ษาเคร่ืองมอื วดั เคร่ืองมือตรวจสอบตามหลกั การ คำอธิบายรายวชิ า ศกึ ษาและปฏิบัติเกี่ยวกับประวัตคิ วามเป็นมาของเครอ่ื งมือวดั ระบบหน่วยวดั มาตรฐานหน่วยวัด การแปลงหน่วยวัด การใช้เคร่ืองมือวัด เคร่ืองมือตรวจสอบชนิดต่าง ๆ บรรทัดเหล็ก ตลับเมตร ใบวัดมุม ฉากตาย ฉากผสม เกจสอบรัศมี เกจวัดเกลียว Plug gage Ring gage Taper Plug gage Taper Ring gage Outside caliper Inside caliper Snap gage Telescoping gage Filler gage Pin gage Block gage เวอรเ์ นยี ร์คาลิปเปอร์ เวอรเ์ นียรไ์ ฮเกจ ไมโครมิเตอร์ นาฬิกาวัด จัดเก็บ บำรุงรักษาเคร่อื งมอื วดั และ เครอ่ื งมอื ตรวจสอบ
2 การวเิ คราะหห์ วั ข้อเรอ่ื ง ตารางที่ ก – 1 การวเิ คราะหห์ วั ขอ้ เรือ่ ง วิชา วัดละเอียด รหสั วิชา 20102-2004 จำนวน 2 หนว่ ยกติ 3 ช่ัวโมง/สัปดาห์ หวั ข้อท่ี หัวข้อเร่อื ง แหล่งข้อมูล หมายเหตุ ABCD 1 ความรู้พื้นฐานวดั ละเอียด 2 บรรทัดเหล็ก 3 เวอร์เนยี ร์ 4 ไมโครมเิ ตอร์ 5 เครื่องมือวดั แบบถ่ายขนาด 6 เครอ่ื งมือวดั ขนาดมุม 7 เครือ่ งมอื วัดและตรวจสอบแบบคา่ คงท่ี 8 นาฬิกาวัด หมายเหตุ แหล่งข้อมูล A = หลักสตู ร B = เอกสาร ตำรา C = ผ้เู ช่ียวชาญ D = ประสบการณ์ตนเอง
ตาราง ก – 2 การวิเคราะห์เนอ้ื หาสำคัญของหัวข้อเร่อื ง 3 Task Listing Sheet หนว่ ยกติ 2 ชือ่ รายวิชา วัดละเอียด ชอ่ื งาน ความรูพ้ ืน้ ฐานวัดละเอยี ด แหล่งข้อมูล ABCD E หัวข้อท่ี หวั ข้อเรอ่ื ง 1 ความหมายของการวดั 2 ระบบหน่วยวัดมาตรฐาน 3 การแปลงหน่วยวดั 4 ประเภทของเครอื่ งมือวัดในงานวดั ละเอยี ด 5 หลกั ปฏบิ ัติในงานวัดละเอยี ด 6 การบำรงุ รกั ษาเคร่ืองมือวดั แหลง่ ข้อมลู A = จากประสบการณ์ (Having ago yourself) B = จากการปฏิบตั ิงาน (Observation of the) C = จากอินเทอรเ์ น็ต (Internet) D = จากเอกสารตำรา(Literatures) E = จากผู้เช่ยี วชาญ(Experts)
ตาราง ก – 2 การวเิ คราะหเ์ นอ้ื หาสำคัญของหัวข้อเรือ่ ง 4 Task Listing Sheet หน่วยกติ 2 ชื่อรายวิชา วัดละเอียด ช่อื งาน บรรทดั เหลก็ แหล่งข้อมูล ABCD E หวั ข้อท่ี หัวข้อเร่อื ง 1 ลกั ษณะของบรรทดั เหลก็ 2 ชนดิ ของบรรทัดเหลก็ 3 ขดี มาตราบนบรรทัดเหล็ก 4 การใชง้ านบรรทัดเหลก็ 5 ขอ้ ควรระวังในการใช้บรรทัดเหล็ก 6 ข้อควรระวังและการบำรงุ รกั ษาบรรทดั เหลก็ 7 ตลับเมตร แหล่งข้อมลู A = จากประสบการณ์ (Having ago yourself) B = จากการปฏิบตั งิ าน (Observation of the) C = จากอนิ เทอร์เน็ต (Internet) D = จากเอกสารตำรา(Literatures) E = จากผเู้ ชีย่ วชาญ(Experts)
ตาราง ก – 2 การวเิ คราะหเ์ นือ้ หาสำคัญของหัวข้อเรื่อง 5 Task Listing Sheet หนว่ ยกติ 2 ช่อื รายวชิ า วัดละเอียด ชอ่ื งาน เวอรเ์ นียร์ แหล่งข้อมูล ABCD E หัวข้อท่ี หวั ข้อเร่อื ง 1 เวอรเ์ นยี ร์คาลิปเปอร์ 2 เวอร์เนยี รว์ ัดลึก 3 เวอร์เนียรไ์ ฮเกจ แหลง่ ข้อมลู A = จากประสบการณ์ (Having ago yourself) B = จากการปฏบิ ตั ิงาน (Observation of the) C = จากอินเทอรเ์ น็ต (Internet) D = จากเอกสารตำรา(Literatures) E = จากผูเ้ ชีย่ วชาญ(Experts)
ตาราง ก – 2 การวเิ คราะห์เนือ้ หาสำคัญของหัวข้อเร่ือง 6 Task Listing Sheet หนว่ ยกติ 2 ชอ่ื รายวชิ า วดั ละเอียด ช่ืองาน ไมโครมเิ ตอร์ แหล่งข้อมูล ABCD E หวั ข้อท่ี หวั ข้อเรอื่ ง 1 ไมโครมเิ ตอร์ 2 ไมโครมเิ ตอรว์ ดั นอก 3 ไมโครมิเตอร์วดั นอกแบบแสดงผลเปน็ ตวั เลข (ดิจิตอล) 4 ไมโครมเิ ตอรแ์ บบใชง้ านเฉพาะ 5 ไมโครมเิ ตอรว์ ัดในแบบคาลปิ เปอร์ 6 ไมโครมิเตอร์วดั ในแบบเปลย่ี นแกนวัด 7 ไมโครมิเตอร์วดั ลกึ แหล่งข้อมลู A = จากประสบการณ์ (Having ago yourself) B = จากการปฏิบัตงิ าน (Observation of the) C = จากอินเทอร์เน็ต (Internet) D = จากเอกสารตำรา(Literatures) E = จากผูเ้ ช่ียวชาญ(Experts)
ตาราง ก – 2 การวเิ คราะห์เนอื้ หาสำคัญของหัวข้อเรื่อง 7 Task Listing Sheet หนว่ ยกติ 2 ช่อื รายวิชา วัดละเอียด ช่ืองาน เคร่อื งมือวดั แบบถา่ ยขนาด แหล่งข้อมูล ABCD E หวั ข้อที่ หวั ข้อเรอื่ ง 1 เครือ่ งมือวัดแบบถา่ ยขนาด 2 คาลปิ เปอร์วดั นอก 3 คาลปิ เปอรว์ ดั ใน 4 เกจถ่ายขนาดรใู นขนาดเล็ก 5 เกจถ่ายขนาดความโตรูควา้ น แหล่งข้อมูล A = จากประสบการณ์ (Having ago yourself) B = จากการปฏบิ ัตงิ าน (Observation of the) C = จากอนิ เทอรเ์ น็ต (Internet) D = จากเอกสารตำรา(Literatures) E = จากผู้เชยี่ วชาญ(Experts)
ตาราง ก – 2 การวเิ คราะห์เนอ้ื หาสำคัญของหัวข้อเรื่อง 8 Task Listing Sheet หนว่ ยกติ 2 ชอื่ รายวิชา วัดละเอียด ช่อื งาน เครือ่ งมือวัดขนาดมุม แหล่งข้อมูล ABCD E หัวข้อท่ี หัวข้อเรื่อง 1 ฉากเคร่อื งกล 2 ใบวัดมุม 3 ฉากผสม 4 บรรทัดวดั มุมสากล 5 ระดบั น้ำเครื่องกล แหลง่ ข้อมลู A = จากประสบการณ์ (Having ago yourself) B = จากการปฏิบตั ิงาน (Observation of the) C = จากอินเทอรเ์ นต็ (Internet) D = จากเอกสารตำรา(Literatures) E = จากผู้เช่ยี วชาญ(Experts)
ตาราง ก – 2 การวิเคราะห์เนือ้ หาสำคัญของหัวข้อเรือ่ ง 9 Task Listing Sheet หน่วยกติ 2 ช่ือรายวชิ า วัดละเอียด ช่ืองาน เครื่องมือวัดและตรวจสอบแบบค่าคงท่ี แหล่งข้อมูล ABCD E หัวข้อที่ หัวข้อเรือ่ ง 1 เกจวัดรศั มี 2 เกจวัดความหนา 3 เกจวัดและตรวจสอบระยะพิตชเ์ กลียว 4 เกจวดั มุมและตงั้ มีดกลึงเกลียวสามเหล่ยี ม 5 เกจตรวจสอบเกลียว 6 เกจวงแหวน 7 เกจทรงกระบอก 8 เกจก้ามปู 9 เกจเพลาเรียว 10 เกจรูเรียว 11 เกจเหล่ียม 12 พนิ เกจ แหลง่ ข้อมลู A = จากประสบการณ์ (Having ago yourself) B = จากการปฏิบัตงิ าน (Observation of the) C = จากอินเทอร์เนต็ (Internet) D = จากเอกสารตำรา(Literatures) E = จากผู้เชยี่ วชาญ(Experts)
ตาราง ก – 2 การวิเคราะห์เนอ้ื หาสำคัญของหัวข้อเรอื่ ง 10 Task Listing Sheet หนว่ ยกติ 2 ช่ือรายวชิ า วัดละเอียด ชื่องาน นาฬิกาวดั แหล่งข้อมูล ABCD E หวั ข้อท่ี หวั ข้อเรอ่ื ง 1 นาฬิกาวัด 2 คอมพาเรเตอร์ แหล่งข้อมูล A = จากประสบการณ์ (Having ago yourself) B = จากการปฏิบตั งิ าน (Observation of the) C = จากอินเทอรเ์ น็ต (Internet) D = จากเอกสารตำรา(Literatures) E = จากผเู้ ชย่ี วชาญ(Experts)
ตาราง ก – 3 การวเิ คราะหเ์ น้ือหาสำคัญของหัวข้อเร่อื งยอ่ ย 11 หัวข้อท่ี 1 เรื่อง ความรู้พืน้ ฐานวัดละเอียด PSL I CA รายการเนอื้ หาสำคญั ความร้(ู Knowledge) ISL ทกั ษะ (Skill) (Task) R AT 1. ความหมายของการวดั 1.1 ความหมายของการวัด 1.2 ลักษณะของการวดั 2. ระบบหน่วยวัด 2.1 หน่วยวัดระบบอังกฤษ 2.2 หน่วยวดั ระบบเมตรกิ 2.3 หน่วยวดั ระบบ SI 3. การแปลงหน่วยวัด 3.1 การแปลงหน่วยวัดใน ระบบเดยี วกัน 3.2 การแปลงหน่วยวัด ขา้ มระบบ 4. ประเภทของเครอื่ งมือ 4.1 เครอ่ื งมอื วดั แบบมีขดี วดั ละเอียด มาตราคงท่ี 4.2 เครอ่ื งมือวัดแบบมีขดี มาตราปรบั เลอ่ื นได้ 4.3 เครื่องมือวัดแบบ ค่าคงที่ 4.4 เครอื่ งมือวัดแบบถ่าย ทอดขนาด 5. หลกั ปฏบิ ัตใิ นงานวัด 5.1 หลักปฏบิ ัตใิ นงานวัด ละเอยี ด ละเอียด 6. การบำรงุ รกั ษา 6.1 การบำรุงรกั ษา เคร่อื งมอื วดั เครื่องมอื วัด ISL = ระดบั ทกั ษะทางสตปิ ัญญา PSL = ระดบั ทกั ษะทางกล้ามเนอื้ (Intellectual Skill Level) (Physical Skill Level) R = ฟื้นคืนความรู้ (Recalled Knowledge) I = ทำได้ตามแบบ (Imitation is needed) A = ประยุกต์ความรู้ (Applied Knowledge) C = ทำไดด้ ้วยความถูกตอ้ ง (Control is needed) T = สง่ ถา่ ยความรู้ (Transferred Knowledge) A = ทำได้ด้วยความชำนาญ (Automation is needed)
12 ตาราง ก – 3 การวิเคราะหเ์ นือ้ หาสำคญั ของหัวข้อเรือ่ งย่อย หวั ข้อท่ี 2 เร่ือง บรรทัดเหล็ก รายการเนอ้ื หาสำคัญ ความรู(้ Knowledge) ISL ทกั ษะ (Skill) PSL (Task) RAT I CA 1. ลักษณะบรรทดั เหล็ก 1.1 ลกั ษณะบรรทัดเหล็ก 2. ชนิดของบรรทัดเหลก็ 2.1 ชนิดของบรรทดั เหลก็ 3. ขดี มาตราบน 3.1 ขดี มาตราระบบเมตรกิ บรรทัดเหลก็ บนบรรทัดเหลก็ 3.2 ขีดมาตราระบบอังกฤษ 4. การใชง้ านบรรทดั หล็ก 4.1 ใช้บรรทดั เหลก็ วัด ขนาดชนิ้ งาน 4.2 การใช้บรรทัดเหลก็ ถ่ายขนาดวดั 5. ข้อควรระวังในการใช้ 5.1 ขอ้ ควรระวังในการใช้ บรรทดั เหลก็ บรรทดั เหลก็ 6. การบำรุงรกั ษา 6.1 ขอ้ ควรบำรุงรักษา บรรทดั เหลก็ บรรทดั เหลก็ 7. ตลับเมตร 7.1 ลักษณะตลบั เมตร 7.2 ส่วนประกอบตลับเมตร 7.3 การอา่ นคา่ ขดี มาตรา ระบบเมตริกของตลับเมตร 7.4 การอ่านค่าขดี มาตรา ระบบองั กฤษตลับเมตร 7.5 การใชง้ านตลับเมตร 7.6 การบำรุงรกั ษา ตลับเมตร ISL = ระดบั ทักษะทางสตปิ ัญญา PSL = ระดับทักษะทางกลา้ มเนอื้ (Intellectual Skill Level) (Physical Skill Level) R = ฟนื้ คืนความรู้ (Recalled Knowledge) I = ทำได้ตามแบบ (Imitation is needed) A = ประยุกตค์ วามรู้ (Applied Knowledge) C = ทำได้ด้วยความถูกต้อง (Control is needed) T = สง่ ถา่ ยความรู้ (Transferred Knowledge) A = ทำได้ดว้ ยความชำนาญ (Automation is needed)
13 ตาราง ก – 3 การวิเคราะหเ์ นอื้ หาสำคัญของหัวข้อเรื่องยอ่ ย หวั ข้อท่ี 3 เรือ่ ง เวอร์เนยี ร์ รายการเนอ้ื หาสำคญั ความรู(้ Knowledge) ISL ทกั ษะ (Skill) PSL (Task) R AT I CA 1. เวอร์เนียรค์ าลปิ เปอร์ 1.1 ประวัติการสรา้ ง เวอร์เนียรค์ าลิปเปอร์ 1.2 ชนดิ ของเวอรเ์ นียร์ คาลิปเปอร์ 1.3 สว่ นประกอบของ เวอรเ์ นียร์คาลปิ เปอร์ 1.4 การอา่ นคา่ ขีดมาตรา ความละเอยี ด 0.05 มลิ ลิเมตร 1.5 การอา่ นค่าขีดมาตรา ความละเอียด 0.02 มลิ ลิเมตร 1.6 การอ่านคา่ ขดี มาตรา ความละเอยี ด 0.001 น้ิว 1.7 การอ่านค่าขีดมาตรา ความละเอยี ด 1 น้ิว 4.1 การใชง้ านเวอร์ 128 1.8 การใช้งานเวอร์เนยี ร์ คาลิปเปอรว์ ัดขนาด เนียร์คาลิปเปอร์วดั ภายนอกชนิ้ งาน ขนาดภายนอก 1.9 การใช้งานเวอร์เนยี ร์ 4.2 ใชเ้ วอร์เนียร์ คาลิปเปอรว์ ัดขนาด คาลปิ เปอรว์ ัดขนาด ภายในชนิ้ งาน ภายในชิ้นงานได้ 1.10 การใช้งานเวอร์เนยี ร์ 4.3 ใชเ้ วอร์เนียร์ คาลิปเปอร์วดั ขนาด คาลปิ เปอรว์ ัดขนาด ความลกึ ชน้ิ งาน ความลกึ ชนิ้ งานได้ ISL = ระดบั ทักษะทางสตปิ ญั ญา PSL = ระดบั ทักษะทางกล้ามเน้อื (Intellectual Skill Level) (Physical Skill Level) R = ฟ้ืนคืนความรู้ (Recalled Knowledge) I = ทำได้ตามแบบ (Imitation is needed) A = ประยกุ ตค์ วามร้(ู Applied Knowledge) C = ทำได้ด้วยความถกู ต้อง (Control is needed) T = สง่ ถา่ ยความรู้ (Transferred Knowledge) A = ทำได้ด้วยความชำนาญ (Automation is needed)
14 ตาราง ก – 3 การวิเคราะห์เนอื้ หาสำคญั ของหัวข้อเรอ่ื งย่อย หวั ข้อที่ 3 เร่อื ง เวอร์เนยี ร์ รายการเน้อื หาสำคัญ ความร(ู้ Knowledge) ISL ทักษะ (Skill) PSL (Task) R AT I CA 1.11 ส่วนประกอบของ เวอรเ์ นยี รค์ าลิปเปอร์แบบ แบบหนา้ ปดั นาฬกิ า 1.12 การอ่านค่าขดี มาตรา เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์แบบ หน้าปัดค่าความละเอียด 0.01 มิลลิเมตร 1.13 การอ่านค่าขีดมาตรา เวอร์เนียร์คาลปิ เปอรแ์ บบ หน้าปดั ค่าความละเอียด 0.02 มลิ ลิเมตร 1.14 การอา่ นคา่ ขดี มาตรา เวอรเ์ นยี ร์คาลิปเปอร์แบบ หนา้ ปดั ค่าความละเอียด 0.001 นิว้ 1.15 ลักษณะและสว่ น ประกอบเวอร์เนยี ร์ คาลปิ เปอร์แบบดจิ ติ อล 1.16 การใช้งานเวอร์เนียร์ คาลิปเปอรแ์ บบดิจิตอล 1.17 การใช้งานเวอร์เนียร์ คาลิปเปอร์แบบดจิ ิตอลวัด ขนาดช้นิ งาน ISL = ระดบั ทักษะทางสติปัญญา PSL = ระดบั ทกั ษะทางกล้ามเน้อื (Intellectual Skill Level) (Physical Skill Level) R = ฟ้นื คนื ความรู้ (Recalled Knowledge) I = ทำได้ตามแบบ (Imitation is needed) A = ประยุกต์ความร(ู้ Applied Knowledge) C = ทำได้ด้วยความถูกตอ้ ง (Control is needed) T = สง่ ถา่ ยความรู้ (Transferred Knowledge) A = ทำได้ดว้ ยความชำนาญ (Automation is needed)
15 ตาราง ก – 3 การวเิ คราะหเ์ น้อื หาสำคัญของหัวข้อเรือ่ งย่อย หวั ข้อที่ 3 เรื่อง เวอร์เนียร์ รายการเนอื้ หาสำคญั ความรู้(Knowledge) ISL ทกั ษะ (Skill) PSL (Task) R AT I CA 2.1 ลักษณะและส่วน 2. เวอรเ์ นยี ร์วดั ลกึ ประกอบเวอร์เนียรว์ ัดลกึ 2.2 การอ่านคา่ ขดี มาตรา เวอรเ์ นยี ร์วัดลกึ ความ ละเอยี ด 0.01 มลิ ลเิ มตร 2.3 การอา่ นคา่ ขีดมาตรา เวอร์เนียร์วัดลกึ ความ ละเอียด 0.001 นิ้ว 2.4 ลักษณะการใชง้ าน เวอร์เนียร์วดั ลกึ 3. เวอรเ์ นยี รไ์ ฮเกจ 3.1 ลักษณะและสว่ น ประกอบของเวอรเ์ นียร์ ไฮเกจ 3.2 การอา่ นค่าขดี มาตรา เวอรเ์ นยี รไ์ ฮเกจ ความ ละเอยี ด 0.02 มิลลิเมตร 3.3 การอ่านคา่ ขดี มาตรา เวอร์เนยี รไ์ ฮเกจ ความ ละเอียด 0.001 นิว้ 3.4 ลกั ษณะการใชง้ าน เวอร์เนยี รไ์ ฮเกจ 3.5 การบำรงุ รกั ษา เวอรเ์ นียร์ ISL = ระดบั ทกั ษะทางสติปัญญา PSL = ระดับทักษะทางกลา้ มเน้อื (Intellectual Skill Level) (Physical Skill Level) R = ฟืน้ คนื ความรู้ (Recalled Knowledge) I = ทำได้ตามแบบ (Imitation is needed) A = ประยุกตค์ วามร้(ู Applied Knowledge) C = ทำได้ดว้ ยความถูกตอ้ ง (Control is needed) T = ส่งถ่ายความรู้ (Transferred Knowledge) A = ทำได้ด้วยความชำนาญ (Automation is needed)
16 ตาราง ก – 3 การวิเคราะหเ์ น้ือหาสำคญั ของหัวข้อเรอ่ื งยอ่ ย หัวข้อท่ี 4 เร่อื ง ไมโครมิเตอร์ รายการเน้ือหาสำคัญ ความร(ู้ Knowledge) ISL ทักษะ (Skill) PSL (Task) R AT I CA 1. ไมโครมิเตอร์ 1.1 ประวตั ไิ มโครมเิ ตอร์ 1.2 หลักการทำงาน ไมโครมเิ ตอร์ 2. ไมโครมเิ ตอร์วดั นอก 2.1 ส่วนประกอบ ไมโครมิเตอร์วัดนอก 2.2 การอา่ นค่าขดี มาตรา ไมโครมิเตอร์วดั นอก ความ ละเอียด 0.01 มลิ ลิเมตร 2.3 การอ่านค่าขีดมาตรา ไมโครมิเตอร์วดั นอก ความ ละเอยี ด 0.001 มลิ ลิเมตร 2.4 การอ่านค่าขีดมาตรา ไมโครมเิ ตอร์วัดนอก ความ ละเอยี ด 0.001 นิ้ว 2.5 การอา่ นคา่ ขดี มาตรา ไมโครมิเตอร์วดั นอก ความ ละเอียด 0.0001 นิว้ 2.6 การใช้งานไมโคร 2.6 ใชไ้ มโครมิเตอร์ มเิ ตอรว์ ดั นอก วัดนอกแบบสเกล วัดขนาดชิ้นงาน 3. ไมโครมิเตอรว์ ดั นอก 3.1 ส่วนประกอบของ แบบดจิ ติ อล ไมโครมเิ ตอร์วดั นอกแบบ ดิจติ อล 3.2 การใช้งานไมโครมเิ ตอร์ วัดนอกแบบดจิ ิตอล ISL = ระดับทักษะทางสตปิ ัญญา PSL = ระดบั ทักษะทางกล้ามเน้ือ (Intellectual Skill Level) (Physical Skill Level) R = ฟ้นื คนื ความรู้ (Recalled Knowledge) I = ทำได้ตามแบบ (Imitation is needed) A = ประยุกต์ความรู้(Applied Knowledge) C = ทำได้ด้วยความถูกต้อง (Control is needed) T = ส่งถา่ ยความรู้ (Transferred Knowledge) A = ทำได้ดว้ ยความชำนาญ (Automation is needed)
17 ตาราง ก – 3 การวเิ คราะห์เน้อื หาสำคญั ของหัวข้อเรื่องย่อย หวั ข้อท่ี 4 เรื่อง ไมโครมเิ ตอร์ รายการเนอ้ื หาสำคัญ ความรู(้ Knowledge) ISL ทกั ษะ (Skill) PSL (Task) R AT I CA 4. ไมโครมเิ ตอร์วดั ใน 4.1 ส่วนประกอบของ แบบคาลปิ เปอร์ ไมโครมเิ ตอร์วดั ในแบบ คาลปิ เปอร์ 4.2 การอา่ นค่าขดี มาตรา ไมโครมเิ ตอร์วดั ในแบบ คาลิปเปอร์ 4.3 การใช้งานไมโครมิเตอร์ 4.3 ใช้ไมโครมเิ ตอร์ วัดในแบบคาลปิ เปอร์ วดั ในวดั ขนาดงาน 5. ไมโครมิเตอร์วัดใน 5.1 สว่ นประกอบของ แบบเปล่ียนแกนวดั ไมโครมเิ ตอร์วัดในแบบ เปลี่ยนแกนวัด 5.2 การอ่านค่าขีดมาตรา ไมโครมิเตอร์วัดแบบเปล่ยี น แกนวัด 5.3 การใช้งานไมโครมเิ ตอร์ 5.3 ใชไ้ มโครมเิ ตอร์ วดั ในแบบเปลย่ี นแกนวัด วัดในวดั ขนาดงาน 6. ไมโครมเิ ตอร์วดั ลึก 6.1 สว่ นประกอบของ ไมโครมเิ ตอร์วัดลึก 6.2 การอ่านค่าขดี มาตรา ของไมโครมเิ ตอรว์ ดั ลกึ 6.3 การใชง้ านไมโครมิเตอร์ 6.3 ใช้ไมโครมเิ ตอร์ วัดลึก วดั ลึกวดั ขนาดงาน 64 การบำรุงรักษาไมโคร มเิ ตอร์ ISL = ระดบั ทักษะทางสตปิ ัญญา PSL = ระดบั ทกั ษะทางกล้ามเน้อื (Intellectual Skill Level) (Physical Skill Level) R = ฟ้ืนคนื ความรู้ (Recalled Knowledge) I = ทำได้ตามแบบ (Imitation is needed) A = ประยกุ ต์ความร(ู้ Applied Knowledge) C = ทำได้ดว้ ยความถูกตอ้ ง (Control is needed) T = ส่งถา่ ยความรู้ (Transferred Knowledge) A = ทำได้ดว้ ยความชำนาญ (Automation is needed)
18 ตาราง ก – 3 การวเิ คราะหเ์ น้ือหาสำคัญของหัวข้อเรอ่ื งย่อย หัวข้อท่ี 5 เรอ่ื ง เครอ่ื งมอื วัดแบบถา่ ยขนาด รายการเนือ้ หาสำคญั ความร(ู้ Knowledge) ISL ทกั ษะ (Skill) PSL (Task) R AT I CA 1. คาลปิ เปอร์วดั นอก 1.1 ลกั ษณะและส่วน ประกอบคาลปิ เปอร์วัดนอก 1.2 การใชง้ านคาลปิ เปอร์ 1.2 การใช้งาน วัดนอกตรวจสอบชน้ิ งาน คาลิปเปอรว์ ัดนอก 1.3 การปรับขนาด ตรวจสอบช้นิ งาน คาลปิ เปอร์วดั นอก 2. คาลปิ เปอร์วัดใน 2.1 ลกั ษณะและสว่ น ประกอบคาลปิ เปอร์วดั ใน 2.2 การใชง้ านคาลิปเปอร์ 2.2 การใชง้ าน วัดในตรวจสอบช้ินงาน คาลิปเปอร์วัดใน 2.3 การปรับขนาด ตรวจสอบชน้ิ งาน คาลิปเปอร์วดั ใน 3. เกจถ่ายขนาดรใู น 3.1 ลักษณะและส่วน ขนาดเลก็ ประกอบเกจถ่ายขนาดรใู น ขนาดเลก็ 4. การใช้งานเกจถา่ ย 4.1 การใชง้ านเกจถ่าย 4.1 ใชเ้ กจถา่ ยขนาด ขนาดรใู น ขนาดรูในขนาดเล็ก รใู นขนาดเล็กตรวจ สอบขนาดช้นิ งาน 5. เกจถ่ายขนาดความโต 5.1 ลกั ษณะและส่วน รคู ว้าน ประกอบเกจถ่ายขนาด ความโตรคู ว้าน 6.การใชง้ านเกจถ่าย 6.1 การใชง้ านเกจถา่ ย 6.1 ใชเ้ กจถา่ ยขนาด ขนาดความโตรูควา้ น ขนาดความโตรคู วา้ น ความโตรคู ว้าน ตรวจสอบชน้ิ งาน 7. การบำรุงรกั ษา 7.1 การบำรุงรกั ษา เครื่องมือวดั แบบถา่ ยขนาด เครือ่ งมอื วดั แบบถ่ายขนาด ISL = ระดบั ทกั ษะทางสติปญั ญา PSL = ระดับทกั ษะทางกลา้ มเนื้อ (Intellectual Skill Level) (Physical Skill Level) R = ฟ้นื คนื ความรู้ (Recalled Knowledge) I = ทำได้ตามแบบ (Imitation is needed) A = ประยุกตค์ วามร้(ู Applied Knowledge) C = ทำได้ดว้ ยความถูกต้อง (Control is needed) T = สง่ ถ่ายความรู้ (Transferred Knowledge) A = ทำได้ด้วยความชำนาญ (Automation is needed)
19 ตาราง ก – 3 การวิเคราะหเ์ น้อื หาสำคัญของหัวข้อเรื่องยอ่ ย หัวข้อที่ 6 เร่อื ง เครือ่ งมือวัดขนาดมุม รายการเน้อื หาสำคัญ ความรู้(Knowledge) ISL ทักษะ (Skill) PSL (Task) R AT I CA 1. ฉากเครื่องกล 1.1 ส่วนประกอบของฉาก เครือ่ งกล 1.2 ชนดิ ของฉากเคร่ืองกล 1.3 การใชง้ านฉากเครื่องกล 1.3 ใชฉ้ ากเครอ่ื งกล 2. ใบวดั มมุ 2.1 ส่วนประกอบของใบ ตรวจสอบขนาดมมุ วดั มุม ชน้ิ งาน 2.2 การอ่านคา่ ใบวัดมุม 2.3 การใชง้ านใบวัดมุม 2.3 ใชใ้ บวัดมมุ วัด ขนาดมมุ ช้นิ งาน 3. ฉากผสม 3.1 ส่วนประกอบของ ฉากผสม 3.2 การใช้งานฉากผสม 3.2 ใชฉ้ ากผสมวดั ขนาดมุมช้ินงาน 3.3 การอา่ นค่าใบวัดปรับ องศา 4. บรรทัดวดั มุมสากล 4.1 ส่วนประกอบของ บรรทัดวัดลกึ มุมสากล 4.2 การใชง้ านบรรทัดวดั มมุ 4.2 ใช้บรรทดั วดั มุม สากล สากลวัดขนาดมมุ ช้นิ งาน 4.3 การอา่ นคา่ ใบวัดปรับ องศา ของบรรทดั วัดมมุ สากล 5. ระดบั นำ้ เคร่อื งกล 5.1 ส่วนประกอบของระดบั น้ำเคร่อื งกล 5.2 การใช้งานระดับน้ำ เครอื่ งกล ISL = ระดบั ทักษะทางสติปัญญา PSL = ระดับทักษะทางกลา้ มเน้ือ (Intellectual Skill Level) (Physical Skill Level) R = ฟน้ื คนื ความรู้ (Recalled Knowledge) I = ทำได้ตามแบบ (Imitation is needed) A = ประยกุ ตค์ วามรู้ (Applied Knowledge) C = ทำได้ด้วยความถกู ต้อง (Control is needed) T = ส่งถา่ ยความรู้ (Transferred Knowledge) A = ทำได้ด้วยความชำนาญ (Automation is needed)
20 ตาราง ก – 3 การวิเคราะห์เน้ือหาสำคัญของหัวข้อเร่ืองยอ่ ย หัวข้อท่ี 7 เร่อื ง เคร่อื งมอื วัดและตรวจสอบแบบค่าคงท่ี รายการเนือ้ หาสำคญั ความร(ู้ Knowledge) ISL ทักษะ (Skill) PSL (Task) RAT I CA 1. เกจวดั รศั มี 1.1 ลกั ษณะเกจวัดรัศมี 1.2 การใชง้ านเกจวดั รศั มี 1.2 ใชเ้ กจวดั รัศมีวัด และตรวจสอบ ช้นิ งาน 2. เกจวดั ความหนาหรือ 2.1 ลักษณะเกจวดั ฟิลเลอร์เกจ ความหนา 2.2 การใช้งานเกจวัด ความหนา 3. เกจวดั และตรวจสอบ 3.1 ลกั ษณะเกจวัดและ ระยะพติ ช์เกลียว ตรวจสอบระยะพิตชเ์ กลยี ว 3.2 การใชง้ านเกจวัดและ 3.2. ใชเ้ กจตรวจสอบ ตรวจสอบระยะพิตชเ์ กลยี ว ระยะพติ ชเ์ กลยี ว ตรวจสอบชิ้นงาน 4. เกจวดั และต้ังมีด 4.1 ลกั ษณะเกจวดั และ กลงึ เกลยี วสามเหลย่ี ม ตงั้ มดี กลึงเกลียว 4.2 การใชง้ านเกจวัดและ ต้ังมีดกลึงเกลยี วสามเหล่ียม 5. เกจตรวจสอบเกลียว 5.1 ลักษณะเกจวงแหวน ตรวจสอบเกลยี ว 5.2 การใชง้ านเกจวงแหวน 5.2 ใช้เกจวงแหวน ตรวจสอบเกลียว ตรวจสอบเกลยี วชนิ้ 5.3 ลกั ษณะเกจแทง่ งาน ตรวจสอบเกลียว 5.4 การใชง้ านเกจแท่ง 5.4 ใช้เกจแท่ง ตรวจสอบเกลียว ตรวจสอบเกลยี ว ชิน้ งาน ISL = ระดบั ทักษะทางสติปัญญา PSL = ระดับทักษะทางกล้ามเนื้อ (Intellectual Skill Level) (Physical Skill Level) R = ฟน้ื คืนความรู้ (Recalled Knowledge) I = ทำได้ตามแบบ (Imitation is needed) A = ประยุกต์ความรู้ (Applied Knowledge) C = ทำได้ด้วยความถูกต้อง (Control is needed) T = ส่งถา่ ยความรู้ (Transferred Knowledge) A = ทำได้ด้วยความชำนาญ (Automation is needed)
21 ตาราง ก – 3 การวิเคราะห์เนื้อหาสำคัญของหัวข้อเรอ่ื งยอ่ ย หัวข้อที่ 7 เร่ือง เครื่องมอื วัดและตรวจสอบแบบคา่ คงท่ี รายการเนื้อหาสำคัญ ความรู้(Knowledge) ISL ทกั ษะ (Skill) PSL (Task) R AT I CA 6. เกจวงแหวน 6.1 ลกั ษณะของเกจ วงแหวน 6.2 การใชง้ านเกจ 6.2. ใชเ้ กจวงแหวน วงแหวน ตรวจสอบเกลียว ชิน้ งานได้ 7. เกจทรงกระบอก 7.1 ลักษณะเกจทรง กระบอก 7.2 การใชง้ านเกจทรง 7.2 ใชเ้ กจทรง กระบอก กระบอกตรวจสอบ ชิน้ งานได้ 8. เกจกา้ มปู 8.1 ลักษณะเกจก้ามปู 8.2 การใชง้ านเกจกา้ มปู 8.2. ใชเ้ กจกา้ มปู ตรวจสอบขนาด ชนิ้ งานได้ 9. เกจเพลาเรียว 9.1 ลักษณะเกจเพลาเรยี ว 9.2 การใชง้ านเกจ เพลาเรียว 10. เกจรเู รียว 10.1 ลกั ษณะเกจรูเรยี ว 10.2 การใชง้ านเกจรเู รยี ว 10.2 ใช้เกจรูเรยี ว ตรวจสอบเรยี ว ช้นิ งานได้ 11. เกจเหลยี่ ม 11.1 ลกั ษะของเกจเหล่ยี ม 11.2 วสั ดใุ ชท้ ำเกจเหลยี่ ม 11.3 เกรดของเกจเหล่ียม 11.4 ขนาดของเกจเหล่ยี ม 11.5 การประกอบ 11.5 ประกอบ เกจเหลย่ี ม เกจเหลยี่ มได้ ISL = ระดับทกั ษะทางสตปิ ญั ญา PSL = ระดบั ทักษะทางกลา้ มเนอื้ (Intellectual Skill Level) (Physical Skill Level) R = ฟน้ื คืนความรู้ (Recalled Knowledge) I = ทำได้ตามแบบ (Imitation is needed) A = ประยุกต์ความรู้ (Applied Knowledge) C = ทำได้ด้วยความถูกตอ้ ง (Control is needed) T = สง่ ถ่ายความรู้ (Transferred Knowledge) A = ทำได้ด้วยความชำนาญ (Automation is needed)
22 ตาราง ก – 3 การวิเคราะห์เนอื้ หาสำคัญของหัวข้อเรือ่ งยอ่ ย หัวข้อท่ี 7 เรอ่ื ง เครื่องมือวัดและตรวจสอบแบบคา่ คงท่ี รายการเน้อื หาสำคัญ ความร(ู้ Knowledge) ISL ทักษะ (Skill) PSL (Task) RAT I CA 11. เกจเหลี่ยม (ตอ่ ) 11.6 การใช้งานเกจเหลยี่ ม 12. พนิ เกจ 11.7 การคำนวณขนาด เกจเหลย่ี ม 12.1 ลักษณะของพินเกจ 12.2 การใช้งานพิจเกจ 12.3 การบำรงุ รักษา เครือ่ งมือวดั แบบค่าคงที่ ISL = ระดับทักษะทางสตปิ ัญญา PSL = ระดับทกั ษะทางกลา้ มเนอื้ (Intellectual Skill Level) (Physical Skill Level) R = ฟ้นื คนื ความรู้ (Recalled Knowledge) I = ทำได้ตามแบบ (Imitation is needed) A = ประยุกตค์ วามรู้ (Applied Knowledge) C = ทำได้ดว้ ยความถูกตอ้ ง (Control is needed) T = ส่งถา่ ยความรู้ (Transferred Knowledge) A = ทำได้ดว้ ยความชำนาญ (Automation is needed)
23 ตาราง ก – 3 การวเิ คราะหเ์ นื้อหาสำคญั ของหัวข้อเรอ่ื งยอ่ ย หัวข้อท่ี 8 เร่อื ง นาฬกิ าวดั รายการเนื้อหาสำคญั ความรู้(Knowledge) ISL ทักษะ (Skill) PSL (Task) R AT I CA 1.1 สว่ นประกอบของ 1. นาฬกิ าวัด นาฬกิ าวัด 1.2 การอา่ นคา่ นาฬิกาวัด ความละเอยี ด 0.01 มลิ ลเิ มตร 1.3 การอ่านคา่ นาฬิกาวดั ความละเอียด 0.001 มลิ ลเิ มตร 1.4 การอา่ นค่านาฬกิ าวัด 1.7 ใชน้ าฬกิ าวดั ความละเอียด 0.005 ตรวจสอบชน้ิ งานได้ มิลลเิ มตร 1.5 การอา่ นคา่ นาฬกิ าวัด ความละเอยี ด 0.001 น้วิ 1.6 การอ่านค่านาฬิกาวดั ความละเอยี ด 0.0001 น้ิว 1.7 การใช้งานนาฬกิ าวดั 2. คอมพาเรเตอร์ 2.1 ลักษณะของ คอมพาเรเตอร์ 2.2 การใชง้ าน คอมพาเรเตอร์ 2.3 ขอ้ ควรระวงั และการ บำรงุ รกั ษานาฬิกาวัด ISL = ระดบั ทกั ษะทางสตปิ ัญญา PSL = ระดับทักษะทางกล้ามเน้ือ (Intellectual Skill Level) (Physical Skill Level) R = ฟ้ืนคนื ความรู้ (Recalled Knowledge) I = ทำได้ตามแบบ (Imitation is needed) A = ประยกุ ต์ความรู้ (Applied Knowledge) C = ทำได้ดว้ ยความถูกตอ้ ง (Control is needed) T = ส่งถา่ ยความรู้ (Transferred Knowledge) A = ทำได้ดว้ ยความชำนาญ (Automation is needed)
24 ตารางท่ี ก – 4 ระดับวตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ หน่วยที่ 1 ความรพู้ ืน้ ฐานวัดละเอยี ด ลำดับที่ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ISL PSL IS R A TI CA 1 บอกความหมายของการวดั ได้อย่างถกู ต้อง 2 บอกระบบหน่วยวัดมาตรฐานได้อย่างถูกตอ้ ง 3 แปลงหน่วยวดั ทใ่ี ช้ในงานวัดละเอยี ดไดอ้ ย่างถกู ต้อง 4 แยกประเภทของเครื่องมอื วัดในงานวัดละเอียดได้ อยา่ ง ถกู ต้อง 5 บอกหลกั ปฏบิ ัตใิ นงานวัดละเอียดได้อย่างถกู ต้อง 6 บอกการบำรุงรักษาเครอื่ งมือวัดไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง ISL = ระดับทักษะทางสตปิ ัญญา PSL = ระดบั ทักษะทางกลา้ มเนือ้ IS = ระดับความสามารถในการ ปรบั ตวั R = ฟืน้ คนื ความรู้ I = ทำได้ตามแบบ A = ประยุกตค์ วามรู้ C = ทำได้ดว้ ยความถกู ต้อง T = ส่งถา่ ยความรู้ A = ทำไดด้ ว้ ยความชำนาญ
25 ตารางท่ี ก – 4 ระดับวัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ หน่วยที่ 2 บรรทัดเหล็ก ลำดบั ที่ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ISL PSL IS R A TI CA 1 บอกลักษณะของบรรทัดเหล็กได้ 2 อ่านคา่ ขีดมาตราบนบรรทดั เหล็กได้ 3 บอกวธิ กี ารใช้งานบรรทัดเหลก็ ได้ 4 บอกวิธีการบำรงุ รักษาบรรทัดเหลก็ ได้ 5 บอกลักษณะตลับเมตรได้ 6 อ่านคา่ ขีดมาตราตลับเมตรได้ 7 บอกวธิ กี ารใชง้ านตลบั เมตรได้ 8 บอกวิธีการบำรงุ รักษาตลบั เมตรได้ 9 ใช้บรรทดั เหลก็ วัดขนาดชิ้นงานได้ ISL = ระดบั ทักษะทางสตปิ ัญญา PSL = ระดบั ทักษะทางกล้ามเน้ือ IS = ระดับความสามารถในการ ปรับตัว R = ฟ้นื คืนความรู้ I = ทำไดต้ ามแบบ A = ประยุกต์ความรู้ C = ทำได้ดว้ ยความถกู ต้อง T = ส่งถ่ายความรู้ A = ทำได้ด้วยความชำนาญ
26 ตารางที่ ก – 4 ระดับวตั ถุประสงค์การเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 3 เวอรเ์ นยี ร์ ลำดบั ที่ วัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ ISL PSL IS R A TI CA 1 บอกส่วนประกอบของเวอรเ์ นียร์คาลิปเปอรไ์ ด้ 2 บอกลักษณะการใช้งานของเวอรเ์ นียร์คาลิปเปอร์ได้ 3 อา่ นค่าขีดมาตราเวอรเ์ นียร์คาลปิ เปอร์ได้ 4 บอกส่วนประกอบของเวอรเ์ นยี ร์คาลิปเปอร์แบบดิจติ อล ได้ 5 บอกวิธีใช้งานเวอรเ์ นียรค์ าลิปเปอร์แบบดิจิตอลได้ 6 บอกส่วนประกอบของเวอร์เนยี ร์วัดลึกได้ 7 อา่ นค่าขดี มาตราเวอร์เนยี ร์วัดลกึ ได้ 8 บอกวธิ ใี ชง้ านเวอรเ์ นียรว์ ดั ลึกได้ 9 บอกส่วนประกอบของเวอรเ์ นียร์ไฮเกจได้ 10 อา่ นคา่ ขดี มาตราเวอร์เนยี ร์ไฮเกจได้ 11 บอกวิธีใชง้ านของเวอรเ์ นยี ร์ไฮเกจได้ 12 บอกวิธบี ำรงุ รักษาเวอรเ์ นยี ร์ได้ 13 ใชเ้ วอร์เนียรค์ าลปิ เปอร์วัดขนาดชนิ้ งานได้ ISL = ระดับทักษะทางสตปิ ัญญา PSL = ระดบั ทกั ษะทางกลา้ มเน้อื IS = ระดบั ความสามารถในการ ปรับตัว R = ฟื้นคืนความรู้ I = ทำไดต้ ามแบบ A = ประยกุ ตค์ วามรู้ C = ทำไดด้ ้วยความถูกต้อง T = ส่งถ่ายความรู้ A = ทำได้ดว้ ยความชำนาญ
27 ตารางที่ ก – 4 ระดับวัตถุประสงค์การเรียนรู้ หนว่ ยที่ 4 ไมโครมเิ ตอร์ ลำดับท่ี วัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้ ISL PSL IS R ATI CA 1 บอกชื่อส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์วัดนอกได้ 2 อา่ นคา่ ขีดมาตราของไมโครมิเตอร์ได้ 3 บอกวธิ ีการใชไ้ มโครมิเตอร์ได้ 4 บอกชื่อส่วนประกอบของไมโครมเิ ตอร์วัดนอกแบบ ดจิ ิตอล ได้ 5 บอกวิธกี ารใชไ้ มโครมิเตอร์วัดนอกแบบดจิ ติ อลได้ 6 บอกชื่อส่วนประกอบของไมโครมเิ ตอร์วดั ในแบบ คาลิปเปอร์ได้ 7 อ่านคา่ ขดี มาตราของไมโครมิเตอรว์ ัดในแบบคาลิปเปอร์ ได้ 8 บอกชื่อส่วนประกอบของไมโครมิเตอรว์ ดั ในแบบ เปลีย่ นแกนวัดได้ 9 อา่ นคา่ ขีดมาตราของไมโครมิเตอรว์ ัดในแบบเปลีย่ นแกน วดั ได้ 10 บอกช่ือส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์วดั ลกึ ได้ 11 อา่ นคา่ ขดี มาตราของไมโครมเิ ตอร์วดั ลึกได้ 12 บอกข้อควรระวังและการวิธบี ำรุงรกั ษาไมโครมเิ ตอร์ได้ 13 ใชไ้ มโครมิเตอร์วัดขนาดชน้ิ งานได้ ISL = ระดบั ทักษะทางสติปัญญา PSL = ระดับทกั ษะทางกล้ามเน้ือ IS = ระดบั ความสามารถในการ ปรับตัว R = ฟนื้ คืนความรู้ I = ทำได้ตามแบบ A = ประยุกตค์ วามรู้ C = ทำไดด้ ว้ ยความถกู ต้อง T = ส่งถ่ายความรู้ A = ทำไดด้ ้วยความชำนาญ
28 ตารางท่ี ก – 4 ระดับวัตถุประสงค์การเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 5 เคร่ืองมือวัดแบบถ่ายขนาด ลำดบั ท่ี วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้ ISL PSL IS R ATI CA 1 บอกส่วนประกอบคาลิปเปอรว์ ัดนอกได้ 2 บอกวธิ กี ารใชง้ านคาลิปเปอร์วัดนอกได้ 3 บอกส่วนประกอบของคาลิปเปอรว์ ดั ในได้ 4 บอกวธิ กี ารใชง้ านคาลิปเปอรว์ ดั ในได้ 5 บอกส่วนประกอบของเกจถา่ ยขนาดรใู นขนาดเล็กได้ 6 บอกวธิ ีการใชง้ านเกจถา่ ยขนาดรใู นขนาดเลก็ ได้ 7 บอกส่วนประกอบเกจถ่ายขนาดความโตรคู วา้ นได้ 8 บอกวิธีการใช้งานเกจถ่ายขนาดความโตรคู ว้านได้ 9 บอกวิธีการบำรงุ รักษาเครอื่ งมอื วดั แบบถ่ายขนาดได้ 10 ใช้เครือ่ งมือวัดแบบถา่ ยขนาดตรวจสอบชน้ิ งานได้ ISL = ระดับทกั ษะทางสตปิ ัญญา PSL = ระดับทกั ษะทางกลา้ มเนอื้ IS = ระดับความสามารถในการ ปรบั ตวั R = ฟื้นคนื ความรู้ I = ทำได้ตามแบบ A = ประยกุ ต์ความรู้ C = ทำไดด้ ้วยความถูกต้อง T = ส่งถ่ายความรู้ A = ทำได้ดว้ ยความชำนาญ
29 ตารางที่ ก – 4 ระดับวัตถุประสงค์การเรยี นรู้ หน่วยที่ 6 เครอ่ื งมือวดั ขนาดมุม ลำดบั ท่ี วตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ ISL PSL IS R ATI CA 1 บอกส่วนประกอบของฉากเคร่ืองกลได้ 2 บอกวธิ ีการใช้ฉากเคร่อื งกลได้ 3 บอกส่วนประกอบของใบวดั มุมได้ 4 อา่ นค่าใบวัดมุมได้ 5 บอกวิธีการใช้ใบวดั มุมวดั ขนาดชน้ิ งานได้ 6 บอกส่วนประกอบของฉากผสมได้ 7 บอกวธิ กี ารใชฉ้ ากผสมวัดช้ินงานได้ 8 อา่ นคา่ ใบวดั ปรบั องศาของฉากผสมได้ 9 บอกส่วนประกอบของบรรทัดวดั มุมสากลได้ 10 บอกวธิ กี ารใช้บรรทัดวัดมุมสากลวัดชิน้ งานได้ 11 อา่ นค่าบรรทดั วัดมุมสากลได้ 12 บอกส่วนประกอบของระดับน้ำเคร่ืองกลได้ 13 บอกวธิ ใี ชร้ ะดับน้ำเคร่อื งกลได้ 14 บอกข้อควรระวงั และการบำรุงรกั ษาเครอื่ งมือวดั ขนาด มุม ได้ 15 ใช้เคร่ืองมือวัดมุมวัดและตรวจสอบขนาดมุมชนิ้ งานได้ ISL = ระดบั ทกั ษะทางสตปิ ัญญา PSL = ระดับทักษะทางกลา้ มเน้ือ IS = ระดับความสามารถในการ ปรับตวั R = ฟื้นคืนความรู้ I = ทำไดต้ ามแบบ A = ประยกุ ต์ความรู้ C = ทำไดด้ ว้ ยความถูกต้อง T = ส่งถ่ายความรู้ A = ทำไดด้ ว้ ยความชำนาญ
30 ตารางที่ ก – 4 ระดับวตั ถุประสงคก์ ารเรียนรู้ หน่วยท่ี 7 เคร่อื งมือวดั และตรวจสอบแบบค่าคงท่ี ลำดับที่ วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ ISL PSL IS R ATI CA 1 บอกช่ือของเกจวดั และตรวจสอบแบบคา่ คงทีไ่ ด้ 2 บอกวิธีใช้เกจวัดและตรวจสอบแบบคา่ คงทไ่ี ด้ 3 บอกเกรดของเกจเหล่ียมได้ 4 บอกวสั ดทุ ่ใี ช้ทำเกจเหล่ยี มได้ 5 บอกวธิ ีบำรุงรักษาเกจวัดและตรวจสอบแบบค่าคงทีไ่ ด้ 6 ใช้เคร่ืองมือวดั แบบค่าคงที่ตรวจสอบชน้ิ งานได้ ISL = ระดับทักษะทางสติปัญญา PSL = ระดับทักษะทางกลา้ มเน้ือ IS = ระดบั ความสามารถในการ ปรับตัว R = ฟ้นื คืนความรู้ I = ทำได้ตามแบบ A = ประยุกต์ความรู้ C = ทำไดด้ ้วยความถกู ต้อง T = ส่งถ่ายความรู้ A = ทำไดด้ ว้ ยความชำนาญ
31 ตารางท่ี ก – 4 ระดับวัตถุประสงค์การเรยี นรู้ หน่วยที่ 8 นาฬกิ าวดั ลำดับท่ี วัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้ ISL PSL IS R ATI CA 1 บอกส่วนประกอบของนาฬิกาวัดได้ 2 อา่ นคา่ ขดี สเกลนาฬิกาวัดได้ 3 บอกลกั ษณะการใชง้ านนาฬิกาวดั ได้ 4 บอกหลกั การใชง้ านคอมพาเรเตอร์ได้ 5 บอกข้อควรระวงั และการบำรุงรกั ษานาฬกิ าวดั ได้ 6 ใชน้ าฬกิ าวดั ตรวจสอบขนาดชิ้นงานได้ ISL = ระดบั ทกั ษะทางสตปิ ัญญา PSL = ระดบั ทกั ษะทางกล้ามเนอ้ื IS = ระดับความสามารถในการ ปรับตัว R = ฟ้นื คนื ความรู้ I = ทำได้ตามแบบ A = ประยุกตค์ วามรู้ C = ทำได้ดว้ ยความถกู ต้อง T = ส่งถา่ ยความรู้ A = ทำได้ด้วยความชำนาญ
แผนการจัดการเรยี นรู้ 32 ชือ่ วิชา วดั ละเอยี ด รหสั วิชา 20102-2004 หน่วยท่ี 1 ชอื่ หน่วย ความรู้พนื้ ฐานวดั ละเอียด สอนครัง้ ท่ี 1 จำนวนคาบ 3 1. หัวข้อเรื่อง 1.1 การทดสอบก่อนเรยี นหน่วยที่ 1 ความรู้พ้นื ฐานวดั ละเอียด 2. สาระสำคญั 2.1 การทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ก่อนเรยี นหนว่ ยที่ 1 ความรู้พ้ืนฐานวัดละเอียด 3. วตั ถุประสงค์ 3.1 วัดผลสมั ฤทธิก์ ่อนเรียนหน่วยที่ 1 ความรพู้ ้นื ฐานวัดละเอยี ด 4. เนื้อหาสาระ 4.1 การทำแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธก์ิ ่อนเรียนหนว่ ยท่ี 1 ความรพู้ ืน้ ฐานวดั ละเอยี ด 5. กจิ กรรมการเรียนการสอน กจิ กรรมผสู้ อน กจิ กรรมผเู้ รียน ข้ันท่ี 1 นำเข้าสูบ่ ทเรียน ผู้สอนแนะนำตัวแกผ่ ้เู รยี น อธบิ ายเนื้อหา ผู้เรยี นรว่ มคดิ ตาม สอบถามหากเกดิ ขอ้ สงสัย ราย วชิ าวดั ละเอียด กตกิ าคะแนนเกบ็ และการ ตัดเกรด แล้วนำผ้เู รยี นเข้าสู่การวัดผลสัมฤทธกิ์ ่อน เรยี นใช้เวลาประมาณ 10 นาที ข้ันท่ี 2 เนือ้ หา 1. ผเู้ รยี นรับแบบทดสอบและกระดาษคำตอบ 1. ผู้สอนแจกแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธก์ิ อ่ นเรยี น 2. ผเู้ รียนรว่ มฟงั สอบถามข้อสงสยั หนว่ ยที่ 1 ความรพู้ น้ื ฐานวัดละเอยี ด และ กระดาษ คำตอบให้กบั ผูเ้ รยี น ใช้เวลาประมาณ 2 นาที 2. ผู้สอนช้แี จงผูเ้ รียนเก่ยี วกบั การทำแบบทดสอบ ใชเ้ วลาประมาณ 3 นาที
33 กจิ กรรมผ้สู อน กจิ กรรมผเู้ รยี น ข้นั ท่ี 3 พยายาม 1. ผ้เู รียนทำแบบทดสอบ สอบถามหากเกดิ ข้อสงสยั 1. ผู้สอนคอยกำกับดแู ลขณะผู้เรยี นทำ หากเกดิ ขึ้นระหว่างทำแบบทดสอบ แบบทดสอบ จำนวน 10 ข้อ ใชเ้ วลาประมาณ 6 2. ผ้เู รยี นสง่ แบบทดสอบและกระดาษคำตอบ นาที 2. ผ้สู อนเก็บแบบทดสอบ ใชเ้ วลาประมาณ 3 นาที ขัน้ ที่ 4 สำเร็จผล 1. ผูส้ อนตรวจกระดาษคำตอบหลงั เลกิ สอน สรปุ ผลคะแนนแจ้งผูเ้ รียนในครัง้ ต่อไป
แผนการจดั การเรียนรู้ 34 ชอ่ื วิชา วดั ละเอียด รหสั วิชา 20102-2004 หน่วยที่ 1 ชอ่ื หน่วย ความรู้พ้นื ฐานวดั ละเอยี ด สอนครัง้ ที่ 1 จำนวนคาบ 3 1. หัวขอ้ เรอื่ ง 1.1 ความหมายของการวดั 1.2 ระบบหน่วยวดั มาตรฐาน 1.3 การแปลงหน่วยวัด 1.4 ประเภทของเครื่องมือวดั ละเอยี ด 1.5 หลกั ปฏิบตั ิในงานวดั ละเอียด 1.6 การบำรงุ รักษาเคร่ืองมอื วัด 2. สาระสำคญั การศกึ ษาในเรื่องใดๆ ก็ตาม ควรศึกษาความหมาย ความสำคญั ความรู้พืน้ ฐานของ เรอื่ งน้นั ๆ จน เกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ เพอ่ื เปน็ คำตอบพนื้ ฐานของตัวเราเองให้ได้ว่าจะศึกษาเรอ่ื งนน้ั ๆไปทำไมในงานวัด ละเอียดกเ็ ช่นกัน ควรศึกษาความหมายของการวัด ความสำคัญของการวัด ระบบหน่วยวดั มาตรฐาน การ แปลงระบบหน่วยวัด การแยกประเภทของเคร่อื งมือวดั ข้อควรปฏบิ ตั แิ ละการบำรงุ รักษาเครื่องมือวดั ต่างๆ เพราะนคี่ ือความรู้พืน้ ฐานในงานวดั ละเอียด 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3.1 บอกความหมายของการวัดได้อยา่ งถูกต้อง 3.2 บอกระบบหน่วยวดั มาตรฐานได้อย่างถูกต้อง 3.3 แปลงหนว่ ยวัดที่ใช้ในงานวัดละเอียดได้อย่างถูกต้อง 3.4 แยกประเภทของเครอื่ งมือวัดในงานวดั ละเอียดได้อยา่ งถูกต้อง 3.5 บอกหลักปฏิบตั ใิ นงานวดั ละเอยี ดได้อย่างถูกต้อง 3.6 บอกการบำรงุ รกั ษาเคร่อื งมือวดั ได้อย่างถกู ต้อง 4. เน้อื หาสาระ การวดั คอื ชดุ ปฏิบัตกิ ารเพื่อตัดสินค่าของปริมาณที่ถกู วดั ด้วยการเปรยี บเทยี บกับมาตรฐานหรอื เครอ่ื งมอื วดั ตวั แปรพน้ื ฐานที่สำคัญของการวดั ประกอบดว้ ย บคุ คลผู้ปฏิบตั กิ ารวัด เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นการ วัดและสภาพแวดล้อมขณะปฏิบัติการวดั
35 การวัดขนาด แบง่ ออกเปน็ 2 ลักษณะ คอื 1. การวดั ทางตรง 2. การวัดทางออ้ ม ระบบหนว่ ยวดั แบง่ ออกเป็น 3 ระบบ ไดแ้ ก่ 1. หนว่ ยวดั ระบบ SI 2. หน่วยวดั ระบบเมตริก 3. หนว่ ยวดั ระบบอังกฤษ ปัจจุบันใช้ความยาว เมตร มาตรฐานระบบ SI เท่ากับ ระยะทางท่ีแสงเดินทางผ่านสุญญากาศในระยะ เวลา 1/299,792,458 วินาที ประเภทเครอื่ งมอื วัด ในวิชาวดั ละเอยี ดแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท ดงั นี้ 1. เคร่ืองมอื วัดแบบมีขีดมาตรา ➢ เคร่อื งมอื วดั แบบมีขีดมาตราคงที่ ➢ เครื่องมอื วัดแบบมีขดี มาตราปรบั เล่ือนได้ 2. เครือ่ งมอื วัดแบบไม่มขี ีดมาตรา ➢ เครื่องมอื วดั แบบค่าคงท่ี ➢ เครือ่ งมอื วดั แบบถ่ายทอดขนาด 5. กิจกรรมการเรยี นการสอน กิจกรรมผสู้ อน กจิ กรรมผเู้ รยี น ข้ันท่ี 1 นำเข้าสู่บทเรยี น จดุ ประสงค์ท่ี 1- 2 กลา่ วถึงต้งั แต่ตน่ื เช้า ดำเนนิ กิจกรรมไปตลอด ผู้เรยี นร่วมคิดตาม พิจารณาตัวอย่างที่ผ้สู อนนำมา ทง้ั วัน จนถงึ เขา้ นอนไม่มีสกั เวลาใดท่ีไม่เกยี่ วกบั เสนอและร่วมแสดงความคิดเหน็ ขอ้ งกบั การวดั เชน่ ต่นื มาเวลากโ่ี มง เดินทางไป โรงเรยี นใชร้ ะยะทางเทา่ ใด ใชเ้ วลาเทา่ ใด ลว้ นแต่ เกย่ี วข้องกบั การวดั ท้ังส้ินใชห่ รือไม่ แล้วนำเขา้ สู่ บทเรยี น ใช้เวลาประมาณ 3 นาที
36 5. กิจกรรมการเรยี นการสอน กจิ กรรมผเู้ รยี น กิจกรรมผสู้ อน ขน้ั ท่ี 2 เนือ้ หา 1. อธิบายความหมายของการวัด ความสำคัญของ 1. ผู้เรยี นฟังการบรรยาย ศึกษาหนังสอื เรียนวชิ า การวดั ขนาด ปรมิ าณขนาดพื้นฐานที่ทำการวดั วัดละเอยี ดหนว่ ยที่ 1 สอบถามข้อสงสยั พรอ้ มจด ลกั ษณะของการวดั ขนาดโดยใชส้ ื่อ Power Point บนั ทกึ ใช้เวลาประมาณ 10 นาที 2. อธบิ ายเรื่องระบบหนว่ ยวดั ลักษณะ ความสำคัญ 2. ผู้เรียนฟังการบรรยาย ศึกษาหนังสือเรียนวชิ า ของหนว่ ยวัด ลักษณะของหน่วยวดั ในอดตี วัดละเอยี ดหนว่ ยท่ี 1 สอบถามขอ้ สงสัยพร้อมจด อธิบายหน่วยวัดองั กฤษ หนว่ ยวดั ระบบเมตรกิ บนั ทกึ และหนว่ ยวัด ระบบ SI unit ลกั ษณะการกระจายหน่วย โดย ใชส้ ่อื Power point ใช้เวลาประมาณ 15 นาที ขนั้ ที่ 3 พยายาม 1. ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 ตอนท่ี 1 ข้อ 1-6 1. ใหผ้ เู้ รยี นทำแบบฝึกหัดใช้เวลาประมาณ 15 และตอนท่ี 2 ข้อ 1-7 ตอนท่ี 3 ขอ้ 1-2 นาที 1. รว่ มตรวจเฉลยคำตอบของแบบฝึกหดั ทผ่ี เู้ รียนทำ ขน้ั ท่ี 4 สำเรจ็ ผล 1. ตรวจผลการทำแบบฝึกหดั ร่วมกบั ผเู้ รียนใช้ เวลาประมาณ 5 นาที
5. กิจกรรมการเรียนการสอน (ตอ่ ) 37 กิจกรรมผสู้ อน กจิ กรรมผเู้ รียน ขน้ั ท่ี 1 นำเข้าสบู่ ทเรยี น จดุ ประสงค์ท่ี 3 ผูเ้ รียนร่วมคดิ ตาม แสดงความคิดเห็น ตอบคำถาม ผู้สอนกลา่ วถึงประเทศไทยยงั คงใช้ระบบ หน่วยวดั ทง้ั ระบบอังกฤษ ระบบเมตรกิ และระบบ เอสไอ ตวั อยา่ งเชน่ ไปซื้อทอ่ PVC ที่ตลาดผู้ขาย จะถามต้องการขนาดกี่นวิ้ ก่หี ุน ซื้อสกรูขนาดก่ี มลิ ลิเมตร ไปซ้ือผา้ ต้องการก่ีหลา ความเรว็ ของ รถยนตจ์ ะใชก้ ิโลเมตรต่อชวั่ โมง เราจึงจำเป็นต้อง มีการแปลงหนว่ ยใชห่ รอื ไม่ ใช้เวลาประมาณ 3 นาที ขนั้ ที่ 2 เนือ้ หา 1. ผเู้ รียนฟังการบรรยาย ศกึ ษาหนังสอื เรียนวิชา 1. ผู้สอนอธิบายลกั ษณะการแปลงหน่วยวดั ค่า วดั ละเอียดหนว่ ยที่ 1 สอบถามข้อสงสัยพรอ้ มจด พนื้ ฐานทีใ่ ช้ในการแปลงหนว่ ยวัดในหนว่ ย บนั ทึก เดยี วกัน ทงั้ ระบบองั กฤษและระบบเมตริกหรือ เอสไอ ผู้สอนแสดงการแปลงหนว่ ยโดยใชก้ ระดาน ร่วมกบั เอกสารประกอบการเรยี น และใชก้ ารถาม ตอบเปน็ ระยะๆ ใชเ้ วลาประมาณ 15 นาที ขั้นที่ 3 พยายาม 1. ผ้เู รยี นทำแบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 1 ตอนที่ 1 ข้อ 7- 1. ให้ผ้เู รยี นทำแบบฝึกหดั ใชเ้ วลาประมาณ 3 8 ตอนที่ 2 ข้อ 8 นาที 1. ร่วมตรวจเฉลยคำตอบของแบบฝึกหัดที่ผเู้ รียนทำ ขั้นท่ี 4 สำเรจ็ ผล 1. ตรวจผลการทำแบบฝกึ หดั ร่วมกบั ผ้เู รียน ใช้ เวลาประมาณ 3 นาที
38 5. กจิ กรรมการเรยี นการสอน (ตอ่ ) กิจกรรมผูส้ อน กจิ กรรมผเู้ รยี น ข้นั ที่ 1 นำเข้าสบู่ ทเรียน จดุ ประสงคท์ ี่ 4-6 ผู้สอนตง้ั คำถามใหผ้ เู้ รียนตอบมีใครทราบบ้างว่า ผู้เรียนรว่ มคดิ ตาม แสดงความคิดเห็น ตอบคำถาม ว่าบรรทัดเหลก็ จดั อยู่ในเครื่องมือประเภทใดในวชิ า วัดละเอียด เคร่ืองมอื วดั ทีต่ อ้ งการเรียนในวชิ าวดั ละเอยี ดมีกี่ชนดิ กปี่ ระเภทใช้เวลาประมาณ 3 นาที ขน้ั ที่ 2 เนื้อหา 1. ผู้สอนอธิบายประเภทของเคร่อื งมอื วดั ละเอียดใช้ 1. ผเู้ รยี นฟังการบรรยาย ศึกษาหนงั สือเรียนวิชา สอื่ Power point พรอ้ ม Chart แสดงเครื่องมือวดั วดั ละเอยี ดหน่วยท่ี 1 สอบถามข้อสงสยั พร้อม บนผนังในห้องเรียน พรอ้ มเครอ่ื งมอื จรงิ ทน่ี ำมาแสดง จดบนั ทกึ และอธิบายขอ้ ควรปฏบิ ตั ิใช้เครอื่ งมอื วัดและการ บำรุงรกั ษาเปน็ ระยะ ใช้เวลาประมาณ 15 นาที ขนั้ ที่ 3 พยายาม 1. ให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดใชเ้ วลาประมาณ 6 นาที 1. ผ้เู รียนทำแบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 1 ในหนงั สอื เรยี นวชิ า ขั้นท่ี 4 สำเร็จผล วัดละเอยี ด ตอนที่ 1 ข้อ 9-10 ตอนท่ี 2 ขอ้ 9-10 และ 1. ตรวจผลการทำแบบฝึกหัดร่วมกับผเู้ รยี น ใชเ้ วลา ตอนท่ี 3 ขอ้ 2-5 ประมาณ 3 นาที 1. ร่วมตรวจเฉลยคำตอบของแบบฝกึ หัดทผี่ ู้เรียนทำ 6. สอ่ื การเรยี นรู้ 6.1 หนังสอื เรียนวิชาวดั ละเอยี ด 6.2 เครือ่ งโปรเจคเตอร์ 6.3 คอมพวิ เตอร์โน้ตบุ๊ก 6.4 สอ่ื Power Point 6.5 กระดานดำ 6.6 Chart เครอื่ งมือวดั ละเอียด 7. การวดั และประเมนิ ผล 7.1 คะแนนจากการทำแบบฝึกหดั 7.2 ใช้วิธีสังเกตพฤติกรรมผ้เู รียนจากการร่วมตอบคำถามในชน้ั เรยี น 8. งานท่มี อบหมาย 8.1 ใหผ้ เู้ รียนสรปุ เน้ือหาหน่วยท่ี 1 ความรพู้ นื้ ฐานวัดละเอยี ด ลงในสมดุ และสง่ ผสู้ อนก่อนเข้าเรยี นในครั้ง ต่อไป
39 แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยท่ี 1 ช่ือวิชา วดั ละเอียด รหัสวิชา 20102-2004 สอนคร้งั ที่ 1 ชอ่ื หน่วย ความรู้พนื้ ฐานวดั ละเอยี ด จำนวนคาบ 3 1. หวั ข้อเรอ่ื ง 1.1 การทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์หลังเรยี น หน่วยที่ 1 ความรพู้ ้ืนฐานวัดละเอียด 2. สาระสำคญั 2.1 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรยี น หน่วยท่ี 1 ความรพู้ ้ืนฐานวดั ละเอียด 3. วตั ถุประสงค์ 3.1 วัดผลสัมฤทธิห์ ลงั เรยี น หน่วยที่ 1 ความร้พู นื้ ฐานวดั ละเอียด 4. เนอื้ หาสาระ 4.1 การทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรยี น หน่วยที่ 1 ความรพู้ ื้นฐานวัดละเอยี ด 5. กิจกรรมการเรียนการสอน กจิ กรรมผสู้ อน กิจกรรมผ้เู รยี น ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรยี น ผู้สอนช้แี จงผู้เรียนถึงการทดสอบวดั ผู้เรยี นร่วมคดิ ตาม สอบถามหากเกิดข้อสงสยั ผลสัมฤทธหิ์ ลงั เรยี น ใชเ้ วลาประมาณ 2 นาที ข้ันที่ 2 เนือ้ หา 1. ผสู้ อนแจกแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลงั เรยี น 1. ผูเ้ รยี นรับแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์หลังเรยี น หนว่ ยที่ 1 ความรู้พ้ืนฐานวดั ละเอียด และ และกระดาษคำตอบ กระดาษ คำตอบให้กับผู้เรยี น ใชเ้ วลาประมาณ 2 นาที 2. ผู้เรียนร่วมฟัง สอบถามข้อสงสยั 2. ผ้สู อนช้ีแจงผู้เรียนเกีย่ วกับการทำแบบทดสอบ วดั ผลสมั ฤทธ์ิ ใช้เวลาประมาณ 2 นาที ขั้นที่ 3 พยายาม 1. ผ้เู รยี นทำแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิห์ ลงั เรยี น 1. ผู้สอนคอยกำกับดแู ลขณะผู้เรียนทำ สอบ ถามหากเกิดขอ้ สงสัยท่ีเกดิ ขึน้ ระหวา่ งทำ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิหลงั เรียนหนว่ ยที่ 1 แบบทดสอบ ความร้พู นื้ ฐานวัดละเอยี ด จำนวน 6 ข้อ โดยใช้ เวลาประมาณ 6 นาที 2. ผู้เรียนส่งแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์หลงั เรียนและ 2. ผสู้ อนเกบ็ กระดาษคำตอบ และแบบทดสอบ กระดาษคำตอบ วดั ผลสัมฤทธ์หิ ลังเรียน ใชเ้ วลาประมาณ 3 นาที ขน้ั ท่ี 4 สำเรจ็ ผล 1. ผูส้ อนตรวจกระดาษคำตอบหลงั เลิกสอน สรุปผลคะแนนแจง้ ผู้เรยี นในคร้ังตอ่ ไป
40 แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 1 ชือ่ วิชา วัดละเอียด รหสั วิชา 20102-2004 สอนคร้งั ที่ 1 ชอื่ หน่วย ความรู้พน้ื ฐานวัดละเอยี ด จำนวนคาบ 3 1. หัวข้อเรือ่ ง 1.1 การแยกประเภทของเครื่องมือวดั 2. สาระสำคัญ 2.1 ฝึกทักษะการแยกประเภทของเคร่ืองมือวัด 3. วัตถปุ ระสงค์ 3.1 แยกประเภทของเครือ่ งมือวดั ได้ 4. เนื้อหาสาระ 4.1 ใบงานท่ี 1.1 5. กิจกรรมการเรยี นการสอน กจิ กรรมผู้สอน กิจกรรมผู้เรยี น ขัน้ ท่ี 1 นำเขา้ สบู่ ทเรยี น อธิบายสรุปเนอื้ หา เรือ่ งประเภทของเครื่องมือวัด ผเู้ รยี นร่วมคดิ ตาม แสดงความคดิ เห็น ตอบคำถาม ในหนว่ ยที่ 1 จากนนั้ ถามผเู้ รียนวา่ ในวิชาวัดละเอยี ด เราแบ่งเคร่อื งมือวดั ออกเปน็ ก่ปี ระเภท และทราบ หรือไม่วา่ เคร่ืองมอื วัดชนิดใด อยใู่ นประเภทใดใช้เวลา ประมาณ 5 นาที ขั้นที่ 2 เนอื้ หา 1. ผู้สอนแจกใบงานท่ี 1.1 ให้กับผเู้ รยี น ใช้เวลา 1. ผู้เรียนรับใบงาน เพ่อื นำไปประกอบการแยกประเภท ประมาณ 2 นาที และชอ่ื ของเครอ่ื งมือวดั พร้อมการสาธติ จากผู้สอน 2. อธิบายเครื่องมือทีต่ ดิ หมายเลขไว้ 1 ชนิ้ สาธติ การ 2. ผเู้ รยี นร่วมฟงั ชมการสาธติ สอบถามขอ้ สงสยั ใน นำเครือ่ งมือไปเปรยี บเทียบกบั ชอ่ื และประเภทของ ข้ันตอนการปฏิบัตงิ าน เครอื่ งมอื วัด ในเอกสารประกอบการเรยี น บันทึกผล ลงตารางบนั ทกึ ผล ใช้เวลา ประมาณ 3 นาที 3. ผู้เรยี นแบง่ กล่มุ กลุ่มละ 5 คน พร้อมเขา้ ประจำ 3. แบง่ กล่มุ ผเู้ รียนออกเปน็ 4 กลุ่ม กลมุ่ ละ 5 คน สถานี โดยให้ผู้เรยี นเลือกกลุ่มปฏบิ ัตเิ อง พรอ้ มเลือกสถานี ปฏิบตั ิ ใช้เวลาประมาณ 2 นาที 4. ผ้เู รยี นชว่ ยผสู้ อนเรยี งเครอื่ งมอื วดั พร้อมจัดสถานท่ี 4. เตรียมเครอ่ื งมือวดั ตามใบงาน ใช้เวลาประมาณ การปฏิบตั ิงาน 3 นาที 5. ผ้เู รียนรว่ มฟงั สอบถามขอ้ สงสยั 5. ผ้สู อนชแี้ จงผ้เู รียนเก่ยี วกับการปฏิบตั งิ านตามใบ งาน ใชเ้ วลาประมาณ 2 นาที
41 5. กจิ กรรมการเรียนการสอน (ต่อ) กิจกรรมผ้เู รียน กิจกรรมผู้สอน ขน้ั ที่ 3 พยายาม 1. ผเู้ รียนในกลมุ่ แต่ละคนปฏบิ ตั งิ านตามขนั้ ตอนใน 1. ผสู้ อนคอยกำกบั ดูแลตรวจสอบขณะผ้เู รียนทำ ใบงาน สอบถามหากเกดิ ข้อสงสัยทีเ่ กิดขน้ึ ระหว่าง การปฏบิ ตั ิการแยกประเภทของเคร่ืองมือวดั และ ปฏบิ ัตงิ าน เปรียบเทยี บช่อื เคร่ืองมือวัดกับเอกสาร ประกอบการเรียน ใช้เวลาประมาณ 20 นาที 2. ผู้เรยี นส่งใบงานเมื่อครบกำหนดเวลา 2. ผู้สอนเกบ็ ใบงานของแตล่ ะกลุม่ ใช้เวลา ประมาณ 3 นาที ขนั้ ท่ี 4 สำเร็จผล 1. ผเู้ รียนฟังผลการปฏบิ ัติงานตามใบงานและความ 1. ผูส้ อนตรวจใบงาน สรุปข้อผิดพลาดของผ้เู รียน ผิดพลาดจากการปฏิบัตงิ าน ทเี่ กดิ จากการปฏบิ ตั ิตามใบงาน ใชเ้ วลาประมาณ 5 นาที 6. สอื่ การเรียนรู้ 6.1 ใบงานท่ี 1.1 6.2 เครอ่ื งมือวัดตามใบงาน 7. การวัดและประเมนิ ผล 7.1 วดั ผลจากการบันทึกในตารางบันทกึ ผลในใบงานท่ี 1.1 และคะแนนจากการทำแบบทดสอบ 8. งานที่มอบหมาย 8.1 ให้ผู้เรยี นทำการแยกประเภทของเคร่ืองมือวัดและเปรยี บเทียบชื่อเครื่องมือวัดกับหนังสือวัด ละเอียด ตามใบงานที่ 1.1 แลว้ บนั ทึกผลลงตารางบันทึก
42 บนั ทกึ หลังสอน วันท.่ี ....... เดอื น...................... พ.ศ............. รหสั วิชา...........................ช่ือวชิ า............................................ ระดบั ........................ชัน้ ปที ี่ ........... หนว่ ยที่ .............. จำนวน.............. ชั่วโมง ภาคเรียนที.่ ................. ผลการใช้แผนการสอน 1. หัวข้อเร่อื ง / เนอื้ หาสาระ....................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ............. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….…… ความสมบรู ณ์ครบถ้วนของเนือ้ หาที่สอน .................................................................................................. 2. ความเหมาะสมของเวลาทใี่ ช้ ................................................................................................................ 3. ความสมบูรณแ์ ละเพียงพอของสื่อการสอน .................................................................................... 4. ปัญหาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ............................................................................................................................................. .......................... ....................................................................................................................................................................... 5. แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................. ............................................................................................................ ........................................................... ....................................................................................................................................................................... ผลท่ีเกิดกบั ผเู้ รียน 1. การตรงตอ่ เวลา........................................................................................................................................ 2. ความสนใจใฝ่ร.ู้ ........................................................................................................................................ 3. ความรับผดิ ชอบงานที่มอบหมาย (การบ้าน,รายงาน).............................................................................. 4. ปัญหาอุปสรรค........................................................................................................................................ ............................................................................................................................. .......................................... ............................................................................................................................................... ........................ 5. แนวทางการแก้ปัญหา ............................................................................................................................. ............................................................................................................ ........................................................... .............................................................. .............................................................. (...........น...า..ง.ส...า..ว..อ..ญั...ช...ล..ี...ศ..ร..ีท...อ..ง..ใ..บ............) (...........น..า..ย...ก..ฤ..ษ...ณ...ะ.......จ..น่ั ..เ..พ..ช...ร................) ครผู ้สู อน หัวหน้าแผนกชา่ งกลโรงงาน
แผนการจดั การเรียนรู้ 43 ชอื่ วิชา วดั ละเอียด รหัสวิชา 20102-2004 หน่วยที่ 2 ชอ่ื หน่วย บรรทดั เหลก็ สอนครง้ั ท่ี 2 1. หัวข้อเร่อื ง จำนวนคาบ 3 1.1 ลกั ษณะของบรรทัดเหล็ก 1.2 ชนิดของบรรทัดเหลก็ 1.3 ขีดมาตราบนบรรทัดเหล็ก 1.4 การใช้งานบรรทัดเหลก็ 2. สาระสำคัญ บรรทัดเหล็กเป็นเคร่ืองมือวัดพ้ืนฐานในการวัดขนาดความยาวของช้ินงาน ถูกใช้งานอย่างแพร่หลาย สามารถให้ค่าขนาดช้ินงานได้ท้ังระบบเมตริกและระบบอังกฤษ คือหน่วยมิลลิเมตรและหน่วยนิ้วน่ันเอง สามารถอ่านค่าวัดขนาดชิ้นงานได้โดยตรงจากตัวบรรทัดเหล็ก ส่วนใหญ่การใช้งานของบรรทัดเหล็ก คือ ใชเ้ ป็นเคร่ืองมอื วดั ขนาดชิน้ งานและใชเ้ ป็นเคร่อื งมอื ในการขีดรา่ งแบบ 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 บอกลกั ษณะบรรทัดเหล็กได้ 3.2 อา่ นคา่ ขีดมาตราบนบรรทดั เหลก็ ได้ 3.3 บอกวิธีการใช้งานบรรทดั เหลก็ ได้ 4. เนื้อหาสาระ บรรทดั เหล็ก เปน็ เคร่อื งมือวดั ความยาวพื้นฐานทน่ี ยิ มใช้อย่างแพร่หลาย มหี ลายชนิด ไดแ้ ก่ ➢ บรรทัดเหลก็ แบบธรรมดา ➢ บรรทดั เหล็กแบบหน้าแคบ ➢ บรรทดั แบบขอเก่ียว ➢ บรรทดั แบบปากเลื่อนวดั ➢ บรรทัดสัน้ ➢ บรรทดั วัดลกึ ค่าขนาดของขีดมาตราบนบรรทัดเหล็กแบบท่ัวไป จะมีสองด้าน ด้านหน่ึงจะเป็นระบบเมตริก ค่า 111 ความละเอียด 0.05 มิลลิเมตร ส่วนอีกด้านจะเป็นระบบอังกฤษค่าความละเอียด 64 นิ้ว 32 นิ้ว 16 น้ิว ลักษณะโครงสร้างของบรรทัดเหล็กมีลักษณะเป็นแผ่นบาง ยาว บิดงอให้ตัวได้เล็กน้อย สำหรับบรรทัด เหล็กแบบทั่วไปจะมีหลายขนาดความยาวให้ผู้ใช้งานสามารถเลือกใช้ตามความเหมาะสม วัสดุท่ีใช้ทำ บรรทัดเหลก็ ส่วนใหญ่จะทำจากเหล็กไรส้ นมิ (Stainless Stell) เปน็ วัสดุในการผลิตเพอื่ ความแขง็ แรง
44 คงทน บำรุงรักษาทำความสะอาดง่ายและยังไม่เกิดสนิมอีกด้วย ที่ด้านหน้าของบรรทัดเหล็กจะขีดสเกล มาตราวดั ไวท้ ้ังระบบเมตริกและระบบอังกฤษ อีกทั้งในบางรุ่นจะมีตารางเปรยี บเทียบค่าวัดระหว่างระบบ เมตรกิ กับระบบองั กฤษไว้ดา้ นหลงั เพอื่ ความสะดวกของผู้ใชง้ านหากต้องการเทียบค่าวดั รูปที่ 2-1 บรรทดั เหล็กแบบท่ัวไป การใชง้ านบรรทัดเหล็ก สำหรับการใช้งานของบรรทัดเหล็กนนั้ ในการวัดขนาดหรอื ในกระบวนการผลติ ช้ินงาน สามารถ แบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ลกั ษณะท่ีสำคญั ๆ คือ 1. การใช้บรรทัดเหล็กวัดขนาดชิ้นงาน โดยใช้บรรทัดเหล็กวัดขนาดชิ้นงานเพื่อให้ทราบ ขนาดของชน้ิ งานทที่ ำการวัด 2. การใชบ้ รรทดั เหล็กถ่ายขนาดวัด โดยใช้บรรทัดเหล็กถ่ายขนาดเพ่อื รา่ งแบบชน้ิ งานหรือ ใช้กำหนดขนาดลงชน้ิ งาน 5. กิจกรรมการเรียนการสอน กจิ กรรมผ้สู อน กจิ กรรมผู้เรียน ขนั้ ท่ี 1 นำเขา้ สูบ่ ทเรียน จดุ ประสงคท์ ี่ 1-2 กลา่ วถงึ ไม้บรรทดั พลาสตกิ ที่ผู้เรยี นเคยใช้ มี ผเู้ รียนร่วมคิดตาม แสดงความคดิ เห็น ตอบคำถาม ลกั ษณะอยา่ งไร มีขดี มาตราวัดและการใช้งานใน ลกั ษณะใด ในงานชา่ งท่ีใช้งานเครอ่ื งมอื วัดซง่ึ คลา้ ย กับไม้บรรทัดพลาสติกมีใครรู้บา้ งคือเคร่อื งมือวดั อะไร ใช้เวลาประมาณ 3 นาที ขน้ั ท่ี 2 เนื้อหา 1. อธิบายลักษณะของบรรทัดเหล็กแบบทว่ั ไป และ 1. ผเู้ รียนฟงั การบรรยาย พร้อมศึกษาในหนงั สือ ชนิดต่างๆ โดยใชส้ ือ่ ของจริงร่วมกับสือ่ Power เรียนวชิ าวดั ละเอยี ดและจดบันทกึ Point ใช้เวลาประมาณ 10 นาที 2. อธิบายค่าขีดมาตราบนบรรทดั เหลก็ ระบบเมตรกิ 2. ผู้เรียนฟงั การบรรยาย พร้อมศึกษาในหนงั สอื ความละเอียด 0.5 มม. และการอ่านคา่ โดยใช้สือ่ เรียนวชิ าวดั ละเอียดและจดบันทึกและรว่ มตอบ Power Point ใช้เวลาประมาณ 10 นาที ขนาดขีดมาตราท่ผี ู้สอนถาม พร้อมจดบันทกึ
45 5. กิจกรรมการเรยี นการสอน กจิ กรรมผู้สอน กจิ กรรมผู้เรียน 3. อธบิ ายค่าขดี มาตราบนบรรทดั เหลก็ ระบบเมตรกิ 3. ผเู้ รยี นฟังการบรรยาย พร้อมศึกษาหนังสือวัด ความละเอยี ด 1.0 มม.การอ่านคา่ โดยใชส้ อื่ Power ละเอยี ดและจดบนั ทึกและร่วมตอบขนาดขดี มาตราที่ Point ใช้เวลาประมาณ 10 นาที ผ้สู อนถาม พร้อมจดบนั ทึก ขนั้ ที่ 3 พยายาม 1. ให้ผ้เู รยี นทำแบบฝกึ หดั ใช้ประมาณเวลา 12 นาที 1. ผูเ้ รยี นทำแบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 2 ตอนที่ 1 ข้อ 1-5 ตอนท่ี 2 ข้อ 1-5 ตอนที่ 3 ข้อ 1-2 (เฉพาะขดี มาตราหน่วยมลิ ลเิ มตร) ขน้ั ที่ 4 สำเร็จผล 1. ตรวจผลการทำแบบฝกึ หดั รว่ มกับผเู้ รียน ใชเ้ วลา 1. ผเู้ รยี นร่วมตรวจเฉลยคำตอบของแบบฝึกหดั ประมาณ 6 นาที ขัน้ ที่ 1 นำเขา้ สู่บทเรียน จุดประสงค์ท่ี 3 ผเู้ รียนทราบหรือไม่ว่าบรรทดั เหล็กใช้ทำอะไรใน ผเู้ รยี นรว่ มคิดตาม แสดงความคดิ เห็น ตอบคำถาม งานช่างกลได้บา้ ง ใช้เวลาประมาณ 3 นาที ขน้ั ที่ 2 เนือ้ หา 1. อธบิ ายเนือ้ หาการใช้งานบรรทดั เหล็กในลกั ษณะ 1. ผู้เรียนฟังการบรรยาย พร้อมจดบันทึก สอบถาม ตา่ งๆ โดยใช้สอ่ื Power Point โดยใชเ้ วลาประมาณ หากมขี ้อสงสัย 10 นาที ขนั้ ที่ 3 พยายาม 1. ใหผ้ ้เู รยี นทำแบบฝึกหัด ใช้เวลาประมาณ 5 นาที 1. ผเู้ รียนทำแบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 2 ตอนท่ี 1 ข้อ 6-8 ตอนที่ 2 ข้อ 6-7 และตอน ที่ 3 ขอ้ 3 ขน้ั ท่ี 4 สำเร็จผล 1. ผเู้ รยี นร่วมตรวจเฉลยคำตอบของการทำ 1. ตรวจผลการทำแบบฝกึ หัดรว่ มกับผ้เู รียน แบบฝกึ หดั ใชเ้ วลาประมาณ 3 นาที
46 5. กิจกรรมการเรียนการสอน กจิ กรรมผู้เรียน กจิ กรรมผู้สอน 6. สื่อการเรยี นรู้ 6.1 หนังสอื เรียนวิชาวดั ละเอียด 6.2 เครอื่ งโปรเจคเตอร์ 6.3 คอมพวิ เตอรโ์ น้ตบกุ๊ 6.4 สอื่ Power Point 6.5 สอ่ื การสอน Micromedia flash player 6.6 บรรทัดเหลก็ 7. การวดั และประเมนิ ผล 7.1 คะแนนจากการทำแบบฝึกหัด 7.2 ใช้วธิ ีสงั เกตพฤติกรรมผเู้ รยี นจากการรว่ มตอบคำถามในชั้นเรียน 8. งานที่มอบหมาย 8.1 ให้ผเู้ รยี นสรปุ เน้ือหา หน่วยที่ 2 ที่เรยี นในครั้งนี้ ลงในสมุด ส่งกอ่ นเขา้ เรียนในคร้ัง ตอ่ ไป
47 แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 2 ช่ือวิชา วดั ละเอยี ด รหสั วิชา 20102-2004 สอนครง้ั ท่ี 2 ชอื่ หน่วย บรรทดั เหล็ก จำนวนคาบ 3 1. หัวขอ้ เร่ือง 1.1 การทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 2 บรรทัดเหล็ก 2. สาระสำคัญ 2.1 การทดสอบวัดผลสมั ฤทธกิ์ ่อนเรียนหนว่ ยที่ 2 บรรทดั เหล็ก 3. วัตถุประสงค์ 3.1 วัดผลสมั ฤทธ์กิ อ่ นเรยี นหน่วยที่ 2 บรรทดั เหล็ก 4. เนือ้ หาสาระ 4.1 การทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรยี นหนว่ ยท่ี 2 บรรทดั เหลก็ 5. กิจกรรมการเรยี นการสอน กจิ กรรมผู้สอน กจิ กรรมผ้เู รียน ขัน้ ท่ี 1 นำเขา้ สู่บทเรยี น ผ้สู อนแจ้งผลคะแนนการทำแบบทดสอบก่อน ผเู้ รียนรว่ มคดิ ตาม สอบถามหากเกิดขอ้ สงสัย เรยี นและหลังเรยี นของหนว่ ยท่ี 1 ตอ่ ผู้เรียน และ ชแ้ี จงผเู้ รียนถงึ การทดสอบก่อนเรียนหน่วยท่ี 2 ใช้ เวลาประมาณ 5 นาที ขั้นท่ี 2 เนอื้ หา 1. ผู้สอนแจกแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิก์ ่อนเรยี น 1. ผู้เรยี นรับแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์กิ อ่ นเรยี น หน่วยที่ 2 และกระดาษคำตอบใหก้ ับผู้เรียน ใช้เวลา หน่วยท่ี 2 และกระดาษคำตอบ ประมาณ 2 นาที 2. ผ้สู อนช้ีแจงผเู้ รียนเก่ียวกบั การทำแบบทดสอบ ใช้ 2. ผูเ้ รียนรว่ มฟัง สอบถามขอ้ สงสัย เวลาประมาณ 3 นาที ขน้ั ที่ 3 พยายาม 1. ผ้สู อนคอยกำกับดูแลขณะผ้เู รียนทำแบบทดสอบ 1. ผู้เรยี นทำแบบทดสอบ สอบถามหากเกิดข้อ จำนวน 10 ขอ้ โดยใชเ้ วลาประมาณ 10 นาที สงสัยหากเกิดขึน้ ระหวา่ งทำแบบทดสอบ 2. ผ้สู อนเกบ็ แบบทดสอบและกระดาษคำตอบโดยใช้ 2. ผเู้ รียนสง่ แบบทดสอบและกระดาษคำตอบ เวลาประมาณ 2 นาที ขัน้ ท่ี 4 สำเร็จผล 1. ผสู้ อนตรวจกระดาษคำตอบหลงั เลกิ สอน สรุปผล คะแนนแจ้งผูเ้ รียนในครั้งต่อไป
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199