Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระเบียบวาระการประชุม กนช. ครั้งที่ 3-2562 _20 ธ.ค. 62

ระเบียบวาระการประชุม กนช. ครั้งที่ 3-2562 _20 ธ.ค. 62

Published by supanut kapang, 2019-12-18 03:40:35

Description: ระเบีบยวาระการประชุม กนช. ครั้งที่ 3-2562 (20 ธ.ค. 62

Search

Read the Text Version

11. โครงการพฒั นาแหลง่ นำ้ และการจดั การทรัพยากรน้ำรองรับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ปี 2563-2580) 1. สภาพปัญหาและเหตุผลความจำเป็นที่ต้องมีโครงการ รัฐบาลได้ขับเคลื่อนโครงการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ใน 3 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดชลบุรี จังหวัดระยอง และจังหวัดฉะเชิงเทรา เกิดการพัฒนาเมืองใหม่และเขตส่งเสริม เศรษฐกิจพิเศษ ได้แก่ เขตนวตั กรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi) เขตส่งเสริมอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดจิ ิทัล (EECd) ศูนย์นวัตกรรมการแพทย์ครบวงจร ธรรมศาสตร์ พัทยา (EECmd) และเมืองการบินภาคตะวันออก (EEC-A) ด้านทรัพยากรน้ำ เป็นปัจจัยสำคัญย่ิง โดยเฉพาะเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ที่ภาครัฐจะต้องขจัดความเสี่ยงการขาดแคลนน้ำ สทนช. ได้ประเมิน ประเมินความต้องการใช้น้ำในระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2580) จากการขยายตวั ของประชากร จาก 4 ล้านคนในปี 2560 เพ่ิมเป็น 6 ล้านคนในปี 2580 (สกพอ.) และการประเมินการขยายตัวภาคอุตสาหกรรม รวมถึงภาคเกษตรกรรม พบว่า จังหวัดชลบุรี มีความต้องการใช้น้ำในปี 2560 จำนวน 469 ล้าน ลบ.ม. ปี 2580 เพ่ิมเป็น 703 ล้าน ลบ.ม.เพ่ิมข้ึน ร้อยละ 50 โดยเพิ่มจาก ด้านอุตสาหกรรมเป็นหลัก จังหวัดระยอง มีความต้องการใช้น้ำในปี 2560 จำนวน 494 ล้าน ลบ.ม. ปี 2580 เพิ่มเป็น 749 ล้าน ลบ.ม. เพ่ิมขึ้น ร้อยละ 52 โดยเพิ่มจากด้านอุตสาหกรรมเป็นหลัก และจังหวัดฉะเชิงเทรา มีความต้องการใช้น้ำในปี 2560 จำนวน 1,456 ล้าน ลบ.ม. ปี 2580 เพ่มิ เปน็ 1,637 ล้าน ลบ.ม.เพมิ่ ขน้ึ ร้อยละ 12 โดยเพมิ่ จากดา้ นเกษตรกรรมเปน็ หลกั 2. ลักษณะของโครงการ โครงการพัฒนาแหล่งน้ำและการจัดการทรัพยากรน้ำรองรับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ปี 2563-2580) ประกอบด้วย 4 แผนงาน/โครงการ 1 มาตรการ ดังนี้ 2.1 แผนการพัฒนาแหล่งน้ำต้นทุนรองรับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ปี 2563-2580 จำนวน 38 โครงการ (รายละเอียดแสดงดังรูปท่ี 1) ประกอบด้วย - ก่อสรา้ งอ่างเกบ็ น้ำใหม่ 10 แหง่ - ปรบั ปรุงเพิม่ ความจุอ่างเก็บนำ้ เดิม 6 แหง่ - ปรบั ปรุงระบบเครือข่ายนำ้ เดิม 2 แหง่ - กอ่ สรา้ งระบบเครือข่ายน้ำใหม่ 4 แห่ง - อโุ มงค์ส่งนำ้ 1 แหง่ - ระบบสบู กลบั 4 แห่ง - ขุดลอกคลองในพ้ืนทีช่ ลประทาน 1 แห่ง - พัฒนาพ้ืนทลี่ ุ่มต่ำโครงการสง่ น้ำและบำรุงรักษาบางพลวงใหเ้ ปน็ แกม้ ลิง 1 แห่ง - การพัฒนากลุม่ บ่อนำ้ บาดาลสำหรบั ภาคอตุ สาหกรรม 1 แห่ง - สระสำรองน้ำเอกชน 1 แห่ง - ผลติ น้ำจืดจากนำ้ ทะเล 1 แห่ง - แผนงานกอ่ สรา้ งปรบั ปรงุ ขยาย กปภ. 4 แหง่ - แผนงานกอ่ สร้างระบบทอ่ สง่ น้ำดิบ 1 แห่ง - การเพิม่ ประสทิ ธิภาพและปริมาณการจา่ ยนำ้ ของระบบท่อสง่ นำ้ 1 แห่ง 2.2 แผนการบริหารจดั การดา้ นความตอ้ งการใชน้ ำ้ ปี 2563-2580 จำนวน 9 โครงการ ประกอบด้วย 2.2.1 มาตรการใชส้ ิ่งก่อสร้าง จำนวน 5 โครงการ 2.2.2 มาตรการไม่ใช้ส่ิงกอ่ สร้าง จำนวน 4 โครงการ 2.3 แผนการปอ้ งกันและบรรเทาอุทกภัย ปี 2563-2580 จำนวน 25 โครงการ 2.4 แผนการจดั การคณุ ภาพน้ำ ปี 2563-2580 จำนวน 33 โครงการ ประกอบดว้ ย 2.4.1 มาตรการใช้ส่ิงกอ่ สรา้ ง จำนวน 30 โครงการ 2.4.2 มาตรการไมใ่ ชส้ ิ่งก่อสรา้ ง จำนวน 3 โครงการ 2.5 มาตรการด้านอื่น ๆ เพื่อแกไ้ ขปัญหาการขาดแคลนน้ำ ปี 2563-2570 จำนวน 3 โครงการ 173

3. งบประมาณโครงการ 136,095.40 ลา้ นบาท 4. ระยะเวลากอ่ สร้างโครงการ 18 ปี (พ.ศ. 2563 - 2580) 5. ประโยชนข์ องโครงการ • เพ่ิมนำ้ ต้นทนุ 872.19 ลา้ น ลบ.ม. รองรบั ความต้องการใชน้ ำ้ ทุกภาคส่วนจนถึงปี 2580 • ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีใหมใ่ นการเสริมศักยภาพน้ำตน้ ทุน เช่น โครงการผลติ น้ำจืดจากน้ำทะเล • ป้องกันและบรรเทาปัญหาน้ำท่วมพ้ืนที่ชุมชนเมืองสำคัญในปัจจุบัน รวมถึงพื้นที่ท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาเป็นชุมชน เมือง หรือ เขตพ้ืนท่ีเศรษฐกิจสำคัญในอนาคต ในพ้ืนที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก รวม 25 โครงการ ได้แก่ พื้นท่ีเมืองพัทยาและพ้ืนท่ีต่อเนื่อง 1 โครงการ พ้ืนที่ชุมชนเมืองในเขตจงั หวัดชลบุรี 4 โครงการ พ้ืนท่ีชุมชนเมืองใน เขตจังหวัดระยอง 6 โครงการ คลองผันน้ำเล่ียงเมืองระยอง 1 โครงการ พื้นท่ีชุมชนเมืองในเขตจังหวัดฉะเชิงเทรา 8 โครงการ โครงการปรับปรุงระบบระบายน้ำ 1 โครงการ โครงการบรรเทาอุทกภัยในพ้ืนที่ลุ่มน้ำ 2 โครงการ โครงการก่อสร้างปตร.กลางคลอง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการน้ำ 1 โครงการ และโครงการปรับปรุง พ้ืนท่นี ้ำท่วมซ้ำซากเป็นแกม้ ลิง ในเขตพ้ืนที่จงั หวดั ฉะเชิงเทรา 1 โครงการ • ป้องกนั และบรรเทาปญั หาคณุ ภาพน้ำเส่อื มโทรม • ปรับปรุงและขยายระบบรวบรวมและระบบบำบัดนำ้ เสยี ชุมชน สามารถบำบดั ได้วนั ละ 1.5 ลา้ น ลบ.ม./วัน • ชุมชนเมืองใช้การ reuse/recycle ร้อยละ 10 ของปริมาณการใช้น้ำ เป้าหมายปี 2580 จะได้ปริมาณน้ำกลับมาใช้ ใหม่ 25 ลา้ น ลบ.ม. • อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ใช้การ reuse/recycle ร้อยละ 20 ของปริมาณการใช้น้ำ เป้าหมายปี 2580 จะได้ปริมาณ นำ้ กลบั มาใชใ้ หมไ่ ม่ต่ำกวา่ 100 ลา้ น ลบ.ม. 6. ผลกระทบ ในการศึกษาได้พิจารณาผลกระทบของโครงการท่ีอาจเกิดขึ้นท้ังในส่วนของผลกระทบด้านส่ิงแวดล้อม และระบบนเิ วศ ผลกระทบด้านสังคมการจดั หาที่ดนิ รวมถึงผลกระทบทีเ่ กดิ ข้ึนกับเกษตรกรหรือกลมุ่ ผู้ใช้น้ำเดิม พร้อมท้ังเสนอ แนวทางในการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสม รวมถึงการเสนอให้ศึกษา/ทบทวนการศึกษาผลกระทบด้านส่ิงแวดล้อมของโครงการที่ อยู่ในเกณฑ์ที่ต้องดำเนินการ พร้อมกันน้ี ในการศึกษาได้มีการวิเคราะห์ศักยภาพ ข้อจำกัดในการพัฒนา และผลกระทบที่ อาจเกิดข้ึนในแตล่ ะโครงการ เพื่อนำไปใชป้ ระกอบในการจัดเตรยี มแผนงาน และแผนการลงทุนท่เี หมาะสมต่อไป 7. สถานภาพโครงการ หนว่ ยงานเจ้าภาพ ท้ังส้ิน 19 หนว่ ยงาน ประกอบด้วย สำนกั งานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาค ตะวันออก บริษัทจัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำภาคตะวันออก จำกัด (มหาชน) การประปาส่วนภูมิภาค กรมชลประทาน กรมทรัพยากรน้ำบาดาล กรมทรัพยากรน้ำ กรมส่งเสริมการเกษตร กรมวิชาการเกษตร สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม กรมพัฒนาที่ดิน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมโยธาธิการและผังเมือง กรมควบคุมมลพิษ องค์การจัดการน้ำเสีย กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน เมืองพทั ยา และจังหวัดระยอง เร่งรัดดำเนินการศึกษาความเหมาะสม เตรียมความพร้อมด้านวิศวกรรม ด้านที่ดิน จัดเข้าแผนงานของหน่วยงานเพื่อ จัดสรรงบประมาณ และเร่งรัดดำเนินการก่อสร้างตามแผนปฏิบัติงานที่วางไว้ เพ่ือให้แล้วเสร็จสอดคล้องกับแผนการพัฒนา เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก 174

รปู ที่ 1 แผนการพัฒนาแหล่งน้ำตน้ ทุนรองรับเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก ปี 2563-2580 175

ระเบยี บวาระท่ี 4 เรอ่ื งเพ่ือพจิ ารณา วาระที่ 4.3 กรอบแนวทางเพ่อื การกาํ หนดหลักเกณฑก ารใชส อยทรัพยากรนํา้ สาธารณะของหนว ยงานของรัฐหรือองคก รปกครองสวนทอ งถิ่น 176

ระเบยี บวาระท่ี ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา วาระที่ ๔.๓ กรอบแนวทางเพ่ือการก้าหนดหลักเกณฑ์การใช้สอยทรัพยากรน้าสาธารณะของหน่วยงาน ของรัฐหรอื องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ (มาตรา ๖ วรรคสาม) ๑. เร่อื งเดิม พระราชบัญญัติทรัพยากรน้า พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๑๐๖ “การด้าเนินการตราพระราช กฤษฎีกาและการออกกฎกระทรวง ระเบียบและประกาศตามพระราชบัญญัตินี ยกเว้นการออกกฎกระทรวง และประกาศตามหมวด ๔ การจัดสรรน้าและการใช้น้า ให้ด้าเนินการให้แล้วเสร็จภายในเก้าสิบวันนับแต่วันท่ี พระราชบัญญัตนิ ีใช้บังคับ หากไม่สามารถด้าเนินการได้ ให้นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย แล้วแต่กรณี รายงานเหตผุ ลท่ีไม่อาจด้าเนินการได้ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ” ส้านักงานทรัพยากรน้าแหง่ ชาติ ได้เสนอนายกรฐั มนตรี เพ่อื รายงานใหค้ ณะรฐั มนตรี ทราบเหตุผลท่ีไม่อาจดา้ เนินการได้แล้วเสร็จภายในก้าหนด เมือ่ วนั ที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๖๒ ๒. เหตุผลความจา้ เป็นทต่ี ้องเสนอคณะกรรมการทรพั ยากรน้าแห่งชาติ พระราชบัญญัติทรัพยากรน้า พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๖ วรรคสาม “ให้หน่วยงานของรัฐ หรอื องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ที่รบั ผิดชอบตามวรรคสอง มีอ้านาจออกระเบียบหรอื ขอ้ บัญญัตทิ ้องถน่ิ แลว้ แต่ กรณี เพื่อก้าหนดหลักเกณฑ์การเข้าใช้สอยทรัพยากรน้าสาธารณะนันตามกรอบแนวทางที่คณะกรรมการ ทรัพยากรน้าแห่งชาติก้าหนด โดยหลักเกณฑ์ดังกล่าวต้องมิใช่หลักเกณฑ์เก่ียวกับการจัดสรรน้าและการใช้น้า ตามท่กี ้าหนดไวใ้ นหมวด ๔ การจดั สรรน้าและการใชน้ า้ ” ด้วยบทบัญญัติของกฎหมายดังกล่าวจึงจ้าเป็นต้องเสนอคณะกรรมการทรัพยากรน้าแห่งชาติ เพื่อพจิ ารณาเหน็ ชอบ ๓. ข้อเท็จจริง ใน ปั จ จุ บั น มี ท รั พ ย า ก ร น้ า ส า ธ า ร ณ ะ ใน ห ล า ย พื น ท่ี ข า ด เจ้ า ภ า พ ใน ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ซ่ึงพระราชบัญญัติทรัพยากรน้า พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๖ วรรคสอง ก้าหนดให้เป็นอ้านาจของนายกรัฐมนตรี ท่ีอาจมอบหมายหรือก้าหนดให้หน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งตามที่นายกรัฐมนตรีพิจารณาเห็นสมควร ซ่ึงเป็น ดุลพินิจโดยแท้ของนายกรัฐมนตรีท่ีจะก้าหนดให้หน่วยงานใดเป็นผู้รับผิดชอบดูแลและบ้ารุงรักษา เช่น กรมชลประทาน กรมทรัพยากรน้า กรมทรัพยากรน้าบาดาล กรมพัฒนาที่ดิน ส้านักงานปฏิรูปท่ีดิน เพื่อเกษตรกรรม หรอื องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ หรอื หนว่ ยงานอน่ื ๆ เป็นตน้ เพ่ือให้การบริหารทรัพยากรน้าสาธารณะในอนาคตมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทรัพยากรน้า สาธารณะทุกแห่ง ยกเว้นทรัพยากรน้าสาธารณะท่ีเป็นทางน้าชลประทานตามกฎหมายว่าด้วยการชลประทาน และน้าบาดาลตามกฎหมายว่าด้วยน้าบาดาล ต้องมีผู้รับผิดชอบควบคุมดูแลและบ้ารุงรักษา และ เมื่อนายกรัฐมนตรีได้ประกาศก้าหนดให้หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใด เป็นผู้รับผิดชอบ ควบคุมดแู ลและบ้ารุงรกั ษาทรัพยากรน้าสาธารณะแหง่ แห่งใดแล้ว มาตรา ๖ วรรคสาม ยังกา้ หนดให้หน่วยงาน ของรัฐหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท่ีรับผิดชอบนันไปออกหลักเกณฑ์การเข้าใช้สอยทรัพยากรน้าสาธารณะนัน ตามกรอบแนวทางท่คี ณะกรรมการทรพั ยากรนา้ แห่งชาติก้าหนด ส้านักงานทรัพยากรน้าแห่งชาติ ได้พิจารณาศึกษาจัดท้ากรอบแนวทางเพ่ือการก้าหนด หลักเกณฑ์การใช้สอยทรัพยากรน้าสาธารณะของหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยยกร่าง 177

ประกาศคณะกรรมการทรัพยากรน้าแห่งชาติ เร่ือง กรอบแนวทางเพื่อการก้าหนดหลักเกณฑ์การใช้สอย ทรัพยากรน้าสาธารณะของหนว่ ยงานของรฐั หรอื องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ คณะอนุกรรมการพิจารณากล่ันกรองกฎหมายด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้า ในการประชุม ครังท่ี ๑/๒๕๖๒ เม่ือวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๖๒ มีมติเห็นชอบในหลักการ โดยให้ฝ่ายเลขานุการ น้าข้อเสนอแนะของที่ประชุมไปพิจารณาด้าเนินการ และฝ่ายเลขานุการได้พิจารณาด้าเนินการตาม ข้อเสนอแนะแลว้ ดงั นี ด้านการจัดท้าแผนและติดตามผล ข้อ ๑ ให้มีแผนงานการใช้ การพัฒนา การบริหารจัดการ การบ้ารุงรักษา การฟื้นฟู และการ อนุรักษ์ทรัพยากรน้าสาธารณะ ทังในภาวะปกติ และในภาวะน้าแล้งหรือภาวะน้าท่วม ทังนี ให้สอดคล้องกับ แผนแมบ่ ทการใช้ การพัฒนา การบริหารจัดการ การบ้ารุงรักษา การฟื้นฟู และการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรน้าในเขต ลมุ่ น้าของคณะกรรมการลมุ่ น้า ที่ผ่านความเห็นชอบของ กนช. ข้อ ๒ ให้ประสานหน่วยงานของรัฐ หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เก่ียวข้อง เพื่อร่วมกัน บริหารจัดการและใช้สอยทรัพยากรน้าสาธารณะส้าหรับกิจกรรมประเภทต่าง ๆ ทังนี ตามกฎหมายหรือกฎ ในเรอ่ื งนัน ข้อ ๓ ให้มีการติดตามรายงานผลการด้าเนินการ ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนวทางการแก้ไข ปัญหาและผลดีหรือผลกระทบในการด้าเนินการตามแผนงานดังกล่าวต่อคณะกรรมการลุ่มน้าอย่างน้อย ปีละหน่ึงครงั ดา้ นการจดั ท้ามาตรการและควบคุมดูแล ข้อ ๔ ให้มีมาตรการในการควบคุมดูแลทรัพยากรน้าสาธารณะเพื่อป้องกันหรือแก้ไขปัญหา การบุกรุก การท้าอ่ืนใดอันจะก่อให้เกิดอันตรายหรือความเสียหายต่อทรัพยากรน้าสาธารณะ หรือท้าให้ เสื่อมสภาพตอ่ คณุ ภาพของนา้ ข้อ ๕ ให้มีการควบคุมดูแลทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศน์ หรือความหลากหลายทาง ชวี ภาพ ในบริเวณพนื ทแ่ี หลง่ ทรัพยากรนา้ สาธารณะนัน 4. ข้อเสนอเพือ่ พิจารณา ให้ความเห็นชอบกรอบแนวทางเพ่ือการก้าหนดหลักเกณฑ์การใช้สอยทรัพยากรน้าสาธารณะ ของหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพ่ือจะได้จัดท้าร่างประกาศ กนช. เสนอประธาน กนช. พิจารณาลงนามต่อไป จึงเสนอทีป่ ระชุมเพ่ือโปรดพิจารณา มติทปี่ ระชมุ ……………………………………………………………………............................................................................ .………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 178

ระเบียบวาระท่ี 4 เรื่องเพื่อพจิ ารณา วาระที่ 4.4 รา งคําส่งั แตง ตั้งคณะอนกุ รรมการทรพั ยากรนาํ้ จังหวัด... 179

ระเบยี บวาระที่ 4.๔ เรอื่ งเพือ่ พิจารณา วาระที่ 4.๔ รา่ งคำส่งั แต่งตัง้ คณะอนุกรรมการทรพั ยากรน้ำจงั หวดั ... 1. เรอ่ื งเดมิ สืบเนื่องจากการประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองกฎหมายด้านการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ำ เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2562 ที่ประชุมมีมติให้นำเรื่องรา่ งคำสั่งคณะอนุกรรมการทรัพยากรน้ำ จังหวัด เสนอคณะกรรมการทรัพยากรนำ้ แหง่ ชาติเพื่อพจิ ารณา 2. เหตผุ ลความจำเปน็ ทต่ี อ้ งเสนอคณะกรรมการทรพั ยากรน้ำแห่งชาติ เพ่ือเป็นไปตามพระราชบญั ญตั ิทรพั ยากรนำ้ พ.ศ. 2561 มาตรา 20 วรรค 3 3. ขอ้ เทจ็ จรงิ / สาระสำคญั 3.1 ความจำเปน็ ในการจดั ตง้ั คณะอนุกรรมการทรัพยากรนำ้ จงั หวัด เพื่อประโยชน์ในการบริหารทรัพยากรน้ำที่เชื่อมโยงกันในระดับลุ่มน้ำและระดับพื้นท่ี เป็นการบูรณาการแผนงานโครงการ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการบริหารทรัพยากรน้ำ ทั้งด้านการใช้ การพัฒนา การบริหารจัดการ การบำรุงรักษา การฟื้นฟู การอนุรักษ์และการดำเนินการอื่นที่เกี่ยวกับทรัพยากรน้ำ จึงมี ความจำเป็นที่จะต้องจัดตั้งคณะอนุกรรมการทรัพยากรน้ำจังหวัด ประกอบกับจากการประชุมคณะกรรมการ ปฏิรูปประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 13/2562 เม่ือวันที่ 11 กรกฏาคม 2562 ระเบียบวาระที่ 4.1 เรื่องความก้าวหน้าโครงการจัดตั้งศูนย์ข้อมูลน้ำระดับจังหวัด ที่ประชุมมีมติ “รับทราบ ความก้าวหน้าการดำเนินงานจัดตั้งศูนย์ข้อมูลน้ำระดับจังหวัด ซึ่งมีหน้าที่สนับสนุนภารกิจของผู้ ว่าราชการ จังหวัด คณะอนุกรรมการทรัพยากรน้ำจังหวัด และคณะกรรมการลุ่มน้ำ ในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ระดับจังหวัดและระดับภาค ทั้งนี้ ขอให้ขยายผลให้ครบทั้ง 76 จังหวัด และมอบหมายให้กระทรวงมหาดไทย และสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ หารือร่วมกันกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อยกร่างคำสั่งแต่งต้ังคณะอนุกรรมการ ทรพั ยากรนำ้ จังหวัด ตามมาตรา 20 ในพระราชบญั ญตั ิทรพั ยากรน้ำ พ.ศ. 2561 3.2 หลักเกณฑ์การคัดเลือกจังหวัด เพื่อจัดลำดับจังหวัดที่จะดำเนินการจัดต้ัง คณะอนุกรรมการทรพั ยากรน้ำจังหวดั ในปงี บประมาณ 2563 - 2564 ประกอบด้านการพิจารณา 5 ดา้ น ดงั น้ี 1) อยู่ในพื้นที่เป้าหมายการแก้ไขปัญหาภัยแล้งและน้ำท่วมเชิงพื้นที่อย่างเป็นระบบ (Area Based) มคี า่ น้ำหนกั การใหค้ ะแนน 1 คะแนน 2) เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด ของกระทรวงมหาดไทย มีค่าน้ำหนักการให้ คะแนน 1 คะแนน 3) เป็นจังหวัดตัวแทนลุ่มนำ้ หลักหรือพื้นทีท่ ั้งจังหวัดอยู่ในลุ่มน้ำ มีค่าน้ำหนักการให้ คะแนน 1 คะแนน 4) เป็นพื้นที่อ่อนไหว/ต้องบูรณาการการดำเนินงานของหน่วยงาน มีค่าน้ำหนักการ ให้คะแนน 1 คะแนน 5) เปน็ จังหวดั นำร่องและพร้อมดำเนินการ มีคา่ นำ้ หนกั การให้คะแนน 1 คะแนน 180

3.2.1 จงั หวดั ทม่ี พี ื้นท่ี Area Based ประเทศไทยมีจังหวัดเป้าหมายการแก้ไขปัญหาภัยแล้งและน้ำท่วมเชิงพื้นท่ี อย่างเป็นระบบ (Area Based) จำนวน 71 จังหวัด โดยจังหวัดที่ไม่มี Area Based 5 จังหวัด ได้แก่ จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน จันทบรุ ี ระนอง พงั งา กระบี่ 3.2.2 จังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติของกลุ่มจังหวัด ของกระทรวงมหาดไทย มีทั้งสิ้น 18 จงั หวัด ประกอบด้วย 1. ภาคเหนือตอนบน 1 / จงั หวดั เชยี งใหม่ 10. ภาคตะวันออก 2 / จงั หวดั ปราจนี บรุ ี 2. ภาคเหนอื ตอนบน 2 / จังหวัดเชียงราย 11. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ตอนบน 1 / จังหวดั อดุ รธานี 3. ภาคเหนือตอนลา่ ง 1 / จังหวัดพิษณุโลก 12. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน2 /จงั หวดั สกลนคร 4. ภาคเหนอื ตอนลา่ ง 2 / จังหวดั นครสวรรค์ 13. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือตอนกลาง / จังหวดั ขอนแกน่ 5. ภาคกลางตอนบน / จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา 14. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนลา่ ง 1 / จังหวัดนครราชสีมา 6. ภาคกลางปริมณฑล / จงั หวดั นครปฐม 15. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือตอนลา่ ง 1 /จงั หวัดอบุ ลราชธานี 7. ภาคกลางตอนล่าง 1 / จงั หวัดราชบรุ ี 16. ภาคใตฝ้ งั่ อา่ วไทย / จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี 8. ภาคกลางตอนลา่ ง 2 / จังหวดั เพชรบรุ ี 17. ภาคใตฝ้ ัง่ อนั ดามนั / จังหวัดภเู ก็ต 9. ภาคตะวันออก 1 / จังหวัดลพบุรี 18. ภาคใตช้ ายแดน / จงั หวัดยะลา 3.2.3 จังหวดั ที่เปน็ ตวั แทนของลุ่มนำ้ หลัก จำนวน 22 จงั หวดั ของ 22 ล่มุ น้ำ ประกอบดว้ ย 1. ลมุ่ น้ำสาละวิน / จงั หวัดตาก 12. ลุ่มนำ้ ชายฝ่ังทะเลตะวนั ออก / จังหวัดชลบรุ ี 2. ลุ่มนำ้ ปิง / จังหวัดเชียงใหม่ 13. ลุ่มนำ้ โตนเลสาป / จงั หวัดสระแก้ว 3. ลมุ่ นำ้ วัง / จงั หวัดลำปาง 14. ล่มุ น้ำแมก่ ลอง / จังหวัดราชบรุ ี 4. ลมุ่ นำ้ โขงเหนอื / จงั หวัดเชยี งราย 15. ลุ่มน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ์ / จงั หวดั เพชรบุรี 5. ลมุ่ น้ำยม / จังหวัดแพร่ 16. ลุ่มนำ้ โขงตะวันออกเฉยี งเหนอื /จังหวดั อดุ รธานี 6. ลมุ่ น้ำนา่ น / จงั หวัดพิษณโุ ลก 17. ลุม่ นำ้ ชี / จงั หวดั กาฬสินธ์ุ 7. ลุ่มนำ้ สะแกกรัง / จงั หวดั นครสวรรค์ 18. ลมุ่ นำ้ มลู / จงั หวดั นครราชสีมา 8. ลุ่มนำ้ ปา่ สัก / จงั หวัดเพชรบรู ณ์ 19. ลุ่มนำ้ ภาคใต้ฝ่งั ตะวันตก / จงั หวดั ภเู กต็ 9. ล่มุ น้ำเจ้าพระยา / จงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา 20. ลุ่มน้ำภาคใต้ฝง่ั ตะวนั ออกตอนบน / จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี 10. ลุ่มน้ำท่าจีน / จังหวดั นครปฐม 21. ลมุ่ น้ำทะเลสาบสงขลา / จังหวดั สงขลา 11. ลมุ่ นำ้ บางปะกง / จงั หวัดปราจนี บรุ ี 22. ลุ่มน้ำภาคใตฝ้ ัง่ ตะวนั ออกตอนล่าง / ยะลา 3.2.4 จังหวดั ทเ่ี ป็นพ้ืนท่อี ่อนไหว/ตอ้ งบรู ณาการการดำเนนิ งานของหน่วยงาน จำนวน 2 พ้ืนท่ี ดงั นี้ 3.2.4.1 มีพืน้ ท่ตี ิดกับแมน่ ้ำระหว่างประเทศ - แมน่ ำ้ โขง จำนวน 8 จังหวดั ประกอบด้วย 1) เชยี งราย 2) เลย 3) หนองคาย 4) บึงกาฬ 5) นครพนม 6) มกุ ดาหาร 7) อำนาจเจริญ และ 8) อบุ ลราชธานี - แม่นำ้ สาละวนิ ไดแ้ ก่ จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน - แม่น้ำโก-ลก ได้แก่ จงั หวัดนราธิวาส - โตนเลสาป ไดแ้ ก่ จงั หวดั จนั ทบรุ ี จังหวดั สระแกว้ 181

3.2.4.2 แหล่งน้ำขนาดใหญ่ ที่จัดเป็นพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระดับ นานาชาติ (พ้นื ท่ขี นาด 12,000 ไรข่ ้นึ ไป) พื้นทีช่ ุ่มนำ้ ประเภท ที่ตั้ง เน้ือที่ จำนวนชนดิ เกณฑ์ ตร.กม. (ไร่) พนั ธ์ุ แรม แอ่งเชียงแสน ซาร์ ท่ีราบล่มน้ำท่วมถึง อำเภอเชียงแสน อำเภอแม่ 62.4 ตร.กม นก ปลา 1b,2a กวา๊ นพะเยา 2b,4a หนองนำ้ มนี ้ำตลอดปี จัน จังหวัดเชยี งราย (39,000 ไร)่ 121 143 บึงบอระเพ็ด 1e และมีนำ้ บางฤดู 14 47 หนองหาน 2a,2b, หนองหาน บงึ นำ้ จดื มนี ำ้ ตลอดปี ตำบลเวยี ง อำเภอเมอื ง 20.5296 ตร.กม. 187 44 3a,3b, กุมภวาปี 4b บึงละหาน หนองน้ำมนี ้ำตลอดปี จังหวัดพะเยา (12,831 ไร่) 32 31 พนื้ ท่ชี มุ่ น้ำ 74 39 1b,1e, ในเขตหา้ มลา่ และมีนำ้ บางฤดูทีร่ าบ 56 25 2a สัตว์ป่าทะเล 217 29 1b,2a, น้อย ลุม่ น้ำท่วมขงั 4b พนื้ ท่ชี ุ่มน้ำใน 216 88 1e,2a, เขตห้ามลา่ บึงน้ำจดื มีน้ำขัง ตำบลหนองกรด ตำบล 212.379 ตร.กม. 3b สัตว์ป่า 1b,1e, ทะเลสาบ ตลอดปีและมที ลี่ ุ่ม เกรยี งไกร อำเภอเมือง (132,737 ไร)่ 2a,2b, 3a,3b ชื้นแฉะโดยรอบ ตำบลทบั กฤษอำเภอชมุ แสง 1b,2a, ตำบลเขาพนมเศษ 3b อำเภอทา่ ตะโก จงั หวดั นครสวรรค์ บึงนำ้ ธรรมชาติ อำเภอเมือง 125.2 ตร.กม. จังหวดั สกลนคร (78,250 ไร่) หนองน้ำธรรมชาติ อำเภอกุมภวาปี 45 ตร.กม. มพี ชื นำ้ จังหวัดอดุ รธานี (28,125 ไร)่ หนองนำ้ ธรรมชาติ อำเภอจตั รุ สั จังหวดั ชัยภมู ิ 29.09 ตร.กม. มีพชื นำ้ (18,181 ไร่) บงึ นำ้ จดื ธรรมชาติ อำเภอควนขนนุ จังหวดั พัทลงุ เนอ้ื ท่ีเขตหา้ มล่าฯ ทีม่ พี ืชน้ำพรุ อำเภอระโนดจงั หวดั สงขลา 457 ตร.กม. อำเภอหัวไทร (285,625 ไร)่ จงั หวดั นครศรีธรรมราช ทะเลสาบนำ้ กรอ่ ย ตำบลคลองรี ตำบลทา่ หิน เน้อื ที่เขตห้ามลา่ ฯ ตำบลคูขดุ อำเภอสทิงพระ 364.6656 ตร. ตำบลบางเขียด ตำบลชะแล้ กม. ตำบลปากรอ อำเภอสงิ หนคร (227,916 ไร่) ตำบลควนโส อำเภอควงเนยี ง ตำบลเกาะใหญ่ อำเภอ กระแสสนิ ธ์ุ จังหวัดสงขลา และตำบลปากพะยนู ตำบลดอนประดู่ ตำบล เกาะหมาก ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยนู จังหวดั พัทลงุ 182

3.2.5 จังหวัดนำร่องและพร้อมดำเนินการ จำนวน 16 จังหวัด ประกอบด้วย แพร่ พจิ ติ ร พะเยา สุโขทัย สรุ าษฎรธ์ านี ลำพนู อุบลราชธานี นา่ น ระยอง พัทลงุ ชมุ พร สกลนคร พระนครศรีอยธุ ยา ชยั ภมู ิ อุตรดิตถ์ นครสวรรค์ 3.3 เกณฑ์คะแนนในการกำหนดจังหวัดที่จะดำเนินการจัดตั้งคณะอนุกรรมการทรัพยากรน้ำ จงั หวัด มี 2 เกณฑ์ ดังนี้ 1) ที่มีคะแนนมากกว่า 3 คะแนนขึ้นไป จะดำเนินการจัดตั้งคณะอนุกรรมการทรัพยากรน้ำ จังหวดั ในปี พ.ศ. 2563 2) จังหวัดที่มีคะแนนไม่เกิน 2 คะแนน จะดำเนินการจัดตั้งคณะอนุกรรมการทรัพยากรน้ำ จงั หวดั ในปี พ.ศ. 2564 จากการวิเคราะห์การให้คะแนนตามหลักเกณฑ์ทั้ง 5 ด้าน พบว่า มีจังหวัดที่ได้ คะแนนมากกว่า 3 คะแนนขึ้นไป จำนวน 40 จังหวัด ดำเนินการจัดตั้งคณะอนุกรรมการทรัพยากรน้ำ จังหวัดในปี พ.ศ. 2563 และจังหวัดที่ได้คะแนนไม่เกิน 2 คะแนนจำนวน 36 จังหวัด ดำเนินการจัดตั้ง คณะอนกุ รรมการทรัพยากรน้ำจงั หวดั ในปี พ.ศ. 2564 สรุปจงั หวดั ดำเนินการจดั ตั้งคณะอนกุ รรมการทรัพยากรน้ำจังหวัด ดังนี้ ลำดบั ท่ี ปี พ.ศ. 2563 ปี พ.ศ. 2564 1 เชียงราย ลำปาง 2 พะเยา กำแพงเพชร 3 แพร่ เพชรบูรณ์ 4 น่าน อทุ ยั ธานี 5 เชียงใหม่ 6 ลำพูน ลพบรุ ี 7 ตาก สระบุรี 8 สุโขทยั ชัยนาท 9 พษิ ณุโลก สิงหบ์ รุ ี 10 พจิ ิตร อา่ งทอง 11 อุตรดติ ถ์ ปทมุ ธานี 12 นครสวรรค์ นนทบุรี 13 พระนครศรีอยธุ ยา สมทุ รปราการ 14 นครปฐม สุพรรณบรุ ี 15 ราชบุรี กาญจนบรุ ี 16 เพชรบรุ ี ประจวบคีรีขนั ธ์ 17 ปราจีนบรุ ี สมุทรสาคร 18 สระแกว้ นครนายก 19 ชลบรุ ี ฉะเชงิ เทรา 20 ระยอง ตราด 21 อุดรธานี เลย หนองบวั ลำภู 183

ลำดบั ที่ ปี พ.ศ. 2563 ปี พ.ศ. 2564 มหาสารคาม 22 หนองคาย กาฬสินธุ์ 23 บงึ กาฬ 24 สกลนคร ร้อยเอด็ 25 นครพนม ยโสธร 26 มกุ ดาหาร บุรรี มั ย์ 27 ชยั ภูมิ สรุ ินทร์ 28 ขอนแกน่ ศรีสะเกษ 29 อำนาจเจริญ ตรงั 30 นครราชสีมา สตูล 31 อบุ ลราชธานี ปัตตานี 32 ชมุ พร แมฮ่ ่องสอน 33 สรุ าษฎร์ธานี ระนอง 34 ภเู กต็ พงั งา 35 นครศรีธรรมราช กระบ่ี 36 พัทลงุ จันทบรุ ี 37 สงขลา 38 ยะลา รวม 36 จังหวัด 39 นราธวิ าส 40 สมทุ รสงคราม รวม 40 จังหวดั 3.4 กิจกรรมการดำเนนิ งาน ปีงบประมาณ 2563 เสนอ กนช. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการทรัพยากรน้ำจังหวัด 40 จงั หวดั และจัดประชมุ คณะอนุกรรมการทรัพยากรน้ำจังหวัด จำนวน 40 จังหวัด จำนวน 6 คร้งั /จังหวัด/ปี ปีงบประมาณ 2564 เสนอ กนช. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการทรัพยากรน้ำจังหวัด 36 จังหวดั และจัดประชมุ คณะอนุกรรมการทรัพยากรน้ำจงั หวดั จำนวน 76 จงั หวดั จำนวน 10 ครัง้ /จังหวดั /ปี ปีงบประมาณ 2565 เป็นต้นไป จัดประชุมคณะอนุกรรมการทรัพยากรน้ำจังหวัด จำนวน 76 จังหวดั จำนวน 10 คร้งั /ปี 3.5 โครงสร้างองค์ประกอบและอำนาจหน้าท่ีคณะอนุกรรมการทรัพยากรน้ำจังหวัด มีองคป์ ระกอบ จำนวน 20 - 25 คน ดังน้ี ๑) ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ประธานอนกุ รรมการ ๒) รองผวู้ า่ ราชการจังหวัด ท่ีผวู้ า่ ราชการจงั หวัดมอบหมาย รองประธานอนกุ รรมการ ๓) ผ้อู ำนวยการรักษาความม่ันคงภายในจงั หวดั รองประธานอนกุ รรมการ ๔) ผู้อำนวยการสำนกั งานทรัพยากรธรรมชาติ อนุกรรมการ และสงิ่ แวดลอ้ มจังหวดั ๕) โยธาธกิ ารและผงั เมอื งจงั หวดั อนุกรรมการ 184

๖) เกษตรและสหกรณ์จังหวดั อนุกรรมการ ๗) ทอ้ งถ่นิ จังหวดั อนุกรรมการ ๘) ผอู้ ำนวยการโครงการชลประทานจงั หวดั อนกุ รรมการ ๙) ผแู้ ทนสำนักงานทรัพยากรนำ้ ภาค.................. อนกุ รรมการ ๑๐) ผแู้ ทนสำนกั งานเจ้าทา่ ภมู ภิ าคสาขา.................. อนุกรรมการ ๑๑) ผแู้ ทนสำนกั ทรพั ยากรน้ำบาดาลเขต.................. อนุกรรมการ ๑๒) ผแู้ ทนสถาบนั สารสนเทศทรพั ยากรนำ้ (องค์การมหาชน) อนุกรรมการ ๑๓) ผแู้ ทนการประปาส่วนภมู ภิ าค (ทป่ี ระชมุ เสนอ) อนุกรรมการ ๑๔) นายกองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัด อนุกรรมการ ๑๕) นายกเทศมนตรี ทผ่ี วู้ ่าราชการจังหวดั เสนอ อนุกรรมการ ๑๖) นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบล ท่ีผ้วู ่าราชการจงั หวดั เสนอ อนุกรรมการ ๑๗) ผแู้ ทนผใู้ ช้นำ้ ภาคเกษตรกรรม ท่ผี วู้ ่าราชการจงั หวดั เสนอ อนกุ รรมการ ๑๘) ผแู้ ทนผใู้ ช้น้ำภาคอตุ สาหกรรม ท่ผี วู้ า่ ราชการจงั หวดั เสนอ อนกุ รรมการ ๑๙) ผู้แทนผใู้ ช้นำ้ ภาคพาณิชยกรรม ทผี่ ูว้ า่ ราชการจงั หวดั เสนอ อนกุ รรมการ ๒๐) หัวหนา้ สำนักงานจงั หวดั อนุกรรมการ และเลขานกุ าร ๒๑) หัวหนา้ สำนกั งานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั จงั หวัด อนุกรรมการ และเลขานุการร่วม ๒๒) ผู้แทนสำนักงานทรพั ยากรนำ้ แหง่ ชาตภิ าค.................. อนกุ รรมการ และเลขานุการรว่ มหรือ หน้าท่แี ละอำนาจ 1) จดั ทำแผนงาน แผนปฏิบัตกิ าร และแผนงานงบประมาณการบรหิ ารจัดการทรัพยากรน้ำ แบบบูรณาการของส่วนราชการ หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในระดับจังหวัด ตามกรอบแผนแม่บทระดบั ลุ่มน้ำ 2) บูรณาการและขับเคลื่อนแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในระดับจังหวัดตามกรอบ แผนแม่บทระดับลุม่ นำ้ ท้ังในภาวะปกติ และภาวะวกิ ฤต 3) รวบรวมเชื่อมต่อ บูรณาการข้อมูล และสารสนเทศทรัพยากรน้ำ เพื่อการบริหาร จดั การทรัพยากรนำ้ ในระดับจังหวัด รวมทัง้ สนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการลุ่มน้ำ 4) ติดตาม ประเมินผล การดำเนินงานตามแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ และ รายงานตอ่ คณะกรรมการทรพั ยากรนำ้ แหง่ ชาติ 5) แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของคณะอนุกรรมการทรัพยากรน้ำ จังหวัด 6) ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่คณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (กนช.) หรือประธาน กนช. มอบหมาย 185

4. ข้อเสนอเพอ่ื พจิ ารณา เพื่อประโยชน์ในการบูรณาการการบริหารทรัพยากรน้ำทั้งในภาวะปกติ และภาวะวิกฤต รวมทั้งการขับเคลื่อนแผนบร ิหารจัด การ ทรั พยากรน้ำใ นระดับจังหวั ด ให้เป ็นไป อย่ างม ีปร ะสิทธ ิ ภ า พ และการจัดตั้งคณะอนุกรรมการทรัพยากรน้ำจังหวัดเป็นไปตามมติ ที่ประชุมคณะกรรมการปฏิรูปประเทศ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม ครงั้ ที่ 13/2562 เม่อื วนั ท่ี 11 กรกฏาคม 2562 4.1 เหน็ ชอบแนวทางการแต่งต้ังคณะอนุกรรมการทรัพยากรน้ำจังหวัด โดยดำเนินการจัดตั้ง คณะอนุกรรมการทรัพยากรน้ำจังหวัด ในปี พ.ศ. 2563 จำนวน 40 จังหวัด และ ในปี พ.ศ. 2564 จำนวน 36 จังหวัด 4.2 เหน็ ชอบร่างคำสงั่ แต่งต้ังคณะอนุกรรมการทรัพยากรนำ้ จงั หวัด องค์ประกอบ หนา้ ที่และ อำนาจ ตามเอกสารแนบทา้ ยวาระท่ี 4.4 4.3 เห็นควรให้สำนักงบประมาณพิจารณาสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานของ คณะอนกุ รรมการทรพั ยากรนำ้ จังหวดั ตอ่ ไป จึงเรียนที่ประชมุ เพือ่ โปรดพิจารณา มติที่ประชุม …………………………………….……………………………………………………….………………………………………… ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................ ...................... ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ....................................................................................................................................................................... ....... ........................................................................................................................... ................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .......................................................................................................................................................... .................... 186

เอกสารแนบทายวาระ 4.4 187

รา่ ง คำส่งั คณะกรรมการทรัพยากรนำ้ แหง่ ชาติ ที่ /๒๕62 เรอื่ ง แต่งตง้ั คณะอนุกรรมการทรพั ยากรน้ำจังหวัด...................... ------------------------------------- เพื่อให้การบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการกำหนดแนวทางการพัฒนาการบริหาร จัดการทรัพยากรน้ำ ทั้งในภาวะปกติและภาวะวิกฤต การบำรุงรักษา การฟื้นฟูและการอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำ มีเสถียรภาพ มั่นคงและยั่งยืน สอดคล้องกับความต้องการใช้น้ำประเภทต่าง ๆ ตามศักยภาพของพื้นที่นำไปสู่ การจัดทำแผนงบประมาณแบบบูรณาการด้านทรัพยากรน้ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ เห็นสมควรให้มี คณะอนกุ รรมการทรัพยากรนำ้ จงั หวดั ขึน้ เพื่อประโยชน์ในการบูรณาการการบริหารทรัพยากรนำ้ ระดับจงั หวดั อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 20 วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. 2561 จงึ แต่งตงั้ “คณะอนกุ รรมการทรพั ยากรน้ำจังหวัด................” โดยมี องค์ประกอบ หน้าท่ีและอำนาจ ดังต่อไปนี้ 1. องค์ประกอบ ๑) ผ้วู ่าราชการจังหวัด ประธานอนกุ รรมการ ๒) รองผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ทผี่ ้วู า่ ราชการจังหวัดมอบหมาย รองประธานอนุกรรมการ ๓) ผู้อำนวยการรักษาความมั่นคงภายในจังหวัด รองประธานอนุกรรมการ ๔) ผู้อำนวยการสำนกั งานทรพั ยากรธรรมชาติ อนกุ รรมการ และสงิ่ แวดล้อมจงั หวดั ๕) โยธาธิการและผังเมอื งจังหวดั อนุกรรมการ ๖) เกษตรและสหกรณ์จังหวดั อนกุ รรมการ ๗) ทอ้ งถนิ่ จงั หวัด อนกุ รรมการ ๘) ผอู้ ำนวยการโครงการชลประทานจังหวดั อนกุ รรมการ ๙) ผู้แทนสำนักงานทรพั ยากรนำ้ ภาค.................. อนกุ รรมการ ๑๐) ผแู้ ทนสำนักงานเจ้าทา่ ภูมภิ าคสาขา.................. อนกุ รรมการ ๑๑) ผู้แทนสำนกั ทรัพยากรน้ำบาดาลเขต.................. อนกุ รรมการ ๑๒) ผแู้ ทนสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ (องคก์ ารมหาชน) อนกุ รรมการ ๑๓) ผูแ้ ทนการประปาสว่ นภมู ภิ าค (ที่ประชุมเสนอ) อนกุ รรมการ ๑๔) นายกองคก์ ารบริหารสว่ นจังหวัด อนุกรรมการ ๑๕) นายกเทศมนตรี ทผี่ ู้ว่าราชการจังหวดั เสนอ อนกุ รรมการ ๑๖) นายกองค์การบริหารสว่ นตำบล ท่ผี ูว้ า่ ราชการจังหวดั เสนอ อนกุ รรมการ ๑๗) ผู้แทนผู้ใช้น้ำภาคเกษตรกรรม ที่ผ้วู า่ ราชการจงั หวดั เสนอ อนกุ รรมการ ๑๘) ผู้แทนผูใ้ ช้น้ำภาคอตุ สาหกรรม ท่ีผูว้ ่าราชการจังหวัดเสนอ อนกุ รรมการ ๑๙) ผแู้ ทนผู้ใช้นำ้ ภาคพาณิชยกรรม ทีผ่ วู้ ่าราชการจังหวดั เสนอ อนกุ รรมการ 188

๒๐) หวั หน้าสำนกั งานจังหวดั อนกุ รรมการ ๒๑) หวั หนา้ สำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด และเลขานุการ ๒๒) ผ้แู ทนสำนกั งานทรพั ยากรนำ้ แหง่ ชาติภาค.................. อนุกรรมการ และเลขานกุ ารรว่ ม อนกุ รรมการ และเลขานุการรว่ ม 2. หนา้ ท่ีและอำนาจ 1) จัดทำแผนงาน แผนปฏิบัติการ และแผนงานงบประมาณการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ แบบบูรณาการของส่วนราชการ หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในระดับจังหวัด ตามกรอบแผนแม่บทระดับล่มุ น้ำ 2) บูรณาการและขับเคลื่อนแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในระดับจังหวัด ตามกรอบแผน แมบ่ ทระดบั ลุ่มนำ้ ทัง้ ในภาวะปกตแิ ละภาวะวิกฤต 3) รวบรวมเชื่อมต่อ บูรณาการข้อมูล และสารสนเทศทรัพยากรน้ำ เพื่อการบริหารจัดการ ทรพั ยากรน้ำในระดบั จังหวดั รวมทง้ั สนบั สนุนการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการลุม่ นำ้ 4) ติดตาม ประเมินผล การดำเนินงานตามแผนการบริหารจดั การทรัพยากรน้ำ และรายงาน ต่อ กนช. 5) แต่งตั้งคณะทำงาน เพ่อื สนับสนนุ การดำเนินงานของคณะอนุกรรมการทรัพยากรนำ้ จังหวัด 6) ปฏิบัตงิ านอ่นื ใดตามท่ี กนช. หรอื ประธาน กนช. มอบหมาย ท้งั นี้ ตั้งแตบ่ ดั นเ้ี ป็นตน้ ไป สง่ั ณ วันที่ พ.ศ. ๒๕62 พลเอก (ประวติ ร วงษส์ วุ รรณ) รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ เลขาธกิ าร สทนช..........................วันท่ี................................ ผอ.สำนกั .......................................วันท.ี่ ............................... ผอ.กลุ่ม.........................................วนั ท่.ี ............................... 189

ระเบียบวาระท่ี 5 เรื่องอน่ื ๆ ผลการประชมุ คณะกรรมการแมนา้ํ โขงแหงชาติไทย 190

ระเบยี บวาระที่ 5 เรอื่ งอื่น ๆ ผลการประชุมคณะกรรมการแมน่ ้ำโขงแห่งชาติไทย ๑. เร่ืองเดิม รองนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ) ประธานคณะกรรมการแม่น้ำโขงแห่งชาติ ไทย กำหนดการประชุมคณะกรรมการแม่น้ำโขงแห่งชาติไทย ครั้งที่ ๒/๒๕๖๒ เมื่อวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ณ ห้องประชุม ๓๐๑ ชั้น ๓ ตึกบัญชาการ ๑ ทำเนียบรัฐบาล เพื่อพิจารณาประเด็นประกอบการหารือ ในการประชุมคณะมนตรี คณะกรรมาธิการแม่น้ำโขง ครั้งที่ ๒๖ และประเด็นอื่น ๆ ในระหว่างวันท่ี ๒๕ - ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ณ กรงุ พนมเปญ ราชอาณาจักรกมั พชู า ๒. เหตุผลความจำเปน็ ท่ตี อ้ งเสนอคณะกรรมการทรัพยากรนำ้ แห่งชาติ ผลประชุมคณะกรรมการแม่น้ำโขงแห่งชาติไทย จะใช้เป็นกรอบในการเจรจาสำหรับคณะ ผู้แทนไทยในการประชุมคณะมนตรี คณะกรรมาธิการแม่น้ำโขง ครั้งที่ ๒๖ ซึ่งเป็นประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการ ดำเนินความร่วมมือระหว่างประเทศและองค์กรระหว่างประเทศ ตามความตกลงว่าด้วยความร่วมมือเพื่อการ พัฒนาลุ่มแม่น้ำโขงอย่างยั่งยืน พ.ศ. ๒๕๓๘ จึงมีความจำเป็นต้องนำเสนอต่อคณะกรรมการทรัพยากรน้ำ แหง่ ชาติเพือ่ โปรดทราบ ๓. ระเบยี บ ข้อกฎหมาย คำส่ัง หรอื สอดคลอ้ งกับแผนแม่บทการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรน้ำ ๒๐ ปี ความตกลงว่าดว้ ยความร่วมมือเพื่อการพัฒนาลุม่ แม่นำ้ โขงอย่างยงั่ ยืน พ.ศ. ๒๕๓๘ ๔. ขอ้ เทจ็ จรงิ / สาระสำคัญ สาระสำคัญการประชุมและความกา้ วหน้าในการดำเนินงานสรุปได้ ดงั นี้ ประเด็นการประชมุ ผลการประชุม ความกา้ วหนา้ 1. การเตรยี มการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ รบั ทราบ 1. ทป่ี ระชุมคณะมนตรีฯ ลุ่มน้ำโขงตอนล่าง ค.ศ. 2021 – 2030 มมี ติ ดังนี้ 2. ยุทธศาสตร์การจัดการภยั แลง้ ให้ความเห็นชอบยุทธศาสตร์ 1.1 เหน็ ชอบยทุ ธศาสตร์ คณะกรรมาธกิ ารแมน่ ้ำโขง การจัดการภัยแล้ง การจดั การภยั แล้งฯ และรา่ ง ค.ศ. 2020 - 2025 แผนปฏบิ ตั กิ ารฯ 3. ร่างแผนปฏิบตั ิการประจำปี ให้ความเห็นชอบร่างแผนปฏิบตั ิ 1.2 รบั ทราบการเตรียมการ จดั ทำแผนยทุ ธศาสตรฯ์ และ คณะกรรมาธิการแม่นำ้ โขง การประจำปีฯ การดำเนนิ การตามระเบยี บ ค.ศ. 2020 - 2021 4. การดำเนินงานตามระเบยี บปฏิบตั ิ 1. รบั ทราบผลการดำเนินงาน ปฏิบตั ิฯ 2. สทนช. สรุปผลการประชมุ เรอ่ื ง การแจ้ง การปรึกษาหารือ และเห็นชอบแผนการ คณะมนตรฯี เสนอ ครม. ลว่ งหนา้ และขอ้ ตกลง โครงการ ดำเนินงาน PNPCA ไฟฟ้าพลงั น้ำเขื่อนหลวง พระบาง 2. ให้มกี ารประชาสัมพันธ์และ เพื่อทราบ และข้อคิดเห็นภาคประชาชน ความตระหนักรแู้ ก่ภาค ประชาชนอย่างทว่ั ถึง 5. การปรับองคป์ ระกอบ เห็นชอบการปรับองค์ประกอบ เตรยี มเสนอรองนายกรัฐมนตรฯี คณะอนุกรรมการวชิ าการ ภายใต้ และเพิ่มผแู้ ทนกรมทรัพยากรนำ้ แต่งต้ังคณะอนกุ รรมการฯ คณะกรรมการแมน่ ำ้ โขงแห่งชาตไิ ทย 191

ประเดน็ การประชมุ ผลการประชุม ความก้าวหนา้ 6. ร่างแถลงการณ์รว่ ม (Joint 1. เห็นชอบรา่ งแถลงการณร์ ว่ ม ครม. ให้ความเห็นชอบเมื่อวนั ท่ี Statement) ของรัฐมนตรที รัพยากร 2. ให้เสนอ ครม. พิจารณา 11 ธ.ค. 62 น้ำภายใตก้ รอบความร่วมมือแม่โขง - ล้านช้าง 7. ประเด็นข้อสง่ั การของรองนายกรัฐมนตรี ให้ สทนช. นำขอ้ มติทป่ี ระชุม ครม. มมี ติเม่ือวันท่ี 19 พย. 62 เสนอคณะรฐั มนตรเี พ่อื ใชเ้ ปน็ เห็นชอบกรอบการเจรจาตามมติ กรอบการเจรจาในการประชุม ท่ีประชมุ คณะกรรมการฯ คณะมนตรี ๕. ข้อเสนอเพอื่ ทราบ เพอื่ โปรดทราบผลการประชุมคณะกรรมการแม่น้ำโขงแห่งชาติไทย จึงเรยี นทีป่ ระชุมเพอื่ โปรดทราบ มติที่ประชุม …………………………………….……………………………………………………….………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 192


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook