Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Fishbook2

Fishbook2

Published by Kulapa Kuldilok, 2022-01-11 13:53:21

Description: Fishbook2

Search

Read the Text Version

เศรษฐกิจ อุตสาหกรรมประมง และการเพาะเลีย้ งสตั ว์น้ํา เพอ่ื ความย่ังยนื กุลภา กุลดิลก ภาควิชาเศรษฐศาสตรเ์ กษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์



เศรษฐกจิ อตุ สาหกรรมประมง และการเพาะเลี้ยงสัตวน์ ้ำเพื่อความยง่ั ยืน กลุ ภา กลุ ดิลก ภาควชิ าเศรษฐศาสตรเ์ กษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์



คำนำ อาหารที่มาจากทรัพยากรสัตว์น้ำถือเป็นแหล่งอาหารที่สำคัญของโลก อย่างไรก็ตามปริมาณ ความตอ้ งการบริโภคสัตว์น้ำในปจั จุบนั ยังไมส่ มดุลกับปริมาณทรัพยากรสัตวน์ ำ้ ที่สามารถทำประมงและ เพาะเลยี้ งท่ีมอี ย่อู ย่างจำกดั หนงั สอื “เศรษฐกิจอตุ สาหกรรมประมงและการเพาะเล้ยี งสัตวน์ ้ำเพ่ือความ ยั่งยืน” เรียบเรยี งและเกบ็ เกี่ยวจากประสบการณ์สอน ประสบการณ์ในการวิจยั ในพื้นทีท่ ำการประมง และการเพาะเล้ียงสัตว์น้ำ การรว่ มพูดคุยกับเครอื ข่ายชุมชนชาวประมง เกษตรกรผเู้ ล้ียงสัตว์น้ำ พ่อค้า แพปลา รวมถงึ ผ้ปู ระกอบการห้องเย็นและแปรรปู ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง ซง่ึ ผู้เขียนคาดหวงั วา่ ผ้ทู อ่ี ่านหนังสือเล่มนี้ จะเขา้ ใจถงึ ความสำคญั ทางเศรษฐกิจของผลผลิตสัตวน์ ้ำ แนวทางการจดั การความจำกัดของทรัพยากร สัตว์น้ำ การเพิ่มผลผลิตจากทางเลือกในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอย่างใส่ใจสภาพแวดล้อม การห่วงใยใน จดั การดา้ นแรงงานในอตุ สาหกรรมสตั วน์ ้ำ รวมทงั้ การวเิ คราะหป์ ัญหาและแนวทางในการแกไ้ ขตลอดโซ่ อปุ ทานของอตุ สาหกรรมสัตวน์ ำ้ ใหส้ ามารถอย่ไู ดอ้ ย่างยัง่ ยืน กุลภา กลุ ดิลก กันยายน 2564 หน้า |i



สารบญั 1. สัตวน์ ้ำสำหรับการบริโภคอาหาร (Fish for food) 1 1.1 แนวโน้มของการผลิตสัตวน์ ้ำ การใช้ประโยชน์สัตวน์ ำ้ และความยั่งยืนของสตั วน์ ำ้ ของโลก ของโลก 1 1.2 สถานการณ์ผลผลิตสัตว์น้ำท่ีจบั ธรรมชาตแิ ละเพาะเลี้ยงในไทย 4 1.3 เศรษฐกจิ การคา้ สนิ ค้าสัตว์น้ำ 7 2. การทำประมงอยา่ งยั่งยืน (Sustainability of Fishery) 21 2.1 การเติบโตของฝูงสัตว์น้ำตามธรรมชาติ 21 2.2 การทำประมงกบั การเติบโตของขนาดฝงู สัตว์น้ำ 25 2.3 เสน้ ผลจบั อยา่ งยง่ั ยนื (Sustainable Yield Curve) 30 2.4 ระดบั การทำประมงท่เี หมาะสม (Optimum fisheries) 32 2.5 การจัดการประมงภายใต้เง่ือนไขราคาสัตว์นำ้ เปลี่ยนแปลง 35 3. ทางเลอื กของผลติ ภัณฑส์ ตั วน์ ำ้ จากการเพาะเลยี้ งสตั วน์ ำ้ (Opportunities of fish for Food: aquaculture) 43 3.1 ความสำคัญของการเพาะเลยี้ งสัตว์น้ำ 43 3.2. การวเิ คราะห์เศรษฐกจิ การเพาะเลี้ยงสัตวน์ ้ำ 44 3.3 ระบบการจัดการฟาร์มสัตว์นำ้ สมยั ใหมแ่ ละเทคโนโลยใี นการเพาะเล้ยี งสัตว์น้ำ 62 3.4 ผลกระทบด้านสง่ิ แวดลอ้ มจากการเพาะเลีย้ งและการจดั การด้านส่งิ แวดล้อม 65

4. แรงงานอุตสาหกรรมสัตวน์ ้ำ (Labour for fish industry) 71 4.1 ความสำคัญของแรงงานในโซอ่ ุปทานอตุ สาหกรรมสตั วน์ ำ้ 71 4.2 ลกั ษณะการจา่ ยค่าแรงในภาคอุตสาหรรมสตั ว์น้ำ 74 4.3 ปญั หาของแรงงานในภาคอตุ สาหกรรมสตั ว์น้ำในอดตี 78 4.4 ผลกระทบของประเทศไทยหลังได้รับการประเมินอยใู่ น Tier 3 และได้รบั ใบเหลอื ง 81 4.5 ผลกระทบของนโยบายการแก้ไขปญั หาแรงงานในภาคอุตสาหกรรมสัตว์น้ำ 83 5. การจดั การโซ่อปุ ทานอตุ สาหกรรมสตั ว์น้ำของไทย (Fish supply chain management)87 5.1 แนวคิดด้านการจดั การโซอ่ ุปทาน 87 5.2 การวิเคราะหป์ ญั หาในโซ่อปุ ทานสตั วน์ ำ้ ของไทย :กรณีศึกษา ทูนา่ 89 5.3 การวิเคราะหป์ ัญหาในโซอ่ ุปทานสตั ว์น้ำของไทย :กรณศี ึกษา ปลากะพง 95 5.4 การวเิ คราะหป์ ัญหาในโซอ่ ปุ ทานสัตวน์ ำ้ ของไทย :กรณีศกึ ษา ปลาช่อน 103 6. นโยบายในการจัดการอตุ สาหกรรมสตั ว์น้ำ (Fishery policies) 111 6.1 ปัญหาการทำประมง 111 6.2 ปญั หาการทำการเพาะเลี้ยงสัตว์นำ้ 115 6.3 การจดั การประมง 116 6.4 มาตรการการจดั การประมงของต่างประเทศ 127 6.5 มาตรการการจัดการประมงของประเทศไทย 129 6.6 แนวทางการจดั การประมงและเพาะเลยี้ งสัตวน์ ำ้ ของประเทศไทย 130 บรรณานกุ รม 133 ดัชนี 145 หนา้ |iii

สารบญั ตาราง ตารางท่ี 1.1 การใช้ประโยชน์ของสัตว์น้ำ และปริมาณสัตว์น้ำที่ผู้บรโิ ภคบริโภคต่อคน 3 ตารางที่ 1.2 ปรมิ าณและมลู คา่ สัตว์นำ้ จับธรรมชาติ (นำ้ เค็ม) ปี 2563 5 ตารางที่ 1.3 ปรมิ าณและมูลคา่ สัตวน์ ำ้ จับธรรมชาติ (นำ้ จดื ) ปี 2563 6 ตารางท่ี 1.4 ปรมิ าณและมูลคา่ การเพาะเลย้ี งสตั ว์น้ำชายฝง่ั (นำ้ เค็ม/น้ำกรอ่ ย) ปี 2563 6 ตารางที่ 3.1 ต้นทุนการเพาะเลย้ี งปลากะพงขาว 1 รนุ่ ของผูเ้ พาะเล้ียงปลากะพงขาวในบอ่ ดนิ อำเภอ บางปะกง จงั หวดั ฉะเชิงเทรา ปีการผลติ 2558 52 ตารางที่ 3.2 คา่ สัมประสทิ ธิ์สหสมั พันธ์ (Correlation coefficient) ของผู้เพาะเล้ยี ง ปลานิลในบ่อดนิ 59 ตารางท่ี 3.3 แบบจำลองการผลิตของผู้เพาะเล้ยี งปลานลิ ในบ่อดนิ ในรูป Linear Natural Logarithm 60 ตารางที่ 4.1 ระบบการจา่ ยค่าตอบแทนของแรงงานในการทำประมง 75 ตารางท่ี 5.1 วธิ ีการคำนวณต้นทนุ ส่วนเพ่มิ กำไร และส่วนเหล่อื มการตลาด 89 ตารางท่ี 5.2 การจัดอนั ดบั บริษัทท่ีผลิตปลาทูนา่ กระปอ๋ งในประเทศไทยของกรนี พซี 93 ตารางท่ี 5.3 การคำนวณตน้ ทนุ สว่ นเพ่มิ กำไร และสว่ นเหลอ่ื มการตลาดของโซ่อุปทานปลากะพงขาว ปลายทางคา้ ปลกี และรา้ นอาหาร 100 ตารางท่ี 5.4 การเปรียบเทยี บการเลีย้ งปลาช่อนของไทยและเวยี ดนาม 107 ตารางท่ี 6.1 ความสูญเสยี มูลค่าสัตวน์ ำ้ เศรษฐกิจจากเครื่องมอื ตา่ งๆ 113 หน้า |iv

สารบญั ภาพ ภาพท่ี 1.1 ปรมิ าณสตั ว์น้ำทง้ั หมดในโลก (ลา้ นตนั ) 2 ภาพท่ี 1.2 สัดสว่ นของสตั วน์ ำ้ ท่มี ีความย่ังยืนและไม่ยั่งยนื เชงิ ชวี วิทยา 2 ภาพที่ 1.3 สัดสว่ นการสง่ ออกสนิ คา้ สตั วน์ ำ้ ในแต่ละประเทศ (รอ้ ยละ) ปี 2562 3 ภาพที่ 1.4 สัดสว่ นการนำเข้าสินคา้ สัตว์นำ้ ในแต่ละประเทศ (รอ้ ยละ) ปี 2562 4 ภาพที่ 1.5 ปริมาณสตั ว์น้ำจากธรรมชาติและเพาะเลี้ยงของไทย ปี 2547-2563 (พนั ตัน) 5 ภาพที่ 1.6 มูลคา่ การส่งออกปลาทูนา่ กระปอ๋ งในประเทศสง่ ออกหลกั ของโลก (ลา้ นบาท) ปี 2559-2563 7 ภาพท่ี 1.7 มูลคา่ การสง่ ออกปลาทูน่ากระป๋องของประเทศส่งออกหลังไปประเทศสหรัฐอเมริกา 8 ภาพที่ 1.8 มลู ค่าการสง่ ออกปลาทูน่าประปอ๋ งของประเทศส่งออกหลงั ไปประเทศใน กลมุ่ สหภาพยโุ รป 9 ภาพท่ี 1.9 มูลค่าการสง่ ออกปลาทนู า่ กระปอ๋ งของประเทศสง่ ออกหลกั ไปประเทศญ่ปี ุ่น 9 ภาพท่ี 1.10 ผลผลติ จากการเพาะเล้ียงกงุ้ ของประเทศผเู้ ล้ียงหลกั (ตัน) ปี 2544-2562 11 ภาพที่ 1.11 มลู ค่าการส่งออกกุ้งแช่เขง็ ของประเทศสง่ ออกหลักของโลก ปี 2559-2563 (ล้านบาท) 12 ภาพท่ี 1.12 มลู คา่ ก้งุ แช่แขง็ ของประเทศส่งออกหลังไปประเทศสหรัฐอเมรกิ า ปี 2559-2563 13 ภาพท่ี 1.13 มลู ค่าแช่แขง็ ของประเทศสง่ ออกหลักไปประเทศญีป่ ุ่น ปี 2559-2563 (ล้านบาท) 13 ภาพท่ี 1.14 มลู ค่าผลติ ภัณฑ์แปรรปู กุ้งของประเทศหลกั ของโลก ปี 2559-2563 (ลา้ นบาท) 14 ภาพที่ 1.15 มูลคา่ ผลิตภัณฑ์แปรรูปกงุ้ ของประเทศหลกั ไปประเทศสหรฐั อเมรกิ า ปี 2559-2563 (ล้านบาท) 15 ภาพที่ 1.16 มูลค่าผลิตภัณฑแ์ ปรรปู กุ้งประเทศสง่ ออกหลักไปประเทศญ่ีป่นุ ปี 2559-2563 (ล้านบาท) 15 ภาพที่ 1.17 มูลค่ากงุ้ แช่เยน็ ของประเทศส่งออกหลักของโลก ปี 2560-2563 (ล้านบาท) 16 ภาพท่ี 1.18 มูลค่ากุง้ แชเ่ ย็นของประเทศสง่ ออกหลกั ไปประเทศจีน ปี 2560-2563 (ลา้ นบาท) 17 ภาพที่ 1.19 มูลคา่ กุ้งแช่เยน็ ของประเทศส่งออกหลกั ไปฮอ่ งกง ปี 2560-2563 (ล้านบาท) 18 หน้า |v

ภาพท่ี 1.20 ภาพกระบวนการของเศรษฐกจิ อตุ สาหกรรมประมงและการเพาะเล้ยี งสัตว์น้ำ เพ่ือความย่ังยืน 18 ภาพที่ 2.1 การเจริญเติบโตของขนาดของฝูงสัตว์น้ำ 22 ภาพที่ 2.2 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างการเจรญิ เตบิ โตของฝูงสตั วน์ ำ้ F(X) และขนาดของ ฝงู สัตวน์ ำ้ (Fish Stock Size) 24 ภาพที่ 2.3 กราฟแสดงอตั ราการเติบโตของขนาดฝงู สตั ว์นำ้ เม่อื เวลาระยะเวลาผา่ นไป 24 ภาพท่ี 2.4 ส่วนประกอบพ้ืนฐานเม่อื มกี ารทำประมง 25 ภาพท่ี 2.5 การทำประมงในระดับขนาดฝงู สตั ว์น้ำที่มขี นาดต่างกัน 27 ภาพที่ 2.6 จุดสมดุลของการจบั สัตว์น้ำในระดบั ตา่ งของการเติบโตของฝูงสัตวน์ ำ้ 29 ภาพที่ 2.7 กราฟแสดงความสมั พันธ์ของจุดสมดุลอยา่ งยงั่ ยืนของการทำประมงและขนาด ของฝงู สตั วน์ ำ้ และ กราฟแสดงความสมั พนั ธ์ของการลงแรงประมงกบั ปรมิ าณ สัตว์น้ำทีจ่ ับได้บนเสน้ ผลจบั อยา่ งยั่งยืน 30 ภาพที่ 2.8 ระดับการทำประมงอย่างยง่ั ยนื ระดับการทำประมงไมเ่ กินขนาด และระดบั การทำประมงเกินควร 31 ภาพที่ 2.9 เส้นรายได้ท้ังหมด (TR) ของการทำประมงภายใต้การลงแรงประมง (E) หนึ่งๆ 32 ภาพท่ี 2.10 เสน้ ต้นทนุ ท้ังหมด ภายใตเ้ งื่อนไข สว่ นเพม่ิ ของตน้ ทุนเปน็ สัดส่วนเดยี วกับการเพิม่ การลงแรงประมง 33 ภาพที่ 2.11 ดุลภาพทำการประมงในระดับต่างๆ กนั 35 ภาพท่ี 2.12 ความสัมพนั ธ์ระหว่างปริมาณสตั วน์ ้ำ รายได้ และตน้ ทนุ ภายใตเ้ ง่อื นไข ราคาสตั วน์ ้ำเปลยี่ นแปลง 36 ภาพที่ 2.13 เส้นอุปทานโค้งกลบั (Backward Bending Supply Curve) 37 ภาพที่ 2.14 ดุลภาพการทำประมงเสรี กรณรี าคาสตั วน์ ำ้ เปลยี่ นแปลง 38 ภาพที่ 2.15 ดุลยภาพการทำประมงผูกขาด และการทำประมงผลได้สูงสุดในเชงิ เศรษฐศาสตร์ 39 ภาพท่ี 3.1 กระบวนการวเิ คราะห์เศรษฐกิจการเพาะเลี้ยงสตั ว์น้ำ 44 ภาพท่ี 3. 2 ธุรกิจการเพาะฟกั และอนบุ าลปลากะพงขาว 46 ภาพท่ี 3.3 บ่อซีเมนต์สำหรับเพาะฟกั และอนบุ าลลูกปลากะพงขาว อ.สองคลอง จ.ฉะเชิงเทรา 47 ภาพท่ี 3.4 สัดสว่ นตน้ ทุนคงที่ ตน้ ทุนผันแปร และรายรบั เหนือตน้ ทนุ ของฟารม์ เพาะฟัก และอนบุ าลปลากะพงขาว 48 หนา้ |vi

ภาพท่ี 3.5 ระบบติดตามการเจรญิ เติบโตของแบคทีเรยี 63 ภาพที่ 3.6 แอปพลิเคชั่น “นลิ 4.0” เพ่ือการเพาะเลยี้ งปลานิลโดยเฉพาะ 63 ภาพที่ 3.7 การจัดทำระบบการเลีย้ งสาหร่ายแบบเขม้ ขน้ เพ่อื เป็นอาหารใหล้ ูกกุ้ง 65 ภาพท่ี 3.8 ระบบเพาะเล้ียงลกู กุ้งแบบอตั โนมตั ิ (Automated Hatchery) 65 ภาพที่ 3.9 ระบบการเตือนเมื่อระดบั ออกซิเจนต่ำลง โดยใช้พลังงานโซล่าเซลล์ 67 ภาพที่ 3.10 ส่ิงอำนวยความสะดวกของการทำฟาร์มแนวดง่ิ แบบหลายชน้ั 67 ภาพที่ 4.1 การจา้ งแรงงานในระบบโซอ่ ุปทานของอุตสาหกรรมประมง 72 ภาพที่ 4.2 ลักษณะการทำงานของโรงงานแปรรปู ข้นั ต้น (ล้ง) และโรงงานแปรรูปผลติ ภณั ฑ์ 76 อาหารทะเลและการส่งออก 79 ภาพที่ 4.3 ช่วงเวลาของการเปล่ยี นแปลงการจ้างแรงงานในภาคการประมง 81 ภาพท่ี 4.4 แรงงานตา่ งดา้ วทท่ี ำงานในโรงงานแปรรปู ขนั้ ต้น (ล้งแกะกงุ้ ) 82 ภาพที่ 4.5 การลงข่าวเก่ยี วกับความตระหนักของผูบ้ ริโภคอาหารทะเลในต่างประเทศ 88 ภาพท่ี 5.1 กรอบการศกึ ษาโซ่อุปทาน 91 ภาพท่ี 5.2 โซอ่ ปุ ทานอตุ สาหกรรมผลติ ภัณฑ์ปลาทนู ่าของประเทศไทย 96 ภาพท่ี 5.3 โซ่อุปทานอุตสาหกรรมปลากะพงขาว 103 ภาพท่ี 5.4 ผลติ ภัณฑ์จากปลากะพงขาว 105 ภาพที่ 5.5 โซอ่ ปุ ทานและมลู ค่าเพม่ิ ของปลาชอ่ นนา 105 ภาพท่ี 5.6 โซ่อปุ ทานและมูลคา่ เพิ่มของปลาชอ่ นเลยี้ ง 118 ภาพที่ 6.1 ผลกระทบตอ่ ต้นทุนทีเ่ พ่มิ ขึ้นจากการจ่ายคา่ ธรรมเนยี มใบอนญุ าตทำการประมง 119 ภาพท่ี 6.2 การกำหนดโควตาการทำประมงภายใตเ้ งอื่ นไขราคาสตั ว์นำ้ เปลี่ยนแปลง 122 ภาพท่ี 6.3 การเก็บภาษีตอ่ หนว่ ยการลงแรงประมงใน ณ ราคาสัตวน์ ้ำคงที่ 124 ภาพท่ี 6.4 การเก็บภาษตี อ่ รายได้ ณ ราคาสัตว์นำ้ คงท่ี 125 ภาพที่ 6.5 การเก็บภาษีตอ่ หนว่ ยการลงแรงประมงใน ณ ราคาสัตว์น้ำเปลี่ยนแปลง 126 ภาพท่ี 6.6 การเก็บภาษีตอ่ รายได้ ณ ราคาสัตวน์ ้ำเปล่ียนแปลง หน้า |vii





บทท่ี 1 สัตวน ้ำสำหรับการบรโิ ภคอาหาร (Fish for Food) ในบทน้ีจะอธิบายสถานการณภาพรวมของอุปทานและอุปสงคข องสัตวน้ำทั่วโลกและประเทศ ไทย รวมท้ังเศรษฐกิจการคาระหวางประเทศไทยกับประเทศคูคา และประเทศไทยกับประเทศคูแขงใน สินคาสัตวน้ำท่ีสำคัญ รวมท้ังปญหาของอุปทานสัตวน ้ำหรือการไดมาของผลผลิตสัตวน้ำ เพื่อท่ีจะเปน แนวทางเบื้องตนของการวางแผนเพ่ือใหอุปทานสัตวน้ำเพ่ือใหสอดคลองกับอุปสงคของสัตวน้ำซง่ึ สงผล ตอ อตุ สาหกรรมสตั วนำ้ ตอ ไป 1.1 แนวโนมของการผลิตสตั วนำ้ การใชป ระโยชนส ัตวน ้ำ และความย่ังยืนของสตั วน ้ำของโลก แนวโนมของการผลิตสัตวน้ำของโลกไดสรุป จากภาพที่ 1. 1 แสดงปริมาณสัตวน้ำที่จับจาก ธรรมชาติ (น้ำจืด และน้ำเค็ม) และทเ่ี ปนการเพาะเล้ียงสัตวน้ำ (นำ้ จืด และนำ้ เคม็ ) ต้งั แตป 2493-2562 จะพบวา การจับสัตวนำ้ ตามธรรมชาติในชวงแรกมีการเพ่ิมข้ึนอยางตอเน่ืองต้ังแตชวงป พ.ศ.2493 ใน ปรมิ าณ 19.25 ลา นตัน จนถึง ป พ.ศ.2532 ท่ีปริมาณ 89.59 ลานตัน และหลังจากน้นั จะพบวาปริมาณ การจบั มีปริมาณคอ นขางคงท่ีจนถึงปจจุบัน (พ.ศ.2562) อยรู ะหวาง 86-97 ลานตัน ปริมาณสัตวน้ำท่ีจับจากธรรมชาติที่มีแนวโนมไมสามารถเพ่ิมข้ึน แตมีทิศทางที่จะลดลงแลว หากพิจารณาถึงความยั่งยืนของสัตวน้ำที่มีอยูจะเห็นไดวา กลุมของสัตวน้ำที่ถกู นำมาใชป ระโยชนอ ยูใน ระดับการทำประมงเกนิ ควร (Overfished) มเี พม่ิ มากขึ้นในชวง 20 ปท ผ่ี านมา ขณะท่ีกลมุ ของสัตวน ำ้ ที่ นำมาใชประโยชนท่ียังสามารถเพิ่มระดับการทำประมงได (Maximally sustainably fished) นั้น ลด นอยลงโดยเฉพาะอยางย่ิงในระหวาง 10 ปท ีผ่ านมา ซึง่ จะเห็นไดวาถึงแมจะมกี ารประเมินระดับการทำ ประมงเกนิ ควร ความตองการบรโิ ภคยงั มีความตอ เน่ือง สำหรับสัตวน้ำที่สามารถนำไปใชประโยชนอยาง ไมมีการจำกัดนัน้ (Underfished) พบวา มีสัดสว นนอยลงเรอ่ื ย ๆ เชน กัน สงผลใหเหน็ วาทรัพยากรสัตว น้ำถึงระดับวิกฤตทจี่ ะทุกๆ ประเทศท่ัวโลกตองชวยกนั วางแผนและทำใหทรัพยากรสตั วน้ำสามารถมีใช ประโยชนอ ยางยง่ั ยืน อยา งนอยท่ีสดุ คือเทา เดิม หรอื เพม่ิ ข้ึน (ภาพท่ี 1. 2) ซึ่งจะเห็นไดวามีการพึ่งพาการผลิตจากการเพาะเลี้ยงเพ่ิมข้ึนเรื่อย ๆ ตั้งแตป พ.ศ.2532 ท่ี ปริมาณ 16.96 ลานตัน และเพ่ิมข้ึนอยางตอเน่ืองในป 2562 ท่ีปริมาณ 120.1 ลานตัน เชนกัน เปน สัญญาณเตือนใหรูวาทรัพยากรสัตวน้ำทางธรรมชาติมีแนวโนมลดลง ในขณะที่แนวโนมของการบริโภค สัตวน้ำของโลกมีทิศทางที่เติบโตเพ่ิมขึ้น ซ่ึงจะเห็นไดวาจากป พ.ศ.2554 สัตวน้ำสำหรับการบริโภคมี

ลานตันปรมิ าณเทากับ 130 ลานตนั เพ่ิมสูงขึ้นอยางตอเน่ือง เปน 156.4 ลานตันในป 2561 ถึงแมวา อัตราการ เพ่ิมข้ึนจะมีอตั รานอยลง แตใ นภาพรวมมีการบริโภคสัตวน้ำมากข้ึนในทุกป สอดคลองกับปริมาณสตั ว นำ้ ท่ีผูบริโภค บริโภคตอคนในแตล ะป มีปริมาณเทากบั 18.6 กิโลกรัมในป 2554 และเพ่ิมข้ึนเปน 20.62493 กโิ ลกรัมในป 2561 (ตารางท่ี 1. 1)2497 2501 ปรมิ าณสัตวนาํ้ ทง้ั หมดในโลก (ลา นตัน)2505 2509 250 2513 200 2517 150 2521 100 2525 50 2529 - 2533 2537 จบั ธรรมชาตินา้ํ จืด จบั ธรรมชาตทิ ะเล เพาะเลย้ี งนํา้ จดื เพาะเล้ยี งชายฝง2541 2545 ภาพที่ 1. 1 ปรมิ าณสตั วน ้ำท้งั หมดในโลก (ลานตนั ) 2549 ทม่ี า: FAO (2021) 2553 2557 ภาพท่ี 1. 2 สัดสว นของสัตวน ้ำท่ีมคี วามยั่งยนื และไมย ่งั ยนื เชงิ ชีววิทยา 2561 ทมี่ า: FAO (2021) หนา | 2

ตารางท่ี 1. 1 การใชป ระโยชนข องสตั วนำ้ และปริมาณสัตวนำ้ ที่ผบู ริโภคบรโิ ภคตอคน การใชประโยชนข องสตั วน้ำ 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 สตั วน้ำสำหรับการบรโิ ภค (ลา นตนั ) 130 136.4 140.1 144.8 148.4 151.2 152.9 156.4 สัตวน ำ้ สำหรับการใชดานอืน่ ๆ (ลา นตนั ) 24 19.6 20.6 20 20.3 19.7 19.7 22.2 จำนวนประชากร (พนั ลา นคน) 7 7.1 7.2 7.3 7.3 7.4 7.5 7.6 ปริมาณสตั วน้ำท่ีบรโิ ภคตอคน (กก.) 18.6 19.2 19.5 19.8 20.3 20.4 20.4 20.6 ท่ีมา: FAO (2021) ในเศรษฐกจิ การคาของโลกอุตสาหกรรมสัตวนำ้ มีความสำคัญท้ังการสง ออกและการนำเขา จาก ตัวเลขของเศรษฐกิจการคาสินคาสัตวนำ้ ของแตละประเทศ พบวา ประเทศทีม่ ีการสงออกสินคาสัตวน้ำ มากที่สุดคือ ประเทศจีน (รอยละ 14) โดยมีมูลคาการสงออกอยูประมาณ 20 พันลานดอลลาสหรัฐ (640 พนั ลา นบาท) รองลงมาคือ นอรเวย มีการสง ออกประมาณ 12 พนั ลานดอลลา สหรัฐ (384 พันลา น บาท) (รอยละ 7) เวียดนาม อินเดีย ชิลี ไทย โดยมีมูลคาการสงออกอยูร ะหวาง 6 – 6.8 พันลานดอล ลา หสหรัฐ (192-208 พนั ลานบาท) ในป 2019 (พ.ศ.2562) สดั สว นการสงออกสนิ คา สตั วน าํ้ ของแตล ะประเทศ (รอยละ) จีน, 14% นอรเวย, 7% อนื่ ๆ, 48% เวยี ดนาม, 5% รสั เซีย, 3% แคนาดา, 3% ชิลี, 4% ไทย, 4% สหรัฐอเมริกา, 4% อนิ เดยี , 4% เนเธอรแ ลนด, 4% ภาพท่ี 1. 3 สดั สว นการสง ออกสนิ คาสัตวน ้ำในแตละประเทศ (รอยละ) ป 2562 ทม่ี า:FAO (2021) หนา | 3

สัดสว นการนําเขา สนิ คา สตั วน า้ํ ของแตล ะประเทศ (รอยละ) สหรัฐอเมริกา, 14% ญี่ปนุ , 7% อน่ื ๆ, 48% จีน, 5% สเปน, 4% เนเธอแลนด, 3% อิตาลี, 4% สวเี ดน, 3% ฝรั่งเศส, 4% เยอรมนี, 4% เกาหลีใต, 4% ภาพที่ 1. 4 สดั สวนการนำเขาสนิ คาสตั วนำ้ ในแตละประเทศ (รอยละ) ป 2562 ทม่ี า: FAO (2021) สำหรับกลุมประเทศท่ีมีการนำเขาสูงสุดตลอดมา ไดแก กลุมสหภาพยุโรป (รอยละ 34) สหรฐั อเมริกา (รอยละ 14) และญีป่ ุน (รอยละ 7) ในป 2019 (พ.ศ.2562) ทั้งน้ีในกลุมประเทศในเอเชีย ตะวันออกและเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต และซง่ึ มีการนำเขา เพื่อใหเพียงพอตอความตอ งการของผูบริโภค ท้ังนี้มูลคาการนำเขาสวนใหญจะสอดคลองกับสตั วน ้ำท่ีมีราคาสงู สำหรบั ประเทศไทยน้นั อุตสาหกรรม สัตวน้ำมีความสำคัญทางเศรษฐกิจไมนอยไปกวาสินคาการเกษตรอื่นๆ ไมวาจะเปน การทำประมงทาง ทะเล การเพาะเล้ียงชายฝง และการเพาะเลย้ี งน้ำจดื ซงึ่ สามารถพิจารณาไดจ ากผลผลิตสัตวนำ้ ทจ่ี บั ตาม ธรรมชาตแิ ละจากการเพาะเลีย้ งดงั มีรายละเอียดในหวั ขอตอไป 1.2 สถานการณผลผลติ สตั วน้ำท่จี ับธรรมชาติและเพาะเล้ียงในไทย สำหรับสถานการณการผลิตสัตวน้ำของประเทศไทย พบวา สัดสวนของสัตวน้ำเค็มท่จี ับจาก ธรรมชาตจิ ะมีมากที่สดุ อยางไรก็ตามตง้ั แตป 2547 - ป 2560 มปี รมิ าณนอยลง ในชว งป 2551 เปนตน มา จะพบวาการจับสัตวน้ำจากธรรมชาติในนำ้ เค็มและน้ำจืดมีแนวโนมลดลงอยางตอ เนื่องและคอ นขาง ทรงตัว ถึงแมวาจะมีการเพาะเล้ียงสัตวน้ำแตผลผลิตการเพาะเลี้ยงท่ีเพ่ิมข้ึน ยังไมสามารถทดแทน หนา | 4

ผลผลิตจากธรรมชาติได นอกจากน้ันในชวงป 2558 ประสบปญหาไดรบั การประเมินใบเหลืองจาก IUU จงึ สงผลตอการทำประมงทะเล เพราะเรือประมงมีการตรวจสอบการจดทะเบียน เคร่อื งมือประมง และ การจางแรงงาน ทำใหมกี ารหยุดทำประมง และจำกัดจำนวนการทำประมงในชวงนั้น จงึ ทำใหปริมาณ การจับสัตวน้ำท่ีมีแนวโนมลดลงเนอื่ งจากทรัพยากรเส่อื มโทรมและรวมกับการแกไขปญหา IUU จึงทำ ใหภาพรวมนั้นมีปริมาณลดลงอยางตอเนื่อง เมื่อมีการจำกัดการทำประมงในชวง 2558-2560 ในป 2561 ไดข จดั ปญ ญา IUU ไดด ีมากข้ึนและมีผลพวงทำใหท รพั ยากรประมงฟน ฟูดีขน้ึ ปรมิ าณการจับสตั ว น้ำจึงเพิ่มขึ้นจนถึงป 2563 สำหรับสัตวน้ำที่ทำประมงจากทะเล ไดแก กลุมปลาจับไดมากท่ีสุด 1,211.89 ลานตัน ปลาที่จับไดหลักๆ ไดแก ปลาหลังเขียว ปลาสีกุน ปลาทูแขก ปลาลัง ปลาแขงไก ปลาทราย และปลาทู (รอยละ 79.40) มูลคา 34,443 ลานบาท (รอยละ 51.21) รองลงมาคือ กลุม ปลาหมกึ 113.69 ลา นตนั (รอยละ 7.45) มูลคา 14,970 ลานบาท (รอ ยละ 22.26) (ตารางที่ 1. 1) 3,000 ปรมิ าณสตั วน้ําจากธรรมชาตแิ ละการเพาะเลย้ี งของไทย ป 2547-2563 (พันตนั ) 2,500 2,000 1,500 1,000 500 0 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 (2004)(2005)(2006)(2007)(2008)(2009)(2010)(2011)(2012)(2013)(2014)(2015)(2016)(2017)(2018)(2019)(2020) นํา้ เค็ม (Marine) น้าํ จืด (Inland) เพาะเลี้ยงชายฝง (Coastal aquaculture) เพาะเล้ยี งนํา้ จดื (Freshwater aquaculture) ภาพท่ี 1.5 ปรมิ าณสัตวน ำ้ จากธรรมชาติและเพาะเลย้ี งของไทย ป 2547-2563 (พนั ตนั ) ทมี่ า:กรมประมง (2563) ตารางที่ 1. 2 ปรมิ าณและมูลคา สตั วน ้ำจบั ธรรมชาติ (นำ้ เคม็ ) ป 2563 ชนดิ สัตวนำ้ ปริมาณ รอยละ มลู คา รอ ยละ พันตัน ลานบาท กลมุ ปลา 79.40 51.21 กลุมปลาหมึก 1,211.89 7.45 34,443 22.26 กลุม กุง 113.69 3.76 14,970 8.65 กลุมปู 57.33 3.12 5,817 13.17 47,621 8,860 ที่มา: กรมประมง, 2563 หนา | 5

ตารางที่ 1. 3 ปรมิ าณและมลู คาสัตวน้ำจบั ธรรมชาติ (น้ำจดื ) ป 2563 ชนดิ สัตวน ำ้ ปรมิ าณ มลู คา พันตัน รอยละ ลา นบาท รอ ยละ กลุมปลา 125.25 94.04 6,981 79.73 กลมุ กุง 5.35 4.02 1,644 18.77 กลมุ อน่ื ๆ 2.58 1.94 131 1.50 ที่มา: กรมประมง (2563) สำหรับการจับสัตวน้ำจืดธรรมชาติ พบวา กลุมปลามีสัดสวนมากที่สุด โดยมีปริมาณเทากับ 125,247 ตัน (รอยละ 94.04) คิดเปนมูลคา เทากับ 6,981 ลานบาท (รอ ยละ 79.73) โดยมีปริมาณปลา ตะเพียนมากทส่ี ุด (รอ ยละ 17.83) รองลงมาเปนปลานิล (รอยละ 15.32) ปลาชอน (รอ ยละ 6.74) ปลา ดุก (รอยละ 5.96) ตามลำดับ กลุมกุงเปนกลุมท่ีสองรองจากกลุมปลา มีปริมาณ 5,354 ตัน (รอยละ 4.02) มูลคา 1,644 ลา นบาท (รอยละ 18.77) สวนใหญเปนกุงกามกราม (รอยละ 74.99) ดัง ตารางท่ี 1. 3 สำหรับการเพาะเล้ียงชายฝง พบวา ปริมาณสัตวน้ำจากการเพาะเล้ียงชายฝงท่ีมากที่สุดเปนการ เล้ียงกุง ผลผลิต 531,581 ตันตอป (รอยละ 69.31) มลู คา 68,557 ลานบาทตอป (รอยละ 89.17) โดย มีกุงขาวเปนสัดสวนท่ีมากท่ีสุด (รอยละ 96.62) รองลงมาคือกุงกุลาดำ (รอยละ 3.24) และกุงแชบวย (รอยละ 0.05) ในป 2563 ตารางที่ 1. 4 ปรมิ าณและมลู คา การเพาะเลี้ยงสตั วนำ้ ชายฝง (นำ้ เคม็ /นำ้ กรอ ย) ป 2563 ชนิดสัตวน้ำ ปริมาณ มลู คา ลานบาท พันตัน รอ ยละ รอ ยละ 68,557 89.17 กุง 531.58 69.31 4,178 6.09 7,568 11.04 ปลา 38.85 7.31 หอยทะเล 117.93 22.18 ทีม่ า: กรมประมง (2563) การเลี้ยงสัตวน้ำท่ีอยูในลำดับท่ี 2 เปนปลา มีผลผลิตรวม 38,845 ตัน (รอยละ 7.31) มูลคา เทากับ 4,178 ลานบาท (รอยละ 6.09) โดยมีปลากะพงมากที่สุด (รอยละ 96.84) รองลงมาเปนปลา กะรัง (รอยละ 24.95) และกลุมหอยทะเลเล้ียงบริเวณชายฝง มีปริมาณ 117,933 ตนั (รอ ยละ 22.18) หนา | 6

มลู คา 7,568 ลา นบาท (รอยละ 11.04) โดยมีปรมิ าณหอยแครงมากท่ีสุด (รอยละ 45.10) รองลงมาเปน หอยแมลงภู (รอยละ 38.02) และหอยนางรม (รอยละ 23.51) ดังตารางท่ี 1. 4 สำหรับผลผลิตสัตวน้ำในการเพาะเลี้ยงน้ำจืด มีปริมาณทั้งหมด 413,455 ตัน คิดเปนมูลคา 25,514 ลานบาท โดยมีปลานิลมากที่สุด (รอยละ 49.96) รองลงมาเปนปลาดุก (รอยละ 24.16) กุง กา มกราม (รอยละ 7.24) ปลาตะเพียน (รอยละ 5.20) และปลาชอน (รอ ยละ 0.93) 1.3 เศรษฐกจิ การคาสินคาสตั วน ำ้ ในประเทศไทย ผลผลิตสัตวน ้ำของไทยสว นใหญจะบริโภคภายในประเทศ แตจะมีสินคาสัตวน้ำบางชนิดท่ีเนน ในการผลิตเพ่ือการสงออก ไดแก ปลาทูนา และกุงขาว ซึ่งเปนสินคาสัตวน้ำท่ีมีปริมาณการสงออก คอนขางสงู อุตสาหกรรมปลาทูนาท่ีประเทศไทยสงออกน้ัน ถือเปนผสู งออกปลาทนู าแปรรปู อันดับหน่ึง ของโลก ลา นบาท มลู คาการสง ออกปลาทนู า กระปอ งของประเทศสง ออกหลักของโลก ป 2559-2563 (ลา นบาท) 80,000 70,000 60,000 50,000 40,000 30,000 20,000 10,000 - ไทย เอกวาดอ ร สเปน จีน ฟ ิลป ปนส ิอนโด ีนเซีย เนเธอแลนด เวียดนาม ีซเชลล ิอตาลี ปา ปวนิวกินี มอริเ ีชยส 2559 2560 2561 ภาพท่ี 1.6 มูลคา การสง ออกปลาทูนากระปองในประเทศสงออกหลกั ของโลก (ลา นบาท) ป 2559-2563 หมายเหตุ ภาพท่ี 1.6-ภาพที่ 1.19 คำนวณจากอตั ราแลกเปลี่ยน โดยที่ ป 2559 1 ดอลลา หสหรฐั : 35.29 บาท ป 2560 1 ดอลลาหส หรฐั : 33.96 บาท ป 2561 1 ดอลลา หสหรฐั : 32.33 บาท ป 2562 1 ดอลลาหสหรฐั : 31.05 บาท ป 2563 1 ดอลลา หสหรฐั : 31.29 บาท ท่ีมา: International Trade Centre (2021) หนา | 7

เนื่องจากประเทศไทยความเช่ียวชาญในดานการแปรรูปทูนาปลากระปองมายาวนาน จาก ขอมูลการคาทูนากระปองของโลก ดังภาพท่ี 1.6 พบวา ไทยสามารถสงออกปลาทูนา ไดเปนอนั ดับหนึ่ง ของโลก รองลงมาเปน เอกวาดอร สเปน จีน ฟลิปปนส อินโดนีเซีย และเวียดนาม ซ่ึงตั้งแต ป 2559 จนถึงป 2564 ประเทศไทยยังคงอยูในอันดับท่ี 1 มูลคาการสงออกเทากับ 73,857.38 ลานบาท รองลงมาเปนประเทศเอกวาดอร มูลคาการสงออกนอยกวาไทยมากกวาคร่ึงท่ี 32,330,61 ลานบาท สเปนมีมลู คา ในการสง ออกเทากับ 20,732.32 ลานบาทในป 2563 ตามลำดับ ในตลาดคูคา หลกั ไดแก ประเทศสหรัฐอเมรกิ า กลุมสหภาพยุโรป และประเทศญ่ีปุน สำหรับ ตลาดสหรัฐอเมริกา ประเทศไทยสามารถครองลำดบั ท่ี 1 ในป 2563 ดว ยการเติบโตของการสง ออก โดย มีการครองตลาดอยูท่ีรอยละ 52 และมีอัตราการเติบโตอยูที่รอยละ 27 จากป 2562-2563 คูแขงที่ สำคัญ ไดแก เวียดนาม (รอยละ 9) เอกวาดอร (รอยละ 9) ฟจิ (รอยละ 7) ตามลำดับ การเติบโตใน ตลาดประเทศสหรัฐอเมรกิ าเนื่องจากประเทศไทยเปนฐานการผลติ ที่สำคัญในแบรนดห ลักของประเทศ สหรัฐอเมริกา มีการรวมทุนระหวางบริษัทในประเทศไทยและสหรัฐอเมรกิ ามาอยางตอเนื่อง จึงทำให ประเทศไทยครองพื้นทีไ่ ดอยางยาวนาน ลานบาท มลู คา การสง ออกปลาทนู ากระปองของประเทศสง ออกหลักไปประเทศสหรฐั อเมรกิ า ป 2559-2563 (ลานบาท) 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 - ไทย เวียดนาม เอวกาดอร ฟจ ิ เมก็ ซโิ ก อนิ โดนีเซยี 2559 2560 2561 2562 2563 ภาพที่ 1. 7 มลู คา การสง ออกปลาทนู า กระปอ งของประเทศสง ออกหลงั ไปประเทศสหรัฐอเมริกา ท่มี า: International Trade Centre (2021) อยางไรก็ตามในตลาดคูคาในกลุมสหภาพยุโรป ซึ่งเดิมประเทศไทยมีการสงออกปลาทูนา กระปองเปนจำนวนมาก แตหลงั ประเทศไทยไดรับผลกระทบจากมาตรการกีดกันการคาดา นภาษีที่เปน หนา | 8

ประเทศเดียวที่ไดรบั ผลกระทบจากการหมดชองทางการใหสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเปนการทั่วไป (GSP) ทำใหเสียภาษีนำเขาดวยอัตราภาษี MFN รอยละ 12, รอยละ 20 และ รอยละ 24% จึงทำให ไทยตอ งเสยี ภาษีนำเขา ในอตั ราที่เพิ่มสูงข้นึ สงผลตอตนทุนการผลติ ทีส่ งู ข้ึนจงึ ทำใหต ลาดในกลุมสหภาพ ยุโรปมีการแขงขันที่ดอยลงและสูคูแขงอยางเอกวาดอร เวียดนาม ฟลิปปนสและอินโดนีเซีย ท่ียังคง ไดรับสทิ ธิ GSP ที่ 4.2% 7.0% และ 0% (กรุงไทยคอมแพส, 2563) ดังภาพที่ 1. 8 ลานบาท มลู คาการสง ออกปลาทนู ากระปอ งของประเทศสง ออกหลกั ไปประเทศสหภาพยโุ รป 30,000 ป 2559-2563 (ลานบาท) 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0 เอวกาดอร ฟล ลปิ ปน ส ไทย เวยี ดนาม อนิ โดนเี ซยี 2559 2560 2561 2562 2563 ภาพที่ 1. 8 มลู คา การสง ออกปลาทนู า ประปอ งของประเทศสง ออกหลังไปประเทศในกลมุ สหภาพยุโรป ท่ีมา: International Trade Centre (2021) ลานบาท มูลคาการสง ออกปลาทูนากระปอ งของประเทศสง ออกหลกั ไปประเทศญ่ีปุน ป 2559-2563 (ลา นบาท) 20,000 15,000 10,000 5,000 0 อนิ โดนีเซยี ฟลปิ ปน ส เวียดนาม จีน ไทย 2559 2560 2561 2562 2563 ภาพท่ี 1. 9 มูลคา การสงออกปลาทูนากระปองของประเทศสง ออกหลักไปประเทศญปี่ นุ ทีมา: International Trade Centre (2021) หนา | 9

ในขณะท่ีการแขงขันการสงออกปลาทูนากระปองไปประเทศญี่ปุน ประเทศไทยยังคงครอง สัดสวนท่ีมากท่ีสุด (รอยละ 57) รองลงมาคอื ประเทศอินโดนีเซีย (รอยละ 20) และฟลิปปนส (รอ ยละ 16) ท้ังนป้ี ระเทศไทยมีอัตราการเติบโตอยูท ่ีรอยละ 9-10 ในชว งป 2559-2563 การแขงขันในอุตสาหกรรมปลาทนู า ถึงแมวาประเทศไทยจะมศี ักยภาพในการแขงขันคอนขาง สูงในตลาดหลัก ยกเวนตลาดในกลุมประเทศสหภาพยุโรป และมีการเติบโตเพ่ิมขึ้นสำหรับตลาดอื่นๆ เชน ประเทศออสเตรเลีย และกลุมประเทศตะวันออกกลาง แตประเทศไทยยังคงมีปญหาในเร่ืองของ การนำเขาวัตถุดิบปลาทูนาท่ีไมสามารถทำการประมงไดเอง ซ่ึงไมสามารถควบคุมกฎเกณฑและ กฎระเบียบของการทำประมงอยางถกู กฎหมายและย่ังยืนได โดยเฉพาะต้งั แตหลังจากที่ประเทศไทยได ใบเหลอื งจากสหภาพยุโรป เรื่องการทำประมงอยางผิดกฎหมาย และ teir3 จากประเทศสหรัฐอเมริกา สำหรับการใชแรงงานทาสในอุตสาหกรรมประมง ดังน้ันจึงตองมีการตรวจสอบและติดตามจากผูจัดหา วัตถุดิบปลาทูนาจะประเทศตางๆ ดว ยการใชวัตถุดิบทม่ี ีมาตรฐานรองรับ และสามารถตรวจสอบไดว า วัตถุดิบน้ันไดมาจากแหลงการทำประมงแบบถูกตองและยั่งยืน ซ่ึงเปนสิ่งที่ทาทายในปจจุบันของ อตุ สาหกรรมทนู า แตประเทศไทยยังตอ งนำเขาวตั ถดุ บิ ปลาทนู าเปน สำคญั ไมสามารถทำประมงได อุตสาหกรรมสัตวน้ำที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจของไทย ลำดับตอมาคอื อุตสาหกรรมกุง ใน อดีตการผลติ กุงของไทยมีการเตบิ โตเพ่ิมสูงข้ึนอยางตอเนื่อง ในชวงแรกของการเพาะเล้ียงกุง พันธกุงท่ี นิยมเล้ียงจะเปนกุงกลุ าดำ แตเนื่องจากการเล้ียงกุงกุลาดำใชน้ำท่ีมีความเค็มต่ำและมีการขยายเขามา เลี้ยงในพ้ืนที่น้ำจืด จึงสงผลกระทบตอการเลี้ยงมีผลกระทบตอส่ิงแวดลอม และการกระจายความเค็มสู พ้ืนดิน นอกจากน้ันยังเกิดโรคระบาด และมีการใชยาปฏิชีวนะจำนวนมากและมีการตกคางในกุง จน ประเทศคูคาที่นำเขามกี ารยกเลิกการนำเขาสงผลตอ ความตอ งการกุงในตลาด ผแู ปรรูปยกเลิกการรบั ซ้ือ จากเกษตรกร และเกษตรกรมีการขาดทุนในท่ีสุด ระยะตอมาเมื่อมีการไดมีการนำพันธกุงขาว ท่ี สามารถเพาะพันธุขาย มีความคงทนและโตงา ยในภูมิศาสตรเขตรอน ดังภาพท่ี 1. 10 ผลผลิตของการเพาะเลยี้ งกุงในประเทศไทยไดเพิ่มขึ้นตง้ั แตป 2544 จนกระทั่งถึงป 2555 โดย มีผลผลิตกุงเทากับ 609,552 ตัน ขณะท่ีประเทศอินโดนีเซียมีผลผลิตที่เล้ียงเทากับ 368,477.28 ตัน เวียดนาม 328,031 ตัน และประเทศอินเดียมีการเลี้ยงกุง เพียง 269,500 ตัน โดยท่ปี ระเทศไทยประสบ ปญหา EMS และปญหาตอเน่ืองในการไดรับใบเหลืองและ Tier3 ในป 2557 ซ่ึงจะเปนไดวาประเทศ ไทยไมสามารถผลิตกุงไดเพิ่มขน้ึ อีกเลยตั้งแตป  2555 ในขณะที่อินโดนีเซยี เวียดนาม และอินเดีย ทีเ่ ปน คูแขงหลักไดข้ึนอันดับเปนท่ี 1 -3 ในเวลาตอมา โดยมีผลผลิตการเลี้ยงเทากับ 932,600, 883,000 หนา | 10

และ 759,906 ตัน ตามลำดับ สำหรับประเทศจีนท่ีมีผลผลิตจำนวนมากสวนใหญจะบริโภคในประเทศ และสงออกบางสวน ในดานการสงออกในอุตสาหกรรมกุง พบวา ผลิตภัณฑกุงท่ีเปนสินคาหลักในการ สงออก ไดแ ก กุง แชแข็ง กงุ แปรรปู และ กุง แชเยน็ หรอื สด ผลผลติ จากการเพาะเลย้ี งกุง ของประเทศผเู ลีย้ งหลกั (ตนั ) ป 2550-2562 2,500,000 2,000,000 1,500,000 1,000,000 500,000 0 อนิ เดยี เวยี ดนาม เอวกาดอร จนี อินโดนีเซยี ไทย 2550 2551 2552 2553 2554 2,555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 ภาพที่ 1. 10 ผลผลิตจากการเพาะเลย้ี งกงุ ของประเทศผเู ลีย้ งหลกั (ตนั ) ป 2544-2562 ทม่ี า: FAO (2021) ประเทศไทยเคยเปนประเทศที่สงออกกุงมากท่ีสุด โดยป 2555 สัดสวนการสงออกกุงของไทย ในตลาดโลกมีมากถึง รอยละ 21 ในขณะที่ประเทศจีน มีเพียงรอยละ 15 อินเดียมีสัดสวนรอยละ 12 เอกวาดอรและอินโดนีเซียมีสัดสวนรอยละ 8 เมื่อประเทศไทยไดรับผลกระทบจาก EMS ในชวงป 2555-2557 และเมื่อกำลังจะฟนสภาพจากปญหา EMS ไดนั้น ประเทศไทยไดรับผลกระทบจากการ ประเมินของสหภาพยุโรป ไดรับใบเหลืองเร่ืองการทำประมงผิดกฎหมาย (IUU Fishing) และ ถูกจัด อันดับใหเปนประเทศท่ีมีปญหาการคามนษุ ยระดับรายแรง Tier3 จากประเทศสหรัฐอเมริการวมท้ังถูก ตัดสิน GSP จากสหภาพยุโรปทั้งกุงปรงุ แตของไทย และกุงสดแชเย็นแชแข็งของไทย ทำใหสถานการณ การสงออกกุงของไทยตองชะลอและไดรับผลกระทบในการสงออก และสูญเสียตำแหนงผูนำในการ สง ออกกงุ ทง้ั น้ีในป 2559 ถึงแมวาการสงออกกงุ ของไทยจะฟน ตวั ข้ึน แตย ังไมสามารถแยงตลาดเดิมคนื มาได โดยมปี ระเทศอินเดียมีสัดสวนการสง ออกรอ ยละ 17 เอกวาดอร รอยละ14 จีน รอยละ 11 และ อินโดนีเซียรอยละ 19 และเวียดนาม มีการสงออกเพ่ิมข้ึนเร่ือย ๆ (ธนาคารแหงประเทศไทย, 2561) (nfi, 2558) สำหรับผลิตภัณฑกุงหลักๆ ท่ีประเทศไทยไดมีการสงออก ไดแก กุงแชแข็ง ผลิตภัณฑแปร รปู กุง และกงุ แชเ ยน็ หนา | 11

สำหรับกุงแชแข็งในตลาดโลก ประเทศท่ีสงออกมากที่สุด คือ อินเดีย โดยมีมูลคา 122.15 พันลานบาท ในป 2559 แตมีแนวโนมลดลงเปน 118.67 พันลานบาท อยางไรก็ตามยังคงเปนผูนำใน การสงออกหลังของโลก รองลงมาคือประเทศเอกวาดอร 113.45 พันลานบาท เวียดนาม 60.76 พนั ลานบาท อินโดนีเซีย 44.31 อาเจนตินา 25.96 พันลา นบาท และไทย 17.60 พันลานบาท ดงั ภาพ ท่ี 1. 11 ซึ่งจะเห็นวาประเทศไทยอยูในอันดับที่หกของโลก ท้ังนี้ประเทศไทยสูญเสียความสามารถใน การแขงขันเนื่องจากตนทุนการผลิตไทยที่สงู กวาประเทศคูแขง เชน ประเทศอินเดีย เพราะประเทศไทย มีคาจางแรงงานท่ีสูงกวา กอรปกับการขาดแคลนแรงงานในชวงท่ีมีการจัดการการแกไขปญหาการทำ ประมงผิดกฎหมาย และมาตรการจางแรงงานตางดา ว สงผลใหตนทุนเพ่ิมขึ้นไปอีก (กรุงไทยคอมแพส, 2563) ท้ังนี้คูแขงทางการคาที่สำคัญของไทย ในตลาดหลักของไทย ไดแ ก ประเทศสหรัฐอเมริกา และ ญี่ปุนสำหรบั ตลาดในประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศไทยเคยเปนประเทศหลกั ที่สง ออกกุงแชแข็งอนิ เดยี เปนผูสงออกหลักของสหรัฐอเมริกาดวยมูลคาการสงออกเทากับ 63,250.23 ลานบาท ในป 2563 รองลงมาคืออินโดนีเซยี (31,553.33 ลานบาท) เอกวาดอร เม็กซิโก เวียดนาม และไทย ซ่ึงประเทศไทย เคยเปนผูสงออกในอันดับสามของป 2559-2560 แตเสียอันดับการสงออกลดลงเปนอันดับ 6 ในป 2561-2563 โดยมมี ลู คา การสงออกเพยี ง 6,040.70 ลา นบาท (ภาพที่ 1. 12 ) มูลคาการสง ออกกุงแชแข็งของประเทศสง ออกหลักของโลก ป 2559-2563 (ลานบาท) 200,000 150,000 100,000 50,000 - ิอนเ ีดย เอกวาดอร เวียดนาม ิอนโดนีเ ีซย อาเจนตินา ไทย ีจน บังคลาเทศ สเปน เม็ก ิซโก 2559 2560 2561 2562 2563 ภาพท่ี 1. 11 มูลคาการสงออกกุงแชเข็งของประเทศสง ออกหลักของโลก ป 2559-2563 (ลา นบาท) ทีม่ า: International Trade Centre (2021) หนา | 12

ิอนเ ีดย มลู คากงุ แชแข็งของประเทศสงออกหลกั ไปประเทศสหรัฐอเมรกิ า อินโด ีนเ ีซย ป 2559-2563 (ลานบาท) เอกวาดอ ร 80,000 เมก ิซโก70,000 เวียดนาม60,000 50,000 ไทย40,000 30,000 20,000 10,000 - 2559 2560 2561 2562 2563 ภาพท่ี 1. 12 มลู คากงุ แชแขง็ ของประเทศสง ออกหลงั ไปประเทศสหรัฐอเมรกิ า ป 2559-2563 ท่มี า: International Trade Centre (2021) สำหรบั ประเทศญ่ีปนุ พบวาในการนำเขากงุ แชแข็งน้ัน มีประเทศเวียดนามเปนอันดับหน่งึ โดย มีมูลคา ประมาณ 12,323.55 ลานบาทในป 2559 แตในป 2561-2564 นั้น มีมูลคาลดลงอยางตอเน่ือง จาก 11,769.37 ลา นบาท มาเปน 10,014.95 ลา นบาท มูลคากุงแชแ ขง็ ของประเทศสง ออกหลักไปประเทศญป่ี ุน ป 2559-2563 (ลานบาท) 20,000 15,000 10,000 5,000 - 2559 2560 2561 2562 2563 ภาพท่ี 1. 13 มูลคาแชแข็งของประเทศสงออกหลกั ไปประเทศญป่ี ุน ป 2559-2563 (ลานบาท) ทมี่ า: International Trade Centre (2021) หนา | 13 เ ีวยดนาม ิอนเ ีดย ิอนโด ีนเ ีซย อาเจน ิตนา ไทย ีจน

รองลงมาคืออินเดีย อินโดนีเซีย อาเจนตินา และไทยเปนอันดับ 5 มูลคาการสงออกไปญ่ีปุน เทากบั 4,228.15 ลานบาท ซ่งึ ไดลดลงในป 2562-2563 มีมูลคาสงออกเหลือเพยี ง 3,332.54 ลา นบาท (ภาพท่ี 1. 13) การสง ออกผลติ ภณั ฑแ ปรรปู กุง ในป 2559 จะพบวาประเทศไทยยังเปน ผนู ำการสง ออกอยู แต มลู คาการสง ออกคอยๆ นอยลง จาก 26,502.67 ลานบาท ในป 2559 ลดลงเหลือเพียง 7,974.64 ลา น บาท ในป 2563 ทัง้ น้ีประเทศเวียดนามกม็ ีลักษณะใกลเ คียงกบั ไทย แตเ วียดนามสามารถคงการสง ออก ไดดกี วา โดยทีป่  2563 มีการสง ออกเทา กับ 14,413.37 ลา นบาท ในขณะทปี่ ระเทศจีนยังครองตำแหนง การสง ออกอันดับหนึ่งดว ยมูลคา 16,474.81 ลานบาท (ภาพท่ี 1.14) มลู คาผลติ ภณั ฑแ ปรรปู กงุ ของประเทศหลกั ของโลก ป 2559-2563 (ลา นบาท) 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 - 2559 2560 2561 2562 2563 ภาพท่ี 1. 14 มลู คา ผลิตภัณฑแปรรปู กงุ ของประเทศหลักของโลก ป 2559-2563 (ลา นบาท) ท่มี า: International Trade Centre (2021) หากพจิ ารณาประเทศคูคา หลักในการสงออกผลิตภณั ฑแปรรูปกุง ไดแก ประเทศสหรฐั อเมริกา และญี่ปุนเชนกัน ประเทศไทยเคยเปนผูสงออกอันดับหน่ึงในป 2559 -2560 มูลคา 13,762.04- 13769.09 ลานบาท และหลังจากป 2561 เปนตนมา การสงออกลดลงมาเปนอันดับท่ีส่ี เหลือมูลคา สง ออกเพยี ง 8,493 ลา นบาท โดยมปี ระเทศเวียดนาม อินโดนีเซียและอินเดีย แซงหนา เปน ผสู งออกหลกั ตามลำดับ อยางไรก็ตามพบวา คูคาประเทศญ่ีปุน คงนิยมนำเขาผลิตภัณฑแปรรูปกุงจากประเทศไทย ท้งั น้ีเนอื่ งจากมน่ั ใจในคณุ ภาพการผลิตสินคาแปรรปู กงุ ของไทย ผลติ ภณั ฑก งุ แปรรูป ไดแ ก กงุ ตน หกั หวั หนา | 14

มลู คา ผลิตภณั ฑกงุ แปรรปู ประเทศผูสง ออกหลกั ไปประเทศสหรฐั อเมรกิ า ป 2559-2563 (ลา นบาท) 15,000 10,000 5,000 - เ ีวยดนาม ิอนโด ีนเซีย อินเ ีดย ไทย ีจน เอวกาดอ ร 2559 2560 2561 2562 2563 ภาพท่ี 1.15 มูลคาผลติ ภัณฑแ ปรรปู กุงของประเทศหลักไปประเทศสหรฐั อเมรกิ า ป 2559-2563 (ลานบาท) ทมี่ า: International Trade Centre (2021) มูลคาผลิตภัณฑแปรรปู กงุ ประเทศสง ออกหลักไปประเทศญปี่ ุน ป 2559-2563 (ลา นบาท) 1200 1000 800 600 400 200 0 2559 2560 2561 2562 2563 ภาพที่ 1. 16 มูลคา ผลิตภณั ฑแปรรูปกุงประเทศสง ออกหลักไปประเทศญ่ีปุน ป 2559-2563 (ลา นบาท) ทม่ี า: International Trade Centre (2021) ผา หลังหรือสอยไส ปอกเปลือก ท้ังมหี างและไมม ี กุงชุมขนมปง รวมท้ังดิบและทอด ซึ่งมีท้ังปรุง สุกและปรุงรส เปนผลิตภัณฑอาหารพรอมทานท่ีมีมูลคาเพิ่มสูงขึ้น ประเทศไทยยังคงครองอันดับหน่ึง หนา | 15 ไทย เวียดนาม อินโด ีนเซีย จีน อินเ ีดย

ของการสงออกที่มูลคา 978.35 ลานบาท ในป 2559 ซึ่งถึงแมวาจะครองอันดับหน่ึง แตการสงออกมี แนวโนมลดนอยลงจากปญหาผลผลติ ที่ไมสามารถผลติ ไดอยางเพียงพอ เผชิญกับปญ หาโรคระบาด การ แขงขันที่รุนแรง การกีดกันการคาเพิ่มขึ้นในกลุมประเทศยุโรปและอเมริกา รวมทั้งความนิยมบริโภค อาหารทะเลสด (ไมปรุงแตงรส) จนในป 2563 จึงทำใหมีมูลคาเหลือเพียง 766.78 ลานบาท ท้ังนี้ ประเทศคูแขงอยางเวยี ดนามนั้น สามารถสงออกไดใ กลเคียงกับประเทศไดดวยมูลคา 764.30 ลานบาท (ภาพที่ 1.16) ในสวนของมูลคาการสงออกกุงแชเย็นหรือสด น้ัน ประเทศไทยมีการสงออกไมมาก แตครอง อันดับหนึ่ง ดวยมูลคาการสงออก 3,604.95 ลานบาทในป 2560 โดยเพ่ิมขึ้นจนถึง 5,147.54 ลานบาท ในป 2562 แตตองลดลงเหลอื 3,119.15 ลานบาท ทั้งนี้เนอื่ งจากวิกฤตการณระบาดโควิด คูคาที่สำคัญ ไดแก ประเทศจีน และ ฮองกงโดยสงออกไปประเทศจีนคิดเปนมูลคา 1,306.43 ลานบาทในป 2563 โดยมีแนวโนมลดลงอยางมากจากป 2560-2562 ท่ีมีการสงออกอยูในมูลคา 2,248.05-3,487.43 ลาน บาท ขณะท่ีการสงออกไปยังฮองกงถึงแมวาอยูในอันดับสองรองจากประเทศจีน แตในป 2563 มูลคา การสงออกลดลงเหลือเพียง 281.41 ลานบาท ซึ่งลดลงมากกวาคร่ึงหากเทียบกับป 2562 ดวยมูลคา 704.91 ลานบาท (ภาพที่ 1. 17 –1.19) มูลคา การสง ออกกงุ แชเยน็ หรอื สดของประเทศหลักของโลก (ลา นบาท) 6,000 5,000 4,000 3,000 2,000 1,000 - 2560 2561 2562 2563 ภาพที่ 1. 17 มูลคา กุงแชเยน็ ของประเทศสง ออกหลักของโลก ป 2560-2563 (ลานบาท) ที่มา: International Trade Centre (2021) ในเศรษฐกิจการคา จะพบวาอตุ สาหกรรมอาหารทะเลในตลาดโลกมกี ารแขง ขนั กนั ที่จะสง ออก อยางตอเน่ืองและมแี นวโนม ที่มีความตองการเพิม่ ข้ึน ในขณะทีท่ รพั ยากรสัตวน้ำนนั้ มีความวิกฤตและไม หนา | 16 ไทย ีจน สเปน ิอนโด ีนเซีย สห ัรฐอเมริกา อินเ ีดย เ ีวยดนาม มาเลเ ีซย ฝรั่งเศส

ไทยเพยี งพอตอความตอ งการ การจัดการภาคอุตสาหกรรมสัตวนำ้ จงึ มีความสำคัญและตองตอบคำถามใหได สหรัฐอเมริกาวา ภายใตการทำประมงและเพาะเลีย้ งสตั วนำ้ ท่ยี ่งั ยืน เราจะมีปรมิ าณสัตวน ำ้ ใหเ พียงพอตอความ ตอ งการบรโิ ภคของคนไดอยางไร เวียดนาม มาเลเ ีซยมลู คากงุ แชเ ยน็ สดของประเทศสง ออกหลักไปประเทศจนี ป 2560-2563 (ลา นบาท) 4,000 3,000 2,000 1,000 - 2560 2561 2562 2563 ภาพที่ 1. 18 มลู คากงุ แชเ ย็นของประเทศสงออกหลักไปประเทศจีน ป 2560-2563 (ลา นบาท) ทม่ี า: International Trade Centre (2021) มูลคา กงุ แชเ ย็นสดของประเทศสงออกหลกั ไปฮองกง ป 2560-2563 (ลา นบาท) 2,500 2,000 1,500 1,000 500 - 2560 2561 2562 2563 ภาพที่ 1. 19 มูลคากุง แชเ ยน็ ของประเทศสง ออกหลักไปฮอ งกง ป 2560-2563 (ลา นบาท) ท่มี า: International Trade Centre (2021) หนา | 17 จีน ไทย สห ัรฐอเม ิรกา เวียนนาม

สรุปทา ยบท เนื้อหาบทน้ีเปนการพิจารณาสถานการณผลผลิตสัตวน้ำท่ีสำคัญและสถานการณ การคาสนิ คา สตั วน ้ำของโลกและของประเทศไทยที่แสดงใหเห็นถึงสถานการณก ารผลิตที่ไมแ นนอน และ มีแนวโนมลดลง ในขณะที่สถานการณความตองการการบริโภคสัตวน้ำมีเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ขณะท่ี ทรพั ยากรประมงและเพาะเลีย้ งมคี อนขางจำกัดและมีแนวโนม ไมไดเ พ่ิมขึ้นตามความตองการ ภาพท่ี 1. 20 ภาพกระบวนการของเศรษฐกจิ อุตสาหกรรมประมงและการเพาะเลยี้ งสตั วน ้ำเพื่อความยง่ั ยนื ในเน้ือหาบทตอไปจะเปนสวนสำคัญที่จะตอบคำถามวาควรทำอยางไรในการรักษาทรัพยากร ประมงอยางย่งั ยืน ท้ังนี้เปาหมายการพัฒนาอยางย่ังยนื นั้น จะรวมถึงการทำประมงท่ีอยใู นขนาดของฝูง ปลาอยูในระดับท่ียั่งยืนทางชีววิทยา มีระบบการจัดการ IUU อยางตอเน่ืองและมีประสิทธิภาพ (FAO, 2021) และจัดการฟารมเพาะเล้ยี งอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงการรกั ษาสิ่งแวดลอม เพื่อใหผลผลิตได เพียงพอกับเศรษฐกิจการคาของอุตสาหกรรมประมงตั้งแตตนน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ รวมท้ังการ จัดการปญ หาดานแรงงานในภาคอุตสาหกรรมสัตวน้ำอยางเปน ธรรม โดยการมีนโยบายดานการประมง และการเพาะเลีย้ งเปน ตวั ขับเคลอื่ นตอ ไป (ภาพท่ี 1. 20) หนา | 18

บทที่ 2 การทำประมงอยางยง่ั ยนื ตามท่ไี ดทราบกันแลว วาทรพั ยากรประมงไมวาจะเปนทางทะเล หรอื น้ำจดื นนั้ เปน ทรัพยากรที่ ใชแลว สามารถที่จะมีการเจริญเติบโตของสตั วนำ้ ในรุน ตอ ๆ ไปเพิ่มขึน้ ได อยางไรก็ตามการเพิ่มข้ึนของ สัตวน้ำหากมีการเพิ่มขึ้นในอัตราที่นอยกวาอัตราการจับสัตวนำ้ จากการทำประมง จะทำใหสัตวนำ้ ไม สามารถเจริญเติบโตไดทันตามความตองการจับ หากเปนระยะเวลายาวนานขึน้ จะสงผลกระทบทำให สัตวน ้ำสูญพันธุไ ปไดใ นเวลาหนง่ึ ๆ ในบทที่ 2 ผูอา นจะไดทราบถึง กระบวนการในการเจริญเติบโตของ ฝูงปลาตามธรรมชาติในขณะทยี่ ังไมมกี ารทำประมง หลังจากนั้นจะอธิบายถงึ การเปลย่ี นแปลงของขนาด ฝูงปลาเมื่อมีการทำประมงเกิดขึ้น และเมื่อเกิดการทำประมงแลว ควรมีการจดั การการทำการประมง อยางยัง่ ยืนในเชิงเศรษฐศาสตรอ ยา งไร 2.1 การเตบิ โตของฝงู สัตวนำ้ ตามธรรมชาติ (Growth of fish stock) ขนาดของฝูงสัตวน้ำตามธรรมชาติ (Fish Stock) หมายถึง การที่สัตวน้ำในชนิดเดียวกันอยู รวมกันเปนกลุมซึ่งขนาดของฝูงและขนาดของฝูงสัตวน้ำในชนิดนั้นจะมีขนาดเติบโตขึ้นตามชวง ระยะเวลาหนึ่ง โดยปกติ สามารถอธิบายการเติบโตไดโดยพิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงขนาดของฝูง สัตวน้ำ และใชรูปกราฟของเสนโลจิสติก (Logistic growth curve) เปนการอธิบายการเปลี่ยนแปลง ของการเติบโต โดยปกติธรรมชาติของฝูงสัตวน้ำกรณีที่ยังไมมีการกระทบจากการทำประมง การ เปลี่ยนแปลงของขนาดฝูงสตั วน ้ำข้ึนอยกู ับ 3 ปจ จัยหลัก ไดแก การเกิด/การทดแทน (Recruitment: (R)) การเกิดหรอื การทดแทน เปน กระบวนการทส่ี ำคญั ท่ีสุดของ การเติบโตขนาดฝงู สัตวน ้ำ ซ่ึงจะเรมิ่ จากชวงของสตั วน ้ำทม่ี ชี ีวิต เริ่มต้งั แตชว งแรกของการเกดิ เปนสัตว น้ำขนาดเลก็ รอดชีวิตจนกระทง่ั โตข้ึน (Edward V. Camp, et al, 2020) การเติบโต (Individual growth (I) ) อตั ราการเติบโต เปนชวงของการเติบโตโดยวดั จากขนาดและ ความยาวของสตั วน้ำซึ่งเปนตวั วัดน้ำหนกั ท้ังหมดของฝูงสตั วน ้ำ (biomass) ของขนาดฝงู สตั วน้ำ การตายตามธรรมชาติ (Natural mortality: (M)) ไดแก แกต าย เปนโรค ถูกลา การตายตามธรรมชาติ โดยปกตแิ ลว หากไมม ีการทำประมงการตายของสัตวนำ้ จะเกิดขึ้นจากธรรมชาติ เชน เกินจากการกนิ หนา | 21

สตั วน้ำน้นั จากสัตวน ำ้ ที่ใหญก วา การเกดิ โรคตาย หรอื การมอี ายมุ ากแกตาย และการแขงขนั ในสว น ของการตายโดยเกดิ จากการทำประมงจะอธบิ ายในหวั ขอถัดไป ดงั นน้ั หากยงั ไมมกี ารทำประมงสมการของขนาดฝงู สัตวน ำ้ มีดังน้ี การเปล่ียนแปลงของขนาดฝูงสตั วน ำ้ (Fish stock change) = การเกดิ (Recruitment) + การเตบิ โต (Individual growth) – การตายธรรมชาติ (Natural mortality) …(1) จากสมการจะเห็นวาการเปลีย่ นแปลงของขนาดฝูงสัตวน้ำ จะมีขนาดโตขึ้นเมื่อมีการเกิดหรือ การทดแทนและการเตบิ โต ท้งั นหี้ ากมกี ารตายธรรมชาติ ถูกลา หรอื เปน โรคตาย กจ็ ะทำใหขนาดของฝูง สตั วน ำ้ เลก็ ลง ซึง่ สามารถอธบิ ายการเตบิ โตของสตั วน ำ้ ไดด ังนี้ ภาพท่ี 2. 1 การเจรญิ เติบโตของขนาดของฝงู สตั วนำ้ จากภาพที่ 2. 1 แสดงการเจริญเตบิ โตของขนาดฝูงสัตวน ้ำ (R) ในชวงแรกของการเจริญเติบโต ขนาดฝูงสัตวน้ำเพิ่งกำเนิดมีจำนวนมากขนาดยังเล็ก แตการเติบโตคอยๆ เพิ่มสูงขึ้น สวนการตาย ธรรมชาติ (กรณีอายุมาก) จะยงั มไี มม าก ยกเวน การไมเ จริญเติบโตหรือการถูกลา ซ่ึงหากขนาดฝูงสตั วน้ำ ปกติจะมีอัตราที่นอยอยู เมือ่ เวลาผา นไปขนาดของฝูงสตั วนำ้ จะเจรญิ เตบิ โตเต็มวยั ทำใหขนาดของฝูงมี ขนาดใหญขึ้น อัตราการเติบโตจะนอยลงเพราะโตเต็มทีแ่ ลว การตายตามธรรมชาติคงมอี ยูในระดับต่ำ และชวงสุดทายของการเติบโต ขนาดของฝูงสัตวน้ำที่โตเต็มที่แลว อัตราการเติบโตจะนอยลง การตาย ตามธรรมชาติเพิ่มขึ้นเนื่องจากอายุมากขึ้น ทำใหขนาดของฝูงสัตวน้ำมีขนาดลดลงบาง หรือสามารถ อธบิ ายไดโ ดยใชสมการท่ี 2 สมการการเจรญิ เติบโตดังนี้ หนา | 22

กำหนดให X(t) = ขนาดของฝงู สตั วน้ำเม่ือเวลา t มีหนว ยเปนตนั (stock level (tons)) dX(t) = การเปลี่ยนขนาดของฝูงสัตวน ้ำตอหนวยของเวลา (change in stock per unit of dt time) dX(t) = F(X) = rX ….(2) dt r = อตั ราการเติบโตท่เี กดิ ขน้ึ ตามธรรมชาติ (Intrinsic growth rate) F(X) = การเตบิ โตทางธรรมชาติ (Natural growth function) ดังขอสมมติ ภายใตการพิจารณาวา มีสัตวน้ำเพียง 1 ชนิด (Single Species) และภายใตสภาวะ แวดลอมหนึ่งๆ ณ สภาวะแวดลอมหนึ่งๆ ขนาดของฝูงสัตวน้ำจะเจริญเติบโตตามฟงกชั่น F(X) ณ X1 ขนาดของฝูงสัตวน้ำเร่มิ เตบิ โต การเติบโตเทากับ F(X1) แสดงถงึ อตั ราการเตบิ โตยังไมส ูงมาก ขนาดของ ฝูงสัตวน้ำ เมือ่ เวลาผานไปขนาดของฝูงสัตวน้ำเจริญเติบโตเรว็ ขึ้นจากการกินอาหารเพิ่มขึ้น ขนาดของ สัตวน ำ้ แตล ะตัวโตข้ึน ซงึ่ สามารถเหน็ ไดจ ากอตั ราการเจริญเติบโต F(X2) จะมขี นาดฝูงสตั วนำ้ เทากบั X2 ทั้งนี้จะเปนชวงเวลาที่ขนาดของฝูงสัตวน้ำเตบิ โตสูงสุด หรือเปรียบเทียบไดวามีขนาดเปนครึ่งหน่ึง ( ) ของขนาดฝงู สัตวน้ำ และชวงสดุ ทายเปน ณ ชว งเวลาทมี่ ขี นาดโตเตม็ ท่ี (X*) แลว ภายใตส ภาวะแวดลอม ทีร่ องรบั ไดอ ยางเต็มท่แี ละสมดลุ (Environmental Carrying Capacity) จากอัตราการเติบโตของขนาดฝูงสัตวน้ำ F(X) = dX(t)/dt เราสามารถพิจารณาการ เปลี่ยนแปลงของอัตราการเติบโตของขนาดของฝูงสัตวน้ำได ( ( )) ซึ่งในชวงแรกของการ เปลยี่ นแปลงอัตราการเจริญเตบิ โตของฝงู สัตวน้ำจะมีการเปลยี่ นแปลงในทิศทางท่เี พมิ่ ขึ้น ( ( )) > 0 เมื่อขนาดของฝูงสัตวน้ำมีการเจริญเติบโตสูงขึ้นจนกระทั่งถึงจุดแลวการเปลี่ยนแปลงของอัตราการ เจริญเติบโตของขนาดฝูงสัตวน้ำจะไมมีการเปลี่ยนแปลง ( ( )) =0 จะเปนจดุ ที่ขนาดของฝงู สัตวนำ้ เติบโตอยางยั่งยืนสูงสุด Xmsy (maximum sustainable yield) ซึ่งหมายถึงระดับปริมาณสัตวน้ำท่ีได เจริญเติบโตเต็มที่มีซ่ึงหากมีการนำสัตวน้ำไปใชในปริมาณที่ MSY จะทำใหสัตวน้ำท่ีเหลืออยูสามารถ เติบโตมาทดแทนไดและจะมีใหใ ชตอ ไปอยางย่งั ยืน หลงั จากการเติบโตเต็มที่ การเปล่ยี นแปลงอัตราการ เจรญิ เติบโตของฝูงสตั วน ำ้ จะมีการเปลีย่ นแปลงในทศิ ทางลดลง ( ( )) < 0 ดงั ภาพท่ี 2. 2 หนา | 23

ภาพท่ี 2. 2 กราฟแสดงความสมั พนั ธระหวา งการเจริญเติบโตของฝงู สตั วน ำ้ F(X) และขนาดของฝงู สตั ว นำ้ (Fish Stock Size) ที่มา: ดดั แปลงจาก Ola Flaaten (2010) ภาพที่ 2. 3 กราฟแสดงอตั ราการเตบิ โตของขนาดฝงู สัตวน้ำเม่ือเวลาระยะเวลาผา นไป ท่มี า: ดดั แปลงจาก Ola Flaaten (2010) หนา | 24

กราฟแสดงความสัมพันธระหวางการเจริญเติบโตของฝูงสตั วน้ำ F(X) และขนาดของฝูงสตั วนำ้ (Fish Stock Size) เมอ่ื เวลาระยะเวลาผานไป หรอื สามารถพิจารณาจากสว นตา งของการอัตราสวนเพ่มิ ของการเติบโต (marginal growth) ในภาพที่ 2. 3 พบวา ในชวงแรกอตั ราสวนเพิ่มของการเติบโตมีคา เปน บวก และหลังจากขนาดฝูงสตั วนำ้ ไมมีการเติบโตเพ่ิมข้ึนหรอื อัตราการเติบโตคงที่ (0) อตั ราสว นเพ่ิม การเตบิ โตจะลดนอยลง (มีคา เปน ลบ) 2.2 การทำประมงกับการเตบิ โตของขนาดฝงู สตั วนำ้ จากหัวขอ ทีผ่ านมาไดก ลา วถึงการเติบโตของขนาดฝูงสตั วน ้ำตามธรรมชาติ ในหัวขอ นจี้ ะ อธบิ ายถงึ ผลกระทบของการเติบโตของขนาดฝงู สตั วน ำ้ เม่ือมีการทำประมงเกิดข้ึน ซึ่งจะพิจารณาจาก สมการดงั น้ี กรณีท่ีมีการทำประมง Stock change = R+I-M-H ………….(3) R = การเกิด การทดแทนของสตั วนำ้ I = การเจรญิ เตบิ โตของสตั วน้ำ M = การตายตามธรรมชาติ H (harvest) = การทำประมง *จาํ นวนเรอื ประมง Fishing fleet การลง *ขนาดของฝงู สตั ว์นํา การสบื พนั ธุ์ และ แรง ความสามารถในการเจรญิ เตบิ โต number of vessels *ขนาดของฝงู สตั วน์ ําทแี ตกตา่ งกนั ขนึ อยู่ กบั การเกดิ การเตบิ โต และการตายตาม *ราคาสตั วน์ ํา (Fish price) ธรรมชาติ *ตน้ ทนุ การลงแรงประมง Effort cost *ความหลากหลายของขนาดกลมุ่ เรอื การจบั ภาพท่ี 2. 4 สวนประกอบพนื้ ฐานเมื่อมีการทำประมง ท่มี า: ดดั แปลงจาก Lee G. Anderson and Juan Carlos Seijo. (2010) หนา | 25

จากภาพที่ 2. 4 ในสวนของขนาดของฝูงสัตวน้ำเมื่อมีการทำประมงเกิดขึ้นจะทำใหเกิดผล กระทบทำใหตอการเติบโตของขนาดฝูงสตั วน้ำลดลงนอกเหนือจากการตายตามธรรมชาติ เมื่อมีการทำ ประมง สว นประกอบพื้นฐานประกอบดวย กลุม เรือทำการประมง ตนทุนของการทำประมง ไดแก การ ลงแรงประมง และความหลากหลายของกลุมเรือ และเมื่อจับสัตวน้ำได สัตวน้ำที่นำขึ้นทา จะมีราคา สัตวน้ำเขามาเกี่ยวของจากการขาย ทั้งนี้รายไดที่เกิดขึ้นจากการทำประมงจะแตกตางกันไปตามขนาด ของเรอื ประมง ความสัมพนั ธการลงแรงประมง (Effort function) กบั ปจจยั ทีส่ งผลตอการลงแรงประมง การลงแรงประมง (Fishing effort) คือ แรงที่ใชในการจับสัตวน้ำ สามารถมีหนวยการลงแรง ประมงไดห ลายแบบ ขน้ึ อยกู บั การนำขอมลู ไปใช หนว ยการลงแรงประมงท่นี ิยมใช ไดแก จำนวนช่วั โมง จำนวนวัน จำนวนเที่ยว การลงแรงประมงจะมากหรือนอยจะขึ้นอยูกับเครื่องมือในการทำประมงท่ี แตกตางกัน ความเชีย่ วชาญของชาวประมง เครือ่ งยนตทีใ่ ชประกอบการทำประมง และนำ้ มันเช้ือเพลิง การลงแรงประมงถือเปน สินคา ข้ันกลาง (Intermediate goods) เพราะการลงแรงประมงจะเปนสนิ คา ขั้นกลางท่สี รา งสนิ คา ปลายทาง คอื ปริมาณสตั วนำ้ ทจี่ ับได (Fish) E = b (V1,…,Vn) ……………….(4) E = การลงประมง Vi= factor i V1→เครอ่ื งมอื ประมง (Fishing gear) V2→ความเชย่ี วชาญของชาวประมง V3→เคร่อื งยนต V4→นำ้ มนั เชื้อเพลงิ E= an intermediate goods (สนิ คา ข้นั กลาง) ความสัมพนั ธของการทำการประมงกับปจ จัยท่ีสงผลตอปรมิ าณสตั วน้ำทจ่ี บั ได จากสมการในการจับสัตวน ้ำ (Harvest production function) จะเห็นวา ปรมิ าณการจับสัตว น้ำที่ไดจะขนึ้ อยูกบั การลงแรงประมง และระดับของขนาดฝูงสัตวน ำ้ ดงั สมการที่ 5 หนา | 26

H = f(E,X) …………….(5) E = fishing effort (hours) X = stock level (tonnes, tons, kg) ภาพท่ี 2. 5 การทำประมงในระดบั ขนาดฝูงสัตวน ำ้ ที่มขี นาดตางกนั ท่มี า: ดัดแปลงจาก Ola Flaaten (2010) ระดับของขนาดฝูงสัตวน ้ำที่แตกตางกนั มีผลตอ ปริมาณสัตวนำ้ ที่จับไดหากขนาดของฝูงสัตวนำ้ ทใ่ี หญกวาจะสามารถจบั สตั วน้ำไดปริมาณมากกวาการจับสตั วน้ำในฝงู สตั วน ำ้ ทมี่ ีขนาดเลก็ กวา แสดงใน ภาพที่ 2. 5 ที่ระดับการลงแรงประมง ณ E หากลงแรงประมงมากขนึ้ จะทำใหจ บั สัตวนำ้ ไดปริมาณมาก ข้นึ อยา งไรก็ตามหากจับสัตวน ้ำท่ีขนาดฝูงสตั วน ้ำท่ีมีขนาดเล็ก Xต่ำ ปรมิ าณการจับสตั วน ำ้ จะเทากับ H1 ซง่ึ มีปริมาณทต่ี ำ่ กวา H2 ท่ีมีขนาดของฝงู สตั วน ้ำใหญก วา Xสงู ความสมดุลของการจับสัตวน้ำ เมื่อเกิดการทำประมง การลงแรงประมงในแตละรอบสามารถทจ่ี ะทำใหขนาดของฝูงสตั วน ้ำ เกดิ ความสมดลุ ได หรอื หมายถงึ การทำประมงที่อยูในจุดสมดลุ กับการเตบิ โตของสัตวน้ำ เพอื่ ทำให หนา | 27

ขนาดของฝงู สัตวน้ำไมเ ปลีย่ น มีการเกิดและการเตบิ โตทนั ตอการทำประมง ณ จุดนเี้ ราเรยี กวา จดุ สมดุลของการทำประมง โดยสามารถอธิบายไดด ังสมการตอไปน้ี X=F(X) – H (6) สมการที่ 6 แสดงถึงขนาดของฝงู สตั วน้ำทเ่ี ปลย่ี นแปลงเม่ือมกี ารทำประมงเกิดข้ึน จาก (5) แสดงถงึ สมการการจับสัตวนำ้ เม่ือมีการทำประมง และ (6) จะได f(E,X) = F(X) (7) สมการท่ี 7 เปน สมการท่ีแสดงถึงจดุ สมดลุ ในการทำประมงตอ การเตบิ โตของขนาดฝูงสัตวน ้ำ พอดีจึงทำใหสตั วน ำ้ ท่ีจบั นั้นเปน ขนาดที่โตเตม็ ท่ี สว นที่เหลอื สามารถทจ่ี ะเติบโตตอไปได หรือท่เี รยี กวา Catch=Growth จับใหตรงกบั ปริมาณปลาที่เติบโตเตม็ ท่ี หากให สมการจบั สัตวน้ำ เทากบั H (E) = qEX q = คาคงท่ี H = การจับสัตวน ้ำ (Harvest) E = การลงแรงประมง (Effort) X = ขนาดของฝงู สตั วน้ำ (Fish Stock) และ สมการการเติบโตของสตั วน้ำ เทา กับ F(X) = rX จุดสมดุลของการจับสตั วน ้ำ Sustainable yield Harvest function = Growth function H (E) = F(X) หนา | 28

ภาพที่ 2. 6 จดุ สมดลุ ของการจบั สตั วน ้ำในระดับตางของการเติบโตของฝูงสตั วนำ้ ทมี่ า: ดดั แปลงจาก Ola Flaaten (2010) จากภาพที่ 2. 6แสดงจุดสมดุลของการจับสัตวน้ำที่ระดับการเติบโตของ ในแตละระดับ ณ จุด F(X)1=H1 ขนาดของฝูงสัตวน้ำ X1 แสดงใหเห็นวาการลงแรงประมง E1 เพื่อจับสัตวน้ำ ณ การเติบโต ของฝูงสัตวน้ำ F(X)1 ขนาดของฝงู สัตวน ำ้ มีขนาด X1 เปนจุดสมดลุ ในการจับอยางยั่งยนื อยางไรก็ตาม ณ จุดสมดุลนี้ ขนาดของฝูงสัตวน้ำมีการเติบโตในอัตราที่ลดลง ถึงแมจะยัง่ ยืนแตขนาดของฝูงสัตวน้ำ ไมใ ชข นาดท่ีเติบโตสูงสุด เมื่อเปรียบเทียบกับอีกระดับ ณ จุด F(X)5=H5 การเติบโตของฝูงสัตวน้ำ F(X)5 ขนาดของฝูง สัตวน้ำเทากับ X5 การลงแรงประมงเพื่อจับสัตวน้ำเทากับ E5 เปนจุดสมดุลในการจับอยางยั่งยืน เมื่อ ขนาดของฝูงสตั วน ้ำมีการเตบิ โตในอัตราท่ีเพ่มิ ข้นึ แตย งั ไมเต็มท่ี น่ันหมายถงึ ขนาดของฝงู สตั วนำ้ ยังไมใช ขนาดที่โตเต็มท่ี และเมื่อพิจารณา ณ จุด F(Xs) = Hs การเติบโตของฝูงสัตวน้ำ F(X)s ขนาดของฝูงสัตว น้ำเทากบั Xs การลงแรงประมงเพื่อจับสตั วน ำ้ เทา กับ Es ณจดุ นจ้ี ะเหน็ ไดวาเปน ระดับที่ขนาดการเติบโต ของขนาดฝูงสัตวน้ำเปนขนาดที่เติบโตสูงสุดพรอมที่จะใชประโยชน และเมื่อทำประมง ณ จุดนี้จะ เรียกวาเปนระดับการจับสัตวน้ำท่ีขนาดของฝูงสัตวน้ำที่ยั่งยืนสูงสุด (Maximum Sustainable Fish Stock Level) หนา | 29

2.3 เสน ผลจบั อยางยั่งยืน (Sustainable Yield Curve) จากจุดสมดุลของการจับสัตวน้ำและขนาดของฝูงสัตวน้ำที่เติบโตพอดีกันในแตละชวง เรา สามารถนำจุดสมดุลในแตละชว งของขนาดฝูงสัตวน้ำมาหาความสัมพันธระหวางปรมิ าณสัตวน้ำท่ีจบั ได และการลงแรงประมง ดังภาพที่ 2. 7 ภาพที่ 2. 7 ความสมั พนั ธของจุดสมดลุ อยา งยั่งยนื ของการทำประมงและขนาดของฝงู สตั วนำ้ และ ความสัมพนั ธข องการลงแรงประมงกบั ปริมาณสตั วน้ำทจ่ี บั ไดบ นเสน ผลจับอยา งยงั่ ยนื ทีม่ า: ดดั แปลงจาก Lee G. Anderson (1987) จาก ภาพที่ 2. 7 พบวา ณ ระดับจุดสมดุลย่ังยืนของการจับสัตวน ้ำกับขนาดของฝูงสตั วน้ำใน ระดับ F(X)1=H1, F(X)2=H2, F(X)3=H3, F(X)4=H4 และ F(X)5=H5 (ภาพดานซายมือหมายเลข 1 ภาพท่ี 2. 7) แตละจดุ สามารถสรางความสมั พันธร ะหวางปริมาณการจับสัตวน ้ำ และการลงแรงประมง โดยเสน ที่สรางขึ้นไดจะเรียกวา เสนผลจับอยางยั่งยืน (Sustainable yield curve) (ภาพหมายเลข 2 ดาน ขวามือของภาพที่ 2. 7) ซึ่งจะเห็นวา เมื่อมีการลงแรงประมง ณ E1 จะสามารถจับสัตวนำ้ ไดเทากบั H1 และเม่ือลงแรงประมงเพิม่ ขึ้น โดยที่ E1<E2<E3<E4<E5 จะเห็นวาการลงแรงที่ระดับ E3เปนระดบั ท่ีทำ ใหจบั ปลาไดสูงที่สุดที่ H3หรือเรียกวาระดับผลจับอยางยั่งยืนสูงสุด (maximum sustainable yield (H3,MSY)) อยางไรก็ตาม ระดับการลงแรงประมงที่ E4 ซึ่งมากกวา E2แตสามารถจับไดในปริมาณ เทากันกับการลงแรงประมงที่ระดับ H2และระดับการลง E5 ซึ่งมากกวา E3ก็สามารถจับไดในปริมาณ หนา | 30

เทากันกับเม่ือลงแรงประมงที่ระดับ H1 ซ่งึ สรปุ ไดว า การลงแรงประมงเพ่ิมขน้ึ เรื่อย ๆ จะทำใหจบั สัตวน้ำ ไดมากขึ้น จนกระทั่งถึงระดับ Maximum Sustainable Yield (MSY) การลงแรงประมงเพิ่มขึ้นจะทำ ใหจับสตั วน ้ำไดน อยลง น่ันหมายความวาลงแรงทำการประมงมาก ไมไดแ ปลวาจะจับสัตวน ำ้ ไดเ พิม่ ขนึ้ เสมอไป ระดับที่เหมาะสมท่สี ุดและจบั สัตวน้ำไดมากที่สดุ ควรอยูในระดับผลจบั สตั วน้ำทีย่ ั่งยืนสูงสุดบน จดุ สงู สดุ ของเสน ผลจับสตั วน ้ำอยา งยั่งยนื ณ E3 หากจบั เกนิ จากระดับขนาดของฝูงสตั วน ้ำท่ี X3จะถือวา เกดิ การทำประมงท่ีเกินขนาด (Overfishing) สัตวนำ้ จะเขาสูก ารสูญพันธุได และจากภาพที่ 2. 7 รูปลาง ขวาภาพหมายเลข 4 แสดงความสัมพันธระหวางระดับการลงแรงประมงและขนาดของฝูงสัตวน ้ำ เมื่อ เพมิ่ ระดับการลงแรงประมงจะมีผลทำใหขนาดของฝงู สัตวน ้ำลดลง ซง่ึ เราสามารถสรุปไดจาก ภาพท่ี 2.8 ณ ระดับการลงแรงประมงที่ทำใหไดผลจับสูงสุดจะเปนระดับผลจับยั่งยืนสูงสุด (MSY) หากลงแรง ประมงเพิม่ ขนึ้ ปริมาณสัตวน้ำท่จี บั ไดจ ะลดนอ ยลงซ่ึงนำไปสูสภาวะการทำประมงเกนิ ควร (Overfishing) ดานขวาของภาพ หากลงแรงประมงต่ำกวาระดับผลจับยัง่ ยืนสูงสดุ จะเปนชวงการทำประมงยังไมเกิน ขนาด ดานซา ยของภาพที่ 2.8 ภาพท่ี 2.8 ระดับการทำประมงอยา งย่ังยนื ระดับการทำประมงไมเกนิ ขนาด และระดับการทำประมง เกนิ ควร เมื่อเราทราบถึงระดับการลงแรงประมงที่เหมาะสมอยางยั่งยืนสูงสุดแลว คำถามที่ตามมาคือ การลงแรงประมงนั้นมีรายไดและคาใชจายที่คุมคากับการทำประมงหรือไม ซึ่งเราจะนำหลักทาง หนา | 31

เศรษฐศาสตรมาอธบิ ายใหเขาใจวาการทำประมงที่เหมาะสมและไดกำไรนัน้ ควรจะทำประมง ณ จุดใด สามารถอธบิ ายไดในหวั ขอตอ ไป 2.4 ระดับการทำประมงทีเ่ หมาะสม (Optimum fisheries) ในพื้นฐานของการวิเคราะหระดับการทำประมงที่เหมาะสม จะพิจารณาจากการคำนวณดาน รายได และตนทุน ซึ่งมีการคำนวณคารวมคาเฉลี่ย และสวนเพิ่ม เชน รายไดรวม รายไดเฉลี่ย และ รายไดสวนเพิ่ม สวนตนทุน เชน ตนทุนรวม ตนทุนเฉลี่ยและตนทุนสวนเพิ่ม ซึ่งเปนพื้นฐานทาง เศรษฐศาสตร หรือเรียกวา การอธบิ ายตามแบบจำลองชีวเศรษฐศาสตร (Basic Bioeconomic Model) ขอ สมมติในการทำประมง : กำหนดใหร าคาสัตวนำ้ คงที่ P ดานรายได รายไดทั้งหมดในการทำประมงเทากับ ราคาสัตวน้ำ P x ปริมาณสัตวน้ำที่จับได (H(E)) ที่ขึ้นอยูกับการลงแรงประมง เทากับ Total Revenue : TR(E)= P x H(E) รายไดเฉลี่ยเทากับ รายไดทั้งหมด/จำนวนการลงแรงประมง Average revenue : AR(E) =TRE(E) และรายไดสวนเพิ่ม Marginal revenue : MR(E) =dTdRE(E) จากภาพที่ 2.9 ดานขวาแสดงถึงเสนรายไดทั้งหมดเมื่อมีการลง แรงประมงเพิม่ ขึน้ ซึง่ จะสังเกตไดว าเสนรายไดท ้ังหมดจะสมมาตรกับเสน ผลไดย ัง่ ยนื สูงสดุ เมื่อกำหนด ใหราคาสัตวนำ้ คงที่ นั้นหมายถึง เมื่อมกี ารลงแรงประมงเพิ่มขึ้นในชวงแรกรายไดรวมทงั้ หมดจะเพ่มิ ขึน้ จนกระทั่งถึงจุดสูงสุดของระดับผลไดย่ังยืนสูงสุด (MSY) หลังจากนั้นเมื่อเพิ่มการลงแรงประมง รายได รวมจะลดลงเรื่อย ๆ หากกำหนดใหราคาสัตวน้ำเทากับ P1 จะไดเสนรายไดรวมเทากับ TR1 และเม่ือ กำหนดราคาสตั วน้ำเพ่มิ ขึน้ เทากับ P2 จะไดเสน รายไดร วมท่ีเพม่ิ ข้นึ เทา กบั TR2 ภาพที่ 2.9 เสนรายไดท ้ังหมด (TR) ของการทำประมงภายใตก ารลงแรงประมง (E) หนึ่งๆ ทีม่ า: ดดั แปลงจาก Ola Flaaten (2010) หนา | 32

ดา นตนทนุ ขอ สมมติ: เม่ือเพิ่มการลงแรงประมง ตน ทุนที่เพมิ่ จะเพมิ่ ในสัดสว นเดียวกนั การคำนวณตน ทนุ ตน ทุนทง้ั หมด TC(E) = aE : a คือตนทุนตอหนวยการลงแรงประมง (วัน) ดังนัน้ เสน ตน ทุนจงึ เปน เสน ตรง 45 องศาจากจดุ กำเนิดของกราฟ ดังภาพที่ 2. 10 ตนทนุ เฉล่ยี เทา กับตน ทนุ ท้ังหมดหารการลง แรงประมง (วนั ) AC(E) =TCE(E) และ ตนทุนสวนเพม่ิ เทากบั การเปลี่ยนแปลงของตนทนุ ทงั้ หมด เปรยี บเทียบกบั การเปลย่ี นแปลงของการลงแรงประมง ภาพที่ 2. 10 เสน ตน ทนุ ทง้ั หมด ภายใตเ ง่อื นไข สว นเพิ่มของตน ทุนเปนสัดสวนเดยี วกบั การ เพมิ่ การลงแรงประมง โดยปกติดลุ ภาพในการทำประมงสามารถแบง ออกเปน 3 ดาน ไดแก ดลุ ภาพการทำประมงโดย เสรี ดลุ ยภาพการทำประมงอยางยง่ั ยืนสูงสุด และดลุ ยภาพการทำประมงผลไดทางเศรษฐศาสตรสูงสดุ แตละดานจะมีวัตถุประสงคแตกตา งกนั โดยมีรายละเอียดดงั นี้ 1.ระดับการทำประมงเสรี Open Access (OA) เปนระดับการทำประมงที่ชาวประมงจะทำการ ประมงจนกระท่ังรายไดท งั้ หมดเทา กบั ตนทุนทง้ั หมด ณ จะอยทู ่ี TR = TC หรือ AR = AC การลงแรงประมงกอนจุด EOA รายไดรวมทั้งหมดจะสูงกวาตน ทุนท้ังหมด รายไดเฉลี่ยสูงกวา ตนทุนเฉลี่ย (TR >TC , AR > AC) แตละลำเรือจะยังคงทำประมงตอไปเนื่องจากยังมีกำไรในการทำ ประมง เปน แรงจงู ใจที่จะใหทำประมงเพม่ิ ข้นึ หรอื มีรายอนื่ เขามาทำประมงเพ่ือใหไดกำไร การเพ่มิ การ หนา | 33

ลงแรงประมงจะเพิ่มจนกระทั่งเรือแตละลำทำประมงไดในระดบั เทาทุน หลังจากนั้นหากลงแรงกำลัง ประมงเพิ่มขึ้นในชวง รายไดรวมนอยกวาตนทุนรวม หรือ รายไดเฉลี่ยนอยกวาตนทุนเฉลี่ย (TR <TC , AR < AC) ชาวประมงจะเรม่ิ ขาดทนุ และออกจากการทำประมง 2.ระดับการทำประมงผลจับอยางยั่งยืนสูงสุด Maximum Sustainable Yield (MSY) เปนการทำ ประมงทีร่ ะดับการเติบโตของสัตวน้ำยั่งยนื สูงสุด ซึ่งหมายความวาเปนระดับการจับสัตวน้ำในปริมาณ มากท่สี ดุ อยา งเหมาะสมและจะสงผลตอปริมาณสัตวน้ำที่จะเพยี งพอใหจ บั อยางยั่งยืนในระยะยาว จาก ภาพท่ี 2. 11 จุดทีเ่ ปนระดับการทำประมงอยางยั่งยืนสูงสดุ คือ จุดที่ Emsy เทากับจุดที่รายไดรวมสูงสุด TRmax หรือรายไดสวนเพม่ิ (MR) เทา กับ 0 3.ระดับการทำประมงผลไดสูงสุดทางเศรษฐศาสตร Maximum Economic Yield (MEY) เปนระดับ การทำประมงที่จะทำใหชาวประมงไดกำไรสูงสุด ซึ่งดุลยภาพทางเศรษฐศาสตรถือเปนดุลยภาพท่ี คำนึงถึงกำไรสูงสุดของชาวประมงและความยั่งยืนของขนาดฝูงสัตวน้ำ อัตราการตายที่จุด MEY จะต่ำ กวาอัตราการตายท่ีจุด MSY ซึง่ จะทำใหปรมิ าณสัตวน้ำสวนเพิ่มนอยกวาการจับสัตวน้ำ ณ ระดับ MSY อยางไรก็ตามการจับสตั วน ำ้ ที่นอ ยลงสงผลตอการลงแรงประมงท่ีลดลงถึงรอ ยละ 50 และตนทุนการทำ ประมงจะลดลงเชนกัน (Balti Sea Centre, 2019) จากอัตราการตายที่จุด MEY ต่ำกวาสงผลตอความ ย่ังยืนและลดความเสย่ี งจากการจบั สตั วน ำ้ เกินควรไดม ากกวา ซ่งึ เปนทางเลอื กที่จะประหยัดงบประมาณ ในการจัดการการทำประมงมากกวา จากภาพที่ 2.10 จะเห็นวา จุดดุลภาพในการทำประมงที่เหมาะสม ทางเศรษฐศาสตร คอื จดุ ทม่ี กี ารลงแรงประมงเทากบั EMey ซ่งึ จะเปนจุดที่เสนรายไดร วมมีความชันขนาน ไปกบั เสน ตน ทนุ ทง้ั หมดรวม หรือจดุ ท่ี MR=MC ซง่ึ เปนระดบั ทช่ี าวประมงจะไดก ำไรสุทธิสูงสุด และเกิด คาเชาทรัพยากร1สูงสุด (Maximum Resource Rent) ซึ่งหากเปรียบเทียบกับการทำประมงโดยเสรีจะ พบวาคาเชา ทรัพยากรเทากับศนู ย (E) = TR(E) – TC(E) ddE(E)= MR(E) – MC(E) MR(E) = MC(E) 1 คาเชาทรพั ยากรสตั วน ำ้ (Resource Rent) เปน การประมาณคา เชา ของการนำสตั วน้ำไปใชป ระโยชน ดงั น้นั ยง่ิ คาเชาทรพั ยากรมคี า สงู แสดงถึงความคมุ คา ของการนำทรัพยากรสตั วน ้ำไปใช หนา | 34

ภาพท่ี 2. 11 ดุลภาพทำการประมงในระดับตางๆ กนั ทม่ี า: ดดั แปลงจาก Ola Flaaten (2010) 2.5 การจัดการประมงภายใตเงื่อนไขราคาสตั วน ้ำเปลยี่ นแปลง ในหัวขอท่กี ลาวมากอนหนาจะเปนการพจิ ารณาการทำประมงที่เหมาะสมในดลุ ภาพตางๆ โดย กำหนดใหราคาสัตวน้ำคงที่ในทุกระดับของการลงแรงประมง และในสมการรายไดและตนทุนจะข้ึนอยู กับการลงแรงประมงซึ่งเปนสินคาขั้นกลาง ในหัวขอนี้เราจะกลาวถึงดุลภาพในการทำประมงโดย กำหนดใหราคาสัตวน้ำสามารถเปลี่ยนแปลงไดและสมการรายไดแ ละตน ทนุ จะขึน้ อยกู ับปริมาณสัตวนำ้ ทจ่ี บั ไดโดยมีความเชื่อมโยงกบั การลงแรงประมง ดังสมการ Total cost (TC) = TC(Ys) Average cost (AC) = TC = AC(Ys ) Ys Marginal cost (MC) = dTC = MC(Ys) dYs หนา | 35

ภาพท่ี 2. 12 ความสัมพนั ธระหวา งปรมิ าณสัตวนำ้ รายได และตนทนุ ภายใตเงอื่ นไขราคาสตั วน้ำเปลยี่ นแปลง ท่มี า: ดดั แปลงจาก Lee G. Anderson (1977) จากภาพท่ี 2. 12 หมายเลขท่ี 1 ดา นซาย แสดงความสัมพันธร ะหวา งการลงแรงประมงกับ จาก กราฟจะเห็นวา เมื่อลงแรงประมงเพิ่มขึ้น จะทำใหตนทุนรวมเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เสนตนทุนรวม (TC) เพิ่มขึ้นเปน เสนตรง ซึ่งเมือ่ ดูความสัมพันธร ะหวางการลงแรงประมงและปริมาณการจับสัตวน้ำที่ย่ังยืน (Ys ) ในกราฟหมายเลขท่ี 4 จะเหน็ วา ในชวงแรก (กอ นระดับการจับสตั วน ำ้ ท่ี MSY) การลงแรงประมง ท่ีเพ่ิมขึน้ ทำใหป รมิ าณการจบั สัตวน้ำเพ่มิ ขึ้นเร่ือย ๆ แตเมอ่ื ลงแรงประมง เพ่ิมข้ึนมากกวาระดับการจับ สัตวน้ำท่ี MSY จะทำใหปริมาณการจับสัตวน้ำที่ไดลดลง ซึง่ จากกราฟหมายเลข 1 และหมายเลข 4 สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธไปยัง กราฟหมายเลข 2 ซึ่งแสดงความสัมพันธระหวางตนทนุ รวมและ ปริมาณการจับสัตวน้ำ จะเหน็ วาการที่ตนทุนรวมเพิ่มขึ้น (จากการลง Effort เพ่ิมขึ้น) ในชวงแรกทำให ปริมาณการจับสัตวน้ำเพิ่มขึ้น แตการเพิ่มขึ้นของการลงแรงประมงมากกวาระดับ MSYcost จะทำให ปรมิ าณการจบั สัตวน ้ำไมเ พ่มิ ข้ึนอกี ตอไป และจะลดลงซ่งึ จะเปน ไปตามกราฟหมายเลขที่ 2 แสดงใหเ หน็ หนา | 36

ถึงการวกกลับของเสนตนทุนรวม ณ จุด YMSY ซึ่งเรียกวาเสนอุปทานวกกลับ (Backward Bending Supply Curve) ตนทนุ LRMC LRAC Backward Bending Supply Curve Emsy จุดวกกลับ ปริมาณสตั วน ้ำ (ตนั ) Ymsy การลงแรงประมง (วนั ) ภาพที่ 2. 13 เสนอุปทานโคง กลับ (Backward Bending Supply Curve) ท่มี า: ดัดแปลงจาก Copes, P. (1970) หนา | 37

ดุลภาพของการทำประมงเมื่อราคาสัตวน้ำเปลี่ยนแปลงไปจะมีดุลภาพที่คลายกับกรณี ราคาสัตวน ำ้ คงที่ อยา งไรก็ตามจะมีความแตกตางในสวนของสมการที่ตองคำนึงถึงสวนเกินผูบริโภค ตามลักษณะเสนอุปสงคและอุปทานของสัตวน้ำ สรุปแลวจะมีดุลภาพทั้งหมด 3 ดุลยภาพ คือ ดุลย ภาพการทำประมงเสรี Open Access (OA) ดุลภาพการทำประมงแบบผูกขาด Monopoly (MON) และดุลยภาพการทำประมงท่ีไดผ ลไดเ ชงิ เศรษฐศาสตรสูงสดุ MaximumEconomic Yield (MEY) ดุลยภาพการทำประมงเสรี Open Access (OA) เปน ระดับท่ีรายไดเฉลยี่ (AR) เทา กับ ตนทนุ เฉลีย่ (LRAC) AC = AR ชาวประมงลงแรงประมง ณ E1 สามารถจับสตั วน ำ้ ไดเ ทากับ Yoa โดย รายไดเ ฉลยี่ เทากับ 20 บาทตอหนวย และตน ทนุ เฉล่ยี เทากบั 7 บาทตอหนว ย ทำใหเ กิดกำไรเทากบั 13 บาทตอหนว ย ชาวประมงจงึ ทำประมงตอ ไปโดยเลยจดุ ระดับการจบั สตั วน ำ้ ผลไดอยา งย่งั ยนื จนลง แรงประมง ณ E2 จบั สตั วน ำ้ ไดเทา กบั Yoa เชน เดมิ แตครงั้ นีม้ รี ายไดเ ฉลย่ี เทา กับ 20 บาทตอ หนว ยและ ตน ทุนเฉล่ียตอ หนวยเทากับ 20 บาทตอหนวย ทำใหไ มเกิดกำไรหรือเทา ทนุ ดังภาพที่ 2. 14 ตนทุน (บาท) LRAC LRMC 2A 7B ปรมิ าณสตั วน ้ำ (ตนั ) E1 YOA E2 การลงแรงประมง (วนั ) ภาพท่ี 2. 14 ดลุ ภาพการทำประมงเสรี กรณีราคาสัตวน ำ้ เปลีย่ นแปลง ท่มี า: ดัดแปลงจาก Lee G. Anderson (1977) หนา | 38


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook