Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 237 rattanakosin

237 rattanakosin

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-09-09 10:05:54

Description: 237 rattanakosin

Search

Read the Text Version

ใตร้ ม่ พระบารมี ๒๓๗๒ ๓ ๒ ๕ - ๒ ๕ ๖ ๒ ปี กรุงรัตนโกสนิ ทร์



ใตร้ ม่ พระบารมี ๒๓๗๒ ๓ ๒ ๕ - ๒ ๕ ๖ ๒ ปี กรุงรัตนโกสนิ ทร์



บทอาศริ วาท ใตร้ ่มพระบารมี ๒๓๗ ปี กรุงรัตนโกสนิ ทร์ นคเรศงามเง่อื นแม้น เมืองอนิ ทร์ วงศ์จกั รีนฤบดนิ ทร์ ประสิทธสิ์ ร้าง กรงุ รัตนโกสินทร ์ เสถยี รสถติ มั่นนา พระเดชพระคณุ มลา้ ง ทกุ ขส์ ้ินแผ่นดินเกษม เปรมมนัสภมู พิ ฒั นล์ ้วน ศิวิไลซ์ รม่ ฉัตรพระทรงชยั ปกเกล้า ธำ� รงสวัสดิส์ บิ รชั สมัย ไทยสุข เขษมนา พระราชกจิ ธิราชทา้ ว เลศิ ล้วนพระปรีชญาณ ตระการพระเกียรติกอ้ ง ไกวลั ดงั สรุ ยิ ฉายฉัน โลกหลา้ ไพรชั ตา่ งโจษจัน ลอื เลอื่ ง สยามรฐั ยืนหยดั กล้า แกร่งด้วยพระบารม ี ราชธานพี ิพิธพรอ้ ม เพราพราย คณุ แหง่ พระฤๅสาย ก่อเกือ้ ชาติอื่นยากจักหมาย เนาสขุ ฉะน้ีนา บญุ บพิตร ธ โอบเออ้ื พสกล�้ำมณีศรี เปรมปรดี ิ์ปราโมทยท์ ั้ง แดนไตร ศภุ ฤกษ์มงคลสมยั พิสฐิ พรอ้ ม สถาปนารฐั กรงุ ไกร ฐิตสิ วัสด์ิ ทวยราษฎร์นวยเนอื่ งนอ้ ม จิตตงั้ กตัญญุตา เทิดธรรมาธริ าชไท ้ จักรีวงศ์ สถติ มั่นยืนยาวยง ม่ิงเกลา้ แม้ชพี ป่นเป็นผง จกั ภัก ดนี า จงรกั พระขวญั ด้าว ตราบทา้ วนิรนั ดรก์ าล ฯ



สาร รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงวฒั นธรรม ประเทศไทยมีสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นหนึ่งในสามสถาบันหลัก คือ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เป็นท่ีเคารพรักเทิดทูนและ ยึดเหน่ยี วจิตใจมายาวนาน พระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ทรงมีคุณูปการอย่างอเนกอนันต์ต่อประเทศชาติและประชาชน ทรงปกครองบ้านเมือง ด้วยทศพิธราชธรรม สร้างความร่มเย็นเป็นสุข ดับร้อนผ่อนทุกข์แก่อาณาประชาราษฎร์ตลอดมา ปรากฏหลักฐานต้ังแต่สมัยสุโขทัย ในศิลาจารกึ พ่อขุนรามคำ�แหงหลักที่ ๑ กล่าวว่า “...ในปากประตูมกี ระดงิ่ อนั หน่งึ แขวนไวห้ ้ัน ไพรฟ่ ้าหน้าปกกลางบา้ นกลางเมอื ง มถี อ้ ยมคี วาม เจบ็ ทอ้ งขอ้ งใจ มนั จกั กลา่ วเถงิ เจา้ เถงิ ขนุ บไ่ ร้ ไปลนั่ กระดง่ิ อนั ทา่ นแขวนไว้ พอ่ ขนุ รามค�ำ แหงเจา้ เมอื งไดย้ นิ เรยี กเมอ่ื ถาม สวนความแกม่ นั ดว้ ยซอ่ื ไพรใ่ นเมอื งสโุ ขทัยน้จี งึ่ ชม....” สืบมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมบรมกษัตริย์แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ทรงสถาปนากรงุ เทพฯ เป็นเมืองหลวง เมอ่ื พุทธศกั ราช ๒๓๒๕ จนถงึ ปจั จบุ นั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ รชั สมัยสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั มหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู ทรงสบื สาน รักษา ตอ่ ยอดแนวพระราชดำ�รใิ นการบำ�บดั ทุกข์ บำ�รุงสขุ แก่ประชาชน กรุงเทพมหานคร มพี ัฒนาการเจริญ ก้าวหน้าในทุกมิติ ท้ังด้านปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ตลอดจนศิลปวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต ทั้งนี้ ด้วยพระมหากรุณาธิคุณอันใหญ่หลวง ของพระมหากษัตริย์ในพระบรมราชจักรีวงศ์ทุกพระองค์ พสกนิกรใต้ร่มพระบารมี และชาวต่างชาติใต้ร่มพระบรมโพธิสมภาร ล้วนร่มเย็น เปน็ สขุ ศานต์ทัว่ หล้า หนงั สอื ๒๓๒๕ – ๒๕๖๒ ใต้รม่ พระบารมี ๒๓๗ ปี กรงุ รัตนโกสนิ ทรท์ ่กี ระทรวงวฒั นธรรมจัดพมิ พใ์ นโอกาสพิเศษน้ี จะช่วย เสรมิ สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจและไดเ้ หน็ ถงึ พฒั นาการความเจรญิ รงุ่ เรอื ง ผา่ นกาลเวลาของกรงุ รตั นโกสนิ ทรจ์ ากอดตี สปู่ จั จบุ นั เปน็ ทปี่ ระจกั ษช์ ดั วา่ กรุงเทพมหานครเมืองหลวงของประเทศไทยมีชื่อเสียงระดับโลก เป็นมหานครแห่งศิลปวัฒนธรรม และเป็นเมืองจุดหมายปลายทางอันดับหน่ึง ซึง่ นกั ทอ่ งเทย่ี วตา่ งชาติตอ้ งการมาเยือนมากทส่ี ุด (นายวรี ะ โรจน์พจนรตั น์) รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงวัฒนธรรม



ค�ำ น�ำ ปลดั กระทรวงวฒั นธรรม การเฉลิมฉลองกรงุ รตั นโกสนิ ทร์มีข้นึ ครง้ั แรกต้งั แตพ่ ุทธศกั ราช ๒๓๒๘ พร้อมกบั การสถาปนากรุงรัตนโกสินทรแ์ ล้วเสร็จ หลังจากนั้น มีการจัดงานคร้ังใหญ่ข้ึนอีก ๓ ครั้ง ในวาระครบรอบ ๑๐๐ ปี ๑๕๐ ปี และ ๒๐๐ ปี จนกระท่ังพุทธศักราช ๒๕๕๗ กระทรวงวัฒนธรรม ได้จัดงานเฉลิมฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ขึ้นอีกคร้ัง เพื่อน้อมรำ�ลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมบรมกษัตริย์แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ และสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้าทุกพระองค์ในพระบรมราชจักรีวงศ์ ที่ทรงทำ�นุบำ�รุง บ้านเมอื งใหม้ คี วามผาสกุ และความเจรญิ รงุ่ เรืองในทกุ ๆ ดา้ น พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ กระทรวงวฒั นธรรมไดก้ ำ�หนดจัดงานใต้รม่ พระบารมี ๒๓๗ ปี กรุงรัตนโกสนิ ทร์ ข้ึนระหวา่ งวันที่ ๘ - ๑๐ มนี าคม ๒๕๖๒ ภายในงานมีการจัดกิจกรรมทางวัฒนธรรมหลายมิติ อาทิ กิจกรรมทางศาสนา ศิลปวัฒนธรรม การเสวนาวชิ าการ การจัดตลาดยอ้ นยคุ “เสนห่ ว์ ถิ ถี นิ่ วถิ ไี ทย” การแสดงละครองิ ประวตั ศิ าสตร์ กจิ กรรมชมุ ชนยอ้ นยคุ หรอื ชมุ ชนชาวไทยและชาวตา่ งชาตทิ ม่ี คี วามโดดเดน่ ดา้ นวฒั นธรรม เช่น ชมุ ชนบา้ นบาตร ชุมชนบางลำ�พู ชมุ ชนชาวจนี (ยา่ นเยาวราช) ชมุ ชนชาวอินเดีย (ย่านพาหุรดั ) ชุมชนชาวตะวนั ตก (ย่านกฎุ จี นี ) เป็นต้น รวมทง้ั การแสดงพนื้ บา้ นนานาชาตจิ ากมติ รประเทศ เพอื่ ใหป้ ระชาชนไดเ้ หน็ ภาพประวตั ศิ าสตรอ์ นั รงุ่ เรอื งของกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ (กรงุ เทพมหานคร) นับจากอดีตจนถึงปัจจุบัน และกระตุ้นให้ประชาชนเกิดความรัก ความภาคภูมิใจในความเป็นไทย พร้อมเผยแพร่เอกลักษณ์วัฒนธรรมไทย ให้เปน็ ที่ประจกั ษ์แกส่ ายตานักทอ่ งเท่ียวจากทั่วโลก โอกาสนีก้ ระทรวงวฒั นธรรมไดจ้ ดั พิมพ์หนงั สือ ๒๓๒๕ – ๒๕๖๒ ใต้รม่ พระบารมี ๒๓๗ ปี กรงุ รัตนโกสนิ ทรข์ นึ้ โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อเผยแพร่ความรู้ทางประวัติศาสตร์ของกรุงรัตนโกสินทร์ในแง่มุมต่างๆ อันเป็นการส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากรุ่นสู่รุ่น ก่อให้เกิดการ อนุรักษ์ สืบสาน และต่อยอดศลิ ปวัฒนธรรมไทยอย่างยั่งยืนสบื ไป (นายกฤษศญพงษ์ ศิริ) ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม

8

สารบัญ ๓ ๕ บทอาศิรวาท ๗ สารรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงวฒั นธรรม ๑๑ ค�ำ น�ำ ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม ๑๕ บทนำ� ๑๘ บทท่ี ๑ พระบารมีปกเกล้าฯ ชาวประชาร่มเยน็ เป็นสขุ ศานต์ ๒๒ รชั กาลที่ ๑ ๒๖ รัชกาลที่ ๒ ๓๐ รชั กาลที่ ๓ ๓๔ รัชกาลท่ี ๔ ๓๘ รัชกาลท่ี ๕ ๔๒ รชั กาลที่ ๖ ๔๖ รัชกาลท่ี ๗ ๕๐ รชั กาลที่ ๘ ๕๔ รชั กาลที่ ๙ ๕๙ รัชกาลท่ี ๑๐ ๖๑ บทที่ ๒ กรงุ เทพมหานคร ๒๓๒๕ – ๒๕๖๒ ๗๙ วถิ ชี ีวติ ๙๑ ย่านชุมชน ๑๐๕ วฒั นธรรมและประเพณี ๑๒๑ การแสดง มหรสพ ๑๓๙ ระบบสาธารณูปโภค ๑๔๙ การศกึ ษา ๑๖๗ เศรษฐกิจ ๑๗๘ บทท่ี ๓ กรงุ รตั นโกสนิ ทรเ์ รอื งรอง บรรณานุกรม



บทน�ำ กรุงเทพฯ ดุจเทพสร้าง เมืองศูนย์กลางการปกครอง วัด วัง งามเรืองรอง เมืองหลวงของประเทศไทย กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ หรอื ทร่ี จู้ กั กนั ในนาม กรงุ เทพมหานคร เมอื งหลวงของประเทศไทย พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลก มหาราช ปฐมบรมกษัตรยิ ์แหง่ พระบรมราชจกั รวี งศ์ ทรงสถาปนาขึ้นทางฝง่ั ตะวนั ออกของแมน่ �้ำเจา้ พระยา เมือ่ พุทธศักราช ๒๓๒๕ จากนั้นมากรุงรัตนโกสนิ ทร์เจรญิ ร่งุ เรอื ง มพี ฒั นาการในด้านตา่ งๆ มาอยา่ งยาวนานจวบจนปจั จุบัน เปน็ เวลา ๒๓๗ ปี ในพทุ ธศักราช ๒๕๖๒ ท่ามกลางวิวัฒนาการ และความเปล่ียนแปลงของกรุงเทพมหานครมาอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลาง ทางการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคมและศิลปวัฒนธรรม ท้ังนี้เน่ืองมาจากพระมหากรุณาธิคุณ พระปรีชาสามารถ พระราช วสิ ยั ทศั นข์ องพระมหากษตั รยิ ท์ กุ พระองคใ์ นพระบรมราชจกั รวี งศท์ ที่ รงหว่ งใยในทกุ ขส์ ขุ ของอาณาประชาราษฎร์ ทรงพฒั นาบา้ นเมอื ง ปกป้องขอบขัณฑสีมาอาณาจักร และสร้างสรรค์ความเจริญนานัปการ เพ่ือประโยชน์และความรุ่งเรืองไพบูลย์เป็นปึกแผ่นมั่นคงของ ประเทศชาติ และประชาชน บทที่ 11







๑บทท่ี พระบารมปี กเกล้าฯ ชาวประชารม่ เย็นเปน็ สขุ ศานต์ ตราประจำ�พระบรมราชจกั รีวงศ์ กรงุ รตั นโกสนิ ทรย์ นื ยาวมาถงึ ๒๓๗ ปี ดว้ ยพระบารมแี หง่ สมเดจ็ พระมหากษตั รยิ าธริ าชในพระบรมราชจกั รวี งศท์ กุ พระองค์ ทรงเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนไทยทั้งแผ่นดิน ทรงปกแผ่พระบารมี คุ้มครองราชอาณาจักรและอาณาประชาราษฎร์ให้ร่มเย็นเป็นสุข โดยทั่วกัน พระราชกรณียกิจ และพระราชจริยาวัตร เป็นท่ีประจักษ์ชัด นับเป็นบุญของชาวไทยได้เกิดมาใต้ร่มพระบารมี และผู้ที่ เขา้ มาพึง่ พระบรมโพธิสมภาร 15

พระบรมราชจักรีวงศ สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก พระอคั รชายา (ทองดี) (หยก) สมเดจ็ พระอมรินทรา บรมราชินี พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา จุฬาโลกมหาราช สมเด็จพระเจา พี่นางเธอ (๒๒๗๙-๒๓๒๕-๒๓๕๒) เจา ฟา กรมพระศรสี ดุ ารกั ษ สมเดจ็ พระศรีสลุ าลยั พระบาทสมเดจ็ สมเด็จพระศรีสรุ เิ ยนทรา บรมราชนิ ี พระพทุ ธเลศิ หลา นภาลัย (๒๓๑๐-๒๓๕๒-๒๓๖๗) พระบาทสมเดจ็ พระบาทสมเดจ็ พระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกลา เจาอยหู วั พระจอมเกลาเจา อยหู วั พระปน เกลา เจา อยูหวั (๒๓๓๐-๒๓๖๗-๒๓๙๔) (๒๓๔๗-๒๓๙๔-๒๔๑๑) สมเดจ็ พระบรมราชมาตามหยั กาเธอ กรมหม่ืนมาตยาพทิ ักษ สมเดจ็ พระเทพศิรนิ ทรา บรมราชนิ ี สมเด็จพระปย มาวดี ศรีพัชรนิ ทรมาตา

พระบาทสมเด็จ สมเด็จพระศรีสวรินทริ า บรมราชเทวี สมเด็จพระศรีพชั รนิ ทรา บรมราชินีนาถ พระจุลจอมเกลาเจา อยหู ัว พระพันวสั สาอยั ยิกาเจา พระบรมราชชนนพี ันปห ลวง (๒๓๙๖-๒๔๑๑-๒๔๕๓) สมเด็จพระศรนี ครินทรา สมเด็จพระมหติ ลาธิเบศร พระบาทสมเดจ็ บรมราชชนนี อดลุ ยเดชวิกรม พระมงกุฎเกลา เจา อยูห ัว พระบรมราชชนก (๒๔๒๓-๒๔๕๓-๒๔๖๘) พระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจา อยูหัว (๒๔๓๖-๒๔๖๘-๒๔๗๗-๒๔๘๔) พระบาทสมเด็จ พระบาทสมเดจ็ สมเดจ็ พระนางเจาสิริกติ ์ิ พระปรเมนทรมหาอานันทมหดิ ล พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช พระบรมราชินีนาถ พระอัฐมรามาธิบดนิ ทร บรมนาถบพิตร ในรัชกาลท่ี ๙ (๒๔๖๘-๒๔๗๗-๒๔๘๙) (๒๔๗๐-๒๔๘๙-๒๕๕๙) เสด็จพระบรมราชสมภพ สมเดจ็ พระเจา อยหู วั มหาวชิราลงกรณ เสดจ็ ข้นึ ครองสิริราชสมบัติ บดนิ ทรเทพยวรางกรู สละราชสมบัติ เสดจ็ สวรรคต (๒๔๙๕-๒๕๕๙–ปจ จุบัน)

รชั กาลท่ี ๑ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช (พุทธศกั ราช ๒๓๒๕ – ๒๓๕๒) พระนามเดมิ ด้วง หรอื ทองด้วง เป็นพระราชโอรสในสมเดจ็ พระปฐมบรมมหาชนก (ทองด)ี และพระมารดา พระนามวา่ หยก หรือ ดาวเรือง เสด็จพระบรมราชสมภพ เม่อื วนั พธุ ท่ี ๒๐ มีนาคม พุทธศักราช ๒๒๗๙ เสด็จขนึ้ ครองราชสมบตั เิ ปน็ ปฐมบรม กษตั ริย์แหง่ กรุงรตั นโกสินทร์ วนั เสาร์ ท่ี ๖ เมษายน พทุ ธศกั ราช ๒๓๒๕ เสดจ็ สวรรคต เม่ือวันพฤหสั บดี ท่ี ๗ กันยายน พทุ ธศักราช ๒๓๕๒ พระชนมพรรษา ๗๓ พรรษา ทรงด�ำรงสริ ริ าชสมบัติ ๒๗ ปี ในรชั สมยั ของพระองคท์ รงทำ� ศกึ สงครามปอ้ งกนั พระนครและขยายพระราชอาณาเขตหลายครง้ั ทรงจดั ระเบยี บสงั คม ฟน้ื ฟู ทำ� นบุ ำ� รงุ งานศลิ ปกรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณแี ละราชประเพณตี า่ งๆ ทรงสรา้ ง บรู ณปฏสิ งั ขรณว์ ดั วาอารามทงั้ ในเขตพระนครและ หัวเมอื ง โปรดใหส้ ังคายนาพระไตรปฎิ ก วางระบบกฎหมาย บา้ นเมืองร่มเย็นเปน็ สขุ และเจรญิ รงุ่ เรือง พุทธศักราช ๒๕๒๕ คณะรัฐมนตรีมีมติถวายพระราชสมัญญา “พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช” และ กำ� หนดใหว้ ันท่ี ๖ เมษายน เปน็ “วันทรี่ ะลึกมหาจกั รีบรมราชวงศ”์ 18

19

วดั พระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม 20

หนงั สือสมดุ ไทย ตราราชสีห์ เรื่องกฎหมายตราสามดวง ตราคชสีห์ ตราบวั แก้ว พระราชนิพนธร์ ชั กาลที่ ๑ เรอ่ื งรามเกยี รต์ิ เงินพดดว้ ง 21

รัชกาลที่ ๒ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลา้ นภาลัย (พุทธศักราช ๒๓๕๒ – ๒๓๖๗) พระนามเดมิ สมเดจ็ เจา้ ฟา้ ฉมิ เปน็ พระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราชและสมเดจ็ พระอมรนิ ทรา บรมราชินี เสดจ็ พระบรมราชสมภพ เม่อื วันพธุ ท่ี ๒๔ กมุ ภาพันธ์ พุทธศกั ราช ๒๓๑๐ เสด็จข้ึนครองราชสมบตั ิ วนั พฤหสั บดี ที่ ๗ กันยายน พุทธศกั ราช ๒๓๕๒ เสด็จสวรรคต เมอื่ วนั พธุ ท่ี ๒๑ กรกฎาคม พทุ ธศกั ราช ๒๓๖๗ พระชนมพรรษา ๕๗ พรรษา ทรงด�ำรง สิริราชสมบัติ ๑๕ ปี ทรงท�ำนุบ�ำรุงบ้านเมืองทุกด้าน โปรดเกล้าฯ ให้สร้างป้อมปราการต่างๆ สร้างเมืองนครเข่ือนขันธ์เป็นเมืองหน้าด่าน เพ่ือ ปอ้ งกนั ข้าศกึ สมยั น้ีได้ชอ่ื ว่าเปน็ ยคุ ทองของวรรณกรรม พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลัย ทรงพระปรชี าด้านศิลปวัฒนธรรม หลายแขนง ทรงพระราชนพิ นธ์วรรณคดีจำ� นวนมาก ปรากฏผลงานฝีพระหตั ถท์ างดา้ นศิลปะ ไดแ้ ก่ หุน่ พระยารกั ใหญ่ พระยารักนอ้ ย ทรงแกะสลักบานประตไู มท้ พี่ ระวิหารวัดสทุ ศั นเทพวราราม เปน็ ตน้ พุทธศกั ราช ๒๕๑๑ โอกาสครบ ๒๐๐ ปีวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหล้านภาลัย องค์การ การศกึ ษา วิทยาศาสตรแ์ ละวัฒนธรรมแหง่ สหประชาชาติ (UNESCO) ได้ประกาศพระเกยี รติคณุ ให้ทรงเปน็ บคุ คลสำ� คญั ของโลก สาขา วรรณกรรม และคณะรฐั มนตรมี มี ตใิ หว้ นั ท่ี ๒๔ กมุ ภาพนั ธ์ เปน็ วนั ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ 22

23 วดั อรุณราชวราราม

บานประตูแกะสลกั วัดสุทัศนเทพวราราม ฝีพระหตั ถพ์ ระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ปัจจบุ ันจัดแสดงที่พพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติ พระนคร 24

ห่นุ พระยารักใหญ่ พระยารกั นอ้ ย ฝีพระหตั ถ์ พระราชนพิ นธ์บทละครเรอ่ื งตา่ งๆ 25

รัชกาลที่ ๓ พระบาทสมเด็จพระนง่ั เกลา้ เจ้าอยู่หวั (พทุ ธศกั ราช ๒๓๖๗ – ๒๓๙๔) พระนามเดิม พระองค์เจ้าทับ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและสมเด็จพระศรีสุลาลัย เสดจ็ พระบรมราชสมภพ เมอื่ วนั จนั ทร์ ท่ี ๓๑ มนี าคม พทุ ธศกั ราช ๒๓๓๐ เสดจ็ ขนึ้ ครองราชสมบตั ิ วนั พธุ ที่ ๒๑ กรกฎาคม พทุ ธศกั ราช ๒๓๖๗ เสดจ็ สวรรคต เมอ่ื วันพธุ ท่ี ๒ เมษายน พทุ ธศกั ราช ๒๓๙๔ พระชนมพรรษา ๖๔ พรรษา ทรงด�ำรงสริ ริ าชสมบตั ิ ๑๗ ปี ในรัชกาลของพระองค์ต้องเผชิญปัญหาการคุกคามของจักรวรรดินิยมตะวันตก เป็นผลให้ต้องเจรจาท�ำสนธิสัญญา ทางการค้ากับอังกฤษและสหรฐั อเมริกาในพุทธศกั ราช ๒๓๖๙ และ ๒๓๗๕ ตามล�ำดบั พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง พระปรีชาในการพาณชิ ย์และการค้าขายกบั ต่างประเทศอย่างยงิ่ ทรงได้รบั การยกยอ่ งเปน็ “เจ้าสวั ” มาแตใ่ นรัชกาลท่ี ๒ เปน็ ผลให้มี พระราชทรพั ยจ์ �ำนวนมากเกบ็ รกั ษาไวใ้ นพระคลังขา้ งท่ี เรียกกนั ต่อมาวา่ “เงินถงุ แดง” และเงนิ จ�ำนวนนไ้ี ดน้ ำ� มาใชเ้ ปน็ ค่าปฏกิ รรม สงครามในสมยั รชั กาลที่ ๕ ครงั้ กรณีพิพาทกบั ฝรงั่ เศส ร.ศ. ๑๑๒ มีพระราชศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างย่ิง โปรดให้สมณทูตออกไปเจริญสัมพันธไมตรีทางศาสนากับลังกา ทรงสร้าง และปฏสิ งั ขรณว์ ดั วาอารามหลายแหง่ กลา่ วกนั วา่ “สมยั น้ี ใครสรา้ งวดั กโ็ ปรด” และโปรดใหจ้ ารกึ สรรพวชิ าทง้ั ประวตั ศิ าสตร์ วรรณกรรม ตำ� ราการนวดและการแพทยไ์ วต้ ามเสาศาลารายวดั พระเชตพุ นวมิ ลมงั คลาราม (วดั โพธ)์ิ โดยรอบ เปรยี บดง่ั มหาวทิ ยาลยั แหง่ แรกของไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๔ องคก์ ารการศกึ ษา วทิ ยาศาสตรแ์ ละวฒั นธรรมแหง่ สหประชาชาติ (UNESCO) ไดป้ ระกาศขนึ้ ทะเบยี นจารกึ วดั โพธิ์ เปน็ มรดกความทรงจำ� แหง่ โลก พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๑ คณะรฐั มนตรมี มี ตถิ วายพระราชสมญั ญาพระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั วา่ “พระมหาเจษฎาราชเจา้ ” และกำ� หนดใหว้ นั ที่ ๓๑ มนี าคม เปน็ “วนั ทร่ี ะลกึ พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั พระมหาเจษฎาราชเจา้ ” หรอื “วนั เจษฎาบดนิ ทร”์ 26

พระบรมราชานสุ าวรยี พ์ ระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกล้าเจา้ อย่หู วั 27

โปรดใหจ้ ารกึ ต�ำ ราสรรพวชิ าท้งั ประวตั ศิ าสตร์ วรรณกรรม ต�ำ รานวด ต�ำ ราแพทย์แผนไทย ตดิ ไว้ตามเสาศาลารายวัดพระเชตพุ นวมิ ลมังคลารามโดยรอบ 28

เงนิ ถงุ แดงเปน็ พระราชทรัพยส์ ่วนพระองคท์ ่ไี ด้จากการคา้ ส�ำ เภา ทรงเกบ็ ไว้ในถงุ ผา้ สแี ดง ขา้ งพระแทน่ บรรทม เงินท่ีทรงเก็บนต้ี ่อมาไดน้ ำ�ไปใชเ้ ปน็ ค่าปฏิกรรมสงคราม ในเหตุการณ์ รศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖) สมัยรัชกาลท่ี ๕ เงินเหรยี ญทองคำ�ของแม็กซิโก ทีท่ รงใส่ไวใ้ นถงุ แดง 29

รัชกาลท่ี ๔ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว (พทุ ธศักราช ๒๓๙๔ – ๒๔๑๑) พระนามเดมิ สมเดจ็ เจา้ ฟา้ มงกฎุ เปน็ พระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั และสมเดจ็ พระศรสี รุ เิ ยนทรา บรมราชนิ ี เสดจ็ พระบรมราชสมภพ เมอ่ื วนั พฤหสั บดี ที่ ๑๘ ตลุ าคม พทุ ธศกั ราช ๒๓๔๗ เสดจ็ ขน้ึ ครองราชสมบตั ิ วนั พธุ ท่ี ๒ เมษายน พทุ ธศกั ราช ๒๓๙๔ เสดจ็ สวรรคต เมอื่ วนั พฤหสั บดี ท่ี ๑ ตลุ าคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๑๑ พระชนมพรรษา ๖๕ พรรษา ทรงดำ� รงสริ ิราช สมบัติ ๑๘ ปี ทรงด�ำเนินพระราชวิเทโศบายด้วยการผ่อนปรนเพื่อรักษาความอยู่รอดของบ้านเมือง ทรงรับอารยธรรมตะวันตก แก้ไข ปรบั ปรุงขนบธรรมเนยี มท่ลี า้ สมยั เพื่อใหต้ า่ งชาตเิ หน็ วา่ ประเทศมอี ารยะ เช่น ยกเลิกธรรมเนียมการถวายฎกี าแบบเก่า พระราชทาน พระบรมราชานญุ าตใหร้ าษฎรเขา้ เฝา้ ฯ ชมพระบารมอี ยา่ งใกลช้ ดิ ทรงจดั ตงั้ โรงกระสาปนส์ ทิ ธกิ ารเพอ่ื ผลติ เหรยี ญกษาปณแ์ ทนเงนิ พดดว้ ง และเบ้ียหอยท่ีใช้กันมาแต่โบราณ ทรงท�ำหนังสือสัญญาพระราชไมตรีกับประเทศตะวันตก ทรงส่งราชทูตไทยไปเจริญสัมพันธไมตรี กับประเทศในยุโรป ทรงสนับสนุนการศึกษาภาษาอังกฤษและวิทยาการสมัยใหม่ ทรงได้รับยกย่องพระเกียรติคุณเป็นพระบิดาแห่ง วิทยาศาสตร์ไทย มีพระอัฉรยิ ภาพเป็นท่ปี ระจักษ์ทวั่ โลก ดว้ ยทรงคำ� นวณวนั เวลาและสถานท่ีเกิดสรุ ยิ ุปราคาไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งแมน่ ยำ� พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๗ โอกาสครบ ๒๐๐ ปีวันคลา้ ยวันพระบรมราชสมภพ องคก์ ารการศึกษา วทิ ยาศาสตร์และวัฒนธรรม แห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ได้ประกาศพระเกยี รติคุณใหท้ รงเป็นบคุ คลสำ� คญั ของโลก สาขาการศกึ ษา วัฒนธรรม สังคมศาสตร์ มานุษยวิทยา การพัฒนาสงั คมและสอ่ื สาร 30

พระบรมฉายาลักษณพ์ ระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั พระราชทานพระจกั รพรรดนิ โปเลยี นท่ี ๓ แห่งฝรง่ั เศส 31

เสด็จพระราชด�ำ เนนิ ไปทอดพระเนตรสรุ ยิ ปุ ราคาทห่ี ว้ากอ จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์ พ.ศ. ๒๔๑๑ 32

คณะราชทูตสยามเขา้ เฝ้าพระจกั รพรรดนิ โปเลยี นท่ี ๓ ณ พระราชวังฟงแตนโบล วนั ที่ ๒๗ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๔๐๔ ส่วนหน่งึ ในมงคลราชบรรณาการ ถวายพระจักรพรรดนิ โปเลยี นท่ี ๓ เพ่อื เจริญพระราชไมตรี 33

รชั กาลท่ี ๕ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว (พทุ ธศักราช ๒๔๑๑ – ๒๔๕๓) พระนามเดิม สมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระเทพ ศริ นิ ทรา บรมราชนิ ี เสดจ็ พระบรมราชสมภพ เมอื่ วนั องั คาร ที่ ๒๐ กนั ยายน พทุ ธศกั ราช ๒๓๙๖ เสดจ็ ขนึ้ ครองราชสมบตั ิ วนั พฤหสั บดี ท่ี ๑ ตลุ าคม พุทธศักราช ๒๔๑๑ เสด็จสวรรคต เมอื่ วันอาทติ ย์ ที่ ๒๓ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๕๓ พระชนมพรรษา ๕๘ พรรษา ทรงดำ� รงสิรริ าชสมบตั ิ ๔๒ ปี ทรงพัฒนาประเทศในทุกด้านทั้งการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ปรับปรุงกฎหมาย การศึกษา การทหาร การสาธารณสขุ โดยต้ังโรงพยาบาลแห่งแรก คือ โรงศิริราชพยาบาล และการสาธารณปู โภค ไฟฟ้า ประปา โทรเลข สร้างทางรถไฟ สายแรกระหว่างกรุงเทพฯ – นครราชสีมา เป็นผลให้บ้านเมืองก้าวหน้าเจริญถึงขีดสุด ทรงปฏิรูประบบบริหารราชการแผ่นดิน ยกฐานะกรมเปน็ กระทรวง มเี สนาบดปี ระจำ� กระทรวง ในสว่ นภมู ภิ าค โปรดใหจ้ ดั การปกครองแบบมณฑลเทศาภบิ าล ทรงดำ� เนนิ พระราช วิเทโศบายเจริญสัมพันธไมตรีกับชาติตะวันตก โดยเสด็จประพาสยุโรป เพ่ือศึกษาและน�ำมาพัฒนาประเทศ เสด็จประพาสต้น โดย ทรงปลอมพระองคอ์ ย่างสามัญชน เพื่อทรงดูแลทกุ ข์สุขของราษฎร โปรดใหต้ ้ังโรงเรียนหลวงแห่งแรกขึน้ ในพระบรมมหาราชวงั ตอ่ มา ขยายการศึกษาไปยังราษฎร โดยตั้งโรงเรียนราษฎร์แห่งแรกท่ีวัดมหรรณพาราม และขยายไปท่ัวประเทศ โดยเฉพาะอย่างย่ิง ทรงเลกิ ทาส ทรงได้รบั พระราชสมญั ญา “สมเดจ็ พระปยิ มหาราช” พทุ ธศักราช ๒๕๔๖ โอกาสครบ ๑๕๐ ปวี นั คลา้ ยวันพระบรมราชสมภพ องค์การการศึกษา วทิ ยาศาสตร์และวฒั นธรรม แหง่ สหประชาชาติ (UNESCO) ไดป้ ระกาศพระเกยี รตคิ ณุ ใหท้ รงเป็นบุคคลส�ำคญั ของโลก สาขาการศึกษา วัฒนธรรม สังคมศาสตร์ มานุษยวิทยา การพฒั นาสงั คมและสอ่ื สาร 34

เสด็จประพาสยุโรป เมอื งนวิ คาสเซิล ประเทศองั กฤษ วนั ที่ ๑๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๔๐ ศาลาไทย หม่บู ้านอตู าเนเด เมืองบสิ พเ์ กอรเ์ ดน ประเทศสวีเดน สรา้ งถวายเปน็ พระบรมราชานุสรณ์แหง่ การเจริญสมั พนั ธไมตรี 35

พระท่นี ั่งอนนั ตสมาคม รปู แบบสถาปตั ยกรรมตะวนั ตก สร้างในรชั สมัย พ.ศ. ๒๔๕๑ 36

โปรดให้ผาตกิ รรมวดั ดุสติ และวดั ปากคลองผนวกเข้ากบั วัดเบญจบพติ ร พระราชทานนามใหมว่ ่า วดั เบญจมบพิตรดสุ ติ วนาราม เป็นศนู ยร์ วมแบบอยา่ งงานช่างศลิ ปกรรมและวิจติ รศิลป์ของประเทศ 37

รชั กาลที่ ๖ พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจา้ อยหู่ วั (พทุ ธศักราช ๒๔๕๓ – ๒๔๖๘) พระนามเดิม สมเด็จเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จ พระศรีพัชรินทรา บรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เสด็จพระบรมราชสมภพ เมื่อวันเสาร์ ท่ี ๑ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๒๓ เสดจ็ ขึ้นครองราชสมบตั ิ วนั อาทิตย์ ที่ ๒๓ ตุลาคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๕๓ เสดจ็ สวรรคต เมือ่ วันพฤหัสบดี ท่ี ๒๖ พฤศจกิ ายน พทุ ธศกั ราช ๒๔๖๘ พระชนมพรรษา ๔๕ พรรษา ทรงดำ� รงสิรริ าชสมบัติ ๑๕ ปี มีพระราชด�ำริส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ทรงก่อตั้ง “ดุสิตธานี” เพ่ือทดลองการจัดการปกครองแบบ ประชาธปิ ไตย โปรดให้ตราพระราชบัญญตั โิ รงเรยี นราษฎร์ พร้อมขยายงานดา้ นประถมศกึ ษา ทรงสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ทรงจัดต้ังกองเสือป่า เพื่อฝึกหัดอบรมข้าราชการพลเรือนให้ได้รับการฝึกอบรมอย่างทหาร และกองลูกเสือ เป็นกิจการของเยาวชน ในสมยั นเี้ ปน็ ยุครุ่งเรืองของกิจการพมิ พ์และหนังสอื พิมพ์ ทรงส่งทหารไปรว่ มรบในสงครามโลกคร้งั ท่ี ๑ เป็นผลใหไ้ ดแ้ กไ้ ขสนธิสญั ญา ทไี่ มเ่ ปน็ ธรรมกับชาติมหาอ�ำนาจ ทรงได้รบั พระราชสมัญญา “สมเด็จพระมหาธรี ราชเจา้ ” พุทธศกั ราช ๒๕๒๓ โอกาสครบ ๑๐๐ ปวี นั คล้ายวนั พระบรมราชสมภพ องคก์ ารการศึกษา วิทยาศาสตรแ์ ละวัฒนธรรม แห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ได้ประกาศพระเกียรติคุณใหท้ รงเปน็ บุคคลผู้มผี ลงานดีเด่นดา้ นวฒั นธรรมระดบั โลก 38

เมืองจ�ำ ลองดสุ ติ ธานี ทดลองการปกครองแบบประชาธิปไตย ทรงฉายรว่ มกบั เหลา่ เสอื ปา่ ในคราวเสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ ไปทรงซอ้ มรบเสอื ปา่ ณ คา่ ยหลวงบา้ นไร่ จงั หวดั ราชบรุ ี 39

พระต�ำ หนกั ชาลมี งคลอาสน์ ในพระราชวงั สนามจนั ทร์ จงั หวดั นครปฐม โปรดใหส้ รา้ งพระราชวงั แหง่ น้ี ในโอกาสเสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ มาทรงสกั การะพระปฐมเจดยี ์ และประทบั ทรงส�ำ ราญพระราชอริ ยิ าบถ 40

พระราชนเิ วศนม์ ฤคทายวนั จงั หวดั เพชรบรุ ี เปน็ สถานทป่ี ระทบั แปรพระราชฐานในฤดรู อ้ น สรา้ งเมอ่ื พ.ศ. ๒๔๖๖ ดว้ ยไมส้ กั ทอง สถาปตั ยกรรมแบบไทยประยกุ ต์ (ไทยผสมยโุ รป) 41

รชั กาลท่ี ๗ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยูห่ ัว (พทุ ธศักราช ๒๔๖๘ – ๒๔๗๗) พระนามเดิม สมเด็จเจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและ สมเดจ็ พระศรพี ชั รนิ ทรา บรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง เสดจ็ พระบรมราชสมภพ เมอ่ื วนั พธุ ท่ี ๘ พฤศจกิ ายน พทุ ธศกั ราช ๒๔๓๖ เสดจ็ ข้นึ ครองราชสมบัติ วันพฤหสั บดี ท่ี ๒๖ พฤศจกิ ายน พุทธศักราช ๒๔๖๘ ทรงสละราชสมบัติ เมือ่ วันเสาร์ ท่ี ๒ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๗๗ เสด็จไปประทับ ณ ประเทศอังกฤษและเสด็จสวรรคต เมื่อวันศุกร์ ท่ี ๓๐ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๘๔ พระชนมพรรษา ๔๘ พรรษา ทรงด�ำรงสริ ริ าชสมบัติ ๙ ปี ได้พระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ เม่ือทรงเห็นว่าระบอบ ประชาธิปไตยไมไ่ ด้ดำ� เนนิ ไปตามครรลอง จึงทรงสละราชย์ “...ขา้ พเจา้ เต็มใจที่จะสละอ�ำนาจอนั เปน็ ของขา้ พเจา้ อยูเ่ ดมิ ใหแ้ ก่ราษฎร โดยทั่วไป แต่ข้าพเจ้าไม่ยินยอมยกอ�ำนาจทั้งหลายของข้าพเจ้าให้แก่ผู้ใด คณะใดโดยเฉพาะ เพ่ือใช้อ�ำนาจนั้นโดยสิทธิ์ขาดและ โดยไมฟ่ งั เสียงอนั แทจ้ ริงของประชาราษฎร” พทุ ธศักราช ๒๕๕๖ โอกาส ๑๒๐ ปวี ันคลา้ ยวันพระบรมราชสมภพและโอกาสครบ ๑๐๐ ปี การเสด็จนิวตั พระนครหลงั จาก ทรงส�ำเร็จการศกึ ษาจากประเทศอังกฤษ องคก์ ารการศกึ ษา วทิ ยาศาสตรแ์ ละวฒั นธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ไดป้ ระกาศ พระเกยี รติคณุ ใหท้ รงเปน็ ผู้มผี ลงานดีเด่นดา้ นการศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วฒั นธรรม สงั คมศาสตร์ และสือ่ สารมวลชน 42

พระราชทานรฐั ธรรมนญู ฉบบั ถาวร ณ พระทน่ี ง่ั อนนั ตสมาคม วนั ท่ี ๑๐ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ 43

เสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ ไปทรงเปดิ สะพานพระพทุ ธยอดฟา้ และถวายบงั คมพระบรมรปู ปฐมบรมกษตั รยิ แ์ หง่ พระบรมราชจกั รวี งศ์ เนอ่ื งในโอกาสสมโภชกรงุ รตั นโกสนิ ทรค์ รบ ๑๕๐ ปี พ.ศ. ๒๔๗๕ 44

เสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ เยอื นสหรฐั อเมรกิ า พ.ศ. ๒๔๗๔ เสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ เยอื นแคนาดา พ.ศ. ๒๔๗๔ 45

รชั กาลท่ี ๘ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดล พระอฐั มรามาธิบดนิ ทร (พทุ ธศักราช ๒๔๗๗ – ๒๔๘๙) พระนามเดิม พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนน ี เสด็จพระบรมราชสมภพ เมอื่ วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ กันยายน พทุ ธศกั ราช ๒๔๖๘ เสดจ็ ข้ึนครองราชสมบัติ วนั เสาร์ ที่ ๒ มนี าคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๗ เสดจ็ สวรรคต เมอ่ื วันอาทิตย์ ท่ี ๙ มถิ ุนายน พุทธศักราช ๒๔๘๙ พระชนมพรรษา ๒๑ พรรษา ทรงด�ำรงสิรริ าชสมบตั ิ ๑๒ ปี ในรัชสมัยเกิดความขัดแยง้ ระหวา่ งชาวไทยและชาวจนี จนกลายเป็นเหตุการณร์ นุ แรงที่ยา่ นถนนเยาวราช ไดเ้ สดจ็ ประพาส ส�ำเพง็ ขจดั ความขัดแย้งลงได้ การเสด็จฯ ตรวจพลสวนสนามของกองทหารฝ่ายสัมพันธมิตร ณ ทอ้ งสนามหลวง พร้อมลอรด์ หลยุ ส์ เมานต์แบตเทน ผู้บัญชาการฝา่ ยสมั พนั ธมิตรในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ หลังจากสงครามโลกคร้งั ที่ ๒ สงบลง สร้างขวัญก�ำลงั ใจแก่ พสกนิกรเป็นอย่างย่ิง มีพระราชด�ำริส่งเสริมการศึกษาของชาติ โดยเสด็จพระราชด�ำเนินไปทอดพระเนตรกิจการของหอสมุดแห่งชาติ และ เสดจ็ พระราชด�ำเนินไปพระราชทานปรญิ ญาบตั รแก่บัณฑิตและนสิ ติ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 46

ขณะเสด็จประพาสจงั หวดั ลพบรุ ี พระราชทานธงประจำ� หน่วยยวุ ชนนายทหาร ณ มณฑลพธิ ที ้องสนามหลวง 47

พระราชทานรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย เมอ่ื วนั ที่ ๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๙ ทรงประกอบพธิ เี ปดิ ประชมุ สภาผแู้ ทนราษฎร วนั ท่ี ๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๙ 48


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook