Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มรดกทางวัฒนธรรมภาคใต้

มรดกทางวัฒนธรรมภาคใต้

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-11-08 00:42:50

Description: มรดกทางวัฒนธรรมภาคใต้

Search

Read the Text Version

งานเฉลมิ ฉลองเจ้าแม่ลมิ้ กอเหน่ียว จงั หวดั ปัตตานี งานเฉลมิ ฉลองเจ้าแม่ลม้ิ กอเหนยี่ ว จังหวดั ปัตตานี จัดขึ้นทกุ ๆ ปี ในเดือนสาม เพ่ือร�ำลึกและเฉลิมฉลองเจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยว จะมีการแสดงออกทางด้านความศรัทธา โดยมีกิจกรรมลุยไฟ ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกับงานกินเจของจังหวัดตรังและภูเก็ต เปน็ ความเชอื่ ของชาวจนี ท่ีศรทั ธาตอ่ ความศกั ดิส์ ิทธิข์ องเจ้าแม่ และการแสดงอภนิ ิหาร ตา่ ง ๆ ณ หนา้ ศาลเจ้าเล่งจเู กียง และการเปดิ โรงทานการแจกจ่ายอาหาร ฯลฯ และ ในงานมกี ารสมโภชแหแ่ หนรปู สลกั ไมม้ ะมว่ งหมิ พานตแ์ ละงานฉลองเจา้ แมล่ มิ้ กอเหนย่ี ว 199

200

๔ บทส่งทา้ ย มรดกวัฒนธรรมภาคใต้เป็นภูมิปัญญาท้องถ่ินอันเกิดจากการพัฒนา การปรับตัว ปรับวิถีชีวิตของคนในภาคใต้ที่ประกอบด้วยคนไทยและอีกหลาย ชาติพันธุ์ที่อยู่ร่วมกันในคาบสมุทรท้ังคนมาเลย์ คนจีน และคนที่มาจาก อินเดียใต้ แต่กลุ่มชนที่มีจ�ำนวนมากที่สุดคือ ไทยสยาม โดยสภาพภูมิศาสตร์ ท่ีเป็นแหลมทอง มีทะเลกว้างใหญ่ขนาบอยู่ท้ังสองข้าง มีทรัพยากรธรรมชาติ ที่อุดมสมบูรณ์ ทั้งในทะเล และบนแผ่นดิน อันล้วนเป็นเขตมรสุมใกล้ เส้นศนู ยส์ ตู ร มผี คู้ นหลายชาติ หลายภาษา หลายวฒั นธรรมเดินทางมาทัง้ ทางบก และทางทะเลเพ่ือมาต้ังหลักแหล่ง แสวงหาโภคทรัพย์และท�ำมาค้าขายเป็น เวลาติดต่อกันยาวนานกว่าพันปี มีการตั้งถิ่นฐานท�ำมาหากินกันหลายลักษณะ ทงั้ บรเิ วณชายทะเล ทรี่ าบระหวา่ งชายทะเลกบั เทอื กเขา หลงั เขา และตามสายนำ้� น้อยใหญ่จ�ำนวนมากที่ไหลจากเทือกเขาลงสู่ทะเลท้ังสองด้าน ภูมิปัญญาของ ภาคใต้จึงมีความหลากหลาย ทั้งที่ได้พัฒนาการจากการปรับตัวให้เข้ากับ ส่ิงแวดล้อมธรรมชาติ หรือคนต่างถ่ินที่น�ำเข้ามาจากแหล่งอารยธรรมต่าง ๆ หลอมรวมกันจนก่อเกิดเป็นภูมิปัญญาประจ�ำถิ่น เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ของชาวใต้ในปัจจบุ นั ภาคใต้ได้ชื่อว่าเป็นภูมิภาคหน่ึงของไทยที่มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม และธรรมชาติอันงดงามทั้งป่าเขา และทะเล ตัวอย่างเช่นจังหวัดภูเก็ต “ไข่มุก แห่งอันดามัน” นับเป็นมนต์เสน่ห์ให้นักท่องเท่ียวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ มาเย่ียมเยียนสร้างรายได้ให้คนในพ้ืนที่และประเทศเป็นจ�ำนวนมาก ภาคใต้ ในวันน้ีจึงเป็นแหล่งเศรษฐกิจส�ำคัญของประเทศท้ังด้านการค้า การลงทุน การเกษตร ซ่ึงมีพ้ืนฐานส�ำคัญมาจากประวัติศาสตร์ และมรดกทางธรรมชาติ และมรดกทางวัฒนธรรมอันเป็นความภาคภูมิใจของชาวใต้และชาวไทยทุกคน ทีจ่ ะต้องช่วยกนั ดูแลรกั ษาสืบไป 201

บรรณานกุ รม กรมศิลปากร. จากบา้ นสู่เมอื ง: รัฐแรกเรม่ิ บนแผน่ ดนิ ไทย From Village to Early State: The Transformation of Culture in Our Land. นครปฐม : บรษิ ทั รงุ่ ศลิ ปก์ ารพมิ พ์ (๑๙๗๗) จำ� กดั , ๒๕๖๑. (จดั พมิ พป์ ระกอบนทิ รรศการพเิ ศษเนอ่ื งในวนั อนรุ กั ษม์ รดกไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๑ ณ พระทีน่ ั่งอิศราวนิ จิ ฉยั พิพิธภัณฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร). . วงั เจา้ เมืองพัทลุง. กรุงเทพฯ: บรษิ ทั อมรินทรพ์ ร้ินติ้งแอนดพ์ ับลชิ ชิ่ง จ�ำกดั (มหาชน), ๒๕๓๖. (ที่ระลึกในพธิ เี ปิดวงั เจา้ เมืองพัทลุง ตำ� บลล�ำป�ำ อ�ำเภอเมอื ง จังหวดั พัทลงุ วันท่ี ๑๖ สงิ หาคม พุทธศกั ราช ๒๕๓๖). . มรดกของแผ่นดิน. กรงุ เทพฯ: บริษทั รุ่งศิลปก์ ารพมิ พ์ (๑๙๙๗) จำ� กัด, ๒๕๔๙.( คณะกรรมการฝา่ ยประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในนามคณะกรรมการอ�ำนวยการจัดงานฉลองสิริราชสมบตั คิ รบ ๖๐ ปี จดั พิมพ์เพือ่ เฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ). . กองโบราณคดี. ศิลปะถ�ำ้ สมยั ก่อนประวตั ิศาสตรใ์ นประเทศไทย. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พค์ ุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๓๙. . สำ� นักโบราณคด.ี ศัพทานุกรมโบราณคด.ี กรุงเทพฯ: บริษทั รุ่งศิลป์การพมิ พ์ (๑๙๗๗) จ�ำกดั , ๒๕๕๐. (จดั พิมพเ์ พอ่ื เฉลิมพระเกยี รติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช เนือ่ งในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐). . สำ� นกั โบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแหง่ ชาติ. นำ� ชมพิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ นครศรีธรรมราช. พิมพ์คร้งั ที่ ๒ ฉบบั ปรบั ปรงุ และ แกไ้ ขเพ่มิ เตมิ . กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั รุง่ ศิลป์การพมิ พ์ (๑๙๗๗) จ�ำกดั , ๒๕๔๓. . พพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติ ชมุ พร. กรงุ เทพฯ: บริษัท อมรินทรพ์ ร้ินติ้งแอนด์พับลิชช่งิ จำ� กดั (มหาชน), ๒๕๔๒. (จัดพิมพ์เนือ่ งในพธิ ี เปิดพพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติ ชุมพร). . พพิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ. พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ ไชยา. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ ร�ำไทยเพรส จ�ำกัด, ๒๕๔๕. . ส�ำนกั ศลิ ปากรที่ ๑๓ สงขลา. หนงั สอื นำ� ชมโบราณสถานท่ีส�ำคญั ในเขตพนื้ ท่ี ๕ จงั หวัด ชายแดนภาคใต้ (สงขลา ปัตตานี ยะลา นราธวิ าส และสตูล). กรงุ เทพฯ : Bangkok Inhouse co.​ltd, ๒๕๕๗. กรมส่งเสริมวฒั นธรรม. วัฒนธรรม วถิ ชี วี ติ และภูมิปญั ญา. นครปฐม: บรษิ ัท รุ่งศลิ ป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จ�ำกัด, ๒๕๕๙. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ภมู ิลักษณ์ประเทศไทย. กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั ด่านสุทธาการพิมพ์ จ�ำกดั , ๒๕๓๔. (จัดพิมพ์เฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระ เทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในวโรกาสวนั คลา้ ยวนั พระราชสมภพและเจริญพระชนมายคุ รบ ๓๖ พรรษา ๒ เมษา ๒๕๓๔). ธิดา สาระยา. ประวัตศิ าสตร์มหาสมทุ รอินเดีย. กรงุ เทพฯ: เมืองโบราณ, ๒๕๕๔. นงคราญ  ศรีชาย. ตามรอยศรีวชิ ัย. กรงุ เทพฯ: บรษิ ัท มตชิ น จำ� กัด (มหาชน), ๒๕๔๔. . และวรวิทย์ หัศภาค. โบราณคดีศรีวิชัย มุมมองใหม่ก ารศึกษาวิเคราะห์แหล่งโบราณคดีรอบอ่าวบ้านดอน. นครศรีธรรมราช: สำ� นกั งานโบราณคดแี ละพพิ ิธภัณฑสถานแหง่ ชาตทิ ี่ ๑๑ นครศรธี รรมราช กรมศิลปากร, ๒๕๔๓. นงคราญ สุขสม. ประวตั ศิ าสตร์และโบราณคดสี ุราษฎรธ์ านี. กรงุ เทพฯ: ส�ำนักงานโบราณคดีและพพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติท่ี ๑๑ นครศรีธรรมราช กรมศลิ ปากร, ๒๕๔๕. 202

บุณยฤทธิ์ ฉายสวุ รรณ และเรไร นยั วฒั น์. ทุง่ ตกึ เมืองท่าการค้าโบราณ. กรุงเทพฯ: ส�ำนักศิลปากรท่ี ๑๕ ภูเกต็ กรมศิลปากร, ๒๕๕๐. ประทมุ ชมุ่ เพง็ พนั ธ.์ุ ไชยา - สรุ าษฎรธ์ าน.ี ม.ป.ท.: ๒๕๑๙. (พมิ พเ์ ปน็ อนสุ รณใ์ นงานฌาปนกจิ ศพคณุ พอ่ พนู ชมุ่ เพง็ พนั ธ์ุ ณ เมรวุ ดั มกฏุ กษตั รยิ าราม กรุงเทพฯ วันจนั ทร์ที่ ๑๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๑๙). . ศลิ ปวฒั นธรรมภาคใตว้ ่าดว้ ยภูมิศาสตร.์ กรุงเทพฯ: สวุ ีริยาสาสน์, ๒๕๔๘. ผาสุข อนิ ทราวุธ. พทุ ธปฏิมาฝ่ายมหายาน. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พอ์ กั ษรสมัย, ๒๕๔๓. . หลักฐานทางโบราณคดีสมัยทวารวดีและศรีวิชัย. โครงการอบรมครูสังคมศึกษาด้านโบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย. ภาควิชา โบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลัยศิลปากร วนั ท่ี ๒๔ - ๒๘ เมษายน ๒๕๔๔. (เอกสารอดั สำ� เนา). พิริยะ ไกรฤกษ์. ศิลปะทักษิณก่อนพุทธศตวรรษท่ี ๑๙. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, ๒๕๒๓. (จัดพิมพ์เน่ืองในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ๕ ธันวาคม ๒๕๒๓). โรงเรยี นนายรอ้ ยพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั . กองวชิ าประวตั ศิ าสตร.์ “ทกั ษณิ ฝง่ั ทะเลตะวนั ออก”. นครนายก: โรงพมิ พโ์ รงเรยี นนายรอ้ ยพระจลุ จอมเกลา้ , ๒๕๓๔. (จัดพิมพ์ในวโรกาส พลตรีหญิง สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จทรงนำ� คณะอาจารย์และนักเรียน นายร้อยพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อย่หู วั ทศั นศกึ ษาพื้นท่ภี าคใต้ ฝ่งั ตะวนั ออก ระหว่างวันท่ี ๒๓ - ๒๖ พฤษภาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๓๔). . “หวั เมอื งรมิ ฝง่ั อนั ดามนั ”. มปท: ๒๕๓๖. (จดั พมิ พใ์ นวโรกาส พลโทหญงิ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ ทรง น�ำคณะอาจารยแ์ ละนักเรยี นนายรอ้ ยพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยูห่ วั ทัศนศกึ ษาพ้ืนทีภ่ าคใต้ ฝัง่ ตะวันตก ระหว่างวนั ท่ี ๒๑ - ๒๔ พฤษภาคม พุทธศกั ราช ๒๕๓๖). วิมล จิโรจพนั ธ,ุ์ ประชิด สกุณะพัฒน์ และกนษิ ฐา เชยกีวงศ์. มรดกทางวัฒนธรรมภาคใต.้ กรงุ เทพฯ: แสงดาว, ๒๕๕๑. สจุ ติ ต์ วงษ์เทศ. บรรณาธกิ ารวชิ าการและเรียบเรยี ง. ศรวี ชิ ัย. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพก์ ารศาสนา, ๒๕๓๑. (กรมศลิ ปากร จัดพมิ พ์เผยแพร่). วิบูลย์ ลส้ี ุวรรณ. สารานุกรมผา้ และเครอ่ื งถกั ทอ. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, ๒๕๕๐. วุฒิ วัฒนสนิ . ลวดลายจติ รกรรมบนเรือกอและในจงั หวดั ปตั ตานี. ปัตตานี : ภาควชิ าการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร,์ ๒๕๔๒. สถาบันทักษิณคดีศกึ ษา. สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ พ.ศ. ๒๕๒๙ เล่ม ๑. กรงุ เทพฯ: อมรนิ ทรก์ ารพิมพ,์ ๒๕๒๙. แสงอรณุ รัตกสิกร, นจิ หิญชรี ะนนั ทน์ และคณะ. ลกั ษณะไทย วัฒนธรรมพื้นบ้าน. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรงุ เทพฯ: ธนาคารกรุงเทพ จำ� กัด (มหาชน), ๒๕๕๒. อมรา ศรีสุชาติ. ศรวี ชิ ยั ในสวุ รรณทวปี . กรงุ เทพฯ: กรมศิลปากร, ๒๕๕๗. 203

มรดกวัฒนธรรมภาคใต้ มรดกวัฒนธรรมภาคใต้ จัดพิมพ์ : สงิ หาคม ๒๕๖๒ ISBN 978-616-543-610-6 ทป่ี รกึ ษา 26/8/2562 BE 15:16 นายชาย นครชยั อธบิ ดีกรมสง่ เสรมิ วฒั นธรรม นางสาวอจั ฉราพร พงษฉ์ วี รองอธบิ ดีกรมสง่ เสริมวัฒนธรรม นายชัยพล สขุ เอี่ยม รองอธบิ ดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม นางสาววราพรรณ ชยั ชนะศิร ิ ผ้อู �ำนวยการสถาบันวัฒนธรรมศึกษา ผเู้ รียบเรยี ง นายบณั ฑิต ลวิ่ ชยั ชาญ บรรณาธิการและคณะท�ำงาน นายบัณฑติ ล่ิวชัยชาญ นางสกุ ญั ญา เยน็ สขุ นางสาวสมุ าลี เจยี มจังหรีด นางสาวชนาภรณ์ แสวงทรพั ย์ นางสมฤดี ไชยสกุ มุ าร นายชาครติ สทิ ธิฤทธ์ิ นายณัฐดนยั ใจมั่น นางสาวอรณุ ี จีรพรบัณฑติ นางสาวภทั ราวรรณ ปฏิแพทย์ นางสาวระพพี รรณ อนิ นนั ชยั บรรณาธกิ ารภาพ นายสิงห์คม บริสุทธิ์ ภาพประกอบ กล่มุ ประชาสัมพันธ์ กรมส่งเสริมวฒั นธรรม นายสิงห์คม บริสทุ ธ์ิ นายสภุ ชัย ติยาภรณ์ ผูร้ ับผิดชอบ กลุ่มสงวนรกั ษามรดกภมู ิปญั ญาทางวฒั นธรรม สถาบันวฒั นธรรมศกึ ษา กรมส่งเสริมวัฒนธรรม โทร. ๐ ๒๒๔๗ ๐๐๑๓ ต่อ ๑๓๑๒ - ๔ โทรสาร ๐ ๒๖๔๕ ๓๐๖๑ เว็บไซต์ http://ich.culture.go.th เฟซบุค๊ www.facebook.com/ichthailand อเี มล์ [email protected] พิมพท์ ี่ โรงพิมพช์ ุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ� กัด 204



กรมสง่ เสรมิ วัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ๑๔ ถนนเทยี มรว่ มมิตร เขตหว้ ยขวาง กรงุ เทพฯ ๑๐๓๑๐ โทรศพั ท์ ๐ ๒๒๔๗ ๐๐๑๓ ตอ่ ๑๓๑๒ - ๔ www.culture.go.th


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook