Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Brands SO(O-NET)

Brands SO(O-NET)

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-12-09 03:41:57

Description: Brands SO(O-NET)

Search

Read the Text Version

(1) การขุดตักหนาดนิ ในพื้นท่เี กษตรกรรมทอี่ ดุ มสมบรู ณไปถมพนื้ ทท่ี ี่มีการกอสรางอาคารบานเรือน บา นจดั สรร หรอื เขตโรงงานอตุ สาหกรรมในทอ งถน่ิ อ่ืนๆ (2) การใชที่ดินผิดประเภท โดยขยายชุมชนเมืองและแหลงอุตสาหกรรมไปยังพื้นท่ีสีเขียว ซ่ึงเปน แหลงเกษตรกรรมที่มีดินอุดมสมบูรณ ทําใหพื้นท่ีเพาะปลูกในบริเวณใกลเคียงไดรับผลกระทบจากมลพิษของ สง่ิ แวดลอมจากชมุ ชนเมอื ง จึงทาํ ใหด นิ เส่ือมคุณภาพและผลผลิตทางการเกษตรลดปริมาณลง 5.2 การชะลางและการพังทลายของทรพั ยากรดนิ ปญหาการชะลา งและพังทลายของดนิ เปน ปญหาใหญของประเทศเกษตรกรรม โดยเฉพาะประเทศ ในทวีปแอฟริกาและประเทศที่กําลังพัฒนาในภูมิภาคอื่นๆ ของโลก เน่ืองจากขาดความรูความเขาใจ ขาดงบประมาณ และเทคโนโลยีในการปอ งกนั และแกไข (1) สาเหตทุ ท่ี าํ ใหเกดิ ปญ หาการชะลา งและพงั ทลายของดนิ มี 2 กรณี ดังน้ี - ตัวกระทําทางธรรมชาติ เชน ฝน ธารน้ําแข็ง หิมะละลาย กระแสลม และคล่ืนจากแมน้ํา ลําคลอง พัดพาผวิ หนา ดินที่มีแรธ าตุอาหารในดินไปจนหมด ทําใหดินขาดความอดุ มสมบรู ณ - การกระทําของมนษุ ย เชน ตัดไมท ําลายปาและขยายพื้นที่เกษตรกรรม ทําใหหนาดินถูกตัว กระทาํ ทางธรรมชาติ เชน ฝน น้ําปา ฯลฯ ชะลา งผิวหนา ดนิ ไปจนหมด (2) ผลกระทบของปญหา การชะลา งและการพังทลายของดิน ทําใหพ้ืนท่ีเพาะปลูกขาดความอุดม- สมบูรณ ผลผลิตลดปรมิ าณลง เกษตรกรตอ งเสยี คา ใชจ ายซอื้ ปุย บํารงุ ดนิ มากข้นึ และรฐั ตองใชจ า ยงบประมาณใน การปอ งกันและแกไขปญ หาเปน จาํ นวนมาก 6. วกิ ฤตการณเ กี่ยวกับการขาดแคลนทรพั ยากรน้าํ จดื ทรัพยากรนํ้ามีความสําคัญอยางยิ่งตอชีวิตความเปนอยูของมนุษยและสิ่งมีชีวิต ในอนาคตโลกจะ ประสบปญหาขาดแคลนน้ํากินนํ้าใช จนอาจถึงขั้นทําสงครามแยงชิงนํ้าจืดก็เปนได ปญหาวิกฤติการณขาดแคลน ทรัพยากรนํา้ สรปุ ไดด ังน้ี 6.1 ปรมิ าณนาํ้ ในโลก พ้ืนผวิ โลกประมาณรอยละ 71 เปนพื้นน้ํา ไดแก ทะเล มหาสมุทร น้ําในโลกสวน ใหญป ระมาณรอ ยละ 97 จงึ เปน นาํ้ เค็ม สวนทเ่ี หลืออีกรอยละ 3 เปนนํา้ จดื แหลง นํา้ จืดในโลก ประเภทนํา้ บนผิวดิน ประมาณนาํ้ กวา รอยละ 50 เปน แหลงนํ้าจากทะเลสาบนา้ํ จดื รองลงมาเปน นา้ํ ในรปู ความชืน้ ของดิน ไอนํ้าในอากาศ และนํา้ จากแมนา้ํ ลาํ ธาร นอกจากนน้ั ยงั มีแหลงนาํ้ จืดใตดิน แหลงน้ําจืดจากทงุ น้าํ แขง็ และธารน้าํ แข็งบริเวณขัว้ โลก 6.2 ปญหาการขาดแคลนทรพั ยากรน้าํ จดื มีสาเหตดุ งั นี้ (1) การเพิ่มของจํานวนประชากรโลก โดยเฉพาะประเทศกําลังพัฒนาสวนใหญอยูในเขตรอน มีความตองการใชนาํ้ จดื เพอื่ การเกษตรกรรมและอุปโภคบรโิ ภคในปรมิ าณสูง (2) การทําลายแหลงตน น้ําลาํ ธารหรอื แหลง ตน นํา้ จืด โดยตดั ไมทําลายปาบริเวณภเู ขา (3) การทําลายคุณภาพของแหลงน้ําจืด เกิดจากการปลอยน้ําเสียจากแหลงตนกําเนิดนํ้าเสีย 2 ประเภท คือ - แหลงนํ้าทิ้งนํ้าเสียจากยานชุมชนโรงงานอุตสาหกรรม ศูนยการคา ฯลฯ ถูกปลอยลงสู แมน ํ้า ลาํ คลอง โดยมไิ ดผานระบบการบําบัดนํ้าเสยี กอ น - แหลง นํ้าเสยี จากภาคเกษตรกรรม ไดแก น้ําเสียจากหญาเนาในไรนา มีสารเคมีจากปุยและ ยาฆาแมลงตกคางในนาํ้ เม่อื ถกู ปลอ ยลงสูแมนํา้ ลาํ คลองจึงเกิดปญหามลพิษในแหลง นํา้ โครงการแบรนดซ ัมเมอรแ คมป 2010 _____________ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (151)

7. วิกฤตการณเ กย่ี วกบั การเปลีย่ นแปลงของสภาพภมู อิ ากาศ ปญหาวิกฤติการณเกย่ี วกับสภาพภมู อิ ากาศของโลกท่ีแปรเปลี่ยนไปมี 2 กรณี คือ ภาวะโลกรอนหรือมี อุณหภูมสิ ูงขึน้ และปญ หาชั้นโอโซนของโลกถูกทาํ ลาย 7.1 ปญ หาอณุ หภูมิของโลกเพิ่มสงู ขึน้ หรอื ท่ีเรียกวา “ภาวะโลกรอ น” (1) สภาพปญหา นับตั้งแตป พ.ศ. 2531 โลกเริ่มประสบภาวะอากาศรอนหรือมีอุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น ทั้งในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย ยุโรป และอเมริกาเหนือ ทําใหมีผูปวยและเสียชีวิตจํานวนนับหมื่นคน เชน เกิด วิกฤติคลื่นความรอนในประเทศตางๆ ในยุโรป เม่ือเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2546 ระดับอุณหภูมิสูงขึ้นถึง 40 องศา- เซลเซยี ส (2) สาเหตขุ องปญ หา โลกมีอุณหภูมเิ ฉลย่ี เพมิ่ สูงข้ึน เพราะมีการเผาไหมเช้ือเพลงิ จากถานหนิ นา้ํ มนั และกา ซธรรมชาตใิ นปรมิ าณท่ีสงู ทาํ ใหเ กิดแกส คารบอนไดออกไซดแ ละแกสอื่นๆ จากการเผาไหมล อยตวั รวมกันในช้นั ของบรรยากาศ (บางทีเรยี กรวมๆ กนั วา “กา ซเรอื นกระจก”) เม่ือชนั้ ของบรรยากาศมปี ริมาณของกาซดังกลาวสะสมตัวอยูมาก และมีคุณสมบัติดูดซับความ รอนไดดี สงผลใหรังสีความรอนจากดวงอาทิตยท่ีแผยังมาพื้นผิวโลกสะทอนกลับขึ้นไปยังช้ันของบรรยากาศได นอ ยลง ทําใหอ ณุ หภมู ิบริเวณผวิ โลกเพม่ิ สูงขึน้ เรียกวา “ปรากฏการณเ รอื นกระจก” (Green House Effect) (3) ผลกระทบของปญหาอุณหภูมิของโลกเพม่ิ สงู ขนึ้ หรือภาวะโลกรอ น มีดังนี้ - ผคู นเจ็บปว ย เกิดปญหาดานสขุ ภาพ โดยเฉพาะคนชราอาจเสยี ชวี ติ ได - ระดับน้ําทะเลในมหาสมุทรจะสูงกวาระดับปกติ เพราะเกิดจากการละลายตัวของภูเขา น้ําแขง็ ทเี่ กาะกรีนแลนดแ ละบริเวณขว้ั โลก ทาํ ใหเ กาะบางเกาะถกู นา้ํ ทวมจมหายไป - การเพิ่มสูงข้ึนของระดับน้ําทะเลจะสงผลกระทบตอระบบนิเวศชายฝงทะเล เชน พื้นที่ ปา ชายเลนลดลงเพราะถูกน้ําทะเลกัดเซาะ ทาํ ใหแหลง เพาะพนั ธแุ ละอนบุ าลสัตวน ้ําลดลงดวย - น้ําเค็มจากทะเลจะไหลเขาไปผสมกับนํ้าจืดตามแมนํ้าลําคลองและแหลงนํ้าตามธรรมชาติ ตา งๆ เกดิ ผลเสยี หายตอ พ้นื ท่เี พาะปลูก - อุณหภูมิของอากาศเพิ่มสูงขึ้น สงผลใหมีการระเหยของน้ําจากแหลงนํ้าตามธรรมชาติบน พื้นทวปี มากขน้ึ เกิดพืน้ ทีแ่ หง แลงและขาดแคลนน้ําจดื ในการอุปโภคและบริโภค 7.2 ชน้ั โอโซนของโลกถูกทําลาย (1) สภาพปญ หา มีการนําสารคลอโรฟลอู อโรคารบอน หรือสาร CFC (Chlorofluoro Carbon) มา ใชในอตุ สาหกรรมตางๆ อยา งกวางขวาง ไดแก อุตสาหกรรมเครื่องทําความเย็น โฟม พลาสติก และสเปรยบรรจุ กระปองตา งๆ ในปห นึ่งๆ โลกจะปลอ ยสาร CFC สบู รรยากาศไมนอ ยกวา 5-8 แสนตนั เม่ือสาร CFC ลอยขึ้นสูบรรยากาศไปรวมตัวอยูในชั้นโอโซน (Ozone Layer) อยูหางจาก พืน้ ผิวโลกประมาณ 20 ไมล เปนชั้นบรรยากาศท่ีมีกา ซออกซิเจนเกิดขน้ึ ตามธรรมชาติและหอ หุม โลกอยู สาร CFC จะไปทําปฏกิ ิรยิ ากับรังสอี ลั ตราไวโอเลต (UV) จากดวงอาทติ ย ทาํ ใหความหนาของช้ันโอโซนลดลง และเปนผลให รังสยี ูวีแผมายังพนื้ โลกไดม ากขึน้ (2) ผลกระทบท่ีเกิดขึ้นกับโลก ทําใหผิวโลกไดรับรังสีอุลตราไวโอเลตเขมขนกวาปกติและเกิด อนั ตรายตอมนุษยได เชน เกิดโรคมะเรง็ ผวิ หนงั ผิวหนงั เกรียมไหม หรือทาํ ลายเยือ่ ตา ฯลฯ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (152) _____________ โครงการแบรนดซ มั เมอรแ คมป 2010

8. วกิ ฤตการณเกย่ี วกบั มลพษิ ทางอากาศ ปญหาวกิ ฤตเกยี่ วกับมลพิษทางอากาศหรืออากาศเปนพิษของโลก ไดแก ควัน ฝุนละออง และแกสพิษ ในอากาศ ซ่งึ เปน อนั ตรายตอ มนษุ ยแ ละส่ิงมชี วี ิต มีสาระสาํ คัญ ดังน้ี 8.1 สภาพปญ หา มลพษิ ทางอากาศเปนปญ หาใหญของประเทศอตุ สาหกรรมชน้ั นําของโลก ดังเชน สหรฐั อเมรกิ าไดช ือ่ วา เปน ประเทศทีป่ ลอยแกสพิษในอากาศมากท่สี ดุ ในโลก โดยเฉพาะแกส คารบ อนไดออกไซดมี ปริมาณถงึ รอ ยละ 36 ของโลก 8.2 สาเหตขุ องมลพิษทางอากาศ มีดงั น้ี (1) ควันพิษจากโรงงานอตุ สาหกรรม (2) แกสพิษหรือไอเสียจากรถยนต รถประจําทาง และรถจักรยานยนต ฯลฯ โดยเฉพาะแกส คารบอนไดออกไซด เปน อันตรายตอ มนษุ ยอ ยา งมาก (3) สารคลอโรฟลอู อโรคารบอน (CFC) ท่ีใชใ นอตุ สาหกรรมบางประเภทจะเปนตวั การทาํ ลายความ เขมขนของชนั้ โอโซน ทาํ ใหร ังสีอลั ตราไวโอเลต (UV) จากดวงอาทิตยส องมายงั พ้ืนผิวโลกมากข้นึ 8.3 ผลกระทบของปญ หามลพิษทางอากาศ มีดงั น้ี (1) แกสพิษและควันพิษเปนอันตรายตอสุขภาพของมนุษย โดยสะสมอยูในปอดและอวัยวะสวน ตางๆ ของรา งกาย ทําใหร า งกายออนแอและเกดิ โรคภัยไขเ จบ็ ไดงา ย (2) สาร CFC เปน สาเหตทุ าํ ใหรงั สีอัลตราไวโอเลต (UV) ทําอนั ตรายตอผิวหนังของมนุษย ผิวหนัง อกั เสบ และเกิดโรคมะเร็งผิวหนังได เปนตน 9. วิกฤตการณเ กี่ยวกบั หมอกควันและฝนกรด หมอกควันและฝนกรด เปน มลพิษของสิ่งแวดลอ มอกี ประเภทหน่ึงทเ่ี ปนอันตรายตอมนษุ ย สรุปไดด งั น้ี 9.1 หมอกควัน ปญ หาหมอกควนั คอื มลพษิ ที่เกิดจากการรวมตัวผสมผสานระหวางหมอกตามธรรมชาติกับหมอก ควันทมี่ าจากทอ ไอเสยี ของรถยนต มกั จะเกดิ ระดบั ใกลพ นื้ ดนิ ในเมอื งใหญท ่ีมีการจราจรหนาแนนและมียานพาหนะ คบั คงั่ เมอ่ื สูดดมเขา ไปมากๆ จะเจ็บปวย เชน หายใจตดิ ขดั ดวงตาคันและอกั เสบ ฯลฯ 9.2 ฝนกรด (1) มลพิษของสิ่งแวดลอม ท่ีเรียกวา “ฝนกรด” เกิดจากควันพิษหรือแกสซัลเฟอรไดออกไซดท่ี ปลอยออกมาจากรถยนตและโรงงานอุตสาหกรรม เมื่อลอยขึ้นสูบรรยายจะเปล่ียนรูปเปนกรดซัลฟูริกและ ไนตรกิ จนกระทง่ั ผสมผสานกับฝนหรือหิมะจงึ กลายสภาพเปน “ฝนกรด” ในท่ีสดุ (2) อันตรายจากฝนกรด มีดังน้ี - เมื่อไหลลงสแู มนํ้า ทะเลสาบ ทะเล และมหาสมุทร จะทําใหเกิดการสะสมตัวของกรดท่ีเปน สารพิษในน้ําและเปนอันตรายตอ สิง่ มชี วี ติ ทําลายคณุ ภาพของน้ํา ทําลายอาหารของสัตวน้ํา แหลงท่ีอยูอาศัยของ สตั วน ํา้ และแหลง เพาะพนั ธุส ตั วน ้ํา ฯลฯ - เม่ือตกลงสูพื้นดิน จะกัดกรอนแรธาตุอาหารในดิน ทําใหดินลดความอุดมสมบูรณ และ ทาํ ลายใบพชื ใหไ ดร บั ความเสียหาย - เมื่อตกลงมาบริเวณส่ิงกอสรางที่เปนหินปูน เชน รูปปน สะพาน ฯลฯ จะทําใหเกิดการ สึกกรอนได โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _____________ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (153)

10.ปรากฏการณเรอื นกระจก (Green House Effect) วิกฤตการณดานส่ิงแวดลอมของโลก ท่ีเรียกวา “ปรากฏการณเรือนกระจก” เปนเรื่องเดียวกับการ เปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (ดูเน้ือหาสรุปขอ 7 ของบทน้ี ไดแก ภาวะโลกรอนและบรรยากาศช้ันโอโซนถูก ทาํ ลาย) 10.1 ความหมายของ “ปรากฏการณเรือนกระจก” (Green House Effect) เปนภาวะที่โลกรอนหรือมี อุณหภูมสิ ูงขึน้ เรือ่ ยๆ เน่ืองจากช้ันบรรยากาศที่หอหุมผิวโลกอยูจะยอมใหแสงแดดหรือแสงอัลตราไวโอเลต (UV) จากดวงอาทติ ยผา นไปยังผิวโลกไดบางสว น และเกบ็ ความรอนอีกสวนหนึ่งไวทําใหอุณหภูมิช้ันบรรยากาศของโลก เพมิ่ สูงขนึ้ หรือเกิดภาวะโลกรอน 10.2 สาเหตทุ ี่ทําใหเ กิดปรากฏการณเ รอื นกระจก มดี งั นี้ (1) มนุษยเปนผูกระทําใหเกิด “กาซเรือนกระจก” แกสคารบอนไดออกไซดและแกสมีเทน โดย การตดั ไมทาํ ลายปาและการเผาไหมของถานหนิ น้ํามนั และกาซธรรมชาติ (2) กา ซเรอื นกระจกเปนตัวการทําใหชั้นบรรยากาศของโลกมีอุณหภูมิเพ่ิมสูงข้ึน โดยกอตัวขึ้นใน ช้ันบรรยากาศที่หอหมุ โลก และเกบ็ กกั ความรอนจากรงั สีอลั ตราไวโอเลตไวบริเวณใกลพ้ืนโลก อีกทั้งยังทําใหความ รอ นทแ่ี ผรงั สจี ากพ้นื โลกระบายสูบรรยากาศชน้ั สงู ๆ ไมไ ดอ กี ดว ย ทาํ ใหโ ลกมอี ุณหภมู เิ พ่มิ สูงข้ึน หรือเกิดภาวะโลกรอน (3) ช้ันบรรยากาศของโลกหรือโอโซน (Ozone Layer) ถูกทําลาย เพราะการใชสารคลอโรฟลูออโร- คารบ อน (CFC) ในวงการอุตสาหกรรม สารน้จี ะไปทาํ ลายชนั้ บรรยากาศหรือชั้นโอโซนโดยลดความเขมหรือความ หนาของชั้นโอโซนใหนอยลง เปนผลใหร ังสีอลั ตราไวโอเลตแผม ายังโลกไดมากขนึ้ โลกจงึ รอนขนึ้ เรื่อยๆ 10.3 ผลกระทบจากปรากฏการณเรือนกระจก เม่ืออุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงข้ึนเร่ือยๆ จะเกิดอันตราย ตอ โลกมนษุ ยแ ละสงิ่ มีชีวิตในระยะยาว สรุปไดดังนี้ (1) ผลกระทบตอสัตวและส่ิงมีชีวิตตางๆ เชน สัตวปาจะลดการแพรพันธุ หรือเกิดโรคระบาด ทําใหส ตั วปา บางชนดิ สญู พันธุ นา้ํ ในดนิ จะระเหยมากขึ้น ความชมุ ชื้นในดนิ ลดลง ตนไมเ ห่ยี วเฉา และเผชิญกับภัยแลง (2) ผลกระทบตอสุขภาพอนามัยของมนุษย เชน เช้ือมาลาเรียแพรระบาด แมลงวันท่ีเปนพาหะ นําโรคในเขตรอนจะแพรพันธุอ ยา งรวดเร็ว (3) การเปล่ียนแปลงทางกายภาพของพ้ืนผิวโลก เชน การขยายตัวของพ้ืนท่ีแหงแลง หรือเขต ทะเลทรายมีมากข้นึ 11.ปรากฏการณเ อลนโิ ญ (El Nino) 11.1 ความหมายของ “ปรากฏการณเ อลนโิ ญ” เปนสภาพความแปรปรวนของลมฟาอากาศท่เี กดิ ข้นึ ใน มหาสมทุ รแปซิฟกทางซกี โลกใต ประมาณเดอื นธันวาคม ซ่งึ เปนชว งเวลาทีซ่ กี โลกใตเ ปน ฤดรู อ น ลักษณะความแปรปรวนดังกลาว ไดแก อุณหภูมิบนพื้นผิวนํ้าในมหาสมุทรแปซิฟกทางซีกโลกใต เพม่ิ สูงข้นึ ดินแดนท่เี คยมีฝนตกชกุ กลบั แหงแลง บางพืน้ ทม่ี ฝี นตกหนักจนทว ม และดนิ แดนบางแหงกลับมีอุณหภูมิ ของอากาศเพิ่มสูงข้ึนเรื่อยๆ สภาพความผันผวนของอากาศดังกลาวไมอาจคาดการณไดลวงหนาวาจะเกิดข้ึนที่ใด และมีลักษณะอยา งไร 11.2 ดินแดนท่ีไดรบั ผลกระทบจากปรากฏการณเ อลนิโญ ไดแก ภาคใตข องสหรัฐอเมรกิ า ประเทศเปรู บรเิ วณชายฝง (มหาสมุทรแปซฟิ ก ) ดานตะวันตกของทวปี ออสเตรเลยี หมเู กาะอนิ โดนเี ซยี และประเทศตางๆ ใน เอเชียใต สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (154) _____________ โครงการแบรนดซ ัมเมอรแ คมป 2010

11.3 ชือ่ เรยี กตามสถานท่เี กดิ ของเอลนโิ ญ อาจพบช่อื เรียกเปน อยางอ่นื ของเอลนิโญ ดงั นี้ (1) ลานญิ า (La Nina) เกดิ ในแถบเสนศนู ยสูตร หมเู กาะประเทศอนิ โดนเี ซยี (2) เอนโซ (ENSO) เกิดในแถบมหาสมทุ รแปซิฟก ทางซีกโลกใต 11.4 ผลกระทบของปรากฏการณเ อลนิโญทมี่ ตี อโลก (1) ลักษณะภมู อิ ากาศเปลย่ี นแปลง เชน เกาะบางแหง ในประเทสอนิ โดนเี ซียท่เี คยมีฝนตกชกุ กลับกลายเปนพื้นท่อี บั ฝนแหงแลง และเกิดไฟไหมปา รวมท้งั อุณหภูมิในภูมิภาคอน่ื ๆ เพิ่มสูงขึน้ เปน ตน (2) อุณหภมู ิของกระแสนาํ้ อนุ ในมหาสมุทรเพม่ิ สูงขึน้ และพ้นื ท่ีของกระแสนํ้าอุนในมหาสมุทร แปซิฟก ขยายกวา งมากข้ึน ทําใหส ัตวนํา้ ทป่ี รับตวั ไมทนั จะตายจํานวนมากและสงผลกระทบตอ แหลงอาหารของสตั ว (3) ภยั ธรรมชาติ เอลนโิ ญทําใหเกิดฝนตกหนกั ในพนื้ ที่ท่ีเคยแหงแลงจนเกิดนา้ํ ทว มฉับพลัน สูญเสยี ท้ังชวี ติ ผคู นและทรัพยส นิ และบางที่กลบั เกดิ ความแหงแลงอยางหนกั (4) อุณหภมู ขิ องนานน้ําในมหาสมุทรเพ่ิมสูงขึ้น เคยมีปรากฏวาอุณหภูมิเหนือผิวนํ้าของมหาสมุทร แปซฟิ ก ในแถบเสนศนู ยส ตู รเพิ่มสงู ขึ้นจากเดิม 1 องศาเซลเซียส ทําใหเกิดพายุฝนกระหน่ําอยางรุนแรงในประเทศชิลี เกดิ ฝนตกหนกั จนมีผเู สยี ชวี ติ จํานวนมาก (5) พืชผลทางการเกษตรไดรบั ความเสยี หาย โดยเฉพาะพชื อาหารท่ีมีอายุสน้ั ตาม ฤดูกาล เชน ขา ว ขา วโพด ขา วสาลี ฯลฯ เนื่องจากฝนไมตกตองตามฤดูกาล ฝนท้ิงชว ง หรือน้ําทวม (6) ความสมดุลของระบบนิเวศตามธรรมชาติสูญเสยี ไป เนอื่ งจากความแปรปรวนของสภาพ ภูมอิ ากาศและอณุ หภูมิของนานนํา้ ยอ มสงผลกระทบตอสตั วนํ้าและสง่ิ มีชวี ติ ในทะเลและทรพั ยากรประมงของมนษุ ย 12.การละลายของธารนํา้ แขง็ และภาวะนํา้ ทวม 12.1 สาเหตกุ ารเกดิ วกิ ฤตการณสง่ิ แวดลอมจากการละลายของธารนา้ํ แข็งและภาวะนาํ้ ทวมเปน ผลกระทบของ “ปรากฏการณเรอื นกระจก” ซ่ึงทําใหโลกรอนหรอื มอี ุณหภมู เิ พ่ิมสงู ขน้ึ เรอ่ื ยๆ จนเปน สาเหตุทาํ ให ธารน้าํ แข็ง บริเวณข้วั โลกละลายตัวอยา งรวดเรว็ กวา ปกติ 12.2 ผลกระทบท่ีเกดิ ขึน้ เม่อื ธารนาํ้ แขง็ ในแถบข้วั โลกใตแ ละขัว้ โลกเหนือละลายตัวจากการภาวะโลกรอน กอ ใหเ กิดผลกระทบตอโลก ดงั นี้ (1) ระดับนํ้าทะเลสูงข้ึน เกิดนาํ้ ทว มชายฝง ทะเล ชายหาด เกาะ ฯลฯ ทาํ ใหม นษุ ยสญู เสียพน้ื ที่ ประกอบกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ตางๆ เชน แหลง ทอ งเท่ยี ว แหลงที่อยูอาศยั เปน ตน (2) เกดิ นาํ้ ทว มใหญอ ยา งฉับพลัน ภาวะโลกรอ นจะทําใหหิมะบนเทือกเขาหิมาลัยและภเู ขานา้ํ แข็ง ในแถบเอเชยี ใตล ะลาย เกดิ การขยายตัวของพื้นทที่ ะเลสาบและเกดิ น้ําทวมใหญใ นอินเดีย จนี เนปาล ฯลฯ ซึ่ง ปญหาน้ีเคยเกดิ ในทวีปยุโรปมาแลว เมอ่ื ป พ.ศ. 2545 มผี ูคนเสยี ชวี ติ จาํ นวนมาก (3) พื้นที่เกษตรกรรมไดร บั ความเสียหายจากภาวะนา้ํ ทวม มนษุ ยสญู เสยี แหลง อาหาร และเกดิ ผลกระทบ ตอ เศรษฐกิจของประเทศ (4) สภาพแวดลอมที่อยอู าศยั และแหลงอาหารของสัตวในทองถน่ิ เปล่ยี นแปลงไป ทาํ ใหนกเพนกวิน หมขี ั้วโลก และแมวน้ํา ตองอพยพไปหาท่ีอยแู ละแหลงอาหารใหม (5) การต้ังถนิ่ ฐานและวิธีการดําเนินชวี ติ ของชนเผาในแถบข้ัวโลกตองเปลีย่ นแปลงไป ไดแก ชนเผา เอสกิโม (Eskimo) ในทวปี อเมริกาเหนือ และชนเผา แลปป (Lappes) ในทวปี ยโุ รป โครงการแบรนดซ มั เมอรแคมป 2010 _____________ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (155)

(6) เกดิ ภยั ธรรมชาติจากหิมะถลม ดังเหตกุ ารณที่เกิดทางภาคใตข องรัสเซีย เมอื่ พ.ศ. 2454 เม่ือ ธารน้ําแข็งในเขตเทอื กเขาคอเคซัส (Caucasus) ละลาย ทาํ ใหช ้นั กอ นนาํ้ แขง็ บนเทอื กเขาเกดิ รอยรา วยาวนับรอย กิโลเมตร ทําใหตนไมแ ละหิมะถลม ลงมาทับบา นเรือนผคู นและมีผเู สยี ชีวิตจํานวนมาก (7) แผนทโี่ ลกและลกั ษณะทางภมู ศิ าสตรข องทวปี ตางๆ จะเปลยี่ นแปลงไปจากเดิมเมอื่ เกดิ นาํ้ ทวม เชน พนื้ ท่ีชายฝงทะเล เกาะ และทะเลสาบ 13.การเพม่ิ ขน้ึ ของขยะเทคโนโลยี 13.1 ขยะเทคโนโลยี หมายถึง ซากสินคาอิเลก็ ทรอนิกสที่เสียหรือหมดอายุใชงานแลวจากประเทศ อุตสาหกรรม ไดแ ก จอคอมพวิ เตอร เครือ่ งถา ยเอกสาร และเครอ่ื งใชไฟฟาตางๆ โดยขนสงทางเรือและลักลอบ นาํ มาทิ้งในประเทศในทวปี เอเชยี เนื่องจากเสียคาใชจายถูกกวาการกําจัดขยะพษิ ดังกลา วในประเทศของตนเอง 13.2 ผลกระทบจากปญ หาขยะเทคโนโลยี มกี ารถอดอะไหล ชิน้ สว นหรอื โลหะเพือ่ นํากลบั ไปใชใ หม แต ซากท่ีเหลือจะปลอยท้งิ ไวเปน กองขยะ ซ่ึงมีสารพิษตกคางและเปนอนั ตรายตอสภาพแวดลอมและสขุ ภาพรางกาย ของมนุษยโ ดยตรง เชน สารปรอท สารแคดเมย่ี ม และสารตะกวั่ เปนตน การแกไขวกิ ฤตการณดา นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ มของโลก 1. บทบาทขององคก ารสหประชาชาติในการแกไ ขปญ หาส่งิ แวดลอ มโลก องคการสหประชาชาติ (UN) เปน ผูร ิเร่มิ แกไขปญหาวกิ ฤตกิ ารณดานสง่ิ แวดลอมของโลก สรุปสาระสาํ คัญ ดงั น้ี 1.1 ปญ หาวกิ ฤตดา นส่งิ แวดลอมของโลกท่ีสหประชาชาติใหค วามสําคญั มากทส่ี ดุ ไดแ ก ปญหาการ ทําลายทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอมท่สี ง ผลกระทบตอภาวะขาดแคลนอาหาร ปญ หาดา นพลังงาน ปญ หา การเพ่มิ ของจาํ นวนประชากร และปญ หามลพิษภาวะของสง่ิ แวดลอ มตางๆ 1.2 การประชุมสหประชาชาติเรอ่ื ง “สิง่ แวดลอมของมนุษย” ณ กรงุ สตอ็ กโฮลม ประเทศสวีเดน ป 2515 เปน จุดเริม่ ตน ของความรว มมอื ระหวางประเทศในการแกไ ขปญ หาสงิ่ แวดลอ มของโลกทป่ี ระชุมกาํ หนดใหวันที่ 5 มิถนุ ายนของทกุ ปเปน “วนั ส่ิงแวดลอ มโลก” (World Environment Day) 1.3 ผลการประชมุ เร่อื งสง่ิ แวดลอมของมนษุ ย พ.ศ. 2515 ทําใหท ่ัวโลกต่นื ตวั และใหความรวมมอื ใน การแกไขปญ หาสง่ิ แวดลอมทเี่ กดิ ข้นึ ในขณะนน้ั ไดเกดิ องคก รสาํ คัญในสหประชาชาติที่เกย่ี วของ เชน องคการ อุตุนยิ มวทิ ยาโลก (WMO) และกลมุ องคกรอสิ ระของภาคเอกชน คอื กลมุ กรีนพีช (Green Peace) เปนตน 2. การประชมุ “เอริ ต ซัมมติ ” (Earth Summit 1992) เพอ่ื แกไ ขปญ หาวกิ ฤติการณส ิง่ แวดลอม 2.1 การประชุม “เอิรตซัมมิต” (Earth Summit 1992) พ.ศ. 2535 ณ กรุงริโอเดอจาเนโร ประเทศ บราซิล เปน การประชุมท่สี หประชาชาติจัดขึ้นเกี่ยวกับปญหาสง่ิ แวดลอ ม มกี ารกาํ หนดแผนแกไขปญหาเพ่ือใหประเทศ สมาชิกนําไปปฏิบตั ิ เรียกวา “แผนปฏบิ ัติการ 21 เพือ่ การพฒั นาอยางยง่ั ยืน” 2.2 การประชุม “เอริ ต ซัมมติ ” (Earth Summit 2002) พ.ศ. 2545 ณ กรงุ โจฮนั เนสเบิรก ประเทศ แอฟรกิ าใต เปน การประชมุ เพ่อื สานตอ ความรว มมือระหวางประเทศสมาชกิ ในการแกไ ขปญ หาสิง่ แวดลอ มและการ พัฒนาอยางย่ังยนื ของสหประชาชาติ 3. การเปลยี่ นแปลงสภาพอากาศของโลกและปญหาปรากฏการณเ รอื นกระจก 3.1 “ปรากฏการณเ รือนกระจก” (Green House Effect) เปนปญหาวิกฤติดานสิ่งแวดลอ มทีอ่ งคกร สหประชาชาติสงั เกตพบเปนเวลานานกวา 50 ปมาแลว เกดิ จากการปลอ ยกาซเรือนกระจกขน้ึ สชู ั้นบรรยากาศ โดยเฉพาะแกส คารบ อนไดออกไซด ซง่ึ เกดิ ในประเทศท่พี ฒั นาแลวเปน สวนใหญ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (156) _____________ โครงการแบรนดซมั เมอรแคมป 2010

3.2 ผลของปรากฏการณเรอื นกระจก ทาํ ใหเ กดิ การเปลย่ี นแปลงในสภาพอากาศของโลก เชน เกดิ ภาวะโลกรอ น อณุ หภมู ิของผวิ โลกและระดับนํ้าทะเลเพ่มิ สงู ขึ้น สภาพลมฟาอากาศแปรปรวนไปจากเดิม เชน เกดิ นํา้ ทวม ฝนแลง และคลนื่ ความรอนปกคลมุ เปน ตน ปญ หาความเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศดงั กลาว จะเกิดผลกระทบตอ ประเทศทก่ี าํ ลงั พัฒนา มากที่สดุ เชน ทําใหผ ลผลติ ทางการเกษตรในเขตรอ นไดรับความเสียหาย ขาดแคลนอาหาร และเกิดการระบาด ของไขเ ลือดออกและโรคมาลาเรีย เปนตน 4. ขอตกลงหรือพธิ ีสารเกยี วโต 4.1 “พิธีสารเกยี วโต” เปนขอ ตกลงหรอื สนธสิ ัญญาระหวางประเทศเพ่อื แกไ ขปญ หาวกิ ฤตดา นสงิ่ แวดลอ ม ของโลกท่เี กดิ จากการปลอยกาซเรือนกระจก จากการประชุมรวมกนั ของชาติอุตสาหกรรมท่วั โลก 55 ประเทศ ณ กรงุ เกียวโต เมืองหลวงเกา ของญป่ี นุ เมื่อ พ.ศ. 2540 4.2 สาระสําคัญของพิธีสารเกยี วโต คือ มงุ ใหประเทศอตุ สาหกรรมลดการปลอยแกส เรือนกระจก หรือลดอัตราการเผาไหมข องแกส คารบอนไดออกไซดใหน อ ยลง จนถึงระดบั ท่ีไมก อใหเ กิดอนั ตรายตอสิ่งแวดลอ ม ของโลก 4.3 ความลมเหลวของพิธีสารเกยี วโต สหรฐั อเมริกาเปน ชาตเิ ดียวท่ีปฏเิ สธการใหส ตั ยาบนั ในพิธสี าร เกียวโต เนื่องจากเปนประเทศอตุ สาหกรรมทีป่ ลอ ยแกส คารบอนไดออกไซดจํานวนมากทส่ี ดุ ประมาณรอ ยละ 36 ของโลก โดยอา งวาไมเ กิดผลดีตอการประกอบอตุ สาหกรรมของตน 5. กฎหมายระหวา งประเทศในการแกไ ขวิกฤติการณดานทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ ม ในปจจุบนั มีกฎหมายระหวางประเทศที่นานาชาตไิ ดประชุมกําหนดขอ ตกลงรวมกนั เพอ่ื วางมาตรการ แกไขปญหาวิกฤติการณด านทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ มของโลก ดงั นี้ 5.1 อนุสญั ญาไซเตส (CITES) เปนขอตกลงทางการคา ระหวา งประเทศ เพอื่ ปอ งกนั มใิ หม กี ารคา สัตวป า และพนั ธพุ ืชทีห่ ายากและใกลจ ะสูญพันธุ 5.2 อนสุ ญั ญาเวียนนา (Vienna Convention) และพธิ ีสารมอลทรีออล (Montreal Protocol) เปน ขอ ตกลงระหวา งประเทศเพ่อื ปอ งกันและแกไขปญหาโอโซนของโลกถกู ทําลาย 5.3 อนุสญั ญาสหประชาชาติวา ดว ยการเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ (UNFCCC) เปน ขอ ตกลง ระหวางประเทศเพอื่ ลดปรมิ าณการปลอ ยกา ซเรือนกระจก และแกไ ขปญ หาภาวะโลกรอ น 5.4 อนสุ ัญญาวาดว ยความหลากหลายทางชวี ภาพ (BDC) เปน ขอ ตกลงระหวางประเทศเพอ่ื อนรุ กั ษ ความหลากหลายทางชีวภาพ และนาํ ไปใชป ระโยชนอยา งยง่ั ยืน ปองกันการตัดไมทาํ ลายปาทน่ี ําไปสกู ารทําลาย ระบบนิเวศและสรางมลภาวะตอสิ่งแวดลอ ม 5.5 อนสุ ญั ญาบาเซลิ (Basel Convention) เปนขอตกลงระหวางประเทศเพื่อปองกันการถายเทกาก ของเสียอนั ตรายหรือสารเคมเี ปนพิษ จากประเทศอุตสาหกรรมที่พัฒนาแลวไปสูประเทศท่ีกําลังพัฒนา ซ่ึงกอใหเกิด การกระจายมลพษิ และเปนอนั ตรายตอ ประชาชนในประเทศกําลังพัฒนา 6. อนสุ ัญญาไซเตส อนสุ ัญญาไซเตส (CITES: Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora) หรืออนุสัญญาวาดวยการคาระหวางประเทศ ท่ีเก่ียวกับชนดิ สตั วป า และพชื ที่ใกลจะสญู พันธุ เปน ผลจากการประชมุ นานาชาตทิ ีก่ รุงวอชงิ ตนั ดี.ซี สหรฐั อเมรกิ า โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _____________ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (157)

6.1 วตั ถปุ ระสงคข องอนุสญั ญาไซเตส คอื ควบคุมการคา ระหวา งประเทศเกย่ี วกบั สัตวปา และพชื ปาทใ่ี กล จะสูญพนั ธุ เพอื่ ปอ งกันมใิ หมีการนําสตั วปาหรอื พืชปา มาใชประโยชนใ นทางการคาจนเปน เหตใุ หสูญพนั ธไุ ปจากโลกได 6.2 มาตรการดําเนนิ การ เชน ออกใบอนุญาตในการนําเขา และสง ออก หรือจดั ทําบญั ชีรายชอ่ื ชนดิ ของสัตวป า หรอื พชื ปาท่ใี กลจะสูญพันธุ เพอ่ื หา มสง ออกหรือนําเขาระหวางประเทศ เปนตน 6.3 ประเทศท่ีใหสตั ยาบนั ในอนสุ ัญญาฯ มี 150 ประเทศ (รวมท้งั ประเทศไทย) 7. อนุสัญญาเวยี นนาและพธิ สี ารมอนทรีออล อนสุ ญั ญาเวียนนา (Vienna Convention) และพธิ ีสารมอนทรอี อล (Montreal Protocol) เกิดจาก การประชุมนานาชาติทก่ี รงุ เวียนนา ประเทศออสเตรเลีย ในป พ.ศ. 2528 และการประชมุ ทีเ่ มืองมอนทรี ออล ประเทศแคนาดา ในป พ.ศ. 2530 โดยสหประชาชาติเปน ผดู ําเนินการ 7.1 วัตถุประสงค เปน ขอ ตกลงระหวา งประเทศเพื่อแกไขปญ หาช้ันโอโซนของโลกถูกทาํ ลาย ซง่ึ เกิด จากการใชสารทําลายชน้ั โอโซนในวงการอตุ สาหกรรม เชน สาร CFC สารฮาลอน (Halon) และสารเมทิลโบรไมด เปน ตน ขอ ตกลงนป้ี ระเทศสมาชิกจะตอ งยกเลกิ การใชสารดังกลาวใหห มดสน้ิ ภายในเวลากําหนด (ประเทศไทย กําหนดภายใน ป พ.ศ. 2553) 7.2 ประเทศที่ใหส ัตยาบันในอนุสัญญาฯ มี 176 ประเทศ (รวมทั้งประเทศไทย) 8. อนุสัญญาสหประชาชาติวา ดวยการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ อนสุ ญั ญาสหประชาชาตวิ า ดวยการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ (UNFCCC: The United National Framework Convention on Climate Change) เกิดจากสหประชาชาติไดจ ดั ใหมกี ารประชมุ เร่อื งเก่ียวกบั สิ่งแวดลอมและการพฒั นา ณ กรงุ ริโอเดอจาเนโร ประเทศบราซลิ 8.1 วัตถปุ ระสงค เปนขอ ตกลงระหวางประเทศ เพ่อื ลดปรมิ าณการปลอยกา ซเรือนกระจกจากการ กระทําของมนษุ ย มใิ หมากจนถงึ ระดบั ทีเ่ กดิ อนั ตรายตอช้ันบรรยากาศของโลก 8.2 ประเทศที่ใหสตั ยาบันในอนุสัญญาฯ มี 184 ประเทศ (รวมท้งั ประเทศไทย) 9. อนุสัญญาวา ดว ยความหลากหลายทางชวี ภาพ อนุสัญญาวา ดว ยความหลากหลายทางชวี ภาพ (BDC: The Biological Diversity Convention) เปน ผลการประชมุ วา ดวยเร่ืองสิ่งแวดลอมและการพฒั นา ซงึ่ สหประชาชาติเปนผจู ดั ดาํ เนินการ ณ กรุงริโอเดอจาเนโร ประเทศบราซลิ เมอ่ื พ.ศ. 2535 9.1 วตั ถุประสงค เปนขอ ตกลงระหวา งประเทศ เพอ่ื อนรุ กั ษค วามหลากหลายทางชีวภาพ การใชประโยชน จากความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยนื และการแบงปนผลประโยชนท ี่ไดจากพนั ธุกรรม อนสุ ัญญาฯ นม้ี งุ ปอ งกนั และแกไ ขปญหาการตัดไมทาํ ลายปา ทีน่ ําไปสกู ารทําลายระบบนิเวศทาง ธรรมชาตแิ ละสรางมลภาวะตอส่ิงแวดลอมของโลก ซงึ่ เกิดจากการดําเนนิ กิจกรรมตา งๆ ของมนุษย 9.2 ประเทศทใ่ี หสัตยาบนั ในอนสุ ัญญาฯน้ี มี 178 ประเทศ (รวมทั้งประเทศไทย) 9.3 การดาํ เนนิ งานของประเทศไทยตามอนุสัญญาฯ ไดแก จดั ทาํ นโยบายอนุรักษและใชป ระโยชนจาก ความหลากหลายทางชีวภาพอยางยงั่ ยนื จดั ต้ังและอนรุ ักษเขตอุทยานแหง ชาติ และโครงการพฒั นาปาชุมชน เปนตน 10.อนุสญั ญาบาเซลิ หรอื อนสุ ัญญาวาดวยการควบคุมการเคลื่อนยายและการกําจัดของเสียอันตราย ขามแดน (The Control of Transboundary movements of Hazardous Wastes and their Disposal Convention or Basel Convention) สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (158) _____________ โครงการแบรนดซัมเมอรแ คมป 2010

10.1 ความเปนมา อนสุ ัญญาบาเซิล (Basel Convention) เกิดจากความคิดริเร่ิมของสหประชาชาติท่ี จะแกไขปญหาการถายเทกากของเสียอันตรายจากประเทศอุตสาหกรรมท่ีพัฒนาแลวไปสูประเทศที่กําลังพัฒนา ประเทศสมาชกิ รว มลงนามรับหลักการในการประชมุ ท่ีเมืองบาเซลิ ประเทศสวติ เซอรแ ลนด เม่ือป พ.ศ. 2532 10.2 วัตถุประสงค เปนขอตกลงระหวางประเทศเพื่อควบคุมการขนสงสารเคมีอันตรายขามพรมแดน และควบคุมการกําจัดกากของเสียอันตรายโดยผลักดันจากประเทศอื่นๆ อยางผิดกฎหมาย เพื่อปองกันมิใหเกิด อนั ตรายตอ มนษุ ยและสิง่ แวดลอม ท้ังนี้ หากมีการขนสงโดยผิดกฎหมาย โดยแจงความเท็จ หรือปกปด ซอนเรน หรือปฏิบัติไม ถูกตองตามสัญญา จะตองนํากลับหรือถูกสงกลับไปยังประเทศผูสงออก หรือถาหากมีอุบัติภัยเกิดจากการรั่วไหล จากกากของเสียอันตรายดังกลาวจนเกิดผลเสียหายตอสภาพแวดลอม ผูกระทําผิด (ภาคเอกชน) จะตองชดใช คา เสียหายใหแ กป ระเทศนั้นๆ 1. องคก รภาครฐั ในสวนกลางในการจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอม องคกรภาครัฐหรือหนวยงานของทางราชการท่ีมีบทบาทในการบริหารและจัดการเกี่ยวกับ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมของประเทศไทยโดยตรง คือ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม จัดต้งั ข้นึ เมื่อ พ.ศ. 2545 มสี าระสําคญั สรปุ ไดด งั นี้ 1.1 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม มีอํานาจและหนาท่ีหลัก คือ การสงวนอนุรักษ และฟน ฟทู รัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ มของประเทศ และจัดการใหนําไปใชประโยชนอยา งย่ังยนื ในที่นีจ้ ะกลา วสรปุ เฉพาะหนว ยราชการในสังกดั ท่ีสําคญั ดังนี้ (1) สํานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม หนาที่หลัก คือ จัดทํานโยบาย และแผนงานเกี่ยวกับการอนุรักษ การบริหาร และการจัดการในทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมของ ประเทศ ตลอดจนประสานความรวมมอื กบั องคก รระหวา งประเทศในเรอ่ื งดงั กลาว (2) กรมควบคุมมลพิษ เปนหนวยงานของรัฐที่ทําหนาที่ควบคุมปญหามลพิษของประเทศโดยตรง โดยตรวจสอบคุณภาพของสิ่งแวดลอม และควบคุมมลพิษจากแหลงกําเนิด กําหนดมาตรการในการควบคุม ปอ งกนั และแกไข เชน ระงบั เหตุทีอ่ าจทาํ ใหเกดิ อนั ตรายจากสภาพมลพิษในพื้นท่ที ี่มกี ารปนเปอนสารพษิ ตางๆ เปนตน (3) กรมสง เสรมิ คณุ ภาพสงิ่ แวดลอม มหี นา ท่สี ําคญั ดังน้ี - สงเสริม เผยแพร ประชาสัมพันธ และใหบริการขอมูลขาวสารและความรูเกี่ยวกับ สง่ิ แวดลอมของประเทศ - สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในการสงวน บํารุงรักษา และใชประโยชนจาก ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ ม - ศึกษา วิจัย พัฒนา และสงเสริมการนําเทคโนโลยีไปจัดการดานสิ่งแวดลอม โดยจัดต้ัง “ศนู ยเ ทคโนโลยสี ะอาด” ใหเ ปนแบบอยาง (4) กรมทรัพยากรน้ํา เปนหนวยงานหลักในการบริหารและจัดการทรัพยากรน้ําของประเทศ โดยตรง นับต้ังแตเสนอนโยบาย จัดทําแผนแมบท และกําหนดมาตรการเกี่ยวกับการอนุรักษ ฟนฟู การใช ประโยชนแ ละการแกไ ขปญ หาทรัพยากรน้ําของประเทศ โดยเนน ใหป ระชาชนมสี วนรว ม (5) กรมทรัพยากรนาํ้ บาดาล เปนหนวยงานหลกั ในการบริหาร และจัดการเกี่ยวกับทรัพยากรน้ํา- บาดาลของประเทศโดยตรง เชน เสนอนโยบายและแผนงานในการอนุรักษ ฟนฟู พัฒนา และวิเคราะหตรวจสอบ คุณภาพของนํ้าบาดาลเพ่ือนําไปใชประโยชน เปนตน โครงการแบรนดซ ัมเมอรแ คมป 2010 _____________ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (159)

(6) กรมอทุ ยานแหงชาติ สัตวป า และพนั ธพุ ชื มีอาํ นาจและหนา ที่ ดงั นี้ - อนรุ กั ษและคุมครองรกั ษาปาไม สัตวป า และพันธุพืชใหอยูใ นสภาพสมบรู ณ มีความสมดุล ทางธรรมชาติ และมกี ารนาํ ไปใชอ ยางย่ังยนื และเกิดประโยชนส ูงสุด - ควบคุม ดูแล และปองกันการบุกรุกทําลายปาไมและสัตวปา ปองกันไฟไหมปาและภัย ธรรมชาตอิ ่ืนๆ ที่จะทาํ ใหเกิดความเสยี หายตอ ระบบนเิ วศนใ นพ้นื ที่ปาได - ศึกษา วิจัย และพัฒนาวิธีการอนุรักษและฟนฟูทรัพยากรปาไม สัตวปา พันธุพืช และ ความหลากหลายทางชีวภาพ (7) กรมทรพั ยากรธรณี มหี นาที่โดยตรงในการบริหารและจัดการดานธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณี ท้ังการสงวน อนรุ ักษ และฟน ฟู ตลอดจนดําเนินการตามกฎหมายทวี่ า ดว ยแรธาตุตางๆ (8) กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง มีหนาที่ในการบริหาร จัดการ อนุรักษ ฟนฟู และการใช ประโยชนจ ากทรัพยากรทางทะเลและชายฝง เพอื่ ใหม ใี ชอยางยั่งยืน รวมทั้งศึกษา วิจัย เกี่ยวกับพืชและสัตวทะเล ท่ีหายากใกลส ูญพนั ธุ 1.2 กระทรวงอุตสาหกรรม หนวยราชการท่ีเก่ียวของกับเร่ืองส่ิงแวดลอม คือ กรมโรงงาน อุตสาหกรรม มหี นา ทคี่ วบคมุ กาํ กับ ดูแล การประกอบกิจการของโรงงานอตุ สาหกรรมตา งๆ ทัว่ ประเทศ โดยเนน ในดานความปลอดภัย สุขอนามยั การประหยัดพลังงาน และการรกั ษาคณุ ภาพของสิ่งแวดลอ ม 2. องคการภาครัฐในสวนภูมิภาคในการจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอม ขาราชการและหนว ยงานของรฐั ในสวนภูมิภาค ท่ีทําหนาที่จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตามกฎหมาย (พระราชบัญญตั สิ ง เสรมิ และรกั ษาคณุ ภาพสงิ่ แวดลอม พ.ศ. 2535) มดี งั นี้ 2.1 ผูวาราชการจังหวัด มีหนาที่จัดทําแผนพัฒนาคุณภาพส่ิงแวดลอมของจังหวัด กํากับดูแลเจา พนกั งานในทองถน่ิ ใหป ฏบิ ัติหนา ที่ตามกฎหมายวาดวยสง่ิ แวดลอ ม และประสานงานกับหนวยงานอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวของ เพ่ือแกไ ขปญ หามลพษิ 2.2 นายอําเภอ เปนเจา พนักงานควบคมุ มลพษิ ตามกฎหมาย 2.3 สํานักงานส่ิงแวดลอมภาค เปนหนวยงานยอยในสํานักนโยบายและแผนฯ กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอม มีสํานักงาน 4 แหง ในจังหวัดเชียงใหม สงขลา ขอนแกน และชลบุรี มีหนาที่ ประเมินสถานการณดานส่ิงแวดลอมในพ้ืนที่ที่รับผิดชอบ และประสานงานในการแกไขปญหารวมกับภาคเอกชน และหนวยงานราชการอนื่ ๆ ท่ีเกย่ี วของ 3. องคกรสวนทองถ่ินในการจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 3.1 องคกรสวนทองถิ่นท่ีกฎหมายใหอํานาจหนาที่ดูแลรักษาคุณภาพของส่ิงแวดลอมภายใน ทองถิ่นของตน ไดแก องคการบริหารราชการสวนจังหวัด (อบจ.), เทศบาล, องคการบริหารสวนตําบล (อบต.), เมอื งพทั ยา และกรงุ เทพมหานคร 3.2 อํานาจหนา ทใี่ นการดแู ลรกั ษาคุณภาพของส่ิงแวดลอ มในฐานะเจา พนักงานสวนทองถิ่น เชน จัดทําแผนกําจัดมลพิษในทองถ่ินของตนเสนอตอผูวาราชการจังหวัด จัดใหมีระบบบําบัดนํ้าเสียในทองถ่ินของตน และยังมีอาํ นาจบงั คับใชต ามกฎหมายวาดว ยสิง่ แวดลอ มอีกหลายฉบบั 4. องคกรภาคเอกชน และองคกรประชาชนในการจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม หลักการสําคญั ของ “พระราชบญั ญตั ิสง เสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535” การ มีสวนรวมของประชาชน ซ่ึงเปนปจจัยในความสําเร็จของงาน ดังน้ันจึงใหความสําคัญกับบทบาทขององคการ ภาคเอกชนและองคก รประชาชนเปนอยา งมาก สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (160) _____________ โครงการแบรนดซมั เมอรแ คมป 2010

4.1 องคกรภาคเอกชน หมายถึง องคกรท่ีจัดตั้งข้ึนจากการรวมตัวของเอกชนที่มีความคิด ความ สนใจ หรือมีอดุ มการณท คี่ ลา ยคลึงกนั เก่ยี วกบั การคุม ครองสง่ิ แวดลอมและอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ โดยมีการ จดทะเบียนเปน องคก รที่ถูกตอ งตามกฎหมาย 4.2 องคกรประชาชน หมายถึง องคกรท่ีเกิดข้ึนจากการรวมตัวกันของประชาชนในหมูบานหรือใน ทองถ่ิน เพ่ือจัดการเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมในทองถิ่นของตนรวมกัน สวนใหญไมได จดทะเบียนเปน องคก รดา นพทิ กั ษสิ่งแวดลอมตามกฎหมายดงั กลาวขางตน 5. บทบาทขององคกรภาคเอกชนในการอนุรกั ษแ ละพัฒนาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ ม องคกรภาคเอกชนทสี่ าํ คัญและมีบทบาทเปน ทร่ี ูจ กั กันดี มีดังน้ี 5.1 มูลนิธคิ มุ ครองสตั วป าและพรรณพชื แหงประเทศไทยในพระบรมราชินปู ถัมภ (1) ความเปน มา ตง้ั ขน้ึ เมอื่ ป พ.ศ. 2526 โดยความคิดริเริ่มของนายแพทยบุญสง เลขะกุล ไดรับ เงนิ ทนุ สนบั สนุนจากการบริจาคของประชาชน และองคก รธุรกจิ ภาคเอกชน (2) วัตถุประสงค คุมครองสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ โดยเนนการอนุรักษระบบ ธรรมชาติใหคงไวซง่ึ ความหลากหลายของพรรณพืชและพรรณสตั วเพือ่ ใหเกิดภาวะความสมดุลของธรรมชาติ (3) บทบาทและการดําเนินงานเฉพาะทีส่ ําคญั คือ - จัดทําโครงการสํารวจทางนิเวศวิทยาปาไมและสัตวปา ณ เขตรักษาพันธุสัตวปาทุงใหญ นเรศวร จังหวัดกาญจนบุรี และเขตรกั ษาพนั ธสุ ัตวปาหวยขาแขง จังหวดั อทุ ยั ธานีและจังหวัดตาก - เขารว มโครงการปลกู ปาถาวรเฉลมิ พระเกียรติฯ บริเวณเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาแผงมา จังหวัดนครราชสมี า เนอ้ื ทปี่ ระมาณ 5,000 ไร (พ.ศ. 2537–2545) 5.2 มูลนิธิสืบนาคะเสถียร (1) ความเปนมา ตั้งข้ึนเมื่อป พ.ศ. 2533 โดยความรวมมือของนักวิชาการและบุคคลสําคัญท่ีมี ชื่อเสยี งในสงั คมในขณะนั้นหลายคน เชน ศจ.นพ. ประเวศ วะสี, ศจ.ดร. เสนห  จามาริก และ ศจ.ดร. ระพี สาคริก เปน ตน ทั้งนีเ้ พื่อระลกึ ถึงคุณความดขี องนายสบื นาคะเสถยี ร อดตี หวั หนาเขตรักษาพันธสัตวปาหวย- ขาแขง จังหวัดอุทัยธานี ซึ่งไดอุทิศชีวิตของตนเพื่อกระตุนจิตสํานึกของผูคนในสังคมใหตระหนักถึงความสําคัญ ของการอนุรกั ษธรรมชาติ ผืนปา และสัตวป า (2) วตั ถุประสงคข องมูลนิธิฯ สอดคลอ งกบั ปณิธานของนายสืบ นาคะเสถยี ร (3) บทบาทและการดําเนินงาน มีกิจกรรมรณรงคการอนุรักษผืนปาและสัตวปาอยางตอเน่ือง โดยเนนพ้ืนท่ีเขตรักษาพันธสัตวปาหวยขาแขง เขตรักษาพันธุสัตวปาทุงใหญนเรศวร และสถานีวิจัยสัตวปาเขา นางรํา เปนตน 5.3 สมาคมสรางสรรคไ ทย (1) ความเปนมา แตแรกกอตั้งเปน “ ชมรมสรางสรรคไทย ” เมื่อ พ.ศ. 2527 โดยความคิด ริเริม่ ของคุณหญงิ ชดชอ ย โสภณพานิช เพื่อสงเสริมส่ิงแวดลอมที่ดีของสังคม เนนความสะอาดปราศจากขยะ ซ่ึง คนไทยในสมยั น้นั รจู ักกนั ในนามของ “โครงการตาวเิ ศษ” (2) วัตถุประสงค ในป พ.ศ. 2536 ไดจดทะเบียนเปนองคกรเอกชนคุมครองส่ิงแวดลอมและ อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อรณรงค เผยแพร และประชาสัมพันธใหเด็ก เยาวชน ประชาชน และหนวยงาน ตา งๆ มจี ติ สํานกึ และมสี วนรวมดูแลรกั ษาและพฒั นาสภาพแวดลอ มของสังคม (3) บทบาทและการดําเนินงาน มีกิจกรรมรณรงค โฆษณา ประชาสัมพันธ ทางสื่อในรูปแบบ ตางๆ ในเร่อื งการรกั ษาความสะอาดของแมนํ้าลําคลอง การสรา งกับดกั ไขมัน การปลูกตนไมในชุมชน การท้ิงขยะ ใหเ ปนท่เี ปน ทาง การคัดแยกขยะ และการประหยดั นํ้า เปน ตน โครงการแบรนดซัมเมอรแ คมป 2010 _____________ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (161)

5.4 สมาคมหยาดฝน (1) ความเปน มา กอ ตัง้ เมือ่ ป พ.ศ. 2538 โดยความคดิ รเิ ร่ิมของนางพศิ ษิ ฐ ชาญเสนาะ (2) วัตถุประสงค เพื่อสงเสริมการพัฒนาชนบท การยกระดับคุณภาพชีวิตและการพึ่งพาตนเอง ของชมุ ชน สง เสรมิ ใหช มุ ชนตระหนักถึงความสาํ คญั ของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมในทองถิ่น โดยเฉพาะ ความหลากหลายทางชีวภาพของทรัพยากรชายฝง ปาชายเลน การประมงพ้ืนบาน โดยการสงเสริมพัฒนาการ อาชีพ ควบคูก ับการอนรุ ักษ (3) บทบาทและการดําเนินงาน ไดแก โครงการอนุรักษเตาทะเลและพะยูน โครงการปลูกปา- ชายเลน และโครงการอนุรักษหญา ทะเลและปะการงั ในเขตชายฝง ทะเลจงั หวัดตรงั เปน ตน 5.5 มลู นธิ เิ พือ่ นชาง (1) ความเปน มา กอ ตัง้ เมอื่ ป พ.ศ. 2536 โดยความรเิ ร่ิมของนางสาวโซไรดา ซาลวาลา (2) วัตถุประสงค เพ่ือชวยเหลือชางใหมีความเปนอยูที่ดี เผยแพรขอมูลขาวสารเก่ียวกับ สถานการณข องชางในประเทศไทย และชว ยเหลือผูม ีอาชีพเกี่ยวของกบั ชา ง (3) บทบาทและการดําเนนิ งาน เชน ผลกั ดันใหมกี ารออกระเบียบหามนําชางเขามาเดินเรรอนหา กนิ ตามทองถนนในเขตกรงุ เทพมหานคร แกไขปญหาการทรมานชาง ทําทะเบียนประวัติชาง กอสรางโรงพยาบาล ชางแหง แรกของโลกท่ีจังหวดั ลําปาง และรักษาพยาบาลชางท่เี จบ็ ปวย เปน ตน 6. บทบาทขององคกรประชาชน ในการจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอม 6.1 องคกรประชาชน เปนการรวมตัวของราษฎรในตําบล หมูบาน หรือทองถ่ิน เพื่อรวมกันดูแล รักษา อนรุ ักษ และใชป ระโยชนจ ากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน เชน การอนุรักษปาตนนํ้าลําธาร การจดั การและใชประโยชนจ ากปา ชุมชน แหลงน้าํ ตามธรรมชาติ และทีด่ ินทาํ กนิ เปนตน 6.2 ตัวอยางขององคกรประชาชนที่มีบทบาทเคล่ือนไหว เชน องคกรสมัชชาคนจนภาคอีสาน, กลุมสมาพันธเกษตรกรฝายราษีไศล, กลุมสมัชชาเกษตรกรภาคอีสาน, คณะกรรมการเครือขายลุมแมนํ้ามูล, สมาพันธป ระมงพน้ื บา นภาคใต และชมรมอนุรักษสิ่งแวดลอมเมอื งกาญจนบรุ ี เปน ตน 7. องคก รตา งประเทศทมี่ ีบทบาทในการจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในประเทศไทย องคกรเอกชนอิสระ (NGO: Non Government Organization) จากตางประเทศที่เขามามีบทบาทใน การจดั การดานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอมในประเทศไทย ท่ีรจู กั กันดีมี 2 องคกร คอื 7.1 องคก รเอกชนอสิ ระกรีนพีช (Green Peace) 7.2 องคก รกองทนุ สตั วปา โลก (World Wild Fund for Nature : WWF) 8. องคกรเอกชนอสิ ระกรนี พชื (Green Peace) 8.1 ความเปนมา กลุมกรีนพีช เปนองคกรเอกชนอิสระจัดตั้งข้ึนในป พ.ศ. 2514 มีลักษณะเปน องคกรสากลระหวางประเทศท่ีทํางานเก่ียวกับส่ิงแวดลอมโลก รณรงคใหคนทั่วโลกรวมกันอนุรักษ ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ ม 8.2 วัตถปุ ระสงค เพอ่ื ฟนฟสู ิ่งมชี วี ติ ในโลกใหม ีความเขม แขง็ ดาํ รงไวซ ่งึ ความหลากหลายทางชีวภาพ และสง่ิ แวดลอมทางธรรมชาติ 8.3 ทตี่ ง้ั สาํ นักงานใหญ ตั้งอยูที่กรุงอัมสเตอรดัม ประเทศเนเธอรแลนด และมีสํานักงานสาขายอย กระจายอยูในภูมภิ าคตา งๆ ทว่ั โลก 41 ประเทศ (รวมท้ังประเทศไทยดวย) สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (162) _____________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010

8.4 ทุนการดําเนินงาน เปนองคกรภาคเอกชนที่ดําเนินงานโดยไมหวังผลกําไร และไมไดรับการ สนับสนุนดานการเงินจากภาครฐั แตจะรับความชว ยเหลือจากกลมุ เอกชนและดอกผลจากกองทุนเทา น้ัน 8.5 บทบาทของกลมุ กรนี พีชในประเทศไทย มกี จิ กรรมรณรงคใ นเร่อื งดังตอ ไปนี้ (1) ยับยง้ั การเคล่อื นบานกากสารพษิ กากกมั มันตภาพรังสีขามพรมแดน (2) ตอตานการจัดสรางเตาเผาขยะท่ีไมไดมาตรฐาน เพ่ือปองกันมิใหเกิดมลภาวะจากการปลอย สารไดออกซนิ ซ่งึ เปน สารกอ มะเร็งท่ีปนเปอ นในอากาศ (3) ลดการใชพลังงานเชื้อเพลิงจากถานหิน ซึ่งไดชื่อวาเปน “พลังงานสกปรก” แตสนับสนุนให แทนท่ดี ว ย “พลงั งานสะอาด” เชน พลงั งานแสงอาทิตย ลม และกา ซชีวภาพ เพ่อื แกไขปญ หา “ภาวะโลกรอน” (4) ตอตา นการใชพ นั ธุพ ชื ทผี่ า นกระบวนการตดั แตงทางพนั ธกุ รรมมาปลูกในพืน้ ทปี่ ระเทศไทย 9. องคก รกองทุนสัตวปาโลก (World Wide Fund for Nature : WWF) 9.1 ความเปนมา “กองทนุ สัตวโ ลก” เปน องคกรเอกชนอสิ ระ กอตงั้ ขึน้ โดยกลมุ บคุ คลท่ีสนใจในดาน การอนุรักษสัตวปา เม่ือป พ.ศ. 2504 ในประเทศสวิตเซอรแลนด ซ่ึงเปนประเทศท่ีต้ังของสํานักงานใหญของ องคกรฯ ในปจ จบุ นั 9.2 บทบาทและการดาํ เนินงาน กองทุนสตั วปาโลกไดด ําเนินงานในโครงการตา งๆ ทเี่ กี่ยวขอกับการ อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมมากกวา 12,000 โครงการใน 153 ประเทศท่ัวโลก ในปจจุบันได ประกาศใหผนื ปา 200 แหงทัว่ โลกเปน พน้ื ท่ีปาท่ีมีความหลากหลายทางชวี ภาพ ซ่ึงตองปอ งกันและรกั ษาไว 9.3 โครงการเรงดวนสําคัญที่ไดรณรงคพรอมกันทั่วโลก เชน โครงการปาเพื่อชีวิต, โครงการคืน ชวี ิตใหแ หลงนาํ้ , โครงการอนุรกั ษท ะเลและมหาสมทุ ร และโครงการอนรุ กั ษพ ืชและสตั วนํา้ ทใ่ี กลสญู พันธุ เปน ตน 9.4 บทบาทของกองทุนสัตวปาโลกในประเทศไทย มีการจัดต้ังสํานักงานสาขาในประเทศไทยข้ึนที่ อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี เม่ือ พ.ศ. 2526 ซ่ึงมีกิจกรรมรณรงคในเรื่องตางๆ เชน โครงการอนุรักษ แมน ้ําโขง, โครงการอนรุ ักษพน้ื ที่ชมุ นาํ้ และชายฝงทะเล และโครงการรณรงคเพื่อการไมคาสัตวปาและพืชปาท่ีผิด กฎหมาย เปนตน กฎหมายทีเ่ กยี่ วขอ งกบั การอนรุ ักษทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ ม ประเทศไทยมกี ฎหมายท่ีเกยี่ วขอ งกบั การจัดการดา นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ มหลายฉบับ ดงั นี้ 1. พระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 สาระสําคัญของ กฎหมายสิ่งแวดลอ มฉบบั น้ี สรปุ ไดด ังน้ี 1.1 วตั ถปุ ระสงคของกฎหมายฉบบั นี้ คือ สนบั สนนุ ใหประชาชน และองคก รของภาคเอกชน เขามา มีสวนรวมจัดการส่ิงแวดลอม โดยกําหนดสิทธิและหนาที่ของประชาชนในการชวยกันดูแลรักษาและคุมครอง ส่ิงแวดลอ ม ถอื วาเปน กฎหมายฉบับแรกทมี่ กี ารรบั รองบทบาทของเอกชนไวอ ยางชัดเจน ประการสําคัญ กฎหมายฉบับน้ีเปนกฎหมายที่นําหลักการสากลที่วา “ผูใดกอใหเกิดภาวะมลพิษ ผูน้ันตอ งรับผิดชอบคาเสียคาใชจ า ย” มาใชเปน ครงั้ แรกอีกดว ย 1.2 สทิ ธแิ ละหนาทข่ี องประชาชนในการสง เสรมิ และรกั ษาคณุ ภาพสิ่งแวดลอ ม เชน (1) การรับทราบขอมูลและขาวสารของทางราชการเก่ียวกับการสงเสริมและรักษาคุณภาพของ ส่ิงแวดลอ ม (2) การไดรับเงินชดเชยคาเสียหายจากรัฐ ในกรณีที่ไดรับภัยอันตรายจากการแพรกระจายของ มลพิษตา งๆ จากโครงการท่ที างราชการหรือรฐั วิสาหกิจเปน ผูด าํ เนินการ โครงการแบรนดซมั เมอรแ คมป 2010 _____________ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (163)

1.3 การดําเนินการควบคุมและปองกันมลพิษ หมายถึง มลพิษตางๆ ไดแก มลพิษทางอากาศ มลพิษทางเสยี ง และมลพษิ ทางน้าํ เปน ตน 1.4 การกําหนดความผดิ และโทษ ดังกรณีตวั อยา งดังตอ ไปน้ี (1) ผูใดบุกรุกหรือครอบครองท่ีดินของรัฐโดยมิชอบดวยกฎหมาย หรือเขาไปทําลายหรือทําให เกดิ ความเสียหายแกทรัพยากรธรรมชาติ หรือกอ ใหเกิดมลพิษตอคุณภาพของสิ่งแวดลอม มีโทษจําคุกไมเกิน 5 ป หรือปรับไมเกิน 500,000 บาท หรือท้งั จาํ ท้ังปรบั (2) ผใู ดฝา ฝน คาํ สง่ั หา มใชยานพาหนะท่ีกอใหเกดิ มลพษิ ตามมาตรฐานท่ีกําหนด จะตองมีโทษปรับ ไมเกิน 5,000 บาท หรือผูใดฝาฝนไมยินยอมใหตรวจยานพาหนะ มีโทษจําคุกไมเกิน 1 เดือน หรือปรับไมเกิน 10,000 บาท หรือทง้ั จําทงั้ ปรับ 2. พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 วัตถุประสงคของ “พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535” คือ เพื่อดูแลรักษาสุขภาพและอนามัยของประชาชน โดยมีบางสวนเก่ียวของกับการรักษา สง่ิ แวดลอม ดงั นี้ 2.1 การสรา งความเดอื ดรอนใหแ กผอู ยูอาศัยในบรเิ วณใกลเคียงในดานสิ่งแวดลอม ใหถือวาเปน “เหตุราํ คาญ” (มาตรา 25) ไดแ ก (1) แหลงน้ํา ทางระบายน้ํา ที่อาบนํ้า สวม หรือสถานที่อ่ืนๆ มีสภาพสกปรก มีกล่ินเหม็นหรือมี ละอองสารเปนพิษหรือเนา หรอื เปน ทเี่ พาะพนั ธขุ องพาหนะนาํ โรคตางๆ (2) การกระทําใดๆ อันเปนเหตุใหเกิดกล่ิน แสง เสียง ความรอน ส่ิงมีพิษ ฝุน เขมา เถา ฯลฯ จนเปน เหตุใหเกิดอันตรายตอ สขุ ภาพ (3) การเล้ียงสัตวในสถานท่ีหรือโดยวิธีใด หรือมีจํานวนเกินสมควร จะเปนเหตุใหเกิดความ เดอื ดรอนราํ คาญ หรอื เปนอันตรายตอสุขภาพ (4) อาคารท่ีอยูอาศัยของคนหรือสัตว หรือสถานประกอบการใดๆ ไมมีการกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือ ควบคมุ สารพิษ หรอื มแี ตไ มค วบคมุ ใหป ราศจากกลนิ่ เหมน็ หรอื ละอองสารพิษ จนเปนเหตุใหเ กดิ อนั ตรายตอสขุ ภาพ 2.2 การระงับและปอ งกนั การกอเหตุราํ คาญ ใหเ จา พนักงานทองถิ่นมีอํานาจหามหรือระงับมิใหผูใด กอเหตุรําคาญ ทั้งในสถานท่ีเอกชนและสถานที่สาธารณะ ถาผูฝาฝนไมยอมปฏิบัติตาม จะมีโทษจําคุกไมเกิน 1 เดอื น หรือปรับไมเกิน 2,000 บาท หรอื ทงั้ จาํ ทั้งปรบั 3. พระราชบัญญัตริ ักษาความสะอาดและความเปน ระเบยี บเรยี บรอ ยของบานเมอื ง พ.ศ. 2535 สาระสําคัญของกฎหมายฉบับน้ี เนน ควบคุมการดาํ เนินชีวิตประจาํ วนั ของประชาชนมิใหกระทําการใดๆ ทาํ ใหเกดิ ความสกปรกและไมเปนระเบียบของบา นเมอื ง หรอื เกดิ ผลกระทบตอสิง่ แวดลอ ม สรุปสาระสําคัญไดด งั นี้ 3.1 หามผูใดถา ยอุจจาระหรอื ปส สาวะในทส่ี าธารณะ ผฝู า ฝน มโี ทษปรับไมเ กนิ 2,000 บาท 3.2 หามผูใดเท ปลอย หรือระบายอุจจาระหรือปสสาวะจากอาคารหรือยานพาหนะลงในนํ้า ผฝู า ฝน มีโทษปรบั ไมเ กิน 10,000 บาท 3.3 หามผูใดบวนหรือถมน้ําลาย สั่งนํ้ามูก ทิ้ง หรือเทสิ่งใดๆ ลงบนถนนหรือบนพื้นโดยสาร รวมท้งั ทิ้งสง่ิ ปฏกิ ูลหรือขยะมลู ฝอยตา งๆ ผูใดฝาฝน มโี ทษปรบั ไมเ กนิ 2,000 บาท 4. พระราชบญั ญัตกิ ารประมง พ.ศ. 2490 วัตถปุ ระสงคข องกฎหมายฉบบั น้เี พื่อสงวนรกั ษาสตั วน้ํา 4.1 หามบุคคลใดเท ทงิ้ ระบาย หรือทาํ ใหวตั ถมุ พี ิษลงไปในทีจ่ ับสัตวนํ้า หรือกระทําการใดๆ ใหสัตวน้ํา ไดรบั อันตราย หรอื ทําใหท ่จี บั สตั วนา้ํ เกิดมลพษิ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (164) _____________ โครงการแบรนดซ ัมเมอรแคมป 2010

4.2 หามบุคคลใดใชประแสไฟฟาทาํ การประมง หรอื ระเบิดในท่ีจับสัตวนํา้ ผใู ดฝาฝนมีโทษจําคุกต้ังแต 6 เดอื น-5 ป หรอื ปรบั ตั้งแต 10,000-100,000 บาท 5. พระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 วัตถุประสงคของกฎหมายฉบับนี้ คือ ปองกันการ บกุ รกุ พื้นท่ีปา สงวนและการตัดไมทําลายปา โดยมสี าระสาํ คญั ไดแก 5.1 หามบุคคลใดยึดถือ ครอบครอง ทําประโยชน หรืออยูอาศัยในท่ีดิน หรือกระทําการอื่นใด อันเปนเหตใุ หเกิดความเสื่อมโทรมในสภาพปา สงวนแหงชาติ 5.2 ผูใ ดฝา ฝน มีโทษปรับตั้งแต 5,000-50,000 บาท หรือจาํ คกุ ตงั้ แต 6 เดอื นถงึ 5 ป หรอื ท้ังจาํ ท้งั ปรับ 6. พระราชบัญญัตสิ งวนและคมุ ครองสตั วปา พ.ศ. 2535 วัตถุประสงคของกฎหมายฉบับน้ี คือ มุงใหความคุมครองสัตวปา มิใหสูญพันธุหรือลดปริมาณลง จนเกดิ ผลกระทบตอความสมดุลของธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ ม สาระสําคญั ทค่ี วรทราบ มดี งั นี้ 6.1 หามผูใดลา หรือมีไวในครอบครอง หรือคา สัตวปาสงวนหรือสัตวปาคุมครอง ทั้งในสภาพท่ี สตั วย งั มชี ีวติ อยหู รอื ซากของสตั ว เวน แตเ ปนการกระทาํ โดยทางราชการ เพอื่ ประโยชนในการศึกษาและวิจัยทางวิชาการ หรือเพาะพันธุในกิจการสวนสัตวสาธารณะ ซ่ึงตองไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากอธิบดี ผูใดฝาฝน มีโทษจําคุก ไมเกิน 4 ป หรือปรบั ไมเกิน 40,000 บาท หรอื ทัง้ จาํ ท้ังปรับ 6.2 หามผูใดเพาะพันธุสัตวปาสงวน และสัตวปาคุมครอง เวนแตเปนการกระทําเพื่อประโยชนใน กิจการสัตวสาธารณะ ซ่ึงตองไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากอธิบดี ผูใดฝาฝน มีโทษจําคุกไมเกิน 3 ป หรือปรับไม เกนิ 30,000 บาท หรือทง้ั จําทัง้ ปรบั 6.3 ในเขตรกั ษาพนั ธสุ ัตวป า หามมิใหผูใดลาสัตวปา ท้ังสัตวปาสงวนหรือสัตวปาคุมครอง หรือมิใช รวมทัง้ หามเกบ็ และหามทําอนั ตรายตอ รังของสตั วปา เวน แตกระทําเพื่อการศกึ ษาหรอื วิจยั ทางวิชาการ โดยไดรับ อนุญาตจากอธิบดี ผใู ดฝา ฝน มีโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ 5 ป หรอื ปรับไมเกนิ 50,000 บาท หรอื ทงั้ จําทงั้ ปรับ 7. วันสงิ่ แวดลอ มโลก 7.1 วันส่ิงแวดลอมโลก องคการสหประชาชาติ (UN) กําหนดใหวันท่ี 5 มิถุนายนของทุกปเปน วันสิ่งแวดลอมโลก (Earth Day) เพ่ือใหมนุษยชาติตระหนักถึงปญหาการทําลายทรัพยากรธรรมชาติและปญหา สง่ิ แวดลอ มของโลก ซง่ึ ผลกระทบตอ ชีวิตความเปน อยูของมนษุ ยชาตทิ ้ังในปจ จุบนั และอนาคต 7.2 วันส่ิงแวดลอมไทย ประเทศไทยกําหนดใหวันที่ 5 ธันวาคมของทุกป ซ่ึงเปนวันเฉลิม- พระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเปน “วันส่ิงแวดลอมไทย” เพื่อใหประชาชนเกิดจิตสํานึกที่ดีในการ อนรุ ักษส ิง่ แวดลอมของประเทศ โครงการแบรนดซมั เมอรแ คมป 2010 _____________ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (165)

ตัวอยา งขอ สอบ 1. หมบู า น 2 แหง อยหู า งกัน 8 กิโลเมตร ใหห าระยะทางระหวางหมูบ า นดังกลา วในแผนทีม่ าตราสวน 1 : 25,000 1) 8 เซนติเมตร 2) 16 เซนติเมตร 3) 24 เซนตเิ มตร 4) 32 เซนตเิ มตร 2. หากมกี ารแขง ขันเทนนิสท่สี หราชอาณาจกั รในวนั ที่ 15 มนี าคม เวลา 16.00 น. ผเู ขา ชมในประเทศไทย จะตองเปดโทรทศั นเ พอื่ รับชมการถา ยทอดสดดังกลา วในเวลาใด 1) 9.00 น. 2) 10.00 น. 3) 11.00 น. 4) 23.00 น. 3. การวางแผนการเพาะปลกู ในพน้ื ที่ 1,000 ไร ควรใชป ระโยชนจากเคร่ืองมือใด 1) ระบบกําหนดตําแหนง บนพนื้ ผวิ โลก(GPS) 2) ระบบสารสนเทศทางภูมศิ าสตร (GIS) 3) ภาพถา ยดาวเทียม 4) ภาพถายทางอากาศ 4. ขอใดกลา วถูกตอ งเกย่ี วกบั พายุแคทรนิ าท่สี รางความเสียหายอยางมาก เม่อื เดือนกนั ยายน พ.ศ. 2548 1) เปนพายุไตฝนุ ทีก่ อตวั ในทะเลจีนใต ข้นึ ฝง ใกลก รุงฮานอย 2) เปนพายโุ ซนรอนทีก่ อ ตัวในมหาสมุทรแปรซิฟก ขน้ึ ฝงในประเทศเมก็ ซโิ ก 3) เปน พายุไซโคลนที่กอ ตวั ในมหาสมทุ รอินเดีย ขึ้นฝง ใกลเมอื งโกลกาตา 4) เปน พายุเฮอรริเคนท่กี อ ตัวในมหาสมุทรแอตแลนติก ขน้ึ ฝง ใกลเ มืองนวิ ออรลนี ส 5. เพราะเหตใุ ดท่ีราบสูงโคราชจงึ ไมจดั อยใู นภมู ิประเทศแบบท่รี าบสูงอยา งแทจรงิ 1) มคี วามชนั ทางทิศตะวนั ตกเพียงดา นเดียว 2) มีความสูงเฉลี่ย 150–180 เมตร 3) ไมมภี เู ขาลอ มรอบ 4) มีขนาดเล็ก 6. ขอ ใดไมใ ชผ ลกระทบอนั เกดิ จากท่ีตั้งของประเทศไทย ซง่ึ ตง้ั อยูที่ละตจิ ดู 5° 37′ ถึง 20 27′ เหนอื 1) ทาํ ใหมีอากาศรอน 2) ทาํ ใหร บั อิทธิพลของลมมรสุม 3) ทําใหท กุ จังหวัดมีเวลามาตรฐานเดยี วกัน 4) ทาํ ใหอุณหภูมใิ นเวลากลางวันและกลางคืนไมตา งกนั มากนัก 7. เมอ่ื พิจารณาในเชิงภมู ิศาสตรว ฒั นธรรม ประชาชนในทวีปใดมคี วามคลายคลึงกนั มากที่สดุ 1) ทวปี ยุโรปกบั ทวปี อเมรกิ า 2) ทวปี ยุโรปกับทวปี อเมรกิ าใต 3) ทวปี เอเชียกบั ทวีปแอฟรกิ า 4) ทวีปออสเตรเลยี กบั ทวปี อเมริกาใต 8. ขอ ใดเปน การใชประโยชนจ ากหินแปร 2) การแกะสลักหินออ น 1) การผลติ ครกหนิ 4) การกอสรา งอาคารดว ยหนิ ปูน 3) การถมที่ดว ยกรวดทราย 9. ปรากฏการณทางภูมิศาสตรขอใดท่มี ผี ลกระบวนการเกิดคลา ยคลงึ กนั 1) เสาดิน - แพะเมอื งผี 2) โปงยุบ – เขากระโดง 3) เสาเฉลียง – ผาแตม 4) ภูผาเทิบ – แกง ตะนะ 10. อทิ ธพิ ลของลักษณะภมู ิอากาศท่แี หงแลงในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ กอ ใหเกิดพิธกี รรมใด 1) บญุ ขาวจ่ี 2) บุญบ้ังไฟ 3) บุญกุมขา วใหญ 4) บุญแหปราสาทผ้งึ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (166) _____________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010

11. ปรากฎการณใดเก่ียวกบั พธิ สี ารเกยี วโต ซง่ึ เปน ขอ ตกลงและผกู มัดตามกฎหมายในระดบั โลก 1) ปรากฏการณเ อลนิโญ 2) ปรากฏการณล านญิ า 3) ปรากฏการณเ รอื นกระจก 4) ปรากฏการณคลืน่ ยกั ษส ึนามิ 12. โครงการแกม ลิงเปน โครงการแกป ญ หาน้ําในดา นใด 1) การขาดแคลนนํา้ 2) การเกดิ น้ําเนา เสยี 3) การพฒั นาแหลงนาํ้ 4) การเกิดน้ําทว มรุนแรง 13. องคก รใดในสหประชาชาติทาํ หนาท่ีเปนศนู ยก ลางประสานงานใหมีการพัฒนาสง่ิ แวดลอ มรว มกบั องคกรตางๆ 1) WFP 2) UNEP 3) UNDP 4) UNEPA 14. การจดั การทรัพยากรและสิง่ แวดลอ มเพือ่ การพฒั นาอยา งยง่ั ยนื ควรใชวิธกี ารใดจึงจะเกิดประสทิ ธิภาพสูงสดุ 1) การควบคุม การดูแลรักษา และการพัฒนา 2) การสงวน การอนรุ กั ษ และการพัฒนา 3) การปอ งกัน การแกไข และการอนุรกั ษ 4) การสงวน การปอ งกนั และการอนุรักษ 15. พระราชบญั ญตั สิ งเสรมิ และรักษาคุณภาพสงิ่ แวดลอ มพทุ ธศกั ราช 2535 กําหนดใหโ ครงการพัฒนาขนาด ใหญตองดําเนนิ การในขอใด 1) วางแผนโครงการอยา งรอบคอบ 2) วิเคราะหผลกระทบสิง่ แวดลอม 3) ติดตามตรวจสอบการดําเนนิ งาน 4) ประเมินโครงการแกไ ขผลกระทบตอ ส่งิ แวดลอ ม 16. ปา ไมป ระเภทใดอยใู นเขตภูเขาสงู เกนิ 1,000 เมตร จากระดบั นํา้ ทะเลและเปน แหลง ตนนํา้ ลาํ ธาร 1) ปาพรุ 2) ปาดิบเขา 3) ปา สนเขา 4) ปา เบญจพรรณ 17. ขอ ใดไมใ ชปจ จัยทม่ี อี ิทธิพลตอ ความหลากหลายของพืชพรรณธรรมชาติทัว่ โลก 1) ละติจดู 2) ลองจิจดู 3) ปริมาณนํา้ ฝน 4) ระดับความสูงของพนื้ ท่ี 18. นํ้าจดื บนผิวดินในโลกสวนใหญอ ยใู นลกั ษณะใด 1) นา้ํ ในทะเลสาบ 2) นา้ํ ทพ่ี ืชดูดซมึ ไว 3) นํา้ ในแมน ้ําลาํ ธาร 4) น้ําในรปู ความชื้นในดิน 19. มวลอากาศรอ นชน้ื จากทะเลจนี ใตเคล่ือนทีผ่ านประเทศไทยมาปะทะกบั มวลอากาศเยน็ และแหงจากประเทศจีน อยางรวดเรว็ จะทําใหเกดิ ลักษณะอากาศอยา งไร 1) ทอ งฟา แจม ใส ลมพัดแรง 2) ทองฟามดื มฝี นตกเล็กนอย 3) อากาศแปรปรวน มฝี นตกมาก 4) อากาศอบอาว ทอ งฟา มดี คร้ึมตลอดวนั 20. ในแผนที่ภมู ปิ ระเทศมาตรสวน 1 : 500,000 วดั ความยาวของแมนา้ํ ปง ได 4 เซนตเิ มตร และแมน ํ้าเจาพระยา ได 2 เซนตเิ มตร ความยาวของแมนํา้ ทั้งสองรวมกนั เปนเทาใดในพืน้ ทีจ่ รงิ 1) 30 กโิ ลเมตร 2) 40 กโิ ลเมตร 3) 50 กโิ ลเมตร 4) 60 กิโลเมตร 21. ขอ ใดไมค วรใช Remote Sensing ในการสาํ รวจ 1) นคิ มอตุ สาหกรรมจงั หวัดลําพูน 2) อบุ ตั ิเหตุทางรถยนตจงั หวดั นครราชสมี า 3) แหลงแรทองคาํ จงั หวดั พิจติ ร 4) แผนดนิ ถลมท่จี งั หวดั อตุ รดติ ถ 22. ถาตองการศกึ ษาวาประเทศไทยมเี มอื งโบราณจาํ นวนเทาใด และกระจายอยใู นภาคใดบา ง ทา นควรเลือก เครอ่ื งมอื ประเภทใดจึงจะเหมาะสมทสี่ ดุ มีประสทิ ธิภาพ และประสิทธิผลสงู สดุ 1) ภาพถา ยทางอากาศ 2) ภาพถา ยดาวเทียม 3) แผนทภี่ มู ปิ ระเทศและการสํารวจภาคสนาม 4) แผนท่ปี ระวัตศิ าสตรแ ละฐานขอ มลู ทางโบราณคดี โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _____________ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (167)

23. บริเวณใดในภาคกลางทไี่ ดร ับการกาํ หนดใหเปน พ้ืนทีผ่ นื ปา มรดกโลก 1) เขตภูเขาดา นตะวนั ออก 2) เขตท่รี าบเชงิ เขาตอนกลาง 3) เขตท่ีดอนและเขาโดดตอนกลาง 4) เขตภูเขาและลาดเขาตะวันตก 24. การทอดผาปาขยะเปนความพยายามของชมุ ชนในการแกปญ หาส่ิงแวดลอ มทีส่ อดคลอ งกับหลักการในขอใด มากที่สุด 1) reuse 2) repair 3) reduce 4) recycle 25. นกั เรยี นจะมีสวนรว มในการแกปญหาเร่ืองการกําจัดขยะมลู ฝอยในชมุ ชนของตนเองไดมากทสี่ ุดอยางไร 1) เปน สมาชิกของธนาคารขยะ 2) ทง้ิ หลอดไฟฟา เสียแลว ในถงั ขยะสีฟา 3) แนะใหเ พ่ือนในชมุ ชนนําขยะมาใชป ระโยชน 4) คัดแยกขยะตามประเภทของขยะกอ นนาํ ไปทิง้ 26. โครงการในพระราชดํารขิ องพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ขอใดชว ยแกปญ หาใหป ระชากรในเขตทร่ี าบลมุ แมน้ําไดม ากท่สี ุด 1) โครงการแกม ลิง 2) โครงการแกลงดนิ 3) โครงการฝายทดนํ้า 4) โครงการปลูกหญาแฝก 27. ขอ ใดเปนสาเหตุสําคญั ทที่ าํ ใหแ มน าํ้ เจาพระยาและแมนาํ้ ทา จนี ตอนลางมนี าํ้ เนา เสียอยา งรนุ แรงและตอ เนือ่ ง 1) การปนเปอ นในนํา้ ของสารเคมีจากพ้ืนทเี่ กษตรกรรมและอาคารบานเรือน 2) การปลอยนํา้ เสยี ลงแมน ้ําจากอาคารบานเรือนและโรงงาน 3) การปลอ ยนํา้ ทิ้งจากอาคารบานเรือนและฟารม เลี้ยงสุกร 4) การปลอยน้ําเสยี จากฟารม เล้ยี งสุกรและโรงงาน 28. การท่รี ัฐบาลไทยสง ลงิ อุรงั อตุ งั กลับคนื ไปใหประเทศอินโดนีเซียเปน การปฏิบัติตามขอ ตกลงใด 1) อนสุ ัญญาเวยี นนา 2) พธิ สี ารมอนทรีออล 3) อนสุ ญั ญาไซเตส 4) พิธสี ารเกยี วโต 29. ขอ ใดไมใชส าเหตโุ ดยตรงของการเพ่ิมขึ้นของกา ซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศของโลก 1) การทบั ถมของขยะมูลฝอย 2) การถางปา เปนบรเิ วณกวาง 3) การสลายตวั ของปุย เคมปี ระเภทในเตรต 4) การยอยสลายของมูลสตั ว 30. บคุ คลใดนําภมู ิปญ ญาทองถิน่ เขา มาชวยในการอนุรักษท รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไดด ที สี่ ุด 1) นายชมใชส มนุ ไพรรักษาโรค 2) นายคงใสป ุย คอกในนาขา ว 3) นายจนั ทรป ลกู หมอนเลี้ยงไหมเปนรายไดเสริม 4) นายแสนผลติ ไขเคม็ ดวยสูตรของคณุ ยาย 31. ทุงมะขามหยอ ง จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา มีบทบาทอยางไรในการจัดการนํา้ ชว งฤดฝู น พ.ศ. 2549 1) เปน พนื้ ท่ีรบั นํ้าเพ่ือชะลอน้ําไหลไปทวมกรงุ เทพมหานคร 2) เปนท่ีลุมนา้ํ ขังที่ตองระบายออกเพอื่ ปองกันน้ําทวมตัวจังหวัด 3) เปนแนวก้นั นํ้าเพอื่ ไมใหแมนา้ํ เจาพระยาไหลลนตลง่ิ 4) เปนทก่ี ันไวเ พ่ือสรา งอา งเกบ็ น้าํ ในโครงการเจาพระยาตอนลาง 32. นายดาํ ไดร บั เงนิ คา ตอบแทนจากเทศบาลกรณที ่โี รงงานกาํ จัดขยะสรา งมลพษิ ทางอากาศบรเิ วณบา นนายดาํ แสดงวานายดาํ ไดร บั การคมุ ครองตามกฎหมายใด 1) พระราชบัญญัตสิ าธารณสขุ พทุ ธศกั ราช 2535 2) พระราชบัญญัตคิ มุ ครองผบู ริโภคพทุ ธศักราช 2522 3) พระราชบญั ญัติโรงงานพุทธศักราช 2535 4) พระราชบญั ญตั ิสง เสรมิ และรักษาคุณภาพสง่ิ แวดลอมพุทธศักราช 2535 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (168) _____________ โครงการแบรนดซ มั เมอรแ คมป 2010

33. หนว ยงานใดควรเปนผรู ับผดิ ชอบในการจา ยคา ชดเชยแกประชาชนท่ีไดร บั ความเดอื ดรอ นเนอื่ งจากเสียง เครอ่ื งบินขึน้ ลงสนามบินสวุ รรณภมู ิ 1) กระทรวงคมนาคม 2) กระทรวงมหาดไทย 3) บรษิ ัททาอากาศยานไทย จํากดั (มหาชน) 4) ทา อากาศยานกรงุ เทพ 34. “ท่ีราบสูงซ่ึงอยูระหวา งทรี่ าบและมีขอบชนั ” หมายถึงท่ีราบสูงใด 1) ทร่ี าบสงู ทเิ บต ในประเทศจนี 2) ทีร่ าบสูงเดกกนั ในประเทศอนิ เดยี 3) ทรี่ าบสงู อนาโตเลีย ในประเทศตุรกี 3) ทีร่ าบสูงปาตาโกเนีย ในประเทศอารเ จนตินา 35. ขอ ใดเรียงลาํ ดับพชื พรรณธรรมชาติตามละติจดู ไดถ กู ตอ ง 1) ปามรสุม ไมพ ุม ปา สน ทนุ ดรา 2) ไมพ ุม ปามรสมุ ทนุ ดา ปา สน 3) ปาสน ทนุ ดรา ไมพมุ ปา มรสมุ 4) ทุนดรา ปาสน ปา มรสมุ ไมพ ุม 36. ภูกระดึงในจังหวดั เลยมกี ระบวนการเกิดเหมอื นกบั เทือกเขาใด 1) แอนดีส ในประเทศชิลี 2) ร็อกกี ในสหรัฐอเมริกา 3) แบล็กฟอเรสต ในประเทศเยอรมนี 4) เกรตดิไวดงิ ในประเทศออสเตรเลีย 37. ความสัมพนั ธใ นขอ ใดไมถ กู ตอง 1) psychrometer ความชื้นสมั พัทธและจดุ น้าํ คางในอากาศ 2) stereoscope ภาพสามมติ ิ 3) anemometer ความเรว็ ลม 4) hygrometer ความกดอากาศ 38. เครือ่ งมือในขอ ใดสามารถใชเปรยี บเทียบการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ปา ไมในประเทศไทยระหวาง พ.ศ. 2520 กบั พ.ศ. 2550 ไดด ีทีส่ ุด 1) แผนที่ภูมปิ ระเทศ 2) แผนท่ีทรพั ยากรธรรมชาติ 3) ภาพถา ยทางอากาศ 4) ภาพถายจากดาวเทียม 39. ขอใดไมใ ชส าเหตหุ ลักของวกิ ฤตกิ ารณส่งิ แวดลอ ม 1) การลดลงของระดบั นํา้ ทะเล 2) ความแออดั ของประชากร 3) การขยายตัวทางเศรษฐกิจ 4) ความกา วหนาทางเทคโนโลยี 40. ขอ ใดไมใชป ญหาทีเ่ กิดจากการลดระดบั ลงของนา้ํ ใตดิน 1) แผนดินทรุด 2) ขาดแคลนนาํ้ บาดาล 3) นาํ้ เค็มจากทะเลจะไหลซมึ เขามาแทนท่ี 4) ดินเปล่ียนสภาพเปนเลน 41. สถาบันทรพั ยากรโลกระบวุ าประเทศใด ปลอ ยแกส พษิ ในอากาศมากทสี่ ุดในโลกทัง้ ในอดตี และปจจุบนั 1) จนี 2) อนิ เดีย 3) รัชเซีย 4) สหรฐั อเมริกา 42. เหตุการณด ินถลมท่ตี ําบลกระทูน อําเภอพบิ นู และที่หมูบ านคีรีวงศ อําเภอลานสกา จังหวัดนครศรธี รรมราช นําไปสูม าตรการอนุรักษในขอใด 1) การประกาศใชพระราชบัญญตั ิปา สงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 2) การประกาศยกเลกิ สมั ปทานปาไมทวั่ ประเทศเมื่อ พ.ศ. 2532 3) การประกาศใชพ ระราชบญั ญัตสิ ง เสริมและรักษาคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ มแหง ชาติ พ.ศ. 2535 4) การเรมิ่ โครงการปลูกปา ถาวรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั เม่ือ พ.ศ. 2537 โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _____________ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (169)

43. Polluter Pay Principle เปนหลักการเชงิ เศรษฐศาสตรทีน่ ํามาใชเ พื่ออะไร 1) การจดั การสิ่งแวดลอม 2) การปองกันภัยสาธารณภยั 3) การกาํ หนดอัตราคา นํา้ 4) การอนรุ กั ษทรัพยากรธรรมชาติ 44. การปฏวิ ตั ิเขยี ว (The Green Revolution) เกย่ี วขอ งกับอะไร 1) การนาํ เทคโนโลยมี าใชใ นการเพาะปลูก 2) การรณรงคป ลูกปา อยา งกวา งขวาง 3) การผลติ สินคา ทเ่ี ปน มติ รตอสง่ิ แวดลอม 4) การผลิตสินคาเคร่อื งอปุ โภคบริโภคทีใ่ ชว ัตถุดิบจากธรรมชาติ 45. การเลือกตัดตนไม เฉพาะขนาดทเ่ี หมาะสมทั้งในปาธรรมชาติและในปาสัมปทานตรงกับคํากลา วใด 1) กนิ นา้ํ เผื่อแลง 2) เกบ็ เบ้ียใตถ ุนรา น 3) นกนอยทํารังแตพอตัว 4) เลือกนักมักไดแ ร 46. การจัดการทรัพยากรดนิ ในกรงุ เทพมหานครทาํ ไดอ ยา งไร 1) กระจายกรรมสิทธท์ิ ด่ี นิ ใหผูถ ือครองไดม สี ว นรบั ผิดชอบในการใชทด่ี นิ 2) วเิ คราะหผลกระทบจากการใชท ี่ดนิ ในโครงการตา งๆ 3) กําหนดพ้ืนท่เี พาะปลกู ใหเ หมาะสมกับคณุ ภาพของดิน 4) วางแผนการใชท ่ดี ินใหเหมาะสมกบั กิจกรรมตา งๆ 47. การบําบดั น้าํ เสียเพือ่ นาํ ไปใชป ระโยชนต รงกับหลักการใด 4) recycle 1) reuse 2) refill 3) reduce 48. The Vienna Convention เกยี่ วขอ งกบั เรือ่ งใด 1) การปอ งกันชั้นโอโซน 2) ความหลากหลายทางชวี ภาพ 3) การเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ 4) การคา สตั วปาและพืชปาทีใ่ กลส ญู พันธุ 49. การผลติ ครกหนิ ควรต้ังอยูใ นแหลง หินประเภทใด 3) บะซอลต 4) ควอรตไซด 1) แกรนติ 2) ฟวไลต 50. ขอใดกลาวถกู ตอ งเกย่ี วกับพายุหมนุ เขตรอนท่เี คล่อื นทีเ่ ขาสูป ระเทศไทย 1) ไมเ คยกอ ตัวในอาวไทย 2) หากกอตวั ในอา วเบงกอลจะมาไมถ งึ ประเทศไทย 3) มแี หลง กาํ เนิดในทะเลจนี ใตม ากกวา ในทะเลอันดามนั 4) หากกอ ตัวในอา วตงั เกีย๋ จะสงผลตอ สภาพอากาศในประเทศไทยมากทสี่ ดุ 51. เหตใุ ดเขตทีร่ าบลมุ ในออสเตรเลียสว นใหญจ งึ นาํ มาใชในการเล้ียงปศุสตั ว 1) เพราะแหงแลงเกินกวาจะใชเพาะปลูกได 2) เพราะเกษตรกรมีความเชย่ี วชาญ 3) เพราะรฐั บาลไดเงินสนับสนนุ 4) เพราะดนิ มสี ารอาหารนอย 52. เขตภูมลิ กั ษณท เ่ี ปนทวิ เขาและทีร่ าบระหวา งภเู ขาหมายถงึ ภาคใดของประเทศไทย 1) ภาคใต 2) ภาคเหนอื 3) ภาคตะวันตก 4) ภาคตะวันออก สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (170) _____________ โครงการแบรนดซ มั เมอรแ คมป 2010

53. ขอ ใดกลาวถูกตอ งเกย่ี วกับเสน วนั ท่ี 1) เวลาของเมืองท่ีตง้ั อยูทางทิศเหนือของเสน วนั ท่ีจะชา กวา ท่กี รนี ิช 2) เวลาของเมืองทต่ี ัง้ อยทู างทศิ ตะวนั ออกของเสน วันที่จะเร็วกวาท่ีกรนี นชิ 3) เวลาของเมอื งท่ีต้ังอยูทางทศิ ใตของเสน วันท่ีจะชากวา ทีก่ รนี ิช 4) เวลาของเมืองท่ตี ้ังอยูทางทศิ ตะวนั ตกของเสน วนั ทีจ่ ะเร็วกวา ที่กรีนชิ 54. ขอใดไมใชป ระโยชนของรีโมตเซนซิง 2) การสาํ รวจการใชท ่ดี ิน 1) การพยากรณอากาศ 3) การเตือนภยั จากธรรมชาติ 4) การทําแบบจําลองความสูงเชิงเลข 55. ขอใดกลาวถูกตองเกย่ี วกบั ไซโครมเิ ตอร 1) เปนเคร่อื งมอื สําหรับวัดความชนื้ สัมพัทธเทานน้ั 2) ประกอบดว ยเทอรมอมิเตอรแบบตุมแหง และตมุ เปยก 3) เทอรม อมิเตอรตมุ เปย กมอี ุณหภูมิสูงกวา เทอรม อมเิ ตอรต มุ แหง 4) อุณหภมู เิ ทอรมอมิเตอรตุมแหงกบั ตมุ เปยกจะเทากนั เม่อื มีการระเหยของนํา้ อยางรวดเรว็ 56. ขอ ใดไมใ ชแ ผนทเ่ี ฉพาะเร่ือง 2) แผนทแ่ี สดงความลาดชนั 1) แผนทก่ี ารใชท ดี่ นิ 3) แผนทีแ่ สดงชั้นบรรยากาศ 4) แผนที่ภมู ิประเทศ 57. วกิ ฤตการณด านทรัพยากรธรรมชาติทสี่ ง ผลกระทบตอการดาํ รงชีวิตของมนษุ ยม ากที่สดุ คอื ขอ ใด 1) การขาดแคลนน้าํ จดื 2) การสญู เสยี ปาไมและสัตวปา 3) การลดลงของปรมิ าณแรธ าตุ 4) การชะลางและการพงั ทลายของดนิ 58. ในฐานะสมาชกิ คนหน่งึ ของสังคม ทา นจะมีสวนแกไ ขปญ หาวกิ ฤตการณดานทรพั ยากรปาไมไดดที ี่สดุ อยางไร 1) ปลกู ปา ทดแทน 2) ปองกนั การเกดิ ไฟปา 3) ผลักดนั ใหม กี ารออกกฎหมายอนรุ ักษป า ชุมชน 4) ชวยกันรณรงคเพอ่ื สรา งจติ สาํ นึกใหแ กป ระชาชน 59. องคก ารสหประชาชาติมีความสาํ คัญดา นสง่ิ แวดลอมอยา งไร 1) ผลกั ดนั ใหม กี ารกอ ต้ังองคการปกปอ งส่งิ แวดลอ มในหลายประเทศ 2) จัดการประชุมเรอ่ื งสิง่ แวดลอ มของมนุษยซง่ึ นําไปสูการกอ ต้งั UNEP 3) เปนแกนนาํ ในการรางพธิ สี ารเกียวโตเพอื่ จํากดั การปลอ ยกา ซเรอื นกระจก 4) จดั ต้ังคณะกรรมาธิการคณุ ภาพสิง่ แวดลอมเพ่ือคนควา วิจัยการแกป ญหาดานสิง่ แวดลอม 60. ผูท ่ีเขาไปทาํ ลายโบราณวัตถุในบริเวณปราสาทหินพนมรงุ จะตอ งระวางโทษอยางไรตามพระราชบัญญัติ สง เสรมิ และรักษาคณุ ภาพสิง่ แวดลอ มแหงชาติ พ.ศ. 2535 1) จําคุกไมเกนิ 2 ป หรือปรบั ไมเกิน 200,000 บาท หรอื ทงั้ จาํ ทั้งปรับ 2) จําคุกไมเ กนิ 3 ป หรือปรบั ไมเกิน 300,000 บาท หรอื ทง้ั จําทง้ั ปรบั 3) จําคกุ ไมเกิน 4 ป หรอื ปรับไมเ กิน 400,000 บาท หรือทง้ั จําทงั้ ปรับ 4) จาํ คุกไมเ กิน 5 ป หรือปรบั ไมเ กนิ 500,000 บาท หรือทง้ั จําทั้งปรับ 61. ขอ ใดไมใ ชว ธิ ีการจดั การคณุ ภาพดนิ 2) การปลูกพชื หลากชนดิ 1) การปรบั ปรุงบํารงุ ดนิ 4) การวิเคราะหผลกระทบจากการใชดนิ 3) การปองกนั การพงั ทลายของดนิ โครงการแบรนดซ ัมเมอรแคมป 2010 _____________ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (171)

62. ขอ ใดไมใชการใชป ระโยชนจ ากสง่ิ แวดลอ มวัฒนธรรม 1) สวนผักผลไมในแองแมอ าย 2) พนุ าํ้ รอนสันกาํ แพง 3) ปราสาทหินพิมาย 4) วัดถ้ํากลองเพล 63. ตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม พน้ื ที่ทาํ การเกษตรตองมนี ํ้าใชในฤดูแลง ประมาณเทา ใดตอ ไร 1) 1,000 ลูกบาศกเ มตร 2) 2,000 ลกู บาศกเมตร 3) 3,000 ลูกบาศกเ มตร 4) 4,000 ลกู บาศกเ มตร 64. ดอนหอยหลอด จังหวดั สมทุ รสงคราม เกย่ี วขอ งกบั อนสุ ญั ญาฉบับใด 1) CITES 2) Kyoto Protocol 3) UNFCCC 4) Ramsar 65. การปฏิบัติตนเพ่อื การอนรุ ักษแ ละพฒั นาคณุ ภาพสิ่งแวดลอมทําไดหลายวธิ ี ยกเวนขอใด 1) การหลีกเล่ยี งไมใ ชสินคาท่ีเปนอนั ตรายตอสงิ่ แวดลอม 2) การลา งรถยนตด ว ยการตกั นํา้ ใสถงั แทนการใชน ้ําจากสายยาง 3) การเลอื กใชไ ฟฟาใหเหมาะสมกับฐานะของครอบครัว 4) การใชหนังสอื พิมพหอ เศษอาหารกอนนําไปท้ิงในถังขยะสเี ขยี ว 66. Agenda 21 เปนแผนแมบทของโลกสําหรับการดาํ เนนิ งานดานใด 1) การพฒั นาที่ย่งั ยนื 2) การอนุรักษส ง่ิ แวดลอม 3) การประหยัดพลังงาน 4) การจดั การทรัพยากรธรรมชาติ 67. การพัฒนาท่ีจะกอใหเ กิดผลทย่ี ั่งยนื ยาวนาน หมายถึงขอ ใด 1) การพฒั นาทีไ่ มก อ ใหเกิดคา นิยมทฟ่ี มุ เฟอย 2) การพฒั นาทลี่ ดปริมาณการใชทรพั ยากรธรรมชาติ 3) การพัฒนาท่มี ีการฟน ฟูสภาพแวดลอมอยา งตอเน่ือง 4) การพัฒนาท่ไี มกอ ใหเกิดความเสือ่ มโทรมแกค ณุ ภาพสงิ่ แวดลอ ม 68. องคการเอกชนใหญทีส่ ุดทีเ่ ฝาระวงั และดแู ลทรัพยากรธรรมชาตทิ วั่ โลกคอื องคก ารใด 1) Greenpeace International 2) World Wide Fund for Nature 3) Global Environmental Facility 4) United Nations Environment Programme 69. ใหน ักเรียนพจิ ารณาขอ ความตอไปน้ี ก. ประเทศไทยตั้งอยูบนคาบสมทุ รอินโดจีนระหวางซีกโลกเหนือ ใต และตะวันออก ข. เทือกเขาแดนลาวเปน เทือกเขาทก่ี ั้นพรมแดนระหวางไทยกับพมา ค. บรเิ วณอขู าวอูน ้าํ ท่สี าํ คญั ของภาคกลาง ไดแก บริเวณภาคกลางตอนบน ง. แมน า้ํ เจาพระยาเปนแมน ํ้าที่ยาวท่สี ดุ ในประเทศไทย จ. บริเวณอา วไทยมีการคมนาคมขนสง ทางเรอื โดยมที าเรือทสี่ ําคญั ไดแ ก ทาเรือคลองเตย ทาเรอื แหลมฉบงั ขอ ใดไมถ กู ตอง 1) ขอ ก., ข. และ ค. 2) ขอ ก., ค. และ จ. 3) ขอ ก., ค. และ ง. 4) ขอ ข., ค และ ง. สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (172) _____________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010

70. ลักษณะภูมปิ ระเทศในขอ ใดท่เี กิดจากรอยเลอื่ นทรดุ ตัวของเปลือกโลก 1) อา วคุมกระเบน อุทยานแหงชาตเิ ขาสามรอ ยยอด 2) กมุ ลกั ษณ แมน ้ําโคง ตวดั 3) บึงบอระเพ็ด กวานพะเยา 4) ละลุ แพะเมืองผี 71. ในชว งเปลีย่ นฤดกู าล สภาพภูมอิ ากาศจะมลี ักษณะอยางไร 1) ฝนตกพราํ ๆ ตลอดเวลา 2) มอี ากาศหนาว หมอกหนาในตอนเชา 3) เกิดพายฝุ นฟา คะนอง ลมกระโชกแรง ลูกเห็บตก 4) อากาศรอนจดั และแหงแลงหนาวเย็น 72. จังหวดั สกลนคร และจงั หวดั หนองคายในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื มปี ริมาณนาํ ฝนสูงเพราะอทิ ธิพลจากขอ ใด 1) ลมมรสุมตะวันออกเฉยี งเหนอื 2) พายุโซนรอน และดีเปรสชน่ั 3) ลมมรสมุ ตะวันตกเฉยี งใต 4) ลมตะวันออกเฉียงใต 73. ทีร่ าบลมุ แมน ้าํ เจา พระยาเกดิ ขน้ึ จากปจ จยั ภูมิศาสตรข อ ใด 1) การเคลอ่ื นตัวบีบอัดยกตัวสูงขน้ึ 2) การเลือ่ นทรุดตวั ของเปลอื กโลก 3) การงอกของสันดอนทรายบริเวณปากแมน ํ้า 4) การทบั ถมของโคลนตะกอนท่ีน้าํ พัดพา 74. ปจจุบนั พ้นื ทป่ี า ไมข องไทยลดลงอยา งมาก สงผลใหสภาพแวดลอ มเสียสมดุลมสี าเหตหุ ลายประการขอใดไมใ ช 1) การเกิดนาํ้ ทว มฉบั พลัน นํ้าปาไหลบา และโคลนถลม 2) เกดิ แผน ดนิ ถลม เม่ือมฝี นตกตอเนอ่ื งเปน เวลานาน 3) การเพ่ิมขึน้ ของตะกอนดินทองนาํ้ ทาํ ใหล าํ นํา้ ตนื้ เขิน 4) นาํ้ ทะเลหนนุ ทําใหน ํ้าจดื ในลําน้าํ ทจ่ี ะผลักดนั นาํ้ เคม็ มปี ริมาณสงู ข้นึ 75. อนุสัญญาสหประชาชาติวา ดว ยการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC) เปนขอตกลงระหวา งประเทศ วา ดว ยเรือ่ งใด 1) ความรว มมอื แกไขปญ หาภยั แลงและฝนตกทง้ิ ชว ง 2) ลดปริมาณการปลอ ยกาซเรือนกระจก 3) การควบคมุ การคา สัตวปาและพันธพุ ืชทีใ่ กลส ญู พนั ธุ 4) การปอ งกันมลภาวะของสิง่ แวดลอ มทีเ่ กดิ ขึ้นในกลมุ ประเทศกําลังพฒั นา 76. วกิ ฤตกิ ารณดานส่งิ แวดลอ มของโลกขอใดทม่ี สี าเหตุจากปรากฏการณเรือนกระจก 1) ปรากฏการณลานิญา 2) ภัยแลงและฝนทิง้ ชวง 3) การละลายของธารนา้ํ แขง็ และภาวะนา้ํ ทวม 4) อณุ หภมู ิของอากาศลดต่าํ ลงทกุ พ้นื ท่ี 77. ขอ ใดคอื วิกฤติการณดานสง่ิ แวดลอ มที่เกิดจากมนษุ ยท าํ ลายสภาพแวดลอ ม 4) แผนดนิ ไหว 1) ภเู ขาไฟระเบดิ 2) เอลนโิ ญ 3) สนึ ามิ โครงการแบรนดซัมเมอรแ คมป 2010 _____________ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (173)

78. บุคคลใดตอไปน้ีปฏิบัตติ นไดดีทีส่ ุดเมอ่ื เกดิ ปญ หาภัยแลง 1) ไชยานาํ ถุงทรายมาสรางคนั กน้ั นาํ้ 2) อาภาภรณห ลบอยูใตโตะเม่ืออาคารมกี ารสนั่ ไหว 3) ยงิ่ ยงปลูกตนไมบ ริเวณตน นํา้ ลําธาร และพืชคลุมดนิ เพื่อไมใ หชะลา งหนาดิน 4) ลกู นกรบี ว่ิงเมอื่ ไดย ินเสียงสัญญาณเตือนภยั ใกลชายฝง 79. กรมอุตุนยิ มวิทยาออกประกาศเตอื นเร่อื งพายฤุ ดูรอน ในภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ใหร ะมัดระวงั โดยเจา หนาทปี่ ระจาํ สถานีตรวจอากาศตองสงั เกตเครื่องมอื ทางภมู ิศาสตรประเภทใดมากทีส่ ดุ 1) เครอื่ งแอนนโิ มมิเตอร (Anemometer) 2) เคร่อื งวัดนาํ้ ฝน (Rain Gauge) 3) บารอมิเตอร (Barometer) 4) เครอื่ งไฮโกรมเิ ตอร (Hygrometer) 80. รโี มทเซนซิง(Remote Sensing) เปน ระบบการทาํ งานทต่ี อ งอาศยั ปจจยั สําคัญขอใด 1) การสะทอ นของรงั สีอัตราไวโอเลต 2) ความเรว็ ของแสง 3) คลืน่ แมเหลก็ ไฟฟาเปน ส่อื 4) ความหนาแนน ของมวลอากาศ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (174) _____________ โครงการแบรนดซมั เมอรแคมป 2010

เฉลย 1. 4) 2. 4) 3. 4) 4. 4) 5. 1) 6. 3) 7. 1) 8. 2) 9. 1) 10. 2) 11. 3) 12. 4) 13. 2) 14. 3) 15. 2) 16. 2) 17. 2) 18. 1) 19. 3) 20. 1) 21. 2) 22. 1) 23. 4) 24. 4) 25. 4) 26. 1) 27. 2) 28. 3) 29. 2) 30. 2) 31. 1) 32. 4) 33. 3) 34. 2) 35. 1) 36. 3) 37. 4) 38. 4) 39. 1) 40. 4) 41. 4) 42. 2) 43. 1) 44. 1) 45. 1) 46. 4) 47. 4) 48. 1) 49. 1) 50. 3) 51. 1) 52. 2) 53. 2) 54. 4) 55. 2) 56. 4) 57. 1) 58. 4) 59. 2) 60. 4) 61. 4) 62. 2) 63. 1) 64. 4) 65. 4) 66. 1) 67. 4) 68. 2) 69. 3) 70. 3) 71. 3) 72. 2) 73. 4) 74. 4) 75. 2) 76. 3) 77. 2) 78. 3) 79. 1) 80. 3) ———————————————————— โครงการแบรนดซมั เมอรแคมป 2010 _____________ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (175)

ถอดรหัสลบั ...วชิ าสังคม สาระที่ 1 ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม สวัสดีครับนักเรียนทุกคน ปนี้ อ.ชัย ไดรับมอบหมายใหมาสรุปเนื้อหาของวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม (O-NET) ในสาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม และสาระหนาท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนิน ชีวิตในสังคม ซ่ึงทั้งสองสาระนี้มีเน้ือหามาก และขอสอบก็ออกเจาะลึกในรายละเอียดมากขึ้นดวย ฉะนั้นนองๆ นักเรียนก็ตองขยันอานทบทวนเน้ือหาและฝกทําแบบทดสอบประกอบไปดวย และถายามใดนองๆ ทอใจ อ.ชัย มีคําสอนใจที่ไวใชเตือนตัวเองเสมอมาฝากนองๆ วา “ความพยายามอยูท่ีไหน ความสําเร็จอยูท่ีนั่น” (Where there’s a will there’s a way.) และ “ไมมีส่ิงใดเปนไปไมได ถาใจคิดจะทํา” (Nothing is impossible to a willing heart.) สุดทา ยนี้ อ.ชยั กข็ ออวยพรใหน อ งๆ สอบไดค ณะดังที่ต้ังความหวังไวนะครับ และท่ีสําคัญตอง ขอขอบคุณโครงการแบรนดซัมเมอรแคมปและบัณฑิตแนะแนวท่ีเล็งเห็นถึงความสําคัญของการพัฒนาการศึกษา ของเดก็ ไทย และไดทาํ โครงการดๆี ทเี่ ปนประโยชนต อสังคมและนักเรยี นมาตอ เนอ่ื งนับเปน ปที่ 21 แลว นะครบั ศาสนากบั สงั คม 1. ศาสนากับลัทธแิ ตกตา งกันอยางไร - ศาสนาเปนไปเพือ่ ประโยชนส ขุ ของมวลมนุษยท ั่วไป / สว นลัทธิเปน ไปเพอ่ื ประโยชนสขุ ของบุคคล เฉพาะกลุม. - คาํ สอนของศาสนามีลกั ษณะศกั ดส์ิ ิทธ์ิ เปน ท่ีสกั การบชู าของศาสนิกชน / สว นคําสอนของลัทธิไมม ี ลักษณะศักดสิ์ ทิ ธ.์ิ - ศาสนาตองมคี ําสอนเกยี่ วกับศลี ธรรมเปน หลกั / สวนลัทธไิ มมหี ลักการที่ตอ งมีคําสอนเกี่ยวกบั ศีลธรรมโดยตรง. - ศาสนาตอ งมีพิธกี รรม / สว นลัทธิอาจไมมีพธิ ีกรรมกไ็ ด. - ศาสนาตอ งมีคําสอนเกย่ี วกบั จดุ มุง หมายสงู สดุ ของชีวิตท้งั ในโลกนแ้ี ละโลกหนา ทัง้ รปู ธรรมและ นามธรรม / สว นลัทธิเนนจุดมุงหมายสูงสดุ ของชวี ิตในปจจบุ นั และอนาคต อนั สมั พนั ธกบั รปู ธรรมเทานั้น. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (176) ____________ โครงการแบรนดซ มั เมอรแคมป 2010

- ศาสนามศี าสดาเปนผูนาํ สัจธรรมมาบอกชาวโลก หรือนาํ คาํ สัง่ สอนของพระเจา มาบอกชาวโลก / สว นลัทธนิ นั้ เจาลัทธิประกาศเพียงหลักการของตนซง่ึ เปน ทศั นะสวนตวั . 2. ศาสนามีองคป ระกอบสําคัญอะไรบา ง - องคประกอบสําคัญของศาสนา ไดแ ก ศาสดา คัมภีรศาสนา นกั บวช ศาสนสถาน พธิ ีกรรม. - บางศาสนามอี งคประกอบไมครบ เชน ชินโตและฮนิ ดูไมมศี าสดาผกู อ ต้ังศาสนา อิสลามและขงจ๊อื ไมม นี ักบวช. 3. ศาสนามีกป่ี ระเภท 1. ถาแบง ตามภมู ศิ าสตร 1) ศาสนาทเี่ กิดในเอเชียตะวนั ตก เชน ยวิ โซโรอสั เตอร คริสต อสิ ลาม. 2) ศาสนาทีเ่ กิดในเอเชียตะวนั ออก เชน ชนิ โต เตา ขงจอื๊ . 3) ศาสนาท่เี กดิ ในเอเชยี ใต เชน พราหมณ-ฮนิ ดู เชน (นคิ รนถ) พทุ ธ ซกิ ข. 2. ถา แบงตามความเชอ่ื เกี่ยวกบั พระเจา 1) เทวนิยม (Theism) ศาสนาทนี่ บั ถอื พระเจา - เอกเทวนยิ ม (Monotheism) เชน ยิว คริสต อิสลาม โซโรอสั เตอร ซกิ ข. - พหุเทวนิยม (Polytheism) เชน ชินโต ขงจือ๊ พราหมณ- ฮนิ ดู ในระยะแรก. 2) อเทวนยิ ม (Atheism) ศาสนาท่ไี มเ ชื่อเร่อื งพระเจาสรา งโลก แตสอนใหเ ชือ่ ในกฎแหงกรรม เชน พทุ ธ เชน. 4. ศาสนาอ่ืนๆ ท่คี วรรมู ีอะไรอกี บาง - ศาสนายิว เกิดในปาเลสไตน พระเจา คือ พระยะโฮวาห ศาสดา คอื โมเสส คัมภีรส ําคญั คือ ทัลมดุ โทราห และคมั ภรี ไ บเบิลเดมิ . - ศาสนาโซโรอสั เตอรหรอื ปารซ ี เกิดในเปอรเ ซีย (อหิ รา น) เปน ลทั ธบิ ูชาไฟ พระเจา คือ พระอาหุรมัสดา ศาสดา คอื โซโรอัสเตอร คมั ภีรสาํ คัญ คอื อเวสตา. - ศาสนาเชน (นคิ รนถน าฏบตุ ร) เกดิ ในอินเดีย ศาสดา คือ พระมหาวีระ คัมภีร คอื องั คะหรอื อาคม. - ศาสนาซิกข เกิดในอนิ เดีย ไมมีพระเจา ศาสดา คือ คุรานกั คัมภรี  คอื คนั ถะ มสี ัญลักษณเ ปน รปู ดาบไขว. - ศาสนาชนิ โต เกดิ ในญีป่ นุ มพี ระเจามากมาย ไมป รากฏศาสดา คัมภรี สําคญั คือ โคยิ-กิ และ นิฮอง-งิ. - ศาสนาเตา เกิดในจนี ไมม ีพระเจา ศาสดา คอื เลา จอื๊ คัมภรี  คอื เตา เตเกง. - ศาสนาขงจือ๊ เกดิ ในจนี ไมม ีพระเจา ศาสดา คอื ขงจื๊อ คัมภีร คอื เกงทั้ง 5 และชทู ั้ง 5. 5. ศาสดาพยากรณ (Prophet) คืออะไร - (หรือศาสดาประกาศก) คอื บุคคลท่เี ปนคนกลางระหวางพระเจา กับมนษุ ย เปนผนู ําคาํ สั่ง คําสอน ความประสงคใดก็ตามมาแจงแกม นุษย ศาสดาพยากรณม ีอยใู นศาสนาประเภทเทวนิยม ไดแก ยดู าย ครสิ ต อสิ ลาม. - 1) ศาสนายูดาย มีศาสดาพยากรณค นสําคญั คอื โมเสส 2) ศาสนาคริสต รบั รองศาสดาพยากรณของศาสนายดู ายท้งั หมด อกี ท้ังเพิม่ ยอหน ผใู หศ ลี จมุ (John the Baptist) 3) ศาสนาอสิ ลาม รับรองศาสดาพยากรณของศาสนายูดายและศาสนาครสิ ต และเพมิ่ ทา นนบมี ุฮัมมัด ซึ่งมาภายหลัง. โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _____________สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (177)

พระพทุ ธศาสนา 6. ลักษณะประชาธปิ ไตยในพระพทุ ธศาสนาพิจารณาไดจ ากเร่ืองใด - 1) ถอื สงฆเปน ใหญใ นกจิ การทัง้ ปวง 2) ยดึ หลกั พระธรรมวนิ ัยเปนหลักสงู สดุ ของหมคู ณะ 3) เนนความเสมอภาค ภราดรภาพ และเสรภี าพ (เสรภี าพในพระพุทธศาสนา = วิมุตติ) 4) เคารพเสียงสวนใหญหรือมติมหาชน 5) ถือประโยชนส ูงของประชาชนเปน ทต่ี งั้ . 7. พระพทุ ธศาสนากบั วทิ ยาศาสตรมหี ลกั การที่สอดคลองกันในเรอ่ื งใด - 1) เกิดจากความอยากรูความจรงิ ท่อี ยเู บ้อื งหลงั ปรากฏการณท างธรรมชาติ 2) ศรทั ธาในกฎเกณฑของธรรมชาติ 3) เช่อื มั่นในศกั ยภาพทางปญญาของมนษุ ย 4) มที งั้ หลักการบรสิ ุทธิแ์ ละหลักการประยุกต 5) เนนหลักเหตผุ ล 6) มนษุ ย คอื ผลิตผลของธรรมชาติ ไมใชผลงานสรา งสรรคข องพระเจา . 8. พระพทุ ธศาสนากบั วิทยาศาสตรมีหลักการที่แตกตา งกันในเร่ืองใด - มุงศึกษาความจริงของธรรมชาติ : พระพุทธศาสนามุงศกึ ษาความจริงของธรรมชาตดิ า นในของ มนุษยเปนหลัก / วิทยาศาสตรมงุ ศกึ ษาความจรงิ ของธรรมชาติดา นนอกของมนษุ ยเ ปน หลัก. - รกู ฎธรรมชาติ : พระพทุ ธศาสนาเนน ปรับจิตใจคน สอนใหคนควบคมุ ภายในจิตใจตนเอง แค ความสามารถของวทิ ยาศาสตรที่ควบคมุ ธรรมชาติได ไมอาจทาํ ใหเกดิ ความสงบสุขในโลกได / วทิ ยาศาสตรเ นน ปรบั ธรรมชาติ มุง การควบคมุ ธรรมชาติภายนอก. - รูจักธรรมชาติเหมือนกัน แตป ฏิบัติตอธรรมชาตไิ มเหมือนกนั : พระพทุ ธศาสนารูจกั ธรรมชาตขิ อง มนุษยแลวพยายามแกไขธรรมชาติของมนุษยใ หเ ปนคนดีมีคุณธรรม ไมตกอยูภายใตก ิเลส และไมคิดวาตนเปนนาย เหนือธรรมชาติ ไมท ํารายธรรมชาติ / สว นวทิ ยาศาสตรร ูจกั ธรรมชาตขิ องมนุษยแลว พยายามหาประโยชนจาก ธรรมชาติของมนษุ ย และคิดวาตนเปน นายเหนือธรรมชาติ พยายามเอาชนะธรรมชาต.ิ - ใหความสําคัญกับความรูตา งกนั : พระพุทธศาสนายอมรับความรูท ีเ่ กดิ จากประสาทสัมผสั ทง้ั 5 คือ ตา หู จมูก ล้นิ และกาย รวมทัง้ ใจดว ย / สวนวิทยาศาสตรจะยอมรับความรูว ามอี ยูจ รงิ เฉพาะความรทู ไี่ ดจ าก ประสาทสัมผสั ทัง้ 5 เทานัน้ วทิ ยาศาสตรไ มย อมรบั ความรูทเ่ี กดิ จากใจ เชน พระพทุ ธศาสนายอมรับวา มเี ทวดา แตว ิทยาศาสตรไ มยอมรับเพราะพสิ ูจนไมไ ด. - มงุ ประโยชนสขุ แกม นษุ ยชาติ : พระพทุ ธศาสนานาํ เสนอความจริงเพือ่ ใหมนุษยอ ยูรว มกันอยา ง สันตสิ ุข ความจรงิ ทีไ่ มม ีประโยชนต อสนั ตสิ ขุ ของมนุษย ถึงแมจ ะรูแ ตก ็จะไมนาํ มาเผยแผ เปรียบเสมอื นใบไมใ นกาํ มือ เดียวทเ่ี ปนประโยชนตอเพอื่ นมนษุ ยอ ยา งแทจ รงิ / วิทยาศาสตรคนพบความจรงิ แลว นาํ มาเผยแพร ใครจะนาํ ความจริงนัน้ ไปประยกุ ตใ ชใ นทางดีหรือรา ย วิทยาศาสตรจะไมใ หความสนใจ. 9. วิธคี ิดตามนยั พระพุทธศาสนาและวิธคี ิดตามนยั วิทยาศาสตรมคี วามแตกตางกนั ในเรือ่ งใด - พระพุทธศาสนามุง ศึกษากฎธรรมชาตใิ นสว นของกรรมนยิ ามและจิตนยิ าม (กรรมนิยาม = พฤตกิ รรมของคน, จิตนยิ าม = กระบวนการทาํ งานของจติ ) / สวนวิทยาศาสตรมงุ ศกึ ษากฎธรรมชาตใิ นสวนของ อุตนุ ิยามและพีชนิยาม. - พระพทุ ธศาสนาเนน การศกึ ษาเรือ่ งเชิงนามธรรมดวย เชน เรื่องเทวดา นรกสวรรค บุญบาป / สว นวทิ ยาศาสตรเนนการศกึ ษาเรอ่ื งเชงิ วตั ถุเพียงอยางเดียว. สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (178) ____________ โครงการแบรนดซ ัมเมอรแ คมป 2010

- พระพุทธศาสนาเนน การศึกษาเพื่อใหเขา ใจปรากฏการณตามความเปนจริงโดยเนน ดานจิตใจ / สวนวิทยาศาสตรเนน การศึกษาเพือ่ ใหเ ขาใจปรากฏการณต ามความเปนจรงิ โดยเนนดานวัตถ.ุ - พระพุทธศาสนาเนนการศกึ ษาท่มี เี ปา หมายเพ่อื จะนาํ มาแกป ญหาชีวิตไดจรงิ เปนประโยชนตอ มนุษยชาตเิ ทา น้ัน / สวนวทิ ยาศาสตรเนน ศึกษาเรื่องทไี่ มเ กี่ยวกับการแกปญ หาชวี ิตก็มี. 10.เพราะเหตุใดพระพทุ ธเจา ไดร ับการยกยอ งใหเ ปน พระบรมศาสดา - 1) ทรงบาํ เพ็ญบารมมี าหลายภพชาติอยา งตอเน่ือง 2) ทรงมพี ระปณิธานท่ีมั่นคง 3) ทรงเปน ผทู ม่ี ีความใฝเ รยี นรอู ยา งยงิ่ ยวด 4) ทรงมีความอทุ ศิ ตนอยางยอดเย่ยี ม 5) ทรงมคี วามไมส นั โดษในกศุ ลธรรมอยา งยอดเย่ยี ม. 11.ศรทั ธาและปญญาในพระพทุ ธศาสนาสมั พนั ธก นั อยางไร - ศรทั ธาในพระพทุ ธศาสนาตองเปน ศรทั ธาท่มี ปี ญญาคอยกาํ กบั ควบคมุ อยดู วย เชน ในหลกั คาํ สอน หมวด พละ 5 (ธรรมอนั เปนกาํ ลงั ) ประกอบดวย ศรทั ธา วริ ยิ ะ สติ สมาธิ ปญญา หรือในอริยทรพั ย 7 (ทรพั ย ภายในอันประเสรฐิ ) ประกอบดวย ศรัทธา ศลี หิริ โอตตัปปะ พาหุสัจจะ จาคะ และปญญา. - ศรัทธาในพระพุทธศาสนา มี 4 ประการ คอื 1) กรรมศรทั ธา เชือ่ วา กฎแหง กรรมมีจรงิ 2) วบิ ากศรัทธา เชื่อวา ผลของกรรมมีจริง 3) กมั มัสสกตาศรทั ธา เชอ่ื วา ทุกคนมีกรรมเปนของตน 4) ตถาคตโพธิศรทั ธา เชอื่ ในพระปญ ญาตรัสรูของพระพุทธเจา ปญญา แปลวา ความรรู อบ ความ รูเ ทา ทันโลกและชวี ติ ปญ ญาในพระพุทธศาสนาตองเปนปญญาที่มาคูกนั กับความดีงาม กค็ ือ ความรูค คู ุณธรรม. 12.หลกั ธรรมที่สาํ คัญในพทุ ธศาสนามีอะไรบาง - ธรรมท่คี วรกาํ หนดรู (ทกุ ข) p ขันธ 5 : นามรูป / โลกธรรม 8 / จติ เจตสิก. - ธรรมที่ควรละเวน (สมุทัย) p หลกั กรรม : นิยาม 5 / วติ ก 3 / กรรมนยิ าม (กรรม 12) / มิจฉา วณิชชา / นิวรณ 5 / ปฏจิ จสมุปบาทหรอื ธรรมนิยาม / อุปาทาน 4 / วฏั ฏะ 3 / ปปญจธรรม 3. - ธรรมทีค่ วรบรรลุ (นโิ รธ) p นพิ พาน : ภาวนา 4 / วมิ ตุ ติ 5. - ธรรมท่คี วรเจรญิ หรือลงมอื ปฏิบัติ (มรรค) p พระสทั ธรรม 3 / ปญ ญาวฒุ ธิ รรม 4 / พละ 5 / อุบาสกธรรม 5 / มงคล 38 / อปรหิ านิยธรรม 7 / ปาปณิกธรรม 3 / ทิฏฐธมั มิกตั ถสงั วัตตนกิ ธรรม 4 / โภคอาทยิ ะ 5 / อรยิ วัฑฒิ 5 / อธปิ ไตย 3 / สาราณียธรรม 6 / ทศพิธราชธรรม / วปิ สสนาญาณ 9. 13.หลักธรรมใดทีพ่ ระพุทธเจา ทรงสั่งสอนแกพ ทุ ธบรษิ ทั ทั่วไปมากทสี่ ุด - อนปุ พุ พีกถาและอริยสจั 4 อนปุ พุ พกี ถาเปนหลักธรรมวา ดวยเรื่อง ทาน ศีล สวรรค โทษของกาม และการออกบวช พระองคท รงสัง่ สอนแกคนทว่ั ไปเพ่อื ขัดเกลาจิตใจในเบือ้ งตน แลวตอ มาจึงทรงสอนธรรมข้ัน สูงสุด คอื อรยิ สจั 4 ผฟู ง จะไดบรรลุเปนพระอริยบุคคล (ผูประเสริฐ) ซ่งึ มี 4 จําพวกตามลาํ ดับ คอื พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี และพระอรหนั ต. 14.หลักธรรมใดบางที่มกั นาํ มาออกสอบบอยๆ - ขันธ 5 / ไตรลกั ษณ / กรรม / ทุกข / มรรคมอี งค 8 - ขนั ธ 5 : องคประกอบของชีวติ 5 ประการ 1) รปู รา งกายอันประกอบดวยธาตดุ นิ นาํ้ ลม ไฟ 2) เวทนา ความรสู กึ เปน สุข ทุกข เปนกลาง 3) สัญญา ความจาํ ไดหมายรู 4) สังขาร สภาพปรงุ แตงจติ ใหคิดดี คิดช่วั หรอื เปน กลาง (สง่ิ ทป่ี รงุ แตง จิต ไดแ ก คา นิยม ความ สนใจ) สังขารเปนผลรวมของวญิ ญาณ เวทนา และสญั ญา, สังขารถอื เปนขน้ั ตอนทีก่ อ ใหเ กดิ พฤตกิ รรมทัง้ ดีและชวั่ โครงการแบรนดซ ัมเมอรแคมป 2010 _____________สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (179)

5) วญิ ญาณ การรบั รูผานประสาทสัมผสั ทงั้ 6 ที่เรยี กวา อายตนะ 6 (ตา หู จมกู ลิ้น กาย ใจ) สรปุ ขนั ธ 5 มเี พยี งองคป ระกอบหลกั สองอยา ง คอื รูปกับนาม ขันธ 5 เปน หลกั ธรรมท่มี ี ความสาํ คญั ดงั นี้ 1) ทําใหร ูวาชวี ิตเกิดจากองคประกอบ 5 ประการทตี่ างกอ็ ิงอาศัยกนั รวมเปนรางกายและจติ ใจ 2) ทาํ ใหรูวา ตัวตนทีแ่ ทข องเรานั้นไมม ี 3) เมือ่ ตวั ตนทแี่ ทจรงิ ของเราไมมี เราจึงไมควรยึดตดิ ถือมั่นในขนั ธ 5. - ไตรลักษณ : ลักษณะทั่วไป 3 ประการของสง่ิ ทั้งปวง 1) อนจิ จัง ความไมเ ทย่ี ง เชน คาํ กลาวทว่ี า “ทานไมสามารถลงอาบนํา้ ในแมนํา้ สายเดยี วกันไดถึง สองคร้งั ” เพราะกระแสนาํ้ ยอมไหลไปตลอดเวลา ถงึ แมจะเปนท่ีเดยี วกนั แตก็เปนกระแสนํ้าใหมท ไี่ หลอยอู ยา ง ตอ เนื่อง 2) ทุกขงั สภาพที่ทนอยไู ดยาก 3) อนัตตา ความไมม รี ูปราง ความไมใ ชต ัวตนทแี่ ทจรงิ อนัตตาเปน หลกั คําสอนเฉพาะใน พระพุทธศาสนา. - กรรม : การกระทาํ ทางกาย วาจา และใจทม่ี เี จตนา. - ทกุ ข : แปลวา ทนไดย าก ทกุ ขในอริยสจั 4 หมายถึง ความทกุ ขทางกายและใจ เปนทกุ ขของ สิ่งมชี วี ิตเทาน้นั เนือ่ งจากความยดึ มนั่ ในเบญจขนั ธ สวนทุกขในไตรลกั ษณมคี วามหมายกวา งกวาทกุ ขในอรยิ สัจ 4 ซึง่ หมายถงึ สภาพที่ทนอยูไ ดย าก เปนทุกขข องส่งิ มชี ีวติ และสิง่ ไมม ีชวี ติ ท่ีไมส ามารถดาํ รงอยูในสภาพเดมิ ไดต ลอดไป เพราะตอ งเกดิ ข้ึน ตง้ั อยู และดับไปตามเหตุปจ จยั . - มรรคมีองค 8 : หรือทางสายกลาง หรอื มัชฌมิ าปฏปิ ทา 15.หลกั ธรรมใดบางท่ีเคยออกสอบแลว แตอ าจนํามาออกซ้ําไดอ ีก - อปรหิ านิยธรรม 7 : ธรรมอนั ไมเปน ทตี่ งั้ แหง ความเสื่อม แตเ ปนไปเพื่อความเจรญิ โดยฝา ยเดียว (หลกั ธรรมหมวดน้ี เดิมพระพุทธเจาตรัสสอนกษัตริยว ชั ชี) อปริหานยิ ธรรมเปนหลกั ธรรมสาํ หรับนักปกครอง นักบริหารที่ดี มลี กั ษณะสอดคลองกบั การปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่เนน ใหป ระชาชนมสี ว นรวมในการ ปกครอง และยงั มขี อ บัญญตั หิ นึ่งทใ่ี หมกี ารปกปองคุมครองใหเ กยี รติแกส ตรีดว ย. - อธิปไตย : อธิปไตย แปลวา ความเปนใหญ ภาวะทีถ่ ือวาเปน ใหญ ไดแก 1) อัตตาธปิ ไตย ถอื ตนเปนใหญ 2) โลกาธิปไตย ถอื โลกเปน ใหญ 3) ธรรมาธปิ ไตย ถอื ธรรมเปนใหญ ถาเทยี บหลกั อธิปไตยกับหลกั การปกครองน้ัน อตั ตาธปิ ไตยเทยี บไดก ับระบอบสมบูรณาญาสทิ ธริ าชย ทผ่ี นู ํามอี าํ นาจเด็ดขาด สวนโลกาธิปไตยเทียบไดกบั ระบอบประชาธิปไตยท่ผี นู าํ ถอื เสยี งของประชาชนเปนใหญ ธรรมาธิปไตยเปนระบอบการปกครองที่ผนู ําถือธรรมเปน ใหญ. - ทฏิ ฐธัมมกิ ัตถสังวัตตนิกธรรม 4 (ทิฏฐธัมมิกตั ถะ) : ธรรมทเ่ี ปน ไปเพื่อประโยชนในปจ จุบนั เปน หลักธรรมทวี่ างเปาหมายของชีวติ ในระดับตน หรือระดบั พ้นื ฐาน 1) อุฏฐานสมั ปทา ขยนั หมนั่ เพยี ร 2) อารักขสมั ปทา เก็บออมทรัพย 3) กัลยาณมิตตตา คบมติ รดี 4) สมชวี ิตา ใชทรพั ยเ ปน (หรือเรยี กวา หวั ใจเศรษฐี อุ อา กะ สะ) หลักธรรมที่มีความสัมพนั ธ กบั ทิฏฐธัมมกิ ัตถะ มดี ังน้ี อารกั ขสัมปทา กับ โภคอาทยิ ะ 5 (ประโยชนทไี่ ดจ ากโภคทรพั ย), กัลยาณมติ ตตา กบั อรยิ วัฑฒิ 5 (หลักความเจริญของอารยชน). - สติปฏ ฐาน : การต้ังสตกิ ําหนดพจิ ารณาสิ่งทง้ั หลายใหร เู ห็นตามความเปนจรงิ ไดแ ก 1) กายานุปส สนา เชน วธิ อี านาปานสติ การกําหนดอิริยาบถ การสรางสมั ปชัญญะ 2) เวทนานุปสสนา เชน ขณะนง่ั นานๆ ถามอี าการเจบ็ ปวด เมือ่ ยก็ใหร ูทันเวทนาหรือความรูสกึ นัน้ ๆ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (180) ____________ โครงการแบรนดซ ัมเมอรแ คมป 2010

3) จิตตานุปส สนา เชน ขณะน้จี ิตเราเปนอยา งไร มีความรกั โลภ โกรธ หรอื หลง ใหร ูท ันวา จติ เชน นนั้ ๆ กําลังเกดิ ขน้ึ 4) ธัมมานุปส สนา เชน รแู จงในอรยิ สจั ขันธ นวิ รณ อายตนะ โพชฌงค. - นยิ าม 5 : กฎธรรมชาติ 1) อตุ ุนิยาม กฎเกย่ี วกับการเปลย่ี นแปลงของสภาพแวดลอ ม 2) พชี นิยาม กฎเกยี่ วกบั การสบื พันธุ 3) จติ ตนิยาม กฎเก่ยี วกบั การทาํ งานของจติ 4) กรรมนิยม กฎเกี่ยวกบั พฤตกิ รรมของมนุษยห รอื ทเี่ รียกกันวา กฎแหงกรรม 5) ธรรมนิยาม กฎเกย่ี วกบั ความสมั พนั ธท ี่เปน เหตเุ ปน ผลตอกัน ธรรมนยิ ามถอื เปน กฎใหญท่ี ครอบคลมุ กฎธรรมชาติทกุ กฎ ซ่ึงมอี กี ชอ่ื หน่ึงวา กฎอิทัปปจยตา. - สังคหวัตถุ 4 : หลกั ธรรมที่เปนเครอ่ื งยดึ เหนีย่ วจติ ใจผอู ่นื ไวไ ด การสงเคราะหชว ยเหลือเกอื้ กูลและ ประสานหมูชนใหเ กดิ ความสามัคคี ไดแ ก ทาน ปย วาจา อัตถจริยา สมานตั ตตา (สรปุ กค็ อื โอบออมอาร-ี วจีไพเราะ-สงเคราะหชุมชน-วางตนพอด)ี . - พรหมวิหาร 4 : ธรรมของผูมีคณุ ความดอี ันยง่ิ ใหญ ไดแ ก เมตตา กรณุ า มุทิตา อเุ บกขา. - การสงเคราะหบตุ ร : ประเภทของบตุ ร ไดแก อภชิ าตบุตร อนุชาตบุตร อภิชาตบุตร การสงเคราะห บุตรจนไดเปนอภิชาตบุตรและอนชุ าตบุตร ถอื วา เปนอดุ มมงคลเพราะนําความสขุ และความภมู ใิ จมาสูวงศตระกลู . - ภพ-ภมู ิ : ภพ คือ โลกอนั เปน ทอี่ ยขู องสตั ว ภมู ิ คือ ช้นั แหง จิต ระดบั จิตใจ ภพ-ภมู ิเกย่ี วของกบั กฎแหง กรรม การเวยี นวา ยตายเกิดบง ชถ้ี งึ สถานที่เกดิ คือ ภพ-ภูมิ ของผูตายและผเู กิดดวย ความเช่อื เรอ่ื งกรรม และผลแหงกรรมทําใหเ ชือ่ เรื่องโลกหนา คอื ภพ-ภูมิ ดว ย. 16.หลกั ธรรมใดบางท่ีเก็งวา จะออกสอบในปนี้ - สาราณยี ธรรม ธรรมเปนเหตุใหระลกึ ถงึ กนั มคี วามสามคั คีกนั 1) เมตตากายกรรม ทาํ ตอกนั ดว ยเมตตา 2) เมตตาวจกี รรม พูดตอกันดวยเมตตา 3) เมตตามโนกรรม คดิ ตอ กนั ดวยเมตตา 4) สาธารณโภคี ไดม าแบง กนั กินใช 5) สีลสามัญญตา ประพฤติใหด เี หมอื นเขา 6) ทิฏฐิสามญั ญตา ปรบั ความเห็นเขากันได. - สันโดษ : สนั โดษ แปลวา ความยินดี ความพอใจ 1) ยถาลาภสนั โดษ ยนิ ดตี ามที่ตนหามาได สันโดษขอนม้ี ุงกาํ จัดความโลภ ทําใหม คี วามสุขกับสงิ่ ท่ี ตนมอี ยู 2) ยถาพลสนั โดษ ยินดีตามกําลงั ความสามารถของตน สันโดษขอ นมี้ ุงกาํ จดั ความหลงตนเอง ทํา ใหรจู ักประมาณตนตามความเปน จรงิ 3) ยถาสารุปปสันโดษ ยนิ ดตี ามฐานะความเปน อยูของตน สันโดษขอนท้ี าํ ใหร ูจกั วางตนให เหมาะสมกบั สถานภาพทางสังคม ดงั น้นั สันโดษจงึ เปนหลกั ธรรมทใ่ี ชควบคมุ ใจในการแสวงหาปจ จัยดาํ รงชีวติ คอื ใหรูจกั ตน รจู ักกําลงั รูจกั ฐานะตน ตวั อยางบุคคลผูม ีสันโดษในทางพระพทุ ธศาสนา เชน มหาตมะ คานธี. - โกศล : โกศล แปลวา ความฉลาด 1) อายโกศล ความฉลาดในความเจรญิ 2) อปายโกศล ความฉลาดในความเสื่อม 3) อปุ ายโกศล ความฉลาดในอุบายหรอื วธิ ีการ กค็ อื รูครบวงจร คือ ความรูจ กั วธิ กี ารละเหตแุ หง ความเสอื่ มและสรา งเหตแุ หง ความเจริญ. โครงการแบรนดซ ัมเมอรแคมป 2010 _____________สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (181)

- นิวรณ 5 : ส่งิ ทีข่ ัดขวางจติ ไมใหกาวหนาในคณุ ธรรม ธรรมท่ีก้ันจติ ไมใ หบ รรลคุ วามดี 1) กามฉันทะ ความพอใจในรูป รส กลิน่ เสียง สัมผสั 2) พยาบาท การคดิ ปองรายผูอ นื่ 3) ถนี มิทธะ ความหดหู เซ่อื งซึม เหงาหงอย เหมอลอย 4) อทุ ธจั จกกุ กุจจะ ความฟุงซา น รําคาญใจ กระวนกระวายใจ รอนรมุ กลมุ ใจ 5) วจิ ิกิจฉา ความลังเลสงสัย. - โลกบาลธรรม : แปลวา ธรรมคมุ ครองโลก 1) หิริ ความละอายใจตอการทาํ ความชั่ว 2) โอตตปั ปะ ความเกรงกลัวตอบาป. - โลกธรรม 8 : ธรรมทมี่ ีประจําโลก แบง เปน ฝายท่นี า ปรารถนา (อิฏฐารมณ) ไดแ ก สุข มีลาภ มยี ศ สรรเสรญิ ฝายท่ไี มน า ปรารถนา (อนิฏฐารมณ) ไดแก ทกุ ข เสื่อมลาภ เสอื่ มยศ นนิ ทา. - วฏั ฏะ 3 : วงจรแหง การเวยี นวา ยตายเกิด 1) กิเลสหรอื กิเลสวัฏ ประกอบดวย อวชิ ชา ตัณหา อุปาทาน 2) กรรมหรอื กรรมวฏั การกระทํา 3) วบิ ากหรือวบิ ากวัฏ ผลแหง กรรม. 17.หลักธรรมใดบางทีค่ วรรเู พิ่ม (อยา ประมาท) - วิตก 3 : วิตก แปลวา ความนกึ คิด 1) กศุ ลวิตก ความนกึ คิดในทางท่ดี ีงาม ไดแ ก เนกขมั มวติ ก อพยาบาทวติ ก อวหิ งิ สาวติ ก 2) อกศุ ลวิตก ความนึกคิดในทางไมดี ไดแ ก กามวติ ก พยาบาทวติ ก วหิ ิงสาวติ ก. - ภาวนา 4 : ภาวนา แปลวา การทาํ ใหเ กิดขึ้นใหม ีขนึ้ การพัฒนา การฝกอบรมจติ ภาวนา 4 จงึ เปน การพัฒนาทั้งดานรางกาย อารมณ จิตใจ และสติปญญาไปพรอ มกัน ซึ่งแบงเปน กายภาวนา สลี ภาวนา จิตตภาวนา ปญ ญาภาวนา. - พระสทั ธรรม 3 : ธรรมของสตั บรุ ุษหรือคนดี เพอ่ื พฒั นาตนใหเ ปน คนดสี มบูรณ 1) ปรยิ ตั ิ คาํ สอนทต่ี อ งเลาเรียน ไดแก พระไตรปฎ ก 2) ปฏบิ ตั ิ คาํ สอนทต่ี อ งลงมือปฏิบัติ ไดแก ไตรสิกขา 3) ปฏเิ วธ ผลทีไ่ ดจ ากการปฏบิ ตั ิ ไดแก มรรค ผล นิพพาน. - พละ 5 : แปลวา ธรรมที่ทําใหม กี าํ ลงั ไดแก สทั ธา วริ ิยะ สติ สมาธิ และปญญา พละ 5 ประการนี้ จะตอ งปฏบิ ัติใหไดส มดุลกนั เสมอ สทั ธาตอ งพอดกี ับปญ ญา วริ ยิ ะตอ งพอดกี บั สมาธิ สตคิ วบคมุ ทั้งสัทธา วิริยะ สมาธิ และปญญา. - ปญญา : ความรรู อบ ความรูเทา ทันโลกและชีวติ วธิ ีพัฒนาปญญา ไดแ ก 1) สตุ มยปญญา ปญ ญาท่ีเกิดจากการฟง 2) จินตามยปญ ญา ปญญาที่เกิดจากการคิด 3) ภาวนามยปญญา ปญ ญาทเี่ กดิ จากการลงมือปฏบิ ตั ิ โดยเฉพาะการฝกตามหลักสตปิ ฏฐาน 4 ใน ขนั้ วปิ ส สนากรรมฐาน. - อรยิ วัฑฒิ 5 : หลักความเจริญของอารยชน ไดแก ศรทั ธา ศลี สตุ ะ จาคะ ปญ ญา. - โภคอาทิยะ 5 : ประโยชนทีไ่ ดจากโภคทรัพย 1) ใชเลี้ยงตัว เลย้ี งบิดามารดา บุตรภรรยา และคนในปกครองใหเปน สขุ 2) ใชบํารงุ มติ รสหายและผรู ว มงานของตนใหเ ปนสขุ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (182) ____________ โครงการแบรนดซมั เมอรแคมป 2010

3) ใชปอ งกนั ภยนั ตราย 4) ทําพลี 5 อยา ง 5) อปุ ถมั ภบาํ รุงสมณะชีพราหมณผูประพฤตดิ ปี ฏบิ ตั ชิ อบ. - พลี 5 เปนสวนหนึ่งในหลกั ธรรม “โภคอาทยิ ะ 5” 1) ญาตพิ ลี สงเคราะหญ าติ 2) อติถิพลี ตอนรบั แขก 3) ปพุ พเปตพลี ทําบุญอทุ ศิ ใหผลู วงลบั 4) ราชพลี บํารงุ ราชการ เชน เสียภาษี 5) เทวตาพลี ทําบญุ เพื่อบชู าสงิ่ ท่ีตนนับถอื . - ปาปณิกธรรม : ธรรมของผูค าขาย. - นาถกรณธรรม : ธรรมทท่ี าํ ใหพงึ่ ตนเองได. - โพธิปก ขยิ ธรรม : ธรรมทเี่ กอ้ื หนุนใหต รัสรู มี 37 ประการ คอื สติปฏฐาน 4 สัมมัปปธาน 4 อิทธบิ าท 4 อินทรีย 5 พละ 5 โพชฌงค 7 และมรรคมีองค 8. 18.หลกั ธรรมใดที่สมั พนั ธกบั เศรษฐกิจพอเพยี ง - ไดแ ก สนั โดษ (ความพอใจ) / สมชวี ติ า (ความพอดี) / อตฺตา หิ อตตฺ โน นาโถ (การพ่ึงตนเอง) / มตั ตัญุตา (รจู ักประมาณตน) / ธัมมัญตุ า อตั ถัญุตา (รูจ ักใชเหตผุ ลในการดําเนินชีวิต) / มัชฌิมาปฏปิ ทา (ทางสายกลาง) / อโลภ (ความไมโลภมาก). 19.หลกั ธรรมใดทเ่ี กยี่ วกบั การเมืองและสันตภิ าพ - การเปนสมาชิกท่ีดีของมนษุ ยชาติ : สัปปุรสิ ธรรม 7 กศุ ลกรรม 10 - การเปนสมาชกิ ท่ีดขี องสังคม : พรหมวหิ าร 4 สังคหวัตถุ 4 - การเปนสมาชิกท่ดี ขี องชุมชน : นาถกรณธรรม 10 สาราณียธรรม 6 - การเปนสมาชิกที่ดีของรัฐ : อธิปไตย 3 อปรหิ านิยธรรม 7. 20.อรยิ สจั 4 มีความสาํ คญั อยา งไร - ส่งิ ท่ีพระพทุ ธเจาตรสั รู เรียกวา อรยิ สจั 4 คอื หลักความจรงิ อนั ประเสริฐ 4 ประการ ไดแ ก ทกุ ข สมทุ ัย นโิ รธ มรรค อริยสัจเปน หลกั ธรรมทีม่ คี วามสําคัญดังน้ี 1) เปน หลกั ธรรมที่พระพุทธองคท รงคน พบเปนคนแรก 2) ถือเปน หลักธรรมสําคัญทีส่ ดุ เพราะเปน พื้นฐานของหลักธรรมท้งั หลาย เปนแกนกลางของ หลกั ธรรมคาํ สอนทงั้ หมด เพราะหลักธรรมทง้ั หมดสรุปรวมลงในอรยิ สัจไดทงั้ หมด 3) เปนหลกั แสดงถงึ ความเปนเหตแุ ละผล 4) เปนหลกั ธรรมท่ีทรงสอนมากทส่ี ุด 5) เปนหลักสัจธรรมและจริยธรรมทีส่ มบูรณแ บบทีส่ ุด คือ มเี นอ้ื หาทง้ั ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ ครบถว น. 21. กฎแหงกรรมคืออะไร - กฎแหงกรรมในทางพระพุทธศาสนา เรยี กวา “กรรมนิยาม” เปนกฎธรรมชาตเิ ก่ียวกับการกระทําและ ผลของการกระทํา ดังพุทธศาสนสุภาษิตท่วี า “หวา นพืชเชนใด ไดผ ลเชน นัน้ ผทู ําดยี อ มไดด ี ผูทําช่ัวยอ มไดชว่ั ”. กรรมแบงออกเปน 12 อยาง ดังนี้ - กรรมแบงตามกาลเวลาท่ใี หผ ล 1) ทฏิ ฐธมั มเวทนียกรรม กรรมใหผลทันตาเหน็ หรอื ในชาตนิ ี้ 2) อปุ ช ชเวทนยี กรรม กรรมใหผลในชาติหนา 3) อปราปรเวทนียกรรม กรรมใหผ ลในชาติตอ ๆ ไป 4) อโหสิกรรม กรรมท่ีไมม ีโอกาสใหผ ลหรอื กรรมทใ่ี หผ ลเสร็จแลว . โครงการแบรนดซ ัมเมอรแ คมป 2010 _____________สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (183)

- กรรมแบง ตามหนาทท่ี ่ใี หผล 2) อปุ ต ถมั ภกกรรม กรรมสนบั สนนุ 1) ชนกกรรม กรรมนาํ ไปเกดิ 3) อุปปฬ กกรรม กรรมบบี บงั คบั 4) อปุ ฆาตกกรรม กรรมตัดรอน. - กรรมแบง ตามหนักเบา 1) ครุกรรม กรรมหนัก 2) พหุลกรรมหรืออาจิณกรรม กรรมเคยชิน 3) อาสันนกรรม กรรมใกลตาย 4) กตตั ตากรรม กรรมสกั วาทาํ . 22.ตามหลักพระพทุ ธศาสนามวี ธิ ีปฏบิ ตั เิ พ่อื ที่จะดบั ทกุ ขไ ดอ ยา งไร - จะดับทุกขไดตองปฏบิ ตั ิตามหลักมรรคมีองค 8 ดงั นี้ 1) สมั มาวาจา เจรจาชอบ 2) สัมมากัมมันตะ การงานชอบ ศลี 3) สัมมาอาชีวะ เลยี้ งชพี ชอบ 4) สมั มาวายามะ เพยี รชอบ 5) สมั มาสติ ระลกึ ชอบ สมาธิ 6) สมั มาสมาธิ ตง้ั ใจชอบ 7) สัมมาทฐิ ิ เหน็ ชอบ 8) สัมมาสังกัปปะ คดิ ชอบ ปญ ญา - คาํ ทอี่ อกสอบบอย ไดแก 1) สมั มาทฐิ ิ เห็นชอบ เชน เห็นวา บญุ -บาปมจี ริง กรรมดี-ช่วั มีจรงิ 2) สมั มาสังกปั ปะ คิดชอบ เชน คิดไมพยาบาท คดิ ไมเบยี ดเบียน 3) สมั มาสติ ระลกึ ชอบ คอื ความไมประมาท เชน มสี ติรเู ทา ทันเบญจขนั ธ ระลึกในสติปฏ ฐาน 4 กาย เวทนา จิต ธรรม 4) สมั มาสมาธิ ตั้งใจชอบ เชน มีจิตไมฟ งุ ซาน มจี ติ แนวแนมนั่ คง. 23.ไตรสกิ ขาคอื อะไร - กระบวนการฝกอบรมตน 3 ข้นั ตอน คอื ศลี สมาธิ ปญญา เปนขอ ปฏบิ ตั ทิ จ่ี ดั ลงในมรรคมีองค 8 ไดด ังน้ี 1) ศีล : สัมมาวาจา-สมั มากมั มนั ตะ-สมั มาอาชีวะ 2) สมาธิ : สัมมาวายามะ-สมั มาสติ-สัมมาสมาธิ 3) ปญญา : สัมมาทฐิ -ิ สมั มาสงั กัปปะ. - สรปุ ก็คอื ศลี (สะอาด) ตรงกับ ละช่วั , สมาธิ (สงบ) ตรงกับ ทาํ ดี , ปญ ญา (สวาง) ตรงกับ ทาํ จิต ใหผอ งใส. 24.โยนิโสมนสิการจดั อยใู นหลักธรรมใด - จดั อยูในปญ ญาวฒุ ิธรรม 4 คอื ธรรมท่ีกอใหเกดิ ความเจริญงอกงามแหง ปญญา ไดแก 1) สปั ปุริสสงั เสวะ คบหาคนดี 2) สทั ธัมมสั สวนะ ใสใ จศกึ ษาเลา เรียน 3) โยนิโสมนสกิ าร คิดโดยแยบคาย ศึกษาหาเหตผุ ลโดยถูกวธิ ี เปนความคดิ เพ่ือกําจัดอวชิ ชาและตัณหา 4) ธัมมานุธัมมปฏิบัติ ปฏบิ ัตธิ รรมใหถ กู ตอ งตามหลัก. สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (184) ____________ โครงการแบรนดซ มั เมอรแ คมป 2010

25.พระพทุ ธเจา เปรียบประเภทของคนเสมือนบวั กเี่ หลา - บวั 3 เหลา (บวั เหนอื นาํ้ บวั เสมอน้าํ บัวที่จมอยูในนาํ้ ) ตอ มาพระอรรถกาจารยไดเ พมิ่ บวั เหลา ท่ี 4 เขา มาเพอ่ื ใหส อดคลองกับการจัดบคุ คลออกเปน 4 ประเภท คือ 1) อคุ ฆฏติ ญั ู บวั เหนอื น้ําและพรอมจะบานเมื่อตองแสงแดด เปนพวกฉลาดมาก 2) วิปจติ ัญู บัวเสมอนาํ้ พรอมที่จะบานในวนั ถัดไป เปนพวกฉลาดปานกลาง 3) เนยยะ บวั กลางนา้ํ พรอมท่ีจะบานในวันตอๆไป เปนพวกพอแนะนําได 4) ปทปรมะ บัวใตโคลนตม เปน พวกโงเ ขลาเบาปญญา - ขอสังเกตตามท่พี ระพทุ ธเจาตรัสสอนธรรม ไมมีบัวเหลา ที่ 4 แสดงใหเหน็ วา มนษุ ยทุกคนมศี กั ยภาพ ท่ีจะตรัสรไู ดเ หมอื นกันหมด แลว แตว า ใครจะตรสั รไู ดย ากหรอื งายเทา นน้ั . 26.มัชฌมิ าปฏปิ ทา (ทางสายกลาง) คืออะไร - เปน ทางท่จี ะนาํ ไปสคู วามจรงิ ไดอยางตรงจุด นําไปสเู ปาหมายที่พึงประสงคไ ด ไมใ ชท างท่ีอยตู รงกลาง ระหวา งทางซา ยหรอื ทางขวา และไมใชท างปฏบิ ัติท่ีสุดโตง 2 ทาง คอื การหมกมนุ อยใู นกาม (กามสขุ ลั ลกิ านุโยค) และการทรมานตนใหลําบาก (อัตตกิลมถานโุ ยค) ในเชงิ ปฏบิ ัติทางสายกลาง กค็ อื มรรคมอี งค 8 ซึง่ สามารถสรุป ลงในไตรสกิ ขา กค็ ือ ศีล สมาธิ ปญญา. 27.ธัมมจกั กปั ปวตั ตนสูตรมสี าระสําคญั อยา งไร - เปน พระสูตรวาดวยการหมนุ กงลอธรรมหรอื พระสตู รแหง การขยายธรรมจกั ร มสี าระสําคัญทีว่ า ดวย 1) ทางสดุ โตง 2 สายทไ่ี มค วรดําเนิน 2) มชั ฌิมาปฏปิ ทา หรือมรรคมอี งค 8 เปนทางสายกลางท่ีนาํ ไปสกู ารพนทุกข 3) อริยสัจ 4. 28.อนันตลักขณสูตรมีสาระสาํ คญั อยางไร - มีหลักการสําคัญ คือ ใหพิจารณาเรอ่ื งขนั ธ 5 (รูป เวทนา สญั ญา สังขาร วญิ ญาณ) วาไมเ ท่ียง เปน ทุกขแ ละเปน อนตั ตา จึงไมค วรยดึ ถือวานั่นเปน ของเราหรือนี่เปนตัวตนของเรา เม่อื พระปญ จวัคคียไดฟงธรรมน้ี กบ็ รรลเุ ปนพระอรหันตพ รอมกนั . 29.ปฏิจจสมปุ บาท (ปะ-ตดิ -จะ-สะ-หมบุ -บาด) คอื อะไร - สภาพที่อาศัยปจ จยั เกดิ ขน้ึ การทีส่ งิ่ ทัง้ หลายอาศยั ซ่ึงกันและกนั จงึ เกิดมีข้ึน ดงั หลกั การทว่ี า “เม่อื สงิ่ นีม้ ี ส่งิ น้ีจงึ มี เพราะสิง่ นเี้ กิดขน้ึ ส่งิ นจี้ ึงเกดิ ขึ้น เมอื่ สง่ิ น้ไี มม ี สิง่ นกี้ ไ็ มมี เพราะสง่ิ นด้ี บั ไป สิ่งนีก้ ด็ ับไปดวย” ปฏิจจสมปุ บาทมีองคประกอบ 12 ประการที่สัมพนั ธเ ชอ่ื มโยงกนั ดังนี้ อวิชชา ↔ สังขาร ↔ วญิ ญาณ ↔ นามรปู ↔ สฬายตนะ ↔ ผสั สะ ↔ เวทนา ↔ ตัณหา ↔ อปุ าทาน ↔ ภพ ↔ ชาติ ↔ ชรามรณะ. - องคประกอบท้งั 12 ประการนี้แยกออกเปน 3 พวกตามหนาทีใ่ นวงจรการเวยี นวา ยตายเกิด เรยี กวา วัฏฏะ 3 (ไตรวฏั ) คอื กิเลสวัฏ กรรมวัฏ และวิบากวฏั (ปฏจิ จสมุปบาท มคี ําทใ่ี ชแ ทนได เชน อิทปั ปจ จยตา ธรรมนยิ าม ปจ จยาการ อริยสจั หรืออาจเรยี กวา กฎของจกั รวาล Cosmic Law). 30.โอวาทปาตโิ มกขคอื อะไร - พระโอวาทท่พี ระพุทธเจา ทรงแสดงแกพระสาวกในวันมาฆบูชา มสี าระสําคญั คอื 1) ละเวนความช่ัวทั้งปวง 2) ทําความดีใหถงึ พรอ ม 3) ทําจติ ใจตนเองใหส ะอาดบรสิ ทุ ธ์ิ ท้ังสามขอน้ีตรงกบั หลกั ไตรสกิ ขา คือ ศีล สมาธิ ปญ ญา โอวาทปาติโมกขถือเปน ธรรมนญู ของพระพทุ ธศาสนา เพือ่ ใหพระสงฆย ึดถือเปนกรอบในการประกาศพระพทุ ธศาสนา. โครงการแบรนดซมั เมอรแ คมป 2010 _____________สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (185)

31.วันมาฆบชู ามคี วามสําคัญอยางไร - ตรงกบั วนั ขนึ้ 15 คํ่า เดือน 3 ถือเปนวันธรรม พระองคทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข คือ ทรงประกาศ หลกั ใหญห รือหวั ใจของพระพุทธศาสนา มเี หตกุ ารณส าํ คัญ คอื 1) วันจาตรุ งคสันนบิ าต 2) วันปลงพระชนมายุสงั ขาร ชาวพทุ ธถอื วาวนั มาฆบูชาเปนวนั แหง ความบริสุทธ์.ิ 32.วันวิสาขบูชามคี วามสําคญั อยางไร - ตรงกับวนั ขน้ึ 15 คํา่ เดือน 6 ถือเปน วันพทุ ธ พระองคป ระสูติ ตรสั รู และปรินิพพาน การตรัสรู อรยิ สจั 4 และปฏิจจสมุปบาทของพระพุทธเจาถือเปนเหตุการณส ําคัญท่สี ดุ เพราะอาศยั การตรัสรูแ ละพระกรณุ า คณุ ของพระองค ชาวโลกจึงไดแสงสวาง คอื ปญญาจากพระองค ชาวพทุ ธถอื วาวนั วิสาขบชู าเปนวันแหง ความสําเร็จของพระพุทธเจา. - ในสมัยพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลานภาลยั (รัชกาลที่ 2) ไดมีการรื้อฟน การประกอบพระราชพิธี วันวสิ าขบูชาขึน้ ใหมจนเปน ประเพณปี ฏิบตั ติ อ มาจนถงึ ทุกวนั นี้ ปจ จบุ นั องคก ารสหประชาชาติกําหนดใหว ันวสิ าขบูชา เปน วันสากลของโลก. 33.วันอาสาฬหบชู ามีความสาํ คัญอยา งไร - ตรงกับวนั ขึน้ 15 คา่ํ เดอื น 8 ถือเปนวนั สงฆ มีเหตุการณสําคัญเกดิ ขึน้ ดงั น้ี 1) เปน วันแรกท่ีทรงประกาศพระศาสนา คอื เผยแผธรรมเปนคร้งั แรก 2) เปน วนั แรกที่ทรงแสดงปฐมเทศนาท่ชี ือ่ วา ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร 3) เกิดพระอริยสงฆร ปู แรก 4) มพี ระรัตนตรยั ครบจงึ ถอื เปนวนั ประดษิ ฐานพระพุทธศาสนา 5) พราหมณโ กณฑัญญะไดดวงตามเหน็ ธรรมและกราบทลู ขออปุ สมบทเปนสงฆร ูปแรกในพระพทุ ธ- ศาสนา ชาวพทุ ธถอื วา วนั อาสาฬหบชู าเปนวันแหงการบชู าเพือ่ นอมระลกึ ถึงเหตุการณในวนั เพญ็ เดอื น 8. 34.หลักธรรมใดที่เก่ียวเนอ่ื งกบั วันสําคัญทางพระพทุ ธศาสนา - วนั วสิ าขบชู ามีหลักธรรมท่เี กี่ยวเน่ือง ไดแก วนั ประสูติ-กตัญูกตเวที วันตรัสร-ู อรยิ สัจ 4 วันปรนิ ิพพาน-อัปปมาทธรรม (ความไมป ระมาท) อ่นื ๆ เชน ขนั ธ 5 ปฏิจจสมุปบาท. - วันมาฆบูชา (วันจาตรุ งคสันนบิ าต) ไดแ ก โอวาท 3 อิทธบิ าท 4. - วนั อฏั ฐมีบูชา (วนั ถวายพระเพลงิ ) ไดแก อัปปมาทธรรม ไตรลกั ษณ. - วนั อาสาฬหบชู า (วันแสดงปฐมเทศนา) ไดแ ก มชั ฌิมาปฏิปทา มรรคมอี งค 8. 35. วันเทโวโรหณะมีความสําคัญอยางไร - ตรงกับวนั แรม 1 ค่ํา เดือน 11 หลงั จากวนั ออกพรรษา 1 วนั เปน วนั ทพ่ี ระองคเสด็จลงจากสวรรค ช้นั ดาวดึงสหลงั จากเสดจ็ ข้ึนไปโปรดพระพทุ ธมารดา ในวันนพ้ี ระองคทรงเนรมติ ใหเทวดา มนษุ ย และสตั วนรกได มองเห็นกนั ทว่ั ทง้ั 3 โลก วนั นีจ้ ึงมชี ่อื เรียกอีกอยางหนง่ึ วา “วนั พระเจาเปด โลก”. 36.วันมหาปวารณาคอื วันอะไร - วันทพ่ี ระสงฆจะประชมุ พรอ มกันในพระอโุ บสถแลว รวมกนั ทาํ พธิ ี “ปวารณา” คือ แตละรปู จะเปด โอกาสใหวา กลาวตกั เตอื นกันไดซึ่งทาํ กนั ในวนั ออกพรรษา กจิ กรรมท่เี กี่ยวเนอ่ื งกับวันออกพรรษา ก็คือ การ ตกั บาตรเทโว ซงึ่ นิยมทาํ กนั หลังวันออกพรรษา 1 วนั คือ วันแรม 1 ค่าํ เดอื น 11 ซึ่งเรยี กวา วัน “เทโวรหณะ”. สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (186) ____________ โครงการแบรนดซ ัมเมอรแ คมป 2010

37.การตักบาตรน้าํ ผงึ้ เก่ียวของกบั วนั สําคญั ทางพระพทุ ธศาสนาวนั ใด - วันสารท คือ วันทาํ บุญกลางปตามประเพณไี ทยซ่งึ ยังอยูในชวงฤดเู ขา พรรษา เปน การทําบุญอทุ ศิ สวนกศุ ลใหแกบ รรพบุรุษที่ลว งลับไปแลว ในเทศกาลวนั สารทไทยมปี ระเพณีทที่ าํ กนั เฉพาะบางแหง เทา นนั้ คอื การ ตักบาตรนาํ้ ผึ้ง (ท่สี มทุ รสาคร) โดยถอื คติตอนท่ีพระพทุ ธเจา เสดจ็ ประทับจําพรรษาอยใู นปา รักขติ วนั พระองคเ ดยี ว มีชาง ปารเิ ลยยกะกับลิงเปนผูคอยถวายอปุ ฏฐาก โดยชางคอยถวายน้าํ ฉนั นํา้ ใช สวนลงิ คอยหาผลไมแ ละนา้ํ ผงึ้ รวงมาถวาย. 38.ทศพิธราชธรรม 10 มีอะไรบาง - 1) ทาน การให 2) ศลี การประพฤติท่ดี ีงาม 3) ปรจิ จาคะ การเสียสละ 4) อาชชวะ ความซือ่ ตรง 5) มัททวะ ความสุภาพ ออ นโยน 6) ตบะ ไมห มกมนุ ในความสุขสําราญจนลืมหนาที่ 7) อักโกธะ ไมโกรธ 8) อวิหงิ สา ไมเ บียดเบียนกดข่ขี มเหงผูอ ยูใตปกครอง 9) ขันติ อดทนอดกลั้น 10)อวิโรธนะ วางตนเปน กลาง. 39.เปรยี บเทยี บสว นประกอบของพระพุทธศาสนากับสวนประกอบของตนไม - การบวช ↔ ลําตน / ลาภสกั การะ สรรเสริญ ↔ กิง่ ใบของตน ไม / การมศี ีลบริสทุ ธ์ิ ↔ สะเกด็ ของตนไม / การมีสมาธิอยา งสมบรู ณ ↔ เปลอื กตนไม / ความเหน็ ดว ยญาณ ↔ กระพี้ของตนไม / ความหลุด พน จากกิเลสโดยเดด็ ขาด ↔ แกน ของตน ไม. 40.นิกายเถรวาทและนกิ ายอาจารยิ วาทมลี กั ษณะแตกตา งกนั อยา งไร - เถรวาทมงุ ปฏบิ ตั ติ ามอรหันตมรรคเพือ่ จะบรรลเุ ปนพระอรหนั ต / สวนอาจาริยาวาทมุงปฏบิ ัตติ าม ทางโพธมิ รรค ยังไมป รารถนาความหลดุ พน จนกวา จะชวยใหสัตวอ่นื พนทุกขกอ น - เถรวาทมงุ รกั ษาพระธรรมวินยั หรือศีลทั้ง 227 ขอ อยางเครงครดั / สว นอาจาริยวาทมุง รกั ษาธรรม มากกวาวินัย เพิ่มวินยั ของพระโพธสิ ตั ว แสดงภาวการณป ฏิบตั ิธรรมอกี 58 ขอ - เถรวาทปฏเิ สธหลกั ตรกี าย (ธรรมกาย-นริ มาณกาย-สมั โภคกาย) / สวนอาจารยิ วาทแสดงลัทธติ รีกาย รบั วา พระพุทธเจามีพระกายเปน สาม คอื ธรรมกาย-นริ มาณกาย-สัมโภคกาย - เถรวาทไมร บั วาพระพุทธภาวะมอี ยใู นสรรพสัตว / สวนอาจารยิ วาทยืนยนั พุทธภาวะมีอยูใ นสตั วไม เลอื กหนา แมแตเดรจั ฉาน - เถรวาทสอนวาบุคคลจะตรสั รูไดด ว ยอรหนั ตมรรคทางเดียวเทานัน้ คือ ศีล-สมาธ-ิ ปญญา / สว น อาจาริยวาทสอนวา บุคคลจะตรัสรไู ด โดยวิธีดงั น้ี 1. การศกึ ษาจากคัมภีร (ปริยตั ิ) 2. การบําเพญ็ ทางใจ (ปฏิบัต)ิ 3. ศรทั ธาตอ พระพุทธเจา (ภกั ด)ี 41.พระไตรปฎ กมสี าระสาํ คญั อะไรทน่ี ารูบา ง - ในสมัยพทุ ธกาลยงั ไมม ีพระไตรปฎ ก แตม ีคําสอนที่เรยี กวา พระธรรมวินยั หลงั จากพทุ ธปรินิพพาน ได 3 เดอื น ไดม กี ารทําสงั คายนาครัง้ ท่ี 1 แลวจดั ระเบยี บพระธรรมวนิ ยั เปน หมวดหมเู พื่อสะดวกในการจดจาํ เรียกวา พระไตรปฎก แตยังคงใชวธิ ีการทองจาํ ตอ มาเม่อื มีการทําสังคายนาคร้งั ที่ 5 ท่ศี รีลังกา จึงไดมกี ารจารึก พระธรรมคําสัง่ สอนเปนลายลกั ษณอ ักษรภาษาบาลี. - ในประเทศไทยไดม กี ารชําระพระไตรปฎกหลายคร้งั เชน สมัยรัชกาลท่ี 1 มกี ารชาํ ระพระไตรปฎ ก มีชอื่ วา “พระไตรปฎกฉบับทอง” สมัยรัชกาลที่ 5 มกี ารชําระพระไตรปฎ กและพมิ พเ ปนอักษรไทย มชี อื่ วา “พระไตรปฎกฉบบั ตราแผนดินหรอื ฉบบั พิมพ” ซง่ึ ถือเปน คร้ังแรกที่มีการพิมพพ ระไตรปฎกเปน อกั ษรไทย สมัย รัชกาลท่ี 7 มกี ารชําระพระไตรปฎก มชี อ่ื วา “พระไตรปฎกฉบบั สยามรฐั ”. โครงการแบรนดซัมเมอรแ คมป 2010 _____________สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (187)

- พระไตรปฎกจงึ เปน คัมภรี ท ่รี วบรวมคําสอนของพระพุทธศาสนา แบง เปน 1) พระวินยั ปฎ ก วาดวยวินัยหรอื ศีล 2) สุตตันตปฎ ก วา ดวยพระธรรมเทศนาทม่ี ีรายละเอียด เชน บคุ คล สถานที่ เหตุการณประกอบ ใหรวู า แสดงแกใคร ทไ่ี หน ปรารภอะไร 3) อภิธรรมปฎ ก วาดว ยหลักธรรมลว นๆ. 42.พทุ ธศาสนพิธีหรือพธิ ีกรรมทางพระพทุ ธศาสนามกี ปี่ ระเภท - 1) กุศลพธิ ี เชน พธิ แี สดงตนเปน พุทธมามกะ พธิ รี ักษาอโุ บสถศลี พธิ ีเวียนเทียน พธิ ีสวดมนตไหวพระ - 2) บญุ พธิ ี งานมงคล เชน ทาํ บุญเลย้ี งพระ ทาํ บญุ ขึน้ บานใหม ทําบุญวันเกดิ และงานอวมงคล เชน ทําบุญในงานศพ ทาํ บุญอัฐิของบรรพบรุ ษ - 3) ทานพธิ ี เชน พธิ ีถวายสงั ฆทาน พิธีถวายภัตตาหาร พธิ ที อดกฐนิ พิธที อดผา ปา - 4) ปกณิ กพธิ ี เชน พิธที าํ บญุ ในวันขึ้นปใ หม วันสงกรานต วันเฉลิมพระชนมพรรษา พธิ ีการกราบ- พระรตั นตรยั พิธีอาราธนาศีล อาราธนาธรรม พิธีประเคนปจ จัยแกพระสงฆ. 43.การทอดกฐนิ เปนการทําบญุ ที่แปลกกวาการทาํ บญุ วธิ อี น่ื อยา งไร - 1) กฐนิ จาํ กดั ประเภททาน คือ ตอ งถวายเปนสังฆทานอยางเดียวเทา นนั้ จะถวายเจาะจงทเี่ รียกวา ปาฏบิ คุ ลิกทาน ไมได. - 2) กฐินจาํ กัดเวลา คือ มกี ําหนดหลงั ออกพรรษาแลว 1 เดอื น คือ ตัง้ แตแ รม 1 คํา่ เดอื น 11 ถึง ขน้ึ 15 ค่าํ เดือน 12 พนจากน้ีไปจะถวายไมได (แตผา ปา ถวายไดต ลอดทัง้ ป) - 3) กฐินจํากดั งาน คอื พระที่รับตองตดั เยบ็ ยอมและครองใหเสร็จภายในวันน้นั . - 4) กฐินจํากัดผรู ับ คือ พระท่ีรับกฐนิ ตองเปนพระท่จี ําพรรษาวัดนั้น พรรษาไมข าดและตองมี จาํ นวนไมน อยกวา 5 รปู ตอ งลงรบั กฐนิ โดยพรอ มเพรียงกนั ทงั้ วัด. - 5) กฐนิ จาํ กดั ของถวาย คือ ตอ งถวายเปน ผาจวี ร (ผาหมคลมุ ) หรือสบง (ผา นุง) หรอื สังฆาฏิ (ผา หม กันหนาว หรือใชพาดบา ) ผืนใดผืนหนึ่งจึงจะเปนกฐนิ ถา ถวายของอืน่ ไมเ ปนกฐนิ . - 6) กฐนิ จาํ กัดคราว คอื วดั ๆ หนึง่ รบั กฐนิ ไดคร้ังเดียวใน 1 ป. - 7) ทานอยางอ่นื ไดอานิสงสเ ฉพาะผใู ห สวนทอดกฐินไดอ านสิ งสทัง้ ผใู หแ ละผรู บั คือ พระผู อนโุ มทนากฐินก็ไดรับอานิสงสก ฐนิ ดวย. - 8) ทานอยางอ่นื ทายกทลู ขอใหพ ระพุทธเจาทรงอนญุ าตใหพระภิกษรุ บั ได เชน การถวายผา อาบ- นาํ้ ฝน ก็เพราะนางวิสาขาไดท ูลขอเพ่อื ถวาย จึงทรงอนญุ าตใหพ ระภิกษุรับผา อาบน้าํ ฝนได แตเ ร่ืองกฐนิ น้ี พระพุทธเจาทรงอนญุ าตเอง ไมม ใี ครขอจึงนบั วา เปน พระพุทธประสงคโ ดยแท. - 9) กรานกฐิน คอื การท่สี งฆตัดเยบ็ จวี รแลวมอบใหสงฆผูไมม ีจวี รหรือจีวรเกาชาํ รุดไดครองจวี ร ดงั กลา ว. 44.งานทาํ บญุ อฐั มิ ีขอ ควรปฏิบัติอยางไร - 1) การอาราธนาพระสงฆจ ะใชคาํ วา “อาราธนาสวดพระพทุ ธมนต” แทนคาํ “อาราธนาเจรญิ พระ- พทุ ธมนต” . - 2) นิยมนิมนตพระสงฆ 8 รูปหรอื 10 รูปตามศรัทธา. - 3) ไมตอ งตงั้ ขันนา้ํ มนต แตเตรียมสายโยง (ดา ย) หรอื ภษู าโยง (ผา) ไว. - 4) นิยมนําอัฐิ (กระดูก) หรอื รูปภาพผตู ายมาตง้ั ในพิธี เพอ่ื ประกอบพิธีสวดบังสกุ ลุ . - 5) การโยงสายโยงตอ งไมโ ยงสูงกวาพระพุทธรปู ทต่ี ัง้ ไวในพธิ ี และไมตาํ่ ลาดลงมาติดพืน้ หรอื กัน้ ทางเดนิ . - 6) การทอดผาบังสุกุลใหว างขวางสายโยงหรือภษู าโยง และหา มขามสายโยงหรือภูษาโยงเปน อนั ขาด. สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (188) ____________ โครงการแบรนดซมั เมอรแ คมป 2010

45. การบรรพชาและอุปสมบทในปจจุบันมีก่ีวิธี - การบรรพชาใชเ รยี กการบวชเปน สามเณร สว นอุปสมบทใชเรยี กการบวชเปน ภกิ ษุ ปจ จบุ นั วิธี อปุ สมบทเหลือ 2 วิธีเทา น้ัน คอื 1) ติสรณคมนูปสมั ปทา ใชบ วชเปน สามเณร 2) ญัตตจิ ตุตถกรรมวาจาอุปสัมปทา ใชบวชเปนภกิ ษ.ุ 46.ศพั ทท างพระพุทธศาสนาท่นี าใจมอี ะไรบา ง - วาสนา : ความเคยชิน พฤติกรรมทก่ี ระทาํ จนเคยชินติดเปน นิสยั วาสนานเ้ี กิดข้นึ ไดทงั้ ทางกาย วาจา และใจ เชน คําพูดติดปาก อาการเดนิ ทีเ่ ร็วหรือเดินตวมเตี้ยม. - บารมี : คุณความดีที่บําเพ็ญอยา งย่ิงยวด. - ปญ ญา : ความรรู อบ ความรูเ ทา ทนั โลกและชีวติ . - วิมุตติ : ความหลุดพน เปนความหลดุ พน จากกเิ ลสอนั เปนเหตุใหเ กิดทกุ ข (ความพน ทุกข) วมิ ุตติ สมั พันธกบั คําวา “นิโรธ” ความดับ เปน การดบั กเิ ลสทีเ่ กิดรากเหงา แหงความชว่ั ทเี่ รียกวา อกศุ ลมลู 3 ไดแก โลภ โกรธ หลง เพราะการดับกิเลสได กค็ ือ การหลุดพนจากกิเลสน่ันเอง. - อามสิ ปฏิสันถาร : การตอนรับดว ยส่ิงของท่คี วรให. - ธรรมปฏิสนั ถาร : การตอนรับดว ยธรรม โดยวิธีการประนมมือ การไหว การทักทายปราศรัยดวย ถอยคาํ ทไ่ี พเราะออ นหวาน มีประโยชน การสนทนาธรรมะ. - การบรหิ ารจติ : การใชส ตคิ วบคมุ จติ ใหร ูทนั สง่ิ นั้นๆ จนเกิดสมาธิ - การเจรญิ ปญญา : การใชจ ติ ท่เี ปนสมาธพิ จิ ารณาสง่ิ นน้ั ๆ จนเกดิ ปญญา รูเ ทา ทนั ตามความเปนจริง ของส่งิ นนั้ ๆ. - ปรโตโฆสะ : การพึ่งผอู ่ืน ความรทู ไ่ี ดร ับมาจากผูอื่นหรอื สง่ิ อ่นื เชน เพ่อื น ครู สื่อส่งิ พมิ พ รวมทง้ั สถานการณทเ่ี ปน แรงดลใจใหเกิดความใฝเรยี นรู. - เยภุยยสกิ า : การตัดสินโดยถือเอาเสยี งขา งมากเปนขอ ยตุ ิ. - เจตสิก : สภาวะท่ีประกอบกบั จิต ส่ิงที่เกดิ ขึน้ พรอ มกบั จติ เชน โลภ โกรธ หลง ศรัทธา (วญิ ญาณ เปนจติ , เวทนา สญั ญา สงั ขาร เปนเจตสิกหรอื อาการของจติ ). - อปุ าทาน : ความยดึ มนั่ ถือม่นั ดวยอาํ นาจกิเลส. - สมถะ : ความสงบจิต การฝก ฝนจิตใหสงบเปน สมาธิ (ไมใช แปลวา ความมักนอ ย เรยี บงา ย ไม ทะเยอทะยาน) - ฌาน (อา นวา ชาน) : การเพง อารมณจ นจิตแนว แนเ ปน สมาธ.ิ - ญาณ (อานวา ยาน) : ความรทู เ่ี กดิ ขน้ึ ภายในจติ ปรชี าญาณหยงั่ ร.ู 47.พทุ ธศาสนสุภาษิตที่จะออกสอบมอี ะไรบาง - จิตตฺ ํ ทนตฺ ํ สขุ าวหํ (จิตทีฝ่ กดแี ลว นาํ สุขมาให) - น อจุ ฺจาวจํ ปณฑฺ ติ า ทสสฺ ยนฺติ (บณั ฑิตยอมไมแ สดงอาการข้ึนๆ ลงๆ) คําวา “ไมแสดงอาการขนึ้ ๆ ลงๆ” หมายถงึ การวางตนเสมอตน เสมอปลายทงั้ ในยามสขุ หรอื ในยามทกุ ข - นตถฺ ิ โลเก อนนิ ฺทิโต (คนทไ่ี มถกู นินทา ไมม ใี นโลก) ดงั โคลงบทน้ี “หา มเพลงิ ไวอยาให มคี วนั หา มสุริยะแสงจนั ทร สอ งไซร หามอายุใหห ัน คนื เลา หามดงั่ นีไ้ วไ ด จงึ หา มนนิ ทา” โครงการแบรนดซัมเมอรแ คมป 2010 _____________สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (189)

- โกธํ ฆตวฺ า สขุ ํ เสติ (ฆาความโกรธไดย อ มอยเู ปน สุข) - ปฏริ ูปการี ธรุ วา อฏุ ฐ าตา วินทฺ เต ธนํ (คนขยนั เอาการเอางาน กระทําการเหมาะสม ยอมหาทรพั ยไ ด) - วายเมเถว ปุรโิ ส ยาว อตถฺ สฺส นปิ ฺปทา (เกดิ เปน คนควรพยายามจนกวาจะประสบความสําเรจ็ ) ตรงกบั สุภาษิตทว่ี า ความพยายามอยูท ่ีไหน ความสําเรจ็ อยทู ่ีน่ัน, ฝนท่ังใหเปนเขม็ , น้าํ หยดลงหนิ หนิ มนั ยังกรอ น. - สนฺตุฏฐิ ปรมํ ธนํ (ความสันโดษเปนทรัพยอยา งย่งิ ) - อิณาทานํ ทุกฺขํ โลเก (การเปนหนีเ้ ปนทกุ ขในโลก) - ราชา มุขํ มนสุ ฺสานํ (พระราชาเปน ประมขุ ของประชาชน) - สติ โลกสฺมิ ชาคโร (สตเิ ปน เคร่อื งตื่นในโลก) - นตถฺ ิ สนฺติ ปรํ สุขํ (สขุ อน่ื ยงิ่ กวาความสงบไมม )ี 48.สรปุ เรอื่ งสาํ คัญในพุทธประวตั ิ - การบาํ เพญ็ บารมี 1) พระเตมยี ใ บ เนกขมั มบารมี 2) พระมหาชนก วิรยิ บารมี 3) พระสวุ รรณสาม เมตตาบารมี 4) พระเนมิราช อธษิ ฐานบารมี 5) พระมโหสถ ปญญาบารมี 6) พระภรู ทิ ัตต ศลี บารมี 7) พระจันทกุมาร ขนั ติบารมี 8) พระนารทะ อุเบกขาบารมี 9) พระวทิ ูรบัณฑติ สัจจบารมี 10)พระเวสสนั ดร ทานบารม.ี - ในปฐมยาม พระองคทรงบรรลบุ พุ เพนวิ าสานสุ ติญาณ ทําใหทรงระลกึ ชาติตางๆ ได / ในมัชฌิมยาม ทรงบรรลุจุตูปปาตญาณ ทาํ ใหท รงเห็นการเวียนวายตายเกดิ ของสรรพสัตว / ในปจฉิมยาม ทรงบรรลุอาสวักขยญาณ ทําใหต ดั กเิ ลสทงั้ ปวง สําเรจ็ เปน พระสัมมาสมั พุทธเจา และทรงตรสั รปู ฏิจจสมุปบาท และอริยสัจ 4. - ดวงตาเห็นธรรม หมายถึง ความเขาใจหลกั ความจริงที่วา “ส่ิงใดสิง่ หนึ่งมีความเกิดขน้ึ เปนธรรมดา ส่งิ น้นั ทั้งปวงลวนมคี วามดับเปน ธรรมดา” - เม่อื ปญ จวคั คียไ ดดวงตาเห็นธรรมครบท้ังหมดแลว พระพทุ ธเจาทรงแสดงธรรมชอ่ื อนนั ตลกั ขณสตู ร ทาํ ใหพ ระปญจวัคคียท งั้ 5 สาํ เร็จเปน พระอรหนั ตทัง้ หมด. - พระพุทธเจา ทรงประสบความสําเร็จในการกอตัง้ พระพทุ ธศาสนาท่ีแควนมคธเปน แหง แรก. 49.พทุ ธสาวก พทุ ธสาวิกา และชาวพทุ ธตัวอยาง - พระสารีบตุ ร (อัครสาวกเบ้ืองขวา ผมู ปี ญ ญาเปนเลศิ และเชดิ ชคู วามกตัญ)ู - พระมหาโมคคัลลานะ (อคั รสาวกเบอื้ งซา ย ผไู ดร ับการยกยองวามฤี ทธเิ์ หนอื ใคร) - พระอานนท (พหูสตู ผูทรงจาํ พระธรรมวนิ ยั ) - พระองคุลิมาล (เปน ตัวอยางบคุ คลประเภท ตนคด ปลายตรง หรือ มดื มา สวางไป) - พระกสิ าโคตมีเถรี (สอนวา ความตายเปน เรอ่ื งธรรมดาของชีวิต) - พระปฏาจาราเถรี (ภิกษณุ ผี เู ปนเลศิ ทางทรงพระวินยั ) - นางจูฬสภุ ัททา (อบุ าสิกาผมู ีศรัทธามั่นคงในพระรัตนตรัย สตรีนักเผยแผพ ระพทุ ธศาสนาชั้นนํา) - นางมลั ลิกาเทวี (สอนวา เวรยอ มระงบั ดว ยการไมจ องเวร) - นายสุมนมาลาการ (อุบาสกผสู ละชวี ติ เพอ่ื บชู าพระพุทธเจา ) - พระเจาพมิ พสิ าร (ผูสรา งวดั แหง แรกถวายไวในพระพทุ ธศาสนา) - สมเดจ็ พระมหาสมณเจา กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส (ผวู างรากฐานการศกึ ษาของคณะสงฆไ ทย) - พระธรรมโกศาจารย : พุทธทาสภกิ ขุ (ผทู ไ่ี ดรับยกยอ งวา เปนเสมือนเสนาบดแี หงกองทพั ธรรมใน ยคุ ก่ึงพุทธกาล ผูเช่ือวามนุษยทุกคนมีศักยภาพ) - พระธรรมโกศาจารย : ปญ ญานนั ทภิกขุ (ผไู ดช ่อื วา เปน นักเผยแผธรรมท่ีดี) สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (190) ____________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010

- พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตโฺ ต) - ดร.เอ็มเบดการ (ผตู อสกู ับระบบวรรณะในอนิ เดยี ) - อนาคาริก ธมั มปาละ (ผูเ รยี กรอ งขอสทิ ธคิ รอบครองสังเวชนยี สถานใหเ ปนสมบตั แิ กชาวพุทธทัว่ โลก) ศาสนาพราหมณ- ฮินดู 1. ศาสนาพราหมณม ปี ระวตั ิความเปนมาโดยยอ อยา งไร - ศาสนาพราหมณเปน ศาสนาด้ังเดมิ ของชาวอารยัน ไมม ีองคศ าสดาผูกอตงั้ ศาสนา เปนศาสนาที่ กอ ตั้งข้ึนจากลัทธบิ ูชาธรรมชาติ ชาวอารยันยกยองธรรมชาตวิ า เปน เทพเจา มีการเซน สรวงบชู าและสวดออ นวอน เพื่อใหเทพเจา คมุ ครอง และยึดถอื เรอื่ งวรรณะ. - ศาสนาพราหมณ-ฮินดมู ีความเชอ่ื ในเรื่องพระเจา สรางโลก และเช่ือวาโลกตองประกอบดวย พราหมณ-คัมภรี พ ระเวท-วรรณะ ศาสนาพราหมณ- ฮนิ ดูแบง ได 3 ยุค คอื 1) ยุคพระเวท 2) ยุคมหากาพยและทรรศนะทง้ั หก 3) ยคุ ฮินดู. 2. ศาสนาฮินดมู ีววิ ฒั นาการมาอยางไร - 1) เปลยี่ นจากนบั ถอื เทพเจา หลายองค (พหเุ ทวนยิ ม) มาเปน นับถือเทพเจา สูงสดุ เพยี งองคเ ดียว (เอกเทวนยิ ม) คือ พระพรหม. - 2) เชื่อวาดวงวญิ ญาณเปนอนตั ตะ คอื ไมม ีท่ีสิน้ สุด เวยี นวา ยตายเกดิ อยใู นสงั สารวฏั จนกวาจะ เขาไปรวมอยูกับปฐมวิญญาณ คือ มหาพรหม. - 3) กรรมกาํ หนดชะตาชีวิต เชื่อวาชีวิตเปนไปตามกรรมทเ่ี กิดจากการกระทําในชาติปางกอน และ กรรมนที้ ําใหต อ งเวียนวายตายเกิด ตางจากสมัยพระเวททเ่ี ช่ือวา มีธรรมชาติหรอื เทพเจา คอยควบคุมใหผลเปน ไป ตามวบิ ากกรรมของแตล ะคน. - 4) สงั สารวฏั การหลดุ พน จากสังสารวัฏมวี ธิ ีเดยี ว คือ การเขาสปู าเพอื่ แสวงหาสัจธรรม. 3. ตรมี รู ติ ในศาสนาพราหมณ-ฮินดูหมายถงึ อะไร - เทพเจา แทจ ริงมีเพยี งหนึ่งเดยี ว แตแ บง ออกเปน 3 ภาค คือ 1) พระพรหม ผสู รางโลกและจกั รวาล มพี ระชายาช่อื พระสรุ ัสวดี 2) พระวษิ ณหุ รือพระนารายณ ผูรักษาคุมครองโลก มพี ระชายาชือ่ พระลกั ษมเี ทวี 3) พระศิวะหรือพระอิศวร ผทู าํ ลายโลกและสรา งโลกใหม มีพระชายาชอ่ื พระอุมาเทวี. 4. คําวา “โอม” หมายถึงอะไร - โอม เปนรูปสระประสมของสระอะ สระอุ และอนสุ วาร (นฤคหติ ใชแทน ม.) โอม หมายถงึ พระเจา ท้งั 3 คอื พระวิษณุ พระศวิ ะ พระพรหม ตวั อักษร อ = พระวิษณุ อุ = พระศวิ ะ อนุสวาร (แทน ม) = พระพรหม. 5. คมั ภีรพระเวทของศาสนาพราหมณมีอะไรบาง - 1) ฤคเวท เปนคมั ภรี ท ่เี กา แกทส่ี ดุ วาดว ยบทสวดสรรเสรญิ ออ นวอนเทพเจา 2) ยชรุ เวท เปน คมู ือพราหมณใ นการทาํ พธิ ีบชู ายญั 3) สามเวท ใชสวดในพธิ ถี วายน้ําโสมแดพ ระอินทร 4) อาถรรพเวท เปน มนตรคาถาอาคมเก่ียวกับไสยศาสตรสาํ หรบั พิธีแกเสนียดจัญไร. 6. คมั ภีรใดท่ีแสดงถึงลทั ธอิ วตารในศาสนาพราหมณ-ฮนิ ดู - 1) คัมภรี อิติสาหะ วา ดวยวีรกรรมของวรี บรุ ุษ ไดแก มหากาพยร ามายณะ และมหากาพยม หาภารตะ 2) คมั ภรี ปุราณะ (เปรยี บเสมือนสารานุกรม เปน ทีร่ วมความรูตางๆ ของชาวฮนิ ดูโบราณ) วาดว ย ตรีมูรติ การสรา งโลก-ทาํ ลายโลก-สรางโลกใหม และกําเนดิ ของเทพเจา การครองโลกของพระมนู ประวตั ิ สุรยิ วงศแ ละจนั ทรวงศ. โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _____________สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (191)

7. มหากาพยร ามายณะและมหากาพยมหาภารตะเปน เร่อื งเก่ยี วกับอะไร - 1) มหากาพยรามายณะ หรอื รามเกยี รติ์ กลาวถึงพระวิษณอุ วตารลงมาเปน พระรามเพื่อปราบทศกัณฐ 2) มหากาพยม หาภารตะ กลาวถงึ สงครามระหวางกษตั รยิ เการพกบั ปาณฑพซ่ึงเปนพระญาติกัน โดยพระวษิ ณอุ วตารลงมาเปนพระกฤษณะ ทาํ หนา ทเ่ี ปนนายสารถขี บั รถศกึ ใหอ รชนุ . 8. หลกั ธรรมท่ีสําคญั ในศาสนาพราหมณ-ฮนิ ดมู อี ะไรบา ง - หลกั อาศรม 4 / หลกั ปรุ ุษารถะ / หลกั ปรมาตมนั ชวี าตมัน / หลกั โมกษะ./ หลักปรชั ญาภควัทคตี า / หลกั ธรรม 10 ประการ. 9. หลกั อาศรม 4 คอื อะไร - เปน ขนั้ ตอนของชีวิตหรือทางปฏบิ ตั เิ พ่ือยกระดับชีวิตใหส งู ขนึ้ ไดแก พรหมจารี p คฤหัสถ p วานปรสั ถ p สันยาสี 1) พรหมจารี วัยเลา เรยี น เดก็ ชายทกุ วรรณะ ยกเวนวรรณะศูทร ตองเขาพธิ อี ปุ นยสนั สการหรือ พธิ รี ับศิษยเ ขา สูสาํ นกั โดยมีการคลอ งดา ยศกั ดิ์สทิ ธ์ิท่เี รยี กวา ยัญชโยปวตี จากอาจารย 2) คฤหัสถ วัยครองเรอื น 3) วานปรสั ถ วัยปฏบิ ตั ธิ รรมในปา 4) สันยาสี วัยออกบวชเพอ่ื จดุ หมายปลายทางของชวี ติ คอื โมกษะ. 10.หลักปรุ ุษารถะ คอื อะไร - เปนจุดมงุ หมายสงู สุดของชีวติ ไดแ ก อรรถะ p กามะ p ธรรม p โมกษะ 1) อรรถะ การแสวงหาทรพั ยสนิ หรือสรา งฐานะทางเศรษฐกจิ 2) กามะ การแสวงหาความสุขทางโลกตามแนวทางของหลกั ธรรม 3) ธรรม การถงึ พรอมดว ยคุณธรรมศลี ธรรม 4) โมกษะ อิสรภาพทางวญิ ญาณ เปนอุดมคตใิ นชีวติ . - เมือ่ เทยี บหลกั ปรุ ุษารถะกับหลกั อาศรม 4 ไดด ังน้ี อรรถะ กามะ สมั พนั ธกับชว งชีวิตขนั้ คฤหัสถ, ธรรม สมั พันธกับชวงชวี ิตข้ันวานปรสั ถ, โมกษะสัมพนั ธก ับชว งชีวิตข้ันสันยาสี. 11.หลกั ปรมาตมนั ชีวาตมัน โมกษะ มคี วามเชื่อและความสมั พนั ธก ันอยางไร - ปรมาตมนั (หรอื เรยี กวา พรหมัน ปฐมวิญญาณ อาตมันสากล ปุรษุ ะ) เปน วิญญาณท่เี กิดขนึ้ เอง เปน อมตะ มองไมเ หน็ ดวยตา เปนทเี่ กิดของอาตมัน สวนชีวาตมนั (หรือเรียกวา อาตมนั ) เปนวิญญาณยอ ยที่ ออกมาจากปฐมวญิ ญาณและมกี ารเวียนวา ยตายเกิด. - สาเหตทุ ที่ าํ ใหชีวาตมนั ตอ งเวยี นวายตายเกิด ก็คอื อวชิ ชาหรอื อวทิ ยา อันไดแ ก ความไมร ูแจงใน ธรรมชาตอิ ันแทจรงิ ของตนเองและปรมาตมัน อวทิ ยาและกรรมทําใหช วี าตมันตองเวยี นวายตายเกิดอยใู นวัฏสงสาร เม่ือใดขจัดอวิทยาใหห มดไปจงึ จะหลดุ พนจากการเวียนวา ยตายเกดิ และบรรลโุ มกษะ โดยชีวาตมันเขา รวมเปนหนึ่ง เดยี วกบั ปรมาตมนั ตลอดไป. 12.หลกั โมกษะ คืออะไร - โมกษะ แปลวา การหลุดพน ซ่ึงหมายถึง การท่ีวญิ ญาณยอ ยหลดุ พนจากสงั สารวฏั แหงการเวียน- วายตายเกดิ หรือการที่วิญญาณยอ ยเขา ไปรวมเปน หนึ่งเดยี วกับกบั พระเจา หรอื การทชี่ ีวาตมนั เขา ไปรวมกับปรมาตมัน โมกษะถอื เปนจดุ มงุ หมายสูงสุดของศาสนาพราหมณ-ฮนิ ดู. - สว นวิธีที่จะใหถึงการหลุดพน ก็คือ การปฏบิ ตั ติ ามหลกั อาศรม 4 และมรรค 4 ไดแก 1) กรรมมรรค ทางแหง กรรม 2) ภักตมิ รรค ทางแหงความภักดใี นพระเจา 3) ชญานมรรค ทางแหงปญ ญารูแจง 4) ราชมรรค ทางแหง การฝก ฝนจติ . สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (192) ____________ โครงการแบรนดซ ัมเมอรแคมป 2010

13.หลกั ปรัชญาภควทั คีตา คืออะไร - เปน คําสอนท่พี ระเจา ประทานแกม นุษยเพอ่ื ชีท้ างใหเขา ถึงพระเจา คมั ภีรภควัทคีตาเปนสวนหน่ึง ของมหากาพยมหาภารตะ เปนคัมภรี ว าดว ยศาสนวิทยาและปรชั ญา ถือเปน ยอดของวรรณคดแี ละเปน หัวใจของ ปรัชญาฮินดู ภควทั คตี าสอนวาหนทางไปสูโมกษะมีหลายทาง แตถือวา หนทางแหงความภกั ดี (ภักตมิ รรค) นน้ั ดี ทสี่ ุด เพราะผูท่ีอทุ ิศตนแกพระเจา พระเจา จะชว ยใหบ รรลโุ มกษะ. 14.หลกั ธรรม 10 ประการในพระธรรมศาสตรข องศาสนาฮนิ ดูมีอะไรบาง - 1) ธฤติ ความมน่ั คง ความกลา ความพากเพียรพยายาม เพ่อื ใหไ ดรับความสาํ เรจ็ และพอใจในส่งิ ที่ ตนมีอยู 2) กษมา ความอดทนอดกล้ัน และมีความเมตตากรุณา 3) ทมะ การรจู กั ขมใจ ไมปลอยใหจ ิตใจหว่นั ไหวไปตามอารมณไดง า ย มสี ตอิ ยเู สมอ 4) อสั เตยะ การไมล ักขโมย 5) เศาจะ การทาํ ตนใหบ รสิ ทุ ธิ์ทั้งรางกายและจิตใจ 6) อินทรยี นคิ รหะ การระงบั อนิ ทรยี  10 คือ ตา หู จมูก ลนิ้ ผวิ หนัง มอื เทา ทวารหนัก ทวารเบา และลาํ คอ ใหเ ปนไปในทางทถ่ี กู ตอง ใหอยูในขอบเขต 7) ธี การมปี ญญา 8) วทิ ยา ความรูทางปรัชญา 9) สัตยะ การแสดงความซือ่ สัตยต อ กันและกนั 10)อโกธะ ความไมโกรธ การรูจักขม ใจใหส งบ. 15.พิธีกรรมในศาสนาพราหมณ-ฮนิ ดมู อี ะไรบา ง - 1) พิธสี ังสการ เปน พธิ ีประจาํ บาน พธิ ีกรรมที่ทําใหบริสทุ ธ์แิ กบุคคลในวรรณะพราหมณ กษตั ริย แพศยเทา นนั้ การทาํ พิธีตองอาศยั พราหมณนักบวชเปน ผทู ํา 2) พธิ ีศราทธ เปนพิธที าํ บญุ แกญ าติผลู วงลบั ไปแลว โดยทาํ ขาวปณ ฑะหรอื ขาวสกุ เพอ่ื อุทิศแก บรรพบรุ ษุ 3) พธิ บี ชู าเทวดา. 16.นิกายในศาสนาพราหมณ- ฮินดูมอี ะไรบาง - 1) นิกายพรหม นับถือพระพรหมเปน เทพเจา สูงสุด 2) นกิ ายไวษณพ นับถอื พระวิษณุเปน ใหญ เช่ือในลัทธอิ วตาร 3) นิกายไศวะ นบั ถือพระศิวะเปนใหญ มีสัญลักษณพิเศษคือรปู ศิวลงึ ค 4) นกิ ายศกั ติหรอื ลทั ธบิ ูชาเทวี นบั ถือชายาหรือมเหสขี องพระเปนเจา เชน พระอุมาเทว.ี 17.ศัพทใ นศาสนพราหมณ-ฮนิ ดทู ่นี าใจมีอะไรบาง - คัมภีรศ รุติ : คมั ภรี ท ีเ่ กดิ จากการรับฟงมาจากพระเจาโดยตรง ทสี่ าํ คัญคอื คมั ภรี พระเวท. - คัมภีรสมฤติ : คมั ภีรท่ีมนุษยสรางข้ึนเอง เชน คมั ภรี พ ระธรรมศาสตร คมั ภีรอ ิตหิ าสะ. - คมั ภรี อ ปุ นษิ ัท : คมั ภรี ปรัชญาเกย่ี วกบั เรื่องอาตมนั การเวยี นวายตายเกดิ พระเจา โลก มนษุ ย. - คัมภรี ธรรมศาสตร : คัมภรี วาดว ยหลักกฎหมายจารตี ประเพณแี ละสทิ ธิหนาทีข่ องคนในสงั คมฮนิ ดู. โครงการแบรนดซัมเมอรแ คมป 2010 _____________สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (193)

ศาสนาครสิ ต 1. สรปุ เรือ่ งสําคญั ในศาสนาคริสต - ศาสนาครสิ ตเ ปนศาสนาทีส่ ืบเนอ่ื งมาจากศาสนายดู ายหรอื ยิว มีกําเนิดในดินแดนปาเลสไตน. - พระเจาไดม อบ “บัญญัติ 10 ประการ” ใหแ กโ มเสส เพ่อื ประกาศเผยแผแ กชาวยิวใหถ ือเปนหลกั ปฏิบัติ บัญญตั ิ 10 ประการนถี้ อื เปน คําสอนสําคัญของศาสนายูดายและคริสต. - ตอนแรกชาวยิวเชอ่ื วาพระเยซูเปน พระเมสสอิ าห (Messiah) - พระเจา สงพระเยซู (พระบตุ ร) ใหอ วตารลงมาเกดิ เปนมนุษยเ พื่อชว ยไถบาปใหแกม วลมนุษย. พระเยซจู ึงเปนพระเมสสอิ าหห รอื พระผไู ถบ าป. - การทพ่ี ระเยซถู ูกประหารชีวติ โดยการตรึงไมก างเขน เหตุการณน ้แี สดงถงึ ความรกั ความเมตตาท่ี พระเยซูมีตอ มนุษย โดยพระองคย อมแมก ระทงั่ เสยี สละชวี ติ เพอ่ื ไถบ าปใหแ กมวลมนุษย. - เปนศาสนาแหง ความรัก เปน ความรักตอพระเจาและตอเพื่อนมนษุ ย มนษุ ยท ุกคนลว นเปนบุตรของ พระเจา จึงควรรักกนั เหมือนพีน่ อง. - คริสตศ กั ราชเรม่ิ นบั ตัง้ แตปประสูตขิ องพระเยซู วันอีสเตอร (Easter) เปนวันฉลองการฟน คืนชพี ของพระเยซู ของขวัญท่ีนิยมมอบใหก ันวนั น้ี คือ ไข ซึ่งถอื เปน สัญลักษณแหง การเกิด. 2. หลักธรรมทสี่ ําคญั ในศาสนาคริสตม อี ะไรบาง - บาปกาํ เนดิ / ความรกั / ตรีเอกานภุ าพ / บัญญตั ิ 10 ประการ / อาณาจกั รพระเจา . 3. บาปกําเนิด (Original Sin) คอื อะไร - เนอ่ื งจากบรรพบุรพุ ของมนษุ ย (อาดมั กับอีฟ) ไดทําความผดิ ไว ความผดิ หรอื บาปนจี้ งึ ตกทอดมาแก มนุษยท กุ คน บาปนเี้ รยี กวา บาปกําเนดิ มนษุ ยจ ะหลดุ พนจากบาปน้ไี ดโ ดยทําตามคาํ สอนของพระเจาและมศี รัทธา ในพระเยซูวา จะทรงชว ยมนษุ ยได. - และตามคติของศาสนาครสิ ต มนษุ ยเ ปนผมู จี ิตใจออนแอจงึ เปนเหตุใหม นษุ ยจะทาํ ความช่ัวไดง า ย มนุษยจงึ ตองพ่ึงพระบารมีของพระเจา และพระเยซูเพ่อื ชว ยใหมีจิตใจหนักแนน และพระเจา ไดใหเสรีภาพในการ ตัดสินใจในการกระทําแกม นษุ ย เพ่อื ใหม นษุ ยรูคาความดีความชวั่ ดว ยตนเอง. 4. ความรัก (Agape อานวา อา-กา-เป) ในศาสนาครสิ ตค อื อะไร - “ความรัก” ในศาสนาครสิ ต คือ ความเมตตากรณุ า เสียสละ และใหอ ภยั (ไมใชค วามรกั ท่ี ประกอบดว ยตัณหา ความรักชนดิ นีต้ รงกับคําวา เมตตา กรณุ า มทุ ิตา ในทางพระพุทธศาสนา) ความรักถอื เปน หลกั คําสอนทเ่ี ปน หัวใจของศาสนาคริสต เชน คําสอนทวี่ า “จงรักพระเจา อยางสดุ ใจ สุดความคิด และสุดกาํ ลงั และจงรักเพอื่ นมนษุ ยเหมอื นรกั ตวั เอง” สอนวาใหร ักพระเจา ตนเอง และเพื่อนบา น เพอ่ื นบา นในทน่ี ี้ กค็ ือ มวลมนษุ ยชาต.ิ - “เหมือนกบั ทฝี่ นตกและแดดออกเหนอื คนดีและคนช่วั เหมอื นกนั ” สอนใหเ รารกั คนโดยไมเลอื กหนา . - “ถา ผใู ดตบแกมขวาของทา น ใหหันแกมซายใหเขาตบดว ย” สอนใหเราตอบแทนความชวั่ ดวยความดี อดทนตอ ความผดิ พลาดของผูอน่ื และไมมองคนในแงราย. 5. ตรเี อกานุภาพ (Trinity) คอื อะไร - พระเจา มอี งคเ ดียวแตแบงเปน 3 บคุ คล คือ 1) พระบิดา พระผสู รางโลกและสรรพสิง่ 2) พระบตุ ร พระเยซคู รสิ ต 3) พระจิต พระผูม าปรากฏอยูใ นจิตวิญญาณของมนุษยเ พือ่ เกอ้ื หนุนใหม นุษยม คี ณุ ธรรมความด.ี สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (194) ____________ โครงการแบรนดซ ัมเมอรแ คมป 2010

6. บญั ญตั ิ 10 ประการ มีอะไรบา ง - 1) จงนมสั การพระเจา แตเพยี งพระองคเ ดียว 2) อยาออกนามพระเจาโดยไมสมเหตุ 3) จงนบั ถือวันพระเจาเปน วันศกั ด์สิ ทิ ธ์ิ 4) จงนับถอื บิดามารดา 5) อยา ฆาคน 6) อยาผดิ ประเวณี 7) อยาลกั ทรัพย 8) อยานนิ ทาวารา ยผอู ืน่ 9) อยาคดิ มิชอบ 10)อยามคี วามโลภในสิง่ ของของผอู ่นื . - นอกจากบญั ญัติ 10 ประการแลว ยังมคี าํ สอนทางจรยิ ธรรมทีส่ ําคญั ของพระเยซู เชน “อยากลาวโทษเขา เพอ่ื เขาจะไดไ มก ลาวโทษทาน” “จงปฏิบตั ติ อ ผูอ ื่นเหมือนกบั ที่เราตอ งการใหผูอื่นปฏบิ ัตติ อเรา” “ถา มอื ขางขวาของทานหลงผิด จงตดั ทิง้ เสีย เพราะเสียอวัยวะอันหน่งึ กด็ กี วาตัวของทานจะตอง ทิ้งในนรก” “บุคคลผใู ดมีใจบรสิ ทุ ธกิ์ เ็ ปนสุข เพราะวาเขาจะไดเหน็ พระเจา ”. 7. คัมภรี ไ บเบิลของศาสนาคริสตแ บง ออกเปน กภ่ี าค - 2 ภาค คือ 1) พันธสัญญาเดมิ (Old Testament) เปนคมั ภีรของศาสนายิว และชาวครสิ ตก็ยอมรบั วาเปน สวนหน่ึงของคมั ภีรในศาสนาของตนดว ย มีเนอื้ หาวาดว ยประวตั ิความเปน มาของชนชาตยิ วิ เรมิ่ ตั้งแตพระเจา สรางโลกจนถึงสมยั กอ นพระเยซูประสตู ิ 2) พันธสญั ญาใหม (New Testament) เรม่ิ ต้งั แตพระเยซปู ระสูติ พูดถึงชีวติ และคาํ สอนของ พระองค ภาคน้ชี าวยวิ ไมยอมรบั วา เปน คัมภีรในศาสนาของตน เพราะไมย อมรับวา พระเยซูเปน บตุ รของพระเจา . 8. ศาสนาครสิ ตมีนกิ ายสําคัญอะไรบาง - 3 นกิ าย คอื 1) นิกายโรมันคาทอลิก 2) นกิ ายออรท อดอ็ กซ 3) โปรเตสแตนต - นกิ ายโรมันคาทอลิก : 1) พระสันตะปาปาเปน ประมุขของศาสนจักร 2) ยึดถือคาํ สอนของนักบุญเปโตร (ปเตอร) อัครสาวกของพระเยซู เพราะพระองคป ระทานอํานาจ นี้ไวให ชาวคริสตจึงยกยอ งใหน กั บญุ ปเตอรเปน หวั หนา ผูสบื ศาสนา 3) นักบวชหามแตง งาน 4) ยกยอ งพระแมมารี โยเซฟ และนบั ถอื บูชานักบุญ 5) เชอื่ เร่ืองแดนชําระบาป 6) นบั ถอื ศีลศกั ดสิ์ ิทธทิ์ ้ัง 7 ขอ 7) สัญลกั ษณข องนิกายน้ี คอื กางเขนทม่ี รี ูปพระเยซทู รงถูกตรงึ . - นิกายออรทอด็อกซ : 1) ไมข นึ้ ตอศาสนจักรและพระสันตะปาปาแหง โรม 2) ไมนับถือบชู านักบุญ 3) ไมเชอื่ เรอื่ งแดนชาํ ระบาป โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _____________สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม (195)

4) หา มประดิษฐร ปู เคารพบชู า 3 มิติ เชน รูปปน รปู แกะสลัก 5) สญั ลกั ษณข องนิกายน้ี คือ ภาพเขยี น 2 มิติ เปน ภาพแบนประดับโมเสกทเ่ี รียกวา รูปไอคอนส (Icons) แปลวา รูปจาํ ลอง. - นิกายโปรเตสแตนต : 1) ถือวาพระคัมภีรเ ปน สิง่ สูงสุด ไมขึ้นตอตอศาสนจักรและพระสนั ตะปาปาแหงโรม 2) ไมเ ชอ่ื วา พระสันตะปาปาและบาทหลวงมอี าํ นาจในการอภัยบาป 3) ไมมนี ักบวช มแี ตผ สู อนศาสนา 4) ไมย กยองบูชาพระแมมารี โยเซฟ และนกั บญุ 5) ไมเช่ือเร่อื งแดนชาํ ระบาป 6) นบั ถือศลี ศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ 2 ขอ คือ ศลี ลา งบาป และศลี มหาสนทิ 7) สญั ลกั ษณของนกิ ายน้ี คอื กางเขนทไี่ มมีรูปพระเยซทู รงถกู ตรงึ . 9. พธิ ีศลี ศกั ดส์ิ ิทธ์ิ 7 ประการ (Sacraments) มอี ะไรบา ง - 1) ศลี ลา งบาป (หรือศลี บัพตศิ มา ศีลจุม) เปนพธิ แี รกท่ผี จู ะเปนคริสตศ าสนิกชนจะตองรบั พธิ ี ศีลลางบาปเปนศีลสําคญั ทส่ี ุด เมอื่ รบั ศีลลา งบาปแลว จึงจะมสี ิทธริ์ บั ศีลอน่ื ๆ ตอไปได ศลี ลางบาปรับเพยี งหนเดียว ไมต องมีการรบั ซ้ําอกี . - 2) ศีลกําลงั เพ่อื เปน การยืนยันวาตนยอมรบั นับถือคริสตศาสนาจรงิ . - 3) ศีลมหาสนิท เพ่ือระลกึ ถึงชวี ติ และคาํ สอนของพระเยซู ศีลมหาสนิทเปนพิธสี ําคญั ทีส่ ดุ ของพิธี มิสซา คือ พิธรี ะลึกถึงวนั ทพี่ ระเยซูเสวยพระกระยาหารครง้ั สดุ ทายรวมกบั อัครสาวก ชาวคริสตจะกนิ ขนมปงและ ดม่ื เหลา องนุ ท่บี าทหลวงสง ให เพ่อื ระลึกถงึ การท่ีพระเยซูทรงสละพระวรกายและพระโลหติ เพ่อื มนษุ ย ซง่ึ แสดง ความเปนอนั หนึ่งอันเดียวกับพระเจา. - 4) ศลี แกบาป (หรอื ศลี สารภาพบาป) เพอื่ เปนการเรมิ่ ตนทาํ ความดีหลังจากการยอมรับความ ผดิ พลาด. - 5) ศลี เจมิ คนไข เพ่ือใหผปู วยนน้ั ไดชําระโทษบาปทต่ี ิดคา งอยูใหหมดส้นิ ไปและมีกาํ ลังใจอดทนตอ ความทกุ ข. - 6) ศลี บวช (ศลี อนกุ รม) - 7) ศลี สมรส เปนพธิ ีศักด์สิ ิทธิเ์ พราะทําตอพระพกั ตรข องพระเจา ผทู ี่รบั ศลี สมรสจะหยารางกัน ไมไ ดแ ละหามสมรสใหมขณะทสี่ ามีภรรยายงั มชี วี ิตอยู. ศาสนาอสิ ลาม 1. อิสลาม แปลวาอะไร - แปลวา สนั ติหรอื นอบนอม ยอมจาํ นนโดยส้ินเชิง หมายถงึ การนอบนอ มตนตอ พระอัลลอฮฺแตองค เดยี วโดยสิน้ เชิง. 2. สรปุ เรื่องสาํ คญั ในศาสนาอิสลาม - เปน ศาสนาทเี่ ช่ือวา พระเจา เปนผสู ราง มนุษยเปนเพียงผูท ี่นาํ คาํ สอนมาเผยแผเทานนั้ ศาสนา อสิ ลามจึงไมใชศ าสนาท่นี บมี ูฮมั มัดคดิ คนขึน้ เอง พระเปนเจาของศาสนายิว ครสิ ต อิสลามเปน พระเจา องคเ ดยี วกัน. - เปนศาสนาทไี่ มมีนกั บวช มุสลิมทุกคนตอ งปฏบิ ัติศาสนกจิ เหมอื นกนั หมด จึงไมไ ดแ บงแยกแนว ปฏิบตั ริ ะหวา งศาสนิกชนกบั นกั บวช อิหมามเปนเพียงผนู ําในการนมสั การพระเจา มิใชพ ระทท่ี าํ หนาท่เี ปน คนกลาง ระหวางพระเจา กบั มนษุ ย. สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (196) ____________ โครงการแบรนดซ ัมเมอรแ คมป 2010

- ศาสนาอิสลามเปน ธรรมนญู แหง ชวี ิต (Code of Life) คือ การดําเนินชวี ิตของมสุ ลิมตองเปนไป ตามขอปฏิบตั ทิ างศาสนาอสิ ลาม. - อสิ ลามไมเ ปนเพยี งศาสนา แตยังเปน ระบบการเมอื ง เศรษฐกิจ และวฒั นธรรม. - ฮิจญเราะหศ ักราช เปน ปท น่ี บีมฮู มั มดั อพยพจากเมกกะไปทเ่ี มอื งมะดีนะฮ. 3. คมั ภีรท ี่สาํ คญั ของศาสนาอสิ ลามคอื อะไร - อลั กรุ อานเปน คัมภีรท ี่สาํ คญั ทส่ี ุดทพ่ี ระเจา ประทานใหแ กมนุษย สวนบันทึกคําสอนของทา นนบมี ฮุ มั มดั เรียกวา “อัล- ฮะดีษ”. 4. หลักคาํ สอนทสี่ าํ คญั ของศาสนาอสิ ลามมอี ะไรบา ง - หลักศรัทธา 6 ประการ และหลกั ปฏิบัติ 5 ประการ 5. หลักศรัทธา 6 ประการมอี ะไรบา ง - 1) ศรัทธาในพระอลั ลอฮฺ หามมิใหมุสลิมสักการบูชาส่งิ ใดนอกจากพระอลั ลอฮฺ เพราะถอื เปนการ ตัง้ ภาคเสมอกบั พระเจา. - 2) ศรัทธาในเทวทูต (มลาอีกะห) ผูรบั ใชพ ระเจา เปน วญิ ญาณท่มี องไมเ ห็น เชน ญบิ รออีล ทาํ หนาที่นําโองการจากพระเจามาใหแกศ าสดา อิสรออลี ทําหนาท่ีถอดวิญญาณมนษุ ย รกบิ -อตดิ๊ ทาํ หนาทบ่ี นั ทึก ความดชี วั่ ของมนุษย มงุ กัร-นกีร ทาํ หนาทีส่ ัมภาษณผตู ายทีห่ ลมุ ฝงศพ. - 3) ศรัทธาในคัมภรี  มี 4 คมั ภีรท ่สี าํ คัญ คือ คัมภีรเตารอด ประทานใหแกนบีมซู า (โมเสส), คมั ภีร ซะบรู ประทานใหแ กนบดี าวูด, คมั ภีรอินญีล ประทานใหแกน บีอีซา (พระเยซู), คมั ภีรอ ัลกรุ อาน ประทานใหแ ก มฮุ ัมมดั ถือวา เปนคัมภรี ทีส่ มบรู ณทสี่ ดุ . - 4) ศรทั ธาในศาสนทตู เปนมนษุ ยธ รรมดาท่ีนําคําสอนของพระเจามาประกาศแกมนษุ ย ศาสนทูตมี ทงั้ หมด 25 ทาน ทานแรก คอื นบอี าดัม ทา นสดุ ทาย คือ นบีมฮุ มั มัด. - 5) ศรทั ธาในวันพิพากษา มสุ ลิมตอ งเชือ่ วาโลกนเี้ ปนโลกทดลอง เปน โลกที่ไมจ ีรงั ย่ังยนื สักวันหนง่ึ จะถึงกาลอวสาน วันส้ินโลกนั้นเรียกวา วันอาคีเราะห ก็คือ วันพพิ ากษา แลวทุกชวี ติ จะเกิดข้ึนมาอกี คร้งั หลังจาก ถกู พพิ ากษา เรียกวนั นีว้ า วนั กยี ะมะห ซ่ึงพระเจาจะตอบแทนความดชี ่ัวใหแกวญิ ญาณของทกุ คนอยางยตุ ิธรรม. - 6) ศรัทธาตอกฎสาวะของพระเจา เปน ลิขติ ที่พระเจาไดก ําหนดใหแกมนษุ ยชาติ มสุ ลิมเชือ่ วาเมอ่ื ตนไดเลือกทาํ สงิ่ ทด่ี ที สี่ ุดแลว กต็ องศรทั ธาตอ พระอัลลอฮวฺ า จะใหค วามยุติธรรมแกตน ไมว าสิง่ ที่เกดิ กบั ตนน้นั จะ สมหวังหรือผดิ หวังกต็ าม. 6. หลกั ปฏิบัติ 5 ประการมีอะไรบา ง - 1) การปฏญิ าณตน เปน หัวใจของศาสนาอิสลาม คอื การยอมรับวามพี ระเจา องคเดียว. - 2) การละหมาด การแสดงความเคารพตอ พระเจา ทัง้ ทางรา งกายและจติ ใจ การละหมาดชว ย ขัดเกลาจิตใจใหบ รสิ ทุ ธิ์ ชวยใหจิตใจหนักแนน ฝก ฝนใหเปน คนตรงตอเวลาฝก ความรับผิดชอบตอหนา ท่ี มรี ะเบยี บ วินยั ฝก ความอดทน และเอาชนะใจตนเอง. - 3) การถอื ศีลอด (อศั -ศยิ าม) เปนการฝกฝนทง้ั รางกายและจติ ใจใหมคี วามสาํ รวม อดทนและ เสียสละ ใหเ หน็ อกเหน็ ใจมนุษยผยู ากไร. - 4) การบรจิ าคซะกาต เพอื่ เปนการขดั เกลาจติ ใจใหส ะอาด ลดความตระหนีค่ วามเห็นแกต ัวลง ลดชอ งวา งทางชนชัน้ และใหตระหนักวา ทรพั ยสนิ ท่ีไดมานน้ั เปนของฝากจากพระเจา มนษุ ยเปนเพียงผูรักษาและ ใชจ า ยไปในทางที่พระเจากาํ หนด. - 5) การทําพธิ ีฮจั ญ การไปประกอบศาสนกจิ ท่วี ิหารกะบะห นครเมกกะ ประเทศซาอดุ ิอาระเบยี แสดงถึงความเปน เอกภาพของมสุ ลิมตอ พระเจา เปน ขอเดียวทีใ่ หปฏบิ ัตไิ ดเ ฉพาะบคุ คลทม่ี ีความสามารถเทา น้ัน. โครงการแบรนดซ มั เมอรแ คมป 2010 _____________สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (197)

7. นอกจากหลักศรทั ธา 6 และหลักปฏบิ ตั ิ 5 แลว ศาสนาอิสลามยังมหี ลกั คุณธรรมอะไรอกี - 1) การตอสูกบั ความช่ัวรา ย ทส่ี ําคัญ คือ การตอสกู บั อารมณใฝตํ่าของตนเอง 2) การรกั พวกพอ งรักหมูคณะ ชาวมสุ ลมิ ถือวาทกุ คนเปนพนี่ อ งกัน 3) ใหท ําดตี อพอแม 4) การละเวน จากความชวั่ ตางๆ เชน การพนัน ดอกเบี้ย ของมึนเมา ผิดประเวณี การคุมกาํ เนิด การกกั ตุนสินคา 5) การแตง กายใหสะอาดสภุ าพ. 8. นกิ ายสําคัญของศาสนาอสิ ลามมอี ะไรบา ง - ซนุ นี : ปฏิบัตติ ามคมั ภรี อ ลั กรุ อานอยางเครง ครดั ชาวมุสลมิ สว นใหญในอนิ โดนีเซยี มาเลเซียนับ ถือนกิ ายซุนน.ี - ชอี ะห : แปลวา พรรคพวก ซึง่ หมายถงึ พรรคพวกของอาลีผูเปนบตุ รเขยของทานนบีมุฮมั มดั เปน นกิ ายท่ียอมรับวาทา นอาลเี ปนผูนาํ โลกมุสลิม นกิ ายนน้ี ับถือกันมากในอิรัก อหิ ราน เยเมน. - คอวาริจญ : ถือวาผนู าํ โลกมสุ ลมิ ตองมาจากการเลอื กตง้ั เสรี. - วาฮาบี : ถอื วา คัมภรี อ ัลกุรอานเปนใหญและสําคญั ทสี่ ดุ . 9. ชาวมุสลิมในเมืองไทยท่นี ับถือ “นิกายเจาเซ็น” หมายถงึ นกิ ายใด - นิกายชีอะห คําวาเจา เซน็ กค็ อื ฮูเซน็ ผูเปน หลานของทา นนบีมฮุ ัมมดั นนั่ เอง. 10.สญั ลกั ษณพระจนั ทรเ สย้ี วลอ มดาว ทีพ่ บอยทู ่วั ไปตามสุเหราในประเทศมสุ ลมิ มที ีม่ าอยางไร - เปนเครอื่ งหมายของอาณาจกั รออตโตมานเตอรก ที่เคยรุงเรืองในอดีตครอบครองยโุ รปและ ตะวนั ออกกลาง บรรดาประเทศมสุ ลิมที่เคยอยูใตอาณาจกั รนี้จงึ ยดึ เอาเคร่อื งหมายนนั้ เปน สญั ลกั ษณของตนใน ฐานะเปน ชนชาตมิ ุสลมิ เหมือนกนั ตอมา แตอาจถอื วา เปนสัญลักษณข องศาสนาอสิ ลามโดยอนโุ ลม. 11.คําวา “นบ”ี และ “รซูล” มคี วามหมายแตกตางกันอยา งไร - นบี หมายถึง ผทู ไ่ี ดรับโองการมาเพือ่ ปฏบิ ตั ติ ามทีพ่ ระเจา สั่ง ไมมีหนาท่ีเผยแผต อบุคคลท่ัวไป - รซูล จดั เปนนบีเชนกนั แตม ีหนาที่มากไปกวานบี คือ ตองนาํ โองการทีไ่ ดร บั จากพระเจามาเผยแผ แกมวลมนษุ ยชาติ เชน นบีมูซาหรือโมเสส นบีอซี าหรอื พระเยซู และนบีมุฮัมมดั ดงั น้ันจึงสรุปไดวา รซูลทกุ คนเปน นบี แตนบีทุกคนมิไดเ ปน รซลู มีนบเี พียงบางคนเทาน้ันที่ไดรับการ แตงตั้งใหเ ปนรซลู . สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (198) ____________ โครงการแบรนดซ มั เมอรแคมป 2010

ถอดรหสั ลบั ...วิชาสังคม สาระที่ 2 หนา ทพี่ ลเมือง วฒั นธรรม และการดําเนนิ ชวี ติ ในสงั คม วฒั นธรรมและสงั คมวิทยา 1. มนุษยม ลี กั ษณะพิเศษแตกตางจากสตั วอ ่ืนๆ ประการใด - 1) มคี วามสามารถในการใชแ ละสรางสัญลักษณ 2) มวี ัฒนธรรม เพราะการมีวฒั นธรรมทําใหส ังคมมีระเบียบ มชี ีวิตยืนยาว และมนษุ ยสามารถ สรางความเจริญกา วหนา ท่สี ัตวอ น่ื ไมอาจทําได เนอื่ งจากมนษุ ยมีมันสมองใหญก วาสัตวอน่ื จึงมีระดับสตปิ ญ ญา และความคดิ สรา งสรรคเหนือกวา สัตวอ ืน่ ๆ จึงทาํ ใหสามารถสรางวฒั นธรรมได. 2. สญั ลกั ษณค ืออะไร มีความสาํ คัญอยางไรตอมนษุ ย - สัญลกั ษณ คือ สิ่งที่ใชแทนสิ่งอนื่ เชน วตั ถุ การกระทาํ กิรยิ าทาทาง ภาษา สัญลกั ษณมี ความสําคัญตอมนุษยมาก เพราะสญั ลักษณเ หลานช้ี วยใหม นษุ ยสามารถติดตอ สมั พนั ธกนั ไดอ ยา งมปี ระสทิ ธิภาพ สัญลกั ษณน้ันไมไดเ กิดข้นึ เองตามธรรมชาติ แตเปน สง่ิ ทีม่ นษุ ยเ ทา น้นั ทส่ี รางได ซง่ึ เกดิ จากการเรียนรูโ ดยผาน กระบวนการขดั เกลาทางสงั คม. 3. สงั คมคอื อะไร และเพราะเหตใุ ดมนษุ ยจ งึ ตอ งอยรู วมกันเปน สังคม - สงั คม คือ กลมุ คนขนาดใหญท ีม่ ีลักษณะดังน้ี 1) เปน กลุมคนทสี่ ามารถเลี้ยงตนเองได 2) มีวฒั นธรรมหรือวถิ ีชีวติ เปนของตนเอง 3) มอี ํานาจเหนอื กลุมเลก็ ๆ ทอี่ ยูภ ายในอาณาเขตของตน. - สาเหตุทีม่ นุษยต องมาอยรู วมกนั เปนสงั คม 1) เพอ่ื สนองความตองการข้ันพืน้ ฐาน ไดแ ก ความตอ งการทางชวี ภาพ กายภาพ จิตวิทยา และสงั คม 2) เพอื่ ทาํ ใหเปนมนษุ ยอยา งสมบูรณหรือแทจ รงิ โดยมวี ฒั นธรรมเปนตัวขดั เกลามนษุ ยใหเ รยี นรูใน การอยูรวมกนั 3) เพอื่ พง่ึ พาอาศยั กนั และสรางความเจริญกาวหนา ใหก บั ตนเองและกลุม . 4. อธิบายเร่อื งวัฒนธรรม ความหมายของวฒั นธรรม ลักษณะของวฒั นธรรม ประเภทของวัฒนธรรม องคประกอบของวัฒนธรรม ความสาํ คญั ของวัฒนธรรม หนา ที่ของวฒั นธรรม - ความหมายของวัฒนธรรม คือ แบบอยา งของพฤตกิ รรมท้งั หลายท่ไี ดม าทางสงั คมและถา ยทอดกัน ไปทางสงั คม โดยอาศยั สญั ลักษณ เชน กฎหมาย ศาสนาศลี ธรรม การปกครอง รวมทง้ั สงิ่ ประดษิ ฐท ีเ่ ปนวัตถุ เชน เครอ่ื งมอื เครอ่ื งจกั ร อาคาร - ลักษณะของวัฒนธรรม 1) เปน สงิ่ ทม่ี นุษยส รา งข้ึนไมว าจะเปนรูปธรรมหรือนามธรรม และเปนระบบสัญลักษณ 2) เปน วิถีชวี ิต ก็คือ แบบแผนการดาํ เนนิ ชีวติ ท่ีเกดิ จากการเรียนรแู ละสบื ทอดตอ กนั มา เชน ลูกตอ งเลยี้ งดพู อ แมเ มื่อยามทานแกชรา โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2010 _____________สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (199)

3) เปน ส่ิงทไี่ ดม าจากการเรยี นรู เชน คนไทยยกมือไหว ชาวยุโรปใชว ิธีสมั ผสั มือ ฉะนนั้ การทสี่ ังคม แตล ะสังคมมวี ฒั นธรรมไมเหมอื นกนั กเ็ ปน ผลสบื เนอื่ งมาจากการเรยี นรูห รอื การถา ยทอดพฤติกรรมทแี่ ตกตางกนั 4) เปน มรดกทางสงั คม ก็คือ วฒั นธรรมสามารถถา ยทอดจากชนรนุ หนึ่งไปสชู นอกี รุน ได 5) มีการเปลย่ี นแปลงไดและปรบั ตัวได เพราะสังคมไมเคยหยดุ นิง่ . - ประเภทของวัฒนธรรม 1) วัตถุธรรม วฒั นธรรมทางวัตถุ เชน เครื่องมอื เครอ่ื งใช 2) คตธิ รรม วัฒนธรรมทเี่ กี่ยวกับหลักการดําเนนิ ชวี ิต สว นใหญเปนเร่อื งของจิตใจและไดมาจาก ทางศาสนา 3) เนติธรรม วัฒนธรรมทางกฎหมาย 4) สหธรรม วัฒนธรรมทางสงั คม ไดแ ก มารยาททางสงั คมตางๆ เชน การตอ นรับแขก การแสดง ความเคารพ การแตงกาย. - องคป ระกอบของวัฒนธรรม 1) สถาบนั 2) สญั ลักษณ 3) ความเชอื่ 4) บรรทดั ฐาน 5) คา นิยม. - ความสาํ คัญของวัฒนธรรม 1) ทาํ ใหม นษุ ยแ ตกตา งจากสัตวอ่นื 2) ทําใหเปน มนุษยอ ยา งสมบรู ณ 3) ชวยใหมนษุ ยส ามารถแกป ญ หาและสนองความตอ งการดา นตา งๆ ได 4) ชว ยใหมนษุ ยส ามารถอยรู ว มกันไดอยางสนั ติสขุ เชน การออกกฎหมาย 5) ชว ยสรา งความผกู พันและความเปนอนั หนึ่งอนั เดียวกนั 6) ชว ยใหส งั คมเจริญรงุ เรือง เชน ในสังคมทม่ี ีวัฒนธรรมทเ่ี ออื้ ตอการมีระเบยี บวนิ ยั ขยันหม่ันเพียร ประหยดั 7) ชว ยสรา งเอกลักษณของสงั คม. - หนา ทข่ี องวัฒนธรรม 1) กําหนดพฤตกิ รรมของมนุษยใ นสงั คม เพราะวัฒนธรรมเปน ตัวกาํ หนดคา นิยมวา อะไรด-ี ชว่ั อะไรถกู -ผิด เชน เดก็ ตองมพี ฤตกิ รรมทน่ี อบนอ มตอ ผูใหญ 2) ควบคมุ สงั คม วฒั นธรรมเปนตัวสรางความเปนระเบยี บเรียบรอ ยใหแกสังคม เชน บรรทดั ฐาน ตา งๆ ความคิดความเชื่อ 3) กาํ หนดรูปแบบของสถาบัน เชน รปู แบบของครอบครัว ในบางสังคมสามีมภี รรยาหลายคนได 4) เปน ปจ จัยหลอหลอมบคุ ลิกภาพทางสงั คม ทําใหสมาชกิ ในสังคมสวนใหญม บี ุคลิกภาพคลา ยคลงึ กัน เชน มคี วามกตญั กู ตเวที เคารพระบบอาวโุ ส. 5. วัฒนธรรมและสังคมมคี วามหมายเหมือนกันหรือแตกตา งกนั และทัง้ สองมคี วามสมั พนั ธก ันอยางไร - 1) วัฒนธรรมและสังคมมคี วามหมายแตกตางกัน วัฒนธรรม คือ วถิ ีชวี ิต สังคม คอื กลมุ คน 2) วัฒนธรรมเปน เครื่องมอื ทจ่ี ะชว ยใหม นษุ ยแ ละสงั คมดํารงอยูได สังคมและวัฒนธรรมเปน ของคูกนั มนุษยส รางวัฒนธรรม และวฒั นธรรมสรา งสังคม ดงั นนั้ วฒั นธรรมจึงไมใชสิง่ ทต่ี ดิ ตัวมนษุ ยม าตงั้ แตเ กดิ มนษุ ย น้นั เรยี นรูว ฒั นธรรมจากบคุ คลตางๆ ในสังคม และสงั คมไมอ าจดาํ รงอยูได ถา ไมม ีวฒั นธรรม เพราะวัฒนธรรม เปน กลไกควบคุมสังคม. สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (200) ____________ โครงการแบรนดซ ัมเมอรแคมป 2010


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook