Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระเบียบวาระการประชุม กนช. ครั้งที่ 3-2562 _20 ธ.ค. 62

ระเบียบวาระการประชุม กนช. ครั้งที่ 3-2562 _20 ธ.ค. 62

Published by supanut kapang, 2019-12-18 03:40:35

Description: ระเบีบยวาระการประชุม กนช. ครั้งที่ 3-2562 (20 ธ.ค. 62

Search

Read the Text Version

ระเบยี บวาระการประชุม คณะกรรมการทรพั ยากรนำ้ แห่งชาติ (กนช.) ครง้ั ที่ 3/2562 วนั ศุกร์ที่ 20 ธันวาคม 2562 เวลา 10.00 น. ณ หอ้ งประชุม 301 ชน้ั 3 ตึกบญั ชาการ 1 ทำเนียบรัฐบาล --------------------------------------------- ระเบยี บวาระท่ี 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ทปี่ ระชมุ ทราบ ระเบียบวาระท่ี 2 การรบั รองรายงานการประชุม ครงั้ ที่ 2/2562 เมื่อวนั ที่ 12 กันยายน 2562 ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพ่อื ทราบ 3.1 ผลการดำเนนิ งานของคณะอนุกรรมการภายใตค้ ณะกรรมการทรพั ยากรน้ำแหง่ ชาติ 3.1.1 คณะอนกุ รรมการอำนวยการดา้ นการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรนำ้ 3.1.2 คณะอนุกรรมการพิจารณา กล่ันกรอง กฎหมายด้านการบริหารจัดการ ทรพั ยากรนำ้ 3.1.3 คณะอนุกรรมการขับเคลือ่ นแผนแมบ่ ทการบรหิ ารจดั การทรัพยากรน้ำ 3.1.4 คณะอนกุ รรมการขบั เคลอื่ นโครงการขนาดใหญแ่ ละโครงการสำคญั 3.1.5 คณะอนุกรรมการจัดทำหลักเกณฑ์และมาตรฐานการบริหารจัดการ ทรัพยากรนำ้ 3.1.6 คณะอนุกรรมการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรมการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ และผงั น้ำ 3.2 ความก้าวหน้าแผนงานโครงการท่ีเสนอในคณะรัฐมนตรีสัญจร และงานนโยบาย ท่ีนายกรัฐมนตรีตรวจงานในพื้นที่ 3.3 ผลการดำเนนิ งานของคณะกรรมการลุม่ นำ้ 3.4 รายงานผลการดำเนินการตามมติ กนช. และข้อสั่งการของประธาน กนช. เม่ือคราว ประชุม กนช. คร้ังที่ 1/2562 วันท่ี 11 มีนาคม 2562 และครั้งที่ 2/2562 วนั ท่ี 12 กันยายน 2562 ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเพื่อพิจารณา 4.1 แผนปฏิบัตกิ ารภายใตแ้ ผนแม่บทการบริหารจดั การทรพั ยากรน้ำ 20 ปี 4.1.1 แผนปฏิบัติการด้านการจัดการน้ำเสียชุมชน ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) (องค์การจัดการนำ้ เสยี ) 4.1.2 โครงการเพอ่ื การพัฒนา ปี 2562 และปี 2563 ของการประปาสว่ นภูมิภาค (การประปาส่วนภมู ิภาค) 4.2 โครงการขนาดใหญแ่ ละโครงการสำคญั 4.2.1 โครงการพัฒนาแหล่งน้ำและการจัดการทรพั ยากรน้ำรองรับเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวนั ออก 4.2.2 แผนหลกั การพฒั นาหนองหาร จงั หวัดสกลนคร 4.2.3 เป้าหมายแผนงานโครงการขนาดใหญ่และโครงการสำคญั 4.3 กรอบแนวทางเพ่ือการกำหนดหลักเกณฑ์การใช้สอยทรัพยากรน้ำสาธารณะของ หน่วยงานของรฐั หรือองคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ (มาตรา ๖ วรรคสาม) 4.4 ร่างคำสั่งแต่งตง้ั คณะอนุกรรมการทรัพยากรน้ำจังหวดั ... ระเบียบวาระที่ 5 เรอื่ งอื่น ๆ - ผลการประชุมคณะกรรมการแมน่ ำ้ โขงแหง่ ชาติไทย 1

ระเบยี บวาระท่ี ๑ เรอื่ งทป่ี ระธานแจง ใหท ีป่ ระชุมทราบ 2

ระเบียบวาระที่ ๑ เร่อื งทีป่ ระธานแจ้งให้ที่ประชมุ ทราบ …………………………….……..........………………….……………………………….………………………………………. ………………………………………………………..………………………………………………………………………….……………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………….………………….. ……………………………………………………………………..……………………………………………………………….…………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………….………………….. …………………………………………………………………………..………………………………………………………….…………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………….………………….. …………………………………………………………………………..……………………………………………………….……………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………….………………….. ………………………………………………………………………..…………………………………………………………….…………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………….. ………………………………………………..………………………………………………………………………………….……………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………….. …………………….…………………………………………………………………………………………………………………..………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………….. ………………………………..…………………………………………………………………………………………………………….…………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….. ………………………………………………………………………..…………………………………………………………………….…………… …………………………………………………………………………………………..………………………………………………….…………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….. ……………………………………………………………………………..…………………………………………………………….……………… ……………………………………..………………………………………………………………………………………………….………………… …………………..……………………………………………………………………………………………………………………….……………… …………………..……………………………………………………………………………………………………………………….……………… 3

ระเบียบวาระที่ 2 การรับรองรายงานการประชมุ ครั้งที่ 2/2562 เม่อื วนั ท่ี 12 กนั ยายน 2562 4

ระเบียบวาระที่ 2 การรับรองรายงานการประชุม คร้ังท่ี 2/2562 เมือ่ วนั ที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๖๒ เร่อื งเดิม คณะกรรมทรัพยากรน้ำแห่งชาติได้จัดประชุม ครั้งท่ี 2/2562 เมื่อวันท่ี ๑๒ กันยายน ๒๕๖๒ เวลา ๑๐.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๓๐๑ ชั้น ๓ ตึกบัญชาการ ๑ ทำเนียบรัฐบาล โดยมีรองนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ) เป็นประธานการประชุม พร้อมด้วยนายชำนิ ศักดิเศรษฐ์ ที่ปรึกษา รองนายกรัฐมนตรี ได้รับมอบหมายจากรองนายกรัฐมนตรี (จุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ ) ให้ทำหน้าที่ เป็นรองประธานฯ นายสมเกียรติ ประจำวงษ์ เลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ เป็นเลขานุการ คณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ ในการพิจารณาและรับทราบเร่ืองต่าง ๆ พร้อมท้ังได้มอบนโยบายและ ข้อสั่งการ ซ่ึงมีผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย กรรมการจำนวน 23 คน และหน่วยงานที่เก่ียวข้องร่วมรับฟัง จำนวน 12 หน่วยงาน ข้อเท็จจรงิ 1. ฝ่ายเลขานุการ กนช. ได้จัดทำรายงานการประชุมดังกล่าว และแจ้งเวียนให้คณะกรรมการฯ พิจารณารับรอง ตามหนังสือสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ ด่วนที่สุด ท่ี นร 1412 (กนช.)/ว 5734 และ ดว่ นทส่ี ดุ ที่ นร 1412 (กนช.)/ว 5735 ลงวนั ท่ี 23 กนั ยายน 2562 ประกอบด้วย 1.1 เร่ืองเพ่ือทราบ จำนวน 4 เร่ือง ได้แก่ (1) ผลการดำเนินงานของคณะกรรมการ ทรัพยากรน้ำแห่งชาติที่ผ่านมา (2) การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการและผลการดำเนินงาน (3) โครงการไฟฟ้า พลังน้ำเข่ือนปากลาย สปป.ลาว ตามระเบียบปฏิบัติ เร่ือง การแจ้ง การปรึกษา หารือล่วงหน้าและข้อตกลง (สำนกั เลขาธิการคณะกรรมการแมน่ ้ำโขงแหง่ ชาตไิ ทย (TNMC)) และ (4) ผลการดำเนินงานของคณะกรรมการลมุ่ นำ้ 1.2 เรื่องเพ่ือพิจารณา จำนวน 5 เร่ือง ได้แก่ (1) แผนงานโครงการขนาดใหญ่และโครงการ สำคัญ 3 โครงการ ของการประปาส่วนภูมิภาค กรุงเทพมหานคร และกรมชลประทาน (2) แผนปฏิบัติการ ภายใต้แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ (3) ร่างกฎหมายลำดับรอง ซึ่งออกตามความในพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๑ (4) การเข้าเป็นสมาชิกสภาน้ำแห่งเอเชีย (Asia Water Council: AWC) และ (5) หน้าที่และอำนาจของคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติตาม พระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๑ และการให้ความเห็นด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำต่อ คณะรฐั มนตรี 2. มกี รรมการ และผู้ทรงคุณวฒุ ิ ขอปรับปรงุ /แก้ไข/เพ่มิ เตมิ ดงั นี้ 2.1 กรมชลประทาน กรรมการ ขอเพม่ิ เตมิ ขอ้ ความในหน้า 9 ขอ้ (1.2) บรรทดั ท่ี 27 ขอ้ ความเดิม “...ปจั จบุ นั อยู่ในกระบวนการพิจารณารายงาน EIA” ปรับขอ้ ความเป็น “...ปัจจบุ ันแนวส่งน้ำยวม-เข่ือนภมู พิ ลอย่ใู นกระบวนการพิจารณา EIA” 2.2 นายอานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา กรรมผู้ทรงคุณวุฒิ ขอปรับเพิ่มข้อความเห็นในวาระท่ี 4.1.3 หน้า 17 บรรทัดที่ 10 ขอ้ ความเดิม “...มีผลกบั การกัดเซาะชายฝัง่ ทะเล... ” ปรบั ขอ้ ความเปน็ “...มผี ลกับระบบนิเวศทางทะเลและการกัดเซาะชายฝั่งทะเล...” 3. ฝ่ายเลขานุการ กนช. ได้ดำเนินการปรับปรุง แก้ไข และเพ่ิมเติม เรียบร้อยแล้ว รายละเอียด ตามเอกสารแนบทา้ ยระเบยี บวาระ 5

ท้ังน้ี คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบผลการประชุมแล้วเมื่อวันที่ 24 กันยายน 2562 และได้แจ้งเวียน ให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องทราบและพิจารณาดำเนินการในส่วนท่ีเก่ียวข้อง ตามหนังสือ สทนช. ด่วนท่ีสุด ท่ี นร 1406(กนช)/ว6112 ลงวันท่ี 7 ตุลาคม 2562 จงึ เรียนมาเพื่อโปรดพจิ ารณารับรองรายงานการประชมุ คร้ังท่ี 2/2562 เมอื่ วันที่ 12 กันยายน 2562 มติทป่ี ระชุม …………………………………….……………………………………………………….………………………………………… …………………………………………………………………………..……………………………………………………….……………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………….………………….. ………………………………………………………………………..…………………………………………………………….…………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………….. ………………………………………………………………………..…………………………………………………………….…………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………….………………….. ………………………………………………………………………..…………………………………………………………….…………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………….………………….. ………………………………………………………………………..…………………………………………………………….…………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………….. ………………………………………………………………………..…………………………………………………………….…………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………….………………….. ………………………………………………………………………..…………………………………………………………….…………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………….……………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………….………………….. ………………………………………………………………………..…………………………………………………………….…………………… ………………………………………………………………………..…………………………………………………………….…………………… 6

เอกสารแนบทายวาระ 2 7

สิ่งทส่ี ่งมาด้วย 1 รายงานการประชุม คณะกรรมการทรพั ยากรน้ำแห่งชาติ (กนช.) ครงั้ ที่ 2/2562 วนั พฤหสั บดีท่ี ๑๒ กันยายน ๒๕๖๒ เวลา ๑๐.๐๐ น. ณ หอ้ งประชุม ๓๐๑ ชนั้ ๓ ตึกบญั ชาการ ๑ ทำเนียบรัฐบาล ------------------------------------------- ผเู้ ข้าประชมุ ๑. พลเอก ประวติ ร วงษส์ ุวรรณ ประธานกรรมการ รองนายกรฐั มนตรี ๒. นายชำนิ ศักดเิ ศรษฐ์ รองประธาน ทปี่ รึกษารองนายกรฐั มนตรี ได้รบั มอบหมายจาก รองนายกรัฐมนตรี (นายจรุ นิ ทร์ ลกั ษณวิศิษฏ)์ 3. นายเฉลิมชยั ศรอี ่อน กรรมการ รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 4. นายวราวธุ ศลิ ปอาชา กรรมการ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม 5. นายปวิณ ชำนิประศาสน์ กรรมการ รองปลดั กระทรวงมหาดไทย แทน รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย และปลัดกระทรวงมหาดไทย 6. นายกมล หม่ันทำ กรรมการ ผตู้ รวจราชการกระทรวงคมนาคม แทน ปลัดกระทรวงคมนาคม 7. นายวิศักด์ิ วัฒนศพั ท์ กรรมการ ผู้ตรวจราชการกระทรวงพลงั งาน แทน ปลัดกระทรวงพลงั งาน 8. นายกรณ์ภัฐวีญ์ ม่วงน้อย กรรมการ รองอธิบดีกรมโรงงานอตุ สาหกรรม แทน ปลดั กระทรวงอุตสาหกรรม 9. นายภมู ริ ักษ์ ชมแสง กรรมการ รองผูอ้ ำนวยการสำนักงบประมาณ แทน ผ้อู ำนวยการสำนักงบประมาณ 10. นางชุลีพร บุณยมาลกิ กรรมการ ทป่ี รึกษาด้านนโยบายและแผนงาน แทน เลขาธิการสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 11. นายปวตั ร์ นวะมะรัตน กรรมการ รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการพเิ ศษเพ่ือประสานงานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดำริ แทน เลขาธกิ ารคณะกรรมการพเิ ศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 12. นายการัณย์ ศภุ กจิ ... 8

-๒- 12. นายการัณย์ ศภุ กจิ วิเลขการ กรรมการ ผู้อำนวยการสถาบนั ส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระฯ แทน เลขาธิการมูลนธิ ิปดิ ทองหลงั พระสืบสานแนวพระราชดำริ กรรมการ กรรมการ 13. นายทองเปลว กองจันทร์ อธบิ ดกี รมชลประทาน กรรมการ 14. นายเสนห่ ์ สาธุธรรม กรรมการ รองอธบิ ดีกรมทรัพยากรน้ำ แทน อธิบดกี รมทรัพยากรนำ้ กรรมการ 15. นางอรนชุ หล่อเพ็ญศรี กรรมการ รองอธิบดีกรมทรัพยากรน้ำบาดาล กรรมการ แทน อธิบดีกรมทรัพยากรน้ำบาดาล กรรมการ กรรมการและเลขานกุ าร 16. นายชยั ณรงค์ วาสนะสมสิทธ์ิ กรรมการและ รองอธบิ ดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ผ้ชู ่วยเลขานุการ แทน อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั 17. นายเมธี มหายศนันท์ ผูอ้ ำนวยการกองพยากรณอ์ ากาศ แทน อธบิ ดกี รมอุตนุ ยิ มวิทยา 18. นายสุทศั น์ วสี กุล ผอู้ ำนวยการสถาบันสารสนเทศทรพั ยากรน้ำ (องค์การมหาชน) 19. นายอานนท์ สนทิ วงศ์ ณ อยุธยา 20. นางสาวลดาวัลย์ คำภา 21. นายสมเกยี รติ ประจำวงษ์ เลขาธิการสำนกั งานทรัพยากรนำ้ แหง่ ชาติ 22. นายสำเริง แสงภูว่ งค์ รองเลขาธิการสำนักงานทรัพยากรนำ้ แห่งชาติ ผูไ้ ม่เข้ารว่ มประชมุ เน่อื งจากตดิ ภารกจิ ท่ีปรึกษาและกรรมการ 1. นายกิจจา ผลภาษี ทป่ี รึกษาและกรรมการ 2. นายเฉลิมเกยี รติ แสนวเิ ศษ ทป่ี รกึ ษาและกรรมการ 3. นายปราโมทย์ ไม้กลดั ผู้เขา้ รว่ มประชุม ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั เพชรบรุ ี 1. นายกอบชัย บุญอรณะ นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ สำนกั งานจังหวัดเพชรบุรี 2. นายธัชนนท์ นติ ิพนั ธวุ์ ณชิ ผู้อำนวยการกลุ่มงานยุทธศาสตร์สารสนเทศและการสื่อสาร 3. นางสาวจิรวดี บรรพบตุ ร กระทรวงมหาดไทย นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ กระทรวงมหาดไทย 4. นางสาวจันทร์เพ็ญ จันทรม์ ิตร นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ กระทรวงมหาดไทย 5. นางสาวอรศิ รา ดวงสีใส 6. นายสัญญา... 9

-๓- 6. นายสญั ญา นามี ผอู้ ำนวยการกองมาตรการป้องกันสาธารณภัย กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั 7. นายณรงค์ เรอื งศรี ผอู้ ำนวยการสำนกั ระบายน้ำ กรุงเทพมหานคร 8. นายเจษฎา จนั ทรประภา ผอู้ ำนวยการสำนักงานพฒั นาระบบระบายน้ำ กรุงเทพมหานคร 9. นายวิษณุ เจรญิ หวั หน้ากลุ่มงานวชิ าการและนวตั กรรมจัดการน้ำ กรงุ เทพมหานคร 10. นางสาวภัทรมน ประสิทธ์วิ ัฒนชัย หัวหน้ากลุ่มงานแผนและโครงการ กรงุ เทพมหานคร 11. นายสทุ ธิพงษ์ จุลเจริญ อธิบดกี รมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น 12. นายประเสรฐิ รวยปอ้ ม ผู้อำนวยการส่วนพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถิน่ 13. นายบญุ ฤทธ์ิ เกตจำนงค์ นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถนิ่ 14. นายนพรัตน์ เมธาวีกลุ ชัย ผู้วา่ การการประปาสว่ นภมู ภิ าค 15. นายเอกชยั อัตถกาญน์นา รองผู้ว่าการ (ปฏิบัติการ 3) การประปาส่วนภมู ิภาค 16. นายสมศักดิ์ วนิ จิ กลุ ผู้อำนวยการฝา่ ยแผนงานโครงการ การประปาสว่ นภูมภิ าค 17. นายมงคล หลักเมือง ผ้อู ำนวยการศูนยป์ ้องกันวกิ ฤตน้ำ กรมทรัพยากรน้ำ 18. นายพงษ์พันธุ์ สุรินทร์ ผ้อู ำนวยการสว่ นวเิ คราะหโ์ ครงการและงบประมาณ กรมทรัพยากรน้ำ 19. นางดารา ชาติภูวภทั ร นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการพิเศษ กรมทรพั ยากรนำ้ บาดาล 20. นางสาวจารณุ ี จรรยาลกั ษณ์ นกั วเิ คราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ กรมทรพั ยากรนำ้ บาดาล 21. นางกลั ยา ศานตทิ รรศน์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ กรมทรัพยากรนำ้ บาดาล 22. นายไฉน รนิ แก้ว นักธรณีวทิ ยาชำนาญการ กรมทรัพยากรนำ้ บาดาล 23. นางกานดา ปยิ จันทร์ ผู้อำนวยการกองวเิ คราะหผ์ ลกระทบส่ิงแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม 24. นางอินทนลิ อนิ ท์ชยะนนั ท์ ผอู้ ำนวยการกลุม่ งานพัฒนาแหลง่ นำ้ และเกษตรกรรม สำนักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 25. นายจตพุ ร บรุ ษุ พฒั น์ อธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ 26. นางสาวชุติมา บญุ ฤทธ์ิศรพี งษ์ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝัง่ 27. นายบรุ นิ ทร์ สุดลาภา ผอู้ ำนวยการส่วนจดั การทรัพยากรต้นนำ้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์พชื 28. วา่ ทีร่ ้อยตรี เศรษฐส์ ัณห์ มณฑลเพชร นกั วิชาการปา่ ไม้ชำนาญการ กรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตวป์ า่ และพันธ์ุพืช 29. นางสาวสิรมิ าศ คำใสอินทร์ นกั วิชาการป่าไมช้ ำนาญการ กรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตว์ปา่ และพันธ์ุพชื 30. นายยรรยง กางการ ผู้อำนวยการสำนักสง่ เสริมการปลกู ป่า กรมปา่ ไม้ 31. นางสาวชัญนษิ ฐ์ หอมจนั ทร์ นกั วิชาการป่าไม้ กรมปา่ ไม้ 32. นายเฉลิมเกยี รติ คงวเิ ชยี รวัฒน์ รองอธบิ ดีกรมชลประทาน กรมชลประทาน 33. นายสรุ ัช ธนศู ิลป์ ผอู้ ำนวยการสำนักบรหิ ารโครงการ กรมชลประทาน 34. นายธรรมนูญ อินทน์ ุช ผอู้ ำนวยการสำนกั งานก่อสร้างชลประทานขนาดใหญ่ที่ 9 กรมชลประทาน 35. นายชิดชนก... 10

-๔- 35. นายชิดชนก สมประเสรฐิ ผ้อู ำนวยการสำนกั งานชลประทานท่ี 14 กรมชลประทาน 36. นายไพโรจน์ เตชะเจรญิ สุขจีระ ผอู้ ำนวยการสว่ นวางโครงการท่ี 2 กรมชลประทาน 37. นายอาทร สทุ ธิกาญจน์ ผอู้ ำนวยการส่วนวางโครงการที่ 4 กรมชลประทาน 38. นายสรุ สหี ์ กติ ตมิ ณฑล อธบิ ดีกรมฝนหลวงและการบนิ เกษตร 39. นายลิขติ สุขคุณ เจ้าหน้าทวี่ เิ คราะห์นโยบายและแผน กรมฝนหลวงและการบินเกษตร 40. นางนวลผจง คงเสรี นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ กระทรวงคมนาคม 41. นางสาวภาศิริ มนัสวรกิจ นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ กระทรวงคมนาคม 42. นายกริชเพชร ชยั ชว่ ย รองอธิบดกี รมเจ้าท่า กรมเจา้ ทา่ 43. นายณฐั ชยั พลกลา้ ผ้เู ชย่ี วชาญวชิ าชีพเฉพาะดา้ นการวางแผนพัฒนาและบำรงุ รักษาทางนำ้ กรมเจ้าทา่ 44. นายโอฬาร เต็งรัง นักวิชาการขนสง่ ชำนาญการ กรมเจ้าทา่ 45. นายปิยะพล ธรี ะแนว วิศวกรปฏิบตั กิ าร กระทรวงอุตสาหกรรม 46. นายกรินทร์ น้อยไพโรจน์ นกั วิเคราะห์งบประมาณชำนาญการ สำนักงบประมาณ 47. นายอาทิตย์ มลทิ อง นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ สำนักงานสภาพัฒนาการเศษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ 48. นางสาวดาวนภา วฒุ ิธรรมฐาน เจ้าหนา้ ท่วี เิ คราะหน์ โยบายและแผน สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพอ่ื ประสานงานโครงการ อนั เนื่องมาจากพระราชดำริ 49. นายณัฐพล ภัททกวงศ์ ผู้จัดการสำนักผู้อำนวยการ มูลนิธิปิดทองหลังพระสบื สานแนวพระราชดำริ 50. นายกมล พรหมสาขา ณ สกลนคร ผอู้ ำนวยการสว่ นวเิ คราะห์ขอ้ มูลเรดาร์ฯ กรมอตุ นุ ยิ มวิมยา 51. ดร.สุรเจตส์ บุญญาอรุณเนตร ผอู้ ำนวยการฝ่ายนวัตกรรมสารสนเทศทรัพยากรน้ำ สถาบนั สารสนเทศทรัพยากรนำ้ (องค์การมหาชน) 52. พลตรี บรรเจดิ รามโกมทุ เจา้ กรมแผนทท่ี หาร กรมแผนท่ีทหาร 53. นายประดบั กลัดเข็มเพชร ผู้ชว่ ยเลขาธิการสำนักงานทรัพยากรนำ้ แหง่ ชาติ 54. นายสราวธุ ชวี ะประเสรฐิ ทีป่ รึกษาด้านยทุ ธศาสตร์น้ำ สำนักงานทรพั ยากรน้ำแห่งชาติ 55. นายสริ ิวิชญ กลิน่ ภกั ดี ผู้อำนวยการกองบริหารจดั การลมุ่ น้ำ สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ 56. นายทศพล วงศว์ าร ผู้อำนวยการกองวิเคราะห์โครงการและงบประมาณ สำนักงานทรัพยากรน้ำแหง่ ชาติ 57. นางสาวยคุ ล นมุ าศ ผอู้ ำนวยการสำนักงานเลขาธิการ สำนกั งานทรัพยากรนำ้ แห่งชาติ 58. นางสาวยพุ เยาว์ จนั ทร์เทศ ผอู้ ำนวยการสำนกั งานเลขานุการ กนช. สำนกั งานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ 59. นายอทุ ยั เตียนพลกรงั ผ้อู ำนวยการศูนย์อำนวยการน้ำแหง่ ชาติ สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ 60. วา่ ท่รี อ้ ยตรี สมชยั แตงไทย ผอู้ ำนวยการกองกฎหมาย สำนกั งานทรัพยากรนำ้ แหง่ ชาติ 61. นายศริ วิ ฒั นา ตอวิวฒั น์ ผู้เชยี่ วชาญดา้ นกฎหมาย สำนักงานทรัพยากรน้ำแหง่ ชาติ 62. เจา้ หน้าทส่ี ำนักงานทรพั ยากรน้ำแหง่ ชาติและเจ้าหน้าท่ีหน่วยงานท่เี กยี่ วข้อง จำนวน 50 คน เร่ิมประชุมเวลา 10.00 น. ระเบยี บวาระท่ี ๑... 11

-๕- ระเบียบวาระที่ ๑ เรือ่ งทีป่ ระธานแจ้งใหท้ ี่ประชมุ ทราบ รองนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ) ประธาน กนช. ได้แจ้งให้ที่ประชุม ทราบว่า นายกรัฐมนตรีได้มอบหมายให้เป็นประธาน กนช.และมอบหมายท่านรองนายกรัฐมนตรี จุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ เป็นรองประธาน กนช. โดยสืบเนื่องจากสถานการณ์น้ำในปัจจุบัน และการพิจารณาแผนงาน โครงการบรหิ ารจัดการทรัพยากรนำ้ จงึ ไดก้ ำหนดการประชมุ กนช. ขึ้น มติทปี่ ระชมุ รบั ทราบ ระเบยี บวาระท่ี ๒ การรับรองรายงานการประชุมคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ ครั้งท่ี 1/2562 เมื่อวนั ท่ี 11 มีนาคม 2562 ฝ่ายเลขานุการ กนช. (นายสมเกียรติ ประจำวงษ์ เลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำ แห่งชาติ) ได้นำเรียนที่ประชุมว่า รายงานการประชุมคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ ครั้งที่ 1/2562 เมื่อวันท่ี 11 มีนาคม 2562 ได้แจ้งเวียนให้กรรมการเพ่ือรับรอง หรือปรับปรุง/แก้ไข/เพิ่มเติม ตามหนังสือ สำนักงานทรัพยากรนำ้ แห่งชาติ ด่วนท่ีสดุ ที่ นร 1406 (กนช.)/ว 1711 และดว่ นท่ีสดุ ที่ นร 1406(กนช.)/ ว 1712 ลงวันท่ี 2 เมษายน 2562 ประกอบดว้ ย 1. เร่ืองเพ่ือทราบ จำนวน 5 เร่ือง ได้แก่ (1) ผลการดำเนินงานคณะอนุกรรมการภายใต้ คณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (2) ความก้าวหน้าแผนงานโครงการที่เสนอในคณะรัฐมนตรีสัญจร และ งานนโยบายที่นายกรัฐมนตรีลงพ้ืนที่ (3) รายงานแผนและผลการดำเนินงานของคณะกรรม การลุ่มน้ำ (4) รายงานความก้าวหน้าการจัดทำกฎหมายลำดับรอง และการแต่งต้ังคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรอง ข้อกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรน้ำ และ (5) การจัดงานวันน้ำโลกและสัปดาห์อนุรักษ์ทรัพยากรน้ำแห่งชาติ เม่อื วนั ที่ 22 มีนาคม 2562 2. เร่ืองเพื่อพิจารณา จำนวน 4 เร่ือง ได้แก่ (1) การเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำ ป้องกันน้ำท่วม และบำบัดน้ำเสียคลองเปรมประชากร (2) โครงการป้องกันและบรรเทาอุทกภัยเมืองชุมพร (ลุ่มน้ำคลองชุมพร) (3) การฟ้ืนฟูบึงราชนก จังหวัดพิษณุโลก และ (4) การฟ้ืนฟูบึงบอระเพ็ด จังหวัด นครสวรรค์ ปรากฏว่า ไม่มีกรรมการขอปรับปรุง/แก้ไข/เพิ่มเติม เนื้อหารายงานการประชุมแต่อย่างใด และคณะรฐั มนตรีมมี ตริ ับทราบผลการประชุมเม่ือวนั ท่ี 2 เมษายน 2562 มตทิ ีป่ ระชมุ รับรองรายงานการประชุม คร้ังที่ 1/2562 เม่อื วันท่ี 11 มนี าคม 2562 ระเบียบวาระท่ี 3 เร่อื งเสนอเพอ่ื ทราบ วาระที่ 3.1 ผลการดำเนินงานของคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแหง่ ชาติท่ีผา่ นมา ฝ่ายเลขานุการ กนช. ได้นำเรียนท่ีประชุมให้ทราบผลการดำเนินงานของคณะกรรมการ ทรัพยากรนำ้ แห่งชาติทีผ่ ่านมา ดังน้ี (1) การดำเนนิ งานตามแผนแมบ่ ทการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรน้ำ ปี 2561 – 2562 กนช. เห็นชอบรา่ งแผนแม่บทการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรนำ้ ๒๐ ปี เมอ่ื วนั ที่ 19 ธนั วาคม 2561 และคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบร่างแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑- ๒๕๘๐) เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2562 สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ ได้ปรับปรุงตามความเห็นของ สำนักงบประมาณ กระทรวงคมนาคม และกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม ซ่งึ รองนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประวิตร... 12

-๖- (พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ) ได้เห็นชอบแล้ว คาดว่าจะประกาศในราชกิจจานุเบกษาในเดือนกันยายน ๒๕๖๒ ฝ่ายเลขานุการ กนช. ได้สรุปผลการดำเนินงานตามเป้าหมายและตัวช้ีวัดท้ัง 6 ด้าน ของแผนแม่บท การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) ช่วงระยะ 5 ปี (ปี 2561-2565) โดยมี ผลการดำเนนิ งาน ปี 2561-2562 ดงั น้ี ด้านที่ ๑ การจัดการน้ำอุปโภคบริโภค ได้แก่ การเพ่ิมประสิทธิภาพระบบประปาหมู่บ้าน เป้าหมาย 5,472 แห่ง ดำเนินการแล้วร้อยละ 34 การขยายเขต/เพิ่มเขตจ่ายน้ำ เป้าหมาย 2,570 แห่ง ดำเนินการแล้วร้อยละ 18 ส่วนแผนระบบประปาเมืองหลัก/พ้ืนที่เศรษฐกิจ/แหล่งท่องเท่ียว เป้าหมาย 55 แห่ง ปัจจุบันอยู่ระหวา่ งดำเนินการ โดยมหี น่วยงานที่เกี่ยวข้อง คอื กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม ด้านที่ ๒ การสร้างความม่ันคงของน้ำภาคการผลิต ดำเนินการตามกลยุทธ์แล้ว ได้ปริมาณน้ำเพม่ิ ข้ึน ได้แก่ การอนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนาแหล่งน้ำในพื้นท่ีเกษตรน้ำฝน เป้าหมาย 2,701 ล้านลูกบาศก์เมตร ดำเนินการแล้วร้อยละ 5 การพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ เป้าหมาย 28 ล้านลูกบาศก์เมตร ดำเนินการแล้ว ร้อยละ 55 การพัฒนาแหล่งน้ำชุมชน เป้าหมาย 1 ล้านลูกบาศก์เมตร ดำเนินการแล้ว ร้อยละ 35 การพัฒนาสระน้ำในไร่นา เป้าหมาย 301 ล้านลูกบาศก์เมตร ดำเนินการแล้วร้อยละ 21 การพัฒนาน้ำบาดาลเพ่ือการเกษตร เป้าหมาย 186 ล้านลูกบาศก์เมตร ดำเนินการแล้วร้อยละ 7 การพัฒนา แหล่งเก็บกักน้ำ/อาคารบังคบั น้ำ/ระบบส่งนำ้ ใหม่ เป้าหมาย 1,140 ลา้ นลูกบาศก์เมตร ดำเนนิ การแลว้ ร้อยละ 15 โดยมีหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง คือ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงอตุ สาหกรรม ดา้ นที่ ๓ การจัดการน้ำท่วมและอุทกภัย ได้แก่ ปรับปรุงลำนำ้ ธรรมชาติ เป้าหมาย จำนวน 499 แห่ง ดำเนินการแล้วร้อยละ 2 ระบบป้องกันชุมชนเมือง เป้าหมาย 153 แห่ง ปัจจุบันอยู่ระหว่าง ดำเนินการ เขื่อนป้องกันตล่ิง เป้าหมาย จำนวน 539 แห่ง ดำเนินการแล้วร้อยละ 2 โดยมีหน่วยงานท่ี เกี่ยวข้อง คือกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงคมนาคม ด้านที่ ๔ การจัดการคุณภาพน้ำและอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำ ได้แก่ ระบบบำบัดที่ก่อสร้างใหม่ เปา้ หมายจำนวน 100 แห่ง ดำเนนิ การแล้วร้อยละ 4 ระบบบำบัดท่ีเพิ่มประสิทธิภาพระบบเดิม เป้าหมายจำนวน 34 แห่ง ปัจจุบันอยู่ระหว่างดำเนินการ โดยมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง คือ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงอตุ สาหกรรม ด้านที่ ๕ การอนุรักษ์ฟ้ืนฟูสภาพป่าต้นน้ำท่ีเสื่อมโทรมและป้องกันการพังทลายของดิน ไดแ้ ก่ การฟื้นฟูป่าต้นน้ำ ดำเนนิ การได้ 60,000 ไร่ คดิ เป็นร้อยละ 8 การปอ้ งกนั และลดการชะลา้ งพงั ทลาย ของดิน ปัจจุบันอยู่ระหว่างการจัดทำแผน โดยมีหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง คือ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม ด้านท่ี ๖ การบริหารจัดการ มีการดำเนินงานแล้ว ได้แก่ การจัดทำกฎหมายด้านการ บริหารจัดการน้ำ ปัจจุบันอยู่ระหว่างจัดทำร่างกฎหมายลำดับรอง การจัดทำแผนแม่บทการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ำ 20 ปี ปัจจุบันอยู่ระหว่างประกาศราชกิจจานุเบกษา และการถ่ายทอดเป็นแผนในระดับลุ่มน้ำ การ พัฒนาระบบฐานข้อมูล และระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ปัจจุบันอยู่ระหว่างจัดทำระบบสนับสนุนการตัดสินใจ DSS และ Big Data และการศึกษาวิจัย พัฒนาแนวทางการจัดการน้ำ มีการศึกษา SEA จำนวน 5 ลุ่มน้ำ และ แผนหลักการบรหิ ารจดั การนำ้ 3 กลุ่มล่มุ นำ้ มตทิ ี่ประชุม... 13

-๗- มติที่ประชุม รับทราบผลการดำเนินงานตามแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ปี 2561 – 2562 ประธานมีข้อสั่งการ แผนงาน/โครงการที่ยังไม่มีความก้าวหน้า ให้หน่วยงานท่ีรับผิดชอบ ไปเร่งรัดการดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมาย โดยเฉพาะด้านท่ี 3 การจัดการน้ำท่วมและอุทกภัย ได้แก่ เขอ่ื นปอ้ งกนั ตล่ิง และดา้ นท่ี 4 การจัดการคุณภาพนำ้ และอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำ ได้แก่ การพัฒนาระบบบำบัดนำ้ เสีย ท้ังนี้ หากจำเป็นต้องของบประมาณ ให้พิจารณานำเสนอ และให้สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติติดตาม ผลการดำเนนิ งานต่อไปดว้ ย (2) ความก้าวหน้าแผนงานโครงการท่ีเสนอในคณะรัฐมนต รีสัญจร งานนโยบายที่ นายกรฐั มนตรีลงพน้ื ท่ี และงานนโยบายทแี่ ก้ไขปญั หาเร่งด่วน ฝ่ายเลขานุการ กนช. ได้สรุปความก้าวหน้าของแผนงาน/โครงการด้านการบริหารจัดการ ทรพั ยากรน้ำ ที่เสนอในการประชมุ คณะรฐั มนตรสี ัญจร งานนโยบายที่นายกรัฐมนตรีลงพื้นท่ี และงานนโยบาย ท่ีแก้ไขปัญหาเร่งด่วน ตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2560 ถึงปัจจุบัน รวมจำนวน 28 คร้ัง เสนอแผนงานโครงการแล้ว จำนวน 1,044 โครงการ วงเงินรวม 72,775 ล้านบาท กระจายอยู่ตามภูมิภาคต่างๆ แบ่งเป็น ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 9 ครั้ง ภาคเหนอื 9 ครง้ั ภาคกลาง 6 คร้ัง ภาคใต้ 2 ครัง้ และภาคใต้ชายแดน 2 ครงั้ การลงพ้ืนที่ของนายกรัฐมนตรีที่จังหวัดพิษณุโลก ได้สั่งการให้สำนักงานทรัพยากรน้ำ แห่งชาติ จัดทำแผนงานโครงการพ้ืนท่ีลุ่มต่ำเพิ่มเติม เพ่ือควบคุมปริมาณน้ำช่วงฤดูฝนไว้ใช้ในช่วงฤดูแล้ง ซ่ึงกรมชลประทานได้ศึกษาไว้แล้ว 69 พื้นท่ี ในลุ่มน้ำยม-น่านตอนล่าง มีศักยภาพสามารถในการดำเนินงาน แต่ต้องจัดทำอาคารบังคับน้ำเพื่อทำทางน้ำเข้า – ออก พร้อมคันโดยรอบให้สามารถควบคุมน้ำได้ และต้องมีแนวทาง การบริหารจัดการน้ำ โดยจัดสรรน้ำให้พ้ืนท่ีเป้าหมายภายในเดือนเมษายน เพื่อเก็บเกี่ยวในเดือนกรกฎาคม และ เตรียมเป็นพ้ืนที่รับน้ำหลากในเดือนสิงหาคม – เดือนตุลาคม รวมทั้งมีมาตรการทางการเงินเพ่ือชดเชย ให้ผู้ได้รับผลกระทบใน 3 กรณี คือ (1) รัฐเช่าท่ีดินเอกชนเพ่ือเก็บน้ำ (2) ออกกฎหมายเพื่อจ่ายค่าชดเชย (3) จัดทำเป็นระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี เพื่อเสนอกลไกการจ่ายค่าชดเชยท่ีเหมาะสม โดยให้หน่วยงาน ทเี่ ก่ียวข้องนำไปขับเคล่ือนใหเ้ ป็นรปู ธรรม สรุปแผนงานโครงการ จำนวน 1,044 โครงการ ได้รับงบประมาณปี 2561-2562 แล้ว จำนวน 563 โครงการ เสนอขอตั้งงบประมาณในปี 2563 จำนวน 222 โครงการ ส่วนโครงการที่เหลือ 259 โครงการ พร้อมบรรจเุ ข้าแผนเพอื่ เสนอขอตงั้ งบประมาณ ปี 2564-2565 มติที่ประชุม รับทราบความก้าวหน้าแผนงานโครงการที่เสนอคณะรัฐมนตรีสัญจร งานนโยบายที่นายกรัฐมนตรีลงพื้นท่ี และงานนโยบายที่แก้ปัญหาเร่งด่วน โดยให้สำนักงานทรัพยากรน้ำ แห่งชาติ บรู ณาการหน่วยงาน และรายงานผลให้สำนกั งานทรัพยากรนำ้ แห่งชาติทราบทุกวันที่ 9 ของเดอื น วาระที่ 3.2 การแต่งตัง้ คณะอนุกรรมการและผลการดำเนินงาน 3.2.1 การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ ฝ่ายเลขานุการ กนช. ได้นำเรียนท่ีประชุมว่า ตามพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้กำหนดให้ตอ้ งมคี ณะอนุกรรมการอยา่ งน้อย 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการพัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำ ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ และด้านเทคนิคและวิชาการ โดยประธานกรรมการ กนช. เห็นชอบและ ไดล้ งนามในคำสั่งแตง่ ตั้งคณะอนุกรรมการ ดงั น้ี (1) คำสั่ง กนช. ท่ี 3/2562 ลงวันที่ 23 สิงหาคม 2562 เรื่อง แต่งต้ังคณะอนุกรรมการ ดา้ นการบรหิ ารจัดการทรัพยากรน้ำ ประกอบดว้ ย ๒ คณะ (๑.๑) คณะที่ ๑... 14

-๘- (๑.๑) คณะที่ ๑ คณะอนุกรรมการอำนวยการด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ องค์ประกอบจำนวน ๒๘ คน โดยมีรองนายกรัฐมนตรีท่ีกำกับดูแลสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ เป็นประธาน เลขาธกิ ารสำนักงานทรัพยากรน้ำแหง่ ชาติ เป็นรองประธาน และรองเลขาธิการสำนักงานทรัพยากรนำ้ แห่งชาติ ท่ีไดร้ บั มอบหมาย เปน็ อนกุ รรมการและเลขานุการ (๑.๒) คณะท่ี ๒ คณะอนุกรรมการพิจารณา กล่ันกรอง กฎหมายด้านการบริหาร จัดการทรัพยากรน้ำ องค์ประกอบจำนวน ๑๙ คน โดยมีเลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ เป็นประธาน รองเลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติท่ีได้รับมอบหมาย เป็นรองประธาน และผู้อำนวยการกองกฎหมาย สำนักงานทรพั ยากรน้ำแหง่ ชาติ เปน็ อนกุ รรมการและเลขานกุ าร (๒) คำสั่ง กนช. ท่ี 4/2562 ลงวันที่ 23 สิงหาคม 2562 เรื่อง แต่งต้ังคณะอนุกรรมการ ดา้ นเทคนคิ และวิชาการ ประกอบดว้ ย ๒ คณะ (๒.๑) คณะที่ ๑ คณะอนุกรรมการจัดทำหลกั เกณฑแ์ ละมาตรฐานการบริหารจดั การ ทรัพยากรน้ำ องค์ประกอบจำนวน ๑๘ คน โดยมีรองเลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ ที่ได้รับ มอบหมายเป็นประธาน ผู้ช่วยเลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติท่ีได้รับมอบหมาย เป็นรองประธาน และผู้อำนวยการกองบริหารจัดการลุ่มนำ้ สำนกั งานทรพั ยากรนำ้ แหง่ ชาติ เปน็ อนกุ รรมการและเลขานุการ (๒.๒) คณะท่ี ๒ คณะอนุกรรมการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรมการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ำและผังน้ำ มีรองเลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติที่ได้รับมอบหมาย เป็นประธาน รองปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป็นรองประธาน และผู้อำนวยการศูนย์นวัตกรรมและ เทคโนโลยีทรพั ยากรน้ำ สำนักงานทรพั ยากรนำ้ แหง่ ชาติ เป็นอนุกรรมการและเลขานุการ (๓) คำสั่ง กนช. ที่ 5/2562 ลงวันที่ 6 กันยายน 2562 เรื่อง แต่งต้ังคณะอนุกรรมการ ดา้ นการพัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำ ประกอบดว้ ย ๒ คณะ (๓.๑) คณะที่ ๑ คณะอนุกรรมการขับเคล่ือนแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ องค์ประกอบจำนวน ๓๒ คน โดยมีรองนายกรัฐมนตรีที่กำกับดูแลสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ เป็นประธาน เลขาธิการสำนักงานทรัพยากรนำ้ แห่งชาติ เป็นรองประธาน และรองเลขาธิการสำนักงานทรัพยากรนำ้ แหง่ ชาติ ท่ีไดร้ ับมอบหมาย เป็นอนุกรรมการและเลขานกุ าร (๑.๒) คณะที่ ๒ คณะอนุกรรมการขับเคลอ่ื นโครงการขนาดใหญ่และโครงการสำคัญ องค์ประกอบจำนวน ๑๙ คน โดยมีรองนายกรัฐมนตรีที่กำกับดูแลสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ เป็นประธาน เลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ เป็นรองประธาน และผู้อำนวยการกองวิเคราะห์โครงการและ งบประมาณ สำนกั งานทรพั ยากรน้ำแห่งชาติ เป็นอนุกรรมการและเลขานุการ มติที่ประชุม รับทราบการแต่งต้ังคณะอนุกรรมการภายใต้คณะกรรมการทรัพยากรน้ำ แห่งชาติ จำนวน 3 ดา้ น 6 คณะ ประธานมีข้อสั่งการ ให้คณะอนุกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งจาก กนช. เร่งดำเนินการ ประชุม เพอื่ นำผลทไี่ ด้ไปดำเนินการตอ่ ไป 3.2.2 ผลการดำเนินงานของคณะอนกุ รรมการ ฝา่ ยเลขานุการ กนช. ได้นำเรียนท่ีประชุมให้ทราบผลการดำเนินงานของคณะอนุกรรมการ ขับเคลื่อนโครงการขนาดใหญ่และโครงการสำคัญ และคณะอนุกรรมการอำนวยการด้านการบริหารจัดการ ทรพั ยากรนำ้ ดังนี้ (๑) คณะอนุกรรมการ... 15

-๙- (1) คณะอนุกรรมการขับเคลอ่ื นโครงการขนาดใหญ่และโครงการสำคญั คณะอนุกรรมการฯ ได้มีการประชุมติดตามความก้าวหน้าโครงการขนาดใหญ่ และโครงการสำคัญ ได้แก่ (1.1) ความก้าวหน้าโครงการขนาดใหญ่และโครงการสำคัญที่ผ่านมติ กนช. ซ่ึงสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติได้วิเคราะห์รวบรวมโครงการขนาดใหญ่ท่ีมีศักยภาพในการดำเนินการได้ ในปี 2561-2565 มีจำนวน 57 โครงการ หากดำเนินการได้ท้ังหมดจะสามารถเพ่ิมปริมาณน้ำได้ 4,398 ล้านลูกบาศกเ์ มตร มีพืน้ ทไี่ ดร้ ับประโยชน์ 7.34 ลา้ นไร่ ปัจจุบันมีความกา้ วหน้า คอื (1) โครงการที่ผ่าน กนช. และคณะรัฐมนตรี จำนวน 19 โครงการ ได้รับการจัดสรรงบประมาณแล้ว จำนวน 13 โครงการ เสนอขอต้ัง งบประมาณปี 2563 จำนวน 3 โครงการ โครงการที่ยังไม่ได้เสนอคณะรัฐมนตรี จำนวน 3 โครงการ คือ โครงการปอ้ งกนั และบรรเทาอทุ กภยั เมืองชมุ พรอันเนือ่ งมาจากพระราชดำริ โครงการปรับปรุงคลองยม-น่าน จังหวัด อุตรดิตถ์ และโครงการสำรวจภูมิประเทศด้วยแสงเลเซอร์ ระยะที่ 2 (2) คณะอนุกรรมการฯ พิจารณาเห็นชอบ ให้เสนอ กนช.คร้ังที่ 2/2562 จำนวน 6 โครงการ ซึ่งมีวงเงินงบประมาณเกิน 1,000 ล้านบาท ได้แก่ โครงการเพื่อการพัฒนา ปี ๒๕๖๑ ของการประปาส่วนภูมิภาค (เพ่ิมเติม) จำนวน 5 โครงการ โครงการ ก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำคลองพระยาราชมนตรีจากคลองภาษีเจริญถึงคลองสนามชัย และโครงการบรรเทา อุทกภัยพ้ืนท่ีลุ่มน้ำเพชรบุรีตอนล่าง จังหวัดเพชรบุรี (3) ส่วนท่ีเหลือ 32 โครงการ อยู่ระหว่างการศึกษา ออกแบบเตรียมความพร้อม เช่น การเพิ่มน้ำต้นทุนให้เข่ือนภูมิพล โครงการผันน้ำป่าสัก-มวกเหล็ก-ลำตะคอง และโครงการผันน้ำโขง เลย ชี มูล เปน็ ต้น (1.2) ความก้าวหน้าโครงการท่ี กนช.เห็นชอบให้ศึกษา และต้องเสนอ ความก้าวหน้าให้ กนช.ทราบ ได้แก่ โครงการบรรเทาอุทกภัยลุ่มนำ้ เจา้ พระยาฝ่ังตะวันออกตอนลา่ ง 9 แผนงาน มกี ารดำเนินการแล้ว คงเหลือ 3 แผนงาน ท่ยี ังไม่ได้มีการขับเคลื่อน คือ 1) คลองระบายน้ำหลากชัยนาท-ป่าสัก คลองระบายนำ้ หลากปา่ สกั -อา่ วไทย และคลองระบายน้ำควบคถู่ นนวงแหวนรอบที่ 3 ซึง่ ท้ัง 9 แผนงานดงั กลา่ ว โดยการบูรณาการการดำเนินการร่วมกัน 12 หน่วยงาน 2) โครงการเพ่ิมน้ำต้นทุนเขื่อนภูมิพล จังหวัด แม่ฮ่องสอน ซึ่งกนช. มีมติครั้งท่ี 1/2559 เม่ือวันที่ 11 มกราคม 2559 ให้กรมชลประทานไปศึกษา FS/EIA และให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยศึกษาด้านพลังงานและสายส่งไฟฟ้า พร้อมให้กระทรวง การต่างประเทศพิจารณาด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ในเบ้ีองต้นได้มีการศึกษาความเป็นไปได้ 2 แนวทาง คือ แนวทางส่งน้ำยวม-เข่ือนภูมิพลซึ่งอยู่ตอนบน และ แนวส่งน้ำเมย-น้ำแม่ตื่นซ่ึงอยู่ตอนล่าง ปจั จุบันแนวสง่ นำ้ ยวม-เข่ือนภมู พิ ลอยใู่ นกระบวนการพิจารณา EIA (1.3) ความก้าวหน้าการขอใช้พื้นท่ีป่าไม้สำหรบั โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ซ่งึ ได้มี การติดตามตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2559 แบ่งเป็น 5 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ จำนวน 33 โครงการ 2) โครงการที่ได้รับงบประมาณก่อสร้างแล้ว แต่ยังไม่ได้รับอนุญาต จำนวน 4 โครงการ 3) โครงการสำคญั ทย่ี ืน่ ขอใช้พื้นท่ีแลว้ และอยู่ในแผนปี 2563-2565 จำนวน 8 โครงการ 4) โครงการท่ีอยู่ ในกระบวนการพิจารณารายงาน IEE/EIA/EHIA จำนวน 30 โครงการ และ 5) โครงการที่ต้องขอเข้าศึกษาวิจัย ทางวชิ าการ จำนวน 10 โครงการ มติท่ีประชุม รับทราบผลการดำเนินงานคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนโครงการ ขนาดใหญ่และโครงการสำคญั ประธานมีข้อส่ังการ ให้หน่วยงานไปเร่งรัดการดำเนินการ พร้อมทั้งช้ีแจงให้ ประชาชนเขา้ ใจ และรายงานผลให้สำนกั งานทรพั ยากรนำ้ แหง่ ชาติทราบ (2) คณะอนุกรรมการ... 16

- ๑๐ - (2) คณะอนุกรรมการอำนวยการด้านการบริหารจดั การทรพั ยากรนำ้ ฝ่ายเลขานุการ กนช. (นายสำเริง แสงภู่วงค์ รองเลขาธิการสำนักงานทรพั ยากรน้ำ แห่งชาติ ผู้ช่วยเลขานุการ กนช.) ได้นำผลการประชุมคณะอนุกรรมการฯ คร้ังท่ี ๑/๒๕๖๒ เม่ือวันพฤหัสบดีท่ี 1๒ กันยายน ๒๕๖๒ เวลา 09.๐๐ น. ณ หอ้ งประชมุ 301 ชั้น 3 ตึกบัญชาการ 1 ทำเนียบรัฐบาล ที่ได้รบั ทราบ และพจิ ารณาเห็นชอบ มารายงานให้ท่ีประชมุ กนช.ทราบ ดงั น้ี (2.1) ผลการดำเนินงานตามมติคณะรฐั มนตรีเมื่อวันท่ี ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๖๒ เรื่องมาตรการดำเนินการแก้ไขปัญหาพ้ืนท่ีเสี่ยงขาดแคลนน้ำ ท่ีได้กำหนดไว้ 6 มาตรการเร่งด่วน 4 มาตรการระยะส้ัน และ 3 มาตรการระยะยาว ได้ดำเนินการตามมาตรการเร่งด่วนแล้ว โดยกรมฝนหลวงและ การบินเกษตร ทำการปฏิบัติการฝนหลวง และกรมชลประทาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ได้ปรับแผน การระบายน้ำแหล่งน้ำต่าง ๆ ที่น้อยกว่า 30% กรมทรัพยากรน้ำบาดาลได้จัดทำมาตรฐานการใช้น้ำใต้ดิน และ 4 กระทรวง คือ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงกลาโหม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร่วมบูรณาการในการสำรวจพ้ืนที่ขาดแคลนน้ำ สนับสนุนเครื่องมือ รถบรรทุกน้ำ เครื่องสูบน้ำ และสร้างการรับรู้ใช้น้ำอย่างประหยัด ซ่ึงได้ช่วยเหลือไปแล้ว 20 จังหวัด 83 อำเภอ ส่วนมาตรการระยะส้ันดำเนินการแลว้ 1 มาตรการ และ 4 กระทรวงร่วมบูรณาการในการกำหนด นโยบายช่วยเหลือผูป้ ระสบภยั สำหรับมาตรการระยะยาว จะเร่งรดั ใหห้ น่วยงานดำเนนิ การต่อไป (2.2) สถานการณ์นำ้ ปจั จบุ ันและการคาดการณ์ในอนาคต - สภาพภูมิอากาศและการคาดการณ์ : ช่วงเดือนกรกฎาคม-เดือนกันยายน 2562 มีพายุโซนร้อน 5 ลูก ได้แก่ มูน ดานัส วิภา โพดุล และคาจิกิ ส่งผลให้ฝนตกหนักในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บางพ้ืนท่ีประสบปัญหาน้ำหลากและน้ำท่วมขัง แต่ส่งผลดีเพ่ิมปรมิ าณน้ำในอ่างเก็บน้ำ ทำใหเ้ ข่ือนขนาดใหญ่และขนาดกลางมีปริมาณนำ้ เพ่ิม 10,275 ล้านลูกบาศก์เมตร สามารถชว่ ยบรรเทาพื้นที่ เสย่ี งภัยแลง้ ได้บ้าง - สภาพฝน : มีฝนตกต่ำกว่าค่าเฉลี่ยทุกภาค ยกเว้น ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ และภาคใตฝ้ ัง่ ตะวนั ตก มีฝนเกนิ ค่าปกติเลก็ น้อย - สถานการณ์น้ำในแหล่งน้ำ : ปริมาณน้ำรวม 51,111 ล้านลูกบาศก์เมตร (62%) แหล่งน้ำขนาดใหญ่ที่มีปริมาณน้ำมากกว่า 80% ของความจุ สูงสุดอยู่ในภาคตะวันตก และที่มีปริมาณน้ำ น้อยกว่า 50% ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคตะวันออก และภาคกลาง อาจจะทำมีปัญหาในช่วงฤดูแล้ง และแหล่งน้ำที่ต้อง เฝ้าระวังอุทกภัย คือ อ่างเก็บน้ำท่ีมีความจุมากว่า 80% ทั้งประเทศ 68 แห่ง และท่ีเกิน 100% มี 71 แห่ง ขณะเดยี วกนั ต้องเฝ้าระวงั การบรหิ ารจัดการน้ำในอ่างเก็บน้ำท่ีมีน้ำน้อยกวา่ 30% ซึ่งเสี่ยงต่อการจดั สรรนำ้ ในฤดูแล้ง ปี 2562/63 รวมทั้งสิ้น 81 แห่ง และสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) (GISTDA) ได้วเิ คราะห์พนื้ ทน่ี ้ำท่วมจากภาพถ่ายดาวเทียม มีพื้นที่นำ้ ท่วมลดลงจาก 3.02 ล้านไร่ เหลือ 2.17 ล้านไร่ และได้คาดการณ์พ้ืนที่เสี่ยงกระทบฝนตกหนักล่วงหน้าใน 7 จังหวัด 19 อำเภอ ในภาคเหนือ ภาคตะวันออก และ ภาคตะวันตก - สถานการณ์อทุ กภัย : พายุโซนร้อนโพดุล/คาจิกิ รวมถึงลมมรสุมตะวันตก เฉียงใต้ (29 สิงหาคม – 4 กันยายน 2562) ส่งผลให้เกิดสถานการณ์อุทกภัย 32 จังหวัด 162 อำเภอ 737 ตำบล 5,093 หมู่บ้าน ประกาศให้ความช่วยเหลือกรณีฉุกเฉิน 14 จังหวัด และประกาศเป็นพ้ืนที่ประสบภัย 19 จงั หวัด - การคาดการณ์... 17

- ๑๑ - - การคาดการณ์ฝนในช่วง 3 เดือนข้างหน้า ช่วงเดือนกันยายน ปริมาณฝน ใกล้เคียงกับค่าปกติ และจะลดลงในช่วงเดือนตุลาคม และเดือนพฤศจิกายน ยกเว้นภาคตะวันตกและภาคใต้ ท่ีมีปริมาณฝนมากกว่าภาคอ่ืน ๆ ศูนย์อำนวยการน้ำเฉพาะกิจได้คาดการณ์ปริมาณน้ำ ณ วันท่ี 1 พฤศจิกายน 2562 ว่าจะมีน้ำใช้การได้รวมท้ังประเทศ 36,641 ล้านลูกบาศก์เมตร โดยจะจัดสรรให้ 5 กิจกรรม ได้แก่ น้ำอุปโภคบริโภค น้ำเพื่อรักษาระบบนิเวศ สำรองน้ำต้นฤดูฝน น้ำเพื่อการเกษตร และน้ำภาคอุตสาหกรรม และ ได้คาดการณ์การจัดสรรน้ำของอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ 35 แห่ง มี 1 แห่ง ท่ีสนับสนุนการอุปโภคบริโภค ได้เพียงอย่างเดียว คือ อ่างเก็บน้ำลำนางรอง และ 9 แห่ง ที่สามารถสนับสนุนน้ำเพื่อการเกษตรได้บางส่วน และ ท่ีเหลืออีก 10 แหง่ สามารถสนับสนุนได้ท้ัง 4 กิจกรรม และสำรองนำ้ สำหรบั ต้นฤดูฝนได้ (2.3) เกณฑ์การบริหารจัดการเขื่อนเก็บกักน้ำและเข่ือนระบายน้ำ ได้มี การกำหนดเกณฑเ์ พอื่ ให้หน่วยงานท่ีเกย่ี วข้องถือปฏบิ ตั ิ ดังน้ี - การกำหนดเกณฑ์การบริหารจัดการเข่ือนเก็บกักน้ำ โดยให้หน่วยงาน ที่รับผิดชอบอ่างเก็บน้ำ/เขื่อนกักเก็บน้ำใช้เกณฑ์ปฏิบัติการอ่างเก็บน้ำ (Rule Curve) ที่ปรับปรุงใหม่ หากเกิด สถานการณ์วิกฤติจำเป็นต้องมีการระบายน้ำเพิ่มข้ึนหรือลดลงจากอ่างเก็บน้ำหรือเขื่อนกักเก็บน้ำ ต้องพิจารณา จากความสามารถการรับน้ำของลำน้ำด้านท้ายน้ำร่วมกับปริมาณน้ำที่เกิดจากฝนตกท่ีไหลมารวมกันในลำน้ำ ทำให้น้ำล้นตลง่ิ รวมทงั้ ระดับความรนุ แรงของผลกระทบ - การกำหนดเกณฑ์การระบายน้ำเขื่อนระบายน้ำ/ประตูระบายน้ ำ ให้เป็นไปตามข้อตกลง/มติคณะทำงาน/มติคณะกรรมการท่ีมีอยู่เดิม หากมีการปรับเพิ่มข้ึนหรือลดลง จะต้อง พิจารณาจากความสามารถการรับน้ำของลำน้ำด้านท้ายน้ำร่วมกับปริมาณน้ำท่ีเกิดจากฝนตกที่ไหลมารวมกัน ในลำน้ำทำใหน้ ้ำลน้ ตลิ่ง รวมท้ังระดับความรนุ แรงของผลกระทบ - เกณฑ์การระบายน้ำของเขื่อนเจ้าพระยา ได้กำหนดเกณฑ์การระบายน้ำ ก่อให้เกิดน้ำท่วมด้านท้ายน้ำหรือเหนือน้ำไว้ เป็น 4 ระดับ ระดับที่ 1 ที่มีปริมาณการระบายน้ำน้อยกว่า 700 ลูกบาศก์เมตร/วินาที หน่วยงานเป็นผู้รับผิดชอบบริหารจัดการน้ำได้ตามความเหมาะสม ระดับที่ 2 ช่วงปริมาณ การระบายน้ำ 700 – 1,500 ลูกบาศก์เมตร/วินาที ให้รายงานต่อคณะอนุกรรมการฯ ทราบ ภายใน 3 วัน ระดับที่ 3 ท่ีปรับเพิ่มปริมาณการระบายน้ำเป็นช่วงมากกว่า 1,500-2,000 ลูกบาศก์เมตร/วินาที ให้ขออนุญาต รายงานต่อคณะอนุกรรมการฯ ล่วงหน้า 3 วัน เพื่อพิจารณาเห็นชอบ หากเป็นกรณีฉุกเฉินให้ขออนุญาตประธาน คณะอนกุ รรมการฯ พิจารณาเห็นชอบและรายงานให้คณะอนุกรรมการฯ ในโอกาสแรก และระดบั ท่ี 4 ปรับเพ่ิม ปริมาณการระบายน้ำมากกว่า 2,000 ลูกบาศก์เมตร/วินาที ให้ขออนุญาตต่อ กนช. ล่วงหน้า 3 วัน เพ่ือพิจารณาเห็นชอบ การปรบั เพิ่ม และหากเป็นกรณีฉุกเฉิน ใหข้ ออนุญาตประธาน กนช. พิจารณาและรายงานต่อ กนช. ในโอกาสแรก โดยการระบายน้ำข้างต้นน้ี ให้พิจารณาการระบายน้ำจากเข่ือนระบายน้ำ/ประตูระบายน้ำ ทางด้านท้ายน้ำของทุกหน่วยงาน และปริมาณน้ำหลากที่เกิดจากฝนตกในพ้ืนท่ี ท่ีไหลมารวมกันประกอบ การพิจารณาการระบายน้ำด้วย ท่ีประชุมได้มีข้อคิดเห็นและเสนอแนะให้หน่วยงานคำนึงถึงการปล่อยน้ำ จากต้นน้ำ กลางน้ำ ท้ายน้ำ และผลกระทบที่จะเกิดขึ้น และเพ่ิมการจัดการท้ายน้ำ การกำหนดให้มีระบบระบายน้ำ โดยให้คำนึงถึงการขยายตัวของเมือง ผังเมือง และผังน้ำ รวมทั้ง กรณีการระบายน้ำมากกว่า 1,500 ลูกบาศก์เมตร/ วินาที ไม่มีความชัดเจนในเร่ืองผู้รับผิดชอบและการสั่งการ ขอให้พิจารณากำหนดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน พร้อมท้งั ใหม้ กี ารประชาสัมพันธใ์ ห้ประชาชนได้รับรู้เข้าใจใหม้ ากกว่าน้ี (2.4) มาตรการ... 18

- ๑๒ - (2.4) มาตรการเก็บนำ้ ในฤดูฝน เพอ่ื รับมอื ภาวะนำ้ แล้งปี 2562/63 มาตรการเก็บน้ ำในฤดูฝน เพ่ื อรับมือภาวะน้ำแล้งปี 2562/63 แบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ ระยะเร่งด่วน ได้แก่ ใช้สิ่งก่อสร้าง เช่น การปฏิบัติการฝนหลวง การพัฒนาระบบน้ำ บาดาล เป็นต้น และไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง เช่น การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์ การวางแผนจัดสรรน้ำ/แผนปลูกพืช/ ประกอบอาชีพ มาตรการระยะส้ัน (1-3 ปี) และ ระยะยาว (3 ปี ขึ้นไป) เป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพต่อเนื่อง จากระยะเร่งด่วนและพัฒนาแหล่งน้ำใหม่ รวมทั้งพัฒนาระบบกระจายนำ้ ให้เป็นไปตามแผนแม่บทการบริหาร จัดการทรพั ยากรนำ้ (2.5) กรอบโครงสร้างการจัดต้ังศูนย์บัญชาการเฉพาะกิจและกองอำนวยการน้ำ แห่งชาติ (War Room) เนอื่ งจากสถานการณ์น้ำทัง้ ภาวะนำ้ แล้งและภาวะน้ำท่วม เป็นเร่อื งเร่งด่วนที่ตอ้ งเร่ง ดำเนินการ เพื่อให้การบริหารจัดการน้ำของทุกหน่วยงานมีเอกภาพ สอดคล้องตามพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. 2561 มาตรา 24 กำหนดให้นายกรัฐมนตรีมีอำนาจจัดต้ังศูนย์บัญชาการเฉพาะกิจ อำนวยการแก้ไข ปัญหาวิกฤตน้ำเป็นการช่ัวคราวจนกว่าปัญหาน้ำจะผ่านพ้นไป และสอดคล้องกับพระราชบัญญัติป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยของกระทรวงมหาดไทย สำนักงานทรัพยากรน้ำจึงเสนอโครงสร้างระดับส่ังการ คือ ศูนย์บัญชาการเฉพาะกิจท่ีมีนายกรัฐมนตรี เป็นผู้บัญชาการ รองนายกรัฐมนตรี เป็นรองผู้บัญชาการ และ มีเลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติเป็นเลขานุการ และโครงสร้างกองอำนวยการน้ำแห่งชาติ สนับสนุนการทำงานร่วมกับกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เม่ือเกิดวิกฤตภัยในระดับ 2 คือระดับรุนแรง ถึงระดับ 3 คือระดับวิกฤต โดยมีรองนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน เลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ เป็นรองประธาน และรองเลขาธิการสำนกั งานทรัพยากรนำ้ แห่งชาติ เปน็ เลขานกุ าร จากการประชุมคณะอนกุ รรมการฯ ดงั กล่าว มมี ติ ดงั นี้ 1. เห็นชอบเกณฑ์การระบายน้ำของเข่ือนเก็บกักน้ำและเข่ือนระบายน้ำ ตามเงื่อนไขที่กำหนด โดยเสนอให้ กนช.พิจารณาให้ความเห็นชอบ สำหรับเกณฑ์การระบายน้ำเข่ือนเจ้าพระยา ให้ใช้เกณฑ์ท่ีเสนอไปพลางก่อน จนกว่าคณะอนุกรรมการจัดทำหลักเกณฑ์และมาตรฐานการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ำจะดำเนินการแล้วเสร็จ 2. เห็นชอบมาตรการเก็บกักน้ำในฤดูฝน โดยให้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และกระทรวงมหาดไทย ร่วมวางแผนการปลูกพืชในฤดูแล้ง ปี 2562-63 พร้อมกำหนดขอบเขตพื้นที่ส่งน้ำ/พ้ืนท่ีการเพาะปลูกให้ชัดเจน สอดคล้องกับปริมาณน้ำต้นทุน และให้กระทรวงมหาดไทย โดยการประปาสว่ นภูมิภาคและประปาท้องถิ่นเฝ้าระวังพื้นที่เสี่ยงขาดแคลนน้ำดิบ เพื่อผลิตน้ำประปาตลอดฤดูแลง้ ปี 2562/63 3. เห็นชอบกรอบโครงสร้างศูนย์บัญชาการเฉพาะกิจและกองอำนวยการน้ำแห่งชาติ (War Room) โดยให้ กนช. พจิ ารณาให้ความเห็นชอบต่อไป รฐั มนตรีว่าการกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม (นายวราวุธ ศลิ ปอาชา) กรรมการได้ให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมเก่ียวกับการเก็บน้ำใต้ดินท่ีผ่านมาว่า มีการเผยแพร่วิธีการ เก็บน้ำใต้ดินท่ีไม่ถูกต้องผ่านสื่อ Social media เช่น YouTube ทำให้ประชาชนมีความเข้าใจท่ีคลาดเคลื่อน การนำยางรถยนต์ ขวดพลาสติกมาใช้ในการเก็บน้ำใต้ดิน อาจจะทำให้น้ำท่ีได้มีสารปนเปื้อน ไม่สะอาด เท่าท่ีควร และก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ดังนั้น ส่ิงสำคัญที่ควรดำเนินการ คือ การประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนได้เข้าใจถึงหลักการและเทคนคิ ในการเก็บน้ำใต้ดนิ ปัจจุบันกรมทรัพยากรน้ำบาดาลได้จัดทำคู่มือ การเติมน้ำใต้ดินระดับต้ืนเสร็จเรียบร้อยแล้ว และมีแผนการจัดอบรมให้แก่ประชาชนทุกหมู่บ้านท่ัวประเทศ ให้รับรู้... 19

- ๑๓ - ให้รับรู้ข้อมูลทางวิชาการการเก็บน้ำใต้ดินท่ีถูกต้อง ทั้งน้ี ได้มีการจัดทำแผนที่น้ำใต้ดิน ซ่ึงดำเนินการไปแล้ว กว่าร้อยละ 70 โดยมีความละเอียดอยู่ท่ี 1:50,000 และมีแผนจะปรับปรุงแผนที่น้ำใต้ดินให้มีความละเอียด มากยงิ่ ขึน้ มติที่ประชมุ 1. รับทราบผลการดำเนินงานคณะอนุกรรมการอำนวยการด้านการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ำ 2. เห็นชอบเกณฑ์การระบายน้ำของเข่ือนเก็บกักน้ำและเขื่อนระบายน้ำ ตามเงือ่ นไขท่ีกำหนด 3. เห็นชอบกรอบโครงสร้างศูนย์บัญชาการเฉพาะกิจ และกองอำนวยการน้ำ แห่งชาติ (War Room) โดยมีโครงสรา้ งถาวรในสำนกั งานทรัพยากรน้ำแห่งชาติในฐานะเลขานกุ าร กนช. ประธานมขี ้อสง่ั การเพมิ่ เติม ดังนี้ 1. ใหห้ น่วยงานเร่งดำเนินการตามมาตรการเพื่อรับมือฤดูแลง้ ที่จะมาถึง โดยจดั ทำ ฝนหลวงเพอื่ เติมน้ำในเขื่อน พร้อมทงั้ มาตรการช่วยเหลือประชาชนในช่วงหนา้ แล้ง 2. ให้สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติเร่งดำเนินการจัดตั้งศูนย์บัญชาการเฉพาะกิจ และกองอำนวยการนำ้ แห่งชาติ (War Room) 3. ให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยกรมทรัพยากรน้ำบาดาล ศึกษาสำรวจช้ันน้ำใต้ดินให้มีความชัดเจนต่อไป และจัดทำข้อมูลและสร้างความรู้ความเข้าใจการเติมน้ำใต้ดิน ให้ประชาชนได้รับทราบขอ้ มูลท่ีถูกต้องและชดั เจน พร้อมทั้งรายงานให้สำนักงานทรพั ยากรน้ำแห่งชาติทราบด้วย วาระที่ 3.3 โครงการไฟฟา้ พลังน้ำเขื่อนปากลาย สปป.ลาว ตามระเบียบปฏบิ ัติ เรื่อง การแจ้ง การปรึกษา หารอื ลว่ งหนา้ และข้อตกลง (สำนักเลขาธกิ ารคณะกรรมการแมน่ ้ำโขงแห่งชาตไิ ทย (TNMC)) ฝ่ายเลขานุการ กนช. ได้นำเรียนที่ประชุมว่า สืบเน่ืองจาก สปป.ลาว ได้เสนอโครงการไฟฟ้าพลังน้ำ เข่ือนปากลายซ่ึงเป็นโครงการลำดับที่ ๔ ในแม่น้ำโขงตอนล่าง โครงการน้ีเข้าข่ายการดำเนินการตามข้อตกลง แม่น้ำโขง พ.ศ. 2538 ท่ีเปิดโอกาสให้ประเทศสมาชิกแสดงความเห็นและมาตรการในการลดผลกระทบ โดยภาพรวมการพัฒนาเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ำในแม่น้ำโขงสายประธานท้ังระบบ จำนวน ๑๘ โครงการ ประกอบด้วย (1) กลุ่มท่ีอย่ใู นประเทศจีน ก่อสร้างแล้วเสรจ็ 6 โครงการ อยใู่ นแผนการพัฒนาอีก 1 โครงการ (2) กลุ่มท่ีอยู่ บริเวณลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่างส่วนบน อยู่ในเขต สปป. ลาว และไทย ก่อสร้างแล้วเสร็จ 1 โครงการ คือ เข่ือนไซยะบุรี ได้แจ้งตามระเบียบแล้ว 2 โครงการ คือ เขื่อนปากแบง และเข่ือนปากลาย และอยู่ในแผนการพัฒนา 1 โครงการ คือ เขื่อนหลวงพระบาง คาดว่าจะเข้าสู่กระบวนการภายในเดือนตุลาคม 2562 (3) กลุ่มที่อยู่ ในเขตไทย-ลาว และกัมพูชา อยู่ระหว่างก่อสร้าง 1 โครงการ คือ ดอนสะโฮง และอยู่ในแผน 4 โครงการ ในส่วนของระเบียบปฏิบัติการแจ้งเตือนตามข้อตกลงมี 3 ระดับ ได้แก่ (1) การแจ้งให้ประเทศสมาชิกทราบ หากมีการใช้น้ำในลำน้ำสาขา หรือแม่น้ำโขงสายประธานเฉพาะฤดูน้ำหลาก (2) ต้องมีการหารือล่วงหน้า กับประเทศสมาชิก หากใช้น้ำในลำน้ำโขงสายประธานในฤดูแล้ง หรือผันน้ำข้ามลุ่มน้ำเฉพาะฤดูน้ำหลาก (3) ตอ้ งขอความเห็นชอบจากประเทศสมาชิก 4 ประเทศ หากมีการผนั นำ้ โขงไปยังอีกลุ่มนำ้ หน่ึงในฤดแู ล้ง สำหรับโครงการไฟฟ้าพลังน้ำเขื่อนปากลาย คณะกรรมการแม่น้ำโขงแห่งชาติไทย มีมติเมื่อวันท่ี 8 กุมภาพันธ์ 2562 เสนอ สปป.ลาว ใน 5 ประเด็น คือ (๑) ประมงและทางปลาผ่าน (๒) การเปล่ียนแปลง ดา้ นอุทกวทิ ยา.. 20

- ๑๔ - ด้านอุทกวิทยาและระบบนิเวศ (๓) ความปลอดภัยเขื่อน (๔) ด้านเศรษฐกิจและสังคม และ (๕) มาตรการ เยียวยาและลดผลกระทบทเ่ี กิดขึ้น และเลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติในฐานะคณะกรรมการร่วม คณะกรรมาธิการแม่น้ำโขง ได้เสนอท่าทีประเทศไทยต่อโครงการไฟฟ้าพลังน้ำเข่ือนปากลาย ในท่ีประชุม คณะกรรมการร่วม สมัยวิสามัญของคณะกรรมาธิการแม่น้ำโขง เม่ือวันท่ี ๔ เมษายน ๒๕๖๒ ณ นครหลวง เวียงจันทน์ สปป.ลาว โดยที่ประชุมมีมติสำคัญ คือ แถลงการณ์ร่วม เรียกร้องให้ สปป.ลาว แก้ไขและบรรเทา ผลกระทบข้ามพรมแดน และจัดทำแผนปฏิบัติการร่วมกับประเทศสมาชิก ท้ังก่อนการก่อสร้าง ระหว่างการ ก่อสร้าง และภายหลังการก่อสร้าง และ สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติได้หารือกับประเทศสมาชิก อย่างต่อเนื่อง เช่น ขับเคล่ือนแผนบริหารจัดการน้ำแบบบูรณาการระยะ 5 ปี การแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านอุทก วทิ ยา และประชมุ ดา้ นเทคนิคเพ่ือแกว้ ิกฤตน้ำโขง เป็นตน้ มติที่ประชุม รับทราบโครงการไฟฟ้าพลังน้ำเขื่อนปากลาย สปป.ลาว และท่าทีประเทศไทย ต่อโครงการดังกล่าว วาระที่ 3.4 ผลการดำเนนิ งานของคณะกรรมการลมุ่ น้ำ ฝ่ายเลขานุการ กนช. ได้นำเรียนให้ท่ีประชุมทราบว่า สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติในฐานะ ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการลุ่มน้ำได้ดำเนินการประชุมคณะกรรมการลุ่มน้ำ คร้ังที่ ๒/๒๕๖๒ ทั้ง ๒๕ ลุ่มน้ำ ระหว่างเดือนมิถุนายน ถึงเดือนกรกฎาคม เพื่อรับทราบผลการประชุมของคณะกรรมการลุ่มน้ำ ผลการประชุม คณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ การเตรียมความพร้อมสำหรับการบริหารจัดการน้ำในฤดูฝน หลักเกณฑ์และแนวทางการเสนอเรื่องต่อคณะกรรมการลุ่มน้ำ และการทบทวน/ปรับแผนการดำเนินงาน คณะกรรมการลุ่มน้ำ พร้อมการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ และแผนปฏิบัติการภายใต้แผนแม่บทฯ ระดับลุ่มน้ำ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ครั้งท่ี ๒/๒๕๖๒ มีกำหนดการจัดประชุมฯ ระหว่างเดือนสิงหาคมถึงเดือนกันยายน ท้ัง ๒๕ ลุ่มน้ำ เพ่ือจัดทำแผนแม่บท การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำระดับลุ่มน้ำ ๒๐ ปี จัดทำแผนปฏิบัติการภายใต้แผนแม่บทฯ ระดับลุ่มน้ำ ปี พ.ศ.๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ และท่ีประชุมได้ให้ข้อคิดเห็นต่อปัญหาอุปสรรคการจัดทำแผนแม่บทฯ และ แผนปฏบิ ัติการล่มุ นำ้ มติท่ีประชุม รับทราบผลการประชุมและข้อเสนอแนะของคณะกรรมการลุ่มน้ำ และ ผลการดำเนินการจัดทำแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ และแผนปฏิบัติการภายใต้แผนแม่บท ระดบั ลมุ่ นำ้ ประจำปี 2563 - 2565 ประธานมีข้อสั่งการ ให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องรับข้อคิดเห็นข้อเสนอแนะของคณะกรรมการลุ่มน้ำ ไปพิจารณา ได้แก่ (1) บูรณาการข้อมูลสถานการณ์น้ำให้ประชาชนเข้าถึงได้ง่าย (2) เสนอให้มีอนุกรรมการ ระดบั จงั หวดั และระดับลุม่ นำ้ สาขา (3) แผนงานของหนว่ ยงานใหเ้ สนอผา่ นคณะกรรมการลมุ่ นำ้ ระเบยี บวาระที่ 4 เรอ่ื งเสนอเพอ่ื พจิ ารณา วาระที่ 4.1 แผนงานโครงการขนาดใหญแ่ ละโครงการสำคัญ จำนวน 3 โครงการ ฝ่ายเลขานุการ กนช. ได้นำเรียนที่ประชุมว่า สืบเน่ืองจากการประชุมคณะอนุกรรมการ ขับเคล่ือนโครงการขนาดใหญ่และโครงการสำคัญ เม่ือวันท่ี ๒๙ สิงหาคม ๒๕๖๒ ได้เห็นชอบในหลักการ ให้เสนอโครงการขนาดใหญ่และโครงการสำคัญเข้าสู่การพิจารณาของ กนช. ครั้งที่ ๒/๒๕๖๒ จำนวน 3 โครงการ ดังน้ี 4.1.1 โครงการ... 21

- ๑๕ - 4.1.1 โครงการเพอื่ การพัฒนา ปี 2561 ของการประปาส่วนภมู ิภาค (เพ่มิ เติม) ฝ่ายเลขานุการ กนช. ได้นำเรียนที่ประชุมเพ่ือพิจารณาโครงการเพ่ือการพัฒนา ปี 2561 ของการประปาส่วนภูมิภาค (เพ่ิมเติม) จำนวน 6 โครงการ ซึ่งเป็นโครงการตามแผนงานเดิม ของการประปาส่วนภูมิภาค ที่สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเห็นชอบให้เสนอ คณะรัฐมนตรี แต่เนื่องจากตามพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. 2561 กำหนดให้ กนช. เป็นผู้พิจารณา และให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการของหน่วยงานของรัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท่ีเกี่ยวกับทรัพยากรน้ำ ก่อนเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อกำกับติดตามให้เป็นไปตามแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ปี ดังนั้น การประปาส่วนภูมิภาคจึงเสนอขอความเห็นชอบในหลักการเพ่ือไปดำเนินโครงการเพื่อการพัฒนา ดังกล่าว ซ่ึงสอดคล้องกับแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ๒๐ ปี ด้านท่ี ๑ การจัดการน้ำอุปโภค บรโิ ภค โดยมีวงเงนิ รวม ๑๑,๐๒๖.๙๕๒ ล้านบาท เมื่อโครงการก่อสร้างแล้วเสร็จ จะมีกำลังการผลิตเพ่มิ ขน้ึ อีก ๓๓๒,๔๐๐ ลูกบาศกเ์ มตร/วัน และสามารถให้บริการผู้ใช้นำ้ เพิ่มข้ึนอีก ๒๓๙,๖๑๘ ราย (ประมาณ ๖๐๗,๑๙๒ คน) สามารถเพ่ิมประสิทธิภาพของระบบผลิต ระบบส่งน้ำ และระบบจ่ายน้ำประปา ซ่ึงท่ีประชุมคณะอนุกรรมการ ขับเคล่ือนโครงการขนาดใหญ่และโครงการสำคัญ มีข้อคิดเห็นให้การประปาส่วนภูมิภาคดำเนินการดังน้ี (1) จัดทำแผนแหล่งเก็บน้ำสำรอง โดยเฉพาะกรณีใช้น้ำจากแหล่งน้ำธรรมชาติ เช่น คลอง แม่น้ำ และ (2) ให้การประปาส่วนภูมภิ าค ประสานหน่วยงานเจ้าของแหล่งนำ้ เพ่ือวางแผนการจดั สรรน้ำให้ชัดเจน มตทิ ีป่ ระชุม 1. เห็นชอบในหลักการโครงการเพื่อการพัฒนาปี 2561 ของการประปาส่วนภูมิภาค (เพิ่มเติม) จำนวน 6 โครงการ วงเงิน 11,026.952 ล้านบาท และให้การประปาส่วนภูมิภาคเสนอโครงการ ตอ่ คณะรฐั มนตรเี พ่ือขอความเห็นชอบโครงการต่อไป 2. ให้การประปาส่วนภูมิภาคดำเนินการตามข้อคิดเห็นของคณะอนุกรรมการขับเคลื่อน โครงการขนาดใหญ่และโครงการสำคญั ดงั น้ี 2.1 ให้การประปาส่วนภูมิภาคจัดทำแผนและเร่งพัฒนาแหล่งเก็บน้ำสำรอง โดยเฉพาะกรณใี ช้นำ้ จากแหล่งน้ำธรรมชาติ 2.2 ให้การประปาส่วนภูมิภาคประสานหน่วยงานเจ้าของแหล่งน้ำ เพื่อวางแผน การจัดสรรนำ้ ให้ชัดเจน 4.1.2 โครงการก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำคลองพระยาราชมนตรี จากคลองภาษีเจริญถึง คลองสนามชยั ของกรุงเทพมหานคร ฝ่ายเลขานุการ กนช. ได้นำเรียนท่ีประชุมว่า สืบเนื่องจากแผนงานพัฒนาประสิทธิภาพ การระบายน้ำในพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานคร จะต้องพัฒนาอุโมงค์ระบายน้ำ 9 แห่ง ปัจจุบันได้รับงบประมาณแล้ว 5 แห่ง อยู่ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยาท้ังหมด และอยู่ระหว่างขอรับงบประมาณปี 2563 จำนวน 3 แห่ง การประชุมครั้งนี้ กรุงเทพมหานครจึงเสนอขอความเห็นชอบในหลักการโครงการก่อสร้างอุโมงค์ ระบายน้ำคลองพระยาราชมนตรีจากคลองภาษีเจริญถึงคลองสนามชัย ของกรุงเทพมหานคร วงเงิน 6,130 ล้านบาท ระยะเวลาดำเนินงาน 5 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4 – ๒๕๖8) เพ่ือช่วยแก้ไขปัญหาน้ำท่วมขัง จากฝนตกในพน้ื ทีเ่ ขตภาษีเจริญ เขตบางแค เขตบางบอน และเขตบางขุนเทียน ซง่ึ ครอบคลุมพนื้ ท่ีได้ประมาณ ๖๔ ตารางกิโลเมตร สามารถรองรับปริมาณน้ำหลากจากนอกแนวป้องกันน้ำท่วมของกรุงเทพมหานคร ให้ระบายน้ำผ่านพ้ืนท่กี รุงเทพมหานครออกสทู่ ะเลในกรณที ี่มีปัญหาน้ำหลากจากพื้นที่ตอนบนของกรงุ เทพมหานคร ได้ประมาณ ๔๘ ลูกบาศก์เมตร/วินาที โดยระบายลงสู่แก้มลิงคลองสนามชัย-มหาชัย ซึ่งที่ประชุม คณะอนกุ รรมการ... 22

- ๑๖ - คณะอนกุ รรมการขับเคล่อื นโครงการขนาดใหญ่และโครงการสำคัญ มีข้อคิดเห็นให้กรุงเทพมหานครดำเนินการ ดังน้ี (1) ให้กรุงเทพมหานครเร่งรัดดำเนินการอุโมงค์ระบายน้ำ 3 แห่ง ท่ีคณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบแล้ว (2) โครงการนี้เป็นการเร่งระบายน้ำพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานครจากตอนบนลงสู่แก้มลิงคลองสนามชัย-มหาชัย ก่อนระบายออกสู่อ่าวไทย และเช่ือมโยงกับโครงข่ายระบบระบายน้ำนอกเขตพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานคร ควรประสาน กับจังหวัดใกลเ้ คยี งและกรมชลประทานเพอื่ ใหก้ ารระบายน้ำมปี ระสิทธภิ าพย่ิงข้นึ และเกิดความชดั เจนตอ่ ไป มติท่ีประชมุ 1. เห็นชอบในหลักการโครงการก่อสร้างอุโมงค์ระบายน้ำคลองพระยาราชมนตรี จากคลองภาษีเจริญถึงคลองสนามชัย วงเงิน 6,130.00 ล้านบาท และให้กรุงเทพมหานครเสนอโครงการฯ ตอ่ คณะรัฐมนตรเี พื่อขอความเห็นชอบต่อไป 2. ให้กรุงเทพมหานครและกรมชลประทาน ดำเนินการตามข้อคิดเห็นของคณะอนุกรรมการ ขับเคล่อื นโครงการขนาดใหญ่และโครงการสำคญั และฝ่ายเลขานกุ าร กนช. ดงั นี้ 2.1 ให้กรุงเทพมหานครเร่งรัดดำเนินการอุโมงค์ระบายน้ำ 3 แห่ง ท่ีคณะรัฐมนตรี ได้เห็นชอบแล้ว ได้แก่ อุโมงค์ระบายน้ำใตค้ ลองแสนแสบ อุโมงค์ระบายน้ำใต้คลองทวีวัฒนา และอุโมงค์ระบายน้ำ ใตค้ ลองเปรมประชากร 2.2 โครงการน้ีเป็นการเร่งระบายน้ำพื้นท่ีกรุงเทพมหานครจากตอนบนลงสู่แก้มลิง คลองสนามชัย-มหาชัย ก่อนระบายออกสู่อ่าวไทย และเช่ือมโยงกับโครงข่ายระบบระบายน้ำนอกเขตพื้นที่ กรุงเทพมหานคร ควรประสานกับจังหวัดใกล้เคียงและกรมชลประทาน เพ่ือให้การระบายน้ำมีประสิทธภิ าพยิ่งขึ้น และเกดิ ความชดั เจนต่อไป 2.3 ให้กรมชลประทานปรับปรุงแก้มลิงคลองสนามชัย-มหาชัย ทำเป็นแก้มลิง ตามพระราชดำริ ให้สอดคล้องกบั การดำเนินงานของกรงุ เทพมหานครด้วย 4.1.3 โครงการบรรเทาอทุ กภยั พื้นที่ลุ่มนำ้ เพชรบุรตี อนล่าง จังหวัดเพชรบรุ ี ของกรมชลประทาน ฝ่ายเลขานุการ กนช. ได้นำเรียนที่ประชุมเพ่ือพิจารณาโครงการบรรเทาอุทกภัยพื้นที่ ลุ่มน้ำเพชรบุรีตอนล่าง จังหวัดเพชรบุรี ของกรมชลประทาน ซึ่งสืบเน่ืองจากการประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจร เม่ือวันที่ 6 มีนาคม 2561 ณ จังหวัดเพชรบุรี นายกรัฐมนตรีได้สั่งการให้จัดทำแผนบริหารจัดการลุ่มน้ำ เพชรบุรีท้ังระบบ และได้ลงพื้นท่ีติดตามความก้าวหน้า เมื่อวันท่ี 9 สิงหาคม 2561 และ สำนักงานทรัพยากรน้ำ แห่งชาติ ได้กำหนดให้พื้นที่ดังกล่าวเป็น 1 ใน 66 Area Based ตามแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ท่ีต้องแก้ไขปัญหาโดยเร่งด่วน โดยกรมชลประทานได้ดำเนินการศึกษาความเหมาะสมของโครงการ พร้อมจัดทำรายงานศึกษาวางโครงการพิเศษ (Special Study Report) โครงการบรรเทาอุทกภัยพ้ืนที่ลุ่มน้ำ เพชรบุรีตอนล่าง จังหวัดเพชรบุรี แล้วเสร็จเม่ือเดือนสิงหาคม 2562 และกรมชลประทานมีแผน การดำเนินงานเพื่อเพิ่มศักยภาพคลองระบายน้ำ D1 จากอัตราการระบายเดิม 70 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที เป็น 550 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที โดยมีระยะเวลาดำเนินโครงการ 5 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2568) เมื่อดำเนินการแล้วเสร็จ จะสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำจากแม่น้ำเพชรบุรีลงสู่อ่าวไทยได้เร็วข้ึน ชว่ ยบรรเทาอุทกภัยในพ้ืนท่ีหลายอำเภอของจังหวัดเพชรบุรี และช่วยให้จังหวัดเพชรบุรีมีโอกาสและศกั ยภาพ การพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมให้เติบโตสูงขึ้น สามารถสร้างงานอาชีพและรายได้ท่ีเพ่ิมขึ้นแก่ท้องถ่ินและ ภูมิภาค โดยกรมชลประทานมีแผนประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจกับประชาชนในพ้ืนที่ และการจัดหาท่ีดิน ควบคู่ไปกับการสำรวจ – ออกแบบทีจ่ ะแล้วเสร็จในปี ๒๕๖๓ เพื่อให้พร้อมท่จี ะดำเนินการก่อสรา้ งได้ตามแผน ที่กำหนดไว้ จึงเสนอขอความเห็นชอบในหลักการเตรียมความพร้อมของโครงการบรรเทาอุทกภัยพ้ืนท่ีลุ่มน้ำ เพชรบรุ ี... 23

- ๑๗ - เพชรบุรีตอนล่าง จังหวัดเพชรบุรี ซ่ึงที่ประชุมคณะอนุกรรมการขับเคล่ือนโครงการขนาดใหญ่และโครงการ สำคัญ มีข้อคิดเห็นให้กรมชลประทานดำเนินการดังนี้ (1) ให้กรมชลประทาน ปรับช่ือโครงการ เป็นพระราชดำริในรัชกาลท่ี 9 ตามความเห็นของสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการ อันเน่ืองมาจากพระราชดำริ (กปร.) (2) กรมชลประทาน ควรพิจารณาถึงผลกระทบต่อขนาดโครงการ หากมีก่อสร้างอ่างเก็บน้ำตอนบน และผลกระทบอันเน่ืองจากการระบายน้ำลงทะเลอ่าวไทย และ (3) กรมชลประทาน ควรพิจารณาปรับปรุงระเบียบข้ันตอนการเตรียมความพร้อมของโครงการให้เป็น มาตรฐานเดยี วกัน นายอานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิใน กนช. ให้ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะว่า การดำเนินโครงการดังกล่าวควรให้ความสำคัญกับประเด็นเร่ืองของทะเลและชายฝั่ง เนอ่ื งจากการผันน้ำโดยเฉพาะในชว่ งฤดูกาล มีผลกับระบบนเิ วศทางทะเลและการกัดเซาะชายฝง่ั ทะเล ท่ีอาจมี กิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง ซึ่งในรายละเอียดแผนงบประมาณยังไม่ได้มีการ กล่าวถึงว่ากรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ังจะดำเนินการอย่างไร และการท่ีมีตะกอนและน้ำจืดไหลลงสู่ ทะเลในช่วงเวลาส้ัน อาจมีผลกระทบต่อการสะสมของสันดอนที่อยู่ในทะเลท่ีกระทบกับการเดินเรือและ กิจกรรมอ่ืน ๆ นอกจากน้ี ในปัจจุบันจังหวัดเพชรบุรีมีการใช้พ้ืนท่ีเป็นแหล่งท่องเท่ียวและพ้ืนที่เศรษฐกิจ บริเวณชายฝั่งทะเลมาก และมีสถานที่สำคัญหลายแห่ง เช่นพระราชนิเวศน์มฤคทายวัน และพื้นท่ีอ่ืน ๆ ซ่ึงท่ีผ่าน มามีปัญหาการกัดเซาะชายฝ่ัง รวมถึงยังมีความเห็นไม่ตรงกันเก่ียวกับแนวทางการป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง ดงั น้นั ในช่วงของการเตรยี มความพร้อมขอให้กรมชลประทานดำเนินการในเรื่องดังกล่าวให้ชัดเจนเพื่อจะได้ไม่ มปี ญั หาในภายหลงั รฐั มนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (นายวราวุธ ศิลปอาชา) กรรมการ ให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติมว่า การนำน้ำลงสู่ทะเลไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบท่อลอดหรือ ทางระบายน้ำ (Spillway) จะส่งผลให้เกิดปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งทะเลในพื้นที่อย่างแน่นอน และปริมาณน้ำจืด ทม่ี าจากป่าเมือ่ ลงสู่ทะเลจะกระทบกบั ระบบนิเวศและส่ิงมชี ีวติ ท่ีอยใู่ นพ้ืนที่ นอกจากน้ี อาจมีเรื่องน้ำเสยี ที่ไหล เขา้ สู่ทางระบายน้ำ ดังนั้น จงึ ขอใหก้ รมชลประทานศึกษาในประเด็นเหล่าน้ีด้วย ประธานมขี อ้ สั่งการ ใหน้ ำข้อคิดเหน็ ของทปี่ ระชมุ ไปดำเนินการดว้ ย มติทป่ี ระชมุ 1. เห็นชอบให้กรมชลประทานเสนอเรื่องให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบ ในหลักการเตรียมความพร้อมของโครงการบรรเทาอุทกภัยพ้ืนท่ีลุ่มน้ำเพชรบุรีตอนล่าง จังหวัดเพชรบุรี เพื่อดำเนินการด้านการมีส่วนร่วม กระบวนการจัดหาที่ดินเพ่ือการก่อสร้าง และเตรียมความพร้อมของโครงการ ในทุกมติ ิให้แลว้ เสร็จ 2. ให้กรมชลประทานดำเนินการตามข้อคิดเห็นของคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนโครงการ ขนาดใหญแ่ ละโครงการสำคัญ ดังนี้ 2.1 ให้กรมชลประทานปรบั ชื่อโครงการ เป็นพระราชดำรใิ นรัชกาลที่ 9 ตามความเห็น ของสำนกั งาน กปร. 2.2 กรมชลประทาน ควรพิจารณาถึงผลกระทบต่อขนาดโครงการ หากมีก่อสร้าง อา่ งเก็บน้ำตอนบน และผลกระทบอันเนื่องจากการระบายน้ำลงทะเลอ่าวไทย 2.3 กรมชลประทาน ควรพิจารณาปรับปรุงระเบียบขั้นตอนการเตรียมความพร้อม ของโครงการใหเ้ ป็นมาตรฐานเดียวกนั 3. เม่ือดำเนินการเตรียมความพร้อมแล้วเสร็จ ให้กรมชลประทานเสนอโครงการต่อ กนช. พจิ ารณาอีกคร้ัง ก่อนนำเสนอคณะรัฐมนตรีตอ่ ไป วาระท่ี 4.2... 24

- ๑๘ - วาระท่ี 4.2 แผนปฏิบัติการภายใต้แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ฝ่ายเลขานุการ กนช. ได้นำเรียนที่ประชุมให้ทราบแผนปฏิบัติการภายใต้แผนแม่บทการบริหาร จัดการทรพั ยากรนำ้ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ซง่ึ แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้ (1) ผลการดำเนินงานตามแผนบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ฝ่ายเลขานุการ กนช. ได้นำเรียนที่ประชุมว่า ตามพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา 17 ให้ กนช. มหี น้าท่ีและอำนาจพิจารณาและใหค้ วามเห็นชอบแผนปฏบิ ัติการของหน่วยงานท่เี ก่ียวกับ ทรัพยากรน้ำและแผนงบประมาณการบริหารทรัพยากรน้ำแบบบูรณาการ รวมท้ังกำกับดูแลเร่งรัด และ ให้คำแนะนำแก่หน่วยงาน โดยแผนงานโครงการตามแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ปี พ.ศ. 2562 มีวงเงินรวม 97,994 ล้านบาท ซึ่งเป็นแผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ วงเงนิ 62,831 ล้านบาท มหี น่วยรับงบประมาณ รวม ๗ กระทรวง (๑๖ หน่วยงาน และ ๑ กองทุน) ๒ รัฐวิสาหกิจ มีผลการดำเนินงาน เบิกจ่ายงบประมาณแล้ว จำนวน ๔๓,๕๐๗.๗๑ ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ ๖๙.๒๔ ยังไม่ได้เบิกจ่าย จำนวน ๑๙,๓๒๓.๘๘ลา้ นบาท คิดเป็นร้อยละ ๓๐.๗๖ จำแนกเป็น ก่อหนี้ผูกพันแล้ว จำนวน ๑๒,๕๖๗.๓๔ ลา้ นบาท งบประมาณท่ีเหลือ ๖,๗๕๖.๕๔ ล้านบาท และในส่วนของแผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ได้มีการปรับแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ และหรือการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ จำนวน ๘ หนว่ ยงาน วงเงินรวม ๖,๕๓๙.๑๙ ล้านบาท โดย - แผนแม่บทด้านที่ ๑ การจัดการน้ำอุปโภคบริโภค วงเงินปรับแผน ๕๔.๘๐ ล้านบาท ครัวเรอื นเข้าถงึ น้ำประปาเพ่มิ ขึน้ ๔๙,๙๑๐ ครวั เรือน - แผนแม่บทด้านที่ ๒ การสร้างความมั่นคงของน้ำภาคการผลิต (เกษตรและอุตสาหกรรม) วงเงินปรับแผน ๔,๑๘๓.๓๓ ล้านบาท พื้นท่เี กษตรไดร้ ับประโยชน์เพ่ิมขึ้น ๓๕,๒๖๔ ไร่ ปริมาตรการเก็บกักน้ำ เพ่มิ ขึ้น ๑๕.๔๑ ลา้ นลูกบาศก์เมตร และครัวเรือนได้รบั ประโยชน์เพ่มิ ขนึ้ ๒๔,๕๒๖ ครัวเรือน - แผนแม่บทด้านที่ ๓ การจัดการน้ำท่วมและอุทกภัย วงเงินปรับแผน ๒,๒๕๕.๘๔ ล้านบาท เพิม่ พ้นื ท่ีป้องกันตล่งิ จำนวน ๖๔๑ เมตร และพนื้ ท่ีไดร้ ับการปอ้ งกนั และลดผลกระทบ ลดลง ๘๙๐ ไร่ - แผนแม่บทด้านท่ี ๔ การจัดการคุณภาพน้ำและอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำ วงเงินปรับแผน ๑๒.๑๙ ล้านบาท เพมิ่ พนื้ ที่ปอ้ งกันระดับความเค็ม ๓๙,๘๑๕ ไร่ - แผนแม่บทด้านท่ี ๖ การบริหารจัดการ วงเงินปรับแผน ๓๓.๐๓ ล้านบาท ไม่กระทบ ตัวชว้ี ดั สรุปการขอรับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายโครงการเพิ่มแหล่งเก็บกักน้ำและเพ่ิมน้ำต้นทุน เพื่อบรรเทาปัญหาภัยแล้งและรองรับปริมาณน้ำในฤดูฝน พ.ศ.๒๕๖๒ (งบกลาง) วงเงิน ๑,๒๒๖.๐๕๐๕ ล้านบาท จำนวน ๑๔๔ โครงการ ปริมาณน้ำเพ่ิม ๒๘.๑๒ ล้านลูกบาศก์เมตร พ้ืนที่รับประโยชน์ ๒๑๔,๙๔๐ ไร่ ครัวเรือนรับประโยชน์ ๘๕,๔๗๔ ครัวเรือน ปัจจุบันสำนักงบประมาณจัดสรรงบประมาณให้แล้ว ๑,๐๗๗.๔๗๗๘ ล้านบาท จำนวน ๑๓๙ โครงการ ปริมาณน้ำเพิ่ม ๒๗.๑๑ ล้านลูกบาศก์เมตร พ้ืนท่ีรับประโยชน์ ๒๐๗,๖๑๕ ไร่ ครัวเรือนรับประโยชน์ ๘๔,๖๖๕ ครัวเรือน หน่วยงานที่ได้รับจัดสรรงบกลางสูงสุด คือ กรมชลประทาน 516.16 ล้านบาท รองลงมา คือ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 140.72 ล้านบาท และ กรมทรัพยากรนำ้ บาดาล 42.25 ล้านบาท ตามลำดับ สรปุ การ... 25

- ๑๙ - สรุปการขอรับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายโครงการแก้ไขปัญ หาการระบายน้ำพ้ืนท่ี กรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และพื้นท่ีเช่ือมโยงระยะเร่งด่วน ปี 2562 เพิ่มเติม (งบกลาง) วงเงิน 153.9435 ลา้ นบาท จำนวน 32 โครงการ ปจั จุบันสำนักงบประมาณจัดสรรงบประมาณให้แล้ว 77.2415 ล้านบาท จำนวน 9 โครงการ หน่วยงานที่ได้รับจัดสรรงบกลาง ได้แก่ กรมชลประทาน กรมทางหลวง และ กรมเจา้ ท่า (2) แผนปฏิบัติการภายใต้แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ฝ่ายเลขานุการ กนช. ได้นำเรียนที่ประชุมวา่ เมื่อวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๖๒ ท่ีประชุม กนช. ครั้งท่ี ๑/25๖๒ ได้รับทราบ (ร่าง) แผนปฏิบัติการภายใต้แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและ ผลการจัดทำงบประมาณรายจ่ายแผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ (เดิม) ประกอบด้วย ๒๗ หน่วยงาน จำนวน ๓๐,๓๘๑ โครงการ วงเงินรวม ๒๕๑,๗๓๒.๓๑๘๑ ล้านบาท และ เมื่อวันท่ี ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๖๒ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบการปรับปรุงปฏิทินงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ และหลักเกณฑป์ รบั ปรุงคำขอตัง้ งบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ สำนกั งานทรพั ยากรน้ำแหง่ ชาติ รวบรวมแผนงบประมาณด้านน้ำทหี่ น่วยงานปรับปรงุ คำขอ เพ่ิมเตมิ จากทอ่ี นุมตั ิไว้เดิม โดยสามารถสรุปเป็น แผนงานบูรณาการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรนำ้ ปี 2563 (ใหม่) จำนวน ๑๗,๒๘๓ รายการ วงเงนิ ๑๗๙,๘๖๖.๕๐๒๓ ล้านบาท โดยมี ๙ หน่วยงาน ทเี่ สนอปรบั ปรุงแผนงาน เพ่ิมเติมจากแผนงานเดิม ๖๙๖ รายการ วงเงิน ๑๕,๕๐๗.๖๒๓๒ ล้านบาท คิดเป็นวงเงินที่เพ่ิมขึ้นจากแผนงานเดิม ที่คณะกรรมการฯ ได้เคยอนุมัติไว้เม่ือวันท่ี ๓๑ มกราคม ๒๕๖๒ เป็นเงิน ๑๓,๘๗๐.๔๓๑๓ ล้านบาท แบ่งออกเป็น เพ่ิมวงเงินรวม ๑๓,๘๗๐.๔๓๑๓ ล้านบาท และได้พิจารณาแผนงานท่ีเพ่ิมเติม ตามหลักเกณฑ์ การพจิ ารณาจัดลำดับความสำคญั และเกณฑ์การคัดเลือกโครงการ ท่ีคณะกรรมการฯ เห็นชอบแล้ว จาก ๖๙๖ รายการ สามารถสรุปผลการพิจารณาความเหมาะสมแผนงานตามหลักเกณฑ์ฯ เป็นโครงการที่มีความพร้อม ๕๒๕ รายการ วงเงินทั้งโครงการ ๑๓,๐๒๑.๓๑๕๕ ล้านบาท (ประเมินได้ว่ามีแผนงานที่ซ้ำซ้อนภารกิจ ๑๓ รายการ วงเงิน ๒๑๖.๒๓๓๖ ล้านบาท และเป็นแผนงานท่ีคาดว่าเข้าข่ายลักษณะงานถ่ายโอน ๒๑๙ รายการ วงเงิน ๒,๑๓๑.๐๖๖๕ ล้านบาท โดยในแผนงานท่ีมีความพร้อมนี้ เป็นโครงการ Quick Win โครงการ พระราชดำริและโครงการตามนโยบาย รวม ๑๗๔ รายการ วงเงินทั้งโครงการ ๔,๕๕๕.๑๔๖๒ ล้านบาท) และได้นำเรียนรองนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ) และส่งสำนักงบประมาณแล้วเม่ือวันที่ ๓ กนั ยายน ๒๕๖๒ ผลสัมฤทธ์ิแผนงานบูรณาการการบรหิ ารจดั การทรัพยากรน้ำ ปี ๒๕๖๓ วงเงิน ๑๗๙,๘๖๗ ลา้ นบาท ประกอบด้วย แผนแม่บทด้านที่ ๑ การจดั การน้ำอุปโภคบริโภค วงเงนิ ๖,๐๘๑ ล้านบาท ครวั เรือน นอกเขต กรุงเทพมหานครเข้าถึงน้ำประปา ๒๒๑,๙๑๙ ครัวเรือน แผนแม่บทด้านท่ี ๒ การสร้างความมั่นคง ของน้ำภาคการผลิต วงเงิน ๑๐๘,๕๒๕ ล้านบาท พื้นที่รับประโยชน์ ๙๙๖,๙๙๒ ไร่ ความจุ ๕๕๐.๘๕๘๖ ล้านลูกบาศก์เมตร รับประโยชน์ ๑๕๗,๓๒๖ ครัวเรือน แผนแม่บทด้านท่ี ๓ การจัดการน้ำท่วมและอุทกภัย วงเงิน ๕๘,๐๘๖ ล้านบาท พ้ืนที่ผลกระทบลดลง ๒,๔๗๗,๖๗๖ ไร่ เพิ่มประสิทธิภาพระบายน้ำ ๑๔๖ ร่องน้ำ ป้องกันตล่ิง ๒๐๒,๔๒๓ เมตร แผนแม่บทด้านที่ ๔ การจัดการคุณภาพน้ำ วงเงิน ๑,๙๑๒ ล้านบาท แหล่งน้ำ ธรรมชาติได้รับการฟื้นฟูพื้นที่ได้รับการพัฒนาเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการน้ำเสีย ๑๙๖ แห่ง แผนแม่บทด้านท่ี ๕ การอนุรักษ์ ฟื้นฟูสภาพป่าต้นน้ำที่เส่ือมโทรม และป้องกันการพังทลายของดิน วงเงิน ๑,๐๖๖ ล้านบาท พ้ืนท่ีป่า ได้รับการปลูกฟ้ืนฟูและปกป้องการชะล้างการพังทลายของดินในพื้นที่ต้นน้ำ ๑,๑๐๑,๘๐๐ ไร่ แผนแม่บท ดา้ นท่ี ๖ การบรหิ ารจัดการ วงเงิน ๔,๑๙๗ ล้านบาท มแี ผนการบริหารจัดการทรัพยากรนำ้ อยา่ งสมดุล จากการ... 26

- ๒๐ - จากการปรับปรุงเพิ่มเติมแผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ รวมท้ังเพิ่มเติม แผนงาน function และแผนงาน Area บางส่วน ทำให้ปัจจุบันสามารถรวบรวม และสรุปเป็นแผนปฏิบัติการ ภายใต้แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ประกอบด้วย ๒๘ หน่วยงาน จำนวน ๕๗,๙๗๕ โครงการ วงเงินรวม ๓๑๑,๔๒๙.๓๓๘๕ ล้านบาท เป็นงบพ้ืนฐานและแผนยุทธศาสตร์ (function) ๓๖,๑๑๑.๘๔๐๘ ล้านบาท งบบูรณาการ (Agenda) ๑๘๕,๐๒๐.๘๓๗๒ ล้านบาท เป็นส่วน ของบูรณาการน้ำ ๑๗๙,๘๖๖.๕๐๒๓ ล้านบาท / ในส่วนของบูรณาการอื่นๆ ๕,๑๕๔.๓๓๔๙ ล้านบาท และ งบบรู ณาการภาค (Area) ๙๐,๒๙๖.๖๖๐๖ ลา้ นบาท ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ (นายภูมิรักษ์ ชมแสง รองผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ) กรรมการ มีข้อเสนอว่า การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ โดยเฉพาะในปี พ.ศ. 2563 ขอให้สำนักงานทรัพยากรน้ำ แห่งชาติช่วยกำหนดแนวทางและข้ันตอนเก่ียวกับแผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ทั้งเรื่อง การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ หรือเร่ืองอื่น ๆ ให้ชัดเจนและสอดคล้องกับระเบียบบริหารงบประมาณ เพอื่ ให้หน่วยงานปฏิบตั สิ ามารถดำเนินการได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ รวดเรว็ และทนั ตอ่ สถานการณ์ มตทิ ป่ี ระชุม 1. รับทราบผลการดำเนินงานตามแผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2562 และผลการปรับปรุงแผนงบประมาณรายจ่ายแผนงานบูรณาการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ำ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 2. เห็นชอบแผนปฏิบัติการภายใต้แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 ประธานมีข้อสั่งการ ให้สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติรับข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ของที่ประชมุ ไปดำเนนิ การ วาระที่ 4.3 ร่าง กฎหมายลำดบั รองซึ่งออกตามความในพระราชบัญญัตทิ รัพยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๑ ฝ่ายเลขานุการ กนช. ได้นำเรียนที่ประชุมว่า ตามพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา 17 ได้กำหนดให้มีรัฐมนตรีผู้รักษาการตามกฎหมาย 4 คน ซ่ึงมีหน้าท่ีและอำนาจในการจัดทำ กฎหมายลำดับรองในมาตราท่ีเกี่ยวข้อง ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม และรฐั มนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ภายหลังท่ีพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๑ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันที่ 28 มกราคม 2561 กนช. จึงได้แตง่ ตั้งคณะอนุกรรมการพิจารณากลั่นกรองขอ้ กฎหมายเกี่ยวกับทรพั ยากรน้ำ เพื่อพจิ ารณา กฎหมายลำดับรองและเสนอ กนช.ให้ความเห็นชอบก่อนเสนอคณะรัฐมนตรี โดยสำนักงานทรัพยากรน้ำ แห่งชาติ ได้จัดทำและยกร่างกฎหมายลำดับรองเฉพาะมาตราเร่งด่วนให้คณะอนุกรรมการฯ พิจารณา จำนวน 23 ฉบับ ซ่ึงเห็นชอบในหลักการตามท่ีสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติเสนอ เม่ือวันที่ 6 สิงหาคม 2562 ประกอบด้วย (๑) กฎกระทรวง ออกโดยนายกรัฐมนตรี โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี จำนวน 7 ฉบับ (๒) ระเบียบและประกาศ ออกโดยนายกรัฐมนตรี จำนวน 6 ฉบับ (๓) ระเบียบและประกาศ ออกโดย กนช. จำนวน ๗ ฉบับ (๔) ระเบียบท่ีออกโดยหน่วยงานของรัฐหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่นายกรัฐมนตรี มอบหมาย จำนวน 1 ฉบบั และ (๕) ประกาศทอี่ อกโดยคณะกรรมการลุ่มน้ำ จำนวน 2 ฉบบั มติท่ีประชมุ 1. รับทราบความก้าวหน้าการจัดทำกฎหมายลำดับรอง ซึ่งออกตามความในพระราชบัญญัติ ทรพั ยากรนำ้ พ.ศ. 2561 2. เห็นชอบร่างกฎหมายลำดับรองฯ ที่เสนอ เพื่อจะได้ดำเนินการตามระเบียบและหลักเกณฑ์ ในลำดบั ถดั ไป วาระท่ี 4.4... 27

- ๒๑ - วาระที่ 4.4 การเข้าเป็นสมาชกิ สภานำ้ แห่งเอเชีย (Asia Water Council: AWC) ฝ่ายเลขานุการ กนช. ได้นำเรียนท่ีประชุมว่า AWC ก่อตั้งเมื่อปี 2558 เป็นองค์กรด้านน้ำ ท่ีไม่แสวงผลกำไรที่ใหญ่ท่ีสุดในภูมิภาคเอเชีย และเป็นเครือข่ายของสภาน้ำโลก โครงสร้างการบริหาร มีประธานจาก K-water และมีคณะกรรมการด้านวิชาการ 6 ด้าน สมาชิกประกอบไปด้วยองค์กร สถาบันการศึกษา 110 แห่ง หน่วยงานรัฐ 18 แห่ง และองค์กรนานาชาติ 22 แห่ง ที่ผ่านมาสำนักงาน ทรัพยากรน้ำแห่งชาติได้ร่วมเป็นเจ้าภาพจัดประชุม Board of Council คร้ังท่ี 6 ณ กรุงเทพมหานคร และ เขา้ รว่ ม Board of Council ครงั้ ที่ 8 ณ กรงุ โซล และได้รบั เลือกเป็นทีป่ รกึ ษากติ ตศิ ักดิ์ ดงั นัน้ การเข้ารว่ มเป็นสมาชกิ AWC ประเทศไทยมีโอกาสไดร้ ับการสนับสนุนในดา้ นงานวจิ ัย องค์ความรู้และนวัตกรรม มีการแลกเปลย่ี นเชิง นโยบายการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ การเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการด้านวิชาการและกิจกรรมทางวิชาการ และมีเครือข่ายภาคีด้านน้ำของประเทศไทยในระดับภูมิภาค แต่เนื่องจากมีข้อผูกพันด้านงบประมาณ ท่ีต้องจ่ายค่าบำรุงสมาชิก ปีละ 3,000 ดอลล่าสหรัฐ สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติจึงเสนอ กนช. ให้ความเห็นชอบการเข้าร่วมเป็นสมาชิกสภาน้ำแห่งเอเชีย (Asia Water Council : AWC) ก่อนเสนอ คณะรฐั มนตรีพจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบต่อไป มติท่ีประชุม เห็นชอบในหลักการในการเข้าร่วมเป็นสมาชิกสภาน้ำแห่งเอเชีย (Asia Water Council : AWC) เพือ่ ท่ี สำนักงานทรพั ยากรนำ้ แห่งชาติ จะได้นำเสนอคณะรัฐมนตรพี จิ ารณาตอ่ ไป วาระที่ 4.5 หน้าที่และอำนาจของคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติตามพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๑ และการใหค้ วามเห็นด้านการบรหิ ารจัดการทรัพยากรนำ้ ตอ่ คณะรฐั มนตรี ฝ่ายเลขานุการ กนช. ได้นำเรียนท่ีประชุมว่า สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติในฐานะ ฝ่ายเลขานุการ กนช. ได้ให้ความเห็นและข้อเสนอแนะในด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ เพื่อประกอบการ พิจารณาของคณะรัฐมนตรี ในปี พ.ศ. 2561-2562 จำนวนทั้งสิ้น 43 เร่ือง และสืบเนื่องจากพระราชบัญญัติ ทรพั ยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา 17 กำหนดให้ กนช. มหี น้าท่ีและอำนาจ 17 ข้อ สรุปได้ดังน้ี (1) ดา้ นนโยบาย : จัดทำนโยบายและแผนแม่บทเกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำท่ีสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ เพ่ือเสนอ คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบ (2) ด้านการพิจารณาและให้ความเห็นชอบ : แผนปฏิบัติการของหน่วยงาน ของรัฐ/ท้องถิ่น แผนงบประมาณการบริหารทรัพยากรน้ำแบบบูรณาการ แผนแม่บทการบริหารจัดการ ทรพั ยากรน้ำระดบั ลุม่ นำ้ ผังน้ำ แผนป้องกันและแก้ไขภาวะน้ำแลง้ และน้ำท่วม การอนุญาตการใชน้ ้ำ การผนั น้ำ ระหว่างลุ่มน้ำ/การผันน้ำจากแหล่งน้ำระหว่างประเทศหรือแหล่งน้ำต่างประเทศ (3) ด้านการเสนอแนะและ ให้ความเห็น : เสนอแนะหรือมอบหมายแนวทางแก่หน่วยงานของรฐั และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในการบังคับ ใช้กฎหมายที่เกี่ยวกับการบริหารทรพั ยากรน้ำ การเสนอคณะรัฐมนตรพี ิจารณาแก้ไขปัญหาจากการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานของรัฐและองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ตา่ ง ๆ ตามกฎหมาย ระเบยี บ ของหน่วยงาน การตรากฎหมาย/ แก้ไข/กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือข้อบัญญัติท้องถ่ินท่ีเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรน้ำ (4) ด้านการกำหนด มาตรการ : การกำหนดกรอบ หลักเกณฑ์ และแนวทางการปฏิบัติงาน การบูรณาการข้อมูลด้านน้ำของหน่วยงาน ของรัฐ/ท้องถิ่น ท่ีเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในด้านการใช้ การพัฒนา การบริหารจัดการ การบำรุงรักษา การฟื้นฟู การอนุรักษ์ และการดำเนินการอื่นใดเก่ียวกับทรัพยากรน้ำ และ (5) ด้านการบริหารจัดการ : กำกับ ดูแล เรง่ รัด ตรวจสอบ ติดตาม และให้คำแนะนำแกห่ น่วยงานของรัฐ/องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในการดำเนินการ ตามนโยบาย/แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ/แผนปฏิบัติการและแผนงบประมาณ/การไกล่เกลี่ย และชขี้ าด... 28

- ๒๒ - และช้ีขาดข้อพิพาทระหว่างคณะกรรมการลุ่มน้ำ เพ่ือให้หน้าท่ีและอำนาจของ กนช. เป็นไปตามพระราชบัญญัติ ทรัพยากรน้ำ พ.ศ. 2561 ในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ มีประสิทธิภาพมากขึ้น และลดขั้นตอนการ ดำเนินงานการเสนอความเห็นต่อคณะรัฐมนตรี กำหนดแนวทางการให้ความเห็นแผนงานโครงการของหน่วยงาน ทเ่ี สนอตอ่ คณะรฐั มนตรี 2 แนวทาง คอื (1) เรอื่ งทีต่ อ้ งเสนอท่ีประชุม กนช. (2) การให้ความเห็นต่อคณะรฐั มนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (นายวราวุธ ศิลปอาชา) กรรมการ ให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเก่ียวกับงบประมาณด้านแหล่งน้ำ ซ่ึงตามมติของคณะกรรมการกระจาย อำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน กำหนดให้ส่วนราชการถ่ายโอนภารกิจด้านแหล่งน้ำที่มีปริมาตรเก็บกักน้ำ น้อยกว่า 2 ล้านลูกบาศก์เมตร ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) ที่ผ่านมามี อปท. หลายแห่งให้ข้อมูลว่า ยังไม่มีศักยภาพเพียงพอท่ีจะดำเนินการ หรือมีข้อจำกัดทางเทคนิคท่ีทำให้ไม่สามารถดำเนินการได้ จึงขอให้ สำนักงานทรพั ยากรน้ำแห่งชาติชว่ ยหาวธิ ีดำเนนิ การแก้ไขดว้ ย อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน (นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ) กรรมการ ได้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า การบริหารจัดการน้ำท่ีเป็นแหล่งน้ำขนาดเล็กซึ่งถ่ายโอนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน โดยกรมส่งเสริม การปกครองท้องถ่ินได้รับการร้องของบประมาณจากองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท้ัง 76 จังหวัด เพ่ือนำไป ปรับปรุงพัฒนาแหล่งน้ำตามแผนพัฒนาแหล่งน้ำ 5 ปี จำนวน 25,876 โครงการ วงเงินงบประมาณรวมกว่า 126,000 ล้านบาท โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน 7,851 แห่ง ท่ีมีความพร้อมในปีงบประมาณต่างๆ ตามแผนพัฒนาแหล่งน้ำ 5 ปี และได้ส่งคำขอดังกล่าวให้กับสำนักงบประมาณ และสำนักงานทรัพยากรน้ำ แห่งชาติด้วยแล้ว ซ่ึงสามารถใช้ประโยชน์จากแผนพัฒนาแหล่งน้ำ 5 ปี ในการจัดทำงบประมาณแบบบูรณาการ และพิจารณาจดั สรรงบประมาณให้ตรงกับความต้องการและความพร้อมของท้องถ่ิน ประธานมีข้อส่ังการ จากประเด็นดังกล่าว ให้สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติต้ังคณะทำงาน พจิ ารณาตอ่ ไป มตทิ ่ปี ระชมุ 1. รับทราบการให้ความเหน็ ด้านการบรหิ ารจัดการทรัพยากรน้ำต่อคณะรฐั มนตรี ปี 2561-2562 2. เห็นชอบ เพอ่ื ใหห้ น้าทแี่ ละอำนาจของ กนช. เปน็ ไปตามพระราชบัญญัติทรพั ยากรน้ำ พ.ศ. 2561 ในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน และลดข้ันตอน การดำเนินงานการเสนอความเห็น ตอ่ คณะรฐั มนตรี ดังนี้ (๑) เร่ืองทตี่ อ้ งเสนอทปี่ ระชุม กนช. หน่วยงานเสนอแผนงาน/โครงการเก่ียวกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำท่ีมีวงเงิน งบประมาณเกิน ๑,๐๐๐ ล้านบาท และโครงการสำคัญท่ีต้องมีการบูรณาการ ให้ กนช. พิจารณาเห็นชอบก่อน นำเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณา (๒) การใหค้ วามเห็นต่อคณะรัฐมนตรี (๒.๑) แผนงาน/โครงการเกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำที่นอกเหนือจาก แผนงบประมาณประจำปีท่ีหน่วยงานต้องเร่งดำเนินการ ให้สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติในฐานะฝ่ายเลขานุการ กนช. เสนอประธาน กนช. พจิ ารณาและลงนามในหนังสือถึงเลขาธิการคณะรฐั มนตรี และนำรายงาน กนช. ทราบ (๒.๒) เรื่องอื่น ๆ ท่ีไม่เข้าข่ายตามข้อ ๒.๑ ให้สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติในฐานะ ฝา่ ยเลขานกุ าร กนช. เสนอความเหน็ ถงึ เลขาธิการคณะรฐั มนตรีแล้วรายงานใหป้ ระธาน กนช. และ กนช. ทราบต่อไป ระเบยี บวาระท่ี 5... 29

- ๒๓ - ระเบียบวาระท่ี 5 เรอื่ งอนื่ ๆ - ไมม่ ี - ประธานมีข้อส่งั การเพิ่มเติม ดังนี้ 1. เร่ืองสถานการณ์น้ำ ขอให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ ร่วมกันบริหารจัดการน้ำ เฝ้าติดตามและประเมินสถานการณ์ อย่างใกล้ชิด พร้อมประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรับทราบถึงสถานการณ์น้ำ และเร่งช่วยเหลือผู้ประสบภัย ซึ่งนายกรฐั มนตรีหว่ งใยสวัสดิภาพและความปลอดภยั ของพี่น้องประชาชนเปน็ อยา่ งมาก 2. ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องหาวิธีเก็บกักน้ำสำรองไว้ใช้ในฤดูแล้ง เพราะมีหลายพื้นท่ีท่ียังประสบ ปัญหาภาวะนำ้ แลง้ จากฝนทง้ิ ช่วงอยู่ 3. โครงการขนาดใหญ่ท่ีเสนอ ขอให้หน่วยงานต้องทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นท่ี ให้รับรู้ ถึงประโยชน์ของโครงการที่ประชาชนจะไดร้ ับ เพอ่ื ลดผลกระทบทจี่ ะเกิดขึ้น 4. โครงการท่ีได้รับความเห็นชอบจาก กนช. ไปแล้ว ให้เร่งดำเนินงานให้เป็นไปตามกรอบแผนงาน ท่ีตัง้ ไว้ มตทิ ่ปี ระชุม รบั ทราบ และใหห้ น่วยงานที่เกี่ยวขอ้ งรับขอ้ ส่ังการของประธานไปดำเนนิ การ ปิดประชุมเวลา 12.30 น. (นางสาวฐิติชญาน์ ศลิ ปเสถยี รกิจ) ผู้อำนวยการกลุ่มบรหิ ารการประชุม คณะกรรมการทรัพยากรนำ้ แห่งชาติ ผจู้ ดรายงานการประชุม (นางสาวยุพเยาว์ จันทร์เทศ) ผู้อำนวยการสำนกั งานเลขานุการ คณะกรรมการทรัพยากรน้ำแหง่ ชาติ ผูต้ รวจรายงานการประชุม 30

ระเบยี บวาระที่ ๓ เร่ืองเพื่อทราบ วาระท่ี ๓.๑ ผลการดาํ เนนิ งานของคณะอนกุ รรมการภายใตคณะกรรมการทรพั ยากรน้ํา แหงชาติ 3.1.1 คณะอนกุ รรมการอาํ นวยการดา นการบรหิ ารจัดการทรัพยากรนา้ํ 31

ระเบยี บวาระที่ 3 เร่อื งเพื่อทราบ วาระที่ 3.1 ผลการดำเนินงานของคณะอนกุ รรมการภายใตค้ ณะกรรมการทรพั ยากรน้ำแห่งชาติ ๑. เรื่องเดมิ สืบเนื่องจากการประชุมคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ ครั้งที่ 2/2562 เมื่อวันท่ี 12 กันยายน 2562 มีรองนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ) เป็นประธานการประชุม ได้รับทราบ การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ 3 ด้าน ภายใต้คณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (กนช.) ตามพระราชบัญญัติ ทรพั ยากรน้ำ พ.ศ. 2561 ได้แก่ ด้านการบรหิ ารจดั การทรัพยากรน้ำ ดา้ นเทคนิคและวิชาการ และด้านการพัฒนา และอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำ ในการช่วยเหลือการปฏิบัติหน้าท่ีของคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ และ ประธานมีข้อสั่งการให้คณะอนุกรรมการทุกคณะเร่งรัดดำเนินการประชุม เพื่อบริหารจัดการทรัพยากรน้ำให้บรรลุ ตามวตั ถุประสงค์ 2. เหตผุ ลและความจำเป็นทีต่ อ้ งเสนอคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแหง่ ชาติ เพื่อให้ กนช. ได้รับทราบผลการดำเนินงานของคณะอนุกรรมการ ทั้ง 3 ด้าน และเพื่อให้ ประธาน กนช. พจิ ารณาส่ังการ หรือดำเนินการตามที่เหน็ สมควร 3. ระเบียบ ข้อกฎหมาย หรือคำส่ังท่ีเกยี่ วขอ้ ง พระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. 2561 มาตรา 17 (4) ให้คณะกรรมการทรัพยากรน้ำ แห่งชาติ มีหน้าที่และอำนาจในการกำกับ ดูแล เร่งรัด ตรวจสอบ ติดตาม และให้คำแนะนำแก่หน่วยงาน ของรัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการดำเนินการตามนโยบาย และแผนแม่บท รวมทั้งแผนปฏิบัติการ และแผนงบประมาณ และรายงานให้คณะรฐั มนตรีทราบทุกสนิ้ ปงี บประมาณ 4. ขอ้ เทจ็ จรงิ /สาระสำคัญ ฝ่ายเลขานุการ กนช. ขอรายงานผลการการประชุมของคณะอนุกรรมการ โดยมีรายละเอียด ตามวาระ ดังน้ี 3.1.1 คณะอนกุ รรมการอำนวยการดา้ นการบริหารจดั การทรพั ยากรน้ำ 3.1.2 คณะอนกุ รรมการพิจารณา กลน่ั กรอง กฎหมายด้านการบริหารจดั การทรพั ยากรนำ้ 3.1.3 คณะอนุกรรมการขบั เคล่ือนแผนแมบ่ ทการบรหิ ารจัดการทรัพยากรนำ้ 3.1.4 คณะอนกุ รรมการขับเคล่อื นโครงการขนาดใหญแ่ ละโครงการสำคญั 3.1.5 คณะอนุกรรมการจัดทำหลักเกณฑ์และมาตรฐานการบริหารจดั การทรัพยากรนำ้ 3.1.6 คณะอนุกรรมการพัฒนาเทคโนโลยี นวตั กรรมการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ และผงั น้ำ 32

ระเบียบวาระท่ี 3 เร่ืองเพื่อทราบ วาระท่ี 3.1 รายงานผลการดา้ เนนิ งานคณะอนกุ รรมการภายใตค้ ณะกรรมการทรัพยากรน้าแห่งชาติ (ตอ่ ) 3.1.1 คณะอนุกรรมการอ้านวยการดา้ นการบรหิ ารจัดการทรัพยากรนา้ 1. เรอ่ื งเดิม ๑. คณ ะรัฐมนตรีมี มติ ในการประชุ มเมื่ อวันท่ี ๓ กั นยายน ๒๕๖๒ มอบหมายให้ กระทรวงมหาดไทยร่วมกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงการคลัง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อม ส้านักงานทรัพยากรน้าแห่งชาติ และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง พิจารณาก้าหนดแนวทางในการระบายน้า และกักเก็บน้าในช่วงฤดูฝน เพ่ือแก้ไขปัญหาน้าท่วมและสามารถเก็บกักน้าไว้ใช้ประโยชน์ได้ในฤดูแล้ง โดยให้ พิจารณาพนื ท่ที ่ีเหมาะสมเป็นพนื ที่นา้ ร่องในการด้าเนินการ ๒. คณะรัฐมนตรีมีมติในการประชุมเม่ือวันที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๖๒ มอบหมายให้ส้านักงาน ทรัพยากรน้าแห่งชาติ และกระทรวงมหาดไทย (กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) ร่วมกับกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ (กรมชลประทาน) กระทรวงการคลัง ส้านักงบประมาณ และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเร่งพิจารณาก้าหนดพืนที่ ของประชาชนท่ีเป็นบริเวณน้าท่วมซ้าซากท่ีเหมาะสมเป็นพืนที่รับน้า (แก้มลิง) และกักเก็บน้าในช่วงฤดูฝน เพื่อแก้ไขปัญหาน้าทว่ มและเก็บน้าไวใ้ ชป้ ระโยชน์ในฤดูแล้งให้เหมาะสมและชัดเจนโดยเรว็ 3. คณะรัฐมนตรีมีมติในการประชุมเม่ือวันที่ 29 ตุลาคม ๒๕๖๒ มอบหมายให้กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ (กรมชลประทาน กรมประมง) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (กรมทรัพยากรน้า กรมทรัพยากรน้าบาดาล) กระทรวงคมนาคม (กรมทางหลวง กรมทางหลวงชนบท) ร่วมกับกระทรวงมหาดไทย (กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การประปาส่วนภูมิภาค) พิจารณาด้าเนินการ ตามมาตรการรับมือและการติดตามสถานการณ์น้า ในพืนท่ีเส่ียงภัยแล้งปี 2562/63 และพืนท่ีเส่ียงอุทกภัย ภาคใต้ ปี 2562 2. ขอ้ เท็จจริง สา้ นักงานทรพั ยากรน้าแห่งชาติ ไดร้ ว่ มบรู ณาการดา้ เนินงานกบั หน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง และจัดประชุม คณะอนุกรรมการอ้านวยการด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้า ครังท่ี 2/๒๕๖๒ เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2562 รองนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ) ประธานอนุกรรมการอ้านวยการด้านการบริหารจัดการ ทรัพยากรนา้ เป็นประธานการประชุม ผลการประชุมสรุปดังนี 2.1 รายงานสถานการณน์ า้ ปัจจบุ นั สภาพฝน (ขอ้ มูล ณ วันท่ี 12 ธ.ค. 62) ประเทศไทยตอนบนอุณหภูมจิ ะสูงขึน 1-2 องศาเซลเซยี ส แต่ยังคงมีอากาศหนาวเย็นโดยท่วั ไป ส่วนตอนกลางวันท้องฟ้าโปร่งและมีแดดจัด บริเวณพืนราบในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีอากาศเย็นถึง หนาว อุณหภูมิต่้าสุด 9-18 องศาเซลเซียส ส่วนยอดดอยและยอดภู มีอากาศหนาวถึงหนาวจัดกับมีน้าค้างแข็งบาง พืนท่ี อุณหภูมิต่้าสุด 1-10 องศาเซลเซียส ส้าหรับภาคกลาง ภาคตะวันออก รวมทังกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีอากาศเยน็ อุณหภูมิตา่้ สดุ 17-22 องศาเซลเซยี ส สรุปสถานการณน์ า้ ในอ่างเก็บน้า (ข้อมลู ณ วันที่ 12 ธ.ค. 62) สถานการณ์น้าทั่วประเทศ ปริมาณน้าทังประเทศ 51,364 (63%) ภาคเหนือ 12,869 (46%) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 7,288 (56%) ภาคกลาง 644 (32%) ภาคตะวันตก 23,500 (83%) ภาคตะวนั ออก 1,801 (58%) ภาคใต้ 5,262 (67%) 33

ปริมาณน้าในอ่างเก็บน้าขนาดใหญ่ 38 แห่ง มีปริมาณน้า 45,790 ล้าน ลบ.ม. อ่างเก็บน้า ขนาดกลาง 354 แห่ง มีปริมาณน้า 3,233 ล้าน ลบ.ม. อา่ งเกบ็ น้าขนาดเล็ก 141,097 แห่ง มีปริมาณน้า 2,341 ล้าน ลบ.ม. แหล่งน้าขนาดใหญ่และขนาดกลางรวมทังประเทศ < 30% ขนาดกลาง 72 แห่ง ขนาดใหญ่ 9 แห่ง 80-100 % ขนาดกลาง 73 แห่ง ขนาดใหญ่ 5 แห่ง และ >100 % ขนาดกลาง 12 แหง่ การคาดการณป์ รมิ าณฝน 3 เดือน การคาดการณ์ฝนในเดือนธันวาคม ภาคใต้ มปี ริมาณฝน น้อยว่าคา่ ปกติ 20 % สว่ นภาคอนื่ ๆ ใกล้เคียงกับค่าปกติ ในเดือนมกราคม ภาคตะวนั ออก มีปริมาณฝนน้อยว่าค่าปกติ 20 % ส่วนภาคอื่นๆใกล้เคียงกับ ค่าปกติ และในเดอื นกุมภาพันธ์ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื และตะวนั ออก มปี ริมาณฝนใกล้เคียงค่าปกติ สว่ นภาคอนื่ ๆ น้อยวา่ ค่าปกติ 20-50 % 2.2 การดา้ เนนิ การตามมตคิ ณะรัฐมนตรวี ันท่ี ๓ และ ๑๐ กนั ยายน 2562 มปี ระเดน็ สา้ คญั 3 ประเด็น ประกอบด้วย 1) กา้ หนดแนวทางในการระบายน้าและกักเก็บน้าในชว่ งฤดูฝน 2) พิจารณาพืนท่ีลุ่มต้่าเป็นพืนที่น้าร่องในการเก็บน้าไว้ใช้ประโยชน์ในฤดูแล้งตาม เป้าหมายในแผนแมบ่ ทการบริหารจดั การทรัพยากรน้า 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) 3) การพจิ ารณาในการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ระเบียบ หรอื มตคิ ณะรฐั มนตรีที่เก่ยี วข้อง โดยสรปุ ผลการติดตามการด้าเนนิ งานเปน็ รายหนว่ ยงานไดด้ ังนี กรมชลประทาน 1) ติดตามและเฝ้าระวังสถานการณ์น้าอย่างใกล้ชิด โดยโครงการชลประทานทุกแห่งใน พืนท่ีภาคใต้เร่งระบายน้าออกจากพืนที่น้าท่วมขังให้เร็วท่ีสุด รวมถึงอาคารบังคับน้าและระบบชลประทาน ให้ สามารถรองรับสถานการณ์น้าอยา่ งเต็มศักยภาพ 2) บริหารจัดการปริมาณน้าในอ่างเก็บน้า ให้อยู่ในเกณฑ์ควบคุมอย่างเคร่งครัดและปรับ การระบายนา้ ให้เหมาะสม 3) เตรียมความพร้อมด้านก้าลังพล และเคร่ืองจักรเคร่ืองมือในการรับมือสถานการณ์น้า หลากทีอ่ าจจะเกิดขนึ ในพืนทภี่ าคใต้ ในชว่ งเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2562 4) เร่งด้าเนินการตรวจสอบสภาพพนังกันน้า ฝายชะลอน้า และคันกันน้าที่ช้ารุด ที่อยู่ใน กระบวนการวเิ คราะหใ์ ห้แล้วเสร็จ 5) สรา้ งการรบั รู้ การประชาสัมพนั ธ์ ให้ประชาชนในพนื ที่ที่คาดว่าจะประสบเหตุทราบ กรมทรัพยากรน้า 1) การหาแหล่งน้าส้ารอง ปัจจุบันกรมทรัพยากรน้ามีแผนการพัฒนาแหล่งน้าส้ารองทังสิน 146 แหง่ ซ่ึงอยู่ระหว่างด้าเนนิ การคาดว่าจะสามารถชว่ ยกักเก็บนา้ ไว้ได้ 165 ล้าน ลบ.ม. 2) การตรวจสอบพนังกันน้า พบว่ามีพนังกันน้าประมาณ 500 – 600 แห่ง ที่ยังไม่ได้ ดา้ เนินการถ่ายโอนให้กับท้องถ่ิน เน่ืองจากปัญหาการช้ารุดเสียหาย ซ่งึ ทางกรมทรพั ยากรน้าได้ด้าเนินการของบใน ปี 63 ถงึ 65 เพือ่ ซ่อมบ้ารุง และถ่ายโอนใหก้ ับท้องถน่ิ ต่อไป กรมทรัพยากรน้าบาดาล จัดเตรียมรถบริการน้าดื่ม ให้บริการแก่ประชาชนในพืนท่ีประสบภัย ส่วนบ่อบาดาล ให้ ตรวจสอบความพร้อมในการใช้งาน สามารถใช้งานได้ตามปกติในสภาวะนา้ ท่วม 34

2.3 การด้าเนินการตามมติคณะรฐั มนตรี วันท่ี 29 ตลุ าคม 2562 มปี ระเด็นส้าคัญ 3 ประเด็น ประกอบด้วย 1) ผลการดา้ เนินการตามมาตรการรองรับสถานการณ์ภัยแล้งปี 2562/63 (1.1) ด้านน้าตน้ ทุน (Supply) - หน่ วยท่ี รับ ผิดชอบ ล้าน้ า/แห ล่งน้า กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงมหาดไทย (การประปานครหลวง การประปาส่วนภูมิภาค และประปาท้องถ่ิน) จัดท้าแผนส้ารองน้า / แหลง่ นา้ สา้ รอง/ขุดเจาะบอ่ นา้ บาดาลในพนื ทเ่ี สย่ี งขาดแคลนน้าดิบ รวมถึงดงึ นา้ จากแหล่งน้าใกล้เคยี ง - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมฝนหลวงและการบินเกษตร ปฏิบตั ิการเติมนา้ ในพนื ทีเ่ กษตร - หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับด้านบริหารจัดการน้า ก้าหนดปริมาณน้าจัดสรรน้า ในฤดูแล้งให้ชัดเจน และแจง้ กระทรวงมหาดไทยและหน่วยงานทีเ่ กยี่ วข้องรบั ทราบแผน - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และกระทรวงมหาดไทย จัดท้าทะเบียนผู้ใช้น้าจากแหล่งน้า เพ่ือตรวจสอบข้อมูลแหล่งน้าและเป็นข้อมลู ในการ แกไ้ ขปัญหาภยั แลง้ (1.๒) ด้านความตอ้ งการใชน้ า้ (Demand) เพ่ือการอุปโภคบรโิ ภค - ทกุ ภาคสว่ น ควบคุมการใช้น้าของพนื ทีต่ อนบน ให้เป็นไปตามแผน เพือ่ ไม่ให้ เกดิ ผลกระทบการขาดแคลนนา้ ด้านอปุ โภคบรโิ ภคของพนื ทต่ี อนลา่ ง - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย กรมชลประทาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย และการประปานครหลวง ควบคุมการผันน้าจากลุ่มน้าแม่กลอง สู่ลุ่มน้าเจ้าพระยาตอนล่างให้ เปน็ ไปตามแผน เพอ่ื สนับสนนุ การใช้น้าด้านอุปโภคบริโภค เพอ่ื รกั ษาระบบนิเวศ - กระทรวงมหาดไทย (องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม และกระทรวงอุตสาหกรรม เป็นเจ้าภาพในการควบคุมการปล่อยน้าเสียจากภาคอุตสาหกรรม และชมุ ชนลงสูแ่ หล่งน้า เพือ่ ลดปรมิ าณการใช้นา้ ดีไล่นา้ เสยี - กระทรวงมหาดไทย โดยการประปานครหลวง เฝ้าระวังคุณภาพน้าท่ีสถานี สบู นา้ ดบิ ส้าแลอยา่ งใกลช้ ิด - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยกรมประมง ควบคุมและขึนทะเบียนการ เลยี งปลากระชังในแหลง่ น้าและล้านา้ - กระทรวงคมนาคม (กรมทางหลวง และกรมทางหลวงชนบท) และ กระทรวงมหาดไทย (องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ) ส้ารวจ ตรวจสอบ ถนนทเี่ ช่ือมต่อกบั ทางนา้ ในพนื ที่อ่อนไหว ตอ่ การทรดุ ตัวของคันคลองเนื่องจากระดับนา้ ลดต้่ากวา่ ปกติ เพอ่ื การเกษตร - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม วางแผนการเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง จัดท้าทะเบียนผู้ปลูกพืช โดยระบุพืนท่ีเพาะปลูก และแหล่งน้าท่ี นา้ มาใชใ้ ห้ชัดเจน เพื่อใหส้ อดคล้องกับปริมาณน้าต้นทนุ (1.๓) การตดิ ตามประเมนิ ผล 35

- กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ติดตาม ควบคุมการ จัดสรรนา้ ใหเ้ ป็นไปตามแผน - สา้ นกั งานทรัพยากรน้าแห่งชาติ ติดตาม วเิ คราะห์ ประเมนิ สถานการณ์ และ กจิ กรรมการใชน้ ้าอย่างใกล้ชิด - หน่วยงานท่ีรับผิดชอบพืนที่เส่ียงขาดแคลนน้าทุกกิจกรรม ติดตาม เฝ้าระวัง และรายงานเป็นระยะอยา่ งตอ่ เนื่อง ในพืนท่ีเสีย่ งขาดแคลนน้า (1.๔) การเตรียมการและสร้างการรับรู้ โดยส้านักงานทรัพยากรน้าแห่งชาติ ประชาสัมพนั ธ์และสร้างการรับรู้ใหห้ นว่ ยงาน คณะกรรมการลุ่มนา้ และประชาชนทราบ นอกจากนี หน่วยงานได้รายงานผลการด้าเนินการตามมาตรการรองรับสถานการณ์ภัย แล้งปี 2562/63 แยกเป็นรายหน่วยงานได้ดังนี กรมทรัพยากรน้าบาดาล ๑) เตรียมความพร้อมการขุดเจาะบ่อน้าบาดาลรวมทังเครื่องมือ และอุปกรณต์ ่างๆ ๒) พิจารณาขอรับจัดสรรงบกลางเพ่ือแก้ไขปัญหาภัยแล้งทังในเขตและนอกเขต ชลประทาน ๓) เตรียมความพร้อมด้าเนินการปรับปรุงคุณภาพน้าบาดาลเพื่อให้สามารถน้ามาใช้ อปุ โภคบริโภค กรมทรพั ยากรน้า พัฒนาแหล่งน้าพร้อมระบบกระจายน้า เพื่อสนับสนุนกลุ่มเกษตรกรแปลงใหญ่จ้านวน 5,583 แปลง เกษตรกรสมัครเข้าร่วมโครงการ 320,453 ราย คดิ เป็นพนื ที่ 5,520,422 ไร่ โดยการสูบน้าจาก แหล่งนา้ ต้นทนุ ในพืนท่ีใกล้เคยี งกับพืนท่เี กษตรแปลงใหญ่ กรมทางหลวงและกรมทางหลวงชนบท มาตรการแก้ไขและป้องกันถนนทรุดตัวเน่ืองจากการลดระดับน้า ในบริเวณถนนที่เลียบ ล้าคลอง ตังแต่ก่อนเกิดเหตุการณ์ เมื่อเกิดเหตุการณ์ และหลังเกิดเหตุการณ์ ก่อนเกิด ตรวจสอบเส้นทางท่ีมีความ เสี่ยงต่อการทรุดตัว ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในพืนท่ีเส่ยี ง เม่ือเกิดเหตุการณ์ ให้เฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์ หน่วยงานในพืนที่เร่งเข้าตรวจสอบความเสียหาย พร้อมด้าเนินการซ่อมแซมให้การจราจรผ่านได้ในเบืองต้นทันที หลงั เกดิ เหตกุ ารณ์ หนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวข้อง เขา้ สา้ รวจ ตรวจสอบ วิเคราะหส์ าเหตุ และแนวทางการแก้ไข กรมชลประทาน 1)วางแผนการจัดสรรนา้ ชว่ งฤดแู ลง้ ให้ชดั เจนคาดว่าจะแล้วเสรจ็ ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2562 ๒) ให้ส้านกั ชลประทานที่ 1-17 ดา้ เนินการติดตามสถานการณน์ า้ ต้นทนุ ในพนื ท่ี ๓) ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ เกี่ยวกับมาตรการช่วยเหลือและแนวทางแก้ไข รวมถึง ใหท้ ้าการสถานการณ์นา้ ในอา่ งเก็บนา้ พนื ท่เี สยี่ งขาดแคลนน้า และอ่างเก็บนา้ ที่ไม่เพียงพอสนับสนุนการทา้ นา 4) จัดหาพืนที่รองรับน้าเพื่อเก็บกักน้าในฤดูแล้ง และหน่วงน้าในฤดูฝน โดยจากการ ประเมินพนื ทนี่ นั พบพืนทเี่ หมาะสม แตต่ ้องมกี ารปรบั ปรงุ ให้สามารถใช้เป็นพืนทีร่ ับน้า 2) คาดการณพ์ ืนที่เสยี่ งอุทกภยั ภาคใต้และมาตรการรองรับ กรมชลประทาน 1) ให้โครงการชลประทานทุกแห่งในพืนท่ีภาคใต้ติดตามและเฝ้าระวังสถานการณ์น้าใน พืนท่ีอย่างใกล้ชิดให้เร่งระบายน้าออกจากพืนที่น้าท่วมขังให้เร็วที่สุด รวมถึงการตรวจสอบอาคาร และระบบ ชลประทานในพนื ท่ีใหส้ ามารถรองรับสถานการณน์ ้าได้อยา่ งเต็มศักยภาพ 36

2) การบริหารจัดการปริมาณน้าในอ่างเก็บน้า ให้บริหารจัดการน้าในอ่างเก็บน้าต่างๆ ให้อยูใ่ นเกณฑ์ควบคุมอย่างเคร่งครัด ปรบั การระบายนา้ ใหเ้ หมาะสม 3) เตรียมความพร้อมก้าลังพล และเคร่ืองจักรเคร่ืองมือในการรับมือสถานการณ์น้า หลากภาคใต้ (ช่วงเดอื นตุลาคม – ธนั วาคม 2562) 4) ด้าเนินการตรวจสอบสภาพพนังกันน้า ฝายชะลอน้า และคันกันน้าที่ช้ารุด ปัจจุบัน อยูใ่ นขนั ตอนกระบวนการวิเคราะห์ โดยจะเร่งดา้ เนินการให้เสร็จสิน 5) การประชาสัมพนั ธ์สร้างการรับรู้ กรมทรพั ยากรน้า 1) การหาแหล่งน้าส้ารอง ปัจจุบันกรมทรัพยากรน้ามีแผนการพัฒนาแหล่งน้าส้ารอง ทังสิน 116 แหง่ ซึ่งอย่รู ะหวา่ งดา้ เนนิ การ คาดว่าจะสามารถช่วยกักเกบ็ น้าไว้ได้ 165 ล้าน ลบ.ม. 2) การตรวจสอบพนังกันน้า พบว่ามีพนังกันน้าประมาณ 500-600 แห่ง ท่ียังไม่ได้ ดา้ เนินการถ่ายโอนให้กับท้องถิ่น เน่อื งจากปญั หาการชา้ รุดเสียหาย ซ่ึงทางกรมทรัพยากรนา้ ได้ด้าเนินการของบใน ปี 63 ถงึ 65 เพอื่ ซอ่ มบา้ รงุ และถา่ ยโอนให้กับท้องถิ่นต่อไป กรมทรพั ยากรน้าบาดาล เตรียมรถบริการน้าด่ืม ให้บริการประชาชนในพืนท่ีประสบภัย ส้าหรับบ่อบาดาล สามารถใช้งานได้ตามปกติในสภาวะนา้ ท่วม 2.4 การคาดการณส์ ถานการณน์ ้าโขง สถานการณ์น้าในแม่นา้ โขง - เขอื่ นจง่ิ หง ลดปรมิ าณการปล่อยน้าจากประมาณ 1,200 ลบ.ม./ว. เหลอื 500 ลบ.ม./ว. การคาดการณร์ ะดบั นา้ แม่น้าโขง - มีระดับต้่าสุดของลุ่มแม่น้าโขงตอนล่างในฤดูฝนปี 62 ท้าให้ระดับน้าใช้ช่วงฤดูแล้ง ต้่าลงกวา่ เดมิ ได้รับผลกระทบทงั ด้านการเกษตร ประมง และการขนส่งทางน้า ผลการดา้ เนนิ งานดา้ นความร่วมมอื แม่โขงและแม่โขง-ลา้ นช้าง - ร่วมประชุมคณะท้างานร่วมสาขาทรัพยากรน้าสมัยวิสามัญ ครังที่ 3 ณ นครกวางโจว สาธารณรัฐประชาชนจีน และจะเข้ารว่ มประชุมระดบั รัฐมนตรีด้านการจัดการทรัพยากรนา้ ครังที่ 1 ในวนั ท่ี 9 -10 ธ.ค. 2562 ณ กรุงปักก่ิง สาธารณรัฐประชาชนจีน ในการผลักดันความร่วมมือในการแลกเปลี่ยนข้อมูล และความช่วยเหลอื ในการปลอ่ ยน้าในกรณรี ้องขอการด้าเนนิ การตามกรอบแมน่ ้าโขง MRC - หารือทวีภาคีกับ สปป.ลาว ต้นเดือน พฤศจิกายน 62 เพือ่ ท้าความร่วมมือแลกเปล่ียน ข้อมลู และป้องกันปญั หาอยา่ งทันท่วงที และรว่ มร่าง MOU แลกเปลยี่ นข้อมูลร่วมกันระหวา่ งทัง 2 ประเทศ 2.5 ผลการด้าเนินงานตามข้อสั่งการในการประชุมคณะอนุกรรมการอ้านวยการด้าน บรหิ ารจดั การทรัพยากรน้า เม่ือวนั ท่ี 14 พฤศจิกายน 2562 การจัดทา้ แผนปฏิบัติการแก้ไขปญั หาภัยแล้ง 1. แผนปฏบิ ัตกิ ารจดั สรรนา้ แหลง่ น้าขนาดใหญแ่ ละขนาดกลาง ปัจจุบันมีอ่างเก็บน้าขนาดใหญ่ที่มีผลการจัดสรรน้าเกิน 30 % จ้านวน 4 แห่ง จาก 35 แห่ง ได้แก่ 1.อ่างเก็บน้ากระเสียว มีผลการจัดสรรน้า 56 % 2.อ่างเกบ็ น้าล้าพระเพลิง มีผลการจัดสรรน้า 54 % 3.อ่างเก็บน้าแม่มอก มีผลการจัดสรรน้า 67 % และ 4.อ่างเก็บน้าภูมิพล มีผลการจัดสรรน้า 32 % และอ่างเก็บน้าขนาดกลางที่มีผลการจัดสรรน้าเกิน 30 % ท่ัวประเทศ มีจ้านวน 88 แห่ง จาก 341 แห่ง แบ่งออกเป็นภาคเหนือจ้านวน 21 แห่ง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 47 แห่ง ภาคตะวันออก 9 แห่ง ภาคตะวันตก 6 แห่ง และภาคใต้ 5 แหง่ (ขอ้ มูล ณ วันที่ 10 ธ.ค. 62) 37

การเพาะปลูกข้าวนาปรังในภาคกลางลุ่มเจ้าพระยา มีแนวโน้มเพิ่มขึนอย่างต่อเน่ือง จาก การส้ารวจโดยส้านักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ GISTDA ณ วันที่ 5 ธ.ค. 2562 พบมีขา้ วนาปรงั 2,161,053 ไร่ เร่ืองการปรับแผนจัดสรรน้าอ่างเก็บน้าขนาดใหญ่และอ่างเก็บน้าขนาดกลาง พบว่า มีอ่างเก็บน้าขนาดใหญ่ 14 แห่ง แบ่งเป็น ภาคเหนือ 5 แห่ง ภาคตะวันตก 2 แห่ง ภาคกลาง 1 แห่ง ภาคตะวันออก 5 แห่ง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 แห่ง และอ่างเก็บน้าขนาดกลาง 11 แห่ง แบ่งเป็น ภาคเหนอื 3 แห่ง และภาคตะวันออก 8 แห่ง มกี ารปรับแผนแล้วดังนี 2. แผนปฏบิ ัติการจดั หาแหล่งน้าสา้ รองในพืนท่ีการเกษตรนอกเขตชลประทาน ส้านักงานทรัพยากรน้าแห่งชาติ (สนทช.) ได้ชีเป้าพืนที่ฝนตกน้อยเสี่ยงขาดแคลนน้า 38 จังหวัด แบ่งออกเป็น ภาคเหนือ 16 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 7 จังหวัด ภาคตะวันอ อก 3 จังหวัด ภาคกลาง 10 จังหวัด ภาคตะวันตก 2 จังหวัด จากพืนที่ฝนตกน้อยเส่ียงขาดแคลนน้า 38 จังหวัด กรมส่งเสริมการเกษตรร่วมกับกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน ตรวจสอบยืนยันไม้ผล – ไม้ยืนต้น ในพืนท่ีพบพืนท่ี จ้านวน 2.82 ล้านไร่ ในพืนท่ีเสย่ี งแล้ง 34 จงั หวัด 3. แผนปฏบิ ตั ิการรองรบั ภาวะเสย่ี งการขาดแคลนน้าประปาในเขตการประปานครหลวง การประปานครหลวง (กปน.) ได้เสนอแผนปฏิบัติการรองรับภาวะการขาดแคลน น้าประปา โดยการขุดเจาะบ่อน้าบาดาล 4 บ่อ ประกอบด้วย 1) สถานีสบู จ่ายน้าส้าโรง 2) สถานีสบู จ่ายน้ามีนบุรี 3) สถานีสูบจ่ายน้าบางเขน และ 4) สถานีสูบจ่ายน้าลาดกระบัง คาดว่าจะแล้วเสร็จเดือนมีนาคม 2563 ขณะนี ได้ประสาน กรมทรพั ยากรนา้ บาดาล (ทบ.) เพื่อขอใบอนุญาตในการด้าเนนิ การ 4. แผนปฏบิ ัตกิ ารรองรบั ภาวะเส่ยี งการขาดแคลนน้าประปาในเขตการประปาสว่ นภมู ภิ าค สทนช. ได้ประเมินพืนท่ีเส่ียงขาดแคลนน้าในเขตการประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) รวม 61 สาขา 31 จังหวัด โดย กปภ. จะดูแลหาแหล่งน้าและขุดเจาะบ่อบาดาล และจัดหาแหล่งน้าเพิ่มเติม จ้านวน 61 สาขา 31 จังหวัด กรมชลประทาน (ชป.) จะจัดสรรน้าเพื่อการผลิตน้าประปาตามศักยภาพ กรมทรัพยากรน้าบาดาล (ทบ.) จะสนับสนุนข้อมูลวิชาการและสนับสนุนกระบวนการขุดเจาะบ่อบาดาล ซงึ่ กปภ. ไดจ้ ัดทา้ แผนปฏิบัติการฯ 36 โครงการ งบประมาณ 1,486 ล้านบาท โดยเสนอขอใชง้ บกลาง ในเร่ืองการแก้ไขปัญหาน้าจังหวัดภูเก็ตอย่างยั่งยืน ต้องมีการวางท่อเพ่ิมอีก 2 โครงการ คอื 1. งานก่อสร้างท่อใหม่ขนาด 800 มม. ระยะทาง 17.5 กม. ส่งน้าน้าไดส้ ูงสุด 70,000 ลบ.ม./วัน งบประมาณ 200 ล้านบาท เพื่อส่งน้าไปกลางเกาะภูเกต็ 2. งานก่อสรา้ งท่อใหม่ 500 มม. ระยะทาง 21.5 กม.และปรับปรุงท่อ เดมิ บางส่วน ส่งน้าได้สงู สุด 50,000 ลบ.ม./วนั งบประมาณ 300 ลา้ นบาท เพ่ือส่งน้าไปท้ายเกาะภเู ก็ต 5. แผนปฏิบตั ิการรองรบั ภาวะเสยี่ งการขาดแคลนนา้ ประปานอกเขตการประปาส่วนภูมภิ าค แผนปฏิบัติการรองรับพืนที่เสี่ยงขาดแคลนน้า นอกเขตการให้บริการของ กปภ. 38 จงั หวัด รวม 449 อ้าเภอ 3,869 ต้าบล 42,452 หมู่บา้ น พบว่า ขณะนีมีพืนที่เส่ยี งขาดแคลนน้า จ้านวน 4,132 หมู่บ้าน ซึ่งได้เสนอแผนปฏิบัติการรองรับภาวะเสี่ยงขาดแคลนน้าอุปโภค บริโภค จ้านวน 3,015 โครงการ งบประมาณ 1,390 ล้านบาท โดยจะอยูใ่ นแผนเร่งดว่ น 680 โครงการ 388 ลา้ นบาท 6. แผนปฏิบตั ิการสา้ รวจสถานพยาบาลเสยี่ งขาดแคลนนา้ จากผลการสา้ รวจจัดหาแหลงนา้ สา้ รองสถานพยาบาลเสีย่ งขาดแคลนน้า 224 แหง่ พบว่า กปภ. สามารถส่งน้าให้กับสถานพยาบาลเสี่ยงขาดแคลนน้า 224 แห่ง เพียงพอต่อความต้องการ ในเรื่องด้านประปา หมู่บ้าน สถ. ได้ส้ารวจสถานพยาบาลเส่ียงขาดแคลนน้า พบสถานพยาบาลเส่ียง 157 แห่ง แบ่งเป็น ภาคเหนือ 99 แห่ง ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 41 แห่ง ภาคกลาง 13 แหง่ และภาคตะวนั ออก 4 แห่ง โดยขอสนบั สนุนงบกลาง 21 โครงการ 31.56 ลา้ นบาท 38

7. แผนปฏิบัติการปรับปรุงพืนที่ลุ่มต่้า 12 ทุ่ง และทุ่งบางระก้า และโครงการน้าร่องแก้ม ลิงบางพลวง และ ลุ่มนา้ ยงั ชป. ได้จดั ท้าแผนปฏิบัติการปรับปรุง พืนท่ลี ุ่มต่้า ๑๒ ทุ่ง และทุ่งบางระก้า และโครงการ นา้ ร่องแกม้ ลิง บางพลวง และลุ่มน้ายัง ทงั หมด 35 โครงการ ทน. ได้เสนอ แผนการส้ารวจความเหมาะสมและออกแบบพืนที่ลุ่มต่้าโขง ชี มูล ได้แก่ ล้านา้ สาขา ของแมน่ า้ โขง และปากแมน่ า้ ชี –มูล โดยดา้ เนินการร่วมกับ ชป ทงั หมด 120 โครงการ งบประมาณ 505 ลา้ นบาท กรมทางหลวงชนบท (ทช.) ได้เสนอแผนการก่อสร้างหรือปรับปรุงถนนในพืนท่ีลุ่มต่้า โดยแบ่งแผนออกเป็น ๓ ระยะ แบ่งเป็น ระยะที่ ๑ การประสานข้อมูลหน่วยงาน คาดการณ์ด้าเนินการแล้วเสร็จ ภายในเดอื น ธ.ค.๖๒ ระยะที่ ๒ การสา้ รวจ และประเมินราคา ระยะที่ ๓ การด้าเนนิ การก่อสร้าง ชว่ งปี ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕ 8. แผนปฏบิ ัติการเตรียมเคร่ืองจักรเครื่องมือชว่ ยเหลอื ภัยแล้ง ในด้านการเตรียมพร้อมเคร่ืองจักรกล ยานพาหนะ เคร่ืองมือ ส้าหรับสนับสนุนและ ให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชน ขณะนี กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) ชป. ทน. และ ทบ. ได้ด้าเนินการ เตรียมความพรอ้ มแล้ว ทังนี ทน.เสนอแผนขอซือเคร่อื งจักรเครอื่ งมือ เร่งรัดด้าเนินการขับเคล่อื น จา้ นวน 8 รายการ งบประมาณ 867 ล้านบาท 3. ขอ้ เสนอเพอ่ื ทราบ ผลการด้าเนนิ งานของคณะอนุกรรมการอา้ นวยการด้านการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรนา้ จงึ เรยี นท่ปี ระชุมเพื่อโปรดทราบ มตทิ ่ีประชุม …….….....………………………………………………………………………........................…………………………………… ……………………………………..…………………………………………………………….………............................…….……………… ……………………………………..…………………………………………….............................………………………………….………… ……………………………………..…………………………………………………………….………............................…………….……… ……………………………………..…………………………………………….............................………………………………….………… ……………………………………..…………………………………………………………….………............................……………….…… ……………………………………..…………………………………………………………….………............................…………….……… ……………………………………..…………………………………………….............................………………………………….………… ……………………………………..…………………………………………………………….………............................………….………… ……………………………………..…………………………………………….............................………………………………….………… ……………………………………..…………………………………………………………….………............................………….………… ……………………………………..…………………………………………………………….………............................………….………… ……………………………………..…………………………………………………………….………............................………….………… ……………………………………..…………………………………………………………….………............................………….………… 39

ระเบยี บวาระท่ี ๓ เรอื่ งเพือ่ ทราบ วาระท่ี ๓.๑ ผลการดําเนนิ งานของคณะอนุกรรมการภายใตคณะกรรมการ ทรัพยากรนาํ้ แหงชาติ (ตอ) 3.1.2 คณะอนุกรรมพิจารณา กลัน่ กรอง กฎหมายดานการบริหารจดั การ ทรัพยากรน้าํ 40

ระเบียบวาระท่ี 3 เร่ืองเพอื่ ทราบ วาระที่ 3.1 ผลการดำเนนิ งานของคณะอนกุ รรมการภายใต้คณะกรรมการทรพั ยากรน้ำแห่งชาติ (ตอ่ ) 3.1.2 คณะอนกุ รรมการพจิ ารณา กล่ันกรอง กฎหมายด้านการบริหารจดั การทรัพยากรน้ำ สืบเน่ืองจากการประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณา กล่ันกรอง กฎหมายด้านการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ำ เมื่อวันพุธท่ี ๑๑ ธันวาคม ๒๕๖๒ เวลา ๐๙.๓๐ น. ณ ห้องประชุมน้ำปิง ช้ัน ๔ สำนักงาน ทรัพยากรน้ำแห่งชาติ อาคารจุฑามาศ ถนนวิภาวดีรังสิต เขตหลักส่ี กรุงเทพฯ มีรองเลขาธิการสำนักงาน ทรัพยากรน้ำแห่งชาติ รองประธานอนุกรรมการ เป็นประธานการประชุม ไดร้ ับทราบและพิจารณา โดยผลการ ประชมุ มดี ังนี้ (1) รับทราบความก้าวหน้าการจัดทำกฎหมายลำดับรองตามพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๑ ของสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดลอ้ มสรุปไดด้ งั นี้ 1) สำนักงานทรพั ยากรนำ้ แหง่ ชาติ 1.1) ร่างพระราชกฤษฎีกากำหนดลุ่มน้ำ พ.ศ. .... ขณะนี้อยู่ระหว่างการพิจารณาตรวจ รา่ งของสำนกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า 1.2) ร่างกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี ได้เห็นชอบในหลักการเมอ่ื วนั ท่ี ๒๙ ตลุ าคม ๒๕๖๒ รวม 11 ฉบบั และสำนักเลขาธิการคณะรฐั มนตรีได้ส่งรา่ ง กฎหมายลำดับรองดงั กลา่ วไปยงั สำนกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี าเพื่อพจิ ารณา ประกอบดว้ ย (๑) ร่างกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกกรรมการผู้แทน คณะกรรมการลุม่ น้ำในคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ พ.ศ. .... (มาตรา ๑๐) (๒) ร่างกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการได้มาซ่ึงกรรมการลุ่มน้ำผู้แทน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรรมการลุ่มน้ำผู้แทนองค์กรผู้ใช้น้ำ และกรรมการลุ่มน้ำผู้ทรงคุณวุฒิ พ.ศ. .... (มาตรา ๒๘) (๓) ร่างกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการพ้นจากตำแหน่งของกรรมการ ผแู้ ทนองคก์ รผู้ใชน้ ้ำ และกรรมการลุม่ น้ำผู้ทรงคณุ วุฒิอันเน่ืองมาจากเหตบุ กพรอ่ งหรือไมส่ จุ ริตตอ่ หนา้ ที่มคี วาม ประพฤติเสื่อมเสยี หรอื หยอ่ นความสามารถ พ.ศ. .... (มาตรา ๓๒) (๔) ร่างกฎกระทรวงกำหนดวัตถุประสงค์ หน้าที่และอำนาจและการดำเนินงาน ขององคก์ รผใู้ ชน้ ำ้ รวมท้ังหลกั เกณฑ์ ขนั้ ตอนและวิธีการกอ่ ต้ังองค์กรผู้ใชน้ ำ้ พ.ศ. .... (มาตรา ๓๘ วรรคสอง) (๕) ร่างกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกำหนดค่าทดแทนแก่บุคคล ซ่ึงกักเก็บน้ำไว้ ต้องสูญเสียน้ำท่ีกักเก็บไว้เพ่ือบรรเทาความเดือดร้อนในการอุปโภคบริโภคของประชาชนใน พ้นื ท่ี พ.ศ. .... (มาตรา ๖๐ วรรคสอง) (๖) ร่างกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวธิ ีการชดเชยความเสียหายแก่เจ้าของ หรือผู้ครอบครองที่ดินหรือสิ่งก่อสร้างจากการดำเนินการเพ่ือป้องกันและแก้ไขภาวะน้ำท่วม พ.ศ. .... (มาตรา ๖๖ วรรคสาม) (๗) ร่างกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกำหนดค่าทดแทนการใช้ที่ดิน หรือสิ่งกอ่ สรา้ งและชดเชยความเสียหายแก่ทรัพยส์ ินของเจ้าของหรือผู้ครอบครองท่ดี ินหรือสงิ่ ก่อสรา้ งจากการ ใช้ท่ีดินหรอื สิ่งก่อสรา้ งเพ่ือการปอ้ งกันและแกไ้ ขภาวะน้ำแล้งและภาวะน้ำทว่ ม พ.ศ. .... (มาตรา ๖๗ วรรคสาม) 41

(๘) ร่างระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการนำเงิน ค่าทดแทนหรือคา่ ชดเชยความเสยี หายไปวางต่อศาลหรือสำนักงานวางทรพั ย์หรอื ฝากไว้กบั ธนาคารออมสนิ และ วิธกี ารรบั เงนิ ค่าทดแทนหรอื ค่าชดเชยความเสียหาย พ.ศ. .... (มาตรา ๖๙ วรรคสาม) (๙) ร่างประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เร่ือง หลักเกณฑ์และวิธีการส่ังให้บุคคล ซึ่งกักเก็บน้ำไว้ต้องเฉลี่ยน้ำเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนในการอุปโภคบริโภคของประชาชนในพ้ืนท่ี พ.ศ. .... (มาตรา ๖๐ วรรคหน่ึง) (๑๐) ร่างประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดแบบบัตรประจำตัวพนักงาน เจา้ หนา้ ทีต่ ามพระราชบัญญตั ทิ รพั ยากรนำ้ พ.ศ. ๒๕๖๑ พ.ศ. .... (มาตรา ๘๑ วรรคสอง) (๑๑) ร่างประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เร่ือง หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาของ คณะกรรมการเปรยี บเทยี บ พ.ศ. .... (มาตรา ๙๙ วรรคสอง) 1.3) ร่างระเบียบและประกาศคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ จำนวน ๖ ฉบับ ได้ส่งร่างดังกล่าวให้ประธานกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ) พิจารณาลงนาม แล้ว เมือ่ วนั ท่ี ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๒ ไดแ้ ก่ (๑) ร่างระเบียบคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรการในการ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคเอกชน ประชาชน และชุมชนที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการใช้ การพัฒนา การบริหารจัดการ การบำรุงรักษา การฟื้นฟู การอนุรักษ์ และการดำเนินการอ่ืนใดเก่ียวกับทรัพยากรน้ำ (มาตรา ๑๗ วรรคหนง่ึ (๑๖)) (๒) ร่างประกาศคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์และ แนวทางปฏิบัติงานของคณะกรรมการลุ่มน้ำและลำดับความสำคัญของการใช้น้ำสำหรับกิจการประเภทต่าง ๆ เพื่อให้คณะกรรมการลุ่มน้ำนำไปพิจารณาในการจัดสรรน้ำและควบคุมการใช้น้ำในแต่ละลุ่มน้ำ (มาตรา ๑๗ วรรคหน่ึง (๙)) (๓) รา่ งประกาศคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ เร่อื ง หลักเกณฑ์และวิธีการ เสนอข้อพิพาทระหว่างคณะกรรมการลุ่มน้ำเพ่ือให้คณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งช าติไกล่เกลี่ยและชี้ขาด ข้อพพิ าท (มาตรา ๑๗ วรรคสาม) (๔) รา่ งประกาศคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ เร่ือง หลักเกณฑ์และวิธีการ รับฟังความคิดเห็นของประชาชน องค์กรผู้ใช้น้ำ ผู้มีส่วนได้เสีย หน่วยงานของรัฐ และองค์กรปกครองส่วน ทอ้ งถน่ิ ทเี่ ก่ยี วข้องในการจัดทำนโยบายและแผนแมบ่ ทเกย่ี วกับการบรหิ ารทรัพยากรน้ำ (มาตรา ๑๘ วรรคหนงึ่ ) (๕) รา่ งประกาศคณะกรรมการทรพั ยากรน้ำแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการ เสนอเร่ืองรอ้ งทุกขห์ รอื ขอ้ พิพาทระหวา่ งผู้ใชน้ ำ้ เพ่ือให้คณะกรรมการลุม่ นำ้ ไกล่เกลี่ยและชขี้ าด (มาตรา ๓๕ วรรคสาม) (๖) ร่างประกาศคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ เร่ือง แนวทางการบริหาร จดั การความเส่ียงทอ่ี าจเกิดขึ้นจากภาวะน้ำทว่ มและการจดั ทำระบบเตอื นภยั ภาวะน้ำท่วม (มาตรา ๖๔ วรรคส)่ี ส่วนร่าง ระเบียบและประกาศที่เหลือ จำนวน ๓ ฉบับ เป็นร่างท่ีจัดทำขึ้นเป็นแบบ เพื่อประกาศใช้ในกรณีมีเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งเม่ือถึงกำหนด และอีก ๓ ฉบับ เป็นร่ างประกาศ คณะกรรมการลุ่มน้ำและหน่วยงานของรัฐ 2) กระทรวงมหาดไทย โดย กรมโยธาธิการและผงั เมอื ง กรมโยธาธิการและผังเมืองได้มีคำสั่ง ท่ี ๖๙๙/๒๕๖๒ แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อจัดทำ กฎหมายลำดับรองตามมาตรา ๗๔ และมาตรา ๗๕ แห่งพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๓ เมษายน ๒๕๖๒ ขณะนีอ้ ยู่ระหว่างการศึกษาข้อมูลเพ่ือดำเนินการยกรา่ งกฎหมายลำดบั รองดังกลา่ ว 42

แต่โดยท่ีเรื่องนี้มีมาตรการเร่ืองโทษแก่ผู้ฝ่าฝืนหรือผู้ไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การใช้ประโยชน์ที่ดินตามกำหนด ไว้ตามมาตรา ๗๔ จึงต้องมีการศึกษาข้อมูลให้รอบคอบโดยกรมโยธาธิการและผังเมืองอยู่ระหว่างดำเนินการ จัดทำโครงการวางผังระบายน้ำในบริเวณลุ่มน้ำ จำนวน ๒๕ ลุ่มน้ำ จำต้องอาศัยความเช่ือมโยงกันระหว่าง กฎหมายที่ออกตามมาตรา ๗๔ แห่งพระราชบัญญตั ิทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๑ และกฎหมายว่าด้วยการผงั เมอื ง นอกจากน้ียังมีความจำเป็นที่จะต้องศึกษากฎหมายภายใต้บงั คับของกระทรวงมหาดไทยฉบับอื่น และกฎหมาย อื่นที่เก่ียวข้องกับเร่ืองการบริหารจัดการน้ำเพ่ือให้เกิดความชัดเจน ในการพิจารณาร่างกฎหมาย และ ก ร ะ ท ร ว ง ม ห า ด ไท ย โ ด ย ก ร ม โ ย ธ า ธิ ก า ร แ ล ะ ผั ง เมื อ ง ไ ด้ มี ห นั ง สื อ ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ด ำ เ นิ น ก า ร ดั ง ก ล่ า ว ให้คณะรัฐมนตรีทราบแล้วเมื่อวันที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ (เข้าที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๒) โดยคณะรัฐมนตรีได้มีมติทราบแล้วเมื่อวันท่ี ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ เลขานุการ คณะทำงานเพ่ือจัดทำกฎหมายลำดับรองตามมาตรา ๗๔ และมาตรา ๗๕ แห่งพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๑ ได้มีหนังสือแจ้งเวียนให้คณะทำงานฯ ส่งข้อมูลท่ีเก่ียวข้องในการดำเนินการยกร่างกฎหมายตาม มาตรา ๗๔ และมาตรา ๗๕ มาให้ฝา่ ยเลขาฯ แล้ว เม่ือวันที่ ๒๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒ 3) กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม โดย กรมทรัพยากรน้ำ ๓.๑) กรมทรัพยากรน้ำ ร่วมกับศูนย์วิจยั และให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศึกษาและยกร่างกฎกระทรวงตามมาตรา ๗๘ และร่างประกาศกระทรวงตามมาตรา ๘๑ ตามสัญญาจ้าง ทป่ี รกึ ษาโครงการศึกษาเพื่อเตรียมความพรอ้ มในการดำเนินการตามพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๑ และยกร่างอนุบัญญัติในส่วนท่ีอยู่ในหน้าท่ีและอำนาจและภารกิจของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม (ร่างกฎกระทรวงตามมาตรา ๗๘ และรา่ งประกาศกระทรวงตามมาตรา ๘๑) ๓.๒) ในส่วนของร่างกฎกระทรวงตามมาตรา ๗๘ ได้กำหนดให้มีการประชุม เชิงปฏิบัติการ รับฟังความเห็นจากคณะกรรมการลุ่มน้ำ หน่วยงานของรัฐที่อยู่ในพ้ืนท่ีลุ่มน้ำ องค์กรพัฒนา เอกชน ภาคเอกชน องค์กรผู้ใช้น้ำ นักวิชาการ ผู้ทรงคุณวุฒิ และประชาชนกลุ่มผู้ใช้น้ำ จำนวน ๕ คร้ัง ครอบคลุมพ้ืนท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พ้ืนที่ภาคใต้ พ้ืนท่ีภาคเหนือ พ้ืนทภี่ าคตะวันออกและพื้นที่ภาคกลาง ภาคตะวันตก และเมื่อได้ร่างกฎกระทรวงแล้ว จะจัดให้มีการประชุมรับฟังความคิดเห็น สำหรับหน่วยงานของ รัฐ องค์กรพัฒนาเอกชน ภาคเอกชน องค์กรผู้ใช้น้ำ นักวิชาการ ผู้ทรงคุณวุฒิ และประชาชนกลุ่มผู้ใช้น้ำ ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน ๑ ครั้ง ทั้งนี้ ได้มีการประชุมเชิงปฏิบัติการคร้ังแรกเมื่อวันที่ ๒๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒ ทโ่ี รงแรมทวนิ โลตัส จังหวัดนครศรธี รรมราช ๓.๓) ในการร่างประกาศกระทรวงตามมาตรา ๘๑ วรรคสอง กำหนดแบบบัตรประจำตัว พนักงานเจ้าหนา้ ที่ ทางสำนักงานทรพั ยากรน้ำแห่งชาติ ได้ดำเนนิ การร่างประกาศกระทรวงกำหนดรูปแบบบตั ร ประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าท่ีให้กระทรวงท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือให้เป็นรูปแบบเดียวกัน ซ่ึงทางกรมฯ สามารถ ดำเนินการเสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ทันที แต่เน่ืองจากปัจจุบัน รฐั มนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมยังไม่ได้ประกาศแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ ในการ ดำเนินการในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับหนา้ ที่และอำนาจของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มแต่อย่างใด การประกาศบตั รประจำตัวเจ้าหน้าที่ โดยไม่มีพนักงานเจา้ หน้าท่ีมารองรบั รวมทง้ั ยังไมม่ ีหลักเกณฑ์และวิธีการ เพ่ือการอนุรักษ์และการพัฒนาทรัพยากรน้ำสาธารณะตามมาตรา ๗๘ ทำให้ประกาศไม่มีผลในทางปฏิบัติ กรมฯ จึงได้ให้ท่ีปรึกษา ดำเนินการ ศึกษาเก่ียวกับประกาศการแต่งต้ังพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๕ ควบคู่ กับการศึกษาร่างกฎกระทรวงตามมาตรา ๗๘ เมื่อได้ผลการศึกษาแล้วจะดำเนินการเสนอรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมประกาศแตง่ ต้งั พนักงานเจ้าหน้าที่ ตามมาตรา ๕ ควบค่ไู ปกับการ ประกาศกำหนดแบบบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าท่ี ตามมาตรา ๘๑ ทั้งนี้ ทางกรมฯ จะเร่งรัดให้ท่ีปรึกษา 43

ดำเนินการส่งผลการศึกษาในส่วนของประกาศพนักงานเจ้าหน้าที่นำเสนอกรมฯ ก่อน เน่ืองจากไม่มีความยุ่งยาก เพอื่ จะได้เสนอรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม ออกเปน็ ประกาศกระทรวงฯ ต่อไป ๓.๔) การดำเนินการออกอนุบัญญัติตามหมวด ๔ ในเรื่องการจัดสรรน้ำและการใช้น้ำ ปัจจุบันกรมทรัพยากรน้ำได้ดำเนินการขอจัดสรรงบประมาณแผ่นดิน ในปีงบประมาณ ๒๕๖๔ เพ่ือดำเนิน โครงการศึกษาและยกร่างอนุบัญญัติที่ออกตามพระราชบญั ญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๑ ในสว่ นท่ีอยู่ในหน้าที่ และอำนาจและภารกจิ ของกรมทรัพยากรนำ้ (หมวด ๔ การจดั สรรและการใช้น้ำ) ที่ประชุมมีมติรับทราบ โดยให้หน่วยงานที่รับผิดชอบจัดทำกฎหมายลำดับรองให้เป็นไป ตามพระราชบญั ญตั ิทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๑ ตอ่ ไป (2) เห็นชอบในหลักการกรอบแนวทางเพ่ือการกำหนดหลักเกณฑ์การใช้สอยทรัพยากรน้ำ สาธารณะของหน่วยงานของรัฐหรอื องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน (มาตรา ๖ วรรคสาม) สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ ได้พิจารณาศึกษาจัดทำกรอบแนวทางเพ่ือการกำหนด หลักเกณฑ์การใช้สอยทรัพยากรน้ำสาธารณะของหนว่ ยงานของรัฐหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย 1) กำหนดให้หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องจัดให้มีแผนงานการใช้ การพัฒนา การบริหารจัดการ การบำรุงรักษา การฟ้ืนฟู และการอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำสาธารณะ ท้ังในภาวะ ปกติ และในภาวะน้ำแลง้ หรือภาวะน้ำท่วม 2) มีมาตรการในการควบคุมดูแลทรัพยากรน้ำสาธารณะเพ่ือป้องกันหรือแก้ไขปัญหาการ บุกรุก การทำอันตรายหรือความเสียหายต่อทรัพยากรน้ำสาธารณะ หรือทำให้เส่ือมสภาพต่อคุณภาพของน้ำ และผมู้ หี นา้ ทรี่ ับผิดชอบ 3) ประสานหน่วยงานของรัฐ หรือองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินท่ีเกยี่ วข้อง เพ่อื ร่วมกนั บรหิ าร จัดการและใช้สอยทรัพยากรน้ำสาธารณะสำหรับกิจกรรมประเภทต่าง ๆ ตลอดจนการปฏิบัติตามมาตรการ ให้สอดคล้องกับแผนแม่บทและแผนป้องกันและแก้ไขภาวะน้ำแล้ง/น้ำท่วม ในเขตลุ่มน้ำ ทั้งน้ี ตามกฎหมาย หรอื กฎในเรอื่ งน้ัน 4) รายงานผลการดำเนินการตามแผนงานและมาตรการ ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนวทาง การแก้ไขปัญหา และผลดีหรือผลกระทบในการดำเนินการตามแผนงานและมาตรการดังกล่าวต่อ คณะกรรมการลุ่มน้ำอยา่ งนอ้ ยปีละหน่ึงครั้ง 5) ควบคุมดูแลทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศน์ หรือความหลากหลายทางชีวภาพ ในบรเิ วณพนื้ ท่ีแหล่งทรพั ยากรน้ำสาธารณะน้ัน ความเห็นของคณะอนกุ รรมการ ฯ : ให้นำกรอบแนวทางเพ่ือการกำหนดหลักเกณฑ์การใช้สอยทรัพยากรน้ำสาธารณะของ หน่วยงานของรัฐหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (มาตรา ๖ วรรคสาม) เสนอ กนช. คร้ังท่ี 3/2562 ในวนั ที่ 20 ธ.ค. 2562 ซงึ่ จะนำเสนอรายละเอยี ดในวาระเพือ่ พจิ ารณาท่ี ๔.3 (3) เห็นชอบในหลักการร่าง คำส่ังคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ เร่ือง แต่งต้ัง คณะอนกุ รรมการทรพั ยากรนำ้ ระดบั จังหวดั (มาตรา ๒๐ วรรคสาม) สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติได้เสนอจัดต้ังคณะอนุกรรมการทรัพยากรน้ำจังหวัด โดยพิจารณาจากหลักเกณฑ์การคัดเลือกจังหวัด พบว่า มีจังหวัดท่ีได้คะแนนตามเกณฑ์ จำนวน ๔๐ จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงราย พะเยา แพร่ น่าน เชียงใหม่ ลำพูน ตาก สโุ ขทัย พิษณุโลก พจิ ิตร อุตรดิตถ์ นครสวรรค์ พระนครศรีอยุธยา นครปฐม สมุทรสงคราม ราชบุรี เพชรบุรี ปราจีนบุรี สระแก้ว ชลบุรี ระยอง อุดรธานี 44

หนองคาย บึงกาฬ สกลนคร นครพนม มุกดาหาร ชัยภูมิ ขอนแก่น นครราชสีมา อำนาจเจริญ อุบลราชธานี ชุมพร สุราษฎร์ธานี ภูเก็ต นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ยะลา และจังหวัดนราธิวาส ส่วนอีก ๓๖ จังหวัดท่ีเหลือ จะได้ดำเนินการจัดตัง้ คณะอนกุ รรมการทรัพยากรน้ำจงั หวดั ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติจึงได้จัดทำร่างคำส่ังคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ เร่อื ง แตง่ ตัง้ คณะอนุกรรมการทรัพยากรนำ้ จงั หวัด โดยมีองค์ประกอบ หน้าทีแ่ ละอำนาจ ซง่ึ จะนำเสนอ ความเห็นของคณะอนุกรรมการ ฯ : ให้นำร่าง คำส่ังคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ ทรพั ยากรน้ำระดับจงั หวัด (มาตรา ๒๐ วรรคสาม) เสนอ กนช. ครง้ั ท่ี 3/2562 ในวนั ท่ี 20 ธ.ค. 2562 ซึ่งจะนำเสนอรายละเอียดในวาระเพอ่ื พจิ ารณาที่ ๔.4 (4) โครงสร้างและการกำหนดบทบาทหน้าทีข่ องกรมทรพั ยากรนำ้ เนื่องจากตามพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๑ ซึ่งมาตรา ๕ ได้กำหนดให้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมรักษาการตามกฎหมายในส่วนท่ีเกี่ยวกับหน้าที่ และอำนาจ และหมวด ๖ การอนุรักษ์และการพัฒนาทรัพยากรน้ำสาธารณะ มาตรา ๗๓ และมาตรา ๗๘ และ ในส่วนท่ีกำหนดให้กรมทรัพยากรน้ำมีหนา้ ท่ีและอำนาจโดยตรงตามหมวด ๔ การจัดสรรน้ำและการใชน้ ้ำ และ หมวด ๘ ความรับผิดทางแพ่งในกรณีที่ทำให้เกิดความเสียหายต่อทรัพยากรน้ำสาธารณะ รวมถึงการประสาน บูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการตามหมวด ๕ ภาวะน้ำแล้งและภาวะน้ำท่วม ประกอบกับ กรมทรัพยากรน้ำได้ตัดโอนภารกิจหน้าที่และอำนาจการบริหารจัดการน้ำในภาพรวมของประเทศ รวมถึงการ ดำเนนิ การในฐานะเลขานุการคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติและเลขาคณะกรรมการลมุ่ น้ำท่ีให้สำนักงาน ทรัพยากรน้ำแห่งชาติแล้ว กรมทรัพยากรน้ำจึงได้ปรับบทบาทภารกิจจากหน่วยงานนโยบายเป็นหน่วยงาน ปฏิบัติ (Operator) ด้านนำ้ โดยมหี นา้ ทแ่ี ละอำนาจ ดังน้ี ที่ หนา้ ทแี่ ละอำนาจ ขอ้ กฎหมาย 1 ดำเนินการพัฒนา การบริหารจัดการ การบำรุงรักษา ก ฎ ก ระ ท ร ว งแ บ่ งส่ ว น ราช ก ารก ร ม การฟื้นฟู และการอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำ การแก้ปัญหา ทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๔๕ และ พ.ศ. เกีย่ วกับทรัพยากรน้ำในพืน้ ท่นี อกเขตชลประทาน ๒๕๕๑ การจัดสรรน้ำ การใช้น้ำ และการแก้ปัญหาเกี่ยวกับ พระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๑ ทรัพยากรน้ำในพื้นที่นอกเขตชลประทาน ตามกฎหมาย หมวด ๔ การจัดสรรนำ้ และการใชน้ ้ำ วา่ ดว้ ยทรพั ยากรนำ้ และกฎหมายท่ีเกีย่ วข้อง ๒ ตดิ ตาม เฝ้าระวัง คาดการณ์ แจ้งขอ้ มูลเพ่ือการเตอื นภัย ก ฎ ก ระ ท ร ว งแ บ่ งส่ ว น ราช ก ารก ร ม รวมถึงวิจัย พัฒนาระบบ องค์ความรู้ นวัตกรรม และ ทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๔๕ และ พ.ศ. เทคโนโลยดี ิจทิ ัล เพ่อื บรหิ ารจดั การทรพั ยากรนำ้ ๒๕๕๑ ๓ ควบคุม ดูแล กำหนดมาตรการ หลักเกณฑ์และวิธีการ พระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๑ เพื่อการอนุรักษ์และการพัฒนาทรัพยากรน้ำสาธารณะ หมวด ๖ การอนุ รักษ์ และการพั ฒ น า และพ้นื ทช่ี ุม่ นำ้ ทรพั ยากรน้ำสาธารณะ ๔ สนับสนุน ส่งเสริม การใช้น้ำ เพ่ือการอุปโภคบริโภค พระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๑ การรักษาระบบนิเวศ การเกษตร การอุตสาหกรรม การ หมวด ๔ การจัดสรรน้ำและการใช้น้ำ, ท่องเท่ยี ว การคมนาคม การประปา การผลิตพลังงาน ใน ประกาศคณะปฏวิ ัติ พ.ศ. ๒๕๑๕ พื้นที่นอกเขตชลประทาน หรือพ้ืนท่ีอื่นใด รวมทั้งการ 45

ท่ี หน้าที่และอำนาจ ขอ้ กฎหมาย อนุญาต การควบคุมการใช้น้ำ ดำเนินการกิจการประปา สัมปทานตามที่กฎหมายกำหนด ๕ ดำเนินการเกี่ยวกับการป้องกันและบรรเทาความ ก ฎ ก ระ ท ร ว งแ บ่ งส่ ว น ราช ก ารก ร ม เสียหายอันเกิดจากทรัพยากรน้ำในพื้นท่ีนอกเขต ทรพั ยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๔๕ และ พ.ศ. ๒๕๕๑, ชลประทาน และการคมนาคมทางนำ้ ตลอดจนกิจกรรม พระราชบัญญัติทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๑ พิเศษตา่ ง ๆ ทไี่ มเ่ ปน็ แผนงานประจำปีของกรม หมวด ๕ ภาวะนำ้ แล้งและภาวะนำ้ ทว่ ม ๖ ปฏิบัติการอ่ืนใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจ หน้าที่ของกรมหรือตามที่รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรี มอบหมาย ความเห็นของคณะอนุกรรมการฯ 1. การพิจารณาโครงสร้างและบทบาทหน้าที่ของส่วนราชการ ไม่อยู่ในหน้าที่และอำนาจของ คณะอนกุ รรมการฯ และ กนช. 2. ให้กรมทรัพยากรน้ำพิจารณาทบทวนหน้าที่และอำนาจให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติ ทรัพยากรน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๑ เพื่อให้เกดิ การบูรณาการบรหิ ารจดั การทรัพยากรน้ำตามเจตนารมยแ์ ห่งกฎหมาย ข้อเสนอเพื่อทราบ เพื่อโปรดทราบผลการดำเนินงานของคณะอนุกรรมการพิจารณา กลั่นกรอง กฎหมายด้านการ บรหิ ารจดั การทรพั ยากรน้ำ จึงเรียนท่ปี ระชมุ เพ่ือโปรดทราบ มติที่ประชุม …………………………………………………………………….................................................................……….. ………………………………………………..………………………………………………………………………………………...…................ ……………………………………………..……………………………………………………………………………………………................... ……………………………………………..…………………………………………………………………………………………...…................ ……………………………………………..………………………………………………………………………………………...……................ ……………………………………………..………………………………………………………………………………………...……................ ………………………………………………..……………………………………………………………………………………...……................ ……………………………………………..………………………………………………………………………………………...……................ ……………………………………………..………………………………………………………………………………………...……................ ……………………………………………..………………………………………………………………………………………...……................ ……………………………………………..………………………………………………………………………………………...……................ ……………………………………………..……………………………………………………………………………………...………................ 46

ระเบียบวาระท่ี ๓ เร่ืองเพอ่ื ทราบ วาระท่ี ๓.๑ ผลการดําเนนิ งานของคณะอนกุ รรมการภายใตค ณะกรรมการทรพั ยากรน้ํา แหง ชาติ (ตอ ) 3.1.3 คณะอนุกรรมการขับเคลือ่ นแผนแมบทการบรหิ ารจัดการทรัพยากรนาํ้ 47

ระเบียบวาระที่ 3 เรอ่ื งเพื่อทราบ วาระท่ี 3.1 ผลการดาเนนิ งานคณะอนุกรรมการภายใต้คณะกรรมการทรัพยากรนาแห่งชาติ (ต่อ) 3.1.3 คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนแผนแมบ่ ทการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรนา 1. เร่ืองเดมิ สืบเน่ืองจากการประชุมคณะกรรมการทรัพยากรน้าแห่งชาติ ครังที่ 2/2562 เม่ือวันที่ 12 กันยายน 2562 ท่ีประชุมรับทราบการแต่งตังคณะอนุกรรมการภายใต้คณะกรรมการทรัพยากรน้า แหง่ ชาติ (กนช.) และประธานกรรมการทรพั ยากรน้าแห่งชาติมขี ้อสั่งการให้คณะอนุกรรมการทีไ่ ด้รับการแต่งตัง จาก กนช. เรง่ ดา้ เนินการประชมุ เพ่ือน้าผลที่ได้ไปด้าเนินการต่อไป 2. เหตุผลความจาเป็นท่ตี ้องเสนอคณะกรรมการทรพั ยากรนาแหง่ ชาติ ตามพระราชบัญญัติทรัพยากรน้า พ.ศ. 2561 มาตรา 18 วรรคสาม คณะกรรมการทรัพยากรนา้ แห่งชาติ มีหน้าท่ีติดตามและประเมินผลการด้าเนินการตามนโยบายและแผนแม่บทเกี่ยวกับการบรหิ ารจัดการ ทรัพยากรน้า ดังนัน ส้านักงานทรัพยากรน้าแห่งชาติ ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการขับเคล่ือนแผน แม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้า จึงเสนอผลการประชุมคณะอนุกรรมการฯ เพื่อให้ กนช. รับทราบผล การดา้ เนินงานและแนวทางการขบั เคลอื่ นแผนแม่บทการบรหิ ารจัดการทรัพยากรน้า 20 ปี 3. ขอ้ เทจ็ จรงิ /สาระสาคัญ ส้านักงานทรัพยากรน้าแห่งชาติในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการฯ ได้จัดประชุม คณะอนุกรรมการขบั เคล่ือนแผนแม่บทการบรหิ ารจัดการทรัพยากรน้า ครังที่ 1/2562 เม่อื วนั ท่ี 13 ธนั วาคม 2562 โดยมีรองนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ) เป็นประธานการประชุม เพ่ือรับทราบและ พจิ ารณา ดงั นี 3.1 รบั ทราบคาสง่ั แต่งตังคณะอนุกรรมการขับเคล่ือนแผนแม่บทการบรหิ ารจดั การทรัพยากรนา องค์ประกอบจ้านวน 32 คน โดยมีรองนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ) เป็นประธาน เลขาธิการส้านักงานทรัพยากรน้าแห่งชาติ เป็นรองประธาน มีหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเป็นอนุกรรมการ และรองเลขาธกิ ารส้านักงานทรัพยากรน้าแห่งชาติท่ีได้รบั มอบหมาย (นายประดับ กลัดเข็มเพชร) เป็นอนุกรรมการ และเลขานุการ โดยมีอ้านาจหน้าที่การขับเคล่ือน พิจารณา กลั่นกรอง และบูรณาการแผนงาน โครงการ ด้านการจัดหา พัฒนา และบริหารจัดการทรัพยากรน้าให้บรรลุเป้าหมาย รวมทังติดตามและประเมินผล การด้าเนินการภายใต้แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้า 20 ปี โดยคณะอนุกรรมการฯ มีความเห็น ใ ห้ บู ร ณ า ก า ร ต้ อ ง บู ร ณ า ก า ร ห น่ ว ย ง า น ใ น ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น แ ผ น ง า น ภ า ย ใ ต้ แ ผ น แ ม่ บ ท ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ทรัพยากรน้า 20 ปี จัดท้าแผนปฏิบัติการของแต่ละแผนงานในระยะ 20 ปี และติดตาม ประเมินผล การด้าเนินงานภายใต้แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้า 20 ปี เพ่ือเสนอต่อคณะกรรมการ ทรพั ยากรนา้ แห่งชาติตอ่ ไป ความเห็นของคณะอนกุ รรมการ ฯ : 1. ให้มีการบูรณาการหน่วยงานในการขับเคลื่อนแผนงานภายใต้แผนแม่บทฯน้า และจัดท้า แผนปฏิบตั ิการของแตล่ ะแผนงานในระยะ 20 ปี 2. ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการดา้ เนนิ งานภายใต้แผนแมบ่ ทเพอ่ื เสนอต่อ กนช. รับทราบ 3. ต้องด้าเนนิ การใหแ้ ล้วเสร็จภายในเดอื นตุลาคมของปถี ัดไป 48

3.2 รับทราบผลการดาเนินงานตามแผนแม่บทการบริหารจัดการบริหารจัดการทรัพยากรนา ท่ผี า่ นมา สรุปไดด้ ังนี ท่ีประชุมรับทราบแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้า 20 ปี และผลการด้าเนินงาน ตามแผนแมบ่ ท ปี 2561–2562 ตามท่ีสา้ นักงานทรัพยากรน้าแห่งชาติเสนอ ดงั นี แผนแมบ่ ทดา้ นที่ ผลการดาเนินงาน 1. การจัดการนา้ อุปโภคบรโิ ภค - เพม่ิ ประสิทธภิ าพระบบประปาหมู่บ้าน 2,049 หมูบ่ ้าน - การขยายเขต/เพ่ิมเขตจา่ ยน้า 473 แหง่ - พัฒนาประปาเมอื ง 5 เมอื งเศรษฐกิจส้าคัญ 2. การสรา้ งความม่นั คงของนา้ ภาคการผลิต เพมิ่ ปรมิ าณนา้ 448 ลา้ น ลบ.ม. พืนทีร่ บั ประโยชน์ 251,998 ไร่ 3. การจดั การนา้ ทว่ มและอุทกภัย - ปรับปรงุ ลา้ นา้ ธรรมชาติ 76 แหง่ - ป้องกนั น้าทว่ มชุมชนเมือง 35 แหง่ - เขอ่ื นปอ้ งกนั ตลิ่ง 25 กโิ ลเมตร - พัฒนา/ปรบั ปรุงพนื ทช่ี ะลอน้า 13 แหง่ 4. การจดั การคณุ ภาพน้า และอนรุ ักษ์ กอ่ สร้างและเพมิ่ ประสทิ ธิภาพระบบบา้ บัดน้าเสยี 6 แหง่ ทรพั ยากรน้า 5. การอนุรักษ์ฟนื้ ฟสู ภาพป่าต้นน้าท่ีเสื่อม ฟ้ืนฟปู ่าตน้ น้า 110,820 ไร่ โทรมและป้องกันการพังทลายของดิน 6. การบรหิ ารจดั การ - พระราชบญั ญัติทรัพยากรน้า พ.ศ. 2561 - แผนแม่บทการบริหารจัดการทรพั ยากรน้า 20 ปี - ระบบฐานขอ้ มลู และระบบสนบั สนุนการตดั สินใจ ความเหน็ ของคณะอนุกรรมการ ฯ : ให้หน่วยงานที่เกีย่ วข้องเร่งรดั การดา้ เนนิ งาน โดยเฉพาะแผนงานท่ีมีผลความกา้ วหน้าต้่า และ โครงการท่ียังมีปัญหาการถ่ายโอน ควรหาแนวทางแก้ไขเพ่ือให้ขับเคลื่อนได้ตามเป้าหมาย พร้อมทังรายงาน ความก้าวหนา้ การด้าเนินงาน การใช้จ่ายงบประมาณ รวมทังผลสัมฤทธิ์ของโครงการ ให้สา้ นักงานทรัพยากรน้า แห่งชาตทิ ราบ 3.3 รับทราบงบประมาณรายจ่ายแผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรนา ตาม รา่ ง พระราชบัญญตั ิงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 1) ผลการดาเนินงานตามแผนบูรณาการบริหารจดั การทรัพยากรนา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 ผลการด้าเนินงานและการเบิกจ่ายของแผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้า ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 มีหน่วยรับงบประมาณ รวม 7 กระทรวง (16 หน่วยงาน และ 1 กองทุน) 2 รัฐวิสาหกิจ งบประมาณทังสิน 62,831.59 ล้านบาท เบิกจ่ายงบประมาณและก่อหนีผูกพันแล้ว 61,338.5202 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 97.62 งบประมาณคงเหลือ 1,493.07 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.38 (ตามระบบ GFMIS ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2562) ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖2 แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้า ได้มีการปรับ แผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ และหรือการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ ณ สินไตรมาส 4 จ้านวน 3 หน่วยงาน ประกอบด้วย กรมชลประทาน กรมพัฒนาที่ดิน และกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook