Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Brands SO(O-NET)

Brands SO(O-NET)

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-12-09 03:41:57

Description: Brands SO(O-NET)

Search

Read the Text Version

1. สินทรัพย คอื สงิ่ ทีม่ ีมลู คา และเปนสวนหน่งึ ในความมง่ั คัง่ ของมนษุ ย เชน ทด่ี ิน แหวนเพชร อาคารพาณชิ ย หุนสว นในบริษทั ฯลฯ 2. สภาพคลอง คือ ความสะดวกในการนําสินทรัพยไ ปแลกเปล่ยี นเปน เงนิ ไดอ ยา งคลองตวั โดยไมมี ตน ทุนหรอื คา ใชจ ายในการแลกเปลยี่ นมากนกั การธนาคาร สถาบนั การเงิน สถาบันการเงนิ จาํ แนกออกเปน 2 ประเภทใหญๆ ดงั น้ี 1. ธนาคารพาณิชย และธนาคารเฉพาะกจิ ทตี่ ั้งข้นึ โดยมีวัตถปุ ระสงคเฉพาะ (1) ธนาคารพาณิชย เชน ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกรงุ ไทย ธนาคารนครหลวงไทย ธนาคาร ทหารไทย ฯลฯ (2) ธนาคารเฉพาะกจิ เชน ธนาคารออมสนิ ธนาคารอาคารสงเคราะห ธนาคารเพ่ือการเกษตรและ สหกรณการเกษตร (ธกส.) ฯลฯ 2. สถาบันการเงนิ อื่นๆ ท่ีมิใชธนาคาร เชน บรษิ ัทเงนิ ทุน บริษัทหลักทรัพย บรษิ ทั เครดติ ฟองซแิ อร บรษิ ัทประกนั ภัยและประกนั ชวี ติ สหกรณอ อมทรพั ย โรงรับจํานาํ และตลาดหลักทรัพยแ หง ประเทศไทย เปน ตน ธนาคารพาณิชย 1. ความสําคญั ของธนาคารพาณชิ ย เปน แหลง เงนิ ออมท่ีใหญท ี่สุดของประเทศ มฐี านะเปน บรษิ ทั มหาชน ซึ่งอนุญาตใหประชาชนทัว่ ไปถือหนุ ได โดยซ้อื หนุ ในตลาดหลกั ทรพั ยฯ 2. ฐานะของธนาคารพาณชิ ย สวนใหญเปน สถาบันการเงินของเอกชน (ยกเวน ธนาคารกรงุ ไทย เปน รฐั วิสาหกจิ )โดยอยใู นความควบคุมกาํ กบั ดูแลของธนาคารแหง ประเทศไทย (ธปท.) ในปจจบุ นั มีธนาคารพาณชิ ย ของคนไทย 13 แหง และธนาคารตางประเทศท่ีเขามาต้งั สาขาในประเทศไทยอกี จาํ นวนหนึ่ง หนา ท่ขี องธนาคารพาณิชย 1. รบั ฝากเงินจากประชาชน และจา ยดอกเบีย้ ตอบแทนใหแ กผฝู าก 2. การใหสินเชือ่ หรอื การใหเครดิต โดยผกู ูจ ะตองจา ยดอกเบยี้ ใหธ นาคารตามอัตราทกี่ าํ หนดรูปแบบ การใหสินเชือ่ ของธนาคารพาณิชยมี 3 ลักษณะ คือ (1) การใหกู (2) การเบิกเงนิ เกนิ บญั ชี (Overdraft) หรือทีเ่ รยี กวา “กู OD” (3) การซอื้ ลดตั๋วเงิน 3. รับแลกเปล่ียนเงนิ ตราตางประเทศ 4. บริการพิเศษอน่ื ๆ เชน รับชาํ ระคาไฟฟา คา โทรศพั ท การโอนเงนิ ขายเชค็ เดินทาง และเช็ค ของขวญั และใหเชา ตนู ริ ภัยเพื่อเก็บรักษาของมคี า ของลกู คา เปนตน ธนาคารเฉพาะกิจทีต่ ้งั ขึน้ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเฉพาะ ธนาคารทต่ี ้ังขนึ้ โดยมีวัตถปุ ระสงคเ ฉพาะ และมีฐานะเปน ธนาคารของรัฐ มดี ังนี้ 1. ธนาคารออมสนิ ตัง้ ขึ้นเพือ่ สงเสรมิ การออมทรพั ยข องเยาวชน และระดมเงินฝากจากประชาชน เพื่อใหรัฐกูไปใชพ ฒั นาประเทศ โดยวิธจี ําหนายสลากออมสิน ในปจ จบุ ันไดป ลอ ยสนิ เชื่อในโครงการธนาคารประชาชน เพือ่ สง เสรมิ การประกอบอาชพี อสิ ระ หรอื ทําธุรกจิ ขนาดเล็กของประชาชนผมู รี ายไดนอ ย โครงการแบรนดซมั เมอรแ คมป 2010 _____________ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (101)

2. ธนาคารอาคารสงเคราะห ตง้ั ขนึ้ เพอื่ ใหบ ริการรับฝากเงินและใหส ินเช่ือเพื่อทอ่ี ยูอ าศยั 3. ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธกส.) รบั ฝากเงนิ และใหสนิ เช่ือแกเ กษตรกร เพื่อนําไปลงทนุ ประกอบอาชพี เกษตรและทําธรุ กิจการเกษตร 4. ธนาคารเพอ่ื การสง ออกและนาํ เขา แหงประเทศไทย (ธสน.) ใหส ินเชือ่ แกนกั ธุรกจิ ทป่ี ระกอบ กจิ การดานการสงออกและนําเขา สถาบันการเงินอื่นๆ ท่ีมิใชธนาคาร สถาบันการเงินทม่ี ิใชธนาคาร สวนใหญเ ปน ของเอกชน ดาํ เนนิ ธุรกิจเกีย่ วกับการเงนิ ดงั น้ี 1. บริษทั เงนิ ทุน (Finance Company) รบั ฝากเงินและใหกูเงนิ แกบ ุคคลทว่ั ไป โดยคิดอตั รา ดอกเบยี้ สงู กวา ธนาคารพาณชิ ย ทั้งนี้จะรบั ฝากเงินเปน ตว๋ั สัญญาใชเงนิ มิใชส มุดบญั ชเี งินฝาก 2. บริษทั หลักทรัพย (Securities Company) เปนนายหนา (หรือโบรกเกอร) รบั ซอ้ื ขายหลักทรพั ย (หุน ) ในตลาดหลักทรพั ยแหง ประเทศไทย 3. บริษทั เครดิตฟองซแิ อร (Credit Foncier) ใหกยู ืมเงนิ โดยมี “อสังหาริมทรพั ย” เชน บานและ ทีด่ นิ เปน หลกั ทรัพยค าํ้ ประกนั (รับจํานองอสังหารมิ ทรพั ย) หรอื รับซือ้ อสังหาริมทรพั ยต ามสัญญาขายฝาก 4. บริษัทประกนั ภยั (Insurance) รับประกนั วนิ าศภัย (ความเสียหายทเ่ี กิดกบั ทรพั ยสนิ ) และประกนั - ชวี ิต (การเจบ็ ปว ยและการเสียชวี ติ ) จากบคุ คลทั่วไป ซ่ึงจะตองจายเบยี้ ประกันเปนรายปใหแ กบ ริษทั ตามเงอ่ื นไข ทตี่ กลงกนั ไว เม่อื เกิดความเสยี หาย บริษทั ฯ จงึ จะชดใชใหต ามสัญญา 5. โรงรับจาํ นํา (Pawn Shop) ใหก ูเงินแกผูก รู ายยอย ซึ่งจะตอ งนําสงิ่ ของมคี ามาคาํ้ ประกันหรอื จาํ นําไว โดยทัว่ ไปจะใหกยู มื ในวงเงนิ สูงสุดไมเกนิ 10,000 บาท โรงรบั จาํ นาํ มีท้ังของเอกชนและของรฐั เฉพาะของรัฐ เรียกวา “สถานธนานุเคราะห” (กรมประชาสงเคราะห) และ “สถานธนานุบาล” (สงั กดั เทศบาล) 6. สหกรณอ อมทรัพย (Saving Cooperatives) รบั ฝากเงินและใหกูเงินในหมสู มาชิก โดยระดมเงิน จากการขายหนุ และการฝากเงนิ รายเดอื นของสมาชิก เพอื่ นํามาจัดสรรใหสมาชิกกยู ืม เมอื่ ส้ินปจ ะนําผลกําไรมา จัดสรรเปนเงนิ ปนผลใหแ กส มาชิก ตามสดั สว นการถือหนุ และการใชบริการ (กูเงิน) จากสหกรณฯ 7. ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เปนรัฐวสิ าหกจิ ทําหนา ทีเ่ ปน ศูนยกลางและซื้อขายหลักทรัพย (หนุ ) ของบรษิ ัทจดทะเบยี น (บรษิ ัทมหาชน) โดยวิธีประมูลราคาซอื้ และขาย ประชาชนท่ตี องการลงทุนในตลาด- หลกั ทรพั ยฯ จะตองสมัครเปน สมาชิกของบรษิ ทั หลกั ทรัพยท ่ีจดทะเบียนเปน นายหนา (โบรกเกอร) และซอื้ ขายหนุ ตา งๆ ผา นบรษิ ทั นายหนา เหลาน้ี ผลประโยชนตอบแทนท่ีไดร บั คอื เงนิ ปนผลประจําป หรอื ขายเอากาํ ไรเมือ่ ราคาหุน ขน้ึ สูง การคลงั ความหมายของการคลัง การคลัง คือ การจัดหารายไดและการใชจ า ยของรฐั บาลเพ่อื พฒั นาประเทศ ซึ่งรวมถึงการจดั การ เกย่ี วกบั หนสี้ ินของรฐั บาล ขอบขา ยเรื่องของการคลงั จึงเก่ียวขอ งกบั การจดั เกบ็ ภาษอี ากร การกูเ งนิ ของรฐั และ การจดั ทาํ งบประมาณแผน ดิน เปน ตน 1. ความสําคัญของการคลงั ความสามารถในดา นการบริหารและการดาํ เนนิ นโยบายการคลังท่มี ีประสิทธภิ าพของรัฐบาล จะเกดิ ผลดีตอ ประชาชนและสังคมประเทศชาติ 2 ประการ ดังนี้ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (102) _____________ โครงการแบรนดซ มั เมอรแ คมป 2010

1.1 ความสาํ เร็จในการแกไขปญ หาเศรษฐกิจของประเทศ เชน ความยากจน การกระจาย รายไดท ่ไี มเ ปน ธรรม และการขาดดลุ การคา ฯลฯ 1.2 ความเจริญกา วหนาของประเทศในดานตางๆ เชน ดานการศกึ ษา การสาธารณสขุ และ ความปลอดภัยในชวี ิตและทรพั ยส ิน รวมท้งั ความอยูดกี ินดีของประชาชนโดยสวนรวม เปนตน 2. งบประมาณแผนดิน 2.1 ความหมายของงบประมาณแผนดิน (Government Budget) คอื แผนทางการเงนิ ของ รัฐบาลท่ีจัดทําข้นึ เพอื่ แสดงรายการรบั และรายการจา ย เกยี่ วกบั การบริหารราชการแผนดิน ในระยะเวลา 1 ป 2.2 ลกั ษณะของงบประมาณแผนดนิ ประกอบดวยงบประมาณ 2 รายการ คอื งบรายรับและ งบรายจา ย 2.3 ระยะเวลาของปงบประมาณ ปง บประมาณจะเรมิ่ วันที่ 1 ตลุ าคม จนสิ้นสุดวนั ที่ 30 กนั ยายนของป พ.ศ. ถดั ไป (ใชล วงหนา 3 เดอื น) ตวั อยา งเชน ปงบประมาณ 2553 คือ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ถงึ 30 กันยายน พ.ศ. 2553 3. ประเภทของงบประมาณแผนดนิ การจดั ทํางบประมาณแผนดินของรฐั บาลในแตล ะป จะเกดิ ลกั ษณะงบประมาณแบบหนึ่งแบบใดใน 3 ประเภท ดังตอไปน้ี 3.1 งบประมาณเกนิ ดุล (Surplus Budget) คอื กาํ หนดใหรายรบั สงู กวา รายจายเกิดในชว ง เศรษฐกจิ มกี ารขยายตวั สูง จนมแี นวโนมวาราคาสนิ คาจะเพ่ิมสงู ขนึ้ เรือ่ ยๆ (เงนิ เฟอ) จงึ จําเปนตอ งลดการใชจาย ภาครัฐบาล และเกบ็ ภาษอี ากรจากภาคเอกชนใหมากข้นึ เพ่อื ลดความสามารถในการใชจ ายของประชาชนและ ภาคธรุ กิจตา งๆ ลง รายรบั จึงสูงกวา รายจา ย 3.2 งบประมาณขาดดลุ (Deficit Budget) คือ กําหนดใหร ายรับนอ ยกวารายจา ย เกดิ ในชวงที่ เศรษฐกจิ มกี ารชะลอตัวลง จึงต้ังงบรายจา ยใหสูงกวารายรบั เพือ่ กระตุนการจางงาน การผลิตสนิ คา และบรกิ าร ใหม ากขึ้น เปนการอัดฉีดเขา ระบบเศรษฐกจิ รฐั บาลจะกาํ หนดมาตรการตางๆ ในการเก็บภาษอี ากรใหน อ ยลง เพ่อื เพิม่ ความสามารถในการใชจา ยเงินของประชาชนและภาคธุรกิจ ปใดทร่ี ฐั บาลจดั ทํา “งบประมาณขาดดลุ ” มคี วามหมายวา รัฐบาลตองการกระตนุ ให เศรษฐกิจขยายตวั ไมซบเซา แตเ มอื่ รายรับนอยกวา รายจาย รัฐบาลจึงตอ งกูเ งินมาชดเชยการขาดดลุ นนั้ เพอ่ื ใหม ี เงนิ มาใชจ ายในการบรหิ ารประเทศตามยอดรายจา ยทกี่ าํ หนดไว 3.3 งบประมาณสมดลุ (Balanced Budget) คอื กําหนดใหรายรบั เทา กบั รายจาย ในปใ ดที่ รัฐบาลเหน็ วาการขยายตวั ทางเศรษฐกิจอยูในภาวะทเ่ี หมาะสม ไมจ าํ เปนตองปรับคาใชจ า ยรวมของระบบเศรษฐกจิ ใหเพ่ิมข้ึนหรือลดลง ก็จะจัดทาํ งบประมาณประเภทสมดลุ 4. การจดั ทํางบประมาณของรัฐบาล ระบบการจัดทํางบประมาณแผนดิน จะตองมีทัง้ งบรายรับและงบรายจา ย ดังนี้ 4.1 รายไดของรฐั บาล มีแหลง ท่มี า ดงั นี้ (1) ภาษีอากร ประกอบดว ยภาษีทางตรงและภาษีทางออม (2) รายไดจ ากรฐั พาณิชย หรอื รัฐวสิ าหกิจ (3) รายไดจากการใหสัมปทานสาธารณสมบตั ิ หรือการขยายสิ่งของและบริการของรัฐ (4) รายไดอื่นๆ ไดแก คาปรบั คา แสตมป และเงินคงคลงั โครงการแบรนดซ ัมเมอรแ คมป 2010 _____________ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (103)

4.2 รายจา ยของรัฐบาล ยอดงบรายจายของรัฐบาลอาจจําแนกในลกั ษณะตา งๆ ไดด งั นี้ (1) จาํ แนกเปน หมวดการใชจายประเภทตางๆ เชน เงินเดือน คา ตอบแทน คา ทดี่ ิน ส่ิงกอสรา ง และเงินอดุ หนนุ (2) จําแนกตามลักษณะงาน เชน การบริหารทวั่ ไป การบริการชมุ ชนและสังคม การเศรษฐกิจ และอ่นื ๆ (3) จําแนกตามลกั ษณะเศรษฐกจิ มี 2 ชนิด คอื รายจา ยลงทุนและรายจา ยประจาํ (4) จําแนกเปนกระทรวง ประกอบดวย 19 กระทรวง และ 1 สาํ นกั นายกรัฐมนตรี และยังมี หนวยราชการอิสระอื่นๆ อีก เชน สํานักเลขาธิการพระราชวัง ราชบณั ฑติ ยสถาน ฯลฯ รายไดของรฐั บาล รายไดข องรัฐบาลจากแหลง ตางๆ มีดงั นี้ 1. ภาษีอากร เปน รายไดหลักของประเทศ ประมาณกวารอ ยละ 70 ของรายไดทง้ั หมดไดมา จากภาษอี ากรประเภทตางๆ ดงั น้ี (1) ภาษที างตรง คือ ภาษที ีผ่ ูเสยี ตอ งจายใหร ัฐโดยตรง ไมอ าจผลกั ภาระใหผ ูอ่ืนรบั ภาระ ภาษแี ทนตนได ภาษที างตรง ไดแ ก - ภาษเี งินไดบุคคลธรรมดา เก็บจากบุคคลท่ีมรี ายได เชน เงินเดอื น คา จาง ฯลฯ - ภาษีเงินไดนิติบุคคล เกบ็ จากหางรา นบรษิ ทั ทัว่ ไป - ภาษมี รดก และภาษที รพั ยสิน (ยงั ไมมีในประเทศไทยทงั้ สองชนิด) อตั ราภาษีทางตรงในประเทศไทยจะเปน “อตั รากา วหนา” หมายถึง ผูม รี ายไดมาก จะตอ งจายภาษมี าก ผูมีรายไดน อ ยจะจา ยนอย (อัตราภาษี รอยละ 5-37 ของรายไดสุทธิ) (2) ภาษที างออม คอื ภาษีที่ผเู สียสามารถผลักภาระไปใหบุคคลอ่ืนเสยี แทนตนได ในแตล ะปร ัฐจะเกบ็ ภาษที างออ มไดส ูงกวาภาษที างตรง ภาษีทางออ มท่สี ําคญั ในประเทศไทย คอื - ภาษมี ลู คาเพิ่ม (VAT) เปน ภาษีการคา เรียกเกบ็ จากผูประกอบการที่จาํ หนาย สนิ คาหรือใหบริการทางธรุ กิจตา งๆ แกล ูกคา ทัง้ นีผ้ ูประกอบการจะผลกั ภาระใหผ บู ริโภคจายแทน - ภาษสี รรพสามติ เก็บจากผผู ลติ สนิ คา อุปโภคบรโิ ภคทไ่ี มจ าํ เปน ตอการดาํ รงชวี ติ เชน สรุ า น้าํ อดั ลม บุหรี่ เคร่ืองสําอาง และนํา้ หอม รวมทงั้ รถยนต น้ํามันเชื้อเพลงิ ปนู ซิเมนต และเครอ่ื งใชไ ฟฟา เปนตน - ภาษศี ุลกากร เกบ็ จากสินคา เขาและสินคา ออก - ภาษลี ักษณะอนุญาต เชน คา ออกใบอนุญาตคนตา งดา ว ใบอนุญาตมอี าวุธปน 2. รายไดจ ากรัฐพาณิชย (หรอื รัฐวิสาหกิจ) ไดแ ก รายไดจากการดาํ เนนิ กจิ การของ สาํ นกั งานสลากกินแบงรฐั บาล โรงงานยาสูบ ธนาคารแหง ประเทศไทย การไฟฟาฯ และการประปา ฯลฯ 3. รายไดจากการใหส ัมปทานสาธารณสมบัติ (หรอื การขายสิ่งของและบริการของรฐั ) และเงนิ คงคลังหรือเงินคนื (เมอ่ื ถึงสิ้นปงบประมาณ หนวยงานของรฐั แหงใดใชง บประมาณไมหมดจะตองสงคนื คลัง) รายจายของรฐั บาล งบประมาณรายจายของรฐั บาลในแตล ะป เปน งบทจ่ี ดั สรรใหกระทรวงตา งๆ นาํ ไปใชจ ายเพอ่ื พฒั นาประเทศ ดงั ตัวอยา งงบประมาณรายจาย ประจาํ ป 2547 มยี อดรวม 1,028,000 ลา นบาท จําแนกตาม ลกั ษณะเศรษฐกจิ ได ดังนี้ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (104) _____________ โครงการแบรนดซ ัมเมอรแ คมป 2010

1. รายจา ยลงทนุ เปนรายจา ยเพื่อสรา งความเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกจิ และรายจายในดาน ครุภัณฑ ทด่ี นิ และสง่ิ กอ สรา ง มยี อดรวม 220,888.8 ลา นบาท 2. รายจา ยประจาํ เปน รายจา ยเพ่ือใชในการบริหารงานประจํา เชน เงนิ เดือนขาราชการ คา จาง และการจดั ซ้ือบรกิ ารและสิ่งของ มยี อดรวม 772,955.8 ลานบาท 3. รายจา ยชําระคนื เงินกู จํานวน 34,155.4 ลานบาท หนีส้ าธารณะ 1. หนี้สาธารณะ (Public Debt) หมายถงึ หนสี้ ินของรัฐบาล ทั้งการกยู ืมโดยตรงและการ คํา้ ประกันเงินกูใ หแกห นวยราชการตา งๆ ของรัฐบาล ทัง้ แหลง เงนิ กภู ายในประเทศและตา งประเทศ 2. ความสําคัญของหนี้สาธารณะ เงนิ กูเปน สวนหนึ่งของรายรบั ภาครัฐบาล ในกรณี ประเทศกาํ ลงั พฒั นาท่จี ัดงบประมาณแผน ดนิ ในลักษณะของ “งบประมาณขาดดลุ ” เน่อื งจากรัฐบาลเกบ็ ภาษีอากร ไดน อ ย แตม ีความจาํ เปนตอ งเรงพฒั นาความเจรญิ กาวหนา ของประเทศ โดยเฉพาะดานสาธารณูปโภค ดงั น้นั จงึ จําเปน ตองกเู งินหรอื กอ หนี้สาธารณะ 3. แหลงเงินกูข องรฐั บาล มที ีม่ าจาก 2 แหลง ดงั น้ี (1) แหลงเงินกูภายในประเทศ ไดแก ธนาคารแหงประเทศไทย ธนาคารออมสนิ และ ธนาคารพาณิชยต า งๆ (2) แหลง เงินกูจ ากตา งประเทศ ไดแ ก ธนาคารโลก ธนาคารพัฒนาเอเชยี ธนาคารเพ่อื ความรว มมอื ระหวา งประเทศแหงญ่ปี นุ และตลาดเงินอ่ืนๆ บทบาทของรฐั บาลในการแกไ ขปญหาความเหล่ือมลา้ํ ทางเศรษฐกจิ ปญหาความเหล่ือมล้าํ ทางเศรษฐกิจหรอื ความไมเ สมอภาคในการกระจายรายได เปนสาเหตุ ของความยากจนซึ่งกระทบตอประชากรสวนใหญของประเทศ จงึ เปน หนาทข่ี องรฐั บาลจะตอ งดําเนนิ การแกไข โดยใชน โยบายสําคัญ 2 ประการ คือ 1. นโยบายการคลงั (Fiscal Policy) กลวธิ ที ร่ี ฐั บาลใชด ําเนินนโยบายการคลังเพื่อแกไ ขปญ หา คอื มาตรการทางดานภาษี และการใชจ า ยของรัฐบาล 2. นโยบายการเงนิ (Monetary Policy) มาตรการทางการเงินของรัฐบาลเพอื่ แกไขปญ หา คอื การควบคมุ อุปทานของเงนิ ในตลาด ควบคุมอตั ราดอกเบ้ีย และควบคุมการปลอยสินเชอ่ื ของธนาคารพาณชิ ย นโยบายการคลงั นโยบายการคลงั หมายถงึ มาตรการตางๆ ของรัฐบาล เพือ่ รักษาเสถยี รภาพทางเศรษฐกิจ และพฒั นาการเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ของประเทศ นโยบายการคลังมคี วามสาํ คญั ตอการแกไ ขปญ หาเศรษฐกจิ ของประเทศ ดงั นี้ 1. การแกไขปญ หาเงินเฟอ ภาวะเงนิ เฟอ (Inflation) คอื ภาวะทร่ี าคาสนิ คาและบริการเพมิ่ สูงขน้ึ เร่ือยๆ จนทําให ประชาชนไดร ับความเดือดรอ น รัฐบาลจะใชนโยบายการคลงั แกไขปญ หา ดังน้ี (1) ลดคาใชจ ายภาครัฐในกจิ การดา นตา งๆ และเพิ่มอตั ราภาษีอากรทง้ั ทางตรงและ ทางออม เพือ่ ใหปริมาณเงินในตลาดลดลง (จดั ทํางบประมาณเกนิ ดลุ ) (2) ลดภาษอี ากรใหกับสนิ คาประเภททนุ และอุปกรณก ารผลิตตางๆ เชน เคร่อื งจกั ร และ นา้ํ มันเช้ือเพลงิ ฯลฯ เพ่อื ลดตนทุนการผลติ สินคา ใหตํา่ ลง ทาํ ใหราคาสนิ คาลดลง โครงการแบรนดซมั เมอรแ คมป 2010 _____________ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (105)

2. การแกไ ขปญ หาเงินฝด ภาวะเงินฝด (Deflation) คือ ภาวะทีร่ าคาสนิ คาและบริการลดต่ําลงเร่อื ยๆ สาเหตุ ประการหนง่ึ เกิดจากประชาชนใชจายเงนิ นอ ยลงแตเก็บออมมากข้นึ ทาํ ใหเ ศรษฐกจิ ซบเซา การขยายตวั ของการ ลงทนุ ลดลงและสงผลกระทบตอ ปญหาการวางงาน นโยบายการคลังของรัฐบาลในการแกไขปญหา คอื (1) ลดอัตราภาษอี ากร เพือ่ ใหป ระชาชนและภาคธุรกจิ ใชจ ายซ้ือสินคา เพิ่มมากข้นึ (2) เพมิ่ รายจายภาครฐั บาล เชน งบพฒั นาในโครงการตา งๆ เพ่ือเพิ่มปรมิ าณการ หมุนเวียนของเงินในระบบเศรษฐกจิ 3. การแกไขปญ หาการวา งงาน นโยบายการคลังของรฐั บาล เพ่ือแกไขปญหาการวา งงาน คอื (1) ลดอัตราภาษีอากร เพ่ือสนับสนุนใหภาคธุรกจิ ขยายการลงทนุ และจางงานเพิ่มขนึ้ (2) เพิ่มรายจายภาครฐั บาล โดยเฉพาะการลงทนุ พฒั นาดานสาธารณูปโภคตางๆ เชน ถนน ประปา ไฟฟา ฯลฯ เพือ่ ใหคนมงี านทําและมีรายได 4. การแกไ ขปญหาความไมเสมอภาคในการกระจายรายได นโยบายดา นการคลงั เพอ่ื แกไขปญหาความไมเปน ธรรมในการกระจายรายได มดี งั น้ี (1) มาตรการดา นภาษีอากร ไดแก ปรบั อัตราภาษใี นอัตรากาวหนา ใหเหมาะสมย่ิงขนึ้ ผูมี รายไดสงู จะตองจา ยภาษีใหสูงขน้ึ ลดหลน่ั ตามระดบั รายได รวมทง้ั จัดเกบ็ ภาษีมรดกและภาษีทรัพยส นิ เพอื่ นาํ รายไดม าพฒั นาประเทศและชวยเหลอื คนยากจนในดา นตา งๆ (2) เพมิ่ รายจายภาครฐั บาล โดยเพิม่ งบประมาณรายจา ยดานสวสั ดกิ ารและสงเคราะหผ ูม ี รายไดน อ ย เชน การรกั ษาพยาบาล การฝกอาชีพ และพฒั นาชนบท เปนตน 5. การแกไขปญ หาการขาดดุลการคาและดุลการชําระเงิน นโยบายการคลังของรฐั บาล เพื่อแกไขปญ หาการขาดดุลการคาและดุลการชาํ ระเงิน คอื ใชมาตรการดานภาษอี ากร โดยไมข ัดแยง กับขอตกลงระหวางประเทศ ดงั น้ี (1) เพิม่ อตั ราภาษศี ุลกากรสนิ คา เขาจากตางประเทศใหส งู ข้ึน เพ่ือลดปริมาณการนําเขา (2) ลดอัตราภาษีศุลกากรสินคาออกใหตํา่ ลง เพื่อสงเสริมการสง ออก ประเภทของนโยบายการคลัง นโยบายการคลงั ของรัฐบาล จาํ แนกได 2 ลักษณะ ดังนี้ 1. นโยบายการคลังแบบขยายตวั คอื เพ่ิมงบประมาณรายจายและลดภาษี (ทําใหเกิดงบประมาณ แบบขาดดลุ ) เปนการสง เสริมการจางงานและการใชจายของภาคเอกชน รวมทงั้ ทําใหรายไดป ระชาชาตเิ พมิ่ สงู ขึ้น รฐั บาลจะใชน โยบายนเ้ี มื่อเกดิ ภาวะเศรษฐกิจตกตา่ํ เพื่อกระตนุ ใหเ ศรษฐกิจขยายตัว 2. นโยบายการคลงั แบบหดตัว คือ ลดงบประมาณรายจายและเพ่ิมภาษี (ทาํ ใหเกดิ งบประมาณ เกนิ ดุล) เพอ่ื ลดการใชจา ยของภาคเอกชนใหนอยลงและปอ งกันมใิ หเกิดภาวะเงนิ เฟอ รฐั บาลจะใชน โยบายการ คลังแบบหดตัว เมอ่ื เห็นวา การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ ของประเทศสงู เกนิ ไป เครอ่ื งมือของนโยบายการคลัง เครื่องมือท่รี ฐั บาลใชเพ่อื ดําเนินนโยบายการคลัง มี 3 ประการ ดงั น้ี 1. มาตรการดานภาษีอากร หรอื รายไดของรฐั บาล 2. มาตรการดานงบประมาณรายจาย หรือรายจา ยของรฐั บาล 3. มาตรการดานหนสี้ าธารณะ หรอื การกเู งนิ ของรฐั บาล สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (106) _____________ โครงการแบรนดซ ัมเมอรแ คมป 2010

นโยบายการเงนิ นโยบายการเงนิ หมายถงึ มาตรการทางการเงินตางๆ ท่ีรัฐบาลใชเพ่อื ปองกนั และแกไ ข ปญหาเศรษฐกจิ ของประเทศ โดยท่ัวไปธนาคารแหง ประเทศไทย (ในนามของรัฐบาล) เปน ผูร ับผิดชอบดูแลดา น นโยบายการเงนิ ของประเทศ โดยใชม าตรการตามนโยบายการเงิน ดงั ตอ ไปนี้ 1. ควบคุมอปุ ทานของเงนิ อปุ ทานของเงิน (Money Supply) คือ ปริมาณแหง เงนิ ตราท่ี หมนุ เวยี นในระบบเศรษฐกิจ ถาหมุนเวยี นในปริมาณทีม่ ากเกนิ ไปอาจเกดิ ภาวะเงินเฟอ ได จงึ ตองควบคุมโดยใชว ธิ ี จํากดั การปลอยสนิ เชือ่ ของธนาคารพาณิชย หรอื ปรบั อัตราดอกเบย้ี เงนิ ฝากใหสูงขนึ้ เปน ตน 2. ควบคุมอตั ราดอกเบ้ีย โดยควบคมุ อัตราดอกเบยี้ ของธนาคารพาณิชย ท้ังเงินฝากและ เงินกูใหอ ยใู นสภาพเหมาะสมกับการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ ของประเทศ มใิ หสูงหรือตํา่ จนเกนิ ไป 3. ควบคุมมใิ หธนาคารพาณชิ ยปลอยสนิ เชือ่ มากเกินไป เชน จําหนายพันธบัตรรฐั บาล เพื่อนําเงนิ สดจากธนาคารพาณชิ ยมาเกบ็ ไวในคลงั ของรัฐ เปนตน เศรษฐกิจระหวางประเทศการคาระหวา งประเทศ การคาระหวา งประเทศ ความหมายของการคาระหวา งประเทศ การคา ระหวางประเทศ (International Trade) หมายถึง การแลกเปล่ียนสนิ คา ขามแดนของแตล ะประเทศ ทง้ั วัตถุดิบและสินคาสาํ เร็จรปู ทาํ ใหเกดิ การสง ออก (Export) และการนําเขา (Import) รวมท้งั “ดุลการคา” (Balance of Trade) ระหวางประเทศ สาเหตุของการคาระหวางประเทศ การคา ระหวางประเทศเกดิ ข้นึ เพราะแตละประเทศมคี วามแตกตางกัน ดังนี้ 1. ความแตกตา งทางภมู ิศาสตร โดยเฉพาะลักษณะภูมิประเทศและภมู ิอากาศ ทําใหแตล ะประเทศมี ผลผลิตทางการเกษตรไมเ หมือนกนั จึงเกดิ การซ้ือขายเปลยี่ นกัน 2. ความแตกตา งในทรัพยากรธรรมชาติ แตละประเทศมีความอดุ มสมบูรณใ นวัตถุดบิ จากทรัพยากรธรรมชาติ ไมเ หมือนกนั เชน นํา้ มนั เชอื้ เพลงิ และแรธ าตุตางๆ ประเทศทีม่ ีไมมีจงึ ตองซือ้ จากประเทศทมี่ ี 3. ความแตกตางในทรพั ยากรธรรมชาติ การผลิตสนิ คา ตามความสามารถและความถนดั ของแตล ะ ประเทศ ดังตวั อยางของประเทศอุตสาหกรรม ทําใหไ ดส ินคา ทม่ี ีคณุ ภาพและตน ทุนการผลิตไมส ูงจนเกินไป การซ้อื ขายแลกเปล่ียนสินคาระหวา งกนั จึงเหมาะสมมากกวา ทจี่ ะผลิตเอง 4. รสนิยมในการบรโิ ภคสนิ คา สินคา บางชนดิ ไดร บั ความนยิ มในหมูผบู ริโภคกลุมเลก็ ๆ เชน เครอ่ื งประดบั อญั มณี นํ้าหอม เส้ือผา สําเร็จรูปราคาแพง ฯลฯ แตไมม กี ารผลติ ภายในประเทศของตนจงึ ตอ งนาํ เขา จากตางประเทศ ประโยชนข องการคา ระหวางประเทศ การคาระหวา งประเทศมคี วามสําคัญตอ การพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศ ดังน้ี 1. ชว ยลดปญหาขาดแคลนสินคาบางชนิดที่ไมสามารถผลิตภายในประเทศได เชน ตบู ริการเงินดว น (ATM) ของธนาคารพาณิชย เครื่องจักรในโรงงานอตุ สาหกรรมทใ่ี ชเ ทคโนโลยีชัน้ สูง ฯลฯ 2. มีสนิ คา สนองความตองการของประชาชนผูบริโภคและมีใหเลือกอยางมากมาย เชน โทรศพั ทมือถอื คอมพวิ เตอร ฯลฯ ชว ยยกระดับคณุ ภาพชวี ติ ของประชากรใหส งู ข้นึ โครงการแบรนดซมั เมอรแ คมป 2010 _____________ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (107)

3. เกิดการจางงานและการขยายตัวในการผลติ เพือ่ การสงออก ท้ังภาคเกษตรกรรมและภาคอตุ สาหกรรม ทําใหผ ูคนมงี านทํา และเศรษฐกิจของประเทศขยายตัว 4. เกิดการถา ยโอนความรูทางเทคโนโลยี จากการใชส ินคา ประเภทเครอื่ งจกั รและเทคโนโลยีท่ที ันสมยั จากตา งประเทศ ทาํ ใหผ ใู ชไดรับความรูแ ละนําไปสกู ารประยกุ ตดดั แปลงเพือ่ ผลติ เปน ของตนเองไดในอนาคต 5. ประหยดั ทรพั ยากรในการผลติ การผลิตสนิ คาตามความสามารถและความถนดั ของแตละประเทศ เปน การประหยดั วัตถดุ ิบและตนทนุ การผลิต ประเทศผูซอื้ จะไดส นิ คาทีม่ ีคุณภาพและราคาถูกกวา ทจี่ ะผลิตเอง 6. เกิดทักษะหรอื ความชาํ นาญในการผลิต การผลติ สนิ คาเพือ่ การสงออกตามความถนดั ของแตล ะ ประเภท ทาํ ใหสนิ คาไดร ับการยอมรับในตลาดโลก จึงเกดิ แรงจูงใจในการผลติ มากขนึ้ มกี ารพฒั นาความรแู ละ ทกั ษะความชํานาญใหสงู ข้ึน เปนประโยชนตอประเทศผผู ลติ โดยตรง 7. มรี ายไดเขาประเทศ การคา ระหวา งประเทศทําใหร ัฐมรี ายไดจ ากการเกบ็ ภาษศี ลุ กากร (สนิ คาขาเขา และขาออก) ภาษีสรรพสามิต และคา ธรรมเนยี มใบอนญุ าตตางๆ ตลอดจนการไดเปรยี บดลุ การคากับตา งประเทศ ในแตล ะปจ ะทําใหร ฐั มเี งนิ ตราตา งประเทศเพิ่มขึ้น นโยบายการคา ระหวา งประเทศ การดาํ เนนิ นโยบายการคาระหวา งประเทศในปจ จุบนั มี 2 ลักษณะ คอื 1. นโยบายการคา เสรี (Free Trade Policy) 2. นโยบายการคา แบบคมุ กัน (Protectionism) นโยบายการคา เสรี 1. ลกั ษณะสาํ คญั ประเทศท่ีใชน โยบายการคาเสรจี ะสงเสรมิ ใหป ระเทศคูคานําสนิ คา เขา มาขายในประเทศ ของตนไดอ ยา งเสรี โดยไมม เี งอ่ื นไข ขอจาํ กัด หรอื การกีดกนั ทางการคาใดๆ ไมมกี ารเกบ็ ภาษี (หรือเก็บภาษอี ตั ราตา่ํ ) และไมมีการใหส ทิ ธิพิเศษทางการคา แกประเทศใดๆ 2. สภาพการในปจ จุบนั ไมมีประเทศใดมีนโยบายการคาเสรอี ยา งชันเจน เพราะจะเกิดปญ หาขาด ดลุ การคา โดยเฉพาะประเทศท่ีกาํ ลังพฒั นาจะเสยี เปรยี บประเทศทพี่ ฒั นาแลว ยกเวน การรวมกลมุ ทางเศรษฐกิจระหวา งประเทศ เชน เขตการคาเสรอี าเซยี น(AFTA) และสหภาพ- ยโุ รป (EU) รวมทงั้ ประเทศมขี อ ตกลงทวภิ าครี ะหวางกัน (FTA : Free Trade Area) เชน ไทยกับออสเตรเลีย หรือไทยกับจีน จะมีลักษณะน้ีอยูในระดับหนึง่ 3. สาเหตทุ ี่ประเทศตางๆ ปฏิเสธการใชน โยบายการคาเสรี สรุปได 2 ประการ คือ (1) เกิดปญหาการเสยี เปรียบดลุ การคา โดยเฉพาะประเทศเกษตรกรรมจะเสียเปรยี บประเทศอุตสาหกรรม อยา งมาก (2) เกดิ การขาดแคลนเงินตราตา งประเทศ เน่ืองจากไมมกี ารเกบ็ ภาษีศุลกากรสินคาเขา รวมท้ัง คาธรรมเนยี มตางๆ ทําใหป ระเทศคูค าตองขาดแคลนรายไดจ ากภาษีอากรในรูปของเงนิ ตราตา งประเทศเปน จาํ นวนมาก เมือ่ รายไดสวนน้ีขาดหายไปจึงสงผลกระทบตอ การพฒั นาประเทศ นโยบายการคาแบบคมุ กัน 1. ลักษณะสําคัญ เปนนโยบายการคา ทม่ี งุ สนับสนนุ การผลติ ภายในประเทศ โดยรัฐบาลจะใชมาตรการ สง เสรมิ การสงออกและกดี กนั การนาํ เขา โดยสรางเง่ือนไขขอจาํ กัดตางๆ เพื่อกีดกันสินคา จากตางประเทศไมใหเขา มาตีตลาดหรอื เปน คูแขง กบั สนิ คาทผ่ี ลติ ภายในประเทศ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (108) _____________ โครงการแบรนดซมั เมอรแ คมป 2010

2. เคร่ืองมอื ทีใ่ ชใ นดําเนนิ นโยบายการคา แบบคมุ กนั มีดงั น้ี (1) ต้ังกาํ แพงภาษี (Tariff wall) โดยกาํ หนดอตั ราภาษสี นิ คา เขาใหสงู กวาปกติ (2) จาํ กัดปรมิ าณการนาํ เขาสินคา จากตา งประเทศ (Quota) เพือ่ คมุ ครองผูผ ลติ ภายในประเทศ หรอื แกไขภาวะการเสยี เปรียบในดุลการคา (3) จาํ กัดปริมาณการนําเขา การสงออก เพื่อปองกันการขาดแคลนภายในประเทศหรือลดอปุ ทานของ สินคาชนิดนั้นในตลาดโลกเพอ่ื บบี ใหมรี าคาเพิม่ สูงขนึ้ ดงั เชน การลดปริมาณการผลติ นํ้ามนั ดบิ ของกลมุ ประเทศ โอเปก (OPEC) เปนตน (4) การใหการอดุ หนนุ ผผู ลิตและผสู งออก เชน ยกเวน ภาษกี ารสง ออกลดภาษีนําเขา วัตถดุ ิบท่ใี ชใ น การผลิต ฯลฯ เพ่อื ชวยใหสนิ คาทีส่ ง ออกในตลาดโลกมรี าคาถกู (5) กาํ หนดมาตรฐานในคณุ ภาพของสินคานาํ เขา ใหสงู เพอื่ คุม ครองสขุ ภาพอนามัยของผบู รโิ ภค ภายในประเทศ และกีดกันสนิ คา เขาจากตางประเทศ เชน เน้ือสตั วแชแ ขง็ ผกั และผลไม ฯลฯ 3. วัตถปุ ระสงคข องการดําเนินนโยบายการคา แบบคมุ กนั (1) เพ่อื คมุ ครองอุตสาหกรรมภายในประเทศ (2) เพอื่ ปอ งกนั และแกไขปญ หาการขาดดลุ การคา (3) เพือ่ ปองกนั การทุมตลาดของสินคาจากตา งประเทศ นโยบายการคา กบั ตางประเทศของไทย ในปจ จบุ ัน เศรษฐกิจไทยมคี วามสมั พันธก ับเศรษฐกจิ โลกอยา งแนน แฟน ทงั้ การสง ออกการนาํ เขา สรุปนโยบายการคา กับตางประเทศของไทยได ดงั น้ี 1. ใชน โยบายการคา แบบคุมกัน (Protective Trade Policy) แตมีมาตรการกดี กันหรือมีขอ จํากดั ทาง การคาคอนขา งแผวเบาไมเขม งวดมากนกั การนําเขา หรือสงออกสว นใหญจ งึ เปน ไปอยา งเสรี 2. ใหเอกชนเปน ผูด ําเนินการคา กบั ตา งประเทศ โดยจัดตัง้ เปน บรษิ ทั นาํ เขาและสง ออก รัฐจะไมเ ขาไป แขง ขนั กับภาคเอกชน แตก ลับใหความชว ยเหลอื สนบั สนนุ เชน ขยายตลาดใหมๆ เพิ่มข้นึ เปนตน 3. ใชระบบภาษีศลุ กากรสองระบบ ดงั นี้ (1) ภาษศี ลุ กากรพิกัดอัตราเดยี ว คอื เรียกเก็บภาษสี ินคานําเขาชนิดเดียวกันจากทุกประเทศในอัตรา เดยี วกนั สวนใหญเปน สินคา ที่ฟมุ เฟอ ย เชน รถยนตน ่ังสวนบุคคล ขนาด 2,000 ซ.ี ซี. ขน้ึ ไป จะเก็บในอตั รารอ ยละ 210 จากทกุ ย่ีหอ และทกุ ประเทศทนี่ าํ เขาโดยเทาเทียมกนั เปนตน (2) ภาษีศลุ กากรพิกดั อัตราชอ น คอื เก็บภาษีสินคานําเขา ชนดิ เดียวกนั จากแตล ะประเทศในอัตราที่ ไมเ ทา กัน เชน ประเทศในกลมุ อาเซียน (ASEAN) จะเกบ็ ไมเ กนิ รอ ยละ 5 ตามขอตกลง แตถ า เปน ประเทศนอกกลมุ จะเกบ็ ในอตั ราท่สี ูงกวา เปนตน 4. มีการควบคมุ การนําเขา สนิ คา จากตา งประเทศ โดยจะตองขออนุญาตทางราชการกอ นที่จะนําเขา หรอื มีการต้งั กําแพงภาษีสนิ คา ใหสงู เพือ่ สกัดกนั้ มใิ หใครบริโภคชื้อสินคา ชนดิ น้นั ๆ มากเกินไป ไดแ ก อาวุธปน วตั ถรุ ะเบดิ ดอกไมเพลงิ สรุ า ยาสบู เครอ่ื งวทิ ยคุ มนาคม ฯลฯ ดลุ การคากับตา งประเทศของไทย สภาพดลุ การคา กับตางประเทศของไทยในปจจบุ ัน อยใู นฐานะเกนิ ดลุ หรือไดเปรียบดลุ การคากบั ตางประเทศ อยา งตอเนอื่ ง 6 ป ตดิ ตอกนั สรุปไดดงั น้ี โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _____________ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (109)

ตาราง แสดงมูลคา การสงออกและการนําเขา และดลุ การคาของประเทศไทย พ.ศ. 2545-2550 ป พ.ศ. มูลคาการสง ออก มูลคาการนาํ เขา ดลุ การคา 149.1 พ.ศ. 2545 2,923.9 2,774.8 186.3 พ.ศ. 2546 3,325.6 3,138.8 72.6 พ.ศ. 2547 3,873.7 3,801.1 -315.3 พ.ศ. 2548 4,438.7 4,754.0 -5.5 พ.ศ. 2549 4,937.4 4,942.9 371.7 พ.ศ. 2550 5,241.9 4,870.2 หนวย : ลานบาท ทมี่ า : สาํ นักงานปลดั กระทรวงพาณิชย กระทรวงพาณิชย โครงสรา งสนิ คาออกของประเทศไทย 1. การสงออก ตงั้ แต พ.ศ. 2548-2550 มลู คา การสง ออกสนิ คา ไทยขยายตัวสูงข้ึนโดยลาํ ดับสินคา ออกที่ สําคญั ใน 10 อนั ดับแรกสวนใหญเ ปน สนิ คา อุตสาหกรรม สนิ คาท่ีมมี ลู คา การสงออกสูงสุด 5 อนั ดบั แรก ไดแ ก (1) เครื่องคอมพิวเตอร อุปกรณ และสวนประกอบ (2) รถยนต อุปกรณ และสวนประกอบ (3) แผงวงจรไฟฟา (4) ยางพารา (5) อัญมณี และเครอื่ งประดบั 2. ปจจัยทท่ี าํ ใหมลู คา การสง ออกของสนิ คา ไทยเพมิ่ สงู ข้นึ คือ (1) การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ ของประเทศคคู า (กลมุ อาเซยี นและจนี ) (2) อปุ สงคใ นสนิ คา การเกษตรในตลาดโลกเพ่ิมสูงขนึ้ (3) การขยายตัวของตลาดสินคา อุตสาหกรรม โครงสรา งสินคา เขา ของประเทศไทย 1. การนําเขา ต้ังแต พ.ศ. 2548-2550 มลู คาการนาํ เขาขยายตวั เพิม่ สูงข้นึ เชนกนั สินคา ทม่ี ีมูลคาการ นําเขา สงู สุด 5 อันดับแรก ไดแก (1) น้ํามันดิบ (2) เครื่องจกั รกล และสว นประกอบ (3) เคมีภัณฑ (4) แผงวงจรไฟฟา (5) เครอื่ งจกั รไฟฟา และสว นประกอบ 2. ปจจยั ท่ที าํ ใหมูลคา การนําเขาสนิ คา จากตา งประเทศเพิม่ สงู ขน้ึ (1) การขยายตวั ของการผลติ ภาคอุตสาหกรรม (2) ราคานาํ้ มนั ดิบในตลาดโลกเพ่มิ สงู ข้ึน สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (110) _____________ โครงการแบรนดซ ัมเมอรแ คมป 2010

ประเทศคูคา ทีส่ ําคัญของไทย ในปจ จบุ ัน ประเทศคูค าท่สี ําคญั ของประเทศไทย ไดแ ก ญป่ี ุน สหรฐั อเมริกา จนี ออสเตรเลยี สหภาพยโุ รป (EU) และกลมุ ประเทศอาเซยี น (ASEAN) ประเทศทไ่ี ทยไดเปรยี บดุลการคามากท่ีสดุ คือ สหรัฐอเมริกา และ ประเทศท่ีไทยขาดดุลการคา มากเปน อันดับ 1 คอื ญ่ีปนุ ความสัมพนั ธท างเศรษฐกจิ การคาระหวางประเทศไทยกับอาเซียน กลุมประเทศอาเซยี น (ASEAN) ไดรว มมือกนั จดั ตัง้ เขตการคา เสรีอาเซยี น (AFTA) ตงั้ แต พ.ศ. 2535 เปนตนมา ในฐานะทไี่ ทยเปนสมาชิกประเทศหนงึ่ ไดใหค วามรว มมอื ตามขอ ตกลง ดังนี้ 1. ขอ ตกลงของเขตการคาเสรอี าเซยี น (AFTA) เรือ่ งการลดภาษีศุลกากร คอื ใหป ระเทศสมาชิกลด อัตราภาษีศลุ กากรสนิ คา ขาเขาจากประเทศสมาชิกดว ยกนั ในอตั รา รอยละ 0-5 ภายในเวลา 10 ป (พ.ศ. 2536-2546) 2. การพัฒนาเศรษฐกจิ รวมกนั ตามขอ ตกลงของกลุม อาเซียน มีทัง้ ความรว มมือในดานอุตสาหกรรม เกษตรกรรม การคลังและการธนาคาร และการคมนาคมและขนสง เปนตน การเงนิ ระหวา งประเทศ การแลกเปลย่ี นเงนิ ตราตา งประเทศ 1. อตั ราแลกเปลย่ี น หมายถึง การเปรยี บเทยี บคาหรอื ราคาเงินตราสกุลหน่งึ กับเงินตราอีกสกลุ หน่ึง เนื่องดวยแตละประเทศตา งก็มีเงินตราสกลุ ทองถ่นิ ของตน เมอื่ มกี ารคาขายตดิ ตอระหวางกนั จึงจาํ เปน ตอ งเทียบ คา ของเงนิ ตราทอ งถิ่นกบั เงนิ ตราสกุลหลกั 2. อตั ราแลกเปลี่ยนมีทั้งอตั ราซ้ือและอตั ราขาย เน่ืองจากธนาคารพาณชิ ยที่ใหบรกิ ารแลกเปลี่ยน เงินตราตางประเทศ จะไดผลกาํ ไรจากสวนตางของราคาซอ้ื กับราคาขาย (อตั ราซ้ือจะมีราคาตํ่ากวา อัตราขาย) การกําหนดอัตราแลกเปล่ียน เงนิ บาทมีมูลคาเปนเทา ไรเม่ือเทียบกับเงินตราตา งประเทศ ขึ้นอยกู ับอุปสงคแ ละอุปทานในเงินตราตางประเทศ (เงินดอลลารสหรฐั ฯ) ทม่ี ีอยูใ นขณะน้นั สรุปไดดังน้ี 1. อปุ สงคของเงินตราตา งประเทศ คอื ปรมิ าณการซ้อื เงนิ สกลุ ตางประเทศ (ดอลลารส หรฐั ฯ) ของ ประชาชนในชว งเวลาใดเวลาหน่งึ ในระดับอัตราแลกเปล่ยี นตางๆ กัน (1) หลักการสาํ คญั คือ อปุ สงคท ่ีมตี อ เงนิ ตราตางประเทศจะเปล่ยี นแปลงในทิศทางตรงกับขา มกบั อตั ราแลกเปล่ยี นเสมอ ถาการปรับอตั ราแลกเปลีย่ นทีท่ าํ ใหราคาเงนิ บาทเพิม่ สูงข้นึ จะใหอุปสงคในเงนิ ตรา ตางประเทศลดตํา่ ลง (สินคา แพง อปุ สงคข องผูบริโภคจะตํา่ ) ดงั ตวั อยา งเชน อตั ราแลกเปล่ยี น อปุ สงคใ นเงินดอลลารสหรฐั ฯ ของคนไทย 1 ดอลลารส หรฐั ฯ = 40 บาท 25 ลา นดอลลารสหรฐั ฯ 1 ดอลลารสหรัฐฯ = 45 บาท 22 ลา นดอลลารสหรฐั ฯ 1 ดอลลารสหรฐั ฯ = 50 บาท 20 ลานดอลลารส หรฐั ฯ (2) สรุปสาระสําคัญ การปรับอัตราแลกเปลยี่ นดังตวั อยา งขางตน จะทําใหราคาสินคา นาํ เขา จาก ตา งประเทศมีราคาแพงข้ึน (เมอื่ คิดเปน เงนิ บาท และสมมตใิ หส ินคา นําเขา มีราคาช้ินละ 1 ดอลลารส หรัฐฯ) เปน ผลใหป รมิ าณการนาํ เขาลดลง ความตอ งการใชเงนิ ตราตางประเทศหรอื อุปสงคในเงินดอลลารส หรฐั ฯ ของพอ คา ไทยก็จะลดลงดวย โครงการแบรนดซมั เมอรแ คมป 2010 _____________ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (111)

2. อุปทานของเงินตราตางประเทศ คอื ปริมาณเงินตราตางประเทศทมี่ ีผนู าํ มาเสนอขายในชวงเวลาใด เวลาหนึ่ง ในระดบั อัตราแลกเปล่ยี นตา งๆ กนั (1) หลักการสําคัญ คือ อปุ ทานของเงนิ ตางประเทศจะเปลย่ี นแปลงในทศิ ทางเดยี วกับอตั ราแลกเปลยี่ น เสมอ ถา การปรบั อัตราแลกเปล่ยี นทําใหร าคาเงนิ บาทเพิม่ สูงขนึ้ จะทาํ ใหอ ปุ ทานในเงนิ ตราตา งประเทศเพิม่ สงู ขน้ึ ดว ย (เพราะไดกาํ ไรจากสว นตา งของอตั ราแลกเปลีย่ น) ดงั ตวั อยางสมมตดิ ังน้ี อตั ราแลกเปล่ยี น อุปทานในเงนิ ดอลลารส หรฐั ฯ ของคนไทย 1 ดอลลารส หรฐั ฯ = 40 บาท 75 ลานดอลลารสหรฐั ฯ 1 ดอลลารส หรฐั ฯ = 45 บาท 100 ลา นดอลลารส หรัฐฯ 1 ดอลลารส หรฐั ฯ = 50 บาท 125 ลา นดอลลารสหรฐั ฯ (2) สรปุ สาระสําคัญ การปรบั อตั ราแลกเปล่ียนดงั ตัวอยางสมมติขา งตน จะทําใหราคาสินคาไทยท่ี สงออกไปตา งมรี าคาถกู ลง (เมือ่ คดิ เปนเงนิ บาท และสมมตใิ หสนิ คาสงออกมรี าคาชน้ิ ละ 1 บาท ทําใหเ งิน 1 ดอลลารสหรัฐฯ ซ้อื สนิ คาไทยไดจ ํานวนมากขน้ึ กวาเดิม) ทาํ ใหการสง ออกมีปริมาณเพม่ิ สงู ข้นึ ปรมิ าณเงนิ ดอลลาร สหรัฐฯ (มูลคาการสง ออก) ท่ปี ระเทศไทยไดร ับก็จะเพ่มิ ขึน้ เชน กนั (3) เมื่อปรมิ าณดอลลารส หรัฐฯ มจี ํานวนมากในตลาดการเงนิ อุปทานของเงินดอลลารท ่ีมผี นู ํา ออกขายกจ็ ะเพิม่ สงู ข้ึนดวย เพราะจะไดก าํ ไรจากสวนตางของอัตราแลกเปลี่ยน เชน เงนิ 100 ลา นดอลลารสหรัฐฯ อัตราแลกเปลยี่ นเดมิ 45 บาท แลกไดเปนเงิน 4,500 ลานบาท แตถ า ในอตั ราแลกเปลย่ี นใหม เทา กับ 50 บาท จะ สามารถแลกเปนเงนิ ไทยไดถ งึ 5,000 ลานบาท เปน ตน 3. อตั ราแลกเปล่ียนดลุ ยภาพ เปนอตั ราแลกเปลี่ยนท่เี หมาะสม “อปุ สงคของเงินตราตางประเทศ” เทา กบั “อปุ ทานของเงินตราตา งประเทศ” หรือจาํ นวนเงินดอลลารสหรัฐฯ ท่มี ีผูซอื้ เทากบั ปริมาณเงนิ ดอลลารส หรัฐฯ ที่มี ผูเ สนอขายในชวงเวลาใดเวลาหน่ึง ระบบอัตราแลกเปลย่ี น อัตราแลกเปลี่ยน (Exchange Rate) หมายถึง ราคาของเงินตราสกุลทองถิ่น เมอ่ื เทียบกับเงินตราสกุลตางประเทศ เชน เงนิ 37.90 บาท เทา กบั 100 เยน เปนตน ตามทฤษฎีระบบอตั รา แลกเปลี่ยนจาํ แนกไดเปน 2 ระบบใหญๆ คือ 1. ระบบอัตราแลกเปลยี่ นคงท่ี (Fixed Exchange Rate) เปน ระบบท่ไี มสามารถเปลีย่ นแปลงไดอยางเสรเี พราะรัฐบาลจะควบคุมไว โดยกาํ หนดอตั ราไวคงทไ่ี ว กับเงินสกุลหนึง่ เชน ดอลลารส หรัฐฯ หรอื ปอนดสเตอรงิ ฯลฯ “คา คงท่ี” ทก่ี าํ หนดข้นึ เรยี กวา “คา เสมอภาค” โดยรัฐบาลจะเปนผปู รับเปล่ยี นเมือ่ เหน็ วา เหมาะสม 2. ระบบอตั ราแลกเปลย่ี นแบบลอยตัว (Floating Exchange Rate) ระบบอัตราแลกเปลี่ยนท่เี คล่ือนไหวขนึ้ ลงไดโ ดยเสรี เปล่ียนแปลงไดตามอุปสงคแ ละอปุ ทานของ เงินตราตา งประเทศ โดยรฐั จะไมเขาไปแทรกแซง หรอื แทรกแซงแตน อยเทาท่จี ําเปน ในปจ จบุ ันระบบนีย้ ังจําแนก ไดเปน 2 ระบบยอ ยๆ ดงั นี้ (1) ระบบลอยตัวเสรี เปนระบบท่ีปลอ ยใหอ ัตราแลกเปลี่ยนเปนไปตามกลไกตลาดมากทส่ี ุด (อปุ สงค และอุปทานของเงนิ ตราตางประเทศ) อัตราแลกเปลีย่ นจึงเปลีย่ นแปลงอยูต ลอดเวลา รฐั บาลจะไมเ ขามาควบคมุ แตธนาคารกลางอาจจะเขา แทรกแซงไดบ างเลก็ นอย สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (112) _____________ โครงการแบรนดซมั เมอรแคมป 2010

(2) ระบบลอยตัวภายใตการจัดการ มลี กั ษณะเหมอื นกันระบบลอยตัวเสรี แตธนาคารกลาง (ธนาคาร แหง ชาต)ิ จะเขาแทรกแซงตลาดใหเ ปนไปตามทศิ ทางท่ตี อ งการ ซงึ่ ในปจจุบนั ประเทศสว นใหญใ ชร ะบบน้ี (รวมทงั้ ประเทศไทย) เพ่ือควบคุมอัตราแลกเปล่ียนเงนิ ตราตา งประเทศใหมเี สถยี รภาพ ดุลการชําระเงิน 1. ดลุ การชําระเงนิ หรือดลุ การชาํ ระเงนิ ระหวางประเทศ (Balance of Payment) คือ บัญชีหรือ รายการท่ีแสดงรายรับและรายจายทางการเงนิ ของประเทศ ทีเ่ กดิ จากการตดิ ตอทางการเงินกับตางประเทศใน ระยะเวลา 1 ป (เฉพาะเงินตราตา งประเทศ) 2. การทําธุรกรรมกบั ตางประเทศทาํ ใหเ กิด “ดลุ การชําระเงิน” ประเทศไทยติดตอ ทางการเงินกับ ตา งประเทศในกรณตี า งๆ เชน การคา การลงทุน การกเู งนิ การชําระดอกเบยี้ เงินกู และการบรกิ าร (การขนสง และการทองเท่ียว) เปน ตน ซงึ่ มที งั้ รายรับและรายจาย ดงั นั้นจงึ ตอ งจดั ทาํ บญั ชแี สดงรายรับและรายจายทเ่ี ปน เงนิ ตราตา งประเทศไวทกุ ป เพอื่ ใหท ราบฐานะ ทางการเงินของประเทศวา มรี ายรบั หรอื รายจา ยมากหรือนอ ยเพียงไร เรยี กวา “ดุลการชําระเงนิ ” 3. ลกั ษณะทแ่ี สดงในบญั ชีดุลการชําระเงิน มี 3 ลักษณะ คอื ประเภทดลุ การชาํ ระเงนิ ลักษณะ (เงนิ ตราตางประเทศ) ความสาํ คญั 1. ดุลการชําระเงินเกนิ ดุล รายรบั มากกวา รายจา ย ทนุ สาํ รองฯ เพ่มิ ข้นึ 2. ดลุ การชําระเงนิ สมดุล รายรบั เทา กับ รายจา ย ทนุ สาํ รองฯ คงที่ 3. ดุลการชําระเงินขาดดุล รายรับ นอยกวา รายจาย ทนุ สํารองฯ ลดลง รายการทแี่ สดงในบญั ชีดุลการชําระเงนิ บญั ชดี ุลการชาํ ระเงิน ประกอบดวย 3 บัญชี ดงั นี้ 1. บัญชเี ดินสะพัด คือ บัญชีทแ่ี สดงรายรับกบั รายจายของประเทศเกี่ยวกบั (1) ดลุ การคา (มูลคา สนิ คา ออกและมลู คาสนิ คา เขา ) (2) ดลุ บริการ (คา ขนสง คาสือ่ สาร คา ประกันภัย คา ลิขสิทธ์ิ และการทอ งเท่ยี ว) (3) เงินโอน (เงนิ บรจิ าค หรอื เงินชว ยเหลือตา งๆ) (4) รายได (คา จา ง เงินเดอื น และสวัสดิการ) 2. บัญชีเงนิ ทนุ คอื บญั ชีแสดงรายรบั และรายจา ยเกีย่ วกบั การลงทุน (เงินทุนเคลื่อนยายสุทธ)ิ เชน การ กูเ งนิ ขามชาติ การลงทนุ โดยตรง และการลงทนุ ในหลักทรัพย 3. บัญชที นุ สํารองระหวางประเทศ ทนุ สํารองระหวางประเทศ 1. ทนุ สํารองระหวา งประเทศ (International Reserve) คอื สินทรัพยสินของประเทศ ในรปู ของ เงนิ ตราสกลุ ตางประเทศและทองคําแทง ซงึ่ ธนาคาร (ธนาคารแหง ประเทศไทย) เปนผถู อื ครองไว เชน ประเทศ ไทยมีทนุ สํารอง 87.4 พนั ลานดอลลารส หรัฐ เมอื่ ส้นิ พ.ศ. 2550 เปนตน 2. ความสาํ คัญของทุนสาํ รองฯ จะนํามาใชเ พอ่ื ชดเชยการขาดดุลการชําระเงิน หรือใหเ ปน เครือ่ งมือ ดาํ เนนิ นโยบายเกี่ยวกับอตั ราแลกเปล่ียนเงนิ ตราตา งประเทศ ประเทศใดมที ุนสํารอง เพ่มิ สูงขึน้ อยางตอ เน่อื งทุกป แสดงถงึ ฐานะความมัน่ คงทางการเงินและเสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ ของประเทศน้นั โครงการแบรนดซ มั เมอรแคมป 2010 _____________ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (113)

ความสัมพนั ธร ะหวา ง “ทุนสาํ รองฯ” กับ “ดุลการชาํ ระเงิน” การจัดทําบัญชีดุลการชําระเงินของประเทศ จะตอ งปรับยอดบัญชใี หสมดลุ อยเู สมอ โดยใชตัวเลขจากบญั ชี ทนุ สาํ รอง ดงั น้ี 1. กรณีดลุ การชาํ ระเงินขาดดุล ในปใดที่ประเทศไทยประสบปญหา “ขาดดลุ การชาํ ระเงิน” ในปนนั้ จะตองปรับถอนตวั เลขจาก “ทนุ สาํ รอง” ออกมาเทา กบั ยอดที่ขาดดลุ ตวั อยางเชน ป พ.ศ. 2542 ขาดดลุ การชําระเงิน คิดเปนเงินบาทได -299,210 ลานบาท จึงตองปรับ ถอนจากบญั ชีทนุ สาํ รองฯ เปนมลู คา 299,210 ลานบาท เพือ่ ใหต วั เลขดุลการชาํ ระเขา สภู าวะสมดุล ดงั น้นั ประเทศใดทป่ี ระสบปญหาขาดดลุ การชําระเงนิ ตอ เนอื่ งกันหลายๆ ป จะทําใหทนุ สํารองฯ รอ ยหรอ และเปน อนั ตรายตอ เศรษฐกิจของประเทศน้ันอยางใหญห ลวง 2. กรณีดลุ การชําระเงินเกินดุล ในปใดทป่ี ระเทศไทยมีสภาพดลุ การชาํ ระ “เกนิ ดลุ ” จะตองนํายอดเงินท่ี เกินดลุ ไปใสใ นบญั ชที ุนสาํ รองฯ ทําใหท นุ สํารองฯ มีตัวเลขเพ่ิมสขุ ขณะท่ดี ลุ การชาํ ระเงนิ เขา สูภ าวะสมดลุ ในท่สี ดุ ตวั อยางเชน ป พ.ศ. 2544 ดุลการชําระเงนิ เกินดุล คิดเปน เงนิ บาทได 172,695 ลานบาท จงึ นํายอดทเ่ี กนิ ดุล 172,695 ลา นบาท ไปใสบัญชที นุ สาํ รองฯ ทําใหยอดจากบัญชที ุนสํารองฯ เพ่ิมสงู ขน้ึ ดลุ การคา 1. ดลุ การคา (Balance of Trade) หมายถงึ การเปรียบเทียมมลู คาสินคาออกกับมลู คา สนิ คา เขาของ ประเทศในระยะเวลา 1 ป ดลุ การคาเปนรายการหนง่ึ ท่ปี รากฏใน “บัญชีเดนิ สะพดั ” ของ “บัญชดี ุลการชําระเงนิ ” เทา น้ัน 2. ความแตกตางระหวา ง “ดุลการคา” กบั “ดลุ การชําระเงนิ ” มีดงั นี้ (1) ดลุ การคา จะแสดงรายการเกีย่ วกับการคา ระหวา งประเทศเพยี งอยา งเดียว (2) ดุลการชาํ ระเงิน แสดงรายการรายรบั และรายจา ยที่เกดิ จากการตดิ ตอ ทางการเงนิ กบั ตางประเทศ ทุกรายการ เชน การคา การกเู งิน การลงทนุ รายไดจากการทองเท่ียว เงินโอน ฯลฯ 3. ประเทศที่ประสบปญหาขาดดุลการคา แตด ุลการชาํ ระเงินอาจเกนิ ดลุ ก็ได เนื่องจากมีรายรบั ในดานอื่นๆ เขา มามาก โดยเฉพาะรายไดจ ากการทองเทย่ี วและการลงทนุ จากตางประเทศ 4. ประเภทของดุลการคา มี 3 ลกั ษณะ ดังน้ี ประเภทดลุ การคา ลักษณะสําคญั 1. ดุลการคา เกินดลุ มลู คาสนิ คา ออก มากกวา มลู คาสนิ คา เขา 2. ดุลการคาสมดุล มลู คาสินคาออก เทากับ มลู คา สินคาเขา 3. ดุลการคาขาดดุล มลู คาสินคาออก นอ ยกวา มูลคาสินคา เขา การลงทนุ ระหวางประเทศ ประเภทของการลงทุนระหวางประเทศ การลงทนุ ระหวางประเทศ (International Investment) จําแนกได 2 ประเภท ดังนี้ 1. การลงทนุ โดยตรง คือ การลงทนุ ในการผลติ สนิ คา และบริการโดยตรง มกี ารนําเงนิ ตราตา งประเทศเขามา ลงทนุ ในธรุ กิจบริการหรืออุตสาหกรรมในประเทศนน้ั ๆ เชน กิจการนํา้ มัน ยานยนต เครือ่ งใชไ ฟฟา อุปกรณสือ่ สาร และหา งสรรพสินคา เปนตน สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (114) _____________ โครงการแบรนดซมั เมอรแ คมป 2010

ผูล งทุนสว นใหญม ีฐานะเปน “บรรษทั ขา มชาติ” ซึ่งมีบริษทั แมหรอื สํานกั งานใหญตั้งอยใู นประเทศของตน และมบี ริษัทลกู หรอื สาขากระจายอยใู นประเทศตางๆ ทง้ั น้เี จาของทนุ ยังคงมีอํานาจในการบริหารกจิ การของตน มลี ักษณะเปนการลงทนุ ในระยะยาว ซึง่ กอ ใหเ กิดการจา งงานโดยแรงงานเจา ของประเทศ จึงถือวา เปน การลงทนุ ในภาคการผลิตหรือภาคที่แทจรงิ (Real Sector) 2. การลงทนุ โดยออ ม หรอื การลงทุนในสินทรัพยท างการเงนิ หมายถงึ การลงทนุ โดยนกั ลงทนุ ตางประเทศ ทั้งที่เปนบคุ คลธรรมดาหรอื สถาบนั การเงิน นาํ เงนิ ทุนหรือเงนิ ตราตา งประเทศเขา มาลงทนุ ในตลาดการเงินของ ประเทศนั้นๆ ในรปู แบบตางๆ เชน การฝากธนาคาร ใหกยู มื เงิน ซือ้ ขายหลักทรัพย (หนุ ) ในตลาดหลกั ทรพั ย ฯลฯ เพ่ือแสวงหากาํ ไรซงึ่ สวนใหญเ ปนการลงทนุ ในระยะส้นั ปจ จัยทก่ี อ ใหเกิดการลงทุนระหวางประเทศ 1. ปจจยั ทเี่ กดิ จากประเทศเจา ของทุน มดี ังน้ี (1) ตอ งการลดตน ทนุ การผลิต โดยโยกยายฐานการผลิตไปยงั ประเทศกาํ ลงั พฒั นาที่มคี า จา งแรงงานตํา่ มวี ัตถดุ บิ มาก และไมเ ขม งวดในการรกั ษาคุณภาพของสิ่งแวดลอ ม เปนตน (2) ตองการขยายตลาดและสรา งอํานาจผกู ขาดทางการตลาด โดยตั้งโรงงานผลติ ในประเทศนั้นๆ เพ่ือใหสนิ คา ของตนครอบครองตลาดแตเ พียงผเู ดยี ว และเกดิ ผลกําไรตอ เนอื่ งยาวนาน 2. ปจจัยท่เี กิดจากประเทศผูรับทุน มดี ังน้ี (1) มคี วามอุดมสมบูรณในทรัพยากรธรรมชาตแิ ละวตั ถุดบิ (2) มีแรงงานราคาถูก เนื่องจากปญหาการวางงานและการเพิม่ ของประชากรวัยทํางาน (3) เปนตลาดสินคาที่ใหญ เพราะมีประชากรผบู รโิ ภคจาํ นวนมาก (4) รัฐบาลมีนโยบายสงเสริมการลงทนุ จากตา งประเทศ (5) ประชาชนไมต อ ตา นการลงทนุ จากตางประเทศ ประโยชนข องการลงทนุ ระหวางประเทศ ประเทศกาํ ลงั พฒั นาทเี่ ปด รบั การลงทนุ จากตางประเทศ จะไดรับประโยชนท างออ ม ดังนี้ 1. เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ เอกชนไดข ยายกิจการในดานตา งๆ เกดิ การจางงาน ประชาชนมงี านทาํ มรี ายไดประชาชาตเิ พม่ิ สงู ขน้ึ และประเทศมคี วามเจรญิ กาวหนา ทางเศรษฐกจิ 2. ประชาชนมีชีวติ ความเปนอยดู ีข้นึ เพราะมกี ารจา งงาน มรี ายได และมสี นิ คา ตอบสนองความ ตองการในการดํารงชวี ติ ของประชาชนมากขนึ้ 3. การเพิม่ มูลคา ในทรพั ยากรและวตั ถดุ บิ ของทอ งถน่ิ โดยใชวัตถุดบิ หรอื ผลผลิตทางการเกษตรใน ทอ งถนิ่ มาแปรรปู เปน สินคาสําเร็จรูป ซึง่ เกิดประโยชนต อ เกษตรกรผผู ลิตและเปน การใชทรัพยากรใหเ กิดประโยชนส งู สุด 4. ไดร ับการถา ยทอดเทคโนโลยกี ารผลิตจากตา งชาตทิ เ่ี ขามาลงทุน ซ่ึงเปนผลดีตอ การพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศในระยะยาว ผลกระทบของการลงทุนระหวา งประเทศ การลงทนุ ระหวางประเทศ โดยเฉพาะการลงทนุ โดยตรงเปน ผลดีทาํ ใหเ กดิ การขยายตัวทางเศรษฐกจิ และ การจางงาน แตอ าจเกดิ ผลกระทบหรือผลเสยี ตอ ประเทศกาํ ลงั พฒั นาหลายประการ สรปุ ไดด ังน้ี 1. การแขงขันกับผปู ระกอบการเจา ของประเทศอยา งไมเปน ธรรม เน่อื งจากบริษัทตา งชาตเิ ปน ธรุ กิจ ขนาดใหญ มกี าํ ลังทนุ และเทคโนโลยเี หนอื กวา จงึ สามารถแยง ชงิ ลกู คาจากผูประกอบการทอ งถ่ินไดโดยงา ย และ ยงั ไดร ับสทิ ธิพเิ ศษดานตา งๆ จากทางราชการอกี ดวย โครงการแบรนดซ มั เมอรแคมป 2010 _____________ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (115)

2. การแยงแหลง เงินทุนจากนักลงทนุ เจา ของประเทศ โดยบรษิ ทั ตา งชาตจิ ะกูเงนิ จากสถาบันการเงิน ภายในประเทศบางสว น ไมไดนาํ เขาเงินทุนจากตา งประเทศทัง้ หมด จึงเปน การปด กนั้ โอกาสการขยายตวั ของ นกั ลงทนุ เจา ของประเทศ 3. การปดบังการถา ยโอนเทคโนโลยรี ะดบั สงู โดยท่ัวไปบรษิ ัทตางชาติจะถายทอดเฉพาะเทคโนโลยรี ะดับต่าํ หรอื การใชเ ครอ่ื งจกั รเคร่ืองมอื ขัน้ พืน้ ฐานใหแ กแรงงานทอ งถนิ่ เทาน้ัน 4. การจางงาน ไมเ กดิ การจา งงานมากนัก เพราะนักลงทุนตา งชาตินิยมใชเ คร่อื งจกั รและเทคโนโลยกี าร ผลิตมากกวา 5. การขาดดุลการคา การลงทุนของบรษิ ัทตา งชาตทิ ําใหเ กิดการนําเขาสนิ คา ประเภททุน เชน เคร่ืองจักร นาํ้ มนั เชอ้ื เพลงิ และวัตถุดบิ ในการการผลิตจาํ นวนมาก จงึ ไมไดช วยแกไขปญ หาการขาดดลุ การคา ตามทคี่ าดหวงั ไดมากนกั 6. การใชท รัพยากรธรรมชาติในทองถนิ่ อยางส้ินเปลือง และเกิดปญหามลพิษของส่งิ แวดลอ ม เชน แหลงนา้ํ ในแมนาํ้ ลําคลองและมลพิษของอากาศ เปนตน การลงทุนของชาวตา งชาตใิ นประเทศไทย รัฐบาลมนี โยบายสง เสริมการลงทุนของชาวตางชาติ เพื่อใหเกดิ การขยายตวั ทางเศรษฐกิจของประเทศและ การจา งงาน จงึ จดั ต้ังหนวยงานเรียกวา “คณะกรรมการสง เสริมการลงทนุ ” (Board of Investment) เพอื่ ทาํ หนาทีด่ งั กลาว การลงทนุ ของชาวตา งชาติในประเทศไทยมี 2 ประเภท คือ 1. การลงทนุ ทางตรง (Direct Investment) โดยนกั ลงทนุ ชาวตา งประเทศเขามาลงทุนทําธุรกิจ อตุ สาหกรรมและการบริการตา งๆ โดยตรง เชน โรงงานอตุ สาหกรรม โรงแรม สถาบันการเงิน ฯลฯ 2. การลงทุนทางออ ม (Indirect Investment) นกั ลงทุนตางชาตจิ ะไมเ ขา มาดาํ เนนิ การโดยตรง แตจะ ใชวิธลี งทุนโดยการใหกเู งินหรอื เขาซอื้ หุนในตลาดหลักทรัพย องคการทางเศรษฐกจิ ระหวา งประเทศ ลกั ษณะความรว มมือทางเศรษฐกจิ ระหวางประเทศ ในปจ จบุ นั มีความรว มมอื ทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาค เพื่อรักษาผลประโยชนทางเศรษฐกิจของประเทศ สมาชิก โดยมรี ูปแบบความรวมมอื 4 ลกั ษณะ ดงั น้ี 1. การรวมกลุมแบบการคาเสรี (Free Trade Area: FTA) ลกั ษณะสําคญั คือ ยกเลิกการจัดเกบ็ ภาษี ศลุ กากรสนิ คา ขาเขาจากประเทศสมาชกิ หรือหรือจัดเกบ็ ในอัตราต่ํา รวมทัง้ ลดเงอ่ื นไขขอจํากดั ท่เี ปนอปุ สรรคทาง การคา ระหวางประเทศสมาชกิ ไดแ ก (1) เขตการคาเสรอี าเซียนหรืออาฟตา (ASEAN Free Trade Area: AFTA) (2) เขตการคาเสรีอเมริกาเหนือหรือนาฟตา (North American Free Trade Area: NAFTA) (3) กลุม ความรว มมอื ทางเศรษฐกิจเอเชยี -แปซฟิ ก (Asia-Pacific Economic Cooperation: APEC) 2. การรวมกลมุ แบบสหภาพศุลกากร (Customs Union) มีลกั ษณะเหมอื นกบั เขตการคาเสรี แตค วาม รวมมอื ทเ่ี พิ่มขน้ึ มาก คอื และประเทศสมาชกิ จะกาํ หนดอตั ราภาษีสนิ คาขาเขาจากประเทศนอกกลุม ในอัตราเดยี วกนั 3. การรวมกลุม แบบตลาดรว ม (Common Market) มลี ักษณะเหมอื นกบั การรวมกลุมสองแบบแรกที่ กลา วมาขา งตน แตท เ่ี พ่มิ ขึ้นมา คอื กาํ หนดใหสินคาประเภททุนและปจ จัยการผลติ ตา งๆ เชน แรงงาน เครื่องจักร เทคโนโลยี และนักลงทนุ ฯลฯ เคลื่อนยา ยไปมาระหวางประเทศสมาชกิ โดยเสรี สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (116) _____________ โครงการแบรนดซ ัมเมอรแ คมป 2010

4. การรวมกลมุ แบบสหภาพเศรษฐกจิ (Economic Union) มีลักษณะเหมือนกบั การรวมกลมุ ในสาม แบบแรก แตท ่เี พ่มิ ขน้ึ มา คอื ประเทศสมาชิกจะกาํ หนดนโยบายทางการเงนิ การคลังและการขนสงระหวา งประเทศ ใหเ ปนแบบเดียวกนั ในปจจุบนั สหภาพยุโรป (European Union) กําลังดําเนนิ การเขาสูรปู แบบน้ีแตย ังไมสมบรู ณ องคก ารความรวมมอื ทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ การรวมกลุม จดั ตง้ั องคการเพ่อื ความรว มมือทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ เฉพาะท่สี าํ คญั มีดังน้ี 1. กองทุนการเงินระหวา งประเทศ (IMF) 2. ธนาคารโลก (IBRD) 3. องคการการคา โลก (WTO) 4. สหภาพยโุ รป (EU) 5. เอเปก (APEC) 6. โอเปก (OPEC) 7. กลมุ อาเซียน (ASEAN) และเขตการคาเสรีอาเซียน (AFTA) กองทนุ การเงินระหวา งประเทศ 1. กองทนุ การเงนิ ระหวา งประเทศ (International Monetary Fund: IMF) เปนองคก รหนงึ่ ใน สงั กดั องคการสหประชาชาติ (UN) มปี ระเทศสมาชกิ มากกวา 154 ประเทศ 2. หนาที่หลกั ของ IMF คือ ใหความชวยเหลอื ประเทศสมาชิก ดังนี้ (1) รกั ษาเสถยี รภาพของอตั ราแลกเปล่ยี นเงินตราตา งประเทศ (2) สง เสริมใหการคาระหวางประเทศมีการขยายตวั อยา งสม่ําเสมอ (3) ใหประเทศสมาชกิ กเู งนิ เม่อื เกิดปญหาขาดดลุ การชําระเงิน 3. ประเทศไทยกเู งินจาก IMF คร้งั สําคัญเมอ่ื พ.ศ. 2541 เพ่อื แกไขปญ หาวกิ ฤตทิ างเศรษฐกิจจากการ ขาดดุลการชาํ ระเงิน และขาดแคลนเงินตราตา งประเทศ ธนาคารโลก 1. ธนาคารระหวางประเทศเพื่อการบูรณะและพัฒนา (International Bank for Reconstruction and Development: IBRD) หรอื ธนาคารโลก (World Bank) เปนองคก รในสังกัดองคการสหประชาชาติ (UN) มี ประเทศสมาชิกมากกวา 154 ประเทศ 2. หนา ทีห่ ลักของธนาคารโลก คือ ใหป ระเทศกําลงั พฒั นากูเ งนิ ไปใชจ ายเพื่อพฒั นาประเทศในดานตา งๆ เชน การศึกษา การเกษตรกรรม อุตสาหกรรม คมนาคม และการสาธารณูปโภคตางๆ ยกเวน การกเู พือ่ นาํ ไปใช พัฒนาดา นความม่ันคง (ซื้ออาวธุ และกิจการทหาร) 3. ประเทศไทยกเู งินจากธนาคารโลก เพือ่ นําไปใชพฒั นาประเทศในดา นตา งๆ เชน การสรางถนน เขอื่ น กจิ การไฟฟา ประปา และมหาวทิ ยาลยั ในสวนภูมภิ าค เปน ตน องคการการคาโลก 1. องคก ารการคา โลก (World Trade Organization: WTO) เปน องคก ารในสงั กดั องคก าร สหประชาชาติ (UN) มีหนาท่ีการสงเสริมการคาระหวา งประเทศใหเ ปน ไปโดยเสรี กาํ จดั ปญหาและอุปสรรคตางๆ ทางดา นการคาใหเกดิ ความเปน ธรรมแกประเทศสมาชิก ในปจ จบุ ันมปี ระเทศสมาชกิ มากกวา 147 ประเทศ โครงการแบรนดซ มั เมอรแคมป 2010 _____________ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (117)

2. หนาท่ีหลกั ขององคก ารการคา โลก (WTO) มดี ังนี้ (1) ระงบั กรณีพิพาทหรือขอขดั แยงทางการคาระหวา งประเทศสมาชิก (2) สนบั สนุนนโยบายการคาเสรี เพอ่ื ใหป ระเทศสมาชิกยกเลิกมาตรการกีดกันทางการคา ตางๆ เชน การต้งั กําแพงภาษี การเขม งวดในคณุ ภาพสินคาและการทุม ตลาด เปนตน (3) คุมครองทรพั ยสินทางปญญาของประเทศสมาชกิ 3. ผลประโยชนข องไทยกับองคการการคา โลก สง่ิ ทไี่ ทยเรยี กรอ งจากทีป่ ระชมุ WTO คือ (1) สิทธใิ นทรัพยส ินทางปญญาทีเ่ กีย่ วกบั การคา เชน สทิ ธใิ นการผลติ ยารกั ษาโรคราคาถกู สําหรบั ประเทศกําลังพฒั นา การคมุ ครองส่งิ บง ชท้ี างภูมศิ าสตร (Geographic Indication: GI) ซ่ึงไทยประสงคใหส ินคา ไทย 2 ชนิด ไดรับการคมุ ครอง ไดแก ไหมไทยและขาวหอมมะลิ (2) ขอพพิ าททางการคา ทไี่ ทยยกข้ึนฟอ งรอง คอื กรณสี หภาพยโุ รป (EU) ใหสิทธพิ เิ ศษทางดานภาษี ศุลกากร (GSP) ในสินคานําเขาปลาทนู า (Tuna) แกประเทศในทวปี แอฟรกิ าและหมูเกาะในทะเลแครบิ เบยี นบาง ประเทศทําใหภาษีนําเขาปลาทูนา จากประเทศเหลา น้ันเปน 0 ในขณะท่ไี ทยตอ งจายสูงถึงรอ ยละ 24 ซงึ่ ไมเ ปน ธรรม ตอ ไทย นอกจากน้ยี ังมขี อ พพิ าทอื่นๆ เชน เร่อื งน้าํ ตาลและไกหมักเกลอื เปน ตน สหภาพยุโรป 1. สหภาพยุโรป (European Union: EU) เปน การรวมกลมุ ความรว มมือทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาค ของทวปี ยุโรปในปจ จบุ ันมีสมาชิกทงั้ หมด 25 ประเทศ ดังน้ี (1) ประเทศสมาชกิ เดิมมี 15 ชาติ ไดแ ก เบลเยียม เดนมารก ฝรั่งเศส เยอรมนี อติ าลี กรีซ ไอรแ ลนด ลกั เซมเบิรก เนเธอรแลนด สหราชอาณาจักร โปตเุ กส สเปน ออสเตรีย ฟนแลนด และสวเี ดน (2) ประเทศสมาชกิ ใหมมี 10 ชาติ (เขาเปน สมาชิก 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2547) ไดแก สาธารณรัฐเชก็ ไซปรสั มอลตา เอสโตเนีย ลิทวั เนีย ลัตเวยี สโลวาเกยี โปแลนด ฮังการี และสโลวเี นยี 2. องคประกอบของสหภาพยุโรป ประกอบดวย 3 สหภาพยอ ย ไดแ ก (1) สหภาพเศรษฐกจิ ยุโรป (EEU) (2) สหภาพการเงินยโุ รป (EMU) (3) สหภาพการเมอื งยโุ รป (EPU) 3. วตั ถปุ ระสงคในการจดั ตง้ั สหภาพยุโรป (EU) มีดังนี้ (1) เพือ่ สงเสรมิ ความรว มมือในหมูประเทศสมาชิกในการพฒั นาเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองการ ปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยใหเปน หนง่ึ เดียว (2) เพ่อื ยกระดับการดาํ รงชวี ิตและพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ของประชากรในยโุ รปใหสูงขึน้ (3) เพอ่ื กําจัดอปุ สรรคทางการคาระหวา งกนั และกําหนดใหใ ชเ งินตราสกุลเดยี วกัน คือ เงินยูโร (EURO) เพอ่ื ใหก ารเงนิ เปน ระบบเดียวกนั และใชเปน สือ่ กลางในการคา ระหวา งประเทศสมาชิก 4. ความสมั พันธดานการคาระหวางประเทศไทยกบั สหภาพยโุ รป (EU) คอื สหภาพยโุ รปเปน ตลาด สง ออกที่สาํ คญั อนั ดับท่ี 3 ของไทย รองจากสหรัฐอเมรกิ าและอาเซยี น (พ.ศ. 2546) สนิ คา ไทยทส่ี งเขา ไปในตลาด EU ไดแก ผลิตภัณฑม นั สาํ ปะหลัง ไกส ดแชแ ข็ง กุงสดแชแขง็ คอมพิวเตอรแ ละชิ้นสว น แผงวงจรไฟฟา และ เส้ือผา สาํ เรจ็ รปู เปน ตน สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (118) _____________ โครงการแบรนดซ ัมเมอรแ คมป 2010

เอเปก 1. เอเปก หรือกลุมความรวมมือทางเศรษฐกจิ ในภมู ิภาคเอเชยี -แปซฟิ ก (Asia-Pacific Economic Cooperation: APEC) เปน การรวมกลุม ทางเศรษฐกิจในระดบั ภูมภิ าค ในปจ จบุ ันมสี มาชิกรวมท้งั หมด 21 เขต เศรษฐกิจ ไดช่อื วา เปนกลมุ เศรษฐกิจที่ใหญทส่ี ดุ มีจาํ นวนประชากรโดยรวมมากกวา กลมุ เศรษฐกิจใดๆ 2. ประเทศสมาชกิ ของกลมุ เอเปก ไดแ ก สหรฐั อเมริกา แคนาดา ออสเตรีเลยี นวิ ซีแลนด จีน ญีป่ นุ เกาหลใี ต มาเลเซีย สิงคโปร อนิ โดนเี ซยี ฟล ปิ ปนส บรไู น ฮองกง ไตห วัน ชิลี รสั เซยี เม็กซโิ ก ปาปว นวิ กินี เวยี ตนาม เปรู และประเทศไทย รวม 21 เขตเศรษฐกจิ 3. วัตถุประสงค คือ มุงเสรมิ การคา เสรีระหวา งประเทศสมาชิกภายในกลุม ลดอุปสรรคหรอื ขอจาํ กัด ทางการคาเสรีระหวางกันใหเ หลือนอยทสี่ ดุ ลดภาษีศุลกากรสนิ คาเขาใหตํ่าลง และใหความชวยเหลอื ซ่งึ กันและกนั ในดา นตา งๆ เชน การเงนิ และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ฯลฯ โอเปก กลมุ ประเทศผูส งน้ํามันเปน สนิ คา ออก (Organization of Petroleum Exporting Countries: OPEC) เปน การรวมกลมุ ของประเทศสมาชกิ ในภมู ิภาคตา งๆ ทีม่ ีนา้ํ มนั ปโ ตรเลยี มเปน สนิ คาออกในปจ จุบนั มี ประเทศสมาชกิ 11 ชาติ 1. ประเทศสมาชกิ เปนกลุมโอเปก ในปจจุบนั มี 11 ประเทศ ไดแก อหิ รา น อริ กั คูเวต กาตาร ซาอุดอิ าระเบยี สหรฐั อาหรบั เอมเิ รตส ลเิ บยี แอลจีเรีย ไนจเี รีย เวเนซเู อลา และอินโดนีเซยี 2. วัตถปุ ระสงคของกลมุ โอเปก คอื รว มมือกนั กาํ หนดราคาและจาํ กัดปรมิ าณการผลิตนาํ้ มันของ กลุมประเทศสมาชิก ปอ งกนั ไมใ หอ ปุ ทานของนาํ้ มนั ในตลาดโลกมสี งู เกนิ ไปจนทําใหร าคานํา้ มนั ตกได อาเซียน 1. สมาคมประชาชาติแหงเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต (Association of South–East Asia Nations: ASEAN) เปนการรวมกลุมทางเศรษฐกิจในระดบั ภูมิภาค ในปจจุบนั มีประเทศสมาชกิ รวมทงั้ หมด 10 ประเทศ ไดแ ก ประเทศไทย ฟลิปปนส มาเลเซีย สงิ คโปร อินโดนเี ซยี บรูไน เวียตนาม ลาว พมาและกมั พชู า 2. วัตถปุ ระสงคข องกลุมอาเซยี น สรปุ ไดดงั นี้ (1) เพือ่ รวมมอื และชวยเหลือซึ่งกันและกันในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศสมาชิก เชน การคา การประกอบอาชพี การศึกษา และวฒั นธรรมประเพณี เปน ตน (2) เพื่อสง เสริมสันติภาพและความมั่นคงในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต (3) เพือ่ สงเสรมิ ความรว มมือจากประชาชนในภมู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในการพัฒนาการ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การคา การศึกษา และการคมนาคม เปน ตน 3. ความรวมมอื ทางเศรษฐกจิ ของอาเซียน มีสาระสาํ คญั ดังนี้ (1) จัดตงั้ “เขตการคา เสรีอาเซียน” (ASEAN Free Trade Area: AFTA) เพอื่ พฒั นาคณุ ภาพและ ปรมิ าณการผลิตสินคา ของประเทศสมาชกิ ใหแ ขงขันในตลาดโลกได และเพื่อดงึ ดดู การลงทุนจากตางประเทศ ท้ังนี้ มีขอตกลงใหล ดภาษีศลุ กากรสินคาขาเขาระหวางกนั ใหเ หลือในอัตรารอยละ 0-5 ภายในเวลา 10 ป (พ.ศ. 2536-2546) (2) โครงการอุตสาหกรรมอาเซยี น โดยสนบั สนนุ ใหแ ตละประเทศผลิตสินคา อุตสาหกรรมตามความถนัด ประเทศผผู ลิตจะไดรับลดหยอ นภาษอี ากรในการสงออกไปยังประเทศสมาชกิ เชน ไทยทาํ เหมอื งแรโ พแทช ทอ่ี าํ เภอบาํ เหนจ็ ณรงค จังหวดั ชยั ภมู ิ และอินโดนเี ซยี ผลิตปุย ยูเรยี เปนตน โครงการแบรนดซ ัมเมอรแ คมป 2010 _____________ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (119)

ตัวอยางขอ สอบ 1. ประเทศในขอใดเปนสมาชกิ สมาคมอาเซยี น (ASEAN) ท้งั หมด 1) พมา ลาว กมั พูชา เวยี ดนาม บรไู น ญีป่ ุน 2) พมา ลาว กมั พูชา อินโดนเี ซีย เวียดนาม บรูไน 3) มาเลเซีย สิงคโปร ไทย อนิ เดีย อนิ โดนีเซีย ฟล ิปปน ส 4) มาเลเซยี สิงคโปร ไทย ตมิ อรต ะวนั ออก อินโดนเี ซีย ฟล ิปปน ส 2. ขอใดเปนสาเหตุท่ีทําใหเกดิ ปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ 1) ความไมสมดลุ ระหวางความตอ งการกบั จาํ นวนทรพั ยากร 2) การที่รฐั บาลเขาแทรกแทรงกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ของเอกชน 3) การทรี่ ัฐบาลไมส ามารถแกไ ขปญ หาความยากจนของประชากรได 4) ความขดั แยง ในการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจภายในประเทศ 3. ขอ ใดเปน ไปตามกฎอปุ สงค 2) ดําซอ้ื เส้อื 3 ตัว เพราะชอบสีสดใส 1) แดงซือ้ หนงั สอื เพราะตอ งใชเ รียน 3) เขียวซอื้ กระเปา 2 ใบ เพราะรานขายลดราคา 4) เหลอื งซ้ือโทรศัพทใหม เพราะทันสมัยกวาของเดมิ 4. ขอ ใดไมใ ชส ิทธิของผูบ ริโภคทจ่ี ะไดรับความคมุ ครองตามพระราชบัญญตั ิคมุ ครองผบู ริโภค 1) สิทธิไดรับการโฆษณาและแสดงฉลากตามความเปนจรงิ 2) สิทธิจะไดร บั พจิ ารณาและชดเชยความเสียหาย 3) สิทธิในการจําหนายสินคาท่มี คี วามปลอดภัยไดโ ดยเสรี 4) สิทธิในการเลอื กซ้ือสนิ คา บรกิ ารตามความสมัครใจและเปน ธรรม 5. ส่ิงที่ผผู ลิตควรคํานึงถึงเปนอันดบั แรกในการผลติ สินคา คือขอใด 4) การแทรกแซงของรัฐบาล 1) ตนทนุ 2) ผบู รโิ ภค 3) กาํ ไรสูงสดุ 6. ขอ ใดทาํ ใหเกิดอปุ สงคส วนเกนิ ขึ้น 2) ผบู ริโภคมีความตองการสนิ คา เพิม่ ขน้ึ 1) ปรมิ าณการผลิตสนิ คาเพมิ่ ขึน้ 4) ราคาสนิ คา ตํ่ากวาราคาดุลยภาพ 3) จํานวนผผู ลติ สนิ คา ลดลง 7. ขอ ดขี องการเปน ผผู ลติ ในตลาดผกู ขาดคอื ขอใด 1) สามารถกาํ หนดราคาและปริมาณขายเพื่อใหคนไดร ับกาํ ไรสูงสดุ ได 2) สามารถลดคา ใชจา ยในการโฆษณาสินคา จงึ ทําใหเ สยี ตนทุนต่ํา 3) สามารถผลติ สนิ คาไดอ ยา งมีประสิทธิภาพตามท่ีตนตองการ 4) สามารถทาํ การผลติ ขนาดใหญ เพือ่ ลดตน ทุนการผลิต 8. ความสามารถทางเทคโนโลยขี องประเทศไทยปจ จบุ ันจดั อยใู นระดับใด 1) ดดั แปลงและพฒั นาเทคโนโลยจี ากตา งประเทศ 2) พัฒนาเทคโนโลยดี านอุตสาหกรรมจากภมู ิปญ ญาทอ งถ่ิน 3) อาศยั ชน้ิ สว นของตา งประเทศนาํ มาพฒั นาเทคโนโลยีในประเทศ 4) รับเทคโนโลยีจากตางประเทศนาํ มาใชโดยตรง สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (120) _____________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010

9. นโยบายใดจะทาํ ใหประเทศมีศักยภาพและความไดเปรยี บในการแขงขนั ดานการคาระหวา งประเทศไดม ากท่สี ุด 1) การใชน โยบายการคา คุมกนั การผลติ 2) การระดมเงินออมเพ่ือการลงทุน 3) การชําระหนตี้ างประเทศกอ นกาํ หนด 4) การพัฒนาทางดา นเทคโนโลยสี ารสนเทศ 10. สถาบนั การเงินในขอใดไมไ ดใ หบ ริการทางการเงินแกบคุ คลทัว่ ไป 1) ธนาคารกลาง 2) ธนาคารอาคารสงเคราะห 3) บรษิ ัทหลักทรพั ย 4) บรษิ ัทเครดติ ฟองซเิ อร 11. ขอใดเปน นโยบายการเงินแบบขยายตัว ในการแกปญ หาเศรษฐกิจของประเทศ 1) การเพิม่ ปริมาณเงนิ ในระบบเศรษฐกจิ 2) การขายหลักทรพั ยของธนาคารกลาง 3) การจํากัดอตั ราการขยายสินเช่อื ของธนาคารพาณิชย 4) การขึ้นอตั ราดอกเบยี้ ของธนาคารกลาง 12. ขอใดไมใ ชเ หตผุ ลทท่ี ําใหรัฐบาลกอ หนส้ี าธารณะ 2) เพ่ือใชจ า ยในกรณงี บประมาณขาดดลุ 1) เพอื่ รักษาเสถยี รภาพของรัฐบาล 3) เพื่อสรา งความมั่นคงของระบบเศรษฐกจิ 4) เพ่อื ใชจา ยในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม 13. ในกรณที ่ีเกิดภาวะเงินฝด มาตรการขอใดไมส ามารถนาํ มาใชแ กป ญหาทางเศรษฐกิจได 1) ธนาคารกลางลดอตั ราดอกเบ้ยี 2) รฐั บาลลดอัตราภาษมี ูลคา เพมิ่ 3) ธนาคารพาณิชยลดการปลอ ยสนิ เช่อื 4) ธนาคารกลางลดการขายพนั ธบัตร 14. ขอใดเปนรายการทีแ่ สดงอยใู นบญั ชเี ดินสะพัด 1) ดุลการคา ดลุ บริจาค ดลุ การชาํ ระเงนิ 2) ดลุ บริจาค ดุลบริการ ดุลการคา 3) ดลุ การชาํ ระเงิน ดุลบรกิ าร ดลุ เงินทุน 4) ดลุ การคา ดุลเงนิ ทนุ ดุลบรจิ าค 15. การประชุมอาเซม (ASEM) เปนการประชุมระหวางผนู าํ จากภูมิภาคใด 1) เอเชีย และยโุ รป 2) ยโุ รป และอเมริกา 3) อเมริกา และเอเชยี 4) เอเชีย ยุโรป และอเมริกา 16. ปญหาขอใดเปน ปญ หาพ้ืนฐานทางเศรษฐกจิ ของทุกประเทศ 1) การเลือกผลิตสนิ คา และบริการ ตนทุนการผลิต และการขาดแคลนเงินทนุ 2) คุณภาพของผลผลติ การกระจายสินคา และบรกิ าร และตน ทุนการผลติ 3) การขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ การขาดแคลนเงินทนุ และการเลอื กวิธกี ารผลติ 4) การเลือกผลิตสนิ คา และบรกิ าร การเลอื กวิธกี ารผลิต และการกระจายสนิ คาและบรกิ าร 17. ขอ ใดเปนความไดเปรียบของระบบเศรษฐกิจแบบผสมทมี่ ีเหนอื ระบบเศรษฐกิจแบบอน่ื 1) บทบาทของรัฐบาลและเอกชนในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจปรบั เปล่ียนไดตามความเหมาะสม 2) รัฐบาลและเอกชนตา งรวมกนั จดั สวัสดิการตามความตองการของประชาชนไดมากขึน้ 3) รัฐบาลและเอกชนตางมบี ทบาทในการคาและการลงทนุ ไดทัดเทียมกัน 4) รฐั บาลและเอกชนสามารถใชกลไกราคาเปน เคร่อื งมือสาํ คญั ในการตัดสินใจประกอบธุรกจิ โครงการแบรนดซัมเมอรแ คมป 2010 _____________ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (121)

18. ขอ ใดแสดงวาเงนิ ทําหนา ท่ีในการวัดมูลคา 1) สุธีเขยี นเชค็ สว นตัวซือ้ นาฬิกาขอมือ 1 เรือน ราคาเรอื นละ 30,000 บาท 2) พศิ าลซื้อโทรทัศน 1 เครื่อง โดยการผอนชาํ ระ 6 งวด งวดละ 10,000 บาท 3) แอนมีเงนิ แค 20 บาท ซ้ือขา วสารไดไมถึง 1 กิโลกรัม 4) สรชัยนําธนบตั รไทยชนดิ ราคา 100 บาท ไปแลกธนบตั รชนดิ ราคา 50 บาทได 2 ใบ 19. สภาพการณใ ดบง บอกวา เกิดภาวะเงนิ เฟอขน้ึ ในระบบเศรษฐกจิ 1) ประชาชนมรี ายไดท่แี ทจ รงิ เพิม่ ขน้ึ 2) อาํ นาจซื้อของเงนิ ท่อี ยใู นมอื ของประชาชนลดลง 3) สนิ คาและบรกิ ารตา งๆ มีราคาสูงขึน้ 4) เงินจํานวนเทา เดมิ ไมสามารถซือ้ สนิ คาและบรกิ ารตามทต่ี อ งการได 20. การดาํ เนนิ การในขอใดชว ยแกไ ขปญหาเงนิ เฟอ ได 1) ธนาคารกลางประกาศรบั ซื้อคืนพนั ธบตั ร 2) ลดอัตราเงนิ สดสํารองตามกฎหมาย 3) เพ่ิมอตั ราซ้อื ลดตว๋ั เงินจากธนาคารพาณชิ ย 4) ผอนคลายการกาํ กับแผนการปลอ ยสินเชื่อของธนาคารพาณชิ ย 21. ปจ จัยสําคัญทีท่ าํ ใหส ัดสว นสินคา อุตสาหกรรมในสนิ คา สงออกของไทยเพ่มิ สูงขึน้ เรอื่ ยๆ หลายประการยกเวนขอใด 1) มูลคา ผลิตผลการเกษตรมแี นวโนมต่าํ ลง 2) แรงงานไทยมีทักษะความชํานาญในการผลติ มากขึน้ 3) มีการนาํ เทคโนโลยีมาใชในการผลติ มากขึน้ 4) มกี ารพัฒนาผลิตผลอตุ สาหกรรมใหมๆเพ่ือการสงออก 22. ผลติ ภณั ฑท ไี่ ดร บั การรับรองฉลากเขยี วแสดงวาผลติ ภัณฑนัน้ ผา นการประเมินใด 1) มาตรฐานความปลอดภัยดา นอาหาร 2) มาตรฐานคณุ ภาพและสิ่งแวดลอ ม 3) มาตรฐานคณุ ภาพและความปลอดภัยดานอาหาร 4) มาตรฐานดานสิ่งแวดลอ ม 23. การกระทาํ ของบุคคลใดยึดหลกั การสรางภมู คิ มุ กนั ตามปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1) นอ ยจัดสรรรายจายใหสมดุลกบั รายได 2) หนอ ยซอื้ รถจักรยานยนตมาใชภาวะทีน่ ํา้ มนั มีราคาแพง 3) นกใชจายเงินเดอื นทไี่ ดร บั อยา งรอบคอบโดยการออมไวสวนหน่ึง 4) นดิ ซ้อื สินคา และบรกิ ารเฉพาะทต่ี องการเทา นั้น 24. สถาบนั การเงนิ ใดใชห ลกั ประชาธิปไตยควบคุมการบรหิ ารงาน 1) ธนาคารพาณิชย 2) บรษิ ทั ประกนั ชีวติ 3) กองทนุ ประกนั สงั คม 4) สหกรณอ อมทรัพย 25. การเปลย่ี นแปลงของสินคา ในขอใดเปน ไปตามกฎของอุปทาน 1) ผลิตผลผกั ลดลงมาก เพราะอุทกภยั ทําใหสวนผกั เสียหาย ราคาผักจึงสูงขึน้ 2) ราคานํ้ามันปาลมสงู ขน้ึ พอ คา จึงสง่ั นํ้ามันปาลม จากตา งประเทศเขา มาขายมากข้นึ 3) ยอดจาํ หนายนํ้าสม ค้ันสูงข้ึน เพราะมีผนู ิยมบรโิ ภคเพ่มิ ขึน้ 4) บา นจัดสรรปรับราคาสูงขน้ึ เพราะตนทนุ การผลติ เพิม่ ขน้ึ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (122) _____________ โครงการแบรนดซ ัมเมอรแ คมป 2010

26. ภาวะดุลยภาพของตลาดจะเกดิ ขึ้นเม่ือใด 1) จํานวนผูซ้ือเทา กับจํานวนผขู าย 2) ปรมิ าณเสนอซ้ือสมดุลกับราคาเสนอขาย 3) อุปสงคส ว นเกินและอปุ ทานสว นเกินมีคาเทา กบั ศูนย 4) ผซู ื้อสามารถซอื้ สนิ คาไดต ามจาํ นวนท่ีตองการ 27. ณ ระดบั ราคาดุลยภาพ ปรากฏวาชาวไรอ อ ยเดอื ดรอน จึงทําใหร ฐั บาลจาํ เปนตองเขา ชว ยเหลือโดยกําหนด ราคาประกัน ขอใดกลาวไดถ กู ตอง 1) โรงงานน้ําตาลจะซือ้ ออ ยไดใ นราคาที่ตา่ํ กวาราคาดุลยภาพ 2) รัฐบาลจะตอ งรับซ้ือออยสวนเกนิ จากชาวไรอ อ ย 3) โรงงานน้ําตาลจะรวมตัวกันตอรองราคารับซือ้ ออ ยในราคาตลาด 4) ชาวไรออยจะตองจัดสรรโควตาขายใหโ รงงานน้ําตาล 28. ขอใดกลา วถึงวตั ถุประสงคใ นการบรหิ ารรายไดและรายจายของภาคเอกชนและภาครฐั บาลไดถูกตองที่สดุ 1) ภาคเอกชนเนนประสทิ ธภิ าพในการใชจาย ภาครฐั บาลเนนการแสวงหารายไดมาใชจ าย 2) ภาคเอกชนเนนการแสวงหาผลกําไร ภาครัฐบาลเนน ประโยชนสว นรวม 3) ภาคเอกชนเนนการประหยัดรายจา ย ภาครฐั บาลเนน ประสทิ ธภิ าพในการใชจ า ย 4) ภาคเอกชนเนน ประโยชนทีจ่ ะไดร ับ ภาครฐั บาลเนน ประโยชนข องรฐั บาล 29. ในภาวะที่เศรษฐกิจตกตํา่ รัฐบาลควรมมี าตรการทางการคลังอยา งไร 1) เก็บภาษีเพ่ิมข้นึ เพื่อเพม่ิ เงินคงคลัง 2) ชะลอการปลอยสนิ เช่ือ เพอ่ื ลดหน้ีของประชาชน 3) ใชจายใหมากขนึ้ เพอ่ื กระตนุ การผลติ 4) กูยืมนอ ยลง เพือ่ ลดภาระงบประมาณ 30. ขอ ใดถือวา เปนมาตรการของนโยบายการคา เสรี 2) ใหเ งินอุดหนุนผูผลิตในประเทศ 1) เกบ็ ภาษีขาเขา ในอัตราตา่ํ 3) ไมเ ก็บภาษีสินคาท่ีสงไปขายประเทศยากจน 4) ใหน ําสินคา จากประเทศตางๆ ไดท ุกชนดิ 31. การท่ปี ระเทศมดี ุลการชําระขาดดลุ จะทําใหเ กดิ ผลอยา งไร 1) การลงทนุ ตา งประเทศลดลง 2) ทุนสํารองระหวา งประเทศลดลง 3) ดุลการคาขาดดลุ เพม่ิ ขนึ้ 4) ดุลบญั ชีเดินสะพัดขาดดุลเพ่มิ ขึ้น 32. องคการระหวา งประเทศในขอใดมวี ัตถุประสงคเ พอื่ รักษาเสถียรภาพการแลกเปลยี่ นเงินตราระหวางประเทศ 1) องคการความรว มมอื ทางเศรษฐกิจแหงเอเชียและแปซิฟก 2) ธนาคารระหวา งประเทศเพื่อการบูรณะและพฒั นา 3) กองทุนการเงนิ ระหวางประเทศ 4) องคการการคาโลก 33. การตดั สินใจในขอ ใดไมเก่ยี วกับปญ หาพ้นื ฐานทางเศรษฐกิจ 1) จะปลกู ขา วหรือจะปลกู ถว่ั 2) จะปกผา ดวยมอื หรอื ดว ยเคร่ืองจักร 3) จะขดุ สระนํา้ ตอนหนาแลง หรือหนาฝน 4) จะสรา งบานจดั สรรแบบมาตรฐานราคาตา่ํ หรอื แบบหรรู าคาสูง โครงการแบรนดซ มั เมอรแคมป 2010 _____________ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (123)

34. ในการบรหิ ารจดั การทรัพยากรอยางมปี ระสทิ ธภิ าพนนั้ ผูบริหารจะตอ งเปรียบเทยี บปจ จัยในขอ ใด 1) ราคาของทรพั ยากรท่ใี ชก บั ราคาตลาดของผลผลติ 2) ทรัพยากรทม่ี ีอยูกับความตองการใช 3) ตนทนุ ทปี่ ระหยดั ไดกบั กาํ ไรทีเ่ พม่ิ ข้นึ 4) ผลไดท่ีคาดวา จะไดรบั กับตน ทนุ คาเสียโอกาส 35. การนาํ เทคโนโลยสี มัยใหมมาใชใ นภาคอตสุ าหกรรม ทาํ ใหป ระเทศไทยตอ งประสบปญหาใดในปจ จบุ ันเพราะเหตุใด 1) ดลุ การชําระเงินขาดดลุ เพราะตอ งใชเงินตราตา งประเทศมากขน้ึ ในการนําเขา เทคโนโลยี 2) มลพิษทางอากาศและทางนํ้า เพราะเกิดจากการผลติ และการบรโิ ภคสินคาอุตสาหกรรมมากขน้ึ 3) ขาดแคลนบุคลากรทางวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี เพราะขาดงบประมาณในการพัฒนาการศึกษา 4) ผลผลิตสนิ คา อุตสาหกรรมมรี าคาสงู เพราะผผู ลติ มอี าํ นาจผูกขาดในการกาํ หนดราคามากข้ึน 36. เมอ่ื เปรียบเทยี บระหวางธนบตั รใบละ 1,000 บาทกบั สรอ ยคอทองคําหนกั 1 บาท สนิ ทรัพยใ ดมีสภาพคลอ ง สงู กวา เพราะเหตใุ ด 1) ธนบัตร เพราะนาํ ไปแลกกบั สง่ิ อน่ื ๆไดทันที 2) ธนบัตร เพราะเปน สง่ิ ทค่ี นทวั่ ไปตองการ 3) สรอ ยทองคาํ เพราะมีมูลคาสูงกวา 1,000 บาท 4) สรอ ยทองคํา เพราะสามารถนาํ ไปขายตอ ไดรวดเร็ว 37. ถาคาดวา อตั ราเงนิ เฟอ จะสูงข้นึ ตอไปอกี ธนาคารกลางจะตอ งดาํ เนินมาตรการใด เพือ่ ชะลอเงนิ เฟอ 1) ขน้ึ อัตรารบั ชว งซอื้ ลดตว๋ั สญั ญาใชเ งนิ จากธนาคารพาณชิ ย 2) ข้ึนอัตราภาษดี อกเบีย้ เงนิ ฝากธนาคารพาณชิ ย 3) ลดอัตราดอกเบย้ี ธนาคารกลาง 4) ลดอัตราคาจา งขนั้ ต่าํ 38. ขอ ใดไมใ ชวธิ ีการหาเงนิ มาใชจ ายในกรณีทร่ี ัฐบาลมงี บประมาณแบบขาดดุล 1) การนาํ เงินคงคลังออกมาใช 2) การกูยมื จากตา งประเทศ 3) การออกพนั ธบตั รขายประชาชน 4) การเพมิ่ อตั ราภาษมี ลู คาเพิม่ 39. หลักการสหกรณก ับปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมีความสอดคลองกันในเรอื่ งใด 1) การบริหารจดั การทรัพยากรเกิดประโยชนส ูงสดุ 2) การทํากิจกรรมเศรษฐกิจเฉพาะกับสมาชกิ หรอื คนในชุมชนเดียวกัน 3) การรวมมอื รวมใจกนั ในสังคมระดบั ทอ งถน่ิ 4) การยดึ แนวทางการพึงพาตนเอง 40. การเกษตรทฤษฎใี หมขน้ึ ตน มีจดุ มงุ หมายสําคัญเพือ่ แกปญหาใดใหเ กษตรกร 1) การสญู เสยี ทดี่ ินทาํ กิน 2) การพง่ึ พาระบบนํ้าตามธรรมชาติ 3) การขาดการรวมพลังกันในรูปกลุม 4) การเพาะปลกู พชื เศรษฐกจิ นอยเกนิ ไป 41. ผูใดทําหนา ท่ีเปนหนวยธุรกิจในความหมายของเศรษฐศาสตร 1) นายเกง ตดั แผน หนงั อยูใ นโรงงานผลติ รองเทาไดร บั คาตอบแทนวันละ 250 บาท 2) นายกลาตกกุงปลามาทําอาหารทกุ วัน ทําใหไ มต อ งเสียเงนิ ซอ้ื กงุ ปลาอยางนอยวนั ละ 30 บาท 3) นายโชคแบงหองพกั ใหเ พื่อนคนงานเชา โดยคดิ คา เชา เพยี งวันละ 80 บาท 4) นายสขุ ใชกลว ยนาํ้ วา ในสวนมาทาํ เปนกลว ยทอดขายหนาบา นไดร ายไดวนั ละ 200 บาท สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (124) _____________ โครงการแบรนดซมั เมอรแ คมป 2010

42. ขอ ใดเปน จุดมุงหมายสําคัญของระบบเศรษฐกจิ สงั คมนิยม 1) รกั ษาเสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ 2) ทําใหเกิดการกระจายรายไดอยา งเปน ธรรม 3) การทจุ ริตคอรรปั ชันในการบริหารจัดการ 4) สรา งแรงจงู ใจใหป ระชาชนทาํ งานเพื่อผลประโยชนข องชาติ 43. ในการพิจารณากฎของอปุ สงคสินคา ชนิดใดชนดิ หน่งึ กําหนดใหปจจยั เปลี่ยนแปลงได 1) ราคาของสินคาชนิดนั้น 2) รายไดข องผซู อ้ื สินคาชนดิ นั้น 3) การคาดคะเนราคาสนิ คาในอนาคต 4) รสนยิ มของผบู ริโภคสินคา ชนิดนน้ั 44. เพราะเหตุใดรัฐบาลจึงกาํ หนดราคาขัน้ สูงของนา้ํ มนั ถ่ัวเหลืองในตลาด 1) เพราะไมต องการใหมีการใชถ่วั เหลอื งมากเกนิ ไป จนทาํ ใหถว่ั เหลอื งมีราคาสงู กวาราคาท่สี มดุล 2) เพราะไมตอ งการใหผ ูผลิตเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตแทนการหากําไร โดยการตง้ั ราคาขายสงู 3) เพราะตองการใหผ บู ริโภคซอ้ื ถ่ัวเหลอื ในราคาที่ต่าํ กวาราคาดลุ ยภาพ 4) เพราะตองการใหผูบ ริโภคซอ้ื นา้ํ มันถ่วั เหลืองในราคาท่ีตํ่ากวาราคาดุลยภาพ 45. ประเทศไทยนําเขาสินคา ใดมากที่สุดในจํานวนสนิ คา 4 ชนิด 1) ปยุ และยาปราบศัตรพู ืช 2) คอมพวิ เตอรและอปุ กรณ 3) รถจักรยานยนตแ ละสว นประกอบ 4) เครอื่ งจกั รไฟฟา และสว นประกอบ 46. ขอ ใดเปน เหตุผลสาํ คัญทท่ี าํ ใหห ลายประเทศใชน โยบายการคา แบบคุมกนั 1) สินคาเขามมี ลู คา สนิ คาออกมาก 2) ตลาดสนิ คา ออกขยายตวั ในอตั ราตํา่ 3) ผูผลติ ตา งประเทศคาขายเอาเปรยี บผผู ลติ ในประเทศ 4) รฐั บาลต้งั การเพมิ่ รายไดจ ากการเกบ็ ภาษีสินคา เขา 47. ขอ ใดแสดงวาดลุ การชําระเงนิ เกนิ ดุล 1) ดุลบัญชีทุนสํารองระหวางประเทศมีคา สทุ ธเิ ปน บวก 2) ดลุ บญั ชีเดนิ สะพัดมีคาต่ํากวา ดลุ บัญชีทุน 3) ดุลบัญชีเดินสะพัดรวมดลุ บัญชที นุ เคล่ือนยายไดผ ลสทุ ธเิ ปนบวก 4) ดุลบัญชเี ดนิ สะพัดลบบัญชีทนุ เคลื่อนยา ย มคี าสูงกวาดลุ บัญชีทนุ สํารองระหวางประเทศ 48. ขอใดเปน สาเหตสุ าํ คญั ทท่ี าํ ใหหลายประเทศเขา รวมกลมุ ทางเศรษฐกจิ 1) ปรมิ าณการคา ระหวา งประเทศของโลกเพม่ิ ในอตั ราสูง 2) ประเทศทเ่ี คยเปนประเทศสงั คมนิยมหันมาทาํ การคาระหวางประเทศมากขึ้น 3) การแขงขนั ทางการคา ระหวา งประเทศมีความรนุ แรงมากขน้ึ 4) องคก ารการคา โลกมนี โยบายใหก ารสนับสนุน 49. ระบบอตั ราแลกเปล่ยี นระหวางประเทศของไทยทีใ่ ชในปจ จบุ นั คอื ระบบใดและเปลีย่ นมากจากระบบใด ตามลาํ ดับ 1) ระบบลอยตวั เสรี ระบบที่ผูกคา กับกลมุ เงินสกลุ อื่นๆ 2) ระบบลอยตัวภายใตการจัดการ ระบบที่ผูกคา กบั กลมุ เงนิ สกลุ อื่น 3) ระบบลอยตัวภายใตก ารจัดการ ระบบท่มี ีความยดื หยนุ จาํ กัด 4) ระบบลอยตวั เสรี ระบบทมี่ คี วามยืดหยนุ จํากัด โครงการแบรนดซ ัมเมอรแ คมป 2010 _____________ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (125)

50. ขอความใดเก่ียวกบั เศรษฐศาสตรม หภาพ 1) ปนโ้ี รงสนี ายกุยรบั ซ้ือขาวเปลอื กในราคาตนั ละ 9,500 บาท ตาํ่ กวา ท่ีรฐั บาลรับจํานาํ 2) รา นคา ขายทองคําแทงในราคาทส่ี ูงกวา เมือ่ เดอื นท่แี ลว รอยละ 5 3) สินคา ออกของไทยมมี ูลคาเพิ่มขน้ึ จากปท่แี ลวรอ ยละ 10 4) ผลผลิตเงาะปน ้เี พิม่ ขนึ้ มาก ทําใหร าคาตกเหลือเพยี งกโิ ลกรัม 5 บาท 51. วิชาเศรษฐศาสตรเ ปนศาสตรในสาขาใด เพราะเหตุใด 1) สังคมศาสตร เพราะศกึ ษาพฤตกิ รรมของมนษุ ย 2) วทิ ยาศาสตรป ระยกุ ต เพราะสามารถใชป รากฎการณทีเ่ กดิ ขนึ้ จริงได 3) ศกึ ษาศาสตร เพราะไมต อ งการใชคณิตศาสตรเ ปน เครือ่ งมือในการวเิ คราะห 4) ตรรกศาสตร เพราะผลการศกึ ษาตองสอดคลอ งกบั หลักเหตแุ ละผล 52. ปญ หาขอ ใดไมไดเกดิ จากการท่ีผูผลติ ใชท รพั ยากรการผลติ อยางไรประสิทธภิ าพ 1) สิง่ แวดลอมเส่ือมโทรม 2) ทรัพยากรธรรมชาติหมดไป 3) ตน ทุนทางสังคมสูงเกนิ ไป 4) คุณภาพของสินคา ต่ํากวา มาตรฐาน 53. ปรมิ าณเงินในความหมายกวางไดรับผลกระทบจากการดาํ เนินธุรกิจของสถาบนั การเงนิ ใดมากทสี่ ุด 1) ธนาคารเพ่อื การเกษตรและสหกรณก ารเกษตรและสหกรณอ อมทรัพย 2) ธนาคารออมสินและบรษิ ัทหลักทรพั ยจัดการกองทุนรวม 3) ธนาคารอาคารสงเคราะหแ ละบรษิ ัทประกนั ภัย 4) ธนาคารพาณิชยและบริษัทเงนิ ทุน 54. รฐั บาลตองจัดทาํ งบประมาณแผน ดินลกั ษณะใดในการดาํ เนนิ นโยบายการคลงั แบบหดตัว 1) กําหนดรายรบั เทากบั รายจา ย 2) กําหนดรายไดเ ทา กบั รายจาย 3) กาํ หนดรายจา ยตํ่ากวารายรบั 4) กาํ หนดรายจา ยต่ํากวา รายได 55. แนวคดิ เก่ียวกับสหกรณเ ร่มิ ขึ้นในประเทศใดเปน ประเทศแรก 1) อังกฤษ 2) เยอรมนี 3) สวเี ดน 4) รสั เซยี 56. สหกรณป ระเภทใดเปด กวา งใหผ ูประกอบอาชีพใดกไ็ ดเ ขา เปน สมาชิก 1) สหกรณนิคม 2) สหกรณร า นคา 3) สหกรณบริการ 4) สหกรณอ อมทรพั ย 57. ผใู ดนาํ แนวทางเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยกุ ตใ ช 1) นายเจียมลดรายจา ยไดม าก เพราะงดการดืม่ สุราตามคาํ แนะนําของแพทยป ระจําตวั 2) นายจติ ทาํ สัญญาทใี่ หไ วกบั บตุ ร โดยหาเงนิ มาซ้อื รถยนตใหเปนรางวลั 3) นายสุขใชเ วลาวา งวนั อาทิตยท ํางานเปน พนักงานเสิรฟอาหารเพอ่ื หารายไดพ เิ ศษมาเลี้ยงครอบครวั 4) นางแสงลดการปลูกพชื หลายชนิด หันมาปลูกพชื หลกั เพยี งชนิดเดียวเพือ่ จะไดเกิดความชํานาญในการ ปลกู พืชชนิดน้ัน 58. การแขงขันกันอยางรนุ แรงในการผลิตสนิ คา และบรกิ ารขายในตลาด จะทําใหเ กิดผลเสยี ที่สาํ คญั ขอใด 1) มกี ารผลติ สินคาและบรกิ ารมากเกินความจาํ เปน ทาํ ใหเกดิ การบริโภคท่ีฟมุ เฟอ ย 2) มีการนาํ เครือ่ งจักรมาใชในการผลติ แทนแรงงานมากข้ึน ทําใหนายจางสามารถลดคาจางใหต่ําลง 3) มีการใชป จ จยั การผลิตมาก ทาํ ใหประเทศตองประสบปญหาการขาดแคลนปจจัยการผลิต 4) มีผผู ลิตจาํ นวนนอยท่ีสามารถดําเนนิ ธุรกจิ ตอไปได ทาํ ใหเขามอี าํ นาจการผูกขาดสูงขึ้น สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (126) _____________ โครงการแบรนดซมั เมอรแคมป 2010

59. การทผ่ี ูบริโภคตดั สนิ ใจผิดพลาดในการซื้อสินคา เกดิ จากอทิ ธพิ ลของขอใดมากทส่ี ดุ 1) การไดร ับแจกสินคาตวั อยาง 2) การสาธติ วิธกี ารใชส นิ คา 3) การแนะนาํ ของเพอื่ น 4) การโฆษณาผานส่ือตา งๆ 60. ขอ ใดไมใ ชส ิทธิขนั้ พืน้ ฐานของผูบริโภคตามพระราชบัญญตั ิคุมครองผูบ ริโภค พ.ศ. 2522 แกไขเพมิ่ เติม (ฉบับ ท่ี 2) พ.ศ. 2541 1) การไดซ้ือสินคาในราคาที่เปน ธรรม 2) การไดร ับคาชดเชยความเสียหาย 3) การไดร บั ความปลอดภัยจากการใชบริการ 4) การไดรบั ขา วสารรวมท้ังคําพรรณนาคณุ ภาพที่ถูกตอ ง 61. ขอ ใดไมใชล กั ษณะของรฐั บาลในระบบเศรษฐกจิ แบบสังคมนิยมคอมมวิ นิสต 1) มกี ารวางแผนเศรษฐกจิ 2) เปน เจา ของปจจยั การผลิตทกุ ชนิด 3) ออกกฎหมายหามการผูกขาดการผลิต 4) จํากดั เสรีภาพของประชาชนในการเลือกบริโภค 62. การกาํ หนดคา จา งในระบบเศรษฐกจิ แบบทุนนยิ มขึ้นกบั ปจ จยั ในขอ ใด 1) ผูผลิตทต่ี องการรบั แรงงานเขา ทาํ งานและจํานวนแรงงานที่ตอ งการจาง 2) จํานวนคนวา งงานและคุณสมบัติของผสู มัครเขาทาํ งาน 3) การเลือกทํางานของแรงงานและตําแหนงงานวาง 4) ความตองการจางงานและจาํ นวนแรงงานทต่ี องการทํางาน 63. การทีก่ ระเทยี มจากประเทศจีนทะลกั เขามาในประเทศไทยจาํ นวนมาก จะทําใหตลาดกระเทียมในประเทศไทย เปลยี่ นไปอยางไร 1) ราคาดลุ ยภาพเพ่ิมขนึ้ ปริมาณดลุ ยภาพเพิ่มขน้ึ 2) ราคาดลุ ยภาพคงเดิม ปริมาณดุลยภาพลดลง 3) ราคาดลุ ยภาพลดลง ปริมาณดลุ ยภาพเพมิ่ ขึ้น 4) ราคาดุลยภาพเพิ่มข้นึ ปริมาณดุลยภาพลดลง 64. นายวทิ ยซ ้ือกระเปาถือสตรจี ากพอคาในอิตาลีเปน มลู คา 1 ลานบาท เพื่อนาํ มาขายในประเทศรายการ ดังกลา วของบันทึกในบญั ชีใดของดุลการชาํ ระเงนิ 1) บญั ชกี ารเงิน 2) บญั ชรี ายได 3) บญั ชเี งนิ โอน 4) บัญชเี ดนิ สะพัด 65. วธิ กี ารใดสงเสริมการคา ระหวางประเทศไดอยา งมีประสทิ ธภิ าพมากท่ีสุด 1) เขาเปน สมาชิกองคก ารการคาโลก 2) รว มกันจดั ตง้ั เขตการคา เสรี 3) ยกเลิกโควตาสินคา ออกและสนิ คาเขา 4) ลดมาตรฐานคณุ ภาพสินคา เขาและสนิ คา ออก 66. สนิ คา หรอื บรกิ ารใดจดั วา เปน สนิ คาสาธารณะ 2) สถานสงเคราะหผสู ูงอายุ 1) รถโดยสารระหวา งจังหวัด 4) การปองกันประเทศ 3) มหาวทิ ยาลยั ของรฐั 67. เงนิ ทร่ี ฐั บาลไดรับจากการออกตัว๋ เงนิ เปนองคประกอบของขอใด 1) รายได 2) รายรับ 3) เงนิ คงคลัง 4) เงนิ กรู ะยะยาว 68. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาตฉิ บบั ใด “อัญเชญิ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง” ตามพระราชดาํ รสั ของ พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหัวมาเปนปรัชญานาํ ทางในการพฒั นาประเทศเปนฉบบั แรก 1) แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 7 2) แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 8 3) แผนพัฒนาฯ ฉบบั ท่ี 9 4) แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 โครงการแบรนดซัมเมอรแ คมป 2010 _____________ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (127)

69. เปาหมายสงู สดุ ของการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ คอื ขอใด 1) ประชาชนทุกคนอยูรว มกันอยางมคี วามสุข สมัครสมานสามัคคี 2) ประชาชนมรี ายไดเ พม่ิ ข้ึนตามสถานการณเ ศรษฐกิจของประเทศ 3) ประชาชนทกุ คนมคี วามรับผดิ ชอบรหู นา ที่ตอตนเอง ผูอ่ืน และประเทศชาติ 4) ประชาชนทุกคนมมี าตรฐานครองชีพทดี่ ี คือ การอยดู ีกนิ ดี 70. ขอ ใดแสดงวาประเทศตางๆ มคี วามเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิ 1) การยอมรับเทคโนโลยเี พ่ือการผลิตเพ่ิมขึน้ 2) ประสบความสาํ เรจ็ ในการแกป ญหาการเงนิ การคลงั 3) การพัฒนาสงั คมและยกระดับมาตรฐานการครองชพี สูงข้ึน 4) อัตราของคนยากจนลดลงจากประชากรทัง้ ประเทศ 71. สหภาพยุโรปใหสิทธิพิเศษทางศลุ กากรกับสินคา ประเทศไทย เกี่ยวของกบั ลกั ษณะในขอ ใดมากทสี่ ดุ 1) ประเทศไทยใชนโยบายการคา เสรีเฉพาะสินคา ท่ีสง ไปขายในสหภาพยุโรปเทานน้ั 2) สนิ คา จากประเทศไทยมรี าคาสูงข้ึน เพราะไมไ ดหกั ภาษีมลู คา เพิ่มเบอ้ื งตน 3) สหภาพยโุ รปไมไดใ ชนโยบายการคา เสรกี ับประเทศไทย 4) ประเทศไทยทาํ FTA กบั อาเซยี นและสหภาพยุโรป 72. เมือ่ คา เงินบาทมีความแข็งคา ขึ้น เราควรพลิกวิกฤตใหเ ปนโอกาสไดอ ยางไร 1) สงสนิ คาราคาถูกตีตลาดคแู ขง 2) ซือ้ ดอลลารไวเ ก็งกําไร 3) เพิ่มราคาสนิ คาสงออกมากข้ึน 4) ส่ังซ้อื สินคา ทุนจากตางประเทศเพ่มิ ขน้ึ 73. เกณฑใ นขอ ใดที่แสดงวา เงนิ มีเสถยี รภาพ 1) มีคา คงที่ เปล่ียนแปลงเลก็ นอย 2) มีคาเปลย่ี นแปลงตามอุปสงคข องตลาด 3) ใชเ ปน เงนิ ทุนสาํ รองระหวางประเทศ 4) แลกเปน เงินตราตา งระเทศไดกําไรมากกวา ขาดทุน 74. ในสภาวะเศรษฐกจิ ขยายตัว รฐั บาลควรมีนโยบายการคลังอยา งไรท่จี ะเกดิ ประโยชนตอประเทศ 1) จดั เกบ็ ภาษเี พิ่มข้นึ ทัง้ ทางตรงและทางออ ม 2) ตง้ั งบประมาณขาดดุล 3) เพ่มิ อตั ราดอกเบี้ยทง้ั เงินฝากและเงินกู 4) เพม่ิ งบดา นสวสั ดิการและสงั คมสงเคราะหใ หส งู ขึ้น 75. ขอ ใดไมใชนโยบายการเงินที่ใชเพือ่ รกั ษาเสถยี รภาพทางการเงินของประเทศ 1) การควบคุมอุปทานของเงิน 2) ควบคุมการปลอ ยสนิ เช่อื ของธนาคารพาณชิ ย 3) ควบคุมอตั ราดอกเบีย้ ของธนาคารพาณชิ ย 4) ควบคุมปริมาณของหนีส้ าธารณะ 76. ขอ ใดคือแนวทางในการแกป ญหาอุปทานสว นเกินไดเหมาะสมทสี่ ุด 1) เพิ่มราคาสินคาใหส มดุลกับภาวะเงินเฟอ 2) ลดราคาสินคา ลงจนถงึ ราคาดุลยภาพ 3) ลดราคาสนิ คา สลับการขนึ้ ราคาสินคา 4) เพ่ิมราคาสนิ คา เทา กบั ราคาทุน 77. ขอใดไมใชคุณคา ของสหกรณ 1) ความเปนประชาธปิ ไตย 2) การพ่ึงตนเองและเอือ้ อาทรตอผูอ ื่น 3) ความรับผิดชอบตอตนเองและสวนรวม 4) ผลกาํ ไรเปนจุดมงุ หมายสงู สุด สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (128) _____________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010

78. กรณีถา สม เขยี วหวานกับสมโอเปนผลไมท่ีใชแทนกนั ได ในชว งเทศกาลตรุษจนี ถา สม โอมีราคาแพงกวา สมเขยี วหวาน 2 เทา จะเกดิ สภาพใด 1) ความตองการสมโอสงู ข้นึ 2) ความตอ งการสมเขยี วหวานจะตํา่ 3) ความตองการสมเขยี วหวานสงู ข้ึน 4) ปริมาณสมโอและเขยี งหวานอยูในราคาดุลยภาพ 79. ขอ ใดตอ ไปนี้จดั เปน ตลาดผกู ขาดทั้งหมด 1) การไฟฟา สวนภูมภิ าค โรงงานยาสูบ รถไฟฟา มหานคร 2) การประปาสวนภมู ิภาค รานทองเยาวราช รานคา ขายของชาํ 3) ปม นา้ํ มัน รถไฟฟา BTS การเคหะฯ 4) สนามบินสุวรรณภูมิ การไฟฟาสวนภูมิภาค บรษิ ัทปโ ตเลยี มแหงประเทศไทย จํากัด (มหาชน) 80. เศรษฐกิจพอเพียงมีหลกั การอยา งไร 1) ดําเนินชวี ิตอยอู ยางพอเพยี งไมท าํ ใหผ อู น่ื เดอื ดรอ น 2) ใชทรพั ยากรของตนเองผลิตใหไดกําไรมากท่ีสุด 3) ผลติ เอง ใชเ อง ไมพ งึ่ พาใคร 4) กูเงนิ เพอื่ ซือ้ ท่ดี นิ เพ่มิ ขยายบอปลาและปลกู พืช เฉลย 1. 2) 2. 1) 3. 3) 4. 4) 5. 2) 6. 4) 7. 1) 8. 2) 9. 1) 10. 1) 11. 1) 12. 3) 13. 3) 14. 2) 15. 1) 16. 4) 17. 1) 18. 1) 19. 2) 20. 3) 21. 1) 22. 2) 23. 3) 24. 4) 25. 2) 26. 3) 27. 2) 28. 2) 29. 3) 30. 1) 31. 2) 32. 3) 33. 3) 34. 4) 35. 2) 36. 1) 37. 1) 38. 4) 39. 4) 40. 2) 41. 4) 42. 2) 43. 1) 44. 4) 45. 4) 46. 1) 47. 3) 48. 3) 49. 2) 50. 3) 51. 1) 52. 4) 53. 4) 54. 4) 55. 1) 56. 2) 57. 3) 58. 4) 59. 4) 60. 1) 61. 3) 62. 4) 63. 3) 64. 4) 65. 2) 66. 4) 67. 2) 68. 3) 69. 4) 70. 3) 71. 3) 72. 4) 73. 3) 74. 4) 75. 4) 76. 2) 77. 4) 78. 3) 79. 1) 80. 1) โครงการแบรนดซ มั เมอรแคมป 2010 _____________ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (129)

สรุปสาระภูมิศาสตร แผนท่ี ความหมาย องคประกอบและประโยชนของแผนที่ แผนที่ คอื อปุ กรณท ่มี นษุ ยสรา งข้นึ เพื่อแสดงลกั ษณะของพ้นื ผวิ โลกและส่ิงทีป่ รากฏบนพืน้ โลกทงั้ ที่เกดิ ขึ้นเอง ตามธรรมชาติ เชน ภูเขา แมน าํ้ ทร่ี าบ เปน ตน และสิ่งทม่ี นุษยส รางขึ้น เชน ถนน เขือ่ น ทางรถไฟ อาคาร บา นเรือน เปนตน ความสาํ คญั ของแผนที่ มีความสําคัญตอวชิ าสงั คมศกึ ษามาก เพราะเปน สิง่ ทจี่ ะชวยใหนกั เรียน เขาใจ เน้อื หาทเ่ี ปน นามธรรมใหเปน รูปธรรมมากข้นึ ชนิดของแผนท่ี สามารถแบง ออกไดห ลายชนิดหลายลกั ษณะดังนี้ 1. แบงตามรายละเอียดท่ีปรากฏบนแผนท่ี ไดแ ก แผนที่ลายเสน แผนท่ภี าพถาย 2. แบง ตามลกั ษณะการผลติ ไดแก 2.1 แผนที่ภูมิประเทศ - แสดงลกั ษณะภูมปิ ระเทศ เชน ภเู ขา แมน ้ํา 2.2 แผนทเ่ี ฉพาะเร่อื ง เชน แผนท่รี ัฐกจิ -แสดงประเทศ เมืองสําคญั , แผนทเ่ี ศรษฐกจิ แสดงเขต เกษตรกรรม การประมง ปาไม 2.3 แผนท่ีเลม (Atlas) ประกอบดวย แผนท่หี ลายๆ ชนดิ 2.4 แผนทก่ี ิจการพเิ ศษ เชน แผนท่เี ดินอากาศ แผนทเ่ี ดนิ เรอื ประโยชนข องแผนที่ 1. ใชใ นชีวติ ประจาํ วัน 2. นําไปเปน ขอ มูลเกย่ี วกับกจิ กรรมทางการเมือง 3. นาํ ไปเปนขอมลู พนื้ ฐานในการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คม 4. นาํ ไปใชในการสง เสรมิ การทอ งเที่ยว 5. นําไปเปนขอมูลในการสรางสาธารณูปโภค 6. ลักษณะภูมิประเทศ เชน ภูเขา แมนาํ้ เพือ่ ใหเหน็ ความแตกตา งของลกั ษณะภมู ิประเทศ 7. ใชประโยชนในกจิ การทหาร ฯลฯ องคป ระกอบของแผนที่ ทีส่ าํ คญั ไดแ ก 1. มาตราสวน คือ อตั ราสวนระหวา งระยะทางในแผนทก่ี ับระยะทางในภูมปิ ระเทศจรงิ มาตราสวนทน่ี ิยม ใชกนั ไดแ ก ก. มาตราสว นคาํ พูด เชน 1 นิว้ ตอ 10 ไมล, 1 เซนตเิ มตรตอ 10 กโิ ลเมตร ข. มาตราสวนแบบตวั เลข เชน 1: 10000 ค. มาตราสวนแบบเสน ตรงหรอื ไมบรรทดั 2. สัญลกั ษณ คือ เครอ่ื งหมายท่ใี ชแ ทนสง่ิ ตา งๆ ตามท่ีตอ งแสดงไวในแผนที่ เพอ่ื ประหยดั เนือ้ ที่ และทําให ดูทําความเขา ใจแผนท่ีไดง า ยข้ึน สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (130) _____________ โครงการแบรนดซัมเมอรแ คมป 2010

3. ทิศทาง ในแผนที่จะมีภาพลูกศรหรอื เขม็ ทศิ ชไี้ ปทางทิศเหนือเสมอ แตถ าไมม กี จ็ ะเปน ท่ีเขา ใจโดยท่วั ไปวา ดา นบนของแผนที่ คอื ทิศเหนือ 4. ขอบระวาง แผนท่ที กุ ชนดิ ควรมขี อบระวาง หรอื กรอบแผนท่ซี ่ึงชว ยใหด เู รยี บรอยและเปน การกําหนด ขอบเขตของแผนท่ีดวย เพ่อื ใหเปนท่ีแสดงตวั เลขบอกคา ละติจูด ลองจจิ ูด 5. เสน โครงแผนที่ คอื ระบบการเขยี นเสน ขนานละตจิ ูด และเสนเมอรเิ ดียนลงในแผนท่ี เพ่ือใหแผนที่ นั้นๆ มคี ุณสมบัติตามทีต่ อ งการ 6. ช่ือแผนที่ เปนสง่ิ จําเปนทจ่ี ะตอ งมี เพ่อื ใหท ราบวาเปน แผนที่เรอื่ งใด แสดงอะไร เชน แผนทปี่ ระเทศ ไทยแสดงเขตจงั หวดั 7. อ่นื ๆ เชน บันทึกตา งๆ ซง่ึ เปนขอ ความทช่ี ี้แจงใหเหน็ ถึงพน้ื ฐานในการทําแผนท่ีนั้น ไดแก บันทึก เกีย่ วกบั เสนโครงแผนท่ี, ชอ่ื ระวางแผนที่ เสน ช้ันความสูง ฯลฯ ระบบอา งองิ บนผวิ โลก ระบบอางองิ บนพ้ืนผิวโลกจะใชเสนละติจดู และเสน ลองจิจูดในการอา งอิงตําแหนง บนผวิ โลก คือ บรเิ วณเสน 2 เสนนี้ตดั กนั เรียกวา “พกิ ดั ภมู ิศาสตร” เพ่อื ตอ งการหาตาํ แหนง ไดถ กู ตอง ละติจดู คอื คา ของมมุ ทีว่ ดั ในแนวเหนอื -ใต โดยมจี ดุ วัดที่ตาํ แหนง ศนู ยกลางของโลกบอกตําแหนงเปน องศา เสนสมมุติทีล่ ากผา นจดุ ตางๆ ท่มี ีคา ละติจดู เดียวกนั เรียกวา เสนขนานหรอื เสนขนานละตจิ ูด ลองจจิ ดู คือ คา ของมุมทีว่ ัดจากศนู ยกลางของโลก โดยเร่มิ จากตําแหนง 0° ทเ่ี สน เมอรเิ ดียนปฐม แลว วดั ไปทางตะวนั ออก 180° และทางตะวันตก 180° รวมทงั้ หมด 360° เสน สมมตุ ทิ ล่ี ากผาน จดุ ตา งๆ ท่ีมีคา ลองจิจูด เดยี วกนั เรยี กวา เสน เมอรเิ ดยี น โดยเสนเมอรเิ ดยี น 0° ลากผา นตําบลกรีนชิ กรงุ ลอนดอน ประเทศองั กฤษ ผาน ทวีปแอฟรกิ าไปขั้วโลกใต สว นเสนเมอริเดียน 180° จะอยูตรงขา มเสน เมอรเิ ดยี น 0° อยู ในมหาสมุทรแปซิฟก ระบบวนั เวลาของโลก การคํานวณหาวนั และเวลาทองถิ่นของตาํ บลตางๆ นน้ั สามารถกระทําไดโดยอาศยั เสน เมอรเิ ดยี น เสน เมอริเดยี นทสี่ ําคัญที่ใชใ นการคาํ นวณ คอื เมอรเิ ดยี นเรม่ิ แรก 0° (Prime Meridian) ลากผา น ตาํ บลกรนี ิชใกลก รงุ ลอนดอน ท่นี ่ีจะมีนาฬิกาชนดิ หนึง่ เรียกวา นาฬิกาโครโนมเิ ตอร (Chonometer) เวลาที่ ปรากฏบนเสน น้ี เรียกวา เวลาสากล หรอื เวลามาตรฐานกรีนชิ (G.M.T.ยอ มาจาก Greenwich Mean Time) โดยกาํ หนดให เสน เมอริเดียนทุก 15° เวลาตา งกัน 1 ชว่ั โมง การคํานวณเวลาสากล เสน เมอรเิ ดียน 1 องศา เทา กบั 4 นาที เสนเมอริเดยี น 15 องศา เทา กบั 60 นาที (1 ชั่วโมง) เสนเขตวันสากล (International Date Line) คือ เมริเดียน 180° ลากผานในมหาสมทุ รแปซฟิ ก โดยผู เดินทางจากซกี โลกตะวนั ออกไปซกี โลกตะวนั ตก จะตอ งลดลง 1 วัน และผเู ดนิ ทางจาก ซีกโลกตะวนั ตกไปซกี โลก ตะวนั ออก กจ็ ะตอ งเพิ่มข้นึ 1 วนั ระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร (Geographic Information System นิยมยอ วา GIS) คอื กระบวนการ ทาํ งานเกย่ี วกบั ขอมลู ในเชิงพ้ืนที่ (spatial data) ดวยระบบคอมพวิ เตอร โดยการกําหนดขอมลู เชิงบรรยาย (attribute data) และสารสนเทศ เชน ท่อี ยู บา นเลขท่ี ที่มคี วามสมั พันธก ับตาํ แหนงในเชิงพื้นที่ เชน ตําแหนง เสนรงุ เสน แวง ในรปู ของตารางขอมูล และฐานขอ มูล องคประกอบหลักของระบบ GIS จดั แบงออกเปน 5 สวน ใหญๆ คอื อปุ กรณคอมพวิ เตอร (hardware) โปรแกรม (software) ขน้ั ตอนการทาํ งาน (methods) ขอมูล (data) และบุคลากร (people) โดยมรี ายละเอยี ดของแตละองคป ระกอบดังตอไปนี้ โครงการแบรนดซัมเมอรแ คมป 2010 _____________ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (131)

1. อุปกรณคอมพวิ เตอร (Hardware) คอื เครอ่ื งคอมพวิ เตอรร วมไปถงึ อุปกรณต อ พวงตางๆ เชน Digitizer, Scanner, Plotter, Printer หรืออืน่ ๆ เพ่ือใชใ นการนําเขา ขอมลู ประมวลผล แสดงผล และผลติ ผลลัพธของการทํางาน 2. โปรแกรม (Software) คือ ชดุ ของคาํ สั่งสําเร็จรปู เชน โปรแกรม Arc/Info, MapInfo ฯลฯ ซ่งึ ประกอบดวยฟงกช ่ัน การทํางานและเครื่องมอื ทจ่ี าํ เปนตา งๆ สําหรบั นาํ เขาและปรับแตง ขอ มลู , จดั การระบบ ฐานขอ มูล, เรยี กคน , วเิ คราะห และจาํ ลองภาพ 3. ขอ มลู (Data) คือ ขอมลู ตา งๆ ทจ่ี ะใชในระบบ GIS และถกู จัดเกบ็ ในรูปแบบของฐานขอมูลโดยไดรับ การดูแลจากระบบจดั การฐานขอ มลู หรือ DBMS ขอ มูลจะเปน องคประกอบทสี่ าํ คัญรองลงมาจากบุคลากร 4. บคุ ลากร (Peopleware) คอื ผปู ฏิบัติงานซึ่งเกย่ี วขอ งกบั ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร เชน ผูน าํ เขา ขอ มลู ชา งเทคนิค ผูดูแลระบบฐานขอ มลู ผเู ช่ยี วชาญสําหรบั วิเคราะหขอ มลู ผูบริหารซึง่ ตองใชข อ มลู ในการตัดสนิ ใจ บคุ ลากรจะเปนองคประกอบท่สี าํ คญั ทสี่ ดุ ในระบบ GIS เน่อื งจากถา ขาดบุคลากร ขอ มูลทีม่ ีอยูมากมายมหาศาลน้ัน ก็จะเปนเพยี งขยะไมมีคณุ คาใดเลยเพราะไมไดถูกนําไปใชงาน อาจจะกลาวไดว า ถา ขาดบุคลากรกจ็ ะไมม ีระบบ GIS 5. วิธกี ารหรอื ข้นั ตอนการทํางาน (Process) คอื วิธีการทอี่ งคกรนน้ั ๆ นําเอาระบบ GIS ไปใชงานโดย แตล ะ ระบบแตล ะองคกรยอยมีความแตกตา งกันออกไป ฉะนน้ั ผปู ฏิบตั งิ านตอ งเลอื กวธิ กี ารในการจัดการกับปญหา ทเ่ี หมาะสมทส่ี ดุ สาํ หรบั ของหนวยงาน ประโยชนท ีไ่ ดจ ากการใช GIS 1. สามารถผสมผสานขอ มลู หลายรปู แบบ (กราฟฟก ตัวอกั ษร ตัวเลข ภาพ) จากแหลง ตางๆ ในการ วิเคราะห นอกจากนยี้ ังสามารถทําการปรบั เปล่ยี นมาตราสว น เสนโครงแผนที่ การเช่ือมตอระวางของแผนที่ และ การผสมผสานขอ มูลสาํ รวจจากระยะไกล (Remote Sensing) ได 2. เพิ่มความสามารถในการแลกเปลย่ี นขอมูลระหวางหนว ยงานตา งๆ ท่เี ก่ียวขอ ง 3. การประมวลและวเิ คราะหขอมลู มีประสทิ ธภิ าพมากขึน้ เชน สามารถเช่อื มโยง ขอมูลดานสังคม เศรษฐกจิ การซอ นทบั ของขอมูลเชงิ พ้นื ท่ี (Spatial Overlay) 4. สามารถสรา งแบบจําลอง (Model) ทดสอบและเปรยี บเทยี บทางเลือกกอนที่จะมกี ารนาํ เสนอยุทธวิธีใน การปฏิบัติจรงิ 5. การปรบั ปรงุ แกไขขอมลู ใหทนั สมยั ไดงาย 6. สามารถจดั การกบั ระบบฐานขอ มลู ขนาดใหญได การสมั ผสั ขอมูลระยะไกล (Remote Sensing) ในอดีตที่ผา นมาเทคโนโลยีภาพถายทางอากาศ (Aerial Photograph) และทางภาพถายดาวเทียม (Satellite Imagery) เปน คําท่ใี ชแยกจากกนั ตอมาไดม ีการกาํ หนดศัพทใ หรวมใชเรยี กคาํ ทั้งสองรวมกนั ตลอด จนถงึ เทคโนโลยีตางๆ ท่เี กย่ี วกบั ขอมูลซ่งึ ไดจากตวั รับสัญญาณระยะไกล Remote Sensing หมายถึง การ วิเคราะหค ุณลักษณะของวัตถตุ า งๆ โดยปราศจากการสมั ผสั วตั ถโุ ดยตรง อาศยั พลงั งานแมเ หลก็ ไฟฟา ท่ีสะทอ น หรอื แผอ อกจากวตั ถเุ ปนตนกําเนิดของขอ มลู รีโมทเซนซงิ อยางไรกด็ ตี วั กลางอื่นๆ เชน ความโนม ถว ง หรือ สนามแมเหล็ก ก็อาจนํามาใชในการสํารวจจากระยะไกลไดเ ชน กนั เคร่อื งมอื ทีใ่ ชวดั คาพลงั งานแมเ หล็กไฟฟา ที่ สะทอ นหรอื แผออกจากวตั ถุ เรียกวา “รีโมทเซนซิง” หรือ “เครือ่ งรับรู (เซนเซอร)” คาํ วารีโมทเซนซ่งิ (Remote Sensing) เปน ประโยคทปี่ ระกอบข้นึ มาจากการรวม 2 คํา ซึ่งแยกออกไดดังนี้ คือ Remote = ระยะไกล สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (132) _____________ โครงการแบรนดซ ัมเมอรแคมป 2010

Sensing = การรับรู จากการรวมคํา2 คาํ เขา ดวยกนั คาํ วา “Remote Sensing” จึงหมายถงึ “การสมั ผัสขอมลู ระยะไกล”โดยมนี ิยามความหมายนี้ไดกลาวไวว า เปน การสาํ รวจตรวจสอบคณุ สมบัตสิ ่ิงใดๆ ก็ตาม โดยที่มไิ ดส ัมผสั กับส่ิงเหลา นนั้ เลยดงั นั้นคําวา “Remote Sensing” จึงมคี วามหมายท่นี ยิ มเรยี กอยา งหน่ึงวา การสํารวจจาก ระยะไกล โดยความหมายรวม รีโมทเซนซ่งิ จึงจดั เปน วิทยาศาสตรและศลิ ปะการไดมาซงึ่ ขอ มลู เกยี่ วกบั วตั ถุ พื้นที่ หรอื ปรากฏการณจ ากเครอ่ื งมือบนั ทกึ ขอ มูล โดยปราศจากการเขาไปสมั ผัสวตั ถเุ ปาหมาย ทง้ั น้อี าศัยคุณสมบตั ิ ของคลน่ื แมเ หลก็ ไฟฟาเปนส่ือในการไดม าของขอมลู ใน 3 ลักษณะ คอื 1. คลื่นรงั สี (Spectral) 2. รปู ทรงสัณฐานของวตั ถุบนพ้นื ผิวโลก (Spatial) 3. การเปลยี่ นแปลงตามชวงเวลา (Temporal) ปจ จุบนั ขอ มลู ดานนี้ไดนํามาใชใ นการศกึ ษาและวิจยั อยา ง แพรหลาย เพราะใหผลประโยชนหลายประการ อาทเิ ชน ประหยดั เวลา คาใชจ ายในการสํารวจเกบ็ ขอ มูล ความ ถูกตอง และรวดเรว็ ทนั ตอเหตุการณ สภาพแวดลอ มทางกายภาพของโลก ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ ลักษณะภูมปิ ระเทศทปี่ รากฏอยใู นสวนตางๆ ของโลก เปนสิง่ แวดลอ มทีม่ ีบทบาทสาํ คญั ตอ การดาํ เนินชีวติ ของมนุษย ในแตละทวปี และเขตภมู อิ ากาศตางๆวถิ ีชีวติ ของมนุษยจ งึ มคี วามแตกตา ง เชน ในเขตทรี่ าบจะเปน ที่ต้ัง เมอื ง พนื้ ที่เกษตรกรรม ในเขตชายฝง ทะเลจะเปนท่ีตั้งทา เรือ ชมุ ชนประมง อตู อเรอื สว นในเขตทีส่ งู และภูเขาเปน พื้นทปี่ า ไม มีการปลูกชา กาแฟ และทําเหมอื งแร ความหมายของ “ภมู ิประเทศ” ภมู ิประเทศ (Landforms) หมายถงึ ลักษณะสงู ๆ ตํา่ ๆ ของพื้นผวิ เปลอื กโลก ซึง่ มีสวนประกอบ 2 สว น คอื 1. สว นทีเ่ ปนทวปี มีเนื้อทป่ี ระมาณรอ ยละ 29 ของเปลอื กโลกท้งั หมด 2. สวนทเ่ี ปนทะเลและมหาสมุทร มเี น้อื ท่ีประมาณรอ ยละ 71 ของเปลอื กโลกทงั้ หมด สาเหตทุ ที่ าํ ใหเ กิดลกั ษณะภมู ิประเทศ ลักษณะภมู ิประเทศในสวนทีเ่ ปน ทวีป เกดิ จากตวั กระทาํ ทางธรรมชาติ 2 ประเภท คือ 1. พลงั ภายในเปลอื กโลก เชน พลังความรอ น ภเู ขาไฟ และแผนดนิ ไหว เปน ตวั กระทาํ ทางธรรมชาติทําให เปลอื กโลกเคลอ่ื นไหวบีบอดั จนเกดิ เปนภเู ขา เทือกเขา และที่ราบสูง 2. พลังภายนอกเปลอื กโลก ไดแ ก กระแสนา้ํ คลืน่ ฝน กระแสลม และธารนา้ํ แข็ง เปนตัวกระทาํ ทาง ธรรมชาตทิ ่ที าํ ใหเ กิดการสกึ กรอ นหรือทบั ถมจนเกดิ เปนลักษณะภมู ปิ ระเทศแบบตา งๆ เชน ยอดภเู ขา หนิ ปูนที่ เวา แหวง ทีร่ าบดินดอนสามเหล่ียมปากแมนาํ้ แมน้ําลาํ ธาร ฯลฯ ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของโลกประกอบดว ย 1. ทีร่ าบ (Plain) หมายถึง ลักษณะภูมิประเทศทีม่ ีโครงสรางราบเรียบ หรืออาจมีลักษณะลูกคลน่ื มเี นิน เขาเตยี้ ๆ ซึ่งมคี วามสูงไมเกนิ 150 เมตร ประเภทของที่ราบ แบง ตามลกั ษณะการเกดิ มี 3 ประเภท ดงั น้ี 1.1 ที่ราบท่ีเกดิ จากการทบั ถม เปนที่ราบทเี่ กดิ จากการทับถมของตะกอนวตั ถุตวั การธรรมชาติ เชน กระแสนา้ํ ลม ธารนา้ํ แข็ง พัดพามามีตะกอนวตั ถหุ ลายชนดิ ไดแ ก โครงการแบรนดซ ัมเมอรแคมป 2010 _____________ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (133)

- ทร่ี าบรมิ ฝง แมน ้าํ ตะกอนท่ีนํา้ พัดพามาทับถม เปนดนิ บริเวณสองฝงแมน าํ้ ทีม่ ีความอุดมสมบูรณ ทเ่ี หมาะแกก ารเพาะปลูก ไดแ ก ทีร่ าบดินตะกอน ทีร่ าบนาํ้ ทวมถึง ทร่ี าบดนิ ดอนสามเหล่ียมปากแมน ้ํา เชน ท่ีราบ ลุม แมน ํ้าเจาพระยาในประเทศไทย และทร่ี าบลมุ แมนาํ้ คงคาในประเทศอนิ เดีย - ทรี่ าบชายฝงทะเล ซึ่งเกิดจากคล่ืนและกระแสลมพัดพาเศษวัสดจุ ากทะเล เชน ทราย โคลน หรอื ตะกอนดนิ เขา มาทบั ถมจมบริเวณชายฝงทะเลชว่ั นาตาป ดงั ตัวอยา งทรี่ าบชายฝงทะเลในประเทศเนเธอรแ ลนด และเบลเยยี ม - ทร่ี าบดินลมหอบ หรอื ทร่ี าบดนิ เลิสส เกิดจากกระแสลมพัดพาฝนุ ทรายมาทบั ถม เชน ท่รี าบ ดนิ ลมหอบบรเิ วณตอนกลางของจีน และท่ีราบเขตทุง หญาแปมปสในอารเ จนตนิ า 1.2 ทรี่ าบที่เกิดจากการสกึ กรอน เปนท่รี าบที่เกดิ จากการกระทําของตวั กลางธรรมชาติ เชน ลม ฝน แมนํา้ และธารน้ําแขง็ ทีพ่ ัดพาผวิ หนา ดินไปทําใหพ ้นื ทท่ี เ่ี คยสูงมากอ นกลับกลายเปนพ้ืนทรี่ าบ 1.3 ที่ราบโครงสรา งเปลอื กโลกตา่ํ เปนทรี่ าบที่เกดิ จากสาเหตโุ ครงสรางของเปลอื กโลกบรเิ วณนนั้ ตํ่า อยูแ ลว โดยธรรมชาติ เชน ที่ราบใหญใ นสหรัฐอเมรกิ า และที่ราบตา่ํ รัสเซยี ในไซบีเรียของประเทศรสั เซีย 2. ทรี่ าบสูง (Plateaus) หมายถงึ ทีร่ าบที่ต้งั อยูบนภเู ขาหรือเชิงเขา มบี ริเวณกวา งและพน้ื ท่รี าบเรียบ โดยพ้นื ท่สี วนใหญยกระดับสงู จากผิวโลกโดยรอบตงั้ แต 300 เมตรขนึ้ ไปประเภทท่รี าบสงู มี 3 ประเภท 2.1 ทรี่ าบสูงเชิงเขา เปน ทีร่ าบสงู ทีด่ านหนึ่งขนาบดว ยเทอื กเขา และอีกดา นหนง่ึ อยูต ดิ กับทะเลหรือ มหาสมทุ ร เชน ทีร่ าบสูงปาตาโกเนยี ในอารเจนตินา 2.2 ทร่ี าบสงู ระหวา งภเู ขา เปนท่ีราบสูงทีม่ เี ทอื กเขาขนาบไวท้งั สองดานหรอื สามดาน เชน ท่รี าบสูง ทิเบต, ที่ราบสงู มองโกเลีย ในทวปี เอเชยี และที่ราบสงู เกรตเบซิน ในสหรัฐอเมริกา 2.3 ที่ราบสูงในทวีป หรือท่รี าบสงู รปู โตะ เปนที่ราบสงู ที่มที ะเลหรือท่ีราบลอ มรอบเปน ขอบ ทําใหยก ตัวข้ึนสงู กวาบรเิ วณโดยรอบอยางเห็นชดั เจน เกดิ เปนลกั ษณะเหมอื นรปู โตะ เชน ที่ราบสงู เดคคานในอินเดยี และ ที่ราบสูงในคาบสมุทรอาหรับ 3. เนนิ เขา (Hills) คือ พ้นื ท่ที ่มี ลี กั ษณะเปนเนินสงู ขน้ึ จากบรเิ วณโดยรอบ แตมคี วามสงู ไมมากเหมอื น ภเู ขา โดยทั่วไปมคี วามตางระดับในทอ งถิ่นประมาณ 150 – 600 เมตร เนนิ เขามีการเกดิ 2 ประเภท 3.1 เนนิ เขาท่เี กิดจากโครงสรางภมู ปิ ระเทศ การเกดิ การเปล่ียนแปลงภายในเปลอื กโลกทาํ ใหโกง ตวั ข้ึน 3.2 เนินเขาท่เี กดิ จากการกรดั กรอนพังทลาย โดยตัวการกระทาํ ทางธรรมชาติ เชน ลม ฝน และ อุณหภูมิของอากาศ 4. ภเู ขา (Mountains) หมายถึง ภมู ิประเทศท่มี ลี ักษณะสงู ขึ้นไปจากบรเิ วณโดยรอบ คลา ยเนินเขาแตม ี ความสูงมากกวาต้ังแต 600 เมตรขน้ึ ไป เชน ดอยอนิ ทนนท จงั หวัดเชยี งใหม และเขาพนมเบญจา จังหวัดกระบี่ ซ่ึงภเู ขาจําแนกตามลกั ษณะการเกดิ 4 ประเภท คือ 4.1 ภเู ขาทเ่ี กดิ จากการคดโคงของหนิ เกิดจากเปลอื กโลกถูกแรงกดดันภายในทาํ ใหยกระดบั สูงขน้ึ เปน ช้ันหินโคงและกลายเปน ภูเขา มกั พบในบริเวณที่เปลอื กโลกมกี ารเคลื่อนไหวและชั้นหินยงั ไมคงท่ี เชน เทือกเขา หิมาลัย ในทวปี เอเชีย 4.2 ภูเขาบล็อก เกดิ จากการยุบตัว หกั ตัว หรือเล่อื นระดับของหินเปลือกโลกทําใหดานที่ยกตัวข้ึน กลายเปนภเู ขาและมีหนา ผาสูงชัน สว นบรเิ วณที่ยุบต่าํ ลงจะกลายเปนแองหรอื หุบเขาทรดุ เชน ภูเขาแบล็กฟอรเ รสต ในเยอรมันนี สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (134) _____________ โครงการแบรนดซ ัมเมอรแคมป 2010

4.3 ภเู ขาไฟ เกิดจากการปะทุของหนิ หนดื ภายใตเ ปลอื กโลกดันตัวจนโผลพน เปลอื กโลกเปนหนิ หลอมเหลว รวมตวั ซอนจนสูงกลายเปน ภเู ขารปู กรวย เชน ภเู ขาไฟอากุง ในอินโดนีเซีย ภูเขาไฟฟจู ิยามา ประเทศญ่ีปนุ 4.4 ภเู ขาทเี่ หลือจากการสึกกรอน เกิดในบริเวณทรี่ าบสูงท่ีมีการสกึ กรอนแตยงั คงเหลือสวนทแ่ี ขง็ แกรง ไมส กึ กรอน มลี ักษณะเปน เทือกเขาและหุบเขาสลบั กัน เชน ภเู ขาในเขตทร่ี าบสงู ของสก็อตแลนด ภูมิอากาศ ความหมายของ “ภมู ิอากาศ” ภูมอิ ากาศ (Climates) หมายถงึ สภาวะอากาศของทอ งถิ่นหรอื ภูมภิ าคแหง ใดแหงหนึ่ง ซึ่งเปน ลักษณะที่ เกดิ ขึ้นเปน ประจาํ ของทอ งถิน่ แหงนใ้ี นรอบปหรอื ในแตละฤดกู าล เชน ภาคใตข องประเทศไทยมภี ูมิอากาศรอนชืน้ และ มีฝนตกชุก เปนตน องคป ระกอบของภูมอิ ากาศ ส่งิ ท่ปี ระกอบขนึ้ มาเปน “ภูมิอากาศ” ของในแตละทอ งถิน่ มดี ังนัน้ 1. อุณหภมู ิของอากาศ เทอรโ มมิเตอรทใ่ี ชว ัดอณุ หภูมิของอากาศ มีหนว ยวัด 2 แบบ คือ (1) แบบองศาเซลเซียส (C) มจี ดุ เยอื กแขง็ 0 องศา และจดุ เดอื ด 100 องศา (2) แบบองศาฟาเรนไฮต (F) มีจุดเยอื กแขง็ 32 องศา และจุดเดอื ด 212 องศา 2. ฝน เปนหยาดนาํ้ ฟาที่เกดิ จากการรวมตวั ของละอองนา้ํ และยังรวมถงึ หยาดนํา้ ฟา อน่ื ๆ ท่คี ลา ย ฝน ไดแ ก หิมะ ลูกเหบ็ และฝนน้ําแข็ง 3. ลม คือ อากาศทีม่ ีการเคลือ่ นที่ โดยทั่วไปจะเกิดลมพัดเม่ือบริเวณพ้ืนทใ่ี กลเคยี งกันมคี วามกดอากาศ แตกตางกัน จากพ้นื ท่ที ่มี ีความกดอากาศสูงจะไหลเขาแทนทพ่ี นื้ ท่ที ี่ความกดอากาศตํ่า สรุปการเคล่ือนท่ขี องอากาศ ทท่ี ําใหเกิดลม มขี น้ั ตอนตามลําดบั ดังนี้ (1) อากาศรอน มีอณุ หภูมิสูง น้าํ หนักเบาจะลอยตัวขึ้นสงู เรียกวา ความกดอากาศต่าํ เมื่อลอยตัว ขน้ึ สูงทาํ ใหบ ริเวณพ้นื ผวิ ดินเกดิ ชองวาง (2) อากาศเย็น มีอุณหภูมิตํ่า น้ําหนักมากจะลดตัวตํ่าลง เรียกวา ความกดอากาศสูงจะไหลถายเท แทนท่ชี อ งวางในบริเวณใกลเคียง ทําใหเ กิดการเคล่อื นท่ีของอากาศ เรยี กวา “ลม” เครื่องมือท่ีใชวัดความเร็วของ ลม เรยี กวา แอนนิโมมเิ ตอร (Cup Anemometer) และเคร่ืองมือทใี่ ชวดั ทศิ ทางของลม เรียกวา “ศรลม” 4. ความชื้นของอากาศ เปนไอนํ้าในอากาศที่ระเหยจากน้ําบนผิวโลกขึ้นไปสูเบ้ืองบน ความชื้นของ อากาศจะมีมากหรือนอ ยขนึ้ อยกู บั อณุ หภมู ิ ถาอากาศรอนจะรับไอนํ้าไดมาก สภาวะอากาศท่ีไมสามารถรับไอนํ้าได อกี แลว เรยี กวา “สภาวะอากาศอิ่มตัว” 5. แสงแดด พนื้ ทภี่ ูมิภาคใดหรือทอ งถิน่ ใดจะไดรับแสงแดดจากดวงอาทติ ยมากหรอื นอ ยเพียงใด ยอ ม ขนึ้ อยูกบั ปจจัย 2 ประการ คอื (1) ตําแหนงท่ตี ้งั บนพ้นื ผิวโลก ตง้ั แตล ะติจดู 0 ถึง 90 องศาเหนอื และใต บรเิ วณเขตศูนยส ตู รจะ ไดร ับปริมาณแสงแดดมากที่สุด (2) เมฆที่ลอยตวั อยูบนทอ งฟา ถาพืน้ ที่ใดมที องฟาโปรง ไมมีเมฆปกคลมุ พื้นที่น้ันจะไดรับแสงแดด ในปริมาณมาก 6. ทัศนวสิ ยั หมายถึง สภาวะอากาศบรเิ วณพนื้ ผิวโลกท่ีทาํ ใหมนุษยส ามารถมองเห็นสิง่ ทอ่ี ยขู างหนา ไดอยางชัดเจนใกลหรอื ไกลเพียงใด เชน (1) อากาศมที ัศนวสิ ยั ดี สามารถมองเห็นไดอ ยา งชัดเจนไกลกวา 10 กิโลเมตร โครงการแบรนดซ มั เมอรแคมป 2010 _____________ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (135)

(2) อากาศมที ศั นวสิ ยั ดี มองเหน็ ชดั ไมเกิน 1 กโิ ลเมตร ถือวาทัศนวสิ ัยของอากาศเลวมาก การนาํ เครอ่ื งบินลงจอดจะเกดิ อันตรายได ปรากฏการณของภมู ิอากาศ สภาพภูมิอากาศของโลกทปี่ รากฏในทองถนิ่ หรือภูมิภาคตางๆ นอกเหนือจากอธิบายในองคป ระกอบของ ภมู ิอากาศแลว ยังมีลักษณะสําคัญทเ่ี ปนปรากฏการณของภมู อิ ากาศอีกหลายลกั ษณะ ดังนี้ 1. ลมมรสมุ เปนลมประจาํ ทีเ่ กดิ จากความแตกตางในอณุ หภมู ิของพนื้ ดินกับพื้นน้ํา หรอื อณุ หภมู ริ ะหวาง ภาคพนื้ ทวปี กบั ภาคพ้นื นํ้ามหาสมุทร ลมมรสมุ ท่พี ดั ผานประเทศไทย ไดแ ก (1) ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต พดั จากมหาสมทุ รอินเดียเขาสูประเทศไทยในชวงเดือนพฤษภาคมถึงเดือน กันยายน ทําใหเ กดิ ฝนตก (2) ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ พัดมาจากแหลงความกดอากาศสูงทางตอนกลางของจีนเขาสู ประเทศไทย ประมาณเดอื นพฤศจกิ ายนถึงเดอื นมกราคม ทําใหเ กดิ ฤดูหนาว 2. พายุหมุน เปนลมพายุท่ีพัดหมุนเขาหาศูนยกลาง ซ่ึงมีความกดอากาศต่ําดวยความเร็วสูงมากมีเสน ผานศูนยกลางประมาณ 100–1,000 กิโลเมตร ทําใหเกิดฝนตกหนักและสรางความเสียหายแกพื้นท่ีที่พัดผาน ตอไปนี้เปน ชอ่ื ของ “พายหุ มนุ เขตรอ น” มชี อ่ื เฉพาะตามแหลงกําเนิด ดังนี้ (1) พายุใตฝุน (Typhoon) เกิดในทะเลจีนใต แบงตามระดับความเร็วของลมได 3 ระดับ จากเบาไปสู หนกั ไดแ ก พายุดเี ปรสชนั (Depression), พายุโซนรอ น (Tropical Storm) และพายุไตฝนุ (Typhoon) (2) พายไุ ซโคลน (Cyclone) เกดิ ในอา วเบงกอลและทะเลอาหรับ (3) พายุเฮอรเิ คน (Hurricane) เกิดในทะเลแคริบเบียนและอาวเม็กซิโก (4) พายทุ อรน าโด (Tornado) เกิดในสหรัฐอเมริกา ความหมายของ “ปรากฏการณทางภมู ศิ าสตร” ปรากฏการณทางภมู ศิ าสตร หมายถึง สภาวการณตางๆ ท่ีเกิดข้ึนกับเปลือกโลกและบรรยากาศท่ีหอหุมโลก โดยสภาวการณน ัน้ มอี ทิ ธพิ ลและผลกระทบตอการดําเนินชีวิตของมนุษยในทางตรงหรือทางออม เชน การเกิดพายุ- หมุน แผนดนิ ไหว ภูเขาไฟระเบิด ภาวะโลกรอ น ฯลฯ 1. แพะเมอื งผี ลักษณะสําคัญ แพะเมืองผีเปนพ้ืนดินที่พังยุบตัวลงไปจนเปนแองแผนดินคลายกระทะหงายมีแทงดิน คลายเสาหรือโคกรูปรางคลายดอกเห็ดหรือรังจอมปลวกกระจายอยูทั่วไป ตั้งอยูในพื้นที่ตําบลน้ําชํา อําเภอ เมอื ง จังหวัดแพร กระบวนการเกิด แพะเมืองผีเปนปรากฏการณการเปล่ียนแปลงของเปลือกโลกที่เกิดจากการกระทํา ของแรงน้ําไหล หรือการกัดเซาะของนํ้าฝน จะกัดเซาะจนเนินดินบริเวณน้ันสึกกรอนในแนวด่ิงหรือแนวต้ังจึงมี รปู รา งคลา ยเสาดิน เน่อื งจากเปลอื กโลกบริเวณที่ต้งั แพะเมอื งผีเปน ตะกอนท่ียงั ไมจ บั ตัวแขง็ เปนชั้นหนิ แตเ กิดจากการทับถม ของตะกอนดนิ เหนยี วสลบั กับชนั้ กรวดทรายและมีดินลูกรังแทรกตัวอยู ดังนั้นจึงเกิดการสึกกรอนไดงายโดยตัวกระทํา ที่สําคัญ คือ น้ําฝน รวมท้ังปจจัยประกอบอื่นๆ เชน กระแสลม แสงแดด ฯลฯ ปรากฏการณทางภูมิศาสตรที่มี ลักษณะเดียวกับแพะเมืองผี ไดแก เสาดิน (ฮอมจอม) อําเภอนานอย จังหวัดนาน และโปงยุบ อําเภอสวนผ้ึง จังหวดั ราชบรุ ี สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (136) _____________ โครงการแบรนดซัมเมอรแ คมป 2010

2. วนอทุ ยานเขากระโดง ลกั ษณะสําคัญ วนอุทยานเขากระโดงเปนปรากฏการณการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกที่เกิดจากการ กระทาํ ของภูเขาไฟ ต้ังอยใู นเขตพืน้ ทข่ี องอําเภอเมือง จงั หวัดบรุ รี มั ย มีเนือ้ ทปี่ ระมาณ 1,450 ไร วนอุทยานเขากระโดง ประกอบดวยพ้ืนที่ของเนินเขา 2 ลูก คือ เขากระโดงและเขาใหญ ซึ่งเกิดจาก การกระทําของภูเขาไฟในอดีต จึงพบหินลาวา (Lava) ประเภทหินบะซอลต (Basalt) กระจายอยูทั่วไป เฉพาะ เขากระโดงจะพบปากปลองภูเขาไฟหรือชองปะทขุ องลาวา ไดแปรสภาพเปนแองนา้ํ หรอื ทะเลสาบขนาดเล็ก กระบวนการเกดิ สันนิษฐานวา หินหนืดหรอื หนิ หลอมละลายและกาซรอนภายใตเปลือกโลกถูกกดดันให ไหลข้ึนมาตามรอยราวของเปลือกโลก จนเกิดการทับถมเปนเนินเขาและมีสภาพเปนซากภูเขาไฟท่ีสิ้นพลังแลวใน ปจจุบัน ปรากฏการณทางภูมิศาสตรท่ีมีลักษณะเดียวกับวนอุทยานเขากระโดง ไดแก เขาพนมรุงและ ภอู งั คาร จงั หวัดบรุ รี ัมย, เขาหลวง จงั หวัดสโุ ขทัย และปลอ งภเู ขาไฟทีแ่ มเมาะ จงั หวัดลาํ ปาง เปนตน 3. เสาเฉลยี ง (เขตอทุ ยานแหงชาตผิ าแตม) เสาเฉลียง ต้ังอยูในเขตอุทยานแหงชาติผาแตม อําเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี เกิดจากการ กระทํารวมกันของอุณหภูมิ กระแสลม การกัดเซาะของน้ํา มีลักษณะเปนแทงหินรูปดอกเห็ดขนาดใหญหลาย แทง มคี วามสูงประมาณ 5–7 เมตร สวนใหญเ ปนหินทราย กระบวนการเกิด เสาเฉลียงเกิดจากการผุพังสลายตัวของหินทราย ซึ่งตองใชเวลานานนับลานๆ ป โดยตัวกระทํารวมกันของอุณหภูมิของอากาศ ท้ังอากาศรอนในเวลากลางวันและอากาศเย็นในเวลากลางคืน เปนสาเหตุที่ทําใหหินเกิดรอยแตกแยก ตอมาเกิดการกัดเซาะของนํ้าและการพัดพาของกระแสลม จนกลายเปน เสาเฉลียงหรือแทงหนิ รูปดอกเหด็ ในทสี่ ุด ปรากฏการณท างภมู ิศาสตรทีม่ ลี ักษณะเดยี วกับเสาเฉลียง คอื ภูผาเทิบ จังหวัดมุกดาหาร และอุทยาน แหงชาติปา หินงาม จงั หวัดชัยภมู ิ เปนตน 4. นํ้าคา งแข็ง น้ําคางแข็ง (Frost) เปนปรากฏการณทางภูมิศาสตรเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงในบรรยากาศของ พ้นื ผวิ โลก มลี กั ษณะเปนเกรด็ น้ําแขง็ ขาวๆ จับตวั ตามใบไมใบหญา และวัตถุอ่ืนๆ ท่ีอยูใกลกับพื้นดิน จะพบในชวง ฤดหู นาวบริเวณยอดดอยสงู ๆ ในภาคเหนอื และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ แหลง ทพ่ี บ น้ําคา งแขง็ ท่ีพบในภาคเหนือ เชน จังหวัดเชียงใหม เชียงราย และแมฮองสอน มีชื่อภาษา ถ่ินวา “เหมยขาบ” สวนในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ แหลงสําคัญท่พี บ คือ ภกู ระดงึ จังหวดั เลย เรยี กวา “แมคะนง้ิ ” กระบวนการเกดิ นา้ํ คางแขง็ เกดิ ได 2 ลกั ษณะ คอื (1) การเกิดโดยตรง เกิดเมื่ออุณหภูมิของอากาศใกลผิวโลกลดต่ําลงกวาจุดเยือกแข็ง (ต่ํากวา 0 องศาเซลเซียส) ทําใหไอน้ําในอากาศจับตัวแข็งเปนเกร็ดน้ําแข็ง และตกลงมาเกาะตามใบไมใบหญาบริเวณเหนือ พนื้ ดนิ (2) การเกิดโดยออม เกิดเมื่ออุณหภูมิของอากาศลดต่ําลง โดยมีปริมาณความช้ืนสัมพัทธบริเวณ ใกลพื้นดินสูง ทําใหไอน้ํากลั่นตัวเปนหยดน้ําเกาะอยูตามใบไมใบหญา และเมื่ออุณหภูมิของอากาศลดตํ่าเทากับ จดุ เยอื กแขง็ น้ําคา งทเี่ กาะตามใบไมใ บหญา ก็จะแขง็ ตวั เปน เกร็ดนาํ้ แขง็ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _____________ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (137)

5. ลกู เห็บ ลูกเห็บ (Hail) เปน ปรากฏการณท างภูมิศาสตรเ กี่ยวกับการเปล่ยี นแปลงของสภาพภมู ิอากาศมีลักษณะ เปนกอนน้ําแข็งขนาดเล็กคลายรูปกรวยหรือหัวหอม จะตกลงมาพรอมกับการเกิดพายุฝนฟาคะนองถาลูกเห็บมี ขนาดใหญอ าจทาํ อนั ตรายตอบานเรอื น หรอื พืชผักผลไมไ ด แหลงท่ีพบ ลูกเห็บมักตกในพื้นที่จังหวัดเชียงรายมากท่ีสุด โดยเฉพาะในเดือนเมษายนซึ่งมีพายุฝนฟา คะนอง กระบวนการเกิด ลูกเห็บจะเกิดเม่ือเมฆฝน ที่เรียกวา “คิวมูโลนิมบัส” (Cumulonimbus Cloud) กอตัวข้ึน และลอยตัวอยางรวดเร็วข้ึนสูบรรยากาศชั้นบนท่ีมีอุณหภูมิของอากาศต่ํากวาจุดเยือกแข็ง ทําใหเม็ดฝนแข็งตัว กลายเปนกอนนาํ้ แขง็ และตกลงมาพรอมๆ กับพายฝุ น 6. แผนดินไหว แผนดินไหว (Earthquakes) เปนปรากฏการณทางภูมิศาสตรท่ีเปลือกโลกเกิดการเคลื่อนไหวหรือ สัน่ สะเทอื น โดยเกิดจากการเคลอ่ื นตัวและแรงกดดนั ของเปลอื กโลก รวมท้งั การระเบิดของภูเขาไฟ กระบวนการเกิด สาเหตุการเกิดแผน ดินไหวมี 2 ประการ คือ (1) เกดิ โดยธรรมชาติ ไดแ ก การเคล่ือนตัวหรือการเล่ือนตัวของเปลือกโลก และการระเบิดของภูเขาไฟ เน่อื งจากภายใตเ ปลือกโลกมพี ลังความรอนสะสมตวั อยูและมีแรงกดดนั (2) เกิดโดยการกระทําของมนุษย ไดแก การสรางอางเก็บน้ําไวบนแนวรอยเล่ือนของแผนเปลือก โลก การทําเหมืองขุดในระดับลึก การทดลองการระเบิดใตดิน การเก็บขยะนิวเคลียรไวใตดินทําใหเกิดการแผ กมั มนั ตรังสี ลวนเปนสาเหตทุ ําใหม วลหินเปล่ียนแปรสภาพและเกิดการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกได เครื่องมือที่ใช ตรวจวัดแรงส่ันสะเทือนของแผนดินไหว เรียกวา ไซสโมกราฟ (Seismograph) โดยมีหนวยวัดเปนมาตรา “ริคเตอร” (Richter) การวัดระดับความรุนแรงของแผนดินไหว โดยท่ัวไประดับความส่ันสะเทือนของแผนดินไหว ตัง้ แต 7.0 มาตราริคเตอรขน้ั ไป เปนการสั่นไหวที่รนุ แรง อาคารส่งิ กอ สรางไดรับความเสียหายมาก แผนดินอาจมี รอยแตกแยก เคร่อื งเรอื นและวตั ถุตา งๆ ท่ีอยูบนพ้ืนจะถูกเหว่ียงกระเด็น แตสภาพความเสียหายของแผนดินไหว ในแตละพื้นท่ีจะแตกตางกันไปตามสภาพแวดลอม เชน โครงสรางทางธรณีวิทยา มาตรฐานในการกอสราง อาคาร ระยะเวลาทเ่ี กิด และความหนาแนน ของประชากร โดยพ้ืนท่ที ี่มปี ระชากรหนาแนนจะมจี าํ นวนผูคนเสียชีวิต มากกวาพืน้ ทที่ ีม่ ปี ระชากรเบาบาง ผลกระทบจากการเกิดแผนดนิ ไหว มดี งั นี้ (1) ผลกระทบโดยตรง ทําใหเกดิ อันตรายตอ ชีวติ และทรัพยสินของประชาชนในพนื้ ที่น้ันๆ (2) ผลกระทบโดยออม จะเกดิ เฉพาะพ้ืนทท่ี อี่ ยใู กลชายฝง ทะเลและมศี นู ยกลางการเกิดของแผนดินไหว ในมหาสมุทร โดยเกดิ คลน่ื ยกั ษ ในภาษาญป่ี นุ เรยี กวา “สนึ าม”ิ (Tsunami) ทาํ ใหร ะดับนาํ้ ในทะเลสงู กวา ปกติและ เกดิ นาํ้ ทวมอยางฉบั พลันในเมืองชายฝงทะเล ทําใหท รัพยสนิ ไดรบั ความเสยี หาย สถิติแผนดินไหวของประเทศไทย เนื่องจากประเทศไทยตั้งอยูนอกแนวแผนดินไหวของโลกจึงไดรับ ผลกระทบไมมากนัก จากการตรวจวัดของกรมอุตุนิยมวิทยาพบวาขนาดของแผนดินไหวท่ีเคยเกิดในประเทศไทย สวนใหญเปนระดับเล็กหรือปานกลาง (เฉลี่ยประมาณ 6.0 ริคเตอร) แผนดินไหวของประเทศไทยที่มีระดับความ รนุ แรงสงู สดุ เทาทีเ่ คยวดั ได เมอื่ วนั ท่ี 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2478 มีศูนยกลางการส่ันไหวในพ้ืนท่ีจังหวัดนาน วัดได 6.5 ริคเตอร แตไ มมกี ารบันทกึ ความเสียหายไว สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (138) _____________ โครงการแบรนดซ ัมเมอรแคมป 2010

สาเหตุของปญ หาวิกฤตการณดา นทรพั ยากรธรรมชาติของประเทศไทย 1. สภาพปญ หาวกิ ฤตท่เี กิดข้นึ ในประเทศไทย มีดงั น้ี (1) ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ี่เกดิ ปญหาวิกฤติ ไดแ ก ทรัพยากรดนิ นา้ํ ปา ไม และสัตวปา (2) ปญหาวกิ ฤตของทรพั ยากรธรรมชาติ มี 2 ลกั ษณะ - ความเส่ือมโทรมในดา นปริมาณ โดยมีความอุดมสมบูรณลดนอยลงจนเกิดภาวะขาดแคลนหรือ ใกลจะส้นิ สญู เชน นํ้ามนั ปโตรเลยี ม และสตั วปาบางชนิด - ความเสอ่ื มโทรมในดา นคุณภาพ เชน ดนิ จืดเร็วเพราะขาดแรธาตุอาหารในดินและนํ้าจากแมน้ํา ลําคลองเนาเสยี เปน ตน 2. สาเหตุท่ีทําใหเกิดปญหา คือ การเพ่ิมของจํานวนประชากร ประมาณวาอีก 25 ปขางหนาประเทศ ไทยจะมีจํานวนประชากรรวมทั้งสิ้น 72 ลานคน ทําใหปริมาณการใชทรัพยากรธรรมชาติเพิ่มสูงขึ้น จึงเกิดสภาพ เสอ่ื มโทรมและรอ ยหรอลงอยางรวดเรว็ วิกฤตการณท รัพยากรปาไมใ นประเทศไทย ปญ หาทรพั ยากรปา ไมข องประเทศไทยในปจ จุบนั มีสาระสําคัญดังนี้ 1. การสูญเสียพ้ืนที่ปาไมจํานวนมาก มีการบุกรุกทําลายปาจนความอุดมสมบูรณของปาลดตํ่าลงและ เกิดผลกระทบตอความสมดุลทางธรรมชาติ โดยเปรียบเทยี บกบั ขอมลู ในอดตี จะพบวา (1) พน้ื ทป่ี า ไมในสมัยรัชกาลท่ี 5 พ.ศ. 2453 มปี ระมาณ 225 ลานไร หรือรอ ยละ 70 ของพน้ื ท่ีประเทศ (2) พน้ื ท่ปี า ไมใ นปจจบุ ัน พ.ศ. 2541 มเี หลือประมาณ 81.0 ลา นไร หรือรอยละ 25 ของพน้ื ที่ประเทศ 2. สาเหตุของการสญู เสียพ้ืนทปี่ าไม อาจกลา วไดว ามีสาเหตพุ ื้นฐานเกดิ จากการเพม่ิ ขน้ึ ของจํานวนประชากร อยางรวดเรว็ สรปุ ไดด ังนี้ (1) การบุกรุกพื้นท่ีปาของราษฎร เพื่อขยายพ้ืนที่เพาะปลูกทําไรเล่ือนลอย สรางบานเรือน และ ครอบครองทีด่ นิ เพื่อการเกษตรกรรมอยางถาวร (2) การเกดิ ไฟไหมป า (3) การลักลอบตัดไมท ําลายปาของนายทนุ เพื่อนาํ ไมแปรรูปไปจาํ หนา ย (4) การพัฒนาและความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เปนสาเหตุทางออมทําใหตองสูญเสียพื้นที่ปาไม เชน การสงเสรมิ การทอ งเทยี่ ว อตุ สาหกรรมการเกษตร และพัฒนาชลประทานในพืน้ ทเ่ี พาะปลูกทําใหตองตัดถนน สรา งเข่ือนอา งเก็บนํ้า และมกี ารบกุ รกุ พ้นื ที่ปาเพิ่มขน้ึ 3. ผลกระทบของปญ หาวิกฤติทรัพยากรปา ไม (1) ผลกระทบตอ สภาพแวดลอม ความอดุ มสมบูรณข องพน้ื ทป่ี าไมลดลงมีผลกระทบตอสภาพแวดลอม ทางธรรมชาติ ดงั นี้ - การพังทลายของหนาดิน จากการกระทําของฝนและน้ําจากภูเขา ทําใหดินขาดความอุดม- สมบรู ณ - เกดิ นํา้ ทวมฉับพลนั เพราะน้ําปา ไหลลงมายงั พื้นราบไดอ ยางรวดเรว็ - พนื้ ทขี่ าดความชุม ชื้น เกิดความรอนและแหงแลง ฝนไมต กตามฤดกู าล โครงการแบรนดซัมเมอรแ คมป 2010 _____________ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (139)

(2) ผลกระทบทางเศรษฐกิจ ประเทศไทยตองนาํ เขาไมทอนและไมแปรรูปจากตางประเทศเพ่ือนํามาใช ภายในประเทศปละมากๆ เชน ใน พ.ศ. 2544 มีปริมาณนําเขามากกวา 1.8 ลานลูกบาศกเมตร คิดเปนมูลคา 15,200 ลานบาท เปนตน การสญู เสยี พื้นทป่ี าชายเลนในประเทศไทย ปา ชายเลนเปนปาไมอีกประเภทหนึ่งท่ีมีคุณคาย่ิงตอมนุษย เปนแหลงอาหาร แหลงรายได และชวยรักษา ความสมดุลของระบบนิเวศชายฝงทะเล พบในบริเวณชายฝง ทะเลของภาคกลาง ภาคใต และภาคตะวนั ออก สรปุ ปญ หาของชายเลนในประเทศไทยได ดงั นี้ 1. การสญู เสยี พน้ื ที่ปาชายเลนอยางรวดเร็ว จากเดิมเม่ือ พ.ศ. 2504 มีอยูประมาณ 2.3 ลานไร แตใน ปจจุบันคงเหลืออยูไมถึง 1 ลานไร โดยภาคกลางมีอัตราการสูญเสียมากท่ีสุด ในขณะท่ีภาคใตดานชายฝงทะเล อนั ดามนั ยังคงสภาพความอุดมสมบรู ณช ายเลนไวไ ดมากที่สดุ 2. ผลกระทบจากการสูญเสียพื้นที่ปาชายเลน ชาวบานจะถางปาชายเลนเพื่อใชเปนแหลงเพาะเล้ียง สัตวน า้ํ โดยเฉพาะทาํ นาเลย้ี งกงุ กลุ าดาํ และนาํ ไมโ กงกางไปทําฟนทําถาน เปนตน การสูญเสียพน้ื ท่ปี า ชายเลนเกดิ ผลเสียตอเศรษฐกิจและระบบนิเวศ ดงั น้ี (1) ทาํ ลายแหลงแพรพ นั ธุแ ละแหลง อนบุ าลตัวออ นของปลาและสัตวนา้ํ โดยธรรมชาติ ทาํ ใหความอดุ มสมบูรณ ของแหลงประมงทางทะเลในนานนา้ํ ของไทยลดลง เทา กับสญู เสียแหลงอาหาร และแหลงรายไดข องประชาชน (2) เกิดการพังทลายของหนา ดินจากการกดั เซาะของนา้ํ ทะเล เนือ่ งจากปา ชายเลนเปนแนวกันชนโดย ธรรมชาติ การใชทรัพยากรเพอื่ การพัฒนาที่ยัง่ ยืน 1. ความหมายของการใชทรพั ยากรเพอื่ การพฒั นาที่ยง่ั ยนื 1.1 การพฒั นาท่ียงั่ ยนื เปน คําทีม่ ีรากฐานมาจากหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง หมายถงึ การ พัฒนาคนใหม ีคุณภาพ การเพ่มิ ผลผลิต และการใชห รอื จัดการทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ มอยา งฉลาด รจู กั ถนอมในการใช เพ่ือใหมไี วใ ชอ ยางยาวนานจนถงึ คนรุน หลัง 1.2 การใชท รพั ยากรเพอื่ การพัฒนาทย่ี งั่ ยนื หมายถงึ การนําทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ ม มาใชพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของมนุษย เพ่อื ใหมีมาตรฐานคุณภาพชีวติ ทีด่ ี โดยไมท ําใหทรพั ยากรธรรมชาติหรอื ส่ิงแวดลอ มนั้นดวยประสิทธิภาพลง หรอื กระทบกระเทือนตอคนรุนหลงั 2. การอนรุ กั ษทรพั ยากรดิน เพ่อื การพฒั นาทย่ี ่งั ยืน แนวทางการอนรุ กั ษท รพั ยากรดินเพ่ือการพฒั นาทย่ี ่งั ยืน คือ การใชทีด่ นิ ใหเกดิ ประโยชนสงู สุด ท้งั ใน ดา นการเพาะปลกู เลย้ี งสัตว การสรา งบา นเรือนทือ่ ยูอาศัย และกจิ การทอ งเที่ยว เปน ตน มดี งั น้ี 2.1 ปลูกพชื คลุมดนิ เชน หญา แผก เพอ่ื ชวยบรรเทาการกัดเซาะของกระแสลมและฝน 2.2 บํารงุ รกั ษาคุณภาพของดิน โดยใสป ุย และเพม่ิ แรธาตอุ าหารในดิน 2.3 ใชประโยชนจากท่ดี นิ ใหเ หมาะสมกบั สภาพของดิน โดยกาํ หนดโซนหรือเขตพ้นื ทที่ าํ กิจกรรม ทางเศรษฐกิจประเภทตา งๆ เชน พ้นื ที่ทีม่ ดี ินอดุ มสมบรู ณกาํ หนดใหเ ปนเขตเพาะปลกู เปน ตน 2.4 ควบคุมและปอ งกันการพงั ทลายของดนิ เชน สรา งเขอ่ื นรมิ คลองและแมน าํ้ เพอ่ื ปอ งกนั มใี หน้ํา และคลนื่ กัดเซาะตลงิ่ พัง เปน ตน สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (140) _____________ โครงการแบรนดซมั เมอรแ คมป 2010

3. การอนุรกั ษท รัพยากรน้าํ เพอื่ การพัฒนาที่ย่งั ยนื แนวทางดําเนินการ คอื 3.1 ควบคุมและรกั ษาคณุ ภาพของแหลง ตนน้ําลาํ ธาร โดยรักษาผนื ปา บริเวณภูเขาสูงใหสมดุล สมบรู ณตอ ไป 3.2 รักษาคุณภาพของแมนาํ้ ลําคลอง ซงึ่ เปน แหลงนํ้าดบิ ทีใ่ ชท ําน้าํ ประปา หรอื ใชใ นการอุปโภค และบริโภค โดยไมท้ิงขยะของเสยี จากครัวเรือนและโรงงานอตุ สาหกรรม 4. การอนรุ กั ษท รัพยากรปา ไม เพ่ือการพัฒนาทย่ี ัง่ ยืน มีหลกั การสําคัญ ดงั น้ี 4.1 กําหนดนโยบายปา ไมแ หงชาติ เพือ่ เปน แนวทางการจดั การและพัฒนาทรพั ยากรปา ไมของ ประเทศในระยะยาว เชน กําหนดจํานวนพื้นที่ปลูกปาในแตล ะป โดยความรวมมอื ระหวางภาครัฐและภาคเอกชน หรอื กาํ หนดเปาหมายพืน้ ท่ีปา ไมข องประเทศอยางนอยใหม ีรอยละ 25 ของพื้นทป่ี ระเทศ เปนตน 4.2 ดาํ เนินการอนุรักษพ้นื ที่ปาไมของประเทศ โดยสนบั สนนุ ใหเ จา หนาทขี่ องรัฐประสานความรวมมอื กับประชาชนในพ้นื ท่ี ใหราษฎรมีสวนรวมรักษาผืนปาในทองถ่ินของตน ทั้งการปลกู ปาเพ่ิมเติม การบาํ รงุ รกั ษา และการปอ งกันการลกั ลอบตดั ทาํ ลาย เปนตน 5. การอนุรกั ษทรัพยากรแรธ าตุ เพอ่ื การพฒั นาท่ีย่งั ยนื แรธาตมุ คี วามสําคญั ตอการพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศเปนอยางมาก มกี ารนํามาใชเ ปนวัตถุดบิ ใน อุตสาหกรรมและกจิ กรรมทางเศรษฐกิจอ่นื ๆ แนวทางการอนุรกั ษแรธ าตคุ วรดาํ เนินการ ดงั นี้ (1) จดั ทําแผนแมบ ทเกย่ี วกับการใชท รัพยากรแรธ าตุของประเทศ เพ่อื ใหน ํามาใชอ ยางมีประสทิ ธภิ าพ และประโยชนอยางคุมคา (2) สงเสริมการสาํ รวจพ้นื ทีห่ าแหลง แรธ าตใุ หมๆ เพิ่มเตมิ (3) สงเสริมการศึกษาวจิ ยั เพอ่ื นนาํ แรธ าตชุ นดิ ตางๆ มาใชใหเ กิดประโยชนทางเศรษฐกจิ อยางคุมคา โดยเนน ในรูปของผลติ ภัณฑหรือสินคาอตุ สาหกรรม เพอื่ เพ่ิมมลู คาของสินคา 6. แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติฯ กับการใชทรัพยากรเพื่อการพัฒนาทย่ี ่งั ยืน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) ไดอญั เชญิ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงตามแนวพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจา อยูห วั มาเปนหลกั ในการวางแผนพัฒนาประเทศเฉพาะ ในสว นทีเ่ กีย่ วขอ งกับการอนุรักษท รพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอม มีสาระสาํ คัญ ดงั นี้ 6.1 เนนการมสี ว นรวมของทองถ่นิ และชมุ ชน เพ่ือการอนรุ กั ษ ฟน ฟู และใชป ระโยชนจาก ทรัพยากรธรรมชาตอิ ยางยงั่ ยืน ไดแก (1) การจัดการใชป ระโยชนจ ากทรพั ยากรนา้ํ แบบบูรณาการในระดับพ้นื ท่ลี ุมนํ้าและฟนฟูคุณภาพ ของชายฝงและทะเล (2) อนรุ กั ษพนื้ ทป่ี า และจัดการแกไ ขปญ หาทรพั ยากรดินที่เสอื่ มโทรม 6.2 เนน การอนรุ ักษแ ละฟนฟทู รัพยากรธรรมชาตขิ องประเทศใหม คี วามอุดมสมบูรณ 6.3 เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการบริหารและจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอม ใหเ อือ้ ประโยชน ตอการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ 6.4 รักษาคณุ ภาพของสง่ิ แวดลอม โดยลดปญ หามลพิษ เพ่อื ใหเ มืองและชุมชนนาอยู ประชาชนมี คุณภาพชีวิตทดี่ ี และลดตนทุนทางเศรษฐกจิ ในการปองกันและแกไ ขปญหาเก่ียวกับส่ิงแวดลอ ม โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _____________ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (141)

วิกฤตการณด านสง่ิ แวดลอมของประเทศไทย 1. ความหมายของ “สภาวะแวดลอมเปนพษิ ” 1.1 สภาวะแวดลอ มเปน พิษ หมายถงึ สภาพของสง่ิ แวดลอ มท่ีเปนอนั ตรายตอสขุ ภาพรางกายและ จติ ใจของมนุษย เชน มลพษิ ทางอากาศ มลพษิ ทางน้ํา และมลพษิ ของเสียง เปน ตน โดยสว นใหญมสี าเหตเุ กดิ จาก การกระทาํ ของมนุษย 1.2 มลพิษ หมายถึง สภาพของสิง่ แวดลอ มทไ่ี มนาพงึ พอใจ ซ่งึ อาจกอ ใหเกิดอนั ตรายหรอื เกดิ ความ เสยี หายตอมนษุ ยไ ด เชน มลพษิ จากขยะและส่ิงปฏิกูล มลพษิ ทางกลน่ิ และสารมลพิษในดนิ เปน ตน 2. สถานการณข องปญหามลพิษในประเทศไทยและทวปี เอเชีย จากการสาํ รวจปญหามลพษิ ของประเทศตา งๆ ในทวปี เอเชยี เมอื่ ปพ.ศ. 2544 สรุปไดดงั นี้ 2.1 ประเทศทปี่ ระสบปญ หามลพิษรุนแรงทีส่ ุดในทวปี เอเชยี 3 อนั ดบั แรก ไดแก อินเดีย จีน และ เวยี ดนาม ตามลําดบั โดยมลพิษทางอากาศเปน ปญ หาสิ่งแวดลอมทส่ี ําคัญทีส่ ดุ 2.2 ประเทศท่ปี ระสบปญ หามลพิษนอ ยท่ีสุด ไดแ ก สิงคโปร รองลงมา คอื ญปี่ นุ และมาเลเซยี 2.3 ประเภทมลพิษในประเทศไทย ปญหาหรือวิกฤตการณดา นสิ่งแวดลอมของไทยจัดอยูใ นอันดับที่ 7 ของทวีปเอเชยี สว นใหญเ ปน ปญหามลพิษทางอากาศ รองลงมา คือ มลพิษทางน้าํ มลพิษทางบนิ มลพษิ ทาง เสยี ง และมลพษิ จากขยะและสิ่งปฏกิ ูล 3. สภาพมลพษิ ทางอากาศ มลพิษทางอากาศ หรอื อากาศเปนพิษ หมายถงึ สภาพของอากาศไมบ รสิ ทุ ธม์ิ ีมวลสารเจือปนอยมู าก เชน แกสคารบ อนมอนอกไซด แกสคารบ อนไดออกไซด เขมาควัน ฝนุ และละอองตะกว่ั ฯลฯ สถานการณของปญหามลพิษทางอากาศในประเทศไทย 3.1 เมอื งใหญป ระสบปญหามลพษิ ทางอากาศมากทสี่ ดุ ไดแ ก กรุงเทพมหานคร และจงั หวัด สมุทรปราการ สวนในตา งจงั หวดั คือ เขตเทศบาลนครเชยี งใหม บริเวณทีพ่ บมากเปน พ้ืนที่ริมถนนทมี่ กี ารจราจร หนาแนน หรือบรเิ วณใกลโ รงงานอุตสาหกรรม 3.2 สาเหตุของปญ หามลพษิ ทางอากาศ ดงั นี้ (1) ควันพิษจากทอ ไอเสยี รถยนต และโรงงานอุตสาหกรรม (2) ควันทเ่ี กิดจากการเผาขยะ และใบไมใบหญาในพ้ืนท่ีเกษตรกรรม รวมทัง้ ไฟไหมป า (3) ฝุนละอองจากการกอ สรา งอาคารสงู ถนน และสาธารณูปโภคอืน่ ๆ 3.3 ปญหามลพษิ ทางอากาศของกรุงเทพมหานคร มสี าเหตุเกดิ จากการเพ่ิมของจํานวนรถยนตแ ละ ยานพาหนะตา งๆ อยา งรวดเรว็ มาก ไอเสยี ที่เกิดจากยานพาหนะประกอบดวยสารมลพษิ ตางๆ เชน แกส ไฮโดรคารบ อน และแกสคารบอนไดออกไซด นอกจากนยี้ งั มีฝุนละอองและสารตะกัว่ ในพน้ื ทที่ ่ีมกี ารจราจรหนาแนนอีกดว ย 3.4 ปญ หามลพิษทางอากาศของเชียงใหมแ ละเมอื งใหญท างภาคเหนือ (1) เขตเทศบาลนครเชยี งใหม สภาพมลพิษทางอากาศมสี าเหตเุ กิดจากปญหาการจราจร และ กอ สรา งอาคารสูงและสิ่งกอ สรา งตา งๆ สวนในฤดูแลง มีปญหาฝุน ละอองคอ นขางสงู เกดิ จากการเผาขยะในยาน ชมุ ชน เผาใบไมใ บหญา และเศษวสั ดุทางการเกษตร และไฟไหมปา เปน ตน (2) พ้นื ทร่ี อบๆ โรงไฟฟา อาํ เภอแมเมาะ จังหวัดลําปาง เปนโรงงานไฟฟาพลงั ถา นหิน จึงเกดิ ปญหาหามลพิษจากฝนุ ละอองและสารซลั เฟอร สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (142) _____________ โครงการแบรนดซัมเมอรแ คมป 2010

3.5 คา มาตรฐานคณุ ภาพอากาศ โดยมสี านพิษปะปนในอากาไดไมเ กนิ ดังน้ี (1) แกสคารบอนไดออกไซด คามาตรฐานคณุ ภาพอากาศ คือ อากาศท่ีมนษุ ยห ายใจเขา ไปจะมี แกส คารบอนไดออกไซดไมเ กนิ 50 มลิ ลกิ รมั /ลูกบาศกเมตร โดยอยูในบรเิ วณน้นั 1 ช่ัวโมง (2) สารตะกว่ั กําหนดใหมสี ารตะกวั่ อยใู นมวลอากาศไดไมเกิน 0.01 ไมโครกรัม/ลูกบาศกเ มตร สําหรับคาเฉล่ยี 24 ชวั่ โมง/วนั 3.6 ผลกระทบของปญหามลพิษทางอากาศ โรคภยั ไขเจบ็ ท่เี กิดจากการรับสารพิษเขาไปสะสมใน รา งกายท่มี ีคนปวยมากท่สี ุด คือ โรคภมู แิ พจ ากระบบทางเดนิ หายใจ นอกจากนค้ี วันดําจากทอ ไอเสยี รถยนตจ ะทํา ใหเกดิ โรคมะเร็งในปอด หรือแกสคารบอนมอนอกไซด จะทําใหโลหิตรับออกซเิ จนไดนอยลง จึงเกิดอาการวงิ เวียน ศรี ษะจนหมดสติและอาจเสยี ชวี ติ ได 4. สภาพมลพิษทางนํ้า มลพษิ ทางน้าํ คือ สภาพของนาํ้ เสยี หรอื นาํ้ ทมี่ เี ชื้อโรคเจือปนอยู โดยถูกปลอยทงิ้ ลงมาปะปนกบั แหลง นํ้าตามธรรมชาติ เชน แมน้าํ คคู ลอง ฯลฯ ในปรมิ าณท่ีมากเพยี งพอจะทําใหแ หลง นํ้าตามธรรมชาตเิ นาเสยี ตามไป ดว ย โดยมากจะพบในเขตเมอื งที่มีประชากรอาศัยอยอู ยางหนาแนน 4.1 สาเหตทุ ่ีทาํ ใหเ กดิ ปญ หามลพษิ ทางน้าํ สาเหตสุ าํ คญั ทที่ าํ ใหเ กดิ ปญหามลพิษทางนํา้ คอื ทง้ิ น้าํ เสียลงสแู มน าํ้ ลาํ คลอง โดยไมก ําจดั ส่ิงเจอื ปนออกกอ น โดยมีท่มี าจากแหลง ตา งๆ ดังน้ี 1) อาคารบานเรือนและชุมชน โดยเฉพาะบรเิ วณใกลแหลงนา้ํ ตามธรรมชาติ เชน แมน ้าํ คูคลอง น้ําเสียจะเกิดจากครัวเรือนมากท่ีสุด รองลงมา ไดแก ตลาดสด ศนู ยการคา อาคารพาณิชย และสถานบนั เทงิ ตา งๆ โดยไมผ า นกระบวนการกําจัดอยา งถูกตอ งตามหลักวิชาการ 2) โรงงานอตุ สาหกรรม แมจะมีกฎหมายบังคับใหผ ูประกอบการตอ งนาํ น้าํ เสยี ผา นกระบวนการ บาํ บดั กอนทิ้งลงสแู หลงนํา้ สาธารณะ แตในความเปน จรงิ มีผปู ระกอบการบางรายเหน็ แกต วั ฝา ฝนไมยอมปฏบิ ตั ิ ตามเพราะตองลงทุนสูง หรือเจาหนา ท่ีของรัฐควบคมุ ดูแลไมท่วั ถึง แมน ้าํ ทีม่ ีปญหานา้ํ เนา เสียในชว งฤดูแลงและมีระดบั ความรุนแรงมากท่สี ุด คอื แมน ้าํ ทา จนี รองลงมา ไดแ ก แมน ้ําแมกลอง และแมน ํา้ บางปะกง เนื่องมาจากมโี รงงานอุตสาหกรรมตั้งอยสู องฝง แมน้าํ ดงั กลาวจาํ นวนมาก 3) การเพาะปลูกและเลีย้ งสตั ว นา้ํ เสียเกิดจากมลู ของสัตวจากฟารม เล้ยี งสุกร และน้ําเสียจากนาขา ว เมื่อถูกระบายลงสูแ มน าํ้ ลําคลองจะทําใหน้ําในแมน ้าํ เนาเสยี ได เปน ปญ หาทีพ่ บในทอ งถ่ินชนบท 4) การใชส ารเคมีในการเพาะปลูก เชน ใชปุยวิทยาศาสตรหรอื ปยุ เคมี การฉีดยาฆาหญา หรอื พน ยาปราบศัตรูพชื ทาํ ใหเ กดิ สารเคมีตกคา งตามพ้นื ดินในไรนา และเมอื่ เกดิ ฝนตกจะถูกชะลา งลงสแู มน ํ้าลําคลอง ตามกระบวนการทางธรรมชาติ เกดิ ปญ หานํา้ เนา เสยี มีกลน่ิ เหม็นและสัตวนํา้ ตายตามมา 4.2 ผลกระทบของปญหามลพษิ ทางนํา้ การเกดิ ปญหามลพษิ ทางน้ําจะสงผลกระทบตอวถิ ีการดําเนนิ ชวี ิตมนุษยท ัง้ ทางตรงและทางออ ม สรปุ ไดด ังนี้ 1) ผลกระทบทางตรง ผคู นท่ตี ้ังบานเรือนอยรู ิมแมน ้าํ ลําคลองไมสามารถใชประโยชนจากนํา้ ใน การอุปโภคและบรโิ ภคได รวมทง้ั ผูประกอบอาชีพเลย้ี งปลาในกระชังริมแมนํ้า และชาวสวนผลไม เปนตน โครงการแบรนดซ มั เมอรแ คมป 2010 _____________ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (143)

2) ผลกระทบทางออ ม การบรโิ ภคพืชผกั ผลไมแ ละสตั วน า้ํ ทีม่ สี ารพิษปนเปอ น ยอมเปนอันตราย ตอสขุ ภาพรางกาย และพบวาคลองบางแหง ในกรุงเทพมหานครในชวงฤดแู ลง จะมกี ลนิ่ เหม็นของแกส ไฮโดรเจนซัลไฟต สรา งความเดอื ดรอนรําคาญแกผ ูค นทีม่ บี านพักอาศัยอยูรมิ คลอง เปนตน 5. สภาพของมลพษิ ทางกลิ่น ปญ หามลพิษทางกล่นิ ในประเทศไทย ไดแ ก กลน่ิ เหมน็ จากโรงงานอตุ สาหกรรม และกลิน่ เหมน็ จากกอง ขยะมูลฝอยและสิง่ ปฏกิ ลู ตางๆ ซึ่งสงผลตอสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตของประชาชนทีอ่ ยูใกลแ ละไดสัมผสั กบั กลนิ่ เหลา น้นั 5.1 มลพษิ ทางกลน่ิ จากนคิ มอุตสาหกรรมมาบตาพดุ นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ตาํ บลมาบตาพดุ อําเภอเมือง จงั หวดั ระยอง เปนตวั อยา งของนิคม อตุ สาหกรรมทําใหโ รงเรียนบางแหงจําเปนตองยา ยออกไปในท่ีสุด ปญ หามลพษิ ดงั กลา ว คือ 1) ปญ หากลน่ิ เหม็นอันไมพงึ ประสงค ในชวงเดือนพฤษภาคมหรอื เดือนมถิ ุนายนของทุกป เปน เวลาประมาณ 1 เดือน จะมีลมทะเลพดั เขา สฝู งผา นเขตนิคมอุตสาหกรรมและนาํ กลิ่นเหม็นเขาสูช มุ ชน เชน กล่นิ กํามะถนั กล่นิ ไมขดี ไฟ และกลิ่นเนา เหม็นอืน่ ๆ ประชาชนเกดิ อาการเจบ็ ปว ยจาํ นวนมาก 2) ปญหามลพษิ ทางนา้ํ และอากาศ เสื้อผา สีขาวทีต่ ากไวและนาํ้ ฝนทร่ี องไวไมส ามารถใชบ ริโภค ไดเพราะมเี ขมาควนั สดี ําปะปนอยู ซ่งึ สง ผลกระทบตอสุขภาพรางกายและจิตใจของผคู นเปนอยา งย่งิ 6. สภาพของมลพิษทางเสียง มลพิษทางเสยี ง หรอื เสียงเปน พษิ หมายถึง เสยี งไมพ งึ ประสงคห รือเสยี งทดี่ ังเกินขดี ความสามารถที่ โสตประสาทของมนษุ ยจะรบั ไดใ นสภาพปกติ โดยทว่ั ไปเสียงท่มี ีความดงั เกินกวา 70 เดซิเบล เอ หรอื db (A) ขึ้น ไป จะเปน อันตรายตอ ระบบการไดยินจนอาจทําใหห ูพกิ ารได 6.1 แหลง ท่มี าของมลพิษทางเสยี ง เสยี งดังเกนิ ปกติจนเกดิ ปญหามลพษิ ทางเสยี ง มีแหลงทมี่ า 2 แหลง ดังน้ี 1) เสียงจากยานพาหนะ ไดแ ก ทอ ไอเสยี รถจักรยานยนต เครอ่ื งยนตจากเรือหางยาว และ เครือ่ งบิน เปน ตน 2) เสยี งจากสถานประกอบการ ไดแก เคร่อื งจักรกลในโรงงานอุตสาหกรรม โรงมหรสพ การแสดงดนตรกี ลางแจง และสถานบนั เทิงในยามคํ่าคืน เปนตน 3) เสียงจากอาคารบา นเรอื น นับตงั้ แตก ารใชเครื่องไฟฟาตางๆ เชน เครอ่ื งดดู ฝุน เครอ่ื งตดั หญา เครื่องเสียง โทรทศั น และเสยี งจากการกอสรา ง เปนตน 6.2 ผลกระทบจากปญ หามลพษิ ทางเสียง การไดร บั ฟงเสยี งดังมากๆ จะเกดิ อนั ตรายและสงผลกระทบตอมนษุ ย ดังน้ี 1) อันตรายตอ ระบบการไดยิน ถาไดฟงเสียงดงั มากๆ ติดตอ กนั เปน เวลานานๆ จะเกิดภาวะหตู ึงถาวร 2) อนั ตรายตอสขุ ภาพจติ เกิดความเครยี ด อารมณไมแ จมใส หงุดหงดิ งา ย และขาดสมาธิใน การทาํ งาน 3) อันตรายตอ รางกาย เกดิ การหลั่งของกรดในกระเพาะอาหารมากกวา ปกติ ทาํ ใหเปนโรค กระเพาะอาหาร หรือทาํ ใหความดนั ของโลหิตและอตั ราการเตนของหวั ใจเพิม่ สงู ขึน้ ซึง่ เปน จดุ เร่มิ ตน ของการเกิด โรคหัวใจ เปน ตน สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (144) _____________ โครงการแบรนดซมั เมอรแคมป 2010

6.3 เกณฑมาตรฐานของระดบั เสียง ในปจ จบุ ันการวัดระดับความดงั ของเสียงจะใชเครื่องกรองความถี่ (Filter) เขาชวยเพ่อื ใหเ กิด ประสทิ ธิภาพและความเทยี่ งตรงในการวัดมากขึน้ โดยมหี นวยวัดเปน เดซิเบล เอ หรือ db (A) ท้ังน้ี ระดับเสยี งเทา ใด จงึ เหมาะสมกบั มนษุ ย คณะกรรมการสง่ิ แวดลอมแหงชาติไดก ําหนดไวเปนเกณฑด งั นี้ 1) ระดบั เสียงทก่ี อใหเ กิดอนั ตรายตอสุขภาพ คอื ระดบั เสยี งสงู กวา 70 เดซิเบล เอ เฉลีย่ ใน เวลาท่ไี ดร บั ฟง 24 ช่วั โมง เสียงท่ดี ังเกนิ กาํ หนดดงั กลา วสว นใหญเปน เสียงจากเรือหางยาวในแมน า้ํ เจาพระยา รถจักรยานยนต เคร่ืองบนิ และเสยี งจากการกอ สราง 2) ระดบั เสียงทไี่ มเปนอันตรายตอ สุขภาพ คอื ระดับเสยี งตาํ่ กวา 70 เดซเิ บล เอ เฉลีย่ ในเวลาท่ี ไดรับฟง 24 ช่วั โมง 7. สภาพของสารมลพษิ ในประเทศไทย 7.1 ความหมายของ “สารมลพิษ” หมายถึง สารทก่ี อ ใหเ กดิ ผลกระทบตอ มนษุ ย สัตว พชื และ สภาพแวดลอ มตางๆ ไดแก (1) สารเคมีปองกันและกาํ จัดศตั รูพืชและสตั ว เชน ยาฆา หญา ยาฉดี พนปอ งกันโรคพืช และดดี ีที กําจัดยุง เปน ตน (2) สารพษิ ในโรงงานอตุ สาหกรรม เชน ตะกัว่ ปรอท แมงกานสี เปนตน 7.2 ผลกระทบของสารมลพษิ ตอ มนุษยและสงิ่ แวดลอ ม ดงั น้ี (1) มีพิษตกคา งในสง่ิ แวดลอม เชน ดนิ นาํ้ และผลผลติ ทางการเกษตรตางๆ เชน ผัก ผลไม เนอ้ื สตั ว ฯลฯ เมื่อคนบริโภคเขา ไปจะสะสมสารมลพษิ ในรา งกายและเกิดอันตรายได (2) ถา ยทอดไปสคู นโดยระบบ “หว งโซอาหาร” กลาวคอื สารพิษทป่ี นเปอ นอยใู นแหลงนํ้าตาม ธรรมชาติตา งๆ จะสะสมตวั อยใู นพชื ตอ มาไดถ ายทอดจากพืชไปสูสตั วโดยการกินเปน อาหารและจากสัตวไปสู มนุษยใ นฐานะผูบ รโิ ภคข้ันสดุ ทา ย ทาํ ใหม นุษยไดรบั สารพิษในที่สุด 8. สารตะก่วั สารมลพษิ ที่สําคัญในประเทศไทย สถานการณท่ีเก่ียวของสารตะกัว่ ในประเทศไทย มดี ังนี้ 8.1 สารตะกว่ั เปนสารมลพิษท่ีอันตรายท่ีสุดในประเทศไทย เพราะมกี ารนํามาใชอ ยา งกวางขวาง จนทาํ ใหเกดิ การปนเปอ นของสารตะกั่วในสิง่ แวดลอ มและขาวของเคร่ืองใชต า งๆ ท่ัวไป เชน ใชสที ่ีมีสารตะกว่ั มา ประกอบอาหาร การทําเครอื่ งสาํ อาง ภาชนะพลาสติกทีไ่ มไ ดมาตรฐาน และการบรโิ ภคนาํ้ ทม่ี ีสารตะกั่วเจอื ปนเขา ไปโดยตรง เปน ตน 8.2 ผลกระทบจากการไดรบั สารตะกว่ั มีดงั นี้ (1) หญงิ มคี รรภท ่ีทาํ งานในโรงงานอุตสาหกรรมซ่ึงเกีย่ วขอ งกับสารตะก่ัว สง ผลกระทบตอเดก็ ทารก ทําใหเ ปน โรคพิษสารตะก่ัวต้ังแตอยูใ นครรภมารดา (2) เดก็ ทีอ่ ยูใกลโรงงานผลิตสินคา ทเี่ กี่ยวของกบั สารตะก่วั อาจสง ผลใหสติปญญามีพฒั นาการ ชา ลง เกิดอาการชักจนเสียชวี ิต หรอื พกิ ารทางสมองได (3) กลุมคนท่ีทาํ งานเกย่ี วของกบั สารตะกวั่ เปนกลุม คนท่ปี จ จัยเสีย่ งตอการรับสารพิษเปน อยา ง มาก โดยผานพาหะตางๆ ทั้งการหายใจ ทางปาก และทางผวิ หนงั โครงการแบรนดซมั เมอรแคมป 2010 _____________ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (145)

8.3 กลุมคนทท่ี าํ งานเก่ียวของกับสารตะก่ัว 1. การรบั สารตะกัว่ เขส ูรา งกาย กลุม คนทท่ี าํ งานเกย่ี วของกับสารตะก่วั โดยตรง จะรบั สาร ตะกั่วเขาสรู างกายโดยวิธกี าร ดงั นี้ (1) การหายใจ โดยสดู ฝุน ควัน และไอระเหยของสารตะกว่ั เขา ไปรา งกาย (2) ทางปาก เชน รบั ประทานอาหารในโรงงานที่มีสารตะก่ัวปนเปอ นอยูในอากาศ (3) ทางผิวหนงั โดยเฉพาะผทู ํางานกับนํา้ มนั เบนชิน เชน เด็กปมนํ้ามนั 2. อาชพี ที่เสีย่ งตอการสัมผัสกับสารตะกั่ว มดี งั นี้ (1) คนงานในเหมืองแรตะกว่ั ชางบดั กรี และคนงานในโรงงานผลิตแบตเตอรี่ (2) คนงานในโรงเรียนอตุ สาหกรรมทําแกว ชา งเรยี งพิมพ และทํากระปอง (3) คนงานลา งและซอมถงั เกบ็ น้าํ มนั คนงานทําสี และคนงานชบุ โลหะ ฯลฯ 9. ขยะมลู ฝอยและส่งิ ปฏิกูล 9.1 ความหมายของขยะและส่งิ ปฏกิ ูล 1) “ขยะและสิง่ ปฏกิ ลู ” หมายถึง วัตถุใดๆ ที่ไมม ีผตู องการใชแ ลว เชน เศษกระดาษ เศษอาหาร มลู สัตว และซากสัตว รวมทงั้ สิง่ ของวัตถุอื่นๆ ท่มี ีผูนํามาทิ้ง 2) “สิ่งปฏิกลู ” หมายถงึ ของเสียท่ขี บั ออกจากรางกายของมนษุ ยต ามธรรมชาติ และรวมถงึ ขยะ มลู ฝอยจากบานเรอื น โรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม รา นคา ตา งๆ ฯลฯ 9.2 สาเหตุทีท่ ําใหเกดิ ปญหาขยะมูลฝอย 1) การเพ่มิ ของจํานวนประชากร ทัง้ ผคู นทตี่ งั้ บา นเรอื นอยูอาศัยในเขตเมอื ง และบรรดานกั ทองเทยี่ ว ตางๆ ทาํ ใหเกดิ ปรมิ าณขยะและสงิ่ ปฏกิ ูลในแตละวันเปนจาํ นวนมาก 2) คุณภาพของประชากร ผูคนสว นใหญข าดวนิ ยั และจติ สาํ นกั ในการรกั ษาความสะอาดของบา น 3) พฤตกิ รรมบรโิ ภคนยิ มของผคู นในสังคมเมอื ง มีการใชจ ายเพอ่ื การกนิ การอยใู นชวี ิตประจาํ วัน มากข้ึน ทําใหปริมาณขยะเพิม่ ขึ้นเรอื่ ยๆ 4) การเกบ็ และการกําจัดขยะมูลฝอยและสง่ิ ปฏิกลู ตา งๆ ในแตล ะวนั ยังขาดประสิทธิภาพมักเกบ็ ไมท นั เพราะขาดแคลนงบประมาณ อุปกรณ ยานพาหนะ บุคลากร และสถานท่ี ฯลฯ 5) การแยกชนดิ และประเภทของขยะ เนอื่ งจากประชาชนไมสนใจคัดแยกขยะเปยกและขยะแหง หรือที่ยอ ยสลายไดเ องตามธรรมชาติ ทาํ ใหเ กดิ ความลาชาในการกาํ จดั หรือเผาทาํ ลาย 6) มีขยะท่ีเกิดจากวัตถุท่ียอ ยสลายยากเพ่มิ มากขึ้น เชน โฟม ขวดนาํ้ พลาสตกิ และกระปอ ง- เคร่ืองดืม่ ฯลฯ ซงึ่ เปน ขยะทีก่ าํ จัดไดยากและมกั พบเหน็ ในท่ีสาธารณะทว่ั ไป 9.3 ผลกระทบของปญหาขยะและส่งิ ปฏกิ ูล 1) ทําใหบ านเมอื งสกปรก 2) เปน แหลง เพาะพนั ธุสตั วท เ่ี ปน พาหะนาํ โรค 3) ทาํ ใหเกดิ กล่ินเหมน็ 9.4 การคดั แยกประเภทขยะ กรงุ เทพมหานครไดจดั ประเภทขยะตามชมุ ชน โดยแบงออกเปน 3 ประเภท ดงั นี้ 1) ขยะพิษ ควรแยกออกมาจากขยะอนื่ ๆ กอ น เชน ถานไฟฉาย กระปอ งสารเคมี กระปองยาฆา - แมลง ฯลฯ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (146) _____________ โครงการแบรนดซ มั เมอรแ คมป 2010

2) ขยะเศษอาหาร นําไปทําเปนปยุ หมักได 3) ขยะทีน่ าํ กลับมาใชใ หม ไดแก กระดาษ พลาสตกิ แกว เหล็ก โลหะตางๆ 9.5 วิธกี ารกาํ จดั ขยะและสง่ิ ปฏิกูล กรงุ เทพมหานครและเทศบาลตางๆ ทว่ั ประเทศ ใชว ธิ กี าํ จดั ขยะ 3 วธิ ี ไดแก การเผา การฝง การกลบ และนําไปทาํ ปยุ หมัก แนวทางแกไ ขปญหาวกิ ฤตดานสิง่ แวดลอมของประเทศไทย 1. สรปุ แนวทางปอ งกนั และแกไ ขปญ หาส่ิงแวดลอมเปนพิษในประเทศไทย ปญ หามลพษิ ของสง่ิ แวดลอมท่เี กิดขน้ึ ในประเทศไทยในปจ จบุ ัน มแี นวทางปองกนั และแกไขเพอื่ ควบคมุ และลดปญ หา ดงั นี้ 1.1 การเผยแพรความรแู ละความเขาใจแกป ระชาชน เพือ่ ใหเขา ใจถงึ สภาพการณท่ีเปนปญหาและ สาเหตุของปญ หา โดยกระตุน ใหประชาชนมจี ิตสํานกึ ท่ีดีในการปอ งกนั และแกไขปญหารว มกัน และใหความรว มมือ ตอกนั ท้งั ภาครัฐและภาคเอกชน 1.2 การใชมาตรการทางกฎหมายและระเบียบของทางราชการตางๆ อยางเครงครัด มีการ รณรงคแ ละประชาสัมพันธใหป ระชาชนเขา ใจถงึ จดุ มงุ หมายของกฎหมายและนาํ ไปปฏบิ ตั ไิ ด ไมห ลีกเล่ยี งหรอื ฝา ฝน 1.3 การกําหนดเขตการใชที่ดินหรือวางผังเมือง เพื่อใหเกิดความเปนระเบียบเรียบรอยในการ ประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจตางๆ เพ่ือใหการดูแลรักษามีประสิทธิภาพ และเพ่ือปองกันมิใหเกิดผลกระทบตอ ส่ิงแวดลอมของชุมชน เชน กําหนดเขตทอี่ ยอู าศัย เขตเกษตรกรรม เขตธุรกิจการคา และเขตอุตสาหกรรม เปนตน 2. แนวทางปองกันและแกไขมลพษิ ทางอากาศ ปญหามลพิษทางอากาศเปนปญหาสําคัญท่ีเกิดขึ้นในสังคมเมือง แนวทางปองกันและแกไขปญหาจึงมี ลักษณะสอดคลองกับสภาพแวดลอมของสงั คมเมืองโดยตรง มดี ังน้ี 2.1 ตรวจสอบ ตรวจรับ และหา มใชรถยนตท ี่มปี ญ หาควันดาํ 2.2 แกไ ขปญ หาจราจรคบั ค่ังในพ้ืนท่ีมีปญ หารุนแรงและในช่ัวโมงเรง ดวน เพอ่ื ลดปญหามลพษิ ทางอากาศ 2.3 จัดตั้งสถานีตรวจวัดคุณภาพของอากาศในบริเวณพื้นถนนท่ีมีปญหาจราจรแออัด เพื่อตรวจวัด คณุ ภาพของอากาศ และหาทางแกไขอยา งตอเนือ่ ง 2.4 ตรวจวดั ความเขม ขนของสารมลพษิ ตางๆ ในพนื้ ที่เปา หมาย เชน สารตะก่ัว ฝนุ ละออง และแกส คารบ อนไดออกไซด ฯลฯ เพ่อื หาทางปอ งกนั และแกไขตอ ไป 2.5 ตรวจสอบ เพื่อกระตนุ ใหโ รงงานอตุ สาหกรรมดําเนนิ การปอ งกนั มใิ หเ กิดปญ หามลพิษทางอากาศ และมลพษิ ดานอื่นๆ โดยเครงครัด และใชม าตรการทางกฎหมายลงโทษผูประกอบการทีฝ่ า ฝน 3. แนวทางปองกนั และแกไ ขมลพิษทางนํา้ ปญ หามลพษิ ทางนาํ้ เกิดจากสาเหตุสาํ คญั หลายประการ เชน การเพิ่มขึน้ ของจาํ นวนประชากรอยางรวดเรว็ การพฒั นาและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ และการขยายตวั ของชมุ ชนเมอื ง เปนตน แนวทางในการปอ งกนั และแกไ ขปญ หามดี งั นี้ 3.1 ควบคมุ การเพ่ิมของจํานวนประชากรในเมอื ง หรอื ใชมาตรการทางออ มสกัดก้ันมิใหเ กดิ การอพยพ ของผคู นในชนบทเขา มาในเมือง เพอื่ ลดปญ หานาํ้ ท้ิงหรอื น้ําเสยี จากแหลงชุมชนตา งๆ 3.2 ตรวจสอบ กระบวนการกาํ จัดนา้ํ เสียของโรงงานอุตสาหกรรมตา งๆ อยางสม่ําเสมอ เชน การจัดทาํ บอ บําบัดน้าํ เสียกอนท้ิงนา้ํ ลงแมน้าํ และใชมาตรการทางกฎหมายลงโทษผูฝา ฝน เปน ตน โครงการแบรนดซมั เมอรแคมป 2010 _____________ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (147)

3.3 ใชมาตรการทางภาษี หรือเก็บคาบริการบําบัดน้ําเสียจากผูประกอบการภาคธุรกิจบริการหรือ ภาคอุตสาหกรรมที่ปลอยน้ําทง้ิ น้ําเสียลงตามแหลง น้ําสาธารณะ เพอื่ นาํ เงินมาใชป อ งกนั และแกไ ขตอไป 3.4 กาํ หนดมาตรการกอสรา งระบบบาํ บัดนํ้าเสีย เพ่ือปองกันมิใหครัวเรือนและชุมชนท้ิงน้ําใชแลวลง คูคลองทันที เพราะจะทําใหเกิดปญหามลพิษทางน้ําได แตจะทําทอระบายนํ้าที่รวบรวมนํ้าใชแลวจากชุมชนเขาสู โรงบําบัดนา้ํ เสยี กอน 3.5 จดั ใหมโี ครงการอนรุ กั ษแ มน ํ้าคคู ลอง โดยตรวจสอบคณุ ภาพของนาํ้ ในแมน ้ําสายหลกั ของประเทศ อยา งสมา่ํ เสมอ เชน แมน าํ้ เจา พระยา ทาจีน และแมกลอง ดําเนินการปองกันและแกไขมิใหเกิดปญหานํ้าเนาเสีย โดยรณรงคใ หประชาชน ภาครฐั และภาคเอกชนรวมมอื กัน 3.6 รณรงคและประชาสัมพันธใหประชาชนใชนํ้าอยางประหยัด และมีสวนรวมรักษาคุณภาพของ แหลงนํ้าในชุมชนหรอื ทอ งถ่นิ ของตน 3.7 จดั ทาํ แผนแมบ ทของรฐั เพ่อื วางแผนการบริหารและการจดั การทรัพยากรนํา้ แบบบูรณาการ โดย เนนการใชประโยชนจ ากนา้ํ อยางมีประสทิ ธภิ าพและเกิดประโยชนสูงสดุ 4. แนวทางปอ งกันและแกไ ขมลพษิ ทางเสียง ผูคนท่ีประสบปญ หามลพิษทางเสยี งเปน เวลานานๆ จะเกดิ ผลกระทบตอสขุ ภาพจติ และโสตประสาท การไดย นิ อาจพิการได แนวทางปอ งกันและแกไ ข ควรดาํ เนนิ การดงั น้ี 4.1 วางผงั เมอื งเพือ่ กําหนดพนื้ ท่หี รอื แบงโซนใหชดั เจน เชน เขตท่ีพกั อาศยั เขตธรุ กิจบนั เทิง เขต โรงงานอุตสาหกรรม ฯลฯ เพอ่ื ปอ งกนั ปญหาเสยี งดังสรา งความราํ คาญใหแ กผูอน่ื 4.2 กําหนดชวงเวลาทาํ งาน เพ่ือมใิ หใ ชเสียงดงั สรา งความเดือดรอนรําคาญแกผูอ่ืน เชน สถานบันเทิง ยามราตรี โรงงานไมแปรรูป และโรงงานอตุ สาหกรรม ฯลฯ 4.3 ใชม าตรการทางกฎหมาย โดยตรวจจบั ผูใชร ถจักรยานยนตท ี่ปรับแตง มใิ หเสยี งดงั เกนิ ปกติ 4.4 ตรวจสอบกระตนุ ใหเ จาของกิจการโรงงานอตุ สาหกรรม หาวิธีลดความดังของเสยี งจากการ ทาํ งานของเครอื่ งจักรกล 4.5 ใหความรแู กผใู ชแรงงาน เพ่ือใหห ลีกเลยี่ งการทาํ งานในสถานท่ที ีม่ ีเสยี งดงั ติดตอ กันเปนเวลานานๆ 5. แนวทางปองกนั และแกไขมลพิษจากขยะมูลฝอย ปญ หามลพิษจากขยะมูลฝอย สาเหตเุ กดิ จากปริมาณของขยะมลู ฝอยในแตละวนั มจี าํ นวนมากโดยเฉพาะใน ชมุ ชนทมี่ ีประชากรหนาแนน ทาํ ใหเ กิดปญ หาขยะตกคางในบริเวณสถานทีต่ างๆ สง กล่ินเหมน็ และเกดิ ทศั นียภาพท่ี ไมน า ดู แนวทางปองกนั และแกไข ควรดาํ เนนิ การดังนี้ 5.1 จัดระบบการเก็บใหม ีประสทิ ธิภาพ โดยทั่วไปเปนหนา ทข่ี องเทศบาล เชน จดั จา งพนักงาน และ จดั ซื้อรถยนตบ รรทุกและอปุ กรณตางๆ ใหมีเพยี งพอและจัดเก็บไมใหเ หลือตกคา ง 5.2 จัดหาสถานทีก่ าํ จัดขยะใหเหมาะสม โดยอยหู า งไกลจากชมุ ชนเพือ่ ไมใหเกิดปญ หามลพิษของ ส่ิงแวดลอม โดยท่วั ไปจะใชวธิ ีกําจดั ขยะ 3 วิธี ไดแ ก นาํ เขาเตาเผา ฝงกลบ และเขา โรงงานทําปยุ หมกั 5.3 แยกประเภทขยะ เพือ่ ความสะดวกและรวดเร็วในการทําลาย เชน ขยะเปย ก ขยะแหง ขยะท่ี ยอ ยสลายไดย าก และขยะมีพิษเปนอนั ตรายตอส่ิงแวดลอ ม เปนตน 5.4 การนาํ กลบั มาใชใหม (Recycle) ขยะบางชนดิ ทาํ ลายหรือยอ ยสลายไดย าก เชน ขวดพลาสตกิ ขวดแกว กระดาษหนงั สอื พิมพ และโลหะตางๆ จงึ ควรสงเขา โรงงานแปรรปู ใหเ ปนของใหมแ ละนํากลบั มาใชใ หมอีกครงั้ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (148) _____________ โครงการแบรนดซมั เมอรแคมป 2010

วกิ ฤตการณดานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ มของโลก 1. ปญ หาวิกฤตดา นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ มของโลก ปญหาวกิ ฤตการณดา นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอมของโลกในปจ จบุ นั แบง ไดเ ปน 3 ปญหา ใหญๆ ดงั นี้ 1.1 ปญหาทรัพยากรธรรมชาติลดความอุดมสมบูรณ ทั้งในดานปริมาณและคุณภาพ ไดแก ดิน น้ํา ปา ไม สตั วปา และแรธาตุตา งๆ 1.2 ปญหาการเกดิ มลภาวะหรือมลพิษตางๆ ของส่ิงแวดลอม เชน น้ําเนาเสีย อากาศเปนพิษ มลพิษ ของเสยี ง และมลพษิ จากขยะมูลฝอย เปน ตน 1.3 ปญ หาทเ่ี กิดจากการทําลายระบบนเิ วศทางธรรมชาติ เชน ฝนทง้ิ ชว ง ภยั จากความแหง แลง อุทกภยั วาตภัย และภาวะโลกรอนมอี ุณหภมู ิสงู เปนตน 2. สาเหตทุ ี่ทําใหโ ลกเกิดวกิ ฤตดา นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ ม สาเหตุพ้ืนฐานของปญ หาวกิ ฤตกิ ารณดานทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมของโลกในปจจบุ นั คือ 2.1 การเพ่ิมของจาํ นวนประชากรโลก ในปจจบุ นั ประชากรโลกมปี ระมาณ 6,314 ลานคน (พ.ศ. 2546) จึงเปนสาเหตโุ ดยตรงทําใหเกดิ การสูญเสียในทรัพยากรธรรมชาติอยา งรวดเรว็ และเกดิ มลพิษของสิ่งแวดลอ มตางๆ ตามมา สรุปไดด งั น้ี (1) อัตราการเพมิ่ ของประชากร ประเทศท่ีพัฒนาแลว มอี ตั ราการเพิ่มของประชากรคอนขางตา่ํ เฉลยี่ รอยละ 0.1 ตอป สว นประเทศท่ีกาํ ลงั พฒั นามอี ตั ราการเพิม่ ของประชากรอยูในเกณฑส ูงเฉลย่ี รอ ยละ 1.5 ตอ ป (2) การเพ่มิ ของจาํ นวนประชากรในชนบท ทาํ ใหผ คู นในชนบทอพยพเขามาหางานทาํ ในเมอื ง เกิด การขยายตัวของชมุ ชนเมืองอยา งรวดเรว็ และย่ิงมกี ารนาํ เทคโนโลยีมาใชใ นการผลิตภาคอุตสาหกรรมมากข้ึนกย็ งิ่ สง ผลใหเ กดิ ปญ หามลพษิ ของสง่ิ แวดลอ มตา งๆ ตามมา (3) การเพ่ิมของจํานวนประชากรสง ผลใหเกิดการแปรรปู ทรัพยากรธรรมชาติเพอ่ื นํามาใชประโยชน สนองความตองการของประชาชนมากยิ่งข้ึน มีการบุกรุกพ้ืนท่ีปาไมเพ่ือนํามาใชเปนพื้นท่ีเกษตรกรรม เชน พื้นท่ีปา ลุม แมน า้ํ อะเมซอน (Amazon) ในทวีปอเมรกิ าใต ซึ่งทําใหท่วั โลกหวัน่ วิตกวาจะเปน การสูญเสยี พ้ืนทป่ี อดของโลก 2.2 ผลกระทบจากการใชว ทิ ยาการและเทคโนโลยี ในปจจุบัน มีการนําเทคโนโลยีท่ีทันสมัยมาใชในการผลิตดานตางๆ อยางกวางขวางท้ังในภาค เกษตรกรรม อุตสาหกรรม และบรกิ าร แตถา นําเทคโนโลยีไปใชอยางไมเหมาะสม อาจสงผลกระทบทําใหเกิดการ สญู เสยี ความอุดมสมบรู ณของทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ มไดด งั เชน (1) การสํารวจ ขุดเจาะ หรือขนสงน้ํามันดิบจากแหลงขุดเจาะในทะเลโดยทางเรือบรรทุกน้ํามัน อาจเกิดอุบัติเหตุทาํ ใหน าํ้ มันร่ัวไหล มีคราบนํ้ามันปนเปอนบริเวณพ้ืนผิวนํ้า เปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตในทะเล และ ทาํ ใหระบบนเิ วศของทอ งทะเลตองเสยี ความสมดุลไป (2) การสรา งเขอื่ นและอา งเกบ็ นํา้ ขนาดใหญ ทําใหส ูญเสยี พน้ื ทป่ี า ไมจ าํ นวนมาก (3) การตั้งโรงงานอุตสาหกรรมอยางหนาแนน ทําใหเกิดมลพิษทางอากาศ เสียง และแหลงนํ้า ตามธรรมชาติ เปนตน โครงการแบรนดซ ัมเมอรแคมป 2010 _____________ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (149)

3. สรุปวกิ ฤตการณดานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ มของโลก 3.1 วิกฤตการดานทรัพยากรธรรมชาติของโลก มดี ังน้ี (1) การตดั ไมทาํ ลายปา และการสญู เสียพืน้ ท่ีปาไม (2) ความเส่อื มโทรมของดนิ และการชะลางพงั ทลายของดนิ (3) การขาดแคลนทรพั ยากรน้ําจืด 3.2 วิกฤตการณด า นสิง่ แวดลอมของโลก (1) การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (ภาวะโลกรอน และช้นั โอโซนถกู ทาํ ลาย) (2) มลพษิ ทางอากาศ (3) หมอกควนั และฝนกรด (4) ปรากฏการณเรอื นกระจก (Green House Effect) (5) ปรากฏการณเ อลนโิ ญ (El Nino) (6) การละลายของธารน้ําแขง็ และภาวะน้ําทวม (7) การเพิม่ ขึน้ ของขยะเทคโนโลยี 4. วิกฤตการณเ กยี่ วกับการตัดไมท าํ ลายปา และการสูญเสยี พื้นทป่ี าไม ปญหาเกย่ี วกับวกิ ฤตการณปา ไมข องโลก สรปุ สาระสําคัญได ดงั น้ี 4.1 การสูญเสียพืน้ ทปี่ าไมข องโลก ในปจจบุ ัน มกี ารสาํ รวจพบวา มกี ารทําลายปาไมในภูมภิ าคตางๆ ของ โลกเฉลยี่ วันละ 390 ตารางกโิ ลเมตร สว นใหญเปน พ้นื ทปี่ าไมใ นเขตรอนและเกดิ ในประเทศกาํ ลังพฒั นา เชน อินโดนเี ซยี พมา และเนปาล ฯลฯ พนื้ ท่ีปาไมข องโลกยงั คงเหลืออยูใ นปจจุบนั มปี ระมาณรอ ยละ 40 ของพ้ืนที่โลก ทง้ั หมดที่เปน พน้ื ดนิ แตมแี นวโนม วา จะลดลงเร่ือยๆ และไมสามารถปลกู ปา ทดแทนใหท นั ได 4.2 สาเหตุของวิกฤตการณก ารตัดไมทําลายปา ในภมู ภิ าคตางๆ ของโลก มดี ังนี้ (1) ความตอ งการใชประโยชนจ ากทดี่ ินเพอ่ื การเกษตรกรรม เนื่องจากการเพ่ิมของจํานวนประชากร ทาํ ใหเ กิดการบกุ รกุ ผืนทป่ี า เพอ่ื ขยายพืน้ ทีเ่ พาะปลูก (2) ความตองการใชไมเพื่อประโยชนทางเศรษฐกิจอื่นๆ เชน นําไมแปรรูปไปสรางท่ีอยูอาศัย เครือ่ งเรือน และอุปกรณเ ครื่องใชต างๆ (3) การพัฒนาความเจริญในดานการชลประทานและคมนาคม มีการสรางเขื่อน อางเก็บนํ้า และ ตัดถนน ทาํ ใหปาไมถ ูกโคน ทําลายจํานวนมาก 4.3 ผลกระทบของวิกฤตการณการตดั ไมท าํ ลายปา การสูญเสียพ้ืนท่ีปาไมจํานวนมากทําใหเกิดผลกระทบตอระบบนิเวศทางธรรมชาติ เชน ทําลาย แหลงตนน้ําลําธาร เกิดการชะลางพังทลายของหนาดิน นํ้าปาจากภูเขาไหลลงมาทวมที่ราบไดงาย ฝนไมตกตอง ตามฤดูกาล และสูญเสยี แหลง ท่อี ยอู าศัยของสัตวปา เปนตน 5. วกิ ฤตการณเกี่ยวกับทรัพยากรดิน ปญ หาเกี่ยวกบั วิกฤตการณทรัพยากรดนิ ของโลก มี 2 ประการ คือ 5.1 ความเสื่อมโทรมของดนิ สภาพดินที่เส่ือมโทรมที่เกิดในภูมิภาคตางๆ ของโลก หมายถึง สภาพดินขาดความอุดมสมบูรณไม เหมาะที่จะนํามาใชเปนพื้นท่ีเพาะปลูกหรือทําเกษตรกรรมอื่นๆ มีความแหงแลง ขาดแรธาตุอาหารในดิน โดยมี สาเหตมุ าจากการนาํ ทรัพยากรดนิ ไปใชป ระโยชนไ มถกู ตอ งและเหมาะสม เชน สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (150) _____________ โครงการแบรนดซ มั เมอรแคมป 2010


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook