Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การควบคุมงานก่อสร้าง โดยกรมยุทธโยธาทหารบก

การควบคุมงานก่อสร้าง โดยกรมยุทธโยธาทหารบก

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-04-14 12:24:16

Description: การควบคุมงานก่อสร้าง โดยกรมยุทธโยธาทหารบก

Search

Read the Text Version

วสิ ัยทศั น์ กรมยุทธโยธาทหารบกพัฒนามาตรฐานงานก่อสร้าง นับต้ังแต่การออกแบบ การเลือกใช้วสั ดุที่มีคณุ ภาพ ทันสมยั การจดั หาท่ีโปร่งใสตรวจสอบได้ ไปจนถึงการควบคุม การก่อสร้างท่ีพิถีพิถัน นอกจากน้ียังเป็นศูนย์กลางข้อมูลงานที่ดิน อสังหาริมทรัพย์ และ การสง่ กาลงั บารุงสายยทุ ธโยธาทร่ี วดเร็วและเช่ือถือได้ การปฏิบัติงานทุกอย่างจะต้องเสร็จ สมบูรณ์ ทันเวลา และใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดคุ้มค่า รวมท้ังดารงการพัฒนาความรู้ใน สายงานทร่ี บั ผิดชอบใหก้ า้ วไกล เพื่อความพึงพอใจของผใู้ ชบ้ ริการทกุ ระดบั

คานา การควบคุมงาน เป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่งในงานก่อสร้างทุกโครงการ ไม่ว่าจะเป็นโครงการ ขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ ถ้างานก่อสร้างใดไม่มีระบบการบริหารจัดการและวิธีการควบคุมงานท่ีดี งานโครงการนนั้ จะไม่ประสบผลสาเร็จ หรอื ถ้าสาเร็จก็ไม่อาจจะรับรองได้ว่างานน้ันมีคุณภาพหรือปลอดภัย ดงั น้นั การควบคมุ งานเปน็ กระบวนการหนึง่ ทจ่ี ะควบคมุ คุณภาพของงาน ใหถ้ กู ตอ้ งตามแบบรูปรายการและ เง่อื นไขข้อกาหนดตา่ งๆ รวมทัง้ ถกู ตอ้ งตามหลักวิชาชา่ ง ซึ่งทาให้หนว่ ยม่ันใจได้ว่าจะได้ส่ิงก่อสร้างที่ถูกต้อง สมบูรณ์ตามที่ต้องการได้ใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์และความคุ้มค่าการลงทุนประการสาคัญที่สุดก็คือ ความปลอดภยั ของผ้ทู จี่ ะใชป้ ระโยชน์จากสง่ิ ก่อสรา้ งในโครงการนน้ั กรมยุทธโยธาทหารบก ตระหนักถึงภาระหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจการจ้างและ ผคู้ วบคมุ งาน ทีต่ อ้ งรับผิดชอบในการตรวจสอบความถูกต้องของงานก่อสร้างให้เป็นไปตามแบบรูปรายการ และตามหลักวิชาช่าง รวมทั้งการปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับท่ีถูกต้อง กรมยุทธโยธาทหารบกจึงได้ จดั ทาเอกสารฉบับนขี้ ้นึ เพอื่ เป็นคู่มอื ประกอบการปฏบิ ัตงิ านของคณะกรรมการตรวจการจ้าง ผู้ควบคุมงาน และผบู้ งั คบั หน่วยในการควบคุมและกากบั ดแู ลงานกอ่ สรา้ งของกองทัพบก กรมยุทธโยธาทหารบก หวังเป็นอยา่ งยิ่งว่าเอกสารฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยต่างๆ ของกองทัพบก หากมีข้อเสนอแนะหรือพบข้อบกพร่องประการใด กรุณาแจ้งให้กรมยุทธโยธาทหารบก ทราบ เพอ่ื พจิ ารณาปรบั ปรงุ แก้ไขตอ่ ไป จกั เป็นการขอบคณุ อย่างย่ิง กรมยทุ ธโยธาทหารบก มกราคม 2556  กองควบคุมการก่อสรา้ ง โทร 02 - 579 - 6543 โทร 02 - 940 - 1365 ต่อ 90854  จัดพิมพ์ จานวน 2556 เล่ม

คุณสมบตั ิทดี่ ขี องผู้ควบคุมงาน เพื่อให้งานก่อสรา้ งสามารถบรรลุตามความมุง่ หมาย ถูกต้องตามข้อกาหนดและหลักเกณฑ์ที่วางไว้ การเป็นผู้ควบคุมงานก่อสร้างท่ีดีนั้น จะต้องมีคุณสมบัติอย่างไร จะต้องวางตัวอย่างไร เป็นส่ิงท่ีกระทาได้ด้วย ความตั้งใจจริง เน่ืองจากภาพพจนข์ องผู้ควบคุมงานและผู้รับจ้างมักจะถูกมองในแง่ท่ีไม่ดีเสมอ ดังนั้นคุณสมบัติ ของผูค้ วบคุมงานที่ดีจะต้องยึดถอื เป็นแนวทางในการปฏบิ ัติ ดังน้ี.-  จะตอ้ งมมี นุษยสมั พันธด์ ี สามารถเขา้ กับคนได้ทุกระดับ ร้จู ักเคารพกฎเกณฑ์ ศึกษาและเข้าใจ ถงึ สายการบงั คบั บัญชา  จะต้องเป็นผู้ท่ฟี งั ความคิดของผอู้ ่นื วิเคราะห์ถึงข้อดแี ละขอ้ เสียเพอ่ื นามาปรับปรุงแก้ไขให้เข้า กับงานท่ีปฏบิ ตั ิ  เขา้ ใจถึงวัตถุประสงค์ของงาน ศึกษารายละเอียดของงานเพื่อเตรียมขั้นตอนการทางานหรือ เตรียมการแก้ไขปัญหาลว่ งหน้า  เป็นผู้ท่ีใฝ่หาความรู้ท้ังทางด้านทฤษฎี และการปฏิบัติ เพื่อท่ีจะนามาใช้ในการให้คาแนะนา และชแ้ี จงเหตผุ ลแกผ่ เู้ กย่ี วขอ้ งได้  จะตอ้ งเป็นผ้มู ีความบริสุทธใิ์ จเปน็ ทต่ี งั้ มคี วามเท่ยี งธรรม หนกั แนน่ ยุติธรรมและซ่ือสตั ย์  จะตอ้ งเป็นคนช่างสงั เกตและมคี วามเอาใจใส่ในงาน และควรจะรู้ว่าส่ิงไหนสาคัญ ซ่ึงควรเอา ใจใสเ่ ป็นพเิ ศษ  เป็นผู้ท่ีสามารถปรับตัวเข้ากับส่ิงแวดล้อม สามารถทางานร่วมกันกับผู้ร่วมงานได้ ท้ังต้องมี บคุ ลิกลักษณะที่สง่างาม เปน็ ท่ีเคารพนบั ถือจากคนงานทัง้ หลาย  จะตอ้ งไมเ่ ปน็ ผ้ทู ี่ม่วั สุมในอบายมขุ ตา่ งๆ เชน่ เปน็ นกั การพนันหรือนกั เลงสรุ า อนั จะทาให้ขาด ความศรัทธา และยังมีผลทาให้เกดิ ความเสื่อมเสียแกก่ องทพั บกได้

สารบญั หนา้ บทท่ี 1 กรมยุทธโยธาทหารบก 1-1 1-3 ภารกจิ การจัด หน้าท่ี ของ กรมยทุ ธโยธาทหารบก ภารกจิ การจดั หน้าท่ี ของ กองควบคมุ การกอ่ สรา้ ง 2-1 2-3 บทที่ 2 หน้าท่ีของผ้เู กย่ี วขอ้ งในงานกอ่ สร้าง 2-3 2-6 1. คณะกรรมการตรวจการจ้าง 2-6 2. นายช่างควบคมุ งานกอ่ สรา้ ง 2-6 3. ผ้คู วบคมุ งาน 4. ผู้ควบคุมงานของหน่วย 3-1 5. ผมู้ ีสทิ ธิร์ บั มอบงาน 3-4 6. ผู้มีสิทธริ์ บั มอบงานตอ่ 3 - 11 บทที่ 3 แนวทางปฏบิ ตั ิในการควบคุมงานกอ่ สรา้ ง 4-1 4-2 1. ขั้นตอนก่อนการกอ่ สร้าง 4-2 2. ขั้นตอนระหวา่ งการกอ่ สรา้ ง 4-3 3. ขน้ั ตอนหลงั งานกอ่ สร้างแลว้ เสร็จ 5-1 บทที่ 4 การปฏิบตั ขิ องประธานกรรมการตรวจการจา้ ง 5-2 5-3 1. ขน้ั การเตรยี มการ 5-4 2. ขน้ั การประสานงาน 3. ขนั้ การควบคมุ งาน 6-1 4. ขน้ั การปฏิบตั ิเมอ่ื งานแล้วเสร็จ 6-1 6-3 บทที่ 5 การดาเนนิ การดา้ นเอกสารประกอบสญั ญา 6-3 6-4 1. การแกไ้ ขสญั ญา 2. การขอสงวนสิทธขิ์ ยายเวลา 3. การบอกเลิกสญั ญา 4. การปอ้ งกนั และแนวทางยตุ ิขอ้ โต้แยง้ บทท่ี 6 การตรวจงานและการสง่ มอบงาน 1. การตรวจงาน 2. การสง่ มอบงาน 3. การดาเนินการ 4. เจา้ หนา้ ทที่ ่เี ก่ยี วข้อง 5. เอกสารท่ีเกีย่ วขอ้ ง

สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ บทท่ี 7 การตรวจรบั รองสภาพงานและการแกไ้ ขสงิ่ ชารุดบกพร่อง 7-1 7-1 1. การตรวจรบั รองสภาพงาน 7-1 2. การแกไ้ ขสงิ่ ชารุดบกพรอ่ งในระหวา่ งรับรองสภาพงาน 7-1 3. เจา้ หนา้ ท่ที ่ีเกีย่ วข้อง 7-2 4. เอกสารท่เี กย่ี วข้อง 5. วิธีปฏบิ ัตใิ นการซ่อมแซมอาคารกรณผี ูร้ ับจ้างไม่เข้าดาเนินการ 8-1 8-1 บทที่ 8 กฎหมายและระเบยี บคาสง่ั ทเ่ี กย่ี วข้องกบั การควบคุมงานก่อสร้าง 8-1 8-3 กฎหมายทเ่ี กี่ยวข้องในงานกอ่ สร้าง 8-5 1. กฎหมายควบคุมอาคาร 8-5 2. กฎหมายอนื่ ๆ ทเ่ี กี่ยวข้องในงานกอ่ สรา้ ง 8-9 แนวทางการคน้ ควา้ ขอ้ มูลกฎหมายทเี่ กี่ยวข้องในงานกอ่ สร้าง 8 - 11 กฎและระเบียบทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับการควบคุมงานก่อสรา้ งของกองทพั บก 8 - 13 1. ระเบยี บสานกั นายกรัฐมนตรวี ่าด้วย การพสั ดุ พ.ศ. 2535 และทแ่ี กไ้ ขเพม่ิ เตมิ 2. คาส่งั กห (เฉพาะ) ที่ 50/50 ลง 16 ม.ี ค. 50 เร่อื ง การพัสดุ 9-1 3. คาสั่ง ทบ. ที่ 620/2531 ลง 14 มิ.ย. 31 9-9 4. ระเบยี บ ทบ. วา่ ด้วย การทาสัญญาและการบอกเลิกสญั ญา พ.ศ. 2536 9 - 46 9 - 108 บทที่ 9 ขน้ั ตอนการตรวจสอบงานของผคู้ วบคุมงาน 9 - 124 9 - 137 การปฏบิ ัตกิ ่อนการดาเนนิ การกอ่ สรา้ ง 2. งานวิศวกรรมโครงสรา้ ง 3. งานสถาปตั ยกรรม 4. งานระบบวศิ วกรรมสุขาภิบาล 5. งานระบบวิศวกรรมไฟฟา้ 6. งานระบบวิศวกรรมเครื่องกล บรรณานุกรม

กรมยทุ ธโยธาทหารบก 1 - 1 บทท่ี 1 กรมยุทธโยธาทหารบก กรมยุทธโยธาทหารบก 1. ภารกจิ วางแผน อานวยการ ประสานงาน แนะนา กากบั การ ดาเนินการวิจยั และพัฒนาเกี่ยวกับ การจัดหา กอ่ สรา้ ง สง่ กาลัง และ การซอ่ มบารุงเกยี่ วกบั สง่ิ ก่อสร้าง และอสังหาริมทรพั ย์ของกองทพั บก โดยมีเจ้ากรมยทุ ธโยธาทหารบก เป็นผ้บู ังคับบญั ชารบั ผิดชอบ 2. การจัด กรมยุทธโยธาทหารบก แผนกธุรการ แผนกการเงนิ กองควบคุมการกอ่ สร้าง กองแผนและโครงการ กองแบบแผน กองสนบั สนนุ กองซ่อมส่ิงปลูกสรา้ ง สง่ิ อุปกรณส์ ายยทุ ธโยธา และสาธารณปู โภค กองทีด่ นิ กองบรกิ าร กองจดั หา 3. การแบง่ ส่วนราชการและหน้าท่ี กรมยทุ ธโยธาทหารบก แบง่ สว่ นราชการออกเป็น 3.1 แผนกธุรการ มีหนา้ ที่ 1) ใหค้ าปรึกษาและขอ้ เสนอแนะแกผ่ ู้บังคับบัญชา และฝ่ายอานวยการในเร่อื งงานสารบรรณและงานธุรการทว่ั ไป 2) เกบ็ รักษาแบบธรรมเนยี ม ระเบียบ ขอ้ บงั คบั คาส่ังตา่ งๆ ของทางราชการ 3) ดาเนินงานและควบคุมการปฏิบัติงานทางธุรการ รวมท้ังการพิมพ์เอกสารหลักฐานต่างๆ ของทางราชการเป็น ส่วนรวมของหน่วย 4) ดาเนินงานธุรการกาลังพลภายใน กรมยุทธโยธาทหารบก 5) บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหนา้ ที่ 3.2 แผนกการเงิน มีหน้าที่ 1) ดาเนินการ เบกิ รับ จ่าย เก็บรักษาเงินและการบญั ชีของหนว่ ยใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บแบบแผนของทางราชการ 2) เสนอแนะและใหค้ าปรึกษาทางดา้ นการเงินและการบัญชีแกผ่ บู้ งั คับบญั ชา 3) บนั ทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าท่ี 3.3 กองควบคุมการก่อสร้าง มีหน้าที่ 1) เสนอแนะ ควบคุม กากับดูแลให้งานก่อสร้าง และซ่อมบารุงอาคาร ส่ิงปลูกสร้างและสาธารณูปโภคของ กองทัพบก เปน็ ไปโดยถูกต้องตามแบบรปู รายการสัญญาและปฏิบตั ิให้เปน็ ไปตามระเบยี บขอ้ บงั คบั ของทางราชการทก่ี าหนด 2) บันทกึ และรายงานสถติ ผิ ลงานตามหน้าท่ี

1 - 2 กรมยทุ ธโยธาทหารบก 3.4 กองแผนและโครงการ มหี นา้ ที่ 1) วางแผน อานวยการ ประสานงาน กากับการและดาเนนิ การในด้านการกาลงั พล การข่าว การฝึกศึกษา การสถิติ การส่งกาลังบารุง การโครงการและงบประมาณ 2) บนั ทึก และรายงานสถิตผิ ลงานตามหน้าที่ 3.5 กองแบบแผน มหี นา้ ที่ 1) วางแผน ประสานงาน ออกแบบ และแนะนาเก่ยี วกบั การกอ่ สรา้ ง 2) วเิ คราะห์ วจิ ัย และทดสอบเพือ่ ใหเ้ กดิ ผลในทางประหยดั และมปี ระสทิ ธภิ าพ 3) ประมาณราคางานกอ่ สรา้ งใหอ้ ยู่ในเกณฑท์ ี่เหมาะสม 4) จัดทารา่ งระเบยี บ คาชีแ้ จง คาแนะนา งานในหนา้ ท่ขี องกองแบบแผน 5) บนั ทึก และรายงานสถิตผิ ลงานตามหนา้ ที่ 3.6 กองสนบั สนุนสิง่ อปุ กรณ์สายยุทธโยธา มหี นา้ ที่ 1) ดาเนนิ การจดั หาพสั ดุ และสงิ่ อุปกรณ์ สายยุทธโยธา 2) ประสานงานในเร่อื งการจัดหากบั หนว่ ยทีเ่ กี่ยวข้อง 3) ดาเนินการเก่ยี วกับสัญญาระหว่างผขู้ ายหรือผู้รบั จา้ งกบั ทางราชการ 4) ดาเนินการ และกากบั การ การบริหารงานคลัง การสง่ กาลงั การซอ่ มบารงุ และการจาหน่ายสง่ิ อุปกรณ์ สายยทุ ธโยธา 5) บนั ทกึ และรายงานสถติ ผิ ลงานตามหน้าท่ี 3.7 กองซอ่ มสิง่ ปลกู สร้างและสาธารณูปโภค มหี น้าที่ 1) วางแผน ประสานงาน แนะนา กากับการ ตรวจสอบความต้องการ ควบคุมความสิ้นเปลือง และดาเนินการ เกยี่ วกับการก่อสร้างและซอ่ มอาคารสง่ิ ปลกู สรา้ งส่ิงอานวยความสะดวก สาธารณปู โภคและบารงุ รักษาพน้ื ท่ี 2) รับผิดชอบส่งิ อปุ กรณ์เครื่องมอื เครอ่ื งใชใ้ นกิจการดังกล่าว 3) ดาเนนิ การควบคมุ ตรวจสอบ เสนอแนะ และกากับการเกี่ยวกับงานก่อสร้างให้ถูกต้องตามแบบธรรมเนียมของ ทางราชการ 4) บนั ทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่ 3.8 กองทีด่ นิ มหี นา้ ที่ 1) เสนอแนะตรวจสอบความตอ้ งการงบประมาณที่เก่ยี วขอ้ งกับงานท่ีดนิ ในด้านการปกครอง ดูแลรักษา และการให้ ได้มาซึ่งสิทธกิ ารเขา้ ใชป้ ระโยชน์ 2) ดาเนนิ การใหไ้ ดม้ าซง่ึ สทิ ธิการเขา้ ใชป้ ระโยชน์ทีด่ นิ ของกองทัพบก 3) ควบคุมหลักฐานทะเบียนประวตั ิทด่ี นิ อาคาร และส่ิงปลกู สร้างของกองทัพบก 4) ทาการรังวัดตรวจสอบขอบเขต สารวจ และการปักหลักเขตทีด่ ินของกองทัพบก 5) บนั ทึก และรายงานสถติ ิผลงานตามหน้าท่ี 3.9 กองบริการ มหี น้าท่ี 1) สนบั สนนุ หนว่ ยตา่ งๆ ของกรมยทุ ธโยธาทหารบก เกยี่ วกบั การสวัสดิการ การพลาธิการ การขนส่ง และสนับสนุน กาลงั พลเกีย่ วกับการรักษาความปลอดภยั รวมทั้งการบรกิ ารแรงงาน และการบรกิ ารอื่นๆ ตามทไ่ี ด้รบั มอบหมาย 2) บนั ทึก และรายงานสถิตผิ ลงานตามหนา้ ที่ 3.10 กองจัดหา มีหนา้ ที่ 1) ดาเนินการจัดหาพัสดุสายยุทธโยธา ประสานงานในเร่ืองการจดั หากบั หนว่ ยทเ่ี ก่ยี วข้อง ดาเนินการเก่ยี วกับสัญญา ระหว่างผขู้ ายหรือผรู้ บั จา้ งกับทางราชการ 2) บันทึก และรายงานสถติ ิผลงานตามหน้าที่

กรมยทุ ธโยธาทหารบก 1 - 3 กองควบคุมการก่อสร้าง คาส่ัง ทบ.( เฉพาะ ) ลับ ท่ี 70/48 ลง 30 ธ.ค. 48 เรื่องกาหนดหน้าที่และอัตรากาลังพล ของ กองควบคุมการก่อสร้าง กรมยทุ ธโยธาทหารบก (กคก.ยย.ทบ.) ดังนี้.- 1. ภารกิจ 1.1 เสนอแนะ ควบคมุ กากบั ดแู ลให้งานก่อสรา้ ง และซอ่ มบารุงอาคาร สง่ิ ปลูกสร้าง และสาธารณูปโภคของ กองทัพบก เปน็ ไปโดยถูกต้องตามแบบรูปรายการสญั ญา และปฏิบตั ิใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บข้อบังคับของทางราชการทก่ี าหนด 1.2 ตรวจสอบ พจิ ารณาการใช้แบบรูปรายการ และวัสดกุ อ่ สรา้ ง ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานที่กองทัพบกกาหนด 1.3 บนั ทึก และรายงานสถติ ผิ ลงานตามหน้าท่ี 2. การจัด กองควบคุมการก่อสร้าง แผนกควบคุมงานก่อสรา้ งที่ 1 แผนกควบคมุ งานก่อสร้างท่ี 2 แผนกควบคมุ งานกอ่ สร้างที่ 3 แผนกควบคมุ งานก่อสร้างที่ 4 แผนกควบคมุ งานกอ่ สร้างที่ 5 3. หน้าท่ี 3.1 เสนอแนะ จัดระเบียบ คาส่ัง คาช้ีแจง และคาแนะนาเกี่ยวกับการควบคุมการก่อสร้าง และซ่อมบารุงอาคาร ส่งิ ปลูกสรา้ ง และสาธารณูปโภค 3.2 วางแผน อานวยการออกแบบ ตรวจสอบ พิจารณาการแก้ไขและเสนอแนะการสร้าง ซ่อมบารุงอาคาร และงาน สาธารณปู โภค พร้อมสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ ใหถ้ ูกต้องตามกฎหมายวศิ วกรรม 3.3 วางแผนจัดลาดับความเร่งด่วน แบ่งมอบงานให้ผู้รับผิดชอบงานแต่ละพ้ืนท่ี อานวยการ และกากับดูแลให้เสร็จทัน ตามกาหนด 3.4 กากบั ดแู ลควบคุมงานในสว่ นท่ไี ดร้ ับมอบหมาย เสนอแนะใหค้ าปรึกษา และช่วยแก้ไขปัญหาด้านเทคนิคการก่อสร้าง และซ่อมบารุงอาคารสิ่งปลูกสร้าง และงานสาธารณูปโภคของกองทัพบกให้แก่ คณะกรรมการตรวจการจ้างและผู้ว่าจ้าง ตลอดจน ประสานงานกับผูท้ เ่ี ก่ียวข้องเพอ่ื อานวยความสะดวกตา่ งๆ แกผ่ รู้ บั จา้ ง โดยสามารถดาเนนิ การก่อสร้างได้ตามแผนทก่ี าหนด 3.5 ควบคุมกากับดแู ลใหง้ านกอ่ สร้าง และซอ่ มบารงุ อาคาร ส่ิงปลกู สรา้ ง และสาธารณปู โภคท่ีไดร้ ับมอบหมาย ให้เป็นไป โดยถูกตอ้ งตามแบบรปู รายการสัญญาและปฏบิ ตั ใิ ห้เปน็ ไปตามระเบียบขอ้ บงั คับของทางราชการทีก่ าหนด

1 - 4 กรมยุทธโยธาทหารบก อตั รา ชกท. เหล่า ยศ จานวน 4. อัตรากาลังพล พ.อ.(พ.) 1 0002 - ลาดบั ตาแหน่ง พ.อ. 1 7130 ช. 1 ผอู้ านวยการกอง พ.ท. 1 7110 ช. 2 รองผอู้ านวยการกอง 3 วศิ วกร ร.อ. 1 2120 - 4 ประจากอง 5 เสมียน จ.(พ.) 1 710 ช. 6 เสมยี น 7 เสมียน จ. 1 710 สบ. แผนกควบคมุ งานกอ่ สร้างท่ี 1 - 5 ส.อ. 3 711 สบ. 8 หวั หนา้ แผนก 9 นายชา่ งควบคมุ งาน พ.ท. 5 7130 ช. 10 นายชา่ งควบคุมงาน 11 ผู้ควบคมุ งาน พ.ต. 10 7130 ช. 12 ผคู้ วบคุมงาน 13 เสมยี น ร.อ. 15 7130 ช. จ. 20 518 ช. ส.อ. 45 518 ช. ส.อ. 5 711 สบ.

หน้าทข่ี องผู้เกย่ี วข้องในงานกอ่ สร้าง 2 - 1 บทที่ 2 หน้าทีข่ องผูเ้ ก่ยี วขอ้ งในงานก่อสร้าง ผู้เกย่ี วขอ้ งในงานกอ่ สร้าง ประกอบด้วย 1. คณะกรรมการตรวจการจา้ ง 2. นายชา่ งควบคุมงาน 3. ผคู้ วบคุมงาน 4. ผคู้ วบคุมงานของหน่วย 5. ผู้มีสิทธิร์ ับมอบงาน 6. ผมู้ ีสทิ ธริ์ ับมอบงานตอ่ 1. คณะกรรมการตรวจการจา้ ง การแต่งต้งั คณะกรรมการตรวจการจ้าง ตามระเบยี บสานักนายกรัฐมนตรวี า่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และแก้ไขเพิ่มเติม ขอ้ 35 ไดก้ ล่าว ถึงองค์ประกอบของคณะกรรมการตรวจการจา้ งสรุปได้ ดังนี้ คณะกรรมการตรวจการจ้าง ประกอบดว้ ย ประธาน กรรมการ 1 คน และคณะกรรมการอยา่ งนอ้ ย 2 คน โดยปกติให้แตง่ ตง้ั จากข้าราชการต้ังแตร่ ะดับ 3 หรอื เทียบเทา่ ข้ันไป ควรแตง่ ตง้ั ผู้ชานาญการหรือผทู้ รงคณุ วุฒทิ เ่ี กีย่ วข้องกับงานท่ีจา้ งเข้ารว่ มเปน็ กรรมการด้วย ในทางปฏบิ ตั ิบางคร้ังอาจเกดิ ปญั หาขน้ึ ได้ ดังกรณีที่ หน่วยงานใดไม่มีบคุ ลากร ทีม่ คี ณุ วุฒิ ทางด้านงานก่อสรา้ ง เพ่ือประโยชน์ของทางราชการ จะแตง่ ตัง้ บคุ คลทม่ี ใิ ช่ข้าราชการรว่ มเป็น กรรมการตรวจการจ้างด้วยกไ็ ด้ นอกจากนกี้ ารแต่งต้งั คณะกรรมการตรวจการจ้างของ ทบ. จะตอ้ งปฏิบตั ติ ามคาสั่ง ทบ. ที่ 620/2531 ลง 14 มิ.ย. 31 เรอ่ื ง การแต่งตงั้ คณะกรรมการจดั ซอื้ หรอื จ้างและดาเนนิ กรรมวธิ ใี นการจดั ซ้อื หรอื จา้ งดว้ ย โดยมีหลักเกณฑ์ ดังตอ่ ไปนี้ 1) การจดั ซอื้ หรอื จ้างที่มีวงเงินอยู่ในอานาจอนุมัติสั่งซอื้ สั่งจา้ ง ของผบู้ งั คบั การกรมหรอื เทียบเท่า, ผบู้ ญั ชาการกองพลหรือ เทียบเท่า หรือผู้บังคับบัญชาชั้นแม่ทัพหรือเทียบเท่าให้ผู้มีอานาจแต่งต้ังคณะกรรมการจัดซื้อและจ้าง ต้ังคณะกรรมการจัดซื้อหรือ จัดจา้ งจากหนว่ ยข้นึ ตรงของผู้มอี านาจอนุมตั สิ ั่งซื้อสั่งจ้าง หรืออาจแต่งต้ังจากหน่วยอ่ืน ซึ่งเป็นหน่วยข้ึนตรงกองทัพบก จานวนอย่าง น้อย 3 คน 2) การจัดซื้อหรอื จ้างทม่ี วี งเงนิ อยู่ในอานาจอนุมตั ิสั่งซือ้ ส่งั จา้ งของผบู้ งั คบั บัญชาตัง้ แตร่ ะดับผูบ้ ญั ชาการทหารบกข้ึนไป ให้ ผมู้ ีอานาจแต่งตงั้ คณะกรรมการจัดซือ้ หรอื จดั จา้ งต้ังคณะกรรมการจัดซอ้ื หรือจดั จา้ งจากหน่วยขึ้นตรงของตนจานวนอย่างน้อย 1 นาย ส่วนที่เหลือให้แต่งต้ังจากหน่วยอ่ืนๆ ซึ่งเป็นหน่วยขึ้นตรงกองทัพบกอีกอย่างน้อย 2 หน่วย หรือขอผู้แทนจากหน่วยเหนือของตน จานวนอยา่ งน้อย 1 นายและจากหนว่ ยอน่ื ซงึ่ เป็นหนว่ ยขึ้นตรงกองทพั บกจานวนอย่างนอ้ ย 1 นาย 3) ในกรณีจาเป็นหรือเพ่ือประโยชน์ของทางราชการ ผู้มีอานาจแต่งตั้งคณะกรรมการจัดซ้ือหรือจัดจ้างอาจแต่งต้ัง ขา้ ราชการจากส่วนราชการอน่ื นอกกองทพั หรือแตง่ ตง้ั บคุ คลทม่ี ิใช่ขา้ ราชการเป็นกรรมการรว่ มกบั คณะกรรมการจัดซือ้ หรือจา้ งด้วยกไ็ ด้ 4) การแต่งต้งั คณะกรรมการจดั ซื้อหรอื จัดจ้าง หา้ มแตง่ ตง้ั เจา้ หน้าทีก่ ฎหมาย เจา้ หนา้ ทกี่ ารเงิน และเจ้าหน้าทง่ี บประมาณ เข้ารว่ มเป็นกรรมการด้วย และหา้ มขอกรรมการจากกรมฝา่ ยเสนาธกิ าร กรมจเรทหารบก และสานักงานตรวจบัญชีกองทัพบกไปเป็น กรรมการจดั ซ้ือหรือจดั จ้างของหน่วยอ่ืน หากสามารถทาได้กรรมการที่แต่งตั้งควรเป็นเจ้าหน้าท่ีเหล่าสายวิทยาการ และ/หรือ ผู้แทน หนว่ ยใช้ประโยชน์ 5) สาหรับส่วนราชการที่มีหน่วยงานในต่างประเทศ หรือมีกิจกรรมท่ีต้องปฏิบัติในต่างประเทศ ให้ผู้มีอานาจแต่งตั้ง คณะกรรมการจัดซื้อหรือจัดจ้างแต่งต้ังนายทหารสัญญาบัตร ซึ่งประจาอยู่ ณ หน่วยงานนั้น จานวนอย่างน้อย 3 นาย เป็นกรรมการ จดั ซ้ือหรือจดั จา้ ง แตถ่ ้ามนี ายทหารสัญญาบัตรไม่เพียงพอจะแต่งต้ังนายทหารสัญญาบัตรจานวนอย่างน้อย 1 นาย และนายทหารต่า กว่าชน้ั สัญญาบตั รของหน่วยงานน้ัน หรือข้าราชการจากส่วนราชการอื่นที่มีสานักงานอยู่ในประเทศน้ัน จานวนอีกอย่างน้อย 2 นาย รว่ มเป็นกรรมการคณะหนึ่งคณะใดหรือทุกคณะก็ได้

2 - 2 หน้าท่ขี องผู้เก่ียวข้องในงานก่อสร้าง 6) ในกรณีทตี่ ้องมกี ารขอตัวบคุ คลจากสว่ นราชการทม่ี ิใช่หนว่ ยข้ึนตรงของผู้มีอานาจแต่งตั้งคณะกรรมการจัดซื้อหรือจ้าง มาร่วมเป็นกรรมการจดั ซื้อหรือจา้ ง ให้ขอความรว่ มมอื จากหวั หน้าสว่ นราชการน้ันๆ โดยตรงโดยไม่ระบตุ ัวบคุ คล หน้าท่ขี องคณะกรรมการตรวจการจ้าง ตามระเบียบสานกั นายกรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และแก้ไขเพ่ิมเติมได้ ระบุหนา้ ท่ขี องคณะกรรมการตรวจการจา้ งไว้ดังน้ี.- 1) ตรวจสอบรายงานการปฏิบตั ขิ องผูร้ บั จ้าง และเหตุการณแ์ วดล้อมที่ผู้ควบคุมงานรายงาน โดยตรวจสอบกบั แบบรูปและ รายการละเอยี ด และข้อกาหนดในสัญญาทุกสปั ดาห์ รวมท้ังรับทราบหรือพิจารณาการส่ังหยุดงาน หรือพักงานของผู้ควบคุมงานแล้ว รายงานหวั หน้าสว่ นราชการเพ่ือพิจารณาสัง่ การตอ่ ไป 2) การดาเนินการตาม 1) ในกรณีมีขอ้ สงสยั หรอื กรณีที่เห็นวา่ ตามหลกั วชิ าการชา่ งไม่น่าจะเป็นไปได้ให้ออกตรวจงานจ้าง ณ สถานที่ท่ีกาหนดไว้ในสัญญาหรือท่ีตกลงให้ทางานจ้างน้ันๆ โดยให้มีอานาจส่ังเปล่ียนแปลงแก้ไขเพ่ิมเติมหรือตัดทอนงานจ้างได้ ตามทีเ่ ห็นสมควรและตามหลกั วิชาการชา่ ง เพ่อื ใหเ้ ป็นไปตามแบบรูปและรายการละเอยี ดและข้อกาหนดในสัญญา 3) โดยปกติให้ตรวจผลงานของผูร้ บั จ้างสง่ มอบภายใน 3 วันทาการ นับแต่วันท่ีประธานกรรมการได้รับทราบการส่งมอบ งาน และให้ทาการตรวจรับใหเ้ สรจ็ สน้ิ ไปโดยเรว็ ท่สี ดุ 4) เม่อื ตรวจเหน็ วา่ ครบถ้วนเปน็ ไปตามแบบรปู และรายการละเอยี ด และขอ้ กาหนดในสัญญาแล้วให้ถือว่าผู้รับจ้างส่งมอบ งานครบถว้ นตัง้ แต่วนั ท่ผี ู้รับจ้างสง่ งานจา้ งน้นั และให้ทาใบรับรองผลการปฏิบัติท้ังหมด หรือเฉพาะงวดแล้วแต่กรณี โดยลงชื่อไว้เป็น หลักฐานอย่างน้อย 2 ฉบับ มอบให้แก่ผู้รับจ้าง 1 ฉบับ และเจ้าหน้าท่ีพัสดุ 1 ฉบับ เพ่ือทาการเบิกจ่ายเงินตามระเบียบว่าด้วยการ เบกิ จ่ายเงินตามระเบียบว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินจากคลัง และรายงานให้หัวหน้าส่วนราชการทราบในกรณีที่เห็นว่า ผลงานที่ส่งมอบ ทัง้ หมดหรืองวดใดกต็ ามไม่เป็นไปตามแบบรูปและรายการละเอียดไม่เป็นไปตามข้อกาหนดในสัญญา ให้รายงานหัวหน้าส่วนราชการ ผ่านหัวหนา้ เจ้าหน้าที่พัสดุเพอ่ื ทราบ หรือสงั่ การ แลว้ แต่กรณี 5) ในกรณีทีก่ รรมการตรวจการจ้างบางคนไม่ยอมรับงาน โดยทาความเห็นแย้งไว้ ให้เสนอหัวหน้าส่วนในกรณีที่กรรมการ ตรวจการจา้ งบางคนไม่ยอมรับงาน โดยทาความเหน็ แยง้ ไว้ใหเ้ สนอหัวหน้าสว่ นราชการ นอกจากหน้าท่ีหลักท่ีระบุไว้ในระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และแก้ไขเพิ่มเติมแล้ว คณะกรรมการตรวจการจ้างยังจะต้องมีหน้าทอ่ี ีกหลายประการทีจ่ ะต้องปฏิบัตเิ พอ่ื ให้การตรวจการจ้างงานก่อสร้าง มปี ระสิทธิภาพมาก ย่ิงขึ้น ไดแ้ ก่ (1) ตรวจสอบรายงานการปฏบิ ัติงานของผรู้ บั จา้ ง และเหตกุ ารณแ์ วดลอ้ มทผี่ คู้ วบคุมงานรายงาน (2) พิจารณารายงานการส่งั หยุดงานหรอื พกั งานของผู้ควบคมุ งาน แล้วรายงานให้ผู้ว่าจ้างเพื่อพิจารณาสงั่ การตอ่ ไป (3) ในกรณีมีข้อสงสัยหรือกรณีที่เห็นว่าตามหลักวิชาช่างไม่น่าจะเป็นไปได้ ให้มีอานาจสั่งเปลี่ยนแปลงแก้ไขเพ่ิมเติม หรอื ตดั ทอนงานจา้ งได้ตามที่เหน็ สมควร โดยใหเ้ ปน็ ไปตามแบบรปู และรายการละเอียดและขอ้ กาหนดในสญั ญา (4) ตามข้อ (3) ถ้าผู้รับจ้างขัดขืนไม่ปฏิบัติตาม ให้หยุดงานน้ันเฉพาะส่วนหน่ึงส่วนใดหรือท้ังหมดแล้วแต่กรณีไว้ก่อน จนกว่าผู้รับจา้ งจะยอมปฏิบตั ิให้ถูกตอ้ งตามคาสั่ง (5) หากมีปัญหาเกิดข้ึนในกรณีที่แบบรูปและรายการละเอียดหรือข้อกาหนดในสัญญา ความขัดแย้งกันหรือเป็นที่ คาดหมายได้ว่าถึงแก้งานให้เป็นไปตามแบบรูปรายการและข้อกาหนดในสัญญาแล้วจะไม่มั่นคงแข็งแรง ให้สั่งพักงานไว้ก่อนแล้ว รายงานให้ผวู้ า่ จา้ งพิจารณาตอ่ ไป (6) เมือ่ ผูร้ ับจ้างส่งมอบงาน ให้ทาการตรวจรับงาน หากถูกต้องครบถ้วนตามแบบรูปรายการและข้อกาหนดในสัญญา ใหถ้ ือวา่ ผรู้ บั จา้ งสง่ มอบงานครบถ้วนต้งั แตว่ นั ทีผ่ ้รู บั จ้างส่งงานนนั้ (7) กรรมการตรวจการจ้างจะเข้าไปตรวจงานได้ทุกเวลา ผู้รับจ้างจะต้องให้ความสะดวกในการตรวจงานเป็นอย่างดี หากมงี านใดท่ไี ด้จดั ทาไปโดยไม่ผ่านการตรวจอนุมัตขิ องกรรมการตรวจการจ้าง กรรมการตรวจการจ้างมีอานาจท่ีจะส่ังให้เปิดพิสูจน์ เพือ่ ตรวจดูไดโ้ ดยฝ่ายผู้รับจ้างเปน็ ผเู้ สยี คา่ ใชจ้ า่ ยทงั้ ส้ิน

หนา้ ท่ขี องผเู้ ก่ียวข้องในงานกอ่ สรา้ ง 2 - 3 2. นายช่างควบคมุ งานกอ่ สรา้ ง นายช่างควบคุมงานก่อสร้างเป็นบุคคลหน่ึงของเจ้าหน้าท่ีของผู้ว่าจ้างที่มีความสาคัญในการกากับ ดูแลผู้ควบคุมงาน ให้ควบคุมงานก่อสร้างเป็นไปตามแบบรูปและรายการท่ีกาหนด อีกท้ังมีหน้าที่คอยประสานงานระหว่างเจ้าหน้าท่ีของผู้ว่าจ้างกับ เจ้าหนา้ ทขี่ องผูร้ บั จา้ ง เพ่อื ให้การดาเนินการกอ่ สรา้ งเป็นไปดว้ ยความเรยี บร้อย โดยกาหนดหน้าที่ท่ัวไปและหน้าท่ีเฉพาะของนายช่าง ควบคุมงานก่อสร้าง (ชกท.7130) ไว้ดังตอ่ ไปน้ี หนา้ ที่ทั่วไป อานวยการกอ่ สร้างและซ่อมบารงุ สาธารณูปโภค อาคาร ถนน สะพาน ไฟฟ้า ประปา การขจดั สิง่ ปฏิกลู การให้ความอบอนุ่ การปรบั อากาศ คา่ ยพัก สถานี คลงั และที่ตั้งทางการทหารอื่นๆ หนา้ ทเ่ี ฉพาะ 1) อานวยการ ประสานงานในเรอ่ื งโครงการงานชา่ งยทุ ธโยธาตา่ งๆ 2) ให้คาแนะนาแก่ผูบ้ ังคับบัญชาในเรือ่ งเกย่ี วกบั การซ่อมบารงุ สถานทต่ี ้ังโดยท่ัวไป 3) จดั ทาแผน โครงการ ขอ้ จากัดและประเมินราคาของแรงงานและวัสดุกอ่ สร้างในการก่อสร้าง และในการซอ่ ม 4) ควบคมุ และอานวยการกอ่ สรา้ งหรือซ่อมอาคาร สาธารณปู โภค ถนน สะพาน ไฟฟ้า ประปา การขจัดส่งิ ปฏิกูล การใหค้ วามอบอนุ่ การปรบั อากาศ และระบบระบายอากาศ 5) อานวยการเบกิ เกบ็ รักษา และสง่ิ อปุ กรณ์ เพ่อื การซ่อมบารงุ 6) จดั ให้มสี ง่ิ อปุ กรณอ์ ยา่ งเพียงพอเพอ่ื การก่อสรา้ งและการซ่อม 3. ผคู้ วบคมุ งาน ผู้ที่จะเป็นผ้คู วบคุมงานนน้ั จะต้องมีคณุ วฒุ แิ ละประสบการณ์ตามขนาดของงานก่อสร้างนั้นๆ จานวนผู้ควบคุมงานจะต้อง แปรไปตามขนาดของส่ิงก่อสร้าง เช่น อาคารขนาดเล็กอาจจะมีผู้ควบคุมงานคนเดียวก็เพียงพอ แต่สาหรับการก่อสร้างขนาดใหญ่ ในพ้ืนทีก่ ว้างมอี าคารหลายประเภทหลายหลงั จาเปน็ ตอ้ งมีผคู้ วบคุมงานจานวนเพิม่ ข้ึนตามความจาเป็น ดังน้ันมีความจาเป็นที่จะต้อง กาหนดคุณสมบัติ และหน้าท่ีของผู้ควบคุมงานเพื่อการปฏิบัติงานควบคุมการก่อสร้างให้มีประสิทธิภาพ บรรลุวัตถุประสงค์ของงาน ก่อสรา้ ง คุณสมบตั ิของผู้ควบคุมงาน 1) คุณวฒุ ิหรอื พน้ื ฐานการศกึ ษา ควรเปน็ ผู้ท่ีสาเร็จการศึกษาไดร้ บั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ช้ันสูงทางด้านก่อสร้าง ช่างโยธา ช่างเทคนิค สถาปัตยกรรม ช่างสารวจ วิศวกรรมการทาง วิศวกรรมชลประทาน ห รือผู้ท่ีสาเร็จ ทางด้านอาชีวศกึ ษาระดบั เดียวกันน้ี โดยผา่ นการอบรมวชิ าชีพทางด้านการช่าง งานก่อสร้างขนาดใหญ่บางโครงการจาเป็นต้องใช้ผู้มี คุณวฒุ ิหรือพนื้ ฐานสูงกวา่ นี้ อาจจะต้องใชผ้ ทู้ มี่ ีคุณวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีทางสาขาท่ีได้กล่าวข้างต้น จานวนปีหลังจากสาเร็จ การศกึ ษา และประสบการณใ์ นการทางานกเ็ ป็นปัจจัยสาคญั ผู้ทส่ี าเร็จการศึกษามาใหม่ๆ ก็ยอ่ มขาดประสบการณ์ ควรจะต้องหาความ ชานาญทางด้านการควบคุมงานในลักษณะหรือหน้าที่ของผู้ช่วยในเบื้องต้น และอาจจะต้องใช้เวลาในการเรียนรู้ประสบการณ์หรือ อาจจะเริ่มควบคุมงานขนาดเล็ก และคอ่ ยเล่อื นขึ้นมาควบคุมงานขนาดใหญ่ขึ้น เพอ่ื การเรยี นร้ปู ระสบการณต์ ามลาดับ 2) ประสบการณ์ในการทางาน นอกเหนือจากพ้ืนฐานการศึกษา หรือบางคนอาจใช้ประสบการณ์พัฒนาตนเองมา ตามลาดับจากคนงานเลอื่ นเปน็ ชา่ งฝีมือ หรอื หวั หนา้ คนงานเลอื่ นเป็นนายชา่ ง และหัวหน้านายช่าง มีความชานาญหลายๆ ปี สามารถ อ่านแบบรูปรายการเข้าใจ และมีความรู้เบ้ืองต้นอย่างดี รวมทั้งมีความชานาญในงานโดยเฉพาะงานไม้ งานปูน งานเหล็ก และงาน คอนกรตี ทัง้ ยังตอ้ งประกอบกับความสามารถเฉพาะตวั ทางดา้ นการเขียนรายงาน และเขา้ ใจแบบฟอร์มต่างๆ เข้าใจกาหนดระยะเวลา การดาเนินงาน เข้าใจระบบแผนงานก่อสร้าง เข้าใจข้ันตอนของการทางาน มีการตัดสินใจท่ีถูกต้อง และหมั่นหาความรู้เพ่ิมเติมเสมอ บคุ คลประเภทน้กี ็สามารถเปน็ ผู้ควบคุมงานได้เป็นอยา่ งดีไม่ด้อยกว่าผูท้ มี่ วี ุฒิการศกึ ษาเป็นทนุ สารอง

2 - 4 หนา้ ทข่ี องผู้เกี่ยวข้องในงานก่อสร้าง 3) มีความประพฤติท่ีดีและปฏบิ ัติตามจรรยาบรรณอย่างเครง่ ครัด นอกเหนือจากมีพ้ืนฐาน ความรู้ และมีประสบการณ์ ในการควบคุมงานแล้ว ส่ิงท่ีควรนามาเพื่อพิจารณาเป็นส่วนประกอบของคุณสมบัติของผู้ควบคุมงาน คือ ความประพฤติ นิสัยใจคอ ซ่งึ จะตอ้ งเป็นผู้ทมี่ ีจรรยาบรรณของวชิ าชีพอยู่อย่างพร้อมมูล โดยตัวอย่างดงั น้ี.- (1) ต้องเปน็ ผทู้ ม่ี ีความซื่อสตั ย์ต่อวิชาชีพและหนา้ ที่ ไมร่ บั ผลประโยชน์ใดๆ จากผรู้ ับจา้ ง ไม่เข้าข้างผู้รับจ้าง หรือช่วยผู้ รบั จ้างปกปดิ ความผดิ หรอื ทางานผิดไปจากแบบรูปหรือหลักวิชาชา่ งทีด่ ี ผ้คู วบคมุ งานเป็นผู้ที่ได้รับความไว้วางใจจากผู้ว่าจ้าง โดยหวัง จะให้เปน็ หูเป็นตาในการควบคุมผรู้ ับจา้ ง ให้ทางานตรงตามแบบรูปและรายการสิง่ ก่อสร้างนั้นๆ จะได้สาเร็จเป็นผลงานที่ดี ถ้ามีความ เสยี หายเกิดจากความวบิ ัติของโครงสรา้ ง ถึงแม้จะพน้ ระยะประกนั ผลงานของการทาการก่อสร้างแลว้ ก็ตาม แตผ่ ลของความวิบตั ิกย็ ังคง เปน็ เครอื่ งบง่ บอกวา่ ผูค้ วบคมุ งานมคี วามประพฤติอย่างไรในอดีต ตัวอย่าง ความไม่ซื่อสัตย์ของผู้ควบคุมงานในการก่อสร้างแห่งหน่ึง กล่าวคือ ศนู ย์ของตอมอ่ หรอื ฐานรากจานวนเกือบ 200 ตน้ ไมไ่ ด้ศูนย์กับเข็มท่ีตอกเอาไว้ เมื่อผู้ควบคุมงานทราบแทนที่จะดาเนินการ แก้ไขปัญหาอยา่ งถูกตอ้ งตามหนา้ ทท่ี ีพ่ งึ กระทา กลบั สั่งกลบดนิ ทันทีเพ่อื ช่วยเหลอื ผู้รับจา้ ง เรอ่ื งเปิดเผยขึ้นเพราะคนงานกลุ่มหนึ่งซ่ึงมี สานึกดี และมคี วามรบั ผิดชอบท่ีดกี วา่ ได้รายงานต่อวิศวกรจึงไดม้ ีการดาเนินการตรวจสอบ และแกไ้ ขปัญหาดงั กล่าว (2) การใชค้ วามรูใ้ นทางทผ่ี ิด เชน่ ผู้ควบคมุ งานมีความรู้เรอื่ งสีเปน็ อย่างดี เพราะเคยทางานในบริษัทขายสีมาก่อน เม่ือ มาทาหนา้ ทคี่ วบคุมงาน จึงเสนอแนะวธิ ใี หผ้ ้รู ับเหมาช่วงรู้จกั การผสมสีปลอมแปลงแทนที่จะใช้สที ี่ถกู ต้องตามรายการกอ่ สรา้ ง (3) การใชอ้ ารมณ์สั่งการในการปฏบิ ตั งิ าน ตัวอย่างเชน่ ผคู้ วบคุมงาน คุมงานการเทคอนกรตี ขณะท่คี นงานนาเครื่องสั่น คอนกรตี เขย่าคอนกรีต ทาให้น้าปนู กระเด็นมาเปื้อนเส้ือของผู้ควบคุมงาน แล้วทาให้ผู้ควบคุมงานเกิดอารมณ์หงุดหงิด โมโห แล้วสั่ง หยุดเทคอนกรตี ทันที โดยหาวา่ ส่วนผสมคอนกรตี เหลวเกินไป หรืออาจจะมีการกล่นั แกลง้ อย่างอน่ื อกี เช่น การให้เอาทรายลงไปร่อนใน อา่ งนา้ แทนการร่อนด้วยตะแกรงและฉดี นา้ ล้าง (4) การให้ความเป็นธรรมแก่ทุกฝ่าย เป็นส่ิงสาคัญอย่างหน่ึงที่ควรจะกระทา ตัวอย่างเช่น เม่ือถอดแบบเสาออกมา มีโพรงเกดิ ขน้ึ กรรมการตรวจการจ้างซง่ึ ไม่มีความรู้ด้านการก่อสรา้ งจะใชว้ ธิ ีแก้ไขโดยการสั่งทุบแล้วให้เทคอนกรีตเสาดังกล่าวขึ้นใหม่ แต่เมือ่ ขอความเหน็ จากผู้ควบคมุ งานซ่งึ มปี ระสบการณแ์ ละความชานาญ อาจจะเสนอแนะให้มีการซ่อมแซมแทนการทุบท้ิง ซึ่งการทา เช่นนไ้ี ดผ้ ลดี เสยี เวลาน้อยกว่า และประหยดั ดว้ ย (5) การไม่แทรกแซงงานภายในของผู้รับจา้ ง ผ้คู วบคมุ งานไมค่ วรเขา้ ไปยงุ่ เก่ยี วกับกิจการภายในของผู้รับจ้าง เช่น การ ที่เข้าไปอยใู่ นสานักงานของผู้รับจ้างตลอดเวลา การออกความคิดเห็นเมือ่ กลุ่มของผู้รบั จา้ งประชุมพิจารณาแก้ไขปัญหา การนาคนงาน มาฝาก หรอื บบี บังคับใหป้ ลดหวั หนา้ คนงานออกเพราะเหตุผลส่วนตวั ซ่ึงไมเ่ กี่ยวขอ้ งกับงาน (6) ต้องเป็นผู้มีความรับผิดชอบ ซ่ึงเป็นส่ิงท่ีจาเป็นมากท่ีสุด งานก่อสร้างจะดาเนินไปได้ช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับความ รับผิดชอบของผู้ควบคุมงาน ควรทางานตรงต่อเวลา ควรมาปฏิบัติงานทุกวันและอยู่ ณ สถานที่ก่อสร้างตลอดเวลา จะต้องไม่สร้าง สภาวะกดดนั หรอื บงั คบั ผู้รบั จา้ งในการทางาน ไมค่ วรเอาภารกิจสว่ นตัวมายงุ่ เกยี่ วกบั เวลาทางาน (7) ต้องเป็นผู้ที่มมี นษุ ยสัมพันธท์ ีด่ ี เนอื่ งจากจะตอ้ งเปน็ ผูท้ ที่ าหน้าที่ประสานงานกับทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้องในการก่อสร้าง ผู้ควบคุมงานควรเป็นผทู้ สี่ ามารถปรับตัวใหเ้ ขา้ กับคนทกุ ระดับท่ที างานรว่ มกนั มีความสามารถในการส่ือสารให้ผู้ที่ปฏิบัติงาน หรือผู้ท่ี เกี่ยวข้องเขา้ ใจได้ทุกเรอื่ งหรือทุกกรณีด้วยวธิ กี ารท่ีไมย่ งุ่ ยาก ไมถ่ อื ตัวและช่วยเหลือผู้อืน่ ตามสมควร 4) มีความสมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและจิตใจ งานควบคุมงานก่อสร้างเป็นงานท่ีหนักและจะทางานต่อเนื่องภายใต้ทุก สภาพของดนิ ฟา้ อากาศตลอดระยะเวลาทาการกอ่ สรา้ งท่ียาวนาน ผู้ท่ีจะทางานนี้จะต้องมีความแข็งแรงและอดทนต่อความแปรปรวน ของสภาพอากาศ ดังนนั้ ผคู้ วบคมุ งานจงึ ควรมคี วามสมบรู ณท์ ัง้ ทางรา่ งกายและจติ ใจ ไม่มีโรคภัยใดๆ ทจี่ ะเปน็ อุปสรรคตอ่ การทางาน หน้าทีข่ องผูค้ วบคมุ งาน 1) หน้าทขี่ องผ้คู วบคมุ งานท่วั ไป การควบคมุ งานเป็นกระบวนการสาคญั อย่างหน่งึ ท่จี ะคอยควบคมุ คณุ ภาพของงานก่อสร้าง และเป็นวิธีการท่ีจะทาให้ผู้ว่าจ้าง มั่นใจได้ว่าได้งานตามที่ต้องการ เพ่ือให้งานก่อสร้างเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของงานก่อสร้าง จึงกาหนดหน้าที่ของผู้ควบคุมงานไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี

หนา้ ทีข่ องผู้เก่ียวขอ้ งในงานก่อสรา้ ง 2 - 5 (1) ควบคมุ ดูแลการก่อสรา้ งให้ดาเนินการไปตามแบบรูปรายการ และข้อกาหนดที่เกี่ยวข้อง ให้ถูกต้องตามหลักวชิ าการ (2) ควบคมุ ดูแลการใชว้ สั ดุก่อสร้างใหเ้ ปน็ ไปตามทีอ่ นมุ ัติ และ/หรอื เทียบเท่าซ่งึ ไดร้ ับความเหน็ ชอบจากผูว้ า่ จ้างแล้ว (3) ประสานงานกับผู้เกี่ยวข้องทกุ ฝ่ายให้งานกอ่ สรา้ งดาเนนิ การตอ่ ไปได้ (4) ทารายงานทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับงานในหนา้ ท่ี ไดแ้ ก่ - รายงานประจาวนั (แบบฟอรม์ ทบ.467-001) - รายงานประจาสปั ดาห์ (แบบฟอรม์ ยย.901) (5) บันทกึ รายงานความกา้ วหน้าของโครงการ ในรูปแบบ แผนงานแสดงความก้าวหน้าของโครงการ (Progress Chart) (6) ทารายงานสรปุ ผลความก้าวหนา้ ของงานแต่ละเดือนหรอื แต่ละงวด (7) รวบรวมผลการทดสอบคุณภาพวัสดุทางวิศวกรรม เช่น คอนกรีต เหล็กท่ีผู้รับจ้างเสนอ หากพบว่าคุณภาพ ตา่ กว่ามาตรฐานทีก่ าหนดต้องรบี รายงานนายชา่ งควบคุมงาน และคณะกรรมการตรวจการจา้ งให้รบั ทราบโดยเรว็ (8) ตรวจสอบผลงานท้ังดา้ นคุณภาพ และปรมิ าณในแตล่ ะงวดตามทกี่ าหนดในสญั ญา ก่อนจะมกี ารตรวจรับงาน (9) รวบรวมปัญหาที่ไม่สามารถตกลงกันได้ และอุปสรรคต่างๆ เสนอต่อวิศวกร สถาปนิก หรือคณะกรรมการ ตรวจการจา้ ง แล้วแตก่ รณี (10) ตรวจสอบเรอ่ื งความปลอดภัยและสขุ ลักษณะในหน่วยงานรวมทง้ั ผลกระทบตอ่ สิง่ แวดล้อมทีอ่ าจจะเกิดขึน้ 2) หนา้ ที่ของผู้ควบคมุ งานตาม อฉก.3700 กรมยุทธโยธาทหารบก กาหนดหน้าท่ขี องผคู้ วบคมุ งานตามความชานาญการทางทหาร (ชกท.518) ดังตอ่ ไปน้ี (1) กากับดูแลช่างไม้ ช่างยกของหนัก ช่างก่อสร้าง และช่างปูน ในการก่อสร้างและซ่อมแซมโครงสร้าง และสง่ิ อานวยความสะดวกทัง้ ปวง เชน่ โรงทหาร คลังปิด คลงั เปิด ท่าเรือ สะพานเคร่ืองหนุนม่ัน และถังเก็บน้า และน้ามัน (2) ช่วยเหลอื นายทหาร ในการวางแผนการดาเนนิ งานกอ่ สรา้ งทาตารางงานและรายการเครอื่ งใช้ (3) ประสานงานการปฏิบัติงานของนายงานช้ันรอง เพื่อให้ดาเนินไปตามแผนการ และให้เสร็จตามตารางงาน และเพื่อให้ใชแ้ รงงาน และวัสดไุ ดป้ ระโยชนม์ ากท่สี ุด (4) แนะนาวิธกี ารแกป้ ัญหาในการก่อสร้าง (5) อานวยการรับ - จ่าย และการใช้อปุ กรณ์ต่างๆ (6) ตรวจตราการทางานของผูใ้ ต้บังคับบัญชา เพ่ือให้ได้รับความปลอดภัย และความถูกต้อง ตามวิธีการดาเนินการ ก่อสร้าง 3) หน้าทขี่ องผคู้ วบคมุ งาน ตามระเบียบสานกั นายกฯ ว่าดว้ ยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และทแ่ี กไ้ ขเพิม่ เตมิ หลักปฏิบัติ และหน้าที่ของผู้ควบคุมงานที่กล่าวมาแล้วข้างต้น เป็นหลักปฏิบัติและหน้าท่ีทั่วๆ ไปท่ีผู้ควบคุมงานจะต้อง ยึดถอื สว่ นในงานของหน่วยราชการจะกาหนดหน้าที่ของผู้ควบคุมงานตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และแก้ไขเพ่มิ เติม ขอ้ 73 ดงั ต่อไปนี้ (1) ตรวจและควบคุมงาน ณ สถานทีท่ ีก่ าหนดไว้ในสัญญา หรือท่ีตกลงให้ทางานจ้างนั้นๆ ทุกวันให้เป็นไปตามแบบ รูปและรายการละเอียดและข้อกาหนดในสัญญาทุกประการ โดยสง่ั เปลีย่ นแปลงแก้ไขเพิ่มเติมหรือตัดทอนงานจ้างได้ตามท่ีเห็นสมควร และตามหลกั วิชาชา่ งเพื่อให้เปน็ ไปตามแบบรปู และรายการละเอยี ดและข้อกาหนดในสัญญา ถ้าผูร้ บั จา้ งขัดขืนไมป่ ฏิบตั ิตามก็ให้สั่งหยุด งานน้ันเฉพาะส่วนหน่ึงส่วนใดหรือทั้งหมดแล้วแต่กรณีไว้ก่อน จนกว่าผู้รับจ้างจะยอมปฏิบัติให้ถูกต้องตามคาสั่ง และให้รายงาน คณะกรรมการตรวจการจ้างทนั ที (2) ในกรณที ีป่ รากฏว่าแบบรปู และรายการละเอยี ดหรอื ข้อกาหนดในสญั ญามขี ้อความขัดกัน หรือเป็นท่ีคาดหมายได้ ว่าถงึ แม้วา่ งานน้นั จะได้เปน็ ไปตามแบบรปู และรายละเอียดและข้อกาหนดในสัญญา แต่เมื่อสาเร็จแล้วไม่ม่ันคงแข็งแรง หรือไม่เป็นไป ตามหลักวิชาชา่ งที่ดี หรอื ไม่ปลอดภัย ให้ส่งั พักงานน้นั ไว้ก่อนแล้วรายงานคณะกรรมการตรวจการจา้ งโดยเร็ว

2 - 6 หน้าทข่ี องผู้เกี่ยวข้องในงานก่อสร้าง (3) จดบนั ทึกสภาพการปฏบิ ัติงานของผู้รับจา้ งและเหตกุ ารณแ์ วดลอ้ มเป็นรายวนั พรอ้ มทัง้ ผลการปฏิบตั งิ านหรอื การ หยดุ งาน และสาเหตุท่มี กี ารหยุดงานอย่างน้อย 2 ฉบับ เพอ่ื รายงานให้คณะกรรมการตรวจการจ้างทราบทุกสัปดาห์ และเก็บรักษาไว้ เพอื่ มอบใหเ้ จา้ หนา้ ท่ีพสั ดุเมอื่ เสรจ็ งานแต่ละงวด โดยถอื ว่าเปน็ เอกสารสาคัญของทางราชการเพ่อื ประกอบการตรวจของผู้มีหน้าท่ี การ บันทึกการปฏิบัตงิ านของผู้รบั จ้างให้ระบรุ ายละเอยี ดขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิงาน และวัสดทุ ่ใี ช้ (4) ในวันกาหนดลงมือทาการของผ้รู บั จ้างตามสัญญา และในวันถึงกาหนดส่งมอบงานแต่ละงวด ให้รายงานผลการ ปฏบิ ตั งิ านของผรู้ ับจ้างว่าเปน็ ไปตามสัญญาหรอื ไม่ ให้คณะกรรมการตรวจการจา้ งทราบภายใน 3 วนั ทาการนับแต่วันถงึ กาหนดนน้ั ๆ 4. ผคู้ วบคมุ งานของหนว่ ย หนา้ ที่ของผ้คู วบคุมงานของหน่วย เช่นเดียวกับผคู้ วบคมุ งานของกรมยทุ ธโยธาทหารบกโดยตามหนงั สือกรมส่งกาลังบารุง ทหารบก ที่ 0404/461 ลง 13 ก.พ. 41 เรื่อง กาหนดมาตรการในการตรวจรับหรือตรวจการจ้างได้กาหนดให้แต่งต้ังผู้แทนหน่วยใช้ หรือหน่วยรับประโยชน์เป็นผู้ควบคุมงานเพิ่มอีก 1 นาย โดยพิจารณาจากนายทหารสัญญาบัตรท่ีมีคุณวุฒิเหมาะสม หรือท่ีผ่านการ อบรมเป็นผู้ควบคุมงานจากกรมยุทธโยธาทหารบก เว้นแต่กรณีไม่มีผู้มีคุณสมบัติดังกล่าวให้พิจารณาผู้แทนของหน่วยที่มีคุณวุฒิ เหมาะสมแทน 5. ผมู้ ีสทิ ธิ์รับมอบงาน หน้าท่ีของผู้มีสิทธ์ิรับมอบงาน ตรวจรับมอบงานในงวดสุดท้าย โดยตรวจสอบให้เป็นไปตามแบบรูปและรายการของ สัญญาเท่าทส่ี ามารถตรวจไดด้ ้วยสายตาพรอ้ มรับมอบครุภณั ฑ์และส่ิงอปุ กรณ์ พร้อมอุปกรณ์ต่างๆ โดยผมู้ สี ทิ ธิร์ บั มอบงานจะได้รับการ แต่งต้ังจากนายทหารสัญญาบัตร นายทหารฝ่ายยุทธโยธาของมณฑลทหารบก / จังหวัดทหารบกในพื้นที่ก่อสร้างน้ันๆ หรือ กรมยทุ ธโยธาทหารบก สาหรบั การก่อสร้างใน กทม. และใหป้ ฏิบัติตามคาสง่ั กองทพั บก ท่ี 383 / 2525 ลง 8 ก.ค. 25 เรอื่ ง คุณสมบัติ และหนา้ ที่ผูม้ ีสิทธิ์รบั มอบงานกอ่ สรา้ ง 6. ผู้มสี ทิ ธิ์รบั มอบงานต่อ หนา้ ท่ขี องผู้มีสิทธ์ริ ับมอบงานต่อ ในการตรวจรับมอบงานงวดสุดท้าย โดยการตรวจนับจานวนรายการให้ครบถ้วนตาม แบบรูปและรายการตามสัญญาจ้างเท่าที่สามารถตรวจได้ด้วยสายตา พร้อมรับมอบครุภัณฑ์และสิ่งอุปกรณ์พร้อมอุปกรณ์ประกอบ ต่างๆ ตอ่ จากผูม้ ีสิทธิ์รบั มอบงาน โดยผูร้ ับมอบงานตอ่ จะไดร้ บั การแตง่ ตง้ั จากผแู้ ทนหน่วยใช้หรอื หน่วยรับประโยชน์ และให้ปฏิบัติตาม คาสัง่ กองทัพบก ที่ 383 / 2525 ลง 8 ก.ค. 25 เรอ่ื ง คุณสมบตั ิและหน้าทผี่ ู้มสี ิทธร์ิ บั มอบงานก่อสรา้ ง

แนวทางการปฏบิ ัติในการควบคมุ งานก่อสรา้ ง 3 - 1 บทท่ี 3 แนวทางการปฏบิ ัตใิ นการควบคุมงานกอ่ สร้าง แนวทางในการปฏบิ ัตใิ นการควบคมุ งาน แบ่งการดําเนนิ การออกเปน็ 3 ขนั้ ตอน ดงั นี้.- 1. ขั้นตอนก่อนการกอ่ สร้าง 2. ขน้ั ตอนระหว่างการก่อสร้าง 3. ข้ันตอนหลังการก่อสร้างแล้วเสร็จ 1. ข้นั ตอนก่อนการกอ่ สร้าง ข้ันตอนนี้เป็นการดําเนินการเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนทําการก่อสร้างให้เป็นไปตามแบบรูปและรายการท่ีกําหนด ผคู้ วบคมุ งานตอ้ งดาํ เนนิ การตา่ งๆ เพอ่ื ให้บรรลวุ ัตถุประสงค์ ของผวู้ ่าจา้ ง จึงได้แบ่งขนั้ ตอนการดําเนินการเป็นดังน้ี 1.1 เอกสารทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง สญั ญาจา้ ง เอกสารหลักฐานประกอบสัญญาจา้ ง ไดแ้ ก่ 1) เอกสารท่ีแสดงสถานภาพของ ผปู้ ระกอบการตามกฎหมาย ประกอบด้วยหนงั สือรบั รองการจดทะเบียนเปน็ นิติบคุ คล หรอื หนังสอื บรคิ ณห์สนธใิ นกรณีท่เี ป็นบริษัทจาํ กดั ใบทะเบียนหุ้น ภาษมี ลู คา่ เพ่ิม เป็นต้น 2) เอกสารประกอบที่สาํ คัญ ไดแ้ ก่ สาํ เนาของสญั ญารว่ มค้า สําเนาบตั รประจาํ ตัวของผูร้ ่วมค้า โดยหลกั ฐานทุกฉบบั ต้องลง นามรบั รองสาํ เนาถูกต้อง 3) หลกั ฐานแสดงฐานะทางการเงิน และความรับผิดชอบต่อการทาํ สัญญาทเี่ รยี กวา่ หนังสือคา้ํ ประกันสญั ญา ซึ่งอาจจะเป็นหนงั สอื คํ้าประกนั ของธนาคารท่ผี ู้ว่าจ้างเช่อื ถือ 4) ใบเสนอราคา และบญั ชีรายละเอียดแสดงปรมิ าณ (Bill Of Quantities: BOQ) 5) อากรแสตมป์ หรือตราสาร ในการทาํ สัญญาจ้างทกุ ครง้ั 6) หนังสือมอบอาํ นาจใหท้ าํ การแทน พรอ้ มแนบสาํ เนาบตั รประจาํ ตวั ประชาชน ทง้ั ของผมู้ อบอํานาจและผ้รู ับมอบอาํ นาจ ไว้ด้วย - แบบรปู งานก่อสรา้ ง - รายการก่อสรา้ ง / ซอ่ ม - วตั ถปุ ระสงคง์ านก่อสรา้ ง - ผังบริเวณจดุ ก่อสรา้ ง / ซอ่ ม - รายละเอียดประกอบสัญญา - ขอ้ กําหนดอื่นๆ ของสญั ญา - หนงั สือขอเข้าดาํ เนนิ การของผ้รู บั จา้ งพร้อมขอ้ ตกลง - หนังสอื ขอใชส้ าธารณปู โภคของหน่วย - หนงั สอื ขอทําบัตรผา่ นเข้า - ออกหน่วย - หนังสอื แสดงรายชอื่ ผคู้ วบคุมงาน และเจ้าหนา้ ทข่ี องผรู้ บั จา้ ง 1.2 ขน้ั ตอนการดาเนนิ การดา้ นเอกสาร เมอื่ ได้รบั ทราบคําส่งั ฯ แตง่ ตง้ั จากหัวหนา้ ส่วนราชการท่เี กย่ี วขอ้ งใหม้ ีหนา้ ท่ีไปควบคุมงานก่อสร้าง ซ่อมแซมหรือกรณีใดๆ ผู้ควบคมุ งานต้องแสดงออกซ่งึ ความรับผดิ ชอบ โดยการรเิ ร่มิ และเรมิ่ ต้นงานด้านเอกสารทเี่ ก่ียวข้องกับตนทันที โดยลําดับตามหัวข้อท่ี เห็นวา่ สาํ คัญดงั ต่อไปนี้

3 - 2 แนวทางการปฏบิ ัตใิ นการควบคุมงานกอ่ สรา้ ง 1) ศึกษารายละเอียดของสัญญา ศึกษารายละเอียดของสัญญา วัตถุประสงค์ ความมุ่งหมาย และข้อกําหนดต่อท้าย สัญญาว่ามีอะไรบ้าง โดยศึกษาให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ น่ันคือการอ่านอย่างวิเคราะห์ ถ้ามีข้อสงสัยหรือไม่เข้าใจ ต้องติดต่อสอบถาม สถาปนิกผู้ออกแบบ และวิศวกรผู้ออกแบบ หรือขอรับคําช้ีแจงจากเจ้าหน้าที่อ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้องทันที รายการสัญญาที่สําคัญควรต้อง ศกึ ษาคอื เลขทส่ี ัญญา ประเภทของงาน เปน็ งานจา้ งเหมากอ่ สรา้ ง หรอื งานซ่อมบาํ รุงสง่ิ กอ่ สร้าง สัญญาก่อสร้างนี้ใครเป็น “ผู้ว่าจ้าง” และบรษิ ัท หรือห้างห้นุ ส่วน หา้ งรา้ นใดเป็น “ผู้รบั จา้ ง” งานโครงการอะไร วงเงินงบประมาณเท่าใด กําหนดเวลาทํางานจํานวนก่ีวัน วันเร่ิมต้นงานในสัญญาเม่ือใด วันส้ินสุดสัญญาเม่ือใด ความรับผิดชอบในการชํารุดบกพร่องของงานจ้าง (รับรองสภาพงานกี่ปี) การกําหนดคา่ ปรับ และขอ้ สงวนสิทธพิ์ เิ ศษ เป็นต้น ผู้ควบคุมงานต้องศึกษาให้เข้าใจ และจําขึ้นใจให้ได้ทุกตัวอักษรในสัญญา เพราะ นัน่ คอื ขอ้ ตกลงทมี่ ผี ลทางกฎหมาย ซ่งึ ตนเองตอ้ งรับท้ังผดิ และชอบ อาจมโี ทษทัง้ ทางแพ่งและอาญาดว้ ย 2) ศึกษาแบบรูปรายการ ศกึ ษาแบบรูปรายการวา่ งานท่ตี นเองต้องรบั ผดิ ชอบในการควบคุมงานนั้นว่ามีหน่วยใดเป็นผู้รับ ผลประโยชน์มที ่ีต้งั อยู่แหง่ ใด โดยศกึ ษาจากแผนผังสังเขป พร้อมท้ังทําการศึกษาแบบสถาปัตยกรรมเพ่ือทราบมิติความกว้างยาวของ อาคารสิ่งก่อสรา้ ง จํานวนหอ้ ง และจาํ นวนเสาฐานราก รวมท้งั ข้อกําหนดในวตั ถปุ ระสงคต์ ่อรายการนน้ั ๆ จากน้ันต้องทาํ การศึกษาเร่ือง ฐานราก และแบบโครงสร้างทางวิศวกรรม ว่าในรายละเอียดเป็นอย่างไร เช่น การกําหนดเหล็กเสริมใน ฐานราก คาน และพื้น เม่อื เขา้ ใจแล้วให้ศึกษาแบบขยายของโครงสร้างท่ีเก่ียวข้อง ดูขนาดเหล็กเสริมจํานวนเหล็กเสริมดูวิธีการวางเหล็กการผูกเหล็กปลอก เมื่อเข้าใจดีแล้วจึงศึกษาในส่วนอ่ืนๆ ต่อไป เช่น แบบระบบไฟฟ้า แบบระบบประปา ระบบระบายน้ํา ระบบระบายนํ้าเสียต่อไป ตามลําดับ จนถึงงานติดต้ังสุขภัณฑ์ และครุภัณฑ์ตามแบบกําหนด ในการศึกษาแบบรูปน้ีต้องดูให้ถ้วนถี่ทุกบรรทัดทุกตัวอักษร เพราะรายละเอียดดังกล่าว เป็นส่วนหน่ึงของสัญญาที่ทําต่อกันไว้ระหว่าง “ผู้ว่าจ้าง” และ “ผู้รับจ้าง” ทุกฝ่ายจะต้องปฏิบัติตาม เมือ่ ทําการศกึ ษาเบอ้ื งต้นดังกลา่ วแล้วถ้าพบข้อขัดแย้งหรือขอ้ ความที่ไม่ตรงกนั ตัง้ แตเ่ บื้องต้น จะได้รีบรายงานให้ผู้เกี่ยวข้องดําเนินการ แก้ไขก่อนทจี่ ะไปถึงทตี่ ้งั แหลง่ งาน และจะได้ไมเ่ สียเวลาการทํางานของท้งั สองฝา่ ยในภายหลงั 3) ข้ันการเตรียมงานทางด้านธุรการ ข้ันตอนนี้ผู้ควบคุมงานต้องเป็นผู้ริเริ่มก่อน โดยประสานงานกับเจ้าหน้าท่ี ทเี่ กยี่ วขอ้ งในการออกคาํ สั่งเดนิ ทางไปราชการ เช่นวันเดนิ ทางไป และวนั เดินทางกลับ การแลกต๋ัวการขนส่ง การลงหลักฐาน และการ รายงานตัวออกจากหนว่ ย เปน็ ต้น 4) การเตรียมการด้านเอกสาร เพ่ือประกอบการรายงานดังท่ีทราบกันอยู่แล้วว่า ผู้ควบคุมงานมีหน้าที่ ในการบันทึกผล การปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง ตามห้วงระยะเวลาท่ีกําหนด เช่น การรายงานประจําวัน การรายงานประจําสัปดาห์ และการรายงาน ความก้าวหน้าประจําเดือน ฯลฯ การรายงานดังกล่าวต้องอาศัยแบบฟอร์มท่ีทางกรมยุทธโยธาทหารบกดําเนินการจัดทําไว้ให้แล้ว ผูค้ วบคุมงานต้องประสานกับเจา้ หนา้ ท่ีกรมยทุ ธโยธาทหารบกเพ่ือขอเบิกรบั แบบฟอร์มทีเ่ ก่ยี วข้องไปใหเ้ พียงพอสาํ หรบั งานของตน 1.3 ขนั้ ตอนการดาเนนิ การด้านปฏิบัติ 1) การประสานงานกบั ผูท้ เ่ี กี่ยวข้อง (1) ประสานงานกบั ผรู้ ับจ้าง ประสานเบือ้ งตน้ กับผูร้ ับจ้าง ว่ามแี ผนการดาํ เนินงานเป็นอย่างไร เชน่ เขาจะสามารถเริ่ม ดาํ เนนิ งานได้เมือ่ ใด มใี ครบา้ งทผ่ี รู้ ับจ้างแตง่ ต้งั ใหเ้ ปน็ วศิ วกรควบคมุ งาน รวมทั้งงานเฉพาะทางอ่ืนๆ ทจ่ี ะต้องไปประจาํ อยู่ ณ ท่ีบริเวณ จุดกอ่ สร้าง หรืองานซ่อมสร้างแล้วแต่กรณี ความมุ่งหมายก็เพ่ือทําความคุ้นเคยรู้จักก่อนเร่ิมงาน และนําแผนงานอื่นๆ ของผู้รับจ้าง มาปรับแผนให้เหมาะสมกับการปฏิบตั ิของผ้คู วบคุมงานเอง (2) ประสานเจ้าหนา้ ที่ เป็นการประสานเจ้าหน้าท่ีที่เกี่ยวข้อง เช่น นายทหารควบคุมงานก่อสร้าง เพื่อปรับแผนการ ปฏิบัตใิ ห้เหมาะสมกับผูร้ ับจ้าง เช่น การช้ีจดุ กอ่ สร้าง งานปกั ผังและกําหนดระดับโดยประสานกบั ผู้รับจ้าง คณะกรรมการตรวจการจ้าง ผู้แทนหน่วย ผู้ควบคุมงานของหน่วย นัดวันเวลาท่ีแน่นอน ทําการออกเอกสารแจ้งหน่วย และบุคคลที่ เกี่ยวข้อง ให้ไปพร้อมกันท่ี บรเิ วณจุดกอ่ สร้าง เพื่อดาํ เนนิ การปกั ผังและกาํ หนดตําแหนง่ ของจดุ ระดบั BM. ± 0.00 ต่อไป (3) รายงานตัวต่อผู้บังคับบัญชาตามลาดับชั้น เม่ือผู้ควบคุมงานจะออกเดินทางไปราชการ เพื่อควบคุมงาน ผ้คู วบคมุ จะต้องรายงานตวั ตอ่ ผู้บังคบั บัญชาตามลาํ ดับช้นั (ในกรณีทตี่ อ้ งไปควบคุมงานตา่ งจงั หวัด) โดยแจง้ รายละเอียด เป็นต้นว่าจะ ไปควบคุมงานกอ่ สรา้ งงานอะไร บริษัท ห้างหนุ้ สว่ น หรือหา้ งรา้ นใดเปน็ ผู้รับจ้าง เวลาการก่อสร้างในสัญญา วันเร่ิมต้นในสัญญา และ

แนวทางการปฏบิ ตั ใิ นการควบคุมงานกอ่ สร้าง 3 - 3 วันท่ีงานจะแล้วเสร็จตามสัญญา วงเงินงบประมาณเท่าใด ส่วนรายละเอียดอื่นๆ ต้องเตรียมไว้ให้พร้อมสําหรับการตอบคําถาม ผบู้ งั คับบัญชา ในกรณีทผ่ี ูบ้ ังคบั บัญชามคี าํ ถามเพอื่ สอบถามใหเ้ กดิ ความแน่ใจ และเป็นการประกนั ผลสําเรจ็ ของงาน (4) การเข้าพบประธานกรรมการตรวจการจ้าง ผู้ควบคุมงานจะต้องรายงานตัวเข้าพบประธานกรรมการตรวจ การจ้าง ซงึ่ ส่วนมากจะเปน็ นายทหารในหนว่ ยท่ีรบั ประโยชนต์ ่องานนัน้ ๆ โดยผูค้ วบคมุ งาน รายงานตวั ในรายละเอียดว่าเป็นใครมาจาก ไหน มหี นา้ ทคี่ วบคุมงานกอ่ สรา้ งอะไร โดยบริษัทหรือหา้ งหุน้ ส่วน หรอื ร้านใดเป็นผู้รับจ้าง วันเริ่มต้นในสัญญา วันที่จะเร่ิมดําเนินการ และแผนงานทีค่ าดการณว์ า่ จะแล้วเสรจ็ และกําหนดวันแล้วเสรจ็ จริง ขอรับทราบนโยบายของประธานกรรมการตรวจการจ้างว่าเห็น ควรดําเนินการอยา่ งไร งานจึงจะแล้วเสร็จสมบูรณ์ตามสัญญาด้วยดี ส่วนรายละเอียดอ่ืนๆ เช่น ข้อสงวนสิทธ์ิการปรับ การตรวจงาน ของเจ้าหน้าท่ี และกรรมการตรวจการจ้าง ก็ต้องเตรียมรายละเอียดไว้ให้พร้อม และสามารถตอบคําถามได้ทุกๆ เร่ืองท่ีเกี่ยวกับงาน กอ่ สร้างนน้ั ๆ (5) การรายงานตัวต่อผู้บังคับหน่วยเจ้าของพ้ืนที่ หลังจากพบประธานกรรมการตรวจการจ้างแล้ว ผู้ควบคุมงาน จะตอ้ งไปรายงานตัวตอ่ ผบู้ ังคบั หนว่ ยเจ้าของพื้นท่ีที่มีอํานาจสูงสุดในการปกครอง บังคับบัญชารับผิดชอบพ้ืนท่ีการก่อสร้างน้ันต้ังอยู่ รายละเอียดทาํ นองเดียวกนั กับ การเขา้ พบประธานกรรมการตรวจการจา้ งโดยประสานกบั สํานกั งานผูบ้ งั คบั บัญชาน้นั ๆ โดยตรง พร้อม แสดงตนโดยย่นื เอกสารทเ่ี กยี่ วขอ้ ง เช่น คําสั่งเดินทาง คําสงั่ แตง่ ตง้ั เปน็ ผคู้ วบคุมงาน จากส่วนราชการท่ีเกี่ยวข้องเชน่ กนั (6) วางแผนประสานงานกบั ผู้รบั จา้ ง ควรดําเนินการดงั นี้.- ก) สํานกั งานสนามของผ้รู บั จ้าง ผรู้ ับจา้ งจะต้องจัดให้มีสํานักงานช่ัวคราว พร้อมครุภณั ฑป์ ระจําสํานักงาน สําหรับ ใช้ทํางาน โรงเก็บของ ห้องครัว ห้องนํ้า และห้องส้วม โดยให้มีจํานวนพอเพียงสําหรับคนงานของผู้รับจ้างเอง ซ่ึงเม่ืองานแล้วเสร็จ จะต้องร้ือถอนออกไป กรณีจําเป็นต้องมีแบบขยายรายละเอียด (Shop Drawing) ก็ต้องจัดทําไว้ถูกต้อง และมีสถานที่สําหรับติด แบบรปู รายการไว้ในสํานกั งานพร้อมแผนภูมิแสดงความก้าวหนา้ ในการกอ่ สรา้ ง (Progress Chart) ข) สํานักงานสนามของผู้ว่าจ้าง ผู้รับจ้างจะต้องจัดเตรียมสํานักงานช่ัวคราว พร้อมครุภัณฑ์ประจําสํานักงาน สําหรับเจ้าหน้าทีข่ องผวู้ ่าจ้าง พรอ้ มครภุ ัณฑ์ท่ีจําเป็น พร้อมห้องพักผู้ควบคุมงาน และห้องทํางานของผู้ควบคุมงาน ห้องประชุมของ เจา้ หนา้ ที่ ห้องนํ้า - หอ้ งสว้ ม และห้องเก็บของตามความเหมาะสม ค) การขอใช้สิ่งอํานวยความสะดวกด้านสาธารณูปโภคของทางราชการ ผู้รับจ้างจะต้องได้รับการยินยอมจาก หัวหน้าหน่วยเจ้าของพื้นท่ีท่ีจะทําการก่อสร้างเสียก่อน ท้ังไฟฟ้า และนํ้าประปาจะต้องใช้ด้วยความประหยัด กับท้ังต้องปฏิบัติตาม ระเบยี บ ขอ้ บังคับ และคําสัง่ ของหนว่ ยเจ้าของในพืน้ ท่นี ัน้ อย่างเครง่ ครัด ผู้วา่ จา้ งสงวนสทิ ธ์ทิ ี่จะไม่ยอมให้ผู้รับจ้างใช้สิ่งสาธารณูปโภค ของทางราชการในกรณีขาดแคลน และเพื่อความปลอดภัยของทางราชการ การใช้ส่ิงสาธารณูปโภคของทางราชการถ้าเกิดชํารุด อันเน่อื งจากการใช้งาน หรอื การกระทําของผู้รับจ้าง ผู้รับจ้างต้องรับผิดชอบซ่อมให้อยู่ในสภาพคงเดิม หรือดีกว่าเก่าตลอดเวลาการ ทาํ งานและก่อนสง่ งานงวดสุดทา้ ย ง) สถานที่พักอาศัยคนงานของผู้รับจ้าง ต้องประสานหน่วยเกี่ยวข้อง และเจ้าของพื้นท่ีว่าจะมีคนงานก่อสร้าง เข้าพักอาศยั จํานวนเทา่ ใด มรี ายชอ่ื จาํ นวนเป็นบัญชีรายละเอียด พรอ้ มระบเุ กี่ยวกับ เชอื้ ชาติ สญั ชาติ ศาสนา เพศ (ชาย / หญิง) อายุ เพื่อขอทําบัตรผ่าน เข้า - ออก สถานที่ราชการให้ถูกต้องตามระเบียบคําส่ังของหน่วยเจ้าของพ้ืนท่ีเสียก่อน จึงเข้าพักอาศัยได้ โดยรบั รองวา่ จะไม่ก่อใหเ้ กิดความเดอื ดร้อน และทําความเสียหายต่อทางราชการแต่อย่างใด จ) สถานท่ีเกบ็ กองวสั ดุอุปกรณ์ การก่อสร้างผู้รับจ้างจะต้องจัดให้มีคลัง สําหรับเก็บวัสดุอุปกรณ์ในการก่อสร้าง เพ่ือป้องกันวัสดุเสื่อมสภาพก่อนกําหนด และขาดความแข็งแรง เช่น คลังเก็บเหล็กเสริม คลังเก็บปูน คลังไม้ หินและท่ีกองทราย เปน็ ต้น โดยต้องเก็บกองไว้เป็นสัดสว่ นให้มีความสะดวก และสามารถนําไปใช้งานรวดเรว็ ฉ) การจัดท่ีสาํ หรบั ห้องนาํ้ – หอ้ งสว้ ม จะต้องให้เพียงพอกับคนงาน ต้องคํานึงถึงความสะอาด ในเขตสุขาภิบาล รวมท้งั ทที่ ้งิ ขยะมลู ฝอยอนั เกิดจากการพกั อาศยั ของคนงานด้วย ท้ังนเี้ พอื่ ปอ้ งกันและรบั ประกันความปลอดภัยว่าเชื้อโรคจะไม่เกิดการ แพร่ระบาดไดจ้ ากความสกปรก และการนาํ พาโดยแมลงและสตั วเ์ ป็นพาหะท่ีเปน็ บอ่ เกดิ ของโรคต่างๆ

3 - 4 แนวทางการปฏบิ ัตใิ นการควบคุมงานก่อสรา้ ง ช) ผู้รับจ้างต้องทําแผนท่ีเส้นทางการขนย้ายวัสดุ จะต้องมีแผนที่เส้นทางแสดงการ เข้า - ออก บริเวณพ้ืนที่ ก่อสร้างให้เป็นที่แน่นอน และเสนอขออนุมัติต่อผู้บังคับหน่วยเจ้าของพื้นที่ โดยมีรายละเอียดจํานวนพนักงาน คนงานและจํานวน ยานพาหนะทจี่ ะเข้า - ออกพ้ืนท่ีกอ่ สรา้ งนนั้ กาํ หนดวิธเี ขา้ - ออกเป็นกรณพี เิ ศษเป็นครง้ั คราวในยามวกิ าล ซ) การให้เขียนแบบขยายรายละเอียด (Shop Drawing) ในระหว่างการก่อสร้างเพื่อให้เป็นท่ีแน่ใจว่าผู้รับจ้าง เข้าใจในแบบก่อสร้างอย่างชัดเจนนอกเหนือจากท่ีกําหนดไว้ในแบบ หรือการติดตั้งส่วนหน่ึงส่วนใด หรือรายละเอียดการทํางาน ส่วนหนึ่งส่วนใดที่ไม่สามารถกําหนดได้แน่นอนก่อนเริ่มสัญญา ผู้รับจ้างจะต้องทําแบบขยายรายละเอียด (Shop Drawing) เสนอ ผวู้ า่ จา้ ง ดังน้ัน สํานักงานและแบบขยายรายละเอียด (Shop Drawing) เป็นความรับผิดชอบของผู้รับจ้างที่จะต้องจัดให้มีขึ้น ณ พ้ืนท่ี กอ่ สร้าง 2) การปักผังบริเวณจุดก่อสรา้ ง การดําเนินการปักผังบริเวณจุดก่อสร้าง การวัดระยะ การกําหนดตําแหน่งของจุดมาตรฐาน (BM.) นั้น เป็นขั้นตอน สําคัญอีกขั้นตอนหน่ึงท่ีผู้ควบคุมงานต้องประสานกับเจ้าหน้าท่ีที่เกี่ยวข้อง โดยต้องนัดหมายให้ไปพร้อมกัน ณ บริเวณจุดก่อสร้าง เพ่ือทาํ การปกั ผงั วดั ระยะ และกําหนดตาํ แหนง่ ของจดุ มาตรฐาน (BM.) ซ่ึงจะตอ้ งดําเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 7 วันทําการนับจากวัน เรม่ิ สญั ญาจ้าง ในขั้นแรกน้ีผู้รับจ้างทํางานก่อสร้าง หรือซ่อมแซมจะทําการปักผังรอบบริเวณท่ีจะเป็นตัวอาคาร และทําระดับส่วนท่ี สําคัญไว้ ผู้ควบคุมงานและผู้เกี่ยวข้องต้องตรวจสอบว่าระดับท่ีทําไว้ถูกต้องหรือไม่ เมื่อเทียบกับ BM. ±0.00 ที่ระบุไว้ในแบบ ผคู้ วบคมุ งานตอ้ งตรวจสอบ ขนาด ตําแหน่งทิศทางของผงั ตลอดจนตําแหนง่ ของตวั อาคารโรงเรือนใหถ้ ูกตอ้ ง เมอ่ื เจ้าหน้าท่ีท่ีเก่ียวข้อง พิจารณาแล้ววา่ ถูกต้องจึงให้ลงลายมือช่ือไว้เป็นหลักฐานในผังเพ่ืออนุมัติดําเนินการก่อสร้างต่อไป ส่วนในกรณีที่การก่อสร้างอาคาร ชดิ เขตทดี่ ินของผู้อ่นื เพื่อความถูกต้องควรแจ้งเจ้าหน้าท่ีของกรมที่ดินมาทําการรังวัดสอบหลักเขตที่ดินให้ถูกต้องก่อน โดยมีเจ้าของ ทด่ี ินทอ่ี ยูบ่ รเิ วณโดยรอบพื้นที่ที่จะก่อสร้างร่วมรับรู้ในการรังวัดนั้น เม่ือตรวจสอบถูกต้องแล้วให้ทําระดับไว้เป็นท่ีม่ันคง ห้ามทําลาย จุดอา้ งอิง (BM.) จนกว่างานก่อสร้างจะแล้วเสร็จ จากนั้นผู้รับจ้างจึงดําเนินการก่อสร้างตามลําดับ คือ การทําศูนย์เสาเข็ม และระดับ อย่างละเอยี ดตอ่ ไปอีกคร้ังหนึ่ง รายละเอยี ดประกอบท่ตี อ้ งตรวจสอบเป็นข้อมูลได้แก่ (1) ภูมปิ ระเทศ เกย่ี วกบั ความสงู ตํา่ ของพื้นท่ี ซ่ึงมผี ลต่อการถมดิน หรือการตดั ดนิ ตามแบบรูป และรายการท่ีสถาปนิก กาํ หนด รวมทั้งการกําจัดวัชพืช การปรับระดบั พนื้ ที่ การตัดโคน่ ตน้ ไม้ (2) ชนิดของดนิ เป็นดนิ แน่น หรือดนิ เหลว ซ่งึ มผี ลตอ่ การคํานวณในการปอ้ งกันดินพัง เม่อื มกี ารขุดดิน (3) ระดบั นํา้ ใต้ดนิ ซง่ึ มผี ลตอ่ การทาํ ฐานราก (4) สง่ิ กอ่ สรา้ งที่อยูข่ า้ งเคียง ตอ้ งพิจารณาการใช้ฐานรากให้รอบคอบ และมีการป้องกันมลภาวะต่างๆ เช่น ฝุ่น เสียง เศษวัสดุ เพื่อไมใ่ ห้กระทบกับสิง่ กอ่ สรา้ งทอ่ี ยู่ข้างเคียง (5) ขนาดของพน้ื ที่ ตรวจสอบใหต้ รงกบั แบบรปู (6) สภาพดนิ ฟา้ อากาศ (7) การวางผงั ส่ิงก่อสรา้ งช่ัวคราว เช่น การสรา้ งโรงงาน บ้านพักคนงาน สาํ นักงานชั่วคราว การทําร้ัว การจัดการเร่ือง สาธารณปู โภคทง้ั หลาย โรงเก็บวัสดุ ที่กองวสั ดุ ทางเข้า - ออกภายในชั่วคราว ใหถ้ กู ตอ้ งตามแบบท่ีสถาปนิกไดอ้ นมุ ตั ไิ ว้แล้ว (8) ทรัพยากรในท้องถิ่น เชน่ แรงงาน ช่างฝีมอื วัสดุ และเครือ่ งมือ 2. ขัน้ ตอนระหวา่ งการกอ่ สรา้ ง ขน้ั ตอนนีเ้ ป็นการดําเนินการระหว่างทําการกอ่ สร้าง หรือทาํ การซ่อม เพื่อให้การก่อสร้างเป็นไปตามแบบรูปและรายการที่กําหนด ผคู้ วบคมุ งานต้องดาํ เนนิ การในดา้ นตา่ งๆ เพื่อใหบ้ รรลุวตั ถปุ ระสงค์ของผวู้ า่ จ้าง การดาํ เนนิ การในขั้นตอนนี้แบ่งออกเป็น 2 ด้าน ดังนี้.- 2.1 การดาเนนิ การด้านเอกสาร เพื่อปฏบิ ตั ติ ามระเบียบสํานกั นายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพสั ดุ พ.ศ. 2535 และแก้ไขเพิ่มเติมให้ ผู้ท่ีเก่ียวข้องได้รับทราบความก้าวหน้าของงานก่อสร้าง รวมทั้งปัญหาและข้อขัดข้องต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนขณะดําเนิ นการก่อสร้าง จึงให้ผู้ ควบคมุ งานรายงานผลการปฏิบัติเกยี่ วกบั งานก่อสร้าง การรายงานต้องบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรชัดเจน เพ่ือใช้เป็นหลักฐานอ้างอิง

แนวทางการปฏิบตั ใิ นการควบคมุ งานกอ่ สรา้ ง 3 - 5 ในภายหลงั เช่น ในการสง่ั การหรือแก้ไขงาน หรือตกั เตือนผู้รับจ้างให้ปฏิบัติให้ถูกต้อง จะต้องสั่งในรูปของบันทึกและรายงาน เว้นแต่ เรื่องเล็กนอ้ ยมากๆ บันทึกนีอ้ าจทําเป็นแผน่ หรือเป็นเลม่ กไ็ ด้ แต่สาํ หรบั งานท่ีจะต้องบันทึกเป็นประจํา เช่น บันทึกสถิติผลงานควรทํา เปน็ เลม่ เป็นต้น สว่ นการรายงานอื่นๆ ใหถ้ ือเปน็ ระเบียบปฏิบัตปิ ระจําดังน้ี.- 1) การรายงานเหตุการณ์และข้อขัดข้องต่างๆ หากเป็นกรณีเร่งด่วนให้รายงานด้วยเคร่ืองมือสื่อสารท่ีเร็วที่สุด ใหค้ ณะกรรมการตรวจการจ้างทราบ และแจ้งใหห้ นว่ ยเจ้าของสัญญาทราบด้วย การรายงานอาจกระทําด้วยวาจาทางโทรศัพท์ หรือ โทรเลขวิทยุ โทรสาร (Fax.) หรือทําเป็นบันทึกด่วน ในกรณีที่รายงานด้วยวาจา เม่ือรายงานแล้วให้รายงานเป็นลายลักษณ์อักษร อีกครัง้ หนง่ึ เพือ่ เป็นหลกั ฐานของทางราชการต่อไป 2) การรายงานประจาวนั เมื่อสน้ิ สดุ การทาํ งานในแตล่ ะวนั ผู้ควบคุมงานตอ้ งทาํ บันทกึ ส่ิงต่างๆ ทีผ่ รู้ ับจา้ งได้ดําเนนิ การใน วันนนั้ โดยบนั ทกึ ลงในสมดุ บนั ทึกการควบคุมงานกอ่ สร้างประจําวนั ผคู้ วบคุมงาน ต้องเข้าใจว่าการลงบนั ทึกในสมุดบันทึกการควบคุม งานก่อสร้างประจาํ วนั ถือเป็นหน้าทีห่ ลกั ประการหน่ึงของการควบคุมงาน บันทึกต่างๆ เหล่าน้ัน จะใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงท่ีสําคัญใน กรณที ่เี กิดข้อพิพาทระหว่างทางราชการกบั ผู้รับจ้าง และใช้ประกอบในการพจิ ารณาเรื่องอ่นื ๆ เช่น การท่ีผู้รับจ้างขอต่อสัญญา และไว้ ประเมนิ ผลการทํางานของผู้รับจ้าง รายละเอียดทต่ี อ้ งบนั ทกึ ได้แก่ (1) รายละเอียดการทํางานในแต่ละวันของผู้รับจ้าง ตั้งแต่ งานถมดิน งานเสาเข็ม ฐานราก งานคานคอดิน งานแบบหล่อ งานวางเหล็กเสริม งานเทคอนกรีต งานเสารับพื้นช้ันต่างๆ งานก่ออิฐ ฉาบปูน งานโครงหลังคา งานระบบไฟฟ้า งานระบบประปา งานระบบระบายนํา้ งานระบบระบายอากาศ งานตดิ ตง้ั เครื่องปรับอากาศและสุขภัณฑ์ ฯลฯ เป็นต้น จะต้องบันทึก ให้เปน็ รปู ธรรมว่าทาํ งานอะไร ไดจ้ าํ นวนเทา่ ใดโดยลงเปน็ ลกั ษณะงาน เช่น ขดุ หลุมฐานรากได้ 20 หลมุ กอ่ อฐิ ผนงั ได้ 10 ตร.ม. เปน็ ต้น (2) จํานวนคนงานของผู้รับจ้าง แบ่งตามสาขาอาชีพ จะต้องบันทึกจํานวน ช่างคนงานของผู้รับจ้างที่เข้ามาทํางาน ก่อสร้าง ตลอดจนเจา้ หน้าทห่ี รือผู้เกีย่ วข้องทีเ่ ข้ามาตรวจเย่ยี มสถานทก่ี อ่ สรา้ ง (3) จํานวนเครอื่ งมือ และเครอื่ งจกั รทใี่ ชใ้ นแตล่ ะวัน (4) จาํ นวนและประเภทวสั ดุ ทเ่ี ขา้ มายงั หนว่ ยงานกอ่ สร้างในวันนัน้ การตรวจสอบใบส่งของของวสั ดุตา่ งๆ (5) ปัญหา และการแก้ไขท่เี กดิ ขนึ้ ในแต่ละวัน เช่น ฝนตก น้าํ ทว่ มขัง ลมฟ้าอากาศ ตลอดจนอุณหภูมิความร้อนหนาว ท่เี กดิ ข้นึ และเหตุอ่นื ๆ ที่ส่งผลกระทบตอ่ การดาํ เนินการ (6) รายงานด้านเอกสารต่างๆ ทอ่ี นมุ ัติใหผ้ รู้ ับจา้ งดาํ เนินการ หรอื ผู้รบั จา้ งขออนุมตั ิ (7) กรณมี ปี ัญหาที่สําคัญเกดิ ขึ้น จะต้องรีบทําบันทึกถึงผู้บังคับบัญชา สถาปนิก วิศวกร คณะกรรมการตรวจการจ้าง นายช่างควบคุมงานก่อสร้าง เพื่อทราบแล้วแต่กรณี รวมท้ังบันทึกการทดสอบวัสดุก่อสร้างต่างๆ รวบรวมให้วิศวกรรับทราบและ พจิ ารณาให้ความเห็นเพอื่ ประกอบการดําเนินการก่อสรา้ งน้นั ๆ ตอ่ ไป โดยทําเป็นบันทึกประจําวนั 3) การรายงานสถิติผลงาน 7 วัน (ประจาสัปดาห์) ผู้ควบคุมงานตอ้ งรายงานความกา้ วหน้า และปัญหาข้อขัดข้องต่างๆ ของงานจ้างตั้งแต่ผู้รับจ้างเริ่มลงมือปฏิบัติงานวันแรก โดยให้วันน้ันเป็นวันเริ่มต้น และบันทึกต่อไปเร่ือยๆ จนกระท่ังงานแล้วเสร็จ โดยท่ผี คู้ วบคุมงานตอ้ งบนั ทึกผลการปฏิบัติงานของผรู้ บั จา้ งใหต้ รงตามความเปน็ จรงิ เมอ่ื ครบทกุ สัปดาห์แล้ว ให้รายงานคณะกรรมการ ตรวจการจ้าง ลงนามรับทราบจํานวนอย่างน้อย 2 ชุด โดยผ่านนายชา่ งควบคมุ งานก่อนเพอ่ื ทราบและตรวจสอบความถกู ต้อง หลงั จาก นน้ั จงึ นําไปบันทกึ ลงในแผนภมู ิ (Progress Chart) เพ่ือเป็นการแสดงให้เห็นผลของการปฏบิ ัติงานของผู้รบั จ้าง โดยคํานวนจากปริมาณ งานจ้างท่ีผู้รับจ้างทําได้ประกอบกับจํานวนวันท่ีได้ปฏิบัติงานนั้นๆ ให้คิดจากค่างานของแต่ละงวด แล้วนําไปหาค่างานจากงวดงาน ท้ังหมด โดยคดิ ออกมาเป็นร้อยละ (%) เพ่ือแสดงความกา้ วหน้าของงานจา้ งนั้นๆ หากผู้ควบคุมงานไม่ดําเนินการหรือดําเนินการล่าช้าถื อว่าบกพร่องต่อหน้าที่ ให้หน่วยรับผิดชอบทําการบันทึก ความบกพร่องไว้เพอ่ื พิจารณาดาํ เนนิ การทางดา้ นวินัย และสทิ ธิกําลังพลตอ่ ไป 2.2 การดาเนนิ การดา้ นการปฏิบัติของผู้ควบคุมงาน โดยทั่วไปในโครงการก่อสร้างต่างๆ มักมีผู้เกี่ยวข้องกับการดําเนินการ โครงการดังนี้ คือ เจ้าของโครงการ ผู้รับจ้าง ผู้ออกแบบ (ได้แก่ สถาปนิก และวิศวกร) คณะกรรมการตรวจการจ้าง ผู้ควบคุมงาน เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องกับงานก่อสร้าง ช่างและคนงาน เมื่อมีกลุ่มบุคคลท่ีมาเก่ียวข้องหลายกลุ่มในการทํางาน

3 - 6 แนวทางการปฏบิ ตั ใิ นการควบคมุ งานก่อสรา้ ง ถ้าหากตา่ งคนต่างทําย่อมเกิดปัญหาข้อขัดแยง้ แนน่ อน ดงั นั้น วธิ ีการที่จะปอ้ งกันปญั หาและแกไ้ ขข้อขัดแย้งท่ีอาจเกิดข้ึนก็คือ จะต้องมี การประสานงานในระหวา่ งกลมุ่ บุคคลเหลา่ น้ี ผูค้ วบคมุ งานมหี น้าท่โี ดยตรงในการควบคุมดแู ลการทํางานของผู้รบั จา้ ง ตอ้ งประจาํ การ ณ สถานท่ีกอ่ สรา้ ง มีโอกาสพบกับ บคุ คลจากทกุ กลมุ่ และเหน็ ความเปน็ ไปในสถานทก่ี ่อสร้างตลอดเวลา ตัง้ แตเ่ รม่ิ งานจนเลิกงานในแต่ละวัน ดังนั้น จึงมีความเหมาะสม ด้วยประการท้ังปวงท่ีจะเป็นผู้ทําการประสานงานระหว่างกลุ่มผู้เกี่ยวข้องในงานก่อสร้างแต่ละโครงการ การกล่าวว่า ผู้ควบคุมงาน เหมาะสมท่ีจะเป็นผู้ประสานงานนั้น เป็นการกล่าวโดยรวม เพราะผู้ควบคุมงานมีข้อมูลต่างๆ พร้อมที่จะนําเข้าประชุมเพ่ือการ ประสานงาน แต่สําหรับงานของส่วนราชการผู้ท่ีจะทําหน้าที่ ก็คือ คณะกรรมการตรวจการจ้างนั่นเอง เพราะการประสานงานน้ีคือ การประสานงานระหว่าง “ผูว้ า่ จ้าง” ซ่ึงหมายถงึ เจา้ ของโครงการ กับ “ผู้รับจ้าง” ซึ่งหมายถึงผู้ทําการก่อสร้าง เพ่ือให้การก่อสร้างได้ ดาํ เนนิ ไปอยา่ งราบรนื่ ถึงแมจ้ ะมปี ัญหาหรืออุปสรรคเกดิ ขน้ึ กส็ ามารถจะแก้ไขปญั หาและอุปสรรคเหล่าน้ันลงได้ด้วยการประสานงาน ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ โดยใช้ขอ้ มูลท่ผี คู้ วบคมุ งานจดั เตรียมให้ ดงั น้ี.- 1) การประชุมเพอ่ื การประสานงาน ความสําเร็จของการจัดการงานก่อสร้างในโครงการต่างๆ ในแง่ของการก่อสร้าง หมายถึงการดําเนินการเสร็จทันตามเวลาและอยู่ในงบประมาณที่กําหนด ท้ังน้ีขึ้นอยู่กับความสามารถในการประสานงานของ ผูร้ บั ผิดชอบ ซง่ึ จะต้องทําอยู่ตลอดเวลา การประสานงานสว่ นใหญก่ ็ทาํ ในลกั ษณะของการประชุมพบปะตามความจาํ เป็นทจ่ี ะต้องจดั ใหม้ ีขนึ้ การประชมุ เป็นการกระจายข้อมูลได้อยา่ งรวดเรว็ และแน่นอนที่สุด โดยขอ้ มูลสามารถไปถงึ บคุ คลหรือกลุ่มบุคคลท่ีต้องการ แจ้งให้ทราบ และสามารถสอบถามได้ทนั ที เป็นการประหยัดเวลาของผปู้ ระสานงานหรอื ผจู้ ดั การโครงการได้อย่างมาก โดยท่ีไม่ต้องวิ่ง ส่งข้อมูล ตอบคําถามข้อสงสัย การรายงาน ไปยังผู้ที่เก่ียวข้องจํานวนมาก นอกจากนี้ การประชุมยังสามารถลดความตึงเครียดและ การขัดแยง้ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี เพราะการประชุมสามารถรวบรวมความคิดและช่วยตัดสินแก้ปัญหาต่างๆ เพ่ือการตัดสินใจดําเนินการใดๆ ทม่ี ีอุปสรรคไดเ้ ป็นอยา่ งดี มีอยบู่ อ่ ยครั้งเช่นกันทีก่ ารประชุมมไิ ด้ช่วยให้การประสานงานดขี ึ้น เช่น ประชุมบ่อยเกินไป นานเกินไป ไม่มี การเตรียมขอ้ มูลอยา่ งสมบูรณ์ ประชุมทัง้ ๆ ท่ยี ังไม่จาํ เปน็ ตอ้ งประชมุ และทีส่ าํ คัญที่สุด ผู้นําหรือประธานท่ีประชุมไม่สามารถควบคุม การประชุมให้ถูกต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ ดังนั้นในฐานะผู้มีหน้าท่ีจัดการโครงการ ควรที่จะคํานึงถึงหลักสําคัญสองประการ คือ ใครควรจะเปน็ ผูไ้ ด้รบั เชิญเขา้ ร่วมประชุม และกรรมวิธีในการจัดการการประชุม หรือจะใช้วิธีใดในการประชุม ซ่ึงการประชุมอาจจะ แบ่งได้เป็น 4 แบบ คอื (1) การประชมุ เพอ่ื รายงาน (2) การประชมุ เพอ่ื การตัดสินใจ (3) การประชมุ เพ่ือการเข้าใจรว่ มกนั (4) การประชมุ เพอ่ื ร่วมกันคดิ ค้น ในการประชุมท้งั สี่แบบนต้ี ้องการ การนาํ ประชมุ การออกความคิดเห็นและวตั ถปุ ระสงค์ แตกตา่ งกันไป แต่การประชุมก็อยู่ ภายใต้การนาํ การรบั ผดิ ชอบและการประสานงานของผจู้ ัดการโครงการหรอื ประธานคณะกรรมการตรวจการจ้าง (1) การประชุมเพื่อรายงาน การประชมุ ประเภทน้ีจะต้องตระเตรียมข้อมูลไว้ให้ครบถ้วนสมบูรณ์ จะเป็นเอกสารแจก รายตวั สําหรับผูเ้ ข้าประชุมหรือใชส้ ื่อโสตทศั น์ในการเสนอขอ้ มูลต่อทป่ี ระชมุ ก็ได้ การประชมุ แบบน้ีกเ็ พอื่ ท่จี ะรายงานความก้าวหน้าของ การกอ่ สร้าง เปรยี บเทยี บว่าความกา้ วหน้านนั้ เป็นไปตามแผนทไี่ ดว้ างไว้ ชา้ กว่าแผน หรอื เร็วกว่าแผนเท่าใด และส่วนไหนช้า ส่วนไหน เร็ว ส่วนไหนตรงตามแผน การประชุมแบบรายงานนจ้ี ะนําไปสู่การประชุมเพ่ือการตัดสินใจในช่วงท้ายของการประชุมครั้งนี้ถ้ามีเวลา และเป็นเรื่องเร่งด่วน หรือจะนําไปสู่การประชุมเพอ่ื การตัดสินใจในคราวต่อไป อย่างน้อยเท่าที่ปรากฏก็ต้องมีการประชุมเพื่อเร่งแผน หรือปรบั แผนในสว่ นที่ชา้ กว่าท่ีวางไวใ้ นแผนหลกั (2) การประชมุ เพอ่ื การตัดสินใจ เปน็ การประชุมที่สาํ คญั และมปี ระโยชนท์ ส่ี ุด เป็นการรวมความคดิ ดา้ นการคาดคะเน เพื่อการตัดสินใจท่ีถูกต้องหรืออย่างน้อยที่ใกล้เคียงความจริงท่ีสุด ท่ีมักจะต้องมีการประชุมบ่อยคร้ัง ส่วนใหญ่จะเป็นการประชุมท่ี เกย่ี วขอ้ งกบั ปญั หาของการก่อสรา้ งและการทาํ งาน และยงั มกี ารประชุมอีก 3 แบบภายใตห้ ัวขอ้ การประชมุ เพอ่ื การตดั สินใจ ไดแ้ ก่

แนวทางการปฏิบตั ิในการควบคุมงานกอ่ สรา้ ง 3 - 7 ก) การประชุมเพอื่ การเตรียมงานท่กี าลังจะมาถงึ เพื่อพิจารณาภาวะสงิ่ แวดล้อมต่างๆ ตรวจสอบขอ้ กาํ หนด และ เง่ือนไขให้แน่นอน ตรวจสอบกําลังคนว่าได้เตรียมไว้เพียงพอหรือไม่ ตัดสินใจในการใช้วัสดุท่ีถูกต้อง ตามรายการ หรือเทียบเท่า ตรวจสอบความพรอ้ มของชิน้ สว่ นผลิตภัณฑต์ า่ งๆ ทจี่ ะนํามาประกอบ การประชุมแบบนี้เพ่ือเป็นการเตรียมป้องกันปัญหาที่จะเกิดข้ึน ตอ้ งประชมุ เน้นเฉพาะท่ีจะเปน็ ปญั หาจรงิ ๆ เทา่ นั้น ถ้าสว่ นใดท่ีไม่เปน็ ปัญหาควรนําไปรายงานไวใ้ นการประชุมเพ่อื รายงานดงั ที่ได้กล่าว มาแล้ว ข) การประชุมเพื่อมอบหมายงาน โดยเฉพาะงานใหม่ท่ีสําคัญ ส่วนมากมักประชุมกันวันจันทร์ตอนเช้า ซึ่งบางคร้ังก็เรียกว่า การประชุมประจําสัปดาห์ ควรเชิญประชุมล่วงหน้าก่อน 1 สัปดาห์ โดยมีการเตรียมใบสั่งงานและขอบเขต ของงาน ตลอดจนขอ้ มูลตา่ งๆ เพ่อื จะไดแ้ จกจา่ ยทนั ที การประชมุ แบบนี้ควรทําในเวลาท่สี ้ันและรวดเรว็ จะได้ไม่เสยี เวลาทํางาน ค) การประชมุ เน้นเร่อื งความปลอดภยั ในปจั จุบนั การประชุมเน้นเรื่องความปลอดภัยมีความสําคัญมากข้ึนเป็น ลําดับ อันเน่ืองมาจากงานระบบโครงสร้างโดยเฉพาะที่เป็นอาคารสูงขนาดใหญ่ ซ่ึงต้องอาศัยเทคนิคการก่อสร้างและใช้เครื่องมือ เคร่ืองจักรขนาดใหญ่ย่อมเพิ่มอัตราการเส่ียงข้ึนด้วย อีกทั้งค่าประกันของเสียหายแพงข้ึนมาก กฎหมายและข้อบังคับเร่ือง ความปลอดภยั ไดถ้ ูกนํามาบังคบั ใชเ้ พิม่ ขนึ้ การจัดประชุมเพ่ือหาทางป้องกันเหตุท่ีอาจเกิดข้ึน ย่อมดีกว่าการประชุมเพ่ือแก้ไขปัญหาท่ี เกิดขน้ึ แลว้ การประชุมเพ่ือปอ้ งกันนสี้ ามารถประชุมไปในคราวเดียวกับการประชุมมอบหมายงานก็ได้ เมอ่ื มอบหมายงานแล้วก็ติดตาม ด้วยการปอ้ งกันอันตรายท่ีจะเกิดขึน้ แก่งานน้ันในทนั ที (3) การประชุมเพอื่ การเข้าใจรว่ มกัน บางครัง้ ผทู้ ่เี ก่ียวข้องซึง่ จะได้ประโยชนโ์ ดยตรง จากการประชุมแบบน้ีมองข้าม ไป โดยเฉพาะผจู้ ดั การฝา่ ยโครงการจะได้ประโยชน์มากท่ีสุด ถ้ามีการนัดประชุมกันเป็นประจํา เช่น ในการนัดผู้รับเหมาช่วงท้ังหมด หัวหน้างานทุกหมวดหมู่ ผู้จัดจําหน่ายวัสดุอุปกรณ์ ผู้จัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์ เจ้าหน้าที่จากหน่วยราชการหรือรัฐวิสาหกิจ ฯลฯ เพ่ือชี้ให้เห็นถึงแผนงานก่อสร้างของผู้รับจ้างว่า วางแผนไว้อย่างไร สายงานใดเป็นสายงานวิกฤต ผู้ที่อยู่ในสายงานน้ันจะได้เตรียม ดําเนนิ การในส่วนทเี่ กย่ี วข้อง (4) การประชุมเพื่อร่วมกันคิดค้น การประชุมแบบน้ีคล้ายกับการประชุมเพ่ือการตัดสินใจ เพียงแต่เป็นการประชุม เพอ่ื ร่วมกนั คดิ เพ่อื การคน้ หาวธิ ีท่ีดีและเหมาะสม บางครั้งจะไมเ่ ห็นผลในทันที การประชมุ แบบน้จี ะใชก้ ับงานเอกชนเทา่ นนั้ สาํ หรับงานก่อสร้างของหนว่ ยงานราชการน้นั การตรวจงานจะดาํ เนินการโดยคณะกรรมการตรวจการจ้าง ซ่ึงเป็นการ ทํางานในรปู แบบของคณะกรรมการ ความเห็นหรอื การตัดสินหาข้อยตุ ิในการแก้ปัญหาต่างๆ รวมทงั้ การตรวจรับงานจะต้องถือตามมติ ของคณะกรรมการอย่างเป็นเอกฉนั ท์ ด้วยจํานวนคณะกรรมการที่เข้าประชุมถูกต้องตามระเบียบฯ ดังน้ัน การพิจารณาในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจ้าง จึงจําเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องจัดให้มีการประชุมทุกครั้ง เพ่ือให้กรรมการทุกคนได้มีส่วนร่วมในการแสดงความ คิดเห็น แล้วจึงสรุปออกมาเป็นมติของท่ีประชุม และต้องบันทึกออกมาเป็นรายงานการประชุม ในการประชุมทุกครั้งประธาน คณะกรรมการตรวจการจ้างจะมีบทบาทสําคัญที่จะสรุปประเด็นต่างๆ ให้เข้าสู่มติท่ีถูกต้องตามระเบียบปฏิบัติของราชการ ในการ พิจารณาปัญหาต่างๆ ที่เกิดข้ึนระหว่างการก่อสร้าง นอกจากจะต้องยึดถือตามระเบียบฯ ว่าด้วยการพัสดุแล้ว ยังจะต้องยึดถือมติ คณะรัฐมนตรี หนังสอื เวียนที่เกย่ี วขอ้ งกบั เรื่องทพี่ ิจารณาและคําส่งั ตา่ งๆ ของหน่วยงานเจ้าของโครงการอกี ด้วย 2) การเตรยี มการประสานงาน ตามท่ีได้กล่าวแล้วว่าในงานก่อสร้างมักนิยมใช้การประชุม ในการประสานงานระหว่าง บคุ ลากรทีเ่ ก่ยี วข้อง การประสานงานโดยวธิ กี ารประชุมแบบต่างๆ ทง้ั 4 แบบท่กี ลา่ วมาแล้วเปน็ วิธีที่ประหยัดเวลาและมีค่าใช้จ่ายน้อย ทส่ี ดุ และอาจจะได้ผลมากทสี่ ุด อีกปจั จยั หน่ึงท่จี ะทําใหก้ ารประชมุ ประสบผลสําเร็จได้กค็ ือ การเตรียมการประสานงานท่ีเป็นไปอย่าง มีประสิทธภิ าพ ผทู้ ี่ทําหน้าท่ีในการประสานงานหรอื ผทู้ จ่ี ะเรียกประชุมอาจจะเตรียมงานดังต่อไปน้ี (1) เอกสารการประชมุ - หนงั สอื เชญิ ประชมุ ประกอบด้วย วันเวลา สถานท่ี วาระการประชมุ - วาระการประชุม ประกอบด้วย เร่ืองที่แจ้งเพื่อทราบ เรื่องรับรองรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว เรื่องสืบเน่ือง เรือ่ งพจิ ารณา และเร่ืองอ่นื ๆ - เอกสารประกอบวาระ ซึ่งถอื เป็นเร่อื งสาํ คญั ทส่ี ดุ ของการเตรียมเอกสารทง้ั หมด ต้องมคี รบถว้ นถูกตอ้ ง

3 - 8 แนวทางการปฏิบตั ิในการควบคมุ งานก่อสรา้ ง (2) การดาเนินการ - ตอ้ งมีการส่งเอกสารดังกลา่ วข้างต้นให้ถึงมอื ผูท้ ี่ได้รับเชิญเข้ารว่ มประชมุ กอ่ นวนั ประชมุ แต่อย่านานเกินไปจนลืม ควรเตรียมเอกสารสํารองสาํ หรบั กรรมการบางท่านที่อาจจะลมื นาํ เขา้ มาในวนั ประชมุ - เตรียมจองหอ้ งประชมุ จัดทน่ี ่ัง เตรยี มอุปกรณ์โสตทัศน์ถา้ มแี ละจาํ เปน็ ตอ้ งใช้ - เตรียมการเรื่องอาหารวา่ งและเคร่อื งด่มื ถ้าจาํ เป็น (3) การประชมุ - ถา้ ในฐานะประธาน รอจนครบองค์ประชุม กล่าวเปิดประชุม นําการประชุมตามเทคนิค ของการเป็นผู้นําวาระ กลา่ วสรุป หาขอ้ ยตุ ิ ตัดสินชีข้ าด นัดประชมุ คราวต่อไป และปิดประชมุ - ถา้ ในฐานะเลขานุการ แจกเอกสารเพิ่มเตมิ จดรายงาน อ่านขอ้ ความท่จี าํ เปน็ - ถ้าในฐานะกรรมการ ศึกษาเอกสารลว่ งหนา้ กอ่ นเข้าประชุม ออกความเห็นตามความคิดเห็นของตนเอง (4) หลังการประชุม นําเอามติหรือข้อยุติ เสนอผู้ท่ีได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติเพื่อถือปฏิบัติ ผู้ท่ีจะต้องรับทราบ เพอื่ ทราบหรืออน่ื ๆ ใหท้ ันตามกาํ หนด สถานทปี่ ระชมุ สําหรับการพจิ ารณาเรอ่ื งการกอ่ สรา้ ง ตามปกตมิ ักจะหาสถานทไ่ี ด้ลําบากพอควร โดยหลักการจะต้องประชุม ณ สถานที่ก่อสร้าง ถ้าเป็นโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ ผู้รับจ้างก็จะก่อสร้างอาคารสํานักงานชั่วคราว อาจจะมีหอ้ งประชมุ ปรบั อากาศเนอ่ื งจากต้องใช้งานบอ่ ยครงั้ แต่สาํ หรบั โครงการขนาดยอ่ มหรอื ขนาดเล็กบางคร้ัง ถ้าจําเป็นอาจจะใช้ ห้องใดห้องหน่ึงหรอื ชั้นใดชั้นหนง่ึ ของอาคารท่กี าํ ลังก่อสร้างอยู่ แต่สว่ นนั้นเรียบรอ้ ยพอสมควรท่จี ะปรับเป็นท่ีประชุม โดยมีครุภัณฑ์ ซึ่ง ก็พอใช้การได้ จดั ประชุมเบือ้ งต้นกอ่ นทคี่ ณะกรรมการตรวจการจ้างจะออกไปเดนิ ตรวจดูท่วั บริเวณ แล้วกลบั มาประชุมเพอ่ื พิจารณาถึง ปัญหาทไ่ี ด้พบเหน็ มา โครงการใหญ่ๆ ในห้องประชุมนอกจากมีท่ีน่ังประชุมแล้ว อาจจะจัดให้มีตัวอย่างวัสดุที่คณะกรรมการตรวจ การจ้างรว่ มกบั สถาปนิก วิศวกรไดพ้ จิ ารณาอนุมตั ิใหใ้ ช้ วางไว้เพือ่ เป็นตวั อย่างให้ผู้ควบคุมงานใช้ในการควบคุมการก่อสร้าง การติดตั้ง ใหเ้ ป็นไปตามแบบรปู ท่กี ําหนดท่ีผนังมีแผนภูมิแสดงความก้าวหน้าของงาน แผนแสดงการทํางานและตารางเวลาต่างๆ ของผู้รับจ้าง ไว้ดว้ ย รายงานการประชุมของการตรวจงานจะกําหนดตามรูปแบบของงานประชุมทั่วไปของทางราชการ ระเบียบวาระของ การประชุมจะเรยี งตามลาํ ดับดงั ต่อไปน้ี - ระเบยี บวาระท่ี 1 เรอื่ ง รบั รองการประชุมครัง้ ที่แลว้ - ระเบยี บวาระท่ี 2 เรือ่ ง สืบเนือ่ งจากการประชุมครัง้ ทแ่ี ล้ว - ระเบียบวาระที่ 3 เรอ่ื ง ทปี่ ระธานฯ แจง้ ใหท้ ่ีประชุมทราบ - ระเบยี บวาระท่ี 4 เรอ่ื ง ผู้รบั จ้างขออนมุ ตั คิ วามเห็นชอบ - ระเบยี บวาระท่ี 5 เรอ่ื ง พจิ ารณาเก่ยี วกบั การตรวจการจ้าง - ระเบยี บวาระที่ 6 เรื่อง อน่ื ๆ การจัดระเบียบวาระของการประชุมจะจัดตามลําดับข้างต้น โดยการรายงานการประชุมจะรายงานตามลําดับของ ระเบียบวาระของการประชุม การตรวจการจ้างของงานราชการนัน้ จะตอ้ งมกี รรมการมาเขา้ ร่วมประชุมไม่น้อยกว่าก่ึงหน่ึงของจํานวน กรรมการท้ังหมด มติของคณะกรรมการให้ถือเป็นมติเอกฉันท์ โดยถือตามจํานวนของกรรมการท่ีเข้าร่วมประชุมในคร้ังน้ัน ในกรณีท่ี กรรมการบางคนมคี วามเหน็ แยง้ กบั มติของทป่ี ระชุมให้ทาํ บนั ทึกความเหน็ แย้งไว้ตามระเบียบฯ ว่าด้วยการพัสดุ การประชุมแต่ละคร้ัง ประธานคณะกรรมการตรวจการจ้างจะเป็นผู้กําหนดและนัดวันเวลา ทั้งนี้จะขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของประธานฯ ท่ีจะพิจารณาตาม ความเหมาะสม ซ่ึงโดยปกตคิ วรจะมีการประชุมเพื่อติดตามผลการปฏบิ ตั งิ านเดอื นละคร้งั นอกจากจะมีเร่ืองที่จะต้องพิจารณาเร่งด่วน ก็อาจจัดให้มีการประชุมเพมิ่ ข้ึน

แนวทางการปฏบิ ัติในการควบคุมงานก่อสรา้ ง 3 - 9 3) การหามติเอกฉันท์ มติเอกฉันท์ คือ กระบวนการตัดสินใจท่ีใช้ประโยชน์จากทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างเต็มท่ี และแก้ไข ปัญหาขัดแยง้ อยา่ งสร้างสรรค์ทส่ี ุด การจะไดม้ ติเอกฉันท์มาเป็นเร่ืองยากเนอ่ื งจากไมไ่ ด้รับความเห็นชอบเต็มที่จากทุกคน เป้าหมายจึง มิใช่เพื่อให้หามตเิ อกฉนั ทโ์ ดยสมบรู ณ์ หากแตถ่ อื ว่าแต่ละบุคคลรับมติของกลุ่มไดโ้ ดยยึดเหตุผลและการปฏิบัติได้เป็นเกณฑ์ เม่ือทุกคน รู้สึกอยา่ งนี้ ก็เท่ากับไดม้ ติเอกฉันท์ตามนิยามที่ให้ไว้น้ีแล้ว และข้อตกลงใจอาจถือเป็นมติของกลุ่มแต่สมาชิกคนใดคนหนึ่งอาจปิดก้ั น การตกลงใจของกลุม่ ไดถ้ า้ จําเปน็ แนวทางในการหามติเอกฉนั ท์มีดงั น้ี.- (1) หลีกเล่ียงการโต้เถียงโดยจัดลําดับการออกความเห็น เสนอข้อคิดเห็นให้ชัดเจนและมีเหตุผลที่สุด แต่ต้องฟัง ปฏกิ ิริยาจากสมาชกิ คนอืน่ พิจารณาข้อโต้แย้งของอีกฝา่ ยอย่างรอบคอบกอ่ นท่ีจะยาํ้ ความเห็นของตน (2) อย่าคิดว่าจะต้องมีการแพ้ชนะกัน เมื่อไม่สามารถตกลงกันได้ให้ยึดถือตามที่ทุกคนเห็นด้วยแม้จะเป็นเพียงแค่ บางส่วน (3) อย่าเปลีย่ นใจงา่ ยๆ เพ่ือหลกี เล่ยี งความขัดแย้ง หรือเพ่อื ให้ตกลงกันได้ดว้ ยดีเทา่ นนั้ หากมคี รง้ั ใดที่มีการตกลงกันได้ ง่ายๆ และรวดเร็ว ให้นึกสงสัยว่าอาจมีการตกลงเร่ืองผลประโยชน์กันไว้ก่อนแล้ว ควรพิจารณาหาเหตุผลและให้ทุกคนรับมติด้วย เหตุผลทค่ี ล้ายคลึงกันหรือเสรมิ สง่ ซง่ึ กนั และกัน ยอมให้เฉพาะขอ้ เสนอที่มีหลกั การและเหตผุ ลแน่นหนาจริงๆ (4) หลีกเลยี่ งการใช้เทคนิคลดความขดั แย้ง เช่น ให้ลงมติออกเสียงข้างมาก ใช้เกณฑ์เฉลี่ยออกหัว - ก้อย หรือต่อรอง กัน เมอื่ สมาชกิ ท่ไี ม่คอ่ ยยอมเห็นด้วยง่ายๆ คนใด เกดิ ตกลงเห็นดว้ ยอย่าเอาใจดว้ ยการยอมรับข้อเสนอของผนู้ ัน้ บ้างในภายหลัง (5) ความเหน็ ไม่เหมอื นกนั นน้ั เปน็ เร่ืองธรรมดาและจะตอ้ งเกดิ ขนึ้ พยายามแยกประเด็นท่ไี มเ่ หน็ พอ้ งน้ันออกมา และให้ ทุกคนได้มีส่วนร่วมพิจารณาเต็มท่ีในกระบวนการตัดสินใจ การคิดเห็นที่ต่างกันอาจช่วยในการตัดสินใจเพราะมีประเด็นข้อมูลและ ความเห็นทหี่ ลากหลาย โอกาสท่ีจะเลือกทางออกทเี่ หมาะสมย่อมมากข้นึ 4) เอกสารท่ีใชใ้ นการประสานงาน ในการประสานงานระหว่างผู้เกี่ยวข้องในงานก่อสร้างน้ัน จะใช้วิธีการประสานงาน โดยการส่ือสารด้วยวาจาเพียงอย่างเดียวอาจจะไม่ได้ผลนัก หรืออาจจะเป็นประเด็นทําให้เกิดการโต้แย้งกันภายหลัง เน่ืองจากไม่มี หลักฐานในการประสานงาน ดงั นั้นเพื่อให้การประสานงานระหว่างผ้ทู เี่ ก่ยี วขอ้ งมีประสิทธิภาพ และเพ่ือประสิทธิผลของงานจึงจําเป็น อยา่ งย่งิ ท่ีจะต้องมสี ือ่ ทใ่ี ชใ้ นการประสานงาน และสามารถใช้เปน็ หลักฐานอา้ งองิ ได้ จึงต้องจดั ทําเอกสารท่ใี ชใ้ นการประสานงานดังนี้ (1) รายงานการก่อสรา้ งประจาวัน ทผี่ ้คู วบคมุ งานจะต้องใช้ในการรายงานการก่อสร้างประจําวัน ซ่ึงจะต้องรายงาน ทุกวนั เป็นรายงานเก่ียวกับรายละเอียดการทํางานของผทู้ าํ การกอ่ สร้าง รายงานเกี่ยวกับเอกสาร วัสดุท่ีจะตรวจสอบ การตรวจรับวัสดุ การรายงานจาํ นวนคนทํางานและเครื่องจักรทีใ่ ชใ้ นวนั นั้น รวมทง้ั รายงานเวลาทํางานด้วย บางแบบฟอร์มอาจจะระบุสภาพอากาศใน วนั น้นั ดว้ ย (2) รายงานประจาสัปดาห์ จะเป็นรายงานในรปู แบบของแผนงาน แบบตารางเวลาทาํ งาน (Schedule Plan) สามารถ แสดงการเปรยี บเทียบแผนงานกอ่ สร้างที่ประมาณการไวก้ บั ความก้าวหน้าของงานที่ทาํ จรงิ รวมทงั้ สรุปผลงานทแี่ ลว้ เสรจ็ เป็นค่ารอ้ ยละ และสรปุ การทํางานชา้ หรือเร็วเปน็ จาํ นวนวัน (3) รายงานสรุปความก้าวหน้าของงานในหนึ่งเดอื น เมื่อถึงวันก่อนวันสิ้นเดือนของทุกเดือน จะต้องสรุปรายงานผล การปฏิบัตงิ านของผรู้ ับจ้าง ให้แก่ผวู้ า่ จา้ งดังน้ี.- - ผลงานการก่อสร้างประจําเดือน โดยสรุปรวบรวมจากรายงานสถิติผลงาน (แยกแต่ละสัญญาจ้าง) ท่ีได้ทําการ บนั ทกึ ไว้ผา่ นมาแลว้ เป็นรายงานความก้าวหนา้ ของงานจา้ งใน 1 เดือนทผี่ ่านมา - รายงานการประชมุ ในระหวา่ งเดอื น - แผนงานก่อสรา้ งที่ทําได้เปรยี บเทยี บกบั แผนงานท่ีวางไวข้ องแตล่ ะเดือน - ภาพถา่ ยแสดงงานก่อสรา้ งในระหวา่ งเดือน - การสง่ งวดงานที่ผ่านมา - รายงานเอกสารทขี่ ออนุมัตทิ ีผ่ า่ นมา - สรปุ การดาํ เนินงาน ปญั หา และการแกไ้ ขในระหว่างเดอื นนั้นๆ

3 - 10 แนวทางการปฏบิ ตั ิในการควบคุมงานก่อสร้าง (4) รายงานก่อสร้างประจางวดงาน ซึ่งจะต้องแสดงการสรุปมูลค่าของงานในแต่ละงวดและมูลค่างานสะสมด้วย เอกสารทง้ั หมดขา้ งต้นเปน็ เอกสารสาํ คญั ผู้ควบคุมงานจะต้องทาํ เสนอคณะกรรมการตรวจการจา้ งตามทกี่ าํ หนดไวใ้ นระเบียบฯ ว่าด้วย การพสั ดุตามช่วงระยะเวลาท่ีกาํ หนด คณะกรรมการตรวจการจา้ งจะตอ้ งนาํ เอกสารเหลา่ นี้มาใช้ประกอบในการตรวจการจ้างหรือเมื่อ เกิดปญั หาในการกอ่ สร้าง (5) แบบฟอร์มทใ่ี ช้ในการตรวจงานและสั่งการสนาม ซ่ึงจะเปน็ การสั่งการโดยผู้ตรวจสอบและสั่งการ ซ่ึงอาจจะเป็น วศิ วกรประจาํ สนามหรือผ้คู วบคุมงานสั่งการกับผู้รบั จ้าง เมื่อเห็นวา่ จะต้องปรับปรุงหรอื แก้ไขสง่ิ ทต่ี รวจพบว่าไมถ่ กู ตอ้ งตามรปู แบบและ รายการหรอื ไม่ถกู ตอ้ งตามหลกั วิชาการทีด่ ี (6) เอกสารขอความเหน็ และอนุมัติการใช้วัสดุและอุปกรณ์ จะต้องนําเสนอต่อคณะกรรมการตรวจการจ้างและขอ ความเหน็ ชอบจากผู้มหี นา้ ท่ีรับผิดชอบ 5) การขออนมุ ัติสิง่ อปุ กรณ์ (สป.) (1) การดาเนินการในการขออนมุ ัติ สป. ใหผ้ รู้ บั จ้างดําเนนิ การขออนุมัติใช้ สป. ตอ่ ผูว้ ่าจา้ งกอ่ นการดําเนินการติดต้ังมี ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิดังนี้ - ผรู้ ับจ้างเสนอคณุ ลกั ษณะของ สป. ที่จะขออนุมัติใช้ โดยการเปรียบเทียบกับคุณลักษณะที่ได้กําหนดในแบบรูป รายการ ผ่านผคู้ วบคมุ งานจาํ นวน 2 ชดุ - ผู้ควบคุมงานตรวจสอบก่อนสง่ ขออนมุ ตั ติ ่อเจ้าหน้าท่ีของผู้ว่าจา้ ง (2) สาหรับการใชว้ สั ดุกอ่ สรา้ ง ผรู้ บั จา้ งจะตอ้ งยึดถือเง่อื นไขดังนี้ - เป็นวัสดุที่กําหนดไว้ในแบบรูป แต่หากแบบรูปไม่ได้กําหนดไว้ให้ถือตามผนวกวัสดุและอุปกรณ์ประกอบ รายละเอยี ดการปฏบิ ัติประกอบสัญญาจ้างของกองทพั บก - เปน็ ไปตามระเบียบสํานกั นายกรัฐมนตรี วา่ ดว้ ยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ และแก้ไขเพ่มิ เตมิ - ผรู้ บั จา้ งจะต้องขอความเหน็ ชอบจากผวู้ า่ จา้ งก่อนท่ีจะใช้วัสดุเทียบเท่าหรือทดแทนก่อน ในการขออนุมัติใช้วัสดุ เทียบเทา่ หรอื ทดแทน ผู้รบั จา้ งจะนํามาอา้ งเพอื่ เป็นเหตใุ นการขอขยายระยะเวลา งด หรอื ลดค่าปรับ ตามสญั ญามิได้ - วสั ดกุ ่อสร้างทีน่ ํามาใช้ ผู้รับจา้ งจะตอ้ งสง่ วัสดุตวั อยา่ งใหเ้ จา้ หนา้ ทีข่ องผู้ว่าจ้างตรวจสอบ และเก็บไว้ที่สํานักงาน ช่วั คราว เพือ่ ใช้เปรยี บเทียบกบั วัสดุท่จี ะใชจ้ ริง 6) การขออนุมัตใิ ช้แบบขยายรายละเอยี ด (Shop Drawing) (1) การดาเนนิ การ การตดิ ต้งั สว่ นหน่ึงส่วนใดหรือรายละเอียดการทํางานสว่ นหนงึ่ สว่ นใดทไี่ มส่ ามารถกําหนด ก่อนเริ่ม งานตามสญั ญา หรือมีอุปสรรค ข้อขัดแย้งในการก่อสร้างจนไม่สามารถดําเนินการตามที่กําหนดไว้แต่เดิมได้ ผู้รับจ้างจะต้องทําแบบ ขยายรายละเอียด (Shop Drawing) ของส่วนก่อสร้างน้ัน เพ่ือแสดงรายการก่อสร้างที่ชัดเจน หรือแก้ไข เปลี่ยนแปลง เพ่ิมเติมให้ ถูกต้องตามหลักวชิ าการ เสนอให้ผู้ว่าจ้างพจิ ารณากอ่ นการดาํ เนนิ การ (2) เอกสารท่ีเก่ยี วข้อง - หนงั สืออนุมตั ิใช้แบบขยายรายละเอยี ด (Shop Drawing) - ผงั บริเวณ - แบบรปู และรายการ - แบบขยายรายละเอยี ด (Shop Drawing) (3) เจา้ หนา้ ที่ทเี่ กยี่ วขอ้ ง - คณะกรรมการตรวจการจ้าง - ผรู้ บั จ้าง - นายชา่ งควบคุมงาน - ผ้คู วบคมุ งาน - สถาปนิกและวิศวกรผอู้ อกแบบ

แนวทางการปฏิบตั ิในการควบคมุ งานก่อสร้าง 3 - 11 7) การส่ังหยุดงาน การดําเนินการเม่ือผู้ควบคุมงานตรวจพบว่างานก่อสร้างไม่เป็นไปตามแบบรูปรายการก่อสร้าง หรือผิดวตั ถุประสงคข์ องการกอ่ สรา้ ง ให้ผู้ควบคมุ งานรายงานต่อคณะกรรมการตรวจการจ้างเพ่อื ขอส่ังหยุดงาน ซ่ึงสามารถดําเนินการ ได้ 2 กรณี กรณีที่ 1 การส่ังหยุดงานท้ังสัญญา ทําเม่ือคณะกรรมการมีความเห็นตรงกันว่าการสั่งหยุดงานในส่วนนั้นส่ง ผลกระทบตอ่ การดาํ เนินการในส่วนทีเ่ หลือทั้งหมด กรณีท่ี 2 การส่ังหยุดงานเฉพาะส่วนใดส่วนหน่ึงของสัญญา ทําเม่ือคณะกรรมการมีความเห็นว่าการส่ังหยุดงาน ในส่วนนัน้ ผู้รับจ้างยังสามารถดาํ เนินการในส่วนอื่นต่อไปได้ 3. ขน้ั ตอนหลังการก่อสรา้ งแลว้ เสรจ็ 3.1 การดาเนินการทั่วไป เมื่องานแล้วเสร็จผู้รับจ้างจะส่งมอบงานให้ผู้ว่าจ้าง โดยมีคณะกรรมการตรวจการจ้างทําหน้าท่ีตรวจรับ หากถูกต้อง ครบถว้ นตามแบบรปู รายการและข้อกําหนดในสัญญาให้ถือว่าผู้รับจ้างส่งมอบงานครบถ้วนต้ังแต่วันท่ีผู้รับจ้างส่งงานนั้น โดยปกติให้ ตรวจผลงานทผ่ี ู้รับจ้างส่งมอบงานภายใน 3 วันทาํ การ นบั ตง้ั แต่วันที่ประธานกรรมการตรวจการจ้างได้รับทราบการส่งมอบงาน และ ทําการตรวจรับให้เสร็จสิ้นโดยเร็วท่ีสุด ดังน้ัน ประธานกรรมการตรวจการจ้างจะต้องตรวจสอบความสมบูรณ์ของงานกับนายช่าง ควบคุมงานก่อสร้างและผู้ควบคุมงานว่า ผู้รับจ้างดําเนินการเสร็จเรียบร้อยหรือไม่ และตรวจสอบรายละเอียดของงานว่าครบตาม รายการและวัตถุประสงค์ในสัญญา โดยต้องมีการทดสอบหรือสาธิตการใช้งาน และการส่งมอบอุปกรณ์ประกอบรวมทั้งการ ทําความสะอาดเรียบรอ้ ยในพื้นที่กอ่ สร้าง ประธานกรรมการตรวจการจ้างตอ้ งตรวจสอบเอกสารรายงานสถิติผลงานของผู้ควบคุมงาน ใหถ้ กู ต้องตรงตามวันแล้วเสร็จที่ผู้รับจ้างได้ส่งงาน ซึ่งถือเป็นหลักฐานสําคัญในการตรวจสอบของ จบ., สตน.ทบ. และ สตง. ซ่ึงการ ดาํ เนนิ การดังกล่าวมีรายละเอยี ดอย่ใู นขอ้ กาํ หนดของงานงวดสดุ ท้าย และ / หรอื หมายเหตุในรายการวัตถปุ ระสงค์ รวมทงั้ ยังต้องอยู่ใน ดุลยพินจิ ของคณะกรรมการตรวจการจา้ งอีกดว้ ย กรณีงานไมแ่ ลว้ เสร็จตามกําหนดวันแล้วเสร็จในสัญญา จะต้องมีการแจ้งขอสงวนสิทธิ์เรียกค่าปรับโดยรายงานให้ผู้ว่าจ้าง ทราบ เพ่ือทําหนงั สอื แจง้ ขอสงวนสทิ ธเิ์ รยี กค่าปรับให้ผู้รับจ้างทราบ หรือพิจารณาใช้สิทธิยกเลิกสัญญาได้ในกรณีท่ีมีเหตุอันเชื่อได้ว่า ผ้รู ับจ้างไม่สามารถทาํ งานให้แลว้ เสร็จภายในระยะเวลาท่กี ําหนด หรือกรณีที่มีการปรับตามสัญญาหรือข้อตกลงจะเกินร้อยละสิบของ วงเงินค่าจา้ ง เวน้ คู่สัญญาจะยนิ ยอมเสยี ค่าปรับให้แก่ทางราชการโดยไมม่ ีเง่ือนไขใดๆ ทั้งส้นิ ซง่ึ สามารถผ่อนปรนการบอกเลิกสัญญาได้ เทา่ ทีจ่ าํ เปน็ ซึง่ จะตอ้ งทําเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรระหว่างผู้ว่าจา้ งกับผู้รับจ้าง 3.2 การดาเนินการด้านทะเบียนประวัติอาคาร และประวัติ สป.ประจาอาคารในความรับผิดชอบของกรมยุทธโยธา ทหารบกใหป้ ฏบิ ัตดิ งั น้ี 1) กรณีงานอาคาร หรอื สิง่ ปลูกสรา้ ง (1) งานก่อสร้าง ต้องรายงานขอข้นึ ทะเบียนประวัตอิ าคาร ให้หน่วยที่รับงานก่อสร้างไปดําเนินการ (หน่วยดําเนินการ หรือหน่วยดําเนินกรรมวิธีจัดหา) โดยผ่านผู้ควบคุมงานกรอกรายละเอียดตามแบบพิมพ์ท่ีกองทัพบกกําหนด และหมายจุดตําแหน่ง อาคารลงในผงั บริเวณ ส่งให้กรมยทุ ธโยธาทหารบก จาํ นวน 2 ชุดดําเนินการข้ึนทะเบียนประวัติอาคาร โดยกําหนดหมายเลขให้ต่อไป โดยแนบหลกั ฐาน ตามหนังสือ กรมส่งกาํ ลงั บาํ รงุ ทหารบก ท่ีตอ่ กห 0404/1237 ลง 13 ก.พ. 30 เรื่อง การจดั ทําประวตั ิอาคาร ดงั น้ี.- - สําเนาอนมุ ตั ิผบู้ ัญชาการทหารบกและแผนจดั หา - สาํ เนารายการก่อสรา้ ง (ข้อ 1 วตั ถุประสงค์ ข้อ 2 เงอ่ื นไขและวสั ดุท่ใี ช้ ขอ้ 3 แบบรูปที่ใช้) - สาํ เนาอนมุ ตั ิของผมู้ อี ํานาจส่งั การ - สําเนาใบเสนอราคาของผรู้ ับจา้ ง - สาํ เนาสญั ญาจา้ ง - สาํ เนาคาํ ส่งั แต่งต้งั คณะกรรมการตรวจการจ้าง - สําเนาหลักฐานการตรวจรับงานงวดสุดท้าย

3 - 12 แนวทางการปฏบิ ตั ใิ นการควบคุมงานกอ่ สร้าง (2) งานซอ่ มแซม ตอ้ งรายงานขอข้ึนทะเบียนประวัติการซ่อมอาคาร ให้หน่วยที่รับงานซ่อมแซมอาคารไปดําเนินการ (หนว่ ยดําเนนิ การ หรือหน่วยดาํ เนินกรรมวิธจี ัดหา) โดยผคู้ วบคมุ งานกรอกรายละเอยี ด ลงในแบบพิมพ์ ทบ.500-017 ประวัติการซ่อม อาคาร หรอื สง่ิ ปลูกสรา้ งสง่ ให้กรมยทุ ธโยธาทหารบก 2 ชุด ดําเนินการข้ึนทะเบียนประวัติการซ่อมอาคารให้ต่อไป โดยแนบหลักฐาน เชน่ เดยี วกบั งานก่อสร้าง และหากมีปัญหาข้อสงสัยสามารถ ติดตอ่ เพมิ่ เติมท่ี แผนกทะเบียนประวัติกองทีด่ นิ กรมยทุ ธโยธาทหารบก 2) กรณงี าน สป.ประจาอาคาร (1) งานติดตง้ั สป. (เครื่องสบู นาํ้ เครอ่ื งปรับอากาศ ลฟิ ต์ ถังเหล็กชุบสังกะสี มอเตอร์ไฟฟ้า และพัดลม เป็นต้น) ต้อง รายงานขอขึ้นทะเบียนบัญชีคุม โดยให้หน่วยดําเนินการหรือหน่วยดําเนินกรรมวิธีจัดหาโดย ผู้ควบคุมงานจัดทํารายละเอียด สป.ประจาํ อาคาร โดยกรอกรายละเอยี ดตามแบบพิมพ์ท่ีกรมยทุ ธโยธาทหารบก (เฉพาะ สป.สาย ยย.) จํานวน 2 ชุด พร้อมแนบสําเนา อนุมัติแผนจัดหา สําเนาสัญญาจ้าง ใบเสนอราคา และหลักฐานตรวจรับงานงวดสุดท้าย ส่งให้กรมยุทธโยธาทหารบกดําเนินการขึ้น ทะเบยี นบญั ชีคมุ สป.ประจาํ อาคารสายยุทธโยธาภายใน 30 วัน นับจากวันตรวจรับงานงวดสุดท้าย และเก็บไว้เป็นหลักฐานด้านการ สง่ กําลังบํารงุ ตอ่ ไป สําหรบั สป. สายอ่นื ให้หนว่ ยดําเนนิ การหรือหนว่ ยดําเนนิ กรรมวิธีจัดหาโดย ผู้ควบคุมงานจัดทํารายละเอียด สป. แล้ว รายงานขอขน้ึ ทะเบียนบัญชคี มุ ไปยังกรมยทุ ธบริการที่รบั ผิดชอบ เช่น ตู้ เตียง รายงานถึงกรมพลาธิการทหารบกเป็นต้น ให้ถือปฏิบัติ ตามคาํ ช้แี จงกองทพั บก เรือ่ งการดําเนินงานเก่ียวกบั สป.ประจําอาคาร ลง 30 เม.ย. 25 ซึง่ กําหนดว่า “เมอื่ กรมยทุ ธโยธาทหารบกหรือ หนว่ ยท่ีได้ดําเนนิ การกอ่ สรา้ งอาคาร โดยมี สป.ประจาํ อาคารพร้อมกับการก่อสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้หน่วยท่ีรับมอบอาคารไว้ใช้ งานแจ้งรายการก่อสร้างอาคารผ่านสายการบังคับบัญชาไปให้กรมยุทธโยธาทหารบกเพ่ือข้ึนทะเบียนบัญชีคุม เป็นไปตามระเบียบ กองทพั บกวา่ ด้วยกิจการกอ่ สรา้ ง ท่ี 3/6713/2491 ลง 4 มิ.ย. 91 พร้อมทั้งแจ้งรายการ สป.ประจําอาคารไปยังสายงานท่ีรับผิดชอบ ทราบทนั ท”ี (2) งานซ่อม สป. ต้องรายงานขึ้นทะเบียนประวัติการซ่อม สป. โดยให้หน่วยดําเนินการ หรือหน่วยดําเนินกรรมวิธี จดั หาโดยผู้ควบคมุ งานจัดทํารายละเอยี ด สป.ประจําอาคาร พร้อมหลักฐาน ได้แก่ สําเนาแผนจัดหา สําเนาสัญญาจ้าง ใบเสนอราคา และหลกั ฐานตรวจรับงานงวดสดุ ท้ายแลว้ รายงานขอขึน้ ทะเบียนบญั ชีคุมส่งใหก้ รมยทุ ธโยธาทหารบกตอ่ ไป โดยกรอกรายละเอียดตาม แบบพิมพ์ทก่ี รมยุทธโยธาทหารบกกาํ หนด (เฉพาะ สป.สาย ยย.) จาํ นวน 2 ชดุ 3) กรณีงานซ่อม สป.ตาม อสอ. เช่น รถตดั หญ้าขนาดใหญ่ พดั ลม เครือ่ งตัดหญ้าสนาม เปน็ ตน้ ตอ้ งรายงานขอขน้ึ ทะเบียนประวตั ิการซ่อมโดยให้หน่วยดําเนินการหรือหน่วยดําเนินกรรมวิธีจัดหาทํารายละเอียดการ ซ่อมลงในแบบฟอร์มประวัติการซ่อมตามท่ีกรมยุทธโยธาทหารบกกําหนด จํานวน 2 ชุด พร้อมหลักฐาน ได้แก่ สําเนาแผนจัดหา สาํ เนาสัญญาจ้าง ใบเสนอราคา และหลักฐานการตรวจรบั งานงวดสดุ ทา้ ยแลว้ รายงานขอขน้ึ บญั ชคี ุมส่งใหก้ รมยทุ ธโยธาทหารบกต่อไป หากมขี อ้ สงสัยให้ตดิ ต่อเพิม่ เติมไดท้ กี่ องสนับสนุนส่ิงอปุ กรณ์สายยทุ ธโยธา กรมยุทธโยธาทหารบก หมายเหตุ - หากไม่ดําเนินการตามที่กลา่ วมาแลว้ ข้างต้นกรมยุทธโยธาทหารบก จะไม่สามารถตรวจสอบความถูกต้อง ขอบัญชสี นิ ทรพั ย์ในระบบ GFMIS ตามท่หี น่วย (ศนู ย์ตน้ ทุน) แจ้งให้กรมยทุ ธโยธาทหารบก ตรวจสอบได้ ทําให้บัญชีสินทรัพย์ในระบบ GFMIS ของกองทัพบกไม่เรียบร้อย และไม่เป็นไปตามแนวทางปฏิบัติท่ีกรมส่งกําลังบํารุงทหารบก ได้ชี้แจงไว้แล้วตามวิทยุราชการ ทหารกรมส่งกาํ ลงั บาํ รงุ ทหารบก ดว่ นมาก ที่ กห 0404/3604 ลง 25 พ.ย. 53

แนวทางการปฏิบัตใิ นการควบคุมงานก่อสรา้ ง 3 - 13 สป.สาย ยย. จานวน 12 รายการ 1. รถตดั หญ้าขนาดใหญ่ พรอ้ มอปุ กรณ์ 2. รถตดั หญ้าแบบนงั่ ขบั 3. เครอื่ งตดั หญ้าสนาม 4. เครื่องตัดหญา้ แบบสะพาย 5. เครอื่ งมือช่างไม้ชดุ เล็ก 6. เครอื่ งมือช่างไฟฟา้ ชดุ เลก็

3 - 14 แนวทางการปฏิบัติในการควบคมุ งานก่อสร้าง 8. เคร่อื งมอื ป้องกนั และกาจดั ศตั รทู าลายไม้ 7. พัดลมต้งั พนื้ ขนาด 16 น้ิว 9. เคร่อื งมือช่างไม้ชุดใหญ่ 10. เครื่องมือชา่ งไฟฟา้ ชดุ ใหญ่ 11. เครื่องมือชา่ งประปา 12. เครื่องมือชา่ งซอ่ มเครอ่ื งปรบั อากาศชน้ั 3

การปฏิบัตขิ องประธานกรรมการตรวจการจา้ ง 4 - 1 บทท่ี 4 การปฏิบัติของประธานกรรมการตรวจการจา้ ง ในปัจจุบันการก่อสร้างและการซ่อมแซมอาคารส่ิงปลูกสร้างต่างๆ จะต้องมีการดาเนินการให้มีความถูกต้องตามลาดับ ขั้นตอน และระเบียบปฏิบตั ิราชการต่างๆ ทุกประการ โดยมวี ัตถปุ ระสงค์เพ่ือให้งานมีคุณภาพ คุ้มค่าในวงเงินงบประมาณท่ีมีอยู่ และ กอ่ ใหเ้ กิดความปลอดภัยในชวี ิต และทรพั ย์สนิ ซ่งึ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการพฒั นาคุณภาพชีวิตของกาลังพลของกองทพั บก ดังนั้น การท่ีจะดาเนินการต่องานก่อสร้าง และซ่อมแซมให้มีคุณภาพนั้นต้องให้ความสาคัญในการควบคุมผลงาน ทง้ั ทางด้านคุณภาพ และปริมาณให้เป็นไปตามแบบรูป และรายการของสัญญา ซ่ึงผู้เก่ียวข้องในการควบคุมงานที่เป็นเจ้าหน้าที่ของ ผู้วา่ จ้างโดยท่วั ไปจะประกอบด้วยคณะกรรมการตรวจการจ้าง นายช่างควบคุมงานก่อสร้าง ผู้ควบคุมงาน ผู้มีสิทธ์ิรับมอบงาน และ ผู้รับมอบงานต่อ ซ่ึงแต่ละคนจะมีหน้าท่ีรับผิดชอบแตกต่างกันไป โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะให้การควบคุมงานเป็นไปตามสัญญา และ แนวทางทีร่ าชการกาหนด คณะกรรมการตรวจการจ้างในการก่อสร้าง และงานซ่อมแซมอาคาร และสิ่งปลูกสร้างของกองทัพบกโดยท่ัวไปแล้วจะ ประกอบด้วย ผู้แทนหน่วยรับประโยชน์ซ่ึงจะได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานกรรมการตรวจการจ้าง และมี ผู้แทนจาก กรมยุทธโยธาทหารบกเป็นกรรมการตรวจการจ้างโดยมีผู้ควบคุมงานที่เป็นนายทหารสัญญาบัตรของหน่วยรับประโยชน์ และ ผูค้ วบคมุ งานทเี่ ปน็ นายทหารประทวนของกรมยุทธโยธาทหารบก ซงึ่ แตล่ ะบุคคลจะมีหนา้ ทร่ี ับผดิ ชอบและการปฏิบตั ิหน้าทแี่ ตกตา่ งกนั ไป แต่ทส่ี าคญั ผทู้ ีม่ หี น้าท่ีตดั สนิ ใจ และรับผิดชอบต่อผลสาเรจ็ ของงานกค็ อื ประธานกรรมการตรวจการจ้าง ฉะนน้ั ในฐานะที่ท่านได้รับ การแต่งตั้งเปน็ ประธานกรรมการตรวจการจา้ ง ทา่ นควรจะตอ้ งทาอะไรบา้ ง มีวิธีการและลาดับขั้นตอนของการทางานอย่างไรท่ีจะทา ให้ทา่ นสามารถปฏบิ ตั งิ านได้อย่างถูกต้องสมบูรณ์ ขัน้ ตอนการปฏิบตั ขิ องประธานกรรมการตรวจการจา้ ง 1. ขน้ั ตอนการเตรยี มการ เม่อื ท่านจะไดร้ ับการแต่งต้ังจากผู้บังคับบัญชาของท่านให้เป็นประธานกรรมการตรวจการจ้าง (ซ่ึงส่วนมากจะเป็นหน่วย รับประโยชน์จากงานน้ัน) โดยกรมยุทธโยธาทหารบก หรือกองทัพภาคจะมีวิทยุแจ้งให้หน่วยส่งรายช่ือก่อนเริ่มสัญญาประมาณ 1 - 2 เดือน ซึ่งสัญญาดังกล่าว จะมีการแจกจ่ายให้กับคณะกรรมการตรวจการจ้าง และผู้เกี่ยวข้องทราบเพ่ือปฏิบัติหน้าท่ีท่ีต้อง รบั ผิดชอบหลงั จากมกี ารลงนามในสัญญาแลว้ โดยเอกสารทีป่ ระธานกรรมการตรวจการจ้างจะได้รับเมอ่ื เรม่ิ สญั ญา ประกอบด้วย 1) สญั ญาจา้ ง 2) วตั ถปุ ระสงค์ 3) แบบรปู รายการ 4) ผังบรเิ วณจุดกอ่ สร้าง 5) คาสง่ั แต่งตง้ั คณะกรรมการตรวจการจ้าง 6) รายละเอียดการปฏิบัตปิ ระกอบสัญญาจ้างของกองทัพบก โดยมผี คู้ วบคมุ งานเป็นผ้แู จกจ่าย หลงั จากทไี่ ด้รับสญั ญาแลว้ จะเปน็ ขัน้ ตอนการตรวจสอบผงั บรเิ วณ คือการช้ีจุดก่อสรา้ ง หรือจุดท่ตี ้องซอ่ มแซมที่แน่ชัด และ มีการประสานงานระหวา่ งผูร้ บั จา้ ง และหนว่ ยรับประโยชน์ในเร่ืองการขอเข้าดาเนินการของผู้รับจ้างการขอต้ังสานักงานชั่วคราวการ ขอใช้ไฟฟ้า และประปาของหน่วยการขอใช้เส้นทางการ เข้า - ออก หน่วย รวมท้ังการทาบัตรคนงานผ่าน เข้า - ออก พื้นที่ค่าย การชแ้ี จงปญั หาของหนว่ ยที่ผู้รับจา้ งจะตอ้ งแกไ้ ขเพ่ิมเตมิ ปริมาณงานทม่ี ผี ลกระทบจากการปฏบิ ตั งิ านของหน่วย และแนะนาตัวให้ผู้ท่ี เกี่ยวข้องรู้จัก เพื่อเป็นประโยชน์ในการประสานงานโดยการช้ีจุดก่อสร้างดังกล่าวจะมีผู้ที่เก่ียวข้องร่วมปฏิบัติงาน ได้แก่ กรรมการ ตรวจการจ้าง นายช่างควบคุมงานก่อสร้าง ผู้ควบคุมงานของหน่วย ผู้ควบคุมงานของกรมยุทธโยธาทหารบก และผู้รับจ้าง

4 - 2 การปฏบิ ตั ิของประธานกรรมการตรวจการจา้ ง เอกสารที่ผ้รู ับจา้ งจะต้องส่งใหป้ ระธานกรรมการตรวจการจ้างหรอื หน่วยรบั ประโยชน์ หลังจากตรวจสอบผงั บรเิ วณแลว้ ดังนี้.- 1) หนงั สือขอเข้าดาเนินการ 2) หนังสือขอใช้สาธารณปู โภคของหน่วย 3) หนงั สอื การขอทาบัตรผ่านเขา้ –ออก 4) หนงั สือแสดงรายชอื่ ผ้จู ัดการสนาม, วศิ วกรและชา่ งสนามพร้อมหลกั ฐานต่างๆ 5) แผนภมู กิ ารดาเนินงาน (กรณีค่างานก่อสรา้ งเกินกว่า 5 ลา้ นบาท) 2. ขน้ั ตอนการประสานงาน ขัน้ ตอนนี้จะตอ้ งเป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ เพือ่ ใหก้ ารดาเนินการไปได้ด้วยความถูกต้อง ซึ่งขึ้นอยู่กับการประสานงานท่ีดี ตั้งแต่เรมิ่ แรกจนงานแลว้ เสร็จ การประสานงานส่วนใหญ่จะกระทาในลักษณะการประชุม ได้แก่ การประชุมเตรียมการ, การประชุม ประจาเดอื น, การประชุมประจางวด และการประชมุ เฉพาะกรณี การประชุมเตรียมการ เป็นการประชมุ ทส่ี าคญั และมปี ระโยชนท์ ี่สุด ซ่ึงเป็นการแนะนาตัวและพบปะกันระหว่างเจ้าหน้าที่ ทุกฝ่าย โดยเปน็ การชแ้ี จงแผนงาน ปรมิ าณงาน ขอ้ ตกลง และปญั หาตา่ งๆ ทีม่ ผี ลกระทบจากการปฏิบตั งิ าน การประชมุ ประจาเดือน เปน็ การประชุมตามระยะเวลาเพ่ือรับทราบความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานและปัญหาท่ีเกิดข้ึน โดยมีการเปรียบเทียบความก้าวหน้าของงานว่าเป็นไปตามแผนงานท่ีวางไว้หรือไม่ ต้องมีการเร่งรัดหรือปรับแผนงานในส่วนท่ีล่าช้า อย่างไร การประชุมประจางวด เป็นการประชุมเพอื่ ตรวจสอบปรมิ าณงานในแตล่ ะงวดงาน และสง่ มอบงานในแตล่ ะงวดท่ีผู้รับจ้าง ปฏิบัติงานแลว้ เสร็จ เพ่อื ท่ีจะเบกิ เงินตามสัญญา การประชุมเฉพาะกรณี เป็นการประชุมเพ่ือแก้ไขปัญหาของงานท่ีตรวจพบเพื่อหาข้อยุติ โดยเป็นการหารือกันหลายๆ ฝ่าย เป็นการช่วยผลักดันให้งานเดินต่อไปได้ ได้แก่ การแก้ไขเพิ่มเติมแบบรูปให้ถูกต้อง การขอแก้ไขสัญญาหรือการสั่งหยุดงาน การเลอื กวสั ดุให้เหมาะสม ฯลฯ การประชุมประจาเดอื น การประชมุ ประจางวด และการประชุมเฉพาะกรณี เป็นวิธีการที่ประธานกรรมการตรวจการจ้าง จะสามารถรับทราบความก้าวหน้า และปญั หาข้อขัดขอ้ งของการปฏิบัติงาน โดยการประชุมควรกาหนดวาระในเร่ืองต่างๆ ดังน้ี.- 1) สรุปความกา้ วหนา้ ของงานและแผนงานที่จะปฏบิ ัตติ อ่ ไป 2) การพจิ ารณาขอใชว้ ัสดุ และการอนมุ ตั ิการใช้วสั ดุ 3) การแกไ้ ข เพิ่มเตมิ แบบรปู และรายการใหเ้ หมาะสมกบั งาน 4) ปัญหาข้อขัดข้องที่เกิดขึ้นและทไ่ี ดแ้ กไ้ ขแล้ว 3. ขน้ั ตอนการควบคมุ งาน ในระหวา่ งทีง่ านกาลงั ดาเนินการไปตามห้วงเวลาและแผนงานนั้นประธานกรรมการตรวจการจ้าง จะต้องคอยตรวจสอบ กากับดูแลตามห้วงระยะเวลาท่ีเหมาะสมโดยการตรวจทางเอกสารได้แก่ การรายงานประจาวัน ประจาสัปดาห์ และประจาเดือนท่ี ผู้ควบคมุ งานจะต้องรายงานเปน็ ประจา และการตรวจพืน้ ที่งานเพ่ือตรวจสอบการใช้วัสดุว่าเป็นไปตามมาตรฐานหรือไม่ ฝีมือแรงงาน ปรมิ าณงานวสั ดุตอ้ งให้ถูกตอ้ ง โดยใหผ้ ้คู วบคมุ งานเป็นผนู้ าตรวจ พร้อมชแี้ จงเอกสารการขอใช้วัสดุก่อสร้างและสิ่งอุปกรณ์ โดยยึดถือ มาตรฐานของวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่กาหนดตามรายละเอียดการปฏิบัติประกอบสัญญาจ้างของกองทัพบก เอกสารต่างๆ ท่ีประธาน กรรมการตรวจการจ้างตอ้ งตรวจสอบประกอบด้วย 1) รายงานผลการดาเนนิ งานประจาวนั (ทบ.467-001) 2) รายงานผลการดาเนนิ งานประจาสปั ดาห์ (ยย.901) 3) แบบขยายรายละเอยี ด (Shop Drawing) ในระหว่างการกอ่ สรา้ ง

การปฏบิ ตั ิของประธานกรรมการตรวจการจ้าง 4 - 3 4) หนังสอื การขอใชว้ ัสดเุ ทยี บเทา่ หรือทดแทนท่ีไดก้ าหนดไว้ในแบบรปู รายการ 5) ผลการทดสอบความสามารถในการรับนา้ หนกั บรรทกุ ปลอดภัยของดนิ และผลการทดสอบความแน่นของการถมดิน การปฏิบตั ทิ ่ีประธานกรรมการตรวจการจ้างควรปฏิบตั ิในขั้นตอนน้ี ไดแ้ ก่ 1) การอ่านรายงานของผคู้ วบคมุ งาน 2) การตรวจพ้ืนท่ีงานอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ 3) การประชมุ เพ่อื แกไ้ ขปญั หาตามข้อเท็จจรงิ 4) การประชุมเลอื กวัสดหุ รอื ครุภณั ฑ์ 5) การตรวจสอบระยะเวลากับแผนงานตามสญั ญา เพือ่ เรง่ รัดผู้รบั จ้างหรือขอขยายเวลาของสญั ญา 6) การประสานงานกบั นายชา่ งควบคุมงานก่อสรา้ งด้านแผนงานและด้านเทคนคิ ต่างๆ หากผลการตรวจสอบงานแล้วตรวจพบว่าวัสดุไมไ่ ดข้ นาด ไม่ได้มาตรฐาน หรือไมต่ รงตามท่ผี ูร้ ับจ้างขออนมุ ัติใช้หรือแบบรูป รายการ ประธานกรรมการตรวจการจ้างมีสิทธิที่จะพิจารณาเปล่ียนแปลง แก้ไข เพิ่มเติม หรือตัดทอนงานจ้างได้ตามที่เห็นสมค วร โดยให้เป็นไปตามแบบรูปรายการและข้อกาหนดในสัญญา รวมทั้งสามารถสั่งให้หยุดงานน้ันเฉพาะส่วนหน่ึงส่วนใด หรือท้ังหมด แล้วแต่กรณีไว้ก่อนแล้วรายงานให้ผู้ว่าจ้างพิจารณาต่อไปได้ และหากความผิดพลาดน้ันเกิดจากผู้ควบคุมงาน ประธานกรรมการ ตรวจการจ้างสามารถสงั่ หยดุ งานหรือพกั งานผ้คู วบคมุ งานแล้วรายงานให้ผู้ว่าจ้างพิจารณาต่อไปได้ อีกทั้งยังสามารถสั่งพักงานไว้ก่อน กรณีแบบรูปรายการหรือข้อกาหนดในสัญญาเกิดความขัดแย้งกันหรือคาดหมายได้ว่าถึงแก้งานให้เป็นไปตามแบบรูปรายการและ ข้อกาหนดในสัญญาแลว้ จะไม่มั่นคงแข็งแรง ใหป้ ระธานกรรมการตรวจการจา้ งรายงานใหผ้ ูว้ ่าจา้ งพจิ ารณาความเหมาะสมและข้อสรุป เพ่ือแก้ไขแบบรปู รายการ หรือแก้ไขสัญญาใหถ้ กู ต้องต่อไป หรือกรณีผูร้ ับจ้างไม่เข้าทางานเม่ือได้ตรวจสอบผังจุดก่อสร้างแล้วเกินกว่า 15 วัน โดยมิได้แจ้งเหตุผลความจาเป็นให้ประธานกรรมการตรวจการจ้างทราบ ให้ประธานกรรมการตรวจการจ้างรายงานผู้ว่าจ้าง เป็นลายลักษณอ์ ักษรเพ่อื กรมยุทธโยธาทหารบก / กองทพั ภาคทาหนังสอื เร่งรดั ต่อไป และจะเปน็ เอกสารประกอบการขอยกเลกิ สัญญา ในห้วงระยะเวลาต่อไป 4. ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิเม่อื งานแล้วเสรจ็ เม่ืองานแล้วเสร็จผู้รับจ้างจะส่งมอบงานให้ผู้ว่าจ้าง โดยมีคณะกรรมการตรวจการจ้างทาหน้าที่ตรวจรับ หากถูกต้อง ครบถว้ นตามแบบรูปรายการและข้อกาหนดในสัญญาให้ถือว่าผู้รับจ้างส่งมอบงานครบถ้วนต้ังแต่วันที่ผู้รับจ้างส่งงานน้ัน โดยปกติให้ ตรวจผลงานที่ผู้รับจา้ งสง่ มอบงานภายใน 3 วนั ทาการ นับตง้ั แตว่ ันที่ประธานกรรมการตรวจการจ้าง ได้รับทราบการส่งมอบงาน และ ทาการตรวจรับให้เสร็จส้ินโดยเร็วท่ีสุด ดังนั้น ประธานกรรมการตรวจการจ้าง จะต้องตรวจสอบความสมบูรณ์ของงานกับนา ยช่าง ควบคุมงานก่อสร้างและผู้ควบคุมงานว่าผู้รับจ้างดาเนินการเสร็จเรียบร้อยหรือไม่ และตรวจสอบรายละเอียดของงานว่า ครบตาม รายการและวัตถุประสงคใ์ นสญั ญา โดยต้องมีการทดสอบหรือสาธิตการใช้งาน และการส่งมอบอุปกรณ์ประกอบรวมท้ังการทาความ สะอาดเรียบร้อยในพืน้ ทีก่ ่อสรา้ ง และประธานกรรมการตรวจการจ้างต้องตรวจสอบเอกสารรายงานสถิติผลงานของผู้ควบคุมงานให้ ถูกต้องตรงตามวันแล้วเสร็จที่ผู้รับจ้างได้ส่งงาน ซ่ึงถือเป็นหลักฐานสาคัญในการตรวจสอบของ จบ. สตน.ทบ. และ สตง. ซ่ึงการ ดาเนนิ การดงั กล่าวมรี ายละเอียดอยใู่ นข้อกาหนดของงานงวดสุดทา้ ย และ / หรือหมายเหตุในรายการวตั ถปุ ระสงค์ รวมทั้งยังต้องอยู่ใน ดุลยพินจิ ของคณะกรรมการตรวจการจา้ งอีกดว้ ย กรณีงานไม่แล้วเสร็จตามกาหนดวันแล้วเสร็จในสัญญา จะต้องมีการแจ้งขอสงวนสิทธิ์เรียกค่าปรับโดยรายงานให้ผู้ว่าจ้าง ทราบ เพ่ือทาหนงั สอื แจ้งขอสงวนสทิ ธเิ์ รยี กค่าปรับให้ผู้รับจ้างทราบ หรือพิจารณาใช้สิทธิยกเลิกสัญญาได้ในกรณีที่มีเหตุอันเช่ือได้ว่า ผู้รบั จา้ งไมส่ ามารถทางานใหแ้ ล้วเสร็จภายในระยะเวลาท่กี าหนด หรอื กรณีทีม่ ีการปรบั ตามสญั ญาหรือข้อตกลงจะเกินร้อยละ 10 ของ วงเงินค่าจา้ ง เว้นคสู่ ญั ญาจะยินยอมเสียค่าปรบั ให้แกท่ างราชการโดยไม่มเี งื่อนไขใดๆ ท้งั สน้ิ ซ่งึ สามารถผ่อนปรนการบอกเลิกสัญญาได้ เท่าที่จาเป็นซงึ่ จะตอ้ งทาเปน็ ลายลักษณ์อักษรระหวา่ งผวู้ า่ จ้างกับผู้รบั จา้ ง

4 - 4 การปฏิบตั ขิ องประธานกรรมการตรวจการจ้าง เอกสารทีผ่ ้รู บั จา้ งจะตอ้ งสง่ มอบใหก้ บั หน่วยประกอบด้วย 1) ค่มู อื หรือคาแนะนาในการใช้งานของอปุ กรณท์ ตี่ ิดตัง้ ใหม่ พรอ้ มการฝกึ อบรมเจ้าหนา้ ที่ 2) อปุ กรณป์ ระกอบในการใช้งาน เชน่ กญุ แจ เคร่อื งมอื ฯลฯ 3) ใบรับประกันวสั ดแุ ละอปุ กรณ์ 4) แบบก่อสร้างจริง (As-built Drawing) 5) แบบขยายรายละเอยี ด (Shop Drawing) บทสรปุ ภาระหนา้ ที่ท่ที า่ นได้รบั การแต่งตัง้ และมอบหมายให้เป็นประธานกรรมการตรวจการจ้างถือว่าเปน็ หน้าทีส่ าคัญประการหนึ่ง ท่ีต้องรับผิดชอบต่อผลสาเร็จของงานก่อสร้างหรือซ่อมแซมอาคารโดยต้องกากับดูแลให้เป็นไปตามมาตรฐานและถูกต้ องเรียบร้อย คุ้มค่ากบั งบประมาณท่ีไดร้ บั อนั จะสง่ ผลโดยตรงตอ่ การพฒั นาคุณภาพชีวติ ของกาลังพลและครอบครัวของกองทพั บกส่งผลต่อการสร้าง ขวัญและกาลงั ใจในการปฏิบตั งิ าน หากภาระหนา้ ทขี่ องประธานกรรมการตรวจการจ้างเม่ือปฏิบัติแล้วเกิดข้อผิดพลาดด้วยสาเหตุของการขาดการกากับดูแล ตามหนา้ ที่ ทา่ นจะต้องรับผดิ ทางละเมดิ ของเจา้ หน้าท่แี ละโทษปรบั ทางการปกครองกรณบี กพรอ่ งต่อหนา้ ที่ตาม พ.ร.บ.ความรับผิดทาง ละเมิดของเจ้าหน้าท่ี พ.ศ. 2539 และระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยวินัยทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ. 2544 ฉะนน้ั การปฏบิ ตั หิ น้าที่ที่ถูกต้อง เป็นไปตามหลกั การ ขั้นตอนและเหตุผลท่ีเหมาะสมจะชว่ ยให้ทา่ นประสบความสาเร็จในหน้าท่ีที่ได้รับ มอบหมาย

การดาเนนิ การด้านเอกสารประกอบสญั ญา 5 - 1 บทที่ 5 การดาเนนิ การดา้ นเอกสารประกอบสญั ญา การดาเนนิ การด้านเอกสารประกอบสญั ญา แบ่งออกเป็น 4 กรณี 1. การแกไ้ ขสญั ญา 2. การขอสงวนสทิ ธก์ิ ารขยายเวลา 3. การบอกเลกิ สญั ญา 4. การปอ้ งกนั และแนวทางการยตุ ิข้อโต้แย้ง 1. การแก้ไขสญั ญาจา้ ง อา้ งถึง ระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 ข้อ 136 สัญญาหรือข้อตกลงเป็นหนังสือที่ได้ลงนามแล้ว จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงมิได้ เว้นแต่การแก้ไขน้ันจะเป็นความจาเป็นโดยไม่ทาให้ทางราชการต้องเสียประโยชน์ หรือเป็นการแก้ไขเพ่ือ ประโยชน์แกท่ างราชการ ให้อยู่ในอานาจของหัวหน้าส่วนราชการท่ีจะพิจารณาอนุมัติให้แก้ไขเปล่ียนแปลงได้ แต่ถ้ามีการเพ่ิมวงเงิน จะต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ หรือขอทาความตกลงในส่วนที่ใช้เงินกู้ หรือเงินช่วยเหลือ แล้วแต่กรณีด้วย การแก้ไขเปลีย่ นแปลงสัญญาหรือขอ้ ตกลงตามวรรคหน่ึง หากมีความจาเป็นต้องเพิ่มหรือลดวงเงิน หรือเพิ่มหรือลดระยะเวลาส่งมอบ ของหรือระยะเวลาในการทางานให้ตกลงพร้อมกันไปสาหรับการจัดหาที่เก่ียวกับความม่ันคงแข็งแรง หรืองานเทคนิคเฉพาะอย่าง จะต้องได้รับการรับรองจากวิศวกร สถาปนิกและวิศวกรผู้ชานาญการ หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ซ่ึงรับผิดชอบหรือสามารถรับรองคุณ ลกั ษณะเฉพาะ แบบและรายการของงานก่อสร้าง หรืองานเทคนิคเฉพาะอย่างนั้นแล้วแต่กรณีด้วย (ความในข้อนี้ แก้ไขเพิ่มเติมโดย ขอ้ 22 แหง่ ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรวี า่ ดว้ ยการพัสดุ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2539) 1) การดาเนินการ เมือ่ มีเหตทุ ่ีไม่สามารถใหผ้ รู้ บั จา้ งดาเนินการตามสัญญาได้ เชน่ จดุ ก่อสรา้ งดาเนินการกอ่ สรา้ งไม่ได้ หรือพื้นท่ีท่ีจะซ่อมแซม ตามสัญญาน้อยกว่าพน้ื ทีจ่ รงิ หรือแบบทก่ี าหนดตามสัญญาไม่สามารถดาเนินการได้ โดยการขอแก้ไขสัญญาจะเริ่มจากผู้รับจ้าง หรือ ผู้ว่าจ้างก็ได้ แล้วแตก่ รณี ซึ่งการแก้ไขสญั ญาจะต้องไม่ทาให้ทางราชการเสยี ประโยชน์ 2) เจา้ หนา้ ท่ที ี่เกยี่ วข้อง (1) คณะกรรมการตรวจการจ้าง (2) เจ้าหนา้ ทพี่ สั ดุ (3) นายช่างควบคมุ งาน (4) ผคู้ วบคุมงาน (5) ผรู้ ับจา้ ง (6) ฝา่ ยกฎหมายของหน่วย 3) เอกสารทเี่ กย่ี วขอ้ ง (1) เหตผุ ลความจาเป็น และข้อเท็จจริงทีเ่ กดิ ขน้ึ ซ่ึงเป็นเหตุให้ต้องแกไ้ ขสัญญา (2) สญั ญาพร้อมแบบรูปรายการและรายละเอียดแนบท้ายสัญญา (3) หนังสอื ขอแก้ไขสัญญาของผรู้ บั จ้าง พร้อมหลักฐานประกอบ (4) ความเหน็ ของหน่วยในการแก้ไขสัญญาว่าเป็นความจาเป็นเพ่อื ประโยชน์แก่ทางราชการ หรือไมท่ าใหท้ างราชการ เสยี ประโยชน์อย่างใด (5) บันทกึ ประจาวันของนายตรวจงาน (ผู้ควบคุมงาน) (6) รายงานของคณะกรรมการตรวจการจา้ งพรอ้ มความเหน็ (7) หากมีการสง่ั หยุดงานขอให้แนบหนงั สอื สัง่ ให้ผูร้ บั จ้างหยุดงานและหนงั สือสง่ ให้ผูร้ บั จ้างเข้าดาเนนิ การได้ตั้งแต่เมอ่ื ใด

5 - 2 การดาเนินการดา้ นเอกสารประกอบสัญญา (8) หากมีการตรวจรบั งานงวดใดแล้วก็ให้แนบรายงานการตรวจรับงานของคณะกรรมการ (9) การแก้ไขสัญญาในส่วนที่เกี่ยวกับความแข็งแรงของโครงสร้าง และของงานก่อสร้าง หรืองานเทคนิคเฉพาะอย่าง จะต้องผา่ นการรับรองจากวศิ วกร สถาปนกิ และวิศวกรผูช้ านาญการ หรือผทู้ รงคุณวฒุ ิ 2. การขอสงวนสทิ ธ์ิขยายเวลา อา้ งถึง ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และแก้ไขเพ่ิมเติม ข้อ 139 การงดหรือลดค่าปรับให้แก่ คู่สญั ญา หรอื การขยายเวลาทาการตามสญั ญาหรือขอ้ ตกลง ให้อยใู่ นอานาจของหัวหนา้ ส่วนราชการที่จะพิจารณาได้ตามจานวนวันท่ีมี เหตุเกดิ ข้ึนจริงเฉพาะกรณีดังต่อไปนี้ (1) เหตเุ กดิ จากความผดิ หรอื ความบกพร่องของสว่ นราชการ (2) เหตสุ ดุ วสิ ัย (3) เหตเุ กดิ จากพฤตกิ ารณ์อนั หนึง่ อันใดท่ีคูส่ ญั ญาไมต่ ้องรบั ผดิ ตามกฎหมาย ใหส้ ว่ นราชการระบไุ วใ้ นสญั ญากาหนดให้คู่สญั ญาต้องแจ้งเหตุดังกลา่ วให้สว่ นราชการทราบภายใน 15 วัน นับแต่เหตุนั้นได้ สิ้นสุดลง หากมิได้แจ้งภายในเวลาท่ีกาหนด คู่สัญญาจะยกมากล่าวอ้างเพ่ือขอลดหรืองดค่าปรับ หรือขอขยายเวลาในภายหลังมิได้ เว้นแตก่ รณตี าม (1) ซ่งึ มีหลกั ฐานชัดแจ้ง หรือส่วนราชการทราบดีอยู่แล้วต้ังแต่ต้น (ความในวรรคหน่ึง แก้ไขเพ่ิมเติมโดยข้อ 23 แห่ง ระเบียบสานกั นายกรฐั มนตรีวา่ ดว้ ยการพสั ดุ (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2539) 1) การดาเนินการ ในระหว่างผู้รับจ้างดาเนินงานตามสัญญาแต่มีเหตุสุดวิสัย หรือความบกพร่องของทางราชการ จนผู้รับจ้างไม่สามารถ ดาเนนิ การตามสัญญาได้ หรอื มเี หตุ จนถงึ ข้นั ผวู้ า่ จ้างตอ้ งส่งั หยดุ งาน เหตดุ ังกลา่ วผู้รับจ้างสามารถนามาขอขยายเวลาในการดาเนินการ ตามสญั ญา และจะต้องขอสงวนสิทธ์ิมายงั ผู้วา่ จ้าง ภายใน 15 วนั หลงั จากเหตนุ นั้ ส้นิ สุดลง โดยแจง้ เป็นลายลักษณ์อกั ษร 2) เจา้ หนา้ ที่ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง (1) คณะกรรมการตรวจการจา้ ง (2) เจา้ หนา้ ทีพ่ ัสดุ (3) นายชา่ งควบคมุ งาน (4) ผ้คู วบคมุ งาน (5) ผู้รบั จา้ ง (6) ฝา่ ยกฎหมายของหนว่ ย (7) ผู้แทนของหนว่ ยรบั ประโยชน์ 3) เอกสารทเ่ี กีย่ วข้อง (1) เหตุผลความจาเปน็ และข้อเท็จจรงิ ท่เี กิดขึน้ (กรณที เี่ กดิ จากความผิดหรอื ความบกพร่องของผู้วา่ จ้างเอง) (2) หนงั สือร้องขอขยายเวลาของผู้รับจ้าง เช่น จากเหตุสุดวิสัยเกิดข้ึนเป็นระยะเวลาเท่าใด และผู้รับจ้างสามารถทางาน ตามปกตหิ ลังจากเหตสุ ดุ วสิ ยั สนิ้ สุดเมอื่ ใด (3) กรณีเปน็ เหตุการณ์ทางธรรมชาติ จะตอ้ งไดร้ บั การรบั รองจากหน่วยงานท่เี กี่ยวข้อง เชน่ กรณีฝนตกจะต้องมีข้อมูลจาก กรมอุตุนิยมวิทยา (4) ความเหน็ ของหน่วยว่าเหตุทข่ี อขยายเวลาเป็นเหตสุ ดุ วิสัยและเป็นตามความผดิ หรอื ความบกพร่องของผวู้ า่ จา้ งอย่างใด (5) สญั ญาพรอ้ มแบบรปู และรายละเอยี ดแนบท้ายสญั ญา (6) บันทึกประจาวนั ของผคู้ วบคมุ งาน (7) รายงานของคณะกรรมการตรวจการกอ่ สรา้ ง พรอ้ มความเหน็ (8) หากมีการสั่งหยดุ งานให้แนบหนงั สอื ส่ังหยดุ งานเม่ือใด และหนังสือสัง่ ใหผ้ ู้รบั จา้ งให้ทางานได้ตั้งแต่เมอ่ื ใด (9) หากมกี ารตรวจรับงานงวดใดแลว้ กใ็ หแ้ นบรายงานการตรวจรับงานของคณะกรรมการ

การดาเนนิ การดา้ นเอกสารประกอบสัญญา 5 - 3 3. การบอกเลิกสญั ญา อา้ งถงึ ระเบยี บสานกั นายกรัฐมนตรวี า่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 ข้อ 137 ให้หัวหน้าส่วนราชการพิจารณาใช้สิทธิบอกเลิก สญั ญาหรอื ขอ้ ตกลง ในกรณีท่มี เี หตอุ นั เช่ือได้วา่ ผ้รู ับจา้ งไม่สามารถทางานให้แลว้ เสร็จภายในระยะเวลาท่ีกาหนดการตกลงกับคู่สัญญา ท่จี ะบอกเลกิ สัญญาหรือขอ้ ตกลง ใหห้ ัวหนา้ สว่ นราชการพิจารณาไดเ้ ฉพาะกรณีท่เี ปน็ ประโยชน์แก่ทางราชการโดยตรงหรือเพื่อแก้ไข ขอ้ เสยี เปรยี บของทางราชการในการที่จะปฏิบัติตามสัญญาหรือข้อตกลงนั้นต่อไป และ ข้อ 138 ในกรณีท่ีคู่สัญญาไม่สามารถปฏิบัติ ตามสัญญาหรือข้อตกลงได้ และจะต้องมีการปรับตามสัญญาหรือข้อตกลงน้ัน หากจานวนเงินค่าปรับจะเกินร้อยละสิบของวงเงิน ค่าพัสดุหรือค่าจ้าง ให้ส่วนราชการพิจารณาดาเนินการบอกเลิกสัญญาหรือข้อตกลง เว้นแต่คู่สัญญาจะได้ยินยอมเสียค่าปรับให้แก่ ทางราชการ โดยไม่มีเงอ่ื นไขใดๆ ทัง้ ส้นิ หวั หนา้ สว่ นราชการพิจารณาผ่อนปรนการบอกเลิกสญั ญาได้เทา่ ท่จี าเป็น 1) การดาเนินการ ผู้วา่ จ้างมีสทิ ธ์ทิ ่ีจะขอบอกเลกิ สัญญาจ้างแก่ผู้รับจา้ ง โดยพิจารณาตามระเบยี บสานักนายกฯ มีดังต่อไปน้ี.- (1) กรณีทม่ี เี หตอุ นั เชอ่ื ได้วา่ ผู้รบั จา้ งไมส่ ามารถทางานไดแ้ ล้วเสร็จภายในระยะเวลาทีก่ าหนด - กรณผี ู้รับจ้างไม่เขา้ ดาเนนิ การตามกาหนดวนั เริ่มดาเนนิ การตามสัญญา - กรณผี ู้รบั จา้ งดาเนินการล่าช้าไม่เปน็ ไปตามแผนงาน (2) กรณที ี่เปน็ ประโยชน์แกท่ างราชการโดยตรง หรอื เพอ่ื แก้ไขข้อเสียเปรยี บของทางราชการ ในการท่ีจะปฏิบัติตามสัญญา หรอื ข้อตกลงนน้ั ต่อไป - กรณผี ู้รบั จา้ งท้ิงงานหรอื ไม่ดาเนินการอย่างตอ่ เนอ่ื งเพื่อใหง้ านนน้ั แล้วเสร็จตามสัญญา (3) กรณคี ่สู ญั ญา ไม่สามารถปฏิบัติตามสัญญา หรือข้อตกลงได้ และจะต้องมีการปรับตามสัญญา หรือข้อตกลงน้ัน หาก จานวนคา่ ปรับจะเกินรอ้ ยละ 10 ของวงเงนิ คา่ พัสดุหรอื คา่ จา้ ง ให้สว่ นราชการพิจารณาดาเนนิ การบอกเลิกสญั ญา หรือขอ้ ตกลง เว้นแต่ คู่สญั ญาจะไดย้ นิ ยอมเสียค่าปรับให้แกท่ างราชการ โดยไม่มีเง่ือนไขใดๆ ทั้งสิ้น ให้หัวหน้าส่วนราชการพิจารณาผ่อนปรนการบอกเลิก สญั ญาไดเ้ ท่าท่จี าเป็น 2) เจา้ หนา้ ที่ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง (1) คณะกรรมการตรวจการจ้าง (2) เจ้าหน้าท่พี ัสดุ (3) นายชา่ งควบคุมงาน (4) ผูค้ วบคุมงาน (5) ผรู้ บั จ้าง (6) ฝา่ ยกฎหมายของหน่วย 3) เอกสารทเ่ี กย่ี วขอ้ ง (1) หนังสือเร่งรัดไมด่ าเนนิ การจากผู้วา่ จ้าง (2) บันทกึ ประจาวันของผู้ควบคุมงาน (3) ความเหน็ ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง (4) ความเหน็ ของเจ้าหน้าที่พสั ดแุ ละฝ่ายกฎหมาย นอกจากการดาเนนิ การตามระเบยี บขา้ งต้นแลว้ กองทัพบกยังมีระเบียบกองทัพบก ว่าด้วยการทาสัญญาและการบอกเลิก สัญญา พ.ศ. 2536 ใชบ้ งั คบั โดยสาระทส่ี าคัญ ดังนี้ 1) การทาสญั ญาซ้อื ขายหรอื จ้าง (1) ให้ทาสญั ญาเป็นหนงั สอื ตามตัวอย่างท้ายระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ เว้นแต่การซ้ือหรือการจ้างซึ่ง อยูใ่ นหลักเกณฑ์ ซง่ึ ระเบยี บสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ กาหนดให้ทาข้อตกลงเป็นหนังสือไว้ต่อกันได้ ให้อยู่ในดุลพินิจของ ผ้บู งั คับหน่วยทจ่ี ะทาขอ้ ตกลงเป็นหนงั สือไวต้ อ่ กันได้

5 - 4 การดาเนินการดา้ นเอกสารประกอบสญั ญา (2) การทาสัญญาซื้อขายหรือจ้าง ซึ่งระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การพัสดุ กาหนดให้ต้องส่งร่างสัญญาให้กรม อยั การพจิ ารณาก่อนนั้น ให้หน่วยส่งร่างสัญญาไปยังกองพระธรรมนูญ กรมสารบรรณทหารบก เพ่ือตรวจสอบและเสนอกรมอัยการ พจิ ารณาต่อไป (3) ใหน้ ายทหารพระธรรมนูญหรอื อยั การทหารของหน่วยท่ีดาเนินการจัดซ้ือหรือจ้าง ตรวจสอบร่างสัญญาให้ถูกต้องตาม กฎหมาย มติคณะรัฐมนตรี ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ เง่ือนไขท่ีได้รับอนุมัติให้จัดซ้ือหรือจ้าง รวมทั้งระเบียบ แบบธรรมเนยี มทเี่ กีย่ วขอ้ ง (4) ในระหว่างการร่างสัญญาซ้ือขายหรือจ้าง หากหน่วยเห็นว่าอาจมีปัญหาด้านกฎหมายหรือด้านการเงิน ให้หน่วยเชิญ นายทหารพระธรรมนญู หรืออยั การทหารแลว้ แตก่ รณี และเจ้าหนา้ ที่การเงนิ กับคูส่ ญั ญามาประชมุ พิจารณาตกลง แล้วบันทึกไว้เป็นลาย ลักษณ์อักษร (5) การขดี ฆา่ ตก และเพ่ิมเติมข้อความในสัญญา ตลอดจนเอกสารท่ีเก่ียวเน่ืองกับสัญญา จะต้องมีลายมือชื่อของคู่สัญญา กากบั ไว้ทกุ แหง่ 2) ให้ผบู้ ังคบั หนว่ ยที่ดาเนนิ การจดั ซ้อื หรอื จา้ ง มีอานาจลงนามในสญั ญา ซ้ือขายหรือจ้างได้โดยไม่จากัดวงเงิน หลังจากได้รับ อนมุ ัติให้จัดซอื้ หรือจ้างจากผ้มู ีอานาจอนุมตั สิ ่ังซ้ือสง่ั จ้างแล้ว เว้นแต่กรณีจัดซ้ือหรือจ้างโดยวิธีตกลงราคา ให้ผู้ดารงตาแหน่ง หัวหน้า เจา้ หน้าทีพ่ ัสดุของหนว่ ยหรอื เทียบเทา่ ลงนามในใบสั่งซ้อื สงั่ จ้างในฐานะผซู้ ้อื หรือผู้จ้างได้ หลังจากได้รบั อนุมัติส่ังซอ้ื ส่งั จา้ งแล้ว 3) ให้ผูบ้ ังคบั บัญชาชั้นผู้บัญชาการกองพลขนึ้ ไป มอี านาจลงนามในสัญญาเชา่ และสญั ญาแลกเปล่ียนพสั ดุได้ 4) ให้ผูบ้ ังคบั หนว่ ยท่ีมีอานาจลงนามในสัญญาตามระเบยี บนี้ เปน็ ผมู้ ีอานาจในการอนมุ ัติ และลงนามในหนังสือยืนยันการโอน สทิ ธเิ รยี กรอ้ งไปยงั ผู้ขายหรอื ผู้รับจา้ ง หรอื ลงนามรับทราบหนังสือบอกกล่าวการโอนสทิ ธิเรยี กร้องได้ 5) ในการทาสัญญา ให้ผู้บังคับหน่วยท่ีมีอานาจลงนามในสัญญาตามข้อ 5 และข้อ 6 ระบุในสัญญาว่าเป็นสัญญาท่ีทาขึ้น ระหว่าง \"กองทพั บก โดย (ยศ ชอื่ -นามสกุลตาแหน่ง) ทาการโดยได้รับมอบหมายจากผู้บัญชาการทหารบก\" ส่วนการลงนามในสัญญา ให้ลงเฉพาะ ยศ ชื่อ-นามสกุล ของผูม้ อี านาจลงนามในสัญญา 6) ถ้าตาแหน่งผู้บังคบั หนว่ ยท่มี ีอานาจลงนามในสญั ญา ตามขอ้ 5 และข้อ 6 ว่างลง หรอื ผู้ดารงตาแหนง่ ผ้บู งั คบั หน่วยดังกล่าว ไมส่ ามารถปฏบิ ตั หิ น้าท่ไี ดเ้ ปน็ ครั้งคราว และยังมิได้แต่งตั้งข้าราชการผู้ใดรักษาราชการ หรือรักษาราชการแทนให้ผู้สั่งการแทนตาม ขอ้ บงั คับกระทรวงกลาโหม วา่ ดว้ ยการส่ังการและประชาสัมพันธ์ลงนามในสัญญาได้ โดยระบุในสัญญาว่าเป็นสัญญาที่ทาขึ้นระหว่าง \"กองทพั บก โดย (ยศ ชอื่ -สกุลตาแหนง่ ผู้สงั่ การแทน) ทาการแทน (ตาแหน่งผู้บงั คบั หน่วย) ทาการโดยไดร้ บั มอบหมายจากผู้บญั ชาการ ทหารบก\" ส่วนการลงนามในสัญญา ให้ลงเฉพาะ ยศ ช่อื -สกลุ ของผูส้ ั่งการแทน 7) ใหผ้ บู้ งั คับหนว่ ยทม่ี อี านาจลงนามในสัญญาตามระเบียบน้ี เป็นผู้มีอานาจแจ้งการปรับและแจ้งสงวนสิทธิการเรียกค่าปรับ ตามสญั ญาซ้อื ขายหรือสญั ญาจ้าง ไปยังผขู้ ายหรอื ผู้รับจ้าง โดยลงนาม \"ทาการแทนผ้บู ญั ชาการทหารบก\" 8) ใหผ้ ้บู ังคับหน่วยซ่ึงเปน็ ผ้ลู งนามในสญั ญาตามระเบียบน้ี เป็นผู้มีอานาจ บอกเลิกสัญญาท่ีได้ลงนามไปแล้วได้ และรายงาน การบอกเลกิ สญั ญาให้กองทพั บกทราบโดยดว่ น สัญญาใดท่ีผู้บัญชาการทหารบกหรือผู้ได้รับมอบหมายให้ส่ังการแทนผู้บัญชาการทหารบกเป็นผู้ลงนาม ในการบอกเลิกสัญญา ให้หนว่ ยรายงานกองทัพบกเพ่อื บอกเลกิ สัญญา หน่วยใดมปี ญั หาเก่ยี วกับการบอกเลกิ สญั ญา ใหห้ ารือกองทพั บกก่อน 4. การป้องกันและแนวทางการยตุ ิขอ้ โตแ้ ย้ง 1) แนวทางการทางานเพ่ือหลกี เล่ียงข้อโต้แยง้ 2) การประนปี ระนอม 3) การตั้งอนญุ าโตตลุ าการ

การดาเนนิ การดา้ นเอกสารประกอบสัญญา 5 - 5 1) แนวทางการทางานเพือ่ หลกี เลี่ยงข้อโต้แย้ง สาเหตตุ า่ งๆ ท่สี าคญั ทที่ าให้เกิดการโต้แยง้ การขจัดข้อโต้แย้งท่ีดีที่สุด คือ การเลือกวิธีทางานท่ีหลีกเลี่ยงมิให้มีข้อโต้แย้งเกิดข้ึนต้ังแต่ เบ้ืองต้น การหลีกเลี่ยงนี้มิใช่การยอมเสียเปรียบให้กับอีกฝ่ายหนึ่ง แต่หมายถึง การทาความเข้าใจถึงวิธีการทางานท่ีถูกต้องและ เหมาะสมกับสภาพของงาน การอา่ นและศกึ ษาเอกสารสัญญาจ้างทุกฉบับให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ต้ังแต่ก่อนเริ่มงานก่อสร้างจะเป็นวิธีที่ หลีกเลี่ยงมิให้เกิดข้อโต้แย้งที่ดีวิธีหน่ึงและเม่ือเริ่มทางานก่อสร้างแล้ว การได้รู้จักและเข้าใจถึงข้ันตอนของการทางาน รวมถึง กระบวนการติดต่อประสานงานระหว่างผู้รับจ้างกับเจ้าของงานหรือผู้แทนท่ีปฏิบัติงานร่วมกันในสนาม ก็เป็นเร่ืองท่ีสาคัญมาก ดังตัวอยา่ งวิธีการทางานท่ีควรปฏบิ ัติ เพ่ือช่วยขจดั หรือหลีกเลี่ยงขอ้ โต้แยง้ ท่ีจะกล่าวถงึ ตอ่ ไป (1) การสัง่ แกไ้ ขงาน ถ้าฝา่ ยผ้คู วบคมุ งานตรวจงานพูดวา่ ช่างทางานไมถ่ กู ต้อง หรือทางานไม่ตรงตามแบบรูปหรือรายการ ก่อสรา้ ง ควรแจ้งใหผ้ ูแ้ ทนฝ่ายผ้รู บั จ้างทราบโดยทนั ทเี พ่อื แก้ไขงาน มิใช่ปลอ่ ยให้งานส่วนน้ันทาผ่านไปจนเสร็จจึงสั่งแก้ไข ซึ่งเป็นเหตุ ให้เกดิ การโต้แยง้ และอาจถกู สนั นิษฐานว่าเป็นการกลัน่ แกลง้ ผรู้ ับจา้ ง การแก้ไขงานขณะท่กี าลังปฏบิ ตั ิอยนู่ ้นั ทาได้ง่าย ดีกว่าสั่งให้แก้ไข เมอ่ื งานได้ทาคืบหนา้ ไปมากหรือเกือบจะเสรจ็ แล้ว ซง่ึ จะตอ้ งร้ือและทาใหม่ ทาใหต้ ้องเสียทง้ั เวลาและเงิน ดงั เช่นกรณโี ต้แยง้ มีว่า ผรู้ ับจ้างทางานหล่อคอนกรตี คานคอดนิ โดยไมม่ แี บบหลอ่ ท้องคานปรากฏว่าคานที่หลอ่ เสร็จแล้ว ไม่ มคี อนกรีตหุม้ เหลก็ เสรมิ ลา่ งของคานบางส่วน และเน้ือคอนกรีตเป็นโพรงเนื่องจากน้าปูนไหลซึมลงดินเจ้าของงานไม่ยอมรับงวดงาน เพราะเห็นว่าผรู้ ับจางทางานไมถ่ กู ต้องตามหลักวิชาและตามท่กี าหนดในรายการก่อสร้างในท่ีสุดผู้รับจ้างต้องยอมแก้ไขทุบคานทิ้งและ หลอ่ คานคอดินข้นึ ใหม่ ข้อโตแ้ ย้งดังตวั อยา่ งนจี้ ะไม่เกิดข้ึน ถ้าผู้ควบคุมงานจะได้ส่ังแก้ไขงานตั้งแต่ข้ันตอนงานวางเหล็กเสริมคาน หรือก่อนท่ีจะ หล่อคานคอนกรตี และเช่นเดยี วกนั ถ้าผู้รบั จา้ งจะทางานให้ถูกต้องตามหลักวิชาและตามรายการที่กาหนดตั้งแต่ต้น มิใช่เลือกทางาน ดว้ ยวธิ ีที่ง่ายหรือใช้ตน้ ทุนต่าเปน็ เกณฑ์ (2) การขอคาชแ้ี จงรายละเอียดงานทจี่ ะปฏิบัติ บางกรณผี ้รู ับจ้างอาจพบข้อสงสัยเรื่องตัวเลข ภาพของแบบรูป ข้อความ อธิบายรายการที่ไม่ชัดเจน หรือไม่สามารถจะปฏิบัติตามแบบรูปหรือรายการละเอียดตามท่ีกาหนดไว้ได้ควรได้นาเรื่องหารือกับ ผูค้ วบคมุ งานกอ่ สร้างเพอ่ื ขอคาแนะนาชแ้ี จงถึงวธิ ีการปฏบิ ัตทิ ี่ถกู ต้องก่อนทีจ่ ะลงมือปฏิบตั กิ ารและหากผู้ควบคุมงานตัดสินแนววิธีการ ปฏิบัตไิ มไ่ ด้กอ็ าจเสนอเรื่องให้สถาปนิก / วิศวกรผู้ออกแบบพิจารณาในขั้นต่อไปถ้าปฏิบัติไปก่อนและไม่ถูกต้องอาจจะต้องเสียเวลา แก้ไขงานใหม่ ดังตัวอย่างเช่น ผู้รับจ้างงานได้ตรวจพบว่าช่องบานประตูบานหน่ึงกว้าง 0.90 ม. สูง 2 ม. จะติดต้ังตรงตาแหน่งตาม รูปแบบไม่ได้ ถ้าจะติดตั้งให้ได้ ต้องลดความสูงของตัวบานลงเหลือ 1.90 ม. สาเหตุมาจากคาน ค.ส.ล. รับพ้ืนมีความลึกมากกว่า ทีก่ าหนดไวใ้ นแบบสถาปตั ยกรรม จึงไดแ้ จ้งให้สถาปนิก/วิศวกรพิจารณาแก้ไขก่อนที่จะต้ังแบบหล่อคานดังกล่าว วิศวกรจึงออกแบบ คานใหมใ่ หม้ คี วามลกึ น้อยลง เพอ่ื ให้ติดตั้งประตูได้ จากตวั อยา่ งนี้ ถ้าผู้รบั จ้างหล่อคานไปก่อน แล้วมาตรวจพบภายหลังว่าติดต้ังวงกบ ประตูไมไ่ ด้ การแกไ้ ขเร่อื งน้ยี อ่ มประสบปัญหาและยุ่งยากมากกว่า และอาจต้องใช้เวลาแก้ไขยาวนานกว่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะต้อง พจิ ารณากันก่อนวา่ ความผิดพลาดของความสงู ของประตนู น้ั เกดิ จากฝ่ายใด และจดุ ท่ีต้องแกไ้ ขนั้นอย่ทู ่ีตาแหนง่ สาคญั มากน้อยเพียงใด ถา้ เปน็ ความผิดพลาดของผอู้ อกแบบหรือฝา่ ยผู้ว่าจ้างการแก้ไขคงไม่ยากนัก แต่ถ้าเป็นความบกพร่องของผู้รับจ้างท่ีวัดระดับความสูง ของคานผดิ จากแบบ การแกไ้ ขอาจต้องใช้ทั้งเวลาและเงนิ (3) การขอความเห็นชอบการใชว้ ัสดุและอปุ กรณป์ ระกอบอาคาร วัสดุสาเรจ็ รูปหรอื อุปกรณป์ ระกอบอาคารท่มี กี าหนดไว้ ในรายการ ก่อนการใช้หรือการติดต้ังผู้รับจ้างควรนาเสนอให้สถาปนิก/วิศวกรได้ตรวจสอบให้ความเห็นชอบก่อนนาใช้งาน เพื่อ หลกี เลย่ี งการโต้แยง้ ในเร่ืองของการใช้วสั ดุผิดรายการ ผิดขนาด หรือมีคุณภาพไม่ถูกต้อง เพราะถ้าติดต้ังหรือใช้ไปแล้วโดยที่ไม่ได้รับ ความเห็นชอบกอ่ น ถ้าฝ่ายเจา้ ของงานตรวจสอบแลว้ และไม่เห็นชอบให้ใช้ กจ็ ะต้องร้อื ออกหรือจัดทาขน้ึ ใหมซ่ ง่ึ เปน็ เรอ่ื งหนง่ึ ท่ีมักมีการ โตแ้ ยง้ กนั อยู่เสมอ ถ้าเป็นการส่งงานงวดสุดท้ายและเป็นวันกาหนดเสร็จงานตามสัญญาพอดี การไม่ยอมรับวัสดุ-อุปกรณ์บางชนิดที่ ตดิ ตั้งในท่ีแลว้ อาจถือวา่ งานยงั ไมเ่ สรจ็ ตามสญั ญาหรอื อย่างน้อยกท็ าใหก้ ารรบั งวดงานต้องเล่ือนออกไป เพื่อใหแ้ กไ้ ขงานใหถ้ กู ตอ้ ง ดงั กรณีตวั อยา่ ง ผู้รบั จา้ งขอเปลยี่ นผลิตภัณฑป์ ระกอบอาคารจากที่รายการประกอบแบบกอ่ สร้างไดก้ าหนดชอ่ื ผลิตภัณฑ์ไว้ 3 ยี่ห้อ ให้ผรู้ ับจา้ งเลือกใช้ ผูร้ บั จ้างขอใช้ผลิตภัณฑ์ยี่ห้ออ่ืนที่ต่างจากรายการที่กาหนด กรณีดังกล่าวนี้ถือว่าเป็นการขอเปล่ียนแปลง

5 - 6 การดาเนนิ การด้านเอกสารประกอบสญั ญา รายการ ถ้าเปน็ งานของสว่ นราชการคณะกรรมการตรวจการจ้างหรือสถาปนิก/วิศวกรผู้ออกแบบไม่สามารถเปลี่ยนแปลงตามท่ีขอได้ จะต้องเสนอเรื่องถงึ หัวหน้าส่วนราชการหรือผวู้ ่าจา้ งเปน็ ผูอ้ นมุ ัติ สาหรบั กระบวนการดาเนนิ การดังกลา่ วต้องใช้เวลายาวนานพอสมควร เป็นเหตใุ ห้ผ้รู บั จ้างไม่สามารถตดิ ตัง้ ผลิตภัณฑ์ประกอบอาคารดงั กล่าวได้ทันเวลา ต้องถูกเรยี กค่าปรบั ฐานก่อสร้างเกินเวลาที่กาหนดใน สญั ญา ผู้รบั จา้ งอ้างวา่ เปน็ ความบกพร่องของฝ่ายผูว้ า่ จ้างทดี่ าเนนิ การขอเปลยี่ นแปลงรายการลา่ ชา้ ควรขยายเวลาทาการให้เนื่องจาก ความลา่ ชา้ ดงั กล่าว จงึ เปน็ กรณีโต้แยง้ ขนึ้ กรณนี ้ไี มค่ วรจะเป็นกรณีโต้แย้งได้ ถ้าผู้รับจ้างได้ทราบและเข้าใจถึงกระบวนการดาเนินงานเกี่ยวกับการขอเปลี่ยนแปลง รายการของงานกอ่ สรา้ งส่วนราชการ และเช่นเดียวกนั ทางฝ่ายผวู้ า่ จ้างก็ควรได้ชี้แจงเก่ียวกับวิธีการของการขอเปลี่ยนแปลงรายการน้ี ตั้งแตเ่ ริม่ ต้นงานกอ่ สร้าง เพราะเป็นกรณีท่ีมีอยู่เสมอในระหว่างการก่อสร้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งกรณีการขอเปลี่ยนแปลงรายการนั้น มใิ ชว่ า่ จะได้รับความเห็นชอบใหเ้ ปล่ยี นแปลงได้เสมอไป จะอย่ทู ี่เหตผุ ลและความจาเปน็ ของผู้รบั จ้างอยา่ งไรก็ตามถา้ ได้ดาเนินการอย่าง ถูกต้องกจ็ ะช่วยหลกี เล่ยี งขอ้ โต้แย้งระหวา่ งคสู่ ัญญาได้ (4) การบันทกึ การปฏิบตั งิ านประจาวัน ไมว่ ่าจะเปน็ ฝา่ ยเจ้าของงานหรอื ฝา่ ยผูร้ ับจา้ งงานก่อสรา้ งกต็ าม ควรต้องจดบันทึก ผลการปฏิบัติงานไว้เป็นประจาวัน ถึงเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนในระหว่างการก่อสร้าง เป็นต้นว่า จานวนช่างแรงงานต่างๆ ที่ปฏิบัติงาน การขนสง่ วสั ดุเข้าในบริเวณงาน ปญั หาข้อขดั ขอ้ งระหวา่ งงาน ผลงานทปี่ ฏบิ ัติไดใ้ นช่วงวันหนงึ่ และสภาพของดินฟ้าอากาศ ถ้าต้องหยุด งานให้ระบุถงึ สาเหตุ หรอื แมแ้ ต่การตดิ ตอ่ ทางโทรศัพท์ท่ีเก่ียวข้องกับงานก่อสร้างก็ควรบันทึกด้วย การบันทึกนี้ต้องบันทึกทุกวันตาม เหตกุ ารณท์ ี่เป็นจริงเม่ือส้ินสุดเวลาทางานของแต่ละวัน มิใช่เก็บรวมไว้หลายๆ วันแล้วใช้วิธีบันทึกย้อนหลัง สมุดบันทึกงานจะต้องมี หมายเลขหน้ากากบั เรียงกัน ห้ามฉีกแก้หมายเลขหนา้ ถ้าไมใ่ ชห้ นา้ ใดกข็ ดี ฆา่ แลว้ ลงนามกากับ เมือ่ บนั ทกึ การปฏิบัติงานส้ินสุดลงแต่ละ วนั ให้ลงนามผูบ้ ันทกึ กากบั ไว้ทกุ ครั้ง บันทึกนี้เปน็ เอกสารท่ีใช้ประโยชนไ์ ดห้ ลายประการ เช่น การติดตามความคืบหน้าของงาน ปัญหา อุปสรรคของการดาเนินงานก่อสร้างใช้เป็นเอกสารอ้างอิงในกรณีท่ีมีข้อขัดแย้งทางด้านการปฏิบัติงาน การขอขยายเวลาทาการของ ผู้รับจ้างงานซ่ึงมกั จะอ้างถึงเหตุการณ์ต่างๆ ท่ีเป็นอุปสรรคต่อการก่อสร้าง เช่น ฝนตกหนัก น้าท่วมบริเวณท่ีก่อสร้างหรือใช้เส้นทาง คมนาคมเพอื่ ขนส่งวัสดุสงิ่ ของไมไ่ ดเ้ หมอื นเวลาปกติ เป็นเหตุใหง้ านตอ้ งล่าช้ากว่ากาหนด ในเร่ืองน้ีมักเป็นต้นเหตุของข้อโต้แย้งกันอยู่ เสมอ หรอื ต้องใช้เวลาพจิ ารณาการขอขยายเวลาทาการกันคอ่ นขา้ งยาวนาน เพราะจะมเี รอื่ งของเงินค่าปรับเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย ถ้าได้ มกี ารบันทึกเหตุการณน์ ้ีตา่ งๆ ที่เกดิ ขึ้นไวเ้ ปน็ ประจาวัน จะใชเ้ ป็นเอกสารอ้างองิ ทีด่ ีชว่ ยใหก้ ารพจิ ารณาเร่ืองเหล่านี้ได้ไม่ชักช้าฝ่ายใดท่ี มีการจดบันทึกไว้ละเอียดเป็นประจาวันไม่มีรอยแก้ไขใดๆ ย่อมเป็นฝ่ายได้เปรียบเม่ือต้องใช้เอกสารประกอบการพิจารณาหาข้อยุติ ทถี่ กู ตอ้ งและเปน็ ธรรมต่อคสู่ ัญญาตอ่ กรณีขอ้ โต้แย้งท่เี กิดข้ึน (5) การบันทึกส่ังการและการขอคาวินิจฉัย การส่ังแก้ไขงานในเรื่องต่างๆ ตามข้อ (1) ควรทาเป็นบันทึกสั่งการและลง บนั ทึกปฏบิ ตั งิ านประจาวันไว้เป็นหลักฐาน ถ้าผู้รับจ้างงานไม่ปฏิบัติตาม ควรดาเนินการข้ันต่อไป เช่น เม่ือมีการสั่งหยุดงานแล้วควร รายงานให้กรรมการตรวจการจ้าง หรือเจา้ ของงานเพอื่ พจิ ารณาต่อไป และในทานองเดยี วกนั ทางฝ่ายผู้รับจ้างต้องการหารือหรือขอคา วินจิ ฉัยในการปฏบิ ัตทิ ีถ่ ูกต้อง ดงั เรอื่ งตามข้อ (2) หรอื (3) ก็ดี ก็ควรทาเป็นบันทึกด้วยเช่นกัน การทาบันทึกนี้ในทางปฏิบัติมักไม่นิยม ใช้ปฏิบตั กิ ัน เพราะเหน็ ว่าเป็นการเสียเวลา ถ้าเป็นเร่ืองเล็กน้อยดูค่อนข้างเป็นการจับผิดกัน เร่ืองน้ีก็อยู่ในดุลยพินิจของผู้แทนท้ังสอง ฝา่ ย เพราะบางเรอื่ งกอ็ าจสั่งหรอื ถามกนั ดว้ ยวาจาได้ แต่บางเรื่องก็ควรมีบันทึกไว้ เช่น มีการแจ้งเตือนในเร่ืองเดียวกันหลายคร้ังแล้ว เพราะจะใช้เปน็ หลกั ฐานได้เม่อื เกดิ ขอ้ โตแ้ ย้งข้นึ การส่งั การใดๆ ของฝ่ายเจ้าของงานท่ีผู้รับจ้างจะต้องปฏิบัติตามนั้น ไม่ทาให้ผู้รับจ้าง พน้ ความรบั ผดิ ชอบในสว่ นงานท่ที านน้ั ถ้าเกดิ การเสยี หายในภายหลง จงึ มีขอ้ พึงปฏิบตั อิ ยู่ว่าถ้าผู้รับจ้างพิจารณาเห็นว่าการสั่งการของ ฝา่ ยเจ้าของงานน้นั ไมถ่ ูกต้อง เช่น อาจมผี ลให้ส่วนของอาคารท่กี อ่ สร้างนั้นเสยี หายได้ ควรทาบันทึกชี้แจงแย้งคาส่ังการน้ัน ถ้าเจ้าของ งานยังคงยืนยนั ตามคาสงั่ การเดมิ ถ้ามีความเสียหายเกดิ ข้ึนผู้รบั จา้ งจึงจะพน้ ความรับผดิ ชอบจากการกระทาตามคาส่งั นน้ั (6) การประชุมติดตามผลการปฏบิ ัติงาน ในระหวา่ งการก่อสร้างโดยปกติฝ่ายผู้ว่าจ้างหรือผู้แทนกับผู้รับจ้างงานก่อสร้าง จะมีการประชมุ รว่ มกันอยา่ งน้อยเดอื นละหน่งึ ครงั้ หรอื มากกวา่ หนงึ่ คร้ัง ถา้ งานกอ่ สรา้ งน้นั อยู่ในระหว่างการเร่งงาน หรือเม่ือผู้รับจ้าง งานชว่ งหลายงานเข้ามาทางานพร้อมกัน ซ่ึงจาเป็นต้องมีการประสานงานกันอย่างใกล้ชิดการประชุมนี้นอกจากจะเป็นเร่ืองของการ ตดิ ตามความคบื หน้าของฝา่ ยเจ้าของงานเองแล้ว ยงั เป็นช่วงเวลาท่ีใช้สาหรับคล่คี ลายปัญหาต่างๆ ของทง้ั ฝา่ ยผ้วู ่าจ้างและฝ่ายผู้รับจ้าง

การดาเนนิ การด้านเอกสารประกอบสัญญา 5 - 7 ไปพรอ้ มๆ กัน เพราะทางสองฝา่ ยสามารถนาปัญหาข้อขัดขอ้ งของแต่ละฝา่ ยทีอ่ าจเปน็ เหตุใหง้ านตดิ ขัดลา่ ชา้ ไม่ดาเนินงานไปตามปกติ อยา่ งที่ควรเป็น มาแจง้ ให้ที่ประชมุ ได้รบั ทราบเพอื่ หาวิธีแก้ไข ก่อนที่จะขยายกลายเป็นข้อโต้แยง้ ในชน้ั ต่อไป การประชุมร่วมกันจึงเป็น แนวทางหน่งึ ทจี่ ะช่วยลดข้อโตแ้ ยง้ หรือขจดั ขอ้ โตแ้ ย้งได้ดี การโตแ้ ยง้ ในเรื่องต่างๆ ดังที่กล่าวมาแล้ว ถ้าได้นามาเสนอเข้าสู่ท่ีประชุมจะ เข้าใจเรอ่ื งได้ง่ายกวา่ วิธที าเป็นหนังสือโต้ตอบกนั ไปมา และบนั ทกึ ข้อตกลงไว้เป็นรายงานการประชมุ ซึ่งจะใชเ้ ปน็ เอกสารอา้ งอิงได้ 2) การประนีประนอม เมื่อมีข้อโต้แย้งเกิดข้ึน ข้ันต้นควรได้พิจารณาถึงมูลเหตุท่ีมาของข้อโต้แย้งนั้น ว่าเกิดจากสาเหตุใด เป็นข้อบกพร่องของ ฝ่ายใด และเรอื่ งที่เกิดขน้ึ น้ันมีข้อกาหนดในสัญญาจ้างไว้สาหรับประกอบการพิจารณาอย่างไร เช่น ในสัญญาจ้างมีข้อกาหนดระบุไว้ ชดั เจนต่อปญั หาหรือข้อโต้แยง้ ทีเ่ กิดข้นึ และคู่กรณีเข้าใจถึงปัญหาน้ันตรงกัน ก็อาจยุติข้อโต้แย้งลงได้ง่าย โดยท่ีฝ่ายหนึ่งอาจยินยอม ปฏิบตั ติ ามขอ้ เสนอของอีกฝ่ายหน่ึง ในขณะเดียวกันก็ได้รับผลตอบแทนบางส่ิงบางอย่างจากอีกฝ่ายตามข้อเสนอของตน ซ่ึงเป็นการ ผอ่ นปรนซึ่งกนั และกัน ถ้าขอ้ โตแ้ ยง้ กันเกิดขึ้นจากข้อบกพร่องหรือเกิดจากข้อผิดพลาดของท้ังสองฝ่าย มีผลได้ผลเสียร่วมกันอยู่อาจต้องใช้เวลา พจิ ารณาพอสมควรเพอ่ื มใิ ห้มกี ารไดเ้ ปรยี บเสยี เปรยี บแกก่ ัน วิธีหน่ึงทใี่ ช้ยุตขิ อ้ โต้แยง้ ได้ดี คือ การประนีประนอม ซ่ึงควรกระทาก่อนที่ จะยกเป็นขอ้ พพิ าทถึงข้นั ตั้งอนญุ าโตตุลาการหรือฟ้องเป็นคดีถึงศาล หลักการที่สาคัญของการประนีประนอม คือ คู่กรณีท้ังสองฝ่าย ควรได้รบั ประโยชนต์ อบแทนรว่ มกันจากผลของขอ้ ยตุ นิ ัน้ ต่างยอมผอ่ นผันบางสิ่งบางอย่างให้แก่กัน ไม่มีฝ่ายหน่ึงฝ่ายใดเสียเปรียบจน ยอมรับไม่ได้ ประโยชน์ตอบแทนท่กี ลา่ วถึงบางกรณีจะคิดเป็นตัวเงินไม่ได้ แต่อาจเป็นรูปลักษณะของการให้บริการหรือให้ได้รับสิท ธิ บางอย่าง และเปน็ ท่ียอมรบั และเขา้ ใจรว่ มกันวา่ ผลท่ไี ด้รับจากการประนปี ระนอมเพื่อยุติขอ้ โต้แยง้ นเ้ี ป็นประโยชน์แก่ท้งั สองฝ่าย การประนปี ระนอมอาจแยกออกได้เปน็ 2 ลกั ษณะ คอื การประนีประนอมที่มีลักษณะอย่างไม่เป็นทางการกับท่ีมีลักษณะ อยา่ งเปน็ ทางการ (1) การประนีประนอมอย่างไม่เป็นทางการ โดยปกติเม่ือมีข้อโต้แย้งเกิดข้ึนในระหว่างการก่อสร้าง คู่กรณีอาจเป็นฝ่าย ผวู้ า่ จ้างกบั ฝ่ายผรู้ บั จา้ งมคี วามเห็นไมต่ รงกันในบางเรื่องและก่อตัวข้ึนเป็นข้อโต้แย้ง บางเรื่องก็ตกลงกันได้ง่ายบางเร่ืองก็ต้องใช้เวลา พจิ ารณายาวนานพอสมควรระยะเวลาของการพิจารณาส่วนมากจะอยู่ที่ประเด็นของข้อโต้แย้ง ดังเช่น ผู้รับจ้างต้องการแก้ไขรายการ ก่อสรา้ งเก่ยี วกับการใช้วสั ดุก่อสร้างบางชนิด ผวู้ า่ จ้างยืนยันใหใ้ ชต้ รงตามที่รายการกอ่ สร้างกาหนด ผ้รู ับจ้างกย็ นื ยนั ว่าไม่สามารถจัดหา ได้ ถ้าเป็นงานทีต่ อ้ งใช้วสั ดนุ น้ั อยู่พอดี งานนั้นจาเป็นตอ้ งหยุดรอจนกวา่ ขอ้ โต้แยง้ น้ีจะยุติลง ซ่ึงการจะยุติลงได้จะอยู่ที่เหตุผลที่ท้ังสอง ฝ่ายจะตอ้ งยกขน้ึ มาสนับสนนุ ความเห็นของตนเอง หลักการของวิธกี ารประนปี ระนอม คือ ไม่ใหฝ้ า่ ยหน่งึ ฝ่ายใดตอ้ งเสียประโยชน์ หรือ ให้ได้รับประโยชน์ด้วยกันทั้งสองฝ่าย วิธีน้ีตัวแทนของคู่กรณีที่มีอานาจตัดสินใจจะต้องเป็นผู้พิจารณาถึงข้อยุติต่อกรณีโต้แย้งน้ัน โดยตรง ดังตัวอย่างการขอแก้ไขรายการก่อสร้างของผู้รับจ้าง กล่าวคือ ผู้รับจ้างแจ้งให้ผู้ว่าจ้างทราบว่าตามแบบรูปและรายการ ก่อสรา้ งทีก่ าหนดให้ใชเ้ สาเข็มรับฐานราก เป็นเสาเข็มคอนกรีตอดั แรงขนาดหน้าตัด 0.22 ม. ยาว 21 ม. ไม่สามารถปฏิบัติได้ โดยอ้าง ว่าบริเวณสถานทก่ี ่อสรา้ งคับแคบ เปน็ อปุ สรรคตอ่ การเคลือ่ นย้ายปัน้ จนั่ ตอกเข็มและการดงึ ลากเสาเข็มเข้าตามตาแหน่งที่จะตอก และ อาจเกิดอนั ตรายต่ออาคารข้างเคียงในบรเิ วณน้ันได้ จึงขอเปลี่ยนใชเ้ สาเข็มตามขนาดที่กาหนดจากยาวท่อนเดียวตลอดเป็นแบบเสาเข็ม ส้ันสองท่อนต่อกัน ผู้ควบคุมงานก่อสร้างพิจารณาแล้วเห็นว่าการตอกเสาเข็มยาวมีความยากต่อการทางานจริง จึงเสนอวิศวกร ผู้ออกแบบพิจารณาด้านความมัน่ คงแขง็ แรงและปลอดภัย วิศวกรให้ความเห็นว่า เนื่องจากเหตุจาเป็นด้านการทางานดังกล่าว ถ้าจะ เปลยี่ นใชเ้ สาเข็มแบบสองท่อนตอ่ กนั สามารถกระทาได้โดยยังรับนา้ หนกั ของฐานรากไดอ้ ย่างมัน่ คงปลอดภยั แตเ่ นอ่ื งจากการใช้เสาเข็ม สองทอ่ นตอ่ กัน ราคาคา่ วัสดุและคา่ ตอกจะถกู กวา่ ใชเ้ ขม็ ยาวตลอดท่อนเดียว ผู้รับจ้างจะต้องคืนเงินส่วนของราคาเสาเข็มสั้นท่ีต่ากว่า คนื ให้แกผ่ วู้ า่ จ้าง แต่ผ้วู ่าจ้างไม่ตอ้ งการรบั เงินสว่ นต่างนค้ี นื โดยใหผ้ ูร้ ับจ้างเพิ่มงานปูกระเบ้ืองพื้นห้องชั้นล่างให้เป็นการชดเชย ซึ่งค่า ปูกระเบื้องพื้นน้ันมีมูลค่างานสูงกว่าส่วนต่างของเสาเข็มเล็กน้อย ผู้รับจ้างเห็นชอบต่อข้อเสนอน้ี คู่สัญญาจึงทาบันทึกก ารแก้ไข เปลย่ี นแปลงน้ไี ว้เปน็ หลกั ฐาน

5 - 8 การดาเนินการด้านเอกสารประกอบสัญญา จะเห็นว่าการตกลงกันลักษณะน้ีเข้าลักษณะของการประนีประนอม และจะเป็นกรณีที่อาจเกิดข้ึนได้ตลอดเวลาของ การก่อสรา้ ง ซึง่ ท้ังสองฝ่ายต่างกไ็ ด้รบั ประโยชน์ ทางฝ่ายผู้รบั จา้ งก็ทางานไดด้ ้วยความสะดวกรวดเร็ว ในข้ันตอนเสนอราคาก็คิดราคา เสนอเป็นเสาเข็มยาวอยู่แล้ว เมื่อเปล่ียนเป็นเสาเข็มสั้นราคาลดลง ก็ต้องคืนเงินส่วนต่างระหว่างค่าเสาเข็มสั้นกับเสาเข็มยาวน้ีให้ เจา้ ของงาน เม่ือเจา้ ของงานไดง้ านเพม่ิ ข้ึนกวา่ เดมิ ก็ถือวา่ มไิ ดเ้ สยี ประโยชน์อย่างใด การประนีประนอมอย่างไมเ่ ปน็ ทางการอีกวิธีหนึ่ง คือ ติดต่อหาคนกลางที่มีประสบการณ์ในงานก่อสร้างมีความเท่ียงตรง และไมฝ่ กั ใฝ่ฝ่ายอยกู่ ับฝ่ายใด ดว้ ยการเชิญใหพ้ จิ ารณาข้อโต้แย้งท่เี กดิ ขนึ้ โดยความเห็นชอบของคู่กรณีและมักจะเลือกใช้กับข้อโต้แย้ง ทมี่ ปี ัญหาซบั ซอ้ นหรือมีผลประโยชน์เกี่ยวข้องมาก คนกลางจะช่วยพิจารณาข้อโต้แย้งตามข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น ไม่มีฝ่ายใดผิดหรือถูก แต่จะเอ้อื ประโยชน์ใหก้ บั ทงั้ สองฝ่ายและใหค้ ู่กรณีพิจารณาชัง่ นา้ หนกั ถงึ ผลดผี ลเสยี นั้นเอง ถา้ ยุติข้อโต้แยง้ ไม่ได้ อาจตอ้ งยืดเย้ือใช้เวลา เนิ่นนานออกไป ไมม่ ีผลดตี ่องานทีก่ าลงั กอ่ สรา้ งและหากประนปี ระนอมกนั ได้ ก็จะทาบันทึกผลของการประนีประนอมไว้เป็นหลักฐาน เชน่ กัน 2) การประนีประนอมอยา่ งเป็นทางการ อาจแบ่งไดเ้ ป็นสองแนวทาง ได้แก่ (1) การประนีประนอมผ่านทางอนุญาโตตุลาการ ข้อโต้แย้งท่ียุติกันไม่ได้อาจเลือกวิธีระงับข้อโต้แย้งด้วยวิธีต้ัง อนุญาโตตุลาการ เม่ือได้ตั้งอนุญาโตตุลาการข้ึนแล้วในระหว่างการพิจารณาข้อพิพาทของอนุญาโตตุลาการน้ัน คู่กรณีอาจมองเห็น แนวทางท่จี ะประนปี ระนอมพิพาทกนั ไดจ้ ะสรปุ ขอ้ ประนปี ระนอมเสนอตอ่ อนญุ าโตตลุ าการ เมื่อคณะอนุญาโตตุลาการเห็นว่าข้อตกลง หรือการประนีประนอมนนั้ ไมเ่ ป็นการฝ่าฝืนกฎหมาย คณะอนญุ าโตตลุ าการจะมีคาช้ีขาดไปตามข้อตกลงประนีประนอมยอมความนั้น (ตามกฎหมายอนุญาโตตลุ าการ มาตรา 36) จะเห็นว่าระหว่างการพิจารณาของอนุญาโตตุลาการ คู่กรณีก็อาจเสนอข้อตกลงประนีประนอมกันได้จะช่วย ประหยัดเวลาการพิจารณาข้อพิพาทของอนญุ าโตตลุ าการ และอาจดีกว่าท่จี ะรอผลช้ีขาดของอนุญาโตตลุ าการในขน้ั สดุ ท้าย เพราะอาจ มผี ้ไู ด้ประโยชนห์ รือเสียประโยชน์ การตกลงกนั เองไดถ้ อื วา่ เป็นความพอใจของคู่กรณีเอง มใิ ช่เป็นการช้ีขาดของผู้ใดหรอื ฝา่ ยใด (2) การประนีประนอมผ่านทางศาล บางกรณีที่คู่กรณีนาข้อโต้แย้งยกเป็นคดีขึ้นฟ้องร้องต่อศาลเพ่ือหาข้อยุติ ซึง่ ส่วนมากจะเปน็ แนวทางสดุ ทา้ ยท่เี ลือกใช้ ทัง้ ทที่ ราบดีวา่ กว่าจะทราบผลคาชี้ขาดอาจต้องใช้เวลายาวนาน ในระหว่างการพิจารณา ของศาล คู่กรณีอาจตกลงประนีประนอมกันได้ก็ยื่นคาร้องต่อศาลซ่ึงศาลจะจดแจ้งการประนีประนอมยอมความไว้ และพิพากษา ไปตามน้นั (ประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง่ มาตรา 138) การประนีประนอมกันน้ีทางกฎหมายถือว่าเป็นสัญญาลักษณะหนึ่งท่ีสามารถใช้ฟ้องร้องบังคับได้ถ้าฝ่ายหน่ึงฝ่ายใด หลีกเลยี่ งไม่ปฏิบัติตามข้อตกลง ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เรียกว่า สัญญาประนีประนอมยอมความตามท่ีกาหนดในมาตรา 850 - 852 ซึง่ จะตอ้ งมหี ลกั เกณฑท์ ่สี าคญั ดงั น้ี - เปน็ ข้อตกลงที่มีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือระงับขอ้ พพิ าทซึ่งเกดิ ขนึ้ แล้วหรอื อาจจะเกดิ ขนึ้ ในอนาคตกไ็ ด้ - เป็นข้อตกลงท่ียินยอมผ่อนผันให้แก่กันระหว่างคู่สัญญา แต่ถ้ามีผู้ได้ประโยชน์เพียงฝ่ายเดียวไม่ถือว่าเป็นสัญญา ประนีประนอมยอมความ - มีหลักฐานข้อตกลงเป็นหนังสอื มีคูส่ ญั ญาลงลายมอื ช่ือกากบั ท้ายขอ้ ตกลงนั้น 3) การต้ังอนญุ าโตตุลาการ ถ้ามีกรณโี ตแ้ ย้งเกิดข้นึ ระหวา่ งคสู่ ัญญาและไม่สามารถตกลงประนปี ระนอมกันได้ ฝ่ายทค่ี ิดว่าตนเองเสียเปรียบหรือไม่ได้รับ ความเป็นธรรม จะมีทางเลอื กอกี ทางหน่งึ คอื นาขอ้ พิพาทขึ้นฟอ้ งร้องต่อศาล และเป็นท่ที ราบกันดีว่ากระบวนการพิจารณาคดีทางศาล จะตอ้ งดาเนินการหลายขัน้ ตอน เสียค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง และต้องเสียเวลายาวนานกว่าจะได้ทราบถึงผลคดี ด้วยเหตุดังกล่าวนี้ กรณีข้อ โต้แยง้ ในวงงานกอ่ สร้างทจี่ ะขยายไปถึงขัน้ เปน็ ข้อพพิ าทหรือเป็นคดีจึงมีน้อยราย จะมีคดีฟ้องร้องกันก็สาหรับคู่กรณีที่ประนีประนอม กันไม่ได้จริงๆ เพราะการมีคดีในศาลน้ันไม่ว่าจะเป็นฝ่ายแพ้คดีก็ตาม อาจไม่คุ้มค่ากั บการต้องเสียเวลารอจนคดีถึงที่สุด กไ็ ด้ นอกจากไมม่ ีทางเลอื กทางอ่ืนอีก จงึ ตอ้ งใหต้ ดั สนิ ข้อพพิ าทผ่านทางศาล

การดาเนินการด้านเอกสารประกอบสญั ญา 5 - 9 วิธีการระงบั ขอ้ พิพาทอีกวิธีหนึ่ง คือ การต้ังอนุญาโตตุลาการ (arbitration) ท่ีใช้เวลาพิจารณาน้อยกว่ากระบวนการทางศาล คือ การตั้งอนุญาโตตลุ าการข้ึนพิจารณาข้อพพิ าทแทนศาล ซ่งึ มขี ้อดบี างประการ เป็นต้นว่า จะทราบผลทางคดีได้เร็ว ปกติจะใช้เวลา ประมาณไมเ่ กนิ หนง่ึ เดือน เพราะผู้ทาหน้าท่ีอนุญาโตตุลาการไม่จาเป็นต้องดาเนินการตามรูปแบบของศาล การพิจารณาเป็นไปด้วย ความรวดเร็ว และมีประสทิ ธิภาพเทยี บเท่ากบั ศาล กระบวนการทางานของข้ันตอนต่างๆ เป็นท่ีรู้กันเฉพาะคู่กรณี ไม่มีการเปิดเผยต่อ สาธารณะซง่ึ อาจนาไปสู่การเสียหน้าด้วยกันทั้งสองฝ่าย ซ่ึงต่างกับการดาเนินคดีทางศาล ซ่ึงจะเป็นข้อมูลสาธารณะที่รับทราบกันได้ ทั่วไป ในทางธุรกิจถือว่าเป็นเร่ืองสาคัญ เว้นแต่ฝ่ายหน่ึงฝ่ายใดไม่ยอมรับการตัดสินของอนุญาโตตุลาการก็ย่อมต้องนาคดีขึ้นสู่ศาล พิจารณาชขี้ าดตอ่ ไปในขนั้ สุดทา้ ย สัญญาจ้างงานกอ่ สร้างทีม่ อี งค์การต่างประเทศเข้ามาเกย่ี วข้อง เป็นต้นว่า โครงการขนาดใหญ่ที่ใช้งบประมาณก่อสร้างสูง ต้องใช้เงินกจู้ ากสถาบนั การเงินต่างประเทศ บางกรณีจาเป็นต้องใช้เทคโนโลยี และความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง ผู้รับจ้างจาเป็นต้อง จดทะเบยี นกจิ การค้าร่วม(joint–venture) รว่ มกับบรษิ ัทต่างประเทศเพ่อื ทางานร่วมกัน โดยปกติจะมีเงื่อนไขให้มีข้อกาหนดในสัญญา จ้างเกีย่ วกบั การระงบั ขอ้ พิพาทโดยอนญุ าโตตุลาการไวด้ ้วย แต่เดิมน้ันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมีบทบัญญัติในเรื่องของอนุญาโตตุลาการไว้หลายมาตรา เพื่อใช้ พิจารณาข้อพพิ าทกรณีทค่ี ู่กรณตี อ้ งการใช้อนญุ าโตตุลาการ ตอ่ มาเม่ือมกี ารขยายตัวทางธุรกิจการพาณิชย์ และการอุตสาหกรรมเพิ่ม มากขนึ้ ทง้ั ภายในประเทศและระหวา่ งประเทศ ย่อมมีกรณพี พิ าทของคกู่ รณีทางธุรกิจภาคตา่ งๆเพิม่ ขึ้นตาม ประกอบกับในช่วงขณะนั้น ประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายอนุญาโตตุลาการที่ตราออกใช้บังคับโดยเฉพาะ ทางรัฐบาลโดยกระทรวงยุติธรรมจึงได้เสนอให้ออก พระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการข้ึนเม่ือ พ.ศ.2530 ต่อมาอีกระยะหน่ึงบทบัญญัติของพระราชบัญญัติดังกล่าวยังไม่สอดคล้องกับ หลักกฎหมายอนุญาโตตุลาการของประเทศอื่น จึงนาเอากฎหมาย ว่าด้วยอนุญาโตตุลาการทางพาณิชย์ระหว่างประเทศแห่ง สหประชาชาติมาเป็นแนวพัฒนาระบบอนุญาโตตุลาการของประเทศไทย และได้ปรับปรุงกฎหมายดังกล่าวข้ึนใหม่เมื่อ พ.ศ.2545 โดยการยกเลกิ กฎหมายอนุญาโตตุลาการฉบบั พ.ศ.2530 (1) อนุญาโตตลุ าการ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง เพ่ือทาความเข้าใจกับหลักการและแนวปฏิบัติของ กฎหมายอนุญาโตตุลาการจะกล่าวได้ถึงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง หมวด 3 ว่าด้วยอนุญาโตตุลาการ มีบทบัญญัติไว้ ตั้งแต่มาตรา 210 ถงึ มาตรา 222 ซ่งึ บัญญัติถงึ วธิ กี ารตั้งอนุญาโตตุลาการและแนวการพจิ ารณาไว้ 2 ลักษณะคอื ก) การต้งั อนญุ าโตตลุ าการในศาล หรอื ตัง้ ผ่านศาล (ซงึ่ ยังใชบ้ ังคบั อยู่) ข) การตั้งอนุญาโตตุลาการนอกศาล (มาตรา 221) ลักษณะน้ีได้ยกเลิกให้ปฏิบัติตามกฎหมายอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 แทน (ก) การต้ังอนุญาโตตุลาการในศาล ตามมาตรา 210 ของประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งได้บัญญัติไว้ว่า “บรรดาคดีทั้งปวงซึ่งอยู่ในระหว่างพิจารณาของศาลช้ันต้น คู่ความตกลงกันเสนอข้อพิพาทอันเก่ียวกับประเด็นท้ังปวง หรือข้อหน่ึง ข้อใดให้อนุญาโตตุลาการคนเดียวหรือหลายคนเป็นผู้ช้ีขาดได้ โดยย่ืนคาขอร่วมกันกล่าวถึงข้อความแห่งข้อตกลงเช่นว่าน้ันต่อศาล ถา้ ศาลเห็นวา่ ขอ้ ตกลงนน้ั ไมผ่ ิดกฎหมาย ให้ศาลอนญุ าตตามคาขอนั้น” ตามบทบัญญัติของมาตรานี้ ได้กล่าวถึงการต้ังอนุญาโตตุลาการในศาล หรือตั้งผ่านศาลและศาลอนุญาตแล้ว ซ่ึงหมายถงึ ว่า จะต้องเปน็ กรณพี ิพาททเี่ ปน็ คดขี ้นึ ฟอ้ งรอ้ งกันยังศาลชัน้ ต้นกอ่ น และคู่ความยินยอมด้วยกันท้ังสองฝ่ายว่าต้องการขอต้ัง อนญุ าโตตุลาการให้พจิ ารณาขอ้ พิพาทแทนศาล และศาลอนญุ าตใหจ้ ดั ตง้ั ได้ ผลดขี องการจดั ตั้งอนญุ าโตตุลาการผา่ นศาลกค็ ือ เม่ืออนญุ าโตตลุ าการยื่นคาช้ขี าดของตนต่อศาล ถ้าศาลเห็นชอบ และพิพากษาตามคาชี้ขาดนน้ั คาช้ีขาดของอนญุ าโตตุลาการจะเปลยี่ นเป็นคาพพิ ากษาของศาลทันที (ข) การตั้งอนุญาโตตุลาการนอกศาล หมายถึง ข้อพิพาทที่ไม่ได้ทาเป็นคดีขึ้นฟ้องร้องยังศาลก่อนดังที่กล่าว ในข้อ (ก) แต่จัดตั้งอนุญาโตตุลาการขึ้นเองระหว่างคู่กรณีเพ่ือให้พิจารณาข้อพิพาท โดยท่ีมิได้จัดตั้งผ่านศาล แต่เดิมมีกาหนด กระบวนการจดั ตงั้ อนุญาโตตุลาการนอกศาลไว้ในมาตรา 221 ของประมวลกฎหมายวธิ พี ิจารณาความแพง่ ต่อมาหลังจากที่ประกาศใช้ พระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ.2545 ได้แก้ไขมาตรา 221 เป็นว่า “การเสนอข้อพิพาทให้อนุญาโตตุลาการช้ีขาดนอกศาลให้

5 - 10 การดาเนนิ การดา้ นเอกสารประกอบสญั ญา เป็นไปตามกฎหมายวา่ ดว้ ยอนญุ าโตตุลาการ” ซึ่งกฎหมายฉบับน้ีได้มีบทบัญญัติถึงวิธีการตั้งอนุญาโตตุลาการ กระบวนการพิจารณา ของอนุญาโตตุลาการ รวมถึงกาหนดให้คู่กรณีต้องปฏิบัติตามคาชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการตามขั้นตอนต่างๆ แทนมาตรา 221 ซ่งึ เปน็ กฎหมายทใี่ ช้บงั คบั อยเู่ ดิม (2) อนญุ าโตตุลาการตามกฎหมายอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 คู่สัญญาท่ีมีจุดประสงค์ให้ระงับข้อพิพาทซึ่งคาดได้ว่า อาจเกดิ ขึน้ ไดใ้ นระหวา่ งการก่อสร้างด้วยวิธีอนุญาโตตุลาการ จะต้องมีข้อกาหนดเรื่องการระงับข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการไว้ใน สญั ญาจ้างด้วยหรืออาจทาเอกสารแนบท้ายสัญญาว่าด้วยเร่ืองของสัญญาอนุญาโตตุลาการไว้ต่างหากก็ได้ดังตัวอย่างเช่น หนังสือจ้าง งานก่อสรา้ งของหน่วยงานราชการกม็ ีข้อกาหนดเก่ยี วกบั เร่อื งการระงบั ขอ้ พพิ าทโดยวิธอี นญุ าโตตลุ าการ แต่กาหนดไว้ให้เป็นทางเลือก หน่วยงานราชการส่วนมากจะไม่เลือกใช้เพราะเมื่อมีกรณีโต้แย้งท่ีตัดสินไม่ได้ จะมีหน่วยงานอ่ืนช่วยให้ความเห็นอยู่แล้ว เช่น สานักนายกรัฐมนตรี ถ้าเป็นปัญหาทางกฎหมายจะมีสานักงานอัยการสูงสุดให้ความเห็นแต่ละกรณีนั้น เว้นแต่ว่างานก่อสร้างบาง โครงการท่ีต้องมีองค์กรต่างประเทศเข้ามาเก่ียวข้อง และมีเงื่อนไขให้สัญญาจ้างมีข้อกาหนดเกี่ยวกับการระงับข้อพิพาท โดยอนุญาโตตุลาการ และเจ้าของโครงการไมส่ ามารถหลีกเลีย่ งได้ ก็จาเป็นตอ้ งมขี ้อกาหนดเกยี่ วกบั อนญุ าโตตลุ าการไว้ดว้ ย เพ่ือให้เข้าใจถึงหลักการของกฎหมายอนุญาโตตุลาการดังกล่าว จะได้สรุปความของบทบัญญัติที่สาคัญท่ีควรทราบไว้ ดังตอ่ ไปน้ี ก) การเสนอข้อพิพาทต่ออนุญาโตตุลาการตามสัญญา ถ้าสัญญาจ้างมีข้อกาหนดให้ระงับข้อพิพาทโดยวิธี อนุญาโตตลุ าการไว้ แต่เม่ือเกดิ ข้อพพิ าทคู่สัญญาฝ่ายหน่ึงฝ่ายใดยกข้อพิพาทนั้นเป็นคดีขึ้นฟ้องต่อศาล โดยมิได้เสนอข้อพิพาทนั้นต่อ คณะอนุญาโตตุลาการตามสัญญา คูส่ ญั ญาฝ่ายทถ่ี กู ฟอ้ งอาจยนื่ คาร้องต่อศาลให้ศาลมีคาสั่งจาหน่ายคดี เพ่ือให้คู่สัญญาไปดาเนินการ ทางอนญุ าโตตลุ าการตามท่ีไดก้ าหนดไว้ในสัญญาจ้าง (มาตรา 14) ท่ีมีบทบัญญัติไว้ในมาตรานี้ ก็เพ่ือมิให้คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดหลีกเลี่ยงไม่ปฏิบัติตามสัญญาจ้าง และให้กฎหมาย อนุญาโตตุลาการมผี ลบังคบั ใช้ตรงตามเจตนารมณ์ของคสู่ ัญญาด้วย ข) คณะอนญุ าโตตลุ าการ อาจมีเพียงหนึง่ คน ถ้ามากกว่าหน่ึงคนให้ค่พู พิ าทตั้งอนุญาโตตุลาการฝ่ายละเท่ากัน และให้ อนุญาโตตลุ าการดังกลา่ วร่วมตงั้ อนญุ าโตตุลาการเพิม่ อกี หนึ่งคนเป็นประธาน ถ้าคู่พพิ าทฝา่ ยใดมิได้ต้ังอนุญาโตตุลาการภายในสามสิบ วัน นับแต่วันท่ีได้รับแจ้งจากคู่พิพาทอีกฝ่ายหนึ่งให้ต้ังอนุญาโตตุลาการให้คู่พิพาทฝ่ายหน่ึงฝ่ายใดย่ืนคาร้องขอให้ศาลมีคาส่ังต้ั ง อนุญาโตตุลาการ (มาตรา18) บทบญั ญตั ติ ามมาตรา 18 นี้เพื่อมิใหฝ้ า่ ยใดบิดพลิ้วไม่ยอมต้ังอนญุ าโตตลุ าการ ถอื ว่าไม่ปฏบิ ัติตามสัญญาอนญุ าโตตุลาการ ค) คุณสมบัติของอนญุ าโตตุลาการ ตามมาตรา 19 ได้บัญญัติไว้เพียงว่า จะต้องมีความเป็นกลางและเป็นอิสระ หรือ ตามท่ีสัญญาอนุญาโตตุลาการกาหนดไว้ และบุคคลที่จะถูกตั้งเป็นอนุญาโตตุลาการจะต้องเปิดเผยข้อเท็จจริงซ่ึงอาจเป็นเหตุอันควร สงสัยถึงความเปน็ กลางหรือความเป็นอิสระของตนตอ่ คพู่ พิ าทโดยมิชักช้า หากปรากฏข้อเทจ็ จริงอนั ควรสงสัยถงึ ความเปน็ กลางหรือความเป็นอิสระของอนญุ าโตตุลาการคนใดหรอื ขาดคณุ สมบัติ ทีค่ พู่ พิ าทกาหนดไว้แตต่ น้ คพู่ พิ าทมีสิทธคิ ัดคา้ นการต้ังอนุญาโตตุลาการคนนัน้ ได้ ง) การคัดค้านคาช้ีขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดท่ีอาจไม่ยอมรับคาชี้ขาดของคณะ อนุญาโตตุลาการ โดยการย่ืนคาร้องต่อศาลภายในเก้าสิบวันนับแต่วันท่ีได้รับสาเนาคาช้ีขาด ขอให้ศาลเพิกถอนคาชี้ขาดได้ในกรณี ดงั ต่อไปน้ี (ก) คสู่ ัญญาอีกฝ่ายหนงึ่ เป็นผ้บู กพร่องในเรื่องความสามารถตามกฎหมาย (ข) ไมม่ กี ารแจ้งให้ทราบลว่ งหนา้ ถึงการแตง่ ตั้งคณะอนุญาโตตลุ าการ หรือการพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการ หรือผขู้ อเพิกถอนไม่สามารถเข้าต่อส้คู ดกี บั อนุญาโตตลุ าการไดด้ ว้ ยเหตผุ ลประการอ่นื (ค) คาช้ีขาดวินิจฉัยข้อพิพาทไม่อยู่ในขอบเขตของสัญญาอนุญาโตตุลาการหรือเกินขอบเขตแห่งข้อตกลงในการ เสนอข้อพิพาทไวต้ ่อคณะอนุญาโตตุลาการ

การดาเนินการดา้ นเอกสารประกอบสญั ญา 5 - 11 (ง) องคป์ ระกอบของคณะอนุญาโตตลุ าการหรือกระบวนการพิจารณาของคณะอนุญาโตตุลาการมิได้เป็นไปตามท่ี คพู่ ิพาทได้ตกลงกนั ไว้ (จ) คาช้ขี าดน้ันเกย่ี วกับข้อพพิ าททีไ่ มส่ ามารถจะระงับโดยการอนญุ าโตตลุ าการไดต้ ามกฎหมาย หรอื (ฉ) การยอมรับหรือการบังคับตามคาช้ีขาดน้ันจะเป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีงามของ ประชาชน (มาตรา 40) จ) การบงั คบั ใหค้ พู่ ิพาทปฏิบัติตามคาช้ีขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ หลงั จากท่ีคณะอนุญาโตตุลาการมีคาช้ีขาดแล้ว อาจมคี ู่พิพาทฝ่ายท่ีแพ้คดไี ม่ยอมปฏิบัติตามคาช้ีขาด คู่พิพาทอีกฝ่ายหนึ่งต้องยื่นคาร้องต่อศาลภายในกาหนดเวลาสามปี นับแต่วันที่ อาจบังคบั ตามคาชขี้ าดได้ เพ่อื ใหศ้ าลพิพากษาบังคับใหม้ ีการปฏิบัตใิ หเ้ ป็นไปตามคาชข้ี าดของคณะอนุญาโตตลุ าการ (มาตรา 42) ฉ) การอทุ ธรณต์ ่อศาล ถา้ นาคดขี ้ึนสูศ่ าลไมว่ า่ ด้วยเรื่องใดที่มีระบุไว้ในกฎหมายน้ี และศาลได้พิพากษาแล้ว ห้ามมิให้ อุทธรณ์คาส่ังหรือคาพิพากษาของศาล ถ้าประสงค์จะอุทธรณ์ให้อุทธรณ์ต่อศาลฎีกาหรือศาลปกครองสูงสุดแล้วแต่กรณี และการ อุทธรณน์ ัน้ จะตอ้ งเข้าข่ายตามกรณีดงั ตอ่ ไปนี้ (ก) การยอมรบั หรอื การบังคับตามคาชข้ี าดน้นั จะเป็นการขดั ตอ่ ความสงบเรียบร้อยหรือศลี ธรรมอันดขี องประชาชน (ข) คาสง่ั หรือคาพิพากษาน้นั ฝ่าฝืนต่อบทกฎหมายอันเกยี่ วกบั ความสงบเรียบรอ้ ยของประชาชน (ค) คาสง่ั หรือคาพิพากษานัน้ ไมต่ รงกับคาชขี้ าดของคณะอนุญาโตตลุ าการ (ง) ผูพ้ ิพากษาหรือตลุ าการซึ่งพิจารณาคดนี น้ั ไดท้ าความเห็นแยง้ ไว้ในคาพิพากษา หรือ (จ) เป็นคาสงั่ เก่ยี วกบั การใชว้ ิธีการชั่วคราวเพื่อคมุ้ ครองประโยชนข์ องคูพ่ ิพาท ช) ค่าใช้จา่ ยตามกฎหมายอนญุ าโตตุลาการ ยงั มีบทบญั ญัติ มาตรา 46 เกี่ยวกับคู่พิพาทต้องรับผิดชอบเรื่องค่าใช้จ่าย ต่างๆ ในการดาเนนิ กระบวนพจิ ารณาอนญุ าโตตลุ าการ รวมถึงผมู้ ีอานาจหนา้ ทที่ ี่จะกาหนดค่าใช้จ่ายต่างๆ นั้นด้วย ตามมาตรา 46 ได้ แยกค่าใช้จา่ ยต่างๆออกไว้ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ ค่าธรรมเนยี ม คา่ ใช้จา่ ย และค่าป่วยการ และยงั บัญญตั ถิ ึงผู้กาหนดคา่ ใช้จ่ายท้ังหมดไว้ 3 ขั้น (ก) ข้นั แรก คพู่ พิ าทอาจตกลงกันเองก่อนถงึ รายการต่างๆทีต่ อ้ งจา่ ย (ข) ขั้นที่สอง ในกรณีทคี่ พู่ พิ าทมไิ ดต้ กลงกันไว้กอ่ น ใหค้ ณะอนุญาโตตุลาการกาหนดไว้ในคาช้ีขาด (ค) ข้ันท่ีสาม ถา้ คณะอนุญาโตตลุ าการมไิ ด้กาหนดไวใ้ นคาชี้ขาด คูพ่ ิพาทฝา่ ยหนึง่ ฝ่ายใดหรือคณะอนุญาโตตุลาการ อาจยื่นคาร้องให้ศาลมีคาส่ังเรื่องค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายในชั้นอนุญาโตตุลาการ และค่าป่วยการอนุญาโตตุลาการได้ตามท่ี เหน็ สมควร นอกจากน้ี มาตรา 47 ยงั บัญญัตถิ งึ การกาหนดคา่ ใชจ้ ่ายตา่ งๆตามทบ่ี ัญญตั ิในมาตรา 46 เพ่มิ เติมไว้ด้วยว่า “หน่วยงาน ซึ่งได้จัดต้ังขึ้นเพ่ือดาเนินการระงับข้อพิพาทโดยวิธีอนุญาโตตุลาการ อาจกาหนดค่าธรรมเนียม ค่าใช้จ่าย และค่าป่วยการในการ ดาเนินกระบวนพิจารณาอนญุ าโตตุลาการก็ได้” ถ้ากล่าวโดยสรุปแล้ว จะเห็นว่าขั้นตอนของการระงับข้อพิพาทหรือข้อโต้แย้งท่ีเกิดขึ้นในระหว่างการก่อสร้างอาจ พิจารณาแนวทางทคี่ วรปฏบิ ตั ิทคี่ วรยดึ ถอื ไดด้ งั นี้ - การระงับข้อพิพาทโดยอนุญาโตตลุ าการดกี ว่าการเป็นคดียื่นฟอ้ งร้องต่อศาล - การประนีประนอมข้อโต้แย้งหรอื ข้อพพิ าทดกี วา่ ให้เลยถึงข้ันอนญุ าโตตลุ าการหรอื ข้นั ศาล - ถ้าสามารถปอ้ งกันมใิ หม้ ีขอ้ โต้แยง้ หรอื ข้อพพิ าทเกิดขนึ้ ได้จะเป็นวธิ ที ่ีดที ่ีสุด

5 - 12 การดาเนนิ การด้านเอกสารประกอบสัญญา กรณีศกึ ษาข้อโตแ้ ยง้ ของการก่อสรา้ งในงานราชการ ผูร้ บั ผิดชอบความเสียหายของงานกอ่ สร้าง 1. ผูร้ บั ผดิ ชอบความเสยี หายของงานก่อสรา้ งระหว่างการกอ่ สรา้ ง ข้อเท็จจริง หน่วยงานราชการแห่งหนึ่งทาสัญญาจ้างห้างหุ้นส่วนจากัด พ. ก่อสร้างสะพานทางเดินและท่าเทียบเรือเล็กริมคลองท้องที่ จังหวัดสมุทรปราการ กาหนดวันแล้วเสร็จภายใน 200 วัน แบ่งงวดจ่ายเงินไว้ 4 งวด ระหว่างการก่อสร้างงวดท่ี 3 ซึ่งดาเนินการ ก่อสร้างไปได้รอ้ ยละ 95 ของงานในงวดนี้ ดินบริเวณที่สร้างสะพานทางเดนิ และทา่ เทียบเรือเกิดพังทลายลง ทาให้สะพานทางเดินและ ทา่ เทียบเรือและถนนที่ต่อเชื่อมกับสะพานทางเดินที่กาลังก่อสร้างอยู่เลื่อนไถลลงในคูคลอง จากการสันนิฐานข้ันต้น เกิดจากบริเวณ ท่ีก่อสรา้ งเป็นจุดดนิ ออ่ น ซง่ึ มอี ยูต่ ามธรรมชาติ จะตอ้ งรอ้ื ออกและก่อสร้างส่วนนใ้ี หม่ ประเด็นปญั หา - ความเสยี หายของการกอ่ สรา้ งครั้งนี้ จะถอื เป็นเหตสุ ุดวสิ ัยหรือไม่ - ถา้ เป็นเหตสุ ุดวิสยั ฝา่ ยใดจะต้องเปน็ ผ้รู ับผดิ ชอบจากความเสยี หายท่ีเกดิ ข้นึ - ถา้ ไมถ่ ือวา่ เปน็ เหตุสุดวสิ ยั ฝา่ ยใดจะเปน็ ผู้รับผิดชอบ - ความเสยี หายเกิดข้นึ ระหว่างทางานตามงวดงานท่ี 3 ผู้วา่ จ้างตอ้ งจา่ ยเงินคา่ จา้ งตามผลงานบางส่วนทผ่ี รู้ บั จา้ งทาไปแลว้ หรอื ไม่ ข้อพจิ ารณา ประเด็นแรก ดินอ่อนที่เป็นเหตุให้ส่ิงก่อสร้างพังทลายลงมาน้ัน ถือได้ว่าเป็นจุดดินอ่อนท่ีมีอยู่ตามธรรมชาติซ่ึงไม่มีผู้ใด ทราบมาก่อน และทั้งสองฝ่ายได้จัดการด้วยความระมัดระวังตามสมควรแล้ว ทางฝ่ายผู้ว่าจ้างก็ได้เคยดาเนินการว่าจ้างให้มีการ เจาะสารวจและวเิ คราะห์คุณสมบัติของดิน ได้เคยก่อสร้างอาคารที่มีลักษณะคล้ายกันในบริเวณน้ันมาแล้ว ทางผู้รับจ้างก็ได้ก่อสร้าง ถกู ต้องตามแบบรูปและรายละเอียดตามสญั ญา สาเหตุทเ่ี กิดข้นึ นเี้ ป็นสาเหตุที่ไม่อาจปอ้ งกันได้ถือว่าเป็นเหตุสุดวิสัย ตามกฎหมายแพ่ง และพาณชิ ย์ มาตรา 8 ประเด็นทีส่ อง เม่ือความเสยี ของงานกอ่ สร้างเกดิ จากเหตุสุดวิสัย ผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบซ่อมแซมหรือทาการก่อสร้าง ข้ึนใหม่โดยคา่ ใช้จา่ ยของผู้รบั จา้ ง ตามขอ้ กาหนดของสัญญาจา้ ง ข้อที่ 11 ทร่ี ะบถุ งึ ความรับผิดชอบของผู้รับจ้างต่อความเสียหายต่างๆ ท่เี กดิ ขน้ึ ในระหว่างการก่อสร้าง รวมถึงเกดิ ขึ้นจากเหตุสุดวสิ ัยน้ดี ว้ ย ประเด็นที่สาม ถ้าเหตกุ ารณ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ นไ้ี มถ่ ือว่าเป็นเหตุสดุ วิสยั ผ้รู ับจา้ งก็ยังคงต้องรบั ผิดชอบอยู่ ตามข้อกาหนดสัญญาจ้าง ขอ้ ที่ 11 เก่ียวกับความรับผิดชอบของผรู้ ับจา้ ง ประเดน็ ท่สี ่ี ข้อพจิ ารณาในประเดน็ สุดทา้ ย เมอ่ื งานก่อสร้างพังทลายลงมาในระหว่างงวดงานสุดท้ายและผู้ว่าจ้างยังไม่ได้ ตรวจรับงานงวดนี้ แม้ว่าผู้รับจ้างจะทางานในงวดไปแล้วบางส่วนก็ตาม ผู้ว่าจ้างยังไม่ต้องจ่ ายค่าจ้างของผลงานงวดท่ี 3 ทั้งนี้ เปน็ ไปตามบทบญั ญัตขิ องประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ยม์ าตรา 603 ได้บัญญัติไว้ว่า “ถ้าผู้รับจ้างเป็นผู้จัดหาสัมภาระ และการท่ี จ้างทานั้นพังทลายหรือบุบสลายลงก่อนได้รับส่งมอบกันถูกต้องไซร้ ท่านว่าความวินาศอันน้ันเป็นความรับผิดชอบของผู้รับจ้าง หากความวินาศน้นั มไิ ดเ้ ปน็ เพราะการกระทาของผูว้ ่าจ้าง ในกรณีเช่นน้ี สนิ จ้างเป็นอนั ไมต่ อ้ งใช้” ข้อสงั เกต กรณีศกึ ษา มีบางประเดน็ ท่ีควรพจิ ารณาเพิม่ เตมิ เป็นต้นว่า ในทางตรงกันข้าม ถ้าการพังทลายน้ีเกิดข้ึนหลังจากที่ได้ตรวจรับ งวดงานนไี้ ปแลว้ ผู้ว่าจ้างตอ้ งจ่ายคา่ งวดงานนใ้ี หผ้ ูร้ ับจ้าง เพราะถือวา่ ไดต้ รวจรบั งานวา่ ผรู้ ับจา้ งไดก้ อ่ สร้างถูกต้องตามการแบ่งงวดงาน แล้ว ตามบทบัญญัติมาตรา 602 ของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่บัญญัติไว้ว่า “อันสินจ้างน้ันพึงใช้ให้เมื่อรับมอบการท่ีทา ถ้าการท่ีทาน้ันมีกาหนดว่าจะส่งรับกันเป็นส่วนๆ และได้ระบุจานวนสินจ้างไว้เป็นส่วนๆไซร้ ท่านว่าพึงใช้สินจ้างเพ่ือการแต่ละส่วน ในเวลารบั เอาส่วนนน้ั ” อย่างไรก็ตามก็ยังเปน็ ความรับผิดชอบของผู้รับจ้างที่ต้องดาเนินการแก้ไข และก่อสร้างงานส่วนท่ีพังทลายข้ึน ใหมเ่ มื่อเข้าขา่ ยว่าเป็นเหตุสุดวสิ ัย จะมเี รอื่ งสืบเนือ่ งได้แก่ ผ้รู บั จา้ งมีสทิ ธขิ อขยายเวลาปฏบิ ตั ิงานได้ตามสัญญาจา้ งขอ้ 21

การดาเนนิ การด้านเอกสารประกอบสัญญา 5 - 13 2. ความรบั ผดิ ต่อความชารุดเสียหายของงานกอ่ สร้างหลังการตรวจรบั งาน ขอ้ เทจ็ จริง หนว่ ยงานราชการแหง่ หนึง่ ได้ทาสญั ญาจา้ งแบบเหมารวมกับหา้ งหนุ้ สว่ นจากัด ส.โยธา ทาการกอ่ สร้างคลองส่งน้าของโครงการ ปรับปรงุ ระบบการส่งนา้ ของจงั หวัดนครศรธี รรมราช ผูร้ บั จ้างไดด้ าเนนิ การกอ่ สร้างและสง่ งวดงานกันมาแลว้ ถงึ งวดที่ 5 คือส่งมอบงาน เม่ือวันท่ี 24 พฤศจิกายน 2530 คณะกรรมการตรวจการจ้างรายงานว่า ระหว่างวันท่ี 30 พฤศจิกายน ถึง วันที่ 7 ธันวาคม 2530 มีฝนตกหนัก นา้ ท่วมพ้นื ทบี่ ริเวณโครงการทาให้คอนกรีตที่ดาดพื้นคลองลูกรังถนนบนคันคลองงานปลูกหญ้าตามแนวคันคลองชารุด เสียหายเปน็ แห่งๆ งานที่ชารุดเสียหายน้เี ปน็ งานท่ผี ู้รบั จา้ งไดส้ ง่ มอบแล้วต้ังแต่งวดที่ 1 ถึงงวดท่ี 5 ผู้ว่าจ้างได้มีหนังสือแจ้งให้ผู้รับจ้าง ทาการซ่อมแซมส่วนท่ีชารุดเสียหายดังกล่าว ผู้รับจ้างไม่ยอมซ่อมและอ้างว่าความเสียหายของงานก่อสร้างเกิดจากอุทกภัยเป็น เหตุสุดวิสยั ไม่ใช่เกดิ จากความบกพร่องของผู้รบั จา้ ง อีกประการหน่ึงผ้วู ่าจา้ งไดร้ บั มอบงานและผูร้ ับจ้างก็ได้รับเงินค่างานของแต่ละงวด ไวแ้ ล้ว ประเดน็ ปัญหา เมอื่ ความเสยี หายเกดิ ข้นึ จากอุทกภยั หรือจากเหตสุ ุดวิสยั และเกิดข้ึนหลังจากที่ผู้ว่าจ้างได้รับมอบงานส่วนน้ันไปแล้ว ผู้รับจ้าง จะปฏเิ สธความรบั ผดิ ชอบในสว่ นของความเสียหายไดห้ รอื ไม่ ขอ้ พจิ ารณา ความเสียหายนเ้ี กดิ ขนึ้ ระหว่างยงั ไมส่ ิน้ สุดสัญญา จงึ ตอ้ งใช้สัญญาจ้างข้อท่ี 11 มาประกอบพิจารณาอ้างอิงงานส่วนท่ีเสียหาย เปน็ งานที่คณะกรรมการตรวจการจ้างไดร้ ับมอบงานตามงวดงานแล้ว แต่งานนั้นยังไม่เสร็จสมบูรณ์ถูกต้องครบถ้วนตามสัญญา ฉะนั้น ผูร้ บั จา้ งยังคงต้องรบั ผดิ ชอบในความเสียหายดังกลา่ วอย่ตู ามสัญญาจ้างข้อที่ 11 ที่กาหนดให้ผู้รับจ้างต้องรับผิดชอบต่อความเสียหาย ใดๆ ที่เกดิ ขึ้นในระหว่างการก่อสร้างซ่ึงรวมถึงความเสียหายที่เกิดจากเหตุสุดวิสัยด้วย ซ่ึงผู้รับจ้างจะต้องซ่อมแซมหรือแก้ไขให้คืน ดี ตามแบบรูปและรายการที่กาหนดของสัญญาจ้าง ข้อสังเกต ข้อโต้แย้งตามกรณีนี้ เข้าใจว่าจะเนื่องจากความเข้าใจในความหมายของข้อกาหนดในสัญญาจ้างยังไม่ชัดเจน คือคาว่า “เหตุสุดวสิ ยั ” เพราะการเสยี หายเน่อื งจากเหตสุ ุดวิสัย มผี ลต่อค่สู ญั ญาอยู่ 2 กรณีคือ กรณที ี่หนง่ึ ถา้ เกิดข้นึ ในระหวา่ งการกอ่ สร้าง แม้ว่าผู้ว่าจ้างจะรับงานในส่วนท่ีพังทลายไปแล้ว ผู้รับจ้างยังต้องรับผิดชอบ ซอ่ มแซมในส่วนที่เสียหายใหค้ ืนดใี นสภาพเดิม ตามสญั ญาขอ้ ท่ี 11 กรณีที่สอง ถา้ ความเสียหายท่ีเกดิ จากเหตุสดุ วิสัย เกิดขึน้ หลังจากทผ่ี ู้รบั จา้ งไดส้ ่งมอบงานงวดสดุ ท้ายแลว้ แม้วา่ จะยังอยู่ใน ช่วงเวลาประกันความเสียหายก็ตาม ผู้รับจ้างจะพ้นจากความรับผิด เพราะตามสัญญาข้อที่ 8 กาหนดความรับผิดชอบของผู้รับจ้าง ถึงเหตุความเสียหายของงานเพยี งเน่อื งจากผลการทางานของผรู้ บั จ้างเท่าน้ัน ตามกรณศี กึ ษาน้ีเปน็ ความเสยี หายทเ่ี กดิ จากเหตสุ ดุ วสิ ยั ผู้รับจ้างจะมีสิทธิเพียงขอขยายเวลาปฏิบัติงานได้ตามสัญญาจ้าง ข้อท่ี 21 เท่านั้น ระหว่างทีอ่ าคารกาลงั ก่อสร้างอยู่ได้เกดิ เพลิงไหม้ขึ้นเปน็ เหตใุ หส้ ่วนใดสว่ นหนง่ึ ของอาคารชารดุ เสยหาย จาเป็นต้องรื้อส่วน เสียหายออกและซอ่ มสร้างข้นึ ใหม่ จากการตรวจสอบถงึ สาเหตุของเพลิงไหม้ เกดิ จากเหตุสุดวิสัยซึ่งไม่สามารถ้องกันได้ ความเสียหาย ดังกล่าวน้ี แม้ว่าจะเกิดจากเหตุสุดวิสัย ผู้รับจ้างก็ยังต้องรับผิดชอบซ่อมสร้างอาคารให้ถูกต้องตรงตามแบบรูปและรายการก่อสร้าง เพยี งแตม่ ีสิทธขิ อขยายเวลาทาการตามท่เี ป็นจริงได้ 3. เอกสารสญั ญาจา้ งขัดแย้งกนั ขอ้ เท็จจรงิ หนว่ ยงานราชการแห่งหน่ึงไดท้ าสัญญาจา้ งบริษัท ข. ทาการก่อสร้างอาคารสูง 4 ชั้น เนื่องจากราคาที่เสนอยังสูงกว่าเงินที่จะ จ้าง คณะกรรมการพจิ ารณาผลการประกวดราคาจงึ พิจารณาตดั ลดรายการกอ่ สร้างบางรายการ เพื่อให้ราคาค่าก่อสร้างอยู่ในวงเงินท่ี

5 - 14 การดาเนนิ การด้านเอกสารประกอบสัญญา จะจ้าง รายการทข่ี อตดั ลด ได้แก่ งานกรุฝ้าเพดานและโครงฝา้ แบบ ที-บาร์ ของพน้ื ชั้น 2, 3 และ 4 ออก 3 ชั้น และได้แนบรายการตัด ลดดงั กล่าวเปน็ เอกสารแนบทา้ ยสัญญาไวด้ ว้ ย ในระหว่างทีก่ ารก่อสร้างไดด้ าเนินงานด้านโครงสรา้ งอาคารไปจนครบท้งั 4 ชน้ั และมงี านตกแตง่ ทางด้านสถาปัตยกรรมทางาน ตง้ั แตช่ น้ั ลา่ งขน้ึ มาตามลาดับ เมอื่ มกี ารตรวจรับงานประจางวด ได้มีปัญหาข้อขัดแย้งในเร่ืองของฝ้าเพดานตามรายการท่ีได้ตัดออกไป ในขนั้ ตอนพจิ ารณาราคา ผูร้ บั จา้ งไม่ไดฉ้ าบปนู ผนังและเพดานส่วนท่อี ยู่เหนือระดับฝ้า ฝา่ ยผูว้ ่าจ้างเห็นว่าควรจะต้องทาด้วย เพราะใน รายการกอ่ สรา้ งทวั่ ไประบวุ า่ สว่ นใดของคาน เสา เพดานท่ีคนมองเหน็ จะตอ้ งฉาบปนู ทาสี (ยกเว้นสว่ นทมี่ ีฝ้าเพดานปิดไมต่ อ้ งฉาบและ ทาสี) ดังน้ันในกรณีนี้ เม่ือไม่มีฝ้าเพดานปิดผู้รับจ้างจะต้องฉาบปูนและทาสีตามรายการที่กาหนดไว้ผู้รับจ้างแย้งว่า ในข้ันการจัดทา ประมาณการเพ่ือเสนอราคาน้ัน ได้ใช้แบบรูปเดิมกอ่ นการตัดลด ซึ่งไม่มงี านฉาบปูนและทาสีในส่วนน้ีเพราะมีฝ้าเพดานปิดอยู่และผู้รับ จา้ งก็ทางานตรงตามแบบรปู และรายการละเอยี ดตามสญั ญาจ้างแล้ว จึงเป็นกรณขี ้อโตแ้ ยง้ กนั ไมส่ ามารถตรวจรบั งานได้ ประเดน็ ปัญหา เอกสารรายการตัดลดขดั แย้งกับขอ้ กาหนดของรายการทัว่ ไป ควรยดึ เอกสารใดเปน็ เอกสารทีถ่ กู ตอ้ ง ขอ้ พจิ ารณา รายการทั่วไปกาหนดใหฉ้ าบปนู ผนงั และเพดานส่วนที่มองเห็นได้รวมท้งั ทาสดี ้วย ซ่ึงกาหนดใหใ้ ช้กบั สว่ นต่างๆของอาคาร ส่วน ของผนังบางส่วนและเพดานที่มีฝา้ ที-บารป์ ดิ อยตู่ ามแบบรูปเดิมไม่ต้องฉาบปูนและทาสี ต่อมาในขั้นตอนพิจารณาราคาได้มีการตัดลด รายการงานฝ้าเพดานออก เพื่อให้ราคาคา่ กอ่ สรา้ งทั้งหมดอยใู่ นวงเงินท่จี ะจ้าง การนารายการท่ัวไปซ่ึงกาหนดข้นึ ไวส้ าหรับการก่อสร้าง อาคารเต็มตามรูปแบบ จึงไมอ่ าจใชก้ บั การกอ่ สรา้ งในสว่ นทมี่ กี ารปรบั ลดรายการกอ่ สร้าง ท่มี กี ารตกลงกนั เป็นการเฉพาะทีไ่ ด้ ขอ้ สังเกต ความขัดแย้งระหว่างแบบรูปหรือรายการก่อสร้างก็ดี ถ้าพิจารณาจากข้อกาหนดในรายการทั่วไปซึ่งเป็นการกาหนดขึ้นก่อน สว่ นรายการตัดลดเป็นงานที่กาหนดขึ้นภายหลัง จะนาข้อกาหนดของรายการทั่วไปมาใช้บังคับเหนือกว่ารายการเฉพาะท่ีกาหนดข้ึน ภายหลงั ไมไ่ ด้ เพราะเป็นการแสดงเจตนาคนละเวลากนั เชน่ เดยี วกับรายการเพมิ่ เตมิ ย่อมใช้บังคบั เหนอื กว่ารายการทัว่ ไปนน่ั เอง ความขัดแย้งในลักษณะน้ีมักจะเกิดข้ึนอยู่เสมอกับงานที่มีการตัดลดรายการ อย่างในกรณีน้ี ถ้ามีบันทึกข้อความเพิ่มเติมเป็น ข้อตกลงในรายการตัดลดว่า สว่ นทมี่ องเหน็ ได้จากงานตัดลดให้ฉาบปนู และทาสี เชน่ เดยี วกบั ที่กาหนดไว้ในรายการทั่วไป ก็จะช่วยขจัด ปัญหาในเวลาตรวจรับงวดงาน เอกสารการตดั ลดงานฝา้ เพดานเป็นเอกสารสัญญาทถ่ี กู ต้องเหนอื กว่ารายการประกอบแบบก่อสร้าง โดยท่ีผู้รับจ้างไม่ต้องฉาบ ปูนทาสสี ่วนทีอ่ ย่เู หนอื ฝา้ เพดานของสว่ นท่ีถกู ตดั ลดน้นั รายการทว่ั ไปประกอบแบบก่อสรา้ ง จะกาหนดให้ส่วนท่ีมองเห็นได้ของผิวคอนกรีตจะต้องฉาบปูนและทาสี และส่วนเหนือฝ้า เพดานซึ่งมองเห็นไม่ได้ จะไม่กาหนดให้ฉาบปูนและทาสี ซ่ึงเป็นเจตนาเดิมของผู้ว่าจ้างและเป็นการกาหนดต้ังแต่ก่อนข้ันตอนการ ประกวดราคาก่อสร้าง ส่วนการตัดลดงานฝ้าเพดานเป็นรายการที่ทาขึ้นภายหลังในข้ันตอนการประกวดราคา ส่วนงานฉาบปูนทาสี เหนอื ฝ้าเพดานมิไดม้ ีกลา่ วถงึ ในรายการตดั ลด ควรถือว่าไม่มงี านสว่ นน้ตี ามแบบรูปเดมิ กอ่ นการตดั ลดงาน จึงต้องให้ความเป็นธรรมต่อ ผรู้ ับจ้างทีไ่ ม่ควรต้องทางานสว่ นฉาบปูน ทาสีเพม่ิ เตมิ

การตรวจงานและการสง่ มอบงาน 6 - 1 บทท่ี 6 การตรวจงานและการสง่ มอบงาน 1. การตรวจงาน การตรวจงาน คือ การตรวจผลงานท้ังหมดทางคุณภาพและปริมาณ เพ่ือการรับงานเป็นคร้ังคราวหรือตามงวดงานหรือ ขัน้ ตอนทสี่ าคัญๆ ผู้ทจี่ ะตรวจงานอาจจะเป็นเจ้าของ สถาปนิก และวิศวกรผู้ออกแบบ ผู้จัดการโครงการ ช่างชานาญเฉพาะกิจ และ คณะกรรมการตรวจการจ้างของส่วนราชการ การตรวจงานจะไม่ทาการตรวจตลอดเวลาแต่จะใช้ผลจากรายงานของผู้ควบคุมงาน ซึ่งจะจดั ทารายงานเปน็ ประจาทกุ วัน ทกุ สัปดาห์ ทกุ เดือน และทุกงวดงานเป็นเกณฑ์ โดยถือเป็นหลักฐานและเอกสารสาคัญอย่างย่ิง โดยแบ่งข้นั ตอนการตรวจงาน ออกเปน็ 2 ขั้นตอน ดงั ต่อไปน้ี 1) การตรวจงานระหว่างการก่อสร้าง จะต้องปฏิบัติอย่างรอบคอบเพ่ือไม่ให้เกิดการผิดพลาดระหว่างการดาเนินการ กอ่ สรา้ ง ดงั นัน้ ผู้ตรวจงานควรพจิ ารณาดงั ตอ่ ไปนี้ (1) ตรวจทกุ ขั้นตอนตามช่วงตา่ งๆ ของงาน เพื่อการขจดั ปัญหากอ่ นที่งานจะต้องหยุดชะงักหรือต้องแก้ไข เพราะไม่ ตรงตามแบบรปู รายการ งานบางอย่างถา้ ยังไมไ่ ด้รบั อนญุ าตจากผ้มู ีอานาจอนุมัติแก้ไขก็จะทาต่อไปไม่ได้เลย เช่น งานตอกเข็ม งานเท คอนกรีต เปน็ ต้น (2) ตรวจสอบความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ในการตรวจงานมิใช่จะตรวจเฉพาะการก่อสร้างเพียงอย่างเดียว จาเป็นอยา่ งยงิ่ ตอ้ งตรวจสอบความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน เช่น ความปลอดภัยของบุคลากรช่างและคนงาน ความปลอดภัยของ อาคารทก่ี าลังกอ่ สร้าง รวมทง้ั การชีแ้ นะในการเตรยี มการและแกไ้ ข หรอื หาทางป้องกนั บอ่ เกิดของภยั ต่างๆ เช่น ฟา้ ผา่ นา้ ทว่ ม ดนิ ถล่ม พายุ ความประมาทเลินเล่อท่ีจะเป็นภัยจากเคร่ืองมือ เคร่ืองจักร ลิฟท์ ป้ันจั่น ภัยจากกระแสไฟฟ้าแรงสูง การดูแลรักษาโครงสร้าง ชว่ั คราว ไม้แบบ ไมค้ า้ ยนั นั่งร้าน การไม่ประมาทเรื่องอัคคีภัย การป้องกันอาคารข้างเคียง คนเดินถนน การแนะนาอันตรายอันเกิด จากสารเคมีปฏกิ ิรยิ าของสารพษิ ต่างๆ เปน็ ต้น (3) ผู้ตรวจงานควรพิจารณาเนื้องานท่ีมีความสัมพนั ธก์ ับระยะเวลา งานซึ่งสัมพันธ์กับระยะเวลาควรกาหนดให้ผู้รับ จ้างดาเนินการขออนุมัติให้เรยี บรอ้ ยก่อน เช่น การเลือกใชว้ ัสดุต่างๆ การตดั สินใจเลอื กใชส้ ่วนผสมคอนกรีต เครื่องสุขภัณฑ์ สี อุปกรณ์ การประกอบอาคาร เชน่ กลอน ประตูหนา้ ต่าง ควรกาหนดเวลาให้ดาเนินการขออนุมัติ หรือให้ความเห็นชอบเสียแต่เนิ่นๆ เช่น ก่อน เวลาตดิ ตั้งหรอื ใชง้ านอยา่ งน้อยก่วี นั เพ่อื ให้มเี วลาในการตรวจสอบและผู้รับจ้างสามารถจดั ซือ้ จดั หาไดท้ นั เวลาตามกาหนด (4) การตรวจแบบขยายรายละเอียด (Shop Drawing) ถือเปน็ สง่ิ สาคญั ในระหวา่ งการดาเนินการ เป็นการอนุมัติให้ ผู้รบั จา้ งลงมอื ทาได้ตามแบบรูป หรือจะแก้ไขเปล่ียนแปลงเพ่ิมเติมให้ถูกต้องตามหลักวิชา ควรให้ผู้รับจ้างจัดทาให้ตรวจสอบเสียแต่ เน่ินๆ ซ่งึ เปน็ หน้าทโ่ี ดยตรงของสถาปนิกและวิศวกรผูอ้ อกแบบที่จะดาเนินการตรวจสอบ 2) การตรวจงานตามงวดงาน ทาเม่ืองานแล้วเสร็จเป็นงวด เพ่ือการรับงานและเสนอผลการตรวจรับไปยังผู้มีอานาจส่ัง จ่ายเงินทางฝ่ายผูว้ า่ จา้ ง การแบ่งงวดงานทด่ี ีนนั้ ควรจัดแบ่งตามข้ันตอนในแผนงานก่อสร้างที่ถูกต้องตามข้อเท็จจริงของการก่อสร้าง เชน่ งานงวดหนง่ึ เป็นงานเดินไฟฟา้ กาลัง จะต้องตดิ ต้งั หมอ้ แปลงไฟเรยี บร้อยด้วยจึงจะรบั เงนิ ในงวดงานน้ัน แต่ตามแบบรูปหม้อแปลง น้ัน ติดต้ังไว้ภายในอาคาร และงวดนี้ยังมิได้ก่อสร้างอาคาร จึงทาให้งานไม่ครบตามงวดงานท่ีระบุ วิธีแก้ไขปัญหาน้ีก็คือ ต้อง ขออนมุ ัตแิ กไ้ ขงวดงานและตดั ทอนเงินงวดในส่วนทย่ี ังไมไ่ ด้ดาเนนิ การออกไปนาเอาคา่ ตดิ ตง้ั หม้อแปลงไปไวง้ วดท้ายๆ เมื่อการก่อสร้าง อาคารเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแล้ว เพื่อมใิ หเ้ กดิ การลา่ ช้าในการจ่ายเงินใหแ้ กผ่ ู้รับจ้าง 2. การสง่ มอบงาน การส่งมอบงาน จะมีการดาเนินการเมื่อผู้รับจ้างได้ดาเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จตามส่วนของงานแต่ละงวดที่ระบุไว้ใน สญั ญาแลว้ กจ็ ะตอ้ งมกี ารแจ้งขอสง่ มอบงานให้ผู้วา่ จ้าง เพอ่ื ขอรับเงินค่างานประจางวดนัน้ การปฏิบัติเช่นน้ี เพื่อจะเป็นการช่วยเหลือ ผ้รู บั จา้ งใหม้ เี งินทุนหมนุ เวยี นสาหรับจัดซ้ือวัสดุและจ่ายค่าแรงงานเพ่ือทางานต่อไป การส่งมอบงานในลักษณะเช่นนี้เรียกว่า การส่ง

6 - 2 การตรวจงานและการสง่ มอบงาน งานงวด หรอื การตรวจรับมอบงานงวด ซ่ึงจะแบ่งออกเป็น 2 ลกั ษณะ คือ การตรวจรับมอบงานงวดปกติ และ การตรวจรับมอบงาน งวดสุดท้าย 1) การตรวจรับมอบงานงวดปกติ ในงานงวดแต่ละงวดจะระบุรายละเอียดของงานต่าง ๆ ที่กาหนดให้ทาจนเสร็จ ผู้ ตรวจสอบจะต้องตรวจอย่างรอบคอบว่างานท่ีระบุไวใ้ นงานงวดตามสัญญานนั้ ได้กระทาเสร็จครบถ้วนตามท่ีระบุไว้แล้ว จึงกระทาการ ส่งมอบหรือรับงานได้ โดยต้องมีคณะกรรมการการตรวจการจ้างเข้ามาเก่ียวข้องด้วย เม่ือผู้ รับจ้างต้องการส่งมอบงาน ก็จะต้องมี หนงั สือแจง้ สง่ มอบงานถึงประธานคณะกรรมการตรวจการจ้างหรือเรียกว่าใบส่งมอบงาน โดยผ่านทางเจ้าหน้าท่ีผู้ควบคุมงานเพื่อขอ เบกิ เงนิ ซงึ่ ผ้คู วบคุมงานจะตอ้ งรายงานผลการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างถึงประธานคณะกรรมการตรวจการจ้างว่าได้ตรวจสอบผลงาน แล้วเสร็จถกู ต้อง ประธานคณะกรรมการตรวจการจ้าง กจ็ ะกาหนดวนั ตรวจรับงานให้คณะกรรมการทกุ คนทราบ โดยปกติไม่ควรเกิน 3 วนั ทาการ นับจากวันที่ประธานคณะกรรมการตรวจการจ้างได้รบั หนังสือแจ้งส่งงาน ในการตรวจรบั งานหรือประชุมเก่ียวกบั การก่อสร้างของคณะกรรมการตรวจการจา้ งทกุ ครง้ั ควรจะต้องมีการบันทกึ รายงาน การประชุม กรรมการท่านใดมีความเห็นขัดแย้งก็ให้บันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรด้วย และสรุปผลการประชุมเสนอผู้ว่าจ้างหรือ หัวหน้าส่วนราชการเพอ่ื ทราบหรือขออนมุ ตั แิ ล้วแตก่ รณี เอกสารต่างๆ ทุกแผ่นควรให้คณะกรรมการลงนามกากับให้ครบถ้วนทุกคน และส่งผ่านหน่วยงานพัสดุเพ่ือนาเสนอขอ อนมุ ัตกิ ารเบิกจ่ายในข้ันตอนตอ่ ไป สาหรับเอกสารการตรวจรับงานประจางวดนั้น เม่ือมีการลงนามแล้วจะมอบสาเนาให้แก่ผู้รับจ้าง ไว้ 1 ชุด เพ่อื เกบ็ ไว้เปน็ หลกั ฐาน การตรวจการจ้างรับงานที่ทาเสร็จเรียบร้อยตามสัญญาจ้างแต่ละงวดนั้น ถือว่าเป็นขั้นตอนหนึ่งเพื่อให้ผู้รับจ้าง มีสิทธิ์เบิกเงินประจางวดได้ตามสัญญาเท่าน้ัน มิใช่เป็นการรับงานจ้างงวดน้ันไว้ใช้ในราชการ ดังนั้นถ้ามีความเสียหายใดๆ เกิดขึ้น ในภายหลงั การตรวจรบั งานงวดน้นั ผูร้ ับจา้ งยังต้องเป็นผรู้ ับผดิ ชอบในความเสียหายเหล่าน้ัน โดยต้องจัดหามาใหม่หรือแก้ไขซ่อมแซม ใหค้ ืนสภาพตามทีร่ ะบุในหนงั สอื สญั ญาจ้าง เมอ่ื ผ้รู ับจา้ งดาเนนิ งานตามสญั ญาเสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็จะต้องทาเอกสารส่งมอบงานตามงวดงานท่ีระบุในสัญญา และเมื่อ เจา้ หนา้ ที่พัสดุได้รับเอกสารส่งมอบงานแล้วจะต้องดาเนินการจัดทาเอกสารการตรวจรับงาน ซ่ึงประกอบด้วยแบบตรวจรับงานของ คณะกรรมการ ทบ.467-014 และ ทบ.467-007 (งานระหว่างงวด) หากเปน็ งานงวดสุดทา้ ยจะตอ้ งเพิ่มแบบใบตรวจรับงานและ ส่ง-รับ มอบอาคารและบญั ชีอาคารเพ่มิ เตมิ ดว้ ย ส่งใหผ้ คู้ วบคมุ งาน เพ่ือนัดคณะกรรมการตรวจการจ้างไปทาการตรวจรบั ซ่งึ จะต้องดาเนินการ ภายใน 3 วัน และเมอื่ ตรวจรับเสร็จเรียบร้อยแล้วผู้ควบคุมงานจะต้องส่งเอกสารทั้งหมดคืนเจ้าหน้าท่ีพัสดุ เพื่อดาเนินการเบิกเงินให้ ผรู้ ับจ้างตอ่ ไป แตห่ ากงานไม่แลว้ เสร็จก็ให้สง่ คืนเชน่ กัน เพือ่ เจ้าหนา้ ทพี่ สั ดจุ ะได้แจ้งผู้รบั จ้างทราบต่อไป 2) การตรวจรับมอบงานงวดสุดท้าย การตรวจงานเพื่อส่งมอบงานงวดสุดท้ายนับเป็นงานที่สาคัญ โดยทั่วไป คณะกรรมการตรวจการจ้างจะต้องใช้ความละเอียดรอบคอบมากเป็นพิเศษ รวมท้ังใช้เวลาในการตรวจรับงานนานกว่าทุกงวด ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจการจ้างไม่เพียงแต่จะตรวจสอบความครบถ้วนของงานตามสัญญาเท่าน้ัน แต่จะต้องตรวจสอบความประณีต เรียบร้อยและความสะอาด รวมท้ังจะต้องตรวจสอบและทดสอบการทางานของระบบประกอบอาคารทุกระบบก่อนเริ่มใช้งานจริง ระบบต่างๆ ได้แก่ ระบบไฟฟา้ ระบบสุขาภิบาล ระบบปรับอากาศ และระบบอื่นๆ การตรวจสอบระบบนี้กระทาเพื่อให้แน่ใจว่า ไม่มี ข้อบกพร่องในระบบดงั กล่าว ทจี่ ะสง่ ผลเสียหายใหก้ บั อาคารได้ 3) การดาเนนิ การของผคู้ วบคมุ งาน ก่อนท่จี ะทาการตรวจรับมอบงานงวดสดุ ทา้ ย มีดงั ต่อไปนี้ (1) จดั ทาบญั ชรี ายการงานท่ตี อ้ งแก้ไข ใหแ้ กผ่ ู้รบั จ้างทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้องรวมทั้งผู้รับเหมาช่วงทุกราย เพ่ือทาการแก้ไข งานใหแ้ ลว้ เสร็จก่อนวนั ตรวจรบั งาน (2) เมื่อผู้รับจ้างแจง้ ว่างานในรายการแก้ไขทส่ี ัง่ งานไปนนั้ ทาการแก้ไขแล้วเสรจ็ หรอื ใกลแ้ ลว้ เสร็จ ก็ใหเ้ ข้าไปตรวจสอบ อกี คร้งั (3) เมือ่ ตรวจสอบว่าสามารถทาการส่งมอบงานได้แล้วน้ัน ก็ทาหนังสือแจ้งผู้ว่าจ้างและผู้ออกแบบให้ทาการตรวจรับ งานในขน้ั ต้น