รูปแบบศิลปกรรมของพระอวโลกิเตศวรที่พบในไชยา และฐานอาคารวดั แกว้ วดั หลงทท่ี ำ� เปน็ รปู กากบาท ตามความเชอื่ ในพุทธศาสนามหายานสกุลวัชรยานว่า ศาสนสถาน คือ การปรากฏขน้ึ ของมณฑลจกั รวาลอนั ศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิ อนั ประกอบดว้ ย ทศิ ทง้ั สี่ และทศิ เบอ้ื งบนอนั เปน็ ศนู ยก์ ลาง ซง่ึ มพี ระชนิ พทุ ธเจา้ ประจ�ำอยู่ตามแนวแกนทิศ ที่วัดแก้วได้พบพระชินพุทธเจ้า (ธยานิพุทธ) อักโษภยะปางมารวิชัย ผู้มีวัชระเป็นอาวุธ ท่ีซุ้มประตูด้านทิศตะวันออก รวมท้ังลักษณะของผังอาคาร ยังมีความคล้ายคลึงกับจันทิกะลาสันในชวาอีกด้วย ซ่ึงเป็น ลักษณะร่วมของศิลปะศรีวิชัยท่ีไชยากับหมู่เกาะทะเลใต้ คงเนื่องจากความสัมพันธ์ทางการเมืองระหว่างดินแดนท้ังสอง และเกยี่ วขอ้ งกบั ระบบเครอื ญาตขิ องกษตั รยิ ใ์ นราชวงศไ์ ศเลนทร์ นับเป็นหลักฐานส�ำคญั แสดงวา่ พุทธศาสนาท่ีไชยาในช่วงเวลา ดงั กล่าว เป็นพทุ ธศาสนามหายานนิกายวชั รยาน เช่นเดียวกบั พุทธศาสนาในชวาภาคกลาง พระโพธิสตั วอ์ วโลกเิ ตศวร หนิ พบท่ี อำ� เภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี พุทธศตวรรษที่ ๑๒ - ๑๓ 49
ศิลปะศรีวิชัย ร่องรอยของศิลปกรรมแบบศรีวิชัย มีลักษณะที่เป็นเอกลักษณะของ ตนเองอย่างชัดเจน ท้ังด้านสถาปัตยกรรม ประติมากรรม และงานประณีตศิลป์ ล้วนแสดงถึง ภมู ปิ ญั ญาอนั สงู ส่งของบรรพชนในคาบสมุทรภาคใต้ ภายหลังจากทีศ่ าสตราจารย์ ยอรช์ เซเดส์ ไดเ้ สนอทฤษฎเี กย่ี วกบั อาณาจกั รศรวี ชิ ยั สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ จงึ ไดท้ รงผนวกศิลปวตั ถุที่พบในภาคใตข้ องประเทศไทยทงั้ หมดวา่ เป็นโบราณวตั ถขุ องรัฐศรวี ชิ ยั ครนั้ เมื่อศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าสุภัทรดศิ ดศิ กุล ทรงจัดหมวดหมู่ศิลปะในประเทศไทย ทรงจัด ศิลปโบราณวัตถุท่ีพบในภาคใต้ท่ีสร้างข้ึนเนื่องในพุทธศาสนามหายาน เรียกว่า “ศิลปะศรีวิชัย” ส่วนเทวรปู ในศาสนาฮินดทู ี่พบทง้ั ก่อนหนา้ และรว่ มสมัย แยกออกมาเป็น “ศลิ ปะเทวรูปรนุ่ เกา่ ” ตอ่ มานายพิรยิ ะ ไกรฤกษ์ ได้จัดหมวดหมู่ศิลปะที่พบในภาคใต้ใหม่ เรยี กศลิ ปะทีพ่ บใน ภาคใตว้ า่ “ศลิ ปะทักษณิ ” แทน “ศลิ ปะศรีวชิ ัย” โดยพจิ ารณาจากความหลากหลายของอทิ ธพิ ล ทางศิลปะทไ่ี ดร้ ับในแตล่ ะชว่ งเวลา โบราณวตั ถสุ ถานที่อย่ใู นชว่ งศรีวิชยั ได้จัดใหเ้ ปน็ ศลิ ปะไชยา รุ่นต่าง ๆ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าทฤษฎีน้ีสามารถจัดรูปแบบศิลปะได้อย่างละเอียด แต่ไม่ได้รับ ความนิยม เนื่องจากค�ำว่า “ศรีวิชัย” ได้เป็นที่รับรู้และเป็นที่นิยมของคนโดยท่ัวไปแล้ว อีกทั้ง การใชค้ ำ� วา่ “ศลิ ปะไชยา” ดจู ะไมค่ รอบคลมุ รปู แบบศลิ ปะทง้ั หมดทพ่ี บในภาคใต้ ฉะนน้ั ในทน่ี คี้ ำ� วา่ “ศิลปะศรีวิชัย” จึงยังคงอนุโลมใช้เป็นชื่อเรียกศิลปะเน่ืองในคติพุทธศาสนามหายานท่ีพบใน ภาคใต้ตอ่ ไป ถงึ แมว้ ่า ยงั ไมท่ ราบแน่ชดั วา่ ศรวี ชิ ัย ต้ังอย่ทู ่ใี ดกนั แนก่ ต็ าม อย่างไรก็ดี “ศิลปะศรีวิชัย” อาจแบ่งออกได้เป็น สถาปัตยกรรม ประติมากรรม และประณตี ศลิ ป์ 50
เศยี รพระพทุ ธรปู นาคปรก ส�ำริด ที่ฐานมีจารกึ ระบุ (พทุ ธ) ศักราช ๑๗๒๖ พบท่ี วัดเวยี ง อำ� เภอไชยา จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี 51
พระบรมธาตไุ ชยา 5อ�ำ2เภอไชยา จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี
พระพทุ ธรปู หินทราย สีแดง ศลิ ปะอยธุ ยา วัดพระบรมธาตุไชยา อ�ำเภอไชยา จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี สถาปตั ยกรรม สถาปตั ยกรรมสำ� คญั ในศลิ ปะศรวี ชิ ยั ในภาคใต้ สว่ นใหญพ่ บทอ่ี ำ� เภอไชยา จงั หวัดสุราษฎร์ธานี เช่น พระบรมธาตุไชยา วดั แก้ว และวดั หลง ซึง่ จากหลักฐานท่ีเหลืออยขู่ อง วดั แกว้ และวดั หลงไมส่ ามารถกำ� หนดขอบเขตของอารามเดมิ ได้ เพราะพบรอ่ งรอยเพยี งฐานอาคาร ซง่ึ เข้าใจวา่ เปน็ ฐานสถปู เท่านั้น สว่ นทพ่ี ระบรมธาตไุ ชยา ได้รับการบูรณะมาโดยตลอด จงึ ยงั คง สภาพของสถูปท่ีแสดงลักษณะของศิลปกรรมที่รับรูปแบบวิหารในอินเดียใต้ที่สร้างส่วนฐานเป็น รปู มณฑปมหี ลงั คาซอ้ นชนั้ สว่ นยอดเปน็ รปู สถปู และสรา้ งสถปู กิ ะ หรอื สถปู จำ� ลองประดบั ตามมมุ ของชัน้ หลังคาลดหลน่ั กันแตล่ ะชน้ั มอี ายุอยูใ่ นพุทธศตวรรษท่ี ๑๓ - ๑๕ ส่วนวัดแก้วและวัดหลงเหลือเพียงฐานท่ีมีความสูงและเรือนธาตุ ท่ีวัดแก้วประดับ ด้วยเสาท่ีอิงตัวอาคาร ท�ำให้มีลักษณะคล้ายกับศิลปะจามของอาณาจักรจามปา ทางตอนกลาง ของประเทศเวียดนาม ส่วนทโี่ บราณสถานเมอื งยะรงั จงั หวัดปตั ตานี เหลอื เพียงฐานขนาดใหญ่ ท่แี สดงให้เหน็ อิทธิพลของศิลปะอนิ เดียแบบคปุ ตะ คลา้ ยกบั ทพ่ี บในศิลปะทวารวดที างภาคกลาง อกี ทง้ั ยงั มสี ถปู รปู โอควำ่� พบทวี่ ดั สทงิ พระ วดั พะโคะและวดั สหี ยงั จงั หวดั สงขลา กบั ทว่ี ดั มหาธาตุ นครศรธี รรมราชอีกด้วย 53
ประตมิ ากรรมเปน็ ประตมิ ากรรมเนอ่ื งในพทุ ธศาสนามหายาน เป็นส่วนใหญ่ โดยเฉพาะรูปพระพุทธรูป พระโพธิสัตว์ ส่วนท่ีเป็น เทวรูปในศาสนาฮินดูน้ันมีอยู่บ้าง โบราณวัตถุเหล่าน้ี ได้รับอิทธิพล จากศิลปะอินเดยี แบบคปุ ตะ หลังคปุ ตะ และปาละ - เสนะ ตามล�ำดับ ส่วนมากสลักด้วยศิลาหรือหล่อด้วยส�ำริด มีลักษณะร่วมที่คล้ายคลึง กบั ศลิ ปะชวาภาคกลาง ประติมากรรมเน่ืองในพุทธศาสนาเก่าแก่ท่ีสุดในภาคใต้ เปน็ พระโพธสิ ตั วอ์ วโลกเิ ตศวร ศลิ า พบทอี่ ำ� เภอไชยา จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี แสดงอิทธิพลศิลปะอินเดียแบบคุปตะ อายุราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ - ๑๓ และพระโพธิสัตว์อวโลกเิ ตศวร หลอ่ ดว้ ยส�ำรดิ อกี ๒ องค์ พบที่อ�ำเภอไชยาเช่นเดียวกัน แต่มีลักษณะของอิทธิพลศิลปะ หลังคุปตะและปาละ อายุราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๔ เข้ามาปะปนแล้ว เป็นพระโพธิสัตว์ที่แปลกกว่าต้นแบบในอินเดีย คือ ครองหนังกวาง มีลักษณะคล้ายกบั ท่พี บในเกาะสุมาตราและชวา แตไ่ ม่พบในอินเดยี พระโพธสิ ัตวอ์ วโลกเิ ตศวร สำ� ริด อายุประมาณพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๕ พบที่ อ�ำเภอพุนพิน จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี 54
พระโพธสิ ัตว์อวโลกิเตศวร ส�ำรดิ อายปุ ระมาณพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๔ พบท่ี วดั เวยี ง อำ� เภอไชยา จงั หวดั สุราษฎร์ธานี 55
พระพุทธรปู นาคปรก ปางมารวชิ ัย (ภูมสิ ปรศมทุ รา) สำ� รดิ ทีฐ่ านมีจารกึ ระบุ (พุทธ) ศักราช ๑๗๒๖ พบที่ วัดเว5ีย6ง อ�ำเภอไชยา จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี
ส�ำหรับพระพุทธรูปที่น่าสนใจอีกองค์หน่ึง คือ พระพุทธรูปนาคปรก พบที่วัดเวียง อ�ำเภอไชยา โดยท่ัวไปการท�ำพระพุทธรูปนาคปรก นิยมท�ำปางสมาธิ แต่พระพุทธรูปองค์นี้ท�ำปางมารวิชัย และถอดออกได้เป็น ๓ ช้ิน คือ ส่วนเศียรนาค ส่วนองค์พระพุทธรูป และส่วนขนดนาค ที่ฐานมีจารึกอักษรขอม ว่าหล่อขึ้นใน พ.ศ. ๑๗๒๖ อยู่ในช่วงปลายสมัยศรีวิชัย พระพุทธรูปนาคปรกแสดงให้เห็นว่ามีอิทธิพลศิลปะลพบุรี เข้ามาผสม โดยดูจากลักษณะเศียรนาค และพระพักตร์ของพระพุทธรูปที่มีลักษณะส่ีเหล่ียม แต่ยังคงมีลักษณะศรีวิชัยอยู่คือ พระเกตุมาลาหรือ เมาลีเรียบ ไม่มีขมวดพระเกศา มรี ศั มีรปู ใบโพธ์ติ ิดอย่ดู ้านหนา้ พระนลาฏ ชายจวี รเป็นรว้ิ ซ้อนกันเหนือพระองั สาซ้าย นอกจากน้ยี งั พบการท�ำเทวรูป ในศาสนาฮนิ ดูควบค่กู นั ไปดว้ ย เชน่ พระนารายณ์ หรอื พระวิษณุ ศวิ ลงึ ค์ ท้าวกเุ วร พระพฆิ เณศ เอกมุขลงึ ค์ อายปุ ระมาณพุทธศตวรรษท่ี ๑๐ - ๑๑ พบที่ สถานีรถไฟหนองหวาย อำ� เภอไชยา จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี 57
ลักษณะประติมากรรมแบบศรีวิชัยจะแสดงสัดส่วนเหมือนมนุษย์ ธรรมดา พระหัตถ์และพระบาทสมส่วนกับพระวรกาย พระพักตร์คมเข้ม พระเกศาหวีเกล้าเป็นมวยทรงสูงแล้วปล่อยให้ชายผมสยายลงมา บนพระปฤษฎางค์ (ชฎามงกุฎ) พระองค์ทรงศิราภรณ์ พระขนงโค้งเรียบ พระเนตรเหลือบมองต�่ำ หางพระเนตรยาว พระนาสิกโด่ง พระโอษฐ์ย้ิม เป็นรูปกระจับ พระหนุเป็นปม มีท้ังประทับยืนตริภังค์หรือเอียงสะโพก ประทับยืนสมภังค์หรือยืนตรง ประทับนั่งขัดสมาธิเพชร ประทับนั่งในท่า ลลิตาสนะ คอื พระบาทข้างหนงึ่ หอ้ ยลงมา อกี พระบาทพบั อย่บู นพระแท่น ทรงผ้าทรงยาวบางแนบพระองค์ ไม่ทรงฉลองพระองค์ ประดบั เคร่อื งทรง ตามแบบอินเดีย เชน่ กรองศอ พาหรุ ัด สายธุรำ� ปวตี นอกจากประติมากรรมดังกล่าวแล้ว ยังนิยมท�ำพระพิมพ์ดินดิบ และสถูปดินดิบเล็ก ๆ เป็นของท่ีแตกหักง่าย สร้างข้ึนเพ่ือสืบอายุ พระพุทธศาสนา สันนิษฐานว่าคงท�ำตามประเพณีทางลัทธิมหายาน คือ เมื่อเผาศพของพระเถระท่ีมรณภาพหรือบุคคลส�ำคัญท่ีตายแล้ว ก็เก็บเอา อัฐิธาตุโขลกเคล้ากับดิน แล้วกดลงในแม่พิมพ์ออกมาเป็นพระพุทธรูป หรือพระโพธิสัตว์ เพื่อประสงค์ปรมัตถประโยชน์แก่ผู้มรณะ ส่วนอัฐิน้ัน ถูกเผามาครัง้ หน่งึ แล้วจึงไมเ่ ผาอีก พระโพธสิ ตั ว์อวโลกเิ ตศวร ๘ กร ส�ำรดิ พบท่ี วัดพระบรมธาตุไชยา อ�ำเภอไชยา จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๔ 58
พระพิมพ์ ภาพพระพทุ ธเจ้าอมิตาภะ ศลิ ปะศรีวิชยั อายปุ ระมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๔ 59
ประณตี ศลิ ป์ จากการตดิ ต่อคา้ ขายกับตา่ งชาติ ท�ำใหพ้ บหลกั ฐานส�ำคัญคือ ลูกปดั แกว้ มีตาจากตะวันตก ซ่ึงเป็นลูกปัดโรมัน และแหวนตรารูปแบบต่าง ๆ เป็นจำ� นวนมากตามแหล่ง โบราณคดีส�ำคัญ เช่น อ�ำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ อ�ำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา ภายหลัง จึงสามารถผลิตลูกปัดขึ้นได้เอง ดังได้พบแหล่งผลิตลูกปัดส�ำคัญที่ควนลูกปัด อ�ำเภอคลองท่อม ซ่ึงลูกปัดน้ี นับเป็นเคร่ืองประดับส�ำคัญที่ใช้สืบเน่ืองมาดังเห็นได้ชัดในรูปแบบการแต่งกายของ พระโพธสิ ตั ว์ และอาจรวมถึงใชเ้ ป็นเคร่ืองแตง่ กายของโนรา (มโนราห์) ลูกปัดหนิ สีตา่ ง ๆ รูปสตั ว์ อายปุ ระมาณพทุ ธศตวรรษท่ี ๖ - ๑๑ พบที่ ควนลูกปัด อ�ำเภอคลองทอ่ ม จังหวัดกระบี่ 60
ลกู ปดั ตา อายุประมาณพุทธศตวรรษที่ ๖ - ๑๑ พบที่ แหล่งโบราณคดแี หลมโพธิ์ - ปา่ ยาง อำ� เภอไชยา จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี 61
ลูกปดั หินคาร์เนเลียน สลกั ลวดลายรูปบคุ คลอยา่ งโรมัน ปจั จบุ ันถกู น�ำไปเลีย่ มใส่กรอบเหมอื นจี้ห้อยคอ เดิมอาจใชเ้ ปน็ หวั แหวน อายุประมาณพทุ ธศตวรรษท่ี ๖ - ๑๑ พบท่ี ควนลูกปัด อำ� เภอคลองทอ่ ม จงั หวัดกระบี่ 62
ตราประทบั หินคารเ์ นเลยี นสสี ม้ อกั ษรพราทมี ภาษาสันสกฤต อายุราวพุทธศตวรรษท่ี ๖ - ๗ พบท่ี ควนลูกปดั อ�ำเภอคลองทอ่ ม จงั หวดั กระบ่ี ตราประทับดนิ เผา สนี ำ�้ ตาลดำ� ด้านหลังมลี ักษณะเป็นแทง่ ปลายแหลม สำ� หรับจับ ดา้ นหนา้ เปน็ รูปศรวี ตั สะ พบท่ี ควนลูกปดั อำ� เภอคลองท่อม จงั หวัดกระบี่ 63
กุณฑี พบจากการขดุ คน้ ที่เมอื งพระเวยี ง อ�ำเภอเมืองนครศรธี รรมราช จังหวดั นครศรีธรรมราช นอกจากนี้ ในภาคใต้ยังพบแหล่งเตาเผาโบราณส�ำคัญบริเวณริมคลองปะโอ ต�ำบล ม่วงงาม อ�ำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา ได้แก่ เตาโคกหม้อ เตาโคกไพ และเตาหม้อ ซง่ึ จากการขดุ คน้ ทางโบราณคดไี ดพ้ บรอ่ งรอยของการผลติ ภาชนะดนิ เผาสมยั ศรวี ชิ ยั ทใี่ ชเ้ ทคโนโลยี ช้นั สูง รวมท้งั เทคนคิ การผสมเนื้อภาชนะดินเผาท่ดี กี ว่าแบบพื้นเมอื งธรรมดา โดยใชด้ นิ ขาวเปน็ วัตถุดิบในการท�ำภาชนะ ลักษณะเป็นเครื่องปั้นดินเผาสีขาวนี้ ไม่พบในแหล่งโบราณคดีอ่ืน ๆ ภาชนะดนิ เผาทแ่ี หลง่ เตาปะโอนี้ มลี กั ษณะเดน่ ทเ่ี นอื้ วสั ดุ ซงึ่ เปน็ ดนิ เหนยี วเนอื้ ละเอยี ด เนอ้ื สขี าว ตกแต่งตัวภาชนะเป็นลายกดประทับรูปฟันปลา หรือสามเหล่ียมติดต่อกันบริเวณไหล่ โดยมี เสน้ คขู่ นาดเปน็ แนวประกอบ รวมทง้ั มกี ารเขยี นสที องลงบนพน้ื ภาชนะ รปู ทรงทพ่ี บ ไดแ้ ก่ ภาชนะ ทมี่ กี า หรือคนทีดนิ เผา จานแบน อา่ งดนิ เผา คนโทใส่นำ้� สว่ นภาชนะทสี่ ทิงพระ มี จาน ชาม ถ้วย ถ้วยมีฝาครอบ หม้อ กาน้�ำและชามอ่าง ซ่ึงมีการตกแต่งด้วยลายขูดขีด เป็นเส้นสลักแบบและ ลายแบบพเิ ศษเป็นรปู หัวนะโมและตวั กนก 64
“ศรีวิชัย” เกิดขึ้นในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๓ - ๑๘ อันเป็นผลจากการเป็นคนกลาง ในการค้าขายและการยอมรับระบบบรรณาการของจีน ดังน้ันเมื่อจีนเปล่ียนนโยบายการค้า โดยแทนทจี่ ะคา้ ขายผา่ นคนกลางเหมอื นแตก่ อ่ น กส็ ง่ เสรมิ ใหส้ ำ� เภาจนี แลน่ ไปคา้ ขายกบั บา้ นเมอื ง ตา่ ง ๆ โดยตรง ตง้ั แตพ่ ทุ ธศตวรรษที่ ๑๘ เปน็ ตน้ มา ทำ� ใหอ้ ำ� นาจทางการคา้ ผา่ นชอ่ งแคบมะละกา ของศรีวิชัยซบเซาลง ในขณะที่บ้านเมืองชายฝั่งทะเลในคาบสมุทรและภาคพ้ืนทวีปของไทย ฟน้ื ตวั ขนึ้ มชี มุ ชนบา้ นเมอื งทเี่ คยมอี ยขู่ ยายใหญข่ นึ้ เชน่ นครศรธี รรมราช และในทส่ี ดุ กห็ นั กลบั มา ใชเ้ สน้ ทางขา้ มคาบสมทุ รดงั เดมิ ประกอบกบั ลกั ษณะโครงสรา้ งของรฐั เองทม่ี ลี กั ษณะเปน็ หมเู่ กาะ ยากแก่การรวมศูนย์อ�ำนาจ และฐานเศรษฐกิจที่พ่ึงพาการค้าระหว่างประเทศเป็นหลัก โดยใช้ นโยบายเป็นคนกลางให้เรอื จากตะวันตกแลน่ ไปค้าขายกับจนี ในสมัยราชวงศ์ซุ้งตอนปลาย จีนได้เปล่ียนนโยบายใหม่ โดยส่งเรือลงมาค้าขายโดยตรง ท�ำให้เมืองต่างๆ บนคาบสมุทรท่ีเคยอยู่ใต้อ�ำนาจของศรีวิชัย ซ่ึงเป็นจุดพบกันระหว่างพ่อค้า จีนและตะวันตกเหมือนกับสมัยแรกเริ่ม เมืองต่างๆ เหล่าน้ีจึงเข้มแข็งข้ึน เช่น ตามพรลิงค์ (นครศรธี รรมราช) ได้ประกาศตนเปน็ อสิ ระอยา่ งชัดเจน ต้ังแต่ พ.ศ. ๑๗๗๓ และรวบรวมเมอื ง ต่าง ๆ ในคาบสมุทร เปน็ เมอื ง ๑๒ นักษตั ร ประกอบด้วย เมอื งสายบรุ ี เมืองปตั ตานี เมืองกลนั ตนั เมืองปะหัง เมืองไทรบุรี เมืองพัทลุง เมืองตรัง เมืองชุมพร เมืองบันไทสมอ เมืองสงขลา เมืองตะกั่วป่า และเมอื งกระบ่ี 65
66
๓ มรดกวัฒนธรรมภาคใต้ มรดกวฒั นธรรมภาคใตม้ มี ากมายหลายประเภท อนั เปน็ อตั ลกั ษณแ์ ละเอกลกั ษณเ์ ฉพาะ ภมู ภิ าค ทงั้ โบราณสถาน โบราณวตั ถุ สถาปตั ยกรรม ศลิ ปหตั กรรม ศลิ ปการแสดง อาหารพน้ื บา้ น และวัฒนธรรมประเพณีต่าง ๆ ฯลฯ แสดงถึงภูมิปัญญาอันทรงคุณคุณค่าท่ีสืบทอดมายาวนาน หลายช่วั คน อย่างไรก็ดี มรดกวัฒนธรรมภาคใต้ที่น�ำเสนอในหนังสือเล่มน้ี เป็นเพียงส่วนหน่ึงของ มรดกวัฒนธรรมอันหลากหลายเท่าน้ัน ทั้งน้ี มรดกวัฒนธรรมบางประเภทไม่ได้น�ำมากล่าวไว้ เช่น มรดกด้านภาษาและวรรณกรรมพ้ืนบ้าน มรดกด้านการรักษาโรค เป็นต้น ซ่ึงจะมีโอกาส รวบรวมมาน�ำเสนอในวาระอ่นื ๆ ต่อไป 67
โบราณสถาน แหลง่ โบราณคดี และโบราณวตั ถุ ภาคใต้มีโบราณสถาน แหล่งโบราณคดี และโบราณวัตถุเป็นจ�ำนวนมาก มีอายุต้ังแต่ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ จนกระทั่งเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ตามพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ ทั้งที่เป็นแหล่งภาพเขียนสี เมืองโบราณ ปูชนียสถานส�ำคัญ เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุ นครศรีธรรมราช รวมทั้งแหล่งโบราณคดีส�ำคัญอีกเป็นจ�ำนวนมาก ส่วนโบราณวัตถุส�ำคัญ เช่น พระโพธิสตั วอ์ วโลกเิ ตศวรสำ� รดิ พระพุทธรูปนาคปรกส�ำรดิ เทวรูปศลิ า ลูกปดั ฯลฯ เขาเขียน ต้ังอยู่ในอุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา ต�ำบลเกาะปันหยี อ�ำเภอเมืองพังงา จังหวัดพังงา บรเิ วณเขาเขยี นปรากฏภาพเขยี นสยี คุ กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ อายรุ าว ๒,๐๐๐ หรอื ๓,๐๐๐ - ๕,๐๐๐ ปีมาแล้ว ที่บริเวณหน้าผาด้านทิศตะวันออกริมอ่าวพังงา สันนิษฐานว่าภาพเหล่าน้ีวาดโดย คนก่อนประวัติศาสตร์อาศัยในบริเวณนี้ และนักเดินเรือสมัยโบราณที่แวะมาจอดพักหลบมรสุม ภาพเขยี นสีนี้ มีอยู่ด้วยกนั ๗ กลุ่ม บางกลมุ่ มีภาพหนาแน่น มีการเขียนซอ้ นทบั กนั ๒ - ๓ คร้งั ลักษณะของภาพมีหลายแบบ มีทั้งที่เป็นภาพลายเส้นแบบเค้าโครงร่างรอบนอก (outline) แบบระบายเงาทึบ (silhouette) และแบบแสดงโครงร่างภายใน (x-ray) หรือแสดงโครงร่าง รอบนอก แลว้ ตกแต่งลวดลายภายใน ภาพท้งั หมดเขียนด้วยสีแดง สสี ้ม และสีเหลอื ง ประกอบ ไปด้วยภาพคน ภาพสัตว์น�้ำจ�ำพวกปลา โลมา ปู ภาพสัตว์บก เช่น นก ตะกวด เป็นต้น ภาพคนกบั ภาพสงิ่ ของ และภาพวตั ถุบางอย่างทีด่ ูแปลกตา รวมทั้งภาพสัญลักษณ์บางอย่างดว้ ย แหลง่ ภาพเขียนสี เกาะเขาเขียน อำ� เภอเมอื งพังงา จงั หวัดพังงา 68
69
70
ภาพเขียนสีภาพปลา คน และภาพลายเสน้ แหล่งภาพเขยี นสี เกาะเขาเขยี น อำ� เภอเมอื งพังงา จงั หวัดพังงา 71
ในอุทยานแห่งชาติอ่าวพังงาและบริเวณใกล้เคียงนี้ ได้ค้นพบหลักฐานการใช้พ้ืนที่ของ กลุ่มชนก่อนประวัติศาสตร์ ซึ่งกำ� หนดอายุได้ไม่น้อยกว่า ๑๐๐,๐๐๐ ปีมาแล้ว พ้ืนท่ีนี้อาจเป็น เสน้ ทางสญั จรและพนื้ ทอี่ ยอู่ าศยั โดยเฉพาะตามเพงิ ผาและถำ้� แตเ่ มอ่ื เวลาผา่ นไป ระดบั นำ้� ทะเล ขนึ้ สงู กลมุ่ ชนทส่ี บื เชอื้ สายตอ่ มาคงถอยรน่ เขา้ มาอาศยั อยบู่ นพนื้ ทดี่ อนภายใน และอาจมกี ลมุ่ ชน ที่รจู้ ักการทำ� แพ เรอื สญั จรไปในอ่าวพังงาบา้ ง แต่แหลง่ เหลา่ นีอ้ าจไม่เหมาะสมต่อการอย่อู าศยั ถาวร ด้วยเหตุน้ีมนุษย์จึงต้องปรับตัวให้เข้ากับส่ิงแวดล้อม หรือมีการเคลื่อนย้ายถ่ินฐานใหม่ จนกระท่ังเป็นชุมชนท่ีมีความสามารถทางทะเล ดังปรากฏงานสร้างสรรค์ศิลปะบนผนังหิน ริมอ่าวพังงาของคนก่อนประวัติศาสตร์ เช่น เขาเขียน เกาะปันหยี เขาระย้า ถ้�ำนาค และเขาพระอาดเฒ่า นอกจากนี้ ยังพบโบราณวัตถุยุคก่อนประวัติศาสตร์ท่ีแสดงถึงการเข้ามาอยู่อาศัยใน อ่าวพังงา เช่น เขาพัง เขาแดง เขาผ้ึงใน เขาเต่า และเขาพระอาดเฒ่า โดยเขาพังมีการพบ เคร่ืองกะเทาะหินหลายชิ้น นอกจากนั้นยังพบเศษภาชนะดินเผาแบบเรียบ ลายเชือกทาบ หินลับ แกนหิน และสะเก็ดท่ีมีร่อยรอยการกะเทาะ แต่ไม่มีลักษณะเป็นเครื่องมือท่ีชัดเจน เป็นจ�ำนวนมาก และท่ีเขาพระอาดเฒ่า มีการค้นพบเศษภาชนะดินเผาเน้ือหยาบ แบบเรียบ แบบลายเชอื กทาบ ชนิ้ สว่ นขวานหินขัด เครอื่ งมือสะเก็ดหนิ กระดกู ปลามรี อยขัดฝน ภาพเขียนสี แหลง่ ภาพเขยี นสี เขาพระอาดเฒา่ อำ� เภอตะกวั่ ทงุ่ จังหวดั พงั งา 72
73
74
ภาพเขียนสี แหล่งภาพเขียนสี เขาพระอาดเฒ่า อ�ำเภอตะกวั่ ทุ่ง จงั หวดั พงั งา 75
ถ้ำ� ผีหัวโต หรือ ถ้�ำหวั กะโหลก ตั้งอยู่ภายในเขตอุทยานแห่งชาติธารโบกขรณี อ�ำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบ่ี ภายในถ�้ำ แบ่งได้เป็น ๒ คูหาขนาดใหญ่ มีภาพเขียนสีโบราณสมัยก่อนประวัติศาสตร์ สันนิษฐานว่ามีอายุ ราว ๒,๐๐๐ - ๓,๐๐๐ ปมี าแล้ว เขียนด้วยสแี ดง ดำ� เหลอื ง นำ้� ตาล นำ้� ตาลเหลือง น้�ำตาลแดง หรอื น้�ำตาลเข้ม แบง่ ตามบริเวณทพ่ี บไดถ้ ึง ๒๓ กลุม่ จำ� นวน ๒๓๘ ภาพ บริเวณดา้ นหนา้ ถ�้ำผหี วั โต อำ� เภออา่ วลึก จงั หวัดกระบ่ี 76
77
ถ�้ำผหี ัวโต อำ� เภออา่ วลึก จงั หวดั กระบ่ี 78
ภาพท่ดี ังที่สุดและทุกคนตอ้ งมาชม คอื ภาพคนใส่หมวกทรงสงู หรือ ภาพคนทมี่ ีหัวเปน็ สตั วม์ เี ขา เขียนด้วยสีแดงทั้งตัวคล้ายมนุษยต์ ่างดาว ฝังอยใู่ นช้นั หนิ นอกจากน้ียังมภี าพอ่ืน ๆ เชน่ กลุม่ สตั ว์ เชน่ นกฟนิ ิกซ์ ไก่ ปลา ปลาหมกึ จระเข้ เมน่ และกงุ้ กลมุ่ ภาพเครื่องมือเคร่อื งใช้ เชน่ แห อวน และเรอื กลุม่ ภาพมือคนที่ทาบเอาไว้บนเพดานถำ�้ โดยมือขา้ งหน่งึ มี ๖ นิว้ และอกี ข้างหน่งึ มี ๕ นิ้วตามปกติ เป็นตน้ ภาพเขยี นสี ภาพคนใสห่ มวกทรงสูง หรอื ภาพคนมีหัวเปน็ สตั วม์ เี ขา แหล่งภาพเขียนสี ถ้ำ� ผีหัวโต อ�ำเภออ่าวลกึ จังหวัดกระบี่ 79
ลกู ปัดหนิ คารเ์ นเลยี นและลูกปัดแกว้ สีต่าง ๆ อายุประมาณพุทธศตวรรษท่ี ๖ - ๑๑ แหล่งโบราณคดีเขาสามแก้ว ตงั้ อยหู่ มทู่ ่ี ๑ บา้ นสามแกว้ ตำ� บลนาชะองั อำ� เภอเมอื งชมุ พร จงั หวดั ชมุ พร เปน็ ชมุ ชนสมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตรจ์ นถงึ สมยั แรกเรมิ่ ประวตั ศิ าสตร์ มีการอย่อู าศัยเริ่มตงั้ แตร่ าวพทุ ธศตวรรษท่ี ๒ และเจริญในช่วงพทุ ธศตวรรษที่ ๕ - ๑๐ มีลกั ษณะเป็นแหล่งทอี่ ยู่อาศัยและสถานกี ารค้า เปน็ ชุมชน ที่มีแหล่งผลิตอุตสาหกรรมเหล็ก อุตสาหกรรมแก้วและหิน ชุมชนเขาสามแก้วมีความส�ำคัญในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๒ - ๑๐ ในฐานะชุมชนการค้า การผลติ และทอี่ ยอู่ าศยั ทสี่ ำ� คญั ทางชายฝง่ั ทะเลตะวนั ออกในภาคใต้ โดยมคี วามสมั พนั ธก์ บั ชมุ ชนภายนอก และนา่ จะมเี สน้ ทางเชอื่ มตอ่ ไปยงั ชายฝง่ั ทะเลตะวันตก อีกทงั้ ชุมชนโบราณเขาสามแกว้ มีความเช่อื ในเรอ่ื งธรรมชาติและความเชอื่ ทีร่ บั มาจากอิทธิพลภายนอก โบราณวตั ถทุ พ่ี บสะท้อนให้ เหน็ ถงึ ความเช่ือเร่อื งความอดุ มสมบูรณ์ การเกษตรกรรม และความตาย ชุมชนเขาสามแก้วมีการสร้างก�ำแพงดินล้อมรอบชุมชน กระจายตัวอยู่ท่ัวไป โดยก�ำแพงจะวางตัวแนวยาวตามเนินเขาหรือที่ราบเชิงเขา ท่ีมีความลาดชันต�่ำมี ๒ รูปแบบ คือ ก�ำแพงดินคู่ที่มีคูน�้ำก้ันกลางและก�ำแพงดินเด่ียว สันนิษฐานว่าเป็นเนินดินอัดถมบริเวณส่วนฐานและอาจมี ร้ัวไม้ปักอยู่ด้านบนและอาจมีชุมชนขนาดเล็กหลาย ๆ ชุมชนในพื้นที่เดียวกันเนื่องจากพบก�ำแพงดินหลายแห่ง มีอายุราวพุทธศตวรรษท่ี ๒ - ๔ มีความคลา้ ยคลึงกับกำ� แพงดนิ ทพี่ บตามแหล่งโบราณคดสี มัยเดยี วกนั หลายแหง่ ในอินเดยี เวยี ดนาม และพม่า เป็นตน้ นอกจากน้ี พบวา่ บางบริเวณ ยังสร้างคูน้�ำหรือทางระบายน้�ำจากเนินเขาลงสู่แหล่งน้�ำมีลักษณะการท�ำร่องน�้ำวางตัวขวางระหว่างเนินเขาหรือหุบเขา และใช้เป็นคูน�้ำที่ใช้ใน ระบบการจัดการน้�ำของชุมชน อีกท้ังมีการจัดแบ่งพื้นท่ีอุตสาหกรรม คือ แหล่งผลิตลูกปัดหินและลูกปัดแก้ว แหล่งผลิตโลหะ ไว้นอกเขตชุมชน (นอกก�ำแพงดนิ ) สว่ นมากมกั เปน็ พน้ื ทรี่ าบใกลก้ บั แหลง่ น้�ำ 80
ลูกปัดหนิ คาร์เนเลียนและลกู ปัดแก้วสีต่าง ๆ 81 อายปุ ระมาณพทุ ธศตวรรษที่ ๖ - ๑๑
เขาคูหา (ถำ้� คหู าสวรรค์) ต้ังอยู่ที่บ้านหนองยอ ต�ำบลช้างขวา อ�ำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นถ�้ำ บนเขาหนิ ปนู ลกู โดดขนาดเลก็ ตวั ถำ�้ และวดั อยทู่ างทศิ เหนอื ของภเู ขา ปากถำ้� หนั ไปทางทศิ ตะวนั ออก ภายในถ�้ำเป็นท่ีประดิษฐานพระพุทธรูป ซึ่งมีทั้งพระพุทธรูปปูนปั้น พระพุทธรูปศิลาทราย และพระพุทธรูปดินดิบ พระประธานเป็นพระพุทธไสยาสน์ปูนปั้นปิดทอง ฝั่งตรงข้ามปากทาง เข้าถ้�ำมีพระพุทธรูปดินดิบนูนสูงปั้นปะติดบนผนังและเพดานถ�้ำประกอบด้วยภาพพระพุทธเจ้า และภาพเลา่ เรอ่ื งตามคมั ภรี ส์ ทั ธรรมปณุ ฑรกิ สตู รในพทุ ธศาสนามหายาน เดมิ มผี เู้ ลา่ วา่ ภาพดนิ ปน้ั เหลา่ นมี้ เี ตม็ ตลอดเพดานถำ้� แตไ่ ดห้ ลดุ รว่ งไปเปน็ จำ� นวนมาก ปจั จบุ นั เหลอื อยเู่ ฉพาะบรเิ วณผนงั และเพดานตรงปากทางเขา้ ถ�ำ้ และบริเวณมมุ ซอกเพดานดา้ นตะวันออกเฉยี งใต้เท่านน้ั ทางเขา้ ถ�ำ้ คหู า 82
พระพุทธเจ้าปางมารวชิ ัยประทบั ในวมิ านและพระสถปู ดินดบิ ประดบั เพดานถ�้ำคูหา ต�ำบลชา้ งขวา อ�ำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๓ - ๑๔ 83
ลวดลายปนู ปน้ั ทปี่ รากฏ แสดงใหเ้ หน็ ลกั ษณะของอาคารรปู ทรงตา่ งๆ เชน่ ทางดา้ นขวาลา่ ง พบลักษณะอาคารที่มีหลังคาทรงจ่ัวซึ่งคงเป็นอาคารหลังคาเคร่ืองไม้ ทางด้านมุมซ้ายบน พบเจดยี ์ทรงระฆัง ตั้งอยู่บนฐานสงู มกี ารประดับแถวลายกลบี บวั ทีส่ ว่ นปากระฆงั บัลลงั กเ์ ท่าท่ี ปรากฏน่าจะเป็นบัลลังก์ในผังส่ีเหล่ียม และจากต�ำแหน่งที่ต้ังสันนิษฐานว่าเป็นการประดับช้ัน หลังคาของอาคาร โดยถ้าหากเป็นดังนั้นแล้วองค์ระฆังที่ปรากฏอาจจะเป็นสถูปิกะของอาคาร ซึ่งคล้ายกับการประดับช้ันหลังคาของอาคารในศิลปะชวา ส่วนพระพุทธรูปประทับนั่งห้อย พระบาท พระพักตรเ์ หล่ยี ม พระเนตรปูดโปน พระนาสกิ ใหญ่ รมิ พระโอษฐ์หนา แบะ พระหนุ เป็นปม พระกรรณใหญ่ จากลักษณะพระพักตร์น้ีแสดงถึงความเป็นแบบท้องถิ่นซึ่งมีความ แตกต่างกับศิลปะทวารวดีในภาคกลาง ครองจีวรห่มเฉียงเปิดพระอังสาขวา พระหัตถ์ซ้ายวาง อยู่บนพระเพลา ส่วนพระหัตถ์ขวาหักหาย ด้านหลังมีกรอบเสาต้ังขึ้นรองรับส่วนบนท่ีตกแต่ง ด้วยสถปู คล้ายคลงึ กบั กรอบซุ้มในศลิ ปะชวาภาคกลาง หลักฐานดังกล่าวข้างต้นน้ี น่าจะมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๓ - ๑๕ แสดงให้เห็นว่า บริเวณลุ่มน้�ำคลองท่าทองมีชุมชนโบราณต้ังถ่ินฐานอยู่อาศัยมาต้ังแต่สมัยประวัติศาสตร์ตอนต้น ร่วมสมัยกับชุมชนโบราณในคาบสมุทรภาคใต้ และมีการติดต่อแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกับชุมชน ภายนอก ในย่านชายฝั่งทะเลต้ังแต่อ่าวบ้านดอนไปถึงแหลมญวน ดังเห็นได้จากศิลปกรรมของ พระพุทธรูปดินดิบท่ีถ้�ำคูหาได้รับอิทธิพลศิลปะจาม ในประเทศเวียดนาม ผสมผสานกับอิทธิพล ศลิ ปะทวารวดีในภาคกลางของไทย พระพทุ ธไสยาสน์ ภายในถำ�้ คูหา อ�ำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎรธ์ านี 84
พระพุทธรูป ดนิ ดิบ อายุประมาณพุทธศตวรรษท่ี ๑๓ - ๑๔ ประดบั เพดานถ้ำ� คูหา อ�ำเภอกาญจนดษิ ฐ์ จงั หวดั สุราษฎร์ธานี พระพุทธรปู ประทบั นง่ั หอ้ ยพระบาทบนบลั ลงั ก์ (ภทั ราสนะ) ดินดบิ อายปุ ระมาณพทุ ธศตวรรษที่ ๑๓ – ๑๔ บนผนังถ�ำ้ คหู า อ�ำเภอกาญจนดษิ ฐ์ จังหวัดสุราษฎรธ์ านี 85
เมอื งโบราณไชยา ต้ังอยู่อ�ำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี สันนิษฐานว่า ชุมชนโบราณไชยามีพัฒนาการมาต้ังแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ต่อมาได้ย้ายมาตั้งชุมชนบริเวณแนวฝั่งริมแม่น�้ำและสันทรายใกล้ ชายฝั่งทะเล โดยชุมชนน่าจะมีพัฒนาการมาจากกลุ่มชนชายฝั่ง ทะเลบริเวณแหลมโพธ์ิ ซ่ึงมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๔ - ๑๕ จนกลายเป็นเมืองท่าส�ำคัญ ภายหลังจึงสร้างชุมชนขึ้นบริเวณ พ้ืนท่ีสันทรายด้านในและตามแนวล�ำน้�ำโดยพื้นที่บริเวณน้ีได้ กลายเป็นศูนย์กลางทางการปกครองและศาสนา ได้แก่ พ้ืนที่ สันทรายบริเวณวัดเวียง วัดแก้ว วัดหลง ชุมชนโบราณไชยานี้ เปน็ เมอื งทา่ ทมี่ คี วามสำ� คญั ดงั ไดพ้ บโบราณวตั ถตุ า่ งถน่ิ จำ� นวนมาก อีกทั้งน่าจะมีการติดต่อกับชุมชนใกล้เคียง ได้แก่ ชุมชนโบราณ ท่าชนะ ชุมชนโบราณพนุ พนิ ชุมชนโบราณเวียงสระ เป็นต้น บรเิ วณเมอื งไชยา พบโบราณวตั ถเุ นอ่ื งในศาสนาพทุ ธและ ศาสนาพราหมณเ์ ปน็ จำ� นวนมาก โบราณวตั ถทุ มี่ อี ายอุ ยใู่ นชว่ งพทุ ธ ศตวรรษที่ ๑๐ – ๑๓ เชน่ พระพทุ ธรปู คลา้ ยคลงึ กบั ศลิ ปะทวารวดี พบที่แหล่งโบราณคดีวัดโพธาราม แหล่งโบราณคดีวัดเววน และ แหล่งโบราณคดวี ดั แก้ว ส่วนโบราณวัตถเุ นือ่ งในศาสนาพราหมณ์ เชน่ กรอบประตู ธรณหี นิ วษิ ณุ ศวิ ลงึ ค์ โยนโิ ทรณะ พระสรุ ยิ ะเทพ พระคเณศ พบที่แหล่งโบราณคดีวัดใหม่ชลธาร วัดพระบรมธาตุ ไชยา วดั ศาลาทึง วัดแก้ว วัดอฐิ เป็นตน้ สนั นิษฐานวา่ ในชว่ งเวลา ดังกล่าว ชุมชนโบราณไชยานับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาท และศาสนาพราหมณท์ ้ังไศวนิกายและไวษณพนิกาย พระพุทธรปู ปางแสดงธรรม (วติ รรกมทุ รา) หิน ลงรักปดิ ทอง อายปุ ระมาณพุทธศตวรรษท่ี ๑๕ - ๑๖ พบท่ี วดั พระบรมธาตไุ ชยา อ�ำเภอไชยา จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี 86
พระสรุ ยิ เทพ (สูรยเทวะ) หินทราย อายุประมาณพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๕ - ๑๖ พบท่ี วัดพระบรมธาตไุ ชยา อ�ำเภอไชยา จังหวดั สุราษฎร์ธานี 87
ครนั้ ถงึ พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๓ พทุ ธศาสนามหายานไดเ้ ขา้ มามบี ทบาทสำ� คญั และเจรญิ สงู สดุ ในช่วงพุทธศตวรรษท่ี ๑๔ - ๑๕ ส่งผลใหศ้ าสนาฮินดูคอ่ ยๆ ลดบทบาทลง โบราณสถานส�ำคญั เช่น วัดพระบรมธาตุไชยา วัดแก้ว วัดหลง วัดเวียง เป็นต้น จากการพบโบราณสถานและ โบราณวตั ถุเปน็ จ�ำนวนมากแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความร่งุ เรืองของไชยาในชว่ งพทุ ธศตวรรษที่ ๑๓ - ๑๘ นกั วชิ าการจงึ สนั นษิ ฐานวา่ ไชยาอาจเปน็ ศนู ยก์ ลางหรอื เมอื งทม่ี คี วามสำ� คญั แหง่ หนง่ึ ในสมยั ศรวี ชิ ยั ชิน้ สว่ นธรรมจกั ร ศลิ า อายปุ ระมาณกลางพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ - ราวกลางพุทธศตวรรษท่ี ๑๓ พบท่ี อำ� เภอไชยา จังหวดั สุราษฎร์ธานี 88
เศยี รพระพทุ ธรปู หิน อายุประมาณพุทธศตวรรษท่ี ๑๓ - ๑๔ พบท่ี อ�ำเภอทา่ ฉาง จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี 89
พระพุทธรปู ส�ำริด อายุประมาณพทุ ธศตวรรษที่ ๑๖ - ๑๗ พบท่ี วหิ ารวัดพระบรมธาตไุ ชยา อ�ำเภอไชยา จงั หวัดสุราษฎร์ธานี 90
ตอ่ มาในชว่ งพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๖ - ๑๗ เมอื งไชยาเปน็ หนงึ่ ในเมอื ง ๑๒ นกั ษตั ร สนั นษิ ฐานวา่ คือ เมืองบันไทยสมอท่ีใช้ตราลิง (ปีวอก) เป็นตราประจ�ำเมือง ขึ้นกับเมืองนครศรีธรรมราช จนกระทั่งในชว่ งพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๘ ถงึ ตน้ พุทธศตวรรษท่ี ๑๙ เมืองไชยากลับมารงุ่ เรืองอกี คร้ัง ตอ่ มาในรชั สมัยสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ แหง่ กรงุ ศรีอยุธยา พ.ศ. ๑๙๙๘ มหี ลกั ฐานกล่าวถึง เมอื งใตก้ ารปกครองของอยธุ ยา บรเิ วณคาบสมทุ รมลายู ๔ เมอื ง ไดแ้ ก่ นครศรธี รรมราชเปน็ หวั เมอื งเอก เมืองพัทลุง ไชยาและชุมพรเป็นหัวเมืองตรี ครั้นเมื่อ พ.ศ. ๒๓๑๐ ทัพพม่าเข้าโจมตีเมืองไชยา ท่ีหมู่บ้านพุมเรียง ราษฎรได้รวมตัวกันต่อสู้กับพม่าท่ีวัดอุบลจนแตกพ่าย หลวงสิทธินายเวร ปลัดเมืองนครศรีธรรมราช (ปลัดหนู) ตั้งตนเป็นอิสระ และได้ส่งคนมาเป็นเจ้าเมืองไชยา โดยตงั้ เมอื งขนึ้ ทบี่ า้ นพมุ เรยี ง ตอ่ มาใน พ.ศ. ๒๓๑๒ พระเจา้ กรงุ ธนบรุ ยี กทพั เรอื มาตชี มุ นมุ เจา้ นคร มาหยดุ พักท่บี า้ นพมุ เรียงและสามารถยดึ นครศรธี รรมราชไว้ได้ ในสมยั รัชกาลที่ ๑ พ.ศ. ๒๓๒๘ พม่ายกทัพมารุกรานหัวเมืองทางใต้ เมืองไชยาถูกพม่าเผาเสียหายบ้านเมืองร้างผู้คน ภายหลัง สงครามได้สร้างเมืองใหม่ข้ึนบริเวณริมคลองบ้านกระแดะ หรืออ�ำเภอกาญจนดิษฐ์ในปัจจุบัน ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๕ เมืองไชยาข้ึนอยู่กับ มณฑลชุมพร โดยรวมทั้งเมืองกาญจนดิษฐ์ เมืองหลังสวนและชุมพร ต่อมาใน พ.ศ. ๒๔๔๒ โปรดใหร้ วมเมืองไชยา เมืองกาญจนดษิ ฐ์เข้าเปน็ เมืองเดยี วกนั เรยี กว่า เมอื งไชยา เป็นเมอื งไชยา ทบ่ี ้านดอน ในสมัยรชั กาลที่ ๖ ราว พ.ศ. ๒๔๕๘ ได้เปล่ยี นชือ่ เมืองไชยา (บ้านดอน) เป็นเมอื ง สุราษฎร์ธานี เปลย่ี นจากชื่อมณฑลชุมพรเป็นมณฑลสุราษฎร์ ใน พ.ศ. ๒๔๕๙ ส่วนเมอื งไชยาเก่า ใหเ้ ปลีย่ นเรียกว่า อ�ำเภอพมุ เรยี ง ครั้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๙ สมัยรัชกาลที่ ๗ ได้ยุบมณฑลสุราษฎร์ให้ขึ้นกับมณฑล นครศรีธรรมราช ภายหลังเปล่ียนแปลงการปกครองเม่ือ พ.ศ. ๒๔๗๕ เมืองสุราษฎร์ธานี มีฐานะเป็นจังหวัด และใน พ.ศ. ๒๔๘๐ เปลี่ยนชื่ออ�ำเภอพุมเรียงกลับมาเป็นอ�ำเภอไชยา ปจั จุบันเมืองไชยา เปน็ อำ� เภอหนึ่งของจังหวัดสรุ าษฎร์ธานีทางภาคใต้ของประเทศไทย 91
เมอื งโบราณยะรัง ตั้งอยู่ในเขตพ้ืนที่อ�ำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี เป็นเมืองโบราณที่มีคูน้�ำคันดินล้อมรอบ ผงั เป็นรปู วงรี ประกอบด้วยเมอื งโบราณส�ำคัญ ๓ เมอื ง ได้แก่ เมืองโบราณบา้ นวดั เมอื งโบราณ บา้ นจาเละ และเมอื งโบราณบา้ นประแว สนั นษิ ฐานวา่ บรเิ วณเมอื งโบราณบา้ นวดั และเมอื งโบราณ บา้ นจาเละอาจเปน็ ศนู ยก์ ลางพทุ ธศาสนาของเมอื งในชว่ งพทุ ธศตวรรษที่ ๑๒ จากนนั้ พฒั นามาเปน็ ศูนย์กลางพุทธศาสนามหายานในสมัยพทุ ธศตวรรษที่ ๑๔ - ๑๖ ตอ่ มาในช่วงพทุ ธศตวรรษที่ ๑๙ ไดเ้ จรญิ รงุ่ เรอื งอกี ครง้ั หนง่ึ ดงั เหน็ ไดจ้ ากการสรา้ งเมอื งทม่ี คี นู ำ�้ คนั ดนิ และปอ้ มสม่ี มุ เมอื งทบ่ี รเิ วณ เมอื งโบราณบา้ นประแว และมีการใช้พน้ื ท่บี รเิ วณน้จี นถึงชว่ งพุทธศตวรรษที่ ๒๑ เมืองโบราณบ้านวัด ตั้งอยู่บริเวณทิศใต้สุดของเมืองโบราณยะรัง สันนิษฐานว่าเป็น พ้ืนท่ตี ้ังชมุ ชนแหง่ แรก มีลกั ษณะผงั เมืองเป็นรูปสเ่ี หล่ยี มผืนผา้ มคี นู ำ�้ ลอ้ มรอบ และมเี มืองชัน้ ใน รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าเป็นเนินสูง มีร่องรอยคูน�้ำขุดล้อมรอบเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนาดต่างๆ คล้ายเกาะ ขนาดเล็กเชอ่ื มกันเปน็ กลมุ่ คูน�้ำเหล่านจ้ี ะเชอ่ื มกับคูน�ำ้ ธรรมชาติทางทศิ ตะวนั ตกและทล่ี มุ่ รบั น�ำ้ ทางทศิ ใต้ ทศิ ตะวนั ออก และทศิ เหนอื พบซากเนนิ อฐิ ในบรเิ วณบา้ นวดั กวา่ ๒๐ แหง่ สนั นษิ ฐานวา่ แหล่งโบราณคดีบ้านวัด เป็นที่ตั้งชุมชนรุ่นแรกของเมืองยะรัง จากการศึกษารูปแบบศิลปะ โดยเฉพาะสถูปพบว่ามีความคล้ายคลึงกับสถูปที่พบท่ีบ้านจาเละ จึงสันนิษฐานว่ามีอายุร่วมสมัย กันคอื ราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๒ - ๑๕ โบราณสถานบ้านวดั หมายเลข ๙ 92
93
กล่มุ โบราณสถาน บา้ นจาเละ หมายเลข ๓ 94
เมอื งโบราณบา้ นจาเละ ตงั้ อยถู่ ดั จากเมอื งโบราณบา้ นวดั ขน้ึ มาทางทศิ เหนอื สนั นษิ ฐานวา่ เปน็ ชุมชนทข่ี ยายมาจากชมุ ชนบา้ นวดั ในชว่ งแรก ตัวเมืองมีคูน้�ำลอ้ มรอบสามดา้ น คอื ทิศเหนือเปน็ คูขุด มลี ักษณะแคบและลกึ ทิศตะวันออกอาศัยทางนำ้� ธรรมชาติ และทศิ ใต้ขุดขนานตามทิศทางภมู ศิ าสตร์ โบราณสถานสำ� คญั ในเมอื งโบราณจาเละ ไดแ้ ก่ กลมุ่ โบราณสถานอฐิ ๕ หลงั เนนิ สง่ิ กอ่ สรา้ งอฐิ ๖ แหง่ สระนำ้� โบราณรูปสเี่ หลย่ี มผนื ผ้าขนาดใหญ่ แนวคนั ดนิ เมอื งจาเละ และส่ิงกอ่ สร้างคล้ายปอ้ ม ๒ แห่ง จากการขุดแต่งโบราณสถานบ้านจาเละหมายเลข ๒ ๓ และ ๘ พบว่าเป็นโบราณสถานท่ีสร้างข้ึน เน่ืองในพุทธศาสนามหายานที่นิยมสร้างสถูปเพื่อเป็นศาสนสถานและถวายเป็นพุทธบูชา สันนิษฐาน สร้างข้ึนตั้งแต่ช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๒ จนช่วงพุทธศตวรรษท่ี ๑๕ - ๑๖ ได้มีการบูรณปฏิสังขรณ์ วัดแห่งนี้อีกคร้ัง นับเป็นสถูปเน่ืองในพุทธศาสนามหายานเก่าที่สุดในประเทศไทย และเป็นแหล่งท่ี กำ� หนดขอบเขตพทุ ธสถานด้วยคูน้�ำหรืออทุ กสีมาเก่าแกท่ ส่ี ดุ ทพ่ี บในประเทศไทยอกี ดว้ ย เมอื งโบราณบ้านประแว (เมอื งพระวัง) อยหู่ า่ งจากคูเมืองโบราณบา้ นจาเละไปทางทิศเหนือ มคี นู ำ�้ กำ� แพงดนิ ล้อมรอบท้งั ๔ ด้าน ทม่ี มุ ทง้ั ส่ีเปน็ คันดินลอ้ มรูปส่ีเหล่ยี มลกั ษณะคลา้ ยป้อม ดา้ นทศิ ตะวันตกมีคลองส่งน้�ำขนาดเล็กต่อเช่ือมกับทางน�้ำธรรมชาติที่ไหลต่อมาจากบ้านวัด ทางด้านทิศใต้ มีคลองสง่ นำ�้ ทขี่ ดุ จากบรเิ วณป้อมไปเช่ือมกับคเู มอื งบรเิ วณมมุ เมอื งด้านเหนอื ของเมืองโบราณยะรงั กลุ่มโบราณสถานส�ำคัญภายในเมืองพบซากส่ิงก่อสร้างอิฐ ๒ แห่ง และบ่อน้�ำเก่า ๙ แห่ง จากการส�ำรวจได้พบโบราณวัตถุร่วมสมัยกับแหล่งโบราณคดีบ้านจาเละและบ้านวัด ซึ่งมีอายุตั้งแต่ ช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๒ เป็นต้นมา สันนิษฐานว่าอาจมีการใช้พ้ืนที่มาตั้งแต่สมัยพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ และหลักฐานปรากฏเด่นชัดเจนขึ้นในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ที่มีการสร้างเมือง ขุดคูน้�ำ ท�ำก�ำแพงดินท่ีมีลักษณะคล้ายป้อม และโบราณวัตถุที่พบเมืองโบราณแห่งน้ีอาจจะมีความเก่ียวพัน กับการสรา้ งเมอื งปตั ตานีทบี่ า้ นกรอื เซะ อ�ำเภอเมืองปัตตานี จนกลายมาเป็นเมอื งปัตตานีในสมัยหลงั นอกจากน้ี บรเิ วณเมอื งโบราณยะรงั ยงั พบโบราณวตั ถอุ กี จำ� นวนมาก เชน่ แทน่ หนิ บดทก่ี โู บรร์ า้ ง กอตอกะจิ อ�ำเภอยะรัง อายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๑ - ๑๓ แม่พิมพ์หินทรายส�ำหรับหล่อต่างหูและ แหวนบริเวณบา้ นวัด ศวิ ลงึ ค์ ๒ องค์ พบบริเวณบ้านวดั และคเู มืองทางดา้ นตะวนั ตกของเมอื งประแว พระพทุ ธรปู ปางเสด็จจากดาวดงึ ส์ อายุราวพทุ ธศตวรรษที่ ๑๓ - ๑๔ พระพุทธรูปยืนปางประทานพร อายรุ าวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๓ - ๑๕ พระสรุ ิยะสำ� ริดพบท่บี ้านกวู ิง อายุราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๕ - ๑๖ เหรียญเปอร์เซีย เหรียญทองขุดพบในบ่อน้�ำด้านหน้าวัดสุขาวดี เป็นรูปสัตว์ส่ีเท้าเขียนอักษรอาหรับ ว่า “มาลคิ ” สร้างในสมัย คอลฟิ ะ โอมิยะ อัลมาลิค ประมาณ พ.ศ. ๑๒๒๘ - ๑๒๔๘ ช้นิ สว่ นประกอบ สถาปัตยกรรม เช่น กฑุ ุ หรือซุ้มเรือนแกว้ หน้าจ่วั ช้ินส่วนประตูธรณี เปน็ ต้น 95
เมอื งโบราณพระเวยี ง ต้ังอยู่บนถนนราชด�ำเนนิ ตำ� บลในเมือง อำ� เภอเมืองนครศรธี รรมราช เป็นชุมชนทีม่ ีคูนำ้� คนั ดนิ ล้อมรอบ ผังเป็นรูปส่ีเหลีย่ มผืนผ้า ขนาดกว้าง ๔๕๐ เมตร ยาว ๑,๑๑๐ เมตร ในต�ำนาน พระบรมธาตุเมืองนครศรีธรรมราชกล่าวถึงเมืองพระเวียงราวศักราช ๑๒๐๐ ส่วนหลักฐาน ดา้ นโบราณคดที พ่ี บภายในเมอื ง สนั นษิ ฐานวา่ มกี ารสรา้ งชมุ ชนตง้ั แตช่ ว่ งพทุ ธศตวรรษที่ ๑๔ - ๑๙ และมีการอยูอ่ าศัยตอ่ เนอ่ื งสบื มา ภายในตัวเมืองพระเวียงมีวัดส�ำคัญ ได้แก่ วัดสวนหลวงตะวันออก (ร้าง) ปัจจุบันเป็น ท่ีตั้งพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ นครศรีธรรมราช และส�ำนักศิลปากรท่ี ๑๔ นครศรีธรรมราช วัดสวนหลวงตะวนั ตก และวดั เสดจ็ (รา้ ง) ปัจจบุ ันต้ังอยบู่ ริเวณทศิ ใต้ของวดั สว่ นหลวงตะวันออก ปัจจุบันคือท่ีตั้งหอสมุดแห่งชาตินครศรีธรรมราช นอกจากนี้ ยังมีวัดเพชรจริกตะวันออก (ร้าง) วดั เพชรจรกิ ตะวนั ตก วดั บอ่ โพง (รา้ ง) วดั พระเวยี ง (รา้ ง) และวัดกุฎิ (รา้ ง) เป็นต้น โบราณวตั ถุ ทพี่ บในเมืองพระเวียงมีหลากหลายประเภท มีอายุราวพทุ ธศตวรรษที่ ๑๓ - ๑๙ สนั นิษฐานวา่ ชุมชนโบราณเมืองพระเวียงมีความสัมพันธ์กับกลุ่มชุมชนโบราณกลุ่มคลองท่าเรือ เนื่องจาก คลองคูพายและคลองสวนหลวงไหลลงสู่คลองท่าเรือที่อยู่ห่างทางทิศใต้ไปราว ๓ กิโลเมตร โดยพบวา่ โบราณวตั ถทุ พ่ี บมคี วามคลา้ ยคลงึ กนั และแหลง่ โบราณคดตี า่ งตงั้ อยบู่ นสนั ทรายเดยี วกนั และจากหลกั ฐานโบราณคดีกล่าวได้ว่า เมืองพระเวยี งอาจพัฒนาจากเมอื งแรกเรมิ่ ประวตั ิศาสตร์ และกลายเปน็ เมอื งทา่ คา้ ขายกบั ชมุ ชนภายนอกและภายในประเทศในชว่ งพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๔ - ๑๙ ก�ำแพงเมอื งนครศรีธรรมราช ปลายสมัยรชั กาลที่ ๕ 96
กณุ โฑ ลวดลายขุดพรรณพฤกษากา้ นขด อายปุ ระมาณพทุ ธศตวรรษที่ ๑๗ - ๑๘ พบจากการขดุ คน้ บรเิ วณพิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาตนิ ครศรีธรรมราช ซึง่ เปน็ สว่ นหนึง่ ของเมอื งพระเวียง 97
พระบรมธาตไุ ชยา ประดษิ ฐานอยภู่ ายในวดั พระบรมธาตไุ ชยา ตำ� บลเวยี ง อำ� เภอไชยา จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร เดิมเป็นวัดราษฎร์ ต่อมาเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๑ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว รชั กาลท่ี ๙ โปรดเกลา้ ฯ พระราชทานพระบรมราชานญุ าตใหย้ ก ฐานะเปน็ พระอารามหลวงชั้นตรี ชนดิ สามญั และเมอ่ื พ.ศ. ๒๕๐๐ โปรดเกล้าฯ พระราชทาน พระบรมราชานุญาตให้เลื่อนฐานะข้ึนเป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร และพระราชทานนามว่า “วัดพระบรมธาตไุ ชยา” จากลักษณะทางศิลปะสถาปัตยกรรมสันนิษฐานว่าพระบรมธาตุไชยาสร้างข้ึนราว พุทธศตวรรษที่ ๑๔ - ๑๕ ลักษณะเป็นเจดีย์ทรงปราสาทยอดขนาดย่อมคล้ายกับจันทิ หรอื เจดียใ์ นศิลปะชวา เรอื นธาตมุ ผี งั เปน็ รูปกากบาท มีมขุ ทง้ั ๔ ด้าน ลักษณะเปน็ มุขตันยอ่ มมุ ออกมาจากกลางด้านของผนังเรือนธาตุ ยกเว้นด้านทิศตะวันออกมีบันไดทางขึ้นสู่ห้องโถง กลาง ประกอบด้วยฐานบัวลูกแก้วส่ีเหล่ียมจัตุรัสตกแต่งด้วยเสาติดผนังลดเหล่ียม ๑ ช้ัน วางอยบู่ นฐานเขยี งเต้ยี ๆ ซอ้ นกัน ๒ ชั้น สว่ นฐานอยูต่ ่�ำกว่าระดับผวิ ดินปจั จบุ ัน ด้านหนา้ ฐานบวั ลูกแก้วทิศตะวันออกมีซุ้มพระพุทธรูปอยู่ข้างบันได จ�ำนวน ๒ ซุ้ม ส่วนบนของฐานบัวลูกแก้ว มีลักษณะเป็นฐานทักษิณท่ีมุมทั้งสี่ประดับด้วยสถูปจ�ำลอง ตรงกลางฐานเป็นฐานบัวลูกแก้วอีก ชน้ั หนงึ่ รองรบั เรอื นธาตเุ จดยี ท์ รงจตั รุ มขุ ทมี่ มุ เรอื นธาตทุ ำ� เปน็ รปู เสาหลอกตดิ ผนงั ตรงกลางเสา เซาะร่องตลอดโคนถึงปลายเสา มุขด้านหน้าทางทิศตะวันออกมีบันไดทางขึ้นสามารถเดินข้ึนไป นมสั การพระพทุ ธรปู ภายในองคเ์ จดยี ไ์ ดใ้ นหอ้ งโถงกลาง ผนงั เรอื นธาตเุ ดมิ กอ่ อฐิ ไมส่ อปนู ลดหลนั่ กนั ขนึ้ ไปถงึ ยอดทมี่ มุ ของมขุ แตล่ ะดา้ นทำ� เปน็ เสาตดิ อาคาร เหนอื มขุ เปน็ ซมุ้ หนา้ บนั ประดบั ลายปนู ปน้ั วงโคง้ รูปเกอื กม้า หรือท่เี รยี กวา่ “กฑุ ”ุ เหนอื เรอื นธาตมุ ีลกั ษณะเป็นหลงั คาซอ้ นชัน้ ขึ้นไป ๓ ช้ัน โดยการจำ� ลองย่อสว่ นอาคารเบื้องล่างลดหลัน่ กนั ขึน้ ไป แตล่ ะช้ันประดบั ด้วยสถูปจำ� ลอง ช้นั ละ ๘ องค์ รวม ๒๔ องค์ สว่ นยอดนน้ั ไดร้ ับการดัดแปลงสมัยรัชกาลท่ี ๕ พระบรมธาตไุ ชยา อำ� เภอไชยา จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี 98
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208