Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2017-06-16-3-17-2455408

2017-06-16-3-17-2455408

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-10-05 21:43:21

Description: 2017-06-16-3-17-2455408

Search

Read the Text Version

2) อปุ จารสมาธิ สมาธเิ ฉยี ดๆ หรอื สมาธจิ วนจะแนว่ แน่ (access concentration) เป็นสมาธิข้ันระงบั นวิ รณ์ได้ นวิ รณ์ 5 คอื สง่ิ ทกี่ ้ันจิตไม่ให้กา้ วหนา้ ในคณุ ธรรม ธรรมท่ีกนั้ จติ ไม่ใหบ้ รรลุคุณความดี อกศุ ลธรรม ที่ท�ำจติ ให้เศร้าหมองและทำ� ปญั ญาให้อ่อนก�ำลัง ดงั นี้ 1. กามฉนั ทะ : ความพอใจในกาม 2. พยาบาท : ความคิดรา้ ย ความขดั เคอื งแคน้ ใจ 3. ถีนมทิ ธะ : ความหดหแู่ ละเซื่องซมึ 4. อทุ ธจั จกุกกุจจะ : ความฟงุ้ ซา่ นและร้อนใจ ความกระวนกระวายกลุ้มกงั วล 5. วจิ กิ จิ ฉา : ความลงั เลสงสัย 3) อัปปนาสมาธิ สมาธิแน่วแน่ หรือสมาธิท่ีแนบสนิท (attainment concentration) เปน็ สมาธิระดบั สูงสดุ ซึ่งมีในฌานท้งั หลาย ถือวา่ เปน็ เปา้ หมายการเจรญิ สมาธิ สมาธริ ะดบั ที่ 2 และ3 มกี ลา่ วถงึ บอ่ ยๆ ในคำ� อธบิ ายเกย่ี วกบั การเจรญิ กรรมฐาน และมที ่ี ก�ำหนดคอ่ นข้างชดั เจน คือ อุปจารสมาธิ เป็นสมาธิเม่อื จติ ตง้ั มั่นโดยละนิวรณท์ ง้ั 5 ได้ ถา้ มองในแง่ การกำ� หนดอารมณ์ กรรมฐานกเ็ ปน็ ชว่ งทเี่ กดิ ปฏภิ าคนมิ ติ (ภาพทม่ี องเหน็ ในใจของสง่ิ ทใี่ ชเ้ ปน็ อารมณ์ กรรมฐาน ซงึ่ ประณตี ลกึ ซงึ้ เลยจากขนั้ ทเี่ ปน็ ภาพตดิ ตาไปอกี ขน้ั หนงึ่ เปน็ ของเกดิ จากสญั ญาบรสิ ทุ ธิ์ ปราศจากสีปราศจากมลทิน สามารถนึกขยายหรือย่อส่วนได้ตามปรารถนา) เป็นสมาธิจวนเจียน จะแน่วแน่โดยสมบรู ณ์ ใกล้จะถงึ ฌาน เมือ่ ชำ� นชิ ำ� นาญคนุ้ ดแี ลว้ ก็จะแนว่ แน่กลายเป็นอัปปนาสมาธิ เปน็ องคแ์ หง่ ฌานตอ่ ไป ความม่งุ หมายและประโยชนข์ องสมาธิ โดยสรปุ พอจะประมวลประโยชน์ของสมาธไิ ด้ดงั น้ี ก. ประโยชน์ที่เป็นจุดหมายหรืออุดมคติทางศาสนา ประโยชน์ที่เป็นความมุ่งหมาย แท้จริงของสมาธิตามหลักพระพุทธศาสนา คือ เป็นส่วนส�ำคัญอย่างหน่ึงแห่งการปฏิบัติเพ่ือบรรลุ จดุ มงุ่ หมายสงู สุด อันได้แก่ ความหลุดพน้ จากกเิ ลสและทุกขท์ ั้งปวง 1) ประโยชนท์ ต่ี รงแทข้ องขอ้ นคี้ อื การเตรยี มจติ ใหพ้ รอ้ มทจ่ี ะใชป้ ญั ญาพจิ ารณาใหร้ แู้ จง้ สภาวธรรมตามความเป็นจริง 2) ประโยชน์ที่รองลงมาในแนวเดียวกันนี้ แม้จะไม่ถือว่าเป็นจุดหมายท่ีแท้จริง คือ การบรรลภุ าวะทจ่ี ติ หลดุ พน้ จากกเิ ลสชวั่ คราว ยงั ไมเ่ ดด็ ขาด กลา่ วคอื หลดุ พน้ จากกเิ ลสดว้ ยอำ� นาจ พลงั จติ โดยเฉพาะดว้ ยกำ� ลงั ของฌาน กเิ ลสถกู กำ� ลงั สมาธกิ ด ขม่ หรอื ทบั ไว้ ตลอดเวลาทอ่ี ยใู่ นสมาธิ 194 เอกสารความรู้ ผดู้ ำ�เนนิ การสปาเพื่อสุขภาพ

ข. ประโยชนด์ า้ นการสรา้ งความสามารถพเิ ศษเหนอื สามญั วสิ ยั อนั เปน็ ผลสำ� เรจ็ อยา่ งสงู ในทางจติ หรอื เรยี กส้นั ๆ ว่า ประโยชน์ในดา้ นอภิญญา ไดแ้ กก่ ารใชส้ มาธริ ะดับฌานสมาบัตเิ ปน็ ฐาน ท�ำให้เกิดฤทธิ์และอภิญญาขั้นโลกีย์อย่างอื่นๆ คือ หูทิพย์ ตาทิพย์ ทายใจคนอ่ืนได้ ระลึกชาติได้ จำ� พวกทป่ี ัจจบุ ันเรียกว่า ESP (Extrasensory Perception) ค. ประโยชน์ด้านสุขภาพจิตและการพัฒนาบุคลิกภาพ เช่น ท�ำให้เป็นผู้มีจิตใจและ บคุ ลกิ ลกั ษณะเขม้ แขง็ หนกั แนน่ มน่ั คง สงบ เยอื กเยน็ สภุ าพ นมุ่ นวล สดชน่ื ผอ่ งใส กระฉบั กระเฉง กระปร้ีกระเปร่า เบิกบาน งามสง่า มีเมตตากรุณา มองดูรู้จักตนเองและผู้อื่นตามความเป็นจริง (ตรงข้ามกับลักษณะของคนมีนิวรณ์ เช่น อ่อนไหว ติดใจ หลงใหลง่าย หรือหยาบกระด้าง ฉนุ เฉียว เกรี้ยวกราด หงุดหงิด ว่วู าม วุน่ วาย จนุ้ จา้ น สอดแส่ ลุกลี้ลุกลน หรอื หงอยเหงา เศร้าซึม หรอื ขหี้ วาด ขรี้ ะแวง ลงั เล) เตรยี มใจใหอ้ ยใู่ นสภาพพรอ้ มและงา่ ยตอ่ การปลกู ฝงั คณุ ธรรมตา่ งๆ และ เสริมสร้างนิสัยที่ดี รู้จักท�ำใจให้สงบ สะกดย้ังผ่อนเบาความทุกข์ที่เกิดขึ้นในใจได้ เรียกอย่างสมัย ใหม่วา่ มคี วามมัน่ คงทางอารมณ์ และมีภมู ิคมุ้ กันโรคจากจติ ประโยชนข์ ้อนจ้ี ะยง่ิ เพิ่มพูน ในเมื่อใช้ จิตที่มีสมาธินั้นเป็นฐานปฏิบัติตามหลักสติปัฏฐาน คือด�ำเนินชีวิตอย่างมีสติ ตามดูรู้ทันพฤติกรรม ทางกายวาจา ความรสู้ กึ นกึ คดิ และภาวะจติ ของตน มองอยา่ งพนิ จิ พจิ ารณาเมอ่ื ใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งเดยี ว เปิดช่องให้ประสบการณ์และความเป็นไปเหล่าน้ันก่อพิษ เป็นอันตรายแก่ชีวิตจิตใจของตนได้ ประโยชน์ข้อน้ยี อ่ มเปน็ ไปในชีวิตประจ�ำวันดว้ ย ง. ประโยชน์ในชีวิตประจำ� วัน เช่น 1) ช่วยให้จิตใจผ่อนคลาย หายเครียด เกิดความสงบ หายกระวนกระวาย หยุดย้ัง ความกลัดกลุ้มวิตกกังวล เป็นเครื่องพักผ่อนกาย ให้ใจสงบและมีความสุข เช่น ท�ำอานาปานสติ (ก�ำหนดลมหายใจเข้าออก) ในเวลาที่จ�ำเป็นต้องรอคอยและไม่มีอะไรท�ำ เช่น ในยามรถติด หรือ ปฏบิ ตั ิสลับระหวา่ งท�ำงานที่ใช้สมองหนัก เปน็ ต้น 2) เป็นเครื่องเสริมประสิทธิภาพในการท�ำงาน การเล่าเรียนและการท�ำกิจท้ังปวง เพราะจิตทีเ่ ป็นสมาธิ แน่วแน่อยกู่ ับสิ่งท่กี �ำลังกระท�ำ ไม่ฟงุ้ ซ่าน ไม่วอกแวก ไมเ่ ลอ่ื นลอย ยอ่ มช่วย ใหเ้ รยี น ใหค้ ดิ ใหท้ ำ� งานไดผ้ ลดี การงานกเ็ ปน็ ไปโดยรอบคอบ ไมผ่ ดิ พลาด และปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตไุ ดด้ ี เพราะเมอ่ื มสี มาธกิ ย็ อ่ มมสี ตกิ ำ� กบั อยดู่ ว้ ย เรยี กวา่ จติ เปน็ กมั มนยี ะ หรอื กรรมนยี ์ แปลวา่ ควรแกง่ าน หรือเหมาะแกก่ ารใช้งาน ยิ่งไดป้ ระโยชน์ในขอ้ ที่ 1) ชว่ ยเสริมก็ยิ่งได้ผลดยี ง่ิ ขน้ึ 3) ชว่ ยเสรมิ สขุ ภาพกายและรกั ษาโรคได้ รา่ งกายกบั จติ ใจอาศยั กนั และมอี ทิ ธพิ ลตอ่ กนั ปุถุชนทว่ั ไปเมอ่ื กายไม่สบาย จติ ใจกพ็ ลอยออ่ นแอเศรา้ หมองขนุ่ มัว ครนั้ เสยี ใจไม่มกี ำ� ลงั ใจ กย็ ง่ิ ซ�ำ้ ใหโ้ รคทางกายทรดุ หนกั แมใ้ นเวลาทร่ี า่ งกายปกติ พอประสบเรอื่ งทที่ ำ� ใหเ้ สยี ใจรนุ แรง กล็ ม้ ปว่ ยเจบ็ ไขไ้ ปได้ สว่ นผทู้ มี่ จี ติ ใจเขม้ แขง็ สมบรู ณ์ (โดยเฉพาะทม่ี จี ติ หลดุ พน้ เปน็ อสิ ระแลว้ ) เมอื่ เจบ็ ปว่ ยกายก็ กรมสนบั สนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ 195

อยแู่ คก่ ายเทา่ นนั้ จติ ใจไมป่ ว่ ยตามไปดว้ ย ทงั้ ยงั ใชใ้ จทส่ี บายมกี ำ� ลงั จติ เขม้ แขง็ นน้ั สง่ อทิ ธพิ ลบรรเทา โรคทางกายไดอ้ กี อาจทำ� ใหโ้ รคหายงา่ ยและไวขนึ้ หรอื แมแ้ ตใ่ ชก้ ำ� ลงั สมาธริ ะงบั ทกุ ขเวทนาทางกาย ไว้ก็ได้ ในด้านดี ผู้มีจิตใจผ่องใสเบิกบาน ย่อมช่วยให้กายเอิบอ่ิมผิวพรรณผ่องใส สุขภาพกายดี เป็นภูมิต้านทานโรคไปในตัว ความสัมพันธ์นี้มีผลต่ออัตราส่วนความต้องการ และการเผาผลาญ ใช้พลังงานของร่างกายด้วย เช่น จิตใจท่ีผ่องใส ส่งผลให้ร่างกายสมบูรณ์ ต้องการอาหารน้อยลง คนธรรมดามเี รอ่ื งดใี จ อม่ิ เอมใจ ไมร่ สู้ กึ หวิ ขา้ ว หรอื พระทบ่ี รรลธุ รรมแลว้ มปี ตี เิ ปน็ ภกั ษา ฉนั อาหาร วนั ละมอื้ เดยี ว แตผ่ วิ พรรณผอ่ งใส เพราะไมห่ วนคดิ ถงึ ความหลัง ไมเ่ พอ้ ถึงอนาคต ไม่เฉพาะจติ ใจดี ช่วยเสริมให้สุขภาพกายดีเท่านั้น โรคกายหลายอย่างเป็นเรื่องของกายจิตสัมพันธ์ เกิดจาก ความแปรปรวนทางจิตใจ ความมักโกรธ ความกลุ้มกังวล ท�ำให้เกิดโรคปวดศีรษะ หรือโรคแผล ในกระเพาะอาหาร เป็นต้น เม่ือท�ำจิตใจให้ดีด้วยวิธีอย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ช่วยแก้ไขโรคเหล่านั้นได้ ประโยชนข์ อ้ นจี้ ะสมบรู ณต์ อ่ เม่ือมปี ัญญารู้เทา่ ทนั สภาวธรรม ประโยชน์ของการปฏิบตั สิ มาธเิ ชงิ วทิ ยาศาสตร์ 1) ผลของการปฏิบตั สิ มาธิต่อการทำ� งานของระบบหัวใจและหลอดเลือด การปฏิบัติสมาธิมีผลต่อการท�ำงานของ Baroreceptor และระบบประสาทอัตโนมัติ ที่ควบคุมความดันโลหิต การท�ำงานของระบบหัวใจและหลอดเลือด เช่น การปฏิบัติสมาธิท�ำให้ การท�ำงานของระบบประสาทอัตโนมัติซิมพาเธติกลดลง มีผลท�ำให้ความดันโลหิตลดลงในผู้ป่วย ความดันโลหิตสูง การฝกึ สมาธวิ นั ละ 2 ครัง้ ทบ่ี ้าน เป็นเวลา 4 สัปดาห์ ในผปู้ ่วยความดันโลหติ สงู ไม่ทราบสาเหตุระดับก�่ำกึ่ง (Borderline) ท�ำให้ความดันโลหิต ท้ังซิสโตลิคและไดแอสโตลิค (Systolic & Diastolic) ลดลงในชว่ งทที่ ำ� การฝกึ หลงั จากการทดลอง 4 สปั ดาห์ ความดนั ไดแอสโตลคิ ยังคงลดลงไปเร่ือยๆ แต่ความดันโลหิตซิสโตลิคยังคงอยู่ที่ระดับเดิมโดยไม่มีการลดลงอีก การปฏิบัติสมาธิอย่างสม�่ำเสมอในระยะเวลา 8 เดือนใช้ในการรักษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจได้ โดยลดการกระตุ้นการท�ำงานของร่างกาย ลดอัตราการเต้นของหัวใจ ลดแรงต้านไฟฟ้าท่ีผิวหนัง อตั ราการหายใจ ความดนั โลหิตซสิ โตลิค ความดนั โลหติ ไดแอสโตลิค และการมสี ติรา่ งกายและ จิตใจทม่ี ีการผ่อนคลาย การปฏิบตั ิสมาธิในระยะเวลา 2 สัปดาห์ ช่วยลดความเสย่ี งโรคหลอดเลอื ดหวั ใจ ท�ำให้ ความดันโลหติ ทงั้ ซิสโตลคิ และไดแอสโตลิคลดลง ระดับโคเลสเตอรอลและการสบู บุรลี่ ดลง ภายใน ระยะเวลา 2 – 8 เดือน ผลของการปฏิบัติสมาธิต่อการท�ำงานของระบบหัวใจและหลอดเลือดในคนปกติและผู้ที่ มปี ญั หา การปฏิบตั ิสมาธิไดร้ บั การยอมรบั ในการควบคุมความดนั โลหิตโดยไมต่ ้องใชย้ า การปฏิบตั ิ สมาธสิ ามารถนำ� มาใชเ้ ปน็ กลยทุ ธท์ ง้ั การปอ้ งกนั การรกั ษา และการฟน้ื ฟสู ขุ ภาพไดใ้ นเวลาเดยี วกนั 196 เอกสารความรู้ ผู้ด�ำ เนนิ การสปาเพ่อื สขุ ภาพ

การปฏิบัติสมาธิเพ่ือให้เกิดผลดีต่อระบบหัวใจและหลอดเลือดต้องปฏิบัติต่อเนื่องใช้เวลา เพราะ การวิจัยพบว่า การปฏิบัตสิ มาธใิ นระยะเวลาสนั้ ๆ ไม่มีผลตอ่ การทำ� งานของระบบประสาทอัตโนมัติ ซิมพาเธติก 2) ผลของการปฏิบัติสมาธติ ่อการเปลี่ยนแปลงของฮอรโ์ มนและสารเคมี การปฏิบัติสมาธิท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบฮอร์โมนและสารเคมีในร่างกาย ของคนปกติได้อย่างไรน้ัน การศึกษาของแกลลิส และคณะ พบว่าคนปกติท่ีปฏิบัติสมาธิ 40 นาที ท�ำให้ระดับฮอร์โมนเครียดท่ีหลั่งจากต่อมหมวกไต ชื่อ คอร์ติซอล และแลคตินในพลาสมาลดลง ถ้าปฏิบัติสมาธิ 20 – 30 นาที ท�ำให้เรนินสูงขึ้นเล็กน้อย อย่างไรก็ตามผลของการปฏิบัติสมาธิ ต่อการเปลี่ยนแปลงของสารเคมีในร่างกายระหว่างปฏิบัติ บางเรื่องยังมีความขัดแย้งกัน เช่น การศกึ ษาของคเู ปอรแ์ ละคณะพบวา่ ในการปฏบิ ตั สิ มาธิ 40 นาที สารเคมตี า่ งๆ ในรา่ งกาย เชน่ นำ้� ตาล ในเลือด อนิ ซูลิน กลูคากอนจากตับออ่ น ฮอร์โมนจากตอ่ มใตส้ มอง เชน่ ฮอรโ์ มนเร่งการเจริญเติบโต โปรแลคติน ฮอร์โมนเครียด เช่น คอร์ติซอล และแคทีโคลามีนไม่เปล่ียนแปลง แต่กรดไขมันอิสระ ในเลอื ด (HDL) เพิ่มขึ้นหลงั จากการฝึก นอกจากน้ัน การปฏิบัติสมาธิ Mindfulness (ในประเทศตะวันตก) ซ่ึงเทียบได้กับ การปฏบิ ตั สิ มาธวิ ปิ สั สนากมั มฏั ฐานในศาสนาพทุ ธ มผี ลใหร้ ะดบั ฮอรโ์ มนทผ่ี ลติ จากตอ่ มไพเนยี ลแกรนด์ (Pineal gland) ในสมอง และควบคุมการหลับการต่ืนช่ือว่า เมลาโทนินเพิ่มขึ้น นักวิทยาศาสตร์ เชื่อว่า เมลาโทนนิ มีความสัมพันธก์ ับการท�ำงานของร่างกาย ทีส่ �ำคัญคอื การรกั ษาและปอ้ งกนั โรค 3) ผลของการปฏบิ ัติสมาธติ อ่ การเปล่ยี นแปลงด้านจติ ใจ ผลของการวิจัยด้านจิตวิทยาพบว่า ความเครียดมีหลายรูปแบบ และกลไกของ ความเครียดมีผลต่อความสมดุลของไฮโปธาลามัส ต่อมใต้สมองและต่อมหมวกไต การศึกษาสัตว์ ทดลอง พบว่า สัตว์ที่มีความเครียดเรื้อรัง จะมีระดับสารคอร์ติซอลในเลือดสูง การปฏิบัติสมาธิ ชีก่ ง (Qi gong) ท�ำให้ความเครียดลดลง การทำ� งานของระบบประสาทและสมองสว่ นธาลามัสและ การท�ำงานของร่างกายและจิตใจดีขึ้น สร้างภูมิคุ้มกัน ระดับฮอร์โมนในร่างกาย เช่น เอนดอร์ฟิน เพม่ิ ขึ้น ดงั นนั้ การปฏิบตั สิ มาธิจึงเปน็ วธิ หี น่งึ ในการรกั ษาความวติ กกังวล เพอ่ื ใหก้ �ำกับและควบคุม ตนเองได้ การปฏิบัติสมาธิพุทธแบบเซน รักษาและป้องกันโรคเจ็บป่วยทางกายซึ่งสัมพันธ์กับจิต หลายๆ โรค (Phychomatic disorders) เชน่ ผู้ป่วยที่มคี วามวิตกเรอื้ รงั ปฏิบตั สิ มาธิแบบหวั เราะ (Laughing meditation) นอกจากนั้น การปฏิบัติพุทธสมาธิข้ันสูงหรือวิปัสสนากัมมัฏฐาน 7 วัน เพิ่มความม่ันใจ ลดความเครียดได้ การปฏิบัติสมาธิแบบกุนดาลินีหรือจักรา ท�ำให้มีสติดีขึ้น แม้สมาธจิ ะมีผล ลดความเครียด แตถ่ า้ ไมป่ ฏิบัตติ อ่ เนอ่ื งความเครยี ดกก็ ลับมา กรมสนับสนนุ บริการสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข 197

การปฏิบัติสมาธิเพื่อส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตเกิดประโยชน์มาก ผู้ฝึกมี ความเชอ่ื มนั่ ตนเองเพม่ิ ขน้ึ ชว่ ยฟน้ื ฟสู ขุ ภาพผปู้ ว่ ยโรคหวั ใจ ลดความเครยี ด ทำ� ใหม้ พี ฤตกิ รรมดขี น้ึ โดยเฉพาะการปฏิบัติสมาธิท่ีมีการออกก�ำลังกายร่วมด้วย เช่น โยคะ (Yoga) ไทชิ (Tai Chi) ทั้งสองวิธีช่วยในการป้องกันโรคหัวใจ สมาธิจึงเป็นกลยุทธ์ท่ีดีในการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง เป็น รปู แบบบรหิ ารจัดการความเจบ็ ปว่ ยโดยใชแ้ นวคิดเรอ่ื งการดแู ลตนเอง และการรักษาโรคดว้ ยตนเอง การทำ� สมาธิ ตวั เราประกอบดว้ ยกายและจติ ทงั้ กายและจติ มคี วามไมเ่ ทย่ี งแทแ้ นน่ อนอยเู่ ปน็ ธรรมดา วิชาควอนตัมฟิสิกส์อธิบายว่า สรรพส่ิงในโลกในจักรวาลล้วนประกอบข้ึนด้วยมวลสารและพลังงาน ซึ่งแปลเปลย่ี นสกู่ ันและกนั ไม่สิน้ สดุ กลา่ วสำ� หรับรา่ งกายของคนเรา รา่ งกายประกอบข้ึนดว้ ยเซลล์ แต่ละเซลลป์ ระกอบดว้ ย โมเลกุลของโปรตนี ไขมนั คาร์โบไฮเดรต แต่ละโมเลกุลของสารชวี เคมเี หล่านล้ี ้วนประกอบข้ึนดว้ ย อะตอมของคาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน และไนโตรเจน แต่ละอะตอมประกอบด้วย โปรตรอน นิวตรอน และอิเลคตรอน เล็กลงไปจากโปรตรอน นิวตรอน อิเลคตรอน ก็คือสารก่อนอะตอม (Pre Stomic Particle) เรียกวา่ ควา้ ก (Quark) วิชาควอนตัมฟิสิกส์กล่าวว่า หน่ึงโปรตรอนมี 3 คว้าก หนึ่งนิวตรอนมี 3 คว้าก สารกอ่ นอะตอมเหลา่ นมี้ คี ณุ ลกั ษณะคอื มลี กั ษณะเปน็ อนภุ าค กห็ ายไปกลายเปน็ พลงั งาน กลบั เปน็ อนุภาคเลก็ แปรเปลย่ี นกลับไปกลบั มาเช่นนีต้ ลอดเวลาดว้ ยความเร็ว นั่นแปลว่าร่างกายคนเราท่ีแท้จริงแล้วมีอาการเกิดข้ึน ต้ังอยู่ ดับไป ทุกเส้ียววินาที เช่นเดียวกัน แต่ประสาทสัมผัสของตัวเราเองจับความเปลี่ยนแปลงนั้นไม่ได้ จึงรับรู้เพียงแต่ว่ามี การด�ำรงอยขู่ องตวั เรา เกิดการยดึ มั่นถือมนั่ กลายเป็นอัตตาตัวตน ด้วยเหตุนี้พระพุทธศาสนาจึงอธิบายเรื่องราวของร่างกายและจิตใจว่า สรรพส่ิงท่ีรับรู้ ว่าเป็นสัจจะนั้น แท้จริงพึงจ�ำแนกเป็น 2 อย่าง หนึ่งคือ สมมติสัจจะ (ความจริงโดยสมมติ) และ ปรมตั ถสจั จะ (สง่ิ ทแี่ ทจ้ รงิ ) ส่งิ ทจ่ี รงิ แท้ท่วั ท้ังจักรวาลจำ� แนกไดเ้ พยี ง 4 อย่าง คือ จติ เจตสกิ รูป และนิพพาน จติ ไดแ้ ก่ ธรรมชาติทีร่ ู้อารมณ์ จติ เป็นส่วนของ นาม ท่อี ยู่ในตวั เรา จติ มีสภาพทีแ่ ท้คือ ความผ่องใส ไรม้ ลทิน 198 เอกสารความรู้ ผู้ด�ำ เนนิ การสปาเพื่อสขุ ภาพ

เจตสกิ ไดแ้ ก่ ธรรมชาตทิ เี่ กดิ ในจติ อาศยั จติ เกดิ เปน็ สว่ นของนาม แฝงอยใู่ นจติ ทำ� ให้ จติ เกดิ สสี นั ของอารมณ์ต่างๆ ตามชนดิ ของเจตสิก เชน่ วติ กเจตสกิ โลภเจตสกิ โทสะเจตสกิ ทำ� ให้ จิตมีคุณภาพ เป็นอารมณ์ของ วิตก โลภ โทสะ ตามไปด้วย ถ้ามีฉันทเจตสิก ปีติเจตสิก ปัญญา เจตสิก ก็ท�ำใหม้ คี วามหลงใหล ดใี จ หรือมีปญั ญาตามชนิดของเจตสกิ ทผี่ สมกับดวงจิต รูป ได้แก่ ธรรมชาติที่มีการย่อยยับแตกสลาย เพราะถูกส่ิงอ่ืนท่ีขัดแย้งกันเบียดเบียน รา่ งกายของเราที่แท้จรงิ เป็น สมมตริ ปู ประกอบขนึ้ ดว้ ยปรมัตถท์ ีเ่ รียกวา่ มหาภูตริ ปู ส่ี ได้แก่ ธาตดุ นิ มีลักษณะคอื ความแขง็ ความอ่อน ธาตุไฟ มลี ักษณะคอื ความร้อน ความเยน็ ธาตนุ �้ำ มลี กั ษณะคือ การไหล การเกาะกุม ธาตุลม มลี กั ษณะคอื ความหย่อน ความตงึ ร่างกายประกอบขึ้นด้วยมหาภูติรูปเหล่าน้ีท่ีผสมกันในสัดส่วนท่ีเหมาะสม เกิดเป็นสุข ภาพท่ีดี ถ้ามีสิ่งอ่ืนที่มาเบียดเบียนกระทบให้เสียสมดุลไปก็เป็นเหตุให้เกิดโรค แต่ไม่เฉพาะรูป เท่านั้น ตัวเราต้องประกอบด้วยนามเข้าไปด้วยคือจิตและเจตสิกจึงจะเกิดเป็นตัวเรา ทางพระเรียก วา่ ประกอบด้วยขันธ์หา้ นิพพาน ได้แก่ ธรรมชาติที่สงบ พ้นจากกิเลส จากรูปขันธ์ ตราบเท่าที่ยังไม่บรรลุ นพิ พาน กต็ ้องเวยี นว่ายตายเกดิ ประกอบตวั เราข้นึ มาจากปรมัตถสจั จะทง้ั 3 ประการแรก คอื จิต เจตสิก และ รูป พระพทุ ธศาสนายังกล่าวไวอ้ ีกว่า สงิ่ ท่ที �ำใหเ้ กิดรูปมี 4 ประการ คือ กรรม จติ อุตุ และ อาหาร ซ่ึงการบริหารจิต 3 ระดับ กล่าวเฉพาะ การบริหารจิตเพื่อลดความตึงเครียด ป้องกัน รักษาโรคได้ การบริหารจติ แบง่ ได้เป็น 3 ระดับ คอื ระดับต้น ได้แก่การเบี่ยงเบนความสนใจจากความคิดหรืออารมณ์ที่หมกมุ่นอยู่ เช่น ไปสนทนาวิสาสะกับเพื่อน ไปดูหนัง หรือท�ำกิจกรรมอ่ืนๆ วิธีเหล่านี้มีผลระดับต้ืนๆ คอื ลดความเครยี ดไดช้ วั่ ขณะ ระดับกลาง ได้แก่การปฏิบัติทางกายท่ีส่งผลต่อจิตใจอย่างมีกระบวนการ เช่น การออกก�ำลังกาย การฝึกซี่กง ฝึกโยคะ การฝึกพลังเกราะชีวภาพ วิธีเหล่าน้ีมีผลในระดับกลาง ส่งผลต่อระบบอัตโนมัติของร่างกาย 3 ระบบ ได้แก่ ระบบประสาท ระบบฮอร์โมน และระบบภูมิ ต้านทานของรา่ งกายได้ การออกก�ำลงั กายแบบตะวันออกยงั เป็นการเปดิ รบั คลนื่ พลงั จากธรรมชาติ เสริมเตมิ พลังของรา่ งกายใหเ้ กิดความสมดุล กรมสนับสนนุ บรกิ ารสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข 199

ระดับลึก ได้แก่การปฏิบัติทางจิตโดยตรง เพียงช่วยสงบจิตใจแต่ส่งผลให้เกิด ความเจรญิ ทางจติ ใจด้วย อาจเรียกอีกนัยหนึ่งว่าการภาวนา ซึ่งแปลวา่ การทำ� ใหม้ ขี ้นึ เจริญขึ้น หรอื การบ�ำเพ็ญเพยี รตามหลกั พุทธศาสนา มี 2 อยา่ ง คือ สมถภาวนาหรือสมถกมั มัฏฐาน และวิปสั สนา ภาวนาหรือวปิ สั สนากัมมัฏฐาน สมถกมั มฏั ฐาน เป็นการฝึกอบรมจติ ใหเ้ กดิ ความสงบ ให้ใจเปน็ สมาธิ วปิ สั สนากมั มฏั ฐาน เปน็ การฝกึ อบรมปญั ญาใหเ้ กดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจตามความเปน็ จรงิ หลักและการปฏิบัตสิ มถกมั มัฏฐาน สมถกัมมัฏฐาน หรอื การท�ำสมาธิเพอ่ื ความสงบ มขี น้ึ มานานแลว้ กอ่ นพทุ ธกาล โยคีใน อินเดียหรือเต้าหยินในจีนตั้งแต่ 3,000 – 5,000 ปีก่อน ต่างต้องละความวุ่นวายในโลกียวิสัยหรือ ความเครยี ด จงึ ตา่ งแสวงหาวธิ ปี ฏบิ ตั จิ ติ เพอ่ื ความสงบ ซงึ่ ลว้ นอยใู่ นหลกั การของ สมถกรรมฐานทงั้ สน้ิ วิธีการเหล่านต้ี กทอดมาถึงปัจจุบนั เปน็ การท�ำสมาธใิ หจ้ ิตนิง่ หลักการของสมถกัมมัฏฐานคือ ใช้จิตผูกไว้กับสิ่งใดสิ่งหน่ึงให้แน่วแน่ อยู่ในอารมณ์ เดียวกับสิ่งน้ันไม่ปล่อยให้ส่ิงอื่นรบกวนจิตใจ เช่น เพ่งลมหายใจเป็นอารมณ์ เพ่งน้�ำเป็นอารมณ์ เพ่งไฟเป็นอารมณ์ เพ่งปฐพีเป็นอารมณ์ เพ่งช่องว่างเป็นอารมณ์ เป็นต้น ท�ำอยู่เช่นนั้นจนจิตน่ิง ท่เี รยี กว่าสมาธใิ นระดบั ต่างๆ คอื • ขณกิ สมาธิ • อปุ จารสมาธิ • อัปปนาสมาธิ จากนั้นจิตจะเข้าสู่ฌาน มีภาวะจิตท่ีสงบประณีต ซึ่งแบ่งได้เป็นช้ันต่างๆ เรียกว่า ฌาน 4 ได้แก่ • ปฐมฌาน ภาวะจิตเป็นสมาธิมี วติ ก วิจาร ปีติ สุข และ เอกคั คตา • ทตุ ยิ ฌาน จิตละซ่งึ วติ ก วจิ าร เหลอื แต่ ปตี ิ สขุ และ เอกัคคตา • ตติยฌาน จิตละซ่ึงปตี ิ เหลอื แต่ สขุ และ เอกัคคตา • จตตุ ถฌาน จิตละซงึ่ สุข เหลือเป็นเอกัคคตา 200 เอกสารความรู้ ผดู้ �ำ เนินการสปาเพอื่ สุขภาพ

มงี านวจิ ยั จำ� นวนมากทพี่ สิ จู นว์ า่ การทำ� สมาธถิ งึ ระดบั ฌาน สามารถลดอตั ราเผาผลาญ ของรา่ งกาย ความดนั เลอื ด อตั ราเตน้ ของหวั ใจ และหายใจลดนอ้ ยมาก ซงึ่ แสดงวา่ การทำ� สมถกรรมฐาน สามารถลดความตึงเครียดได้ ใช้ความสงบทางจิตใจ น�ำไปสู่ความสงบของร่างกายสังขาร ซ่ึงก็คือ ระบบสรีรวิทยาของรา่ งกายทัง้ ระบบ รศ.พญ.จิรพรรณ มัธยมจันทร์ บรรยายโดยอ้างถึงงานวิจัยที่พิสูจน์การเปล่ียนแปลง ระบบสรีระดงั น้ี แสดงการเปลยี่ นแปลงของกายสังขารในสมาธิ ชีพจร หายใจ ความดนั เลอื ด ความดนั เลือด (คร้ัง/นาท)ี (ครั้ง/นาท)ี (คร้ัง/นาที) (มม.ปรอท) กอ่ นสมาธิ 74 16 110/70 ขณิกสมาธิ 69 16 110/70 อปั ปนาสมาธิ 62 17 100/70 ปฐมฌาน 34 16 90/70 นายแพทยช์ ินโอสถ หสั บ�ำเรอ ไดท้ ดลองกับตัวเองโดยทำ� สมาธจิ นถึงขั้นปฐมฌาน และ ให้พยาบาลวดั ความดนั ชพี จร พบวา่ กอ่ นสมาธ ิ ความดันเลอื ด 120/70 มม.ปรอท ชีพจร 70 ครง้ั /นาที ปฐมฌาน ความดนั เลอื ด 60/0 มม.ปรอท ชีพจร 0 ครงั้ /นาที เหล่านี้คืออานุภาพของการบริหารจิตแบบสมถกัมมัฏฐาน ซ่ึงลดความเครียดได้ กล่าว ส�ำหรับวิปัสสนากัมมัฏฐานน้ัน พระพุทธเจ้าสมัยท่ีทรงผนวชใหม่ ได้ฝึกฝนกับอาจารย์สองรูป คือ อาจารย์ อาฬารดาบสและอทุ กดาบสจนช�ำนาญ เขา้ ถงึ ฌานแปด คอื รูปฌานส่ี และอรูปฌานสี่ แต่ก็ พบว่าไม่ใช่หนทางการเกิดปัญญาหรือการหลุดพ้นได้ จึงได้หันไปปฏิบัติด้วยพระองค์เองจนค้นพบ วิธที เี่ รียกว่า วปิ สั สนากรรมฐาน อันเป็นหนทางอนั เกิดปญั ญา หลักและวธิ กี ารวิปสั สนากรรมฐานมี รายละเอยี ดอกี มาก สำ� หรบั การปฏบิ ตั สิ มาธแิ บบสมถกมั มฏั ฐาน สถานประกอบการสปาเพอื่ สขุ ภาพ อยใู่ นวิสยั ที่จะจดั บรกิ ารไดโ้ ดยหาวทิ ยากรท่ีมีความรู้และประสบการณ์ในด้านน้ี การเจริญสติ ไดฝ้ ึกการเจรญิ สตอิ ีกแนวทางหน่ึง คือการเจรญิ สตดิ ว้ ยการสรา้ งจังหวะ การเคลือ่ นไหวมอื 14 จังหวะ (หลวงปเู่ ทียน จติ ตสโุ ภ) ใช้การเคล่ือนไหวมอื เปน็ จังหวะๆ เพอ่ื สร้าง พลังสติ จนเกิดภาวะสติตั้งม่ัน แล้วเกิดปัญญาในท้ายสุด กรมสนบั สนนุ บริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข 201

พละหา้ หรอื กำ� ลงั ทงั้ หา้ เปน็ เครอ่ื งเกอื้ หนนุ ใหแ้ กอ่ รยิ มรรค หมายความวา่ การทค่ี นเรา จะได้ดวงตาเห็นธรรม ต้องอาศัยก�ำลังท้ังห้าเป็นอุปกรณ์พาไป บางทีเรียกว่าอินทรีย์ห้าก็ได้ ได้แก่ สัทธา วริ ยิ ะ สติ สมาธิ และปัญญา อธบิ ายความสมั พันธข์ องพละทง้ั หา้ ได้ดังนค้ี อื คนเราจะท�ำอะไรส�ำเร็จ ต้องมีศรัทธาก่อนเป็นเบื้องแรก ต่อมาต้องมีความวิริยะใน การปฏิบัติ ระหว่างการปฏิบัตินั้นต้องประกอบด้วยสัดส่วนของพลังสมาธิและพลังสติให้พอเหมาะ ไม่มากไม่น้อยเกินไป ถ้าพลังสมาธิแรงมากเกินไปจนเป็นพลังที่น�ำหน้า อาจพาให้หลงไปใน ทางสมถกัมมัฏฐาน ต้องผ่อนพลังสมาธิและเพ่ิมพลังสติ ให้สติมีก�ำลังแรง สติที่มีก�ำลังจะก�ำกับ รู้ทนั การณแ์ ตล่ ะขณะทเ่ี ข้ามากระทบจติ รบั รูแ้ ล้วปลอ่ ย ย่ิงรบั รู้และปลอ่ ยมากครง้ั เท่าไร สตกิ ็ยิง่ เกดิ ความช�ำนาญ จนถึงภาวะที่สติตั้งมั่น สุดท้ายจะเกิดพลังที่ห้า คือปัญญาพละ จ�ำแนกได้ซึ่งรูปแบบ และเหน็ ซงึ่ ขนั ธห์ า้ แล้วปล่อยวาง ทีนี้ด้วยธรรมชาติของจิต จิตเกิดข้ึน ดับไปพร้อมกับเจตสิก มีความโลภ ความโกรธ ความหลงเป็นต้น อารมณ์เหล่านี้จะกระทบจิตและท�ำให้จิตเศร้าหมอง เกิดเป็นความทุกข์ ถ้าเรา ปล่อยให้จิตคลกุ เคล้ากบั อารมณ์น้นั ๆ ซึ่งคนเรามักจะคิดไปในสองทาง หนึ่ง คอื คิดเร่ืองอดตี มีเรอื่ ง ทท่ี ำ� ใหโ้ กรธ ใหเ้ ศรา้ เสยี ใจ คดิ มาแลว้ กเ็ ปน็ ทกุ ข์ สองคอื คดิ เรอื่ งอนาคต ลว้ นแตเ่ ปน็ เรอื่ งทที่ ำ� ใหว้ ติ ก กังวล คิดขึ้นมาแล้วกเ็ ป็นทกุ ข์ อยา่ งน้ีเรียกว่า ความหลง ซ่ึงลว้ นกอ่ ทุกข์ท้งั ส้ิน ถ้าปรับเสียใหม่ คือ คิดแต่เรื่องปัจจุบัน มีสติอยู่กับปัจจุบัน ปัจจุบันคือก�ำลังยกมือ เคลอ่ื นไหว 14 จงั หวะ ถา้ ถามวา่ ปจั จบุ ันทกุ ข์หรอื ไม่ ค�ำตอบคอื ไม่ทุกข์ เมือ่ ไม่ทุกข์กค็ ือสุข ซ่ึงเท่ากบั สอนตวั เองวา่ เมอื่ ใดก็ตามท่ีหลงไปอยกู่ ับอดตี กเ็ ปน็ ทุกข์ หลงสติอยกู่ ับอนาคตกเ็ ป็นทกุ ข์ แตถ่ ้าไม่หลง คือ มสี ตอิ ยกู่ บั ปจั จบุ นั กไ็ มท่ กุ ข์ เปน็ สขุ ทเ่ี หน็ ๆ อยตู่ อ่ หนา้ กลายเปน็ การพน้ ทกุ ขไ์ ปในเดยี๋ วนน้ั อาการ เหลา่ นที้ า่ นอาจารยพ์ ทุ ธทาสเรยี กวา่ นพิ พานชมิ ลอง คอื ถงึ ซงึ่ ความพน้ ทกุ ขใ์ นแตล่ ะขณะจติ ทมี่ สี ติ รตู้ ัวท่วั พร้อมอยกู่ ับปจั จบุ นั ระหวา่ งทใ่ี ชส้ ตกิ ำ� กบั การเคลอื่ นไหว ใหส้ ตติ ดิ ตามกายเคลอ่ื นไหวไปเรอื่ ยๆ แตช่ ว่ั แวบเดยี ว จิตก็คิดเร่ืองอดีต ก็ให้มีสติ รู้ตัวว่าคิด เพียงเท่าน้ันความคิดก็จะกลับมาอยู่ท่ีเคล่ือนไหวมือ สักครู่ จิตอาจคิดเรื่องอนาคต ก็ให้มีสติ รู้ตัวว่าคิด เพียงเท่านั้นความคิดก็จะกลับมาอยู่ท่ีเคลื่อนไหวมือ ทำ� ไปเร่อื ยๆ ใช้เวลาตามทีต่ นพอใจ ระหว่างน้นั ปล่อยให้สติเฝ้าการเคลอ่ื นไหวมือไปเร่ือยๆ คอยจบั อารมณท์ นั ทีท่กี ระทบกเ็ ปล่ียนหลงเปน็ รู้ เปลย่ี นหลงเปน็ รไู้ ปเร่ือยๆ 202 เอกสารความรู้ ผ้ดู ำ�เนินการสปาเพอ่ื สุขภาพ

วธิ นี ท้ี ำ� งา่ ย และสะดวกสบายกวา่ การนง่ั หลบั ตาทำ� สมาธิ หรอื กำ� หนดลมหายใจ ดงั นคี้ อื การนงั่ หลับตา อาจเผลอหลบั ได้ง่าย ซ่งึ ก็ไม่ได้ท้งั สมาธิ และไมไ่ ด้ท้ังสติ การนงั่ หลบั ตา จิตอาจฟุง้ ไปเร่อื ย เร่อื งแล้วเรื่องเล่า พอนง่ั สมาธจิ บ กไ็ มเ่ กดิ ผลใดๆ จิต ไม่เป็นสมาธิ ซำ�้ อาจทำ� ใหเ้ สยี ก�ำลงั ใจ แต่การเจริญสติ โดยไม่ต้องหลับตา ท�ำให้ไม่ค่อยเผลอหลับ เม่ือจิตหลงไปคิดเร่ืองอ่ืน สตกิ ร็ ตู้ วั เทา่ กบั ฝกึ พลงั ของสตใิ หแ้ ขง็ แรงขนึ้ หลงไป 10 หน สตกิ ไ็ ดฝ้ กึ พลงั 10 ครง้ั หลงไป 100 หน สตกิ ็ไดฝ้ ึกพลัง 100 ครง้ั เปรียบเสมอื นนกั เพาะกาย ยกลูกนำ้� หนัก 1 หน กล้ามเนื้อแข็งแรง 1 ครั้ง ยกลูกน�้ำหนกั 10 หน กล้ามเนอื้ แขง็ แรง 10 ครั้ง ถามวา่ ยกลูกนำ้� หนักนอ้ ยครงั้ หรือมากคร้งั ดี ตอบวา่ ยกมากครัง้ ดีกว่า ฉนั ใดก็ฉนั นัน้ ถา้ ถามว่า การเจริญสตวิ ธิ นี ้ี จติ หลงไปน้อยครัง้ หรอื มากครั้งดี ตอบวา่ หลงมากครัง้ ดีกว่า เพราะสติ ไดฝ้ ึกมากครง้ั สติกย็ ่งิ แข็งแรง มีพลงั มากข้นึ ตามลำ� ดับ ดังน้ัน การเจริญสตจิ ึงไมก่ ลวั ว่าจติ หลง แตท่ า้ ให้จิตหลงแล้วมีสตใิ หค้ วามคิดวกกลบั มา ทเี่ คลอ่ื นไหวมอื ดว้ ยเหตนุ ้ี เมอื่ จบการเจรญิ สตแิ ตล่ ะครง้ั จงึ ไมต่ อ้ งมคี ำ� วา่ เสยี กำ� ลงั ใจ เพราะยงิ่ หลง มากครง้ั กย็ ง่ิ ดแี กก่ ารฝกึ ฝน เพยี งแตว่ า่ ผทู้ ย่ี งั ไมช่ ำ� นาญหรอื อยใู่ นภาวะอารมณร์ นุ แรงมาก อารมณ์ ที่กระทบจิตแต่ละครั้งจะมีพลังมากกว่าสติ ท�ำให้สติหลงไปเกลือกกลั้วกับอารมณ์เป็นเวลานาน เสยี เวลาไปกบั ความหลง แตเ่ ม่อื ท�ำบอ่ ยเข้าจนชำ� นาญ สตมิ พี ลังเขม้ แขง็ ข้นึ สตกิ ร็ ทู้ ันเร็วขึ้น หลวงพ่อค�ำเขยี น สวุ ัณโณ วดั สคุ ะโต อ.แกง้ ครอ้ จ.ชยั ภูมิ ซ่ึงเปน็ ลูกศษิ ย์หลวงปเู่ ทยี น กลา่ วเปรียบเทยี บไว้วา่ สตเิ ป็นแมว กิเลสเหมอื นหนู การฝึกเจริญสติก็เหมือนการฝึกแมวให้เก่งให้ช�ำนาญ หนูโผล่มาก็จับได้แล้วปล่อย จบั ได้แล้วปลอ่ ย ไปเร่อื ยๆ สดุ ทา้ ยพลังของสติเขม้ แขง็ ขึ้น ก็จะรู้เท่าทนั กเิ ลส การเดินจงกรม การเจริญสตใิ นอกี รปู แบบอกี อย่างหนง่ึ คือ การเดินจงกรม ซง่ึ มีวิธกี าร ท่ีแตกต่างกับการเดินจงกรมเพื่อท�ำสมาธิ กล่าวคือให้เดินไปตามปกติแบบสบายๆ ไม่ต้องก�ำหนด ยก ย่าง วาง ไม่ต้องใช้ค�ำภาวนา ยกหนอ ย่างหนอ วางหนอ ซ่ึงอาจเป็นการเพ่งจ้อง เดินแล้ว ตกเขา้ ไปสู่การท�ำ สมถกัมมัฏฐาน แต่เดินจงกรมเพื่อเจริญสติ ให้เดินตามสบาย อาจประสานมือไว้ข้างหลัง หรือเดิน กอดอกเบาๆ ก็ได้ สายตามองผ่อนคลายไปสบายๆ กม็ ีสตริ ู้ตวั วา่ เดนิ ร้วู า่ เดิน รวู้ ่าเดนิ ไปเรือ่ ยๆ ตามองไปไกลๆ เห็นอะไรก็สักแต่ว่าเห็น ไม่ต้องตีความในส่ิงที่เห็น แต่ใช้สติรู้ว่าเดิน รู้แบบเบาๆ ระหว่างนัน้ มอี ารมณ์ใดกระทบ ก็ใหร้ ู้ตวั รูแ้ ล้ววาง ร้แู ล้ววาง ไปเร่ือยๆ กรมสนบั สนนุ บริการสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ 203

เจรญิ สตนิ อกรปู แบบ วธิ นี คี้ อื การดำ� รงสตใิ นอริ ยิ าบถประจำ� วนั สลบั กบั การทำ� ในรปู แบบ ทั้งน่งั เคล่อื นไหวมือ หรือเดนิ จงกรม และยงั พงึ ปฏบิ ตั นิ อกรปู แบบคอื ทำ� อะไรกใ็ ห้มีสตกิ �ำกับว่ากาย ก�ำลงั ท�ำอะไรอยู่ เช่น กนิ กร็ ู้ว่ากิน นงั่ กร็ วู้ า่ นง่ั เขา้ หอ้ งน้ำ� ท�ำธรุ ะก็รู้วา่ ทำ� ธุระ ฝกึ ไปเร่ือยๆ นานเขา้ จะถึงจุดท่ีอินทรีย์ของสติมีก�ำลังกล้าแข็ง เรียกว่า สติตั้งมั่น ในสภาวะอย่างน้ัน เราจะรู้สึกตัวเบา เห็นอะไรก็สักแต่ว่าเห็น รู้จิต เห็นจิต เพราะเราไม่ได้ปล่อยจิตไปคลุกเคล้ากับภาพที่เห็น หรือกาย สัมผัสท่ไี ดร้ บั แตส่ ตอิ ยู่กับปจั จบุ ัน การเคลอื่ นไหวกายไปเร่อื ยๆ มสี ตอิ นิ ทรยี แ์ กก่ ลา้ จะคอ่ ยจำ� แนกรปู นามได้ เมอ่ื เดนิ สตขิ องเราซงึ่ กค็ อื นาม กม็ องเหน็ วา่ รูปเดนิ เมอ่ื กนิ นามก็จะเหน็ ว่ารปู กนิ เป็นเช่นน้ีไปเร่ือยๆ ซึ่งลว้ นอยใู่ นวถิ ขี องการเกดิ ปญั ญา ในทางปฏิบัติ การเจริญสติให้รู้ตัวอยู่กับปัจจุบัน เป็นการไม่ปล่อยจิตให้หลงไปกับ ความทุกข์ ความโกรธ ความเศร้าหมอง นั่นย่อมเป็นการลดความเครียดที่เป็นสาเหตุของ การเกิดอัมพาตอยู่ในตัวแล้ว เม่ือไม่ทุกข์ก็ไม่เครียด เมื่อไม่เครียดก็เป็นเหตุให้ลดความดันเลือด ลดอัตราเตน้ หวั ใจ ลดน�ำ้ ตาลในเลือด เพิม่ ภูมติ ้านทาน เหล่านเ้ี ป็นต้น วิธีบริหารจิตด้วยการเจริญสตินี้ อาจเป็นรูปแบบบริการอีกอย่างหน่ึงในสถานประกอบ การสปาเพ่อื สขุ ภาพ โดยจัดหาวิทยากรทีม่ ีความรแู้ ละประสบการณค์ อยใหก้ ารชแ้ี นะ สรุป การป้องกันรักษาโรคด้วยธรรมะบ�ำบัด เป็นการใช้ธรรมชาติมาป้องกันบ�ำบัดโรค มีหลักส�ำคัญท่ี อาหาร การบริหารกาย และการบริหารจิต การบริหารจิตที่ส�ำคัญได้แก่ การปฏิบัติกัมมัฏฐานเพ่ือลดความเครียด พักจิต และการปฏิบัติเจริญสติ เพ่ือเปล่ียนหลงเป็นรู้ สรา้ งพลงั สติ พน้ จากอารมณต์ า่ งๆทโ่ี นม้ นำ� เราไปสคู่ วามทกุ ข์ จงึ ใชไ้ ดท้ ง้ั ปอ้ งกนั และสง่ เสรมิ สขุ ภาพ 204 เอกสารความรู้ ผูด้ ำ�เนินการสปาเพ่อื สขุ ภาพ

3.10 โภชนาการเพื่อสุขภาพ อาหารและเคร่ืองดืม่ เพือ่ สขุ ภาพ เปน็ กระแสบริโภคนยิ มทีแ่ พรห่ ลายอยา่ งยิ่ง เนอื่ งดว้ ย สังคมปัจจบุ นั ให้ความส�ำคัญต่อการดแู ลและสรา้ งเสริมสุขภาพ เพื่อเลย่ี งอาการเจ็บป่วย แม้รปู แบบ วัตถุดิบ ส่วนประกอบ การจัดเตรียม ตลอดจนกรรมวิธีในการปรุงแต่งอาหารและเคร่ืองดื่ม เพอื่ สขุ ภาพ จะมคี วามหลากหลาย แตกตา่ งกนั ไปตามบรบิ ทของพนื้ ที่ วฒั นธรรมและความนยิ มของ ผู้บรโิ ภค แตอ่ าหารและเครอ่ื งดมื่ เพอื่ สุขภาพยังคงไว้ซงึ่ คณุ ค่าทางโภชนาการ อาหารและเคร่ืองดื่มเพ่ือสุขภาพ เป็นบริการเสริมท่ีสถานประกอบการเพื่อสุขภาพอาจ จดั ไว้ เพอ่ื ใหม้ รี ปู แบบการบรกิ ารตามแนวคดิ และแผนงานทกี่ ำ� หนด ผดู้ ำ� เนนิ การสปาเพอื่ สขุ ภาพจงึ ควรมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเรอ่ื งคณุ คา่ อาหารและเครอื่ งดมื่ เพอื่ สขุ ภาพ ในระดบั ทสี่ ามารถใหค้ ำ� แนะนำ� แก่ผู้รับบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงรวบรวมความรู้เบื้องต้น เรื่อง อาหารและเครื่องด่ืมเพื่อ สุขภาพไวโ้ ดยสงั เขป ดังนี้ 1) ความหมายของอาหารและเคร่ืองดื่มเพื่อสุขภาพ สำ� นกั งานอาหารและยา ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ใหค้ วามหมายของอาหารเพอ่ื สขุ ภาพวา่ เปน็ อาหารทป่ี รงุ ขนึ้ ดว้ ยสว่ นประกอบทใ่ี หค้ ณุ ประโยชนต์ อ่ สขุ ภาพ และลดความเสย่ี งตอ่ การเกดิ โรค หรอื เกดิ ปญั หาสขุ ภาพจากอตั ราสว่ นในอาหาร เชน่ มปี รมิ าณนำ�้ ตาล เกลอื หรอื ไขมนั ตำ่� นอกจากนี้ สถาบนั สขุ ภาพแห่งชาติ ประเทศสหรฐั อเมริกา (National Institute of Health, USA) ยงั ก�ำหนด มาตรฐานโภชนาการ อาหารและเครื่องด่ืมเพ่ือสุขภาพ ต้องจัดเตรียมด้วยหลักการเพ่ือเสริมสร้าง พลงั งาน และสุขภาวะของผูบ้ ริโภค กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข 205

2) หลักการประกอบอาหารและเคร่ืองดื่มเพ่ือสุขภาพในสถานที่ท่ีมีข้อจ�ำกัด การบรกิ ารอาหารและเครอ่ื งดมื่ ในสปา จะถกู กำ� หนดตามแนวคดิ ขนาด และ ลกั ษณะเฉพาะ ความตอ้ งการของกลมุ่ ลกู คา้ เปา้ หมายของแตล่ ะสปา อาจกำ� หนดเพยี งรายการอาหาร หรอื เครอ่ื งดม่ื ทค่ี ดิ รปู แบบตามหลกั โภชนาการพนื้ ฐาน เตรยี มงา่ ย สะดวก โดยคำ� นงึ ถงึ หลกั พนื้ ฐานในการบรโิ ภค เพือ่ สขุ ภาพ 10 ประการ ได้แก่ 2.1) ปรงุ ดว้ ยสว่ นประกอบท่มี ีความสด ใหม่ เพ่ือใหไ้ ดค้ ุณภาพอาหารสงู สดุ 2.2) ใช้ส่วนประกอบท่ีมีอัตราส่วนของเกลือต�่ำ ในส่วนประกอบธรรมชาติมักจะมี อตั ราสว่ นของโซเดียมแฝง 2.3) ใช้ส่วนประกอบท่ีมีอัตราส่วนของน�้ำตาลต�่ำ เลี่ยงการใช้น้�ำตาลฟอกขาว เพม่ิ น�้ำตาลหรอื นำ�้ ผ้ึง เพม่ิ รสหวาน แนะน�ำใหใ้ ช้รสหวานของพืชธรรมชาติแทนนำ�้ ตาล 2.4) ใช้ส่วนประกอบที่มีอัตราส่วนของไขมันต่�ำ แม้ร่างกายจ�ำเป็นต้องมีปริมาณไขมัน อยู่บ้าง แต่ต้องการไขมันที่ดีต่อสุขภาพ เช่น น�้ำมันมะกอก และควรแยกส่วนไขมันที่เห็นชัดเจน ในโปรตนี (เนือ้ สัตว)์ ออกกอ่ นปรงุ 2.5) ใชส้ ว่ นประกอบที่หาได้ตามฤดูกาล ซงึ่ จะมีคณุ ภาพ ความสด รสกลมกล่อม และ ราคาเหมาะสม 2.6) เลือกใช้ส่วนประกอบคุณภาพ โดยสังเกตสีผัก ผลไม้สด เช่น ผักชี ควรเลือก สเี ขียวเขม้ 2.7) ประเมินความสมดุลของประเภทอาหาร ปริมาณ ลักษณะ และรสที่น่าพึงพอใจ เลือกบริโภคอาหารท่ีหาง่ายตามฤดูกาลเพ่ือการบริโภคอาหารคุณภาพสูง มีความสด เก็บรักษา ถูกต้องตามหลักโภชนาการ มกี ารเตรยี ม ปรงุ และบริการทีร่ วดเร็ว 2.8) ให้ความส�ำคัญเร่ืองการปรุงรสให้เกิดความพึงพอใจ แทนการคิดรายการ หลากหลายท่จี ะเป็นอุปสรรคในการปฏบิ ตั ิงานหลกั (การบริการนวด และบำ� บัดดว้ ยนำ�้ ) 2.9) การน�ำเสนออัตลักษณ์ของไทย ด้วยการใช้พืช ผักสมุนไพร และผลไม้ไทย ในการบริการอาหารและเครื่องดื่ม เพื่อให้มีความสัมพันธ์ สอดคล้องกับการนวดไทยใน สถานประกอบการสปาเพอ่ื สขุ ภาพของไทย 206 เอกสารความรู้ ผู้ด�ำ เนินการสปาเพ่อื สุขภาพ

การบริการอาหารและเคร่ืองดื่มเพื่อสุขภาพ จัดเป็นบริการเสริม ซ่ึงอาจเป็นอุปสรรค ในการบริหารจัดการ หากสถานประกอบการยังไม่มีความพร้อม ท้ังด้านสถานท่ี และบุคลากร ขนาดของสปาเปน็ อกี สว่ นหนง่ึ ทไี่ มเ่ ออื้ ตอ่ การบรกิ ารทต่ี อ้ งมสี ถานทเี่ กบ็ รกั ษา เตรยี มและปรงุ อยา่ ง ถกู สขุ ลกั ษณะ แตป่ จั จยั สำ� คญั ทต่ี อ้ งพจิ ารณาดว้ ยความรอบคอบ คอื ความตอ้ งการและความคาดหวงั ของกลมุ่ ผู้รับบริการเป้าหมาย และสิง่ ท่สี ำ� คญั ท่สี ดุ คอื รายได้จากส่วนน้คี มุ้ ค่าเงนิ ลงทุนหรอื ไม่ แนวคิดเร่ืองอาหารกับสุขภาพ นายแพทย์บรรจบ ชุณหสวัสดิกุล ได้กล่าวถึงความรู้เรื่องสุขภาพสู่สูตรอาหารต�ำรับ ตา่ งๆ ซึ่งไดน้ �ำมาเรยี บเรยี งใหเ้ ขา้ ใจง่าย ดงั น้ี 1) ความจริงเรื่องโคเลสเตอรอล ในปี ค.ศ. 1960 (พ.ศ. 2503) ฟรามิงแฮม ศึกษาพบว่า โรคหัวใจเพิ่มขึ้นตามอายุ สมั พนั ธก์ บั ความดนั โลหติ สงู โคเลสเตอรอล การสบู บหุ ร่ี สรุ า ไมอ่ อกกำ� ลงั กาย ไทรอยดท์ ำ� งานนอ้ ย เลอื ดขน้ อว้ น เบาหวาน เกาต์ ภาวะไขมนั ไมด่ ี (LDL cholesterol) สงู และไขมนั ดี (HDL cholesterol) ต�่ำ แตม่ ผี ้แู ยง้ การศกึ ษาน้ ี ในปี ค.ศ. 1999 (พ.ศ. 2542) วา่ พิสูจนไ์ ม่ไดว้ ่าโคเลสเตอรอลในเลอื ด สัมพันธ์กบั โคเลสเตอรอลในอาหาร หลังปี ค.ศ. 1999 (พ.ศ. 2542) มีการพิสจู น์วา่ ตบั ของเราสร้าง โคเลสเตอรอลกว่าร้อยละ 90 ไม่ใช่โคเลสเตอรอลท่ีเรารับประทานเข้าไป รวมทั้งยังไม่มีงานวิจัย พิสูจน์ได้ว่า ไขมันอ่ิมตัวในอาหารเป็นสาเหตุของการเกิดโรคหัวใจ และไม่มีงานวิจัยสรุปว่า ไขมัน ไมด่ กี อ่ ใหเ้ กดิ โรคหัวใจ ดงั น้ันโคเลสเตอรอลในอาหารจงึ ไมน่ ่ากลวั อย่างทค่ี ิด 2) เลือกน้�ำมันปรุงอาหารป้องกันมะเร็งและโรคเส่ือมของร่างกาย กรดไขมนั มี 4 ชนดิ ดังนี้ 1. กรดไขมนั อม่ิ ตวั บริโภคมากไตรกลเี ซอไรดแ์ ละโคเลสเตอรอลสงู ทนความร้อนได้สูง โดยไม่แตกตวั ให้อนมุ ูลอสิ ระเช่น น�ำ้ มันมะพร้าว น�ำ้ มนั ปาลม์ 2. กรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงเด่ียว มีแขนคู่เคมีต�ำแหน่งเดียว (MUFA) ส่วนมากอยู่ ตำ� แหนง่ ท่ี 3 เรยี ก โอเมก้า 3 ชว่ ยลดโคเลสเตอรอล ลดการอักเสบในร่างกาย ป้องกนั โรคหวั ใจ หลอดเลอื ด เชน่ น�้ำมนั มะกอก (ผลติ จากตา่ งประเทศ) น�ำ้ มันเมลด็ ชา (ประเทศไทยผลิตได)้ 3. กรดไขมนั ไมอ่ มิ่ ตวั เชงิ ซอ้ น มแี ขนคเู่ คมหี ลายตำ� แหนง่ (PUFA) สว่ นมากอยตู่ ำ� แหนง่ 6 เช่น นำ้� มนั ถัว่ เหลือง น้�ำมนั ข้าวโพด น้ำ� มนั ทานตะวนั ช่วยลดโคเลสเตอรอลไขมันไมด่ ไี ด้ แตถ่ ูก ความรอ้ นสงู ๆจะแตกตวั ใหอ้ นมุ ลู อสิ ระ ยงิ่ เกดิ ความเสอื่ มของรา่ งกาย เกดิ การอกั เสบ เสย่ี งตอ่ มะเรง็ กรมสนบั สนุนบรกิ ารสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข 207

4. กรดไขมันไมอ่ ิม่ ตัวเชงิ ซ้อนพิเศษ มแี ขนคอู่ ยตู่ ำ� แหนง่ ที่ 9 พวกนท้ี นความรอ้ นได้สูง ทอดซ�้ำได้ เช่น น�ำ้ มนั ร�ำข้าว น้�ำมนั เมลด็ ชา นำ้� มันคาโนล่า น้ำ� มันปาล์มท่คี ดั พเิ ศษ ลกู อะโวคาโด และทีโ่ ดดเดน่ เปน็ ผลิตภัณฑจ์ ากประเทศไทย คอื นำ�้ มันงา และน้ำ� มันงาขม้ี ้อน 3) ไขมันสร้างสุขภาพ (Healthy Fat) คนเราตอ้ งไดส้ ดั สว่ น โอเมกา้ 3:6 เทา่ กบั 1:2 แตค่ นไทยกนิ นำ้� มนั พชื ซง่ึ เปน็ โอเมกา้ 6 มาก (ได้แก่ น้�ำมันถั่วเหลือง น�้ำมันข้าวโพด น้�ำมันทานตะวัน) ท�ำให้สัดส่วนน้ีผิดเพ้ียนไป ก่อให้เกิด การอกั เสบเชน่ ปวดหัวไมเกรน ปวดข้อ ปวดประจำ� เดอื น หลอดเลือดแขง็ ตัว โรคหวั ใจ ดังน้นั การเลอื กอาหารในชวี ิตประจำ� วนั จงึ ควรท�ำดงั นี้ 1. อาหารที่ทอดน้�ำมันท่วม เช่น ทอดมัน กุ้งเทมปุระ ควรทอดด้วยน�้ำมันปาล์ม ผัดผกั บุ้งไฟแดง ใชค้ วามร้อนสูงมาก ควรใชน้ �้ำมนั ปาล์ม เพราะไม่แตกตวั ใหอ้ นุมูลอสิ ระ 2. อาหารประเภทผดั ซงึ่ ถกู ความรอ้ นชว่ งสนั้ ๆ ใหใ้ ชน้ ำ้� มนั รำ� ขา้ วผสมกบั นำ้� มนั ถว่ั เหลอื ง อย่างละครึง่ เพือ่ ไดส้ ัดสว่ นของกรดไขมนั MUFA และ PUFA ครบสว่ น เพราะนำ้� มนั ถ่ัวเหลือง มีส่วนดีคือ โอเมก้า 6 ช่วยลดไขมันไม่ดี แต่ลดไขมันดีลงด้วย ส่วนน�้ำมันร�ำข้าวมี MUFA และ PUFA อยา่ งละเทา่ ๆ กนั ลดไขมนั ไมด่ ี โดยไมล่ ดไขมนั ดี และหากใชน้ ำ�้ มนั ครบสว่ น จะไดค้ ณุ สมบตั ิ ลดการอักเสบในร่างกาย ป้องกันมะเรง็ 3. น�้ำสลัด ให้ใช้น�้ำมันมะกอก หรือใช้น้�ำมันเมล็ดชาซ่ึงผลิตได้ในประเทศไทย น�้ำมัน ท้ังสองชนิดอุดมด้วยโอเมก้า 3 และกรดไขมันไม่อิ่มตัวโอเมก้า 9 น�้ำมันท้ังสองชนิดช่วยป้องกัน โรคหัวใจ ลดการอักเสบในรา่ งกาย หากใช้นำ้� มนั มะกอกหรอื น�้ำมันเมล็ดชา ทำ� สลัด ควรเปน็ น้ำ� มนั Extra virgin กลัน่ เย็น ไมแ่ นะนำ� ใหใ้ ชน้ ้ำ� มนั สกดั ตามธรรมดา เพื่อให้ไดค้ ุณประโยชน์จากน�้ำมัน 4. นำ้� ตาลเป็นศัตรูสุขภาพ ไม่ใชเ่ นอื้ สตั ว์ ไขมัน ปีค.ศ. 1960 (พ.ศ. 2503) จอห์น ยุดกิน ท�ำการทดลองท้ังในสัตว์และในคน พบว่า สาเหตุของไขมันในเลือดสูงมาจากบริโภคน�้ำตาลมาก ไม่ใช่เพราะเนื้อสัตว์ ไขมัน โดยเฉพาะ นำ�้ ตาลฟรกุ โตส (หรอื นำ�้ ตาลผลไม)้ ซงึ่ เปน็ สาเหตขุ อง โรคอว้ น นำ้� ตาลในเลอื ดสงู อนิ ซลู นิ ในเลอื ดสงู ไตรกลเี ซอไรด์สงู ไขมนั ไม่ดีสูง ไขมันดตี ่�ำ กระแสความนิยมในการดูแลสุขภาพ ท�ำให้มีคนจ�ำนวนมากลดน�้ำหนัก โดยงดบริโภค อาหารมอ้ื เย็นแตบ่ รโิ ภคผลไม้จานใหญ่ แตพ่ บว่ายง่ิ ทานกย็ งิ่ อ้วน ด่มื นำ�้ ผลไม้สำ� เรจ็ รูปวันละ 2 ลิตร ทำ� ใหท้ ง้ั อว้ นทง้ั ไตรกลเี ซอไรดส์ งู นำ�้ ตาลฟรกุ โตส เปน็ นำ้� ตาลทม่ี ผี ลเสยี ตอ่ สขุ ภาพทสี่ ดุ นำ้� ตาลออ้ ย เมื่อรับประทานเข้าไปจะถูกสลายเป็นกลูโคสและฟรุกโตส ผลไม้ที่รับประทานถูกสลายเป็นกลูโคส 208 เอกสารความรู้ ผ้ดู �ำ เนนิ การสปาเพอ่ื สขุ ภาพ

และฟรุกโตส เช่นกัน กลูโคสสลายในเลือดได้เมื่อออกก�ำลังกาย แต่ฟรุกโตสไม่สามารถสลาย ในเลือด จะถูกตับเปล่ียนเป็น ไตรกลีเซอไรด์ ซ่ึงตับพยายามขับออกโดยสร้างก้อนไลโปโปรตีน คือโคเลสเตอรอลและโปรตีน ให้เป็นรถบรรทุกไตรกลีเซอไรด์เล่นไปในเลือด นั่นแปลว่าผู้บริโภค หวานและผลไมม้ ากไตรกลเี ซอไรดจ์ ะเกดิ โคเลสเตอรอลสงู ไตรกลเี ซอไรดส์ ะสมใตผ้ วิ หนงั ทำ� ใหอ้ ว้ น สะสมในตับท�ำให้ไขมันพอกตับ แถมกลูโคสเข้าตับไม่ได้เพราะการจับจองพื้นที่ของไตรกลีเซอไรด์ ท�ำให้กลูโคสล่องลอยในเลือด เกิดเบาหวาน ฟรุกโตสในเลือดยังท�ำปฏิกิริยากลัยเคช่ันกับโปรตีน ท่ัวร่างกาย ท�ำให้หลอดเลือดแข็งตัว ตับ ไต หัวใจ สมองและประสาทเส่ือมสภาพ เกิดกลุ่ม โรคความเสอ่ื มของร่างกายนน่ั เอง ทางออกคือ หยดุ บรโิ ภคขนมหวาน นำ�้ อัดลม รับประทานผลไมโ้ ดยจ�ำกัดจำ� นวน ไมด่ ่ืม นำ�้ ผลไมม้ ากเกนิ ไป โรคตา่ งๆ ทปี่ ว่ ยอยกู่ จ็ ะดขี นึ้ เพราะนำ้� ตาลในเลอื ดลดลง ไตรกลเี ซอไรดถ์ กู ใชไ้ ป ท�ำให้หายอ้วน โคเลสเตอรอลลดลง หลอดเลือดสะอาดขึ้น ความดันลดลง หัวใจปลอดโปร่ง สมองแจ่มใส เร่ียวแรงจะคืนกลับมา ดังนั้น การบริโภคหวาน เป็นเหตุให้ไขมันในเลือดสูงและอ้วน ตามมา 4) อาหารไร้แป้ง (Non-Carb Diet) ทกุ วนั นีอ้ าหารท่ีคนส่วนใหญ่บรโิ ภคเปน็ ประเภทขนมทีท่ �ำจากแปง้ และรสหวานเพราะ 1. คาร์โบไฮเครตต้นทุนถูก ดดั แปลงงา่ ย 2. คาร์โบไฮเดรตย่อยเร็ว ดูดซึมเร็ว หายหิวเร็ว และกินเพลิน สุดท้ายเกิดโรคอ้วน ไตรกลีไซอไรดส์ งู โคเลสเตอรอลสงู และเบาหวานตามมา แนวทางแก้ไข คือ จ�ำกัดแป้งและผลไม้ บริโภคหมู ไก่ ไข่ ปลา และผักเป็น 2 เท่า จะไดส้ ขุ ภาพที่ดกี วา่ เปน็ ที่มาของสูตรอาหารสขุ ภาพยุคใหม่ Non-carb diet นอกจากการงดแปง้ ควรค�ำนึงถึงกระบวนการเผาผลาญแคลอร่ีส่วนเกิน ด้วยการออกก�ำลังกายสม่�ำเสมอ เพ่ือควบคุม ปริมาณโคเลสเตอรอลและความดันโลหิต ซ่งึ จะทำ� ให้การดแู ลสุขภาพสมบูรณ์ยง่ิ ขึน้ ตัวอย่างมือ้ อาหารของ Non-carb diet มื้อเช้า : ไก่ยา่ ง ปลาทอด หรือไขด่ าว หมแู ฮม สลัดผกั 1 จาน มอ้ื เทยี่ ง : เกาเหลาหมู ปลา ไก่ อาจใชเ้ สน้ บกุ แทนเสน้ กว๋ ยเตยี๋ ว ทำ� ผดั ไทยเสน้ บกุ ผัดขีเ้ มาเส้นบกุ บริโภคผักแกลม้ ให้มาก มื้อเย็น : ผักสดหรือผกั ลวก 1 จาน กับตา่ งๆเชน่ ต้มย�ำกุ้ง คอหมยู า่ ง ไก่ตอน เป็ดพะโล้ กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข 209

อาหาร Non-carb diet ใช้ลดน้�ำหนัก ควบคุมเบาหวาน ลดไตรกลีเซอไรด์ ลดโคเลสเตอรอลได้ มกั ได้ผลใน 1 - 2 สปั ดาห์ (ส�ำหรบั ผ้ทู เี่ ปน็ เบาหวาน ถา้ จะใช้อาหารสูตรนี้ ควรปรึกษาแพทยก์ ่อน) 5) อาหารคลีน (Clean Food) อาหารคลีน คือ อาหารที่ผสมผสานอาหารครบหมู่อย่างเหมาะสม ไม่ปรุงแต่งด้วย สารเคมี สด สะอาด และปรุงรสเพียงเล็กน้อยด้วยส่วนผสมหรือชูรสจากธรรมชาติ อาหารคลีน เหมาะสำ� หรับผ้ทู ม่ี ีน้�ำหนักและไขมนั เกินมาตรฐาน เพ่ือช่วยลดน้ำ� หนกั ลดไขมัน และเพอื่ คนที่ใสใ่ จ ในสุขภาพ ประเภทอาหาร อาหารคลีนประกอบด้วย ผักผลไม้อันดับหน่ึง ปลาอันดับสอง โปรตีน จากพชื อันดับสาม ธัญพชื อนั ดับสี่ นมอันดบั ห้า อาหารคลีนให้ความส�ำคัญพืชเกษตรธรรมชาติ ปลอดสารพิษ การกินคลีนแบบไทยให้ เน้นผกั แทนผลไม้ และไม่ควรด่ืมนม สัดส่วนของอาหารคลีน คือ ลดผลไม้ลง อาจใช้สัดส่วนดังน้ี แบ่งจานอาหารเป็น 5 สว่ น : เนื้อสัตว ์ 1 สว่ น ควรเลือกปลาและอาหารทะเล ข้าวกล้อง ธัญพืช 1 สว่ น ผลไม้ 1 สว่ น ผัก 2 สว่ น ดังภาพแสดงปิรามิดอาหาร ภาพที่ 58 สัดส่วนอาหารคลนี (Clean Food) แบบชาวตะวันตก ท่ีออกก�ำลังกายมากและสม�่ำเสมอ 210 เอกสารความรู้ ผ้ดู �ำ เนินการสปาเพอ่ื สขุ ภาพ

ภาพที่ 59 สดั สว่ นอาหารคลนี (Clean Food) ทเี่ หมาะกับชาวส�ำนักงานซง่ึ ไมค่ ่อยไดอ้ อกกำ� ลงั กายมาก 6) อาหารมายเพลต (My Plate) เป็นผลงานของหน่วยงานโภชนาการไทย โดยนักโภชนาการรุ่นใหม่ ได้ผลักดันเข้า ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) และไดร้ ับการยอมรับ แล้วว่า นมไม่จ�ำเป็นส�ำหรับคนเอเชีย จะด่ืมหรือไม่ด่ืมก็ได้ เพราะนมเพิ่มความเส่ียงเป็นไขมัน ในเลอื ดสงู เสย่ี งตอ่ โรคภมู แิ พ้ และโรคมะเรง็ โดยเฉพาะมะเรง็ เตา้ นม มะเรง็ รงั ไข่ และมะเรง็ ตอ่ มลกู หมาก (ตามผลการประชุมกองทุนวิจัยมะเร็งโลกและสถาบันวิจัยมะเร็งแห่งชาติอเมริกา) มายเพลตยังได้ ทอนผลไม้นอ้ ยลง เน้นผกั มากข้ึน ดังแสดงในภาพประกอบ ภาพที่ 60 สัดสว่ นอาหารมายเพลต (Myplate) กรมสนับสนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข 211

การจ�ำแนกอาหาร การจำ� แนกอาหารในบทน้ี จะกล่าวถงึ อาหาร 3 ชนดิ ได้แก่ อาหารไทย อาหารตามธาตุ เจา้ เรอื น และอาหารเจ มงั สวริ ตั ิ มรี ายละเอยี ดดงั นี้ 1) อาหารไทย เป็นอาหารที่ได้สมดุลทางโภชนาการ ผสมผสานลงตัวระหว่างชนิดและปริมาณของ อาหารซ่ึงส่วนใหญ่มีข้าวเป็นหลัก อาจเป็นข้าวเจ้าหรือข้าวเหนียวแล้วแต่ท้องถ่ิน และอาจเป็น ขา้ วซอ้ มมือซึง่ อดุ มไปด้วยวิตามินส�ำคัญ การปรุงอาหารจะเปน็ การต้ม แกง ย�ำ ต�ำ ซึง่ ใช้น้�ำมนั ใน การปรงุ อาหารนอ้ ย ใชเ้ นอ้ื สตั วไ์ มม่ าก แหลง่ โปรตนี ไดจ้ ากปลา ไก่ ไข่ หมู และสตั วอ์ นื่ ๆ ทม่ี ใี นแตล่ ะ ทอ้ งถิ่น เครอื่ งปรุงล้วนเป็นพืชสมุนไพรจากธรรมชาติ “อาหารพน้ื บ้านของไทยเปน็ อาหารไขมนั ต่ำ� แต่เส้นใยอาหารสูง มคี ณุ ค่าทางโภชนาการทั้งวิตามนิ เกลอื แร่ เอนไซม์ กรดไขมนั ปลอดสารเคมี และยงั ใหส้ รรพคณุ ทางสมนุ ไพรทห่ี าไดย้ ากจากอาหารประเภทอน่ื ๆ ขณะเดยี วกนั ยงั เปน็ การสง่ เสรมิ ความสัมพันธ์อันดีของคนในครอบครัวที่ได้มีโอกาสพูดคุยกันระหว่างม้ืออาหาร ตลอดจนเป็น การอนุรักษ์และพัฒนาให้อาหารไทยอยู่คู่บ้านคู่เมืองตลอดไป (นิธิยา รัตนาปนนท์ และ พมิ พเ์ พ็ญ พรเฉลิมพงศ์) การแพทย์แผนไทย น�ำหลักการภูมิปัญญาและทฤษฎีการแพทย์แผนไทยมาเป็น แนวทางการบริโภคอาหารเพื่อปรับสมดุลธาตุท้ังส่ี คือ ปถวีธาตุ (ธาตุดิน) อาโปธาตุ (ธาตุน้�ำ) วาโยธาตุ (ธาตุลม) และเตโชธาตุ (ธาตุไฟ) ซึ่งกล่าวถึงเหตุที่ท�ำให้เกิดโรค เกิดจากธาตุท้ังสี่ที่ไม่ สมดุล ดังนั้น การดูแลสุขภาพจึงควรบริโภคอาหารตามธาตุ และละเว้นอาหารที่ไม่สอดคล้องกับ ธาตเุ จ้าเรือน และให้บริโภคแต่พอดี ไมม่ ากหรือน้อยเกินไป 2) อาหารตามธาตุเจ้าเรือน ที่ควรเลือกบริโภค ได้แก่ 2.1) ผู้ที่มีธาตุดินเป็นเจ้าเรือน ควรเลือกบริโภคอาหารรสฝาด หวาน มัน เค็ม ซ่ึงมี สรรพคณุ ดังนี้ • อาหารรสฝาด ช่วยสมานปิดธาตุ หากบริโภคอาหารมากเกินไป ท�ำให้ฝืดคอ ทอ้ งเสีย ท้องผูก • อาหารรสหวาน ซึมซาบไปตามร่างกาย ท�ำให้ชุ่มชื้น บ�ำรุงก�ำลัง หากบริโภคมาก เกนิ ไป ทำ� ใหง้ ว่ งนอน เกยี จครา้ น • อาหารรสมัน แกเ้ สน้ เอ็นพิการ ปวดเสยี ด ขัดยอก กระตุก • อาหารรสเค็ม ซมึ ซาบไปตามผวิ หนงั แกโ้ รคประดง ชา คัน หากบรโิ ภคมากเกินไป ทำ� ให้มอี าการกระหายนำ้� รอ้ นใน 212 เอกสารความรู้ ผู้ด�ำ เนนิ การสปาเพอ่ื สุขภาพ

2.2) ผ้ทู ีม่ ีธาตุน้�ำเป็นเจา้ เรือน ควรบริโภคอาหารรสเปรยี้ ว ขม มีสรรพคณุ ดังนี้ • อาหารรสเปรีย้ ว แกเ้ สมหะ กระตุน้ นำ้� ลาย เจริญอาหาร หากรบั ประทานมาก ทำ� ให้ ทอ้ งอืด 2.3) ผู้ทม่ี ธี าตุลมเป็นเจ้าเรือน ควรบรโิ ภคอาหารรสเผ็ด ร้อน ซึ่งมสี รรพคณุ ดังนี้ อาหารรสเผ็ดร้อน แกโ้ รคลมจกุ เสียด ปวดทอ้ ง ลมป่วง หากรับประทานมาก ทำ� ให้เกิด อาการออ่ นเพลีย และเผด็ รอ้ น 2.4) ผ้ทู ม่ี ีธาตไุ ฟเปน็ เจ้าเรอื น ควรบริโภคอาหารรสขม เย็น จืด ซง่ึ มีสรรพคุณดังน้ี • อาหารรสขม แกโ้ ลหติ เปน็ พษิ ดพี กิ าร เพอ้ คลงั่ หากรบั ประทานมาก ทำ� ใหก้ ำ� ลงั ตก อ่อนเพลยี • อาหารรสเยน็ /จดื แกพ้ ิษไข้ แกร้ ้อนใน ดับพิษรอ้ น 3) อาหารเจ มังสวิรัติ เสริมการบริโภคเจและมังสวิรัติเป็นหลักปฏิบัติทางสุขภาพ ที่มีประวัติความเป็นมา นับพันปี มีประโยชน์ต่อสุขภาพอย่างแท้จริง หากปฏิบัติถูกวิธี นายแพทย์บรรจบ ชุณหสวัสดิกุล ให้ความเห็นเก่ียวกับการบริโภคเจ มังสวิรัติว่า มีประเด็นที่ควรศึกษา คือ ปัญหาเรื่องโปรตีน การขาดธาตุเหลก็ การขาด วติ ามนิ บี 12 และไขมนั 3.1) ปัญหาเรื่องโปรตีน ปญั หาประการแรกคอื เรอื่ งของโปรตนี โดยหลกั คอื โปรตนี ไดจ้ ากขา้ วกลอ้ ง ธญั พชื ตา่ งๆ และถัว่ เหลือง ขา้ วกล้อง 1 ทัพพี มโี ปรตีน 7.5 กรัม เต้าหู้ 1 ขดี มีโปรตนี 7.8 กรมั ถา้ หน่ึงวันบรโิ ภค ขา้ วกล้อง 2 – 3 จานรวมกับเตา้ หอู้ ีก 1 ขดี ก็จะได้ปริมาณโปรตนี เพยี งพอ สำ� หรบั สัดส่วนของกรดอะมิโนจ�ำเปน็ ซง่ึ ก็คอื กรดอะมิโนทรี่ ่างกายสรา้ งข้นึ มาเองไม่ได้ ตอ้ งได้รับจากอาหาร เมอื่ ลองพจิ ารณาแหล่งโปรตนี จากพืช • ถ่ัวเหลืองมีกรดอะมโิ นจ�ำเปน็ ครบ เพยี งแต่มีเมทิโอนนี น้อย • ข้าวกล้องมเี มทิโอนีนมาก แต่พรอ่ งไลซนี • ถ่ัวเหลืองมีไลซีนปรมิ าณมาก • วตี เจิรม์ หรือจมกู ข้าวสาลมี ีกรดอะมโิ นจ�ำเปน็ ครบ แตพ่ ร่องทรปิ โตแฟน • ข้าวโพดมไี ลซนี และลิวซนี มาก แตพ่ ร่องทริปโตแฟน กรมสนับสนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ 213

• เมลด็ ฟักทองมีไลซีนและไปโซลวิ ซีนมาก • สำ� หรบั งาเปน็ แหลง่ แคลเซยี ม วติ ามนิ บรี วมและวติ ามนิ อที สี่ ำ� คญั และเปน็ แหลง่ ของ แคลเซียม งาดำ� ค่วั 100 กรมั มีแคลเซยี ม 1,452 มิลลิกรมั เทียบกบั นม 100 กรมั มแี คลเซียมเพียง 118 มิลลกิ รมั 3.2) ปัญหาการขาดธาตุเหล็ก ผู้นิยมบริโภคเนื้อสัตว์ยังถือว่าแหล่งธาตุเหล็กส�ำคัญได้จากเลือดหมู ไข่แดง และตับ เป็นต้น จึงควรบริโภคเนื้อสัตว์บ้าง อย่างน้อยก็ไข่ แท้จริงแล้วแหล่งธาตุเหล็กส�ำคัญในรูปที่พร้อม ดดู ซมึ มอี ยใู่ นกระถิน ผกั บงุ้ แดง ผกั บุ้งจนี กุ้ยช่าย ผักชีลาว มะเขือพวง และถ่ัวงอก การบริโภคเจหรือมังสวิรัติท่ีมีผักสดร่วมด้วยเสมอจึงไม่เกิดภาวะขาดธาตุเหล็กอย่างท่ี กลัวกนั 3.3) ปัญหาการขาดวิตามินบี 12 การสร้างเม็ดเลือดแดง นอกจากธาตุเหล็กแล้วร่างกายยังต้องการบี 12 หรือกรดโฟลิก ดว้ ย นักวิชาการอาหารบอกวา่ แหล่งของบี 12 ตอ้ งเปน็ เน้อื สัตว์หรืออยา่ งน้อยเป็นนำ�้ ปลา จะไมม่ ี แหล่งอื่นในพืช งานวิจัยของสถาบันเน้ือสัตว์แห่งอเมริกาพบว่า ความต้องการบี 12 จะมากหรือ น้อยแปรเปลย่ี นกบั ปริมาณเนอ้ื สตั ว์ท่ีบริโภค ผทู้ ีไ่ มบ่ รโิ ภคเนอ้ื สัตว์จะตอ้ งการวติ ามนิ บี 12 น้อยลง และยังค้นพบอีกว่าบี 12 มีอยู่ในเต้าเจี้ยวหมักและในธัญพืช โดยมีข้อแม้ว่าธัญพืชนั้นจะต้องไม่ถูก ดดั แปลงเป็นแป้งป่นละเอียด เพราะถกู ขดั จนขาว แล้วปน่ เปน็ แปง้ วติ ามนิ ทอี่ ย่ใู นเปลือกช้นั ในของ ธัญพืชจะถูกขัดออกไปเกือบหมด ข้อมูลล่าสุดจากชมรมเห็ดแห่งประเทศไทยบอกว่า เห็ดเป๋าฮ้ือ มีวติ ามนิ บี 12 อยไู่ มน่ ้อย 3.4) ปัญหาไขมัน ภาวะไขมนั ในเลือดสงู พบได้บ่อยๆ ในนกั บรโิ ภคมังสวิรตั ิและนกั บริโภคเจ ปัญหานพ้ี บ ได้ใน 3 ลกั ษณะ รบั ประทานมงั สวริ ตั แิ ตร่ บั ประทานขา้ วขาว ไมร่ บั ประทานขา้ วกลอ้ ง เมอ่ื บรโิ ภคขา้ วขาว มากเปน็ สาเหตขุ องไตรกรเี ซอไรดใ์ นเลอื ดสงู ได้ เพราะถา้ เราบรโิ ภคอาหารคารโ์ บไฮเดรตเขา้ ไปมาก โดยไมไ่ ดอ้ อกกำ� ลงั แปง้ ขา้ วกถ็ กู เปลย่ี นเปน็ กรดไขมนั ไตรกลเี ซอไรด์ แลว้ พอกพนู เปน็ ความอว้ นได้ รับประทานมังสวิรัติและดื่มนม แท้จริงแล้วนมเป็นแหล่งท่ีมาของกรดไขมันอิ่มตัว จากสัตว์ เม่ือรับเข้าไปเร่อื ยๆ จะทำ� ให้มปี ัญหาโคเลสเตอรอลสงู ได้ แม้กระท่ังนมพร่องไขมนั กย็ ังคง มไี ขมนั จ�ำนวนไม่นอ้ ย ดงั นน้ั นกั บรโิ ภคมงั สวิรัติได้รับท้ังโปรตนี แคลเซยี ม และวิตามนิ ครบสว่ นได้ 214 เอกสารความรู้ ผดู้ �ำ เนินการสปาเพอ่ื สุขภาพ

รบั ประทานเจวลิ ศิ มาหรา โดยเฉพาะนกั บรโิ ภคในชว่ งเทศกาล การแกป้ ญั หาไขมนั เลอื ดสงู ต้องเน้นท่ีการบริโภคข้าวกล้อง ผักสด ผลไม้สดให้มาก เน้นอาหารไทยๆ ประเภทน�้ำพริก ผักจิ้ม เปน็ ตน้ หลัก 3 ประการในการบริโภคอาหารมังสวิรัติ มังสวิรัติมิใช่เพียงวิธีการรับประทานอาหาร แต่เป็นปรัชญาชีวิตของผู้คนที่มีจิตใจสูง และด�ำรงตนอย่างสมถะ เพ่ือให้บริโภคมังสวิรัติแล้วเกิดประโยชน์แก่สุขภาพอย่างแท้จริง ควรถือ หลกั 3 ประการ ดงั น้ี 1) เตรยี มใจ ผบู้ รโิ ภคเจและมงั สวริ ตั คิ วรชำ� ระลา้ งจติ ใจของตนใหบ้ รสิ ทุ ธิ์ มเี มตตากรณุ า ตอ่ ผูค้ นและรกั ส่ิงแวดล้อม 2) เตรยี มกาย ควรดำ� เนินชวี ติ ที่สมถะ การบริโภคอาหารแต่พออิ่ม ไม่มากจนเกนิ ไป 3) เตรียมครัว อาหารเจที่ถูกหลัก ต้องบริโภคข้าวกล้อง ถ่ัวต่างๆ หมุนเวียนไปใน ปริมาณพอควร ไม่เกิน 100 กรัมต่อวัน บริโภคผักสดให้มาก ใช้น้�ำมันปรุงอาหารแต่น้อยไม่เกิน 3 ช้อนชาต่อวัน มาตรการ 6 ข้อ การบริโภคเจและมงั สวริ ตั ใิ ห้เกิดผลดีกับสุขภาพ ตอ้ งยึดมาตรการ 6 ข้อคือ 1) บริโภคข้าวกล้อง ข้าวกล้องมีเส้นใยมาก มีวิตามินบีสูง มีวิตามินอีในจมูกข้าว ขา้ วกล้องเป็นแหลง่ กรดอะมโิ นจ�ำเปน็ 2) บริโภคถ่ัวและธัญพืชหลายชนิดสลับกัน เพ่ือได้รับกรดอะมิโนครบส่วน เช่น ถั่วเหลือง เต้าหู้และผลิตภัณฑ์ถั่วเหลืองวีตเจิร์มและธัญพืชอื่นๆ เพื่อเป็นแหล่งของวิตามินอีและ กรดไขมันไม่อม่ิ ตัว 3) บริโภคงาด�ำ ควรเป็นงาด�ำค่ัวบด งาด�ำเป็นแหล่งแคลเซียมที่ส�ำคัญ กินงาด�ำค่ัว วนั ละ 3 ชอ้ นโตะ๊ รว่ มกบั เตา้ หขู้ าว 1 แผน่ จะไดแ้ คลเซยี ม 900 มก. เทา่ กบั ปรมิ าณทร่ี า่ งกายตอ้ งการ ใน 1 วนั 4) บรโิ ภคผกั สด เพอื่ ไดว้ ติ ามิน เอนไซม์ ฮอรโ์ มน และพลังแหง่ ชวี ิตจากพืช 5) บริโภควิตามินบี 12 ซ่ึงช่วยสร้างเม็ดเลือด และช่วยเสริมการท�ำงานของระบบ ประสาท อาจมนี อ้ ยในอาหารมงั สวริ ตั ิ วงการมงั สวริ ตั โิ ลกแนะนำ� ใหก้ นิ วติ ามนิ บี 12 (100 ไมโครกรมั ) ตามระยะเวลามากหรอื นอ้ ยทก่ี นิ มงั สวริ ตั ิ ปจั จบุ นั พบวา่ กรดไขมนั จำ� เปน็ กรดไขมนั โอเมกา้ 3 ไดแ้ ก่ น�้ำมันปลา และโอเมก้า 6 ได้แก่ น�้ำมันดอกพริมโรสบานเย็น หากบริโภคต่อเน่ืองนานอาจเกิด กรมสนบั สนุนบรกิ ารสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข 215

โรคบางชนดิ เชน่ ผวิ พรรณไมด่ ี ปวดขอ้ ปวดประจ�ำเดอื น ไมเกรน อกั เสบงา่ ย เกลด็ เลอื ดจบั ตวั ง่าย แก้ได้โดยต้องรับกรดไขมันจ�ำเป็นเข้าไป แนะน�ำให้ตรวจสุขภาพสม�่ำเสมอทุก 6 เดือน หากพบว่า โคเลสเตอรอลสูง ตรวจเลือดทกุ 6 เดือน ถา้ พบโคเลสเตอรอลตำ�่ กว่า 150 มก./ดล. เพราะเป็นสัญญาณ เตือนภาวะขาดกรดไขมนั จำ� เปน็ ให้รบั ประทานนำ�้ มันปลาชนดิ เม็ด วันละ 2 กรัม หรอื รับประทาน น้�ำมันดอก พรมิ โรสบานเย็น วนั ละ 2 กรมั โดยใหร้ บั ประทานเป็นระยะเวลา 3 – 6 เดอื นจนกว่า ระดบั โคเลสเตอรอลกลบั ข้ึนมาเกิน 150 มก./ดล การจัดเตรียมเคร่ืองดื่มเพื่อสุขภาพในสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ หลกั การเตรยี ม ประกอบ จดั ตกแต่ง และบริการเคร่อื งดื่ม 1) การเตรียมเครื่องดื่ม 1.1) เลอื กใชส้ ว่ นผสมหรอื วตั ถุดิบทม่ี ีคณุ ภาพ สด ใหม่ เพื่อให้เครอ่ื งดม่ื มรี สชาติ และกล่นิ ดี ไดค้ ณุ ค่าทางอาหาร เป็นประโยชนต์ ่อสขุ ภาพ 1.2) เลอื กใชส้ ว่ นผสมและวตั ถดุ บิ ทม่ี ใี นทอ้ งถนิ่ ตามฤดกู าล เพราะมรี าคาเหมาะสม สด รสชาตดิ ี 1.3) ลา้ งผกั และผลไมก้ อ่ นปอกเปลอื ก และหน่ั ทนั ทหี ลงั ปอกเพอื่ รกั ษาคณุ คา่ ของ อาหาร 1.4) ควรชัง่ ตวง ส่วนผสม เพอื่ คุณภาพมาตรฐานและไดร้ สชาติคงที่ 2) การประกอบเคร่ืองดื่ม 2.1) อปุ กรณ์และเครือ่ งมอื ตอ้ งสะอาดเพ่ือให้เครอ่ื งด่ืมมกี ลน่ิ และรสตามวัตถดุ บิ แต่ละชนิด 2.2) เคร่ืองด่ืมที่เป็นผักหรือผลไม้สดควรด่ืมทันทีท่ีท�ำเสร็จ ไม่ควรผ่านการต้ม เพราะจะท�ำให้เสียคุณค่าทางอาหาร ถ้าต้องการเก็บเกิน 1 วันจึงต้ม ก่อนเก็บใส่ภาชนะที่เหมะสม เข้าตู้เยน็ 2.3) เครอ่ื งดมื่ ทตี่ อ้ งการใหม้ เี นอื้ ผกั ผลไมเ้ นยี นละเอยี ดไปกบั สว่ นผสมอนื่ ควรใช้ เคร่ืองปนั่ น�้ำผลไม้ 216 เอกสารความรู้ ผดู้ ำ�เนินการสปาเพ่อื สุขภาพ

3) การจัดเคร่ืองด่ืมตามสภาพเหมาะสม 3.1) จัดเครื่องดื่มให้เหมาะแก่สภาพร่างกายของผู้ด่ืม เช่น จัดนมสดให้เด็กใน วัยเรียนที่ก�ำลังเจริญเติบโต จัดน้�ำผักผลไม้ให้ผู้สูงอายุท่ีระบบขับถ่ายไม่ปกติ จัดน้�ำขิงให้แก่บุคคล ท่มี อี าการท้องอืดท้องเฟ้อ 3.2) จดั เครอื่ งดม่ื ใหเ้ หมาะแกส่ ภาพอากาศ เชน่ อากาศเยน็ ควรจดั เครอื่ งดมื่ อนุ่ ๆ อากาศร้อน ควรจัดเครอ่ื งดม่ื เยน็ ใสน่ ำ�้ แขง็ เพอื่ รกั ษาสมดลุ อุณหภมู ภิ ายในร่างกาย 3.3) จดั เครอ่ื งดม่ื ใหเ้ หมาะแกโ่ อกาสทจ่ี ะบรกิ าร เชน่ การบรกิ ารเครอื่ งดม่ื สำ� หรบั ผมู้ าเยยี่ มทบ่ี า้ นควรเปน็ แบบงา่ ยๆ ถกู ใจผมู้ าเยอื น และกรณจี ดั งานเลย้ี งสงั สรรคต์ อ้ งเตรยี มปรมิ าณ ใหเ้ พียงพอ 3.4) จัดเคร่ืองดื่มในภาชนะและปริมาณท่ีเหมาะสม เช่น เครื่องด่ืมร้อนให้ใช้ ถ้วยกระเบื้องหรือแก้วทนความร้อนที่มีหูจับ และมีจานรอง ไม่ควรเทเครื่องด่ืมร้อนๆ ลงในภาชนะ พลาสติกเพราะอาจละลายหรือเกิดสารปนเปื้อนจากพลาสติก เคร่ืองด่ืมเย็นให้ใส่ภาชนะทรงสูง อาจมีก้านหรือไม่มีก็ได้ เครื่องดื่มที่จัดไว้บริการในงานเลี้ยง อาจจัดใส่ภาชนะลักษณะอ่างแก้ว ขนาดใหญ่ มีแก้ววางอยขู่ า้ งๆ เพ่ือตักแบง่ บรกิ าร 4) การตกแต่งเคร่ืองดื่ม 4.1) ตกแต่งเคร่ืองดื่มด้วยวัสดุธรรมชาติท่ีไม่เป็นอันตรายต่อผู้ด่ืม เช่น ผักหรือ ผลไม้ท่ีใช้ท�ำเครื่องดื่มนั้น ตัดแต่งเป็นรูปทรงต่างๆ การตกแต่งด้วยผลไม้หรือดอกไม้ ต้องมั่นใจ ว่าผู้ปลูกไม่ได้ใช้ปุ๋ยเคมี และต้องล้างสะอาด น�้ำสับปะรดตกแต่งหั่นเป็นชิ้นสามเหล่ียมเสียบท่ี ปากแก้ว น�้ำผลไม้ผสมตกแต่งด้วยผลไม้เน้ือแข็งหลายสีห่ันเป็นส่ีเหล่ียมลูกเต๋า หรือรูปแบบท่ี ตอ้ งการ ใส่ในอ่างน�ำ้ ผลไมผ้ สม เช่น นำ้� สม้ นำ้� สบั ปะรด นำ�้ ฝรง่ั น�้ำแตงโม ผสมรวมกนั ในอัตราส่วน ทไี่ ด้คุณภาพอาหาร ความสวยงาม และรสกลมกล่อม 4.2) ตกแต่งเครือ่ งด่มื ด้วยช้อนคนท่มี ีดา้ มจับรูปตา่ งๆ ใส่คกู่ ับหลอด 5) การบริการเครื่องดื่ม 5.1) บรกิ ารเคร่ืองดืม่ ในภาชนะทล่ี ้างสะอาดและแห้ง 5.2) บริการเคร่อื งด่ืมรอ้ นหรือเย็น 3 ใน 4 ส่วน ของภาชนะ 5.3) ควรมีจานรองหรืออุปกรณ์รองภาชนะ เพื่อป้องกันภาชนะที่ร้อน ล่ืน และ ปอ้ งกันรอยนำ้� เปอ้ื น 5.4) บริการโดยคำ� นงึ ว่าเปน็ เครอ่ื งดืม่ รอ้ นหรือเย็น รวมทง้ั รสชาติ เชน่ เครอ่ื งดมื่ กรมสนบั สนุนบริการสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ 217

รอ้ นตอ้ งบรกิ ารขณะยงั รอ้ น เครอื่ งดมื่ เยน็ ตอ้ งใสน่ ำ้� แขง็ พอดแี ละบรกิ ารทนั ที เพอื่ ไมใ่ หน้ ำ้� แขง็ ละลาย จนเสยี รสชาติ 5.5) การเข้าบริการเครื่องด่ืมและเก็บภาชนะ ให้เข้าบริการด้านขวามือของ ผรู้ บั บรกิ าร 5.6) ผู้บริการตอ้ งยิม้ แย้มแจ่มใส ตัดเล็บส้ัน ล้างมือให้สะอาด 5.7) บรกิ ารเครอื่ งดม่ื ใหป้ ระทบั ใจ ตอ้ งคำ� นงึ ถงึ ความสะอาด ภาชนะใสปราศจากกลนิ่ วิธีหนึ่งคือขย้ีใบตองกล้วยหรือใบเตยในน้�ำคร่ึงชาม ผสมเกลือ 2 ช้อนโต๊ะ คนให้ละลายก่อนน�ำ ภาชนะลงล้าง วัสดุอุปกรณ์ จัดเตรียมอุปกรณ์จ�ำเป็นตามรายการเครื่องดื่มท่ีมีบริการ ดังตัวอย่างคอื 1) อุปกรณช์ ่งั ตวง เคร่อื งช่ัง ถว้ ยตวงของเหลว ถว้ ยตวงของแห้ง ช้อนตวง 2) กระชอน ผ้าขาวบาง คอ้ นทุบขงิ ตะไคร้ มดี และเขยี ง 3) เครื่องปั่นนำ้� ผลไม้ หม้อต้ม พมิ พ์กดผักผลไม้เปน็ รปู ตา่ งๆ ภาชนะใส่เครอ่ื งด่ืม 4) ถ้วยกระเบือ้ งมีหู ภาชนะใสมกี ้านและไมม่ ีก้าน อ่างแกว้ เหยอื กแกว้ 5) อปุ กรณ์รองแกว้ และจานรองแกว้ ทพั พีตักเครื่องด่มื อุปกรณ์คนเครอ่ื งดม่ื ขน้ั ตอนการเตรยี มประกอบจัด ตกแตง่ และจดั บรกิ ารเคร่ืองด่ืม การประกอบ จัด ตกแต่ง และบริการเครื่องด่ืมให้มีประสิทธิภาพ ประหยัดค่าใช้จ่าย เวลาและแรงงาน ให้ไดผ้ ลงานทีม่ ีคุณภาพ ปฏบิ ัตติ ามขั้นตอนดงั นี้ 1) ขนั้ วางแผน ศึกษาต�ำรบั เครือ่ งดม่ื เพอื่ วเิ คราะห์และวางแผนงาน 2) ขั้นปฏบิ ตั งิ าน ลงมือปฏิบัตติ ามแผนท่วี างไว้ 3) ขนั้ ประเมนิ ผล วิเคราะหผ์ ลเพอ่ื เปน็ แนวทางปรบั ปรุงใหด้ ีขนึ้ ในครัง้ ตอ่ ไป 218 เอกสารความรู้ ผู้ด�ำ เนินการสปาเพอื่ สขุ ภาพ

3.11 สคุ นธบำ� บดั สุคนธบ�ำบัดเป็นศาสตร์การใช้น�้ำมันหอมระเหยเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและการบ�ำบัด แบบองค์รวมทั้งกายและใจ มีรากศัพท์มาจากภาษาอังกฤษคือ Aromatherapy โดยมีค�ำนิยาม จากราชบัณฑิตยสถานว่า ‘คันธบ�ำบัด’ ซึ่งค�ำเดิมในภาษาไทยที่ก�ำหนดและใช้กันแพร่หลาย คือ ‘สุคนธบ�ำบัด’ และ ‘สุวคนธบ�ำบัด’ ซ่ึงมีความหมายตรงกันคือการใช้กลิ่นเพ่ือการบ�ำบัด หรือ การบ�ำบัดด้วยกล่ิน ตามกฎหมายเกี่ยวกับสถานประกอบการเพื่อสุขภาพของประเทศไทย อนุญาตให้ใช้สุคนธบ�ำบัดเพื่อการส่งเสริมสุขภาพอย่างเดียวเท่านั้น ไม่อนุญาตให้ใช้เพ่ือการบ�ำบัด รักษา Aromatherapy ถูกบัญญัติโดย René-Maurice Gattefossé ในหนังสือ Gattefossé’s Aromatherapy ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1937 (พ.ศ. 2480) หมายถึง Aromas แปลว่ากลิ่นหรือ ความหอม มีอีก 2 ค�ำ มักพบเสมอคือ aromatics และ scents ซึ่งมีความหมายเดียวกัน และ Therapy คือ การบ�ำบดั หรอื ดูแล Aromatherapy มีความหมายรวมวา่ การบำ� บดั ดว้ ยกลนิ่ หรอื ดแู ล ด้วยกลิ่น ซ่ึงข้ึนอยู่กับน�้ำมันหอมระเหยแต่ละชนิดว่ามีสรรพคุณเช่นไร อาจฆ่าเชื้อ ปรับสมดุลทาง กายและใจ และนำ� ไปใชก้ บั เครอ่ื งสำ� อางได้ มกี ารใชน้ ำ้� มนั หอมระเหยเพอื่ แกอ้ าการบวมอกั เสบทเี่ กดิ จากการตดิ เชอ้ื ภายหลงั ความรเู้ รอื่ งนำ้� มนั หอมระเหยมากขน้ึ และเผยแพรใ่ นประเทศองั กฤษครง้ั แรก ในปี ค.ศ. 1877 (พ.ศ. 2420) กรมสนบั สนุนบริการสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข 219

นำ�้ มันหอมระเหย (Essential oil) เป็นน�ำ้ มนั ท่ีพืชสรา้ งขึน้ จากสารขนั้ ต้น หรอื เรียกวา่ สารปฐมภูมิ ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน ส่วนสารท่ีสร้างขึ้นใหม่เป็นสารทุติยภูมิ ที่เรียกว่า สารหอม (aromatic substance) มหี ลากหลายชนิด โดยชนดิ หลักคอื กลุ่มแอลกอฮอล์ เชน่ เกลด็ สะระแหน่ (menthol) พมิ เสน (borneol) ยูจีนอล (eugenol) กลุม่ คีโตน เช่น แคมโฟน (camphone) จัสโมน (jasmone) กลุ่มแอลดีไฮด์ เช่น ซิทรัล (citral) ท่ีพบในน�้ำมันตะไคร้หอม เจอรานิอัล (geraniol) กลุ่มเอสเทอร์ เช่น น้�ำมันระก�ำ (methyl salicylate) น�้ำมันหอมระเหย สกัดจากส่วนต่างๆของพืช ราก ล�ำต้น ใบ ดอก ผล และเมล็ด มีจุดเดือดโดยประมาณท่ี 25 0c ระเหยได้ ไม่ละลายในน�้ำ ในน้�ำมันและแอลกอฮอล์ เข้าสู่ร่างกายได้ 3 ทางคือ ทางลมหายใจ ทางผิวหนงั และบริโภค น้ำ� มนั หอมระเหยมีคณุ สมบตั ิหลากหลาย โดย Gattefossé พบว่ากลิน่ และ สารหอมสามารถใชเ้ ปน็ สารตา้ นพษิ ตา้ นไวรสั ทำ� หนา้ ทคี่ ลา้ ยวติ ามนิ และฮอรโ์ มนบางชนดิ ในปจั จบุ นั น�้ำมันหอมระเหยใช้เพื่อสุขภาพกาย จิต และจิตวิญญาณ จึงมีค�ำกล่าวว่า เป็นการบ�ำบัดแบบองค์ รวมอยา่ งแท้จรงิ (truly holistic) 1) ประวตั คิ วามเป็นมาของสคุ นธบำ� บดั ต้ังแต่โบราณกว่า 5,000 ปี มีการใช้น�้ำมันหอมระเหยในประเทศอียิปต์ ในยุคน้ัน วิทยาศาสตร์เคมีเจริญรุ่งเรือง สามารถสกัดน้�ำมันหอมระเหย และน�ำมาใช้ในการท�ำมัมมี่ ระยะเร่ิม ต้นมีการใช้ดอกไม้ สมุนไพร และยางไม้ ต่อมามีการน�ำยางไม้และกล่ินหอมมาให้ความร้อน ให้ส่ง กล่ินหอมได้มากขึ้น เกิดศัพท์ค�ำว่า ‘Per fumum’ (Latin : ‘By Smoke’) หรือค�ำว่า Perfume ในปจั จุบันนน่ั เอง โดยมาจากกรรมวธิ ใี นการทำ� ให้กลิ่นหอมส่งกลิน่ ได้มากขึ้น วธิ ีการผลิตในชว่ งน้นั คือท�ำเป็นผงใส่แช่ในน�้ำมัน (maceration) และกล่ันด้วยไอน�้ำ (hydro distillation หรือ steam distillation) ตอ่ มานบั จากแถบประเทศจนี จนถงึ อยี ปิ ต์ และจากเปอรเ์ ซยี ถงึ กรงุ โรม มคี วามตอ้ งการ ใช้เพ่ิมมากข้ึน ทั้งในบ้าน โบสถ์ และกับร่างกายโดยตรง การใช้น�้ำมันหอมระเหยแพร่จากอียิปต์ เข้ามายังกรีก จนถึงอาณาจักรโรมัน (อิตาลี ฝรั่งเศส เยอรมนี โปแลนด์ ออสเตรีย และ ฮังการี) ส่วนซีกโลกตะวันออกคือจีนและอินเดีย โดยเฉพาะประเทศจีนมีการใช้การบูร และน้�ำมันขิง ชาวอินเดียมีความรู้เร่ืองศาสตร์การแพทย์อายุรเวท ซ่ึงเป็นศาสตร์ทางเลือกหนึ่งท่ีใช้สมุนไพรรวม ถงึ น้�ำมนั หอมระเหยในการบำ� บัดมานานกว่า 3,800 ปแี ล้ว สำ� หรับในประเทศไทยได้รับอทิ ธิพลทาง วัฒนธรรมจากอนิ เดยี โดยมกี ารใช้ไม้จนั ทน์หอม (Sandal wood oil) และดอกกหุ ลาบ (Rose oil) แพทยแ์ ผนไทยมกี ารใชย้ าหอม และการใชก้ ำ� ยาน (benzoin) ซงึ่ จดั ไดว้ า่ เปน็ กำ� ยานทหี่ อมทสี่ ดุ ในโลก นอกจากน ้ี ยังมียาหม่อง ยาดม และลกู ประคบ ส�ำหรับสว่ นผสมของลูกประคบ ประกอบด้วย ไพล ขมน้ิ ขงิ มะกรดู พมิ เสน การบรู เกลด็ สะระแหน่ ตะไคร้ ซง่ึ ลว้ นแตเ่ ปน็ พชื หอมทม่ี นี ำ้� มนั หอมระเหย ทงั้ ส้ิน 220 เอกสารความรู้ ผู้ด�ำ เนินการสปาเพอ่ื สขุ ภาพ

ประมาณ 2,800 ปี กอ่ นครสิ ตศ์ ักราช ในประเทศอยี ปิ ต์ พบว่าคมั ภีร์ปาปริ ุส (Papyrus) มีการใช้น้�ำมันหอมระเหยจากไม้สน (Cedar wood oil) และ เมอร์ (Myrrh) ในการท�ำมัมมี และในประเทศอนิ เดียเมื่อประมาณ 200 ปี ก่อนคริสตศ์ กั ราช พบวา่ มีการใช้พืชหอมบ�ำบดั มากกวา่ 700 ชนดิ เช่น อบเชย (cinnamon) ขิง (ginger) เมอร์ (myrrh) ผกั ชี (coriander) และจันทนห์ อม (sandal wood) สำ� หรบั ในประเทศจีนเมอ่ื 2,000 ปีกอ่ นครสิ ตศ์ ักราช จากบนั ทกึ ในหนังสอื Yellow Emperor’sBookofInternalMedicineมกี ารใชน้ ำ้� มนั หอมระเหยและสมนุ ไพรในการบำ� บดั รกั ษาโรค ประมาณ425ปีกอ่ นครสิ ตศ์ กั ราชกรกี และโรมนั ใชน้ ำ้� มนั หอมระเหยเปน็ ยาโดยฮปิ โปเครตสิ ซึ่งเป็นบิดาแห่งการแพทย์ ใช้น้�ำมันหอมระเหยรักษาโรค ใช้เป็นน้�ำหอมและยา ช่วยลดการอักเสบ ของผวิ หนงั และลดอาการบวม ในยคุ โรมนั ใชน้ ำ้� หอมมากกวา่ ในยคุ กรกี โดยเรม่ิ มใี ชด้ แู ลผม รา่ งกาย เสอ้ื ผ้า ผ้าปูทีน่ อนและใช้อาบน�้ำ หลงั จากนน้ั ไดแ้ พรห่ ลายไปถึงเปอรเ์ ซียและอาราเบยี ค.ศ. 980 - 1037 (พ.ศ. 1523 – 1580) มกี ารสกดั นำ�้ มนั ดอกกหุ ลาบครงั้ แรกในซเี รยี และ เปอร์เซีย Avicenna ไดพ้ ฒั นาเครอื่ งสกดั นำ้� มนั หอมระเหยดว้ ยไอนำ้� เปน็ เครือ่ งกลัน่ ท่สี มบรู ณ์เป็น คร้ังแรก สามารถสกัดน�้ำมันกุหลาบบริสุทธ์ิ มีต�ำราทางการแพทย์ช่ือ The Book of Healing & The Canon of Medicine ต่อมามีการใช้พืชหอมและเครื่องเทศต่อต้านโรคระบาด มีหลักฐาน เกี่ยวกับการใช้น้�ำมันหอมระเหยโดยระบุในต�ำราของประเทศเยอรมนี เริ่มผลิตเป็นการค้าคร้ังแร กในปี ค.ศ. 1553 (พ.ศ. 2096) ค.ศ. 1600 (พ.ศ. 2143) ในประเทศเยอรมนี มีการศึกษาพัฒนากระบวนการกลั่นให้ ดียิ่งขน้ึ พร้อมกบั ศึกษาคุณสมบตั ิของน้�ำมันหอมระเหยมากย่ิงขึน้ นำ� มาใช้รักษาโรค ค.ศ. 1700 (พ.ศ. 2243) มคี วามนยิ มใชน้ ำ้� มนั หอมระเหยทางการแพทยอ์ ยา่ งแพรห่ ลาย จากการตรวจพบเช้ือวัณโรคในช่วงน้ันในประเทศฝรั่งเศส และมีการศึกษาและใช้น�้ำมันหอมระเหย ฆา่ เชือ้ ดังกลา่ ว พบว่า ลาเวนเดอร์ (Lavender oil) และ ออริกาโน (Origano oil) มีคุณสมบัติ ฆา่ เชอ้ื แบคทีเรยี ค.ศ. 1900 (พ.ศ. 2443) มคี วามกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตร์ ในทางซกี โลกตะวนั ตกมากขน้ึ มีการแยกตัวยาบริสุทธ์ิจากพืชและการสังเคราะห์ทางเคมี เนื่องจากปริมาณน้�ำมันหอมระเหย ไมพ่ อใช้เพราะน�ำไปใช้ฟุ่มเฟือยเป็นน้ำ� หอมและอืน่ ๆ การนำ� มาใชเ้ ป็นยาจงึ ลดน้อยลง จนกระทง่ั ในปี ค.ศ. 1910 (พ.ศ. 2453) René-Maurice Gattefossé นกั เคมชี าวฝรง่ั เศสได้ ฟน้ื ฟศู าสตรก์ ารใชน้ ำ้� มนั หอมระเหยเพอ่ื บำ� บดั และนยิ ามศพั ทค์ ำ� วา่ Aromatherapy ตงั้ แตน่ นั้ มาเขา จงึ ไดร้ บั สมญานามวา่ เปน็ บดิ าแหง่ อโรมาเธอราปี Gattefossé พบวา่ ลาเวนเดอรช์ ว่ ยลดอาการปวด กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ 221

จากบาดแผลไฟไหม้ของเขาได้ และสมานแผลท�ำให้ไม่มีแผลเป็น ในช่วงสงครามโลกคร้ังท่ี 1 มกี ารใชน้ ำ�้ มนั หอมระเหยในโรงพยาบาลทหาร เขาไดแ้ ตง่ ตำ� รา Aromatherapy ครงั้ แรกปคี .ศ. 1937 (พ.ศ. 2480) เปน็ ภาษาองั กฤษ ค.ศ. 1942 (พ.ศ. 2485) Jean Valnet ไดต้ พี มิ พ์หนังสอื Aromatherapie เขยี นจาก ประสบการณข์ องเขาในการใช้รกั ษาทหารในระหว่างและหลงั สงครามอนิ โดจีน ค.ศ. 1964 (พ.ศ. 2507) Marguerite Maury ได้เริ่มใช้น้�ำมันหอมระเหยใส่ใน เครอ่ื งส�ำอางและใช้กับการนวด ค.ศ. 1975 (พ.ศ. 2518) Paolo Rovesti ไปประเทศปากีสถานและพบว่ามีเครื่อง สกัดโบราณ ท�ำจาก Terracotta ในพิพิธภัณฑ์ เป็นส่ิงที่ประดิษฐ์ข้ึนและสิ่งนี้ท�ำให้ทราบว่า ประเทศปากีสถานสมัยโบราณเป็นส่วนหน่ึงของประเทศอินเดียที่เรียกว่าตักศิลา (Taxila) อยบู่ ริเวณเชิงเขาหิมาลัย ค.ศ. 1993 – 1995 (พ.ศ. 2536 – 2538) ได้ค้นพบนำ�้ มนั Tea tree oil ในประเทศ ออสเตรเลีย โดย Penfold น�ำมาใชก้ ับทหารในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 2) ประโยชนข์ องสุคนธบ�ำบัด ศาสตรก์ ารใชน้ ำ�้ มนั หอมระเหยตอ่ สขุ ภาพหรอื สคุ นธบำ� บดั มขี อ้ มลู เกยี่ วกบั ประโยชนอ์ นั มากมายในการสง่ เสรมิ สขุ ภาพและรกั ษาโรค ในรปู แบบการใชท้ แี่ ตกตา่ งกนั ไป เชน่ ผสมในนำ�้ มนั นวด สูดดม ใส่ในอ่างแช่ ผสมในโลชั่น และผลิตภัณฑ์ส�ำหรับผิวหน้าและผิวกาย นอกจากนี้ยังใส่ใน น้�ำยาท�ำความสะอาด เครื่องส�ำอาง น้�ำหอมและแชมพู น�้ำมันหอมระเหยจะช่วยลดความเครียด เพมิ่ พลงั และกระตนุ้ ใหร้ สู้ กึ สดชน่ื มชี วี ติ ชวี า ชว่ ยทำ� ใหส้ งบมสี มาธิ ลดอาการอกั เสบ ลดอาการปวด และช่วยแก้อาการผิดปกติอีกหลายอย่าง ท่ีผ่านมาได้มีการใช้สุคนธบ�ำบัดอย่างได้ผลในการรักษา การติดเช้ือไวรัส หอบหืด พีเอ็มเอส (PMS, pre-menstrual syndrome) อาการกระวนกระวาย ไฟไหมน้ ำ้� รอ้ นลวก ไขขอ้ อกั เสบ หลอดลมอกั เสบ สวิ ปวดศรี ษะ นอนไมห่ ลบั และเครยี ด (Battaglia, 1995 ; Lawless, 1995) ต่อมา เมื่อวิทยาศาสตร์และการแพทย์ก้าวหน้าขึ้น มีการสังเคราะห์กลิ่นหอมเพื่อ ทดแทนการใช้น�้ำมันหอมระเหยโดยเฉพาะในอุตสาหกรรมแต่งกลิ่น เน่ืองจากมีราคาถูกกว่ามาก แต่ความนิยมใช้น�้ำมันหอมระเหยจากธรรมชาติกลับเพิ่มขึ้นอย่างต่อเน่ือง ด้วยกลัวพิษภัยของ สารเคมสี งั เคราะหน์ ่นั เอง (Streicher, 2000) ปจั จบุ นั นำ�้ มนั หอมระเหยใชใ้ นรปู แบบหลากหลาย สำ� หรบั Aromatherapy มขี อ้ หา้ มใช้ สารสงั เคราะหโ์ ดยเด็ดขาด น�ำ้ มนั หอมระเหยมีประโยชน์ ดงั น้ี 222 เอกสารความรู้ ผู้ดำ�เนินการสปาเพื่อสขุ ภาพ

1. ใชเ้ ปน็ ยา โดยเฉพาะทเี่ หน็ ในทอ้ งตลาด เชน่ ยาหมอ่ งนำ้� ยาดม ปาลม์ ยาลดปวดกลา้ มเนอ้ื ชนิดครีม ขององค์การเภสัชกรรม ส�ำหรับชนิดครีมยังมีการใช้ Eugenol oil และจัดเป็นยาแผน ปัจจุบันของหลายบริษัท หรือแม้แต่ยาธาตุน้�ำขาวท่ีใส่น้�ำมันตะไคร้ ยาขับลมจากประเทศอินเดียมี การใช้น้�ำมันกะเพรา กระเทยี มแคปซลู ฯลฯ เปน็ ต้น 2. ใชเ้ ปน็ เครอ่ื งสำ� อาง นำ้� มนั หอมระเหยมกี ลนิ่ หอม อยใู่ นกลมุ่ นำ�้ หอมตง้ั แตค่ รงั้ โบราณ เชน่ ประเทศไทยมนี ำ�้ อบ ในตา่ งประเทศมกี ารปรงุ นำ้� หอม จนถงึ ปจั จบุ นั นำ�้ หอมคณุ ภาพดี ยงั ใสน่ ำ้� มนั หอมระเหยเปน็ องคป์ ระกอบหลกั ในสว่ นดแู ลผวิ พรรณ มเี ครอ่ื งสำ� อางใหม่ หนั มาใชน้ ำ�้ มนั หอมระเหย เปน็ สว่ นผสมกนั เพม่ิ ขนึ้ รวมทง้ั บรษิ ทั เครอื่ งสำ� อางใหญๆ่ กห็ นั มาใสใ่ จมากขน้ึ แตก่ ย็ งั มหี ลายบรษิ ทั ท่ี ยงั ใชแ้ คส่ ารหอม (aromatic substance) นำ� มาผสมเลยี นแบบนำ�้ มันหอมระเหยเหมือนเดมิ ไมไ่ ด้จดั เปน็ Aromatherapy สำ� หรบั เครอื่ งสำ� อางใชน้ ำ�้ มนั หอมระเหยแกส้ วิ และจดุ ดา่ งดำ� ตลอดจนทำ� ใหผ้ วิ เรยี บเนยี น เป็น Repair complex ได้ เชน่ mandarin oil ผสม jasmine oil และ lavender oil นอกจากน้ียังใช้น้�ำมันหอมระเหยกันแดด เช่น marigold oil lavender oil และ callendula oil เป็นต้น 3. ใช้ในสปาเพื่อสุขภาพ มีการน�ำไปใช้ประโยชน์เพ่ือการผ่อนคลาย (Relaxing oil) เช่น ลาเวนเดอร์ (Lavender) เจอราเนียม (Geranium) บางชนิดใช้เพ่ือเพ่ิมความสดชื่น (Refreshing oil) เช่น ส้ม มะนาว มิ้นท์ และมีกลุ่มท่ีเพิ่มพลังแก่ร่างกาย (Energizer oil) เช่น สะระแหน่ (peppermint) ขิง (Ginger) โรสแมรี (rosemary) อย่างไรก็ตามในสปา เพื่อสุขภาพยังใช้น�้ำมันหอมระเหยเพื่อบรรเทาอาการปวดต่างๆ การท�ำให้ผ่อนคลาย หลับสบาย รวมถงึ ประโยชน์อ่นื ๆ ทศี่ กึ ษาจากสรรพคุณของน�ำ้ มนั หอมระเหยได้ 4. ใช้ทางการเกษตร ช่วยลดมลภาวะตกค้างในสิ่งแวดล้อม ท�ำยาไล่แมลง เช่น ยคู าลปิ ตสั การบูร และท�ำกบั ดักแมลง เช่น นำ้� มนั หอมกะเพรา (จงกชพร, 2520) นอกจากไล่แมลง ในแปลงปลกู ยงั สามารถไลแ่ มลงในบา้ นเรอื น เชน่ ยคู าลปิ ตสั พมิ เสน การบรู ไลป่ ลวก มด แมลงวนั แมลงสาบ 5. ใชใ้ นปศสุ ตั วแ์ ละประมง ใชท้ ำ� ความสะอาดโรงเรอื นเลยี้ งสตั ว์ อาบนำ�้ สตั ว์ เชน่ ตะไครห้ อม ยูคาลิปตัส และอ่ืนๆ ใช้ฆ่าเชื้อและป้องกันแมลงกัดต่อย และรักษาบาดแผลสัตว์เล้ียงได้ เช่น ไพล ขมิ้น ทีทรี ยังมีกลุ่มอื่นๆท่ีใช้ไล่ไร เช่น ยูคาลิปตัส ตะไคร้บ้าน และตะไคร้หอม ในการประมง ใชน้ ำ้� มันกระเทยี มฆ่าพาราสติ (parasite) ในกุง้ 6. ใช้ฆ่าเชื้อในผลิตภัณฑ์ท�ำความสะอาด เช่น ต้นชา ส้ม สะระแหน่ การบูร ตะไคร้ กานพลู ขิง นักวิทยาศาสตร์ไทยท�ำการวิจัยพบว่าน้�ำมันข่าฆ่าเช้ือวัณโรคได้เป็นอย่างดี และใชท้ ำ� ความสะอาดและรมหอ้ งเพ่ือฆา่ เชอ้ื ได้ กรมสนับสนนุ บริการสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ 223

7. ใช้ในอาหารและเครอื่ งดมื่ เป็นสารกนั บดู เชน่ อบเชย (Cinnamon) ขิง (Ginger) ใช้เป็นเคร่ืองดื่มเช่น ส้ม ขิง วานิลลา กุหลาบ มะลิ ใช้เป็นสารชูรสในอาหารเช่น ขิง ตะไคร้ จันทน์เทศ พริกไทย พริกหอม ฯลฯ 3) หลักการเข้าสู่ร่างกาย (Mode of Entry of Essential oil) (Carole, 1993; Edwards, 1999) นำ้� มันหอมระเหยเขา้ สู่ร่างกายโดยการซมึ ผ่านเย่อื บุตา่ งๆได้ 3 เส้นทางหลัก ดงั น้ี 1) ระบบย่อยอาหาร (gastrointestinal tract) โดยการบริโภค 2) ผิวหนงั และรขู ุมขน โดยใช้ทา 3) จมูก โดยการสดู ดม • ซึมผา่ นเย่ือบุโพรงจมกู สู่ประสาทรับกลนิ่ และเขา้ สสู่ มอง • ซึมผ่านถุงลมปอด สู่หลอดเลือดฝอย และเข้าสู่ระบบเลือดไหลเวียนทุกเส้นทาง ยกเว้นการซึมผ่านเย่ือบุโพรงจมูก ทันทีที่น้�ำมันหอมระเหยซึมผ่านเย่ือบุต่างๆ จะถูกดูดซึมเข้าสู่ระบบน�้ำเหลืองทันที (lymphatic system) จากระบบน�้ำเหลือง จะซมึ ผา่ นหลอดเลอื ดฝอย (capillary) และเขา้ สรู่ ะบบไหลเวยี นเลอื ด (circulatory system) ในทสี่ ุด 224 เอกสารความรู้ ผู้ด�ำ เนนิ การสปาเพอื่ สขุ ภาพ

ภาพที่ 61 โครงสรา้ งผิวหนังชนั้ ต่างๆที่น้�ำมนั หอมระเหยซมึ ผ่าน ทมี่ า: Worwood, 1991 ภาพที่ 62 แสดงอนุมลู น้ำ� มนั หอมระเหยผา่ นรูขมุ ขนเขา้ ส่รู า่ งกาย ท่ีมา: จงกชพร พินจิ อกั ษร, 2520 กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ 225

ธรรมชาติของน้�ำมันหอมระเหย คือเป็นสารระเหย (Volatile substance) ท่ีอยู่ใน รูปของน�้ำมัน แม้จะอยู่ในสภาวะแวดล้อมท่ีอุณหภูมิห้อง ก็มีคุณสมบัติละลายหรือเข้ากันได้กับ ส่วนประกอบที่เป็นไขมันของเซลล์ของเยื่อบุต่างๆของร่างกาย ท�ำให้เยื่อบุต่างๆ เช่น ช้ันผิวหนัง เย่ือบุโพรงจมูก ผนังหลอดเลือด ผนังก้ันหรือเย่ือบุสมอง หรือแม้แต่เย่ือหุ้มรก ยอมให้โมเลกุลของ สารหอมทเ่ี ปน็ สว่ นประกอบของนำ�้ มนั หอมระเหย ซมึ ผา่ นและออกฤทธติ์ อ่ เนอ้ื เยอ่ื หรอื อวยั วะตา่ งๆ เช่น กล้ามเน้ือ ข้อ ไขมัน ประสาท หัวใจ สมอง ตับและอ่ืนๆ ข้ึนอยู่กับสรรพคุณของสารท่ีเป็น สว่ นประกอบของนำ�้ มนั หอมระเหยชนดิ นนั้ ๆ เมอ่ื ระยะเวลาการออกฤทธสิ์ น้ิ สดุ ลง สารดงั กลา่ วจะถกู ขบั ออกจากร่างกายตามเส้นทางต่างๆ เช่น สารที่เป็นส่วนประกอบของ Eucalyptus oil จะถูกขับ ทางปอด ออกมาพร้อมลมหายใจ สารใน Juniper berry oil จะถูกขับออกทางไต ออกมาพร้อม กบั ปสั สาวะ สารใน Rose absolute oil จะถกู ขบั ทางนำ้� ดี ออกมาพร้อมกับอจุ จาระ และบางชนิด ถูกขับออกมาพร้อมกับเหงื่อ ผ่านทางผิวหนัง เป็นต้น โดยท่ัวไปโมเลกุลเล็กๆเหล่านี้ จะไหลเวียน อยู่ในรา่ งกาย แล้วถกู ขับออกภายใน 48 ชว่ั โมง 4) ทฤษฏกี ารรบั กลน่ิ และกลไกการออกฤทธขิ์ องนำ้� มนั หอมระเหย (Theory of olfactory receptor & mechanism of Essential oil) (Müller, 1992) เมื่อเราสูดดมน�้ำมันหอมระเหย โมเลกุลซึ่งอยู่ในรูปของไอระเหยจะกระตุ้นเย่ือที่มี ลักษณะคล้ายขนเล็กๆ ของเซลล์ประสาทรับกล่ิน (olfactory nerve) จากนั้นเก็บกักไว้ท่ีกลุ่ม ประสาทรบั กลน่ิ (olfactory bulk) กอ่ นทจี่ ะสง่ ตอ่ ไปยงั สมองสว่ นทเ่ี รยี กวา่ ลมิ บกิ (Limbic system) สมองสว่ นนจ้ี ะแยกการทำ� งานออกเปน็ 2 สว่ น คอื สว่ นที่ 1 ศนู ยอ์ ารมณ์ (Emotional centre) ซง่ึ ถอื วา่ เปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ของกระบวนการ ตอบสนองทางอารมณต์ า่ งๆ ตลอดจนการเรยี นร้แู ละความจำ� สว่ นท่ี 2 การสง่ั งานของสมองสว่ นตา่ งๆ เชน่ Hypothalamus และ Pituitary gland ใหเ้ กดิ การหลงั่ สารเคมตี า่ งๆ เชน่ ฮอรโ์ มน เอน็ ไซม์ นำ้� ยอ่ ย สารคดั หลง่ั ตา่ งๆ เปน็ ตน้ อนั จะสง่ ผลตอ่ การทำ� งานของอวัยวะต่างๆ ของรา่ งกายต่อไป 226 เอกสารความรู้ ผดู้ ำ�เนินการสปาเพอื่ สุขภาพ

ภาพที่ 63 แผนภาพแสดงระบบประสาทรับกล่นิ ทม่ี า: Carole Mc Gilvery, Jini Reed และ Mira Mehta, 1993. ภาพท่ี 64 การเขา้ ส่รู า่ งกายของโมเลกลุ น้�ำมันหอมระเหยผ่านทางจมูก ท่ีมา: Battaglia, 1995. กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ 227

จมกู สดู ดมน�ำ้ มนั หอมระเหย ผา่ นเย่อื บุโพรงจมูก กลุ่มประสาทรับกลิน่ ระบบลิมบิก สมอง ศูนย์อารมณ์ ความจำ� หลง่ั สารเคมี เช่น การเรยี นรู้ ฮอร์โมน เอน็ ไซม์ หรอื สารคัดหลั่งต่างๆ การแสดงออกทาง อารมณ์ เกดิ การตอบสนองจาก อวัยวะของรา่ งกาย ภาพที่ 65 แผนภูมแิ สดงการเขา้ ส่รู า่ งกายของโมเลกลุ น�ำ้ มนั หอมระเหยทางจมูก ทีม่ า: กองแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ , 2550 228 เอกสารความรู้ ผดู้ ำ�เนินการสปาเพอ่ื สุขภาพ

5) การสกดั นำ้� มนั หอมระเหย (กองแพทยท์ างเลอื ก, พ.ศ. 2550; Schnen belt, 1995) หลกั การสกดั นำ้� มนั หอมระเหย ตอ้ งเลอื กวธิ สี กดั ทจี่ ะใหไ้ ดผ้ ลติ ภณั ฑต์ ามความตอ้ งการ เช่น absolute oil ได้มาจากหลายๆวิธีการ เช่น การสกัดโดยใช้ไขมันสกัดกลิ่นหอมจากพืชซึ่ง อนุญาตให้ใช้ในสุคนธบ�ำบัดได้ ยกเว้น absolute oil ท่ีได้จากการสกัดด้วยตัวท�ำละลายอินทรีย์ เช่น hexane และ ether ห้ามใช้ในสุคนธบ�ำบัด ในการเลือกซื้อน้�ำมันหอมระเหยควรเลือกชนิด ที่มีคุณภาพและสรรพคุณที่ดี ไม่มีสารเคมีตกค้างในน้�ำมันหอมระเหย แต่ส่ิงหนึ่งที่ต้องค�ำนึงถึง คือ เทคนิคการสกัด การสกัดสมุนไพรด้วยวิธีการหมัก จะไม่ทราบความเข้นข้นของสารสกัดท่ีได้ ว่าเป็นเท่าไร ท�ำให้น�ำไปใช้ยาก แต่ถ้าผู้ผลิตมีการวิเคราะห์ควบคุมคุณภาพ ท�ำให้ทราบความเข้ม ข้นท่ีแน่นอน ก็อาจใช้ในการผสมเป็นผลิตภัณฑ์เพ่ือสุขภาพได้ มีผู้ผลิตหลายบริษัท ที่ผลิตน�้ำมัน พืช (Fixed oil) โดยการหีบเย็น และเขยี นว่าเปน็ Virgin oil ซึง่ ในกรณีนีจ้ ะน�ำเอาเมลด็ พชื กลุ่ม เครื่องเทศ (Spice) มาหีบ จะได้ Fixed oil ปนมากับน�้ำมันหอมระเหยด้วย บางครั้งท�ำให้เกิด ความสับสนแก่ผู้ซ้ือได้โดยเข้าใจผิดคิดว่าเป็นน้�ำมันหอมระเหยบริสุทธ์ิ ดังน้ันก่อนซ้ือ ต้องดูข้อมูล ความเขม้ ข้นท่ีแนน่ อนของน้ำ� มนั หอมระเหย เพอ่ื คำ� นวณความเข้มข้นในผลิตภัณฑ์สดุ ท้ายได้ ก่อนสกัดน้�ำมันหอมระเหย จะต้องค�ำนึงถึงปัจจัยหลักคือลักษณะของพืชหอมที่ใช้สกัด เครอ่ื งสกดั วธิ กี ารสกดั เพอื่ ใหไ้ ดค้ ณุ ภาพและปรมิ าณนำ�้ มนั ทดี่ ตี ามความตอ้ งการและเหมาะสมกบั การน�ำไปใช้ต่อไป ชนิดพชื หอมตามทมี่ องเหน็ และสมั ผัสได้มี 3 กลุ่มคือ กลุ่มท่ี 1 มีน้�ำมันมาก ตัวอย่างเช่นเปลือกส้มต่างๆจะสามารถมองเห็นเซลล์ที่เก็บ น�้ำมันหอมระเหยไดด้ ว้ ยตาเปล่าอยา่ งชดั เจน เมอื่ บบี เบาๆกจ็ ะมนี �้ำมนั ออกมาและมีกล่นิ หอม กล่มุ ท่ี 2 มีน�้ำมันปานกลาง ตวั อยา่ งเชน่ ตะไคร้ ใบมะกรูด กระเพา โหระพา กลมุ่ น้เี มื่อ เดนิ ผ่านตน้ พชื จะไม่มกี ล่ินหอมออกมา แตเ่ ม่ือขย้ีแลว้ จะมกี ล่ินหอม กลมุ่ ท่ี 3 มนี ำ�้ มนั นอ้ ย ตวั อยา่ งเชน่ ดอกไมต้ า่ งๆ มะลิ กระดงั งา ซอ่ นกลนิ่ ดอกไมเ้ หลา่ น้ี จะสง่ กล่นิ หอมไปไกล แตเ่ มอื่ ขยหี้ รอื บบี จะไม่มีกล่นิ หอม แต่จะไดก้ ล่ินเหม็นเขียว กรมสนับสนุนบรกิ ารสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข 229

กระบวนการสกดั น�้ำมนั หอมระเหยมีหลายวธิ ดี งั ตอ่ ไปนี้ 1) การบีบ ค้ัน (Cold Press) เป็นการสกัดเย็นโดยวิธีใช้แรงบีบ วิธีน้ีใช้ได้กับพืช กลมุ่ ทมี่ นี ำ้� มนั หอมระเหยมาก จะไดน้ ำ้� มนั หอมระเหยทเี่ ปน็ ธรรมชาตเิ พราะไมผ่ า่ นความรอ้ น ขอ้ เสยี คืออาจมีส่ิงเจือปนมากับพืชท่ีน�ำมาสกัด จึงไม่ค่อยบริสุทธ์ิ ดังนั้นต้องควบคุมการปลูกแบบ เกษตรอินทรีย์เพื่อลดการปนเปื้อน น�้ำมันหอมระเหยที่ได้ให้น�ำไปเหว่ียงแยกเอาน�้ำมันหอมระเหย ออกจากสว่ นอน่ื อีกทีหนง่ึ 2) การกลนั่ (Distillation) เปน็ วธิ ที นี่ ยิ มใชก้ นั อยา่ งแพรห่ ลาย เปน็ วธิ ที ป่ี ระหยดั และ สูญเสยี น้�ำมันหอมระเหยเพียงเลก็ นอ้ ย แบง่ เปน็ 3 วธิ ี คือ 2.1) กล่ันโดยใช้ไอน�้ำ (Steam Distillation) น�ำพืชหอมวางบนตะแกรงใน หม้อกลั่นท่ีมีน้�ำอยู่ข้างล่าง ลักษณะคล้ายหม้อนึ่งเพียงแต่ไม่แยกส่วน แล้วต้มน้�ำให้เดือดกลายเป็น ไอผ่านพืช จะท�ำให้น�้ำมันหอมระเหยถูกปล่อยออกมาปนกับไอน้�ำ ผ่านไปตามท่อหล่อเย็นที่ท�ำให้ น�้ำมันหอมระเหยและไอน้�ำเย็นตัวลงกลายเป็นของเหลว ดักเก็บไว้ในขวด จะได้น้�ำมันหอมระเหย ลอยแยกชั้นอยู่บนผิวน้�ำหรือด้านล่างแล้วแต่ความหนาแน่นของน�้ำมันชนิดนั้นๆ จากน้ันก็แยก นำ้� มนั ออกไวใ้ ช้ สว่ นชนั้ นำ้� ทไี่ ดจ้ ากการกลนั่ ยงั คงมกี ลน่ิ หอม นำ� ไปใชป้ ระโยชนไ์ ดอ้ กี เชน่ ใชผ้ สมใน เครอื่ งสำ� อางบางชนดิ เชน่ Rose water (เครอื่ งกลนั่ นำ้� มนั หอมระเหยแบบงา่ ยๆ แสดงใน ภาพที่ 66) 2.2) การกลั่นโดยการต้ม (Water or Hydro-Distillation) พืชหอมที่ใช้ จะเปน็ พชื ทที่ นตอ่ ความรอ้ นสงู เชน่ พชื แหง้ แขง็ หรอื เปน็ เนอื้ ไม้ วธิ คี อื นำ� พชื ดงั กลา่ วมาแชล่ งในนำ�้ ให้ความร้อนจนน้�ำเดือด เซลล์ของพืชจะแตกและน�้ำมันหอมระเหยจะถูกพาให้ลอยขึ้นพร้อมกับ ไอนำ้� เช่น เดียวกบั กล่นั โดยใช้ไอน้�ำ 2.3) การกลน่ั ดว้ ยไอนำ�้ ภายใตแ้ รงดนั สงู (Vacuum Steam Distillation) วธิ ี การเหมอื นการสกดั แบบกลน่ั โดยใชไ้ อนำ�้ แตอ่ ยภู่ ายใตค้ วามดนั ในภาชนะทปี่ ดิ สนทิ เพอ่ื ลดจดุ เดอื ด ของน�้ำและน�้ำมันหอมระเหยให้ต่�ำลง ท�ำให้คุณสมบัติไม่ถูกท�ำลาย คุณภาพน้�ำมันหอมระเหย ดีกว่า 2 วิธแี รก 230 เอกสารความรู้ ผ้ดู ำ�เนินการสปาเพอ่ื สขุ ภาพ

ภาพท่ี 66 เครอื่ งกลัน่ นำ�้ มันหอมระเหยโดยใชไ้ อน้ำ� ทม่ี า: http://www.fao.org/inpho_archive/content/documents/vlibrary/ad420e/ad420e15.htm Archived November 22, 2013 3) การสกดั ดว้ ยตวั ท�ำละลาย (Solvent Extraction) 3.1) ตวั ทำ� ละลายทร่ี ะเหยได้ (Volatile Solvent) 1.Petroleumetherหรอื Hexeneสามารถใชว้ ธิ กี ารสกดั เยน็ คอื นำ� พชื หรอื ดอกไม้ ใส่ในภาชนะ เติมตวั ทำ� ละลายลงไป ตั้งทงิ้ ไวท้ ่ีอุณหภูมิหอ้ ง หรือสกดั รอ้ น โดยใชก้ ารสกัดด้วยซอก เลต (Soxhlet Extraction) ควบคมุ อณุ หภมู เิ ทา่ กบั จดุ เดอื ดของตวั ทำ� ละลายทใ่ี ช้ (ประมาณ 40 - 60 องศาเซลเซยี ส) การสกดั ทงั้ สองวธิ จี ะไดข้ องเหลวทปี่ ระกอบดว้ ยสารประกอบทเี่ ปน็ สี นำ�้ มนั และ wax ละลายออกมาปนกันเรียกว่า สารสกัดเบื้องต้น ‘Crude extract’ จากนั้นจึงน�ำไประเหยตัวท�ำ ละลายออกด้วยเคร่ืองระเหย Vacuum Evaporator จะท�ำให้ได้ ‘Concrete’ หากน�ำไปสกัดต่อ ด้วย absolute alcohol ก็จะได้น�้ำมันหอมระเหยละลายในแอลกอฮอล์เรียกว่า ‘Absolute Oil’ (ห้ามรับประทาน) ถ้าต้องการแยกน้�ำมันหอมระเหยออกมา ก็น�ำไประเหยเอาแอลกอฮอล์ออกอีก ครัง้ หนง่ึ หา้ มใชน้ �ำ้ มันหอมระเหยในสคุ นธบำ� บดั 2. Absolute alcohol คอื การสกัดดว้ ยแอลกอฮอล์ รอ้ ยละ 95 แบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 วิธี คือสกัดเย็นโดยน�ำพืชมาแช่ในแอลกอฮอล์ ต้ังทิ้งไว้ท่ีอุณหภูมิห้อง จะได้สารละลายเรียกว่า ทงิ เจอร์ (Tincture) (ไมค่ วรรบั ประทาน) และสกดั รอ้ นเปน็ การสกดั ดว้ ยแอลกอฮอล์ โดยใหค้ วามรอ้ น ประมาณ 70 องศาเซลเซยี ส โดยใชเ้ คร่อื งมอื Soxhlet Extraction ได้สารสกัดทเี่ รียกว่าโอลีโอเรซนิ (Oleoresin) ข้อดีของการใช้วิธีสกัดแบบน้ีคือ ไม่ท�ำให้องค์ประกอบทางเคมีของน้�ำมันหอมระเหย กรมสนบั สนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ 231

เสียไป และเหมาะกับพืชท่ีมีน้�ำมันหอมระเหยปริมาณน้อย ข้อเสียคือตัวท�ำละลายท่ีใช้บางชนิดมี ราคาแพง และตอ้ งแน่ใจวา่ ได้ระเหยตวั ท�ำละลายออกหมดแล้วก่อนนำ� ไปใช้ 3.2) ตวั ละลายทรี่ ะเหยไมไ่ ด้ เชน่ นำ�้ มนั หรอื ไขมนั จากพชื หรอื สตั ว์ (Fixed Oil and Lard) เหมาะส�ำหรับดอกไมท้ ่ีมีน้ำ� มนั หอมระเหยในปริมาณน้อย แบ่งวิธีการสกดั ดังตอ่ ไปนี้ 1. มาเซอเรช่ัน (Maceration) เป็นการสกัดโดยวิธีแช่พืชหรือดอกไม้ในน้�ำมันพืชหรือ นำ�้ มนั จากสตั วท์ อ่ี ณุ หภมู หิ อ้ งหรอื ใหค้ วามรอ้ น 70 องศาเซลเซยี ส จะไดส้ ารประกอบของพชื ทล่ี ะลาย ในน�้ำมัน เรียกสารสกัดน้ีว่า ‘Oil Extract’ ประกอบด้วยน้�ำมันหอมระเหยปนอยู่กับสารอื่น เมื่อ นำ� ไปใชจ้ ะไดส้ รรพคณุ ของสารอืน่ ด้วย จึงไม่อาจเรียกไดว้ ่าเปน็ สุคนธบำ� บดั เช่น น้ำ� มันเหลอื งท่ใี ช้ เป็นน�้ำมันนวดหรือทาบรรเทาอาการปวดต่างๆ หรือชนิดที่ใส่ในยาหม่องโดยเอาไพลไปเค่ียวกับ น้ำ� มันพชื 2. อองเฟลอราจ (Enfleurage) เป็นวธิ สี กดั โดยใช้ไขมนั แข็งจากพชื หรอื สตั ว์ (Lard or Margarine) โดยนำ� มาทาบางๆ บนแผ่นแก้วที่มฝี าปดิ แลว้ น�ำพชื หรอื ดอกไมม้ าวางไวบ้ นไขมนั แข็ง ปิดฝาท้ิงไว้ให้ดอกไม้ปล่อยกล่ินออกมา เปล่ียนดอกไม้ทุกวันจนกว่าไขมันแข็งจะมีกล่ินหอม กล่ินซ่ึงเป็นน�้ำมันหอมระเหยจะถูกดูดซับไว้ในไขมันแข็งดังกล่าว เรียกว่า โพเมด (Pommade) แล้วจึงน�ำ Pommade มาแยกเอาน�้ำมันหอมระเหยออกจากไขมันแข็งโดยการสกัดด้วย absolute alcohol จะได้ ‘Absolute Oil’ เช่นเดียวกับการสกัดจาก concrete วิธีน้ีเหมาะส�ำหรับดอกไม้ท่ี บานทุกวัน จะได้น�้ำมันหอมระเหยที่มีกลิ่นธรรมชาติเพราะไม่ถูกท�ำลายด้วยความร้อน และไม่มี สารประกอบของพืชที่ละลายในน�้ำมันเจือปนออกมา แต่ต้องใช้เวลาหลายวันในการสกัด เป็นวิธีที่ ใช้มาแต่โบราณ 3.3) สารละลายทเ่ี ปน็ แกส๊ เฉอ่ื ย (Innert gas) เชน่ คารบ์ อนไดออกไซด์ (carbondioxide) โดยปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ท่ีถูกท�ำให้เป็นของเหลวภายใต้ความดันสูงผ่านพืชหรือดอกไม้ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จะละลายน�้ำมันหอมระเหยออกมาจากพืช แล้วจึงน�ำสารสกัดท่ีได้มาระ เหยเอาแก๊สออกที่อุณหภูมิห้อง (แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จะอยู่ในสถานะเป็นไอที่อุณหภูมิห้อง) ท�ำให้น้�ำมันหอมระเหยไม่ถูกท�ำลาย ซึ่งต่างจากวิธีอ่ืนที่มีการใช้ความร้อน วิธีการน้ีเป็นวิธีที่นิยม ใช้กันมากเพราะจะได้น�้ำมันหอมระเหยท่ีมีกล่ินดีเหมือนธรรมชาติมากที่สุด แต่ต้นทุนจะสูงมาก เหมาะส�ำหรับการสกัดน้�ำมันหอมระเหยเพ่ือท�ำน�้ำหอมราคาแพง น้�ำมันหอมระเหยที่ได้เรียกว่า Absolute oil จะใช้ในสุคนธบ�ำบัดได้ก็ต่อเม่ือพืชหอมที่ใช้สกัดเป็นชนิดท่ีปลอดจากสารพิษ หรือ คมุ การปลูกแบบเกษตรอินทรีย์เทา่ นนั้ 232 เอกสารความรู้ ผดู้ ำ�เนนิ การสปาเพือ่ สขุ ภาพ

3.4) หลักการผสมและการประยกุ ต์ใช้นำ�้ มนั หอมระเหยเพ่อื สุขภาพ มนี �้ำมนั หอมระเหยกวา่ 300 ชนิดทใี่ ช้ทกุ วนั นโ้ี ดยผเู้ ชี่ยวชาญเฉพาะทาง แตท่ ี่มกี ารใช้ อย่างกวา้ งขวางมีประมาณกวา่ 10 ชนิดเทา่ น้นั แตล่ ะชนิดมีคุณสมบตั เิ ฉพาะ ปัจจุบนั มงี านค้นคว้า วิจัยจ�ำนวนมากที่อธิบายถึงสรรพคุณของน�้ำมันหอมระเหยที่มีใช้กันมาตั้งแต่สมัยโบราณ เช่น ต้านเช้ือราและแบคทีเรีย เพ่ิมการไหลเวียนเลือด ผลต่ออารมณ์ ผลต่อการนอนหลับ และ ดา้ นการบำ� รุงผิวพรรณ เป็นต้น ส่ิงมีประโยชน์ท่ีสุดของน้�ำมันหอมระเหย คือ กระบวนการเข้าสู่ร่างกายด้วยการดม การทา หรือสัมผัสน้ัน ไม่ท้ิงสารพิษไว้ในร่างกายเหมือนสารเคมีต่างๆ ที่ใช้ในอุตสาหกรรมยาและ เครอื่ งสำ� อาง ปัจจุบันผลิตภณั ฑท์ ่ผี สมนำ�้ มนั หอมระเหย เชน่ น้ำ� มันนวดตัว โลช่ัน แชมพู น้ำ� หอม สเปรยป์ รบั อากาศ ผลติ ภณั ฑแ์ ชต่ วั แชเ่ ทา้ เปน็ ตน้ อยา่ งไรกด็ ใี นการนำ� นำ้� มนั หอมระเหยมาผสมใชท้ ำ� ยาเพอ่ื รบั ประทาน อาจมผี ลใหค้ ณุ สมบตั ดิ อ้ ยลง หรอื เปลย่ี นไป เพราะกระบวนการยอ่ ยอาหารมนี ำ้� ยอ่ ย เป็นองค์ประกอบ มีผลต่อคุณสมบัติทางเคมีของน้�ำมันหอมระเหย ดังนั้นจึงไม่นิยมใช้ผสมท�ำยา เพ่ือรบั ประทาน เมอ่ื นำ�้ มันหอมระเหยเขา้ สรู่ ่างกายโดยการสดู ดม การนวดและทาจะถูกขบั ออกจาก รา่ งกายภายใน 6 - 14 ชว่ั โมง ผา่ นระบบทางเดนิ หายใจ ปสั สาวะ และเหงอื่ เนอื่ งจากนำ�้ มนั หอมระเหย แต่ละชนิดมีราคาต่างกัน และมักจะมีราคาแพง จึงผสมตัวพาลงไปให้เจือจาง ผู้ผลิตบางราย อาจผสมสารเคมีเลียนแบบกล่ิน เพ่ือผลทางการค้า ซึ่งไม่เป็นผลดีต่อผู้ใช้ ผู้เช่ียวชาญและคุ้นเคย เท่าน้ัน จึงจะสามารถแยกแยะน�้ำมันหอมระเหยของแท้ได้ หรืออาจต้องใช้เครื่องมือตรวจวิเคราะห์ ทางวทิ ยาศาสตร์ คนทว่ั ไปอาจแยกแยะดว้ ยวธิ งี า่ ยๆ คอื ทดสอบดว้ ยกระดาษซบั มนั โดยหยดนำ�้ มนั หอมระเหยลงไป ถ้าไม่ได้ผสมน�้ำมันพา เมื่อระเหยไปหมดจะไม่ทิ้งคราบวงน้�ำมันไว้ ดังนั้นหากใช้ น้�ำมันหอมระเหยเพ่ือท�ำผลิตภัณฑ์ต่างๆ ต้องม่ันใจในคุณภาพของน้�ำมันหอมระเหยนั้นๆ ว่าเป็น ของแท้ อย่างไรก็ตามน�้ำมันหอมระเหยชนิดเดียวกันจากแหล่งที่ต่างกัน เช่น จากแต่ละประเทศ อาจใหก้ ลนิ่ ทแ่ี ตกตา่ งกนั บา้ ง ขนึ้ กบั ภมู อิ ากาศ ภมู ปิ ระเทศ และลกั ษณะดนิ ดงั นน้ั การผสมแตล่ ะครงั้ อาจได้ผลติ ภัณฑท์ ี่มสี แี ละกลิ่นแตกตา่ งกันบ้างเลก็ นอ้ ย ผดู้ ำ� เนนิ การสปาเพอ่ื สขุ ภาพควรมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั หลกั การผสมนำ้� มนั หอมระเหย เพื่อใหเ้ กดิ ความปลอดภยั แก่ผ้รู บั บริการ โดยมหี ลักการผสมแบบง่ายๆ 3 แบบคอื 1) การผสมน้�ำมนั หอมระเหยเพ่ือใชก้ บั รา่ งกาย (Body methods) 2) การผสมนำ�้ มนั หอมระเหยเพอ่ื ใช้กับน้�ำ (Water methods) 3) การผสมน�ำ้ มนั หอมระเหยเพือ่ ใช้กบั หอ้ ง (room methods) กรมสนับสนุนบรกิ ารสุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ 233

1) การผสมน้ำ� มนั หอมระเหยเพอ่ื ใช้กบั ร่างกาย (Body methods) ปรมิ าณ (ขึ้นกับชนดิ ความเขม้ ขน้ ทตี่ อ้ งการ) วิธีการ สดั สว่ น (ร้อยละ) สดั ส่วน (รอ้ ยละ) แอลกอฮอล์ นำ้ �มนั หอมระเหย 1. น้ำ�หอม 1.1 Perfume 15 – 30 90 – 95 (คอื มีน้ำ� 10 – 5 % ) 1.2 Eau de Perfume 8 – 15 80 – 90 (คือมนี ำ้ �ผสมอยู่ 20 – 10 % ) 1.3 Eau de Toilette 4 – 8 80 – 90 (คือมีนำ้ �ผสมอยู่ 20– 10 % ) 1.4 Eau de Cologne 3–5 70 (คอื มนี ำ้ �ผสมอยู่ 30%) 1.5 Splash Cologne 1–3 80 (คอื มนี ำ้ �ผสมอยู่ 20 %) (บางครง้ั เรยี ก Body splash) 1 หยด สูดดมตามตอ้ งการ 2. กระดาษชำ�ระและผ้าเช็ดหนา้ 3. สูดดมไอระเหย 2 – 3 หยด เทน้ำ�ร้อนใส่อ่างขนาดพอเหมาะ หยดน้ำ�มนั หอมระเหย 2 – 3 หยด คลุมศีรษะดว้ ย ผา้ ขนหนู แลว้ ก้มหน้าลงให้ห่างจากอา่ ง ประมาณ 10 น้วิ หลับตา หายใจเข้า-ออก ทางจมูกยาว ประมาณ 1 – 2 นาที 2) การผสมน้ำ� มันหอมระเหยเพอื่ ใชก้ ับน�้ำ (Water methods) ปรมิ าณ (ขึน้ กบั ชนิดความเข้มข้นท่ตี อ้ งการ) วธิ ีการ สัดส่วน (ร้อยละ) สดั สว่ น (ร้อยละ) แอลกอฮอล์ นำ้ �มันหอมระเหย Jacuzzi น้ำ�มันหอมระเหย 3-4 หยด อาจเพ่ิมน้ำ�มนั หอมระเหย เพือ่ ฆ่าเชอื้ ตอ่ ขนาดอา่ งทน่ี อนแชไ่ ด้ 1 คน แบคทเี รยี ได้ กรณมี ผี ใู้ ชห้ ลายคน เชน่ (เลอื กชนิดของนำ้ �มันหอม มะกรดู (bergamot) ระเหยตาม ยูคาลปิ ตสั (eucalyptus) และตน้ ชา (tea tree) ความตอ้ งการ) ปริมาณ 3 – 4 หยด Sauna นำ้ �มันหอมระเหยประมาณ ใชน้ ้ำ�มันยูคาลปิ ตัส (eucalyptus) ตน้ ชา 2–3 หยดตอ่ นำ้ � 2 1⁄2 (tea tree) และ ตน้ สน (pine) ผสมในนำ้ � ถ้วย และราดบนหินรอ้ น เพราะน้ำ�มนั 3 ชนดิ น้ี มคี ณุ สมบตั เิ ข้าสู่ร่างกายไดด้ ที ส่ี ดุ โดย การสดู ดม และออกจากร่างกายดที ี่สดุ ทาง เหงือ่ มีคณุ สมบัติเปน็ เลิศ ด้านการทำ� ความสะอาดภายในและ ขบั สารพิษ (cleanser and detoxifiers) 234 เอกสารความรู้ ผู้ด�ำ เนินการสปาเพือ่ สขุ ภาพ

ปริมาณ (ข้นึ กบั ชนิดความเขม้ ขน้ ท่ีต้องการ) วิธกี าร สดั ส่วน (ร้อยละ) สดั สว่ น (รอ้ ยละ) แอลกอฮอล์ อาบดว้ ยฝกั บวั (Shower) น้ำ�มันหอมระเหย แช่มอื (Hand bath) น้ำ�มันหอมระเหย อาบน้ำ�ตามปกติ หยดนำ้ �มันหอมระเหยบนผา้ แชเ่ ท้า (Foot bath) 4 – 8 หยด ขนหนผู ืนเลก็ หรือฟองนำ้ �เปยี ก ถูตามร่างกาย ขณะท่มี ีนำ้ �จากฝักบัวรดลงมาตามรา่ งกาย แล้วสูดดมไอหอมระเหย หายใจเข้า–ออกลกึ ๆ น้ำ�มนั หอมระเหย แช่มือในน้ำ�อ่นุ ปานกลางในอ่าง 2 – 4 หยด ใชเ้ วลาไมเ่ กนิ 10 นาที นำ้ �มนั หอมระเหย แช่เท้าในนำ้ �อุน่ ปานกลางในอา่ ง 2 – 6 หยด ขนาดพอเหมาะกบั เท้า ใชเ้ วลาไมเ่ กนิ 20 นาที 3) การผสมนำ�้ มันหอมระเหยเพื่อใชก้ ับห้อง (room methods) ปรมิ าณ (ข้ึนกับชนิดความเขม้ ขน้ ทตี่ ้องการ) วธิ กี าร สัดส่วน (รอ้ ยละ) สัดส่วน (ร้อยละ) แอลกอฮอล์ น้ำ�มันหอมระเหย 1. เทียนหอม นำ้ �มนั หอมระเหย จดุ เทยี นใส่ในถ้วยแกว้ รอจนเทียนเริม่ ละลาย 1 – 2 หยด หยดนำ้ �มนั หอมระเหยลงบนขผี้ ้ึงทีร่ อ้ น ตอ้ ง ระวงั อย่าหยดลงบนไส้เทียน เพราะนำ้ �มนั หอมระเหยจะลกุ ไหม้ตดิ ไฟได้ 2. เตาน้ำ�มนั หอมระเหย นำ้ �มนั หอมระเหย เตานำ้ �มันหอมระเหยเล็กๆ ผลติ ขนึ้ มาใช้กับ (diffusers) 3 – 6 หยด ผสมน้ำ� นำ้ �มนั หอมระเหยเท่าน้ัน โดยใสน่ ำ้ � 1 – 2 ช้อน ประมาณ 1 – 2 ชอ้ นโต๊ะ โต๊ะ หยดนำ้ �มนั หอมระเหยลงไป 3 – 6 หยด ให้ ความร้อนโดยหลอดไฟเล็กๆ หรือเปลวเทยี น วัสดุท่ใี ช้ทำ�ภาชนะใสน่ ้ำ�มนั หอมระเหยตอ้ งมีผวิ เรียบล่ืน เชน่ แกว้ กระเบือ้ ง หรือโลหะ เพราะจะ เชด็ ทำ�ความสะอาดคราบนำ้ �มันหอมระเหยออก ง่ายๆ เพือ่ เตรียมใชค้ ร้งั ตอ่ ไป และวสั ดุเหล่านี้ กระจายความร้อนไดด้ ี ทำ�ใหโ้ มเลกุลของน้ำ�มนั หอมระเหยกระจายไดง้ า่ ยในอากาศรอบๆ หอ้ ง 3.สเปรยป์ รบั อากาศ 4 – 8 หยด ตอ่ น้ำ� 1 ถ้วย ใช้กระบอกฉดี นำ้ �อุน่ เติมนำ้ �มันหอมระเหย (room sprays) แลว้ เขยา่ ให้เขา้ กนั อาจใชฉ้ ดี หอ้ ง พรม เฟอร์นิเจอร์ที่หุ้มด้วยผา้ ผ้าม่าน แต่ไม่ควรฉดี โดยตรงบนไม้ กรมสนบั สนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ 235

ปริมาณ (ขึ้นกบั ชนิดความเข้มขน้ ทีต่ อ้ งการ) วิธีการ สดั ส่วน (ร้อยละ) สดั สว่ น (ร้อยละ) แอลกอฮอล์ 4. อ่างอบหอ้ ง นำ้ �มนั หอมระเหย (water bowls) นำ้ �มันหอมระเหย ใสน่ ำ้ �เดอื ดลงในภาชนะแกว้ หรือเซรามิค 5. เตาผงิ (woodfires) 3 – 9 หยด ขนาดปานกลาง หยดนำ้ �มันหอมระเหยลงไป ต้งั ไว้ในห้องที่มีกล่นิ อับ หรอื มีกล่นิ ไมส่ ะอาด ปดิ ประตหู ้อง อบหอ้ งดว้ ยกลิ่นนำ้ �มนั หอม ระเหยท่กี ระจายออกมาเป็นเวลา 5 นาที น้ำ�มันหอมระเหย 1–2 หยด ควรใช้นำ้ �มันหอมระเหย ต้นไซเปรซ ตอ่ ถา่ นไม้ 1 อัน (cypress) ตน้ สน (pine)ไมจ้ ันทน์ (sandalwood)ซดี ารว์ ดู (cedarwood) ยูคาลิปตสั (eucalyptus) ตน้ ชา (tea tree) หยดน้ำ�มันหอมระเหย 1 – 2 หยดลงบนถ่าน ไม้ทใ่ี ช้กับเตาผงิ ทิง้ ไว้ครงึ่ ชัว่ โมงกอ่ นใชง้ าน นำ้ �มันหอมระเหยจะมีคุณภาพอยู่ได้นาน จึงอาจหยดลงบนถา่ นไม้เตรียมไวล้ ว่ งหน้า ไว้ใช้ไดห้ ลายวนั ตัวอยา่ งสตู รน�้ำมันหอมระเหยเพื่อใชง้ าน 1) น�ำ้ มนั บ�ำรุงผิวหลงั โดนแดด ลาเวนเดอร์ (lavender) 10 หยด คาโมมายล์ (chamomile) 5 หยด มะกรูด (bergamot) 1 หยด เจอเรเนยี ม (geranium) 2 หยด ผสมในน้�ำมัน almond หรือ sesame oil 2 ช้อนโต๊ะ ใช้ถูนวดตามตัวเบาๆ หลังโดนแดด หรือหลังอาบน�้ำท�ำความสะอาดร่างกายแล้ว 2) น้�ำมันกันยงุ แมลงกัด ไทม์ (thyme) 4 หยด ตะไคร้ (lemongrass) 8 หยด ลาเวนเดอร์ (lavender) 4 หยด สะระแหน่ (peppermint) 4 หยด ผสมในนำ้� มนั almond 2 ช้อนโต๊ะ ทาตามตัว หรอื หยดน้�ำมันหอมระเหยชนิดละ หยดลงบนสำ� ลี วางไว้ขา้ งหมอน กันยงุ หรอื แมลงกดั เวลานอน 236 เอกสารความรู้ ผู้ด�ำ เนนิ การสปาเพอ่ื สุขภาพ

3) คลายเครยี ดนอนไม่หลบั หยดนำ้� มนั ลาเวนเดอร์ 1 – 3 หยดในอา่ งอาบนำ�้ แชต่ วั กอ่ นนอน หรอื หยดลงบนสำ� ลี 1 หยด วางข้างหมอน หรือหยดน�้ำมันหอมระเหย 1 – 2 หยดในน้�ำ 1 ช้อนโต๊ะ ในเตาน�้ำมันหอมระเหย ที่วางไว้ในห้องนอน สูดดมก่อนนอน กรณีนี้ ไม่ควรใช้น�้ำมันหอมระเหยมากไป เพราะจะท�ำให้ คุณสมบัติเปลย่ี นเป็นการกระตุน้ ร่างกายแทน 6) ขอ้ ห้าม ขอ้ ควรระวังในการเก็บรกั ษาและการใชน้ ้�ำมันหอมระเหย (Müller, 1992) การจัดเก็บน�้ำมันหอมระเหย (storage guidelines) 1) เก็บน�้ำมันหอมระเหยในขวดแก้วสีชา สีน�้ำเงิน หรือขวดอลูมิเนียม วางไว้ในที่เย็น อุณหภูมิไม่ต่�ำกว่า 18 องศาเซลเซียส เก็บให้มิดชิด ไม่มีแสงสว่างและปิดฝาให้แน่นสนิท ป้องกัน การระเหยและเก็บให้พ้นจากอากาศชื้น ไม่ควรเก็บในขวดพลาสติก เพราะน้�ำมันหอมระเหย บางชนิดละลายพลาสติกได้ 2) มปี า้ ยบง่ ชี้บอกชนิด สว่ นผสม ร้อยละการเจอื จาง และวนั ท่ี 3) ควรเกบ็ นำ้� มันหอมระเหยให้หา่ งจากเด็ก และสตั วเ์ ล้ยี ง 4) นำ้� มันหอมระเหยติดไฟได้ ดงั นั้นควรเก็บให้หา่ งจากเปลวไฟหรอื จุดก�ำเนิดไฟ 5) ไมค่ วรเกบ็ นำ�้ มนั หอมระเหยในภาชนะทม่ี ผี วิ ขดั สวยงาม แวววาว เพราะนำ�้ มนั หอมระเหย มฤี ทธ์ิกัดผวิ ภาชนะและเกิดคราบ ถ้าน�้ำมนั หอมระเหยโดนผวิ วสั ดุเหล่านใ้ี หเ้ ช็ดออกทันที 6) นำ้� มนั หอมระเหยเป็นสารจากธรรมชาติ จึงมีความเสอื่ มไปตามกาลเวลา โดยมีอายุ ไม่เกนิ 2 – 3 ปี สำ� หรับน้ำ� มันซีทรสั (Citrus) เก็บไดไ้ ม่เกิน 1 ปี ในต่างประเทศทอี่ ากาศหนาวจัด ในฤดหู นาวสามารถเกบ็ นำ�้ มนั หอมระเหยในตเู้ ยน็ ชอ่ งลา่ งสดุ ทใี่ ชแ้ ชผ่ กั สำ� หรบั ประเทศไทยควรเกบ็ ในตเู้ ยน็ บางชนดิ อาจมกี ารแขง็ ตวั แตส่ ามารถกลบั เปน็ ของเหลวเหมอื นเดมิ เมอ่ื ทง้ิ ไวท้ อ่ี ณุ หภมู หิ อ้ ง 7) เมือ่ ผสมนำ�้ มันหอมระเหยกบั น�้ำมนั ตัวพา อายกุ ารจัดเกบ็ จะสนั้ ลงเหลอื เพียง 2 - 8 เดือน และน้ำ� มันผสมไมผ่ สมสารกนั บดู เพื่อให้ได้ใชผ้ ลติ ภณั ฑ์ท่ีเป็นธรรมชาติ 100 เปอร์เซ็นตแ์ ละ เกิดประโยชนส์ งู สดุ กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข 237

ขอ้ ควรระวงั ดา้ นความปลอดภยั ในการใชน้ ำ้� มนั หอมระเหย (safety precautions of essential oils) (Lawless, 1992; กองแพทย์ทางเลอื ก, 2550) 1) เก็บน�้ำมันหอมระเหยให้ห่างจากเด็กและสัตว์เลี้ยง ห้ามบริโภคน�้ำมันหอมระเหย ทุกชนดิ เวน้ แต่ได้รับการแนะนำ� จากผเู้ ชี่ยวชาญ 2)สามารถใสผ่ สมในอาหารไดใ้ นปรมิ าณเลก็ นอ้ ยเชน่ นำ้� มนั มะนาว(lemonoil)1–2หยด น้ำ� มันส้ม (orange oil) 1–2 หยด ในซอส นำ้� สลัด ดพิ พงิ้ (dipping) ตา่ งๆ หรือขนมพาย และทาร์ต ต่างๆ และมีหนังสือการท�ำอาหารที่ผสมน้�ำมันหอมระเหยวางจ�ำหน่ายในร้านหนังสือบางแห่งใน ตา่ งประเทศ 3) เนอ่ื งจากนำ้� มนั หอมระเหยทยี่ งั ไมไ่ ดผ้ สมใหเ้ จอื จาง มคี วามเขม้ ขนั สงู และระคายเคอื ง จึงไม่ควรน�ำมาทาผิวเป็นบริเวณกว้าง ถ้าจะใช้กับผิวหนังบริเวณเฉพาะท่ี ควรปรึกษา แพทยผ์ เู้ ช่ยี วชาญ 4) ไมค่ วรขยต้ี าหลงั จากสัมผัสนำ้� มันหอมระเหย ถ้าเขา้ ตา ต้องล้างด้วยน้ำ� เยน็ ทนั ที 5) ระหวา่ งตง้ั ครรภ์ หากตอ้ งใชน้ ำ้� มนั หอมระเหย ใหป้ รกึ ษาผเู้ ชย่ี วชาญเทา่ นน้ั เพราะมี บางชนิดหา้ มใชก้ บั สตรีมคี รรภ์ และบางชนิดตอ้ งท�ำให้เจอื จางน้อยกว่า 1 เปอร์เซน็ ต์ จงึ จะใชไ้ ด้ เชน่ คาโมมายล์ ลาเวนเดอร์ เยอราเนยี ม ไซทรสั แซนเดลิ วดู และกหุ ลาบ เปน็ ตน้ 6) การใช้น�้ำมันหอมระเหยในเด็ก ต้องใช้น�้ำมันหอมระเหยผสมกับน้�ำมันตัวพา ทคี่ วามเขม้ ขน้ นอ้ ยกวา่ 1 เปอรเ์ ซน็ ต์ ควรปรกึ ษาผเู้ ชย่ี วชาญ และเลอื กใชน้ ำ้� มนั หอมระเหยใหต้ รงกบั วัตถปุ ระสงค์ 7) ส�ำหรับคนที่มีผิวบอบบาง แพ้ง่าย ให้ใช้น้�ำมันหอมระเหยท่ีผสมกับน้�ำมันตัวพา ทค่ี วามเข้มขน้ 1 เปอร์เซน็ ต์ 8) หลังใช้น�้ำมนั กลมุ่ ซที รสั ไมค่ วรโดนแดดอยา่ งนอ้ ย 6 ช่วั โมง ผวิ อาจแสบรอ้ นได้ 9) ตอ้ งใชน้ ำ้� มนั หอมระเหยใหถ้ กู ตอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงคแ์ ละคณุ สมบตั ขิ องนำ้� มนั หอมระเหย ควรหลกี เลีย่ งการใช้นำ้� มันหอมระเหยชนิดเดียวเปน็ เวลานานๆ 10) ในกรณีไม่แน่ใจว่าแพ้น้�ำมันหอมระเหยชนิดน้ันๆหรือไม่ ให้ทดสอบโดยหยด นำ้� มนั หอมระเหยความเขม้ ขน้ 2.5 เปอร์เซน็ ต์ 1 หยด ลงบนขอ้ มอื หรอื ขอ้ พับแขน ถูเบาๆ แลว้ ปดิ ด้วยพลาสเตอร์ ท้ิงไว้ 12 ช่วั โมง ถา้ มีอาการแดง หรือคนั บริเวณผวิ หนัง ไม่ควรใช้น้�ำมันหอมระเหย ชนดิ นน้ั ถา้ หลงั การทดสอบมอี าการแดง ใหใ้ ชน้ ำ้� มนั อลั มอนดท์ าบรเิ วณทแี่ ดง คนั แลว้ ลา้ งออกดว้ ย น้�ำเย็น 238 เอกสารความรู้ ผูด้ �ำ เนินการสปาเพ่ือสขุ ภาพ

11) การใช้น�้ำมันหอมระเหยต้องใช้ความเข้มข้นที่เหมาะสมเพื่อไม่ให้เกิดการแพ้ ถ้าต้องการเปลี่ยนชนิดน�้ำมันหอมระเหยที่ใช้ ควรมีการทดสอบก่อนในกรณีท่ีเป็นคนผิวแพ้ง่าย ตามขอ้ 10 12) ในการผสมน�้ำมันหอมระเหยแต่ละชนิดด้วยกนั ควรดูคุณสมบัติของแตล่ ะชนดิ เป็น หลัก ผู้เชี่ยวชาญในยุโรปมีข้อแนะน�ำว่า ไม่ควรผสมน�้ำมันหอมระเหย เกินกว่า 4 ชนิดเข้าด้วยกัน เพราะอาจท�ำให้คุณสมบัติด้อยลง เนื่องจากในการผสมน้�ำมันหอมระเหยหลากหลายชนิด ปริมาณ ของแตล่ ะชนดิ จะเจอื จางลงดว้ ย นำ�้ มนั หอมระเหยแตล่ ะชนดิ มสี ว่ นประกอบทางเคมที ต่ี า่ งกนั ซง่ึ อาจ ทำ� ใหเ้ กดิ ปฎกิ รยิ าทางเคมขี นึ้ ในสว่ นผสมนน้ั ๆ คณุ สมบตั เิ ปลยี่ นไปได้ แตใ่ นเชงิ พาณชิ ย์ มกี ารผสม นำ้� มนั หอมระเหยหลายชนดิ เขา้ ดว้ ยกนั บางครงั้ ถงึ 10 ชนดิ เพอ่ื คณุ สรรพทางการคา้ และเอกลกั ษณ์ ของแต่ละย่หี ้อ นำ้� มนั หอมระเหยทมี่ พี ิษหรอื ตอ้ งระวงั เป็นพเิ ศษในการใช้ (Toxic oils) (Lawless, 1992) จดั แบง่ ตามผลต่อรา่ งกาย ดังตอ่ ไปน้ี 1) ระคายเคืองผิวหนัง (skin reaction) เช่น กานพลู (clove) ไทม์ (thyme) เปลือกอบเชย (cinnamon bark) และเฟนเนล (fennel) 2) ทำ� ปฏกิ ริ ยิ ากบั แสงแดด (photo toxic) เชน่ มะกรดู (bergamot) มะนาวฝรงั่ (lemon) มะนาว (lime) ส้ม (orange) ส้มแมนดาริน (mandarin) ดอกสม้ (neroli) ตะไคร้ (lemongrass) เกรปฟรตุ (grape fruit) สม้ เขียวหวาน (tangerine) ขงิ (ginger) เมลิซซา (melissa) และส้มโอ (pomelo) 3) กอ่ มะเร็ง (carcinogenic) เชน่ ใบกะเพรา (basil) ทาร์รากอน (tarragon) การบูร (camphor) และคาลามัสอินเดยี (calamus india) 4) พษิ ตอ่ ระบบประสาท (neurotoxicity) เชน่ เฟนเนล (fennel) ดอกฮสิ ซอฟ (hyssop) การบูร (camphor) สไปค์ (spike) ลาเวนเดอร์ (lavender) โรสแมรี่ (rosemary) เสจ (sage) ไมท้ ูยา (thuja) และวอร์มวู้ด (worm wood) 5) มผี ลต่อจิตประสาท (psychotropic effect) เชน่ จนั ทนเ์ ทศ (nutmeg) และไม้ทยู า (thuja) 6) พิษต่อตับ (hepatotoxicity) เช่น เทียนสัตตบุษย์ (aniseed) เฟนเนล (fennel) ใบอบเชย (cinnamon leaf) กานพลู (clove) การบูร (camphor) และใบกะเพรา (basil) กรมสนับสนนุ บริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ 239

7)ทำ� ใหแ้ ทง้ บตุ ร(abortive)เชน่ เสจ(sage)ไมท้ ยู า(thuja)เมลด็ พารส์ ลยี ์(parsleyseed) จิงจูฉ่าย (mug wort) เพนนีรอยัล (penny royal) และวอรม์ วดู้ (worm wood) 8) กระตุ้นฮอรโ์ มน estrogen เช่น เทียนสตั ตบษุ ย์ (aniseed) ใบกะเพรา (basil) 9)ขบั ประจำ� เดอื น(emmenagogue)เชน่ ไมซ้ ดี ารว์ ดู้ (cedarwood)คลารเี่ สจ(clary-sage) มะลิ (jasmine) ผลจูนิเปอร์ (juniper berry) มารจ์ อรมั (marjoram) มดยอบ (myrrh) สะระแหน่ (peppermint) และโรสแมร่ี (rosemary) น้�ำมันหอมระเหยที่ควรใช้ในช่วงตั้งครรภ์ ตัวอย่าง ได้แก่ โรมันคาโมมายล์ (roman chamomile) สนไซเพรส (cypress) เจอเรเนียม (geranium) ขิง (ginger) เกรปฟรุต (grapefruit) ลาเวนเดอร์ (lavender) มะนาวฝรัง่ (lemon) ส้มแมนดารนิ (mandarin) สม้ โอ (palmarosa) แพทชูล่ี (patchouli) และ กระดังงา (ylang-ylang) น้�ำมันหอมระเหยท่ีควรใช้ในช่วงเวลาคลอด (during labour) ตัวอย่าง ได้แก่ คลารีเสจ (clary-sage) เจอเรเนียม (geranium) มะลิ (jasmine) ลาเวนเดอร์ (lavender) และดอกส้ม (neroli) น้�ำมันหอมระเหยท่ีควรใช้ในช่วงหลังคลอด (postnatal care) ตัวอย่าง ได้แก่ โรมันคาโมมายล์ (Roman chamomile) คลารีเสจ (Clary-sage) เฟนเนล (Fennel) ก�ำยาน (Frankincense) เจอเรเนียม (Geranium) เกรปฟรุต (Grapefruit) ลาเวนเดอร์ (Lavender) และแพทชูล่ี (Patchouli) 240 เอกสารความรู้ ผ้ดู ำ�เนนิ การสปาเพือ่ สุขภาพ

ข้อควรระวัง ควรใช้น�้ำมันหอมระเหยในปริมาณที่ก�ำหนดเพ่ือหลีกเล่ียงการ เกิดพิษ โดยเฉพาะในรายที่ ผิวไวหรือแพ้ง่าย มีตัวอย่างดังต่อไปนี้ ช่ือนำ้ �มนั ปรมิ าณทีใ่ ช้ (หยด) พริกไทยดำ� (black pepper) ตอ่ น้ำ�มันพื้น (base oil) 50 mL การบรู (camphor) ไม่เกนิ 6 หยด ใบอบเชย (cinnamon leaf) ไม่เกิน 6 หยด กานพลู (clove bud) ไมเ่ กนิ 6 หยด เทยี นสัตตบุษย์ (anise seed) ไมเ่ กิน 6 หยด เมล็ดยห่ี ร่า (caraway seed) ไม่เกิน 6 หยด เมลด็ ผักชี (coriander seed) ไมเ่ กนิ 6 หยด ยูคาลปิ ตสั (eucalyptus) ไม่เกนิ 6 หยด คาโมมายเยอรมนั (chamomile german) 4 – 6 หยด ดอกฮสิ ซอฟ (hyssop) 1 – 2 หยด ขงิ (ginger) 2 – 3 หยด ออรกิ าโน (origano) ไมเ่ กนิ 6 หยด ช่อื นำ้ �มนั ไมเ่ กิน 6 หยด ตะไคร้ (lemongrass) ปรมิ าณที่ใช้ (หยด) (ใช้บรเิ วณรา่ งกาย) ต่อน้ำ�มนั พน้ื (base oil) 50 mL ตะไคร้ (lemongrass) 2 – 4 หยด (ใชบ้ ริเวณใบหนา้ ) 1 – 2 หยด เสจ (sage) 2 – 3 หยด ไทม์ (thyme) 2 – 3 หยด เฟนเนล (fennel) ไม่เกนิ 6 หยด จันทนเ์ ทศ (nutmeg) ไมเ่ กิน 6 หยด ไม้จนั ทน์ (sandalwood) 2 – 3 หยด ไวโอเล็ต (violet) 1 หยด มารจ์ อรมั (marjoram) 4 – 6 หยด กุหลาบ (rose) 1 – 2 หยด มะลิ (jasmine) 1 – 2 หยด การใช้น้�ำมันหอมระเหยต้องศึกษาสรรพคุณ ปริมาณที่เหมาะสม (Dose) และควบคุม ปริมาณการใช้ จากการศึกษาพบว่า ในน้�ำมันหอมระเหย 1 ชนิด มีองค์ประกอบของสารหอมที่มี สรรพคุณหลายชนิด ใช้ประโยชน์ได้กว้าง และมีกล่ินหอมที่ใช้ประโยชน์ในสุคนธบ�ำบัดได้ จากการ กรมสนับสนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ 241

เรียนรู้เร่ืองสารหอมท�ำให้มีการสังเคราะห์น�้ำมันหอมระเหยเลียนแบบธรรมชาติ ดังน้ันหากขาด การฝกึ ฝนและศกึ ษาอยา่ งจรงิ จงั อาจแยกแยะระหวา่ งสารหอม นำ�้ มนั หอมระเหย และสารสงั เคราะห์ (synthetic) ไม่ได้ สารสังเคราะห์จะไม่มีคุณสมบัติเหมือนธรรมชาติ 100 เปอร์เซ็นต์ และสิ่งที่ ต้องตระหนักคือ สารดังกล่าวอาจมีสารเคมีปนเปื้อน อันตรายต่อสุขภาพได้ ดังน้ันในสุคนธบ�ำบัด จึงหา้ มใช้สงั เคราะห์ 242 เอกสารความรู้ ผ้ดู ำ�เนินการสปาเพือ่ สขุ ภาพ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook