Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระเบียบวาระการประชุม กนช. ครั้งที่ 3-2562 _20 ธ.ค. 62

ระเบียบวาระการประชุม กนช. ครั้งที่ 3-2562 _20 ธ.ค. 62

Published by supanut kapang, 2019-12-18 03:40:35

Description: ระเบีบยวาระการประชุม กนช. ครั้งที่ 3-2562 (20 ธ.ค. 62

Search

Read the Text Version

ระเบียบวาระท่ี 3 เรื่องเพือ่ ทราบ วาระท่ี 3.4 รายงานผลการดําเนินการตามมติคณะกรรมการทรัพยากรนํ้าแหงชาติ (กนช.) และขอสั่งการ ของประธาน กนช. เม่ือคราวประชุม กนช. ครั้งที่ 1/2562 วันท่ี 11 มีนาคม 2562 และคร้งั ที่ 2/2562 วนั ท่ี 12 กนั ยายน 2562 ๑. เร่ืองเดิม ป พ.ศ. 2562 คณะกรรมการทรัพยากรนํ้าแหงชาติมีการประชุม จํานวน 2 ครั้ง ไดแก ครั้งที่ 1/2562 วันท่ี 11 มีนาคม 2562 มีนายกรัฐมนตรี (พลเอกประยุทธ จันทรโอชา) เปนประธานการประชุม และครั้งที่ 2/2562 วันท่ี 12 กันยายน 2562 มีรองนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประวิตร วงษสุวรรณ) เปนประธาน การประชุม ไดมีมติและขอสั่งการของประธาน กนช.ท่ีมอบหมายใหหนวยงานไปดําเนินการ และนํามารายงาน ใหทราบดว ย 2. เหตุผลความจําเปน ที่ตองเสนอคณะกรรมการทรพั ยากรน้ําแหงชาติ เพื่อรับทราบรายงานผลการดําเนินการตามมติ กนช. และขอส่ังการของประธาน กนช. เมอ่ื คราวประชุม กนช. ครง้ั ท่ี 1/2562 วนั ที่ 11 มีนาคม 2562 และครั้งท่ี 2/2562 วันที่ 12 กนั ยายน 2562 3. ขอเทจ็ จริง/สาระสําคัญ สํานักงานทรัพยากรน้ําแหงชาติในฐานะฝายเลขานุการ กนช. ไดติดตามผลการดําเนินการ ตามมติ กนช. และขอส่ังการของประธาน กนช. เม่ือคราวประชุม กนช. คร้ังที่ 1/2562 วันที่ 11 มีนาคม 2562 และคร้ังที่ 2/2562 วนั ที่ 12 กนั ยายน 2562 โดยมผี ลการดาํ เนนิ การ ดงั นี้ 3.1 การประชมุ กนช. ครงั้ ท่ี 1/2562 เมื่อวนั ที่ 11 มนี าคม 2562 มีมติและขอสัง่ การของประธาน กนช. จาํ นวน 7 เรอ่ื ง 3.2 การประชุม กนช. คร้ังท่ี 2/2562 วันที่ 12 กันยายน 2562 มีมติและขอส่ังการของประธาน กนช. จาํ นวน 4 เร่อื ง ผลการดําเนินการในการประชมุ กนช. ทั้ง 2 ครั้ง สรปุ ไดด ังนี้ เร่อื งทดี่ าํ เนนิ การตามมตแิ ละขอ สง่ั การแลว มีจํานวน 8 เร่อื ง การประชุม กนช. ครง้ั ที่ 1/2562 วนั ที่ 11 มนี าคม 2562 ที่ มติ กนช. /ขอสัง่ การประธาน กนช. ผลการดําเนนิ การ 1 ใหก รงุ เทพมหานครเรงรัดและดาํ เนนิ การ 1. โครงการอุโมงคร ะบายนา้ํ ใตคลองทวีวัฒนา : โครงการอุโมงคระบายน้าํ ท้งั 3 โครงการ คณะรัฐมนตรีเหน็ ชอบในหลักการเมื่อวันท่ี โดยเฉพาะโครงการคลองเปรมประชากร 25 ธันวาคม 2561 หากตดิ ปญ หาใหเรงปรบั แผนดาํ เนินการ 2. โครงการอุโมงคร ะบายน้ําใตคลองแสนแสบ : คณะรัฐมนตรเี หน็ ชอบในหลกั การเม่ือวันที่ 25 ธนั วาคม 2561 3. อุโมงคร ะบายนาํ้ ใตค ลองเปรมประชากร : คณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลกั การเม่ือวนั ที่ 15 มกราคม 2561 - โดยทั้ง 3 โครงการ เสนอของบประมาณป 63 งบอุดหนนุ ของรัฐบาล ตามสัดสว นท่ีไดร ับ ซงึ่ ไดผานสภาผูแ ทนราษฎรวาระ 1 แลว 99

ท่ี มติ กนช. /ขอสง่ั การประธาน กนช. ผลการดําเนนิ การ - งบประมาณสวนของ กทม. ไดบรรจุไวใน รา งขอบัญญตั ิงบประมาณรายจายประจําป ของกรงุ เทพมหานครแลว 2 โครงการกอสรางเข่ือนคลองเปรมประชากร ดาํ เนินการตามมติท่ีประชมุ แลว โดยมีผลการ จากถนนเทศบาลสงเคราะหถ ึงสุดเขต ดาํ เนินงานรอยละ 96 คาดวา จะแลวเสร็จชวงที่ 1 กรุงเทพมหานคร วงเงนิ 3,443 ลานบาท ภายในเดอื นธันวาคม 2562 3 การฟน ฟูบงึ ราชนก จังหวัดพิษณุโลก 1. ครม.เหน็ ชอบในหลกั การแผนหลัก 4 ดาน ในการฟน ฟบู ึงราชนกฯ ทง้ั ระบบ ป 2563 - 2569 งบประมาณ 1,456.98 ลา นบาท 2. แผนปฏบิ ัติการเรงดวน ป 2563 - 2565 จํานวน 11 โครงการ งบประมาณ 754.56 ลา นบาท อยูระหวางเสนอขอรับจัดสรรงบประมาณในป 2564 4 การฟน ฟบู งึ บอระเพด็ จงั หวัดนครสวรรค 1. ครม.เห็นชอบในหลกั การแผนหลัก 6 ดา น ป 2563 - 2572 งบประมาณ 5,701.50 ลานบาท 2. แผนปฏบิ ัติการเรงดว น ป 2563 - 2565 จํานวน 9 โครงการ งบประมาณ 1,513.50 ลานบาท อยูระหวางเสนอขอรบั จดั สรรงบประมาณ ในป 2564 - 2565 5 ใหท กุ หนว ยงานตรวจสอบและเรงรัดการ โครงการผานรา งพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจาย ดาํ เนนิ การแผนงานโครงการสําคญั ท่ี ประจาํ ป 2563 จํานวน 178 โครงการ สอดคลอ งกบั 15 ประเดน็ เรงดวนของ งบประมาณ 1,197.7961 ลานบาท ยทุ ธศาสตรชาติ (Quick Win) ในป 2562-2563 การประชุม กนช. ครง้ั ที่ 2/2562 วนั ท่ี 12 กันยายน 2562 6 ประธานสงั่ การใหเรง ดาํ เนนิ การจัดประชุม ดําเนนิ การตามมตทิ ี่ประชมุ เรียบรอ ยแลว อนุกรรมการภายใต กนช. ทง้ั 3 ดาน ซ่ึงไดรายงานในการประชุม ครง้ั ท่ี 3/2562 6 คณะอนกุ รรมการ วันที่ 20 ธนั วาคม 2562 7 รา ง กฎหมายลําดบั รองซงึ่ ออกตามความใน ครม. เห็นชอบเมอ่ื วันที่ 29 ตุลาคม 2562 และ พระราชบญั ญตั ิทรพั ยากรนํ้า อยูในกระบวนการพจิ ารณาของคณะกรรมการกฤษฎกี า พ.ศ. 2561 8 การเขาเปน สมาชิกสภานาํ้ แหงเอเชยี ครม. เห็นชอบเม่ือวันที่ 22 ตุลาคม 2562 (Asia Water Council: AWC) 100

เรือ่ งท่ียงั ไมไดด ําเนินการตามมตแิ ละขอสั่งการ มีจาํ นวน 3 เรอ่ื ง การประชมุ กนช. คร้ังที่ 1/2562 วันที่ 11 มนี าคม 2562 ที่ มติ กนช. /ขอส่ังการประธาน กนช. ผลการดําเนินการ 1 โครงการปอ งกันและบรรเทาอทุ กภยั เตรยี มเสนอ ครม. พจิ ารณาในเดือน ธันวาคม 2562 เมืองชมุ พร (ลมุ น้ําคลองชมุ พร) 2 โครงการทยี่ ังไมเสนอ ครม. ไดแก โครงการ ขอเปลีย่ นแปลงไปใชงบประมาณของกองทัพไทย สํารวจความสงู ภูมิประเทศดว ยแสงเลเซอร ป 2563 (LiDAR) ระยะที่ 2 และโครงการปรบั ปรุง คลองยม-นาน จ.สุโขทัย ใหกรมแผนที่ทหาร และกรมชลประทานเรง ดําเนินการ หากมปี ญ หามวลชน ใหสรางการรบั รู การประชุม กนช. ครั้งท่ี 2/2562 วนั ที่ 12 กันยายน 2562 3 ใหห นวยงานรับขอคิดเหน็ ขอเสนอแนะของ ไดเ สนอแผนแมบทระดับลมุ น้ําและแผนปฏิบตั ิการ คณะกรรมการลุมนาํ้ ไปพจิ ารณาดาํ เนนิ การ ใหกบั คณะกรรมการลุมนํ้าพจิ ารณาในการประชุม ในการจดั ทําแผนแผนแมบ ทการบรหิ าร ครั้งที่ 3/2562 และอยรู ะหวางกลัน่ กรอง จดั การทรัพยากรนา้ํ และแผนปฏบิ ัติการ ตรวจสอบแผน เสนอ กนช. พิจารณาตอ ไป ภายใตแผนแมบทระดับลุมนาํ้ ประจาํ ป 2563 - 2565 4. ขอ เสนอเพ่ือทราบ เพ่ือโปรดทราบรายงานผลการดําเนินการตามมติ กนช. และขอสั่งการของประธาน กนช. เมอื่ คราวประชุม กนช. ครง้ั ที่ 1/2562 วันท่ี 11 มนี าคม 2562 และครั้งที่ 2/2562 วนั ท่ี 12 กันยายน 2562 จึงเรียนทีป่ ระชุมเพอื่ โปรดทราบ มติที่ประชมุ ………………………………………………………………………..............................................................……….. ………………………………………………..……………………………………………………………………………………………................ ………………………………………………..……………………………………………………………………………………………................ ………………………………………………..……………………………………………………………………………………………................ ………………………………………………..……………………………………………………………………………………………................ ………………………………………………..……………………………………………………………………………………………................ ………………………………………………..……………………………………………………………………………………………................ ………………………………………………..……………………………………………………………………………………………................ ………………………………………………..……………………………………………………………………………………………................ 101

ระเบียบวาระที่ 4 เรอ่ื งเพอื่ พจิ ารณา วาระที่ 4.1 แผนปฏิบตั กิ ารภายใตแ ผนแมบ ทการบริหารจัดการทรพั ยากรนํา้ 20 ป 4.1.1 แผนปฏบิ ตั กิ ารดานการจัดการนํ้าเสยี ชุมชน ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) 102

ระเบยี บวาระท่ี 4 เรื่องเพอ่ื พิจารณา วาระท่ี 4.1 แผนปฏบิ ัติการภายใต้แผนแม่บทการบริหารจดั การทรัพยากรน้า 20 ปี 1. เร่อื งเดิม สืบเนื่องจากการการประชุมคณะอนุกรรมการขับเคล่ือนแผนแม่บทการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้า ครังท่ี 1/2562 เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2562 ได้พิจารณาแผนปฏิบัติการของหน่วยงาน ภายใต้แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้า 20 ปี ท่ีประชุมมีมติเห็นชอบให้เสนอคณะกรรมการ ทรัพยากรน้าแห่งชาติ (กนช.) พจิ ารณาในการประชุม ครังท่ี 3/2562 จ้านวน 2 โครงการ คือ (1) แผนปฏิบัติการด้านการจัดการน้าเสียชุมชน ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) โดยองคก์ ารจดั การนา้ เสยี (2) โครงการเพื่อการพฒั นา ปี 2562 และ ปี 2563 โดยการประปา่ ส่วนภูมิภาค 2. เหตุผลความจา้ เปน็ ท่ตี ้องเสนอคณะกรรมการทรัพยากรน้าแหง่ ชาติ ตามพระราชบัญญัติทรัพยากรน้า พ.ศ. 2561 กนช. มีหน้าท่ีและอ้านาจ จัดท้านโยบายและ แผนแม่บทเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรน้าท่ีสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติเพ่ือเสนอคณะรัฐมนตรี ให้ความเห็นชอบ รวมทังพิจารณาและให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการของหน่วยงานของรัฐและองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นที่เก่ียวกับทรัพยากรน้าและแผนงบประมาณการบริหารทรัพยากรน้าแบบบูรณาการให้ สอดคล้องกับนโยบายและแผนแม่บทเก่ียวกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้า ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ และเสนอคณะรัฐมนตรีเพือ่ พิจารณาในการจดั ทา้ งบประมาณประจา้ ปี 3. ระเบียบ ขอ้ กฎหมาย หรือค้าสง่ั ที่เกย่ี วข้อง พระราชบัญญัตทิ รพั ยากรนา้ พ.ศ. 2561 มาตรา 17 (1) กนช. มีหน้าท่ีและอ้านาจ จัดท้านโยบายและแผนแม่บทเกี่ยวกับการบรหิ าร ทรพั ยากรนา้ ท่สี อดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตรช์ าตเิ พื่อเสนอคณะรัฐมนตรีให้ความเหน็ ชอบ มาตรา 17 (2) พิจารณาและให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการของหน่วยงานของรัฐและ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ท่ีเกย่ี วกบั ทรัพยากรนา้ และแผนงบประมาณการบริหารทรพั ยากรนา้ แบบบรู ณาการ ให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนแม่บทเกี่ยวกับการบรหิ ารจัดการทรัพยากรนา้ ท่สี อดคล้องกบั ยุทธศาสตร์ชาติ และเสนอคณะรฐั มนตรีเพอื่ พิจารณาในการจดั ทา้ งบประมาณประจ้าปี ฝา่ ยเลขานุการ กนช. ได้รวบรวมขอ้ มูล โดยมีรายละเอยี ดตามวาระ ดังนี 4.1.1 แผนปฏิบัติการด้านการจัดการน้าเสียชุมชน ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) โดยองค์การจดั การนา้ เสีย 4.1.2 โครงการเพอื่ การพัฒนา ปี 2562 และ ปี 2563 โดยการประป่าส่วนภูมิภาค 103

ระเบียบวาระที่ 4 เรือ่ งเพอ่ื พิจารณา วาระที่ 4.1 แผนปฏิบตั ิการภายใต้แผนแมบ่ ทการบริหารจัดการทรัพยากรน้า 20 ปี (ตอ่ ) 4.1.1 แผนปฏิบตั กิ ารดา้ นการจดั การน้าเสียชมุ ชน ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) (องคก์ ารจดั การน้าเสีย) 1. เรอื่ งเดิม 1.1 พระราชกฤษฎีกาจัดตังองค์การจัดการน้าเสีย (อจน.) พ.ศ. ๒๕๓๘ และแก้ไขเพิ่มเติม “มาตรา ๖ องค์การจัดการน้าเสียมีวัตถุประสงค์ในการจัดให้มีระบบบ้าบัดน้าเสียรวมส้าหรับการบ้าบัดน้าเสียภายใน เขตพืนที่จัดการน้าเสีย และการให้บริการรับบริหารหรือจัดการระบบบ้าบัดน้าเสียทังในและนอกเขตพืนท่ี จัดการ น้าเสีย รวมทังบริการหรือกิจการต่อเน่ืองที่เก่ียวกับการจัดก ารน้าเสียอย่างมีประสิทธิภาพ ในเชิงเศรษฐกิจ” ซ่ึงเขตพืนท่ีจัดการน้าเสียจะมีเฉพาะในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล และพืนที่อ่ืน ตามท่ีคณะรัฐมนตรีก้าหนดและประกาศในราชกิจจานุเบกษา โดยในปัจจุบันมีจ้านวน 36 พืนท่ีและ อีก 11 จงั หวัด ท่เี ป็นเขตพนื ทีจ่ ัดการน้าเสียครอบคลุมทงั จังหวัด 1.2 พระราชกฤษฎีกาจัดตังองค์การจัดการน้าเสยี (ฉบับท่ี 5) พ.ศ. 2561 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันที่ 22 พฤศจิกายน 2561 ให้โอนการก้ากับดูแลกิจการขององค์การจัดการน้าเสียของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้แก่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เพื่อให้การบริหารงาน ขององค์การจัดการน้าเสียเกิดบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่เก่ียวข้องกับการจัดการน้าเสียทังในราชการ สว่ นกลาง ราชการสว่ นภูมภิ าค และราชการสว่ นท้องถิ่น 1.3 เม่ือวันท่ี ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๑ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้ตรวจเยี่ยมผล การด้าเนินงานขององค์การจัดการน้าเสีย และมอบนโยบายการด้าเนินงานด้านการบริหารจัดการน้าเสยี ชมุ ชน ซึ่งเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมที่ส้าคัญของประเทศไทย โดยให้องค์การจัดการน้าเสียจัดท้า แผนการจัดการน้าเสียชุมชน และให้มีการบูรณการร่วมกันระหว่างองค์การจัดการน้าเสีย (อจน.) กรมส่งเสริม การปกครองท้องถิ่น (สถ.) และองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ (อปท.) ต่าง ๆ เพ่ือร่วมกันบรหิ ารจัดการและแก้ไข ปญั หานา้ เสียให้มปี ระสทิ ธภิ าพอย่างยัง่ ยืน 2. ระเบียบ ข้อกฎหมาย หรือคา้ สั่งทเี่ ก่ยี วข้อง 2.1 พระราชบัญญัติสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ.2561 มาตรา 20 (8) ได้ระบุไว้ ดังนี “พิจารณาแผนงานและโครงการพัฒนาของกระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่อ อย่างอ่ืนท่ีมีฐานะเป็นกรม และของรัฐวิสาหกิจที่มีมูลค่าตามท่ีคณะรัฐมนตรีก้าหนด รวมทังประสานแผนงาน และโครงการพฒั นาดงั กล่าว เพอื่ วางแผนสว่ นรวมใหส้ อดคล้องกบั แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ” 2.2 มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี 4 ธันวาคม 2560 เห็นชอบให้ทุกส่วนราชการและหน่วยงานของ รัฐเสนอแผนระดับที่ 3 ไปยังส้านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) เพื่อพิจารณา กลนั่ กรองตามขันตอน และเสนอคณะรัฐมนตรี เพ่ือพิจารณาต่อไป 2.3 พระราชกฤษฎีกาจัดตังองค์การจัดการน้าเสีย พ.ศ. ๒๕๓๘ มาตรา 18 ให้คณะกรรมการ มอี า้ นาจหนา้ ที่วางนโยบาย และควบคมุ ดูแลโดยทว่ั ไปซึ่งกจิ การของ อจน. โดยมาตรา 28 ใหร้ ฐั มนตรมี ีอ้านาจ หน้าที่กา้ กบั โดยทวั่ ไปซึง่ กิจการของ อจน. 104

3. ข้อเทจ็ จริง / สาระสา้ คญั สถานการณ์น้าเสียชุมชนในปัจจุบันมีปริมาณ ๙.๕๐ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อวัน โดยมีปริมาณ 4.60 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อวัน หรือคิดเป็นร้อยละ 48 ที่ผ่านการบ้าบัดโดยระบบบ้าบัดน้าเสียท่ีติดตัง ตามกฎหมายควบคุมอาคาร แหล่งรองรับน้าสามารถฟื้นฟูได้เองตามกระบวนการธรรมชาติและยังไม่ มีผล ต่อคุณภาพแหล่งน้า และส่วนที่เหลอื อกี ๔.๙๐ ล้านลูกบาศกเ์ มตรต่อวัน หรือคดิ เปน็ ร้อยละ 52 ทม่ี ผี ลกระทบ ต่อคุณภาพน้าของแหล่งน้าต่าง ๆ จะถูกบ้าบัดโดยระบบบ้าบัดน้าเสียที่ติดตังตามกฎหมายควบคุมอาคาร และระบบบ้าบัดน้าเสียชุมชนรวม จ้านวน 105 แห่ง ซึ่ง มีความสามารถในการบ้าบัดน้าเสียได้ 3.20 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อวัน หรือคิดเป็นร้อยละ 34 ของปริมาณน้าเสียชุมชนที่เกิดขึนทังหมด ดังนัน ยังคงเหลือปริมาณน้าเสยี อีกจ้านวน 1.70 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อวัน หรือคิดเป็นร้อยละ 18 ของปริมาณนา้ เสียชุมชนท่ีเกิดขึนทังหมด ท่ียงั ไมไ่ ดร้ บั การจดั การอย่างเหมาะสม อจน. ได้จัดท้าแผนปฏิบัติการด้านการจัดการน้าเสียชุมชน ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) เพ่อื เป็นกรอบในการด้าเนินงานและการจัดสรรงบประมาณดา้ นการจัดการน้าเสียชมุ ชน สรุปสาระสา้ คัญ ดังนี 3.1 แผนปฏิบัติการฯ มีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๖๐) แผนปฏิรูปประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) แผนยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้าระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) และแผนปฏบิ ตั ริ าชการกระทรวงมหาดไทย (พ.ศ. 2561 – 2565) 3.2 แผนปฏิบัติการฯ มีจ้านวนพืนท่ีเป้าหมายส้าหรับการจัดการ น้าเสียชุมชนตังแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ - ๒๕๘๐ (๑๗ ปี) ที่ส่งเสริมให้มีการจัดสร้างระบบรวบรวมและบ้าบัดน้าเสียชุมชนในเขตพืนที่ เทศบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และแหล่งท่องเที่ยวที่ส้าคัญ ด้าเนินการจัดสร้างระบบบ้าบัดน้าเสียชุมชน จ้านวนทังสิน 780 แห่ง ใน 464 พืนท่ี อปท. มีความสามารถในการบ้าบัดน้าเสียรวมทังสิน 1.70 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อวัน แบ่งเป็นระบบบ้าบัดน้าเสียขนาดเล็ก จ้านวน ๗๖๔ แห่ง ระบบบ้าบัดน้าเสีย เทศบาล นครอ้อมน้อย จ.สมุทรสาคร จ้านวน 1 แห่ง และระบบบ้าบัดน้าเสียขนาดใหญ่ จ้านวน ๑5 แห่ง วงเงิน งบประมาณลงทนุ รวมทังสนิ 60,440 ลา้ นบาท แสดงดังตาราง ที่ 1 ตารางท่ี 1 แสดงจ้านวนพืนทเ่ี ปา้ หมายและงบประมาณ ลาดบั รายการ จานวน จานวนระบบ ความสามารถ งบประมาณลงทุน (พนื ที่) บาบดั นาเสยี ในการบาบดั (ลา้ นบาท) (ลบ.ม.ตอ่ วัน) (แห่ง) รัฐบาล เอกชน รวม 1,144,000 1 กอ่ สร้างระบบบ้าบัดน้าเสียขนาดเล็ก 448 764 38,200 - 38,200 2 ก่อสร้างระบบบ้าบัดน้าเสยี 1 1 80,000 3,200 - 3,200 ทน.ออ้ มน้อย จ.สมทุ รสาคร 15 15 476,000 11,773 7,267 19,040 464 780 1,700,000 53,173 7,267 60,440 ก่อสร้างระบบบ้าบัดน้าเสียขนาดใหญ่ 3 (การร่วมลงทนุ ระหว่างภาครัฐและ ภาคเอกชน : PPP) รวม ภายใต้กรอบแผนปฏบิ ัติการด้านการจัดการน้าเสยี ชุมชน ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) ได้แบ่ง การด้าเนนิ การออกเปน็ ๓ ระยะ ดงั นี (1) ระยะท่ี 1 (พ.ศ.2564 – 2568) ก่อสร้างระบบบา้ บัดน้าเสยี 199 แห่ง สามารถบา้ บัดน้า เสยี ได้ 0.40 ลา้ น ลบ.ม. ต่อวนั งบประมาณลงทุน 15,418 ลา้ นบาท มรี ายละเอยี ด ดงั นี 105

(1.1) ก่อสร้างระบบบา้ บดั น้าเสียขนาดเล็ก จา้ นวน 193 แห่ง - สามารถบ้าบดั น้าเสยี ได้ 0.29 ล้าน ลบ.ม. ต่อวัน - งบประมาณลงทนุ 9,650 ล้านบาท ภาครฐั เปน็ ผลู้ งทนุ ทงั หมด (1.2) ก่อสรา้ งระบบบา้ บดั น้าเสีย ทน.อ้อมนอ้ ย จ.สมทุ รสาคร จา้ นวน 1 แหง่ - สามารถบา้ บดั นา้ เสียได้ 0.08 ล้าน ลบ.ม. ต่อวนั - งบประมาณ 3,200 ล้านบาท ภาครฐั เปน็ ผู้ลงทนุ ทังหมด (1.3) ก่อสร้างระบบบ้าบัดนา้ เสียขนาดใหญ่ จ้านวน 5 แห่ง - สามารถบา้ บดั น้าเสียได้ 0.03 ลา้ น ลบ.ม. ตอ่ วนั - งบประมาณ 2,568 ล้านบาท แบ่งเป็นภาครัฐลงทุน 1,583 ล้านบาท และ ภาคเอกชนลงทนุ 985 ล้านบาท (2) ระยะที่ 2 (พ.ศ.2569 – 2579) ก่อสร้างระบบบ้าบัดน้าเสีย 256 แห่ง สามารถบ้าบัดน้า เสียได้ 0.59 ล้าน ลบ.ม. ต่อวัน งบประมาณลงทนุ 22,012 ล้านบาท มีรายละเอียด ดงั นี (2.1) กอ่ สร้างระบบบา้ บดั น้าเสียขนาดเล็ก จา้ นวน 248 แห่ง - สามารถบา้ บัดน้าเสยี ได้ 0.37 ลา้ น ลบ.ม. ตอ่ วนั - งบประมาณลงทุน 12,400 ล้านบาท ภาครัฐเปน็ ผูล้ งทนุ ทงั หมด (2.2) กอ่ สร้างระบบบา้ บัดน้าเสยี ขนาดใหญ่ 8 แหง่ - สามารถบ้าบัดน้าเสียได้ 0.22 ลา้ น ลบ.ม. ตอ่ วัน - งบประมาณ 9,612 ล้านบาท แบ่งเป็นภาครัฐลงทุน 5,937 ล้านบาท และ ภาคเอกชนลงทุน 3,675 ลา้ นบาท (3) ระยะที่ 3 (พ.ศ.2574 – 2580) ก่อสร้างระบบบ้าบัดน้าเสีย 325 แห่ง สามารถบา้ บัดนา้ เสยี ได้ 0.71 ลา้ น ลบ.ม. ต่อวัน งบประมาณลงทุน 23,010 ลา้ นบาท มรี ายละเอยี ด ดังนี (3.1) ก่อสรา้ งระบบบ้าบดั นา้ เสียขนาดเลก็ จ้านวน 323 แห่ง - สามารถบา้ บดั น้าเสยี ได้ 0.48 ล้าน ลบ.ม. ตอ่ วนั - งบประมาณลงทนุ 16,150 ลา้ นบาท ภาครัฐเปน็ ผู้ลงทนุ ทังหมด (3.2) กอ่ สร้างระบบบ้าบดั น้าเสียขนาดใหญ่ 2 แหง่ - สามารถบา้ บัดน้าเสียได้ 0.23 ล้าน ลบ.ม. ต่อวนั - งบประมาณ 6,860 ล้านบาท แบ่งเป็นภาครัฐลงทุน 4,253 ล้านบาท และ ภาคเอกชนลงทุน 2,607 ล้านบาท รวมจ้านวนระบบบ้าบัดน้าเสียท่ีต้องท้าการก่อสร้างทังสิน 780 แห่ง สามารถบ้าบัดน้าเสีย ได้ 1.70 ล้าน ลบ.ม. ต่อวัน งบประมาณลงทุนรวม 60,440 ล้านบาท โดยพืนที่เป้าหมายทังหมดอยู่ในแหล่ง น้าที่มีคุณภาพน้าเสื่อมโทรมและพอใช้ ซึ่งในพืนท่ีดังกล่าวมีปริมาณน้าเสียชุมชนเกิดขึนประมาณ 1.70 ล้านลกู บาศกเ์ มตรตอ่ วัน สามารถสรุปได้ดังตาราง ที่ 2 106

ตารางที่ 2 แสดงรายละเอยี ดแผนการด้าเนนิ งาน ลาดบั รายการ จานวน ความสามารถ งบประมาณ (ลา้ นบาท) (แห่ง) ในการบาบดั นาเสยี รัฐบาล เอกชน รวม (ลบ.ม. ตอ่ วัน) 1 ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2564 - 2568) 1.1 ระบบบ้าบัดน้าเสียขนาดเลก็ 193 294,000 9,650 - 9,650 1.2 ระบบบ้าบัดน้าเสยี ทน.อ้อมน้อย จ.สมทุ รสาคร 1 80,000 3,200 - 3,200 1.3 ระบบบ้าบัดน้าเสยี ขนาดใหญ่ 5 28,000 1,583 985 2,568 รวม ระยะท่ี 1 199 402,000 14,433 985 15,418 2 ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2569 - 2573) 2.1 ระบบบ้าบัดน้าเสียขนาดเลก็ 248 370,000 12,400 - 12,400 2.2 ระบบบ้าบัดน้าเสยี ทน.อ้อมน้อย จ.สมทุ รสาคร - - -- - 2.3 ระบบบ้าบัดน้าเสียขนาดใหญ่ 8 218,000 5,937 3,675 9,612 รวม ระยะที่ 2 256 588,000 18,337 3,675 22,012 3 ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2574 - 2580) 3.1 ระบบบ้าบัดน้าเสียขนาดเล็ก 323 480,000 16,150 - 16,150 3.2 ระบบบ้าบัดน้าเสยี ทน.ออ้ มน้อย จ.สมทุ รสาคร - - -- - 3.3 ระบบบ้าบัดน้าเสียขนาดใหญ่ 2 230,000 4,253 2,607 6,860 รวม ระยะที่ 3 325 710,000 20,403 2,607 23,010 4 รวมทงั หมด 4.1 ระบบบ้าบัดน้าเสยี ขนาดเล็ก 764 1,144,000 38,200 - 38,200 4.2 ระบบบ้าบัดน้าเสยี ทน.ออ้ มน้อย จ.สมทุ รสาคร 1 80,000 3,200 - 3,200 4.3 ระบบบ้าบัดน้าเสยี ขนาดใหญ่ 15 476,000 11,773 7,267 19,040 รวมทงั หมด 780 1,700,000 53,173 7,267 60,440 อจน. มีความจ้าเป็นที่ต้องขยายเขตพืนท่ีจัดการน้าเสีย เพ่ือให้สามารถเข้าด้าเนินการแก้ไขปัญหา น้าเสยี ในพนื ท่ีเป้าหมายภายใต้กรอบการด้าเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัติการฯ ไดท้ ังหมด ซึง่ จะชว่ ยเพิ่มประสิทธิภาพ ในการจดั การและแก้ไขปัญหาน้าเสยี ในพนื ที่ต่าง ๆ ของประเทศไม่ให้ขยายตัว และกอ่ มลพิษกระทบต่อแหล่งน้า เพิ่มมากขนึ การดา้ เนินงานทผ่ี ่านมา ๑. อจน. ได้จัดท้าแผนปฏิบัติการด้านการจัดการน้าเสียชุมชน ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) เพ่ือเป็นกรอบแนวทางการบริหารจัดการระบบบ้าบัดน้าเสียชุมชนของ อจน. และได้ผ่านความเห็นชอบของ คณะกรรมการ อจน. เป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว และน้าเสนอปลัดกระทรวงมหาดไทย (ปมท.) เพื่อพิจารณา ลงนามถึงเลขาธิการส้านักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ (สศช.) ให้ความเห็นต่อแผนปฏบิ ัติการฯ ดงั กล่าว ๒. เม่ือวันท่ี 22 กรกฎาคม 2562 ปมท. น้าเรียน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (รมว.มท.) พจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบแผนปฏิบตั กิ ารฯ ดงั กล่าว 3. เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2562 กระทรวงมหาดไทยพิจารณาแล้ว และน้าส่งแผนปฏิบัติการฯ ดังกล่าวของ อจน. ให้ สศช. พิจารณาใหค้ วามเหน็ ตอ่ ไป 4. เดอื นพฤศจิกายน 2562 แผนปฏบิ ตั ิการฯ ดังกลา่ วอยรู่ ะหวา่ งการพิจารณาใหค้ วามเห็นของ สศช. 107

5. เม่ือวันท่ี 19 พฤศจิกายน 2562 คณะท้างานกล่ันกรองโครงการขนาดใหญ่และโครงการส้าคัญ ในคราวประชุมครังที่ 1/2562 มีมติจากที่ประชุมให้ อจน. เสนอแผนปฏิบัติการฯ ดังกล่าว ใหค้ ณะกรรมการลุ่มน้าที่รับผิดชอบในพืนท่ีของโครงการนัน ในการประชุมคณะกรรมการลมุ่ น้า ครังท่ี 3/2562 6. อจน. ได้เสนอแผนปฏิบัติการฯ ต่อคณะกรรมการลุ่มน้าในการประชุมคณะกรรมการลุ่มน้า ครังท่ี 3/2562 (ในระหว่างวันท่ี 25 พฤศจิกายน 2562 – 12 ธันวาคม 2562) ครบทังหมด 25 ลุ่มน้า โดยคณะกรรมการลุ่มน้า มีมติเห็นชอบในหลักการของแผนปฏิบัติการฯ ดังกล่าว และมีข้อเสนอแนะ จากคณะกรรมการลุ่มน้าตาปี ในวันที่ 4 ธันวาคม 2562 เห็นควรให้ อจน. จัดท้าแผนปฏิบัติการ ฯ ระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 – 2565) และน้าเสนอต่อคณะอนุกรรมการแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้า ในวันท่ี 13 ธันวาคม 2562 พิจารณากอ่ นนา้ เสนอ กนช. ต่อไป 4. ความเห็นของคณะอนกุ รรมการขับเคล่ือนแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรนา้ 4.1 ให้ อจน.ด้าเนินการตามขันตอน กฎหมาย ระเบียบที่เก่ียวข้อง ในกรณีที่เป็นการถ่ายโอน ภารกิจ ต้องเสนอให้ อปท. พิจารณาให้ความเห็นชอบ หรือจัดท้ากรอบความร่วมมือระหว่างในการด้าเนินการ (MOU) เพ่อื เป็นไปตาม พรบ.การก้าหนดแผนและขนั ตอนการกระจายอ้านาจให้แก่องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน พ.ศ.2542 4.2 โครงการที่มีวงเงินเกิน 1,000 ล้านบาท ให้ อจน. เสนอให้ กนช.พิจารณาอีกครังหน่ึงก่อน เสนอคณะรัฐมนตรีต่อไป 5. ขอ้ เสนอเพื่อพจิ ารณา แผนปฏิบัติการด้านการจดั การนา้ เสยี ชมุ ชน ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ของ อจน. เป็นแผนปฏิบัติการที่ส่งเสริม สนับสนุนให้มีการจัดสร้างระบบรวบรวมและบ้าบัดน้าเสียชุมชนในเขตพืนที่ เทศบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และแหล่งท่องเที่ยวส้าคัญ ท้าให้เกิดการแก้ไปปัญหาในพืนที่ท่ีมีปัญหา คุณภาพน้าเสื่อมโทรมอย่างมีประสิทธิภาพ ทังยังสอดคล้องกับแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้า 20 ปี ดา้ นท่ี 4 การจัดการคณุ ภาพนา้ และอนุรกั ษท์ รัพยากรนา้ จึงเสนอท่ปี ระชุม 5.1 เห็นชอบในหลักการแผนปฏิบัติการด้านการจัดการน้าเสียชุมชน ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) 5.2 ให้ อจน. น้าความเหน็ ของคณะอนุกรรมการฯ ไปพิจารณาด้าเนนิ การตอ่ ไป จึงเรยี นทีป่ ระชุมเพื่อโปรดพจิ ารณา มตทิ ป่ี ระชมุ ………………………………………………………………………..............................................................……….. ………………………………………………..……………………………………………………………………………………………................ ………………………………………………..……………………………………………………………………………………………................ ………………………………………………..……………………………………………………………………………………………................ ………………………………………………..……………………………………………………………………………………………................ ………………………………………………..……………………………………………………………………………………………................ ………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………..….. 108

ระเบียบวาระที่ 4 เร่ืองเพ่อื พิจารณา วาระที่ 4.1 แผนปฏบิ ัติการภายใตแผนแมบทการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรน้าํ 20 ป (ตอ ) 4.1.2 โครงการเพอื่ การพัฒนา ป 2562 และป 2563 ของการประปา สวนภูมภิ าค 109

ระเบียบวาระท่ี 4 เรอื่ งเพ่ือพจิ ารณา วาระที่ 4.1 แผนปฏบิ ตั กิ ารภายใตแ้ ผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ปี (ต่อ) 4.1.2 โครงการเพ่ือการพัฒนา ปี 2562 และ ปี 2563 ของการประปาส่วนภูมิภาค 1. เรื่องเดิม ตามพระราชบัญญัตทิ รพั ยากรน้ำ พ.ศ. 2561 มาตรา 17 (2) กนช. มหี นา้ ทีแ่ ละอำนาจ พิจารณา และให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการของหน่วยงานของรัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทีเ่ กีย่ วกับทรัพยากรน้ำ และแผนงบประมาณการบริหารทรัพยากรน้ำแบบบูรณาการให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนแม่บทเก่ี ยวกับ การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ และเสนอคณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณา ในการจัดทำงบประมาณประจำปี การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) ได้นำเสนอโครงการเพื่อการพัฒนาปี ๒๕๖2 จำนวน 5 โครงการ วงเงินงบประมาณรวม 2,121.144 ล้านบาท และ โครงการเพื่อการพัฒนาปี ๒๕๖3 จำนวน 9 โครงการ วงเงินงบประมาณรวม 9,629.991 ลา้ นบาท ผา่ นกระทรวงมหาดไทยให้ สศช.พิจารณาเพ่อื เสนอ ความเหน็ ประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้พิจารณาโครงการเพื่อการพัฒนา ปี ๒๕๖2 จำนวน 5 โครงการ วงเงินงบประมาณรวม 2,121.144 ล้านบาท และ โครงการเพื่อการพัฒนา ปี ๒๕๖3 จำนวน 9 โครงการ วงเงินงบประมาณรวม 9,629.991 ล้านบาท ของ กปภ. โดย สศช. ได้มีมติเห็นชอบโครงการเพื่อการพัฒนา ปี 2562 และปี 2563 ของ กปภ. รวมจำนวน 14 โครงการ วงเงินรวม 11,751.135 ลา้ นบาท เมือ่ วนั ท่ี 5 มถิ นุ ายน 2562 กปภ. ได้นำเสนอโครงการเพื่อการพัฒนาปี 2562 และปี 2563 ของ กปภ. รวมจำนวน 14 โครงการ วงเงินรวม 11,751.135 ล้านบาท ผ่านกระทรวงมหาดไทยให้ สทนช. เพื่อพิจารณาเสนอต่อ กนช. เพอื่ พจิ ารณาเสนอความเห็นประกอบการพจิ ารณาของคณะรัฐมนตรตี ่อไป เม่ือวันที่ 11 กันยายน 2562 2. ขอ้ เท็จจรงิ 2.1 เหตผุ ลและความจำเป็น การประปาสว่ นภูมภิ าค (กปภ.) มีภารกิจในการจัดหานำ้ ประปาท่มี ีคณุ ภาพใหก้ บั ประชาชนท่ัว ประเทศ ยกเว้นกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และจังหวัดสมุทรปราการ ทั้งนี้ กปภ. ประสบปัญหาในด้านการผลิตและการจ่ายน้ำที่แตกต่างกันออกไป ปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบผลิต เช่น ปัญหาการขาดแคลนน้ำดิบ ระบบผลิตชำรุดเสียหาย กำลังการผลิตน้ำประปาไม่เพียงพอ เริ่มไม่เพียงพอ หรือมี แนวโน้มว่าจะไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้ใช้น้ำ และปัญหาในระบบจ่ายน้ำ เช่น ระบบจ่ายน้ำไม่มี ประสิทธิภาพ สาเหตุมาจากท่อส่งและท่อจ่ายน้ำมีขนาดเล็กเกินไป ไม่สามารถรองรับความต้องการได้ หรือ ท่อเก่าหมดอายุการใช้งาน จำเป็นต้องทำการปรับปรงุ ระบบท่อ นอกจากนี้ กปภ. ยังตอบสนองต่อนโยบาย รัฐบาลทั้งในเขตเศรษฐกิจพิเศษ (SEZ) และรองรับโครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ซึ่งโครงการที่เสนอทั้ง 14 โครงการนี้กำลังประสบปญั หาดังกล่าวทำให้ไม่สามารถให้บรกิ ารแกป่ ระชาชนได้ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ดังนัน้ กปภ. จึงได้เสนอโครงการเพ่ือการพฒั นา ปี 2562 และปี 2563 2.2 สรุปรายละเอียดโครงการเพื่อการพัฒนาปี 2562 ของ กปภ. (1) แผนงานโครงการก่อสร้างปรับปรุงขยาย กปภ.สาขาเลย วงเงินรวม 414.685 ล้านบาท จำแนกเป็น (1.1) แผนงานกอ่ สรา้ งปรับปรุงขยาย กปภ.สาขาเลย วงเงนิ 325.798 ล้านบาท (1.2) แผนการบริหารจดั การลดน้ำสูญเสยี กปภ.สาขาเลย วงเงิน 88.887 ลา้ นบาท 110

(2) แผนงานโครงการก่อสร้างปรับปรุงขยาย กปภ.สาขาชัยนาท - (หันคา) วงเงินรวม 470.767 ล้านบาท จำแนกเปน็ (2.1) แผนงานก่อสร้างปรับปรุงขยาย กปภ.สาขาชัยนาท – (หันคา) (ระยะที่ 1 - 2) วงเงนิ 390.694 ล้านบาท (2.2) แผนการบริหารจัดการลดน้ำสูญเสีย กปภ.สาขาชัยนาท วงเงิน 80.073 ล้านบาท (3) แผนงานโครงการก่อสร้างปรับปรุงขยาย กปภ.สาขาสุไหงโก-ลก - (ตากใบ) (เขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษนราธิวาส) วงเงินรวม 372.598 ลา้ นบาท จำแนกเปน็ (3.1)แผนงานก่อสร้างปรับปรุงขยาย กปภ.สาขาสุไหงโก-ลก – (ตากใบ) (เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษนราธิวาส) วงเงิน 296.598 ล้านบาท (3.2) แผนการบริหารจัดการลดนำ้ สูญเสยี กปภ.สาขาสุไหงโก-ลก วงเงิน 76.000 ลา้ นบาท (4) แผนงานโครงการก่อสร้างปรับปรุงขยาย กปภ.สาขานครนายก วงเงินรวม 845.889 ล้านบาท จำแนกเป็น (4.1) แผนงานก่อสร้างปรบั ปรงุ ขยาย กปภ.สาขานครนายก วงเงนิ 620.000 ล้านบาท (4.2) แผนการบริหารจัดการลดน้ำสูญเสยี กปภ.สาขานครนายก วงเงิน 225.889 ล้านบาท (5) แผนงานโครงการกอ่ สร้างปรับปรุงกิจการประปาภายหลังการรับโอน กปภ.สาขาสิงห์บุรี (ท่าวุง้ ) วงเงินรวม 17.205 ลา้ นบาท 2.3 สรปุ รายละเอียดโครงการเพือ่ การพฒั นาปี 2563 ของ กปภ. (1) แผนงานโครงการก่อสร้างปรับปรุงขยาย กปภ.สาขาพัทยา - แหลมฉบัง – ศรีราชา [รองรับโครงการเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (EEC)] วงเงินรวม 1,848.979 ลา้ นบาท จำแนกเปน็ (1.1) แผนงานก่อสร้างปรับปรุงขยาย กปภ.สาขาพัทยา - แหลมฉบัง - ศรีราชา [รองรับ โครงการเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)] วงเงิน 1,500.000 ลา้ นบาท (1.2) แผนการบริหารจัดการลดน้ำสูญเสีย กปภ.สาขาพัทยา - แหลมฉบัง - ศรรี าชา วงเงนิ 348.979 ลา้ นบาท (2) แผนงานโครงการก่อสร้างปรับปรุงขยาย กปภ.สาขาชลบุรี - พนัสนิคม - (พานทอง) - (ท่าบุญมี) ระยะที่ 2 [รองรับโครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)] วงเงินรวม 2,126.028 ลา้ นบาท จำแนกเป็น (2.1) แผนงานก่อสร้างปรับปรุงขยาย กปภ.สาขาชลบุรี - พนัสนิคม - (พานทอง) - (ทา่ บุญม)ี ระยะท่ี 2 [รองรับโครงการเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (EEC)] วงเงิน 1,700.000 ล้านบาท (2.2) แผนการบริหารจัดการลดน้ำสูญเสีย กปภ.สาขาชลบุรี – พนัสนิคม วงเงิน 426.028 ลา้ นบาท (3) แผนงานโครงการก่อสร้างปรับปรุงขยาย กปภ.สาขาเชียงใหม่ - แม่ริม - สันกำแพง วงเงินรวม 4,226.240 ลา้ นบาท จำแนกเป็น (3.1) แผนงานก่อสร้างปรับปรุงขยาย กปภ.สาขาเชียงใหม่ - แม่ริม – สันกำแพง (ระยะท่ี 1-2) วงเงนิ 3,204.738 ลา้ นบาท (3.2) แผนการบริหารจัดการลดน้ำสูญเสีย กปภ.สาขาเชียงใหม่ - แม่ริม – สันกำแพง วงเงิน 1,021.502 ล้านบาท (4) แผนงานโครงการก่อสร้างปรับปรุงขยาย กปภ.สาขายโสธร วงเงินรวม 399.832 ลา้ นบาท จำแนกเป็น 111

(4.1) แผนงานกอ่ สร้างปรับปรงุ ขยาย กปภ.สาขายโสธร วงเงิน 320.017 ล้านบาท (4.2) แผนการบริหารจัดการลดนำ้ สญู เสีย กปภ.สาขายโสธร วงเงิน 79.815 ลา้ นบาท (5) แผนงานโครงการก่อสร้างปรับปรุงขยาย กปภ.สาขานาทวี วงเงินรวม 348.390 ลา้ นบาท จำแนกเป็น (5.1) แผนงานก่อสร้างปรับปรุงขยาย กปภ.สาขานาทวี (ระยะที่ 1-2) วงเงิน 309.390 ลา้ นบาท (5.2) แผนการบริหารจัดการลดนำ้ สูญเสยี กปภ.สาขานาทวี วงเงิน 39.000 ลา้ นบาท (6) แผนงานโครงการก่อสร้างปรับปรุงขยาย กปภ.สาขาภูเขียว - (บ้านเป้า) วงเงินรวม 162.596 ล้านบาท จำแนกเปน็ (6.1) แผนงานก่อสรา้ งปรบั ปรงุ ขยาย กปภ.สาขาภเู ขยี ว - (บ้านเปา้ ) วงเงนิ 130.326 ล้านบาท (6.2) แผนการบริหารจัดการลดนำ้ สูญเสีย กปภ.สาขาภเู ขยี ว วงเงนิ 32.270 ลา้ นบาท (7) แผนงานโครงการก่อสร้างปรับปรุงขยาย กปภ.สาขาจัตุรัส วงเงินรวม 161.107 ล้านบาท จำแนกเป็น (7.1) แผนงานกอ่ สรา้ งปรับปรุงขยาย กปภ.สาขาจัตุรัส วงเงนิ 120.965 ล้านบาท (7.2) แผนการบรหิ ารจดั การลดนำ้ สญู เสยี กปภ.สาขาจตั รุ ัส วงเงนิ 40.142 ลา้ นบาท (8) แผนงานโครงการก่อสร้างปรับปรุงขยาย กปภ.สาขาปราจีนบุรี (ประจันตคาม) - (ศรมี หาโพธ)ิ วงเงนิ รวม 331.970 ล้านบาท จำแนกเปน็ (8.1) แผนงานก่อสร้างปรับปรุงขยาย กปภ.สาขาปราจีนบุรี (ประจันตคาม) - (ศรมี หาโพธิ) วงเงิน 280.115 ล้านบาท (8.2) แผนการบรหิ ารจดั การลดน้ำสญู เสยี กปภ.สาขาปราจนี บุรี วงเงนิ 51.855 ลา้ นบาท (9) แผนงานโครงการก่อสร้างปรับปรุงกิจการประปา อปท. กปภ.สาขาตราด (อบต. เกาะกูด) วงเงินรวม 24.849 ล้านบาท 2.4 สรุปภาพรวมโครงการเพอื่ การพฒั นาปี 2562 และปี 2563 ของ กปภ. (1) วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ (1.1) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบผลิต ระบบส่งน้ำ และระบบจ่ายน้ำประปาใน พื้นทท่ี ป่ี ระสบปัญหา ให้สามารถบรกิ ารน้ำประปาแก่ประชาชนได้เพิม่ ขน้ึ ในอีก 10 ปี ขา้ งหน้าอยา่ งพอเพียง (1.2) เพื่อกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาค โดยเฉพาะศูนย์กลางความเจริญ ของทอ้ งถิ่นและส่งเสรมิ สาธารณปู โภคขนั้ พน้ื ฐานของประชาชนให้ดียิ่งขนึ้ (1.3) เพื่อบริหารจัดการลดน้ำสูญเสียในระบบผลิตจ่ายให้เป็นไปตามเป้าหมาย และใช้ ทรัพยากรท่มี ีอย่อู ย่างจำกดั ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ (2) เปา้ หมายของโครงการ (2.1) การลงทุนโครงการเพ่ือการพัฒนาปี 2562 และปี 2563 จำนวน 14 โครงการ วงเงินรวม 11,751.135 ล้านบาท เมื่อโครงการก่อสร้างแล้วเสร็จ จะมีกำลังการผลิตเพิ่มขึ้นอีก 513,960 ลบ.ม./วัน และสามารถให้บรกิ ารผใู้ ช้น้ำเพ่มิ ขึ้นอีก 453,583 ราย (ประมาณ 729,542 คน) 112

ลำดับ โครงการ เขต จงั หวัด วงเงนิ กำลังผลติ (ลบ.ม./วนั ) ผใู้ ช้น้ําเพม่ิ สดั สว่ น (ล้านบาท) สว่ นเพิม่ รวมเปน็ (ราย) บรกิ าร ปัจจุบัน โครงการเพ่ือการพฒั นาปี 2562 1 กปภ.สาขาเลย 7 เลย 414.685 19,200 45,600 8,500 50.23% 2 กปภ.สาขาชยั นาท – (หนั คา) 10 ชยั นาท 470.767 14,400 26,400 11,020 40.11% 3 กปภ.สาขาสุไหงโก-ลก – (ตาก 5 นราธิวาส 372.598 14,400 28,800 11,470 28.33% ใบ) (เขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษ นราธิวาส) 4 กปภ.สาขานครนายก 2 นครนายก 845.889 18,000 42,000 15,100 32.05% 5 กปภ.สาขาสิงห์บรุ ี (ท่าวุ้ง) 4 ลพบุรี 17.205 1,200 3,600 638 76.47% รวมปี 2562 2,121.144 67,200 146,400 46,728 โครงการเพื่อการพัฒนาปี 2563 1 กปภ.สาขาพัทยา - แหลมฉบัง – 1 ชลบรุ ี 1,848.979 96,000 669,600 140,000 35.22% ศรีราชา (รองรบั EEC) 2 กปภ.สาขาชลบรุ ี - พนัสนิคม - 1 ชลบุรี 2,126.028 96,000 427,200 105,000 50.37% (พานทอง) - (ท่าบุญมี) ระยะท่ี 2 (รองรับ EEC) 3 กปภ.สาขาเชียงใหม่ - แม่ริม - 9 เชียงใหม่ 4,226.240 210,000 408,720 125,200 38.86% สนั กำแพง 4 กปภ.สาขายโสธร 8 ยโสธร 399.832 12,000 26,400 6,350 47.37% 5 กปภ.สาขานาทวี 5 สงขลา 348.390 9,600 15,600 6,045 24.98% 6 กปภ.สาขาภเู ขียว - (บ้านเป้า) 6 ชัยภูมิ 162.596 4,800 13,200 5,020 30.84% 7 กปภ.สาขาจตั ุรสั 6 ชยั ภูมิ 161.107 4,800 14,400 4,120 48.25% 8 กปภ.สาขาปราจีนบรุ ี 1 ปราจนี บุรี 331.970 12,000 27,600 14,700 31.84% (ประจันตคาม) - (ศรีมหาโพธ)ิ์ 9 กปภ.สาขาตราด (อบต.เกาะ 1 ตราด 24.849 1,560 1,560 420 40.00% กดู ) รวมปี 2563 9,629.991 446,7601,604,280 406,855 รวมทั้งหมด 11,751.135 513,9601,750,680 453,583 (2.2) ในโครงการจะมีการก่อสร้างวางท่อส่งน้ำ ท่อจ่ายน้ำ และท่อบริการขนาดต่างๆ เพอ่ื เปลี่ยนทดแทนท่อเก่า และวางท่อใหม่ในเขตจ่ายนำ้ ต่างๆ และพ้ืนทขี่ า้ งเคยี ง รวมความยาวท้ังสิ้นประมาณ 2,057.500 กิโลเมตร (2.3) ระบบผลิตน้ำประปาที่เพิ่มขึ้นอีก 513,960 ลบ.ม./วัน ประกอบด้วยการ ก่อสร้างระบบสูบน้ำแรงต่ำ-แรงสูง โรงกรองน้ำ ระบบจ่ายสารเคมี ถังน้ำใส และหอถังสูง นอกจากนี้ บางโครงการจะมีการขดุ สระพักนำ้ ดิบ และวางทอ่ สง่ น้ำดบิ เพ่ิม (2.4) บริหารจัดการลดอัตราน้ำสูญเสียในระบบผลิตจ่าย โดยกำหนดเป้าหมายให้มีน้ำ สญู เสียไม่เกิน 20% 113

(3) แผนงานและงบประมาณ โครงการเพื่อการพัฒนาปี 2562 และปี 2563 จำนวน 14 โครงการ วงเงินรวม 11,751.135 ล้านบาท จำแนกเป็น (3.1) แผนงานก่อสร้างปรบั ปรุงขยาย 9,240.695 ล้านบาท (3.2) แผนการบริหารจดั การลดน้ำสญู เสีย 2,510.440 ล้านบาท (4) ระยะเวลาดำเนินการ (4.1) โครงการก่อสร้างปรบั ปรุงขยาย มีระยะเวลาดำเนินการก่อสร้างประมาณ 3 ปี (4.2) โครงการบรหิ ารจัดการลดนำ้ สูญเสีย มีระยะเวลาดำเนินการก่อสรา้ งประมาณ 5 ปี (5) สรุปผลตอบแทนของโครงการ ลำดบั โครงการ วงเงิน ค่านาํ้ คงท่ี ปรับค่าน้ำ 3% ตอ่ ปี (ล้านบาท) B/C NPV (ล้านบาท) โดยปรับทุก ๆ 3 ปี B/C NPV(ลา้ นบาท) โครงการเพอ่ื การพฒั นาปี 2562 1.76 876.966 1 กปภ.สาขาเลย 414.685 1.29 381.440 1.42 378.451 1.46 454.572 2 กปภ.สาขาชยั นาท – (หนั คา) 470.767 1.05 45.584 1.51 700.228 3 กปภ.สาขาสไุ หงโก-ลก – (ตากใบ) 372.598 1.07 67.764 (เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ นราธิวาส) 4 กปภ.สาขานครนายก 845.889 1.11 152.902 5 กปภ.สาขาสิงห์บุรี (ท่าวุ้ง) 17.205 1.49 41.020 2.05 88.177 รวมปี 2562 2,121.144 1.15 688.710 1.56 2,498.394 1.67 18,378.350 โครงการเพื่อการพัฒนาปี 2563 1.39 7,052.740 1.57 8,210.581 1 กปภ.สาขาพัทยา - แหลมฉบัง – ศรีราชา 1,848.979 1.23 6,375.620 (รองรบั EEC) 2 กปภ.สาขาชลบรุ ี - พนัสนิคม - (พานทอง) - 2,126.028 1.03 490.090 (ทา่ บญุ มี) ระยะท่ี 2 (รองรับ EEC) 3 กปภ.สาขาเชยี งใหม่ - แม่ริม - สันกำแพง 4,226.240 1.15 2,175.560 4 กปภ.สาขายโสธร 399.832 1.12 109.750 1.51 475.190 5 กปภ.สาขานาทวี 348.390 0.92 -48.719 1.30 182.434 6 กปภ.สาขาภเู ขียว - (บา้ นเปา้ ) 162.596 0.87 -73.400 1.16 86.986 7 กปภ.สาขาจตั รุ ัส 161.107 0.81 -131.294 1.06 39.699 8 กปภ.สาขาปราจีนบรุ ี (ประจันตคาม)-(ศรมี หาโพธ)ิ 331.970 1.20 176.500 1.61 548.420 9 กปภ.สาขาตราด (อบต.เกาะกูด) 24.849 1.14 9.370 1.55 36.990 รวมปี 2563 9,629.991 1.14 9,083.477 1.55 35,011.390 รวมท้ังหมด 11,751.135 1.14 9,772.187 1.55 37,509.784 114

(6) แหล่งน้ำดิบของโครงการ กำลังผลิต ลำดบั แผนงำนโครงกำร (ลบ.ม./วนั ) ผู้ใช้นำ้ แหล่งนำ้ ดบิ ทใ่ี ช้ หน่วยงำน วงเงิน เพม่ิ รับผิดชอบ (รำย) /กำรขอ (ล้ำนบำท) ส่วนเพม่ิ รวมเป็ น อนุญำตใช้ 1.โครงกำรเพอื่ กำรพัฒนำปี 2562 กรมชลประทาน - โครงกำรก่อสร้ำงปรับปรุงขยำย (แผนงำนก่อสร้ำงปรับปรุงขยำย และ แผนกำรบริหำรจดั กำรลดนำ้ สูญเสีย) - 1 เลย 414.685 19,200 45,600 8,500 อา่ งเก็บนา้ หว้ ยนา้ หมาน กรมชลประทาน แม่นา้ เลย 2 ชยั นาท - (หนั คา) 470.767 14,400 26,400 11,020 แม่นา้ เจา้ พระยา แม่นา้ ทา่ จีน คลองขดุ ลดั (แหล่งนา้ ใหม่) กรมชลประทาน 3 สไุ หงโก-ลก - (ตากใบ) 372.598 14,400 28,800 11,470 แม่นา้ สไุ หงโก-ลก - (เขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษนราธวิ าส) คลองชลประทาน ปยู ู กรมชลประทาน 4 นครนายก 845.889 18,000 42,000 15,100 อา่ งเก็บนา้ หว้ ยปรอื กรมชลประทาน กรมชลประทาน แม่นา้ นครนายก โครงกำรก่อสร้ำงปรับปรุงกิจกำรประปำภำยหลังกำรรับโอน 5 สิงหบ์ รุ ี (ทา่ วงุ้ ) 17.205 1,200 3,600 638 รวมโครงกำรเพอื่ กำรพฒั นำปี 2562 2,121.144 67,200 146,400 46,728 11

ปริมำณนำ้ ตน้ ทนุ ทใ่ี ช้ได้ กำรประสำนขอใช้แหล่งนำ้ หมำยเหตุ อ่ำงฯ แม่นำ้ / ลำนำ้ ปริมำณนำ้ ท่ี กับหน่วยงำนทเี่ ก่ียวข้อง ปรมิ ำณนำ้ ปริมำณนำ้ ทำ่ กปภ. ขอรับ ควำมจุ ไหลลงอำ่ งฯ รำยปี เฉล่ีย กำรจัดสรร (ล้ำน ลบ.ม.) เฉล่ียรำยปี ณ จดุ สบู (ลำ้ น ลบ.ม./ปี ) (ล้ำน ลบ.ม./ปี ) (ลำ้ น ลบ.ม./ปี ) น 26.500 45.490 - 20.620 แหล่งนา้ เดิม เดิมไดร้ บั จดั สรรนา้ 20.620 ลา้ น ลบ.ม./ปี - - 560.475 9.504 ผ่านมติประชาคมขออนญุ าตสบู นา้ เดิมไดร้ บั จดั สรรนา้ 3.854 ลา้ น ลบ.ม./ปี - และก่อสรา้ งสถานีสบู นา้ ดบิ แลว้ เดมิ ไดร้ บั จดั สรรนา้ 0.876 ลา้ น ลบ.ม./ปี - 21,490.180 5.781 น- - 3,152.320 2.803 แหลง่ นา้ เดิม เดิมไดร้ บั จดั สรรนา้ 4.818 ลา้ น ลบ.ม./ปี แหลง่ นา้ เดิม ประสานทางโครงการ เดมิ ไดร้ บั จดั สรรนา้ 0.963 ลา้ น ลบ.ม./ปี น- - 21,490.180 1.927 เดมิ ไดร้ บั จดั สรรนา้ 4.818 ลา้ น ลบ.ม./ปี สง่ นา้ และบารุงรกั ษาทา่ โบสถ์ เดิมไดร้ บั จดั สรรนา้ 4.818 ลา้ น ลบ.ม./ปี - - 436.988 9.636 เพอ่ื ขอจดั สรรนา้ ดิบแลว้ ไม่ขดั ขอ้ ง น- - 595.613 1.926 ประสานทางโครงการสง่ นา้ น 8.300 และบารุงรกั ษาพลเทพ น- 8.830 - 4.818 เพอ่ื ขอจดั สรรนา้ ดิบแลว้ ไม่ขดั ขอ้ ง - 322.190 14.454 (ประสานเบอื้ งตน้ ) แหลง่ นา้ เดมิ ประสานทางโครงการส่งนา้ และบารุงรกั ษาโก-ลก เพอ่ื ขอจดั สรรนา้ ดบิ แลว้ ไม่ขดั ขอ้ ง แหล่งนา้ เดิม ปัจจบุ นั ใชร้ ว่ มกับ แม่นา้ นครนายก แหล่งนา้ เดิม แตย่ ังไม่ไดข้ อจดั สรรนา้ ดิบเพมิ่ รบั นา้ ประปามาจาก กปภ.สิงหบ์ รุ ี (สนผ.หนองบวั ) 15

กำลังผลิต ลำดบั แผนงำนโครงกำร (ลบ.ม./วนั ) ผู้ใช้นำ้ แหล่งนำ้ ดบิ ทใ่ี ช้ หน่วยงำน วงเงิน เพม่ิ รับผิดชอบ (รำย) /กำรขอ (ล้ำนบำท) ส่วนเพม่ิ รวมเป็ น อนุญำตใช้ 2.โครงกำรเพอื่ กำรพัฒนำปี 2563 โครงกำรก่อสร้ำงปรับปรุงขยำย (แผนงำนก่อสร้ำงปรับปรุงขยำย และ แผนกำรบริหำรจัดกำรลดนำ้ สูญเสีย) 1 กปภ.สาขาพทั ยา-แหลมฉบงั - 1,848.979 96,000 669,600 140,000 อา่ งเก็บนา้ บางพระ กรมชลประทาน กรมชลประทาน ศรีราชา (แหลง่ นา้ เดมิ ) [รองรบั โครงการเขตพฒั นาพเิ ศษภาค - ปรมิ าณนา้ ทา่ ในพนื้ ท่ี ตะวนั ออก (EEC)] - ผนั นา้ ผ่านระบบทอ่ สง่ นา้ คลองพระองคเ์ จา้ ไชยานชุ ิต - ผันนา้ จากล่มุ นา้ คลองวงั โตนด ผ่านระบบทอ่ ส่งนา้ อา่ งประแสร-์ อา่ งหนองคอ้ -อา่ งบางพระ 2 กปภ.สาขาชลบรุ ี-พนสั นิคม- 2,126.028 96,000 427,200 105,000 อา่ งเก็บนา้ บางพระ (พานทอง)-(ทา่ บญุ มี) (แหล่งนา้ เดมิ ) ระยะท่ี 2 [รองรบั โครงการเขตพฒั นา - ปรมิ าณนา้ ทา่ ในพนื้ ที่ พเิ ศษภาคตะวนั ออก (EEC)] - ผันนา้ ผ่านระบบทอ่ สง่ นา้ คลองพระองคเ์ จา้ ไชยานชุ ิต - ผนั นา้ จากล่มุ นา้ คลองวงั โตนด ผ่านระบบทอ่ สง่ นา้ อา่ งประแสร-์ อา่ งหนองคอ้ -อา่ งบางพระ 11

ปริมำณนำ้ ตน้ ทนุ ทใ่ี ช้ได้ กำรประสำนขอใช้แหล่งนำ้ หมำยเหตุ อ่ำงฯ แม่นำ้ / ลำนำ้ ปริมำณนำ้ ท่ี กับหน่วยงำนทเี่ ก่ียวข้อง ปรมิ ำณนำ้ ปริมำณนำ้ ทำ่ กปภ. ขอรับ ควำมจุ ไหลลงอำ่ งฯ รำยปี เฉล่ีย กำรจดั สรร (ลำ้ น ลบ.ม.) เฉล่ียรำยปี ณ จดุ สูบ (ล้ำน ลบ.ม./ปี ) (ล้ำน ลบ.ม./ปี ) (ล้ำน ลบ.ม./ปี ) น 117 221 - 166 เดมิ ไดร้ บั จดั สรรนา้ 96 ลา้ น ลบ.ม./ปี - 51 - 26 - 70 - 70 ป.ชลบรุ ี 34 ลา้ น ลบ.ม./ปี + ป.พทั ยา 36 ลา้ น ลบ.ม./ปี - 100 - 70 อย่รู ะหวา่ งประสานงาน กรมชลประทานเพอ่ื ขอจดั สรรนา้ เพมิ่ 70 ลา้ น ลบ.ม./ปี น 117 221 - 166 เดมิ ไดร้ บั จดั สรรนา้ 96 ลา้ น ลบ.ม./ปี - 51 - 26 - 70 - 70 ป.ชลบรุ ี 34 ลา้ น ลบ.ม./ปี - 100 - + ป.พทั ยา 36 ลา้ น ลบ.ม./ปี 70 อย่รู ะหวา่ งประสานงาน รองรบั แผนงานโครงการปรบั ปรุงขยาย กรมชลประทานเพอ่ื ขอจดั สรรนา้ 2 แผนงาน [กปภ.สาขาพทั ยา- เพมิ่ 70 ลา้ น ลบ.ม./ปี แหลมฉบงั -ศรรี าชา 35 ลา้ น ลบ.ม./ปี และ กปภ.สาขาชลบรุ ี-พนสั นคิ ม- (พานทอง)-(ทา่ บญุ มี) (ระยะที่ 2) 35 ลา้ น ลบ.ม./ปี ] 16

กำลังผลิต ลำดบั แผนงำนโครงกำร (ลบ.ม./วนั ) ผู้ใช้นำ้ แหล่งนำ้ ดบิ ทใ่ี ช้ หน่วยงำน วงเงิน เพม่ิ รับผิดชอบ (รำย) /กำรขอ (ล้ำนบำท) ส่วนเพม่ิ รวมเป็ น อนุญำตใช้ 2.โครงกำรเพอื่ กำรพัฒนำปี 2563 กรมชลประทาน โครงกำรก่อสร้ำงปรับปรุงขยำย (แผนงำนก่อสร้ำงปรับปรุงขยำย และ แผนกำรบริหำรจดั กำรลดนำ้ สูญเสีย) 3 กปภ.สาขาเชยี งใหม่-แม่ริม-สนั กาแพง 4,226.240 210,000 408,720 125,200 แม่นา้ ปิง (ฝายสินธกุ ิจปรชี า) ระยะท่ี 1-2 (แหลง่ นา้ ใหม่) แม่นา้ ปิง (ปตร.ทา่ วงั ตาล) กรมชลประทาน (แหล่งนา้ เดมิ ) อา่ งเก็บนา้ เข่ือนแม่กวงอดุ มธารา กรมชลประทาน (แหลง่ นา้ เดมิ ) - ปรมิ าณนา้ ทา่ ในพนื้ ที่ - ผันนา้ จากโครงการเพมิ่ ปรมิ าณนา้ ในอา่ งเก็บนา้ เข่ือนแม่กวงอดุ มธารา 4 กปภ.สาขายโสธร 399.832 12,000 26,400 6,350 แม่นา้ ชี (แหลง่ นา้ เดิม) แหล่งนา้ ธรรมชา 5 กปภ.สาขานาทวี 348.390 9,600 15,600 6,045 คลองจะนะ (แหลง่ นา้ เดิม) กรมชลประทาน คลองนาทวี (แหลง่ นา้ เดิม) กรมชลประทาน 11

ปริมำณนำ้ ตน้ ทนุ ทใ่ี ช้ได้ กำรประสำนขอใช้แหล่งนำ้ หมำยเหตุ อ่ำงฯ แม่นำ้ / ลำนำ้ ปริมำณนำ้ ท่ี กับหน่วยงำนทเี่ ก่ียวข้อง ปรมิ ำณนำ้ ปรมิ ำณนำ้ ทำ่ กปภ. ขอรับ ควำมจุ ไหลลงอำ่ งฯ รำยปี เฉล่ีย กำรจัดสรร (ลำ้ น ลบ.ม.) เฉล่ียรำยปี ณ จดุ สูบ (ล้ำน ลบ.ม./ปี ) (ล้ำน ลบ.ม./ปี ) (ล้ำน ลบ.ม./ปี ) น- - 666.980 52.560 ประสานทางโครงการส่งนา้ และ รองรบั โครงการในระยะท่ี 1 น- น 263 บารุงรกั ษาแม่แฝก-แม่งดั เพอื่ ขอ - จดั สรรนา้ ดบิ เบือ้ งตน้ แลว้ ไม่ขดั ขอ้ ง - - 1,316.310 13.140 ประสานทางโครงการชลประทาน - เดิมไดร้ บั จดั สรรนา้ 4.38 ลา้ น ลบ.ม./ปี าติ - น- เชยี งใหม่ เพอ่ื ขอจดั สรรนา้ ดิบเพม่ิ - รองรบั โครงการในระยะที่ 2 น- เบอื้ งตน้ แลว้ ไม่ขดั ขอ้ ง 362 - 36.792 เดิมไดร้ บั จดั สรรนา้ 13.14 ลา้ น ลบ.ม./ปี 202 - - 160 - - ประสานทางโครงการสง่ นา้ และ รองรบั โครงการในระยะที่ 2 บารุงรกั ษาเข่ือนแม่กวงอดุ มธารา โครงการเพม่ิ ปริมาณนา้ ในอา่ งเก็บนา้ เพอ่ื ขอจดั สรรนา้ ดิบเพม่ิ เข่ือนแม่กวงอดุ มธารา (ลมุ่ นา้ แม่แตง- เบือ้ งตน้ แลว้ ไม่ขดั ขอ้ ง แม่งดั -แม่กวง) อย่รู ะหวา่ งดาเนินการ ก่อสรา้ ง โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พอ่ื การอปุ โภค-บริโภค 49.99 ลา้ น ลบ.ม./ปี - 72.630 9.636 เดิมไดร้ บั จดั สรรนา้ 5.26 ลา้ น ลบ.ม./ปี - 426.290 3.504 ประสานทางโครงการชลประทาน เดมิ ไดร้ บั จดั สรรนา้ 0.88 ลา้ น ลบ.ม./ปี สงขลา เพอื่ ขอจดั สรรนา้ ดิบเพมิ่ เบือ้ งตน้ แลว้ ไม่ขดั ขอ้ ง - 250.520 2.190 ประสานทางโครงการชลประทาน เดิมไดร้ บั จดั สรรนา้ 1.31 ลา้ น ลบ.ม./ปี สงขลา เพอื่ ขอจดั สรรนา้ ดิบเพมิ่ เบอื้ งตน้ แลว้ ไม่ขดั ขอ้ ง 17

กำลังผลิต ลำดบั แผนงำนโครงกำร (ลบ.ม./วนั ) ผู้ใช้นำ้ แหล่งนำ้ ดบิ ทใ่ี ช้ หน่วยงำน วงเงิน เพม่ิ รับผิดชอบ (รำย) /กำรขอ (ล้ำนบำท) ส่วนเพม่ิ รวมเป็ น อนุญำตใช้ 2.โครงกำรเพอื่ กำรพัฒนำปี 2563 แหลง่ นา้ ธรรมชา โครงกำรก่อสร้ำงปรับปรุงขยำย (แผนงำนก่อสร้ำงปรับปรุงขยำย และ แผนกำรบริหำรจัดกำรลดนำ้ สูญเสีย) 6 กปภ.สาขาภเู ขียว-(บา้ นเปา้ ) 162.596 4,800 13,200 5,020 หนองผักปัง (แหล่งนา้ เดิม) ลานา้ พรม (แหล่งนา้ เดิม) แหล่งนา้ ธรรมชา กรมชลประทาน อา่ งเก็บนา้ บงึ แกง้ (แหล่งนา้ เดิม) แหลง่ นา้ ธรรมชา แหล่งนา้ ธรรมชา 7 กปภ.สาขาจตั รุ สั 161.107 4,800 14,400 4,120 แม่นา้ ชี (แหล่งนา้ เดมิ ) อบต.เกาะกูด 8 กปภ.สาขาปราจนี บรุ ี (ประจนั ตคาม)- 331.970 12,000 27,600 14,700 แม่นา้ ปราจนี บรุ ี (แหลง่ นา้ เดิม) อบต.เกาะกูด อบต.เกาะกูด (ศรีมหาโพธิ) อบต.เกาะกูด โครงกำรก่อสร้ำงปรับปรุงกิจกำรประปำภำยหลังกำรรับโอน 9 กปภ.สาขาตราด (เกาะกูด) 24.849 1,560 1,560 420 สระเก็บนา้ 1 สระเก็บนา้ 2 สระเก็บนา้ 3 สระเก็บนา้ อา่ วสลดั รวมโครงกำรเพอื่ กำรพัฒนำปี 2563 9,629.991 446,760 1,604,280 406,855 รวมโครงกำรเพอื่ กำรพัฒนำปี 2562 + 2563 11,751.135 513,960 1,750,680 453,583 11

ปริมำณนำ้ ตน้ ทุนทใ่ี ช้ได้ กำรประสำนขอใช้แหล่งนำ้ หมำยเหตุ อำ่ งฯ แม่นำ้ / ลำนำ้ ปริมำณนำ้ ท่ี กับหน่วยงำนทเี่ กี่ยวข้อง ปรมิ ำณนำ้ ปริมำณนำ้ ทำ่ กปภ. ขอรับ ควำมจุ ไหลลงอำ่ งฯ รำยปี เฉล่ีย กำรจดั สรร (ล้ำน ลบ.ม.) เฉล่ียรำยปี ณ จดุ สูบ (ล้ำน ลบ.ม./ปี ) (ล้ำน ลบ.ม./ปี ) (ลำ้ น ลบ.ม./ปี ) าติ 1.600 188 - 3.942 - เดิมไดร้ บั จดั สรรนา้ 2.63 ลา้ น ลบ.ม./ปี - ใชแ้ หล่งนา้ ดิบจากหนองผกั ปัง ซง่ึ รบั นา้ าติ - - 74.240 0.438 จากเขื่อนจฬุ าภรณ์ ทมี่ ีความจเุ ก็บกัก 188 น 2.400 N/A - 0.438 ลา้ น ลบ.ม. และใชเ้ ป็นแหลง่ สารองนา้ ดบิ าติ - - 5.256 าติ - - 10.400 10.074 ในชว่ งฤดแุ ลง้ 3,000 เดมิ ไดร้ บั จดั สรรนา้ 0.438 ลา้ น ลบ.ม./ปี เดิมไดร้ บั จดั สรรนา้ 3.50 ลา้ น ลบ.ม./ปี เดมิ ไดร้ บั จดั สรรนา้ 5.69 ลา้ น ลบ.ม./ปี 0.050 0.400 - 0.360 เดิมไดร้ บั จดั สรรนา้ 0.18 ลา้ น ลบ.ม./ปี 0.020 เดมิ ไดร้ บั จดั สรรนา้ 0.13 ลา้ น ลบ.ม./ปี 0.005 0.100 - 0.080 0.110 0.150 - 0.130 18

3. ความเห็นของคณะอนุกรรมการขบั เคลอื่ นแผนแม่บทการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรนำ้ 3.1 เนื่องจากแผนปฏิบัติการมีเป้าหมายและรายละเอียดเพียงในระยะ ปี 2562-2563 เห็นควรให้ กปภ.จัดทำรายละเอียดของแผนปฏิบัติการเพิ่มเติมให้ครบทุกแผนงานที่ดำเนินการภายใต้ แผนแมบ่ ทฯนำ้ ทั้ง 5 แผนงาน 3.2 ให้ กปภ.ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเตรียมแหล่งน้ำต้นทุนให้เพียงพอ และ ชัดเจน สำหรบั การพฒั นาต่อไป 3.3 ให้ กปภ. จัดเตรียมความพร้อมในการเสนอของบประมาณ ทั้งนี้ หากมีรายการที่วงเงินเกิน 1,000 ล้านบาท ตอ้ งเสนอ กนช. อีกคร้ังกอ่ นเสนอคณะรฐั มนตรี 4. ข้อเสนอเพ่ือพจิ ารณา โครงการเพื่อการพัฒนาปี 2562 และปี 2563 ของ กปภ. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของ ระบบผลิต ระบบสง่ นำ้ และระบบจ่ายนำ้ ประปา โดยสามารถใหบ้ รกิ ารนำ้ ประปาท่มี ีคณุ ภาพใหแ้ กป่ ระชาชนได้ เพียงพอต่อความต้องการ เป็นการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาค ส่งเสริมสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน ของประชาชนให้ดียิ่งขึ้น และบริหารจัดการลดน้ำสูญเสียให้เป็นไปตามเป้าหมาย ทั้งยังสอดคล้องกับ แผนบริหารจดั การทรพั ยากรนำ้ 20 ปี ดา้ นท่ี 1 การจดั การนำ้ อปุ โภค บริโภค จงึ เสนอทป่ี ระชุม 4.1 เห็นชอบในหลกั การโครงการเพ่อื การพัฒนาปี 2562 และปี 2563 ของ กปภ. 4.2 ให้ กปภ. นำความเหน็ ของคณะอนุกรรมการฯ ไปพิจารณาดำเนนิ การ จึงเรียนทป่ี ระชุมเพ่ือโปรดพิจารณา มตทิ ่ีประชมุ ...........................................................…………………………………………………………………… .....………... ………………………………………………………………………………………..………………………………………………...................… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………................... ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………................... ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………................... ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………................... ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………................... ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………................... ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………................... ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………................... ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………................... ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………................... ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………................... ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………................... 119

ระเบียบวาระที่ 4 เรือ่ งเพ่อื พิจารณา วาระที่ 4.2 โครงการขนาดใหญแ ละโครงการสาํ คัญ 4.2.1 โครงการพัฒนาแหลง นาํ้ และการจดั การทรัพยากรนํา้ รองรบั เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก 120

ระเบียบวาระท่ี ๔ เรือ่ งเพือ่ พจิ ารณา วาระท่ี ๔.2 แผนงานโครงการขนาดใหญแ่ ละโครงการสาคัญ 1. เรอ่ื งเดมิ สืบเนื่องจากการประชุมคณะอนุกรรมการขับเคล่ือนโครงการขนาดใหญ่และโครงการสาคัญ ครั้งที่ 3/2562 เม่ือวันท่ี 6 ธันวาคม 2562 มีรองนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ) ประธาน อนกุ รรมการ เป็นประธานการประชุม ไดพ้ ิจารณาโครงการท่ีมีผลการศึกษาตามแผนแม่บท และมีผลสัมฤทธ์ิสูง สอดคล้องกับการแก้ไขปัญหาอุทกภัยและภัยแล้งอย่างเป็นระบบ (Area Based) ซ่ึงท่ีประชุมมีมติเห็นชอบ ให้เป็นโครงการขนาดใหญ่และโครงการสาคัญ และเสนอคณะกรรมการทรัพยากรน้าแห่งชาติ คร้ังท่ี 3/2562 จานวน 2 โครงการ ไดแ้ ก่ (1) โครงการพัฒนาแหล่งน้าและการจัดการทรัพยากรน้ารองรับเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวนั ออก (ปี 2563-2580) (2) แผนหลักการพัฒนาหนองหาร จังหวัดสกลนคร (3) เป้าหมายแผนงานโครงการขนาดใหญ่และโครงการสาคญั 2. เหตผุ ลและความจาเป็นทตี่ อ้ งเสนอคณะกรรมการทรพั ยากรนาแห่งชาติ 2.1 ตามหลักเกณฑ์การเสนอเรื่องเข้าคณะกรรมการทรัพยากรน้าแห่งชาติ ข้อ 1.3 เรื่องการขอความเห็นต่อโครงการขนาดใหญ่และโครงการสาคัญเพื่อประกอบการพิจารณาคณะรัฐมนตรี (1) การริเริ่ม/เปิดโครงการขนาดให ญ่หรือโครงการสาคัญที่เก่ียวข้องกับการบริหารจัดการน้าท่ีมี วงเงินเกิน 1,000 ล้านบาท เพื่อไปเตรียมความพร้อมโครงการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน หรือหนว่ ยงานอื่นของรัฐ 2.2 คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนโครงการขนาดใหญ่และโครงการสาคัญ มีมติเห็นชอบ ให้ทง้ั 2 โครงการ เป็นโครงการขนาดใหญ่และโครงการสาคัญ ๓. ระเบียบ ขอ้ กฎหมาย หรือคาสง่ั ทเี่ กี่ยวข้อง 3.1 ตามพระราชบัญญัติทรัพยากรน้า พ.ศ. 2561 ให้กนช. มีหน้าที่และอานาจ ตามมาตรา 17 (1) จัดทานโยบายและแผนแม่บทเกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้าที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์เพ่ือเสนอ คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ และ (2) พิจารณาและให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการของหน่วยงานของรัฐ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท่ีเก่ียวกับทรัพยากรน้าและแผนงบประมาณการบริหารทรัพยากรน้า แบบบูรณาการให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนแม่บทตาม (1) และเสนอคณะรัฐมนตรีเพ่ือพิจารณา ในการจดั ทางบประมาณประจาปี 3.2 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการเสนอเร่ืองและการประชุมคณะรัฐมนตรี พ.ศ. ๒๕๔๘ มาตรา ๔ การเสนอเร่ืองต่อคณะรัฐมนตรี ให้เสนอได้เฉพาะเร่ืองดังต่อไปนี้ (๘) การริเร่ิมโครงการลงทุนขนาดใหญ่ ของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ ท่ีมีวงเงินตามท่ีคณะรัฐมนตรีกาหนด เวน้ แต่โครงการลงทุนทีก่ าหนดในแผนงาน ทคี่ ณะรฐั มนตรไี ด้มมี ติอนมุ ตั ิหรอื เห็นชอบกับแผนงานน้ัน ฝ่ายเลขานุการ กนช. ไดร้ วบรวมข้อมูล โดยมรี ายละเอียดตามวาระ ดังนี 4.2.1 โครงการพัฒนาแหล่งน้าและการจัดการทรัพยาก รน้ารองรับเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวนั ออก (ปี 2563-2580) 4.2.2 แผนหลักการพัฒนาหนองหาร จงั หวัดสกลนคร 4.2.3 เปา้ หมายแผนงานโครงการขนาดใหญ่และโครงการสาคญั 121

ระเบยี บวาระท่ี ๔ เรื่องเพ่ือพิจารณา วาระที่ ๔.2 แผนงานโครงการขนาดใหญแ่ ละโครงการสำคัญ (ต่อ) 4.2.1 โครงการพฒั นาแหลง่ นำ้ และการจัดการทรัพยากรน้ำรองรับเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (ปี ๒๕๖๓-๒๕๘๐) 1. เร่ืองเดมิ ภาคตะวันออกเป็นพื้นที่เศรษฐกิจสำคัญ เป็นฐานการผลิตอุตสาหกรรมหลักของประเทศ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมปิโตรเคมี พลังงาน และยานยนต์ เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ อีกทั้งเป็นแหล่งเกษตรกรรม ผลิตผลไม้คุณภาพดี และมีชื่อเสียงระดับนานาชาติ โดยภาคตะวันออกมีความได้เปรียบทางภูมิศาสตร์ มคี วามพรอ้ มด้านระบบเครอื ขา่ ยขนส่งทัง้ ในประเทศและเช่อื มโยงสปู่ ระเทศอาเซียน ดังนั้น รัฐบาลจึงได้ริเริ่มโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor Development) หรือ เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ใน 3 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดชลบุรี จังหวัดระยอง และจังหวัดฉะเชิงเทรา เกิดการพัฒนาเมืองใหม่และเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ ได้แก่ เขตนวัตกรรม ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi) เขตส่งเสริมอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัล (EECd) ศูนย์นวัตกรรม การแพทย์ครบวงจร ธรรมศาสตร์ พัทยา (EECmd) และเมืองการบินภาคตะวันออก (EEC-A) รวมถึง เขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษสระแก้ว และเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตราด จากการประชุมคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (กนช.) ครั้งที่ 1/2561 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพนั ธ์ 2561 ได้มมี ติเหน็ ชอบในหลักการการบรหิ ารจัดการน้ำและแนวทางการพัฒนาเพื่อรองรับระเบียง เศรษฐกิจภาคตะวนั ออก (EEC) ดังนี้ (1) แผนการพัฒนาเพื่อรองรับ EEC ในระยะ 10 ปี ที่กรมชลประทานเสนอ และให้หน่วยงาน ท่ีเกี่ยวขอ้ งเตรียมความพรอ้ มโครงการต่อไป (2) มอบหมายให้สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) รว่ มกบั หน่วยงานที่เก่ียวข้องในการใช้น้ำ และอื่น ๆ จัดทำแผนปฏิบัติการและจัดลำดับความสำคัญให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาของ EEC รวมทั้งระบบ โครงขา่ ยนำ้ ทจ่ี ำเป็น และพจิ ารณาในเรือ่ งการบรรเทาอุทกภยั ดว้ ย (3) มอบหมายให้ สทนช. เป็นหน่วยงานหลัก ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดทำแผนหลัก เพื่อรองรับการพัฒนาในระยะ 20 ปี รวมทั้งทบทวนความเพียงพอของการพัฒนาในระยะ 10 ปี ให้ครอบคลุม ถึงเทคโนโลยี 3Rs การพัฒนาน้ำบาดาลชั้นสูง และการผลิตน้ำจืดจากน้ำทะเล ทั้งนี้ ให้พิจารณาแนวทางการ บรหิ ารจดั การนำ้ จากลุม่ น้ำขา้ งเคยี งด้วย ๒. ขอ้ เทจ็ จริง/สาระสำคัญ กรมชลประทานได้ดำเนินการจัดทำแผนการพัฒนาแหล่งน้ำตามภารกิจเพื่อรองรับ EEC ในระยะ 10 ปี เสรจ็ แล้ว และได้โอนงบประมาณปี 2561 จำนวน 25 ลา้ นบาท ให้ สทนช. ดำเนินการโครงการศกึ ษา จัดทำแผนหลักการพัฒนาและจัดการทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก โดยทบทวนแผนปฏิบัติการตามที่ กรมชลประทานไดเ้ สนอไว้ พร้อมทัง้ จัดทำแผนหลกั เพื่อรองรับการพฒั นาในระยะ ปี 20 จากผลการศึกษาดังกล่าวดำเนินการครอบคลุม จังหวัดภาคตะวันออก โดยสามารถจำแนก 8 ความต้องการใช้น้ำและแหล่งน้ำต้นทุนที่มีอยู่ รวมถึงแผนการพัฒนาแหล่งน้ำและการจัดการทรัพยากรน้ำ ปี 20 ของพ้ืนทีเ่ ขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (EEC) ดังน้ี 121-1

(1) ด้านความต้องการใช้น้ำของพื้นที่ 3 จังหวัด เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) มีความเสี่ยง ต่อการขาดแคลนน้ำ โดยเฉพาะด้านอปุ โภคบริโภค ซง่ึ ในอนาคตจำเป็นจะต้องรองรับความตอ้ งการใช้น้ำท่เี พิ่มมากขึ้น ทัง้ จากการเพ่มิ ของจำนวนประชากรและการพฒั นาในดา้ นตา่ ง ๆ อาทิ อุตสาหกรรมและการท่องเทย่ี ว รวมถงึ ความเสย่ี ง ขาดแคลนทางด้านการเกษตร เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 65 ของพื้นที่ EEC เป็นพื้นที่ เกษตรกรรม ทั้งนี้ จากการประเมินความต้องการใช้น้ำทุกภาคส่วนพบว่าพื้นที่ 3 จังหวัด EEC ในปี 2560 มคี วามต้องการใช้น้ำถึง 2,419 ลา้ น ลบ.ม. หรือคดิ เปน็ รอ้ ยละ 58 ของภาคตะวนั ออก (4,167 ลา้ น ลบ.ม.) ในการ ประเมินความต้องการใช้น้ำในระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2580) จากการขยายตัวของประชากร จาก 4 ล้านคนในปี 2560 เพิ่มเปน็ 6 ลา้ นคนในปี 2580 (สำนกั งานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก (สกพอ.)) และการประเมินการขยายตวั ภาคอุตสาหกรรม รวมถงึ ภาคเกษตรกรรม พบว่ามคี วาม ตอ้ งการใชน้ ำ้ เพ่มิ ขน้ึ ในทัง้ 3 จงั หวดั ดังน้ี (1.1) จังหวัดชลบุรี ในปี 2560 จำนวน 469 ล้าน ลบ.ม. ปี 2570 จำนวน 623 ล้าน ลบ.ม. และปี 2580 เพิ่มเป็น 703 ล้าน ลบ.ม. เพิ่มขึ้น ร้อยละ 50 เมื่อเทียบกับปี 2560 โดยเพิ่มจาก ด้านอุตสาหกรรมเป็นหลัก (1.2) จังหวัดระยอง ในปี 2560 จำนวน 494 ล้าน ลบ.ม. ปี 2570 จำนวน 682 ล้าน ลบ.ม. และปี 2580 เพิ่มเป็น 749 ล้าน ลบ.ม. เพิ่มขึ้น ร้อยละ 52 เมื่อเทียบกับปี 2560 โดยเพิ่มจาก ดา้ นอุตสาหกรรมเป็นหลกั (1.3) จงั หวัดฉะเชงิ เทรา ในปี 2560 จำนวน 1,456 ล้าน ลบ.ม. ปี 2570 จำนวน 1,583 ล้าน ลบ.ม. และปี 2580 เพิ่มเป็น 1,637 ล้าน ลบ.ม.เพิ่มขึ้นร้อยละ 12 เมื่อเทียบกับปี 2560 โดยเพ่ิมจากด้านเกษตรกรรมเปน็ หลกั (2) ด้านแหลง่ น้ำต้นทนุ ของพื้นท่ี 3 จังหวัด เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก (EEC) มกี ารบรหิ าร จดั การนำ้ จากแหล่งน้ำนอกลุ่มน้ำ แหล่งนำ้ ผิวดิน และนำ้ บาดาล โดยในปี 2560 มีน้ำตน้ ทุนท้งั ส้ิน 2,539 ล้าน ลบ.ม. จำแนกเป็น ปริมาณน้ำที่จัดสรรจากลุ่มน้ำเจ้าพระยา 597 ล้าน ลบ.ม., ลุ่มน้ำปราจีนบุรี และลุ่มน้ำนครนายก 395 ล้าน ลบ.ม., อ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่และขนาดกลาง 23 แห่ง 1,368 ล้าน ลบ.ม., โครงข่ายท่อผันน้ำ คลองพระองค์ไชยานุชิต-อา่ งเก็บน้ำบางพระ 70 ล้าน ลบ.ม. โครงขา่ ยทอ่ ผันน้ำแมน่ ้ำบางปะกง-อ่างเก็บน้ำบางพระ 30 ลา้ น ลบ.ม. และน้ำบาดาล 79 ลา้ น ลบ.ม. จะเห็นไดว้ า่ การพัฒนาแหล่งน้ำ และโครงข่ายทอ่ สง่ น้ำในภาคตะวนั ออก ในปัจจุบันสามารถเชื่อมโยงแหล่งน้ำต้นทุนผิวดิน อีกทั้งมีการจัดสรรน้ำจากลุ่มน้ำนอกภาคตะวันออก เข้ามาบริหาร จัดการน้ำในพนื้ ท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออกไดอ้ ย่างเพียงพอ จากการประเมินความต้องการใช้น้ำในระยะ 10 ปี (ปี 2570) และ 20 ปี (ปี 2580) และ พิจารณารวมถึงโครงการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อรองรับ EEC ในระยะ 10 ปี ที่กรมชลประทานเสนอตามมติ คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2560 และวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 แล้ว พบว่า มีการขาด แคลนนำ้ - ปี 2570 มีการขาดแคลนน้ำเพ่ือการอุปโภค-บริโภค และอตุ สาหกรรม ในพ้นื ทจ่ี งั หวัดชลบุรี จังหวัดระยอง และจังหวัดฉะเชิงเทรา รวม 6.07 ล้าน ลบ.ม. และขาดน้ำเพื่อการเกษตรกรรมในจังหวัดฉะเชิงเทรา และจงั หวัดระยอง 51.15 ลา้ น ลบ.ม. - ปี 2580 มีการขาดแคลนน้ำเพื่อการอุปโภค-บริโภค และอุตสาหกรรม ในพื้นที่จังหวัด ชลบุรี จังหวัดระยอง และจังหวัดฉะเชิงเทรา รวม 8.05 ล้าน ลบ.ม. และขาดแคลนน้ำเพื่อการเกษตรกรรม ในจังหวัดชลบุรี จงั หวัดระยอง และจังหวดั ฉะเชงิ เทรา 27.69 ล้าน ลบ.ม. 121-2

จึงมีความจำเปน็ ต้องมีโครงการพัฒนาแหล่งน้ำเพิ่มเติม โดยมีแบ่งแผนการพัฒนาเป็น 2 ช่วง คอื ชว่ งปี 2563 - 2570 และชว่ งปี 2571 - 2580 เพอื่ ให้สามารถรองรบั ความต้องการใช้น้ำได้ถึงปี 2580 (3) โครงการพัฒนาแหล่งน้ำและการจัดการทรัพยากรน้ำรองรับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ปี 2563 - 2580) (3.1) แผนงานพฒั นาแหล่งนำ้ ต้นทุน (Supply Side Management) (3.1.1) แผนงานพัฒนาแหล่งน้ำต้นทุนในช่วงปี 2563 - 2570 สรุปโครงการ พัฒนาแหลง่ น้ำทัง้ หมดเพ่อื รองรบั EEC ถงึ ปี พ.ศ. 2570 รวมทง้ั สน้ิ 33 โครงการ ดังน้ี แผนงานของหน่วยงาน 23 โครงการ เพิ่มน้ำต้นทุน 629.2 ล้าน ลบ.ม. ประกอบดว้ ย - ปรับปรุงอ่างเก็บน้ำเดิมเพื่อเพิ่มความจุ 6 แห่ง ได้แก่ อ่างเก็บน้ำหนอง ค้อ อ่างเก็บน้ำหนองปลาไหล อ่างเก็บน้ำบ้านบึง อ่างเก็บน้ำมาบประชัน อ่างเก็บน้ำคลองหลวง และ อ่างเก็บ น้ำคลองสยี ดั เพ่มิ นำ้ ต้นทนุ 91.47 ลา้ น ลบ.ม. ดำเนินการโดยกรมชลประทาน - ก่อสร้างอ่างเก็บน้ำใหม่ 10 แห่ง ในพื้นที่ EEC 3 จังหวัด และจังหวัด ข้างเคียงที่ผันน้ำมายังพื้นที่ EEC ได้แก่ อ่างเก็บน้ำคลองพะวาใหญ่ อ่างเก็บน้ำคลองหางแมว อ่างเก็บน้ำ คลองวังโตนด อ่างเก็บน้ำคลองกระแส อ่างเก็บน้ำคลองกะพง อ่างเก็บน้ำห้วยกรอกเคียน อ่างเก็บน้ำ หนองกระทิง อ่างเก็บน้ำคลองโพล้ และอ่างเก็บน้ำคลองน้ำเขียว ดำเนินการโดยกรมชลประทาน และอ่างเก็บน้ำเขา จอมแห-เขานัง่ ยอง ดำเนินการโดยจังหวัดระยอง เพมิ่ นำ้ ต้นทนุ 208.72 ลา้ น ลบ.ม. - ปรับปรงุ ระบบเครือข่ายน้ำเดิม 1 ระบบ ได้แก่ ระบบเครือข่ายน้ำอ่างเก็บน้ำ คลองใหญ-่ อา่ งเกบ็ น้ำหนองปลาไหล (ไม่เพม่ิ น้ำต้นทนุ ) ดำเนนิ การโดยกรมชลประทาน - ก่อสร้างระบบเครือข่ายน้ำใหม่ 2 ระบบ ได้แก่ ระบบเครือข่ายน้ำอ่าง เก็บนำ้ ประแสร์ – อ่างเกบ็ นำ้ หนองคอ้ - อา่ งเก็บนำ้ บางพระ (ไมเ่ พมิ่ น้ำต้นทุน) และระบบผนั นำ้ พานทอง-อ่างเก็บน้ำ บางพระ เพม่ิ น้ำตน้ ทนุ 20 ลา้ น ลบ.ม. ดำเนินการโดยกรมชลประทาน - ก่อสร้างระบบสูบกลับ 1 ระบบ ได้แก่ ระบบสูบกลับคลองสะพาน- อ่างเกบ็ นำ้ ประแสร์ เสน้ ท่ี 1 เพ่มิ น้ำตน้ ทุน 50 ล้าน ลบ.ม. ดำเนนิ การโดยกรมชลประทาน - การพัฒนากลุ่มบ่อน้ำบาดาลสำหรับภาคอุตสาหกรรม (Industrial Well Field) 12 ล้าน ลบ.ม. ดำเนินการโดยกรมทรพั ยากรนำ้ บาดาล - พัฒนาพื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากให้เป็นแก้มลิงในพื้นที่โครงการส่งน้ำและ บำรงุ รกั ษาบางพลวง และก่อสร้างประตูระบายนำ้ บ้านวงั ชนั 200 ล้าน ลบ.ม. ดำเนินการโดยกรมชลประทาน - สระสำรองน้ำเอกชน 47 ล้าน ลบ.ม. (โครงการสระทับมา ดำเนินการ โดยบรษิ ัท จัดการและพัฒนาทรพั ยากรน้ำภาคตะวันออก จำกดั (มหาชน) (East Water)) สทนช. เสนอโครงการเพิ่มเติม 3 โครงการ ปริมาณน้ำเพิ่มขึ้น 77 ล้าน ลบ.ม. ประกอบด้วย - ระบบสูบกลับคลองสะพาน-อ่างเก็บน้ำประแสร์ เส้นที่ 2 เพิ่มน้ำต้นทุน 50 ล้าน ลบ.ม. ดำเนินการโดยกรมชลประทาน - ปรับปรุงระบบเครือข่ายน้ำเดิม 1 ระบบ ได้แก่ ระบบผันน้ำแม่น้ำบางปะกง- อ่างเกบ็ น้ำบางพระ (เอกชน) เพมิ่ นำ้ ต้นทุน 20 ลา้ น ลบ.ม. ดำเนินการโดย East Water - ขุดลอกคลองในพื้นที่โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาพระองค์ไชยานุชิต 7 ล้าน ลบ.ม. ดำเนินการโดยกรมชลประทาน 121-3

คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนโครงการขนาดใหญ่และโครงการสำคัญ ให้พิจารณาเพิ่มเติมแผนงาน/โครงการในส่วนของระบบเครือข่ายการส่งน้ำที่ดำเนินการโดยการประปา ส่วนภูมิภาค (กปภ.) และบริษัทจัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) (East Water) เพื่อแสดงความเช่ือมโยงการพัฒนาระบบจา่ ยนำ้ กับการพัฒนาแหลง่ น้ำต้นทนุ จำนวน 6 โครงการ ประกอบด้วย - แผนงานก่อสรา้ งปรบั ปรุงขยาย กปภ. สาขาชลบรุ ี-พนัสนคิ ม-(พานทอง)- (ท่าบุญมี) ระยะที่ 1 เพิ่มกำลังผลิต 4,000 ลบ.ม./ชั่วโมง และขยายระบบจำหน่ายมีหน่วยรับบรกิ ารเพิ่มข้นึ 50,000 ราย ดำเนนิ การโดย กปภ. ปี 2561-2564 (งบประมาณ + รายได้ กปภ.) - แผนงานก่อสร้างปรับปรุงขยาย กปภ. สาขาบ้านฉาง (รองรับ EEC) เพิ่มกำลังผลิต 2,000 ลบ.ม./ชั่วโมง และขยายระบบจำหน่ายมีหน่วยรับบริการเพิ่มขึ้น 30,000 ราย ดำเนนิ การโดย กปภ. ปี 2561 – 2564 (งบประมาณ + รายได้ กปภ.) - แผนงานก่อสร้างปรับปรุงขยาย กปภ. สาขาพัทยา-แหลมฉบัง-ศรีราชา เพ่ิมกำลังผลิต 4,000 ลบ.ม./ชว่ั โมง และขยายระบบจำหน่ายมีหน่วยรับบริการเพ่ิมข้ึน 140,000 ราย ความ ตอ้ งการน้ำต้นทุน 35 ล้าน ลบ.ม. ดำเนินการโดย กปภ. ปี 2565 (งบประมาณ + รายได้ กปภ.) - แผนงานกอ่ สร้างปรบั ปรุงขยาย กปภ. สาขาชลบรุ ี-พนสั นิคม-(พานทอง)- ท่าบุญมี ระยะที่ 2 เพิ่มกำลังผลิต 4,000 ลบ.ม./ชั่วโมง และขยายระบบจำหน่ายมีหน่วยรับบริการเพิ่มข้ึน 105,000 ราย ความต้องการน้ำต้นทุน 35 ล้าน ลบ.ม. ดำเนินการโดย กปภ. ปี 2565 (งบประมาณ + รายได้ กปภ.) - โครงการก่อสร้างระบบท่อส่งน้ำดิบอ่างเก็บน้ำคลองหลวง-ชลบุรี (ความสามารถในการส่งจา่ ยนำ้ 30 ลา้ น ลบ.ม./ปี) ดำเนนิ การโดย East Water ปี 2564-2563 )เงินลงทุน ของ East Water) - โครงการเพิ่มประสิทธิภาพและปริมาณการจ่ายน้ำท่อส่งน้ำหนองปลา ไหล-หนองคอ้ สามารถสง่ จา่ ยน้ำเพ่มิ ขึ้น 33 ล้าน ลบ.ม./ป)ี ดำเนินการโดย East Water ปี 2563 (เงนิ ลงทุน ของ East Water) รวมทั้งสิ้น 32 โครงการ ดังแสดงรายละเอียดโครงการพัฒนาแหล่งน้ำและ การจัดการทรัพยากรน้ำในชว่ งปี 2563-2570 ดงั แสดงรายละเอยี ดตามตารางท่ี 1 รวมปริมาณน้ำต้นทุนที่เพิ่มขึ้นสำหรับพื้นที่ EEC ในช่วงปี 2563 - 2570 ประมาณ 706.19 ล้าน ลบ.ม. ที่สามารถรองรับความต้องการใช้น้ำถึงปี พ.ศ. 2570 โดยไม่เกิด การขาดแคลนนำ้ อย่างไรก็ตามยังคงมีปัจจัยเสี่ยงดา้ นทรัพยากรน้ำในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก หากพจิ ารณาถึงความเสี่ยงท่ีจะเกิดการขาดแคลนน้ำเนื่องจากความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศในกรณีปีน้ำน้อย (ปี 2548) พบว่า ถึงแม้จะดำเนินการแล้วเสร็จตามแผนงานทั้งหมดแล้ว ยังมีปัญหาการขาดแคลนน้ำ ในปี 2570 ภาคอุปโภค-บริโภค และภาคอุตสาหกรรม 19.67 ล้าน ลบ.ม./ปี ภาคเกษตรกรรม 57.97 ล้าน ลบ.ม./ปี และในปี 2580 ภาคอุปโภค-บริโภคและภาคอุตสาหกรรม 83.58 ล้าน ลบ.ม./ปี ภาคเกษตรกรรม 49.38 ล้าน ลบ.ม./ปี นอกจากนี้แล้ว ยังมีประเด็นที่โครงการที่อาจไม่สามารถดำเนินการได้ ตามแผนงาน เนื่องจากปัญหาทางด้านสังคม จึงมีความจำเป็นที่ต้องเร่งดำเนินการโครงการทางเลือกเพื่อรองรับ ความเสี่ยงดังกล่าว เช่น โครงการผลิตน้ำจืดจากน้ำทะเล ซึ่งผลการศึกษาเบื้องต้น พบว่ามีศักยภาพที่จะ ดำเนินการเพื่อรองรับพื้นที่อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ และแหล่งท่องเที่ยวในปริมาณน้ำ จำนวน 70 ล้าน ลบ.ม./ปี 121-4

และหรือโครงการสัมปทานเอกชนพัฒนาระบบน้ำสำรองเพื่อรองรับความเสี่ยงดังกล่าว โดยโครงการผลิตน้ำจืดจาก น้ำทะเลมีศักยภาพการพัฒนาแบบร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน (PPP) จึงเสนอให้ สทนช. ร่วมกับ สำนกั งานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.) ศกึ ษาความเหมาะสม เพ่ือกำหนดพน้ื ที่ อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ พื้นที่เมือง/แหล่งท่องเที่ยว และรูปแบบการพัฒนาที่เหมาะสม จำนวน 1 โครงการ ดัง แสดงรายละเอียดตามตารางท่ี 1 (3.1.2) แผนงานพฒั นาแหลง่ น้ำตน้ ทนุ ในชว่ งปี 2571 - 2580 ท้งั สน้ิ 5 โครงการดังนี้ แผนงานของหน่วยงาน 3 โครงการ เพิ่มน้ำต้นทุน 91 ล้าน ลบ.ม. ประกอบดว้ ย - ก่อสร้างระบบสูบกลับ 2 ระบบ ได้แก่ ระบบสูบกลับอ่างเก็บน้ำคลอง หลวง และระบบสบู กลบั อา่ งเกบ็ นำ้ คลองสยี ัด เพิม่ นำ้ ตน้ ทุน 31 ล้าน ลบ.ม. ดำเนินการโดยกรมชลประทาน - ก่อสร้างอุโมงค์ส่งน้ำอ่างเก็บน้ำคลองพระสะทึง–อ่างเก็บน้ำคลองสียัด เพม่ิ นำ้ ตน้ ทนุ 60 ลา้ น ลบ.ม. ดำเนนิ การโดยกรมชลประทาน สทนช. เสนอโครงการเพิ่มเติม 2 โครงการ ปริมาณน้ำเพิ่มขึ้น 75 ล้าน ลบ.ม. ประกอบด้วย - ก่อสร้างระบบผันน้ำใหม่ 2 ระบบ ได้แก่ ระบบผันน้ำคลองวังโตนด- อ่างเกบ็ น้ำประแสร์ (เส้นที่ 2) เพม่ิ นำ้ ตน้ ทุน 55 ล้าน ลบ.ม.และระบบผันนำ้ อ่างเกบ็ นำ้ คลองโพล้ - อา่ งเกบ็ น้ำ ประแสร์ เพ่ิมนำ้ ตน้ ทนุ 20 ลา้ น ลบ.ม. ดำเนนิ การโดยกรมชลประทาน รวมทั้งสิ้น 5 โครงการ ดังแสดงรายละเอียดโครงการพัฒนาแหล่งน้ำและ การจดั การทรพั ยากรน้ำในชว่ งปี 2571-2580 ดังแสดงรายละเอียดตามตารางท่ี 2 รวมปริมาณน้ำต้นทุนที่เพิ่มขึ้นสำหรับพื้นที่ EEC ในช่วงปี 2571 - 2580 ประมาณ 166 ล้าน ลบ.ม. ที่สามารถรองรับความต้องการใช้น้ำถึงปี พ.ศ. 2580 โดยไม่เกิดการ ขาดแคลนนำ้ สรุปโครงการตามแผนงานพัฒนาแหล่งน้ำต้นทุน (Supply Side Management) ในช่วงปี 2563 – 2580 รวมจำนวนทงั้ สน้ิ 38 โครงการ (3.2) แผนการบรหิ ารจดั การดา้ นความต้องการใช้น้ำ (Demand Side Management) การบริหารจัดการด้านความต้องการใช้น้ำเป็นมาตรการที่จำเป็นต้องดำเนินการควบคู่กันไป กับการพัฒนาแหล่งนำ้ ตน้ ทุนเพ่ิมเตมิ เพื่อส่งเสริมใหม้ ีการใชน้ ้ำอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ซง่ึ จะทำให้เกิดการประหยัดน้ำ ลดการใชน้ ำ้ จากแหล่งน้ำธรรมชาติ ชะลอการพัฒนาแหล่งนำ้ ตลอดจนชว่ ยแก้ปัญหาน้ำเสียจากการลดปรมิ าณนำ้ เสยี ประกอบด้วย (3.2.1) น้ำอปุ โภค-บริโภค - การรณรงค์สง่ เสริมมาตรการ 3Rs เพอื่ ประหยัดการใช้น้ำ สง่ เสริมการใช้น้ำซ้ำ และการนำน้ำที่ผ่านการบำบัดแล้วมาใช้ประโยชน์ (น้ำ recycle) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำ และช่วยลด ปริมาณนำ้ เสยี ที่ต้องบำบัดได้อีกดว้ ย เสนอใหด้ ำเนินการโดยการประปาส่วนภูมิภาค และองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ - การปรับปรุงท่อส่ง-จ่ายน้ำระบบประปาของการประปาส่วนภูมิภาค และ ใช้การผลิตน้ำประปาแบบรวมศูนย์หรือ Water Cluster เพื่อลดปริมาณน้ำสูญเสียให้ได้ ร้อยละ 20 ภายใน ปี 2580 โดยมีแผนงานทชี่ ัดเจนแล้ว 3 แผนงาน ดงั นี้ 121-5

- แผนการบริหารจดั การลดนำ้ สญู เสีย กปภ. สาขาบ้านฉาง ดำเนินการโดย กปภ. ปี 2563-2566 (เงินรายได้ กปภ.) - แผนการบริหารจัดการลดน้ำสูญเสีย กปภ. สาขาชลบุรี-พนัสนิคม ดำเนนิ การโดย กปภ. ปี 2564-2568 (เงินรายได้ กปภ.) - แผนการบริหารจัดการลดน้ำสูญเสีย กปภ. สาขาพัทยา-แหลมฉบัง- ศรีราชา ดำเนินการโดย กปภ. ปี 2564-2568 (เงนิ รายได้ กปภ.) ดังแสดงรายละเอียดโครงการพัฒนาแหล่งน้ำและการจัดการทรัพยากรน้ำ ในชว่ งปี 2563-2570 ดังแสดงรายละเอยี ดตามตารางที่ 1 - พื้นที่เมืองใหม่ EEC ควรใช้ระบบท่อแยกระหว่างท่อระบายน้ำฝนและ ท่อรวบรวมน้ำเสีย เพื่อให้นำน้ำฝนไปใช้ประโยชน์ได้ ส่งเสริมให้มีการเวียนใช้น้ำซ้ำก่อนระบายทิ้ง และนำน้ำ ที่ผ่านการบำบัดแลว้ มาใชป้ ระโยชน์ เสนอให้ สกพอ. พจิ ารณาสง่ เสรมิ - ให้มีมาตรการบังคบั ให้ผู้ใช้น้ำรายใหญ่ เช่น อาคารขนาดใหญ่ ต้องนำน้ำ ที่ผ่านการบำบัดแล้วมาใช้ประโยชน์ ร้อยละ 10 ของปริมาณการใช้น้ำ ภายในปี 2580 เสนอให้ดำเนินการ โดยองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น (3.2.2) น้ำอุตสาหกรรม - การรณรงค์ส่งเสริมมาตรการ 3Rs ประหยัดการใช้น้ำ ส่งเสริมการใช้น้ำซ้ำ และการนำน้ำที่ผ่านการบำบัดแล้วมาใช้ประโยชน์ (น้ำ recycle) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำ ร้อยละ 20 ของปรมิ าณการใช้นำ้ ภายในปี 2580 - ให้มีมาตรการบงั คบั ให้นิคมอุตสาหกรรม สวนอุตสาหกรรม เขตประกอบการ อุตสาหกรรม และโรงงานอตุ สาหกรรมขนาดใหญ่ มบี ่อสำรองน้ำไว้ใชใ้ นฤดแู ล้ง - ให้มีมาตรการบังคบั ให้นิคมอุตสาหกรรม สวนอุตสาหกรรม เขตประกอบการ อุตสาหกรรม และโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ต้องมีการใช้น้ำซ้ำหรือนำน้ำที่ผ่านการบำบัดแล้วมาใช้ประโยชน์ อยา่ งน้อยรอ้ ยละ 20 ของปรมิ าณการใชน้ ้ำ ภายในปี 2580 เสนอให้ดำเนินการโดย การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และ กรมโรงงานอตุ สาหกรรม (3.2.3) นำ้ เพ่ือการเกษตรกรรม - การปลูกพืชที่ได้ผลตอบแทนสงู และการส่งเสริมเกษตรสมัยใหม่ และการ ใช้เทคโนโลยี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ได้แก่ การเพาะปลูกแบบโรงเรือน การควบคุมปัจจัยด้านต่าง ๆ การให้น้ำ แบบประหยัด ดำเนินการโดยกรมส่งเสริมการเกษตร กรมวิชาการเกษตร สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม กรมพัฒนาท่ีดนิ กรมชลประทาน และกรมทรพั ยากรน้ำ - การปรับลดพื้นที่เพาะปลูก (ในเขตชลประทาน) ให้สอดคล้องกับสภาพ การใช้ประโยชน์ทด่ี นิ และศักยภาพด้านน้ำ ดำเนนิ การโดยกรมชลประทาน - การเพิ่มประสิทธิภาพระบบชลประทาน ลดการสูญเสียน้ำ ร้อยละ 5 ของปริมาณการใชน้ ้ำ ภายในปี 2570 ประกอบด้วย - การปรับปรุงประสิทธิภาพระบบชลประทานตามแผนงานโครงการ ปรบั ปรุงระบบชลประทานเพอื่ บรรเทาอทุ กภัยและภัยแลง้ คลองทา่ ลาด คลองหลวง ตำบลพานทอง อำเภอพาน ทอง จังหวัดชลบุรี ปี 2565 -2568 ดำเนนิ การโดยกรมชลประทาน 121-6

- การปรับปรุงประสิทธิภาพโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาพระองค์ ไชยานุชติ และโครงการส่งน้ำและบำรงุ รักษารังสิตใต้ ตามท่ี สทนช. เสนอเพ่ิมเตมิ ปี 256๓-2565 ดำเนนิ การ โดยกรมชลประทาน - การพัฒนาแหล่งเก็บกักน้ำเพิ่มเติมในระดับพื้นท่ี (สระน้ำในไร่นา สระน้ำในพื้นที่สาธารณะ เช่น หมู่บ้าน ตำบล) เพิ่มประสิทธิภาพแหล่งเก็บกักน้ำเดิม เสนอให้ดำเนินการโดย กรมพฒั นาที่ดิน กรมชลประทาน กรมทรพั ยากรน้ำ และสำนักงานการปฏิรปู ท่ดี ินเพอื่ เกษตรกรรม (3.3) มาตรการอืน่ ๆ เพอ่ื แกไ้ ขปัญหาขาดแคลนน้ำ ทรพั ยากรน้ำบาดาลในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีศักยภาพท่ีจะพัฒนาข้ึนมาใช้ เพื่อเป็นแหล่งน้ำเสริมในพื้นที่ขาดแคลนน้ำ อย่างไรก็ตามข้อมูลทรัพยากรน้ำบาดาลที่มีอยู่ในปัจจุบัน ยังขาดรายละเอียดความสมบูรณ์และความเป็นปัจจุบันของข้อมูลที่จะนำมาพิจารณาตัดสินใจพัฒนาโครงการได้ จงึ เสนอให้กรมทรัพยากรน้ำบาดาล ดำเนนิ การการศึกษา สำรวจ และจัดทำข้อมูล จำนวน 3 โครงการ คือ (3.3.1) โครงการศึกษา สำรวจและจัดทำแผนที่น้ำบาดาล มาตราส่วน 1:50,000 พื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก แสดงศักยภาพแหล่งน้ำบาดาลทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ ให้ เปน็ ฐานขอ้ มลู ทสี่ ามารถนำไปใชใ้ นการบรหิ ารจดั การทรัพยากรน้ำบาดาลในระดับท้องถิ่นได้ (3.3.2) โครงการศึกษา สำรวจและประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการ พฒั นาแหลง่ นำ้ บาดาลขนาดใหญ่ ในพื้นที่เขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษภาคตะวนั ออก เพ่ือวางแผนและกำหนดทิศ ทางการพฒั นาและบรหิ ารจัดการนำ้ บาดาลในลักษณะเชิงพืน้ ที่แบบบรู ณาการ (3.3.3) จัดทำแผนแม่บทสำหรับการเติมน้ำลงสู่ชั้นน้ำใต้ดิน กำหนดพื้นที่ที่มีความ เหมาะสมในการดำเนนิ การ (3.4) แผนการปอ้ งกันและบรรเทาอทุ กภยั พื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกมีพื้นที่ประสบปัญหาอุทกภัยและปัญหาการ ระบายน้ำ ทำความเสียหายให้แก่พื้นที่เศรษฐกิจและพื้นที่ชุมชนเดิม จากปัญหาสภาพพื้นที่ลุ่ม ปริมาณฝน น้ำ ทะเลหนุน การขยายตัวของพื้นทช่ี ุมชนท่ีไม่เหมาะสม และลำน้ำตื้นเขินและการกีดขวางลำน้ำ สง่ ผลกระทบต่อ ศักยภาพการระบายน้ำ หน่วยราชการที่เกี่ยวข้องได้มีแผนงานก่อสร้างระบบป้องกันและบรรเทาอุทกภัยใน พ้ืนท่ีชมุ ชนแล้ว อยา่ งไรกต็ ามแผนงานก่อสรา้ งระบบป้องกันและบรรเทาอทุ กภยั ในพื้นท่ชี มุ ชนดงั กลา่ ว (3.4.1) ยงั ไม่ครอบคลุมพ้ืนท่ที ปี่ ระสบปัญหาอุทกภัย (3.4.2) ระบบป้องกันและบรรเทาอุทกภัยในพื้นที่ชุมชนที่ได้วางแผนไว้ก่อน ยังไม่ครอบคลุมพื้นที่เมืองและพื้นที่รองรับการพัฒนาเมืองที่กำหนดในแผนผังการใช้ประโยชน์ในที่ดิน ตามประกาศคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก เรื่องแผนผังการใช้ประโยชน์ที่ดิน และ แผนผังการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภค เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ.2562 จึง จำเป็นตอ้ งมีโครงการก่อสร้างระบบป้องกันและบรรเทาอุทกภัยเพิ่มเติมและการปรับปรุงขยายระบบป้องกันและ บรรเทาอทุ กภัยพ้ืนทช่ี มุ ชนท่ีได้มีการวางแผนไว้ แผนงานโครงการป้องกันและบรรเทาอุทกภัยในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออกที่เสนอดำเนินการ ในช่วงปี 2563-2580 มีจำนวนรวมทั้งสิ้น 25 โครงการ ดังแสดง รายละเอียดตามตารางที่ 3 โดยมีหน่วยงานรับผิดชอบดำเนินการ ได้แก่ กรมโยธาธิการและผังเมือง กรมชลประทาน เมืองพัทยา 121-7

(3.5) แผนการจัดการคณุ ภาพน้ำ ปัญหาคุณภาพน้ำผิวดินเสื่อมโทรมและปัญหาคุณภาพน้ำทะเลชายฝั่งเสื่อมโทรม เกิดจากการระบายน้ำเสียจากแหล่งกำเนิดน้ำเสียลงสู่แหล่งน้ำโดยปราศจากการบำบัดหรือบำบัด ไม่ได้มาตรฐาน การเพิ่มขึ้นของจำนวนแหล่งกำเนิดน้ำเสียและปริมาณน้ำเสียทีม่ ีการปล่อยน้ำเสียลงสู่แหล่งน้ำ โดยตรง ทำให้ปริมาณมลพิษที่ระบายลงสู่แหล่งน้ำเกินศักยภาพที่แหล่งน้ำจะรองรับได้ รวมทั้งขาดการวางแผน การจัดการสิ่งแวดล้อมที่เป็นระบบ ทำให้ยังมีแหล่งน้ำที่มีคุณภาพในเกณฑ์เสื่อมโทรม ส่งผลกระทบ ต่อสุขอนามัย คุณภาพชีวิต ของประชาชน และด้านเศรษฐกิจ คือ ผลกระทบด้านการท่องเที่ยว ซึ่งเป็น ภาคเศรษฐกิจสำคัญของพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก และด้านการประมงและเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ นอกจากนี้ยังทำให้ต้นทุนการผลิตน้ำประปาเพิ่มสูงขึ้นอีกด้วย โดยจำแนกปัญหาน้ำเสียจากแหล่งกำเนิดได้ 3 ประเภท คือ ปัญหาน้ำเสียชุมชน ปัญหาน้ำเสียอุตสาหกรรม และปัญหาน้ำเสียภาคการเกษตร มีแนวทาง ดำเนนิ การแก้ไขปัญหาคณุ ภาพนำ้ ดงั นี้ (3.5.1) การแก้ไขปญั หาน้ำเสียชุมชน การแก้ไขปัญหาน้ำเสียชุมชน เสนอใหด้ ำเนนิ การ ดังน้ี (1) จัดทำโครงการศึกษาจัดทำแผนหลักการจัดการน้ำเสียชุมชนสำหรับ พื้นท่ีภาคตะวันออก เสนอดำเนินการโดยกรมควบคุมมลพษิ (2) ปรับปรุงระบบรวบรวมและระบบบำบัดน้ำเสียชุมชนรวมที่มีอยู่ใน ปจั จบุ ันใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ ตลอดจนขยายระบบให้ครอบคลุมพนื้ ท่ีเมืองและชุมชน เพือ่ ให้รองรับปริมาณน้ำเสีย ทจี่ ะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต เสนอดำเนินการโดยเรง่ ดว่ น เนอ่ื งจากระบบเดิมมีการใช้งานมานานบางส่วนมีสภาพชำรุด รวม ระบบรวบรวมและระบบบำบัดน้ำเสียชุมชนเดิมที่เสนอปรับปรุงขยาย 16 แห่ง ดังแสดงรายละเอียดตาม ตารางที่ 4 เสนอดำเนินการโดยเมืองพัทยา องค์การจัดการน้ำเสีย กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น และ องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน ดงั แสดงรายละเอียดตามตารางท่ี 6 และ 7 (3) เสนอก่อสร้างระบบรวบรวมและระบบบำบัดน้ำเสียชุมชนรวมใหม่ ในพื้นที่เมืองและชุมชนหลักที่ยังไม่มีระบบบำบัดน้ำเสียชุมชนรวม โดยเสนอให้ดำเนินการเร่งด่วนในพื้นท่ี เมืองขนาดใหญแ่ ละขนาดกลาง หรือพืน้ ท่ชี ุมชนท่ตี ัง้ อยู่ในพื้นที่อ่อนไหวดา้ นสง่ิ แวดล้อม หรือบรเิ วณพ้นื ที่รับน้ำ ของแหล่งน้ำดิบเพื่อการผลิตน้ำประปา รวมระบบรวบรวมและระบบบำบัดน้ำเสียชุมชนที่เสนอก่อสร้างใหม่ 51 แห่ง รองรับน้ำเสียในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ตั้งอยู่และพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ใกล้เคียง ดังแสดงรายละเอียดตามตารางที่ 5 เสนอดำเนินการโดยเมืองพัทยา องค์การจัดการน้ำเสีย กรมสง่ เสริมการปกครองท้องถ่ิน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ดังแสดงรายละเอยี ดตามตารางที่ 6 และ 7 (4) เสนอโครงการส่งเสริมการจัดการน้ำเสยี ท่ีแหล่งกำเนิด ประกอบด้วย - โครงการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ให้ทุกภาคส่วนใช้น้ำอย่างประหยัด การใช้น้ำซำ้ การใชน้ ำ้ รไี ซเคลิ เพอ่ื ลดปรมิ าณการใช้น้ำ และปริมาณน้ำเสยี ทจ่ี ะระบายลงสู่แหลง่ น้ำ - โครงการรณรงค์ ส่งเสริมการติดตั้งถังดักไขมัน และระบบบำบัดน้ำ เสยี ตามบา้ นเรอื น และสถานประกอบการ - การกำหนดกฎเกณฑ์การติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสียที่แหล่งกำเนิด และการออกข้อบัญญัติท้องถิ่น แผนงานโครงการจัดการคุณภาพน้ำ ในส่วนของการแก้ไขปัญหาน้ำเสียชุมชน ที่เสนอดำเนินการ ในช่วงปี 2563-2570 มีจำนวนรวมทั้งสิ้น 24 โครงการ ดังแสดงรายละเอียด ตามตารางที่ 6 และในช่วงปี 2571-2580 มีจำนวนรวมทั้งสิ้น 9 โครงการ ดังแสดงรายละเอียด 121-8

ตามตารางที่ 7 โดยมีหน่วยงานรับผิดชอบดำเนินการ ได้แก่ กรมควบคุมมลพิษ องค์การจัดการน้ำเสีย เมืองพัทยา กรมสง่ เสริมการปกครองท้องถ่นิ และองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ (3.5.2) การแกไ้ ขปญั หาน้ำเสียอุตสาหกรรม - การแก้ไขปัญหาน้ำเสียอุตสาหกรรม เห็นควรใหห้ นว่ ยงานรบั ผดิ ชอบหลัก คือ การนคิ มอุตสาหกรรมแหง่ ประเทศไทยและกรมโรงงานอุตสาหกรรมดำเนินการ ดงั นี้ - เร่งรัดการใช้มาตรการ 3Rs เพื่อลดปริมาณน้ำเสีย รณรงค์ส่งเสริมให้มี การประหยัดน้ำ การใช้น้ำซ้ำ และการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำเพื่อลดปริมาณน้ำ เสียท่ีตอ้ งบำบดั และลดผลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อม - กำกับควบคุมการบำบัดน้ำเสียจากแหล่งกำเนิดให้เป็นไปตามกฎหมาย อย่างเครง่ ครัด เสนอให้ดำเนินการโดย การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และกรมโรงงาน อตุ สาหกรรม และเสนอให้กรมควบคุมมลพิษ พจิ ารณาปรบั ปรุงมาตรฐานนำ้ ท้ิงโดยเฉพาะข้อกำหนดท่ีเก่ียวกับ การควบคุมธาตุอาหาร Nitrogen และ Phosphorus ที่ส่งผลให้เกิด Eutrophication ในแหล่งน้ำต่าง ๆ ได้ และการกำหนดมาตรฐานอัตราการระบายมลพิษทางน้ำ (Loading) ตามขีดความสามารถในการรองรับมลพิษ และกำหนดใหม้ ีระบบการอนุญาตการระบายมลพิษ (3.5.3) การแกไ้ ขปญั หาน้ำเสยี ภาคการเกษตร การจัดการน้ำเสียภาคการเกษตรทั้งในเขตชลประทานและนอกเขต ชลประทาน เสนอให้ดำเนินการ ดงั นี้ - รณรงค์ส่งเสริมให้เกษตรกรมีความรู้เรื่องการใช้สารเคมีในการเกษตรกรรม อย่างเหมาะสม เพือ่ แกไ้ ขปญั หาสารเคมีอนั ตราย และสารเคมตี กค้าง - รณรงคส์ ง่ เสริมให้เกษตรกร การปฏิบตั ทิ างการเกษตรที่ดี (GAP: Good Agricultural Practice) เสนอให้ดำเนินการโดย กรมส่งเสริมการเกษตร กรมวิชาการเกษตร กรมชลประทาน กรมทรพั ยากรน้ำ กรมพฒั นาท่ดี นิ และสำนกั งานการปฏริ ูปทีด่ ินเพือ่ เกษตรกรรม (4) โครงการพัฒนาแหล่งน้ำและการจัดการทรัพยากรน้ำรองรับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ปี 2563 – 2580) ประกอบด้วย 4 แผนงาน/โครงการ 1 มาตรการ งบประมาณทั้งสิ้น 136,095.40 ล้านบาท (ไมร่ วมรายการท่ยี งั ไมม่ ีความชัดเจน เชน่ มาตรการไม่ใช้สิง่ ก่อสร้าง หรือรายการทย่ี ังไม่สามารถระบุวงเงิน) ดังนี้ (4.1) แผนการพัฒนาแหล่งน้ำต้นทุนรองรับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ปี 2563 – 2580 จำนวน 38 โครงการ เพิม่ ปรมิ าณน้ำตน้ ทนุ 872.19 ลา้ น ลบ.ม. งบประมาณ 50,691.10 ลา้ นบาท หน่วยงานเจ้าภาพประกอบด้วย กรมชลประทาน บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำ ภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) กรมทรัพยากรน้ำบาดาล สำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก การประปาส่วนภูมภิ าค และจังหวัดระยอง ความคืบหน้าการดำเนินการของแผนการพัฒนาแหล่งน้ำต้นทุน (Supply Side Management) ปี 2563-2565 จำนวน 28 โครงการ งบประมาณท้ังสิน้ 30,484.87 ล้านบาท ดงั นี้ - โครงการที่ดำเนินการในปี 2563 จำนวน 13 โครงการ งบประมาณทั้งส้ิน 11,516.45 ลา้ นบาท จำแนกเป็น 1) อยรู่ ะหว่างดำเนนิ การ จำนวน 7 โครงการ งบประมาณท้งั โครงการ 8,791.65 ล้านบาท 121-9

2) โครงการเปิดใหม่ปี 2563 จำนวน 6 โครงการ งบประมาณทั้งโครงการ 2,724.80 ล้านบาท - โครงการที่เปิดใหม่ปี 2564 จำนวน 6 โครงการ งบประมาณทั้งโครงการ 1,138.02 ลา้ นบาท - โครงการที่เปิดใหม่ปี 2565 จำนวน 9 โครงการ งบประมาณทั้งโครงการ 17,830.40 ลา้ นบาท ดงั แสดงรายละเอยี ดตามตารางท่ี 8 (4.2) แผนการบริหารจัดการด้านความต้องการใช้น้ำ ปี 2563 – 2580 จำนวน 9 โครงการ/ มาตรการ งบประมาณ 1,927.15 ลา้ นบาท ประกอบดว้ ย (4.2.1) มาตรการใชส้ ิ่งกอ่ สร้าง จำนวน 5 โครงการ งบประมาณ 1,927.15 ลา้ นบาท ความคืบหน้าการดำเนินการของแผนการบริหารจัดการด้านความต้องการใช้น้ำ (Demand Side Management) ปี 2563-2565 จำนวน 5 โครงการ งบประมาณทั้งสิ้น 1,742.57 ล้านบาท ดังน้ี - โครงการเปิดใหม่ในปี 2563 จำนวน 2 โครงการ งบประมาณทั้งสิ้น 621.31 ล้านบาท - โครงการที่เปิดใหม่ปี 2564 จำนวน 2 โครงการ งบประมาณท้ัง โครงการ 775.01 ลา้ นบาท - โครงการที่เปิดใหม่ปี 2565 จำนวน 1 โครงการ งบประมาณทั้ง โครงการ 346.25 ลา้ นบาท ดงั แสดงรายละเอยี ดตามตารางที่ 8 (4.2.2) มาตรการไม่ใชส้ ง่ิ กอ่ สรา้ ง จำนวน 4 มาตรการ หน่วยงานเจ้าภาพ ประกอบด้วย กรมชลประทาน การประปาส่วนภูมิภาค สำนักงาน คณะกรรมการนโยบายเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน การนิคมอุตสาหกรรมแหง่ ประเทศไทย กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมส่งเสริมการเกษตร กรมวิชาการเกษตร สำนักงานการปฏิรูปที่ดิน เพอ่ื เกษตรกรรม กรมพัฒนาทด่ี ิน และกรมทรพั ยากรนำ้ (4.3) แผนการป้องกันและบรรเทาอุทกภัย ปี 2563 – 2580 จำนวน 25 โครงการ งบประมาณ 43,141.66 ล้านบาท หน่วยงานเจ้าภาพประกอบด้วย กรมชลประทาน กรมโยธาธิการและ ผงั เมอื ง และเมอื งพทั ยา (4.4) แผนการจัดการคุณภาพน้ำ ปี 2563 – 2580 จำนวน 33 โครงการ งบประมาณ 40,156.50 ล้านบาท ประกอบด้วย (4.4.1) มาตรการใชส้ ิ่งก่อสร้าง จำนวน 30 โครงการ งบประมาณ 40,156.50 ลา้ นบาท หน่วยงานเจ้าภาพประกอบด้วย กรมควบคุมมลพิษ องค์การจัดการน้ำเสีย เมืองพัทยา กรมส่งเสริมการปกครอง ทอ้ งถนิ่ และองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ (4.2.2) มาตรการไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง จำนวน 3 โครงการ บาท หน่วยงานเจ้าภาพ ประกอบด้วย กรมควบคุมมลพิษ การนิคมอุตสาหกรรม กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมส่งเสริมการเกษตร กรมวิชาการเกษตร กรมชลประทาน กรมพัฒนาที่ดิน สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม และ กรมทรัพยากรนำ้ 121-10

(4.5) มาตรการด้านอื่น ๆ เพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนน้ำ ปี 2563 – 2580 จำนวน 3 โครงการ งบประมาณ 178.99 ลา้ นบาท หน่วยงานเจา้ ภาพ ไดแ้ ก่ กรมทรพั ยากรนำ้ บาดาล 3. ข้อคดิ เห็นและมติของคณะอนุกรรมการขบั เคลื่อนโครงการขนาดใหญแ่ ละโครงการสำคญั จากการประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนโครงการขนาดใหญ่และโครงการสำคัญ ครั้งที่ 3/2562 เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2562 ที่ประชุมได้ให้ข้อคิดเห็นต่อโครงการพัฒนาแหล่งน้ำและการจัดการทรัพยากรน้ำ รองรบั เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ปี 2563-2580) และมมี ติ ดังนี้ 1. เห็นชอบในหลักการโครงการพัฒนาแหล่งน้ำและการจัดการทรัพยากรน้ำรองรับเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก (ปี 2563-2580) และใหเ้ สนอ กนช. พิจารณาตอ่ ไป 2. โครงการฯ มีความสำคัญที่ต้องขับเคลื่อนให้ดำเนินการได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยบางรายการ มีความเชื่อมโยงและเป็นเงื่อนไขในการบริหารจัดการน้ำให้ได้ตามศักยภาพของแผนงาน จึงเห็นสมควรให้หน่วยงาน เจ้าภาพทั้ง 19 หน่วยงาน ดำเนินการเตรียมความพร้อม ด้านศึกษา สำรวจ ออกแบบและด้านที่ดิน เพื่อการก่อสร้างใหเ้ ป็นไปตามแผนงาน รวมถึง เรง่ จดั ทำแผนปฏิบตั ิการ กำหนดแนวทาง มาตรการให้เกิด ความชดั เจน และการบงั คบั ใชก้ ฎหมายท่เี กยี่ วขอ้ ง 3. แผนงานทางเลือกต้องเร่งจัดเตรียมการดำเนินการให้มีแผนปฏิบัติการที่ชัดเจน เช่น การผลิตน้ำ จืดจากน้ำทะเล หรือ การให้สัมปทานเอกชนพัฒนาระบบน้ำสำรองเพือ่ รองรับความเสี่ยงกรณีปนี ้ำน้อย โดยใน ส่วนของการผลิตน้ำจืดจากน้ำทะเล ให้ สทนช. ร่วมกับ สกพอ. ดำเนินการศึกษารายละเอียดเพิ่มเติม เพื่อกำหนดพื้นที่ดำเนินการ ทั้งนิคมอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ และเมืองท่องเที่ยวสำคัญ รวมทั้งรูปแบบการ พฒั นาท่เี หมาะสม และหนว่ ยงานเจา้ ภาพ/ อปท. เปน็ ผ้รู ับผิดชอบโครงการ 4. โครงการดังกล่าว คณะกรรมการลุ่มน้ำชายฝั่งทะเลตะวันออกได้รับทราบและเห็นด้วย เมื่อ คราวประชมุ ในคร้ังท่ี 3/2562 เมอื่ วันที่ 27 พฤศจกิ ายน 2562 และให้เสนอ กนช.เพอ่ื พิจารณาต่อไป 5. โครงการพัฒนาระบบส่งจ่ายน้ำที่ต้องเชื่อมโยงกับการพัฒนาแหล่งน้ำต้นทุน ต้องมีการ พจิ ารณาตกลงกับหน่วยงานเจา้ ของแหล่งน้ำ เพ่ือใหก้ ารดำเนนิ การสอดคลอ้ งกันด้วย 6. โครงการที่มีวงเงินตั้งแต่ 1,000 ล้านบาท เมื่อดำเนินการเตรียมความพร้อมเสร็จแล้ว ให้ เสนอ กนช. พิจารณาให้ความเหน็ ชอบก่อน เสนอคณะรัฐมนตรเี พือ่ ขอความเหน็ ชอบดำเนินการโครงการตอ่ ไป 4. ข้อเสนอเพอื่ พิจารณา เพื่อเป็นการเตรียมรองรบั ความตอ้ งการใชน้ ้ำที่จะมีเพิ่มขึ้นในอนาคตในพ้ืนที่ 3 จังหวัดเขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออก (EEC) 20 ปี (2580) จงึ เสนอทปี่ ระชุม เห็นชอบในหลักการโครงการพัฒนาแหล่งน้ำและการจัดทรัพยากรน้ำรองรับเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก ปี 2563-2580 และให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการตามข้อเสนอของคณะอนุกรรมการ ขบั เคล่ือนโครงการขนาดใหญแ่ ละโครงการสำคัญ จงึ เรียนที่ประชุมเพอ่ื โปรดพิจารณา มติท่ีประชุม ...........................................................…………………………………………………………………… .....………... ………………………………………………………………………………………..………………………………………………... ................ ………………………………………………………………………………………..………………………………………………...................… ……………………………………………………………………………………………..……………………………………………................... 121-11

เอกสารแนบทายวาระ 4.2.1 122

ตารางที่ 1 สรุปภาพรวมโครงการพฒั นาแหลง่ นาและการจดั การทรัพยากรนารองรับเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก ปี 2563-2570 ลาดับ ชอื่ แผนงาน / โครงการ / รายการ ประเภท ปีท่ีเร่ิม ปีท่ีสนิ สดุ ความจุ ความจุ หน่วยงาน งบประมาณ หมายเหตุ แผนงาน Supply Management โครงการ ก่อสรา้ ง ก่อสร้าง (ลา้ น ลบม.) สาหรบั EEC รบั ผิดชอบ (ลา้ นบาท) แผนงานรองรับ EEC/มติ ค.ร.ม.1 (ลา้ น ลบม.) แผนงานรองรบั EEC/มติ ค.ร.ม.1 แผนงานรองรบั EEC/มติ ค.ร.ม.1 1 เพิ่มความจุอา่ งเกบ็ นา้ หนองปลาไหล ปรับปรงุ อา่ งเก็บนา้ เดิม 2561 2562 23.87 23.87 กรมชลประทาน 203.90 แผนงานรองรบั EEC/มติ ค.ร.ม.1 2 เพ่ิมความจุอา่ งเก็บน้าหนองค้อ ปรบั ปรงุ อา่ งเกบ็ น้าเดิม 2563 2563 2.60 2.60 กรมชลประทาน 50.00 แผนงานรองรบั EEC2 แผนงานรองรบั EEC/มติ ค.ร.ม.1 3 เพ่ิมความจุอา่ งเกบ็ นา้ บา้ นบงึ ปรบั ปรุงอา่ งเก็บนา้ เดิม 2564 2564 2.40 2.40 กรมชลประทาน 35.00 แผนงานรองรับ EEC/มติ ค.ร.ม.1 แผนงานรองรับ EEC/มติ ค.ร.ม.1 4 เพ่ิมความจุอา่ งเกบ็ นา้ มาบประชนั ปรับปรุงอา่ งเกบ็ น้าเดมิ 2564 2564 0.60 0.60 กรมชลประทาน 26.00 แผนงานรองรับ EEC/มติ ค.ร.ม.1 แผนงานรองรบั EEC/มติ ค.ร.ม.1 5 เพ่ิมความจุอ่างเกบ็ นา้ คลองหลวงรชั ชโลทร ปรับปรุงอ่างเกบ็ น้าเดมิ 2563 2563 27.00 27.00 กรมชลประทาน + East Water 299.00 แผนงานรองรับ EEC/มติ ค.ร.ม.1 แผนงานรองรบั EEC/มติ ค.ร.ม.1 6 เพิ่มความจุอา่ งเก็บนา้ คลองสียัด ปรบั ปรงุ อา่ งเก็บนา้ เดิม 2569 2570 35.00 35.00 กรมชลประทาน 400.00 แผนงานรองรับ EEC/มติ ค.ร.ม.1 7 อา่ งเก็บนา้ คลองพะวาใหญ่ อา่ งเกบ็ น้าสรา้ งใหม่ 2560 2564 68.10 กรมชลประทาน 998.00 แผนงานหนว่ ยงาน แผนงานหนว่ ยงาน 8 อ่างเกบ็ น้าคลองหางแมว อ่างเกบ็ นา้ สรา้ งใหม่ 2560 2564 80.70 กรมชลประทาน 906.83 แผนงานหนว่ ยงาน แผนงานหนว่ ยงาน 9 อา่ งเก็บนา้ คลองวงั โตนด อา่ งเก็บน้าสร้างใหม่ 2565 2570 99.50 70.00 กรมชลประทาน 4,410.90 แผนงานหนว่ ยงาน แผนงานหนว่ ยงาน 10 ปรบั ปรุงคลองพานทองเพื่อผันน้าไปอา่ งฯ บางพระ ระบบเครือข่ายน้า (ก่อสร้างใหม)่ 2561 2564 20.00 20.00 กรมชลประทาน 1,600.00 แผนงานหนว่ ยงาน แผนงานหนว่ ยงาน 11 ปรับปรุงเครอื ข่ายน้าอา่ งฯคลองใหญ-่ อ่างฯหนองปลาไหล ระบบเครอื ขา่ ยน้า (ปรบั ปรงุ ) 2562 2565 70.00* กรมชลประทาน 147.00 แผนงานหนว่ ยงาน แผนงานหนว่ ยงาน 12 เครอื ข่ายนา้ อา่ งฯ ประแสร-์ อา่ งฯ หนองค้อ-อ่างฯ บางพระ ระบบเครอื ข่ายน้า (ก่อสร้างใหม)่ 2565 2566 130.00* กรมชลประทาน 8,000.00 เสนอเพ่ิมเตมิ 13 ระบบสูบกลับคลองสะพาน-อา่ งฯ ประแสร์ เส้นที่ 1 ระบบสูบกลับ 2561 2563 50.00 50.00 กรมชลประทาน 700.00 เสนอเพ่ิมเติม เสนอเพิ่มเติม 14 อา่ งเกบ็ นา้ หว้ ยกรอกเคยี น อ่างเกบ็ นา้ สร้างใหม่ 2565 2568 19.20 19.20 กรมชลประทาน 670.00 ความเหน็ คณะอนกุ รรมการขับเคลื่อนฯ 15 อ่างเก็บนา้ คลองกระแส อ่างเกบ็ น้าสร้างใหม่ 2563 2564 18.12 18.12 กรมชลประทาน 278.80 ความเหน็ คณะอนกุ รรมการขบั เคลอ่ื นฯ ความเหน็ คณะอนกุ รรมการขบั เคลื่อนฯ 16 อา่ งเกบ็ น้าคลองโพล้ อา่ งเก็บนา้ สร้างใหม่ 2566 2568 40.00 40.00 กรมชลประทาน 900.00 ความเหน็ คณะอนกุ รรมการขบั เคลอื่ นฯ ความเหน็ คณะอนกุ รรมการขบั เคลอ่ื นฯ 17 อา่ งเกบ็ นา้ คลองกะพง อ่างเก็บน้าสรา้ งใหม่ 2566 2568 27.50 27.50 กรมชลประทาน 855.00 ความเหน็ คณะอนกุ รรมการขับเคลอื่ นฯ เสนอเพ่ิมเตมิ 18 อ่างเกบ็ น้าบา้ นหนองกระทงิ อา่ งเก็บน้าสรา้ งใหม่ 2565 2568 15.00 15.00 กรมชลประทาน 600.00 แผนงานหนว่ ยงาน 19 อา่ งเกบ็ น้าคลองน้าเขียว อ่างเก็บน้าสร้างใหม่ 2564 2565 17.50 17.50 กรมชลประทาน 280.96 เสนอเพิ่มเตมิ 20 อ่างเกบ็ น้าเขาจอมแห-เขานงั่ ยอง อา่ งเกบ็ น้าสร้างใหม่ จังหวัดระยอง 370.00 21 พัฒนาพืนทีน่ า้ ทว่ มซ้าซากเปน็ แก้มลิง คบ.บางพลวง + ก่อสรา้ ง ปตร.บา้ นวังชนั พัฒนาพืนทนี่ ้าทว่ มซา้ ซากเปน็ แก้มลิง 2564 2565 1.40 1.40 กรมชลประทาน 2,686.69 ความเหน็ คณะอนกุ รรมการขบั เคลอ่ื นฯ 22 พัฒนากล่มุ บอ่ นา้ บาดาลสา้ หรบั ภาคอตุ สาหกรรม Well Field กรมทรัพยากรน้าบาดาล 76.0**6* ความเหน็ คณะอนกุ รรมการขับเคลื่อนฯ 2566 2569 200.00 200.00 ความเหน็ คณะอนกุ รรมการขบั เคลื่อนฯ 2564 2566 12.00 12.00 เสนอเพ่ิมเตมิ เสนอเพิ่มเติม 23 สระส้ารองน้าเอกชน สระนา้ ดบิ 2558 2564 47.00/ ** 47.00/ ** East Water/ภาคเอกชน 2,210.00 เสนอเพิ่มเตมิ 24 ปรบั ปรุงเพ่ิมประสิทธิภาพระบบผันนา้ แมน่ ้าบางปะกง-อ่างฯ บางพระ ระบบเครอื ขา่ ยนา้ (ปรบั ปรุง) 2563 2563 20.00 20.00 East Water 150.00 เสนอเพิ่มเติม 25 ระบบสูบกลับคลองสะพาน-อา่ งฯ ประแสร์ เส้นท่ี 2 ระบบสูบกลับ 2565 2566 50.00 50.00 กรมชลประทาน 759.50 แผนงานหนว่ ยงาน 26 ขดุ ลอกคลองใน คบ.พระองค์ไชยานชุ ติ ขุดลอก 2564 2566 7.00 7.00 กรมชลประทาน 350.00 แผนงานหนว่ ยงาน 27 แผนงานก่อสรา้ งปรับปรุงขยาย กปภ.สาขาชลบรุ ี-พนสั นคิ ม-(พานทอง)-(ทา่ บญุ มี) ระยะที่ 1 กอ่ สรา้ ง ปรับปรุง ขยายกปภ. 2561 2564 การประปาส่วนภูมิภาค 2,868.22 แผนงานหนว่ ยงาน 28 แผนงานกอ่ สรา้ งปรบั ปรุงขยาย กปภ.สาขาบา้ นฉาง (รองรับ EEC) ก่อสรา้ ง ปรบั ปรุง ขยายกปภ. 2561 2564 การประปาส่วนภมู ภิ าค 1,514.70 29 แผนงานก่อสรา้ งปรบั ปรุงขยาย กปภ.สาขาพัทยา-แหลมฉบงั -ศรรี าชา ก่อสรา้ ง ปรบั ปรงุ ขยายกปภ. 2565 2565 การประปาส่วนภูมภิ าค 1,500.00 30 แผนงานกอ่ สรา้ งปรบั ปรุงขยาย กปภ.สาขาชลบรุ ี-พนสั นคิ ม-(พานทอง)-(ทา่ บญุ มี) ระยะที่ 2 กอ่ สรา้ ง ปรบั ปรุง ขยายกปภ. 2565 2565 การประปาส่วนภมู ิภาค 1,700.00 31 โครงการก่อสรา้ งระบบทอ่ ส่งนา้ ดิบอา่ งเกบ็ น้าคลองหลวง-ชลบรุ ี ระบบเครือขา่ ยนา้ 2563 2564 East Water 1,836.00 32 โครงการเพิ่มประสิทธภิ าพและปริมาณการจ่ายน้าทอ่ ส่งน้าหนองปลาไหล-หนองค้อ ระบบเครอื ข่ายนา้ 2563 2563 50-75 50-75 East Water 450.00 33 ผลิตน้าจืดจากนา้ ทะเล (Desalination) พัฒนาแหล่งน้าเสริมศักยภาพ 2565 2567 สทนช. + สกพอ. 40.*0**0 รวมแผนงาน Supply Management 884.49 706.19 37,872.57 แผนงาน Demand Management ปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพชลประทาน 2565 2568 กรมชลประทาน 346.25 1 ปรบั ปรุงระบบคลองทา่ ลาด-คลองหลวง ปรับปรงุ ประสิทธิภาพชลประทาน 2563 2565 กรมชลประทาน 584.58 2 ปรับปรงุ โครงการ คบ.รังสิตใต้ คบ.พระองค์ไชยานชุ ติ (ระบบโทรมาตร + ส่งเสริมพัฒนากลุม่ ผู้ใชน้ ้า + ปตร.กลางคลองพระองค์ไชยานชุ ติ + ปรับปรงุ คลอง 17) 3 แผนการบรหิ ารจัดการลดนา้ สูญเสีย กปภ.สาขาบา้ นฉาง ลดน้าสูญเสีย 2563 2566 การประปาส่วนภูมภิ าค 221.31 4 แผนการบริหารจัดการลดน้าสูญเสีย กปภ.สาขาชลบรุ ี-พนสั นคิ ม ลดน้าสูญเสีย 2564 2568 การประปาส่วนภมู ิภาค 426.03 5 แผนการบรหิ ารจัดการลดน้าสูญเสีย กปภ.สาขาพัทยา-แหลมฉบงั -ศรีราชา ลดนา้ สูญเสีย 2564 2568 การประปาส่วนภูมิภาค 348.98 6 ทบทวนพืนทเี่ พาะปลูก คบ.พระองคไ์ ชยานชุ ติ + คบ.รงั สิตใต้ ลดพืนทีเ่ พาะปลูก 2563 2570 กรมชลประทาน - **** 7 เพิ่มประสิทธภิ าพการใชน้ ้า คบ.คลองหลวง (ปลูกเปยี กสลับแหง้ ) ปรบั ปรุงประสิทธิภาพชลประทาน 2571 2580 กรมชลประทาน - **** 8 มาตรการ 3Rs นวตั กรรม/การบรหิ ารจัดการ 2563 2570 ทกุ ภาคส่วน na 9 มาตรการไม่ใช้สง่ิ กอ่ สร้าง และมาตรการเพ่ือควบคมุ ความตอ้ งการใชน้ า้ การบริหารจัดการ 2563 2570 ทกุ ภาคส่วน na 1,927.15 รวมแผนงาน Demand Management มาตรการด้านอื่นๆ 1 โครงการศกึ ษาส้ารวจและจัดท้า แผนทนี่ า้ บาดาลมาตราส่วน 1:50,000 พืนทรี่ ะเบยี งเศรษฐกจิ พิเศษ แผนงานนา้ บาดาล 2564 2565 กรมทรพั ยากรนา้ บาดาล 99.87 ภาคตะวันออก 2 โครงการศกึ ษา ส้ารวจและประเมนิ ความคมุ้ คา่ ทางเศรษฐศาสตร์ ของการพัฒนาแหล่งน้าบาดาลขนาด แผนงานนา้ บาดาล 2563 2564 กรมทรพั ยากรน้าบาดาล 79.12 2563 2563 กรมทรัพยากรนา้ บาดาล ใหญ่ ในพืนที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนั ออก (EEC) - **** 178.99 3 แผนแมบ่ ทการเติมน้าลงสูช่ นั น้าใต้ดนิ แผนงานนา้ บาดาล รวมมาตรการด้านอื่นๆ รวมแผนงานด้านการแก้ไขปัญหาขาดแคลนนา 39,978.71 หมายเหตุ *** ค่าสา้ รวจ ศึกษา ไม่รวมค่ากอ่ สร้าง **** งบประมาณปรกติของหนวยงาน * ศกั ยภาพของระบบเครือขา่ ยน้า ซึ่งเปน็ การเชอื่ มโยงแหล่งน้าในเขตพืนท่ลี มุ่ น้า จึงไมไ่ ดน้ า้ มาคดิ เปน็ ความจุ/ปริมาณน้าตน้ ทนุ ท่ีเพ่ิมขนึ ** สระสา้ รองนา้ ของภาคเอกชนอน่ื ๆ 1 แผนงานเพื่อรองรบั EEC ระยะ 10 ปี ตามมติ ครม. 4 มค. 60 และ 6 กพ.61 2 กรมชลประทานเสนอเพิ่มเติมเพื่อรองรับ EEC ระยะ 10 ปี ตารางที่ 2 สรุปภาพรวมโครงการพัฒนาแหลง่ นาและการจัดการทรัพยากรนารองรับเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก ปี 2571-2580 ลาดับ ช่อื แผนงาน / โครงการ / รายการ ประเภท ปีท่ีเร่ิม ปีที่สนิ สดุ ความจุ ความจุ หน่วยงาน งบประมาณ หมายเหตุ โครงการ ก่อสร้าง ก่อสร้าง (ลา้ น ลบม.) สาหรบั EEC รับผิดชอบ (ลา้ นบาท) แผนงานหนว่ ยงาน (ลา้ น ลบม.) 340.17 แผนงานหนว่ ยงาน 1395.92 แผนงานหนว่ ยงาน แผนงาน Supply Management 5809.74 5092.46 เสนอเพิ่มเตมิ 1 ระบบสูบกลับอ่างฯ คลองสียัด ระบบสูบกลับ 2571 2573 6.00 6.00 กรมชลประทาน 180.25 เสนอเพ่ิมเตมิ 12,818.53 2 ระบบสูบกลับอา่ งฯ คลองหลวงรัชชโลทร ระบบสูบกลับ 2571 2573 25.00 25.00 กรมชลประทาน 3 อโุ มงค์ส่งนา้ อา่ งฯ คลองพระสะทงึ -อ่างฯ คลองสียัด อโุ มงคส์ ่งน้า 2571 2575 60.00 60.00 กรมชลประทาน 4 เครอื ข่ายน้าคลองวังโตนด-อ่างฯ ประแสร์ เส้นที่ 2 ระบบเครอื ขา่ ยนา้ 2569 2572 55.00 55.00 กรมชลประทาน 5 เครือขา่ ยน้าอา่ งคลองโพล-้ อา่ งฯ ประแสร์ ระบบเครอื ข่ายน้า 2569 2570 20.00 20.00 กรมชลประทาน รวมแผนงาน Supply Management 166.00 166.00 123

ตารางที่ 3 สรุปโครงการป้องกนั และบรรเทาปัญหาอุทกภัยในเขตพ้ืนที่พัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก ปี 2563-2580 ลาดับ ช่ือแผนงาน / โครงการ / รายการ จังหวดั ประเภท ปีท่ีเรมิ่ ปีที่ส้นิ สดุ หน่วยงาน งบประมาณ หมายเหตุ โครงการ ก่อสร้าง ก่อสร้าง รับผิดชอบ (ลา้ นบาท) แผนงำนหนว่ ยงำน 2564 2567 กรมโยธำธิกำร แผนงำนหนว่ ยงำน 1 ระบบป้องกนั น้ำทว่ มพื้นท่ีชมุ ชน ทต.ดอนฉมิ พลี จ.ฉะเชงิ เทรำ ฉะเชงิ เทรำ พื้นท่ีปดิ ล้อม 2564 2574 และผังเมือง 414.90 แผนงำนหน่วยงำน 2564 2568 แผนงำนหนว่ ยงำน 2 ระบบป้องกนั นำ้ ท่วมพ้ืนท่ีชมุ ชน ทน.ระยอง จ.ระยอง ระยอง พ้ืนที่ปดิ ลอ้ ม 2564 2568 กรมโยธำธิกำร 3,723.10 แผนงำนหน่วยงำน 2564 2577 และผังเมอื ง แผนงำนหนว่ ยงำน 3 ระบบป้องกนั น้ำท่วมพ้ืนท่ีชมุ ชน ทต.บำ้ นฉำง จ.ระยอง ระยอง พ้ืนที่ปิดลอ้ ม 2564 2577 567.60 กรมโยธำธิกำร แผนงำนหนว่ ยงำน 4 ระบบป้องกนั น้ำทว่ มพ้ืนที่ชมุ ชน ทม.มำบตำพดุ จ.ระยอง ระยอง พื้นที่ปิดลอ้ ม 2565 2576 และผังเมอื ง 308.60 แผนงำนหนว่ ยงำน 2564 2573 แผนงำนหนว่ ยงำน 5 ระบบป้องกนั น้ำท่วมพื้นท่ีชมุ ชน อบต.ทำงเกวียน จ.ระยอง ระยอง พื้นท่ีปดิ ลอ้ ม 2564 2572 กรมโยธำธิกำร 2,167.60 แผนงำนหนว่ ยงำน 2564 2568 และผังเมือง แผนงำนหน่วยงำน 6 ระบบปอ้ งกนั นำ้ ทว่ มพ้ืนท่ีชมุ ชน ทต.เมืองแกลง จ.ระยอง ระยอง พ้ืนท่ีปดิ ลอ้ ม 2564 2576 งบประมำณรวมกับ กรมโยธำธิกำร ระบบปอ้ งกนั น้ำทว่ ม 7 ระบบปอ้ งกนั น้ำทว่ มพื้นท่ีชมุ ชน ทต.บ้ำนคำ่ ย จ.ระยอง ระยอง พ้ืนท่ีปิดลอ้ ม 2566 และผงั เมือง 2567 อบต.ทำงเกวียน 8 ระบบปอ้ งกนั น้ำทว่ มพ้ืนที่ชมุ ชน ทม.ชลบรุ ีและทม.บำ้ นสวน ชลบรุ ี พ้ืนที่ปิดล้อม 2563 กรมโยธำธิกำร 2563 และผงั เมอื ง 542.20 จ.ชลบรุ ี 2565 2565 กรมโยธำธิกำร 3,102.26 9 ระบบป้องกนั น้ำทว่ มพื้นท่ีชมุ ชน ทม.อำ่ งศลิ ำ จ.ชลบรุ ี ชลบุรี พื้นที่ปิดลอ้ ม 2565 และผงั เมือง 2565 3,333.89 10 ระบบปอ้ งกนั น้ำท่วมพ้ืนที่ชมุ ชน ทม.ศรีรำชำ ชลบุรี พ้ืนท่ีปดิ ล้อม 2565 กรมโยธำธิกำร และทน.เจำ้ พระยำสุรศกั ด์ิ จ.ชลบุรี ชลบุรี พื้นที่ปดิ ลอ้ ม 2566 และผังเมือง 962.90 11 ระบบปอ้ งกนั นำ้ ทว่ มพื้นท่ีชมุ ชนเมอื งพทั ยำ พื้นที่ลุ่มน้ำยอ่ ยเมือง 2566 กรมโยธำธิกำร 15,003.14 พทั ยำ พ้ืนท่ีลุ่มน้ำย่อยเมืองพทั ยำพื้นท่ีลุ่มน้ำย่อย คลองนำเกลือ และผงั เมือง หว้ ยมำบประชนั ลุ่มนำ้ ยอ่ ยห้วยใหญ่ 2565 กรมโยธำธิกำร 12 พัฒนำพ้ืนท่ีนำ้ ทว่ มซำ้ ซำกเปน็ แกม้ ลิง คบ.บำงพลวง 2565 และผงั เมอื ง + กอ่ สร้ำง ปตร.บ้ำนวังชนั เมอื งพทั ยำ 13 โครงกำรบรรเทำอทุ กภัยในพื้นท่ีลุ่มนำ้ คลองทำ่ ลำด และลุ่มน้ำคลองหลวง จงั หวัดฉะเชงิ เทรำและจงั หวัดชลบรุ ี ฉะเชงิ เทรำ ปรับปรุงระบบระบำยน้ำ 2569 กรมชลประทำน - * แผนงำนหน่วยงำน 2570 กรมชลประทำน 8,728.04 แผนงำนหน่วยงำน 14 ปตร.กลำงคลองพระองค์ไชยำนุชติ ฉะเชงิ เทรำ ปรับปรุงระบบระบำยน้ำ 15 โครงกำรปอ้ งกนั อทุ กภยั ลุ่มน้ำคลองทับมำ ชลบรุ ี 2565 กรมชลประทำน - * แผนงำนหน่วยงำน 16 ระบบปอ้ งกนั น้ำทว่ มพ้ืนท่ีชมุ ชน ทม.ฉะเชงิ เทรำ จ.ฉะเชงิ เทรำ ประตูระบำยนำ้ ฉะเชงิ เทรำ ปรับปรุงระบบระบำยนำ้ 2565 กรมชลประทำน งบประมำณต่อเน่ือง แผนงำนหน่วยงำน ระยอง พื้นที่ปิดลอ้ ม 2572 กรมโยธำธิกำร ++ แผนงำนหนว่ ยงำน ฉะเชงิ เทรำ และผังเมือง + เสนอเพมิ่ เติม** 1,196.02 17 ระบบป้องกนั น้ำท่วมพื้นที่ชมุ ชน ทต.บำงคล้ำ จ.ฉะเชงิ เทรำ ฉะเชงิ เทรำ พ้ืนท่ีปิดล้อม 2570 กรมโยธำธิกำร 961+.+40 แผนงำนหนว่ ยงำน และผังเมือง + เสนอเพม่ิ เติม** 18 ระบบป้องกนั น้ำทว่ มพ้ืนที่ชมุ ชน ทต.บำงขนำก จ.ฉะเชงิ เทรำ ฉะเชงิ เทรำ พ้ืนท่ีปดิ ล้อม 2568 กรมโยธำธิกำร 397+.+49 แผนงำนหน่วยงำน และผังเมือง + เสนอเพมิ่ เติม** 19 ระบบป้องกนั น้ำท่วมพ้ืนท่ีชมุ ชน ทต.บำงนำ้ เปร้ยี ว จ.ฉะเชงิ เทรำ ฉะเชงิ เทรำ พ้ืนท่ีปดิ ล้อม 2570 กรมโยธำธิกำร 810+.+65 แผนงำนหน่วยงำน และผงั เมอื ง + เสนอเพิ่มเติม** 20 ระบบปอ้ งกนั นำ้ ทว่ มพ้ืนท่ีชมุ ชน ทต.ปำกนำ้ +อบต.หัวไทร ฉะเชงิ เทรำ พื้นท่ีปิดล้อม 2570 กรมโยธำธิกำร 801.87 แผนงำนหน่วยงำน จ.ฉะเชงิ เทรำ ฉะเชงิ เทรำ พื้นท่ีปดิ ล้อม และผังเมือง + เสนอเพม่ิ เติม** 21 ศึกษำควำมเหมำะสม และออกแบบระบบปอ้ งกนั น้ำทว่ มพื้นท่ี 2567 กรมโยธำธิกำร 35.00 เสนอเพิ่มเตมิ ** ชมุ ชน ทต.บำงวัวคณำรักษ์ ทต.เทพรำช และทต.บำ้ นโพธ์ิ และผังเมือง จ.ฉะเชงิ เทรำ ฉะเชงิ เทรำ พื้นท่ีปิดลอ้ ม 2567 กรมโยธำธิกำร 30.00 เสนอเพ่ิมเติม** 22 ศึกษำควำมเหมำะสม และออกแบบระบบป้องกนั นำ้ ทว่ มพื้นที่ และผงั เมอื ง ชมุ ชน ทต.พนมสำรคำม อบต.คลองเขอ่ื น อบต.คลองอดุ มชลจร และอบต.บำงน้ำเปรย้ี ว จ.ฉะเชงิ เทรำ ชลบุรี พื้นที่ปิดลอ้ ม 2567 กรมโยธำธิกำร 20.00 เสนอเพ่ิมเตมิ ** และผังเมอื ง 23 ศึกษำควำมเหมำะสม และออกแบบระบบปอ้ งกนั น้ำท่วมพื้นที่ ชมุ ชน ทม.พนสั นคิ ม อบต.บำ้ นเกำ่ ทต.คลองต้ำหรุ ชลบรุ ี ปรับปรุงระบบระบำยน้ำ 2567 กรมโยธำธิกำร 15.00 เสนอเพิ่มเตมิ ** ทต.หนองไมแ้ ดง ทต.ดอนหวั ฬ่อ และทต.นำปำ่ จ.ชลบุรี และผงั เมือง 24 ศกึ ษำควำมเหมำะสมและออกแบบปรับปรุงกำรระบำยน้ำ ในพ้ืนท่ี ทต.นำจอมเทียน 25 ศกึ ษำควำมเหมำะสม และออกแบบรำยละเอยี ดโครงกำร ระยอง คลองผนั น้ำ 2565 2567 กรมชลประทำน 20.00 เสนอเพ่ิมเตมิ ** 43,141.66 คลองผนั น้ำเล่ียงเมอื ง (ลุ่มน้ำคลองทบั มำ) รวม หมำยเหตุ * ค่ำลงทนุ รวมอยู่ในแผนงำนเพื่อแกไ้ ขปัญหำขำดแคลนน้ำ ไม่นำ้ มำนบั รวมในคำ่ ลงทุนโครงกำรเพ่ือป้องกนั และบรรเทำปัญหำอทุ กภยั ** โครงกำรกอ่ สร้ำงระบบปอ้ งกนั นำ้ ทว่ มพ้ืนที่ชมุ ชนตำมแผนงำนของหนว่ ยงำน ยังไมค่ รอบคลุมพื้นท่ีเมอื งและพ้ืนท่ีรองรับกำรขยำยตวั ของเมืองตำมแผนผังกำ้ หนดกำรใชป้ ระโยชน์ที่ดนิ (ผงั EEC) เสนอให้หนว่ ยงำนท้ำกำรศกึ ษำ ส้ำรวจ ออกแบบ เพ่ิมเตมิ ++ ค่ำลงทนุ โครงกำร มำกขึน้ กว่ำผลกำรศกึ ษำเดิม เพรำะมีกำรขยำยขอบเขตพื้นที่ปอ้ งกนั 124

ตารางที่ 4 ระบบรวบรวมและระบบบ้าบัดน้าเสียชุมชนรวมปัจจุบนั ท่เี สนอให้ท้าการปรับปรงุ ขยาย ล้าดับท่ี ท่ตี งั ระบบบา้ บัดนา้ เสียชุมชนรวม ขนาดระบบบา้ บดั นา้ เสียเสนอปรบั ปรุง/ขยาย (ลบ.ม./วนั ) 1 ทม.พนสั นิคม 5,000 2 อบจ.ชลบุรี 90,000 3 ทม.แสนสขุ -เหนอื 15,000 4 ทม.แสนสขุ -ใต้ 15,000 5 ทม.ศรรี าชา 18,000 6 ทน.แหลมฉบงั 72,000 7 เมืองพทั ยา-วดั หนองใหญ่ 185,000 8 เกาะล้าน 5,800 9 เมืองพทั ยา-วดั บุณย์กัญจนาราม 150,000 10 ทต.บางเสร่ 5,000 11 ทม.มาบตาพุด 46,000 12 ทน.ระยอง 41,000 13 ทต.บา้ นเพ 8,000 14 เกาะเสมด็ 2,500 15 ทต.บางคลา้ 5,000 16 ทม.ฉะเชิงเทรา 24,000 125

ตารางท่ี 5 ระบบรวบรวมและระบบบ้าบดั น้าเสยี ทเี่ สนอใหท้ ้าการกอ่ สรา้ งใหม่ ลา้ ดบั ท่ี ท่ีตังระบบบา้ บัดนา้ เสยี ชมุ ชนรวม ขนาดระบบบา้ บดั น้าเสียเสนอก่อสรา้ ง (ลบ.ม./วัน) จงั หวัดชลบรุ ี 1 อบต.พานทองหนองกะขะ 8,000 2 อบต.มาบโป่ง 18,000 3 ทต.ดอนหัวฬ่อ 16,000 4 ทต.คลองตาหรุ 6,400 5 ทต.เกาะจันทร์ 5,100 6 ทต.หนองไม้แดง 8,400 7 ทต.นาป่า 28,000 8 อบต.หนองขา้ งคอก 14,000 9 ทต.ห้วยกะปิ 12,000 10 ทต.บ้านบึง 9,000 11 ทม.อ่างศลิ า 26,000 12 ทต.เหมอื ง 7,000 13 ทต.บางพระ 18,000 14 ทต.เกาะสชี ัง 1,000 15 ทต.เจา้ พระยาสุรศักด์ิ (เหนือ) 60,000 16 ทต.เจา้ พระยาสรุ ศกั ด์ิ (ใต)้ 28,000 17 อบต.บอ่ วนิ 20,000 18 ทต.บางละมงุ 20,000 19 ทต.หนองปลาไหล 44,000 20 ทต.โป่ง 16,000 21 ทต.หว้ ยใหญ่ 46,000 22 ทต.นาจอมเทยี น 9,000 23 ทต.เขาชีจรรย์ 21,000 24 ทต.เกล็ดแก้ว 22500 25 อบต.พลูตาหลวง 18,000 26 ทต.เขตรอุดมศกั ด์ิ 30,000 27 ทม.สัตหบี 16,000 126

ตารางที่ 5 ระบบรวบรวมและระบบบ้าบดั น้าเสียทีเ่ สนอให้ทา้ การก่อสรา้ งใหม่(ต่อ) ล้าดับที่ ท่ีตังระบบบ้าบดั นา้ เสยี ชุมชนรวม ขนาดระบบบา้ บดั นา้ เสยี เสนอกอ่ สรา้ ง (ลบ.ม./วัน) จงั หวัดระยอง 18,000 28 อบต.ปลวกแดง 8,200 29 ทต.มาบข่า 5,000 30 อบต.สานักท้อน 12,000 31 ทต.สานักทอ้ น 18,000 32 ทม.บา้ นฉาง 22,000 33 ทต.ทบั มา 7,500 34 ทต.พลา 14,000 35 ทต.บ้านฉาง 12,000 36 ทต.เนนิ พระ 3,500 37 ทต.สุนทรภู่ (ขวา) 12,000 38 ทต.เชงิ เนนิ 6,000.00 39 อบต.ตะพง 5,500 40 ทต.สุนทรภู่ (ซา้ ย) 6,400 จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา 8,400 41 อบต.คลองอดุ มชลจร 15,000 42 ทต.ทา่ ถ่าน 5,600 43 อบต.บางกะไห 18,000 44 ทต.ท่งุ สะเดา 9,500 45 ทต.บางววั คณารักษ์ 10,000 46 ทต.ทา่ สะอา้ น 7,500 47 ทต.บางปะกงพรหมเทพรงั สรรค์ 9,000 48 ทต.บางปะกง 200 49 ทต.ท่าข้าม 500 50 อบต.คลองตะเกรา (ล่าง) 51 อบต.คลองตะเกรา (บน) 127

ตารางท่ี 6 สรุปโครงการจดั การคุณภาพนา้ ในเขตพ้ืนทพ่ี ฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก ปี 2563-2570 ประเภท ปีทเี่ ร่มิ ปีทสี่ น้ิ สุด ขนาด หนว่ ยงาน งบประมาณ หมายเหตุ ลา้ ดบั ชอื่ แผนงาน / โครงการ / รายการ โครงการ ก่อสร้าง กอ่ สร้าง (ลบม./วัน) รับผิดชอบ (ลา้ นบาท) โครงการศกึ ษาจดั ท้าแผนหลกั จัดทา้ แผนหลัก 2563 2564 กรมควบคุมมลพษิ 15.00 เสนอเพม่ิ เติม 1 โครงการศึกษาจัดท้าแผนหลักการจัดการนา้ เสียชุมชนสา้ หรับพนื้ ทภ่ี าคตะวันออก ปรับปรุงขยายระบบเดิม 2564 2565 335,000 เมอื งพทั ยา 196.00 เสนอเพมิ่ เตมิ โครงการปรับปรุงขยายระบบรวบรวมและระบบบา้ บดั น้าเสียเดิม ปรับปรุงขยายระบบเดมิ 2564 2565 224,800 สถ./อจน./อปท. 110.00 เสนอเพม่ิ เตมิ 2 โครงการศกึ ษาออกแบบปรับปรุงขยายระบบรวบรวมและระบบบา้ บดั นา้ เสยี ชุมชนเดมิ เมืองพทั ยา (2 แหง่ )1 ปรับปรุงขยายระบบเดมิ 2564 2565 97,500 สถ./อจน./อปท. 42.00 เสนอเพม่ิ เตมิ 3 โครงการศึกษาออกแบบปรับปรุงขยายระบบรวบรวมและระบบบา้ บัดนา้ เสียชมุ ชนเดิมพน้ื ทจี่ ังหวัดชลบรุ ี (8 แหง่ )2 ปรับปรุงขยายระบบเดิม 2564 2564 29,000 สถ./อจน./อปท. 15.00 เสนอเพมิ่ เตมิ 4 โครงการศกึ ษาออกแบบปรับปรุงขยายระบบรวบรวมและระบบบ้าบดั นา้ เสยี ชมุ ชนเดิมพน้ื ทจ่ี งั หวัดระยอง (4 แหง่ )3 ปรับปรุงขยายระบบเดิม 2566 2569 335,000 5,871.00 เสนอเพม่ิ เติม 5 โครงการศึกษาออกแบบปรับปรุงขยายระบบรวบรวมและระบบบ้าบัดนา้ เสยี ชมุ ชนเดมิ พน้ื ทจี่ งั หวัดฉะเชงิ เทรา (2 แหง่ )4 ปรับปรุงขยายระบบเดิม 2565 2568 224,800 เมอื งพทั ยา 3,297.00 เสนอเพมิ่ เตมิ 6 โครงการกอ่ สร้างปรับปรุงขยายระบบรวบรวมและระบบบา้ บดั นา้ เสยี ชมุ ชนเดิมเมืองพทั ยา (2 แหง่ )1 ปรับปรุงขยายระบบเดิม 2565 2567 97,500 สถ./อจน./อปท. 1,608.00 เสนอเพม่ิ เตมิ 7 โครงการก่อสร้างปรับปรุงขยายระบบรวบรวมและระบบบ้าบัดนา้ เสยี ชุมชนเดมิ พนื้ ทจี่ งั หวัดชลบรุ ี (8 แหง่ )2 ปรับปรุงขยายระบบเดิม 2565 2566 29,000 สถ./อจน./อปท. 375.00 เสนอเพม่ิ เตมิ 8 โครงการกอ่ สร้างปรับปรุงขยายระบบรวบรวมและระบบบา้ บัดนา้ เสยี ชมุ ชนเดมิ พนื้ ทจ่ี งั หวัดระยอง (4 แหง่ )3 สถ./อจน./อปท. 11,514.00 9 โครงการกอ่ สร้างปรับปรุงขยายระบบรวบรวมและระบบบ้าบดั นา้ เสียชุมชนเดมิ พนื้ ทจี่ งั หวัดฉะเชงิ เทรา (2 แหง่ )4 กอ่ สร้างระบบใหม่ รวมโครงการปรับปรุงขยายระบบรวบรวมและระบบบ้าบัดนา้ เสียเดิม ก่อสร้างระบบใหม่ 2565 2567 373,900 สถ./อจน./อปท. 218.00 เสนอเพม่ิ เตมิ ก่อสร้างระบบใหม่ 2566 2566 80,200 สถ./อจน./อปท. 41.50 เสนอเพมิ่ เติม โครงการก่อสร้างระบบรวบรวมและระบบบา้ บดั น้าเสยี ใหม่ ก่อสร้างระบบใหม่ 2566 2566 52,900 สถ./อจน./อปท. 35.00 เสนอเพม่ิ เตมิ 10 โครงการศกึ ษาออกแบบระบบรวบรวมและระบบบา้ บัดนา้ เสียชุมชนระยะท่ี 1 พนื้ ทจ่ี งั หวัดชลบรุ ี (14 แหง่ )5 กอ่ สร้างระบบใหม่ 2567 2568 153,500 สถ./อจน./อปท. 120.00 เสนอเพม่ิ เตมิ 11 โครงการศึกษาออกแบบระบบรวบรวมและระบบบ้าบดั นา้ เสยี ชุมชนระยะที่ 1 พนื้ ทจี่ งั หวัดระยอง (5 แหง่ )6 ก่อสร้างระบบใหม่ 2568 2568 63,500 สถ./อจน./อปท. 49.00 เสนอเพมิ่ เตมิ 12 โครงการศึกษาออกแบบระบบรวบรวมและระบบบ้าบัดนา้ เสยี ชมุ ชนระยะท่ี 1 พนื้ ทจี่ งั หวัดฉะเชิงเทรา (4 แหง่ )7 กอ่ สร้างระบบใหม่ 2568 2568 36,700 สถ./อจน./อปท. 35.00 เสนอเพมิ่ เตมิ 13 โครงการศกึ ษาออกแบบระบบรวบรวมและระบบบ้าบดั นา้ เสียชมุ ชนระยะท่ี 2 พน้ื ทจี่ ังหวัดชลบรุ ี (13 แหง่ )8 ก่อสร้างระบบใหม่ 2566 2569 373,900 สถ./อจน./อปท. 6,546.00 เสนอเพมิ่ เติม 14 โครงการศึกษาออกแบบระบบรวบรวมและระบบบา้ บัดนา้ เสยี ชุมชนระยะที่ 2 พนื้ ทจ่ี งั หวัดระยอง (8 แหง่ )9 กอ่ สร้างระบบใหม่ 2567 2568 80,200 สถ./อจน./อปท. 1,245.00 เสนอเพม่ิ เตมิ 15 โครงการศึกษาออกแบบระบบรวบรวมและระบบบา้ บดั นา้ เสยี ชมุ ชนระยะที่ 2 พนื้ ทจี่ งั หวัดฉะเชิงเทรา (7 แหง่ )10 ก่อสร้างระบบใหม่ 2567 2568 52,900 สถ./อจน./อปท. 704.40 เสนอเพม่ิ เตมิ 16 โครงการก่อสร้างระบบรวบรวมและระบบบา้ บัดนา้ เสยี ชมุ ชนระยะท่ี 1 พนื้ ทจ่ี ังหวัดชลบุรี (14 แหง่ )5 กอ่ สร้างระบบใหม่ 2568 2569 153,500 สถ./อจน./อปท. 2,394.00 เสนอเพมิ่ เตมิ 17 โครงการก่อสร้างระบบรวบรวมและระบบบ้าบัดนา้ เสยี ชมุ ชนระยะที่ 1 พน้ื ทจ่ี งั หวัดระยอง (5 แหง่ )6 กอ่ สร้างระบบใหม่ 2569 2570 63,500 สถ./อจน./อปท. 984.00 เสนอเพม่ิ เติม 18 โครงการกอ่ สร้างระบบรวบรวมและระบบบา้ บัดนา้ เสียชุมชนระยะท่ี 1 พน้ื ทจี่ งั หวัดฉะเชิงเทรา (4 แหง่ )7 2569 2570 36,700 สถ./อจน./อปท. 693.60 เสนอเพมิ่ เติม 19 โครงการก่อสร้างระบบรวบรวมและระบบบา้ บดั นา้ เสียชุมชนระยะที่ 2 พนื้ ทจ่ี ังหวัดชลบรุ ี (13 แหง่ )8 Demand 13,065.50 20 โครงการกอ่ สร้างระบบรวบรวมและระบบบ้าบัดนา้ เสียชมุ ชนระยะที่ 2 พน้ื ทจ่ี ังหวัดระยอง (8 แหง่ )9 Managementและ 21 โครงการก่อสร้างระบบรวบรวมและระบบบ้าบดั นา้ เสียชมุ ชนระยะที่ 2 พนื้ ทจ่ี งั หวัดฉะเชงิ เทรา (7 แหง่ )10 จดั การคุณภาพนา้ 2564 2568 - คพ./อจน./สถ./ na เสนอเพมิ่ เติม รวมโครงการก่อสร้างระบบรวบรวมและระบบบา้ บดั นา้ เสยี ใหม่ จัดการคุณภาพนา้ อปท./กนอ./กรอ. 2564 2568 na เสนอเพม่ิ เติม โครงการสง่ เสริมการจดั การนา้ เสียทแี่ หล่งก้าเนิด 2564 2568 - สถ./อจน./อปท. na เสนอเพม่ิ เติม 22 โครงการรณรงค์ ประชาสมั พนั ธ์ใหท้ กุ ภาคสว่ นใชน้ า้ อย่างประหยัด การใช้นา้ ซ้า การใชน้ า้ รีไซเคิล เพอ่ื ลดปริมาณการใช้นา้ และปริมาณนา้ เสียทจี่ ะระบายลงสแู่ หลง่ นา้ - อปท. 23 โครงการรณรงค์ ส่งเสริมการติดตง้ั ถังดกั ไขมัน และระบบบา้ บัดนา้ เสียตามบ้านเรือน สถานประกอบการ 24 การกา้ หนดกฎเกณฑก์ ารติดตงั้ ระบบบ้าบดั นา้ เสยี ทแี่ หลง่ ก้าเนดิ และการออกขอ้ บญั ญัตทิ ้องถน่ิ ตารางท่ี 7 สรุปโครงการจดั การคุณภาพน้าในเขตพื้นทพ่ี ัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก ปี 2571-2580 ประเภท ปีท่ีเรม่ิ ปีที่สน้ิ สุด ขนาด หน่วยงาน งบประมาณ หมายเหตุ ลา้ ดับ ชอ่ื แผนงาน / โครงการ / รายการ โครงการ ก่อสร้าง ก่อสร้าง (ลบม./วนั ) รับผิดชอบ (ลา้ นบาท) โครงการปรับปรุงขยายระบบรวบรวมและระบบบ้าบัดน้าเสียเดิม ปรับปรุงขยายระบบเดิม 2574 2576 335,000 เมอื งพทั ยา 3,914.00 เสนอเพม่ิ เติม 1 โครงการกอ่ สร้างปรับปรุงขยายระบบรวบรวมและระบบบ้าบดั นา้ เสียชุมชนเดมิ เมอื งพทั ยา (2 แหง่ )1 ปรับปรุงขยายระบบเดมิ 2574 2575 224,800 สถ./อจน./อปท. 2,198.00 เสนอเพมิ่ เติม 2 โครงการก่อสร้างปรับปรุงขยายระบบรวบรวมและระบบบา้ บัดนา้ เสียชมุ ชนเดมิ พนื ทจ่ี ังหวัดชลบุรี (8 แหง่ )2 ปรับปรุงขยายระบบเดิม 2573 2574 97,500 สถ./อจน./อปท. 1,072.00 เสนอเพมิ่ เติม 3 โครงการกอ่ สร้างปรับปรุงขยายระบบรวบรวมและระบบบา้ บดั นา้ เสียชุมชนเดิมพนื ทจ่ี งั หวัดระยอง (4 แหง่ )3 7,184.00 รวมโครงการปรับปรุงขยายระบบรวบรวมและระบบบา้ บัดน้าเสยี เดิม กอ่ สร้างระบบใหม่ 2575 2577 373,900 สถ./อจน./อปท. ก่อสร้างระบบใหม่ 2574 2575 80,200 สถ./อจน./อปท. 4,364.00 เสนอเพมิ่ เติม โครงการก่อสร้างระบบรวบรวมและระบบบา้ บัดน้าเสียใหม่ กอ่ สร้างระบบใหม่ 2574 2575 52,900 สถ./อจน./อปท. 830.00 เสนอเพมิ่ เตมิ 4 โครงการก่อสร้างระบบรวบรวมและระบบบ้าบัดนา้ เสียชมุ ชนระยะที่ 1 พนื ทจี่ งั หวัดชลบุรี (14 แหง่ )5 ก่อสร้างระบบใหม่ 2575 2576 153,500 สถ./อจน./อปท. 469.60 เสนอเพมิ่ เติม 5 โครงการกอ่ สร้างระบบรวบรวมและระบบบ้าบัดนา้ เสียชมุ ชนระยะท่ี 1 พนื ทจ่ี ังหวัดระยอง (5 แหง่ )6 ก่อสร้างระบบใหม่ 2576 2577 63,500 สถ./อจน./อปท. 6 โครงการกอ่ สร้างระบบรวบรวมและระบบบ้าบดั นา้ เสยี ชุมชนระยะท่ี 1 พนื ทจี่ งั หวัดฉะเชงิ เทรา (4 แหง่ )7 กอ่ สร้างระบบใหม่ 2576 2577 36,700 สถ./อจน./อปท. 1,596.00 เสนอเพม่ิ เตมิ 7 โครงการก่อสร้างระบบรวบรวมและระบบบา้ บดั นา้ เสียชุมชนระยะท่ี 2 พนื ทจี่ ังหวัดชลบุรี (13 แหง่ )8 656.00 เสนอเพมิ่ เตมิ 8 โครงการกอ่ สร้างระบบรวบรวมและระบบบ้าบัดนา้ เสยี ชุมชนระยะท่ี 2 พนื ทจี่ งั หวัดระยอง (8 แหง่ )9 - 462.40 เสนอเพม่ิ เติม 9 โครงการก่อสร้างระบบรวบรวมและระบบบ้าบัดนา้ เสยี ชมุ ชนระยะท่ี 2 พนื ทจี่ ังหวัดฉะเชงิ เทรา (7 แหง่ )10 รวมโครงการก่อสร้างระบบรวบรวมและระบบบ้าบัดน้าเสยี ใหม่ 8,378.00 หมายเหตุ 1 ปรับปรงุ ระบบรวบรวมและบ้าบัดนา้ เสียชมุ ชน พนื ท่เี มอื งพัทยา 2 แหง่ ไดแ้ ก่ เมอื งพัทยา-วัดหนองใหญ่ เมอื งพัทยา-วัดบณุ ย์กญั จนาราม 2 ปรับปรงุ ระบบรวบรวมและบ้าบดั น้าเสยี ชมุ ชน พนื ทีจ่ งั หวัดชลบรุ ี 8 แห่ง ไดแ้ ก่ ทม.พนัสนิคม อบจ.ชลบุรี ทม.แสนสุข-เหนือ ทม.แสนสขุ -ใต้ ทม.ศรีราชา ทน.แหลมฉบัง เกาะล้าน ทต.บางเสร่ 3 ปรบั ปรุงระบบรวบรวมและบา้ บดั น้าเสยี ชมุ ชน พนื ทจี่ ังหวัดระยอง 4 แหง่ ไดแ้ ก่ ทม.มาบตาพุด ทน.ระยอง ทต.บ้านเพ เกาะเสม็ด 4 ปรบั ปรงุ ระบบรวบรวมและบา้ บดั น้าเสยี ชมุ ชน พนื ทีจ่ งั หวัดฉะเชงิ เทรา 2 แห่ง ไดแ้ ก่ ทต.บางคล้า ทม.ฉะเชงิ เทรา 5 กอ่ สร้างระบบรวบรวมและบ้าบดั น้าเสยี ชุมชนใหม่ พนื ทจ่ี งั หวัดชลบรุ ี ระยะที่ 1 รวม 14 แห่ง ไดแ้ ก่ ทต.คลองต้าหรุ ทต.นาป่า ทม.อา่ งศิลา ทต.บางพระ ทต.เจ้าพระยาสุรศักดิ์ (เหนือ) ทต.เจ้าพระยาสรุ ศักดิ์ (ใต)้ อบต.บ่อวิน ทต.บางละมงุ ทต.หนองปลาไหล ทต.ห้วยใหญ่ ทต.นาจอมเทียน ทต.เกล็ดแกว้ ทต.เขตรอดุ มศักด์ิ ทม.สตั หีบ 6 กอ่ สร้างระบบรวบรวมและบา้ บดั นา้ เสียชมุ ชนใหม่ พนื ที่จังหวัดระยอง ระยะที่ 1 รวม 5 แหง่ ไดแ้ ก่ อบต.ปลวกแดง ทต.มาบขา่ ทม.บ้านฉาง ทต.ทับมา ทต.บา้ นฉาง 7 กอ่ สรา้ งระบบรวบรวมและบ้าบดั นา้ เสยี ชมุ ชนใหม่ พนื ท่จี ังหวัดฉะเชิงเทรา ระยะท่ี 1 รวม 4 แหง่ ไดแ้ ก่ ทต.ท่าถา่ น ทต.บางวัวคณารกั ษ์ ทต.บางปะกงพรหมเทพรงั สรรค์ ทต.ท่าขา้ ม 8 กอ่ สรา้ งระบบรวบรวมและบ้าบัดนา้ เสยี ชุมชนใหม่ พนื ที่จังหวัดชลบรุ ี ระยะที่ 2 รวม 13 แห่ง ไดแ้ ก่ อบต.พานทองหนองกะขะ อบต.มาบโปง่ ทต.ดอนหัวฬอ่ ทต.เกาะจันทร์ ทต.หนองไม้แดง อบต.หนองขา้ งคอก ทต.ห้วยกะปิ ทต.บา้ นบงึ ทต.เหมอื ง ทต.เกาะสชี ัง ทต.โปง่ ทต.เขาชีจรรย์ อบต.พลตู าหลวง 9 กอ่ สร้างระบบรวบรวมและบ้าบดั น้าเสียชุมชนใหม่ พนื ท่ีจงั หวัดระยอง ระยะท่ี 2 รวม 8 แหง่ ไดแ้ ก่ อบต.ส้านักท้อน ทต.ส้านักท้อน ทต.พลา ทต.เนินพระ ทต.สนุ ทรภู่ (ขวา) ทต.เชิงเนิน อบต.ตะพง ทต.สนุ ทรภู่ (ซา้ ย) 10 กอ่ สรา้ งระบบรวบรวมและบา้ บดั น้าเสยี ชุมชนใหม่ พนื ที่จงั หวัดฉะเชิงเทรา ระยะท่ี 2 รวม 7 แหง่ ไดแ้ ก่ อบต.คลองอดุ มชลจร อบต.บางกะไห ทต.ทุง่ สะเดา ทต.ท่าสะอา้ น ทต.บางปะกง อบต.คลองตะเกรา (ล่าง) อบต.คลองตะเกรา (บน) 128

ตารางท่ี 8 ความคืบหน้าแผนการพัฒนาแหลง่ นา้ ต้นทุน และแผนการบรหิ ารจดั การด้านความต้องการใช้นา้ ปี 2563-2565 แผนการดา้ เนนิ งาน งบประมาณ (ล้านบาท) หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ 1. โครงการอยรู่ ะหว่างดา้ เนนิ งาน จ้านวน 7 โครงการ - แผนงาน Supply Management รวม พ.ศ. 2563 พ.ศ. 2564 พ.ศ. 2565 1.1 อา่ งเกบ็ น้าพะวาใหญ่ (60-64) 8,791.65 1,403.33 4,475.72 132.30 1.2 อ่างเก็บนา้ คลองหางแมว (60-64) 1.3 เพม่ิ ความจอุ ่างเกบ็ น้าหนองปลาไหล (61-62) 8,791.65 1,403.33 4,475.72 - 1.4 ผันนา้ พานทอง – อ่างเกบ็ น้าบางพระ (61-64) 1.5 ระบบสบู กลับคลองสะพานอา่ งประแสร์ (เส้นท่ี 1) (62-65) 998.00 191.90 462.36 - กรมชลประทาน 1.6 แผนงานกอ่ สร้างปรบั ปรุงขยาย กปภ. สาขาชลบุรี-พนัสนคิ ม-(พานทอง)-(ทา่ บุญม)ี ระยะท่ี 1 (61-64) 906.83 220.90 393.34 - กรมชลประทาน 1.7 แผนงานก่อสรา้ งปรับปรงุ ขยาย กปภ. สาขาบ้านฉาง (รองรับ EEC) (61-64) 2. โครงการท่เี ริม่ ดา้ เนินงานปี 2563 จ้านวน 8 โครงการ 203.90 - - - กรมชลประทาน - แผนงาน Supply Management 1,600.00 240.00 626.67 - กรมชลประทาน 2.1 อ่างเก็บนา้ กระแส (63-64) 2.2 เพม่ิ ความจอุ า่ งเก็บน้าหนองคอ้ (63) 700.00 134.29 300.00 132.30 กรมชลประทาน 2.3 เพิ่มความจอุ า่ งเกบ็ นา้ คลองหลวงรัชชโลธร (63) 2.4 เครือขา่ ยน้าอ่างคลองใหญ่-อ่างเกบ็ นา้ หนองปลาไหล (63-64) 2,868.22 281.49 1,809.77 - การประปาสว่ นภูมภิ าค 2.5 โครงการก่อสรา้ งระบบทอ่ สง่ น้าดิบอา่ งเก็บน้าคลองหลวง-ชลบรุ ี (63-64) 2.6 โครงการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพและปริมาณการจ่ายนา้ ท่อส่งน้าหนองปลาไหล-หนองคอ้ (63) 1,514.70 334.75 883.58 - การประปาสว่ นภูมภิ าค - แผนงาน Demand Management 3,346.11 1,598.18 1,425.80 560.00 2.7 แผนการบริหารจัดการลดน้าสญู เสีย กปภ. สาขาบ้านฉาง (63-66) 2.8 ประตูระบายนา้ กลางคลองพระองค์ไชยานุชิต (63-65) 2,724.80 1,489.00 1,235.80 - 3. โครงการท่เี รมิ่ ดา้ เนนิ งานปี 2564 จ้านวน 8 โครงการ 278.80 140.00 138.80 - กรมชลประทาน - แผนงาน Supply Management 3.1 อา่ งเก็บนา้ เขาจอมแห-เขานงั่ ยอง (64-65) 50.00 50.00 - - กรมชลประทาน 3.2 อ่างเก็บนา้ คลองน้าเขียว (64-65) 299.00 299.00 - 3.3 เพิ่มความจุอา่ งเกบ็ นา้ บา้ นบึง (64) 147.00 100.00 47.00 - กรมชลประทาน + 3.4 เพม่ิ ความจุอา่ งเก็บนา้ มาบประชนั (64) East water 3.5 ขดุ ลอกคลองในพนื ท่ชี ลประทาน (คบ.พระองคไ์ ชยานชุ ิต) (64-66) 3.6 พฒั นากลุ่มบ่อน้าบาดาลเพ่ือภาคอุตสาหกรรม (64-66) - กรมชลประทาน 1,500.00 450.00 1,050.00 - East water 450.00 450.00 - - East water 621.31 109.18 190.00 560.00 221.31 29.18 30.00 80.00 การประปาส่วนภมู ภิ าค 400.00 80.00 160.00 480.00 กรมชลประทาน 1,913.03 - 616.61 781.10 1,138.02 - 384.11 626.10 370.00 - 111.00 259.00 จงั หวัดระยอง 280.96 - 84.29 196.67 กรมชลประทาน 35.00 - 35.00 - กรมชลประทาน 26.00 - 26.00 - กรมชลประทาน 350.00 - 105.00 140.00 กรมชลประทาน 76.06 - 22.82 30.42 กรมทรพั ยากรนา้ บาดาล 129

ตารางท่ี 8 ความคืบหน้าแผนการพฒั นาแหลง่ นา้ ตน้ ทนุ และแผนการบรหิ ารจดั การด้านความตอ้ งการใช้น้า ปี 2563-2565 (ต่อ) แผนการดา้ เนนิ งาน งบประมาณ (ล้านบาท) หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ รวม พ.ศ. 2563 พ.ศ. 2564 พ.ศ. 2565 - แผนงาน Demand Management 775.01 - 232.50 155.00 3.7 แผนการบรหิ ารจัดการลดนา้ สูญเสีย กปภ. สาขาชลบรุ ี-พนสั นิคม (64-68) 426.03 - 127.81 85.21 การประปาสว่ นภูมิภาค 3.8 แผนการบริหารจดั การลดนา้ สูญเสีย กปภ. สาขาพัทยา-แหลมฉบัง- ศรรี าชา (64-68) 348.98 - 104.69 69.80 การประปาส่วนภมู ภิ าค 4. โครงการท่เี ร่ิมดา้ เนินงานปี 2565 จ้านวน 10 โครงการ 18,176.65 - - 7,892.31 - แผนงาน Supply Management 17,830.40 - - 7,788.44 4.1 อา่ งเก็บน้าคลองวงั โตนด (65-69) 4,410.90 - - 661.64 กรมชลประทาน 4.2 อา่ งเก็บนา้ หว้ ยกรอกเคียน (65-68) 670.00 - - 201.00 กรมชลประทาน 4.3 อา่ งเก็บนา้ หนองกระทงิ (65-68) 600.00 - - 180.00 กรมชลประทาน 4.4 ผันน้าแม่นา้ บางปะกง – อา่ งเก็บนา้ บางพระ (65-70) 150.00 - - 30.00 East water 4.5 เครือข่ายน้าอ่างเกบ็ น้าประแสร์-อ่างเกบ็ น้าหนองค้อ-อ่างเก็บนา้ บางพระ (65-66) 8,000.00 - - 3,200.00 กรมชลประทาน 4.6 ระบบสูบกลบั คลองสะพานอา่ งประแสร์ (เส้นท่ี 2) (65-66) 759.50 - - 303.80 กรมชลประทาน 4.7 แผนงานกอ่ สรา้ งปรับปรุงขยาย กปภ. สาขาพัทยา-แหลมฉบงั -ศรีราชา (65) 1,500.00 - - 1,500.00 การประปาสว่ นภมู ภิ าค 4.8 แผนงานก่อสรา้ งปรับปรุงขยาย กปภ. สาขาชลบุรี-พนัสนิคม-(พานทอง)-(ทา่ บุญมี) ระยะท่ี 2 (65) 1,700.00 - - 1,700.00 การประปาส่วนภูมิภาค 4.9 ผลิตนา้ จืดจากน้าทะเล (Desalination) (65-67) 40.00 - - 12.00 สทนช. + สกพอ. - แผนงาน Demand Management 346.25 - - 103.88 4.10 ปรบั ปรุงระบบคลองท่าลาด-คลองหลวง (65-68) 346.25 - - 103.88 กรมชลประทาน 130

ระเบียบวาระท่ี 4 เรือ่ งเพ่อื พิจารณา วาระที่ 4.2 โครงการขนาดใหญและโครงการสําคญั (ตอ ) 4.2.2 แผนหลักการพัฒนาหนองหาร จังหวัดสกลนคร 131

ระเบยี บวาระท่ี ๔ เรือ่ งเพือ่ พิจารณา วาระที่ ๔.2 แผนงานโครงการขนาดใหญ่และโครงการสาคัญ (ต่อ) 4.2.2 แผนหลักการพัฒนาหนองหาร จังหวดั สกลนคร 1. เรอ่ื งเดมิ คณะรัฐมนตรีเห็นชอบในหลักการ เมื่อวันท่ี ๒๒ สิงหาคม ๒๕๖0 โดยมอบหมายฝ่ายเลขานุการ คณะเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อบูรณาการการบริหารจัดการน้าในพื้นท่ี ภาคตะวันออกเฉียงเหนือในการแก้ไขปัญหาอุทกภัยและภัยแล้งในระยะยาว ให้สอดคล้องกับความต้องการ ของประชาชนในพ้ืนที่ และตามท่ีคณะรัฐมนตรีได้ลงพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือในระหว่างวันท่ี ๒๑-๒๒ สิงหาคม 2560 โดยในพื้นที่จังหวัดสกลนครในแต่ละอ้าเภอมักเกิดน้าท่วมได้จากหลายสาเหตุ เช่น อ้าเภอ โคกศรีสุพรรณ น้าท่วมมาจากสาเหตุการระบายน้าจากหนองหาร อ้าเภอเมือง ซึ่งมีสภาพเป็นแอ่งลุ่มต่้า ทางระบายน้าไม่เพียงพอ มีสิ่งกีดขวางทางน้าหลายแห่งและการบุกรุกพ้ืนท่ีหนองหาร จึงมีความต้องการ ทจี่ ะฟื้นฟูหนองหารให้เปน็ แหล่งเกบ็ กกั น้า เพื่อปอ้ งกนั ปญั หาภยั แล้ง และสามารถป้องกนั อทุ กภยั ได้ในฤดฝู น ๒. ข้อเท็จจรงิ /สาระสาคัญ 2.1 จังหวัดสกลนครร่วมกับส้านักงานทรัพยากรน้าแห่งชาติ (สทนช.) และกรมชลประทาน (ชป.) ได้จัดท้าโครงการศึกษาเพื่อจัดท้าแผนหลักการพัฒนาหนองหาร จังหวัดสกลนคร วัตถุประสงค์เพื่อจัดท้า แผนหลักอย่างเป็นองค์รวม มีทิศทางและกรอบแนวทางในการพัฒนาที่ชัดเจน และเป็นที่ยอมรับของทุกภาคส่วน เป็นแนวทางให้ส่วนราชการต่าง ๆ น้าไปด้าเนินการได้ ประกอบด้วย แผนระยะเร่งด่วน ระยะปานกลาง และ ระยะยาวครอบคลุมการพัฒนา 10 ปี (พ.ศ. 2563-2572) รวม 65 แผนงาน/โครงการ รวมวงเงิน 7,445.22 ล้านบาท โดยมหี นว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ รวม 12 หนว่ ยงาน ดังน้ี หนว่ ยงานที่รับผิดชอบ โครงการ งบประมาณ (จานวน) (ลา้ นบาท) 1. การประปาส่วนภมู ภิ าค 2. กรมชลประทาน 7 293.32 3. กรมประมง 10 1,713.96 4. กรมโยธาธิการและผงั เมือง 5. ส้านักงานท้องถน่ิ จงั หวดั สกลนคร 23 1,645.09 6. เทศบาลนครสกลนคร 6 945.90 7. เทศบาลตา้ บลท่าแร่ 1 50.00 8. องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั สกลนคร 1 577.09 9. ส้านักงานจังหวัดสกลนคร 1 127.00 10. สา้ นกั งานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวดั สกลนคร 7 11. สา้ นกั งานเกษตรและสหกรณ์จังหวดั สกลนคร 1,992.86 12. กรมพฒั นาที่ดิน 3 2 6.00 รวม 3 24.00 1 24.00 46.00 65 7,445.22 132

โดยมีประเด็นการพัฒนา 5 ด้าน และมีแผนงานระยะเร่งด่วน ปี 2563 - 2565 วงเงิน 1,842.66 ลา้ นบาท สรปุ ได้ดังน้ี ด้านท่ี 1 การจัดการน้าอุปโภคบริโภค ปี 2563 – 2570 จ้านวน 7 แผนงาน/โครงการ งบประมาณ 293.32 ลา้ นบาท โดยมีแผนระยะเรง่ ดว่ นในปี 2563 งบประมาณ 4.92 ลา้ นบาท ดา้ นที่ 2 การสร้างความม่ันคงของน้าภาคการผลิต ปี 2564 – 2569 จ้านวน 2 แผนงาน/ โครงการ งบประมาณ 1,064.62 ล้านบาท โดยมีแผนด้าเนินการในปี 2564 - 2565 งบประมาณ 170.06 ล้าน บาท ด้านที่ 3 การจัดการน้าท่วมอุทกภัย ปี 2563 – 2569 จ้านวน 15 แผนงาน/โครงการ งบประมาณ 1,595.24 ล้านบาท โดยมแี ผนดา้ เนินการในปี 2563 – 2565 งบประมาณ 518.04 ล้านบาท ด้านที่ 4 การจัดการคุณภาพน้าและอนุรักษ์ทรัพยากรน้า ปี 2563 – 2570 จ้านวน 23 แผนงาน/ โครงการ งบประมาณ 4,328.89 ล้านบาท โดยมีแผนด้าเนินการในปี 2563 – 2565 งบประมาณ 1,116.44 ล้านบาท ด้านท่ี 5 การบริหารจัดการ ปี 2563 – 2572 จ้านวน 18 แผนงาน/โครงการ งบประมาณ 163.15 ลา้ นบาท โดยมีแผนด้าเนนิ การในปี 2563 – 2565 งบประมาณ 33.20 ล้านบาท รายละเอยี ดการพัฒนา 5 ดา้ น ตามเอกสารแนบท้ายวาระ 2.2 โครงการที่มีความพร้อมสามารถเร่ิมดาเนินการได้ในปีงบประมาณ 2563 และอยู่ในระหว่าง พจิ ารณางบประมาณ ดงั นี้ 1. โครงการขอบเขตจ้าหน่ายน้าของการประปาส่วนภูมิภาค งบประมาณ 4.92 ล้านบาท อยู่ใน ข้นั ตอนการพิจารณางบประมาณ 2. โครงการก่อสร้างประตูระบายน้า ล้าน้าพุ่ง - น้าก้่า อันเนื่องมาจากพระราชด้าริของกรม ชลประทาน คณะรฐั มนตรีมีมตใิ ห้ดา้ เนนิ การเม่อื วนั ท่ี 8 มกราคม 2562 งบประมาณ 2,100 ลา้ นบาท ผูกพัน 4 ปี (ไมร่ วมงบประมาณในแผนหลกั ) 3. โครงการก่อสร้างระบบระบายน้าหลักเพ่ือบรรเทาปัญหาน้าท่วม ระยะที่ 1 พื้นที่ชุมชน เมืองสกลนคร ของกรมโยธาธกิ ารและผังเมือง งบประมาณ 320 ล้านบาท และคา่ ควบคุมงาน 11.2 ล้านบาท ผกู พัน 3 ปี 2.3 การขับเคล่ือนการพัฒนาหนองหาร จังหวัดสกลนคร ปัจจุบันกระทรวงมหาดไทยและจังหวัด สกลนคร ไดด้ ้าเนินการดงั น้ี 1. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้เชิญหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องประกอบด้วย ผู้แทนจังหวัด สกลนคร ผู้แทนส้านักงานทรัพยากรน้าแห่งชาติ (สทนช.) ผู้แทนกรมประมง (ปม.) ผู้แทนกรมชลประทาน (ชป.) ผู้แทนกรมท่ีดิน (ทด.) และส้านักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย (สป.มท.) มาร่วมหารือเพ่ือหาแนว ทางการพัฒนาหนองหาร จังหวัดสกลนคร โดยได้มอบนโยบายและแนวทางการพัฒนาหนองหาร จังหวัด สกลนคร ดังนี้ (1) เห็นชอบท่ีจะน้าแผนการศึกษาเพื่อพัฒนาหนองหารในการแก้ไขปัญหาและพัฒนา ในทุกด้าน และมีการบูรณาการกับหนว่ ยงาน 13 หน่วนงาน ที่จังหวดั ได้รว่ มกับ สทนช. ดา้ เนินการศกึ ษาและ น้ามาขบั เคลอ่ื นการปฏิบัติ โดยคณะกรรมการของจงั หวดั และ สทนช. เพือ่ ประโยชน์ต่าง ๆ ในพ้นื ท่ี (2) ปญั หาแนวเขตพ้ืนท่ีหนองหาร ให้น้าเข้าคณะกรรมการนโยบายท่ดี ินแห่งชาติ (คทช.) พิจารณา และให้เน้นการใช้ประโยชน์พ้ืนที่สาธารณะร่วม เน่ืองจากหนองหารมีกฎหมายก้าหนดแนวเขต 133


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook