Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การวางแผนงานก่อสร้าง Construction Planning

การวางแผนงานก่อสร้าง Construction Planning

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-04-15 12:35:03

Description: การวางแผนงานก่อสร้าง Construction Planning

Search

Read the Text Version

การวางแผนงานกอ สราง   $0/4536$5*0/1-\"//*/( รศ.ประเสริฐ  ดำรงชัย   ภาควชิ าวิศวกรรมโยธา   คณะวศิ วกรรมศาสตร   มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน   โครงการความรวมมือระหวา ง  5  มหาวทิ ยาลยั  และ  กรมสง เสริมการปกครองทองถนิ่  กระทรวงมหาดไทย   1BASIC COกMาPรUวTาEงRแผFOนRงEาNนGกIอ่NสEEรRา้ IงNG

การวางแผนงานกอสราง   CONSTRUCTION  PLANNING   ISBN 978-974-8182-88-9 พิมพค รั้งท่ี 1 : มิถนุ ายน 2552 ผแู ตง รศ.ประเสรฐิ ดำรงชยั ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน โครงการจัดทำตำราสำหรับรายวิชาในหลกั สูตรเทคโนโลยีบณั ฑติ สาขาวชิ าการจดั การงานชา งและผังเมือง โครงการความรว มมือระหวา ง • มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ • มหาวิทยาลยั ขอนแกน • มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม • มหาวิทยาลัยนเรศวร • มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร • กรมสง เสรมิ การปกครองทองถ่นิ กระทรวงมหาดไทย

คำนำ งานกอสรางเปนโครงการท่ีมีลักษณะเฉพาะมีการปฏิบัติงานที่เปลี่ยนแปลง ไปในทุกๆ โครงการมีความสลับซับซอน มีปญหาเกิดข้ึนไดตลอดเวลา จึงตองมีการติดตาม ประเมินผล รวมทั้งการแกปญหาท่ีเกิดข้ึนตลอดเวลา ดังนั้นการบริหารงานกอสรางจะตอง อาศยั เครอ่ื งมอื ในการกำกบั ดแู ล เพอ่ื ชว ยในการบรหิ ารงานเครอ่ื งมอื ทส่ี ำคญั คอื การวางแผนงาน เพ่อื จะไดทราบวางานท่ตี องดำเนินการมีอะไรบางจะเรมิ ดำเนินการเม่อื ใดและแลวเสร็จเม่อื ใด ใชทรัพยากรอะไรบา ง ใครเปนผรู ับผดิ ชอบงานในแตละสวน มีดัชนช้วี ัดอยา งไร หนงั สอื เลม น้ ไดเ รยี บเรยี งขน้ึ ตามวตั ถปุ ระสงคข องกรมสง เสรมิ การปกครองทอ งถนิ กระทรวงมหาดไทย เพื่อใหเกิดประโยชนแกบุคลากรขององคกรปกครองสวนทองถิน ดังนั้น เน้อหาในหนังสือเลมน้จึงมุงเนนไปที่การดำเนินงานกอสรางภาครัฐ ขอมูลตางๆ ที่ใชในการ วางแผนงานและการวเิ คราะหเ หตกุ ารณ มกี ารเปลย่ี นแปลงไดต ลอดเวลา ผศู กึ ษาจะตอ งตดิ ตาม การเปล่ยี นแปลงจากหนวยงานทเี่ กย่ี วของกอนนำไปใชงาน เน้อหาในหนงั สือเลม น้ ประกอบดวย 1. เรื่องทัวไปเกีย่ วกบั งานกอสรางและการวางแผนงานกอสรา ง 2. ขอบเขต หนาที่ และข้ันตอนการวางแผนงานกอ สราง 3. การประมาณราคา การประกวดราคา และสัญญาจางกอ สรา ง 4. การสำรวจและเตรยี มสถานทกี่ อสราง 5. การวางแผนงานกอสรา ง 6. การประสานงานในการกอสราง เนองจากเน้อหาในแตละหัวขอดังกลาวมีมาก จึงไดเรียบเรียงมาลงไวเทาที่จำเปน สว นเพมิ เตมิ นอกจากน้ ดูไดจ ากเอกสารอา งองิ ทไี่ ดร ะบไุ วท า ยเลม และจากหนว ยงานทเี่ กยี่ วขอ ง ผูเรียบเรียงหวังเปนอยางยิงวาหนังสือเลมน้จะเปนประโยชนตอบุคลากรขององคกรปกครอง สวนทองถิน และจะไดปรับปรงุ ใหเ ปน ปจ จบุ ันเปน ระยะๆ (รศ.ประเสริฐ ดำรงชยั ) 3 ผเู รียบเรยี ง มถิ นุ ายน 2552 การวางแผนงานก่อสร้าง

4 การวางแผนงานกอ่ สรา้ ง

สารบัญ สารบญั หนา สารบัญภาพ สารบัญตาราง 5 บทที่ 1 บทนำ 7 8 1.1 ลกั ษณะงานกอ สรา ง 9 1.2 งานกอ สรา งกบั การวางแผน 10 1.3 ลกั ษณะแผนงานท่ดี ี 11 1.4 ผูม ีหนา ที่ในการวางแผน 15 1.5 คุณสมบตั ิของผูวางแผนงานกอสราง 18 บทที่ 2 ขอบเขต หนา ทีแ่ ละข้นั ตอนการวางแผนงานกอสราง 20 2.1. ขอบเขตของการวางแผนงานกอ สรา ง 23 2.2. หนาท่ีในการวางแผนงานกอ สราง 23 2.3. ขน้ั ตอนในการวางแผนงานกอสราง 25 บทท่ี 3 การประมาณราคา การประกวดราคาและสญั ญาจางกอ สราง 26 3.1. การประมาณราคางานกอ สราง 31 3.2. การประกวดราคา 31 3.3. สัญญาในงานกอ สรา ง 104 บทท่ี 4 การสำรวจและเตรยี มสถานที่กอสราง 121 4.1. การสำรวจกอนการกอ สรา ง 137 4.2. การสำรวจเพือ่ การกอสราง 137 4.3. การเตรียมสถานทีก่ อสรา ง 140 บทท่ี 5 การวางแผนงานกอสราง 141 5.1. วัตถุประสงคในการวางแผนงานกอ สรา ง 147 5.2. ระบบการวางแผนงานกอ สราง 147 5.3. วิธกี ารวางแผนงานกอ สราง 148 5.4. การประเมินความกา วหนางาน 150 5.5. การปรับแกแผนงาน 177 182 การวางแผนงานก่อสร้าง 5

บทท่ี 6 การประสานงานในงานกอ สราง 183 6.1. การจดั องคกรและการกำหนดอำนาจหนา ที่ 183 6.2. การกำหนดขั้นตอนการปฏบิ ัติงาน 189 6.3. แบบพมิ พรายงานตา งๆในงานกอสรา ง 190 203 เอกสารอางองิ 204 ดชั น 6 การวางแผนงานก่อสรา้ ง

สารบญั ภาพ ภาพที่ 1-1 แผนผงั แสดงวัฏฏจักรการควบคุมงาน หนา ภาพที่ 2-1 ตวั อยา งแบบพมิ พสำหรับบนั ทึกขอมูลสำรวจสถานท่กี อสราง 16 ภาพท่ี 3-1 แบบพิมพ ปร.1 28 ภาพที่ 3-2 แบบพิมพ ปร.2 37 ภาพท่ี 3-3 แบบพมิ พ ปร.3 38 ภาพท่ี 3-4 แบบพมิ พ ปร.4 39 ภาพท่ี 3-5 แบบพมิ พ ปร.5 40 ภาพที่ 3-6 แบบพิมพ ปร.6 41 ภาพที่ 3-7 ตวั อยางแบบพมิ พบัญชแี สดงปรมิ าณงาน(BOQ) 42 ภาพที่ 3-8 ตวั อยางแบบพมิ พป ระเมนิ ราคากลางงานกอ สรางทาง สะพาน 44 57 และทอเหลีย่ ม 59 ภาพท่ี 3-9 แบบพมิ พแ สดงคา ใชจ า ยในการจัดหาทพี่ ักและอุปกรณส ำหรับ 89 103 ผูควบคุมงาน 141 ภาพท่ี 3-10ตัวอยางแบบพมิ พสรุปราคากลาง งานกอ สรางชลประทาน 142 ภาพที่ 3-11แผนภมู ิโครงสรา งการจดั ทำราคากลางและประมาณราคา 143 144 งานกอ สราง 145 ภาพท่ี 4-1 แผนภูมแิ สดงความสัมพนั ธของกจิ กรรมและสงิ ปลูกสรางชวั คราว 146 ภาพที่ 4-2 ลกั ษณะบรเิ วณกอสรา งที่เปด กวา ง 148 ภาพที่ 4-3 ลักษณะบริเวณกอ สรา งท่แี คบยาว 149 ภาพท่ี 4-4 ตัวอยา งการจัดเตรียมสถานทก่ี อสรา งในพ้นื ทีแ่ คบยาว 154 ภาพท่ี 4-5 ลักษณะบรเิ วณกอสรา งท่ีมพี ืน้ ทจ่ี ำกัด 155 ภาพท่ี 4-6 ตัวอยา งการจดั เตรียมสถานท่กี อสรางในบริเวณกอ สรา ง 7 ทมี่ ีพ้นื ท่ีจำกัด ภาพที่ 5-1 รูปแบบแผนงานระบบแผนภูมิแทง ภาพที่ 5-2 รปู แบบแผนงานระบบวิธีวิถวี กิ ฤติเปรียบเทียบกบั ระบบแผนภูมิแทง ภาพที่ 5-3 ตัวอยา งลักษณะแผนงานกอ สรา ง ภาพที่ 5-4 ตวั อยางลักษณะแผนจัดหาวัสดุ การวางแผนงานก่อสร้าง

หนา ภาพท่ี 5-5 ตัวอยางลกั ษณะแผนคนงาน 156 ภาพที่ 5-6 ตัวอยางลกั ษณะแผนเครอื่ งจกั ร 157 ภาพที่ 5-7 ตัวอยางการจัดทำแผนเพื่อการติดตามผลงานและคาใชจาย 159 ของผรู บั จา ง ภาพท่ี 5-8 แบบพมิ พสรุปรายงานการกอสราง ประจำเดือน กรกฎาคม 2552 178 ภาพที่ 5-9 แบบพมิ พรายงานปริมาณงานท่ที ำได ประจำเดอื น กรกฎาคม 2552 179 ภาพท่ี 6-1 แบบพิมพบนั ทกึ การกอ สรางประจำวนั 192 ภาพที่ 6-2 แบบพิมพบันทึกการตอกเสาเข็ม 193 ภาพท่ี 6-3 แบบพมิ พร ายงานผลการทดสอบวัสดุกอสราง 194 ภาพที่ 6-4 แบบพิมพร ายงานผลการตรวจสอบวัสดุกอ สรา งทัวไป 195 ภาพที่ 6-5 แบบพมิ พร ายงานตรวจสอบเพ่ืออนุญาตใหเทคอนกรีต 196 ภาพที่ 6-6 แบบพิมพร ายงานการขอคำวนิ ิจฉัยจากผอู อกแบบ 197 ภาพท่ี 6-7 แบบพิมพบันทึกสังการ 198 ภาพที่ 6-8 แบบพิมพรายงานสภาพอากาศ 199 ภาพที่ 6-9 แบบพมิ พบ ันทกึ จำนวนบุคลากรของผูรับจางทีป่ ฏิบตั งิ านแตล ะวัน 200 ภาพที่ 6-10แบบพมิ พบนั ทกึ จำนวนเคร่อื งจกั รของผรู บั จา งท่ีปฏบิ ัตงิ านแตล ะวัน 201 ภาพที่ 6-11แบบพมิ พบันทกึ ปริมาณวสั ดุนำเขาโครงการเพอื่ การกอสราง 202 สารบัญตาราง ตารางที่ 3-1 จงั หวัดท่ีมปี รมิ าณนำ้ ฝนเฉล่ยี ตอปม ากกวา 1,600 มม. หนา ตารางท่ี 3-2 เกณฑการพิจารณาการประมาณการระยะเวลาการกอ สรา งอาคาร 78 ตารางท่ี 3-3 ตวั อยางตารางการประมาณการระยะเวลาการกอ สรางอาคาร 114 115 8 การวางแผนงานก่อสร้าง

บบทททน ี่  ำ1 งานพัฒนาทองถินในประเทศไทย มีงานดานการกอสรางเปนจำนวนมาก มกี ฎหมายกำหนดไวใหเ ปนหนาทีข่ ององคกรปกครองสวนทอ งถนิ หลายฉบบั เชน พระราชบัญญัติกำหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอำนาจใหแกองคกรปกครอง สว นทองถินพ.ศ.2542 มาตรา ๑๖ ใหเทศบาล เมืองพัทยา และองคการบริหารสวนตำบลมีอำนาจและหนาท่ี ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพ่ือประโยชนของประชาชนในทองถินของตนเอง ดงั น้ (๒) การจดั ใหม แี ละบำรงุ รกั ษาทางบก ทางนำ้ และทางระบายนำ้ (๓) การจดั ใหมแี ละควบคุมตลาด ทาเทยี บเรอื ทา ขา ม และท่ีจอดรถ (๔) การสาธารณูปโภคและการกอ สรา งอน่ื ๆ ๒๘) การควบคุมอาคาร มาตรา ๑๗ ภายใตบังคับมาตรา ๑๖ ใหองคการบริหารสวนจังหวัดมีอำนาจและหนาที่ ในการจดั ระบบบริการสาธารณะเพอ่ื ประโยชนของประชาชนในทอ งถนิ ของตนเองดงั น้ (๑๐) การจัดตงั้ และดูแลระบบบำบัดนำ้ เสียรวม (๑๑) การกำจดั มูลฝอยและสิงปฏกิ ูลรวม (๑๒) การจัดการสิงแวดลอมและมลพิษตา งๆ (๑๓) การจัดการและดูแลสถานขนสง ทั้งทางบกและทางนำ้ (๑๖) การสรางและบำรงุ รกั ษาทางบกและทางน้ำทีเ่ ชื่อมตอระหวางองคกรปกครอง สวนทอ งถนิ อ่นื (๒๑) การขนสงมวลชนและการวิศวกรรมจราจร พระราชบัญญตั สิ ภาตำบลและองคการบริหารสวนตำบล พ.ศ.2537 มาตรา ๒๓ ภายใตบังคบั แหง กฎหมาย สภาตำบลอาจดำเนนิ การภายในตำบลดังตอ ไปน้ (๑) จัดใหม นี ำ้ เพ่อื การอปุ โภค บริโภค และการเกษตร (๒) จดั ใหมีและบำรุงรักษาทางน้ำและทางบก (๓) จดั ใหม แี ละรกั ษาทางระบายนำ้ และรกั ษาความสะอาดของถนน ทางนำ้ ทางเดนิ และที่สาธารณะ รวมทง้ั การกำจัดมลู ฝอยและสิงปฏิกลู (๔) คมุ ครองดแู ลและบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสงิ แวดลอ ม การวางแผนงานกอ่ สร้าง 9

มาตรา ๖๗ ภายใตบังคับแหงกฎหมาย องคการบริหารสวนตำบล มีหนาท่ีตองทำในเขต องคก ารบริหารสวนตำบล ดงั น้ (๑) จดั ใหมีและบำรงุ รกั ษาทางนำ้ และทางบก (๒) รกั ษาความสะอาดของถนน ทางนำ้ ทางเดนิ และท่ีสาธารณะรวมทัง้ กำจัดมูล ฝอยและสิงปฏกิ ลู มาตรา ๖๘ ภายใตบ งั คบั แหงกฎหมาย องคการบริหารสวนตำบล อาจจัดทำกจิ กรรมในเขต องคก ารบริหารสวนตำบล ดังน้ (๑) ใหมนี ำ้ เพือ่ การอุปโภค บรโิ ภค และการเกษตร (๒) ใหม แี ละบำรงุ การไฟฟาหรอื แสงสวา งโดยวธิ อี นื่ (๓) ใหม ีและบำรงุ รักษาทางระบายน้ำ (๔) ใหม แี ละบำรุงสถานที่ประชมุ การกฬี า การพกั ผอ นหยอนใจและสวนสาธารณะ (๑๐) ใหมีตลาด ทา เทียบเรือและทา ขา ม จากกฎหมายท่ีไดยกมาเปนตัวอยางน้ องคกรปกครองสวนทองถินตองจัดการ เกี่ยวกับงานกอสรางตางๆ และตองมีแผนการดำเนินการโครงการตางๆ ใหสอดคลองกับ ขอ บงั คบั แหง กฎหมาย การจดั ทำโครงการทเี่ กยี่ วขอ งกบั การกอ สรา งเพอื่ ใหไ ดม าซงึ สงิ กอ สรา ง ทก่ี อ ใหเกดิ ประโยชนแกป ระชาชน มแี นวทางในการกำหนดรายละเอียดตามลำดับ ดงั น้ 1. หลักการและเหตผุ ล 2. วัตถปุ ระสงคของโครงการ 3. ลักษณะของโครงการ 4. ระยะเวลาของโครงการ 5. แผนการดำเนนิ งานของโครงการ 6. คาใชจ ายหรืองบประมาณทจ่ี ำเปน 7. ผลประโยชนของโครงการ 8. การศกึ ษาวิเคราะหค วามเปนไปไดท างสงั คมและผลกระทบสงิ แวดลอ ม 9. การศกึ ษาวิเคราะหผลทางเศรษฐศาสตร 1.1 ลักษณะงานกอสรา ง งานกอสราง เปนงานที่สลับซับซอน มีหนวยงานทั้งภายในและภายนอกเขามา มีสวนเกี่ยวของหลายหนวยงาน ซึงแตละหนวยงานจะมีลักษณะและความเก่ียวพัน กบั งานกอ สรา งท่แี ตกตางกัน ตองมกี ารประสานงานอยางใกลช ิดตลอดเวลา เชน เจาของงาน 10 การวางแผนงานก่อสรา้ ง

ผูออกแบบ ผูรับจาง ผูควบคุมงานกอสราง กรรมการตรวจการจาง การไฟฟาสวนภูมิภาค กรมทางหลวง ฯลฯ งานกอ สรางโดยทัวไปมลี กั ษณะดงั น้ 1. สวนใหญเปนงานปฏิบัติในที่โลงแจง พื้นที่ปฏิบัติการกวาง การดำเนินงาน ขึ้นอยูก ับสภาพภูมอิ ากาศ 2. ตองมีการประเมนิ และปรับแกแ ผนงานตลอดเวลา 3. เปนงานท่ีใชบุคลากรทุกระดับฝมือและความชำนาญในลักษณะแตกตางกัน จำนวนมาก (Construction Team) การเคลื่อนที่โยกยายบุคลากรจะเกิดขึ้นไดทุกขณะ จากกิจกรรมหนึงไปยังอีกกิจกรรมหนึงในโครงการเดียวกัน หรือแมแตการโยกยายระหวาง โครงการ 4. สถานทตี่ ง้ั โครงการ กระจายอยไู ดท วั ทอ งท่ี อาจจะหา งไกลจากสำนกั งานใหญม าก จึงตองมีการพิจารณาเตรียมการดานตางๆใหเหมาะสมแตละโครงการ เชน วัสดุ อุปกรณ บุคลากร เคร่อื งจักรเครอ่ื งมือ และงบประมาณ 5. มปี ญ หาทเี่ กิดขึน้ และตองรีบแกไ ขอยูตลอดเวลา ซงึ ตอ งอาศัยผทู ี่มปี ระสบการ ณแ ละความรูในมาตรฐานการออกแบบและการกอสราง 6. มงี านหลายลกั ษณะทแี่ ตกตา งกัน ซงึ ตองอาศัยความรคู วามชำนาญเฉพาะทาง ดำเนนิ งานรวมกัน 7. ตองมีการติดตอสัมพันธกันตลอดเวลาของคนสองกลุม คือ กลุมผูออกแบบ และกลุม ผดู ำเนินการกอ สรา ง 8. เปน งานท่ีตอ งใชเ งนิ ทุนหมนุ เวยี นสงู กวา งานประเภทอน่ื ประเภทงานกอสราง งานกอ สรา งอาจจัดกลมุ หรอื แบง เปนประเภทไดด ังน้ 1. ประเภทงานกอ สรา งที่อยูอาศยั 2. ประเภทงานกอ สรางอาคารสาธารณะและอาคารพานิช 3. ประเภทงานกอ สรา งเพอื่ การอุตสาหกรรม 4. ประเภทงานกอ สรางระบบสาธารณปู โภค 1.2 งานกอ สรางกบั การวางแผน ไดอธิบายไวแลววา งานกอสรางเปนงานท่ีเกี่ยวของกับกลุมคนหลายฝาย และมีรูปแบบการบริหารงานที่เปนการเฉพาะแตละโครงการ ซึงแตกตางกันไปตามรูปแบบ 11การวางแผนงานกอ่ สร้าง

สงิ ปลกู สรา ง รวมทงั้ เงอ่ื นไขแหง เวลา การจดั สรรทรพั ยากร ตลอดจนสภาวะแวดลอ มของแตล ะ สถานท่ี สถติ แิ รงงานและอน่ื ๆ กแ็ ตกตา งกนั โดยสนิ้ เชงิ ดงั นน้ั แผนงานกอ สรา งในโครงการหนงึ จะนำไปใชกับอีกโครงการหนึงยอมไมได ไมเหมือนกับการวางแผนงานในระบบโรงงาน อตุ สาหกรรมทม่ี คี วามเหมอื นกนั เปน สว นใหญ เปลยี่ นแปลงไปกเ็ พยี งแตข นาดของอตุ สาหกรรม นนั้ ๆ การศกึ ษาเรอื่ งการวางแผนงานกอ สรา งจงึ เปน ศาสตรท างวศิ วกรรมกอ สรา ง(Construction Engineering) โดยเฉพาะ ซงึ ตอ งอาศยั ประสบการณข องผวู างแผน ประกอบกบั หลกั การทางสถติ ิ ประยกุ ตเ ขา ดว ยกัน สุดทา ยคอื การตัดสินใจทีถ่ ูกตอ งของผูวางแผน ดังนั้นจึงมีความเสีย่ งสงู กวาการวางแผนงานประเภทอ่ืนๆ แผนงานกอสราง ตองมีการติดตามและประเมินผล ซงึ แนน อนการคลาดเคลอื่ นจากแผนงานทว่ี างไวย อ มเกดิ ขน้ึ ไดต ลอดเวลา จงึ ตอ งมกี ระบวนการ ปรบั แกแ ผนเพอื่ ใหบ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค และเสรจ็ สิ้นโครงการตามกำหนดใหไ ด ถึงกับตอ งมกี าร กำหนดแนวทางในการวางแผนสำหรบั ผบู รหิ ารงานกอ สรา งไวว า “คาดหมายเหตขุ ดั ขอ งทอี่ าจ จะเกดิ ขึ้นในอนาคต และสำรองเวลาเผ่ือไวในแผน” ขนาดของโครงการ ที่แตกตางกัน ทำใหการวางแผนงาน อาจจะทำไดในวิธีการ ดังตอ ไปน้ 1. กำหนดคิดไวในใจ (Thinking) 2. จดบันทึกเปนข้นั ตอนอยา งงาย (Scheduling) 3. วางแผนเปน ระบบ (Systematic) กำหนดคิดไวใ นใจ สำหรับขนาดงานไมใหญมากและไมมีความสลับซับซอนมาก และผูบริหาร โครงการมีประสบการณเพียงพอ ก็อาจจะวางแผนไวในใจ และสังการตามข้ันตอนท่ีคิดไว วิธีน้ ผูบริหารโครงการจะตองมีเวลาอยูใกลชิดการทำงานและคอยควบคุมสังการตลอดเวลา ผรู วมงานก็ตอ งเปน ผทู ่เี คยปฏบิ ตั ิงานรว มกันมานาน จดบันทึกเปนขั้นตอนอยา งงา ย ขนาดงานทเ่ี หมาะสมกย็ งั เปน โครงการขนาดเลก็ อาจจะมคี วามซบั ซอ นมากขน้ึ เลก็ นอ ย มผี เู กยี่ วขอ งหลายฝา ย ผบู รหิ ารโครงการไมม เี วลาใหก บั การบรหิ ารโครงการอยา งเตม็ ท่ี จงึ ตอ ง จดั ทำเปน ลำดบั ขน้ั ตอนการดำเนนิ งานอยา งงา ย (Scheduling) ปด ประกาศใหท ราบโดยทวั กนั เพอื่ เปน แนว ทางใหผ ปู ฏบิ ตั งิ านไดร บั ทราบลว งหนา โดยทวั กนั วธิ นี ด้ กี วา การกำหนดคดิ ไวใ นใจ เพราะสามารถตรวจสอบความกาวหนา และทบทวนการปฏิบัติงานไดต ลอดเวลา โดยเพยี งแต 12 การวางแผนงานกอ่ สร้าง

กำหนดขน้ั ตอนยอ ยๆของโครงการพรอ มทงั้ กำหนดเวลาทตี่ อ งเรมิ ปฏบิ ตั งิ านและเวลาเสรจ็ สน้ิ งานของแตละกจิ กรรมยอ ยนนั้ ๆ ตง้ั แตเ ริมตน โครงการจนสนิ้ สุดโครงการ ตวั อยาง งานกอสรา งบา นพกั คสล. ช้ันเดียว สองหองนอน หนึงหอ งนำ้ เมษายน 1 – 10 ไถปรบั ระดบั ดนิ ดว ยรถแทรคเตอร 2 คัน 11 – 15 ปลกู สรางสำนกั งานสนามและโรงงานชวั คราว 16 – 30 ปก ผังขดุ หลมุ และหลอฐานราก ตอมอ คานคอดนิ พฤษภาคม 1 – 10 หลอ เสาและคานรับหลังคา 11 – 20 ตดิ ตั้งโครงหลังคาและมงุ หลงั คา 21 – 22 เทคอนกรีตพ้นื 22 – 31 กอ ผนงั ตดิ ตงั้ วงกบ ประตู หนาตาง มิถนุ ายน 1 – 5 ตดิ ตง้ั ระบบสุขภัณฑและระบบประปา 6 – 10 ตดิ ตง้ั ไฟฟา 11 – 20 ทาสตี กแตง 21 – 30 ทำความสะอาดภายในอาคารและบริเวณโดยรอบ เตรียมสงมอบงาน วางแผนเปน ระบบ เม่ืองานขนาดใหญข้ึน มีความซับซอนมากขึ้น มีผูเกี่ยวของหลายฝาย เวลากอสรา งยาวนาน มีกำหนดระยะเวลาการกอสรา งท่แี นนอน ตอ งมกี ารวางแผนจดั ลำดบั งานกอ นหลงั และใหเ กดิ ความสมั พนั ธก นั ของกจิ กรรมตา งๆ ทำใหต อ งนำระบบการวางแผนงาน มาจัดทำแผนงาน ระบบการวางแผนงานกอ สรา ง ที่ใชอ ยูในปจ จุบนั มี 3 ระบบใหญ คอื แผนงานแบบตารางทำงาน หรอื แผนภมู แิ ทง : Bar chart หรอื Gantt Chart แผนงานแบบผงั โครงขา ยเสน ลกู ศร แบบวธิ วี ถิ วี กิ ฤต : Critical Path Method (CPM) แผนงานแบบวิธีเทคนคิ การตรวจสอบและประเมินผลโครงการ : Program Evalua- tion Review Technique (PERT) ในการวางแผนงาน หากไดทำการวางแผนงานไปพรอมกับการออกแบบจะทำให เกิดการประสานในการแกไขปญหาของโครงการไดมาก ทงั้ นเ้ พราะความตองการของเจา ของ โครงการ ความตอ งการของผูออกแบบอาจจะเปนปญ หาในการกอสรา ง 13การวางแผนงานกอ่ สร้าง

ซึงหากปลอยไปอาจจะทำใหโครงการตองใชเวลาและทรัพยากรมากเกินจำเปนก็ได แตใ นความเปน จรงิ โครงการกอ สรา ง มกั จะผา นขนั้ ตอนการออกแบบ การกำหนดระยะเวลาแลว เสรจ็ ของโครงการ และจดั หาผรู บั เหมากอ สรา งแลว จงึ ใหผ รู บั เหมากอ สรา งจดั ทำแผนงานเสนอ ทำใหตองวางแผนงานใหสอดคลองกับเงื่อนไขตางๆ อันนำไปสูการใชทรัพยากรที่สูงเกินไป ราคาคากอสรา งอาจจะสูงกวาทค่ี วร 1.2.1 ความสำคญั ของการวางแผนงานกอ สรา ง ดังไดกลาวมาแลววา งานกอสรางเปนงานท่ีมีผูเกี่ยวของหลายฝาย และเปนงาน ที่เกิดขึ้นเฉพาะกิจเปนครั้งคราว มีความแตกตางกันในแตละโครงการ มีงานหลายลักษณะ ที่ตองดำเนินการรวมกัน ดวยความเขาใจในวัตถุประสงคและเปาหมายอันเดียวกัน แผนงานกอ สรา งจงึ เปน สงิ สำคญั เปน เครอื่ งมอื ทจี่ ะสามารถกำกบั ใหง านดำเนนิ ไปในแนวทาง เดียวกัน การวางแผนงานกอสรางจึงถูกกำหนดใหเปนเคร่ืองมือหลักในการบริหารจัดการ งานกอสรา ง แผนงานกอสราง จะกำหนดเปาหมายของงาน กำหนดบทบาทของบุคคลตางๆ กำหนดลำดับกอน หลังของกิจกรรม กำหนดระยะเวลาเริมตนและเวลาแลวเสร็จของ แตล ะกจิ กรรม ดงั นน้ั นอกจากจะใชแ ผนงานในการดำเนนิ งานแลว ยงั ใชแ ผนงานในการตดิ ตาม ประเมนิ ความกา วหนา งาน รวมทง้ั การควบคมุ คณุ ภาพในการปฏบิ ตั งิ าน ผทู เ่ี กย่ี วขอ งในงานกอ สรา ง ที่กำลังจะดำเนินการ จะตองศึกษาแผนงานกอสรางใหเขาใจในรายละเอียดกอนงานกอสราง จะเริมตน เพื่อทำงานใหประสานสอดคลองกันและบรรลุเปาหมายท่ีกำหนดไว เปรียบไดกับ การบรรเลงเพลงของวงดรุ ยิ างคข นาดใหญ จะตอ งมโี นต เพลงหลกั และโนต เพลงยอ ยของผบู รรเลง ดนตรีแตละประเภท กำหนดจังหวะขั้นตอนการบรรเลงใหประสานสอดคลองกันใหเกิด เปนเพลงที่ไพเราะตง้ั แตตนจนจบ 1.2.2 ประโยชนของการวางแผนงานกอ สรา ง หากแผนงานไดจัดทำข้ึนอยางถูกตองเหมาะสม จะทำใหเกิดประโยชนตอการ ดำเนินงานกอสรางอยางยิง เพราะแผนงานจะทำใหผูปฏิบัติงานไดรูถึงเร่ืองราวตางๆ ทจี่ ะเกดิ ข้ึน การวางแผนงาน ทำใหรูวามีงานอะไรบางที่ตองทำ โดยในแผนงานจะมีการจัดทำ รายการงานยอยต้งั แตเรมิ กอ สรางจนงานเสรจ็ สมบรู ณ การวางแผนงาน ทำใหผ ูป ฏิบตั ิงานไดศกึ ษางานท่จี ะทำลวงหนา และมเี วลาในการ ระดมความคิดในดา นการเลอื กเทคนิควิธีการกอ สรา งทด่ี ีทส่ี ุด การวางแผนงาน ทำใหสามารถคาดเดาปญหาท่ีอาจจะเกิดข้ึนได และหาวิธี 14 การวางแผนงานก่อสร้าง

ในการปอ งกนั หรอื แกไ ข ทง้ั ปญ หาดา นวสั ดุ ปญ หาดา นเทคนคิ การกอ สรา ง ปญ หาดา นบคุ ลากร ปญ หาดา นความปลอดภัย การวางแผนงาน ทำใหสามารถจดั เตรียมวัสดุ อปุ กรณ แรงงาน เพอ่ื การใชงานได ตามเวลาอยา งเหมาะสม รวมถงึ สงิ สนบั สนนุ อนื่ ๆ การวางแผนงาน ทำใหสามารถติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานไดตลอดเวลา ร ว ม ท้ั ง ส า ม า ร ถ วิ เ ค ร า ะ ห เ ป รี ย บ เ ที ย บ ผ ล ง า น ท่ี ป ฏิ บั ติ จ ริ ง กั บ แ ผ น ง า น ที่ ว า ง ไ ว ทง้ั ในดา นปรมิ าณงาน วสั ดุ งบประมาณ เวลา และคณุ ภาพงาน และหากไมเ ปน ไปตามแผนงาน ทก่ี ำหนดไว จะตอ งทำการปรบั ปรงุ หรอื ปรบั แกแ ผนงานโดยทนั ที โดยทผี่ ลสำเรจ็ ของงานกอ สรา ง จะตองบรรลุตามเปาหมายสามประการ คอื เสร็จตามเวลา ภายในวงเงินงบประมาณท่ีตั้งไว มีคุณภาพตามเกณฑท ี่กำหนด 1.3 ลกั ษณะแผนงานท่ีดี งานกอ สราง เปน งานที่มกี ลุม งานทำงานรว มกันในพ้ืนทเ่ี ดยี วกัน ดงั นัน้ การจัดทำ แผนงานกอ สรา งตอ งดพี อทจี่ ะทำใหก จิ กรรมหรอื กลมุ งานตา งๆทำงานประสานสอดคลอ งกนั ได ซงึ แผนงานท่ดี ี ตอ งมีลกั ษณะทัวไปดังน้ เวลาทำงานของกจิ กรรม การกำหนดชว งเวลาทำงาน จะตอ งพยายามจดั ใหก จิ กรรมสองกจิ กรรมหรอื มากกวา ทำงานไปพรอ มกนั ได โดยคำนงึ ถงึ ความเปน ไปไดแ ละโดยประหยดั หมายความวา กจิ กรรมตา งๆ ที่ไดกำหนดแยกยอยข้ึนในโครงการ มีหลายกิจกรรมท่ีสามารถดำเนินไปพรอมๆ กันไดโดย ไมต อ งรอกจิ กรรมอนื่ เชน งานกอ ผนงั และงานตดิ ตงั้ วงกบประต-ู หนา ตา ง ตอ งทำไปพรอ มๆ กนั สวนงานท่ีไมสามารถทำพรอมกันไดก็ใหทำตอเนองกัน เชน งานเดินสายไฟฟาภายใน และงานทาสภี ายใน จะตอ งเดนิ สายไฟฟา ใหเ สรจ็ กอ นงานทาสจี งึ จะเรมิ ตอ ไปได ในการกำหนด ชว งเวลาทำงานของกจิ กรรมใดๆ กต็ าม ตอ งคำนงึ ถงึ ความเหมาะสม เชน กำหนดการสง มอบงาน ในแตล ะงวดทก่ี ำหนดไวใ นสญั ญา สภาพฤดกู าลทจี่ ะกระทบตอ การทำงาน เพราะหากนำกจิ กรรม ทค่ี วรจะดำเนนิ การในลำดบั ทา ยๆมาดำเนนิ การกอ นโดยไมจ ำเปน จะทำใหต อ งใชจ า ยงบประมาณ ในการจัดซ้ือโดยที่ยังไมถึงเวลาอันควร หรือตองหาสถานที่จัดเก็บ ทำใหส้ินเปลืองคาใชจาย ไมเ ปน การประหยดั อกี ประการหนงึ กจิ กรรมยอ ยตา งๆ อาจจะแยกยอ ยลงไปคอ นขา งละเอยี ด หรอื รวมกลมุ ใหใหญขน้ึ ตอ งกำหนดตามความเหมาะสมของการจัดทำแผนงาน งานบางอยา งทตี่ อ งอาศยั อปุ กรณช ว ยรว มกนั ตอ งพยายามจดั ลำดบั ใหท ำไปดว ยกนั โดยกำหนดเวลาใหเ หมาะสม เชน งานกอฉาบผนังภายนอก และงานเดนิ สายไฟฟา ภายนอก ตอ งใชน งั รา นรว มกนั กจ็ ดั ใหด ำเนนิ การใหเ สรจ็ ไปพรอ มๆ กนั เพอื่ ทจี่ ะไดไ มต อ งยา ยนงั รา นไปมา 15การวางแผนงานก่อสร้าง

กิจกรรมตางๆตอ งไมซอนทับพ้นื ท่ที ำงานซงึ กนั และกนั หรือรบกวนกัน งานบางอยางอาจจะดูวาสามารถดำเนินการไปพรอมกันได แตเม่ือปฏิบัติงาน อาจจะเกิดการรบกวนกัน ทำใหปฏิบัติงานไมสะดวก หรือ ตองอาศัยเครื่องจักรเคร่ืองมือ ในประเภทเดยี วกัน เชน งานทาสภี ายในกับงานทำพ้นื หินขดั งานทง้ั สองกจิ กรรม ไมมีสวน เกีย่ วขอ งกันทั้งชา งและเคร่อื งมอื แตก ารปฏบิ ัตงิ านในบริเวณเดยี วกนั ยอ มทำไมได ความตอเนองสัมพนั ธกนั ของกจิ กรรม ในกิจกรรมตางๆ ที่ไดกำหนดแยกยอย จะตองกำหนดเวลาดำเนินการใหตอเนอง สัมพันธกัน เม่ือสามารถเริมดำเนินการไดตองรีบดำเนินการทันทีเม่ือกิจกรรมที่ดำเนินการ กอนหนาเสร็จสิ้นลง เชน เมื่อเทคอนกรีตฐานรากเสร็จและสามารถทำการเทคอนกรีต คานคอดินได ตองทำทนั ที เปนตน ความเหมาะสมในการใชแ รงงาน เคร่ืองจกั รกล เคร่อื งมอื การกำหนดแผนการใชเ ครื่องจักรเครอ่ื งมือ เปนสงิ หนึงท่ีจะทำใหง านเสรจ็ รวดเร็ว| การทำงานมีประสิทธิภาพ ประหยัดไมสูญเปลา และผลงานออกมามีคุณภาพที่ดี เครื่องจักรกลบางอยางมีราคาสูง และใชงานในหลายกิจกรรม ตองจัดกิจกรรมเหลานั้น ใหทำงานตอ เนองสมั พนั ธก นั เพอื่ ทจ่ี ะไดใ ชเ ครอ่ื งจกั รทีม่ ีอยหู รืออาจจะเชา มาใหเ ตม็ เวลา อยา งไรกต็ าม เมอื่ มแี ผนงานทด่ี แี ลว ตอ งมกี ารกำกบั ดแู ลควบคมุ ใหง านเปน ไปตาม แผนงาน ซึงการกำหนดวิธีการควบคุมมีหลายวิธี อาจจะใชวัฏฏจักรการควบคุมงานดังภาพ ท่ี 1-1 ดังน้ ภาพที่ 1-1 แผนผังแสดงวัฏฏจกั รการควบคมุ งาน 16 การวางแผนงานกอ่ สร้าง

กำหนดยุทธศาสตรข องแผน (Plan Strategy) มองภาพรวมของโครงการ แลวกำหนดแนวทางท่ีจะนำไปสูความสำเร็จ โดยจะเริมตนอยางไร ดำเนนิ การตามลำดับกอนหลงั ไปอยางไรใชเ วลาเทาใด ฯลฯ กำหนดเกณฑมาตรฐานตางๆ (Set Standard) กำหนดมาตรฐานตางๆในการดำเนินงาน เชน การกำหนดกิจกรรมยอย การกำหนดเวลาและทรัพยากร กำหนดความสัมพนั ธ และประสทิ ธผิ ลของการทำงาน ตรวจสอบปรมิ าณ (Measure Work) จากแผนงานทจ่ี ดั ทำขน้ึ ปรมิ าณงานตางๆสามารถตรวจสอบไดวางานใดแลว เสร็จ งานใดเริมดำเนนิ การ หรอื กิจกรรมใดควรจะดำเนนิ การไปแลว ก่ีสว นเหลอื ก่สี ว น เปน ไปตาม กำหนดทคี่ วรจะเปน หรอื ไม ประเมนิ ผลความกา วหนา (Evaluate Progress) เปรียบเทียบผลงานท่ีทำไดกับมาตรฐานท่ีกำหนดไว วาจะเปนไปตามเปาหมาย เพยี งไร หากไมเ ปนไปตามเปาหมายจะตองปรับแผนใหม โดยเรมิ ตง้ั แตข้ันตอนแรก ความลมเหลวของโครงการ โครงการกอสราง หากไมสามารถดำเนินการใหสำเร็จตามเปาหมายตามเวลา ที่กำหนดไวได ก็ถอื วา โครงการนน้ั ประสบความลม เหลวเสียแลว ซึงพอจะบอกไดว าเกดิ จาก ความผิดพลาดตั้งแตข้ันวางแผน ไมปฏิบัติงานใหเปนไปตามแผนที่กำหนด เกิดจากเหตุ สดุ วสิ ัย ความผิดพลาดตง้ั แตขั้นวางแผน แผนงานเปนหัวใจของการบริหาร ดังนั้น ถาหากผูจัดทำแผนงานขาดความรู หรือประสบการณหรือวิเคราะหขอมูลผิดพลาด ก็จะทำใหแผนงานที่จัดทำข้ึนไมเปนไปตาม ความเปนจริง เชน การหลอคอนกรีต ถาไมคำนึงถึงระยะเวลาถอดแบบและบมคอนกรีต แลว กอ็ าจจะทำใหก ำหนดเวลาไมถ กู ตอ งหรอื เกดิ ความเสยี หายแกช น้ิ งาน ซงึ เคยปรากฏมาแลว วา อาคารกำลังกอสรางตองพังทลายลงมาเพราะใชเวลากอสรางสั้นเกินความเปนจริง คอนกรีต ฐานยงั ไมส ามารถรบั นำ้ หนกั ไดต ามกำหนด หรอื ในบางครง้ั จดั ลำดบั หนว ยงานใหท ำไปพรอ มๆ กนั หลายหนวยงาน โดยที่กำลังคนและเคร่ืองจักรเคร่ืองมือตลอดจนอุปกรณตางๆ ไมเพียงพอ ทำใหเกิดการรอคอย หรือเครื่องจักรทำงานเกินกำลัง อาจจะเกิดการชำรุดเสียหายได อกี ประการหนงึ คอื ความผดิ พลาดในการจดั ลำดบั การทำงานกอ นหลงั ของหนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ งกนั ทงั้ ทางตรงและทางออม 17การวางแผนงานกอ่ สรา้ ง

ไมป ฏบิ ตั ใิ หเปนไปตามแผนท่กี ำหนด แผนงานที่จัดทำขึ้นแลวนั้นมีความสมบูรณดีแลว แตผูท่ีนำแผนงานน้ันไปควบคุม โครงการ ไมไดต ิดตามประเมินผลตามระยะเวลาอันควร วา งานไดดำเนินไปตามกำหนดเวลา ในแผนหรือไม หรือในบางครั้งมีการเปล่ียนแปลงกำหนดเวลาและข้ันตอนโดยพละการ เชน ในแผนกำหดใหด ำเนนิ การขดุ หลมุ ฐานรากและเทคอนกรตี หยาบไปพรอ มๆ กนั ปรากฏวา ผูดำเนินการกอสรางไดรอจนขุดหลุมฐานรากเสร็จท้ังหมดจึงเทคอนกรีตหยาบ และผูกเหล็กตะแกรง ทำใหเสียเวลาโดยใชเหตุ และกระทบกับงานที่อยูถัดไป คืองานเทคอนกรีตฐานราก ดังนั้นการควบคุมใหการดำเนินงานเปนไปตามแผนงานน้ัน เปนเร่อื งสำคญั อยางยงิ เพราะเทาทีผ่ า นมา ความลมเหลวของโครงการสวนมากเกดิ จากการ ควบคุมและติดตามผลงานตลอดจนการแกปญ หาท่เี กิดขน้ึ ไมดพี อ เกิดเหตสุ ุดวิสัย โครงทต่ี อ งใชร ะยะเวลาดำเนนิ การนานๆ ใชเ ครอ่ื งจกั รเครอ่ื งมอื และแรงงานจำนวน มาก อาจ จะเกดิ อบุ ตั เิ หตทุ ค่ี าดไมถ งึ หรอื ไมส ามารถควบคมุ ได เชน จากภยั ธรรมชาติ นำ้ ทว ม แผน ดินไหว ฝนตกหนัก วสั ดขุ าดแคลน การนดั หยุดงาน เคร่ืองจักรเคร่ืองมอื ชำรดุ 1.4 ผมู หี นา ท่ใี นการวางแผน แผนงานกอสรางถูกใชใหเปนเคร่ืองมือควบคุมการทำงานและเปนสื่อกลาง เพ่ือความเขาใจท่ีตรงกันสำหรับผูเกี่ยวของทุกฝายในงานกอสราง ดังน้ันหลายฝายจึงตอง เขา มามสี ว นรว มในการวาง แผนงาน ผทู จ่ี ะเขา มามสี ว นรว มในการวางแผนงานจะประกอบดว ย เจา ของงาน ผูออกแบบ ผรู ับงานกอสรางหรือผรู ับจา ง และผูมสี วนเก่ียวขอ งอ่ืนๆ 1.4.1 เจา ของงาน เจาของงาน จะเปนผูท่ีตองกำหนดความตองการเบื้องตนโดยรวมของงานกอสร าง ในดานความกาวหนางานท่ีพึงประสงค หรือลำดับความกาวหนางานในสวนตางๆ ทั้งน้ อาจจะเก่ียวเนองกับการใชประโยชนสิงกอสราง การเอ้ือประโยชนตอประชาชน รวมถึง การจัดการงบประมาณคา กอ สราตามกำหนดระยะเวลากอสรา ง กำหนดระยะเวลากอสรา ง อาจจะกำหนดในแตละข้ันตอนการกอสราง หรือกำหนดระยะ เวลาแลวเสร็จ ของการกอสรางทั้งหมด แตในบางครั้งอาจจะใหผูรับงานกอสรางจัดทำแผนงานตามความ เหมาะสม นำเสนอเพอื่ พจิ ารณาใหค วามเห็นชอบ 18 การวางแผนงานกอ่ สร้าง

กำหนดเง่อื นไขการจายคาจา ง เปนการกำหนดกรอบการแบงงวดงานและการชำระคากอสราง อาจจะกำหนด เปนปริมาณงานไวชัดเจน หรือกำหนดการชำระคากอสรางตามผลงานที่ไดทำในแตละงวด งานโดยทัวไปจะกำหนดระยะเวลางวดการชำระคากอสรางไวทุกๆหนึงเดือนหรือสามสิบวัน ซงึ ทำใหก ารวางแผนงานกอ สรา งตองสอดคลองกบั รายละเอยี ดการกำหนดงวดงาน กำหนดวธิ ีการควบคุมและตรวจสอบคณุ ภาพงาน วธิ กี ารควบคมุ งานและการตรวจสอบคณุ ภาพงาน จะทำใหม ผี ลกระทบกบั ระยะเวลา การปฏบิ ตั งิ าน เชน การเทคอนกรตี จะตอ งขอความเหน็ ชอบจากผคู วบคมุ งานหรอื วศิ วกรผอู อกแบบ การตรวจสอบคุณภาพงานอาจตองมีการทดสอบตามหลักวิชาการและมีการบันทึกผลการทด สอบไวเ ปน หลักฐาน นอกจากนย้ งั อาจจะมเี งอื่ นไขอน่ื ๆทเ่ี จา ของงานกำหนด และจะมผี ลเกย่ี วเนองไปถงึ การจัดทำแผนงานกอสราง และทา ยท่สี ุด เจา ของงานจะเปนผพู จิ ารณาใหความเหน็ ชอบแผน งานกอสรางท่จี ดั ทำกอนนำไปใชในการดำเนินงานกอสรา งตอไป 1.4.2 ผอู อกแบบ ผูออกแบบ จะเปนผูใหแนวทางการจัดการงานกอสรางโดยสรุป รวมทั้งกำหนด รายละเอยี ดและวตั ถปุ ระสงคในการออกแบบในแตล ะสว นของสงิ กอ สรา ง การออกแบบ ผอู อกแบบ จะตอ งเขา ใจถงึ เทคนคิ การกอ สรา งทเ่ี กยี่ วขอ ง รวมทงั้ ตอ งกำหนดคณุ ลกั ษณะ และกระบวนการ ตรวจสอบคุณภาพงานตามขอกำหนดมาตรฐานงานกอสรางที่ไดกำหนดไวโดยกฎหมาย ขอกำหนดโดยหนวยงานตางๆ รวมทั้งมาตรฐานทางวิชาการและวิชาชีพ ผูออกแบบ อาจจะกำหนดวธิ กี ารกอ สรา ง เชน กำหนดวธิ กี ารตอกเสาเขม็ วา จะใชป น จนั ตอกเสาเขม็ ชนดิ ใด หรือกำหนดวิธีการติดตั้งทอระบบตางๆ เปน ตน หรืออาจจะกำหนดเง่อื นไขหรือรปู แบบในการ จัดทำแผนงานกอ สราง 1.4.3 ผรู ับงานกอสราง ผรู บั งานกอ สรา ง จะตอ งเปน ผจู ดั ทำแผนงานกอ สรา งโดยละเอยี ด การดำเนนิ การจดั ทำแผนงานจะตองดำเนินการโดยวิศวกรผูมีประสบการณหรือมีความชำนาญในงานกอสราง ทจ่ี ะดำเนนิ การ การประกวดราคางานกอ สรา งจะกำหนดใหผ เู ขา ประกวดราคาตอ งจดั ทำแผนงาน กอสรางเบ้ืองตนเสนอพรอมกับการเสนอราคาเพ่ือเขาแขงขัน ดังนั้นเมื่อผูรับงานกอสราง ตัดสินใจจะเขาประกวดราคาแขงขันจะตองศึกษาขอมูลที่เก่ียวของเพ่ือจัดทำแผนงาน สิงที่ผวู างแผนงานกอสรา งจะตอ งทราบในเบ้อื งตนคือ 19การวางแผนงานกอ่ สรา้ ง

ความตองการของเจาของงาน รายละเอียดและเงือ่ นไขของผูอ อกแบบ ลักษณะทางภูมิศาสตรแ ละสภาพแวดลอมของสถานที่กอ สรา ง ขอ บงั คบั ขอกำหนด กฎหมายและขอบัญญัติของทองถนิ ท่ีเกยี่ วของ ฯลฯ เม่ือไดร บั การตดั สนิ ใหเ ปน ผชู นะการประกวดราคาแลว ผูรบั งานกอ สรา งตองจดั ทำ แผนงานกอสรางโดยละเอยี ดเสนอขอความเห็นชอบจากเจาของงาน เมอื่ ไดร บั ความเหน็ ชอบ แผนงานแลวใหยึดถือเปนแผนงานหลักท่ีทุกฝายจะใชในการบริหารและควบคุมงานกอสราง ตอไป 1.4.4 ผูมสี ว นเก่ียวของอืน่ ๆ กลมุ คนอกี สว นหนงึ ทต่ี อ งเขา มามบี ทบาทในการวางแผนคอื กลมุ ปฏบิ ตั กิ ารทดสอบ มาตรฐานคุณภาพตางๆ กลุมงานติดตั้งเครื่องจักรกลและอุปกรณในการกอสราง กลุมจัดกา รสงิ อำนวยความสะดวกตา งๆ เชน ระบบไฟฟา ระบบจา ยนำ้ ระบบสื่อสาร ฯลฯ ผเู กยี่ วขอ ง ใ น ส ว น น้ จ ะ เ ข า ม า ร ว ม ก ำ ห น ด ร ะ ย ะ เ ว ล า แ ล ะ คว า ม เ ก่ี ย ว เ น อ ง สั ม พั น ธ ใ ห ส อ ด ค ล อ ง กับการดำเนนิ การกอ สราง 1.5 คณุ สมบตั ขิ องผวู างแผนงานกอ สรา ง วศิ วกรผวู างแผนงานกอ สรา งตอ งเปน ผทู ม่ี ปี ระสบการณม คี วามชำนาญในงานกอ สรา ง ที่จะวางแผน รูจักวิธีการกอสรางโดยเฉพาะยุทธวิธีการกอสราง ผูวางแผนงานกอสราง จะเปนผูท่ีมีบทบาทสำคัญในการกอสราง สามารถประสานงานฝายตางๆ เขาดวยกัน และสามารถบริหารจัดการความ สัมพันธไปในแนวทางท่ีถูกตอง ไมเกิดความขัดแยง อกี ประการหนงึ ตอ งสามารถตรวจสอบปรมิ าณงานตามแผนไดต ลอดเวลา มคี วามเขา ใจถงึ สภาพ การทำงานของผูรับเหมาหลักรวมถึงผูรับเหมายอย มีขอมูลในการวางแผนอยางเพียงพอ และตอ งเปนผูท่ีใชด ลุ พินิจในการตดั สินใจไดอยางถูกตอง 20 การวางแผนงานก่อสรา้ ง

สรุป การปฏิบัติงานทุกประเภท จำเปนตองมีการจัดทำแผนการปฏิบัติงาน งานจะประสบผลสำเร็จหรือลมเหลวนอกจากจะมีแผนงานที่ดีแลวยังตองกำกับดูแล ใหการปฏิบัติงานเปนไปตามแผนงาน สำหรับงานกอสรางเปนลักษณะงานที่มีปจจัย มากระทบหลายอยาง เชน สภาพภูมิอากาศ การเปล่ยี นแปลงความตองการของเจาของงาน ปญหาดานเทคนคิ ปญ หาดา นวสั ดแุ ละแรงงาน รวมถงึ อบุ ตั ิเหตตุ า งๆ ทำใหงานไมส ามารถ ดำเนนิ การใหเปน ไปตามแผนกำหนดเวลาทีว่ างไว จะตองมกี ารวิเคราะหแ ละแกไ ขปญ หาและ ปรบั แกแผนใหทนั ทว งที นอกจากใชแผนงานเปนแนวทางในการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานแลว แผนงานยังใชเปนเครื่องมือในการติดตามประเมินความกาวหนางานรวมถึงการคาดการณ วาจะสามารถแลวเสร็จตามเปา หมายทก่ี ำหนดไวหรอื ไม 21การวางแผนงานกอ่ สร้าง

22 การวางแผนงานกอ่ สรา้ ง

ขอบเขต  หนา้ ท่ี  และขนั้ ตบอทนทก่ ี  2ารวางแผนงานกอ่ สรา้ ง งานกอสราง มีองคประกอบมากมาย จะตองมีการบริหารจัดการที่ดี เพ่ือใหงาน ที่เก่ียวของสัมพันธกันดำเนินไปอยางเปนระบบ การบริหารจัดการจำเปนตองมีเครื่องมือ ท่ีใชประสานทุกฝายใหดำเนินการไปในแนวทางเดียวกัน เครื่องมือที่ใชก็คือแผนการทำงาน การท่ีจะทำแผนการทำงานใหไดดีนั้น ผูวางแผนตองมีความรูความชำนาญและประสบการณ อยา งกวางขวาง ท้ังงานในวชิ าชีพและงานอน่ื ทีเ่ ก่ียวของ ในเบอ้ื งตน ตอ งรูถ งึ ขอบเขต หนา ท่ี และขนั้ ตอนการวางแผนงานกอ สรา ง เพอ่ื ใหไ ดแ ผนงานทสี่ มบรู ณแ ละเหมาะสมกบั งานกอ สรา ง ในแตล ะคร้งั ซึงมีความแตกตา งกัน 2.1 ขอบเขตของการวางแผนงานกอสรา ง การวางแผนในงานกอสรางตองดำเนินการใหครอบคลุมองคประกอบในการบริหาร จดั การงานกอสรา งในดา นตางๆ จงึ ตอ งจัดทำแผนงานในดา นตา งๆ ไดแ ก แผนงาน (Work Plan) แผนคนงาน (Labor Plan) แผนจัดหาวสั ดุ (Material Plan) แผนเครอ่ื งจกั รกล (Equipment Plan) แผนการเงนิ (Cash flow Plan) 2.1.1 แผนงาน แผนงาน เปนแผนท่ีใหร ายละเอยี ดเกย่ี วกับงานที่ตองดำเนินการ ซึงประกอบดวย กลมุ งานยอ ยหรอื กจิ กรรม การจดั ลำดบั การดำเนนิ การ ปรมิ าณงานและกำหนดเวลาการทำงาน ปจ จยั ท่ีตองนำมาประกอบคอื วิธีการกอ สราง จำนวนแรงงานและเคร่อื งจกั รกล ระบบการจดั ทำแผนงานในปจ จบุ ันมีสองระบบใหญค ือ ระบบแผนภูมิแทง และระบบวธิ ีวิถีวิกฤต การจดั ทำ แผนงานกอ สรา งจะเรมิ ตง้ั แตก ารเตรยี มสถานทก่ี อ สรา ง งานกอ สรา ง จนถงึ การทดสอบขน้ั สดุ ทา ย กอนสงมอบงาน การจัดทำแผนงานก็เพ่ือทำใหทุกคนไดรูถึงงานที่ตนตองปฏิบัติ และเตรยี มการณล ว งหนา 2.1.2 แผนคนงาน การดำเนนิ การจดั ทำแผนคนงานจะจดั ทำไปพรอ มกบั แผนงานหรอื หลงั จากทำแผนงาน เสรจ็ แลว ในเบอื้ งตน ตอ งกำหนดจำนวนคนงานรวมทจ่ี ะปฏบิ ตั งิ านในแตล ะวนั ตลอดระยะเวลา 23การวางแผนงานก่อสรา้ ง

การกอสราง จากน้ันจะกำหนดจำนวนคนงานที่จะปฏิบัติงานในแตละกิจกรรมยอยที่แยกไว จัดทำเปนแผนภูมิแทงในตารางเวลาที่นำมาจากแผนงาน และตองวิเคราะหจำนวนคนงาน รวมทที่ ำในแตล ะวนั หากปรากฏวา ในวนั ใดมจี ำนวนคนงานรวมมากกวา ทก่ี ำหนดไวใ นตอนแรก จะตอ งทำการปรบั แกแ ผนงานใหม โดยการเปลย่ี นแปลงชว งเวลาทำงาน หรอื จดั ลำดบั การทำงาน ของกิจกรรมยอยใหมโดยไมกระทบความสัมพันธกับหนวยงานขางเคียง หากไมสามารถ เปลยี่ นแปลงชวงเวลาไดกเ็ ปล่ียนแปลงจำนวนคนงานในกิจกรรม การเปล่ยี นแปลงนจ้ ะทำใหเ พิมเวลาทำงานเม่อื ตองลดจำนวนคนงาน หรือหากเพิมจำนวนคนงานจะทำใหล ดเวลาทำงาน การจดั ทำแผนคนงานกเ็ พอ่ื ควบคมุ จำนวนคนงานในแตล ะวนั รวมถงึ การเตรยี มการจดั หาคนงาน ไวลวงหนา 2.1.3 แผนจดั หาวัสดุ เมอ่ื แผนงานและแผนคนงานสอดคลอ งกนั ดแี ลว จะนำแผนงานมาพจิ ารณาจดั ทำแผน จัดหาวัสดุตามความตองการของแตละกิจกรรม ในการจัดทำแผนจัดหาวัสดุจะจัดทำเฉพาะ วสั ดทุ จ่ี ำเปน ตอ งเตรยี มการจดั หาไวล ว งหนา ตามความเหมาะสม เชน ดนิ ถม คอนกรตี ผสมเสรจ็ เหลก็ เปนตน สงิ ที่ตอ งนำมาพิจารณาในการจดั ทำแผนจดั หาวัสดมุ ดี งั น้ ความประยดั ในการจดั ซื้อ การจัดซอื้ จำนวนมากจากโรงงานผผู ลิตจะถกู กวา ซ้อื ยอยจากรานคาในทอ งถนิ การจัดเกบ็ ตองคำนึงถึงความสามารถในการจัดเก็บและคาใชจายในการฝากเก็บในสถานที่ ใหบรกิ ารเชาสถานท่ีจดั เกบ็ ความเสยี หายจากการจดั เกบ็ และดแู ลรักษาวสั ดบุ างประเภท มีอายุการใชง านหรอื อาจชำรดุ เสยี หายงายหากการดูแลไมด ีพอ ปริมาณทีเ่ พียงพอ การจัดหาวัสดุตองเพียงพอและทันเวลาตอการใชงานตามแผนงานที่วางไว ในแตล ะชวงเวลา การจดั ทำแผนจดั หาวสั ดุ จะชว ยใหฝ า ยจดั หาไดเ ตรยี มการลว งหนา ในดา นตา งๆ เชน การตดิ ตอ สงั ซอื้ หรอื สงั จอง การตรวจสอบคณุ ลกั ษณะตามขอ กำหนด หรอื การทดสอบเบอ้ื งตน กอนสังซ้ือ 2.1.4 แผนเครื่องจกั รกล โดยทวั ไป บรษิ ทั กอ สรา งจะไมจ ดั ซอ้ื เครอ่ื งจกั รกลไวค รอบครองในการทำธรุ กจิ กอ สรา ง สวนมากจะทำการเชาจากผูประกอบธุรกิจใหบริการเชาเคร่ืองจักรกล เชน ปนจัน รถขุด รถขนดิน ฯลฯ ทั้งน้เพราะงานกอสรางในแตละครั้งอาจจะไมไดใชเครื่องจักรกลบางประเภท ทำใหเ มอื่ จัดซ้ือไวค รอบครองแลว จะไมค ุมกับคา ใชจายในการมไี วครอบครอง 24 การวางแผนงานกอ่ สร้าง

เคร่ืองจักรกลที่ไมควรจัดซ้ือไวครอบครองมีหลายชนิด เชน รถขุดขนาดใหญ รถบรรทกุ เททา ย เครอ่ื งยกหรอื ปน จนั เปน ตน เครอื่ งจกั รกลเหลา นจ้ ะใชว ธิ เี ชา ใชต ามระยะเวลา ซึงตองมีการจัดทำแผนในการจัดหาเชนเดียวกับการจัดหาวัสดุ เพราะการเชาเครื่องจักรกล จะตอ งตดิ ตอ ผใู หบ รกิ ารเปน การลว งหนา นอกจากนก้ ารจดั ทำแผนเครอ่ื งจกั รกลจะทำใหท ราบ ระยะเวลาทจี่ ะใชง าน และตอ งควบคมุ การทำงานใหเ ปน ไปตามแผนงานทกี่ ำหนด เพอ่ื จะไดใ ช เครื่องจกั รกลที่เชา มาอยางเต็มเวลาเตม็ ประสทิ ธิภาพคุม กบั คาใชจ ายท่เี สยี ไป การจดั ทำแผนเครอ่ื งจกั รกล ผวู างแผนจะนำแผนงานมาเปน แนวทางในการจดั ทำแผน เคร่ืองจักรกลใหเหมาะสมกับขนาดและปริมาณของงาน รวมท้ังชวงเวลาท่ีจะตองใช เครอ่ื งจักรกลแตละประเภทโดยจดั ทำเปนแผนภมู แิ ทงตอ เนองจากแผนงาน 2.1.5 แผนการเงิน งานกอ สรา งเปน งานทตี่ อ งใชเ งนิ ทนุ หมนุ เวยี นคอ นขา งสงู และจะตอ งจดั เตรยี มเงนิ ไวสำรองจายตลอดเวลา การทำแผนการเงินจะไมทำเปนแผนภูมิแทงแตจะจัดทำเปนตาราง แสดงการเคลอื่ น ไหวเขา ออกของกระแสการเงนิ เปน ชว งๆตามระยะเวลาการแบง งวดการชำระ คา กอ สรา ง และนำแผนงานมาคำนวณคา ใชจ า ยสะสมตามชว งเวลา เขยี นกราฟเสน จะมลี กั ษณะ ของเสน กราฟคลา ยตัว “S” จึงเรียกวา “S Curve” ในแผนการเงินจะแสดงรายละเอียดการใชจายจริงที่คิดจากมูลคางานที่ทำได ตามแผนงาน อีกสวนหนึงจะแสดงรายรับที่ไดตามคาจางงานในแตละงวดงาน สวนสุดทาย เมอ่ื หาผลตา งของรายการจา ยและรายการรบั แลว จะปรากฏผลสภาวะการเงนิ ทจี่ า ยเกนิ รายรบั ซงึ ทำใหผ รู บั จา งงานกอ สรา งไดท ราบถงึ จำนวนเงนิ ทต่ี อ งจดั เตรยี มไวส ำรองจา ยตามระยะเวลา ตา งๆ ทง้ั หมดนเ้ ปน ขอบเขตของการจดั ทำแผนในงานกอ สรา งทวั ไป ซงึ ผดู ำเนนิ การธรุ กจิ กอสรางจะใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการงานกอสราง เพื่อใหสำเร็จตามวัตถุประสงค ที่กำหนดไว 2.2 หนาท่ีในการวางแผนงานกอ สรา ง ในการปฏิบัติงานใดๆจะตองกำหนดหนาท่ีและบทบาทใหแกผูปฏิบัติงานแตละคน หรอื แตล ะกลมุ คน ในงานกอ สรา ง เมอ่ื ตดั สนิ ใจทจ่ี ะดำเนนิ การหรอื ไดร บั มอบงานใหด ำเนนิ การแลว สิงแรกสุดคือการจัดทำแผนงานกอสราง และผูท่ีมีหนาท่ีในการวางแผนงานกอสราง คือผูที่รับผิดชอบในการจัดการงานกอสรางหรือผูที่จะดำเนินการกอสราง ผูท่ีรับผิดชอบ ในการจัดการงานกอสรางจะตองจัดหาคณะบุคคลที่จะดำเนินการจัดทำแผนงานกอสราง 25การวางแผนงานกอ่ สรา้ ง

โดยมวี ศิ วกรผเู ชยี่ วชาญเปน หวั หนา คณะ มหี นา ทใี่ นการจดั ทำแผนงานกอ สรา ง โดยการประสาน กับผูเกย่ี วของอืน่ ๆ เชน เจา ของงาน ผูออกแบบ เพอ่ื ใหไดข อ มลู เกย่ี วกบั งานท่ีดำเนนิ การ เจา ของงาน จะตอ งกำหนดรายละเอยี ดในเรอ่ื งระยะเวลากอ สรา งตามความกา วหนา งาน ที่ตอ งการ และเวลารวมหรอื เวลาเรมิ และส้ินสดุ การกอ สรา ง ผูออกแบบ จะเปนผูกำหนดรายละเอียดดานเทคนิคหรือตามหลักวิชาการกอสราง นอกจากนนั้ ยังตองพจิ ารณาลำดับงานทีจ่ ะดำเนนิ การกอนหลงั คณะทำงานวางแผนงานจะตอ งพจิ ารณาจดั ทำแผนงานตงั้ แตเ รมิ ตน รบั งานกอ สรา ง ซึงจดั แบงเปน 4 ชวงเวลาตามลำดบั ดังน้ 1. การวางแผนงานกอ นเรมิ งานกอ สรา ง 2. การวางแผนงานระหวา งการดำเนนิ การกอ สรา ง 3. การวางแผนงานการสง มอบงาน 4. การวางแผนงานในระยะเวลาการรับประกนั ผลงาน 2.3 ขน้ั ตอนการวางแผนงานกอ สราง การจัดทำแผนงานกอสรางเปนงานท่ีมีปจจัยบังคับหลายอยาง ผูวางแผนจะตอง แยกแยะ และหาความสมั พนั ธเ กย่ี วเนองกนั ของกจิ กรรมตา งๆ ตามเงอ่ื นไขทง้ั ทเ่ี ปน เงอ่ื นไขภายใน ของผูรับงานกอสรางเอง เชน บุคลากร เคร่ืองจักร การเงิน และเงื่อนไขจากภายนอก เชน ขอกำหนดในแบบและรายการละเอียด ขอกำหนดในสัญญา ขอกำหนดของกฎหมาย และขอบังคับทองถิน ฯลฯ เพ่ือใหการวางแผนดำเนินการไปไดจึงตองจัดลำดับข้ันตอน การจดั ทำแผนงานกอสรางดงั น้ กำหนดวัตถุประสงคหรือเปาหมาย สำรวจพ้นื ทก่ี อ สรา งและพ้นื ทข่ี างเคียง รวบรวมกฎหมายและขอ บังคบั ทองถนิ รวบรวมขอกำหนดจากแบบและรายการประกอบแบบรวมทงั้ สัญญา จดั ทำโครงสรางรายการงานหรือจำแนกกจิ กรรมยอย เลือกเทคนิคการกอ สรา ง วิธีการกอสรา งและยุทธวิธีในการกอ สราง จัดลำดับความสัมพันธกิจกรรมยอยตา งๆ กำหนดทรพั ยากรที่จะใช เชน วสั ดอุ ุปกรณ เคร่ืองจักรเครอ่ื งมอื และบคุ ลากร กำหนดเวลาทำงานในแตล ะกจิ กรรม รา งแผนงาน ตรวจสอบ ปรบั ปรงุ แกไข ประชมุ ทำความเขา ใจและระดมความคิดเหน็ เพ่ือปรบั ปรุงข้ันสดุ ทาย 26 การวางแผนงานกอ่ สร้าง

นำเสนอแผนงานทเ่ี สร็จสมบรู ณขอความเห็นชอบ งานกอสรางแตละงาน จะมีภารกิจที่ตองดำเนินการและจัดทำแผนงานต้ังแต ยังไมเริมกอสรางจนหลังจากเสร็จส้ินการกอสราง ซึงจัดแบงเปนการจัดทำแผนงาน ตามระยะเวลา การวางแผนงานกอ นเริมการกอ สรา ง การวางแผนงานระหวางดำเนินการกอสราง การวางแผนงานการสงมอบงาน การวางแผนงานในระยะเวลาการรับประกันผลงาน 2.3.1 การวางแผนงานกอ นเรมิ การกอ สราง กอ นการกอ สรา งเรมิ ตน ขนึ้ มงี านทต่ี อ งดำเนนิ การหลายอยา ง ดงั นน้ั เพอื่ ใหง าน ดำเนนิ การไปอยา งราบรนื่ ดงั คำกลา วทวี่ า “เมอื่ เรมิ ตน ดแี ลว เทา กบั งานสำเรจ็ ไปแลว ครงึ หนงึ ” จึงมีการจัดทำแผนการดำเนินการชวงกอนการกอสรางจะเริมขึ้น ซึงงานท่ีตองดำเนินการ ในขนั้ ตอนนค้ อื งานสำรวจพน้ื ทีก่ อ สรา ง งานศกึ ษาขอ มลู จากเนอ้ งานตามแบบและรายการประกอบแบบ งานจัดทำจดั หาโครงสรางชวั คราวและเครือ่ งจักรกล งานจัดเตรยี มบุคลากรและสถานทีพ่ กั ทท่ี ำงานและสิงปลกู สรา งชวั คราวอนื่ ๆ งานสำรวจพื้นทก่ี อสราง งานในสว นนจ้ ะเปน การสำรวจสภาพภมู ปิ ระเทศบรเิ วณทก่ี อ สรา งและบรเิ วณขา งเคยี ง งานตรวจสอบแนวเขตพนื้ ที่ตามหลักฐานทางราชการ งานสำรวจผลกระทบตอพน้ื ที่ขางเคยี ง หรอื ตอ ชมุ ชนการศกึ ษาขอ กำหนดของกฎหมายและขอ บงั คบั ทอ งถนิ งานวางผงั บรเิ วณกอ สรา ง การจัดการจราจรในบริเวณกอสรางเก่ียวเนองถึงการจราจรโดยรอบนอกบริเวณกอสราง ซงึ จะไดอธิบายละเอียดในบทท่ี 4 เรื่องการสำรวจและเตรยี มสถานท่ีกอ สรา ง งานศึกษาขอมลู จากเน้องานตามแบบและรายการประกอบแบบ เพอื่ ใหก ารวางแผนงานกอ สรา งมคี วามถกู ตอ งครบถว นในเนอ้ งานทต่ี อ งดำเนนิ การ จึงจำเปนตองจัดเวลาใหคณะทำงานไดศึกษาแบบกอสรางในเรื่องของ แผนผังอาคาร รูปตั้ง รูปตัด สว นทอ่ี ยูใตดนิ รายละเอียด ขอ กำหนดทัวไป การจดั กลุมงานตามลกั ษณะสงิ ปลูกสราง ความยากงา ยในการดำเนนิ การ รวมถงึ ประเดน็ ปญ หาตา งๆ ทต่ี รวจพบในแบบและรายการละเอยี ด หากมีขอขดั แยงหรือขอ สงสยั จะตองตดิ ตอ กับผอู อกแบบหรือเจา ของงาน เพื่อขอคำวนิ จิ ฉัย หรอื ขอคำแนะนำเพมิ เตมิ 27การวางแผนงานกอ่ สร้าง

งานจดั ทำจดั หาโครงสรา งชัวคราวและเคร่อื งจักรกล จากการศึกษาแบบและรายการละเอียดจะนำไปสูการตัดสินใจเลือกวิธีการกอสราง การเลือกใชโครงสรางชัวคราวและเคร่ืองจักรกลหรือแรงงานใหเหมาะสมกับวิธีการกอสราง โดยเฉพาะโครงสรา งชวั คราวและเครอ่ื งจกั รกล ตอ งกำหนดรายละเอยี ดในการจดั ทำหรอื จดั ซอื้ จดั หาไวใหชัดเจน หากเปนการจัดทำข้ึนเอง จะตองมกี ารคำนวณออกแบบเขยี นแบบ งานจัดเตรียมบคุ ลากรและสถานทพ่ี ักที่ทำงานและสงิ ปลูกสรางชัวคราวอ่ืนๆ งานกอสรางในเขตชุมชนหนาแนนและมีพ้ืนที่ใชสอยจำกัด งานจัดเตรียมบุคลากร และสถานทพ่ี กั ทท่ี ำงาน และสงิ ปลกู สรา งชวั คราว จะเปน งานทต่ี อ งใชเ วลาสำรวจและดำเนนิ การมาก เชน การสำรวจบุคลากรระดับบริหารและดำเนินการ การสำรวจสภาวะแรงงานในทองถิน การสำรวจเรื่องการจัดหาท่ีพักอาศัยของบุคลากร สถานท่ีทำงานหรือสำนักงานสนาม สถานที่จัดเก็บวสั ดุอปุ กรณ ทุกเร่ืองท่ีไดกลาวมาขางตน เปนเร่ืองที่ตองดำเนินการวางแผนการดำเนิ นงานโดยทันที โดยเริมตั้งแตเมื่อตัดสินใจทำงานกอสรางหรือเมื่อไดรับการคัดเลือก ใหเปนผูดำเนินการกอสรางและกอนที่สัญญาจะมีผลบังคับเง่ือนเวลากอสราง รายละ เอียดหลายอยางตองใชเวลาในการสำรวจ ศึกษา เก็บรวบรวมขอมูล มากพอสมควร การสำรวจตางๆ อาจจดั ทำเปนแบบพมิ พตารางดงั ภาพที่ 2-1 แบบสำรวจบริเวณกอ สราง หมายเหตุ ปรับเปล่ียน เพมิ เติม ไดต ามสภาพงาน ภาพที่ 2-1 ตัวอยางแบบพิมพส ำหรบั บนั ทกึ ขอ มูลการสำรวจสถานท่ีกอ สรา ง 28 การวางแผนงานก่อสร้าง

2.3.2 การวางแผนงานระหวางดำเนนิ การกอสรา ง เม่ือไดดำเนินการในสวนตางๆที่เกี่ยวของกับการกอสรางแลว จะนำขอมูลตางๆ มาดำเนินการจัดทำแผนงานกอสรางในชวงตั้งแตเริมดำเนินการกอสราง ซึงโดยปกติ งานกอสรางจะเริมกอสรางจากขางลางขึ้นขางบน การวางแผนงานในขั้นตอนน้ จะตองจัดทำบัญชีแยกกลุมงาน หรือบัญชีโครงสรางรายการงาน(Work Breakdown Structure) โดยจะตองคำนึงถึงรายละเอยี ดดังน้ วตั ถปุ ระสงคหรอื เปา หมายของการกอสรา ง ระยะเวลาการกอสรางทถี่ กู กำหนดไวล วงหนา กลุมงานยอยตามลักษณะงานหรือวิธีการกอสรางหรือตามประเภทชางฝมือ ปริมาณงานในกลมุ งานยอ ยตางๆ การใชวัสดุอปุ กรณ แรงงาน เครื่องจักรกล สถติ ิอตั ราการทำงานหรอื อัตราผลผลิตที่ได การแบงงวดงานหรอื งวดการชำระเงินในสัญญา ลำดบั การทำงานกอ นหลงั ตอ เนองกนั 2.3.3 การวางแผนการสงมอบงาน ในระหวา งการกอ สรา ง จะกำหนดการสง มอบงานเปน งวดๆ โดยระบไุ วใ นสญั ญาจา ง กอ สรา ง ทง้ั นเ้ พอ่ื กำหนดรายละเอยี ดและเงอ่ื นไขในการจา ยคา กอ สรา งตามระยะเวลาทเ่ี หมาะสม เพ่ือใหผูรับจางไดมีเงินหมุนเวียน โดยทัวไปจะกำหนดการสงมอบงานและจายคากอสราง แตล ะงวดในเวลา30 วนั หรอื หนงึ เดอื น การสง มอบงานมภี าระงานทตี่ อ งดำเนนิ การหลายอยา ง เชน การตรวจสอบความสมบูรณถูกตองของปริมาณงาน การตรวจสอบคุณภาพ การทดสอบทางวชิ าการ การทดสอบการใชง าน การตดิ ตอ นดั หมายคณะกรรมการตรวจการจา ง การดำเนินการดานเอกสาร เปนตน ดังน้ันจึงตองมีการกำหนดแผนการปฏิบัติไวลวงหนา ในแตล ะงวดงาน และท่ีสำคญั คอื การสงมอบงานงวดสุดทาย ซึงจะตอ งมีการรวบรวมเอกสาร สำคัญตางๆ เชน หนังสือคูมือการใชอาคารและอุปกรณ ใบอนุญาตตามขอบังคับทองถิน แบบสรางจริง (As Built Drawing) เปนตน นอกจากน้นั ยงั ตองมีการทดสอบงานระบบตางๆ เชน ระบบไฟฟา ระบบปรบั อากาศ ระบบประปาและสขุ าภิบาล 2.3.4 การวางแผนงานในระยะเวลาการรับประกนั ผลงาน ในงานกอ สรา งสงิ ปลกู สรา งของทางราชการ จะมขี อ กำหนดไวใ นสญั ญาจา งกอ สรา ง ใหผูร ับจางรับประกันการชำรดุ บกพรองของงานทที่ ำไวเปน เวลา 2 ป หรอื มากกวา หลังจาก มีการรับมอบงานงวดสุดทายดังนั้นภาระผูกพันระหวางเจาของสิงกอสรางกับผูรับจาง 29การวางแผนงานกอ่ สร้าง

จะยังมีผลบังคับจนกวาจะพนระยะเวลารับประกันผลงาน ในระหวางการรับประกันผลงาน จะตอ งจดั ทำแผนการปฏบิ ตั ิในเรอื่ ง การตรวจสอบสภาพอาคาร การประเมนิ ความชำรดุ เสยี หาย การตดิ ตอส่ือสาร การดำเนนิ การแกไ ข และการตดิ ตามประเมินผลการปฏบิ ตั ิงาน 30 การวางแผนงานก่อสรา้ ง

การประมาณราคา  การประกบวทดทร ่ี  า3คา  และสญั ญาจา้ งกอ่ สรา้ ง โครงการกอสรางมีลำดับการดำเนินการเริมต้ังแตหนวยงานเจาของงานกำหนด แนวคิดตามความตองการ หรือตามวัตถุประสงคของโครงการ การสำรวจความเปนไปได หรือความเหมาะสม การเขียนแบบและรายการละเอียด การประมาณราคา การประกวดราคา การจัดทำสญั ญาจางกอสรา ง การดำเนินการกอสรา ง ในทกุ ข้ันตอนจะมีความสำคญั เปน เหตุ เปนผลเชื่อมโยงกัน ในบทน้จะไดอธิบายถึงข้ันตอนการประมาณราคา การประกวดราคา และการทำสญั ญาจา งกอ สรา ง ซึงจะตอ งดำเนนิ การใหเสร็จสนิ้ กอนงานกอสรางจะเริมตน 3.1 การประมาณราคา การประมาณราคาในงานกอสรางจะมี 2 ลักษณะใหญๆ คือการประมาณราคา โดยประมาณ และการประมาณราคาโดยละเอยี ด การประมาณราคาโดยประมาณ เปนการประมาณราคาเพ่ือใหทราบเปนเบ้ืองต นถึงราคากอสรางทั้งหมด เพ่ือการตัดสินใจในเร่ืองการจัดหางบประมาณคาใชจายโดยรวม การประมาณราคาลักษณะน้จะอาศัยสถิติขอมูลที่รวบรวมไว คืออัตราราคาตอหนวย เชน ราคาตอ พน้ื ทใี่ ชส อย ราคาตอ ความยาว ราคาตอ ปรมิ าตร ซงึ ผลทไี่ ดจ ะเกดิ ความคลาดเคลอื่ น ประมาณ 15 - 20 % หรือประมาณราคาตอหนวยใชสอย เชนการกอสรางอาคารพาณิชย 10 คูหา จะประมาณราคาวาตอหนึงคูหาจะมีคากอสรางเทาใด การประมาณราคากอสราง โรงพยาบาลชุมชนขนาด 50 ตียง คิดราคาตอเตียงผูปวยหนึงเตียงจะเปนเทาใด วธิ ีน้จะเกดิ การคลาดเคล่อื นประมาณ 20 - 30 % ของการประมาณราคาโดยละเอียด การประมาณราคาโดยละเอียด เปนการประมาณราคาท่ีใชในการประกวดราคา หรือเพื่อดำเนินการกอสรางจริง การประมาณราคาในลักษณะน้ จำเปนตองคำนวณปริมาณ งานและราคาคากอสรางจริงจากแบบและรายการละเอียด รวมทั้งเอกสารตางๆ ท่ีเกี่ยวของ ปริมาณงานจะแยกเปนสองสวนคือ ปริมางานท่ีตองทำการกอสราง ประกอบดวย คา วสั ดแุ ละคาแรงงาน อกี สวนหนงึ คือ ปรมิ าณงานท่จี ดั ซ้ือจดั หาโดยตรง เชน ครุภัณฑส ำเรจ็ เคร่ืองประมวลผล เปนตน ในงานของราชการกับงานของเอกชน จะใชหลักการเดียวกัน แตจะแตกตางกัน ในรายละเอยี ด ในทน่ี จ้ ะอธบิ ายเฉพาะการประมาณราคาในงานราชการ ซงึ สำนกั พฒั นามาตรฐาน งานระบบพัสดุภาครัฐ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง โดยคณะกรรมการกำกับนโยบาย 31การวางแผนงานก่อสรา้ ง

ราคากลางงานกอสราง: 2550 ไดกำหนดแนวทาง วิธีปฏิบัติ และรายละเอียดประกอบ การคำนวณราคากลางงานกอสราง โดยแบงลักษณะงานกอสรางเพ่ือการคำนวณราคากลาง ออกเปน 3 กลุมงาน คือ 1. งานกอ สรางอาคาร 2. งานกอสรางทาง สะพาน และทอเหลยี่ ม 3. งานกอ สรางชลประทาน 3.1.1 แนวทาง วธิ ปี ฏบิ ตั ิ และรายละเอยี ดประกอบการคำนวณราคากลางงานกอ สรา ง คณะกรรมการกำกบั นโยบายราคากลางงานกอ สรา ง:2550 ไดก ำหนดหลกั เกณฑต า งๆ ไวใหถ ือปฏบิ ัติ โดยไดแ บง เปน 3 สวน คอื สว นที่1 แนวทางและวธิ ปี ฏบิ ตั เิ กยี่ วกบั หลกั เกณฑก ารคำนวณราคากลางงานกอ สรา ง ในสว นท่ี 1 นจ้ ะประกอบดว ย ขอกำหนด แนวทาง และวิธปี ฏิบตั ิ ซึงสว นราชการ รฐั วสิ าหกจิ หนว ยงานอนื่ ของรฐั ผมู หี นา ทคี่ ำนวณราคากลางงานกอ สรา ง หนว ยงานทมี่ หี นา ท่ี ตรวจสอบและพิจารณางบประมาณ รวมทั้งหนว ยงานและผทู ี่เก่ยี วของจะตองทราบ ท้งั น้เพื่อ ใหมีหลักเกณฑการคำนวณราคากลางงานกอสรางสำหรับใชไดอยางถูกตอง มีประสิทธิภาพ และเปน ไปในแนวทางเดยี วกัน สว นที่ 2 รายละเอยี ดประกอบการคำนวณราคากลางงานกอสรา ง เปนสวนของรายละเกียดเก่ียวกับขอมูลที่จำเปนในการคำนวณราคากลาง และจะมกี ารปรับปรงุ ใหม ีความเปนปจจบุ นั และสอดคลอ งตามสภาวการณ ประกอบดว ย 1. คา แรงงาน คาดำเนนิ การสำหรบั การถอดแบบคำนวณราคากลางงานกอ สราง 2. ราคาคาวสั ดุ 3. คาขนสง วัสดกุ อ สรา ง 4. คาดำเนินการและคาเส่อื มราคา อตั ราคางานดนิ และอตั ราราคางานปรบั ปรงุ ฐานรากและงานระเบิดหิน สว นที่ 3 หลกั เกณฑการใชต าราง Factor F ตาราง Factor F ไดจดั ทำแยกตามกลมุ งานคือ ตาราง Factor F งานกอสรา งอาคาร ตาราง Factor F งานกอสรางทาง ตาราง Factor F งานกอสรางสะพานและทอเหล่ียม และงานกอสรางชลประทาน 3.1.2 หลักเกณฑการคำนวณราคากลาง งานกอสรา งอาคาร คณะกรรมการกำกับนโยบายราคากลางงานกอสราง:2550 ไดกำหนดรายละเอียด เกี่ยวกบั การคำนวณราคากลางงานกอ สรางอาคารไวดงั น้ 32 การวางแผนงานก่อสรา้ ง

ความหมายและขอบเขตของงานกอสรางอาคาร งานกอ สรา งอาคาร หมายถงึ งานกอ สรา งใหม งานปรบั ปรงุ งานซอ มแซม งานรอ้ื ถอน และหรือตอเติมอาคาร บาน เรือน โรง ราน แพ เรือหรือพาหนะสำหรับขนสงขามฟาก ทา เทยี บเรอื ตกึ แถว รา นคา โรงเรอื น โรงเรยี น โรงพยาบาล โรงงาน โรงภาพยนตร ศนู ยก ารคา คลงั สินคา อาคารสำนกั งาน อาคารทท่ี ำการ อาคารชดุ พกั อาศัย ศาลาทพี่ กั วดั พระอโุ บสถ หอระฆงั กฏุ พิ ระ มสั ยดิ สเุ หรา อนสุ าวรยี  หอสงู หอประชมุ หอ งสมดุ ตลาด อเู รอื ทา จอดเรอื สถานนำรอง สถานขนสงฯ หรือสิงกอสรางอ่ืนท่ีมีลักษณะรูปแบบหรือโครงสรางคลายกับ สิงกอสรางดังกลาว ซึงบุคคลอาจเขาอยู หรือเขาไปใชสอยได และใหหมายความรวมถึง งานกอสราง งานปรับปรุง งานซอมแซม งานรื้อถอน และ/หรืองานตอเติมสิงกอสราง ดงั ตอไปนด้ ว ย 1. อฒั จนั ทรห รอื สงิ กอ สรา งอยา งอน่ื เพอ่ื ใชเ ปน ทเี่ ลน กฬี า และ/หรอื ออกกำลงั กาย เชน สนามกีฬา สนามฟุตบอล ลูกีฬา สนามเทนนสิ สนามบาสเกตบอล สนามแบดมนิ ตัน สระวา ยนำ้ เปนตน 2. ปายและ/หรือสิงที่สรางขึ้นสำหรับติดตั้งปายเพื่อการประชาสัมพันธ หรอื เพ่ือการโฆษณา 3. ถนน ทางเทา พื้นที่ หรือสิงท่ีสรางข้ึนเพื่อใชเปนท่ีจอดรถ ที่กลับรถ และทางเขาออกของรถ ภายในบริเวณซึงเปนสวนประกอบของงานกอสรางอาคาร หรอื สวนสาธารณะ 4. รางระบายน้ำ ทอระบายน้ำ บอพัก บอบำบัดน้ำเสีย บอเกรอะบอซึม บอเก็บน้ำหรือถังพักน้ำ งานระบบประปา งานปกเสาพาดสายและระบบไฟฟาแสงสวาง ภายในบริเวณซึงใชเปนสวนประกอบของงานกอ สรา งอาคารหรือสวนสาธารณะ 5. สระน้ำ น้ำพุ เข่ือนกันดิน สะพานขามคู/คลอง ทางเดิน งานปลูกตนไม งานประติมากรรม งานปลูกหญาและงานจัดสวน ภายในบริเวณซึงเปนสวนประกอบ ของงานกอ สรางอาคารหรอื สวนสาธารณะ 6. เสาธง รัว้ กำแพง ประตู และปอ มยาม 7. งานตกแตง ภายใน และ/หรอื งานกอ สรา งอน่ื ใด ซงึ เปน สว นประกอบ หรอื เกย่ี วเนอง และอยูภายในบรเิ วณสงิ กอสรา งอาคารน้นั 8. สิงกอสรางอื่น ตามท่ีคณะรัฐมนตรีและ/หรือคณะกรรมการกำกับนโยบาย ราคากลางงานกอสรางกำหนด ทั้งน้ ความหมายและขอบเขตของงานกอสรางอาคารดังกลาว กำหนดขึ้น 33การวางแผนงานก่อสรา้ ง

เพ่ือใชกับหลักเกณฑการคำนวณราคากลางงานกอสรางน้เทาน้ัน ไมมีผลผูกพันหรือ เก่ียวเนองกับความหมาย คำจำกัดความ หรือขอบเขตของงานกอสราง หรือสิงกอสราง ตามทกี่ ำหนดไวใ นคำสัง กฎ ระเบยี บ มตคิ ณะรัฐมนตรี หรือกฎหมายท่ีเก่ียวของอ่นื ใด เอกสารและขอมลู ทเี่ กย่ี วขอ งกับการคำนวณราคากลางงานกอ สรา งอาคาร ในการคำนวณราคากลางหรือประมาณการราคาคากอสรางในงานกอสรางอาคาร ผูที่มีหนาที่คำนวณจะตองคำนวณใหถูกตองตามหลักเกณฑที่กำหนด โดยตองมีขอมูล และเอกสารตา งๆทีเ่ กี่ยว ของ เพอ่ื ใชป ระกอบการคำนวณ สรปุ ไดดังน้ 1. แบบแปลนและรายการประกอบแบบกอสราง ประกอบดวย 3 สวน คือ 1) แบบแปลน 2) รายการประกอบแบบกอ สรา ง และ 3) รายการวัสดมุ าตรฐานและวิธีใช วัสดกุ อสราง 2. แบบพิมพสำหรับใชในการประมาณราคามี 6 แบบพมิ พ กำหนดเปน แบบพิมพ ปร.1 ถงึ แบบพมิ พ ปร.6 3. หลักเกณฑหรือคูมือที่เกี่ยวของกับการถอดแบบตามหลักวิชาชาง เชน มาตรฐานการวัดปริมาณงานกอสราง เกณฑการถอดแบบสำรวจปริมาณงาน และวสั ดกุ อ สรา ง เกณฑก ารเผอ่ื ปรมิ าณงานและวสั ดกุ อ สรา ง วธิ กี ารคำนวณหาคา วสั ดมุ วลรวม เปน ตน 4. ราคาวัสดกุ อสรา ง ใหใ ชห ลกั เกณฑแ ละวิธกี ารตามที่ไดก ำหนดไว ในสวนของ แนวทางและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับหลักเกณฑการคำนวณราคากลางงานกอสราง ในสวนท่ี เกี่ยวขอ งกบั ราคาวัสดุ 5. คา แรงงานในการกอ สรา ง ใหใ ชห ลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารตามทก่ี ำหนดไว ในสว นของ แนวทางและวธิ ปี ฏบิ ตั เิ กยี่ วกบั หลกั เกณฑก ารคำนวณราคากลางงานกอ สรา ง ในสว นทเ่ี กย่ี วขอ ง กบั คา แรงงานในการกอ สรา ง 6. คาใชจายในการดำเนินงานกอสราง(ตาราง Factor F) ซึงประกอบดวย คา อำนวยการ คาดอกเบ้ยี คา กำไร และคาภาษี ซงึ ไดจดั ทำไวใ นรูปของตาราง Factor F 7. คาใชจายพิเศษตามขอกำหนด(ถามี) เปนคาใชจายในการกอสรางท่ีจำเปน นอกเหนอจากคาใชจา ยในการดำเนนิ งานกอสรา งทวั ไป ตวั อยางเชน การกำหนดใหใ ชน งั รา นและความปลอดภยั ตอ คนงานกอ สรา งตามกฎหมายแรงงาน การทำ หมดุ หลกั ฐานอางอิง(BENCH MARK ) สำหรบั ตรวจสอบระดับ การทดสอบการทรุดตวั ของอาคารขณะกอสรางเปนระยะๆ การทำใหอ าคารบางสวนแลว เสร็จเพื่อเขาไปใชส อยกอ นเสรจ็ ทงั้ โครงการ 34 การวางแผนงานกอ่ สร้าง

การกำหนดใหท ำแผนงานกอสรา งละเอียดดว ยระบบวธิ วี ถิ วี กิ ฤต(C.P.M.) การกำหนดใหก อ สรา งสำนกั งานสนามสำหรบั ผวู า จา งหรอื ผคู วบคมุ งานของผวู า จา ง คาใชจ า ยในการปอ งกนั ตามทก่ี ฎหมายกำหนด เชน ระบบปองกันฝนุ ฯลฯ คา ใชจ า ยตามเงอ่ื นไขของสญั ญา เชน การไมอ นญุ าตใหค นงานพกั ในบรเิ วณทก่ี อ สรา ง คา ใชจา ยสำหรบั เคร่อื งจักรกลพิเศษ เชน หอปน จัน(TOWER CRANE) ฯลฯ คา ใชจายในกรรมวธิ ีปองกนั ชีวิตและทรัพยส นิ ของบุคคลที่ 3 ฯลฯ วิธกี ารคำนวณราคากลางงานกอ สรางอาคาร การคำนวณราคากลางงานกอสรางอาคารใชวิธีการประมาณราคาโดยละเอียด การหาปรมิ าณงานและวสั ดกุ อ สรา ง กระทำโดยวธิ กี ารถอดแบบจากแบบแปลนและรายการกอ สรา ง ออกเปน หนว ยๆ ตามวธิ กี ารและหลกั เกณฑก ารถอดแบบหาปรมิ าณวสั ดเุ พอ่ื คำนวณราคากลาง ซงึ มกี ระบวนการในการคำนวณตามขั้นตอน ดังน้ 1. การถอดแบบ เปน ขนั้ ตอนในการแยกงานกอ สรา งทง้ั โครงการ ออกเปน ปรมิ าณ เนอ้ งานของงานยอ ยตา งๆลงในแบบพมิ พส ำหรบั การประมาณราคา ซงึ กำหนดใหใ ชเ ปน มาตรฐาน เดยี วกนั และเนองจากการคดิ ปรมิ าณเนอ้ งานของผถู อดแบบอาจคดิ ไดไ มเ ทา กนั เชน การเผอ่ื คา รอ ยละความเสยี หายตา งกนั ดงั นน้ั เพอ่ื ใหผ ถู อดแบบสามารถคดิ ปรมิ าณเนอ้ งานโดยมมี าตรฐาน ท่ีใกลเ คยี งกนั จงึ กำหนดใหผ ถู อดแบบใชม าตรฐานการวดั เนอ้ งาน เกณฑก ารเผอ่ื การเสยี หาย และอืน่ ๆ อันเดียวกัน 2. ราคาวัสดุ เปน ขนั้ ตอนในการหาราคาวัสดขุ องแตล ะงานยอ ย ลงในแบบพิมพ สำหรบั การประมาณราคา ซงึ ราคาวสั ดนุ ้ใหใ ชร าคาตามหลกั เกณฑท ก่ี ำหนดเกย่ี วกบั ราคาวสั ดุ สวนจะเปน ราคาตอหนว ยหรือราคาตอ ชดุ ใหข้ึนอยกู ับหนว ยของปริมาณงานนั้นๆ 3. การใสคาแรงงาน เปนข้ันตอนการหาราคาคาแรงงานของแตละงานยอยตาง ๆ ลงในแบบพิมพสำหรับการประมาณราคา ซงึ คาแรงงานจะกำหนดโดยคณะกรรมการกำกับ นโยบายราคากลางงานกอ สรา ง สว นจะเปน ราคาตอ หนว ยหรือราคาตอ ชุด ใหข ึ้นอยูกบั หนว ย ของปริมาณงานนนั้ ๆ 4. การใสค า ใชจ า ยในการดำเนนิ การกอ สรา ง เปน ขน้ั ตอนในการหาคา ใชจ า ยทางออ ม ซงึ ไดแ ก คา อำนวยการ คา ดอกเบยี้ กำไร และคา ภาษี ลงในแบบพมิ พส ำหรบั การประมาณราคา ซึงจะกำหนดเปนรอยละของคางาน(คาใชจายทางตรง) และเพ่ือความสะดวกในการคำนวณ และนำไปใชในทางปฏิบัติ ไดรวบรวมและจัดทำคาใชจายดังกลาวไวเปนตารางสำเร็จรูป เรียกวา ตาราง Factor F 35การวางแผนงานกอ่ สร้าง

ทง้ั น้ ตามกระบวนการในการคำนวณ (ประมาณการ) ราคากลางงานกอ สรา งอาคารดงั กลา ว สามารถสรุปเปนหลักการทัวไปสำหรบั การคำนวณราคากลางงานกอ สรางอาคารไดดังน้ (1) คำนวณหาคางาน (คาใชจายทางตรง) โดยวิธีการถอดแบบรายการกอสราง จากแบบกอ สรา งเพอื่ หาปรมิ าณงานและวสั ดทุ จี่ ะใชใ นการกอ สรา ง ตามหลกั เกณฑแ ละวธิ กี าร ในการถอดแบบกอ สรา ง แลว นำมาคำนวณกบั ราคาคา วสั ดกุ อ สรา งและคา แรงงาน โดยยงั ไมร วม คา ใชจ ายในการดำเนนิ การกอ สรา ง(คาใชจ ายทางออม) ราคาวัสดุกอสราง ใหใชราคาวัสดุตามหลักเกณฑที่กำหนดในสวนของแนวทาง และวธิ ปี ฏบิ ตั เิ กยี่ วกบั หลกั เกณฑก ารคำนวณราคากลางงานกอ สรา ง ในสว นทเี่ กยี่ วขอ งกบั ราคา และแหลง วัสดกุ อ สราง สำหรับคาขนสงวัสดุกอสราง ไดคิดรวมไวในราคาวัสดุแลว แตหากมีความจำเปน ตองคิดคาขนสงสำหรับวัสดุกอสรางบางรายการ ใหคิดตามหลักเกณฑและวิธีการที่กำหนด ในสวนของแนวทางและวิธีปฏิบัติเก่ียวกับหลักเกณฑการคำนวณราคากลางงานกอสราง ในสวนท่ีเกยี่ วของกับคา ขนสง วสั ดุกอ สราง สว นคาแรงงาน ใหใชอัตราคา แรงงานตามหลักเกณฑทีก่ ำหนดในสวนของแนวทาง และวิธีปฏิบัติเก่ียวกับหลักเกณฑการคำนวณราคากลางงานกอสราง ในสวนที่เก่ียวของ กบั คาแรงงาน/ดำเนนิ การ (2) นำคา งานทคี่ ำนวณได ไปเทยี บหาคา FactorF จากตารางFactorF ตามหลกั เกณฑ ที่กำหนดสำหรบั การใชต าราง Factor F งานกอ สรางอาคาร (3) นำคา Factor F ไปคูณกับคางานตามขอ(1) แลวบวกดวยคาใชจายพิเศษ ตามขอ กำหนดและคา ใชจ า ยอน่ื ๆ(ถา ม)ี ตามหลกั เกณฑท ก่ี ำหนด ผลลพั ธท ่ีไดจ ะเปน ราคากลาง ของงานกอ สรางอาคารน้ัน สำหรับ ครุภัณฑ อุปกรณพิเศษ หรืองานกอสรางบางรายการ ที่ไมส ามารถคำนวณ ตามหลักเกณฑดังกลาวขางตนได ใหคำนวณตามหลักเกณฑหรือวิธีการที่กำหนดในสวน ของการถอดแบบสำรวจปรมิ าณงาน วสั ดุ และแรงงาน ในงานกอ สรา งอาคาร หรอื ตามแนวทาง และวิธีการท่ีคณะกรรมการกำกับนโยบายราคากลางงานกอสราง หรือคณะอนุกรรมการ หรอื หนว ยงานทค่ี ณะ กรรมการกำกบั นโยบายราคากลางงานกอ สรา งมอบหมาย กำหนดแบบพมิ พ สำหรับการประมาณราคางานกอสรางอาคาร เ น อ ง จ า ก ผู ท่ี ท ำ ห น า ท่ี ป ร ะ ม า ณ ร า ค า ไ ด ใ ช แ บ บ พิ ม พ ใ น ก า ร ป ร ะ ม า ณ ร า ค า ที่แตกตางกัน ดังน้ัน เพ่ือใหมีแบบพิมพท่ีใชในการประมาณราคาหรือคำนวณราคากลาง สำหรับงานกอสรางอาคารมีรูปแบบและลักษณะเดียวกัน จึงกำหนดแบบพิมพ 36 การวางแผนงานก่อสร้าง

เพ่ือใหผูทำหนาที่ประมาณราคาหรือคำนวณราคากลางไดใชเปนแบบมาตรฐานเดียวกัน รวม 6 แบบพิมพ ดงั น้ แบบพิมพ ปร.1 ใชประมาณการถอดแบบหาปริมาณงานและวัสดุกอสรางทัวไป เชน หาปริมาณงานถมดิน ฯลฯ หรือใชเปนแบบพิมพสำหรับประมาณราคาคากอสราง ของงานตางๆ เพื่อหาราคาตอหนวย เชน งานทำประตูหนา ตาง งานเดนิ ทอ ระบบตา งๆ ฯลฯ แบบพิมพ ปร.2 ใชประมาณการถอดแบบหาปริมาณงานคอนกรีต งานไมแบบ งานไมคำ้ ยัน และงานเหล็กเสรมิ คอนกรตี โดยเฉพาะ แบบพมิ พ ปร.3 ใชป ระมาณการถอดแบบหาปรมิ าณงานประเภทไมโ ดยเฉพาะ แบบพมิ พ ปร.4 ใชส ำหรบั รวมรายการปรมิ าณงานแตล ะประเภท โดยจะแสดงจำนวน วัสดุ และคาแรงงานในงานกอสราง ท่ีประมาณการไวในแบบพิมพ ปร.1 ปร.2 และ ปร.3 แลวนำยอดรวมมาลงไวในแบบพิมพน้ แบบพิมพ ปร.4 จึงเปนแบบพิมพสรุปและรวบรวม ผลการประมาณราคาคาวัสดุและคา แรงงานในงานกอ สรางน้นั ทั้งหมด แบบพมิ พ ปร.5 ใชสรุปประมาณการราคาคา กอ สรา งทั้งหมด แบบพิมพ ปร.6 ใชสรุปราคาคากอสรางกรณมีงานกอสรางหลายงาน หรอื ใชสำหรับการเปรียบเทยี บราคา ตวั อยา งแบบพมิ พท ใ่ี ชใ นการประมาณราคาหรอื คำนวณราคากลางงานกอ สรา งอาคาร ท้งั 6 แบบพิมพ ปรากฏตามภาพท่ี 3-1 ถึงภาพที่ 3-6 แบบ ปร.1 แผน ท่ี / รายการประมาณการ สถานท่กี อ สรา ง แบบเลขที่ รายการเลขที่ ฝา ย/งาน สาํ นกั /กอง กรม ประมาณการโดย เมื่อวนั ท่ี เดือน พ.ศ. /. ภาพที่ 3-1 แบบพิมพ ปร.1 37การวางแผนงานกอ่ สรา้ ง

ภาพที่ 3-2 แบบพมิ พ ปร.2 แบบ ปร.2 แผน ท่ี / 38 การวางแผนงานก่อสรา้ ง รายการประมาณการ สถานท่ีกอ สราง แบบเลขที่ รายการเลขที่ ฝา ย/งาน สํานัก/กอง กรม ประมาณการโดย เม่อื วันท่ี เดอื น พ.ศ. ลําดับ รายการ คอนกรตี ไมแ บบ ไมคาํ้ 6มม. เหลก็ เสน กลมผิวเรียบ/เมตร 25มม. เหลก็ เสน กลมผวิ ขอออ ย/เมตร หมายเหตุ ท่ี ลบ.ม. ตร.ม. ยนั ตน 9มม. 12มม. 15มม. 19มม. 12มม. 16มม. 20มม. 25มม. 28มม.

รายการประมาณการ แบบเลขที่ แบบ ปร.3 แผนท่ี / สาํ นัก/กอง สถานทก่ี อสราง เมือ่ วนั ท่ี รายการเลขท่ี ฝา ย/งาน กรม ประมาณการโดย เดือน พ.ศ. ฟ ภาพท่ี 3-3 แบบพิมพ ปร.3 39การวางแผนงานกอ่ สรา้ ง

ภาพที่ 3-4 แบบพมิ พ ปร.4 รายการประมาณการ แบบเลขท่ี กรม แบบ ปร.4 แผนที่ / สาํ นัก/กอง เดือน รายการที่ 40 การวางแผนงานก่อสรา้ ง สถานทกี่ อสราง ฝา ย/งาน เมือ่ วนั ท่ี พ.ศ. ประมาณการโดย

สวนราชการ ฝาย/งาน สํานกั /กอง แบบ ปร.5 แผน ท่ี / กรม ประเภท เจา ของอาคาร กรม สถานที่กอสรา ง แผน หนว ยงานออกแบบแปลนและรายการ สาํ นกั /กอง พ.ศ. แบบเลขท่ี จํานวน ประมาณราคาตามตามแบบ ปร.4 ประมาณราคาเม่ือวนั ท่ี เดือน ( ) Factor F ( ) 1 ประเภทงานอาคาร .......................................ตร.ม. 2 ประเภทงานทาง .......................................บาท/ตร.ม. 3 ประเภทงานชลประทาน 4 ประเภทงานสะพานและทอเหลี่ยม เงอ่ื นไข เงินลวงหนา จา ย......................% เงนิ ประกันผลงานหัก..............% ดอกเบีย้ เงินกู.........................% ภาษีมลู คาเพมิ่ .......................% สรปุ รวมคา กอสรา งเปนเงนิ ทงั้ สิน้ คิดเปนเงินประมาณ ตัวอกั ษร ขนาดหรือเนอ้ื ท่อี าคาร เฉลี่ยราคาประมาณ ประมาณการโดย ............................................ (...........................................) ตรวจ ............................................ หัวหนาฝาย/งาน ........................................... ผอู าํ นวยการสํานัก/กอง .................................... (...........................................) เหน็ ชอบ ............................................ (...........................................) ภาพท่ี 3-5 แบบพมิ พ ปร.5 41การวางแผนงานกอ่ สรา้ ง

แบบ ปร.6 แผน ที่ / รายการประมาณการ แบบเลขท่ี รายการท่ี สถานทกี่ อสรา ง สาํ นัก/กอง กรม ฝาย/งาน ประมาณการโดย เมื่อวนั ที่ เดือน พ.ศ. () ประมาณการโดย ............................................ (...........................................) ตรวจ ............................................ หวั หนาฝาย/งาน ........................................... ผูอํานวยการสํานัก/กอง .................................... (...........................................) เหน็ ชอบ ............................................ (...........................................) ภาพท่ี 3-6 แบบพิมพ ปร.6 42 การวางแผนงานกอ่ สรา้ ง

การจดั ทำบัญชีแสดงปริมาณเน้องาน คาวัสดุ และคาแรงงาน (BOQ) การถอดแบบสำรวจปรมิ าณงาน วสั ดุ และแรงงาน ในการประมาณราคาคา กอ สรา ง งานอาคารโดยทวั ไป ใหจ ำแนกโครงสรา งของการถอดแบบเปน ลำดบั ตามขน้ั ตอนของการทำงาน โดยแบงออกเปน 4 สว น และใหใ สร ปู แบบลำดับหมายเลข ดงั ตัวอยา งในภาพที่ 3-7 สวนที่ 1 คางาน แบง ยอยออกเปน 4 กลุมงาน ดังน้ 1. กลมุ งานท่ี1 ไดแ ก งานโครงสรา ง งานสถาปต ยกรรม งานระบบสขุ าภบิ าล และดบั เพลิง (ในอาคาร) งานระบบไฟฟาและส่ือสาร 2. กลมุ งานท่ี2 ไดแ ก งานระบบปรบั อากาศและระบายอากาศ งานระบบลฟิ ต และบันไดเล่อื น งานระบบพิเศษอื่นๆ 3.กลมุ งานที่3 ไดแ ก งานครภุ ณั ฑส งั ทำ(จดั จา ง)และงานตกแตง ภายในอาคาร 4. กลุม งานที่ 4 ไดแก งานภูมทิ ศั น สวนที่ 2 คา งานครภุ ัณฑส งั ซือ้ (จดั ซื้อ) และระบบโสตทัศน ใหคิดราคาจากผูผลิตหรือผูจำหนาย แลวนำไปรวมกับคาภาษีมูลคาเพิม สรุปเปน คา กอสรา งไดเลย โดยไมต องนำคา งานสว นน้ไปรวมกบั คา งานสว นท่ี 1 สว นที่ 3 คาใชจ ายพิเศษตามขอ กำหนด (ถามี) เปน คา ใชจ า ยทน่ี อกเหนอจากคา ใชจ า ยในการดำเนนิ งานกอ สรา งทวั ไป เชน คา หอปน จนั (Tower Crane) ระบบปองกนั ฝนุ ระบบปองกันดนิ พงั และการไมอนุญาตใหคนงานพกั อาศัย ในบริเวณท่ีกอสราง เปนตน ใหคิดเปนราคาเหมารวมของคาใชจายดังกลาว แลวยกไปรวม เปนคากอ สรางไดเลย โดยไมตองนำไปคำนวณหาคา Factor F รวมทั้งคาภาษีมลู คา เพมิ อกี สวนที่ 4 สรปุ คา กอสรางท้งั หมด เปนสวนของการสรุปคางานและคาใชจายท้ังหมด เปนราคากลางหรือคากอสราง ทั้งโครงการ โดยดำเนนิ การดังน้ (1) นำคาวัสดุและคาแรงงาน(ทุน) หรือเรียกรวมวา คางาน ของงานสวนท่ี 1 ไปเทียบหาคา Factor F จากตารา Factor F แลวนำคา Factor F ท่ีไดไปคูณกับคางาน ของงานสวนที่ 1 จะไดคากอสรางของงานสวนที่ 1 (2) หากมคี า งานสวนท่ี 2 (คา งานครภุ ณั ฑสังซ้อื และระบบโสตทัศน) ใหนำคา งาน สว นท่ี 2 ซงึ รวมคา ภาษมี ูลคา เพิมแลว ไปบวกกบั คากอสรางของงานสวนท่ี 1 เปนคา กอสราง ของงานสวนที่ 1 และงานสวนที่ 2 (3) หากมคี า งานหรอื คา ใชจ า ยสว นที่ 3 ใหน ำคา งานสว นท่ี 3 ไปบวกกบั คา กอ สรา ง ของงานสว นที่ 1 และคางานสว นที่ 2 จะไดเปน ราคาคากอ สรา ง(ราคากลาง) ตามแตกรณ 43การวางแผนงานกอ่ สรา้ ง

/ ............................................................................ ตัวอยางบญั ชีแสดงปรมิ าณเนอ้ งาน คาวสั ดุ และคาแรงงาน (B.O.Q.) ดังแสดงในภาพท่ี 3-7(BOQ) ดูรายละเอียดเพิมเติมในหนังสือ “หลักเกณฑการคำนวณราคากลาง งานกอสรางอาคาร” สำนักพัฒนามาตรฐานระบบพัสดุภาครฐั กรมบัญชกี ลาง กระทรวงการคลัง: 2550………………………………………………………………………………………………………………………….. 1: ( ) ภาพท่ี 3-7 ตัวอยางแบบพมิ พบ ัญชแี สดงปรมิ าณงาน(BOQ.) 1 กลมุ ท่ี 1 ลบ.ม. 1.1 งานโครงสรา ง (คิดเฉพาะราคาทุน)44 การวางแผนงานก่อสร้าง ลบ.ม. ลบ.ม. 1.1.1 งานขดุ ดนิ ฐานรากและถมคนื ลบ.ม. 1.1.2 งานขดุ ดนิ โครงสรางอ่นื ๆ 1.1.3 งานวสั ดุรองกนฐานราก ตน 1.1.4 งานคอนกรตี รองกน ฐานราก ตน 1.1.5 งานตอกเสาเข็ม ตน ตน - งานตอกเสาเข็มไม จุด - งานตอกเสาเข็ม ค.ส.ล. ตน - งานตอกเสาเข็มคอนกรีตอดั แรง ตร.ม. - งานเขม็ เจาะ ลบ.ฟ. 1.1.6 งานทดสอบการรับนํา้ หนกั ของเสาเข็ม ลบ.ฟ. - งานสกัดหัวเสาเขม็ ตน 1.6.7 งานออกแบบหลอ คอนกรีต กก. - ไมใชท ําไมแ บบ - ไมครา ว แผน ที่ 1 - ไมค ้าํ ยัน - ตะปู รวมยอดยกไป

/ ............................................................................ ………………………………………………………………………………………………………………………….. ภาพท่ี 3-7 ตวั อยา งแบบพมิ พบญั ชีแสดงปรมิ าณงาน(BOQ.)(ตอ ) รวมยอดยกมา ตัน 1.1.8 งานเหล็กเสริมคอนกรีต 45การวางแผนงานก่อสร้าง - เหลก็ เสน กลมผิวเรยี บ SR…… ……มม. ฯลฯ รวมงานโครงสราง แผน ที่............

ภาพท่ี 3-7 ตวั อยา งแบบพิมพบ ัญชแี สดงปรมิ าณงาน (BOQ.) (ตอ ) / ............................................................................ ………………………………………………………………………………………………………………………….. 46 การวางแผนงานก่อสร้าง 1.2 งานสถาปต ยกรรม (คิดเฉพาะราคาทนุ ) ตร.ม. 1.2.1 งานมงุ หลงั คา แผน - วสั ดแุ ผน รปู ลอนหลงั คา ฯลฯ รวมงานสถสปต ยกรรม แผน ท.่ี ...........

/ ............................................................................ ………………………………………………………………………………………………………………………….. ภาพท่ี 3-7 ตวั อยา งแบบพมิ พบญั ชีแสดงปริมาณงาน (BOQ.) (ตอ ) 2 กลุมท่ี 2 ชดุ 2.1 งานระบบปรับอากาศและระบบระบายอากาศ (คิดเฉพาะราคาทนุ ) 47การวางแผนงานก่อสร้าง 2.1.1 เครื่องปรับอากาศแบบแยกสว นระบบระบายความรอนดว ยลม ฯลฯ แผน ท.่ี ...........

ภาพท่ี 3-7 ตวั อยา งแบบพิมพบ ัญชแี สดงปรมิ าณงาน (BOQ.) (ตอ ) / ............................................................................ …………………………………………………………….. 2: (ราคาผูผลิตหรอื ตัวแทนจาํ หนา ย) 48 การวางแผนงานก่อสร้าง 1 หมวดงานครุภัณฑส ั่งซ้ือหรอื จัดซื้อและระบบโสตทศั น ชุด 1.1 งานครุภัณฑลอยตัว (ราคาผูผลติ หรอื ตวแทนจําหนา ย) ชดุ - โตะ ทาํ งาน แบบ...... ขนาด ....... ฯลฯ เมตร 1.2 ครภุ ณั ฑประกอบชนิ้ สว นโดยไมม ีผลกระทบตอสวนงานอ่ืนๆ (Asambly) 1.2.1 งานระบบโสต (ราคาผูผลิตหรอื ตัวแทนจําหนาย) - ลาํ โพง แบบ............ขนาด................. ฯลฯ 1.3 ครภุ ณั ฑต ิดตง้ั โดยมีผลกระทบตองานสว นอ่นื ๆ (Istallation) 1.3.1 ระบบคอมพิวเตอร (ราคาผผู ลิตหรือตัวแทนจาํ หนาย) - งานและทอ รอ ยสาย แบบ............ขนาด................. ฯลฯ รวมงานสว นที่ 2 แผนที่............

/ ............................................................................ ………………………………………………………………………………………………………………………….. 3: () ภาพท่ี 3-7 ตวั อยา งแบบพมิ พบญั ชีแสดงปริมาณงาน (BOQ.) (ตอ ) 1 หมวดคา ใชจ า ยพเิ ศษตามขอกําหนดและเงือ่ นไข (ราคาเหมารวม) รวม งาน 1.1 การกําหนดคณุ สมบตั ิผูป ฏิบัตงิ านหรือคมุ การกอสรางพเิ ศษเฉพาะ รวม งาน 49การวางแผนงานก่อสร้าง 1.2 กาํ หนดใหใ ชนั่งรานพเิ ศษเพอ่ื ความปลอดภัยตอ คนงานกอ สราง ฯลฯ หมวดคาใชจ ายพิเศษตามขอกําหนดและเงือ่ นไข (ราคาเหมารวม) รวมงานสว นท่ี 3 แผนท่ี............

ภาพท่ี 3-7 ตวั อยา งแบบพิมพบ ัญชแี สดงปรมิ าณงาน (BOQ.) (ตอ ) / ............................................................................ ……………………………………………………………………………………………… BOQ 50 การวางแผนงานก่อสร้าง สว นที่ 1 คาวัสดแุ ละคา แรงหมวดงานกอ สรา ง (ทนุ ) 1 กลมุ งานที่ 1 1.1 งานโครงสรา ง 1.2 งานสถาปต ยกรรม 1.3 งานระบบสุขาภิบาลและดบั เพลงิ 1.4 งานระบบไฟฟา และสอ่ื สาร รวมคางานกลมุ งานที่ 1 2 กลุมงานที่ 2 2.1 งานระบบปรบั อากาศและระบบระบายกาศ 2.2 งานระบบลิฟตแ ละบนั ไดเล่ือน 2.3 งานระบบพิเศษอน่ื ๆ รวมคา งานกลมุ งานท่ี 2 3 กลุมงานท่ี 3 3.1 งานครภุ ัณฑสั่งทาํ (จัดจาง) และงานตกแตงภายในอาคาร รวมคา งานกลมุ งานท่ี 3 4 กลุมงานท่ี 4 4.1 งานภมู ิทัศน รวมคา งานกลุมงานท่ี 4 รวมคางานสว นท่ี 1 แผน ท่ี ..............


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook