Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระเบียบวาระการประชุม กนช. ครั้งที่ 3-2562 _20 ธ.ค. 62

ระเบียบวาระการประชุม กนช. ครั้งที่ 3-2562 _20 ธ.ค. 62

Published by supanut kapang, 2019-12-18 03:40:35

Description: ระเบีบยวาระการประชุม กนช. ครั้งที่ 3-2562 (20 ธ.ค. 62

Search

Read the Text Version

รวม 2 ฉบับ คือ แนวเขตตามพระราชกฤษฎีกาก้าหนดเขตหวงห้ามที่ดินในบริเวณหนองหาร พ.ศ.2484 โดยกรมประมง และแนวเขตหนงั สือสา้ คัญสา้ หรบั ทหี่ ลวง (น.ส.ล.) ทีอ่ อกโดยจงั หวดั (3) เห็นชอบกับแนวทางของจังหวัดสกลนคร น้าจิตอาสาท่ีเข้ามาพัฒนาจัดเก็บผักตบชวา ชว่ งหน้าแลง้ ตลอดแนวหนองหาร ทั้งน้ี ได้เห็นชอบให้เสนอแผนหลักการพัฒนาหนองหาร จังหวัดสกลนคร ต่อคณะกรรมการ ทรัพยากรนา้ แห่งชาตพิ ิจารณาต่อไป 2. จังหวัดสกลนคร มีค้าสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาหนองหาร จังหวัด สกลนคร มีหน้าท่ีสนับสนุนและวิเคราะหข์ ้อมูลต่าง ๆ เพื่อจัดท้าแนวทางการพัฒนาหนองหาร ให้ข้อเสนอแนะ ก้าหนดพื้นท่ีเป้าหมายการจัดท้าแผนปฏิบัติการประจ้าปี แผนพัฒนา 10 ปี รวมทั้ง ก้ากับและประสานความ ร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐ ภาคเอกชน และองค์กรท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือด้าเนินการตามแผนหลักการพัฒนาหนองหาร จงั หวัดสกลนคร ๓. ข้อคิดเหน็ ของคณะอนุกรรมการขับเคลอื่ นโครงการขนาดใหญแ่ ละโครงการสาคัญ จากการประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนโครงการขนาดใหญ่และโครงการส้าคัญ ครั้งที่ 3/2562 เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2562 ท่ีประชุมได้ให้ข้อคิดเห็นต่อแผนหลักการพัฒนาหนองหาร จังหวัดสกลนคร และขอ้ ส่ังการของประธานฯ ดงั น้ี 3.1 เพื่อแก้ไขปัญหาเร่งด่วนในพื้นที่ เห็นควรให้หน่วยงานด้าเนินการตามกรอบแผนงาน ระยะเร่งด่วนปี 2563 – 2565 วงเงิน 1,842.66 ล้านบาท โดยให้เตรียมความพร้อมโครงการให้เป็นไป ตามกฎและระเบียบทีเ่ กีย่ วขอ้ งตอ่ ไป 3.2 เพื่อแก้ไขปัญหาเร่งด่วนในพ้ืนที่ เห็นควรให้หน่วยงานดาเนินการตามกรอบแผนงานระยะเร่งด่วน ปี 2563 - 2565 วงเงิน 1,842.66 ล้านบาท โดยให้เตรียมความพร้อมโครงการให้เป็นไปตามกฎและระเบียบ ท่เี กีย่ วข้องตอ่ ไป และรายงานความก้าวหน้าให้ สทนช. เพือ่ รายงาน กนช. ทราบ 4. ข้อเสนอเพื่อพิจารณา การพัฒนาหนองหาร ทั้ง 5 ด้าน เมื่อด้าเนินการตามแผน สามารถแก้ไขปัญหาอุทกภัยและ ภัยแล้ง และเก็บกักน้าไว้ใช้ในฤดูแล้ง พร้อมทั้งมีคุณภาพน้าที่ดี ท้าให้ประชาชนในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน เพื่อแก้ไขปญั หาเรง่ ดว่ นในพ้ืนท่ี จงึ เสนอทีป่ ระชุม 4.1 เหน็ ชอบในหลักการ ให้แผนหลักการพัฒนาหนองหาร จังหวัดสกลนคร ปี 2563 – 2572 จ้านวน 5 ด้าน วงเงินรวม 7,445.22 ลา้ นบาท เป็นโครงการขนาดใหญ่และโครงการส้าคญั 4.2 ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (กรมชลประทาน การประปาส่วนภูมิภาค กรมโยธาธิการและ ผังเมือง กรมประมง กรมพัฒนาที่ดิน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในพ้ืนท่ี ส้านักงานทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมจังหวัดสกลนครส้านักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสกลนคร และจังหวัดสกลนคร) ด้าเนินการ ตามแผนระยะเรง่ ด่วน ปี 2563-2565 โดยเตรยี มความพร้อม ใหเ้ ป็นตามกฎหมาย และระเบยี บที่เก่ียวข้องต่อไป 4.3 มอบกรมชลประทานเป็นเจ้าภาพหลัก โดยการบูรณาการร่วมกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ในการบรหิ ารจัดการน้าและการใช้ประโยชนจ์ ากน้า 4.4 ให้น้าข้อคิดเห็นของคณะอนุกรรมการขับเคล่ือนโครงการขนาดใหญ่และโครงการส้าคัญ ไปดา้ เนินการดว้ ย 134

จึงเรยี นทปี่ ระชมุ เพื่อโปรดพจิ ารณา มติที่ประชมุ …………………………………………………………………….................................................................……….. ………………………………………………..………………………………………………………………………………………...…................ ……………………………………………..……………………………………………………………………………………………................... ………………………………………………..………………………………………………………………………………………...…................ ……………………………………………..……………………………………………………………………………………………................... ………………………………………………..………………………………………………………………………………………...…................ ……………………………………………..……………………………………………………………………………………………................... ………………………………………………..………………………………………………………………………………………...…................ ……………………………………………..……………………………………………………………………………………………................... ………………………………………………..………………………………………………………………………………………...…................ ……………………………………………..……………………………………………………………………………………………................... ………………………………………………..………………………………………………………………………………………...…................ ……………………………………………..……………………………………………………………………………………………................... ………………………………………………..………………………………………………………………………………………...…................ ……………………………………………..……………………………………………………………………………………………................... ………………………………………………..………………………………………………………………………………………...…................ ……………………………………………..……………………………………………………………………………………………................... ………………………………………………..………………………………………………………………………………………...…................ ……………………………………………..……………………………………………………………………………………………................... ………………………………………………..………………………………………………………………………………………...…................ ……………………………………………..……………………………………………………………………………………………................... ………………………………………………..………………………………………………………………………………………...…................ ……………………………………………..……………………………………………………………………………………………................... ………………………………………………..………………………………………………………………………………………...…................ ……………………………………………..……………………………………………………………………………………………................... ………………………………………………..………………………………………………………………………………………...…................ ……………………………………………..……………………………………………………………………………………………................... 135

เอกสารแนบทายวาระ 4.2.2 136

แผนหลักด้านที่ 1 : การจดั การน้าอปุ โภคบรโิ ภค แผนแม่บท แผนงานหลกั แนวทางการ โครงการ งบประมา ระยะเรง่ ดว่ น ดาเนนิ การ ณรวม 2563 2564 (ลา้ นบาท) 0.64 1.31 แผนหลักดา้ นที่ 1 1) พัฒนา ขยายเขต 1.1) โครงการขยายเขตจ้าหนา่ ยน้า บา้ น 0.64 0.99 0.74 การจดั การน้าอุปโภคบรโิ ภค และเพ่ิม ทงุ่ พัฒนา หมทู่ ่ี16 ต้าบลเชียงเครือ 0.72 ประสิทธภิ าพระบบ อ้าเภอเมอื ง จงั หวดั สกลนคร 0.52 เป้าประสงค์ : จัดหาน้า ประปาหมบู่ ้าน 1.2) โครงการขยายเขตจ้าหนา่ ยน้า บ้าน 1.31 4.92 - สะอาดเพื่ออุปโภคบริโภค ดอนเชียงคูณ หมทู่ ี่5 ต้าบลเชียงเครือ ให้แก่ชุมชนครบทกุ หมบู่ ้าน อ้าเภอเมอื ง จงั หวดั สกลนคร ชุมชนเมอื ง แหล่ง 1.3) โครงการขยายเขตจ้าหน่ายน้า บา้ น 0.99 ทอ่ งเทย่ี วส้าคญั และพืนที่ หนองศาลา หมทู่ ่ี9 ต้าบลฮางโฮง อ้าเภอ เศรษฐกิจพิเศษ รวมทงั การ เมอื ง จังหวดั สกลนคร จัดหาแหล่งน่้าส้ารอง ใน 1.4) โครงการขยายเขตจ้าหนา่ ยน้า บ้าน 0.74 พืนท่ี เศรษฐกิจพิเศษ นาดอกไม้ หมทู่ ี่6 ต้าบลฮางโฮง อ้าเภอ รวมทงั การจัดหาแหล่งน้า เมอื ง จงั หวดั สกลนคร ส้ารองในพืนทเ่ี ส่ียงการขาด 1.5) โครงการขยายเขตจา้ หนา่ ยน้า 0.72 แคลนแหล่งน้าตน้ ทนุ ศนู ยว์ จิ ยั และบ้ารุงพันธุส์ กลนคร ต้าบล พังขวา้ ง อ้าเภอเมอื งสกลนคร จังหวดั สกลนคร 1.6) โครงการปรับปรงุ เพื่อเพ่ิม 0.52 ประสิทธภิ าพระบบทอ่ จ่ายน้า กปภ. สาขาสกลนคร อ้าเภอเมอื ง จังหวดั สกลนคร 1.7) โครงการก่อสร้างปรบั ปรุงขยาย 288.40 กปภ. สาขาสกลนคร อ้าเภอเมอื ง จงั หวดั สกลนคร รวมแผนหลักดา้ นท่ี 1 จานวน 7 แผนงาน/โครงการ 293.32 13

ปี พ.ศ. ระยะยาว หนว่ ยงานทร่ี ับผดิ ชอบ ระยะปานกลาง 2569 2570 2571 2572 2565 2566 2567 2568 การประปาส่วนภมู ภิ าค การประปาส่วนภมู ภิ าค การประปาส่วนภูมภิ าค การประปาส่วนภูมภิ าค การประปาส่วนภมู ภิ าค การประปาส่วนภูมภิ าค 57.68 115.36 115.36 การประปาส่วนภมู ภิ าค - - - 57.68 115.36 115.36 - - 37

แผนหลักด้านที่ 2 : การสรา้ งความม่ันคงของน้าภาคการผลิต แผนแม่บท แผนงานหลกั แนวทางการ งบประมา ดาเนนิ การ โครงการ ณรวม ระยะเรง่ ดว่ น (ลา้ นบาท) 2563 2564 แผนหลกั ดา้ นที่ 2 1) การเพ่ิม 2.1) โครงการศกึ ษาส้ารวจออกแบบ 6.40 6.40 การสรา้ งความมนั่ คงของ ประสิทธภิ าพการ รายการก่อสรา้ งสถานสี ูบน้าด้วยไฟฟ้า น้าภาคการผลิต ใช้น้า พร้อมระบบส่งน้า รอบหนองหาร จา้ นวน 32 แห่ง เปา้ ประสงค์ : การพัฒนา 2) การเพ่ิม 2.2) โครงการก่อสร้างสถานสี ูบน้าด้วย 1,058.22 1 1 เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชนใ์ ห้ ประสิทธภิ าพ ไฟฟ้าพรอ้ มระบบส่งน้า รอบหนองหาร เตม็ ศกั ยภาพของปรมิ าณ โครงการแหล่งน้า จ้านวน 32 สถานี น้าทส่ี ามารถ รวมแผนหลักดา้ นที่ 2 จานวน 2 แผนงาน/โครงการ 1,064.62 - 6.40 13

ปี พ.ศ. ระยะยาว หนว่ ยงานทร่ี ับผดิ ชอบ ระยะปานกลาง 2569 2570 2571 2572 2565 2566 2567 2568 กรมชลประทาน 163.66 197.06 332.50 305.00 60.00 กรมชลประทาน 163.66 197.06 332.50 305.00 60.00 - - - 38

แผนหลกั ดา้ นท่ี 3 : การจดั การน้าท่วมและอทุ กภยั แผนแม่บท แผนงานหลัก แนวทางการ โครงการ งบประมา ดาเนนิ การ ณรวม (ล้านบาท) แผนหลักดา้ นท่ี 3 1) การบริหาร 3.1) โครงการขุดลอกหนองหาร ต.ธาตเุ ชิงชุม อ.เมอื ง จ.สกลนคร (140.80) จดั การน้าทว่ มและอุทกภัย ระดับน้าในหนอง (ได้รบั งบประมาณแล้ว) หาร เปา้ ประสงค์ : เพ่ือการ 2) การปรบั ปรุงและ 3.2) โครงการก่อสรา้ งประตูระบายน้า ล้าน้าพุง-น้าก่้า อัน (2,100.00) บรรเทาอุทกภยั ทงั ระบบลุ่ม เพิ่มประสิทธภิ าพ เนอ่ื งมาจากพระราชด้ารจิ งั หวดั สกลนคร (ได้รบั งบประมาณแล้ว) น้าโดยพิจารณาความ การระบายน้า ประกอบด้วยกิจกรรม ก่อสร้างประตูระบายน้าและอาคารประกอบ, เหมาะสมในการบรรเทา การก่อสร้างคลองผันน้าร่องช้างเผือก-หว้ ยยาง, คลองผันน้าหว้ ยยาง- อุทกภยั ตงั แต่ต้นน้าถึงทา้ ย ล้าน้าก้่า, คลองผันน้าหนองแซง-ห้วยซัน-หว้ ยยาง, คลองผันน้าหว้ ย น้ารวมทงั ความจา้ เป็นที่ ทามไฮ-หว้ ยสองคอน และก่อสรา้ งระบบส่งน้าและอาคารประกอบ ต้องบริหารน้าใหเ้ พียงพอ (ไดร้ ับงบประมาณแล้ว) ตอ่ การใช้น้าประโยชน์ใน 3.3) โครงการศึกษาความเหมาะสมการเพิ่มประสิทธภิ าพการบรรเทา 35.00 ด้านตา่ งๆ อุทกภยั และภยั แล้งน้า จังหวดั สกลนคร จงั หวดั นครพนม 3.4) โครงการส้ารวจความลึกของทอ้ งน้าหนองหาร 16.00 3.5) โครงการส้ารวจและออกแบบขุดลอกล้าน้าสายหลัก จ้านวน 5 1.00 สาย (ล้าหว้ ยหลาก ห้วยทราย ห้วยโมง หว้ ยเดียก และล้าน้าพุง) 3.6) โครงการขุดลอกล้าน้าสายหลัก จ้านวน 5 สาย (ล้าห้วยหลาก 60.84 หว้ ยทราย ห้วยโมง ห้วยเดียก และล้าน้าพุง) 3.7) โครงการปรบั ปรุงพนังกันน้า อาคารประกอบและก่อสรา้ งแก้มลิง 182.50 3.8) โครงการก่อสรา้ งระบบระบายน้าขนานล้าน้าก้่า 354.00 13

ระยะเรง่ ดว่ น ปี พ.ศ. ระยะยาว หนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบ 2563 2564 ระยะปานกลาง 2565 2566 2567 2568 2569 2570 2571 2572 กรมชลประทาน 159.24 656.15 642.03 567.08 - --- กรมชลประทาน 7.00 17.50 10.50 กรมชลประทาน 16.00 กรมชลประทาน 1.00 กรมชลประทาน 60.84 กรมชลประทาน 84.50 98.00 กรมชลประทาน 75.00 129.00 150.00 กรมชลประทาน 39

แผนหลักด้านท่ี 3 : การจัดการน้าทว่ มและอุทกภยั (ตอ่ ) แผนแม่บท แผนงานหลกั แนวทางการ งบประมา ดาเนนิ การ โครงการ ณรวม (ล้านบาท) 3.9) โครงการก่อสร้างระบบระบายน้าหลักเพื่อบรรเทาปญั หาน้าทว่ ม 320.00 ระยะท่ี 1 พืนทช่ี ุมชนเมอื งสกลนคร จงั หวดั สกลนคร 3.10) โครงการควบคมุ ก่อสรา้ งระบบระบายน้าหลักเพื่อบรรเทา 11.20 ปัญหาน้าทว่ ม ระยะที่ 1 พืนทชี่ ุมชนเมอื งสกลนคร จงั หวดั สกลนคร 3.11) โครงการก่อสรา้ งระบบระบายน้าหลักเพื่อบรรเทาปัญหาน้า 513.70 ทว่ ม ระยะที่ 2 พืนทชี่ ุมชนเมอื งสกลนคร จงั หวดั สกลนคร 3.12) โครงการควบคมุ ก่อสรา้ งระบบระบายน้าหลักเพื่อบรรเทา 17.00 ปญั หาน้าทว่ ม ระยะท่ี 2 พืนทช่ี ุมชนเมอื งสกลนคร จงั หวดั สกลนคร 3.13) โครงการศกึ ษาความเหมาะสมและออกแบบระบบป้องกันน้า 24.00 ทว่ มพืนทชี่ ุมชนจังหวดั สกลนคร จา้ นวน 4 แห่ง (ชุมชนเทศบาล ต้าบลทา่ แร่, เทศบาลต้าบลเชียงเครอื , เทศบาลต้าบลงิวดอ่ น และ เทศบาลต้าบลโพนนาแก้ว) 3.14) โครงการสรา้ งเขื่อนปอ้ งกันตล่ิงริมแมน่ ้าพุง บ้านทามไฮ ต้าบล 60.00 มว่ งลาย อ้าเภอเมอื งสกลนคร จังหวดั สกลนคร 3.15) โครงการบรหิ ารรักษาระดับน้าหนองหารระยะท่ี 1 ไมต่ า้่ กวา่ + 156.00 ม. ระหวา่ งเดอื นพฤษภาคม ถึงเดอื นกรกฎาคม รวมแผนหลักดา้ นท่ี 3 จานวน 15 แผนงาน/โครงการ 1,595.24 14

ระยะเร่งดว่ น ปี พ.ศ. ระยะยาว หนว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบ 2563 2564 ระยะปานกลาง 64.00 128.00 2565 2566 2567 2568 2569 2570 2571 2572 128.00 2.24 4.48 กรมโยธาธกิ ารและผัง 4.48 เมอื ง 102.00 135.50 กรมโยธาธกิ ารและผัง 3.50 4.25 เมอื ง 12.00 12.00 135.50 140.70 กรมโยธาธกิ ารและผัง เมอื ง 4.25 5.00 กรมโยธาธกิ ารและผัง เมอื ง กรมโยธาธกิ ารและผัง เมอื ง 12.00 24.00 24.00 กรมโยธาธกิ ารและผัง เมอื ง กรมประมง 66.24 156.48 295.32 313.00 304.75 313.75 145.70 - - - 40

แผนหลักดา้ นที่ 4 : การจัดการคุณภาพนา้ และอนรุ ักษท์ รัพยากรนา้ แผนแม่บท แผนงานหลกั แนวทางการ โครงการ งบประมา ดาเนนิ การ ณรวม 4.1) โครงการสนับสนนุ ให้มกี ารบ้าบดั น้าเสียระดับครวั เรอื น (ขอ (ล้านบาท) แผนหลกั ดา้ นที่ 4 1) การพัฒนา เพื่อ งบอุดหนนุ จากกองทนุ ส่ิงแวดล้อม) 50.00 4.2) โครงการก่อสร้างเพื่อเพ่ิมประสิทธภิ าพระบบรวบรวมและบ้าบัด 577.09 การจดั การคุณภาพน้าและ เพ่ิมประสิทธภิ าพ น้าเสีย เทศบาลนครสกลนคร 127.00 4.3) โครงการก่อสร้างเพื่อเพิ่มประสิทธภิ าพระบบระบายน้าระบบ 28.66 อนรุ กั ษท์ รัพยากรน้า ระบบรวบรวมและ รวบรวมและบ้าบดั น้าเสียโรงบ้าบัดน้าเสียเทศบาลต้าบลทา่ แร่ 4.4) โครงการศึกษาความเหมาะสมและออกแบบรายละเอียดระบบ 955.22 ระบบบ้าบัดน้าเสีย รวบรวมและบ้าบดั น้าเสีย พืนทโี่ ดยรอบหนองหารทย่ี งั ไมม่ รี ะบบใน เขตอ้าเภอเมอื งสกลนคร ระยะที่ 1 (ทต.งิวดอ่ น ธาตนุ าเวง เหล่าปอ 29.26 เปา้ ประสงค์ : บ้าบัดน้าเสีย แดง และฮางโฮง) 4.5) โครงการก่อสรา้ งระบบรวบรวมและบ้าบดั น้าเสียพืนทโ่ี ดยรอบ 975.32 ทไ่ี หลลงหนองหาร และ หนองหาร ทยี่ งั ไมม่ รี ะบบในเขตอ้าเภอเมอื งสกลนคร ระยะท่ี 1 (ทต. งิวดอ่ น ธาตนุ าเวง เหล่าปอแดง และฮางโฮง) 0.10 การควบคุมวชั พืชไมใ่ ห้ 2) การอนรุ ักษแ์ ละ 4.6) โครงการศึกษาความเหมาะสมและออกแบบรายละเอียดระบบ 10.00 รวบรวมและบ้าบดั น้าเสีย พืนทโ่ี ดยรอบหนองหารทย่ี งั ไมม่ รี ะบบใน 0.40 กระทบคุณภาพน้าในหนอง ฟ้ืนฟูแหล่งน้า เขตอ้าเภอเมอื งสกลนคร ระยะท่ี 2 (ทต.เชียงเครือ เทศบาลต้าบลทา่ แร่ เมอื งทองทา่ แร่ มว่ งลาย และดงชน) หาร มคี ุณภาพเหมาะตอ่ ธรรมชาติ 4.7) ก่อสรา้ งระบบรวบรวมและบ้าบัดน้าเสียพืนทโี่ ดยรอบหนองหาร ทย่ี งั ไมม่ รี ะบบในเขตอ้าเภอเมอื งสกลนคร ระยะที่ 2 (ทต.เชียงเครอื การใช้เพื่ออุปโภคบริโภค เมอื งทองทา่ แร่ มว่ งลาย และดงชน) 4.8) โครงการส้ารวจก้าหนดพืนทกี่ ้าจัดวชั พืชลอยน้าในหนองหาร ระยะที่ 1 4.9) โครงการก้าจัดวชั พืชลอยน้าในหนองหาร ระยะที่ 1 (บรเิ วณ โดยรอบโรงบ้าบดั น้าเสียทงั 2แหง่ ) 4.10) โครงการส้ารวจก้าหนดพืนทกี่ ้าจดั วชั พืชลอยน้าในหนองหาร ระยะท2ี่ 14

ระยะเร่งดว่ น ปี พ.ศ. ระยะยาว หนว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบ 2563 2564 ระยะปานกลาง 2565 2566 2567 2568 2569 2570 2571 2572 10.00 10.00 10.00 10.00 10.00 ส้านกั งานทอ้ งถ่ินจังหวดั 577.09 สกลนคร เทศบาลนครสกลนคร 127.00 เทศบาลต้าบลทา่ แร่ 10.03 18.63 องคก์ ารบริหารส่วน จงั หวดั สกลนคร 334.33 620.89 องค์การบริหารส่วน 10.24 19.02 จังหวดั สกลนคร องคก์ ารบรหิ ารส่วน จงั หวดั สกลนคร 341.36 633.96 องค์การบริหารส่วน จงั หวดั สกลนคร 0.10 10.00 กรมประมง 0.40 กรมประมง กรมประมง 41

แผนหลักด้านที่ 4 : การจดั การคุณภาพนา้ และอนุรกั ษท์ รพั ยากรน้า (ต่อ) แผนแม่บท แผนงานหลกั แนวทางการ โครงการ งบประมา ดาเนนิ การ ณรวม (ล้านบาท) 4.11) โครงการก้าจัดวชั พืชลอยน้าในหนองหาร ระยะท่ี 2 (ทต.นา 36.93 แ4.ก1้ว2)ทโา่ คแรรง่ กบา้ รนสแ้าปรน้วจธกา้ ตหุเนชิดงชพุมืนทงิวก่ี ด้า่อจนัดวแชั ลพะืชเหลลอ่ายปนอ้าใแนดหงน) องหาร 0.30 ระยะท่ี 3 4.13) โครงการก้าจดั วชั พืชลอยน้าในหนองหาร ระยะท่ี 3 (ทต.ฮาง 11.18 โฮง ธาตุนาเวง ธาตุเชิงชุม) รวมคา่ ควบคมุ งาน 4.14) โครงการส้ารวจก้าหนดพืนทกี่ ้าจัดวชั พืชลอยน้าในหนองหาร 0.30 ร4ะ.1ย5ะ)ทโ่ีค4รงการคา่ ก้าจดั วชั พืชลอยน้าในหนองหาร ระยะท่ี 4 (ทต. 13.25 เชียบงเครอื ทา่ แร่ และฮางโฮง) รวมค่าควบคมุ งาน 4.16) โครงการส้ารวจก้าหนดพืนทกี่ ้าจดั วชั พืชลอยน้าในหนองหาร 0.50 ระยะท่ี 5 4.17) โครงการก้าจัดวชั พืชลอยน้าในหนองหาร ระยะท่ี 5 (ทต.มว่ ง 13.25 ลาย นาตงวฒั นา บา้ นแป้น โคกก่อง ฮางโฮง และเหล่าปอแดง) 4.18) โครงการออกแบบรายละเอียดเพ่ือขุดลอกตะกอนดินในหนอง 51.69 หาร 4.19) โครงการขุดลอกตะกอนดินในหนองหารระยะท่ี 1 356.20 4.20) โครงการขุดลอกตะกอนดินในหนองหารระยะที่ 2 217.06 4.21) โครงการขุดลอกตะกอนดนิ ในหนองหารระยะท่ี 3 280.30 4.22) โครงการขุดลอกตะกอนดินในหนองหารระยะที่ 4 215.38 4.23) โคตรงการขุดลอกตะกอนดินในหนองหารระยะที่ 5 379.50 รวมแผนหลกั ดา้ นที่ 4 จานวน 23 แผนงาน/โครงการ 4,328.89 14

ปี พ.ศ. ระยะเร่งดว่ น ระยะปานกลาง ระยะยาว หนว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบ 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 2571 2572 36.93 กรมประมง 0.30 กรมประมง 11.18 กรมประมง 0.30 กรมประมง 13.25 กรมประมง 0.50 กรมประมง 13.25 กรมประมง 51.69 กรมประมง 142.48 213.72 กรมประมง 86.82 130.24 กรมประมง 112.12 168.18 กรมประมง กรมประมง 86.15 129.23 กรมประมง 151.80 227.70 - 20.37 1,096.07 683.28 741.19 1,256.00 304.28 #### - - 42

แผนหลักดา้ นที่ 5 : การบริหารจัดการ แผนแม่บท แผนงานหลกั แนวทางการ โครงการ งบประมา ดาเนนิ การ ณรวม (ลา้ นบาท) แผนหลกั ดา้ นท่ี 5 1) ก้าหนดแนวเขต 5.1) พิจารณาประเด็นในพระราชกฤษฎกี าก้าหนดหวงหา้ มทด่ี นิ ใน การบรหิ ารจดั การ และพิสูจน์สิทธกิ าร ทอ้ งทอ่ี ้าเภอเมอื งสกลนคร จงั หวดั สกลนคร พ.ศ.2484 ทก่ี ่อใหเ้ กิด 4.00 ถือครองทด่ี นิ ตาม ข้อขัดแยง้ และแนวเขตหนองหารทเ่ี หมาะสม ประกอบดว้ ย 2.00 เปา้ ประสงค์ : มอี งคก์ ร กฎหมาย งบปกติ และปรบั ปรงุ กฎระเบียบที่ 2) ประชาสัมพันธ์ 5.1.1) โครงการรงั วดั ปักเขตหนองหารทเ่ี หมาะสม 10.00 เก่ียวข้องใหส้ ามารถ และการมสี ่วนรว่ ม 5.1.2) การพิสูจน์กรรมสิทธิ์ทด่ี ิน ขับเคล่ือนการพัฒนาและ 14.00 การบรหิ ารจัดการ 3) การพัฒนา 5.1.3) การก้าหนดขอบเขตใช้ประโยชนห์ นองหาร และการขอ ทรัพยากรน้า ได้อยา่ งมี ประสิทธภิ าพการ องคก์ รบริหารลุ่มน้า อนญุ าตใช้ประโยชน์ ประชาสัมพันธแ์ ละการมี ส่วนรว่ มของชุมชนในการ 4) การพัฒนา 5.2) จดั ทา้ ทะเบียนข้อมลู และพัฒนาระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ ดูแลหนองหาร และการ พัฒนาระบบฐานข้อมลู ระบบฐานข้อมลู (GIS) ของแหล่งก้าหนดมลพิษในพืนทห่ี นองหาร สนับสนนุ การตดั สินใจ สนับสนนุ การ ตัดสินใจ 5) การพัฒนาระบบ 5.3) ติดตังสถานีตรวจวดั คุณภาพน้าอัตโนมตั ิล้าน้าสาขารอบหนอง เตือนภัย หาร 6) การพัฒนาการ 5.4) การมสี ่วนรวมในการส้ารวจและเฝ้าระวงั คุณภาพน้าทงิ ลงหนอง 2.00 1.20 ทอ่ งเทยี่ ว หาร 7) การอนรุ กั ษพ์ ันธุ์ 5.5) โครงการเยาวชนอนุรกั ษน์ ้า ปลาและการประมง 8) การปรับเปล่ียน 5.6) โครงการเยาวชนรกั สิ่งแวดล้อม 1.20 การเพาะปลูก 5.7) โครงการพัฒนาและฟ้ืนฟูหนองหารด้วยชุมชน (จติ อาสา) 14

ระยะเรง่ ดว่ น ปี พ.ศ. ระยะยาว หนว่ ยงานทรี่ ับผดิ ชอบ 2563 2564 ระยะปานกลาง 2565 2566 2567 2568 2569 2570 2571 2572 - - - - - - ส้านักงานจงั หวดั สกลนคร 1.00 1.00 2.00 ส้านกั งานจังหวดั สกลนคร 1.00 1.00 10.00 ส้านกั งานจังหวดั สกลนคร 2.00 3.00 3.00 3.00 3.00 ส้านักงานจงั หวดั สกลนคร 0.50 0.50 0.50 0.50 ส้านกั งาน 0.30 0.30 0.30 0.30 ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ 0.30 0.30 0.30 0.30 สิ่งแวดล้อมจงั หวดั สกลนคร ส้านกั งาน ทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อมจงั หวดั สกลนคร องค์การบรหิ ารส่วน จงั หวดั สกลนคร องค์การบริหารส่วน จงั หวดั สกลนคร องค์การบรหิ ารส่วน จังหวดั สกลนคร ส้านกั งานจงั หวดั สกลนคร 43

แผนหลักด้านที่ 5 : การบรหิ ารจัดการ (ต่อ) แผนแม่บท แผนงานหลัก แนวทางการ โครงการ งบประมา ดาเนนิ การ 5.8) โครงการสนับสนุนการจัดการน้าชุมชน ณรวม (ลา้ นบาท) 5.9) โครงการส่งเสริมการผลิต แปรรูปและการตลาดข้าวอินทรีย์ 8.00 ระยะประมาณ 1 กม. (ตามแนวเขตหนองหารและล้าน้าสาขาทไี่ หล ลงหนองหาร) 5.10) โครงการส่งเสรมิ การผลิต แปรรูปและการตลาดข้าวโพดหวาน 8.00 และข้าวโพดข้าวเหนียว ในพืนทด่ี อนระยะประมาณ 1 กม. (ตามแนว 8.00 เขตหนองหารและล้าน้าสาขาทไ่ี หลลงหนองหาร) 21.00 5.11) โครงการส่งเสรมิ การผลิต และการตลาดผักอินทรียเ์ พ่ือสุขภาพ 4.50 ระยะประมาณ 1 กม. (ตามแนวเขตหนองหารและล้าน้าสาขาทไี่ หล ลงหนองหาร) 5.12) ผลิตพันธ์ุสัตวน์ ้าเพ่ือปล่อยลงสู่หนองหารและสาขาจ้านวน 8,000,000 -13,000,000 ตัว/ปี 5.13) จัดการทางผ่านปลาแบบมสี ่วนร่วมในล้าน้าก่้าและสาขา 7 แห่ง รวมทงั้ ส้ิน 5.14) แผนงานวจิ ยั สร้างสมดลุ การทา้ ประมงในหนองหาร 15.00 5.15) แผนงานวจิ ัยผลกระทบของการขุดลอกต่อระบบนเิ วศในหนอง 6.00 หาร 5.16) เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนอนรุ กั ษท์ รพั ยากรประมง 5.25 5.17) ส่งเสรมิ และพัฒนาอาชีพเกษตรกร ดา้ นการประมงทไี่ ดร้ ับ 7.00 ผลกระทบจากการบรหิ ารจดั การน้า 5.18) การลดการชะล้างดินรอบหนองหารและ ปรบั รปู แปลงนาพืนที่ 46.00 ทา้ ยประตูน้าสุรสั วดี รวมแผนหลกั ดา้ นท่ี 5 จานวน 18 แผนงาน/โครงการ 163.15 65 โครงการ 7,445.22 หมายเหตุ : 1. ส้ำนกั งำนทรัพยำกรน้ำแห่งชำต/ิ จังหวัดสกลนคร ด้ำเนนิ โครงกำรสนบั สนุนกำรจดั 2. กรมปำ่ ไม้จดั สรรเงนิ อดุ หนุนเครอื ข่ำยรำษฎรอำสำสมัครพทิ กั ษ์ป่ำ จงั หวดั สกลนคร 3. จงั หวัดสกลนคร จัดกจิ กรรม เพิ่มสดั ส่วนพืนท่ีป่ำไมจ้ ังหวัดสกลนคร ปำ่ ชุมชน ปำ่ เ ต้นแบบ 12.2962 ลบ. (ดำ้ เนินกำรในภำพรวมจงั หวดั ) 14

ระยะเรง่ ดว่ น ปี พ.ศ. ระยะยาว หนว่ ยงานทร่ี ับผดิ ชอบ 2563 2564 ระยะปานกลาง 2565 2566 2567 2568 2569 2570 2571 2572 2.00 ส้านักงานจังหวดั สกลนคร 2.00 2.00 2.00 ส้านักงานเกษตรจงั หวดั สกลนคร 2.00 2.00 2.00 2.00 ส้านักงานเกษตรจงั หวดั สกลนคร 2.00 2.00 2.00 2.00 ส้านักงานเกษตรจังหวดั สกลนคร 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 กรมประมง 0.75 0.75 0.75 0.75 0.75 0.50 0.25 กรมประมง 3.00 3.00 3.00 3.00 3.00 กรมประมง 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 กรมประมง 0.75 0.75 0.75 0.75 0.75 0.75 0.75 กรมประมง 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 1.00 กรมประมง 23.00 23.00 กรมพัฒนาทด่ี ิน - 21.10 12.10 41.60 39.60 12.50 9.50 9.50 9.25 8.00 71.16 204.35 1,567.15 1,234.94 1,418.04 1,944.93 634.84 #### 9.25 8.00 ดกำรน้ำชุมชน ภำยใตง้ ำนขับเคล่อื นกำรด้ำเนนิ งำนของคณะกรรมกำรลุ่มนำ้ ร 2 เครือขำ่ ย งบประมำณ 100,000 บำท เพ่อื ดแู ลปำ่ ตน้ นำ้ เศรษฐกิจครอบครัว พืนทส่ี ีเขยี ว โดยกำรมีส่วนรว่ ม และสง่ เสริมและพฒั นำป่ำไม้ 44

ระเบยี บวาระที่ 4 เรื่องเพ่อื พิจารณา วาระท่ี 4.2 โครงการขนาดใหญและโครงการสําคญั (ตอ) 4.2.3 เปาหมายแผนงานโครงการขนาดใหญและโครงการสําคญั 145

ระเบยี บวาระที่ 4 เรือ่ งเพื่อพิจารณา วาระท่ี 4.2 โครงการขนาดใหญ่และโครงการสาคญั (ต่อ) 4.2.3 เป้าหมายแผนงานโครงการขนาดใหญ่และโครงการสาคัญ 1. เร่อื งเดิม สื บ เ นื่ อ ง จ า ก ก า ร ป ร ะ ชุ ม ค ณ ะ ท า ง า น ก ลั่ น ก ร อ ง โ ค ร ง ก า ร ข น า ด ใ ห ญ่ แ ล ะ โ ค ร ง ก า ร ส า คั ญ เมื่อวันอังคารท่ี 19 พฤศจิกายน 2562 และมีมติในที่ประชุมให้หน่วยงานเร่งรัดดาเนินการโครงการท่ีได้รับ การจัดสรรงบประมาณแล้วให้แล้วเสร็จตามแผน ท้ังนี้โครงการใดที่มีศักยภาพให้ปรับแผนให้แล้วเสร็จเร็วขึ้น และได้มีการเสนอเป้าหมายการขับเคล่ือนของโครงการขนาดใหญ่เพ่ิมเติม เน่ืองจากสภาพปัญหาท่ีมี ความรุนแรงและมีความถ่ีมากข้ึนในหลายพื้นที่ จาเป็นต้องมีการแก้ปัญหาเชิงบูรณาการ ประกอบ การท่คี ณะรฐั มนตรีได้ลงพืน้ ทต่ี รวจสอบและตดิ ตามเพื่อแก้ไขปัญหา นอกจากนใ้ี นหลายโครงการมคี วามจาเป็น และเป็นที่สนใจของสาธารณชนท่เี ห็นควรต้องมีการขบั เคลอ่ื นให้ดาเนินการได้อย่างเปน็ รปู ธรรม ๒. ขอ้ เทจ็ จริง / สาระสาคญั 2.1 ความก้าวหน้าการขบั เคลือ่ นโครงการขนาดใหญแ่ ละโครงการสาคัญ โครงการขนาดใหญ่ท่ีมีศักยภาพในการดาเนินการได้ภายใน ปี ๒๕๖๕ จานวนทั้งส้ิน ๕๗ โครงการ เมื่อดาเนินการแล้วเสร็จจะสามารถช่วยบรรเทาปัญหาขาดแคลนน้าและอุทกภัยได้ทั่วประเทศ โดยเพ่ิม ปรมิ าณนา้ ตน้ ทนุ ได้ ๔,๓๙๘ ล้าน ลบ.ม. พ้ืนทร่ี ับประโยชน์ ๗.๓๔ ล้านไร่ ดงั น้ี (1) ผ่าน กนช. และผา่ นคณะรัฐมนตรีแลว้ ๒๑ โครงการ วงเงิน ๑๐๗,๐๔๒ ลา้ นบาท (2) ผ่าน กนช.แลว้ เตรยี มเสนอคณะรฐั มนตรี ๔ โครงการ วงเงิน ๑๑,๘๗๕ ล้านบาท (3) ระหว่างเตรียมความพร้อมเพ่ือขบั เคล่ือน ๓๒ โครงการ วงเงิน ๓๙๖,๙๒๑ ลา้ นบาท ตามที่ได้มีการรายงานความก้าวหน้าในคณะอนุกรรมการขับเคล่ือนโครงการขนาดใหญ่และ โครงการสาคัญ คร้ังท่ี 3/2562 และมีมติให้ดาเนินการปรับลดระยะแผนการดาเนินงานในโครงการท่ีมี ศักยภาพให้แล้วเสร็จโดยเร็ว เนื่องจากผลการพัฒนาโครงการแหล่งน้า ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา ต่ากว่าเป้าหมาย แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้า 20 ปี ดังนั้น ฝ่ายเลขาฯ จึงได้จัดประชุมเพื่อบูรณาการแผนงาน กับหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เมื่อวันศุกร์ที่ 13 ธันวาคม 2562 เพื่อจัดทาแผนงานโครงการสาคัญโดยกาหนด ระยะเวลาดาเนินการตามความพร้อมโครงการ (รายละเอียดดังเอกสารแนบ 1) รวมทั้งได้มีการปรับแผน โครงการท่ีไดร้ ับงบประมาณแลว้ ตามศักยภาพดาเนินงานรวม 4 โครงการ จาก 18 โครงการ ได้แก่ 1. อ่างเก็บน้า วังหีบ อันเนื่องมาจากพระราชดาริ แผนก่อสร้างเดิม 5 ปี พ.ศ.2562-2566 ปรบั แผนกอ่ สรา้ งเปน็ พ.ศ. 2565-2569 เนอ่ื งจากตอ้ งทาความเขา้ ใจกับราษฎรเพิ่มเตมิ 2. โครงการบรรเทาอุทกภัย เมืองนครศรีธรรมราช อันเนื่องมาจากพระราชดาริ แผนก่อสร้าง เดิม 3 ปี พ.ศ. 2561-2563 ปรับแผนก่อสร้างเป็น 6 ปี พ.ศ.2561-2566 เนอ่ื งจากต้องทาความเข้าใจกับ ราษฎรเพิ่มเติม 3. พัฒนาลุ่มน้าห้วยหลวงตอนล่าง แผนก่อสร้างเดิม 9 ปี พ.ศ.2561-2569 ปรับแผนก่อสร้าง เปน็ 7 ปี พ.ศ.2561-2567 4. อ่างเกบ็ น้าลาน้าชี อนั เนือ่ งมาจากพระราชดาริ แผนกอ่ สรา้ งเดิม 6 ปี พ.ศ.2562-2567 ปรับแผนกอ่ สร้างเป็น 5 ปี พ.ศ.2562-2566 146

2.2 เป้าหมายขับเคล่ือนโครงการขนาดใหญ่และโครงการสาคัญ (เพิ่มเติม) นอกเหนือจากโครงการขนาดใหญ่ที่เคยนาเสนอเป็นเป้าหมายการขับเคลื่อนในการประชุม คณะกรรมการทรัพยากรน้าแห่งชาติ (กนช.) แต่ละคร้ังที่ผ่านมา รวม 57 โครงการ ฝ่ายเลขานุการ คณะกรรมการขับ เ คล่ือนโครง กา รขน าด ใหญ่ และโ ครง กา รสา คัญ ได้ มีการเสน อเ ป้าห มาย ก า ร ขับ เ ค ลื ่อ น แผนงานโครงการสาคัญและโครงการขนาดใหญ่ (เพิ่มเติม) จานวน 11 โครงการ จาแนกเป็น 5 ประเภท ไดแ้ ก่ (รายละเอยี ดดงั เอกสารแนบ 2) (1) การผันน้าระหว่างลุ่มน้าหลัก 1 โครงการ คือ โครงการผันน้าเขื่อนศรีนครินทร์ จังหวดั กาญจนบรุ ี (2) บรหิ ารจัดการพื้นทลี่ ุม่ ตา่ น้านอง จานวน 3 โครงการ ไดแ้ ก่ (2.1) พน้ื ทล่ี ่มุ ตา่ บางพลวง จังหวดั ปราจีนบุรี (2.2) พื้นที่ลมุ่ ต่าลุ่มน้ายัง จังหวัดร้อยเอด็ (2.3) พน้ื ท่ีลุ่มตา่ เหนือจังหวัดนครสวรรค์ (3) แผนหลักการพัฒนาบึงและหนองน้าธรรมชาติขนาดใหญ่ จานวน 3 โครงการ ได้แก่ (3.1) หนองหาร จงั หวดั สกลนคร (3.2) หนองกอมเกาะ จังหวัดหนองคาย (3.3) หนองกุดทงิ จังหวัดบงึ กาฬ (4) การบรรเทาอทุ กภยั เมอื งสาคัญ จานวน 3 โครงการ ได้แก่ (4.1) ลมุ่ น้าเจ้าพระยาตอนล่าง (ลุ่มน้าเจา้ พระยา 9 แผน) (4.2) พ้ืนท่ี อ.บางสะพาน จงั หวัดประจวบคีรขี ันธ์ (4.3) พ้นื ทจ่ี งั หวัดอุบลราชธานี (โครงการบรรเทาอทุ กภยั พื้นท่ลี ุ่มนา้ ชลี ่าง-เซบาย-เซบก และลมุ่ นา้ มลู ตอนล่าง) (5) จดั หาแหลง่ น้ารองรบั พนื้ ที่เศรษฐกจิ และแหล่งท่องเทีย่ ว จานวน 1 โครงการ คือ โครงการพฒั นา แหล่งนา้ และการจดั การทรัพยากรน้ารองรบั เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก (ปี 2563-2580) 2.3 สรุปแผนงานโครงการขนาดใหญแ่ ละโครงการสาคญั จากเป้าหมายการขับเคลื่อน 57 โครงการ และ เป้าหมายเพิ่มเติม 11 โครงการ รวม 68 โครงการ วงเงินเบ้ืองต้น 855,548 ล้านบาท (ไม่รวมโครงการท่ีไม่มีผลการศึกษา) เม่ือโครงการแล้วเสร็จจะ เพิ่มความจุได้ 7,692 ล้าน ลบ.ม. พ้ืนที่รับประโยชน์ 10 ล้านไร่ ครัวเรือนรับประโยชน์ 0.647 ล้านครัวเรือน ซึ่ง โครงการดังกล่าวจะเป็นเป้าหมายการขับเคลื่อนโดยบูรณาการแผนงานร่วมกันของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง สามารถกาหนดแผนงานได้ตามศักยภาพความพร้อม และสรุปผลสัมฤทธิ์โครงการเม่ือแล้วเสร็จจาแนกตามปี เรม่ิ ก่อสร้างได้ ดังนี้ จานวน ผลสมั ฤทธ์เิ ม่ือโครงการแล้วเสรจ็ ปเี ริ่มโครงการ โครงการ วงเงินโครงการ เพิ่มนาต้นทนุ พืนที่รบั ประโยชน์ ครวั เรือน เริ่ม (ลา้ นบาท) (ลา้ น ลบ.ม.) (ไร่) ได้รบั ประโยชน์ เรม่ิ กอ่ นปี 63 13 176,327 1,904 3,300,403 140,110 เริม่ ปี 63 12 158,991 369 285,110 40,910 เร่มิ ปี 64 6 26,885 8 90,435 46,417 เรมิ่ ปี 65 24 253,241 2,235 4,032,158 338,704 66 เปน็ ต้นไป 13 240,105 3,175 2,383,011 81,104 รวม 68 855,548 7,692 10,091,116 647,245 147

สาหรับผลสัมฤทธ์ิเม่ือโครงการแล้วเสร็จ แบ่งช่วงระยะทุก 5 ปี ตามแผนแม่บทการบริหาร จดั การทรัพยากรนา้ 20 ปี สามารถสรุปไดด้ ังน้ี จานวน ผลสมั ฤทธเิ์ มอื่ โครงการแล้วเสรจ็ ปีโครงการแล้วเสรจ็ โครงการ เพิ่มนาต้นทุน พืนทรี่ บั ประโยชน์ ครัวเรือน แล้ว (ล้าน ลบ.ม.) (ไร่) ได้รบั ประโยชน์ เสรจ็ ระยะท่ี 1 (ก่อนปี 65) 4 0 61,000 4,067 ระยะที่ 2 (ปี 65 - 70) 60 3,962 6,643,727 457,378 ระยะที่ 3 (ปี 70 - 75) 4 3,730 3,386,389 185,801 รวม 68 7,692 10,091,116 647,245 ตวั อยา่ งโครงการทีจ่ ะแล้วเสรจ็ ในระยะตา่ ง ๆ ได้แก่ 1. ระยะท่ี 1 (ก่อนปี 2565) ได้แก่ โครงการฟื้นฟูพัฒนา คลองเปรมประชากร (คลองผดุง - คลองรังสิต) โครงการปรับปรุงขยาย กปภ.สาขาบ้านฉาง (รองรับ EEC) โครงการปรับปรุงขยาย กปภ. สาขาอดุ รธานี-หนองคาย-หนองบวั ลาภู และโครงการป้องกนั และบรรเทาอทุ กภยั เมอื งชมุ พร อันเนือ่ งมาจากพระราชดาริ 2. ระยะท่ี 2 (ปี 2565 - 2570) เช่น โครงการประตูระบายน้า ศรีสองรัก อันเนื่องมาจาก พระราชดาริ โครงการพัฒนาล่มุ นา้ หว้ ยหลวงตอนล่าง และคลองระบายน้าหลากบางบาล-บางไทร เป็นต้น 3. ระยะท่ี 3 (ปี 2570 - 2575) เช่น โครงการพัฒนาแหล่งน้าธรรมชาติขนาดใหญ่ บึงบอระเพด็ โครงการเพ่ิมปรมิ าณนา้ ตน้ ทุนเขือ่ นภมู ิพล โครงการผันน้า โขง เลย ชี มูล (ระยะที่ 1) ๓. ความเหน็ ของคณะอนุกรรมการขับเคลือ่ นโครงการขนาดใหญ่และโครงการสาคัญ 3.1 การพัฒนาโครงการด้านแหล่งน้าในช่วง 2 ปีท่ีผ่านมา มีการดาเนินงานล่าช้ากว่าแผนงาน หลายโครงการ อาจทาให้เป้าหมายต่ากว่าแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้า 20 ปี จึงเห็นควรให้ หนว่ ยงานเร่งรัดปรบั แผนงานโครงการที่มีศกั ยภาพดาเนนิ การให้เรว็ ขึน้ 3.2 เห็นควรให้บูรณาการขับเคลื่อนโครงการสาคัญเพ่ิมเติม 11 โครงการ สอดคล้องกับสภาพ ปญั หาเชิงพ้นื ทีแ่ ละ นโยบายรัฐบาล เพ่อื ใหส้ ามารถแก้ไขปญั หาการขาดแคลนนา้ และอุทกภยั ไดอ้ ย่างเปน็ รูปธรรม 4. ข้อเสนอเพอื่ พจิ ารณา 4.1 เห็นชอบในหลักการให้โครงการตามท่ีฝ่ายเลขานุการ กนช. เสนอเพิ่มเติม 11 โครงการ เปน็ โครงการเปา้ หมายที่ต้องขับเคลือ่ น และติดตามตอ่ ไป 4.2 ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่งรัดปรับแผนโครงการท่ีมีศักยภาพดาเนินงานให้สอดคล้อง กับเป้าหมายตามแผนแม่บทฯ และสาหรับโครงการที่ติดปัญหาด้านมวลชนใหห้ น่วยงานเจา้ ของโครงการเร่งทา ความเขา้ ใจกับราษฎร โดยให้ สทนช. เป็นผู้ติดตามความกา้ วหนา้ อย่างตอ่ เนื่อง จงึ เรียนทปี่ ระชมุ เพือ่ โปรดพจิ ารณา มติทปี่ ระชุม .................................................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... 148

เอกสารแนบทายวาระ 4.2.3 149

แผนงำนขบั เคลอ่ื นโครงกำรขนำดใหญ่ 57 โครงกำร เรยี งตำมลำดบั เสนอ คณะกรร ลำดบั Project จงั หวดั หนว่ ยงำน วงเงนิ ชป. โครงกำร โครงกำรวงั หบี อนั เนอ่ื งมำจำกพระรำชดำริ นครศรธี รรมราช ชป. 1 ชป. 2,378 ชป. 9,580 2 บรรเทำอทุ กภยั เมอื งนครศรธี รรมรำช (พรด.) นครศรธี รรมราช ชป. 5,000 ชป. 21,000 ประตรู ะบำยนำ้ ศรสี องรกั (พรด.) เลย ชป. 21,000 3 ชป. 1,249 ชป. 2,100 พฒั นำลมุ่ นำ้ หว้ ยหลวงตอนลำ่ ง หนองคาย ชป. 3,100 4 กทม. 3,440 3,100 ผ่ำนครม.และได้ร ับงบประมำณแล้ว 18 โครงกำร 5 คลองระบำยนำ้ หลำกบำงบำล-บำงไทร พระนครศรอี ยธุ ยา 17 หน่วยงาน 3,443 19 หน่วยงาน 5,702 ประตรู ะบำยนำ้ บำ้ นกอ่ พรอ้ มระบบสง่ นำ้ สกลนคร 1,457 6 กทม. 2,274 กทม. 1,751 7 ประตรู ะบำยนำ้ ลำนำ้ พงุ -นำ้ กำ่ อนั เนอ่ื งมำจำกพระรำชดำริ สกลนคร กทม. 9,800 กปภ. 1,736 อำ่ งเก็บนำ้ ลำสะพงุ (พรด.) ชยั ภมู ิ กปภ. 2,507 8 กปภ. 3,871 กปภ. 1,471 บรรเทำอทุ กภยั เมอื งชยั ภมู ิ (ระยะท1่ี ) ชยั ภมู ิ กปภ. 1,086 9 ชป. 1,717 ชป. 2,875 10 อำ่ งเก็บนำ้ ลำนำ้ ชี (พรด.) ชยั ภมู ิ ผท. 1,153 กทม. 6,130 11 ฟื้ นฟพู ฒั นำ คลองเปรมประชำกร (คลองผดงุ - คลองรงั สติ ) กรงุ เทพมหานคร พฒั นำแหลง่ นำ้ ธรรมชำตขิ นำดใหญ่ บงึ บอระเพ็ด นครสวรรค์ 12 พฒั นำแหลง่ นำ้ ธรรมชำตขิ นำดใหญ่ บงึ รำชชนก พษิ ณุโลก 13 อโุ มงคร์ ะบำยนำ้ ใตค้ ลองทววี ฒั นำ กรุงเทพมหานคร 14 อโุ มงคร์ ะบำยนำ้ ใตค้ ลองแสนแสบ กรงุ เทพมหานคร 15 อโุ มงคร์ ะบำยนำ้ ใตค้ ลองเปรมประชำกร กรุงเทพมหานคร 16 17 กปภ.สำขำบำ้ นฉำง (รองรบั EEC) ระยอง ผ่ำนครม. / ย ังไม่ กปภ.สำขำอดุ รธำน-ี หนองคำย-หนองบวั ลำภู อดุ รธานี,หนองคาย เสนอขอต ้ังงป. 18 ,หนองบวั ลาภู 3 โครงกำร กปภ.สำขำพงั งำ-ภเู ก็ต พังงา,ภเู กต็ 19 กปภ.สำขำนครศรธี รรมรำช นครศรธี รรมราช 20 21 กปภ.สำขำแมส่ ำย-(หว้ ยไคร)้ -(แมจ่ นั )-(เชยี งแสน) เชยี งราย (รองรบั เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ) ผ่ำนกนช. เตรียมเสนอ 22 โครงกำรป้ องกนั และบรรเทำอทุ กภยั เมอื งชมุ พร (ลมุ่ นำ้ คลอง ชมุ พร ครม. / ชุมพร) ย ังไม่เสนอขอต ั้งงป. 23 ปรบั ปรุง คลองยม - นำ่ น สโุ ขทยั - อตุ รดติ ถุ์ 4 โครงกำร สำรวจควำมสงู ภมู ปิ ระเทศดว้ ยแสงเลเซอร์ (LiDAR) ระยะ2 กรงุ เทพมหานคร 24 อโุ มงคร์ ะบำยนำ้ ใตค้ ลองพระยำรำชมนตรี กรุงเทพมหานคร 25 15

รมกำรทรพั ยำกรนำ้ แหง่ ชำติ (กนช.) และโครงกำรขบั เคลอ่ื นเพม่ิ เตมิ 11 โครงกำร ปี งบ 63 ปี งบ 64 ปี งบ 65 ปี งบ 66 ปี งบ 67 ปี งบ 68 ปี งบ 69 ปี งบ 70 ควำมกำ้ วหนำ้ โครงกำร (ปรบั แผน) (แผนเดมิ ) กอ่ สรา้ ง 5 ปี (62-66) ยงั ไมเ่ รม่ิ ดาเนนิ การโครงการ อยู่ ระหวา่ งการตัง้ คณะกรรมการรว่ ม 3 ฝ่ าย ทาความเขา้ ใจราษฎร กอ่ สรา้ ง 5 ปี (65-69) (ปรับแผน) ความกา้ วหนา้ 11.10 % (แผนเดมิ ) กอ่ สรา้ ง 3 ปี (61-63) (ปี 62 ไดง้ บ 1,045 ลา้ นบาท) ทาความเขา้ ใจราษฎร กอ่ สรา้ ง 6 ปี (61-66) ความกา้ วหนา้ 1.02 % (ปี 61 เตรยี ม ความพรอ้ ม กอ่ สรา้ งปี 62 ไดง้ บ 650 กอ่ สรา้ ง 6 ปี (61-66) ลคาว้ นามบกาาท้ ว)หนา้ 1.8 % (เรมิ่ กอ่ สรา้ งปี 62 ไดง้ บ 394 ลา้ นบาท) กอ่ สรา้ ง 9 ปี (61-69) (ปรับแผน) กอ่ สรา้ ง 7 ปี (61-67) เป็ นสว่ นหนง่ึ ของเจา้ พระยา 9 แผน ความกา้ วหนา้ 1.7 % (ปี 62 ไดง้ บ 250 กอ่ สรา้ ง 5 (62-66) คลาว้ นามบกาาท้ ว)หนา้ 2.2 % (ปี 62 ไดง้ บ 49 ลา้ นบาท) กอ่ สรา้ ง 5 ปี (62-66) ความกา้ วหนา้ 2.95 % กอ่ สรา้ ง 5 ปี (62-66) (ปี 62 ไดง้ บ 113 ลา้ นบาท) กอ่ สรา้ ง 6 ปี (62-67) ความกา้ วหนา้ 10.8 % (ปี 62 ไดง้ บ 220 ลา้ นบาท) กอ่ สรา้ ง 6 ปี (62-67) ความกา้ วหนา้ 3.4 % (แผนเดมิ ) กอ่ สรา้ ง 6 ปี (62-67) (ปรบั แผน) (ปี 62 ไดง้ บ 120 ลา้ นบาท) กอ่ สรา้ ง 5 ปี (62-66) ความกา้ วหนา้ 2.5 % กอ่ สรา้ ง 4 ปี (62-65) (ปี 62 ไดง้ บ 35 ลา้ นบาท) ออกแบบ กอ่ สรา้ ง 10 ปี (63-72) ความกา้ วหนา้ 2.0 % ออกแบบ กอ่ สรา้ ง 7 ปี (63-69) (ปี 62 ไดง้ บ 62 ลา้ นบาท) กอ่ สรา้ ง 4 ปี (63-66) ศกึ ษาแลว้ เสร็จ เตรยี มพรอ้ มดาเนนิ การ ศกึ ษาแลว้ เสร็จ เตรยี มพรอ้ มดาเนนิ การ เป็ นสว่ นหนง่ึ ของเจา้ พระยา 9 แผน กอ่ สรา้ ง 4 ปี (63-66) พรอ้ มดาเนนิ การ กอ่ สรา้ ง 5 ปี (63-67) พรอ้ มดาเนนิ การ ออกแบบแลว้ เสร็จ แผนงานปรับปรงุ ขยาย 3 ปี (63-65) ออกแบบแลว้ เสร็จ แผนการบรหิ ารจัดการลดน้าสญู เสยี 4 ปี (64-67) ออกแบบแลว้ เสร็จ ออกแบบแลว้ เสร็จ แผนงานปรบั ปรงุ ขยาย 3 ปี (63-65) ออกแบบแลว้ เสร็จ แผนการบรหิ ารจัดการลดน้าสญู เสยี 5 ปี (64-68) พรอ้ มดาเนนิ การ แผนงานปรับปรงุ ขยาย 3 ปี (64-66) แผนการบรหิ ารจัดการลดน้าสญู เสยี 5 ปี (64-68) แผนงานปรับปรงุ ขยาย 3 ปี (64-66) แผนการบรหิ ารจัดการลดน้าสญู เสยี 4 ปี (65-68) แผนงานปรบั ปรงุ ขยาย 3 ปี (65-67) แผนการบรหิ ารจัดการลดน้าสญู เสยี 5 ปี (66-70) กอ่ สรา้ ง 2 ปี (63-64) ทาความเขา้ ใจราษฎร พรอ้ มดาเนนิ การ กอ่ สรา้ ง 5 ปี (63-67) ทาความเขา้ ใจกบั ราษฎรเพมิ่ เตมิ ออกแบบ ขอปรับไปใชง้ บกองทัพ แทนงบบรู ฯน้า เป็ นสว่ นหนง่ึ ของเจา้ พระยา 9 แผน กอ่ สรา้ ง 4 ปี (64-67) ระหวา่ งออกแบบรายละเอยี ด 50 Roadmap 57^M11 โครงการ (16ธ.ค.62) V2

แผนงำนขบั เคลอ่ื นโครงกำรขนำดใหญ่ 57 โครงกำร เรยี งตำมลำดบั เสนอ คณะกรร ลำดบั Project จงั หวดั หนว่ ยงำน วงเงนิ กทม. โครงกำร 26 เขอ่ื น ค.ส.ล. คลองหนองบอน ชว่ งจำกคลองประเวศบรุ รี มย์ กรงุ เทพมหานคร ถงึ คลองมะขำมเทศ 1,213 27 เขอ่ื น ค.ส.ล. คลองพระยำรำชมนตรี ชว่ งบำงบอนถงึ คลอง กรงุ เทพมหานคร กทม. 1,200 หนองใหญ่ และชว่ งคลองภำษเี จรญิ ถงึ คลองบำงเชอื กหนงั เขอ่ื นป้ องกนั กำรกดั เซำะตลง่ิ และคนั ป้ องกนั นำ้ ทว่ มตำม กรงุ เทพมหานคร กทม. 515 28 โครงกำรแกม้ ลงิ คลองมหำชยั -คลองสนำมชยั โครงกำรท่ีอยู่ระหว่ำงเตรียมควำมพร้อมเพ่ือข ับเคล่ือน 32 โครงกำร เขอ่ื น ค.ส.ล. คลองบำงนำจำกคลองเคล็ดถงึ บรเิ วณแมน่ ำ้ กรงุ เทพมหานคร กทม. 1,465 29 เจำ้ พระยำ 30 เขอ่ื น ค.ส.ล. คลองหนองบอน ชว่ งจำกสถำนสี บู นำ้ หนองบอน กรงุ เทพมหานคร กทม. 1,237 ถงึ คลองปลดั เปรยี ง 31 เขอื่ น ค.ส.ล. คลองมะขำมเทศ ชว่ งจำกคลองหนองบอนถงึ กรุงเทพมหานคร กทม. 1,424 คลองสองหอ้ ง 32 เขอ่ื น ค.ส.ล. คลองภำษเี จรญิ จำกบรเิ วณถนนรำชพฤกษถ์ งึ สดุ กรงุ เทพมหานคร กทม. 1,970 เขตกรงุ เทพมหำนคร (2) เขอื่ น ค.ส.ล. คลองบำงไผบ่ รเิ วณคลองพระยำรำชมนตรถี งึ กรุงเทพมหานคร กทม. 1,084 33 บรเิ วณสดุ เขตกทม. เขอ่ื น ค.ส.ล. คลองบำงเขน จำกคลองบำงบวั ถงึ แมน่ ำ้ กรงุ เทพมหานคร กทม. 1,360 34 เจำ้ พระยำ 35 เขอ่ื น ค.ส.ล. และประตรู ะบำยนำ้ คลองพระยำสเุ รนทรค์ ลองคู้ กรงุ เทพมหานคร กทม. 3,212 บอน คลองบำงชนั จำกปตร.คลองพระยำสเุ รนทรถ์ งึ คลอง 36 เแขสอ่ื นนแสคบ.ส.ล. พรอ้ มระบบรวบรวมนำ้ เสยี คลองแสนแสบจำก กรงุ เทพมหานคร กทม. 1,800 บรเิ วณประตรู ะบำยนำ้ มนี บรุ ี ถงึ ประตรู ะบำยนำ้ หนองจอก 37 เขอื่ น ค.ส.ล. คลองสองหอ้ ง ชว่ งจำกคลองประเวศบรุ รี มยถ์ งึ กรุงเทพมหานคร กทม. 1,002 คลองมะขำมเทศ เขอ่ื น ค.ส.ล. คลองพระโขนง จำกชว่ งแมน่ ำ้ เจำ้ พระยำถงึ สดุ กรุงเทพมหานคร กทม. 3,631 38 คลองขนุ สกล เขอื่ น ค.ส.ล. คลองสำมวำ จำกคลองหกวำสำยลำ่ งถงึ คลอง กรุงเทพมหานคร กทม. 1,963 39 แสนแสบ เขอื่ น ค.ส.ล. คลองลำดบวั ขำวและคลองทบั ชำ้ งบน จำก กรุงเทพมหานคร กทม. 2,234 40 คลองประเวศบรุ รี มยถ์ งึ คลองแสนแสบ 41 เขอื่ น ค.ส.ล. คลองประเวศบรุ รี มย์ จำกบรเิ วณเขอื่ นเดมิ คลอง กรงุ เทพมหานคร กทม. 4,416 จระเขข้ บถงึ สดุ เขตกรุงเทพมหำนคร ปรบั ปรุงแกม้ ลงิ บงึ มกั กะสนั เพอื่ เพมิ่ ประสทิ ธภิ ำพกำรระบำย กรุงเทพมหานคร กทม. 520 42 นำ้ อโุ มงคร์ ะบำยนำ้ บงึ มกั กะสนั และคลองสำมเสน (1) เพม่ิ ประสทิ ธภิ ำพอำคำรบงั คบั นำ้ พนื้ ทเ่ี กำะรตั นโกสนิ ทรแ์ ละ กรุงเทพมหานคร กทม. 1,214 พน้ื ทต่ี อ่ เนอ่ื ง (1) เพมิ่ ประสทิ ธภิ ำพประตเู รอื สญั จรคลองชกั พระ คลองมอญ กรุงเทพมหานคร กทม. 1,658 43 และคลองบำงกอกใหญ่ และอำคำรบงั คบั นำ้ พนื้ ทต่ี อ่ เนอื่ ง (2) 15

รมกำรทรพั ยำกรนำ้ แหง่ ชำติ (กนช.) และโครงกำรขบั เคลอื่ นเพมิ่ เตมิ 11 โครงกำร ปี งบ 63 ปี งบ 64 ปี งบ 65 ปี งบ 66 ปี งบ 67 ปี งบ 68 ปี งบ 69 ปี งบ 70 ควำมกำ้ วหนำ้ โครงกำร ออกแบบ กอ่ สรา้ ง 3 ปี (64-66) ระหวา่ งออกแบบรายละเอยี ด เตรยี มของบ กทม. ปี 64 ออกแบบ กอ่ สรา้ ง 3 ปี (64-66) ออกแบบ กอ่ สรา้ ง 2 ปี (65-66) ระหวา่ งออกแบบรายละเอยี ด ออกแบบ กอ่ สรา้ ง 3 ปี (65-67) เตรยี มของบ กทม.ปี 64 ออกแบบ กอ่ สรา้ ง 3 ปี (65-67) ออกแบบ กอ่ สรา้ ง 3 ปี (65-67) ระหวา่ งออกแบบรายละเอยี ด ออกแบบ กอ่ สรา้ ง 3 ปี (65-67) เตรยี มของบปี 65 ออกแบบ กอ่ สรา้ ง 3 ปี (65-67) ออกแบบ กอ่ สรา้ ง 3 ปี (65-67) ระหวา่ งออกแบบรายละเอยี ด ออกแบบ กอ่ สรา้ ง 3 ปี (65-67) เตรยี มของบปี 65 ออกแบบ กอ่ สรา้ ง 3 ปี (65-67) ออกแบบ กอ่ สรา้ ง 3 ปี (65-67) ระหวา่ งสารวจออกแบบ เตรยี มของบปี 65 ออกแบบ กอ่ สรา้ ง 3 ปี (66-68) ออกแบบ กอ่ สรา้ ง 4 ปี (66-69) ระหวา่ งสารวจออกแบบ ออกแบบ กอ่ สรา้ ง 4 ปี (66-69) เตรยี มของบปี 65 ออกแบบ กอ่ สรา้ ง 4 ปี (66-69) ระหวา่ งสารวจออกแบบ เตรยี มของบปี 65 ออกแบบ กอ่ สรา้ ง 2 ปี (65-66) ออกแบบ กอ่ สรา้ ง 2 ปี (65-66) ระหวา่ งสารวจออกแบบ เตรยี มของบปี 65 ออกแบบ กอ่ สรา้ ง 2 ปี (65-66) ระหวา่ งสารวจออกแบบ เตรยี มของบปี 65 ระหวา่ งสารวจออกแบบ เตรยี มของบปี 65 ระหวา่ งสารวจออกแบบ เตรยี มของบปี 65 ระหวา่ งสารวจออกแบบ เตรยี มของบปี 65 ระหวา่ งสารวจออกแบบ เตรยี มของบปี 66 ระหวา่ งสารวจออกแบบ เตรยี มของบปี 65 ระหวา่ งสารวจออกแบบ เตรยี มของบปี 65 ระหวา่ งสารวจออกแบบ เตรยี มของบปี 66 ระหวา่ งสารวจออกแบบและจัดทาแผน แมบ่ ทการพัฒนาพนื้ ทบี่ งึ โดย ก. รคะมหนวาา่ คงมออกแบบ ประสาน คณะกรรมการ รัตนโกสนิ ทร์ ระหวา่ งสารวจออกแบบ เตรยี มของบปี 65 51 Roadmap 57^M11 โครงการ (16ธ.ค.62) V2

แผนงำนขบั เคลอื่ นโครงกำรขนำดใหญ่ 57 โครงกำร เรยี งตำมลำดบั เสนอ คณะกรร ลำดบั Project จงั หวดั หนว่ ยงำน วงเงนิ ระยอง - ชลบรุ ี ชป. โครงกำร โครงกำรท่ีอยู่ระหว่ำงเตรียมควำมพร้อมเพื่อข ับเคล่ือน 32 โครงกำร 44 ผนั นำ้ อำ่ งเก็บนำ้ ประแสร-์ หนองคอ้ -บำงพระ จ.ชลบรุ ี (ต่อ) 8,000 อำ่ งเก็บนำ้ คลองลำรูใหญ่ พังงา ชป. 1,987 45 อำ่ งเก็บนำ้ นำ้ กพิ รอ้ มระบบสง่ นำ้ น่าน ชป. 3,460 46 อำ่ งเก็บนำ้ คลองวงั โตนด จันทบรุ ี ชป. 6,950 47 48 คลองระบำยนำ้ หลำก ชยั นำท-ป่ ำสกั ชยั นาท นครสวรรค์ ชป. 36,400 ลพบรุ ี สระบรุ ี ชป. 13,000 49 บรรเทำอทุ กภยั พนื้ ทล่ี มุ่ นำ้ เพชรบรุ ตี อนลำ่ ง (พรด.) เพชรบรุ ี เพมิ่ ปรมิ ำณนำ้ ตน้ ทนุ เขอื่ นภมู พิ ล แมฮ่ อ่ งสอน - ตาก ชป. 71,110 50 คลองรว่ มถนนพทุ ธมณฑล สำย 5 และอโุ มงคร์ ะบำยนำ้ ใต้ นครปฐม กทม. ชป. 12,245 51 คลองแนวลขิ ติ 1 สมทุ รสาคร ชป. 8,299 อโุ มงคร์ ะบำยนำ้ ใตค้ ลองบำงนำ้ จดื 52 อำ่ งเก็บนำ้ นำ้ กอน น่าน ชป. 5,250 53 54 คลองระบำยนำ้ หลำก ป่ ำสกั -อำ่ วไทย สระบรุ ี นครนายก ชป. 89,860 ฉะเชงิ เทรา ชป. 6,200 อำ่ งเก็บนำ้ ลำตะเพนิ ตอนบนและระบบผนั นำ้ สกามญทุ จรปนรบารุ กี -าร ชป. 4,000 55 สพุ รรณบรุ ี ผนั นำ้ อำ่ งเก็บนำ้ ป่ ำสกั ชลสทิ ธ-์ิ มวกเหล็ก-ลำตะคอง นครราชสมี า 56 ผนั นำ้ โขง เลย ชี มลู (ระยะที่ 1) เลย ชป. 158,068 57 ผนั นำ้ เขอ่ื นศรนี ครนิ ทร์ กาญจนบรุ ี ชป. 16,431 58 บรหิ ำรจดั กำรพนื้ ทลี่ มุ่ ตำ่ บำงพลวง จงั หวดั ปรำจนี บรุ ี ปราจนี บรุ ี ชป. 1,240 59 โครงกำรข ับเคล่ือนเพ่ิมเติม 11 โครงกำร บรหิ ำรจดั กำรพนื้ ทลี่ มุ่ ตำ่ ลมุ่ นำ้ ยงั ตอนลำ่ ง จงั หวดั รอ้ ยเอ็ด รอ้ ยเอด็ ชป. 967 60 บรหิ ำรจดั กำรพนื้ ทลี่ มุ่ ตำ่ เหนอื จงั หวดั นครสวรรค์ นครสวรรค์ ชป. 28,710 61 แผนหลกั กำรพฒั นำหนองหำร จงั หวดั สกลนคร สกลนคร 12 หน่วยงาน 7,445 62 แผนหลกั กำรพฒั นำหนองกอมเกำะ จงั หวดั หนองคำย หนองคาย ศกึ ษาโดย N/A 63 บงึ กาฬ สทนช. 1,822 แผนหลกั กำรพฒั นำหนองกดุ ทงิ จงั หวดั บงึ กำฬ ชป. 64 65 บรรเทำอทุ กภยั ลมุ่ นำ้ เจำ้ พระยำ 9 แผน ลมุ่ น้าเจา้ พระยา ชป. 235,870 ตอนลา่ ง บรรเทำอทุ กภยั พน้ื ทอ่ี ำเภอบำงสะพำน ประจวบครี ขี นั ธ์ ชป. 6,100 66 บรรเทำอทุ กภยั เมอื งอบุ ลรำชธำนี อบุ ลราชธานี ศกึ ษาโดย N/A 67 สทนช. 136,095 ฉะเชงิ เทรา ชลบรุ ี จดั หำแหลง่ นำ้ รองรบั พนื้ ทเ่ี ขตพฒั นำพเิ ศษภำคตะวนั ออก ระยอง 19 หน่วยงาน 68 (EEC) 15

รมกำรทรพั ยำกรนำ้ แหง่ ชำติ (กนช.) และโครงกำรขบั เคลอ่ื นเพมิ่ เตมิ 11 โครงกำร ปี งบ 63 ปี งบ 64 ปี งบ 65 ปี งบ 66 ปี งบ 67 ปี งบ 68 ปี งบ 69 ปี งบ 70 ควำมกำ้ วหนำ้ โครงกำร ทบทวน จัดหาทด่ี นิ กอ่ สรา้ ง 3 ปี (65-67) เป็ นสว่ นหนง่ึ ของจัดหาแหลง่ น้ารองรับ EEC ออกแบบ จัดหาทดี่ นิ กอ่ สรา้ งอา่ งเก็บน้า 3 ปี (65-67) ออกแบบแลว้ เสร็จ / สรา้ งความชัดเจนเรอื่ ง สดั สว่ นน้าตน้ ทนุ จากอา่ งเก็บน้าประแสรก์ อ่ น เพกิ ถอน กอ่ สรา้ งระบบสง่ น้า 3 ปี (67-69) ระหวา่ งเพกิ ถอนพนื้ ทอ่ี ทุ ยาน กอ่ สรา้ ง 5 ปี (65-69) พจิ ารณา สวล. จัดหาทดี่ นิ ออกแบบแลว้ เสร็จ / ระหวา่ ง คชก.พจิ ารณา พจิ ารณา สวล. จัดหาทดี่ นิ กอ่ สรา้ งอา่ งเก็บน้า 3 ปี (65-67) เป็ นสว่ นหนงึ่ ของจัดหาแหลง่ น้ารองรับ EEC กอ่ สรา้ งระบบสง่ น้า 4 ปี (67-70) อเปอ็ นกสแว่ บนบหแนลงึ่ ว้ ขเสอรง็จเจ/า้ รพะรหะวยา่ าง9คแชผกน. ระหวา่ งออกแบบ ออกแบบ กอ่ สรา้ ง 5 ปี (65-70) ระหวา่ งออกแบบ จัดหาทด่ี นิ ออกแบบแลว้ เสร็จ / ระหวา่ ง คชก. จัดหาทดี่ นิ / ทาความเขา้ ใจราษฎร พจิ ารณา ทเปา็ นคสวว่านมหเขนา้ง่ึ ใขจอกงบั เรจาา้ ษพฎระรยเพาม่ิ 9เแตผมิ น ออกแบบ กอ่ สรา้ ง 5 ปี (64-68) ยงั ไมม่ แี บบ เป็ นสว่ นหนงึ่ ของเจา้ พระยา 9 แผน ทาความเขา้ ใจ กอ่ สรา้ ง 7 ปี (65-71) ยงั ไมม่ แี บบ พจิ ารณา สวล. จัดหาทด่ี นิ ยงั ไมม่ แี บบ / ระหวา่ งคชก.พจิ ารณา ออกแบบ กอ่ สรา้ ง 5 ปี (66-70) เป็ นสว่ นหนงึ่ ของเจา้ พระยา 9 แผน จัดหาทด่ี นิ ยงั ไมม่ แี บบ / ระหวา่ งคชก.พจิ ารณา ยงั ไมม่ แี บบ ออกแบบ จัดหาทด่ี นิ กอ่ สรา้ ง 5 ปี (65-69) ระหวา่ งศกึ ษา พจิ ารณา สวล. จัดหาทดี่ นิ กอ่ สรา้ ง 5 ปี (65-69) ออกแบบ กอ่ สรา้ ง 5 ปี (65-69) ระหวา่ งศกึ ษา ออกแบบ กอ่ สรา้ ง 5 ปี (66-70) ระหวา่ งศกึ ษา กอ่ สรา้ ง 5 ปี (66-70) พจิ ารณา สวล. จัดหาทด่ี นิ กอ่ สรา้ ง 6 ปี (66-71) เป็ นสว่ นหนงึ่ ของจัดหาแหลง่ น้ารองรับ EEC พจิ ารณา สวล. ออกแบบ จัดหาทดี่ นิ กอ่ สรา้ ง 5 ปี (66-70) ศศกกึึ ษษาาแDลeว้sเkสSรt็จudy แลว้ เสร็จ Feas. Study พจิ ารณา สวล. จัดหาทด่ี นิ ศกึ ษาแลว้ เสร็จ ออกแบบ พจิ ารณา สวล. ศกึ ษาแลว้ เสร็จ จัดหาทดี่ นิ EIA ออกแบบ ระหวา่ งศกึ ษา Feas. Study พจิ ารณา สวล. จัดหาทดี่ นิ ออกแบบ ศกึ ษาแลว้ เสร็จ ออกแบบ จัดหาทด่ี นิ กอ่ สรา้ ง 2 ปี (66-67) ทาความเขา้ ใจราษฎร Feas. Study ออกแบบ จัดหาทดี่ นิ กอ่ สรา้ ง 3 ปี (67-70) ออกแบบ กอ่ สรา้ ง 5 ปี (66-70) ทาความเขา้ ใจราษฎร จัดหาทดี่ นิ ออกแบบ Feas. Study จัดหา กอ่ สรา้ ง 10 ปี (63-72) ออกแบบ กอ่ สรา้ ง 4 ปี (65-68) กอ่ สรา้ ง 5 ปี (63-67) Proj. Priority วงเงนิ ทัง้ 9 แผน ซงึ่ รวมโครงการขนาด กอ่ สรา้ ง 9 ปี (61-69) ใหญอ่ น่ื ๆ ใน 57 รายการ ศกึ ษาแลว้ เสร็จ ดาเนนิ การไปบางสว่ น พจิ ารณา สวล. โครงการอา่ งเก็บน้าบา้ นไทรทอง แผนศกึ ษาปี 63 กอ่ สรา้ ง 9 ปี (60-68) วงเงนิ ทัง้ EEC ซง่ึ รวมโครงการขนาด Master Plan & EIA พจิ ารณา สวล. กอ่ สรา้ ง 4 ปี (67-70) ใหญอ่ นื่ ๆ ใน 57 รายการ ออกแบบ จัดหาทด่ี นิ Master Plan กอ่ สรา้ ง 18 ปี (63-80) 52 Roadmap 57^M11 โครงการ (16ธ.ค.62) V2

1. โครงการผันน้ำจากเขื่อนศรนี ครินทร์ เพ่อื บรรเทาปญั หาภยั แล้ง จงั หวดั กาญจนบรุ ี 1. สภาพปัญหาและเหตุผลความจำเป็นท่ีต้องมีโครงการ พ้ืนที่ใน จ.กาญจนบุรี ได้แก่ อ.บ่อพลอย ห้วยกระเจา เลาขวัญ หนองปรือ และพนมทวน เป็นพน้ื ทีป่ ระสบภัยแล้งซ้ำซาก และราษฎรในพ้ืนท่ไี ด้ร้องขอให้พิจารณานำนำ้ จากเขือ่ นศรนี ครินทร์มาช่วยบรรเทาปัญหา มาอยา่ งยาวนาน กรมชลประทานได้เสนอแนวทางทจ่ี ะผนั น้ำจากเขอื่ นศรนี ครนิ ทรม์ ายังพ้ืนท่ดี งั กล่าวเพ่ือบรรเทาปัญหาให้กบั ราษฎร สทนช. ได้รบั มอบให้ดำเนินการศึกษาเนื่องจากเป็นการผันน้ำข้ามลุ่มน้ำ ซึ่งผลการศึกษาในขั้นตอนแนวทางวางโครงการ พบว่าพื้นที่ ดังกล่าวมีข้อจำกดั ในการพัฒนา ถงึ แม้จะมีการพัฒนาแหลง่ เก็บกักน้ำในพ้นื ที่ เชน่ อา่ งเก็บน้ำขนาดเลก็ ฝายทดน้ำในลำน้ำ รวมถึงสระ เก็บน้ำในไร่นา ก็ยังมีความต้องการน้ำจากภายนอกพื้นท่ีเข้ามาช่วยเหลือ ซ่ึงศักยภาพพ้ืนท่ีสามารถรองรั บการผันน้ำจาก เขอ่ื นศรนี ครินทร์ได้ 522,600 ไร่ คิดเป็นความต้องการน้ำปีละ 221.41 ล้าน ลบ.ม. และเม่อื พจิ ารณาน้ำต้นทุนของเขอื่ นศรนี ครินทร์ พบวา่ มปี ริมาณนำ้ เหลือเพยี งพอเฉล่ยี 1,009 ลา้ น ลบ.ม./ปี 2. ลักษณะของโครงการ จากผลการศกึ ษาแนวทางการผนั นำ้ พบว่ามคี วามเป็นไปได้ทจี่ ะดำเนินการ 3 ทางเลือก ประกอบดว้ ย 2.1 อุโมงค์ผันน้ำจากเข่ือนศรีนครินทร์ ลอดพ้ืนที่เขตรักษาพัน ธุ์สัตว์ป่าเขาสลักพระ ไปยังอ่างเก็บน้ำลำอีซู ยาว 22 กม. ท่อส่งน้ำ 14 กม. พร้อมระบบคลองสง่ น้ำ ยาว 147 กม. ค่าก่อสร้าง 16,431 ล้านบาท ค่าเสียโอกาสจากการ ผลติ ไฟฟ้า 50 ปี 11,711 ลา้ นบาท (ทางเลือกท่ี 1) 2.2 อุโมงค์ผันน้ำจากเข่ือนศรีนครินทร์ ลอดพ้ืนท่ีเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาสลักพระ ความยาว 9 กม. และท่อส่งน้ำเลียบ เขตรักษาพันธ์ุฯ ยาว 48 กม. พร้อมระบบคลองส่งน้ำยาว 164 กม. ค่าก่อสร้าง 14,865 ลา้ นบาท ค่าเสียโอกาสจากการ ผลิตไฟฟา้ 50 ปี 11,711 ลา้ นบาท (ทางเลอื กท่ี 3.2) 2.3 สถานีสูบน้ำจากแม่น้ำแควใหญ่และท่อส่งน้ำความยาว 1.5 กม. พร้อมระบบคลองส่งน้ำยาว 164 กม. ค่าก่อสร้าง 8,591 ล้านบาท คา่ ไฟฟ้าสบู นำ้ 50 ปี 20,963 ลา้ นบาท (ทางเลอื กที่ 5) 3. งบประมาณโครงการ อยู่ระหว่างการศึกษา 4. ระยะเวลาก่อสร้างโครงการ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570) 5. ประโยชน์ของโครงการ • ปริมาณนำ้ เพอ่ื การอุปโภค-บริโภค ครอบคลุม 5 อำเภอ • บรรเทาความขาดแคลนนำ้ การเกษตร ครอบคลมุ 3 อำเภอ (บ่อพลอย ห้วยกระเจาและเลาขวญั ) พื้นท่ี 522,600 ไร่ 6. การวเิ คราะห์ด้านเศรษฐกิจ อยรู่ ะหวา่ งการศึกษา 7. สถานภาพโครงการ อยู่ระหว่างศึกษาความเหมาะสมโครงการและประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) โดย สทนช. อยู่ระหว่างขอเข้าศึกษาวิจัยในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าและป่าสงวน คาดว่าจะศึกษาแล้วเสร็จในเดือนเมษายน 2563 และสำรวจออกแบบ ในปี 2563 / เสนอ สผ.พิจารณา EIA ในปี 2563 และ เริ่มจัดหาที่ดินพร้อมดำเนินการก่อสร้างในปี 2565 ระยะดำเนินการ 5 ปี 153

แผนที่แสดงทางเลอื กโครงการผันนำ้ จากเข่อื นศรนี ครนิ ทร์ 154

2. โครงการบรหิ ารจดั การพน้ื ทลี่ ุม่ ตำ่ บางพลวง จงั หวดั ปราจนี บรุ ี 1. สภาพปัญหาและเหตุผลความจำเป็นท่ีต้องมีโครงการ สภาพภูมิประเทศของพื้นท่ีโครงการบางพลวง เป็นพ้ืนท่ีลุ่มขนาดใหญ่ ริมฝั่งแม่น้ำปราจีนบุรีและแม่น้ำบางปะกง มีพื้นท่ีกว่า 497,973 ไร่ โดยมี อ.เมืองปราจีนบุรี และอ.บ้านสร้าง ตั้งอยู่บริเวณ ขอบของพ้ืนที่ริมแม่น้ำปราจีนบุรี ปัจจุบันจัดเป็นพ้ืนที่รับน้ำขนาดใหญ่ที่สำคัญที่มีผลต่อการบริหารจัดการน้ำในพ้ืนท่ี ลุ่มน้ำบางปะกง-ปราจีนบุรี ในช่วงฤดูน้ำหลากจะมีปริมาณน้ำจากแม่น้ำปราจีนบุรีไหลข้ามคันกั้นน้ำฝ่ังซ้ายเข้าท่วมขัง เป็นประจำทุกปีประมาณ 1 เดือน จึงมีแผนแบ่งการบริหารจัดการออกเป็น 3 โซน โดยมีคันก้ันน้ำริมแม่น้ำปราจีนบุรี แม่น้ำบางปะกง รวมทั้งถนนสายหลักหมายเลข 319 และ 3347 แบ่งกั้นโซน โดยโซนที่ 1 เป็นพื้นท่ีรับน้ำ จากแม่น้ำปราจีนบุรีส่วนแรก และไหลบ่าไปยังโซนที่ 2 และ 3 ตามลำดับ ปัจจุบันยังไม่มีการบริหารจัดการอย่างชัดเจน จึงต้องมีการปรับปรงุ โครงสรา้ งพ้ืนฐานใหส้ ามารถบริหารจัดการได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ขน้ึ 2. ลักษณะของโครงการ ประกอบด้วยองค์ประกอบสำคัญ ดังนี้ • ปรบั ปรงุ /ขุดลอกคลองสง่ นำ้ ในพน้ื ท่โี ครงการ 7 สาย • ปรับปรงุ ปตร./สถานีสบู นำ้ เพ่อื เพ่ิมประสทิ ธิภาพการรบั น้ำเข้าพ้นื ท่ี 3 แห่ง • ปตร.กลางคลอง เพ่ือเกบ็ กักนำ้ แตล่ ะโซน 19 แหง่ • สถานสี บู นำ้ แบบ 2 ทาง 5 แห่ง • ปตร.ในคลองทา่ ลาด (ปตร.วัดไผ่ขวาง) 3. งบประมาณโครงการ 1,240.44 ล้านบาท 4. ระยะเวลาก่อสรา้ งโครงการ 2 ปี (พ.ศ. 2566 - 2567) 5. ประโยชนข์ องโครงการ • สามารถผนั น้ำจากแมน่ ำ้ ปราจีนบุรมี าในทุ่งบางพลวง บรรเทาปัญหาน้ำทว่ มบรเิ วณ อ.เมือง ปราจนี บุรี • บรรเทาปัญหาภัยแล้งและปัญหาจากน้ำเค็มรุกล้ำ โดยอาศัยน้ำจากทุ่งบางพลวง ท่ีชะลอน้ำไว้ประมาณ 2 เดือน ปริมาณน้ำที่ชะลอได้ 400 ล้านลูกบาศกเ์ มตร 6. สถานภาพโครงการ ศึกษาความเหมาะสมแล้วเสร็จโดยกรมชลประทาน ต้องดำเนินการออกแบบรายละเอียดต่อไป เนื่องจากมีพื้นท่ีลุ่มต่ำน้ำนองบางส่วนเป็นที่ดินของประชาชน ดังน้ัน จะต้องมีการกำหนดเกณฑ์การบริหารจัดการ และเกณฑ์ การจ่ายค่าชดเชยในการขอใช้พนื้ ท่เี กบ็ น้ำชวั่ คราวท่ชี ัดเจน และเปน็ ธรรม 155

แผนที่แสดงรายละเอียดโครงการบริหารจดั การพน้ื ท่ีลุ่มตำ่ บางพลวง จังหวดั ปราจีนบุรี 156

3. โครงการบรหิ ารจัดการพื้นทีล่ มุ่ ต่ำลุ่มนำ้ ยงั จงั หวดั รอ้ ยเอด็ 1. สภาพปัญหาและเหตุผลความจำเป็นที่ต้องมีโครงการ ลุ่มน้ำชี มีปริมาณฝนรายปีเฉล่ีย 1,188 มิลลิเมตร และปริมาณ น้ำท่ารายปีเฉลี่ยประมาณ 12,000 ล้านลูกบาศก์เมตร แต่ความสามารถในการเก็บกักน้ำของลุ่มน้ำมีเพียง 6,407 ล้านลูกบาศกเ์ มตร ลุ่มน้ำชจี ึงประสบปัญหาเร่อื งน้ำมาโดยตลอด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเร่ืองอุทกภยั ซึ่งพ้ืนท่ีประสบอุทกภัยซำ้ ซาก ส่วนใหญ่มันเกิดบริเวณพื้นท่ีลุ่มต่ำริมแม่น้ำชี โดยมีพ้ืนท่ีเส่ียงอุทกภัยสูงหรือเกิดน้ำท่วมทุกปี มีพ้ืนท่ี 183,899 ไร่ และมีพื้นท่ี เส่ียงอุทกภัยปานกลางหรือเกิดน้ำท่วมทุก 2 ปี มีพ้ืนท่ี 2,150,405 ไร่ จากความกว้างลำน้ำที่มีลักษณะแคบ การต้ืนเขินของ แมน่ ำ้ ชี รวมถึงสิ่งกีดขวางลำน้ำตา่ งๆ การปรับปรุงพ้ืนทีล่ ุ่มตำ่ น้ำนองท่ีนำ้ ทว่ มซ้ำซากเป็นแก้มลิงรับน้ำนองสามารถช่วยบรรเทา ปัญหาอทุ กภัย โดยการบรหิ ารจดั การนำ้ เพอื่ ลดความเสียหายของพนื้ ที่ด้านท้ายน้ำ 2. ลักษณะของโครงการ การศึกษาเบ้ืองต้น พบว่าสามารถพัฒนาพื้นที่แก้มลิงลุ่มต่ำน้ำนองเป็น 2 พ้ืนที่ ซ่ึงเป็นพ้ืนท่ี เกษตรกรรมทป่ี ระสบปัญหานำ้ ทว่ มซำ้ ซาก คอื 2.1 พ้ืนทแี่ กม้ ลงิ ลุ่มต่ำลุ่มน้ำยังตอนบน สามารถกักน้ำได้เป็นปรมิ าณ 49 ลา้ นลูกบาศก์เมตร เป็นพ้ืนท่ีเก็บกักนำ้ 21,803 ไร่ ก่อสรา้ งอาคารบังคับน้ำปิดก้ันลำน้ำยัง บริเวณบ้านโนนยาง ตำบลขวาว อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด และปรับปรุงถนนเป็น พนังกน้ั นำ้ ระยะทาง 16.36 กิโลเมตร ราคาค่าก่อสร้างเบื้องต้น 309 ล้านบาท 2.2 พื้นที่แก้มลิงลุ่มต่ำตอนล่าง สามารถกักน้ำได้เป็นปริมาณ 193 ล้านลูกบาศก์เมตร เป็นพ้ืนที่เก็บกักน้ำ 79,920 ไร่ ก่อสร้างอาคารบังคับน้ำปิดกั้นลำน้ำยัง 2 แห่ง บริเวณบ้านโพธิ์ตากและบ้านพันขาง ตำบลนางาม อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด และอีก 1 แห่งก้ันกุดห้วยบางก่อนบรรจบลำน้ำชีท่ีบ้านท่าเยี่ยม ตำบลค้อเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร ปรับปรุงถนน เปน็ พนงั กน้ั น้ำ ระยะทางยาว 32.38 กิโลเมตร ราคาคา่ ก่อสร้างเบือ้ งตน้ 655 ล้านบาท 3. งบประมาณโครงการ 964 ลา้ นบาท 4. ระยะเวลาก่อสร้างโครงการ 3 ปี (พ.ศ. 2567 - 2570) 5. ประโยชน์ของโครงการ • สามารถกักนำ้ ได้เป็นปรมิ าณ 242 ลา้ นลกู บาศกเ์ มตร • พ้ืนท่ีเก็บกกั น้ำ 101,720 ไร่ ซ่ึงอยู่ในพนื้ ที่เกษตรกรรม 6. ผลกระทบ จากการสำรวจพื้นทมี่ ีความเหมาะสมในการดำเนินโครงการเนอ่ื งจากเปน็ พ้นื ทีน่ ำ้ ทว่ มซ้ำซาก ส่วนใหญเ่ ป็นพ้ืนที่ เกษตรกรรม มีชุมชนท่ีอาจจะได้รับผลกระทบ ได้แก่ บ้านพันขาง บ้านโพธ์ิชันและบ้านโพธิ์ตาก ตำบลนางาม อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด และสอบถามความคิดเห็นของราษฎรมีความเห็นด้วยกับโครงการ โดยต้องการให้มีการส่งเสริมการประกอบ อาชีพประมงหรอื อาชีพอื่น และปอ้ งกนั น้ำทว่ มในชมุ ชน 7. สถานภาพโครงการ ต้องศึกษาความเหมาะสมโครงการโดยให้มีกระบวนการมีส่วนร่วมและทำความเข้าใจกับประชาชน อย่างต่อเนื่อง และออกแบบรายละเอียดก่อนดำเนินงาน 157

แผนที่แสดงพ้นื ทแี่ ก้มลงิ ลุ่มต่ำลมุ่ น้ำยัง 158

4. โครงการบริหารจัดการพน้ื ทลี่ ุม่ ตำ่ เหนอื จงั หวดั นครสวรรค์ 1. สภาพปัญหาและเหตุผลความจำเป็นท่ีต้องมีโครงการ จากการเกิดอุทกภัยในประเทศไทยในปี 2554 ทำให้เกิดความ เสยี หายคร้ังใหญ่ท่สี ดุ เท่าท่มี กี ารบันทึกขอ้ มลู มาในอดีต ส่งผลกระทบตอ่ บริเวณพื้นที่ลมุ่ นํ้าเจ้าพระยา และลุ่มนำ้ สาขา รัฐบาลมี แนวทางการแก้ไขปัญหาอุทกภัยในระยะยาวแบบบูรณาการ และหน่ึงในแนวทางการแก้ไข คือ การพัฒนาแก้มลิงพ้ืนที่ลุ่มต่ำ เหนือจังหวัดนครสวรรค์ โดยกำหนดให้พื้นท่ีดังกล่าวเป็นพื้นที่ควบคุมน้ำหลากช่ัวคราวในแผนแม่บทการบริหารจัดการนํ้าเพ่ือ แก้ปัญหาอทุ กภัย เพ่ือให้เกดิ ความชัดเจนของพืน้ ท่ีท่จี ะใชเ้ ปน็ ท่ีควบคุมนาํ้ ชัว่ คราว ลุ่มน้ำยมประสบปัญหาน้ำท่วมบ่อยครั้ง เนื่องจากพ้ืนที่รับน้ำลุ่มน้ำยมมีพ้ืนท่ีค่อนข้างมาก การดำเนินการท่ีผ่านมา ช่วยบรรเทาน้ำท่วมได้ในบางปีเท่านั้น และพื้นที่ลุ่มน้ำน่าน ถึงแม้จะมีอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ แต่พื้นท่ีรับน้ำฝนท้ายเข่ือน เปน็ พืน้ ทขี่ นาดใหญ่ หากมฝี นตกหนักจะทำใหเ้ กิดน้ำหลากเข้าทว่ มพน้ื ที่ล่มุ ตำ่ 2. ลักษณะของโครงการ พ้ืนท่ีศักยภาพสามารถพัฒนาเป็นแก้มลิงลุ่มต่ำได้ 69 พื้นที่ แบ่งเป็นรายจังหวดั จังหวัดสุโขทัย 12 พื้นที่ จังหวัดพิษณุโลก 20 พื้นท่ี จังหวัดพิจิตร 36 พ้ืนที่ และจังหวัดนครสวรรค์ 1 พื้นท่ี องค์ประกอบหลักของพื้นที่แก้มลิง ประกอบด้วย 2.1 ประตูระบายนำ้ เดิม จำนวน 22 แหง่ , สรา้ งใหม่ จำนวน 32 แหง่ 2.2 ท่อระบายน้ำ เดมิ จำนวน 67 แหง่ , สรา้ งใหม่ จำนวน 173 แห่ง, ปรับปรุง จำนวน 49 แหง่ 2.3 อาคารจา่ ยนำ้ สร้างใหม่ จำนวน 56 แหง่ 2.4 สถานีสูบน้ำ เดมิ จำนวน 10 แห่ง, สร้างใหม่ จำนวน 81 แหง่ 2.5 งานคันดิน ความยาวรวม 2,490 กม. แบ่งเป็น งานคันดินป้องกันน้ำท่วม งานคันดินเข้า-ออกชุมชน งานคันดินป้องกนั นำ้ ทว่ มชุมชน งานขุดลอกคลองระบายน้ำ 3. งบประมาณโครงการ 28,709.50 ลา้ นบาท 4. ระยะเวลาก่อสร้างโครงการ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570) 5. ประโยชนข์ องโครงการ • พนื้ ทคี่ วบคุมท้งั หมด 1,186,000 ไร่ • หนว่ งนำ้ ได้ท้งั หมด 2,049 ลา้ นลูกบาศกเ์ มตร 6. สถานภาพโครงการ ศึกษาความเหมาะสมโครงการและผลกระทบส่ิงแวดล้อม แลว้ เสร็จโดยกรมชลประทาน เมื่อปี 2560 จำเป็นต้องมีกระบวนการด้านการชดเชย เยียวยาและทำความเข้าใจกับราษฎรให้ชัดเจน รวมทั้งการสำรวจ-ออกแบบ ในปี 2563-2564 ซง่ึ คาดวา่ จะดำเนินโครงการได้ภายในปี 2565 159

แผนที่แสดงรายละเอยี ดพื้นท่ีแกม้ ลิง 69 พื้นท่ี 160

5. แผนหลกั การพฒั นาหนองการ จังหวดั สกลนคร 1. สภาพปญั หาและเหตุผลความจำเป็นที่ตอ้ งมโี ครงการ • ปจั จบุ ันมีการขยายตัวของชุมชนโดยรอบหนองหารโดยอาศยั น้ำจากหนองหารเพือ่ ผลิตน้ำประปา อปุ โภค บรโิ ภค • รวมทั้งการชลประทานสูบน้ำรอบหนองหาร 32,935 ไร่ อีก 20 ปี ต้องใช้น้ำเพิ่มขึ้นจาก 55 ล้าน ลบ.ม./ปี เปน็ 97 ล้าน ลบ.ม./ปี • หนองหารเป็นแหล่งน้ำปิดที่รองรับน้ำเสียจากชุมชน และมีวัชพืช สาหร่าย แพร่กระจายหนาแน่นเป็นจำนวนมาก ขัดขวางการไหลเวยี นของนำ้ ส่งผลตอ่ คณุ ภาพน้ำประปา และการเจรญิ เติบโตของสตั วน์ ้ำ • หนองหารเป็นแก้มลิงท่ีชะลอน้ำหลากจากลำน้ำสาขารอบ 10, 25 และ 50 ปี ในช่วงเวลา 3 วัน สูงสุดถึง 31, 45 และ 78 ล้าน ลบ.ม. ในขณะทีล่ ำนำ้ ก่ำสามารถระบายน้ำไดเ้ พียง 10 ล้าน ลบ.ม./วัน จึงทำให้การควบคุมระดบั นำ้ ใน หนองหารกระทบทง้ั ชุมชนรอบหนองหารและพนื้ ท่ี 2 ฝั่งลำนำ้ ก่ำถึง ปตร.หนองบึง • หนองหารเป็นแหล่งน้ำน่ิง ทำให้ตะกอนดินตกทับถมบริเวณปลายลำน้ำ ทำให้ประสิทธิภาพการระบายน้ำจากลำน้ำ สาขาลงหนองหารลดลงเกิดการล้นตลิง่ ตามพื้นที่ 2 ฝ่งั ลำน้ำสาขา • ความไม่ชัดเจนเรื่องการบังคับใชแ้ นวเขตหนองหารและกรรมสิทธิ์ท่ดี ิน 2. ลกั ษณะของโครงการ แผนหลักพฒั นาหนองหารประกอบด้วย 5 ด้าน 65 แผนงาน 12 หนว่ ยงาน • ดา้ นที่ 1 การจัดการน้ำอุปโภคบรโิ ภค ปี 2563 – 2570 จำนวน 7 แผนงาน/โครงการ งบประมาณ 293.32 ลา้ นบาท โดยมีแผนระยะเร่งดว่ นในปี 2563 งบประมาณ 4.92 ล้านบาท • ด้านที่ 2 การสร้างความมั่นคงของน้ำภาคการผลิต ปี 2564 – 2569 จำนวน 2 แผนงาน/โครงการ งบประมาณ 1,064.62 ลา้ นบาท โดยมีแผนดำเนนิ การในปี 2564 - 2565 งบประมาณ 170.06 ลา้ นบาท • ด้านท่ี 3 การจัดการน้ำท่วมอุทกภัย ปี 2563 – 2569 จำนวน 15 แผนงาน/โครงการ งบประมาณ 1,595.24 ล้านบาท โดยมแี ผนดำเนินการในปี 2563 – 2565 งบประมาณ 518.04 ล้านบาท • ด้านที่ 4 การจัดการคุณภาพน้ำและอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำ ปี 2563 – 2570 จำนวน 23 แผนงาน/โครงการ งบประมาณ 4,328.89 ลา้ นบาท โดยมีแผนดำเนนิ การในปี 2563 – 2565 งบประมาณ 1,116.44 ล้านบาท • ด้านที่ 5 การบริหารจัดการ ปี 2563 – 2572 จำนวน 18 แผนงาน/โครงการ งบประมาณ 163.15 ล้านบาท โดยมแี ผนดำเนนิ การในปี 2563 – 2565 งบประมาณ 33.20 ลา้ นบาท 3. งบประมาณโครงการ 7,445.22 ล้านบาท 4. ระยะเวลาก่อสร้างโครงการ 10 ปี (พ.ศ. 2563 - 2572) 5. ประโยชน์ของโครงการ • บรรเทาอุทกภยั จากการผันนำ้ จากลำน้ำพุงไปลงลำนำ้ ก่ำ และเพม่ิ ประสิทธภิ าพระบายน้ำท่ีไหลลงหนองหาร • ควบคุมระบายน้ำเสยี เพือ่ ฟ้ืนฟูคุณภาพนำ้ และเปน็ แหลง่ น้ำอุปโภคบริโภคของเมืองสกลนคร 6. สถานภาพโครงการ • ศกึ ษาแผนหลักการพัฒนาหนองหาร แลว้ เสรจ็ เม่ือเดอื นธนั วาคม 2562 • จะเสนอแผนหลักการพฒั นาหนองหาร ใน กนช. ครง้ั ท่ี 3/2562 และเสนอ ครม. เพ่ือพิจารณาใหค้ วามเห็นชอบตอ่ ไป • จังหวัดสกลนคร มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาหนองหาร มีหน้าท่ีสนับสนุนและวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ เพือ่ จัดทำแนวทางการพัฒนาหนองหาร 161

7. แนวทางขบั เคล่อื น • ใน 5 ปีแรกมอบหนว่ ยงานรบั ผิดชอบหลักดำเนนิ การตามแผน รวมทั้งเตรยี มความพร้อมรายละเอียดในแต่ละประเดน็ • จดั ใหม้ ีระบบตดิ ตามประเมนิ ผล เพ่อื การปรบั ปรงุ แผนตามความเหมาะสม • ดำเนินการตามกรอบแผนงานระยะเร่งด่วน ปี 2563 - 2565 จำนวน 5 ด้าน วงเงินงบประมาณ 1,842.66 ล้านบาท เชน่ เพิ่มประสิทธิภาพระบบประปาหมู่บ้าน กอ่ สร้างสถานีสูบน้ำดว้ ยไฟฟา้ กอ่ สรา้ ง ปตร.ลำน้ำพุง-นำ้ ก่ำ เปน็ ตน้ แผนทแ่ี สดงแผนหลกั การพัฒนาหนองหาร จังหวดั สกลนคร 162

6. แผนหลกั การพฒั นา หนองกอมเกาะ ตำบลหนองกอมเกาะ อำเภอเมอื ง จงั หวดั หนองคาย 1. สภาพปัญหาและเหตุผลความจำเป็นท่ีต้องมีโครงการ หนองกอมเกาะเป็นหนองน้ำธรรมชาติขนาดใหญ่ ท่ีสุดที่ใกล้ชุมชน เมืองและต้ังอยู่ในเขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดหนองคาย เนื้อที่ประมาณ 3,000 ไร่ ต้ังอยู่ใน ต.หนองกอมเกาะ อ.เมือง จ.หนองคาย มีการใช้น้ำเพื่อเกษตรกรรม และประปาหมู่บ้านรอบหนอง รวมท้ังเป็นแก้มลิงรองรับน้ำระบายจากพื้นท่ี โดยรอบ หนองกอมเกาะมีคณุ ค่าและความสำคัญต่อวถิ ีชีวติ ของประชาชนในพ้ืนท่ี โดยใช้เพ่ือการทำการเพาะปลูก ทำนาดำ นาปี นาปรัง และปลูกพืชผักสวนครัว นอกจากน้ียังมีการเล้ียงสัตว์ มีการจับปลา เก็บดอกบัวแดงขาย ทำนาบัว เลี้ยงปลา ชุมชนมี รายได้จากแหล่งน้ำประมาณ ร้อยละ 60 ของรายได้ท้ังหมด ปัจจุบันหนองกอมเกาะมีปัญหาตื้นเขินและมีวัชพืชปกคลุมและ ไม่สามารถกักเก็บน้ำได้ในฤดูแล้ง คุณภาพน้ำเร่ิมเสื่อมโทรม ราษฎรในพื้นที่หนองกอมเกาะประสบปัญหาน้ำเพ่ือการอุปโภค-บริโภค ไม่เพยี งพอกับความตอ้ งการ นอกจากนย้ี งั มีปัญหาน้ำท่วมในฤดนู ำ้ หลากบนพ้ืนท่ีเกษตรโดยรอบหนองกอมเกาะ 2. ลักษณะของโครงการ ฟน้ื ฟูแหลง่ น้ำธรรมชาตเิ พอื่ การใชน้ ้ำและเปน็ แก้มลงิ รองรบั น้ำหลาก • ขุดลอกหนองกอมเกาะบริเวณต้ืนเขนิ ปรมิ าตรดนิ ขุด ประมาณ 3 ล้าน ลบ.ม. • ปรับปรุงภมู ทิ ัศน์รอบหนองโดยใชด้ ินท่ีขุดลอกข้นึ มา ระยะทางรอบหนองประมาณ 15 กม. • จัดเขตพนื้ ท่ี ลานกีฬา สันทนาการและการทอ่ งเที่ยว (รวมท้งั เส้นทางเดนิ ว่งิ และจกั รยานรอบหนอง) • บอ่ ปรบั ปรุงคณุ ภาพน้ำ (โดยวิธธี รรมชาติ) ท่รี ะบายลงหนอง • ปรับปรงุ สถานีสบู น้ำรอบหนอง 5 สถานี รวมทง้ั อาคารบงั คบั น้ำ และประตูระบายน้ำ • แหล่งน้ำเพอ่ื การประมง รวมท้ังแหล่งเรียนรกู้ ารอนุรักษ์ทรพั ยากรน้ำและระบบนเิ วศ • ศึกษาแนวทางการใช้น้ำใตด้ นิ ร่วมกับนำ้ ผวิ ดิน 3. งบประมาณโครงการ (อย่รู ะหวา่ งการศึกษา) 4. ระยะเวลาก่อสรา้ งโครงการ 4 ปี (พ.ศ. 2565 - 2568) 5. ประโยชน์ของโครงการ • สามารถกักเกบ็ น้ำไดเ้ พมิ่ ข้ึน 3 ลา้ น ลบ.ม. พืน้ ทเ่ี กษตรกรรมได้รบั ประโยชน์ จำนวน 5,560 ไร่ และประชาชนไดร้ ับประโยชน์ 3,623 ครวั เรอื น ของ ต.หนองกอมเกาะ และ 2,878 ครวั เรือน ใน ต.เมืองหมี มูลค่าอยู่ในระหวา่ งการศกึ ษา • เสรมิ ความมน่ั คงในการใช้น้ำอุปโภค-บรโิ ภค และอุตสาหกรรมรองรับเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษจังหวัดหนองคาย • ประโยชน์ในกจิ กรรมอ่นื ๆ อาทิ การจบั สัตวน์ ้ำ การกีฬาสนั ทนาการ การรักษาคณุ ภาพน้ำ แหล่งเรยี นรู้ 6. ผลกระทบ หนองกอมเกาะ เป็นพ้นื ทช่ี ุ่มน้ำท่ีมีความสำคัญระดบั ชาติ ต้องยึดแนวทางกฎระเบียบด้านสิ่งแวดลอ้ มท่ีเก่ียวข้อง 7. การวิเคราะหด์ า้ นเศรษฐกิจ (อยู่ในระหว่างการศึกษา) 8. สถานภาพโครงการ กำลงั ศกึ ษาความเหมาะสมโครงการและผลกระทบสง่ิ แวดล้อม โดย สทนช. 163

รปู แสดงแนวทางการพัฒนาหนองกอมเกาะ 164

7. การบรรเทาปัญหาขาดแคลนน้ำและอุทกภยั จังหวัดบงึ กาฬ (แผนหลักการพฒั นาหนองกดุ ทิง จงั หวัดบึงกาฬ) 1. สภาพปัญหาและเหตุผลความจำเป็นที่ต้องมีโครงการ จากปัญหาการขาดแคลนน้ำ ภัยแล้งและน้ำทว่ มในเขตพ้ืนทีจ่ งั หวัดบงึ กาฬ โดยจะมคี วามรุนแรงในพืน้ ที่ทีอ่ ยู่นอกเขตชลประทานและหา่ งไกลแหล่งน้ำ นอกจากนีจ้ ะประสบกบั ภาวะอทุ กภัยเปน็ ประจำ โดย ช่วง ปี 2558 – 2560 พบว่า เกิดอุทกภัยทุกปี ปีละ 2-3 ครั้ง รวม 8 คร้ัง พื้นที่ท่ีประสบปัญหารวม 155 หมู่บ้าน ใน 8 อําเภอ ของ จังหวัดบึ งกาฬ เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจอย่างใหญ่ หลวง จึงควรมีการวางแ ผน ห ลักการบ รรเท า ปัญหาขาดแคลนน้ำและอุทกภัย จังหวัดบึงกาฬ อย่างยั่งยืน โดยในพื้นท่ีเมืองบึงกาฬมีแหล่งน้ำธรรมชาติขนาดใหญ่ ที่สำคัญคือ หนองกุดทิง ซึ่งเป็นพ้ืนที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญระหว่างประเทศที่ได้ข้ึนทะเบียนเป็นแรมซาร์ไซต์ (Ramsar Site) มีพ้ืนที่ประมาณ 16,500 ไร่ ตั้งอยู่ทางทิศใต้ ห่างจากตัวอำเภอบึงกาฬเพียง 5 กโิ ลเมตร มรี ะบบนิเวศท่ีเช่ือมต่อกับแม่น้ำโขง จากปัญหาอุทกภัยท่ีเกิดขึ้น คือ เม่ือระดับน้ำหลากในแม่น้ำโขงสูงขึ้น ทำให้การระบายน้ำหลากจากหนองกุดทิงหรือลำน้ำสาขาท่ี ไหลลงสู่แม่น้ำโขงได้ช้าลง รวมทั้งเมื่อระดับน้ำในแม่น้ำโขงสูงข้ึนกว่าระดับลำน้ำสาขา จะทำให้ปรมิ าณน้ำไหลย้อนกลับเข้าท่วม ในเขตพ้ืนที่ชุมชนข้างเคียงลำน้ำสาขาและชุมชนโดยรอบหนองกุดทิง รวมไปถึงสถานที่สำคัญอย่างศูนย์ราชการจังหวัดบึงกาฬ ด้วยเช่นกัน และจากปัญหาการขาดแคลนน้ำ เนื่องจากการพัฒนาแหล่งเก็บกักน้ำและระบบชลประทานยังน้อยมาก จึงทำให้ ขาดแหล่งเก็บกักน้ำที่จะไว้ใช้ในฤดูแล้ง ถึงแม้จังหวัดบึงกาฬจะมีปริมาณฝนเฉลี่ยมากท่ีสุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือก็ตาม จึงควรมีแผนการอนรุ ักษ์ ฟน้ื ฟู หนองกดุ ทิง อยา่ งเปน็ ระบบ ควบคู่ไปกับแผนหลักการบรรเทาปญั หา ดว้ ย 2. ลักษณะของโครงการ จากผลการศึกษาแผนพัฒนาแหล่งน้ำในเขตจังหวัดบึงกาฬ โครงการพัฒนาบริเวณรอบหนองกุดทิง ประกอบดว้ ย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1.) ก่อสร้างประตูระบายนำ้ ห้วยกำแพง 2.) ปรบั ปรุงฝายนำ้ ลน้ ห้วยกำแพง 3.) ระบบระบายน้ำ และระบบป้องกันนำ้ ท่วมศนู ย์ราชการ 4.) ปรับปรงุ บรเิ วณเขอ่ื นดินหนองเบ็น 5.) พฒั นาระบบชลประทานรอบหนองกุดทงิ ทั้งน้ีเห็นควรให้มีการขุดลอกหนองกุดทิงเพ่ิมเติมด้วย แต่เนื่องจากพ้ืนท่ีหนองกุดทิง ได้ประกาศเป็นพ้ืนที่ Ramsar site จึง จำเป็นต้องศกึ ษาผลกระทบจากการดำเนินการ และการกำหนดมาตรการตดิ ตามและลดผลกระทบส่ิงแวดลอ้ มดว้ ย 3. งบประมาณโครงการ 1,800 ล้านบาท (5 องค์ประกอบ ไม่รวมการขุดลอกหนองกดุ ทิง) 4. ระยะเวลากอ่ สรา้ งโครงการ 5 ปี (พ.ศ. 2563 - 2567) 5. ประโยชน์ของโครงการ - ป้องกนั น้ำท่วมพ้ืนท่ีศนู ย์ราชการไดท้ งั้ หมด - บรรเทาปัญหานำ้ ท่วมบริเวณพน้ื ทีห่ นองกุดทิงได้ร้อยละ 61 - พฒั นาระบบชลประทานใหม่เพ่ิมเติมได้อีก 6,600 ไร่ จากปัจจุบัน 4,070 ไร่ รวมพ้ืนที่ชลประทานท้งั หมด 10,670 ไร่ - ราษฎร 3 ตำบล 17 หมบู่ า้ นมนี ้ำเพื่อการอปุ โภค - บรโิ ภค 6. ผลกระทบโครงการ พื้นท่กี ่อสรา้ งโครงการประตรู ะบายนำ้ หว้ ยกำแพงและองคป์ ระกอบ - พืน้ ท่ีราษฎรทีไ่ ด้รบั ผลกระทบทง้ั หมด 193.44 ไร่ - จำนวนราษฎรที่ไดร้ ับผลกระทบ 73 ราย - กระทบส่งิ ปลูกสร้างชว่ั คราว 7 หลัง พน้ื ทก่ี ่อสร้างระบบระบายน้ำและปอ้ งกันนำ้ ทว่ มศูนยร์ าชการ - พืน้ ท่ีราษฎรทีไ่ ดร้ ับผลกระทบทง้ั หมด 85.99 ไร่ - จำนวนราษฎรท่ไี ดร้ บั ผลกระทบ 50 ราย 165

7. สถานภาพโครงการ กรมชลประทานได้ดำเนินการศึกษา โครงการพัฒนาแหล่งน้ำในเขตจังหวัดบึงกาฬ แล้วเสร็จเมื่อปี 2561 ซึ่งองค์ประกอบของการพัฒนาหนองกุดทิงเป็นอาคารบังคับน้ำและระบบระบายน้ำ ท้ังนี้จึงเห็นควรให้มีการสำรวจ-ออกแบบ การขุดลอกตะกอนของหนองกดุ ทงิ เพ่ิมเติม แผนท่ีแสดงปัญหาและแนวทางแก้ไขของพื้นที่หนองกดุ ทงิ 166

8. แผนงานโครงการบรรเทาอทุ กภยั ลุ่มนำ้ เจ้าพระยา 9 แผน 1. สภาพปัญหาและเหตุผลความจำเป็นที่ต้องมีโครงการ อุทกภัยในประเทศไทยปี พ.ศ. 2554 เกิดผลกระทบต่อบริเวณ ลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา เร่ิมตั้งแต่ฤดูมรสุมปลายเดือนกรกฎาคมและสิ้นสุดเม่ือวันท่ี 16 มกราคม พ.ศ. 2555 ธนาคารโลกประเมินมูลค่า ความเสียหายสูงถึง 1.388 ล้านล้านบาท จัดให้เป็นภัยพิบัติคร้ังท่ีสร้างความเสียหายมากท่ีสุดเป็นอันดับส่ีของโลก กรมชลประทาน ได้มีการศึกษาแผนงานโครงการบรรเทาอุทกภัยลุ่มน้ำเจ้าพระยา 9 แผน ขึ้นเม่ือปี พ.ศ. 2560 แต่ยังไม่ได้มีการวิเคราะห์ ประสิทธิผลและผลกระทบในภาพรวม มีเพียงการวิเคราะห์เป็นรายโครงการ อีกท้ังมีโครงการขนาดใหญ่ที่มีวงเงินลงทุนสูง เก่ยี วข้องกบั หลายหนว่ ยงาน และมีข้อจำกัดเรือ่ งงบประมาณแผ่นดิน จงึ จำเป็นต้องศกึ ษาจัดลำดับความสำคัญแผนบรรเทาอุทกภัย ลมุ่ นำ้ เจ้าพระยาตอนล่างท่ีเป็นโครงการขนาดใหญ่ 2. ลักษณะของโครงการ แผนบรรเทาอุทกภยั ในล่มุ น้ำเจา้ พระยา 9 แผน ประกอบดว้ ยแผนงานต่าง ๆ ดังน้ี • แผนงานปรบั ปรุงระบบชลประทานเจ้าพระยาฝัง่ ตะวันออกตอนลา่ ง • แผนงานคลองระบายน้ำหลากเจ้าพระยาฝั่งตะวันออก ประกอบด้วยแผนงานย่อย 2 แผน o แผนงานคลองระบายนำ้ หลากเจ้าพระยาฝั่งตะวนั ออก (คลองชยั นาท-ปา่ สกั ) o แผนงานคลองระบายนำ้ หลากเจา้ พระยาฝ่งั ตะวนั ออก (คลองป่าสกั - อา่ วไทย) • แผนงานทางระบายนำ้ ควบคู่ถนนวงแหวนรอบท่ี 3 • แผนงานปรบั ปรุงโครงข่ายระบบชลประทานฝง่ั ตะวันตก • แผนงานเพิ่มประสทิ ธภิ าพการระบายแม่น้ำเจา้ พระยา • แผนงานการบริหารจัดการพนื้ ที่นอกคนั กน้ั นำ้ • แผนงานคลองระบายน้ำหลากบางบาล-บางไทร • แผนงานเพิ่มประสทิ ธิภาพการระบายแมน่ ้ำทา่ จนี • แผนงานพน้ื ทรี่ บั น้ำนอง 3. งบประมาณโครงการ 235,870 ล้านบาท 4. ระยะเวลาก่อสร้างโครงการ 9 ปี (พ.ศ. 2561 - 2569) 5. ประโยชน์ของโครงการ • ตดั ยอดน้ำหลากหน้าเขือ่ นเจ้าพระยา ได้ เพมิ่ ขึ้น 880 ลบ.ม./วินาที • ตดั ยอดนำ้ หลากหนา้ เขื่อนพระราม 6 ได้ เพม่ิ ข้นึ 800 ลบ.ม./วนิ าที • ระบายน้ำทา้ ยเขอื่ นเจ้าพระยาได้ 2,800 ลบ.ม./วนิ าที โดยพ้ืนท่ีนอกคนั กน้ั นำ้ ไม่ได้รับผลกระทบ • แม่น้ำท่าจนี ระบายนำ้ ลงส่ทู ะเลได้ 600-650 ลบ.ม./วินาที • เพมิ่ ความสามารถในการระบายนำ้ ของแม่นำ้ เจา้ พระยาบรเิ วณจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา 1200 ลบ.ม./วนิ าที • เก็บกักน้ำหลากไว้ในคลองขุดใหม่ได้รวม 200 ล้าน ลบ.ม. และในพ้ืนที่ลุ่มต่ำประมาณ 1,500 ล้าน ลบ.ม เพื่อเก็บ กักน้ำไว้ใชใ้ นช่วงตน้ ฤดูแลง้ • ลดพนื้ ท่ีน้ำท่วมเทียบกับปี 2554 ได้ 5.04 ล้านไร่ ในพื้นที่ 17 จังหวัด (พ้ืนที่น้ำท่วมหายไป 2.4 ล้านไร่ รวมกบั ทำ ให้พืน้ ท่นี ้ำท่วมทเ่ี คยทว่ มสงู เกนิ 1 ม. ใหล้ ดลงได้ 2.6 ลา้ นไร่) 6. ผลกระทบ อยรู่ ะหว่างศึกษาจัดลำดับความสำคญั แผนงานเพื่อบรรเทาอุทกภัยในลุ่มนำ้ เจ้าพระยา 7. การวิเคราะห์ดา้ นเศรษฐกิจ อย่รู ะหว่างศึกษาจัดลำดับความสำคัญแผนงานเพื่อบรรเทาอุทกภัยในลุม่ นำ้ เจ้าพระยา 167

8. สถานภาพโครงการ อยู่ระหว่างศึกษาจัดลำดับความสำคัญแผนงานเพื่อบรรเทาอุทกภัยในลุ่มน้ำเจ้าพระยาทั้ง 9 แผน โดย สทนช. ซึ่งมีบางโครงการได้เร่ิมดำเนินการก่อสร้างไปบางส่วนแล้ว เช่น โครงการคลองระบายน้ำหลากบางบาล-บางไทร จ.อยุธยา และบางโครงการอยู่ระหว่างเตรียมความพร้อมเพ่ือดำเนินการก่อสร้าง เช่น คลองระบายน้ำหลากชัยนาท-ป่าสัก อยู่ ระหวา่ งออกแบบ เป็นตน้ แผนทีแ่ สดงรายละเอียดโครงการบรรเทาอทุ กภัยล่มุ น้ำเจ้าพระยา 9 แผน 168

9. โครงการบรรเทาอทุ กภัยอำเภอบางสะพาน อันเน่ืองมาจากพระราชดำริ จังหวดั ประจวบครี ีขันธ์ 1. สภาพปัญหาและเหตุผลความจำเป็นที่ต้องมีโครงการ ลุ่มน้ำบางสะพานมีขอบเขต 474 ตร.กม. จากเหตุการณ์ฝนตกหนักใน พ้นื ที่ชว่ งเดือนมกราคม พ.ศ. 2560 ทำให้เกิดนำไหลหลากจากบริเวณปา่ ตน้ นำ้ เข้าสอู ำเภอบางสะพาน อยา่ งรวดเร็ว มอี ตั ราการไหลกว่า 1,000 ลบ.ม./วินาที ในขณะที่ตัวคลองบางสะพานรับอัตราการไหลได้เพียง 200 ลบ.ม./วินาที จึงส่งผลให้เกิดน้ำท่วมในบริเวณถนน เพชรเกษมและพ้ืนที่อำเภอบางสะพานเป็นบริเวณกว้าง มีระดับน้ำท่วมขัง 0.50-2.00 เมตร ราษฎรประสบภัย 17,000 ครัวเรือน จำนวน 60,000 มลู คา่ ความเสียหายกวา่ 600 ล้านบาท โดยเฉพาะบรเิ วณโรงพยาบาลบางสะพาน 2. ลักษณะของโครงการ แนวทางการพัฒนา จะดำเนินการในภาพรวมทั้งระบบลุ่มน้ำ โดยการปรับปรุงขุดลอกและขุดขยาย คลองบางสะพาน, คลองผันน้ำฝั่งขวา (ห้วยเขาม้าร้อง – ป้วยปัตตามัง), คลองผันน้ำฝั่งซ้าย (ห้วยไทร-คลองแม่รำพึง) เพื่อระบายน้ำให้ไหลลงสู่ทะเลได้อย่างรวดเร็วและไม่ล้นตลิ่ง พร้อมท้ังก่อสร้างอาคารบังคับน้ำและอาคารประกอบต่าง ๆ เพื่อให้การระบายมีประสิทธิภาพ รวมทั้งก่อสร้างอ่างเก็บน้ำขนาดกลางเพ่ือเป็นแหล่งเก็บกักน้ำไว้ในบรเิ วณตอนบนของลุ่มน้ำ ประกอบด้วย • อ่างเก็บน้ำขนาดกลาง 2 แหง่ ความจุรวม 30.82 ลา้ นลูกบาศก์เมตร • ปรับปรุงอ่างขนาดเลก็ 3 แห่งและปรับปรุงฝายทดน้ำ 1 แห่ง • เพ่ิมประสิทธิ์ภาพการระบายน้ำ โดยขุดขยาย คลองบางสะพาน คลองแม่รำพึง คลองปัตตามัง และคลองเขาม้าร้อง พร้อมอาคารประกอบ • ก่อสร้างอาคารบังคับนำ้ ปตร.ในคลองบางสะพาน 3 แห่ง ปตร.ในคลองแม่รำพึง 2 แห่ง ปตร.ในครองเขาม้าร้อง 2 แหง่ • คลองผันน้ำเลี่ยง ได้แก่ คลองผันน้ำคลองบางสะพาน คลองผันน้ำคลองแม่ลำพึง-อ่าวบ่อทองหลาง คลองผันน้ำ คลองเขามา้ ร้อง-อ่าวบางสะพาน 3. งบประมาณโครงการ 6,100 ลา้ นบาท 4. ระยะเวลาก่อสร้างโครงการ 9 ปี (พ.ศ. 2560 - 2568) 5. ประโยชนข์ องโครงการ • ความจุอา่ งเพม่ิ ขน้ึ 30.82 ลา้ นลบ.ม. พื้นท่รี ับประโยชน์ 73,225 ไร่ • ผู้ได้รับประโยชน์ 17,000 ครัวเรือน ประชากร 60,000 คน 6. สถานภาพโครงการ อยู่ระหว่างดำเนินการก่อสร้างบางส่วน เช่น โครงการปรับปรุงอ่างเก็บน้ำบ้านโป่งสามสิบ โครงการขยายคลองระบายน้ำคลองบางสะพาน ซึ่งเริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 และมีแผนสำรวจออกแบบคลองแม่ รำพงึ และคลองปตั ตามัง-เขาม้าร้อง ตามลำดบั 169

แผนท่แี สดงรายละเอียดโครงการบรรเทาอทุ กภัยอำเภอบางสะพาน 170

10. การบรรเทาอทุ กภัยจงั หวัดอบุ ลราชธานี (โครงการบรรเทาอทุ กภัยพ้ืนท่ีลุ่มนำ้ ชีตอนล่าง เซบาย เซบก มูลตอนล่าง) 1. สภาพปัญหาและเหตุผลความจำเป็นที่ต้องมีโครงการ บริเวณพ้ืนท่ี อ.เมือง อ.วารินชำราบ อ.สว่างวีระวงศ์ จ.อุบลราชธานี เป็นพ้ืนที่น้ำท่วมซ้ำซากสร้างความเสียหายเป็นวงกว้างเกือบทุกปี โดยมีเหตุการณ์สำคัญการเกิดน้ำท่วมหนัก ในรอบ 20 ปี เช่น ใน ปี 2544, 2545, 2554, 2560 และล่าสุด ปี 2562 (พ้ืนท่ีนำ้ ท่วมในลุ่มน้ำชีและมูลตอนล่างรวม 1.267 ลา้ นไร)่ สาเหตุจากน้ำ ในแม่น้ำชีไหลมาบรรจบกับแมน่ ้ำมูลลน้ ตลิ่งเข้ามาท่วมพ้ืนท่ีลุ่มต่ำท้ัง 2 ฝ่ังรมิ แม่น้ำมูล และมีน้ำจากลำเซบาย ลำเซบกไหลลงแม่น้ำ มูลระหว่างทาง ประกอบกับพื้นที่รองรับน้ำลดลง เนื่องจากการถมดินรองรับการขยายของเขตเมือง และมีสิ่งก่อสร้างกีดขวางทางน้ำ ซ่ึงแนวทางหลักในการแก้ปัยหาท่ีมีผลสัมฤทธิ์สูงท่ีสุดได้แก่ บริหารจัดการพื้นท่ีลุ่มต่ำ ปรับปรุงพนังกั้นน้ำชี แก้มลิงสองฝั่ง แมน่ ำ้ ชี-แม่นำ้ มูล พัฒนาแหล่งเก็บกักน้ำในลำห้วยสาขา ปรับปรงุ สงิ่ กดี ขวางทางน้ำหลาก และ ตัดยอดน้ำหลากต้นนำ้ 2. ลักษณะของโครงการ สำหรับแนวทาง ตัดยอดน้ำหลากต้นน้ำ เป็นการลดปริมาณน้ำหลากลงในแม่น้ำมูลตอนล่าง โดย ศกึ ษาทางเลอื ก องค์ประกอบและจัดทำเป็นแผนหลกั การแกไ้ ขปญั หาน้ำทง้ั ระบบ ได้แก่ 2.1) ผันน้ำชที ้ายเข่ือนลำปาวลงสู่แม่น้ำยัง เพอ่ื ตัดยอดนำ้ หลากจากลำปาว เลยี่ งเมืองกาฬสินธ์ุ ลงแม่นำ้ ยัง และ ผันตอ่ สู่แนวผันนำ้ เซบาย-ห้วยตุงลุง 2.2) ผันน้ำชีหน้าเขื่อนวังยาง ลงสู่ลำเสียวใหญ่ เพ่ือตัดยอดน้ำหลากจากแม่น้ำชี โดยการสูบน้ำ Head ต่ำจาก นำ้ ชหี นา้ เขื่อนวงั ยาง แลว้ สง่ น้ำไปตามคลองสง่ นำ้ แบบแรงโนม้ ถ่วงตามแนวสันปนั นำ้ ชี-มูล 2.3) ผันน้ำชีลงแม่น้ำโขง (ฝ่ังซ้ายของแม่น้ำมูล) เพื่อตัดยอดน้ำหลากจากลมุ่ น้ำชี บริเวณหน้าเขอ่ื นยโสธรลงไป จนถงึ ดา้ นทา้ ยแมน่ ำ้ มูล โดยตัดผ่านลำเซบาย- ลำเซบก ไปลงห้วยตุงลงุ ด้านท้ายแก่งสะพอื ก่อนไหลลงแมน่ ้ำโขง 2.4) ผันน้ำเลี่ยงพ้ืนท่ีลุ่มต่ำ อ.วารินชำราบและปรับปรุงแก้มลิง (ฝ่ังขวาของแม่น้ำมูล) เพ่ือตัดยอดน้ำหลากท่ี ไหลมาจากลุ่มน้ำมูล โดยปรับปรุงทางน้ำหลากธรรมชาติพร้อมพนังกั้นน้ำและแก้มลิง และสถานีสูบระบายน้ำ โดยต้นทางน้ำ หลากตามธรรมชาติอยู่บริเวณหัวโค้งลำน้ำมูลที่อ.วารินชำราบท้ายจุดบรรจบแม่น้ำชี แล้วผันน้ำเลี่ยงวารินชำราบ แล้วไหลลง แมน่ ำ้ มูลด้านทา้ ยเมืองอุบลราชธานี 2.5) ผันน้ำเล่ียงแก่งสะพือและอุโมงค์ผันน้ำลงแม่น้ำโขง เป็นการขุดคลองลัดตัดตรงบริเวณโค้งแม่น้ำมูล เล่ียง แก่งสะพือไปลงแม่นำ้ มูลด้านทา้ ยนำ้ แก่งสะพือ และสร้างอโุ มงค์ผนั นำ้ ต่อ เพอื่ ระบายนำ้ หลากไปลงแมน่ ้ำโขง 3. ประโยชน์ของโครงการ • จัดการพน้ื ทล่ี มุ่ ต่ำ/แกม้ ลิง ริมลำนำ้ ยงั น้ำชี และน้ำมลู ใหร้ องรับนำ้ ไดม้ ากกว่า 500 ล้านลกู บาศก์เมตร • การป้องกนั น้ำล้นตลง่ิ ตลอดสองฝั่งแม่นำ้ ชี ความยาวรวม 90 กม. • แหลง่ เก็บกักนำ้ ในลำห้วยสาขา ความจมุ ากกวา่ 50 ล้านลบ.ม. • ผันนำ้ ชี เซบาย มูล ระบายน้ำหลากไดเ้ พ่ิม 200 - 700 ลกู บาศก์เมตรต่อวนิ าที • ผนั นำ้ เล่ยี งเมืองอุบลฯ (ฝ่ังขวาของแมน่ ้ำมลู ) ระบายน้ำหลากได้เพ่ิม 100 - 480 ลูกบาศก์เมตรตอ่ วินาที 4. สถานภาพโครงการ แผนงานต่างๆจำเป็นต้องผ่านกระบวนการศึกษาวิเคราะห์อย่างรอ บคอบ ท้ังความคุ้มค่า ความเหมาะสม บริบททางสังคม และผลกระทบสิ่งแวดล้อม ซึ่งสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติจะศึกษาแผนหลัก การแก้ปญั หาพนื้ ที่ดังกล่าวน้ี ในปี 2563 และนำเข้าสู่กระบวนการให้ความเห็นโดยคณะกรรมการลุ่มน้ำที่เกีย่ วข้อง เม่ือผา่ น แล้วหน่วยงานท่ีรับผิดชอบสามารถนำโครงการไปศึกษาสิ่งแวดล้อม สำรวจ ออกแบบ และก่อสร้างได้ โดยคาดว่าจะเร่ิมดำเนิน โครงการได้อย่างเปน็ รปู ธรรม ภายในปี 2567 ต่อไป 171

แผนท่แี สดงแผนงานโครงการป้องกนั และบรรเทาอุทกภัย จังหวัดอุบลราชธานี 172


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook