Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2017-06-16-3-17-2455408

2017-06-16-3-17-2455408

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-10-05 21:43:21

Description: 2017-06-16-3-17-2455408

Search

Read the Text Version

6.1) อตั ราการงอกของเลบ็ (Nail growth) เล็บมือจะงอกยาวประมาณวันละ 0.1 มิลลิเมตร หรือเดือนละ 3 มิลลิเมตร งอกครบตามความยาวเตม็ ท่ี ประมาณ 5 - 6 เดอื น สว่ นเลบ็ เทา้ ยาว 1 มลิ ลเิ มตรตอ่ เดอื น งอกเตม็ เลบ็ ใช้เวลาราว 12 - 18 เดอื น นอกจากนี้ ยงั มปี ัจจัยอนื่ ๆ เชน่ การอดอาหาร ลดนำ้� หนัก ท�ำให้เลบ็ งอก ชา้ ลง 6.2) การเปล่ยี นแปลงของเล็บ เกิดจาก • น�้ำหรือสารเคมีใช้ภายในบ้านท�ำให้เล็บเปราะแตกง่าย เล็บแยก ลอกเป็นขุย ผวิ หนงั รอบเล็บอักเสบ ทำ� ใหเ้ ล็บหลดุ ลอก • ความร้อน ท�ำลายสว่ นรองรับเลบ็ เนอ้ื เล็บแยก แตก • การเสยี ดสี การขัดเลบ็ มากเกินไป ท�ำให้เล็บบางลง • การขาดอาหาร เล็บงอกช้าลง บางและหกั ง่าย • การตดิ เช้อื • ภาวะเจ็บปว่ ย 6.3) ความผิดปกติของเลบ็ (Nail disorder) ความผดิ ปกตขิ องเลบ็ เกดิ ไดห้ ลายสาเหตุ ไดแ้ ก่ การตดิ เชอ้ื ทงั้ จากเชอ้ื แบคทเี รยี และเชอ้ื รา การบาดเจบ็ บรเิ วณเลบ็ เชน่ ถกู หนบี ถกู ตี และอาการของโรคบางชนดิ เชน่ โรคเบาหวาน ไทรอยด์ โรคหวั ใจ โรคปอด ความผดิ ปกตอิ าจเกดิ ขน้ึ ไดห้ ลายลกั ษณะ เชน่ เลบ็ เปน็ ขนั้ (Laddering) เล็บหลุดหรือแยกออกบางส่วนจากเนื้อเย่ือ (Oncholysis) เกิดรูหรือหลุมเล็กๆบนเล็บ (Pitting) ซึ่งอาจเกิดจากโรคเร้ือนกวางท่ีเล็บ และอาการเล็บเป็นสันนูนข้ึนมา (Ridging) เป็นต้น ความผิด ปกติจากการกระแทกจนมีเลือดออกใต้เล็บ การท�ำเล็บไม่ถูกวิธี หรือเกิดจากการกด กระแทกซ�้ำๆ เป็นเวลานาน 6.4) โรคของเล็บ (Nail disease) • โรคเชือ้ รา (tineaungium) แผ่นเล็บหนาขึ้นและเสยี รูป เมื่อเป็นนานเล็บอาจหลดุ • เลบ็ เป็นโพรง (onycholysis) แผ่นเลบ็ แยกตัวออกจากเนือ้ รองเลบ็ • ภาวะเล็บจุดขาวๆ (leukonychia) บางคร้ังเรียกว่าดอกเล็บ ไม่ได้บ่งช้ีถึงการเจ็บ ป่วย แตเ่ กดิ จากเล็บถูกกระแทกและเกดิ ฟองอากาศเข้าแทนท่ี • ลักษณะผิวหนังรอบเล็บลอก (hang nail) แตกเป็นร่อง มีอาการเจ็บ มักเกิดข้ึน เม่ือมอื ถกู สารเคมี สบู่ น้�ำยาลา้ งจาน ฯลฯ เกิดได้บ่อยขนึ้ ในช่วงอากาศหนาว 144 เอกสารความรู้ ผดู้ �ำ เนินการสปาเพื่อสขุ ภาพ

• โรคทพี่ บการตดิ เชอื้ รอบๆ เลบ็ (paronychia) ทำ� ใหผ้ วิ หนงั บรเิ วณนน้ั บวมแดง นนู แยกตัวออกจากเลบ็ • เล็บท่ีงอกผิดปกติ (ingrown nail) ท่ีขอบด้านข้างดันลึกเข้าไปในเนื้อเยื่อหรือท่ี เรียกวา่ ‘เลบ็ ขบ’ สาเหตเุ กิดจากตดั เล็บไมถ่ กู วิธี หรอื รองเทา้ คบั เกนิ ไปจนบบี รดั มักมีอาการอกั เสบ หรือตดิ เชอื้ แบคทีเรยี รว่ มดว้ ย • โรคสะเก็ดเงิน (psoriasis of the nail) ผิวหนังเล็บแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว เป็นขุย เกิดรทู เ่ี ล็บ (pitting nail) 6.5) วธิ ดี ูแลมอื และเลบ็ ให้มสี ุขภาพดี ท�ำความสะอาดมือและเลบ็ อยา่ งสม่�ำเสมอ ใชแ้ ปรงขนนุ่มกบั สบู่อ่อน ๆ ถเู บา ๆ บรเิ วณมอื และเลบ็ รวมถงึ ใตเ้ ลบ็ เพราะเปน็ บรเิ วณทเี่ ชอ้ื โรคสะสมอยมู่ ากทส่ี ดุ ทาโลชนั่ บำ� รงุ ผวิ เพอื่ ปกป้องผิวและเล็บเป็นประจ�ำทุกวัน ป้องกันผิวมือไม่ให้หยาบกระด้าง ควรสวมถุงมือทุกคร้ังเม่ือ จ�ำเปน็ ต้องสมั ผัสกับสารเคมี ดแู ลรักษา เช่น ขัด พอก เพอ่ื เป็นการบำ� รงุ ปกป้อง ใหม้ ือและเลบ็ คง ความชมุ่ ชน้ื เลย่ี งกจิ กรรมทอี่ าจทำ� ลายสภาพเลบ็ ตดั เลบ็ ใหไ้ ดร้ ปู อยา่ งสมำ่� เสมอ ไมต่ ดั มมุ เลบ็ ลกึ ลง ดา้ นขา้ ง ไมต่ ดั หนงั แตค่ วรใชอ้ ปุ กรณท์ ไี่ มท่ ำ� ลายผวิ หรอื สภาพเลบ็ ดนุ หนงั กอ่ นเลม็ ออกเฉพาะสว่ น ท่ีเกิน รวมถึงการนวดด้วยครีมบ�ำรุงหรือน้�ำมันบ�ำรุง เพ่ือกระตุ้นระบบไหลเวียนบริเวณมือตลอด ถึงปลายนิ้วและเล็บ รวมท้ังการท�ำงานของเซลล์ต่างๆ ส่ิงส�ำคัญอีกประการหนึ่งคือ การดื่มน�้ำและ รับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ตามหลักโภชนาการ เพราะเล็บคือ ส่วนหน่ึงของร่างกายที่ต้องการ สารอาหารเพอื่ การเจริญเตบิ โตและแขง็ แรง 6.6) ประเภทผลติ ภัณฑ์สำ� หรับการดแู ลเล็บและบำ� รุงเล็บ ต้องดูแลเล็บให้ปลอดจากการติดเชื้อ เนื่องจากอาจเกิดเชื้อโรคได้มากมายและ ส่งผ่านไปสู่คนอ่ืนๆ ควรท�ำความสะอาดมือและเล็บของทั้งผู้ให้และผู้รับบริการด้วยผลิตภัณฑ์ที่ สามารถฆา่ เชื้อและไม่มีผลข้างเคยี งต่อผวิ หนัง ได้แก่ • สบเู่ หลว ทำ� ความสะอาดมอื เลบ็ และฆา่ เชือ้ โรค • เจล ท�ำความสะอาดมอื เล็บ และฆ่าเช้อื โรค • ครีมส�ำหรับผลัดเซลล์ผิวท่ีเสื่อมสภาพ (Cuticle removal) และท�ำให้หนังท่ี แข็งกระด้างอ่อนตัวลง เป็นสารละลายท่ีมี Potassium hydroxide ร้อยละ 2-5 Glycerin alkaline และนำ้� เปน็ สว่ นประกอบสำ� คญั มีสารชว่ ยท�ำใหผ้ ิวหนงั ท่ีอยตู่ ดิ กบั เลบ็ แยกออก ช่วยดนุ หนังลอกแผ่นเลบ็ ทหี่ มดสภาพออกได้ง่าย กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ 145

• Base coat เป็นของเหลวไม่มสี ี หรอื เปน็ สธี รรมชาติ ใชท้ ารองพ้ืนก่อนทาสเี ล็บเพือ่ เตรียมผวิ หน้าเลบ็ ให้เนยี นและสตี ิดทนนาน • สีทาเล็บ (Nail lacquer) เพ่ือเพมิ่ ความงามให้เล็บ • Top coat หรือ sealer เป็นของเหลวใสไม่มีสี ใช้ทาทับบนสีทาเล็บเพื่อให้เงางาม เพิม่ ความคงทน ไม่หลดุ ลอกง่าย • ผลติ ภัณฑล์ า้ งสที าเลบ็ (Nail remover) • สเปรย์เพ่ือชว่ ยให้สที าเล็บแหง้ เรว็ (Quick dry spray) • ครมี หรือน้�ำมันท่ีใช้นวดผวิ หนงั บรเิ วณรอบๆเลบ็ ใหอ้ อ่ นน่มุ (Cuticle cream หรอื oil) • ครีมใช้นวดบำ� รุง (Hand and nail cream) เพ่ิมความยืดหยนุ่ และ คงความช่มุ ชน้ื ใหม้ อื และเล็บ ควรศึกษาฉลากของผลิตภัณฑ์ท่ีเลือกใช้ ว่าเหมาะแก่สภาพผิวมือและเล็บ รวมถึง คุณภาพของผลิตภณั ฑ์น้ันๆ เพื่อให้มอื และเลบ็ มีสขุ ภาพดตี ลอดเวลา 7) การดูแลเส้นผมและหนังศีรษะ 1. เส้นผม (Hair) คือส่วนของโปรตีน (Keratin) ซ่ึงเจริญเติบโตออกมานอก ผิวหนงั และยังคงต้องการการดแู ลเอาใจใส่เป็นอยา่ งดี โครงสร้างของเส้นผมแบง่ ออกเปน็ 3 ช้ันคือ แกนกลาง (Medulla) เส้นผมชั้นใน (Cortex) และช้ันนอก (Cuticle) มีลักษณะคล้ายเกล็ดปลา ซ่ึงเม่ือได้รับความร้อนหรือสารเคมีก็จะเกิดปฏิกิริยาท�ำให้เกล็ดผมถูกท�ำลายเปิดออก และเปลี่ยน สภาพเปน็ แห้งกรอบ พนั กนั ได้งา่ ย สีของเส้นผมจะต่างกันเพราะเซลล์ทป่ี ระกอบเป็นเสน้ ผมมเี ม็ดสี (Melanin pigment) ถ้ามมี ากเสน้ ผมจะมีสดี ำ� ถ้ามีน้อยสจี ะจาง ส่วนผมท่เี ปลี่ยนเปน็ สีเงินหรอื ขาว หรอื ทเี่ รยี กวา่ ผมหงอกนน้ั เกดิ จากการเปลยี่ นแปลงเมด็ สี (Pigment) ทม่ี อี ยใู่ นเซลลซ์ งึ่ หมดไป จงึ เปน็ สีขาว รากผมของเส้นผมท่ีมีสุขภาพแข็งแรงน้ัน จะมีเส้นเลือดน�ำสารอาหารมาหล่อเล้ียงปุ่มรากผม และกล้ามเน้ือท่ีมีหน้าซ่ึงช่วยยึดเส้นผมไว้กับหนังศีรษะโดยมีต่อมไขมันท�ำหน้าที่ผลิตน�้ำมันตาม ธรรมชาติเพ่ือรักษาสภาพของเส้นผม รากผมได้รับสารอาหารจากหลอดเลือดมาหล่อเล้ียงเพื่อให้ กล้ามเน้ือช่วยยึดเส้นผมไว้กับหนังศีรษะอย่างต่อเน่ือง จนครบตามวงจรการงอกของเส้นผมหรือ คอื ประมาณ 28 วนั โดยแบง่ ออกเปน็ 3 ช่วง ดงั น้ี 146 เอกสารความรู้ ผูด้ ำ�เนินการสปาเพอื่ สขุ ภาพ

• ช่วงเจริญวัยของเสน้ ผม (Anagen phase) • ชว่ งเวลาเสอื่ มสภาพหรือชว่ งหยุดการเจริญเตบิ โต (Catagen phase) • ช่วงเวลาพักตัวหรือช่วงรอยต่อของผมท่ีก�ำลังจะหลุดร่วงกับเส้นผมใหม่ซ่ึงจะเกิด ขึ้นแทนที่ (Talogen phase) สู่ช่วงเจริญวัยของเส้นผมอีกคร้ัง อย่างไรก็ตาม สภาพอากาศที่ร้อน มลพิษจากสิ่งแวดล้อม ความเครียด การนวดศีรษะแบบผิดๆ การอดอาหาร และปจั จยั อน่ื ๆอาจท�ำให้ต่อมไขมนั ทำ� งานมากเกินความจำ� เป็น เป็น เหตใุ หห้ นงั ศรี ษะมสี ภาพมนั จนเกนิ ไป เกดิ ไขมนั อดุ ตนั รขู มุ ขน เสน้ ผมขาดการบำ� รงุ หลดุ ร่วง เส้นผมใหมข่ ้ึนยากกวา่ ปกติ 2. หนงั ศีรษะ มีโครงสร้างเชน่ เดยี วกบั ผวิ หนัง แต่ลกั ษณะทีต่ ่างกนั คอื • มรี ขู มุ ขน ตอ่ มเหง่อื และต่อมไขมนั มากกว่าบรเิ วณอน่ื • มีลกั ษณะเสน้ ขน (ผม) ทแ่ี ขง็ แรงและใหญ่กว่าเส้นขนส่วนอ่นื ของร่างกาย • เป็นส่วนผิวหนงั บางห่อหุ้มกะโหลกศรี ษะ มีช้ันกล้ามเนือ้ และช้ันไขมนั 3. การดแู ลเสน้ ผม และหนังศรี ษะ • สระท�ำความสะอาดเพอ่ื สุขอนามยั ด้วยวิธีทถ่ี กู ต้อง นวดกระตุ้นการไหลเวยี นเลือด และล้างใหส้ ะอาดหมดจดท้ังหนงั ศีรษะและเส้นผม • บำ� รงุ เส้นผมให้อย่ใู นสภาพชุม่ ชืน้ อย่เู สมอ • กระตุ้นการไหลเวียนของเส้นเลือดใต้ผวิ หนงั • ปรบั สภาพการท�ำงานของต่อมไขมันและตอ่ มเหง่อื ให้เกดิ สมดุล • หลีกเลย่ี งการทำ� ลายเสน้ ผม เชน่ การใชส้ ารเคมรี ุนแรง การทำ� สี การดัด ประโยชนข์ องการสระผม เพือ่ ทำ� ความสะอาดเสน้ ผมและหนังศีรษะให้รูขมุ ขนได้รบั ออกซเิ จนและเลือดไหลเวียน กรมสนับสนนุ บริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข 147

วิธีการสระผมทถี่ กู สขุ ลกั ษณะ • ไมใ่ ชเ้ ลบ็ เกาหนังศีรษะ • ไม่ขยี้ผมหรือทำ� ใหเ้ สน้ ผมเสียดสีกันอยา่ งแรง • ไม่หมนุ วนเสน้ ผมกบั หนังศีรษะ 8) ขน และ การก�ำจดั ขน ( Hair removal) วิธีการก�ำจัดขนแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ การก�ำจัดขนระดับผิวหนัง และการกำ� จดั ขนท่ีอยใู่ ตผ้ ิวหนัง 1. การกำ� จัดขนระดบั ผิวหนงั • การโกน ขนจะถูกดึงและตัดออกระดับผิวหนัง หรือต�่ำกว่าผิวหนังเพียงเล็กน้อย การก�ำจัดขนลักษณะนี้จะท�ำให้ขนที่งอกข้ึนใหม่ดูด�ำ หนาและแข็งขึ้นกว่าเดิม การโกนระคายเคืองต่อผิวที่อ่อนโยน บริเวณใต้วงแขน ใบหน้า และขอบกางเกง ใน ขนใหมจ่ ะงอกอย่างรวดเรว็ บางครงั้ อาจเห็นตอดำ� ๆ งอกขึ้นภายใน 24 ชั่วโมง ซำ้� ยังเสยี่ งต่อการโดนมดี โกนบาดอีกด้วย • การใช้ครีมก�ำจัดขน ครีมก�ำจัดขนผลิตข้ึนจากสารเคมีรุนแรงท่ีเข้าไปสลาย เสน้ ขน ทำ� ใหข้ นออ่ นตวั หลดุ ออกงา่ ย สารเคมนี อ้ี าจระคายเคอื งผวิ ทำ� ใหผ้ วิ แสบแดง เนอื่ งจากครมี ดงั กลา่ วไมม่ คี ณุ สมบตั ชิ ว่ ยชะลอการงอก จงึ ตอ้ งทำ� บอ่ ย ซง่ึ กห็ มายถงึ คา่ ใชจ้ ่ายที่เพ่ิมขึน้ • การขดั มอี ยหู่ ลายชนดิ ทวั่ ไปจะมลี กั ษณะคลา้ ยกระดาษทรายละเอยี ด เมอ่ื ขดั บรเิ วณ ท่ีมีเส้นขนละเอียดเล็ก ขนเหล่านั้นจะหลุดออกได้ การขัดใช้ได้ดีกับขนเส้นเล็ก เท่านนั้ ข้อเสียคอื ขนทข่ี ึ้นใหม่ดูดำ� แข็ง และหยาบข้นึ 2. การก�ำจดั ขนระดับใต้ผิวหนงั • แว็กซ์แข็ง ต้องมีการน�ำก้อนแว็กซ์ไปหลอมละลาย จากนั้นทาแว็กซ์เป็นช้ินหนาๆ ปล่อยทิ้งไว้ให้แห้ง และค่อยกระชากออก การทิ้งแว็กซ์ให้แห้งก่อนดึง รูขุมขนจะ ปดิ ตัว ขณะกระชาก จะร้สู ึกเจบ็ มาก • แวก็ ซเ์ ยน็ ไมต่ อ้ งนำ� ไปละลายเหมอื นแวก็ ซแ์ ขง็ แตข่ นอาจขาดกลางไดง้ า่ ย เหมาะกบั การใชต้ ามบา้ น เพราะวธิ กี ารไมย่ งุ่ ยาก บรรจอุ ยใู่ นกระปกุ หลอด หรอื แถบผา้ พรอ้ มใช้ โดยปา้ ยแวก็ ซบ์ รเิ วณทตี่ อ้ งการกำ� จดั ขน วางผา้ ทบั และดงึ ออกอยา่ งรวดเรว็ เนอ่ื งจาก เป็นแว็กซท์ ่ีไมม่ ีความร้อน รูขุมขนไมไ่ ด้ถูกเปิดออก จงึ ท�ำให้รู้สึกเจ็บเช่นเดยี วกัน 148 เอกสารความรู้ ผู้ด�ำ เนินการสปาเพอ่ื สุขภาพ

• การก�ำจัดขนด้วยไฟฟ้า เป็นวิธีการก�ำจัดขนอย่างถาวร เข็มขนาดเล็กจะถูกสอด ลงลึกถึงรากในแต่ละรูขุมขน จากนั้นเคร่ืองจะปล่อยไฟฟ้า (กระแสกาลวานิค) ผ่านเข็มเพื่อไปท�ำลายรากขน เป็นวิธีที่ต้องใช้ความระมัดระวังมาก ใช้เวลาท�ำนาน จึงมีค่าใช้จ่ายสูงหากต้องการก�ำจัดขนในบริเวณกว้าง จึงมักมีการใช้วิธีน้ีร่วมกับ การกำ� จดั ขนอนื่ ๆ เชน่ แวก็ ซอ์ นุ่ เปน็ ตน้ วธิ นี ไี้ มอ่ นญุ าตใหท้ ำ� ในสถานประกอบการสปา เพ่ือสุขภาพ • แหนบไฟฟ้า คือวิธีการก�ำจัดขนโดยใช้แหนบผ่านกระแสไฟฟ้า ไปยังรากขน แต่ละเส้น เน่ืองจากขนมิใช่ตัวน�ำไฟฟ้าที่ดี แม้จะถูกถอน แต่รากขนยังมีชีวิตอยู่ ไม่ถูกท�ำลาย การก�ำจัดขนวิธีน้ีจึงมิใช่การก�ำจัดขนแบบถาวรดังท่ีผู้ผลิตกล่าวอ้าง ซำ�้ ยงั ตอ้ งทำ� ทลี ะเสน้ ใชเ้ วลานาน คา่ ใชจ้ า่ ยสงู ขนใหมข่ นึ้ เรว็ ตอ้ งเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยกลบั ไปท�ำซ�ำ้ อีก วิธนี ไ้ี มอ่ นญุ าตให้ท�ำในสถานประกอบการสปาเพอ่ื สุขภาพ • การถอนขน เป็นวิธีดั้งเดิมซ่ึงยังไม่มีการเปล่ียนแปลงจากเดิมมากนัก ปัจจุบันมัก ใชว้ ิธีนกี้ บั บรเิ วณค้วิ เทา่ น้ัน เปน็ วิธที ีใ่ ชเ้ วลา ตอ้ งทำ� บ่อยถงึ สปั ดาหล์ ะ 2 – 3 ครัง้ เพอ่ื มใิ หข้ นค้ิวขึ้นรกไม่เปน็ ระเบียบ • แว็กซ์อุ่น ท�ำงานลึกใต้ผิวหนัง ความอุ่นจะช่วยเปิดรูขุมขน จึงก�ำจัดขนได้ถึงราก ขนโดยเจ็บน้อยที่สุด ลดอัตราเส้นขนขาดกลางให้อยู่ต�่ำกว่าร้อยละ 10 รากขนต้อง สรา้ งตวั เองอกี ครงั้ กวา่ จะงอกขนึ้ มาใหมไ่ ด้ การกำ� จดั ขนดว้ ยวธิ นี เี้ ปน็ ประจำ� จะทำ� ให้ รากขนออ่ นแอ เสน้ ขนทงี่ อกใหมจ่ ะบางลง และใชเ้ วลาในการงอกนานกวา่ ปกติ • การดูแลผิวกาย มือ เท้าและเส้นผม เป็นบริการเสริมในสถานประกอบการ เพื่อสุขภาพที่ได้รับความนิยม เน่ืองจากมีความต้องการการดูแลสุขภาพควบคู่กับ การดูแลด้านความงาม ผู้รับบริการอาจเลือกเมนูท่ีให้บริการได้อย่างครอบคลุม รวมท้ังมีการใช้ผลิตภัณฑ์ เคร่ืองมือและอุปกรณ์ที่ค�ำนึงถึงความปลอดภัยของ ผรู้ บั บริการ กรมสนับสนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ 149

3.4 การบริการผิวหน้า (Facial treatment) ผิวหน้า เป็นอวัยวะส่วนแรกท่ีสร้างความประทับใจให้แก่ผู้พบเห็น ฉะน้ันการดูแล ให้ผิวหน้าผ่องใส ถือเป็นสิ่งจ�ำเป็นในชีวิตประจ�ำวัน การดูแลผิวหน้าในสถานประกอบการสปา เพ่ือสขุ ภาพมขี ้นั ตอนพน้ื ฐานประกอบกนั ดงั น้ี 1.การทำ� ความสะอาด(Cleansing)เพอ่ื ขจดั สงิ่ สกปรกตา่ งๆไขมนั คราบฝนุ่ ละอองเหงอื่ สิ่งสกปรกและฝนุ่ ละอองท่สี ะสมอยู่บนผิว จะยบั ยง้ั กระบวนการหลุดลอกผิวตามธรรมชาตแิ ละท�ำให้ รขู มุ ขนอดุ ตัน การแต่งหนา้ ท�ำใหเ้ กดิ การคงั่ คา้ งบนผิวมากยง่ิ ขนึ้ จึงตอ้ งมกี ารทำ� ความสะอาดช�ำระ ล้างสิ่งสกปรกและฝุ่นละอองทส่ี ะสมอยู่ โดยเลอื กสารทำ� ความสะอาดให้เหมาะแก่สภาพผวิ ดงั น้ี • ครมี ลา้ งหนา้ (Cleansing cream) ลา้ งเครอื่ งสำ� อางไดห้ มดจด เหมาะกบั ผมู้ ผี วิ แหง้ เนอ้ื ครมี จะละลายเมอ่ื ทาบนผวิ แตไ่ มซ่ มึ ลงใตผ้ วิ จงึ เหมาะสำ� หรบั การลา้ งหนา้ ทตี่ อ้ ง นวดวนใหท้ วั่ หน้านานๆ • ครีมน้�ำนมล้างหน้า (Cleansing milk) ใช้ท�ำความสะอาดผิวที่มีรองพื้นเนื้อหนัก มสี ว่ นผสมของนำ้� มากกวา่ แบบครมี เปน็ สารชำ� ระลา้ งทผ่ี สมกบั นำ�้ แลว้ ไมท่ ง้ิ คราบมนั บนใบหน้า และเช็ดออกได้ง่ายกว่าแบบเน้ือครีม เหมาะแก่ลูกค้าท่ีอายุน้อยและมี ผิวมนั • โลช่ันล้างหน้า (Cleansing lotion) ไม่มีส่วนผสมของน�้ำมันท่ีช่วยหลอมละลาย เคร่ืองส�ำอางบนใบหน้า จึงเหมาะส�ำหรับผิวที่ไม่ได้แต่งหน้าหนามาก บางชนิด มีส่วนผสมของสารฆ่าเชื้อแบคทีเรีย เพ่ือแก้ปัญหาผิวมันท่ีเป็นสิว จึงช่วยก�ำจัด ความมันบนใบหน้าได้ดี การใช้สบู่ล้างหน้าโดยเฉพาะผู้ที่มีผิวธรรมดาหรือผิวแห้ง อาจเส่ียงต่อสภาพผิวขาดน�้ำ ผิวจะเร่ิมแห้ง เป็นขุย ตึง และเกิดอาการคัน เพราะ สบู่ท่ัวไปมีส่วนผสมสารช�ำระล้างรุนแรง ล้างความมันออกหมดโดยไม่เหลือ ส่ิงปกคลุมผิวไว้เลย จึงไม่ควรใช้สบู่ล้างหน้า (การใช้สบู่กับน้�ำกระด้างท�ำให้เกิด คราบตกตะกอนบนผิว ผิวจะกรา้ นงา่ ย) 150 เอกสารความรู้ ผู้ด�ำ เนินการสปาเพอ่ื สขุ ภาพ

2. การปรับสภาพผิว (Toning) เป็นการเช็ดคราบสกปรกที่อาจตกค้างอยู่บนผิว ท�ำให้รู้สึกผิวเย็นและสดชื่น ควบคุมสภาพความเป็นกรด-ด่างบนผิว กระชับรูขุมขนให้เล็กลง ผลิตภัณฑท์ ี่ใช้สว่ นใหญ่จะมีสว่ นผสมของแอลกอฮอล์เพือ่ ขจัดคราบมันบนผวิ เช่น Skin tonics มี สว่ นผสมของแอลกอฮอลท์ ร่ี อ้ ยละ 20 - 60 Bracers และ Fresheners มีสว่ นผสมของแอลกอฮอลท์ ่ี รอ้ ยละ 0 - 20 ดงั นนั้ ควรเลอื กใชใ้ หเ้ หมาะกบั สภาพผวิ โดยดจู ากปรมิ าณเปอรเ์ ซน็ ตข์ องแอลกอฮอล์ ทผี่ สมให้เหมาะกับสภาพผวิ ดังน้ี ผิวมนั รอ้ ยละ 25 – 50 ผวิ ธรรมดา รอ้ ยละ 10 – 25 ผวิ แหง้ ร้อยละ 0 – 20 ผวิ แพ้ง่าย รอ้ ยละ 0 – 10 3. การขดั ผวิ (Scrubs) หมายถงึ การขจดั เซลลผ์ วิ ทเ่ี สอื่ มและทบั ถมกนั อยบู่ นผวิ หนงั ใหห้ ลุดลอก หากไมม่ กี ารผลัดเซลลผ์ วิ สภาพผวิ กจ็ ะอุดตนั แห้งกรา้ น สีผวิ ไม่สม่�ำเสมอ ผลของการขจดั เซลลผ์ วิ ชว่ ยใหผ้ วิ สะอาดและสดใส ขจดั การอดุ ตนั ของรขู มุ ขน ทำ� ใหผ้ วิ หายใจได้ดขี น้ึ ชว่ ยการซมึ ซบั ของสารบ�ำรงุ ตา่ งๆ ลงสูผ่ ิวไดด้ ีขน้ึ ปรับปรุงผิวหนงั ให้เรียบเนยี นและ นมุ่ นวล กระตุ้นการทำ� งานของผิวและเพ่มิ การไหลเวยี นเลอื ด ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการขัดผิวส่วนใหญ่ท�ำมาจากเมล็ดพืชและข้าวโอ๊ต เพ่ือขจัดเซลล์ผิว ทเ่ี สือ่ มสภาพให้หลดุ ลอก รวมถงึ ขจัดคราบไขมนั และคราบสกปรกในรูขุมขน เปน็ การเตรยี มผวิ เพือ่ ซมึ ซับสารท่มี ีประโยชน์เข้าสู่ชั้นผิว การขดั ผิวทำ� ได้ด้วยมอื และเคร่ือง (Brushing) ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ ในการขดั ผวิ เชน่ Peeling creams เปน็ ครมี มสี ว่ นผสมของโคลนและสารทางชวี เคมโี ดยมนี ำ�้ เปน็ ตวั ทำ� ละลาย ชว่ ยในการลอกเซลลผ์ วิ ปกปอ้ งผวิ จากการแพ้ เหมาะแกผ่ วิ ทกุ สภาพ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ผวิ แหง้ ผวิ สูงวัยและผิวแพ้ง่าย 4. การนวดหน้า (Facial massage) เพือ่ กระต้นุ การไหลเวียนเลอื ด ช่วยผอ่ นคลาย กล้ามเน้ือ กระตุ้นเซลล์กล้ามเนื้อให้กลับมาท�ำงานได้ดีย่ิงข้ึน เป็นการให้อาหารผิวอีกทางหนึ่ง ครมี ทน่ี ำ� มาใชน้ วดหนา้ ควรเปน็ ครมี ทม่ี สี ว่ นผสมของนำ้� มนั มากกวา่ นำ�้ จะชว่ ยลดการเสยี ดสผี วิ หนา้ ได้ กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข 151

5. การพอกหน้า (Facial mask) ช่วยซึมซบั สารที่มีประโยชน์ ใหเ้ ซลล์ผิวไดร้ ับสาร อาหารท่ี ล้ำ� ลึก ช่วยแกป้ ัญหาและซอ่ มแซมชน้ั ผวิ หนงั แทแ้ ละชนั้ ใตผ้ วิ หนัง ผลิตภัณฑท์ ใ่ี ช้พอกหนา้ มที ั้งแบบสำ� เรจ็ รูปและแบบทีน่ �ำมาผสมใชง้ านทันที โดยท่วั ไปแบง่ ออกเปน็ 4 ชนดิ คอื • ครีมพอกที่มีส่วนผสมของผงดิน (Clay-base masks) เช่น คาโอลิน แมกนีเซียม คาลาไมน์ โดยน�ำไปผสมกับตัวท�ำละลาย เช่น น้�ำดอกกุหลาบ วิทช์เฮเซล หรือ น�ำ้ มัน ใหเ้ ป็นเนือ้ ครมี ข้นก่อนนำ� มาพอก • ครีมพอกทม่ี ีสว่ นผสมของขึ้ผึง้ ยาง หรือ กาว (Peel-off mask) เมือ่ พอกทง้ิ ไว้บน ผิวแล้ว จะแหง้ ตัวและลอกออกเป็นแผ่นได้งา่ ย • มาสค์ หนา้ กาก (Thermal mask) ครมี พอกทมี่ สี ว่ นผสมของสารทใ่ี หค้ วามรอ้ น เมอ่ื พอกทงิ้ ไวบ้ นผวิ แลว้ จะเกดิ ความรอ้ นอยา่ งชา้ ๆ ครมี พอกหนา้ ชนดิ นไ้ี มแ่ นะนำ� ใหใ้ ช้ กับผวิ แพ้งา่ ย ผิวบอบบาง หรอื ผวิ ที่มองเห็นเส้นเลือดฝอย • ครมี พอกที่มีส่วนผสมของสารสกดั ที่ไดม้ าจากผลไม้ พชื หรือสมุนไพร (biological mask) ซึ่งให้ประโยชนช์ ว่ ยปรบั ผวิ ใหม้ สี มดุล กระตนุ้ ระบบการไหลเวยี น เพิม่ การ เผาผลาญของเซลล์ สมานผวิ กระตุ้นให้เกดิ การผลัดเปลี่ยนผวิ การพอกมักใช้ส่วนผสมซ่ึงประกอบด้วย แร่ธาตุท้ังหมดที่ร่างกายต้องการ รวมทั้ง วิตามิน เป็นตัวเพ่ิมน้�ำเพื่อความชุ่มชื้นของผิว กระตุ้นการไหลเวียนเลือดและให้แร่ธาตุแก่ผิว นอกจากน้ันยังมีคุณสมบัติช่วยดูดซับของเสียจากร่างกายผ่านรูขุมขน นอกจากโคลนและสาหร่าย แล้ว ยังใชผ้ ลติ ภณั ฑ์จากธรรมชาติอ่นื ๆได้อกี เชน่ พืชพรรณตา่ งๆ นมและนำ�้ ผง้ึ เปน็ ตน้ 6. การบ�ำรุงผิว (Moisturizer) โดยปกติเซลล์ผิวจะมีความชุ่มช้ืนตามธรรมชาติ (NMF) เคลือบผิวอยู่แล้ว อาจเพิ่มข้ึนหรือลดลงได้ ข้ึนอยู่กับวัยท่ีสูงขึ้น ผลกระทบจากสภาพ แวดลอ้ มในชวี ติ ประจำ� วนั หรอื อาการของโรค การบำ� รงุ จงึ เปน็ การปกปอ้ งผวิ จากมลภาวะตา่ งๆ เชน่ แสงแดด ลม และฝนุ่ ละอองต่างๆ อีกท้งั ยงั ป้องกนั การระเหยของน้ำ� ออกจากเซลล์ผวิ ไดเ้ ป็นอย่างดี moisturizing cream มีน้�ำเป็นส่วนผสมร้อยละ 60 และmoisturizing milk มีน�้ำเป็นส่วนผสม อยา่ งน้อยรอ้ ยละ 85 152 เอกสารความรู้ ผดู้ �ำ เนินการสปาเพ่ือสขุ ภาพ

ผลิตภัณฑเ์ ครอ่ื งสำ� อาง เครอ่ื งมือและอปุ กรณ์ ในสถานประกอบการสปาเพือ่ สขุ ภาพ ผลิตภัณฑ์เคร่ืองส�ำอาง เคร่ืองมือ และอุปกรณ์ท่ีใช้ในสถานประกอบการสปา เพื่อสุขภาพ ถือเป็นองค์ประกอบส�ำคัญ หากมีระบบดูแล ตรวจสอบ จัดเก็บ และบ�ำรุงรักษา ผลิตภัณฑ์และอปุ กรณ์ให้มมี าตรฐาน ยอ่ มสง่ ผลให้ผู้รบั บริการเช่ือมนั่ มากขน้ึ พระราชบัญญัติสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ พ.ศ. 2559 ได้ก�ำหนดมาตรฐานของ การบริการที่จะต้องไม่ฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะ การประกอบวิชาชีพอื่นตาม กฎหมายว่าด้วยวิชาชีพทางการแพทย์ กฎหมายวา่ ดว้ ยสถานพยาบาล ดงั น้นั การเลือกใช้เคร่ืองมือ อุปกรณ์ ในสถานประกอบการสปาเพ่ือสุขภาพ จึงต้องท�ำด้วยความระมัดระวัง และไม่ขัดต่อ พระราชบัญญัติฯ ดังกล่าว ตลอดจนต้องมีการรักษาเคร่ืองมืออุปกรณ์และควบคุมการปลอดเช้ือ เพอื่ ใหผ้ รู้ บั บรกิ ารปลอดภยั เกดิ ความประทบั ใจ สง่ ผลดตี อ่ ธรุ กจิ สถานประกอบการสปาเพอื่ สขุ ภาพ ต่อไป 1. การเลือกผลิตภณั ฑเ์ คร่ืองส�ำอาง ปัจจุบัน เคร่ืองส�ำอางเป็นสิ่งจ�ำเป็นในการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน เร่ิมจาก การท�ำความ สะอาดร่างกาย ตลอดจนการแต่งเติมผิวหน้า ผิวกายให้เกิดความสวยงาม ดังนั้น การเลือกซื้อ ผลติ ภณั ฑ์เคร่ืองสำ� อาง จงึ ควรใสใ่ จในรายละเอียด ดังนี้ เลือกเคร่อื งส�ำอางให้ตรงตามวัตถุประสงค์ เพ่ือให้เกดิ ประสิทธผิ ลสูงสดุ เชน่ 1.1 ความต้องการหรือความจ�ำเป็นในการใชเ้ ครือ่ งส�ำอาง 1.2 เพอื่ ทำ� ความสะอาดร่างกาย ไดแ้ ก่ เครอื่ งส�ำอางประเภทครมี โลช่ัน โฟม สบกู่ ้อน สบเู่ หลว เจลอาบน�ำ้ 1.3 เพ่ือสุขอนามัยที่ดีของร่างกาย ได้แก่ น้�ำยาบ้วนปาก เคร่ืองส�ำอางระงับเหง่ือ ระงบั กลิ่นกาย 1.4 เพอ่ื ใหส้ วยงาม ได้แก่ เคร่อื งส�ำอางท่ใี ชแ้ ตง่ ผิวหนา้ 1.5 เพ่ือประทินผิว ไดแ้ ก่เคร่ืองสำ� อางทใี่ ชท้ าบำ� รงุ ผวิ แป้งฝ่นุ หรือแป้งนำ�้ 1.6 เพ่ือให้รา่ งกายหอม สดชืน่ เช่น น�ำ้ หอม นำ�้ ปรงุ 1.7 เพ่ือปอ้ งกนั ผิว ได้แก่ ครมี หรือโลช่นั ป้องกนั ผิวแหง้ แตก ป้องกันผวิ จากแสงแดด กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ 153

2. เทคนิคการเลือกซอ้ื เครอื่ งสำ� อาง วิธเี ลือกซอ้ื เพือ่ ประโยชนแ์ ละความคมุ้ ค่า ดังน้ี 2.1 ซ้ือให้ตรงตามจุดมุ่งหมาย คือ ซื้อเท่าท่ีต้องการหรือท่ีจ�ำเป็นต้องใช้ ช่วยประหยัด เงินและไม่ใหม้ ีเครอื่ งสำ� อางเกนิ ความจ�ำเปน็ การเกบ็ เคร่ืองส�ำอางไว้นาน เมอ่ื เวลาผ่านไป กล่นิ สี และลกั ษณะจะเปลย่ี นไป ใชไ้ มไ่ ดก้ จ็ ะกลายเปน็ ขยะ นอกจากเสยี เงนิ แลว้ ยงั ทำ� ลายสง่ิ แวดลอ้ มดว้ ย การเพิ่มขยะโดยไมจ่ ำ� เปน็ 2.2 ซอื้ โดยไมห่ ลงเชือ่ ค�ำโฆษณา 2.3 ซื้อตามความเหมาะสมของฐานะและเศรษฐกิจ เนื่องจากเครื่องส�ำอางมีมากมาย หลายชนิด ทั้งทจ่ี ำ� เป็นและไมจ่ �ำเป็น การเลอื กซื้อเครือ่ งสำ� อาง ซง่ึ ส่วนใหญ่ใช้ภายนอก ควรค�ำนงึ ถึงความเหมาะสม โดยเฉพาะเรื่องราคา มีขอ้ สังเกต ดังน้ี 1) เครอ่ื งสำ� อางตา่ งประเทศ ราคาสงู มาก เนอ่ื งจากตอ้ งเสยี ภาษนี ำ� เขา้ ในอตั ราสงู และผูผ้ ลติ ในต่างประเทศและผ้นู ำ� เข้าต่างต้องสร้างภาพลักษณ์ ราคาจงึ แพงมาก 2) เครื่องส�ำอางบางชนิดก�ำหนดราคาตามความนิยมในยี่ห้อ หรือ เครื่องหมายการคา้ 3) เครอื่ งส�ำอางท่ีผลิตในประเทศ ปัจจุบันมีคณุ ภาพทดั เทยี มต่างประเทศ และมี ขายหลายระดับราคา เลอื กซ้ือได้ตามความเหมาะสม 4) เครื่องส�ำอางที่มีราคาสูง ไม่ได้หมายความว่า เม่ือใช้แล้วจะไม่แพ้หรือไม่ อนั ตรายจากการแพ้ หรือใชไ้ ม่ไดผ้ ล ข้ึนอยกู่ ับแตล่ ะบคุ คล 5) เลือกเครือ่ งสำ� อางท่มี เี ลขทีจ่ ดแจ้ง อย. 2.4 ซื้อใหเ้ หมาะแก่ผใู้ ช้ 1) เหมาะแกว่ ยั เช่น ทารก เดก็ วยั รนุ่ วัยกลางคน หรอื วัยชรา เพราะสภาพผวิ ความต้านทานของผวิ และความจ�ำเปน็ ของผู้ใช้แตล่ ะวยั แตกตา่ งกัน 2) เหมาะแก่ผิวหรือลกั ษณะของผ้ใู ช้ ปจั จบุ ันเคร่ืองสำ� อางหลายชนดิ ผลิตออกมา จ�ำหน่ายส�ำหรับผิวหรือลักษณะที่แตกต่างกันของผู้ใช้ เช่น ส�ำหรับผิวแห้ง ผิวมัน ส�ำหรับผมแห้ง ผมธรรมดา หรอื ผมมัน เป็นตน้ 2.5 ซอ้ื จากแหล่งจ�ำหน่ายทนี่ ่าเชื่อถือ ควรซื้อจากแหล่งจ�ำหนา่ ยทีม่ ที ี่อยหู่ รือหลกั แหล่ง แน่นอน หากใชแ้ ลว้ เกิดปญั หากส็ ามารถกลับไปตรวจสอบหรือสอบถามข้อมลู จากผขู้ ายได้ 154 เอกสารความรู้ ผดู้ �ำ เนนิ การสปาเพอ่ื สขุ ภาพ

2.6 ซอื้ เครื่องส�ำอางท่มี ฉี ลากภาษาไทยครบถ้วน กฎหมายเคร่อื งสำ� อาง มุ่งเน้นทีจ่ ะให้ ผู้รับบริการได้รับข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง จึงมีข้อบังคับว่า เครื่องส�ำอางทุกประเภททุกชิ้นจะต้องมี ฉลากท่มี ขี ้อความเปน็ ภาษาไทย ตามทก่ี �ำหนดไว้ 3. ข้อสังเกตเรอื่ งฉลากภาษาไทยส�ำหรบั เครือ่ งสำ� อาง เคร่ืองส�ำอางท่ีมีฉลากภาษาไทย ต้องแจ้งรายละเอียดตามที่กฎหมายก�ำหนด โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงการแจ้งชือ่ และท่อี ยู่ผูผ้ ลติ อย่างชัดเจน การพิจารณาเคร่ืองส�ำอางที่มีฉลากภาษา ไทย ตอ้ งมีสาระส�ำคัญท่ีเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผู้รบั บรกิ าร ดงั น้ี 3.1 วนั เดือน ปี ท่ผี ลิต กฎหมายบังคับว่า เคร่ืองสำ� อางทุกชนิด ทุกช้ิน ตอ้ งแสดง เดอื น ปี ที่ผลติ ไว้ท่ีฉลาก ผซู้ อ้ื จะได้พิจารณาวา่ เคร่ืองสำ� อางนัน้ เก่าเกนิ ไปหรอื ไม่ 3.2 วัน เดือน ปี ที่หมดอายุ ส�ำหรับเครื่องส�ำอางบางชนิด เช่น น้�ำยาโกรกผม หรอื น�ำ้ ยาผสมของผลิตภัณฑย์ อ้ มผมซึ่งมสี ว่ นผสมของไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ เม่ือถึงวันหมดอายุ แล้วประสทิ ธภิ าพจะหมดไปดว้ ย 4. การพิจารณาลักษณะ และภาชนะบรรจุของเครอ่ื งส�ำอาง 4.1 ให้สังเกตลักษณะเครื่องส�ำอางท่ีบรรจุอยู่ภายในภาชนะ ได้แก่ สี กล่ิน การแยกชน้ั หรอื การเปล่ยี นแปลงทผ่ี ิดปกติ เช่น เกบ็ ไวน้ านจนปริมาณในขวดลดลงจนเห็นไดช้ ดั 4.2 ภาชนะบรรจุ พจิ ารณาวา่ อยู่ในสภาพท่ดี ีเหมาะสม ปลอดภยั ไมแ่ ตก รั่ว รา้ ว และไม่เส่ยี งภาวะปนเปอื้ น 5. การนำ� เคร่อื งสำ� อางไปใช้ เม่ือเลือกซ้ือเครื่องส�ำอางแล้ว ก่อนน�ำมาใช้ให้เกิดประโยชน์และปลอดภัยควรปฏิบัติ ดงั นี้ 5.1 อ่านฉลากก่อนใช้ เพ่ือให้ทราบว่า ผลิตภัณฑ์น้ัน คืออะไร และใช้เพื่ออะไร สาระส�ำคัญในการอ่านฉลากกอ่ นใช้ คอื วิธีใช้ ขอ้ ควรระวัง หรอื ค�ำเตือน ซ่งึ บางครั้งอาจแสดงไว้ที่ ฉลาก กลอ่ งหรอื ดา้ นในของกลอ่ ง ใบแทรก หรอื เอกสารกำ� กบั เครอ่ื งสำ� อาง จะตอ้ งอา่ นอยา่ งละเอยี ด อา่ นใหเ้ ขา้ ใจ หากไมเ่ ขา้ ใจ ตอ้ งสอบถามผ้รู ู้หรอื ผขู้ ายให้เขา้ ใจ กรมสนบั สนุนบริการสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข 155

5.2 ปฏบิ ตั ิตามวิธีใช้ ที่แสดงไว้ท่ฉี ลาก กลอ่ ง ใบแทรก หรอื เอกสารก�ำกับเครอ่ื งส�ำอาง ถอื วา่ เปน็ วธิ ใี ชท้ เ่ี หมาะสมสำ� หรบั ผลติ ภณั ฑน์ นั้ ๆ ไมค่ วรเชอื่ คำ� บอกเลา่ เนอื่ งจากอาจไมไ่ ดผ้ ล หรอื ใชแ้ ลว้ ไมป่ ลอดภยั 5.3 อา่ นและปฏิบตั ติ ามขอ้ ควรระวังหรอื คำ� เตือนทแ่ี จง้ ไวท้ ่ผี ลิตภัณฑน์ ัน้ 6. ผลจากการใชเ้ ครอ่ื งส�ำอาง เมื่อได้ใช้เครอ่ื งส�ำอางชนดิ ใดชนิดหนง่ึ แลว้ ผใู้ ช้ควรพิจารณาผลที่เกิดขึ้นวา่ คุ้มค่า หรือ สูญเปล่า 6.1 หากใช้แล้วได้ผลตามที่ต้องการ ไม่เกิดอาการแพ้หรือระคายเคือง ก็สมควรซื้อใช้ ตอ่ ไป 6.2 หากใช้แล้วไม่ได้ผล แม้ไม่เกิดอาการแพ้หรือระคายเคือง ก็สมควรเลิกใช้ และ หากเหน็ วา่ การโฆษณาสรรพคณุ นา่ จะเปน็ เทจ็ หรอื เกนิ จรงิ กค็ วรบอกตอ่ ๆ ไปเพอื่ มใิ หม้ ผี ถู้ กู หลอกลวง มากข้นึ หรืออาจแจง้ ใหห้ นว่ ยงานของรฐั ทราบ เพอ่ื ติดตามตรวจสอบต่อไป 6.3 ใชแ้ ล้วเกดิ อาการแพ้หรอื ระคายเคือง ในกรณนี ้ี ให้หยดุ ใช้ หากอาการแพไ้ มร่ ุนแรง เมื่อหยุดใช้จะหายเองได้ แต่หากอาการแพ้รุนแรง ควรพบแพทย์ เพ่ือแก้ไข บรรเทา หรือรักษา ใหห้ าย 6.4 มีปัญหาสงสัยให้แจ้งเจ้าหน้าท่ี ในกรณีท่ีใช้แล้วไม่ได้ผล หรือเกิดอาการไม่พึง ประสงค์ หรืออาการแพ้ หรือมปี ญั หานา่ สงสัยวา่ อาจเป็นเคร่ืองส�ำอางผดิ กฎหมาย หรือมีอนั ตราย ไม่น่าปลอดภัย ควรสอบถามหรือแจ้งเจ้าหน้าท่ีของรัฐ เพื่อติดตาม ตรวจสอบ และด�ำเนินการ ตามกฎหมายต่อไป 7. อนั ตรายทเี่ กิดจากการใชผ้ ลิตภัณฑ์ การใชผ้ ลิตภัณฑ์ อาจเกิดอาการอนั ไม่พงึ ประสงค์ทมี่ องเหน็ และปอ้ งกนั ได้ ซึง่ มีสาเหตุ เกิดได้ 3 ทาง คือ 7.1 จากผลติ ภณั ฑน์ น้ั เอง เช่น 1) ประเภทของผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ประเภทเครื่องส�ำอางควบคุมพิเศษ ซึ่งมี ส่วนผสมของสารทอ่ี าจเปน็ อนั ตรายตอ่ ผู้ใช้ 156 เอกสารความรู้ ผดู้ ำ�เนนิ การสปาเพ่อื สขุ ภาพ

2) จากความรบั ผิดชอบของเจา้ ของผลิตภัณฑ์ ได้แก่ 2.1) เคร่ืองส�ำอางท่ีผลิตออกมาจ�ำหน่าย ฉลากไม่มีข้อความเป็นภาษาไทย หรือมี ไม่ครบถ้วน โดยเฉพาะส่วนท่ีกฎหมายบังคับว่า เครื่องส�ำอางทุกชนิดต้องมีวัน เดือน ปี ท่ีผลิต หากไม่มปี รากฏอยู่ ไมค่ วรซื้อใช้ 2.2) ส่วนประกอบ ส่วนผสมที่ไม่เหมาะสม หรือใช้สารที่อาจก่ออันตรายหรือ อ้างสรรพคณุ ทางยา ใหต้ ้ังข้อสงั เกตวา่ หากมีการแจง้ สรรพคณุ ที่เข้าข่ายยา ควรจัดเป็นยา ซึง่ เป็น ผลติ ภัณฑท์ อ่ี าจมีอันตรายตอ่ ผู้บรโิ ภคได้ 2.3) กรรมวธิ กี ารผลิตไม่เหมาะสม 3) ผลิตภัณฑ์เส่ือมสภาพ อาจเป็นผลิตภัณฑ์เก่าท่ีผลิตมานานแล้ว หรือเสื่อมสภาพ เนอื่ งจากหมดอายุ สรรพคณุ หรอื คณุ สมบตั ขิ องสารสว่ นผสมจงึ เปลยี่ นไป บางครงั้ นอกจากใชไ้ มไ่ ดผ้ ลแลว้ อาจก่อให้เกิดอันตรายด้วย นอกจากนี้การเส่ือมสภาพ อาจเกิดจากภาชนะบรรจุไม่เหมาะสม แตก ร่ัว ร้าว หรือเก็บรักษาไม่ถูกต้อง เช่น เคร่ืองส�ำอางท่ีมีไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ ต้องเก็บไว้ ในท่ีเยน็ แตน่ ำ� ไปเกบ็ ไว้ในท่ีอณุ หภมู ิค่อนขา้ งสูงเปน็ ต้น 4) ผลิตภัณฑ์ผิดกฎหมาย ได้แก่ เครื่องส�ำอางที่ลักลอบผลิต/จ�ำหน่าย โดยไม่ได้ข้ึน ทะเบียนหรือไม่ไดแ้ จง้ รายละเอยี ด เครื่องส�ำอางที่ลักลอบนำ� เข้ามาจ�ำหนา่ ย เคร่ืองส�ำอางทกุ ชนิดที่ ไม่แสดงฉลากภาษาไทย ถือเปน็ เคร่อื งส�ำอางผดิ กฎหมายท้ังสนิ้ และแนวทางหน่ึงทจี่ ะช่วยแก้ไขได้ คือตอ้ งไม่ซอ้ื 7.2 จากวิธีการใช้ผลิตภัณฑ์ เน่ืองจากผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่ใช้เพื่อท�ำความสะอาดและ ส่งเสริมความสวยงาม ผู้ใช้มักคาดหวังถึงผลท่ีได้มากกว่าผลเสียหรืออันตรายท่ีอาจเกิดข้ึน และคดิ วา่ เปน็ ผลติ ภณั ฑท์ ช่ี ว่ ยใหร้ า่ งกายสะอาดขน้ึ หรอื สวยงามขนึ้ จงึ ไมน่ า่ มอี นั ตราย โดยขอ้ เทจ็ จรงิ สารส่วนผสมในผลิตภัณฑ์เครื่องส�ำอางเกือบท้ังหมดเป็นสารเคมี ดังน้ัน อันตรายย่อมเกิดขึ้นได้ เม่ือใชไ้ มถ่ ูกตอ้ ง ซ่ึงอาจมสี าเหตดุ ังต่อไปน้ี 1) การใชผ้ ลติ ภัณฑผ์ ิดวธิ ี อาจเกดิ จาก 1.1) เครื่องส�ำอางไม่มีฉลากภาษาไทย มีแต่ภาษาต่างประเทศ แม้บางครั้ง จะอ่านออกบ้าง แต่ความเข้าใจวิธีการใช้อาจไม่สมบูรณ์ หรือผิดพลาด ท�ำให้ใช้ผิดวิธี จึงควรซื้อ เคร่อื งส�ำอางที่มฉี ลากภาษาไทยครบถ้วน 1.2) วิธีใช้เครื่องส�ำอางไม่ถูกต้อง ตัวอย่างเช่น แป้งฝุ่นโรยตัวส�ำหรับ เดก็ คนสว่ นใหญม่ กั โรยแปง้ ฝนุ่ บนตวั เดก็ ซงึ่ ไมถ่ กู ตอ้ ง เดก็ จะสดู ผงแปง้ เขา้ ไปในปอด หากเกดิ ขนึ้ ตอ่ เนอื่ งเปน็ เวลานานจะเปน็ อนั ตราย วธิ ใี ชท้ ถี่ กู ตอ้ ง คอื เทแปง้ ลงบนฝา่ มอื แลว้ จงึ คอ่ ยทาลงบนตวั เดก็ กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข 157

2) ไม่ปฏิบัติตามวิธีใช้ ค�ำเตือน หรือข้อควรระวัง เป็นสาเหตุให้เกิดอันตราย ไม่อ่าน ฉลาก หรอื อา่ นอยา่ งไมเ่ ขา้ ใจ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การใชต้ ามความเข้าใจของตนเอง หรือจากค�ำบอก เลา่ ของผทู้ ไี่ ม่รู้จรงิ ได้แก่ 2.1) เคร่ืองสำ� อางหลายชนดิ กำ� หนดวา่ ควรทดสอบอาการแพ้กอ่ นใช้ ตามวธิ กี าร ทดสอบในฉลากหรือเอกสารก�ำกบั 2.2) ใชม้ ากเกนิ ไป อาจใช้ปรมิ าณมากหรอื ใช้บอ่ ยเกินไป ปริมาณเครอ่ื งสำ� อางที่ สมั ผสั กบั ผวิ ก็เพิ่มขนึ้ โอกาสแพ้หรือระคายเคอื งก็ยงิ่ มากข้ึน 2.3) ใชผ้ ดิ เวลา เช่น เครื่องส�ำอางบางชนิดระบวุ ิธีใช้ ใหใ้ ช้ก่อนนอนตอนกลางคืน เพื่อหลีกเล่ียงการระคายเคืองเมื่อถูกแสงแดด หากใช้ในเวลากลางวัน เม่ือถูกแสงแดด อาจเกิด อาการแพร้ ะคายเคืองได้ 2.4) เคร่ืองส�ำอางท่ีมีการแสดงค�ำเตือน หรือข้อควรระวังไว้ท่ีฉลาก แสดงว่า เคร่อื งส�ำอางน้นั อาจกอ่ ให้เกดิ อนั ตรายได้หากไม่ระมัดระวัง เชน่ ระวังอย่าใหเ้ ขา้ ตา หา้ มใชเ้ มอ่ื เปน็ โรคผิวหนงั เป็นต้น 7.3) อันตรายเนอ่ื งมาจากตัวผู้ใช้ บางครัง้ เครือ่ งสำ� อางชนดิ เดียวกนั บางคนใชแ้ ลว้ แพ้ แตบ่ างคนใช้ได้โดยไม่มอี าการแพ้ ขนึ้ อยูก่ บั สภาพสรรี ะของแตล่ ะบุคคล อาการแพ้หรอื ระคายเคือง จึงเกิดข้ึนเฉพาะบุคคล แต่ละคนอาจแพ้ส่วนผสมแตกต่างกัน บางครั้งไม่น่าเกิดอาการแพ้ เช่น น�ำ้ หอม ก็อาจแพไ้ ด ้ เป็นตน้ การเกิดอาการแพ้ มปี ัจจัยอืน่ ๆ ที่เก่ียวข้องด้วย คือ 3.1) วยั พบวา่ เดก็ แพไ้ ด้ง่ายกวา่ ผู้ใหญ่ 3.2) ต�ำแหน่งของผิวหนัง บริเวณผิวหนังที่บางเกิดอาการแพ้ได้มากกว่าบริเวณที่ ผิวหนา เชน่ ผวิ บรเิ วณรอบดวงตา หรอื ริมฝีปาก จะเกิดอาการแพ้ไดง้ า่ ยกว่าผวิ ส่วนอืน่ 3.3) เหงื่อ คนที่เหง่ือออกมาก เหง่ืออาจท�ำให้สารแพ้ท่ีละลายน้�ำได้ ละลายในเหงื่อ แล้วผ่านเขา้ สู่ผิวได้งา่ ยข้นึ เปน็ ผลให้แพ้มากข้ึน 3.4) ความมนั ของผวิ นำ�้ มนั ทผ่ี วิ อาจทำ� ใหส้ ารแพท้ ลี่ ะลายไดด้ ใี นนำ�้ มนั ผา่ นเขา้ สผู่ วิ ได้ ง่ายขน้ึ เปน็ ผลใหแ้ พม้ ากขึ้น 158 เอกสารความรู้ ผดู้ ำ�เนินการสปาเพอ่ื สุขภาพ

8. วิธกี ารทดสอบความปลอดภัยก่อนใชเ้ คร่อื งส�ำอาง วิธีการทดสอบความปลอดภัยจากเคร่ืองส�ำอาง (Use test) คือการน�ำเครื่องส�ำอาง ทาบนผิวบริเวณท่ีบอบบาง มี 2 แห่งคือ บริเวณท้องแขน หรือหลังใบหู ท้ิงไว้สักครู่ หากแพ้ผิว จะแสดงอาการ เช่น คัน ระคายเคือง เกิดผ่ืนแดง หรือรุนแรงมากก็จะเป็นตุ่มมีน้�ำใสๆอยู่ข้างใน ปวดแสบปวดร้อน หากมีอาการแพ้รุนแรงและต้องการทราบชนิดเฉพาะของสารที่แพ้ ควรไปพบ แพทยผ์ วิ หนังเพอ่ื ให้แพทยพ์ ิจารณาทดสอบด้วยวิธีการทดสอบผื่นแพส้ มั ผัส (Patch Test) ตวั อยา่ งผลิตภณั ฑเ์ ครอื่ งส�ำอางสำ� หรบั ผิวหน้า ไดแ้ ก่ • ผลติ ภัณฑล์ า้ งท�ำความสะอาดผิวหน้า • ผลติ ภณั ฑป์ รบั สภาพผิวหน้า • ผลิตภัณฑ์ขดั ผวิ หน้า • ผลิตภัณฑน์ วดผวิ หนา้ • ผลิตภัณฑพ์ อกหนา้ • ผลิตภัณฑ์บำ� รงุ รอบดวงตา • ผลิตภณั ฑ์บำ� รงุ ผวิ หนา้ ภาพท่ี 36 ตัวอยา่ งผลิตภัณฑเ์ ครื่องส�ำอางส�ำหรับผวิ หนา้ ท่มี า : http://www.celebscoop.co.uk/exclusive-scoops/top-5-facial-treatments/04602/ Archived November 22, 2013 กรมสนับสนุนบรกิ ารสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ 159

ตวั อยา่ งผลติ ภัณฑเ์ ครื่องส�ำอางส�ำหรับผวิ กาย ได้แก่ • ผลติ ภัณฑข์ ดั ผวิ กาย • ผลิตภัณฑน์ วดผิวกาย • ผลติ ภัณฑ์พอกผิวกาย • ผลติ ภณั ฑแ์ ช่อาบผิวกาย • ผลิตภณั ฑบ์ ำ� รงุ ผิวกาย • ผลิตภัณฑ์ส�ำหรับมือ เทา้ และเลบ็ 9. เครื่องมอื และอปุ กรณใ์ นสถานประกอบการเพ่ือสขุ ภาพ เน่ืองจากมีข้อจ�ำกัดในการใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ในสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ผู้ประกอบการจึงควรศึกษาก่อนซื้อมาใช้ และต้องด�ำเนินการให้ถูกต้องตามที่กฎหมายก�ำหนด ต้องพิจารณาให้เหมาะสมกับการบริการและความปลอดภัยของผู้รับบริการ โดยต้องมีหลักฐาน การตรวจสอบคณุ ภาพของเครื่องมอื อุปกรณ์ อย่างสมำ่� เสมอ เคร่ืองมือ หมายถึง เคร่ืองท่ีน�ำมาใช้งานในสถานประกอบการสปาเพ่ือสุขภาพ เพื่อให้ บริการแก่ผู้รับบรกิ าร อปุ กรณ์ หมายถงึ สงิ่ ทนี่ ำ� มาตกแตง่ หรอื นำ� มาชว่ ยเสรมิ การทำ� งานในสถานประกอบการสปา เพ่อื สขุ ภาพ และการใชอ้ ุปกรณเ์ พือ่ ให้การบริการเกิดประสทิ ธผิ ลทส่ี ุด เครอื่ งมอื และอปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นสถานประกอบการสปาเพอื่ สขุ ภาพมหี ลายชนดิ ในการใชง้ าน ควรค�ำนึงถงึ ขอ้ ควรระวงั และการดแู ลรกั ษา ดงั น้ี ข้อควรระวงั ในการใช้งานกบั เครื่องมอื ไฟฟา้ 1) ดแู ล บำ� รงุ รักษาเคร่ืองอย่างถกู ต้อง ตอ่ เนือ่ งสม่�ำเสมอ 2) จดั วางอย่างม่นั คง แข็งแรง 3) ไม่เกบ็ หรือวางใกลน้ �ำ้ หรือของเหลว 4) ไมส่ มั ผัสเครอ่ื งขณะทมี่ อื เปยี ก 5) ปล๊ัก ขวั้ หลอดไฟ ตอ้ งไมฉ่ กี ขาด 160 เอกสารความรู้ ผ้ดู ำ�เนนิ การสปาเพอ่ื สุขภาพ

6) จัดเก็บสายไฟให้เรียบร้อย ปอ้ งกนั การสะดุดล้ม 7) ตรวจสอบการใชง้ านอยา่ งสม่�ำเสมอ ให้เครือ่ งอยูใ่ นสภาพดีไมช่ �ำรุด 8) ไม่ให้ผู้รับบริการแตะหรือสัมผัสเคร่ืองตามล�ำพัง ต้องอยู่ภายใต้การดูแลของ พนกั งาน 9) ทดสอบการใช้งานและอธบิ ายขัน้ ตอนการทำ� งานใหผ้ ูร้ บั บรกิ ารทราบก่อน 10) ส�ำหรับผู้รับบริการท่ีแพ้ง่าย ต้องทดสอบการใช้งานกับผิวก่อนลงมือให้บริการ ทกุ ครง้ั ตวั อยา่ งเครื่องมือส�ำหรับใชง้ านในสถานประกอบการสปาเพอ่ื สขุ ภาพ 1) โคมไฟแว่นขยาย (Magnifying lamp) ใช้ในการวิเคราะห์สภาพผิวหน้า แว่นขยายชว่ ยให้มองเหน็ สภาพผิวได้ละเอียดและชัดเจน การทำ� ความสะอาดดแู ล รักษา 1. ใชผ้ า้ แหง้ เช็ดท�ำความสะอาดขาตงั้ เครอื่ ง 2. ใชผ้ า้ สะอาดชบุ น�้ำอ่นุ เช็ดกระจก และใช้ผ้าแห้งเชด็ ให้แห้ง ภาพที่ 37 เคร่อื งตรวจสภาพผวิ หน้า (Magnifying Lamp) ทม่ี า : http://www.thelashop.com/5x-diopter-facial-magnifying-lamp-magnifier-spa- salon.html Archived November 22, 2013 กรมสนับสนุนบรกิ ารสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข 161

2) เคร่ืองอบไอน�้ำหน้า (Steamer หรือ Vapouriser) ช่วยให้เซลผิวอ่อนตัวลง ขยายรูขุมขนให้กว้าง ขจัดสิ่งสกปรกที่อุดตันใต้ผิว บางเคร่ืองสามารถผลิตโอโซนช่วยท�ำลาย เชอื้ โรคบนผิวหนังไดด้ ว้ ย การท�ำความสะอาดดแู ล รักษาเครื่อง 1. ใชผ้ ้าสะอาดชุบนำ้� อนุ่ เชด็ คราบผลติ ภัณฑ์ และใชผ้ ้าแหง้ เช็ดตามจนแห้ง หรอื ถา้ ไม่มี คราบ ใหใ้ ชผ้ า้ แหง้ สะอาดเช็ดทำ� ความสะอาดฝุ่นละออง 2. ท�ำความสะอาดกระบอกแก้วใส่น�้ำทกุ วนั หลงั ใช้งานเสร็จเรยี บรอ้ ย ภาพที่ 38 เครอื่ งอบไอนำ�้ หนา้ (Steamer/ Vapouriser) ทีม่ า : http://www.ebay.com/bhp/professional-facial-steamer Archived November 22, 2013 3) ตู้อบฆ่าเชื้อ (Sterilizer) ส�ำหรับอบฆ่าเช้ือเพ่ือให้อุปกรณ์เคร่ืองมือ ปลอดเช้ือ เม่อื นำ� มาใช้งาน การท�ำความสะอาด ดูแลรักษาเครือ่ ง ใช้ผ้าสะอาดชุบน�้ำอุ่นเช็ดคราบผลิตภัณฑ์ และใช้ผ้าแห้งเช็ดตามจนแห้ง หรือถ้าไม่มี คราบ ใหใ้ ชผ้ ้าแหง้ สะอาดเช็ดทำ� ความสะอาดฝุ่นละออง 162 เอกสารความรู้ ผู้ด�ำ เนินการสปาเพ่ือสขุ ภาพ

ภาพท่ี 39 ตอู้ บฆา่ เชื้อ (Sterilizer) ทมี่ า : http://www.sentiospa.com/tag/uv-sterilizer/. Archived November 22, 2013 4) ตู้อบผ้าร้อน (Hot towel cabbies) ใชท้ ำ� ผา้ ร้อนหรอื ผ้าอุ่น การทำ� ความสะอาดดแู ล รกั ษา ใช้ผ้าสะอาดชุบน้�ำอุ่นเช็ดคราบผลิตภัณฑ์ และใช้ผ้าแห้งเช็ดตามจนแห้ง หรือถ้าไม่มี คราบ ใหใ้ ชผ้ า้ แห้งสะอาดเช็ดท�ำความสะอาดฝนุ่ ละออง ภาพที่ 40 ต้อู บผา้ ร้อน (Hot Towel Cabbies) ทม่ี า : http://www.purespadirect.com/Towel-Warmers-Hot-Towel-Cabi-s/1889.htm. Archived November 22, 2013 กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ 163

5) หอ้ งอบเซาน่า (Sauna) การอบเซานา่ เปน็ การอบแหง้ ในห้องเซานา่ ใช้วธิ ีบ�ำบดั ดว้ ยความรอ้ น อากาศในหอ้ งเซานา่ จะร้อนและแหง้ การทำ� ความสะอาด ดูแลรกั ษา ใช้ผ้าสะอาดชุบน�้ำอุ่นเช็ดคราบเหง่ือหรือไอน�้ำ และใช้ผ้าแห้งเช็ดตามจนแห้ง หรือถ้า ไม่มคี ราบ ให้ใชผ้ ้าแหง้ สะอาดเช็ดทำ� ความสะอาดฝ่นุ ละออง ภาพท่ี 41 หอ้ งอบเซานา่ (Sauna) ทม่ี า : http://www.hypevilla.com/sauna-room/sauna-room-home-decors-2 Archived November 22, 2013 6) ตู้อบไอน�้ำ (Steam) การอบไอน้�ำเป็นการบ�ำบัดด้วยความร้อนแบบเปียก ให้ ความชุ่มชื้นแก่ร่างกาย มีความช้ืนสูงมากจนเหงื่อระเหยไม่ได้ขณะที่อบไอน้�ำ ร่างกายจึงไม่อาจ ระบายความร้อนออกมาในเวลาน้ันเพื่อให้ร่างกายเย็นลงได้ แต่หลังการอบ เหง่ือจะออกมาก เคร่อื งอบไอนำ�้ (Steam treatment) มี 2 แบบ คอื แบบตู้อบ (Steam cabinet) และแบบห้องอบ (Steam room) การท�ำความสะอาดและดแู ลรกั ษา ใชผ้ า้ สะอาดชบุ นำ้� สะอาดผสมนำ้� ยาทำ� ความสะอาด หรอื ผสมผงซกั ฟอก เชด็ คราบเหงอ่ื หรอื ไอน�้ำ แล้วเชด็ ตามดว้ ยน�ำ้ สะอาด และใชผ้ า้ แหง้ เชด็ ตามจนแหง้ 164 เอกสารความรู้ ผู้ดำ�เนินการสปาเพอื่ สุขภาพ

ภาพท่ี 42 บรรยากาศภายในหอ้ ง Steam room ที่มา : http://www.thebathingplace.com/gallery/album/view/id/34 Archived November 22, 2013 7) วารีบ�ำบัด (Hydrotherapy) อ่างส�ำหรับแช่ตัวในน้�ำ (Tubs และ Whirlpool) มีชื่อเรียกหลายชื่อขึ้นอยู่กับประเภทการใช้งาน ซ่ึงการดูแลรักษาควรปฏิบัติตามคู่มือการใช้งาน หลังการใช้งาน ต้องมกี ารเปลย่ี นน้ำ� และทำ� ความสะอาดทกุ ครัง้ ด้วยน�ำ้ ยาทำ� ความสะอาด ภาพท่ี 43 อา่ งน้ำ� วนใชส้ ำ� หรบั แช่ตวั (Hydrotherapy whirlpool) กรมสนบั สนุนบรกิ ารสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข 165

ภาพที่ 44 อ่างนำ้� ใชส้ �ำหรบั แชต่ ัว (Hydrotherapy tub) 8) ผา้ หม่ ไฟฟา้ หรอื ผา้ หม่ ความรอ้ น (Thermal blanket) ใชเ้ ปน็ เครอื่ งมอื ประกอบ กับการพอกเพื่อช่วยขับของเสียออกจากร่างกายได้ดีข้ึน ช่วยให้ผลิตภัณฑ์บ�ำรุงผิวท�ำงานได้ดีขึ้น ช่วยให้ผู้รับบริการรู้สึกอุ่นขณะรับบริการ การใช้ต้องมีอุปกรณ์ตัดไฟเบื้องต้น เพื่อความปลอดภัย ของผ้รู ับบริการ การบำ� รุง ดแู ลรักษาผา้ ห่มไฟฟา้ 1. ปิดเครอ่ื งโปรแกรมเมอรก์ อ่ นทำ� การซอ่ มแซมบ�ำรงุ รักษา 2. กล่องโปรแกรมเมอร์ • ทำ� ความสะอาดดว้ ยผา้ หมาดๆ ระวงั อยา่ ใหข้ องเหลวไหลเขา้ ไปในตวั โปรแกรมเมอร์ • ห้ามใช้สารท�ำความสะอาดทีเ่ ปน็ ตัวท�ำละลาย • รอยพ้ืนผิวท่ีช�ำรุดเนื่องจากรอยขีดข่วน กระแทก หรือสารเคมี ไม่อยู่ใน การรับประกนั 3. ผ้าห่ม และอปุ กรณ์เสริม ไมค่ วรใชน้ ้�ำยาฆ่าเชื้อกบั ผา้ หม่ ทำ� ความสะอาดตามข้ันตอนต่อไปน้ที ุกครั้งหลังใชง้ าน • เชด็ ท�ำความสะอาดด้วยผา้ หมาดๆ • เชด็ รอยคราบเปือ้ นด้วยผา้ ชบุ น�ำ้ สบู่ (หา้ มใช้สารท�ำละลาย) • ล้างอกี ครง้ั ดว้ ยฟองน�้ำและนำ�้ 166 เอกสารความรู้ ผ้ดู ำ�เนินการสปาเพอื่ สขุ ภาพ

ภาพที่ 45 ผ้าห่มไฟฟา้ /ผ้าห่มความรอ้ น (Thermal blanket) ที่มา : http://www.spamdi.com/index.php?main_page=product_info&products_id=1 164 Archived November 22, 2013 9) หมอ้ นง่ึ และลกู ประคบ ใชป้ ระคบเพ่ือคลายกลา้ มเนื้อตามวธิ ีการนวดแบบโบราณ ของไทย ท�ำความสะอาดดูแลโดยการล้างหม้อน่ึงทุกวันด้วยน�้ำสะอาด และเช็ดหรือผ่ึงให้แห้ง ควรใช้ลูกประคบเพียงครั้งเดียวกับผู้รับบริการคนเดียว เพื่อป้องกันการปนเปื้อนหรือแพร่เช้ือผ่าน ลูกประคบ ภาพที่ 46 ลกู ประคบ ท่มี า : http://www.vgnew.com/Home/Freelance-2.aspx?SubID=9&SGroupID=173 Archived November 22, 2013 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ 167

10) เตยี งนวด (Massage bed) ใช้ส�ำหรบั การนวดประเภทตา่ งๆ เชน่ การนวดหนา้ การนวดน�้ำมนั การนวดไทย ลักษณะของเตยี งจะมคี วามกวา้ ง และยาวแตกตา่ งกัน ท้งั นีข้ ้นึ อยูก่ ับ การใช้งาน การท�ำความสะอาดเตียงนวดใช้ผ้าสะอาดชุบน้�ำอุ่นเช็ดคราบ และใช้ผ้าแห้งเช็ดตาม จนแห้ง หรอื ถ้าไม่มีคราบ ใหใ้ ชผ้ ้าแห้งสะอาดเชด็ ทำ� ความสะอาดฝุ่นละออง ภาพที่ 47 เตยี งนวด (Massage bed) ที่มา : http://www.wellma.org/wellma_therapy_mechanised.html Archived November 22, 2013 นอกจากนยี้ งั มอี ปุ กรณอ์ นื่ ไดแ้ ก่ เสอื้ คลมุ ผา้ ขนหนู ทคี่ าดผม รองเทา้ แตะ แปรงพอกหนา้ ส�ำลี ภาชนะส�ำหรบั แบง่ ผลติ ภณั ฑ์ฯลฯ การทำ� ความสะอาด ดูแลรักษาอุปกรณ์ ท�ำไดโ้ ดยสง่ ผา้ ซัก ทุกวันและอบใหแ้ ห้ง อุปกรณต์ ่างๆ ต้องลา้ งทำ� ความสะอาดทุกวันและเขา้ ตอู้ บยวู ี เพ่ือฆ่าเชอ้ื ภาพที่ 48 ตัวอย่างอปุ กรณ์ท่ใี ชใ้ นสปา Archived November 22, 2013 168 เอกสารความรู้ ผดู้ �ำ เนนิ การสปาเพอ่ื สุขภาพ

10. การดแู ลและเกบ็ รกั ษา ผลติ ภณั ฑเ์ ครอ่ื งสำ� อาง เครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์ ท่ใี ช้ในสปา ผลติ ภณั ฑเ์ ครอ่ื งสำ� อาง เครอ่ื งมอื และอปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นสปา ตอ้ งมกี ารจดั การ เกบ็ รกั ษา ทำ� ความสะอาด ดแู ลดา้ นความปลอดภยั และสขุ อนามยั ของผปู้ ฏบิ ตั งิ านใหถ้ กู สขุ ลกั ษณะ เพราะเชอื้ โรค บางชนิดอาจติดต่อจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหน่ึงได้ ฉะนั้นการท�ำความสะอาดเครื่องมือ เคร่ืองใช้ จึงถือว่าเป็นหัวใจส�ำคัญในการป้องกันเช้ือโรคไม่ให้แพร่กระจายไปสู่ผู้รับบริการ ดังนั้น เพ่ือเป็น การคุ้มครองสุขภาพของผู้รับบริการ จึงต้องมีหลักเกณฑ์ในการด�ำเนินงาน การดูแลรักษา ความสะอาดผลติ ภณั ฑ์ เครอ่ื งมือ และอปุ กรณเ์ ปน็ อยา่ งดี ดังน้ี 10.1 ผลิตภัณฑ์เคร่อื งสำ� อาง 1) มหี อ้ งจดั เกบ็ ที่ควบคมุ อณุ หภมู ิใหเ้ หมาะสม ไม่โดนความรอ้ น ไมถ่ ูกแสงแดด 2) มีภาชนะห่อหมุ้ ท่มี ดิ ชดิ ไม่มีชอ่ งทางใหฝ้ นุ่ ละอองหรือเชื้อโรคเขา้ ไปปนเปื้อนได้ 3) มีการแบง่ หมวดหมู่ทช่ี ดั เจน แยกประเภทใหถ้ ูกตอ้ ง 4) เครือ่ งสำ� อางทต่ี ้องดแู ลเปน็ พิเศษควรมเี อกสารตดิ กำ� กบั ให้ชดั เจน 5) เช็ดท�ำความสะอาดขวด ภาชนะทีบ่ รรจุใหส้ ะอาดหลงั การใชง้ านแตล่ ะคร้ัง 6) เคร่ืองส�ำอางที่มีการแบ่งมาใช้บริการ ต้องติดฉลากให้ชัดเจน ระบุวันแบ่งบรรจุและ วนั หมดอายุ เมือ่ เหลอื จากการใชง้ านไมค่ วรน�ำมาใชก้ บั ผู้รบั บรกิ ารคนตอ่ ไป 7) หมน่ั ตรวจสอบวนั หมดอายุเครอื่ งส�ำอาง เม่ือพบวา่ หมดอายคุ วรทง้ิ ไมค่ วรนำ� มาใช้ กบั ผูร้ บั บริการ 10.2 เคร่ืองมอื และอุปกรณ์ ประเภทโลหะ พลาสติก ไม้ และเครื่องใช้ไฟฟา้ 1) ต้องน�ำมาเช็ดหรือล้างท�ำความสะอาดหลังให้บริการแต่ละครั้ง และเม่ือเสร็จงาน แตล่ ะวนั 2) ประเภทโลหะ ต้องอยู่ในสภาพดี ไมช่ �ำรดุ หรือข้ึนสนิม ท�ำความสะอาดและทำ� ลาย เช้ือโรคด้วยเอทลิ แอลกอฮอล์ร้อยละ 70 หรอื อบในตอู้ บฆ่าเชือ้ โรค หลงั การใชง้ านแต่ละครง้ั 3) ประเภทพลาสติก ล้างด้วยน้�ำยาท�ำความสะอาดเพื่อขจัดคราบสกปรกและไขมัน ทีต่ ดิ อยู่ และเชด็ ดว้ ยเอทลิ แอลกอฮอลร์ อ้ ยละ 70 จากน้ันน�ำไปผึง่ ให้แหง้ ก่อนนำ� มาใชบ้ ริการ กรมสนบั สนุนบรกิ ารสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ 169

4) ประเภทไม้ หลังเช็ด ล้าง ท�ำความสะอาดแล้ว ควรน�ำไปผึ่งแดดให้แห้งสนิท เพอ่ื ป้องกันเชอ้ื ราและเชื้อโรค 5) ประเภทเคร่ืองใช้ไฟฟ้า ต้องอยู่ในสภาพดี มีการจัดเก็บเป็นระเบียบ ไม่ให้ปนกับ อุปกรณ์อ่ืน สายไฟเป็นฉนวน 2 ช้ัน สายไฟต้องไม่มีรอยฉีกขาด มีการตรวจสายไฟ ปลั๊กไฟเป็น ประจ�ำ และมีการจดั เกบ็ ท่สี ะดวกตอ่ การใชง้ าน 10.3 เครื่องมอื และอุปกรณ์ ประเภทผ้า 1) ผ้าขนหนูส�ำหรับผู้รับบริการต้องสะอาด มีจ�ำนวนเพียงพอ หนึ่งคนต่อหน่ึงผืน มตี ะกรา้ ใสผ่ า้ ทใ่ี ชแ้ ลว้ หลงั ใชง้ านตอ้ งซกั ทำ� ความสะอาดทกุ ครงั้ เมอ่ื ผงึ่ แหง้ แลว้ ตอ้ งเกบ็ ในทส่ี ะอาด มดิ ชิด เปน็ สัดส่วน ปอ้ งกันไมใ่ หส้ ิ่งสกปรก ฝนุ่ ละอองตา่ ง ๆ ปนเปอ้ื นผา้ ทสี่ ะอาดแลว้ โดยเฉพาะ กับผ้าท่ีไม่ได้ซัก อาจท�ำให้เกิดการติดเชื้อโรคติดต่อจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่งได้ และต้องระวัง ไม่ใหเ้ กิดกล่นิ ไมพ่ งึ ประสงค์ 2) จัดให้มีเสื้อคลุม ชุดนวด ส�ำหรับผู้รับบริการ ต้องน�ำไปซักท�ำความสะอาดหลัง การใชท้ ุกครงั้ 3) เครื่องแบบส�ำหรับพนักงานต้องไม่ใช้ปะปนกัน และจัดให้มีอย่างน้อยคนละ 3 ชุด 4) ผา้ ปดิ ปากและจมกู ส�ำหรบั ผใู้ ห้บริการ เพื่อสุขอนามยั ขณะใหบ้ รกิ าร และไม่ใช้ปะปน กนั ซกั ทำ� ความสะอาดทุกครั้งภายหลังการใช้งานในแตล่ ะวนั 11. การจัดการด้านความปลอดภัย ผลิตภัณฑ์เครื่องส�ำอาง เคร่ืองมือ และอุปกรณท์ ใ่ี ชใ้ นสปา 1.1 จัดวางผลิตภัณฑ์ เคร่ืองมือและอุปกรณ์ให้เป็นระเบียบ สะดวกต่อการใช้งานและ การบรกิ าร 1.2 จัดวางเครื่องส�ำอาง น�้ำยา และสารเคมีต่าง ๆอย่างเป็นระเบียบตามประเภท และการใช้งาน จัดเกบ็ ในทปี่ ลอดภัย ไมก่ อ่ ใหเ้ กิดอนั ตราย 1.3 มรี ะบบปอ้ งกันไฟฟา้ ดูด ไฟฟา้ ร่ัว ไฟฟา้ ช็อต 1.4 มีป้ายแสดง เตือนให้ทราบบนตัวผลิตภัณฑ์ เครื่องมือและอุปกรณ์ให้ชัดเจน ถึงขอ้ ควรระวังและอันตรายทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ ได้ 1.5 มีเอกสารบอกขัน้ ตอนการใชง้ านผลติ ภัณฑ์ เครื่องมือและอปุ กรณ์ทช่ี ัดเจน 170 เอกสารความรู้ ผู้ดำ�เนินการสปาเพือ่ สขุ ภาพ

1.6 จดั ฝึกอบรมการใช้งานผลติ ภัณฑ์ เคร่อื งมือและอปุ กรณ์อย่างสม�่ำเสมอ 1.7 ต้องมีการสอบถามข้อมูลสุขภาพผู้รับบริการทุกคร้ังก่อนให้บริการ เพ่ือป้องกัน การแพ้เครื่องส�ำอางหรืออนั ตรายจากการใช้ผลติ ภัณฑ์ เคร่อื งมอื 1.8 เครื่องมือและอุปกรณ์ประเภทอบไอน้�ำและอบความร้อน ต้องมีนาฬิกาบอกเวลา การใชง้ าน เครื่องมือวดั อณุ หภมู แิ ละเครือ่ งตัดไฟอัตโนมตั ิกำ� กบั อยดู่ ว้ ย 1.9 ชุดปฐมพยาบาลที่จ�ำเป็น เช่น ยาสามัญประจ�ำบ้าน ส�ำลี ผ้าพันแผล ยาใส่แผล พลาสเตอร์ 1.10 พน้ื บรเิ วณนง่ั รอรับบริการต้องสะอาด มั่นคง และแขง็ แรง มีป้ายแจ้งให้เหน็ ชดั เจน บรเิ วณทอ่ี าจลนื่ ลม้ ได้ง่าย 1.11 จดั ให้มีอปุ กรณ์ดับเพลิงและตรวจสอบวนั หมดอายสุ ม่ำ� เสมอ 3.5 การบรกิ ารด้วยศาสตรแ์ ละศลิ ปท์ ที่ �ำให้เกดิ การผ่อนคลาย การบริการให้เกิดการผ่อนคลาย ท�ำได้หลายวิธี ตัวอย่างเช่น โปรแกรมจิตของ อาจารย์บรรจบ ชุณหสวัสดิ์ เป็นแนวทางปฏิบัติ ซ่ึงผู้สนใจจะต้องมีการฝึกหัดปฏิบัติจนช�ำนาญ ก่อนนำ� ไปใชจ้ รงิ การบรหิ ารจติ หลักของการบริหารจิต คือ การให้ข้อมูลใหม่ที่ดี เข้าไปสู่จิตใต้ส�ำนึก ขณะที่ล้าง เอาข้อมูลเก่าเก็บ ที่ไม่ดีต่างๆ ให้ระเหิดออกไปจากจิตใจของคนผู้นั้น โดยเริ่มจากผู้รู้ท�ำหน้าที่ โปรแกรมจิตให้กอ่ น หลงั จากนัน้ กส็ ามารถโปรแกรมจิตให้ตนเองได้ ทฤษฎเี รื่องบริหารจติ จิตของคนเรามสี ว่ นท่ีเปน็ จิตสำ� นกึ ซง่ึ มีบทบาทรอ้ ยละ 10 และมี จติ ใต้ส�ำนกึ มบี ทบาทถึงรอ้ ยละ 90 จิตใตส้ �ำนกึ ทำ� หน้าทสี่ องอย่าง 1) เกบ็ รับขอ้ มูลตัง้ แตอ่ ดตี จนปจั จบุ ัน ทง้ั เร่ืองดีและเรื่องรา้ ย 2) ควบคุมอวัยวะภายในต่างๆ ผ่านระบบประสาทอัตโนมัติ เช่น หัวใจ ปอด กระเพาะ ต่อมฮอร์โมน และภูมิตา้ นทาน กรมสนับสนุนบรกิ ารสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข 171

ถ้าอดีตมีมรสุมชีวิต หรืออารมณ์ที่เก็บกดไว้มาก เวลากลางวันขณะท่ีตื่นอยู่ มักจะไม่เดือดร้อนอะไรนัก เพราะจิตส่วนที่เป็นจิตส�ำนึกยังมีบทบาทควบคุมอยู่ เมื่อเวลาจะนอน ขณะที่จิตส�ำนึกกำ� ลังจะหลุดจากการควบคมุ จิตใต้สำ� นึกจะสำ� แดงอาการ สง่ิ ต่างๆ ทีค่ กุ รุ่นอยู่ในใจ ออกมา เกดิ ความคดิ สับสนจติ ฟงุ้ ซ่าน เปน็ ผลใหป้ ั่นป่วนจนเครง่ เครยี ด ด้วยเหตุนี้ ถ้ามีวิธีการใดๆท่ีจะเปล่ียนสภาวะสิ่งเก็บกดท้ังหลายให้หมดไปได้ ยอ่ มลดแรงกดดนั ในจติ ใตส้ ำ� นกึ ออกไปไดร้ ะดบั หนง่ึ และถา้ ใสข่ อ้ มลู ทดี่ เี ขา้ ไป ปอ้ นคำ� สง่ั ใหร้ า่ งกาย ผอ่ นคลาย จิตใจสงบ ผลที่ตามมากช็ ว่ ยให้ระบบต่างๆ ของร่างกายไดพ้ กั หลบั สบาย ผู้ให้บริการบริหารจิต (โปรแกรมจิต) ต้องรับการอบรมและฝึกให้ช�ำนาญก่อนให้ บรกิ าร 3.6 การออกก�ำลงั กายเพอื่ สขุ ภาพ เพอ่ื สง่ เสรมิ ผรู้ บั บรกิ ารใหอ้ อกกำ� ลงั กายในสถานประกอบการเพอื่ สขุ ภาพ เนน้ การทำ� งาน ของระบบโครงสร้างและกล้ามเนื้อ ระบบประสาท ระบบการไหลเวียนเลือดและระบบการหายใจ ใหไ้ ดท้ ำ� งานหนกั ขนึ้ จากการทำ� กจิ วตั รประจำ� วนั ปกตทิ วั่ ไป เพอื่ ใหร้ ะบบตา่ งๆ ของรา่ งกายแขง็ แรงขนึ้ ลดความเสี่ยงตอ่ โรคทีเ่ กดิ ขึน้ จากร่างกายขาดการออกกำ� ลังกาย การออกก�ำลังกายเพ่ือสุขภาพมีหลากหลายประเภท แตกต่างกันทั้งวัตถุประสงค์ รปู แบบและความหนกั ไดแ้ ก่ การออกกำ� ลงั กายเพอื่ ความแขง็ แรง ความทนทาน ความยดื หยนุ่ และ เพอ่ื การผ่อนคลาย ซึ่งควรปฏิบตั ใิ ห้ครบเพือ่ ใหม้ ีสุขภาพทดี่ ี 1) การออกกำ� ลังกายทเ่ี หมาะสม การออกกำ� ลงั กายทม่ี ผี ลตอ่ สขุ ภาพดจี ะตอ้ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม ซง่ึ วทิ ยาลยั เวชศาสตร์ การกีฬาของสหรัฐ (American College of Sports Medicine) ได้ก�ำหนดการออกก�ำลังกาย ตามหลกั ‘ฟทิ ท์หรือ FITTE’ (frequency intensity time type enjoyment) ประกอบด้วย 1.1) ความถี่ของการออกก�ำลังกาย (frequency) เป็นจ�ำนวนคร้ังของ การออกก�ำลังกายท่ีเหมาะสม จะให้ผลในการเพิ่มสมรรถภาพทางร่างกาย เพ่ือความทนทานของ ปอดและหวั ใจ แนะนำ� ใหอ้ อกกำ� ลงั กายอย่างสม่ำ� เสมอ 3 - 5 ครั้งต่อสัปดาห์ 1.2) ความหนักของการออกก�ำลังกาย (intensity) เป็นการก�ำหนดขนาดของ การออกกำ� ลังกาย ซง่ึ แตกต่างกันในแตล่ ะบคุ คล ขน้ึ อยู่กบั ความสามารถเดมิ เกณฑใ์ นการกำ� หนด 172 เอกสารความรู้ ผูด้ �ำ เนินการสปาเพือ่ สขุ ภาพ

ท่ีดีคือการก�ำหนดอัตราการเต้นของหัวใจโดยจะออกก�ำลังกายให้การเต้นของหัวใจประมาณร้อยละ 60-80 ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด (อัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด เท่ากับ 220 ลบด้วย อายุเป็นปี) หรือออกก�ำลังกายมีความหนักร้อยละ 50-85 ของความสามารถใช้ออกซิเจนสูงสุด (VO2 max) ตัวอย่างเช่น ถ้าอายุ 60 ปีจะมีค่าชีพจรสูงสุด = 220 – 60 = 160 ครั้ง/นาที จากการกำ� หนดอตั ราการเตน้ ของหวั ใจรอ้ ยละ 60 – 80 ของอตั ราการเตน้ ของหวั ใจสงู สดุ ในแตล่ ะชว่ งอายุ การค�ำนวนร้อยละ 60 ของ 160 เท่ากับ 0.06 x 160 = 96 คร้ัง/นาที และ ร้อยละ 80 ของ 160 เทา่ กบั 0.08 x 160 = 128 ครัง้ /นาท ี ดงั นั้นบคุ คลอายุ 60 ปี ควรออกก�ำลังกายจนมีอตั ราการเตน้ ของหวั ใจอย่รู ะหว่าง 96–128 คร้งั /นาที การออกกำ� ลังกายแต่ละคร้งั ควรมีความหนกั มากกวา่ รอ้ ยละ 50-60 แต่ไมค่ วรเกินร้อย ละ 75 - 85 ของความสามารถใชอ้ อกซเิ จนสูงสุด โดยการแบ่งความแรงของการออกก�ำลงั กายเป็น 3 ระดบั คอื 2.1 ระดับต�่ำ (low intensity) เป็นการออกก�ำลังกายท่ีหัวใจเต้นประมาณ ร้อยละ 50-65 ของอัตราการเต้นของหัวใจสงู สดุ 2.2 ระดบั ปานกลาง (moderate intensity) เปน็ การออกกำ� ลงั กายทห่ี วั ใจเตน้ ประมาณรอ้ ยละ 66-85 ของอตั ราการเต้นของหัวใจสูงสุด 2.3 ระดับสูง (high intensity) เป็นการออกก�ำลังกายท่ีหัวใจเต้นมากกว่า ร้อยละ 85 ของอตั ราการเตน้ ของหวั ใจสูงสดุ 1.3) ระยะเวลาของการออกก�ำลังกาย (time or duration) เป็นช่วงเวลาของ การออกก�ำลังกายในแต่ละประเภท ซ่ึงควรต่อเนื่อง 20-60 นาที และขึ้นอยู่กับความหนัก ของกจิ กรรม ระยะเวลาของการออกก�ำลังกายประกอบดว้ ย 3 ช่วง คอื 1. ช่วงอนุ่ ร่างกาย (warm up phase) การเตรยี มความพรอ้ มของรา่ งกายเพื่อ ยดื กลา้ มเน้ือ เคล่ือนไหวขอ้ ต่อต่างๆไดค้ ลอ่ งแคลว่ กลา้ มเน้ือหดตวั ได้ประสิทธิภาพเต็มที่ ปริมาณ การหายใจและการไหลเวยี นโลหิตกลับสูภ่ าวะปกติ ระยะนจี้ ะใช้เวลา 5-10 นาที การออกก�ำลังกาย เชน่ เดนิ ช้าๆ ออกก�ำลังยดื กลา้ มเนือ้ บรเิ วณต่างๆ โดยเฉพาะแขน ขา การอุ่นร่างกายต้องคำ� นงึ ถงึ อุณหภมู ิสภาพแวดลอ้ ม 2. ชว่ งออกกำ� ลงั กาย (exercise phase) สว่ นใหญเ่ พอื่ เสรมิ สรา้ งความแขง็ แรง ของกล้ามเน้อื เช่น ออกกำ� ลังกายแบบแอโรบิค ช่วงน้ใี ชเ้ วลาประมาณ 20 นาที กรมสนบั สนุนบริการสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ 173

3. ช่วงผ่อนคลายร่างกาย (cool down phase) ช่วงหลังจากออกก�ำลังกาย เตม็ ท่ีแลว้ โดยออกกำ� ลงั กายเบาๆ และชา้ ลงเร่ือยๆ เป็นการผ่อนคลาย เช่น การเดิน กายบริหาร หรอื ออกกำ� ลงั ดว้ ยการยดื กลา้ มเนอ้ื เพอื่ ปรบั อณุ หภมู ริ า่ งกายใหก้ ลบั สภู่ าวะปกตแิ ละลดการบาดเจบ็ ช่วงนีใ้ ช้เวลาประมาณ 5-10 นาที 1.4) ประเภทการออกก�ำลังกาย (type) การออกก�ำลังกายมีหลายชนิด การออกกำ� ลงั กายทด่ี คี วรผสมผสานกนั ชว่ ยใหก้ ลา้ มเนอ้ื แขง็ แรง เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการทำ� งานของปอด และหวั ใจ โดยท่วั ไปการออกกำ� ลังกาย มี 3 ประเภทคอื 1. การออกก�ำลังกายเพอื่ ใหก้ ล้ามเน้อื แขง็ แรงทนทานแบง่ ออกเปน็ 2 ชนดิ 1.1 การออกก�ำลังกายชนิดท่ีกล้ามเนื้อมีการหดและคลายตัว และขยับข้อต่อ เคลอื่ นไหวสว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกายดว้ ยตนเอง เช่น ยกน�้ำหนัก ขีจ่ กั รยาน เป็นต้น 1.2 การออกก�ำลังกายโดยการหดเกร็งกล้ามเน้ือ ไม่เคล่ือนไหวข้อต่อ เพ่ือเป็น การเพ่ิมความตงึ ตวั ของกล้ามเนื้อ เชน่ การเกร็งกลา้ มเน้อื การบบี มือเปน็ ต้น 2. การออกก�ำลงั กายเพื่อเพ่ิมสมรรถภาพของปอดและหวั ใจ แบง่ เปน็ 2 ชนิด 2.1 การออกก�ำลังกายแบบใช้ออกซิเจน (aerobic exercise) ประกอบด้วย กจิ กรรมสรา้ งความยดื หยนุ่ เพมิ่ ความแขง็ แรงใหก้ ลา้ มเนอ้ื ซงึ่ ตอ้ งกระทำ� ตอ่ เนอื่ ง เนอ่ื งจากสามารถ เพิ่มพูนสมรรถภาพการท�ำงานของระบบหายใจ การไหลเวยี นโลหติ กลา้ มเนือ้ เกดิ ความคลอ่ งแคล่ว ว่องไวและการทรงตัวท่ีดี แข็งแรงทนทาน กิจกรรมการออกก�ำลังกายชนิดนี้ เช่น การว่ิงเหยาะ การวา่ ยน�ำ้ การเดนิ เร็วอยา่ งตอ่ เน่ือง เปน็ ต้น 2.2 การออกก�ำลังกายแบบไม่ใช้ออกซิเจน (anaerobic exercise) เป็น การออกก�ำลังกายโดยใชพ้ ลงั งานจากสารพลังงาน หรือ ATP (Adenosine triphosphate) เกดิ จาก กระบวนการสงั เคราะหแ์ สง หรอื การหายใจระดบั เซลล์ และถกู ใชโ้ ดยกระบวกการตา่ งๆ ของรา่ งกาย สลายอาการท่ีสะสมอย่ใู นเซลลก์ ล้ามเนือ้ การออกกำ� ลังเบาๆ หรอื ออกกำ� ลังทห่ี นกั ในชว่ งเวลาสั้นๆ การวงิ่ เรว็ การยกลูกนำ้� หนัก การบริหารกายท่ัวไป เปน็ ตน้ 3. การออกกำ� ลงั กายเพอื่ เพม่ิ ความยดื หยนุ่ และผอ่ นคลาย (flexibility and relaxation activity) เป็นการออกก�ำลังกายท่ีกระท�ำซ�้ำๆกันคล้ายการยืดกล้ามเน้ือและเอ็น (stretching) เพ่ือการเคล่ือนไหวข้อต่อต่างๆ เป็นส่วนหน่ึงของช่วงการเตรียมร่างกายและช่วงผ่อนคลาย เช่น การท�ำโยคะ ไทช ิ เป็นต้น เป็นการออกก�ำลังกายท่เี หมาะแก่สถานประกอบการเพ่ือสขุ ภาพ 1.5) ความสนุกสนาน (enjoyment) การออกก�ำลังกายมีรูปแบบที่หลากหลาย ตามความเหมาะสมและความตอ้ งการของแต่ละบุคคล ทำ� ให้มีความสขุ สนกุ สนาน 174 เอกสารความรู้ ผดู้ ำ�เนนิ การสปาเพื่อสขุ ภาพ

2) ประโยชนข์ องการออกกำ� ลังกาย การออกกำ� ลงั กายมผี ลตอ่ ระบบต่างๆทั้งทางร่างกายและจติ ใจ ดังนี้ 2.1) ระบบหัวใจและการไหลเวียนเลือด การออกก�ำลังกายอย่างสม�่ำเสมอ เป็น การเพมิ่ ปรมิ าตรเลอื ดใหร้ า่ งกาย ชว่ ยใหห้ ลอดเลอื ดทำ� งานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ไมเ่ ปราะ ยดื หยนุ่ ดี เพม่ิ ปรมิ าณการนำ� ออกซเิ จนในเสน้ เลอื ด เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการสบู ฉดี เลอื ดออกจากหวั ใจ การแลกเปลยี่ น กา๊ ซในหลอดเลอื ดแดง เพมิ่ ความจขุ องหลอดเลอื ด ผลของการออกกำ� ลงั กายอยา่ งสมำ่� เสมอ จงึ เปน็ กลไกในการป้องกนั โรคหัวใจ จากการศึกษา พบวา่ การออกกำ� ลงั กายช่วยให้โคเลสเตอรอลชนดิ ที่ มคี วามหนาแน่นต่�ำ LDL (Low density lipoprotein) ลดลง ซง่ึ LDL เปน็ ตวั สำ� คญั ทเี่ กาะตาม ผนงั หลอดเลือด ท�ำให้หลอดเลือดอุดตนั และชว่ ยใหโ้ คเลสเตอรอลชนดิ ท่มี ีความหนาแน่นสูง HDL ( High density lipoprotein) เพม่ิ ขน้ึ HDL มหี นา้ ทชี่ ว่ ยยบั ยง้ั การจบั กลมุ่ ของสารบางชนดิ บรเิ วณ ผนงั เยือ่ ชนั้ ในของหลอดเลอื ด ดงั น้ันเมื่อ HDL เพ่ิมขึ้น โอกาสท่จี ะเปน็ โรคหัวใจและหัวใจขาดเลือด จึงน้อยลง นอกจากน้ี การออกก�ำลังกายอย่างต่อเน่ืองยังช่วยลดน้�ำหนักตัว ลดไขมันท่ีสะสมใน ร่างกาย มผี ลใหค้ วามดันเลอื ดลดลง ลดอัตราการเตน้ ของหัวใจขณะหยดุ พกั หลงั การออกก�ำลังกาย 2.2) ระบบหายใจ การออกก�ำลังกายท�ำให้ทรวงอกขยายใหญ่ กล้ามเนื้อที่ท�ำหน้าท่ี หายใจ แข็งแรง ท�ำงานได้ดีข้ึน ปริมาตรอากาศท่ีหายใจเข้าหรือออกแต่ละคร้ังเพิ่มข้ึน ปริมาตร อากาศท่ีหายใจออกเต็มที่ เพ่มิ ขึ้นหลังการหายใจเขา้ เต็มท่ถี งึ รอ้ ยละ 20 ท�ำให้อตั ราการหายใจช้าลง หายใจได้ลึกข้ึน นอกจากน้ัน ยังท�ำให้ปริมาณการไหลเวียนเลือดเข้าสู่ปอดดีข้ึน ใช้ออกซิเจนอย่าง มีประสิทธิภาพมากขึ้น เพิ่มความทนทานและความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรมออกก�ำลังกาย และปฏบิ ตั ิงานในชวี ติ ประจำ� วัน 2.3) ระบบภูมิคุ้มกันและสารที่ก่อให้เกิดมะเร็ง การออกก�ำลังกายอย่างสม่�ำเสมอ จะช่วยลดปัจจัยเสี่ยงการเป็นมะเร็งเต้านม มะเร็งระบบอวัยวะสืบพันธุ์สตรี และช่วยลดการเกิด มะเร็งลำ� ไส้ 2.4) ระบบต่อมไร้ท่อและการเผาผลาญอาหาร การออกก�ำลังกายจะกระตุ้นให้ ต่อมหมวกไตมีการหลั่งฮอร์โมนอีปิเนฟรีน (epinephrine) และนอร์อีปิเนฟรีน (norepinephrine) มผี ลใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงทางสรรี วทิ ยาหลายอยา่ ง หวั ใจจะเตน้ ถแ่ี ละแรงขนึ้ สง่ เลอื ดไปยงั อวยั วะ ท่ีต้องการมากขึ้น เช่น กล้ามเนื้อหัวใจ การสลายตัวของไกลโคเจน (Glycogen) ในตับเพ่ิมขึ้น และเกดิ กระบวนการละลายไขมนั ในกลา้ มเนอ้ื ลาย การเปลยี่ นแปลงดงั กลา่ วทำ� ใหร้ า่ งกายมพี ลงั งาน เพ่ิมข้ึน เพื่อให้สมดุลกับพลังงานท่ีต้องใช้ในการออกก�ำลังกาย เพิ่มการเผาผลาญอาหารและ หลงั่ แคทโี คลามนี (cathecolamine) และกลคู ากอน (glucagon) เพม่ิ ขน้ึ ลดระดบั อนิ ซลู นิ (insulin) ในกระแสเลอื ด ซงึ่ ชว่ ยให้ลดภาวะเสีย่ งโรคเบาหวาน กรมสนับสนนุ บรกิ ารสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข 175

2.5) ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ การออกก�ำลังกายอย่างสม�่ำเสมอ จะช่วย ให้กระดูกอ่อน และข้อต่างๆ แข็งแรงขึ้น เอ็นต่างๆยืดและหดตัวได้ดี ข้อต่อเคล่ือนไหวได้อิสระ เพิ่มความหนาแน่นกระดูก ทำ� ใหร้ ูปรา่ งและน้�ำหนกั ตัวลดลง และแข็งแรงขนึ้ 2.6) สภาพจิตใจและอารมณ์ การออกก�ำลังกายท�ำให้มีสุขภาพจิตดี อารมณ์ดี รสู้ กึ วา่ ตนเองมคี ุณคา่ มคี วามมัน่ ใจ ลดความวิตกกงั วล ความเครียด ขณะออกก�ำลังร่างกายจะหลัง่ สารเอนโดร์ฟิน (endorphins) ชว่ ยใหอ้ ารมณ์แจม่ ใส จติ ใจร่าเรงิ สนกุ สนาน และนอนหลบั สบาย 3) หลักส�ำคัญของการออกก�ำลังกายในสถานประกอบการสปาเพ่ือ สุขภาพ 3.1) ก่อนออกกำ� ลงั กาย ควรประเมนิ ความพร้อม ความต้องการและปัจจยั ที่เกยี่ วขอ้ ง ในการออกกำ� ลงั กาย 3.2) ให้ค�ำแนะน�ำท่ีถูกต้องและให้ข้อมูลเกี่ยวกับประเภทของการออกก�ำลังกายที่ เหมาะสม 3.3) ควรออกก�ำลังกายตามข้ันตอน เร่ิมด้วยการอุ่นร่างกาย (warm up) อย่างน้อย 5 นาที และเริม่ ออกก�ำลังกายอย่างชา้ ๆ อย่าพงึ่ หกั โหม 3.4) ควรสังเกตปฏิกริ ยิ าของร่างกายขณะออกกำ� ลงั กายและภายหลังเสรจ็ สน้ิ ด้วย 3.5) หลังจากออกก�ำลังกายชนดิ แอโรบคิ (aerobic exercise) ควรผอ่ นการออกกำ� ลงั กายให้เบาลง ทีละนอ้ ย เพอ่ื ผอ่ นคลายกล้ามเน้ือ (cool down) 5 - 10 นาที 3.6) ระมดั ระวงั การบาดเจ็บท่ีอาจเกดิ ระหวา่ งการออกกำ� ลงั กาย 3.7) ควรฝึกการออกก�ำลังกายอย่างสม่�ำเสมอ ค่อยเป็นค่อยไป ไม่หักโหมเกิน ความสามารถ 3.8) เมอื่ เกดิ อาการผดิ ปกติ เชน่ ปวดคอ หลงั แขน รสู้ กึ วงิ เวยี น เปน็ ลม หวั ใจเตน้ ผดิ ปกติ หายใจสนั้ และเร็ว คลื่นไส้ อาเจียน ทัง้ ขณะออกกำ� ลงั กายหรอื ภายหลังเสรจ็ สิ้นแลว้ รู้สึกเหน่ือยเปน็ เวลานาน ใหห้ ยุดและรีบปรกึ ษาแพทย์ 3.9) การออกก�ำลังกายท่ดี คี วรอยูใ่ นระดบั ปานกลาง โดยมแี รงกระแทกระดบั ต�่ำ 3.10) กิจกรรมออกก�ำลังกายต้องให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพ ความสามารถ สมรรถภาพ ความต้องการ และความสนใจของผู้ปฏิบตั ิ และใหเ้ หมาะแกว่ ัยดว้ ย 176 เอกสารความรู้ ผูด้ �ำ เนนิ การสปาเพ่อื สขุ ภาพ

การออกก�ำลังกายเพ่ือสุขภาพในสปาที่สามารถแนะน�ำลูกค้าได้ เช่น แอโรบิค ฟิตเนส ฟิตบอล ชิบอล พิลาทิส ชกมวย ไทชิ การออกก�ำลังกายแบบไทย ไทเก๊ก กีฬาประเภทต่างๆ โดยจดั ตามความเหมาะสมของสถานที่และรูปแบบการบริการ 3.7 โยคะ โยคะ เป็นการสร้างความสมดุลของร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ โดยรวมให้เป็น หน่ึงเดียว การฝึกโยคะประกอบด้วยส่วนส�ำคัญ 3 ประการ คือ การออกก�ำลังกายหรือการฝึกท่า โยคะ การหายใจหรอื ลมปราณ และการทำ� สมาธิ ดงั นน้ั โยคะ จงึ หมายถงึ การฝกึ กาย ฝกึ การหายใจ และการฝึกจิตให้มีการปฏิบัติสัมพันธ์กับลมหายใจเข้า-ออก อันน�ำไปสู่สมาธิ และการฝึก เปล่ียนแปลงตนเอง ท้ังร่างกาย จิตใจ จิตวิญญาณ เพ่ือน�ำไปสู่การมีสุขภาพกายและจิตที่สมดุล (แพทยพ์ งษ์ วรพงศพ์ เิ ชษฐ, 2542) 1) วิถีแห่งโยคะ (มรรค 8 ของโยคะ) (วลั ลภา อรรถนิต, 2546) โยคะไม่ใช่การฝึกท่าโยคะเท่าน้ัน ในความเป็นจริงโยคะประกอบด้วยหลัก 8 ประการ ซึ่งล้วนส�ำคัญและเชื่อมโยงกัน การฝึกโยคะท่ีครบสมบูรณ์ควรควบคุมการฝึก มรรคทั้ง 8 ดงั น้ี 1.1) ยามะหรอื ศลี 5 โยคะเปน็ การฝกึ กายและจติ ใจไปพรอ้ มๆ กนั และการมจี รยิ ธรรมนน้ั ถือเปน็ พื้นฐานอันดับแรกของความเปน็ มนษุ ย์ ยามะมี 5 ข้อ ไดแ้ ก่ อหงิ สา (การแกป้ ัญหาโดยไมใ่ ช้ ความรุนแรง) ไม่ลักทรพั ย์ ไมพ่ ูดปด ประพฤตพิ รหมจรรย์ และไม่ถือครองวัตถเุ กนิ ความจ�ำเปน็ 1.2) นยิ ามะหรือวนิ ยั 5 เปน็ การอยู่รว่ มกันในสงั คมโดยไม่เบียดเบยี น มวี ินัยในตนเอง นิยามะมี 5 ข้อ ได้แก่ อดทน สันโดษ ชำ� ระกายใจให้บริสุทธิ์ หม่นั ศึกษาตนเอง และมศี รัทธา 1.3) อาสนะหรอื การดแู ลรา่ งกาย การดแู ลรา่ งกายตนเองของอาสนะไมใ่ ชก่ ารออกกำ� ลงั กาย อยา่ งทห่ี ลายคนเขา้ ใจ แตเ่ ปน็ การจดั ปรบั สมดลุ ระบบตา่ งๆ ขน้ั ตอนการฝกึ อาสนะ ไดแ้ ก่ การเตรยี ม ความพร้อม การฝกึ ทา่ อาสนะ ปดิ ทา้ ยด้วยการผอ่ นคลาย 1.4) ปราณยามะหรือการฝึกลมหายใจ เม่ือร่างกายสมดุลเป็นปกติก็พร้อมต่อการฝึก ควบคมุ ลมหายใจ ลำ� ดบั ขน้ั ของการฝกึ ลมหายใจ คอื เขา้ ใจระบบการหายใจของตนเอง มสี ตริ ลู้ มหายใจ ของตนเองตลอดเวลา ควบคมุ ลมหายใจ หายใจช้าลง และลมหายใจสงบ 1.5) ปรทั ยาหาระหรอื สำ� รวมอนิ ทรยี ์ เมอ่ื รา่ งกายนง่ิ ลมหายใจสงบ จากนน้ั กฝ็ กึ ควบคมุ อารมณ์ ซึ่งมักแปรปรวนไปตามการกระทบจากภายนอก ปรัทยาหาระ คือ การควบคุมประสาท สัมผสั ท้ัง 5 ไดแ้ ก ่ การสำ� รวม รปู รส กลน่ิ เสยี ง และสมั ผสั กรมสนับสนนุ บริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ 177

1.6) ธารณะหรอื การเพง่ จอ้ ง เมอ่ื กายสงบ อารมณก์ ม็ น่ั คง จงึ เรมิ่ อบรมจติ ซงึ่ มธี รรมชาติ ของการไมอ่ ยนู่ ง่ิ ธารณะ คอื การฝกึ จติ ใหน้ ง่ิ จติ นงิ่ เปน็ จติ ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ เปน็ จติ ทสี่ ามารถทำ� งาน ได้สำ� เรจ็ ลุล่วง 1.7) ฌาน การอบรมจติ สมำ่� เสมอ ทำ� ให้จติ มีคุณภาพสงู ขนึ้ ๆ จนถงึ ขน้ั ฌาน ฌาน คอื จิตท่ีสามารถ จดจ่ออยู่กับเรื่องใดเพียงเรื่องเดียว เป็นจิตที่ดื่มด่�ำอยู่ในส่ิงท่ีก�ำลังท�ำ เป็นจิตที่รู้เห็น ตามความเปน็ จริง 1.8) สมาธิ สมาธขิ องโยคะไม่เหมือนกับสมาธิของพทุ ธศาสนาเสยี ทเี ดยี ว สมาธิในท่นี ี้ คือ ผลสูงสุดท่ีได้รับจากการฝึกโยคะ คือ จิตที่มีความเป็นหนึ่งเดียว เป็นจิตที่พ้นจากความเป็น ธรรมดา หรือจติ ท่หี ลุดพ้น การฝึกปฏิบัติโยคะครบตามหลักทั้ง 8 ประการก็คือ การมีวิถีชีวิตไปตามครรลอง เป็นการน�ำกายของผู้ฝึกให้มีความแข็งแรง ยกระดับจิตให้สูงขึ้น ไปสู่เป้าหมายของการหลุดพ้น (โมกษะ) คอื ความเปน็ อสิ ระจากส่งิ ผกู มดั ทั้งหลายทง้ั ปวง 2) เทคนคิ การฝกึ โยคะ การฝกึ โยคะจดั แบง่ ไดเ้ ปน็ 6 ประเภท แตล่ ะประเภทประกอบดว้ ยวธิ กี ารฝกึ หลากหลาย ได้แก่ (จฑุ าภรณ์ สกุลศกั ด์ิ, 2545) 2.1) ยามะและนิยามะ หรือการอบรมทัศนคติ คือ การควบคุมพฤติกรรมของตนเอง เพือ่ พฒั นาทัศนคติท่ีเหมาะสม การอบรมทศั นคติ ถอื เป็นการฝึกข้ันพ้นื ฐานกอ่ นการฝกึ วิธกี ารโยคะ 2.2) อาสนะ คอื อิริยาบถเฉพาะ เป็นการยดื เหยียดสว่ นต่างๆ ของรา่ งกาย แลว้ คงตวั นง่ิ ไวเ้ พอื่ ความสงบของจิต อาสนะเปน็ การเตรยี มรา่ งกายให้พร้อมส�ำหรับการฝกึ วิธีการอ่ืนๆ ต่อไป 2.3) ปราณยามะ คือ การฝึกเพื่อควบคุมระบบหายใจ ซึ่งมีความสัมพันธ์ต่อเนื่อง กับระบบประสาทอัตโนมัติ โดยมีเป้าหมายเพ่ือควบคุมอารมณ์ ควบคุมการท�ำงานของจิต และเพอ่ื เตรียมความพรอ้ มในการฝึกวิธีการโยคะขน้ั สูง เช่น สมาธิ 2.4) พันธะและมุทรา คือ การควบคุมกล้ามเนื้อกึ่งควบคุมและกล้ามเน้ืออัตโนมัติของ ร่างกาย เช่น การเกร็งและคลายตัวของอวัยวะส�ำคัญในช่องท้อง พัฒนาระบบไหลเวียนโลหิต ช่วยให้สารอาหารไปเล้ียงส่วนต่างๆ ของร่างกายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท�ำให้ร่างกายแข็งแรง มีความมั่นคงทางอารมณ์ 178 เอกสารความรู้ ผู้ด�ำ เนินการสปาเพอ่ื สุขภาพ

2.5) กรยิ า คอื การทำ� ความสะอาด การชำ� ระลา้ ง เพอ่ื เพม่ิ ขดี ความสามารถในการปรบั ตวั และการตอบสนองของเนื้อเย่ือ ซึ่งถือเป็นพ้ืนฐานของอวัยวะในระบบต่างๆ ผลก็คือผู้ฝึกสามารถ ควบคุมกลไกตอบสนองอัตโนมัติ (reflex) ต่างๆได้ดีข้ึน เอื้อต่อความสมดุลของกลไกกาย จติ สัมพันธ์ 2.6) สมาธิ คอื การฝกึ ควบคมุ การทำ� งานของจติ พฒั นาการรบั รคู้ วามรสู้ กึ ภายในตนเอง รับรู้สมั ผสั จากภายนอก เป็นการท�ำจติ ให้สงบ จนสามารถตัดขาดจากการรับรูภ้ ายนอก จะเห็นได้ว่าการฝึกโยคะให้ถูกต้องและรับประโยชน์สูงสุดจากการฝึก จะต้องฝึก ให้ครอบคลุมวิธีการทั้ง 6 ประเภทข้างต้น ซ่ึงต้องใช้เวลามาก และไม่สามารถเรียนรู้หรือฝึกจาก ต�ำราเพียงอย่างเดียว แต่ควรได้รับการสอนจากครูท่ีมีทักษะ อย่างไรก็ตาม โยคะมีเพียงหนึ่งเดียว แม้จะมีชื่อเรียกต่างๆมากมาย ความแตกต่างของโยคะเป็นเพียงความแตกต่างของเทคนิคการสอน เพราะผเู้ รยี นมคี วามหลากหลาย การฝกึ โยคะในปจั จบุ นั มเี ปา้ หมายเพอื่ สขุ ภาพ สถานประกอบการสปา เพ่ือสุขภาพที่มีบริการโยคะจึงมุ่งเน้นเร่ืองอาสนะเพ่ือเสริมสร้างความสมดุลกาย-จิต เอกสารประกอบการเรียนรู้ในที่นี้จึงขอยกเนื้อหาการฝึกโยคะ เป็นเรื่องการฝึกอาสนะที่ไม่ยากจน เกินไป เพ่ือเสริมสร้างความสมดุลให้แก่ร่างกายและจิตใจ ที่ทุกคนสามารถฝึกท�ำได้ทุกวัน (เน้ือหาและภาพประกอบท้ังหมดมาจากโครงการเผยแพร่โยคะเพื่อสุขภาพ มูลนิธิหมอชาวบ้าน ตามหลกั สูตรโยคะของสถาบันไกวลั ยธรรม ประเทศอนิ เดยี ท่เี น้นการท�ำความเข้าใจโยคะอย่างเป็น วิทยาศาสตร์ และยึดตามหลักต�ำราดัง้ เดมิ ) 3) การฝกึ โยคะแบบอาสนะ ขอ้ ควรระลกึ เสมอในการทำ� อาสนะ 1. ตลอดการฝึกอาสนะ ควรเป็นไปทีละขั้น ๆ อย่างช้าๆ นุ่มนวลทั้งตอนเข้าและ ตอนออกจากทา่ 2. พยายามคงต�ำแหน่งสดุ ทา้ ยไวโ้ ดยไม่ฝืน ไม่หกั โหมเกินขีดจำ� กดั ของตน 3. การฝึกอาสนะไม่ไดเ้ ปน็ ไปเพื่อการเปรยี บเทยี บหรือแข่งขันใดๆ 4. ในการท�ำอาสนะ อย่ากังวลการหายใจ การหายใจเป็นกระบวนการธรรมชาติท่ี ร่างกายจดั ปรบั ไปตามสภาพ กรมสนับสนุนบรกิ ารสุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ 179

หลักในการทำ� อาสนะ 1. สบาย ทำ� อาสนะดว้ ยความร้สู กึ สบายตวั ไมเ่ กร็ง 2. นงิ่ สงบ อยูใ่ นอาสนะอย่างม่นั คง 3. ใชแ้ รงและใชค้ วามพยายามแตน่ อ้ ย รวมถงึ ใชค้ วามพยายามทางใจใหน้ อ้ ยทสี่ ดุ 4. มีสติ คอื มีสตกิ ำ� หนดรู้ รตู้ ัวอยทู่ ุกขณะ ลักษณะของอาสนะ 1. ก้มตวั ไปขา้ งหน้า 2. แอ่นตวั ไปขา้ งหลงั 3. บดิ ตวั 4. เอยี งตัวไปด้านข้าง 4) เวลา ปริมาณ สถานที่ท่ีเหมาะสมในการทำ� อาสนะ และขอ้ จำ� กดั ของ สตรี • เวลาทีเ่ หมาะสมในการฝกึ คอื ตอนเช้า ควรฝึกทำ� อาสนะจนเป็นนสิ ยั เชน่ เดยี วกบั ทำ� กิจวัตรประจ�ำวนั อน่ื ๆ • ระยะเวลาที่ใช้ในการฝกึ ข้ึนกับความเหมาะสมของแต่ละคน ประมาณ 15 - 60 นาที • สถานที่ฝึกควรเป็นที่สงบ อากาศถ่ายเทสะดวก และควรฝึกตอนท้องว่าง ว่างจาก อาหารหนกั 4 ช่วั โมง หรือวา่ งจากอาหารเบาอย่างน้อย 2 ชัว่ โมง • ขอ้ จำ� กดั ของสตรชี ว่ งมปี ระจำ� เดอื นควรงดการฝกึ สตรมี คี รรภต์ อ้ งปรกึ ษาผเู้ ชย่ี วชาญ ก่อนฝกึ อาสนะ วิถีการด�ำเนินชีวิตที่ท�ำให้มีสุขภาพดี ควรตั้งอยู่บนพ้ืนฐานความต้ังใจจริงท่ีจะพัฒนา สุขภาพตนเอง การพัฒนาร่างกายมาจากการบริโภคอาหารท่ีสมดุล พักผ่อนนอนหลับเพียงพอ กับความต้องการของร่างกาย ออกก�ำลังกายเหมาะสมกับแต่ละบุคคล โยคะเป็นศาสตร์การแพทย์ ทางเลือกแขนงหน่ึงท่ีสอดคล้องกับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม รวมกายและจิตของผู้ฝึกเข้าด้วย กัน การฝึกโยคะจะได้ผลจริงหรือไม่ขึ้นอยู่กับความเชื่อความศรัทธา และการหมั่นฝึกปฏิบัติอย่าง 180 เอกสารความรู้ ผดู้ ำ�เนนิ การสปาเพอ่ื สุขภาพ

สมำ่� เสมอ สถานประกอบการฯทนี่ ำ� โยคะมาใหบ้ รกิ าร ถอื เปน็ การใหบ้ รกิ ารทร่ี วมการออกกำ� ลงั กาย และการฝึกจิตและสมาธิแก่ผู้รับบริการ ซ่ึงหากผู้ให้บริการมีความรู้และทักษะท่ีถูกต้อง ก็จะช่วยให้ ผ้รู ับบริการไดร้ บั ประโยชน์มาก 3.8 ฤๅษีดดั ตน 1) ความหมาย การดัดตน หมายถึง การท�ำให้ส่วนใดส่วนหน่ึงของร่างกายโน้มไปตามต้องการ เช่น ให้ยืด ให้หด ให้ตรง ให้งอ ให้บิด ฯลฯ ได้ตามต้องการ แล้วแต่ความช�ำนาญที่ได้ฝึกฝนจนเกิด ความคล่องตัว ท่าฤๅษีดัดตนเป็นความรู้ท่ีสืบทอดกันมาแต่โบราณ โดยเช่ือว่าเหล่าฤๅษี หรือ ผบู้ �ำเพ็ญพรตได้คิดคน้ ขึ้นเพ่ือใช้เป็นทา่ ในการพักผอ่ นอิริยาบถ แก้เมอ่ื ย แกข้ บ แก้อาการทัง้ หลาย ที่เกิดข้นึ หลังการเจรญิ ภาวนาอยู่ในท่าเดิมๆอยา่ งตอ่ เนอ่ื งยาวนาน ‘ฤๅษีดัดตน’ เป็น การบริหารร่างกายหรือกายกรรมแบบไทย เพ่ือให้สุขภาพสมบูรณ์ ทงั้ รา่ งกายและจิตใจ มผี ลพลอยไดค้ อื บ�ำบัดโรคภัยไขเ้ จบ็ ตา่ งๆ เชน่ แก้โรคลมท่ัว แกเ้ ม่ือย แก้ปวด เป็นตน้ ฤๅษีดัดตนเป็นการบริหารร่างกายอันเป็นเอกลักษณ์ไทย ท่ีแสดงออกถึงความสุภาพ นุ่มนวล สามารถปฏิบัติด้วยตนเอง ไม่มีการกระทบกระแทกให้เกิดอาการบาดเจ็บ ช่วยกระตุ้น การไหลเวยี นเลือด ส่งเสรมิ ใหร้ ่างกายแข็งแรง มีพลานามัยสมบูรณ์ เหมาะแก่ทุกเพศทกุ วัย ภาพที่ 49 รปู ปั้นฤาษดี ัดตน วัดพระเชตุพนฯ ภาพที่ 50 จารกึ ศาลาฤาษดี ดั ตน วัดมชั ฌิมาวาสวรวิหาร (วัดโพธ)ิ์ กรงุ เทพฯ จ.สงขลา กรมสนับสนุนบรกิ ารสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ 181

2) ประวตั ิความเป็นมา ในปี พ.ศ. 2331 พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราชทรงโปรดฯให้บูรณะ ปฏิสังขรณ์วัดโพธารามขึ้นเป็นพระอารามหลวงประจ�ำรัชกาล (ปัจจุบัน คือ วัดพระเชตุพนวิมล มงั คลาราม หรอื วดั โพธ)ิ์ พระองคท์ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหร้ วมรวมสรรพวชิ า ตลอดจนตำ� รายา ก่อนน�ำไปจารึกลงบนแผ่นศิลาและประดับไว้ตามศาลารายรอบบริเวณวัด รวมถึงทรงโปรดฯ ให้ ปั้นรูปดินแสดงท่าการดัดตนของฤๅษี อันเป็นศาสตร์ส�ำหรับการบริหารร่างกายท่ีสืบทอดกันมาแต่ โบราณไวเ้ ป็นทาน โดยไมท่ ราบจ�ำนวนทแ่ี น่ชดั เน่ืองจากรูปปั้นฤๅษีดัดตนซึ่งท�ำจากดินได้ผุพังไปตามกาลเวลา การบูรณะวัดโพธ์ิ ครงั้ ใหญใ่ นปี พ.ศ. 2379 พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงโปรดฯ ใหห้ ลอ่ รปู ฤๅษดี ดั ตนขึ้น ใหม่จ�ำนวน 80 ท่า ด้วยโลหะผสมระหว่างสังกะสีและดีบุก เรียกว่า ‘ชิน’ น�ำไปตั้งไว้แทนของเดิม โดยพระองค์และกวีท่ีมีช่ือเสียงในสมัยนั้นได้แต่งโคลงสี่สุภาพบรรยายท่าและสรรพคุณของ การดัดตน พร้อมนำ� ไปจารึกประดบั กำ� กับไวต้ ามผนงั คู่กับรปู หล่อ ปจั จบุ ัน รูปหลอ่ ฤๅษดี ดั ตนบางส่วนไดช้ ำ� รดุ เสียหายหรือสญู หายไป วัดฯจึงได้รวบรวม รูปหล่อท่ีเหลือทั้งหมด 24 รูป มาต้ังแสดงรวมกันไว้ที่เขามอทางด้านทิศใต้ของพระอุโบสถ ขณะท่ี ค�ำโคลงและจารึกบรรยายท่าดัดได้แตกหักสูญหายไปเกือบหมด เหลือเพียงบางส่วนที่ศาลาราย ดา้ นทศิ ตะวนั ออกซง่ึ ตรงกบั ของเดมิ บา้ งไมต่ รงบา้ ง จงึ ตอ้ งอาศยั ภาพเขยี นตน้ ฉบบั พรอ้ มกบั คำ� โคลง ก�ำกับท่ีบันทึกอยู่ในสมุดไทย ซ่ึงเก็บรักษาไว้ที่หอสมุดแห่งชาติมาเป็นต้นฉบับส�ำหรับการศึกษา ในปัจจุบัน นอกจากน้ันยังมีภาพฤๅษีดัดตนและจารึกโคลงส่ีสุภาพบางส่วน ที่เจ้าพระยาวิเชียรคีรี (บญุ สงั ข)์ ผสู้ ำ� เรจ็ ราชการเมอื งสงขลา ไดค้ ดั ลอกและนำ� ไปจารกึ ไว้ ณ ศาลาฤๅษดี ดั ตน วดั มชั ฌมิ า วาสวรวหิ าร จงั หวดั สงขลา ระหว่างปี พ.ศ. 2390 – 2408 182 เอกสารความรู้ ผดู้ �ำ เนนิ การสปาเพอื่ สขุ ภาพ

ภาพที่ 51 ตัวอย่างภาพจารึกและโคลงสี่สุภาพ จากต�ำราฤๅษีดัดตนวดั พระเชตพุ นฯ ภาพที่ 52 โคลงภาพฤๅษดี ดั ตน จากหนงั สอื ต�ำราฤๅษีดดั ตนวัดโพธ์ิ ตน้ ฉบบั รปู ปั้นฤๅษีดัดตน วดั พระเชตพุ นฯ กรมสนบั สนุนบรกิ ารสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข 183

ท่าแกล้ มตะโพก ท่าแก้ลมต้นขา และสนั นบิ าตตามวั ภาพท่ี 53 ตวั อย่าง ท่าฤๅษีดดั ตนดง้ั เดิม 127 ทา่ จากหนังสอื กายบริหารแบบไทย 108 ท่าฤๅษดี ัดตน ขอ้ แนะน�ำในการปฏบิ ตั ิ เตรยี มรา่ งกายใหพ้ รอ้ มและทำ� จติ ใจใหส้ งบ กอ่ นการปฏิบตั ิ • ระหวา่ งการดดั ตนให้ท�ำใจให้น่ิง มีสมาธกิ ับการเคล่ือนไหวส่วนตา่ งๆ ของรา่ งกาย • หายใจเข้าให้ช้าและลึกท่ีสุด ก่อนปล่อยลมหายใจออกอย่างแผ่วเบา เม่ือเกิด ความชำ� นาญจะหายใจเข้าออกไดย้ าวอยา่ งเป็นธรรมชาติ • ห้ามดัดตนอย่างรุนแรงหรือรวดเร็ว เพื่อป้องกันการบาดเจ็บ หยุดทันทีหากรู้สึก เจบ็ ปวดอย่างรุนแรง • การดัด การยืด หรือการงอ ทุกส่วนของร่างกาย ให้ปฏิบัติเท่าท่ีท�ำได้ ไม่ฝืน หรือเกร็งเกินไป เมื่อฝึกบ่อยขึ้นร่างกายจะปรับตัวไปทีละน้อย จนดัดได้เต็ม ความสามารถของรา่ งกาย • ไม่ควรหยุดทันทีหลงั การดดั ตน ให้ลดหรือผ่อนการเคล่อื นไหวรา่ งกายลงอย่างช้าๆ • การดัดตนทกุ ทา่ มกั กำ� หนดใหป้ ฏบิ ัตซิ �ำ้ ประมาณ 3-5 ครง้ั ขนึ้ อยู่กับความสามารถ ของแตล่ ะบคุ คล • ท่าฤๅษีดัดตนจะแบ่งเป็น ท่ายืน ท่าน่ัง และท่านอน ผู้ฝึกสามารถประยุกต์ท่าทาง ในการปฏิบตั ใิ หเ้ หมาะสมกับสภาพร่างกายตนเอง 184 เอกสารความรู้ ผูด้ �ำ เนนิ การสปาเพื่อสุขภาพ

ขอ้ ควรระวงั ในการปฏบิ ัติ • ผู้ท่ีมีปัญหาเกี่ยวกับกระดูกและข้อต่อ หรือเคยผ่าตัดเปล่ียนตะโพก ข้อเข่า และ กระดกู • การดัดตนไม่ท�ำให้เกิดการบาดเจ็บ หากเกิดข้ึนแสดงว่าฝืนดัดจนเกินก�ำลัง ความสามารถของกล้ามเน้อื หรือดดั มากเกินไปจนขอ้ ต่ออักเสบ • อาการตึงและขดั เล็กนอ้ ยเป็นสง่ิ ท่ีเกิดขึ้นไดใ้ นการดดั • ไมค่ วรท�ำการดดั ดว้ ยความรนุ แรงและรวดเรว็ อาจเกดิ อันตรายหรอื บาดเจบ็ ได้ • หา้ มบริหารอวยั วะสว่ นที่มีอาการอกั เสบ บวม แดง ร้อน • ผทู้ ม่ี อี าการหนา้ มดื ความดนั โลหติ ไมค่ งท่ี (Vertigo and unstable blood pressure) ไม่ควรปฏิบตั ิ • ในการฝึกปฏิบัติ ท่าฤๅษีดัดตนแต่ละท่าอาจมีข้อควรระวังเป็นพิเศษส�ำหรับอาการ หรอื โรคบางอยา่ ง ดังน้ันผูฝ้ ึกจงึ ควรศกึ ษาขอ้ ควรระวงั ของแต่ละท่าใหร้ อบคอบ 3) ประโยชน์ นอกจากใช้เป็นท่าบริหารร่างกายแล้ว การบริหารด้วยท่าฤๅษีดัดตนยังช่วยให้ร่างกาย ต่ืนตัว แข็งแรง ท่าต่างๆ ยังมีสรรพคุณในการบ�ำบัดอาการเบ้ืองต้นดังปรากฏตามชื่อท่า เช่น แก้โรคลมทั่วสรรพางค์กาย แก้ลมเวียนศีรษะ แก้ปวดแขน ฯลฯ ได้อีกด้วย นับว่ามีประโยชน์ เป็นอันมาก กลา่ วคือ 3.1) ช่วยให้แขนขาและข้อตา่ งๆ เคลื่อนไหวตามธรรมชาตอิ ย่างคล่องแคล่ว บางท่าจะมี การกดหรือบีบนวดร่วมดว้ ย 3.2) ทำ� ให้เลือดหมนุ เวียน เลอื ดลมเดนิ ไดส้ ะดวก สามารถท�ำได้ในทุกอิรยิ าบถ 3.3) ตอ่ ตา้ นโรคภัย บ�ำรงุ รกั ษาสขุ ภาพให้มอี ายุยนื ยาว 3.4) มกี ารใชส้ มาธริ ว่ มดว้ ย ชว่ ยยกระดบั จติ ใจใหพ้ น้ อารมณข์ นุ่ มวั หงดุ หงดิ งว่ ง ทอ้ แท้ เครยี ด และชว่ ยเพ่ิมประสิทธิภาพการหายใจหากฝกึ การหายใจให้ถูกต้อง กรมสนับสนนุ บริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข 185

4) ทา่ ฤๅษดี ัดตน ท่าฤๅษีดัดตนท่ีปรากฏอยู่ในปัจจุบัน เป็นฤๅษีดัดตน 80 ท่า ท่ีคัดลอกมาจากต�ำรายา ศลิ าจารกึ วดั พระเชตุพนฯ (วดั โพธิ์) และ ฤๅษีดัดตน 127 ท่าดง่ั เดิม ซ่ึงสถาบนั การแพทยแ์ ผนไทย โดย พญ.เพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ ไดค้ น้ คว้าและเผยแพร่ไวต้ ง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2537 มกี ารคดั เลอื กและพฒั นาทา่ ฤๅษดี ดั ตนขน้ึ เปน็ ทา่ บรหิ ารรา่ งกายโดยหนว่ ยงานตา่ งๆ ใน รูปแบบและวธิ กี ารทีห่ ลากหลาย เช่น ท่าฤๅษีดดั ตนพืน้ ฐาน 15 ท่า โดยสถาบันการแพทย์แผนไทย ท่าฤๅษีดัดตนเพื่อการบริหารร่างกาย 18 ท่า โดยโรงเรียนแพทย์แผนโบราณวัดพระเชตุพนฯ ฯลฯ ซ่ึงทั้งหมดน้ีจะเน้นการเคลื่อนไหวร่างกายอย่างช้าๆ พร้อมกับการบิดการดัดอวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกาย หายใจเข้าให้ลึก หายใจออกให้ยาว และสิ่งส�ำคัญคือมีสติจดจ่อไปกับการเคล่ือนไหว ดงั แสดงในภาพตวั อย่างการปฏิบัติ ฤๅษีดัดตน ดงั นี้ 186 เอกสารความรู้ ผูด้ �ำ เนนิ การสปาเพือ่ สุขภาพ

ภาพที่ 54 ตัวอย่างท่าฤๅษีดัดตน ทา่ ที่ 3 ซ่ึงเป็นท่ากายบรหิ ารทปี่ ระยุกต์มาจากทา่ ฤๅษีดัดตนแก้ปวดทอ้ งและข้อเทา้ และแกล้ มปวดศรี ษะ จากหนังสอื ‘ขยบั กายสบายชวี ดี ว้ ยกายบริหารแบบไทย ฤๅษีดดั ตนพ้นื ฐาน 15 ท่า’ กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทย กระทรวงสาธารณสุข กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ 187

ภาพท่ี 55 ตัวอย่างทา่ ฤๅษดี ัดตน ท่าท่ี 11 ซง่ึ เปน็ ท่ากายบริหารท่ีประยกุ ต์มาจาก ท่าฤๅษีดัดตนแก้โรคในอก จากหนงั สอื ‘ขยบั กายสบายชวี ดี ว้ ยกายบรหิ ารแบบไทย ฤๅษีดดั ตนพื้นฐาน 15 ท่า’ กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทย กระทรวงสาธารณสุข¬ 188 เอกสารความรู้ ผู้ด�ำ เนินการสปาเพอ่ื สุขภาพ

ภาพท่ี 56 ตัวอย่าง ทา่ ฤๅษดี ัดตน ท่าที่ 1 แก้ลมปวดศีรษะ (ฤๅษมี โนช) 189 จากหนังสอื ‘ฤๅษดี ัดตน เพื่อการบรหิ ารร่างกายส�ำหรบั บคุ คลทั่วไป 18 ท่า ต�ำรับโรงเรียนแพทยแ์ ผนโบราณวดั พระเชตุพนฯ (วัดโพธ)์ิ ’ กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ

ภาพที่ 57 ตัวอยา่ ง ทา่ ฤๅษีดัดตน ท่าที่ 9 แก้เสยี ดอก (ฤๅษนี ารอท) จากหนังสอื ‘ฤๅษีดดั ตน เพ่ือการบรหิ ารรา่ งกายสำ� หรบั บุคคลท่วั ไป 18 ทา่ ต�ำรบั โรงเรยี นแพทยแ์ ผนโบราณวัดพระเชตุพนฯ (วดั โพธ)์ิ ¬’ 190 เอกสารความรู้ ผู้ด�ำ เนินการสปาเพือ่ สขุ ภาพ

3.9 การท�ำสมาธิ ความหมายสมาธิสรา้ งเสริมสขุ ภาพ สมาธเิ ปน็ เรอื่ งของการฝึกอบรมจติ ในข้ันลกึ ซง้ึ เปน็ เรอ่ื งละเอยี ดประณตี ทง้ั ในเรอื่ งของ จิตอันเป็นของละเอียดและในการปฏิบัติที่มีรายละเอียดกว้างขวาง สมาธิมีความส�ำคัญต่อการงาน ทุกชนิด และเป็นท่ีอยู่อันสงบสุขของใจ คนท�ำงานถ้าท�ำด้วยใจท่ีเป็นสมาธิก็เหนื่อยน้อย และได้ผล งานมาก มคี วามเพลดิ เพลนิ และความสุขในงานเป็นอยา่ งดี ถา้ ฟุง้ ซา่ นทำ� ใหเ้ หนอ่ื ยและไดง้ านนอ้ ย นกั เรยี นถา้ ใจเปน็ สมาธิ จบั วชิ าใดเขา้ ใจกจ็ ดจอ่ ในวชิ านนั้ ยอ่ มจำ� เขา้ ใจไดเ้ รว็ มคี วามสขุ ในการเรยี น ในทสี่ ดุ จะเปน็ นักเรยี นท่ีดี เรียนหนังสอื เกง่ สมาธเิ ป็นพนื้ ฐานแหง่ ความสำ� เรจ็ ทุกอย่าง สมาธิ คือ การต้ังมั่นของจิตหรือภาวะที่จิตแน่วแน่ต่อสิ่งท่ีก�ำหนด หรือเรียกสั้นๆ วา่ ‘เอกคั คตา’ หมายถงึ ภาวะทจ่ี ติ มอี ารมณเ์ ปน็ หนงึ่ คอื การทจี่ ติ กำ� หนดแนว่ แนอ่ ยกู่ บั สงิ่ ใดสงิ่ หนงึ่ ไม่ฟุ้งซ่าน วิธีปฏิบัตเิ พ่ือท�ำใหจ้ ิตเปน็ สมาธิ (การเจรญิ สมาธิ) 1) การเจรญิ สมาธติ ามวิธีธรรมชาติ การเจรญิ สมาธิในขอ้ น้ี กค็ อื การปฏบิ ตั ิตามหลักการเกดิ ข้ึนของสมาธใิ นกระบวนธรรม ทเ่ี ปน็ ไปเองตามธรรมดาของธรรมชาติ สาระสำ� คญั ของกระบวนธรรมนคี้ อื กระทำ� สง่ิ ทด่ี งี ามอยา่ งใด อย่างหนึ่ง ให้เกิดปราโมทย์ จากน้ันก็จะเกิดปีติ ตามมาด้วยปัสสัทธิ (ความสงบกายและใจ ความสงบใจและอารมณ์ ความสงบเย็น ผ่อนคลายกายใจ) ความสุข และสมาธิในที่สุด พูดเป็น ค�ำไทยว่า เกิดความปลาบปลื้มบันเทิงใจ จากนั้นก็จะเกิดความเอิบอิ่มใจ ร่างกายผ่อนคลาย สงบ จิตใจสบายมีความสขุ แลว้ สมาธกิ ็เกิดขึน้ ได้ เขียนให้ดูง่ายดังนี้ ปราโมทย ์ ปีต ิ ปัสสทั ธิ สุข สมาธิ มหี ลกั อยา่ งหนึ่งวา่ กระบวนธรรมจะเกิดข้ึนได้ ปกตจิ ะตอ้ งมศี ีลเปน็ ฐานรองรับอยกู่ ่อน ส�ำหรับคนทั่วไปศีลหมายเพียงการไม่เบียดเบียนล่วงละเมิดเป็นเหตุให้ใจคอวุ่นวาย หวาดระแวง กลัวโทษ หรือเดือดร้อนใจในความผิดความช่ัวร้ายของตนเอง หากประพฤติสุจริตเป็นท่ีสบายใจ ตน เกิดความม่ันใจตนเอง ส่วนการกระท�ำใดที่เกิดความปราโมทย์ได้หลายอย่าง เช่น อาจนึกถึง ความประพฤตดิ งี ามสจุ รติ ของตนเอง แลว้ เกดิ ความปลาบปลมื้ ได้ อาจระลกึ ถงึ การบำ� เพญ็ ประโยชน์ กรมสนบั สนนุ บริการสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข 191

ของตน พระรัตนตรัยและส่ิงดีงามอ่ืนๆ อาจหยิบยกหลักธรรมบางอย่างข้ึนมาพิจารณา แล้วเข้าใจ ความหมาย เป็นต้น องค์ธรรมส�ำคัญท่ีเป็น บรรทัดฐานหรือเป็นปัจจัยใกล้ชิดที่สุดให้สมาธิ เกดิ ขน้ึ ได้ กค็ อื ความสขุ ดงั พทุ ธพจนท์ ตี่ รสั วา่ ‘สขุ โิ ต จติ ตฺ ํ สมาธยิ ต’ิ แปลวา่ ผมู้ สี ขุ จติ ยอ่ มเปน็ สมาธิ 2) การเจรญิ สมาธิตามหลกั อิทธิบาท อิทธิบาท แปลว่า ธรรมเครื่องให้ถึงอิทธิ (ฤทธ์ิ หรือความส�ำเร็จ) หรือธรรมที่เป็นเหตุ ให้ประสบความสำ� เรจ็ หรือแปลงา่ ยๆ วา่ ทางแห่งความส�ำเร็จ มี 4 อย่างคอื ฉนั ทะ (ความพอใจ) วิริยะ (ความเพียร) จิตตะ (ความคิดจดจ่อ) และวิมังสา (การสอบสวนไตร่ตรอง) แปลให้จ�ำง่าย ตามลำ� ดับวา่ มใี จรกั พากเพยี ร เอาจติ ฝักใฝ่ ใชป้ ัญญาสอบสวน 3) การเจรญิ สมาธอิ ยา่ งสามัญ หรอื ฝกึ สมาธิโดยใช้สตเิ ป็นตวั นำ� การฝึกสมาธิด้วยอิทธิบาท 4 น้ัน ตามปกติใช้ได้กับงานหรือการประกอบกิจต่างๆ เชน่ การเล่าเรยี นและกจิ กรรมทงั้ หลาย ซ่ึงมีความก้าวหน้าหรือความสำ� เร็จเปน็ เปา้ หมาย ท�ำใหเ้ กดิ ความเพยี รมงุ่ มนั่ ทจี่ ะประกอบกจิ ไปสเู่ ปา้ หมายนน้ั จงึ พาใหเ้ กดิ สมาธิ คอื หนนุ ใหจ้ ติ ตงั้ มนั่ แนว่ แนไ่ ด้ แต่ในการด�ำเนินชีวิตคนเรา องค์ธรรมที่จะใช้เป็นเคร่ืองชักน�ำหรือฝึกให้เกิดสมาธิก็คือ องค์ธรรม พ้ืนฐานที่เรียกว่าสติ เพราะสติเป็นเครื่องดึงและกุมจิตไว้กับอารมณ์ ดังได้กล่าวแล้วว่าสติเป็นที่พ่ึง พำ� นักของใจ การฝึกสมาธิด้วยอาศัยสตเิ ป็นหลกั แยกไดเ้ ป็น 2 วธิ ใี หญ่ คือ 3.1) การฝึกเพ่ือใช้งานทางปัญญา หรือมุ่งประโยชน์ทางปัญญา กล่าวคือ การใช้ สติน�ำทางให้แก่ปัญญา หรือท�ำงานร่วมกับปัญญา คอยจับอารมณ์ให้ปัญญารับรู้หรือพิจารณา (พูดอีกอย่างหน่ึงว่าสติดึงหรือกุมจิตอยู่กับอารมณ์แล้วปัญญาก็พิจารณาหรือรู้เข้าใจอารมณ์น้ัน) ตามวิธีนี้สมาธิไม่ใช่ตัวหลัก แต่ได้รับการฝึกไปด้วย เจริญไปด้วยเอง พร้อมกับที่ช่วยส่งเสริม การใช้ปัญญาให้ได้ผลดียิ่งข้ึนด้วย การฝึกแบบนี้ได้แก่วิธีการส่วนใหญ่ของสติปัฏฐานซ่ึงแสดง หลกั การทวั่ ไปไวแ้ ลว้ ในตอนทว่ี า่ สมั มาสตขิ า้ งตน้ และเรยี กไดว้ า่ เปน็ การเจรญิ สมาธใิ นชวี ติ ประจำ� วนั 3.2) การฝกึ เพอ่ื สรา้ งสมาธิ หรอื มงุ่ ลกึ ในทางสมาธเิ พยี งดา้ นเดยี ว ไดแ้ ก่ การฝกึ เพอื่ ใชส้ ติ คอยจับอารมณ์ไว้ให้จิตอยู่กับอารมณ์นั้นไม่คลาดจากกัน หรือตรึงจิตให้อยู่กับอารมณ์ท่ีก�ำหนดน้ัน เรื่อยไป เป็นวิธีการที่เน้นสมาธิโดยตรง แม้หากบางคร้ังจะใช้ปัญญาบ้างก็เพียงเล็กน้อยเป็น สว่ นประกอบ 192 เอกสารความรู้ ผูด้ ำ�เนินการสปาเพอื่ สขุ ภาพ

4) การเจรญิ สมาธอิ ย่างเป็นแบบแผน จากวารสารศกึ ษาศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั นเรศวรปที ี15ฉบบั ท่ี2(พระครธู รรมธรครรชติ คณุ วโธ) หัวข้อ อัตตภาวนากับการเปลี่ยนแปลงในพระพุทธศาสนา ค�ำว่า การเจริญสมาธิอย่างเป็น แบบแผน ในทน่ี ี้หมายถงึ วธิ ีฝึกอบรมเจริญสมาธอิ ยา่ งท่ไี ดป้ ฏิบตั สิ ืบตอ่ กนั มา ทางพระพุทธศาสนา ฝา่ ยเถรวาท เปน็ วธิ ปี ฏบิ ตั อิ ยา่ งจรงิ จงั มงุ่ ฝกึ จำ� เพาะสมาธลิ ว้ นๆ ภายในขอบเขตทเ่ี ปน็ ระดบั โลกยี ธรรม ท้ังหมด ซึ่งก�ำหนดไว้เป็นรูปแบบ มีขั้นตอนที่ด�ำเนินไปตามล�ำดับ เริ่มตั้งแต่การเตรียมตัว เบอ้ื งต้นกอ่ นฝกึ วิธีเจรญิ กรรมฐานแตล่ ะอยา่ งและความก้าวหน้าในการฝกึ จนไดร้ บั ผลในขนั้ ต่างๆ ตลอดถงึ ฌานสมาบตั แิ ละโลกยี อภญิ ญาทั้งหลาย วธิ เี จริญสมาธอิ ยา่ งเปน็ แบบแผนน้ัน สรุปความเป็นลำ� ดบั ขั้นตอน คือ เบือ้ งแรก เม่ือศีล บริสุทธดิ์ ี หรือช�ำระศีลให้หมดจดแลว้ 4.1) ตดั ขอ้ ขดั ข้องหรอื เหตุกังวล 4.2) เข้าหากัลยาณมิตร คอื ครูบาอาจารย์ ผมู้ ีคณุ สมบตั ิเหมาะจะให้กรรมฐาน 4.3) รบั เอากรรมฐานอย่างใดอย่างหนง่ึ ใน 40 อยา่ งทเ่ี หมาะแกจ่ ริตของตน 4.4) ก. เขา้ อยูใ่ นวดั ท่อี ยู่อาศยั หรอื สถานทีป่ ฏิบัติ ซึ่งเหมาะแกก่ ารเจริญสมาธิ ข. ตัดข้อกงั วลเลก็ ๆ นอ้ ยๆ เสยี ใหห้ มด 5) ปฏบิ ตั ิตามวธิ ีเจรญิ สมาธิ สมาธิเป็นเพียงวิธีการเพื่อเข้าถึงจุดหมาย ไม่ใช่ตัวจุดหมาย การเจริญสมาธิโดยทั่วไป มิใช่น่ังสมาธิท้ังวันทั้งคืน และวิธีปฏิบัติก็มีมากมาย เลือกให้เหมาะแก่ตนเอง ปฏิบัติได้ช่วงหน่ึง จึงออกมามีบทบาทในทางสงั คมตามความเหมาะสมของตนต่อไป ระดับของสมาธิ สมาธแิ บ่งออกเปน็ 3 ระดับ ดังนี้ 1) ขณิกสมาธิ สมาธิชั่วขณะ (momentary concentration) เป็นสมาธิข้ันต้น ซ่ึงคนทั่วไปอาจใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าท่ีการงานในชีวิตประจ�ำวันให้ได้ผลดี และจะใช้เป็น จดุ ต้ังตน้ ในการเจรญิ วิปสั สนาได้ กรมสนับสนุนบรกิ ารสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ 193


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook