กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 139 หลีโกว 蠡沟 Lígōu (LR 5): จุดล่ัว หลี แปลว่า รอยแหว่งของไม้ท่ีถูกหนอนแทะ โกว แปลว่า ร่อง เมื่อกระดกข้อเท้าขึ้น จุดอยู่ตรง รอ่ งระหวา่ งกลา้ มเนอื้ กบั กระดูก ตาํ แหน่ง: เหนอื ยอดตาตุม่ ใน 5 ชุ่น อยู่กลางกระดูกแข้ง ข้อบ่งชี้: ไส้เลื่อน ปวดบวมอัณฑะ ปัสสาวะขัด ปัสสาวะรดที่นอน กลั้นปัสสาวะไม่ได้ มดลูกหย่อน รอบเดอื นผิดปกติ ตกขาวปนเลอื ด คันอวยั วะเพศ ปวดขา วธิ แี ทงเขม็ : แทงราบ 0.5-0.8 ช่นุ ภาพที่ 3.69 แสดงตําแหนง่ ฝังเข็มบนเสน้ ตับ (LR 5 - LR 7) 中都จงตู Zhōngdū (LR 6): จุดซ่ี จง แปลว่า กลาง ตู แปลว่า เมืองหลวง หมายถึง ศูนย์รวมของชี่และเลือด จุดนี้อยู่กึ่งกลาง ปลายขาด้านใน ตําแหนง่ : เหนอื ยอดตาต่มุ ใน 7 ช่นุ อยู่กลางกระดูกแขง้ ข้อบ่งชี้: ไส้เล่ือน อุจจาระร่วง ท้องอืด ประจําเดือนมามาก ประจําเดือนมากะปริดกะปรอย นํา้ คาวปลาไม่แหง้ ปวดท้องนอ้ ยด้านขา้ ง ปวดสีข้าง ขาลีบ ขาออ่ นแรง วธิ ีแทงเขม็ : แทงราบ 0.5-0.8 ชนุ่ 膝关ซกี ฺวาน Xīguān (LR 7) ซี แปลวา่ เข่า กฺวาน หมายถงึ ข้อต่อ จดุ อยู่ท่ีขอ้ เข่า ตาํ แหน่ง: อยู่หลังและใต้ตอ่ medial condyle ของกระดกู แข้ง หลงั ยนิ หลิงเฉฺวียน (SP 9) 1 ช่นุ
140 บทที่ 3 จดุ ฝังเข็มและเส้นจิงล่ัว ขอ้ บง่ ช้ี: ปวดบวมเขา่ ปวดบวมสะบ้า ขาลบี ขาอ่อนแรง เจบ็ คอ วิธีแทงเขม็ : แทงตรง 1-1.5 ชุ่น ชวฺ ีเฉวฺ ียน 曲泉 Qūquán (LR 8): จดุ เหอ ชฺวี แปลว่า โค้ง เฉฺวียน แปลวา่ นํา้ พุ หมายถงึ แอ่ง เม่ืองอเข่าจุดนี้อย่ทู ่ีแอง่ เหนือข้อเขา่ ด้านใน ตําแหน่ง: เหนือปลายรอยพับเข่าด้านในเมื่องอเข่า หน้าต่อจุดเกาะของเอ็น semitendinosus และ semimembranosus อยู่ชดิ ขอบหลัง medial epicondyle ของกระดูกตน้ ขา ข้อบง่ ชี้: ไส้เลื่อน ปวดอวัยวะเพศ ฝันเปียก เสอ่ื มสมรรถภาพทางเพศ ปัสสาวะแสบ ปัสสาวะขัด ปัสสาวะบ่อย รอบเดือนผิดปกติ ปวดประจําเดือน ตกขาว มดลูกหย่อน คันอวัยวะเพศ ปวดท้องน้อยดา้ นข้าง ขาลบี ขาออ่ นแรง ปวดเขา่ ปวดขาด้านใน ปวดทอ้ งหลังคลอด วธิ ีแทงเข็ม: แทงตรง 1-1.5 ชนุ่ ภาพที่ 3.70 แสดงตาํ แหน่งชวฺ ีเฉวฺ ียน (LR 8) 阴包ยนิ ปาว Yīnbāo (LR 9) ยนิ คอื ยนิ ในยนิ หยาง ปาว แปลว่า หอ่ ห้มุ หมายถงึ มดลูกหรืออณั ฑะ จุดอยู่ท่ีขาด้านในเป็นยิน ชข่ี องเส้นตับเช่อื มต่อกับมดลูกและอัณฑะท่ีจดุ น้ี ตําแหน่ง: เหนือต่อ medial epicondyle ของกระดูกต้นขา 4 ชุ่น ระหว่างกล้ามเนื้อ vastus medialis กับ sartorius ข้อบง่ ช้ี: ปวดหลังส่วนล่าง ปวดกระเบนเหน็บ ปวดท้องน้อยด้านข้าง รอบเดือนผิดปกติ ปัสสาวะขัด ปัสสาวะรดที่นอน กลนั้ ปสั สาวะไมไ่ ด้ ไส้เล่อื น วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 1-2 ชุ่น
กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 141 จูอ๋ ๋หู ลี่ 足五里 Zúwǔlǐ (LR 10) จู๋ แปลวา่ เทา้ อู่ แปลวา่ ห้า หล่ี หมายถึง ความยาวชนุ่ จดุ น้อี ยู่เหนือจีเหมิน (SP 11) 5 ชุ่น ตําแหนง่ : ใตช้ ช่ี ง (ST 30) 3 ชนุ่ อยู่ชิดขอบนอกของกลา้ มเนอ้ื abductor longus ข้อบ่งช้ี: ปวดท้องน้อยด้านข้าง ท้องอืด ปัสสาวะขัด ปวดบวมอัณฑะ หนังหุ้มอัณฑะอักเสบ มดลกู หย่อน คันอวัยวะเพศ วณั โรคต่อมน้าํ เหลอื งทีค่ อ ง่วงเหงาหาวนอน วธิ ีแทงเข็ม: แทงตรง 1-2 ชนุ่ ภาพท่ี 3.71 แสดงจุดฝงั เข็มบนเส้นตับ (LR 10 - LR 12) 阴廉ยินเหลยี น Yīnlián (LR 11) ยิน คือ ยินในยินหยาง เหลียน แปลว่า ด้านข้างหรือขอบ หมายถึง ด้านข้างของอวัยวะสืบพันธ์ุ ภายนอก จดุ น้ีอยู่ทตี่ ้นขาด้านในซึ่งเป็นยิน ตาํ แหน่ง: ใตช้ ช่ี ง (ST 30) 2 ชุ่น อยู่ชดิ ขอบนอกของกล้ามเน้ือ abductor longus ขอ้ บง่ ช้ี: รอบเดอื นผิดปกติ ปวดท้องนอ้ ย ตกขาว ปวดต้นขา วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 1-2 ชนุ่ จี๋ม่าย 急脉 Jímài (LR 12) จี๋ แปลว่า เร็ว ด่วน มา่ ย แปลวา่ ชพี จร จุดอยู่ท่ตี ้นขาดา้ นใน ชิดหลอดเลอื ดแดงซง่ึ คลาํ ได้ชีพจร ตําแหน่ง: ตรงรอยพับขาหนีบ ระดับเดียวกับขอบบนของกระดูกหัวหน่าว ห่างจากแนวก่ึงกลาง ท้องน้อยตามแนวระนาบ 2.5 ช่นุ ขอ้ บ่งช้ี: ไสเ้ ลื่อน ปวดอวัยวะเพศ ปวดท้องนอ้ ยด้านข้าง มดลกู หย่อน ปวดประจาํ เดอื น วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 0.5-0.8 ชนุ่ ระวงั ถูกหลอดเลือดแดง femoral หมายเหตุ: นยิ มลนยามากกวา่ ฝังเขม็
142 บทท่ี 3 จดุ ฝงั เข็มและเสน้ จงิ ลว่ั จางเหมิน 章门 Zhāngmén (LR 13): จุดมูข่ องม้าม จุดอทิ ธิพลของอวัยวะจ้าง จาง แปลวา่ รุ่งเรือง มาก เหมิน แปลวา่ ประตู หมายถึง ทางเข้าออกของช่ีอวัยวะจ้าง 5 ตําแหน่ง: ใต้ปลายกระดูกซ่ีโครงที่ 11 หรืออยู่ตรงปลายข้อศอกซ่ึงสัมผัสแนวเส้นก่ึงกลางรักแร้ ในท่านอนหงายและงอขอ้ ศอก ข้อบ่งชี้: ดีซ่าน ปวดสีข้าง เป็นก้อนในท้อง ตับม้ามโต ปวดแน่นท้อง ท้องอืด อุจจาระร่วง ท้องร้อง อาเจียน วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 0.8-1 ช่นุ ชเี หมิน 期门 Qīmén (LR 14): จุดมู่ของตับ ชี หมายถึง รอบ เหมิน แปลวา่ ประตู ชใี่ นเสน้ จ่ิงลวั ไหลเวียนครบ 1 รอบท่จี ดุ น้ี ตําแหน่ง: ตรงชอ่ งซีโ่ ครงท่ี 6 หา่ งจากแนวก่งึ กลางหน้าอกตามแนวระนาบ 4 ชนุ่ ข้อบ่งช้ี: เจ็บแน่นหน้าอก ปวดสีข้าง อาเจียน ท้องอืด อุจจาระร่วง เต้านมอักเสบ เรอเปรี้ยว สะอกึ จุกเสียดยอดอก ซมึ เศรา้ เป็นจดุ สําคญั ในการรกั ษาโรคของตับและถงุ นา้ํ ดี วธิ ีแทงเขม็ : แทงเฉยี งหรือแทงราบ 0.5-0.8 ชุ่น หมายเหตุ: ไมค่ วรแทงลกึ เพราะอาจเปน็ อันตรายต่อตับ 13. จุดฝังเข็มบนเสน้ ตู 长强ฉางเฉียง Chángqiáng (GV 1): จุดล่ัว ฉาง แปลว่า ยาว เฉียง แปลว่า แข็งแกร่ง มาก หมายถึง จุดนี้มีประสิทธิผลในการรักษามาก เนื่องจากเป็นท่ีรวมของเส้นหยางจึงมีปริมาณหยางช่ีมาก จากจุดน้ีช่ีไหลเวียนข้ึนบนเป็น ระยะทางยาวมาก ตาํ แหนง่ : อยู่กึ่งกลางระหว่างปลายกระดูกกน้ กบกับทวารหนัก ข้อบ่งช้ี: อุจจาระร่วง ท้องผูก อุจจาระมีเลือดปน ริดสีดวงทวาร ไส้ตรงหย่อน โรคจิตซึมเศร้า คล้มุ คล่ัง โรคลมชัก ปวดหลงั ส่วนลา่ ง ปวดกระเบนเหน็บ ปวดกน้ กบ วธิ แี ทงเข็ม: แทงชดิ กระดกู กน้ กบ 0.8-1 ช่นุ หมายเหตุ: การแทงตรงอาจเปน็ อันตรายต่อไส้ตรง 腰俞ยาวซู Yāoshū (GV 2) ยาว แปลว่า เอว ซู แปลวา่ จดุ ฝังเขม็ พอ้ งเสยี งกับคําทีแ่ ปลวา่ ขนสง่ เป็นจุดทีส่ ่งชี่ไปสู่เอว ตําแหน่ง: กึ่งกลาง sacral hiatus ข้อบง่ ชี้: ปวดกระดูกสันหลังเอว ริดสีดวงทวาร รอบเดือนผิดปกติ ขาลีบ ขาอ่อนแรง โรคบิด ไส้ตรงหย่อน อุจจาระเลอื ดปน ทอ้ งผูก โรคลมชัก วิธีแทงเข็ม: แทงเฉยี งข้นึ 0.5-1 ชุ่น
กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 143 腰阳关ยาวหยางกฺวาน Yāoyángguān (GV 3) ยาว แปลว่า เอว หยาง คอื หยางในยนิ หยาง กฺวาน แปลว่า ด่าน จุดนี้อยู่บริเวณเอวซึ่งมีหยางไตมาก และเปน็ ทางผ่านของหยางช่ี ตําแหนง่ : ใตป้ มุ่ กระดกู สนั หลังเอวที่ 4 ขอ้ บ่งช้ี: ปวดหลังสว่ นล่าง ปวดกระเบนเหนบ็ ขาลบี ขาอ่อนแรง ตกขาว รอบเดือนผิดปกติ ฝันเปียก เสอ่ื มสมรรถภาพทางเพศ วธิ ีแทงเข็ม: แทงเฉยี งขึ้น 0.5-1 ช่นุ 命门มง่ิ เหมิน Mìngmén (GV 4) ม่ิง แปลว่า ชีวิต เหมิน แปลว่า ประตู มิ่งเหมิน คือ ประตูแห่งชีวิต ตําแหน่งอยู่ระหว่างไต 2 ข้าง เปน็ แหลง่ ทนุ พื้นฐานของรา่ งกาย ตําแหน่ง: ใตป้ ุ่มกระดูกสนั หลงั เอวท่ี 2 ขอ้ บ่งช้ี: ปวดกระดกู สนั หลังเอว ปวดท้องน้อยด้านข้าง อุจจาระร่วง ปัสสาวะบ่อย ขาลีบ ขาอ่อนแรง รอบเดอื นผิดปกติ ตกขาวมเี ลือดปน ปวดประจําเดือน สตรีมีบุตรยาก เส่ือมสมรรถภาพทางเพศ ฝันเปียก เปน็ จดุ สาํ คัญในการรกั ษาภาวะหยางพรอ่ ง วธิ แี ทงเขม็ : แทงเฉยี งขึ้น 0.5-1 ช่นุ หมายเหตุ: นิยมใช้การลนยา 悬枢เสวฺ ยี นซู Xuánshū (GV 5) เสฺวียน แปลว่า แขวน ลอย ซู แปลว่า แกนหมุน เป็นตําแหน่งที่ไม่แตะพื้นเวลานอนราบและเป็นแกน ของการหมนุ เอว ตําแหน่ง: ใตป้ ุ่มกระดกู สันหลงั เอวท่ี 1 ขอ้ บ่งชี้: ปวดหลังสว่ นเอว ปวดท้อง ทอ้ งอืด อุจจาระรว่ ง โรคบดิ อาหารไม่ยอ่ ย วธิ ีแทงเข็ม: แทงเฉยี งขึ้น 0.5-1 ชุ่น หมายเหตุ: นยิ มใช้การลนยา 脊中จ่จี ง Jǐzhōng (GV 6) จี่ แปลว่า กระดกู สนั หลัง จง แปลวา่ กลาง เปน็ จุดก่งึ กลางของแนวกระดกู สันหลงั ตาํ แหนง่ : ใต้ปุ่มกระดกู สันหลังอกท่ี 11 ขอ้ บ่งชี้: ปวดกระดูกสันหลังเอว โรคลมชัก ดีซ่าน อุจจาระร่วง ริดสีดวงทวาร ไส้ตรงหย่อน อจุ จาระมีเลือดปน เด็กขาดสารอาหาร วิธแี ทงเข็ม: แทงเฉยี งขึ้น 0.5-1 ช่นุ
144 บทท่ี 3 จดุ ฝังเข็มและเส้นจงิ ลั่ว 中枢จงซู Zhōngshū (GV 7) จง แปลว่า กลาง ซู แปลว่า แกนหมนุ จดุ นีเ้ ปน็ แกนหมนุ ของกระดกู สันหลัง ตาํ แหนง่ : ใต้ปมุ่ กระดกู สนั หลังอกท่ี 10 ข้อบ่งชี้: ปวดกระดกู สนั หลังเอว ดีซ่าน อาเจยี น ท้องอดื ปวดกระเพาะอาหาร สะอึก เบื่ออาหาร วิธีแทงเข็ม: แทงเฉยี งขน้ึ 0.5-1 ชนุ่ 筋缩จินซวั Jīnsuō (GV 8) จนิ แปลวา่ เอน็ กลา้ มเน้ือ ซัว แปลวา่ หด เกร็ง ดา้ นข้างจดุ นี้เปน็ จุดเป้ยซูของตับ ตับกํากับเอ็น จุดนใี้ ชร้ กั ษาภาวะเอน็ กลา้ มเน้อื หดเกรง็ ตําแหน่ง: ใต้ปมุ่ กระดกู สันหลงั อกท่ี 9 ขอ้ บ่งช้ี: โรคลมชัก หลังแขง็ ปวดกระเพาะอาหาร วิธแี ทงเข็ม: แทงเฉยี งข้ึน 0.5-1 ชุ่น 至阳จ้อื หยาง Zhìyáng (GV 9) จอื้ แปลว่า ถงึ หยาง คือ หยางในยินหยาง แผ่นหลงั เป็นหยาง จุดน้ีตรงกับกระบังลม ซึง่ เป็นแนว แบ่งระหว่างยินกับหยาง ช่ีของเส้นตูไหลมาถึงจุดน้ีจะเปลย่ี นจากยินในหยางเปน็ หยางในหยาง ตําแหนง่ : ใตป้ ุม่ กระดูกสันหลังอกท่ี 7 ขอ้ บ่งช้ี: ปวดกระเพาะอาหาร ดซี า่ น เจ็บแนน่ หน้าอก ปวดสีขา้ ง ไอ หอบ ปวดหลัง หลงั แข็ง วธิ แี ทงเข็ม: แทงเฉียงขน้ึ 0.5-1 ชุน่ 灵台หลิงถาย Língtái (GV 10) หลงิ แปลวา่ จติ วญิ ญาณ ถาย แปลวา่ แท่น หลิงถาย คือ แท่นว่าราชการของจักรพรรดิ จุดนี้อยู่ใกล้ หัวใจซึง่ เปน็ จักรพรรดิของอวัยวะจา้ งฝู่ ตาํ แหนง่ : ใต้ปุ่มกระดูกสนั หลังอกที่ 6 ข้อบง่ ช้ี: ไอ หอบ ปวดหลงั ปวดตึงต้นคอ ตุ่มฝีหนอง วิธีแทงเขม็ : แทงเฉยี งขึ้น 0.5-1 ชนุ่ 神道เสินตา้ ว Shéndào (GV 11) เสนิ หมายถึง สตสิ ัมปชัญญะ จติ ใจ ต้าว แปลว่า เส้นทาง จุดนอี้ ยู่ขา้ งซนิ ซู (BL 15) เป็นจุดท่ีชี่ ของเส้นตูไหลเวยี นเชือ่ มกบั หัวใจซ่งึ ควบคมุ เสนิ ตําแหน่ง: ใตป้ ุ่มกระดกู สนั หลังอกท่ี 5 ข้อบ่งช้ี: โรคลมชัก ซึมเศร้า ใจส่ัน หลงลืมง่าย หลังแข็ง ปวดสันหลัง เจ็บหน้าอก นอนไม่หลับ อ่อนเพลียเร้อื รงั วิธีแทงเขม็ : แทงเฉียงขนึ้ 0.5-1 ชุ่น
กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 145 身柱เซินจู้ Shēnzhù (GV 12) เซิน แปลว่า ร่างกาย จู้ แปลว่า เสาคํ้า จุดนี้อยู่ข้างเฟ่ยซู (BL 13) ปอดกํากับช่ีทั้งร่างกายซึ่งมี พละกําลงั เหมอื นเสาคํ้า ตําแหนง่ : ใต้ปุม่ กระดูกสันหลงั อกที่ 3 ขอ้ บ่งชี้: ไข้ ปวดศีรษะ โรคลมชกั ปวดหลงั หลงั แข็ง ฝที ีห่ ลงั ไอ หอบ โรคจติ ซึมเศร้า คลุ้มคลัง่ วธิ แี ทงเขม็ : แทงเฉียงขึน้ 0.5-1 ช่นุ 陶道ถาวตา้ ว Táodào (GV 13) ถาว หมายถึง ปล่องไฟ ต้าว แปลว่า เส้นทาง ชี่และความร้อนลอยขึ้นผ่านจุดนี้ เปรียบเสมือน ควันทอี่ อกจากปล่องไฟ ตําแหน่ง: ใต้ปมุ่ กระดกู สนั หลงั อกที่ 1 ข้อบ่งช้ี: ไอ หอบ ไขจ้ ับสัน่ ไข้ ไขเ้ ป็นเวลาหลงั บา่ ย ปวดศีรษะ หลงั แข็ง วิธีแทงเข็ม: แทงเฉยี งข้นึ 0.5-1 ชนุ่ 大椎ตา้ จยุ Dàzhuī (GV 14) ตา้ แปลว่า ใหญ่ จุย คือ กระดูกสนั หลงั กระดูกตน้ คอที่ 7 มีขนาดใหญ่ที่สดุ ตําแหนง่ : ใตป้ ุม่ กระดูกต้นคอที่ 7 ข้อบ่งชี้: ไข้จับสั่น ไอ หอบ ร้อนจากกระดูก เหง่ือออกง่าย เหง่ือออกขณะหลับ กลัวหนาว ไข้หวัด ตาปวดบวมแดง ปวดศีรษะ ปวดตึงต้นคอ ปวดไหล่ ปวดตึงหลัง หลังแอ่น โรคลมชัก ชักในเด็ก โรคจติ ซมึ เศรา้ คลมุ้ คล่งั ลมพิษ หดั โรคลมแดด อหิวาตกโรค หดั เยอรมัน ดซี ่าน วธิ แี ทงเข็ม: แทงเฉียงข้นึ 0.5-1 ชุ่น หรอื เจาะปล่อยเลอื ด หย่าเหมิน 哑门 Yǎmén (GV 15) หย่า แปลวา่ ใบ้ เหมนิ แปลวา่ ประตู ดา้ นหนา้ จุดนต้ี รงกับล้ินและคอหอย ใชร้ ักษาอาการเสยี งหาย ตําแหน่ง: ใต้ป่มุ กระดกู ตน้ คอท่ี 1 ข้อบ่งช้ี: ปวดศีรษะ ปวดตึงต้นคอ เสียงหายเฉียบพลัน โรคฮีสทีเรีย ล้ินแข็งพูดไม่ได้ เลือดกําเดาไหล โรคจติ ซึมเศร้า คลมุ้ คลัง่ โรคลมชกั หหู นวก เป็นใบ้ โรคสมองพกิ าร โรคหลอดเลอื ดสมอง วิธีแทงเขม็ : แทงตรงหรือแทงเฉยี งลง 0.5-1 ชุ่น หมายเหตุ: ไม่ควรแทงเฉียงขึ้นหรือแทงลกึ เกินไป อาจเปน็ อันตรายต่อ medulla 风府เฟงิ ฝู่ Fēngfǔ (GV 16) เฟิง แปลวา่ ลม ฝู่ แปลวา่ จวน จดุ นี้อยู่บนสุดของแนวกระดูกสนั หลงั แนวเดยี วกบั เฟงิ ฉือ (GB 20) และอ้ีเฟงิ (TE 17) โดยมตี ําแหนง่ อยกู่ ึ่งกลาง เป็นจุดควบคุมลมและเป็นทางผ่านเข้าออกของเสยฺ ชีล่ ม
146 บทที่ 3 จดุ ฝังเขม็ และเสน้ จิงลั่ว ตําแหน่ง: แนวก่ึงกลางศีรษะ ใต้ external occipital protuberance ตรงร่องระหว่างกล้ามเนื้อ trapezius สองขา้ ง เหนอื แนวชายผมขอบทา้ ยทอย 1 ชนุ่ ขอ้ บ่งชี้: โรคหลอดเลือดสมอง เสยี งหายเฉยี บพลัน โรคจติ ซึมเศร้า คลมุ้ คล่ัง ปวดตึงต้นคอ ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ เจบ็ คอ วธิ ีแทงเข็ม: แทงตรงหรือแทงเฉียงลง 0.5-1 ชุ่น หมายเหตุ: ไม่ควรแทงเฉยี งข้ึนหรอื แทงลกึ เกนิ ไป อาจเปน็ อนั ตรายตอ่ medulla ภาพท่ี 3.72 แสดงจุดฝังเข็มบนเส้นตู (GV 15 - GV 27) หน่าวฮู่ 脑户 Nǎohù (GV 17) หน่าว แปลว่า สมอง ฮู่ แปลวา่ ประตู จดุ นเ้ี ปน็ ประตูสาํ หรบั ชี่เข้าสสู่ มอง ตําแหน่ง: แนวก่ึงกลางศีรษะ ตรงรอยบุ๋มที่ขอบบนของ external occipital protuberance เหนือแนวชายผมขอบทา้ ยทอย 2.5 ชุ่น ข้อบง่ ช้ี: ปวดศรี ษะ เวียนศรี ษะ ปวดตึงต้นคอ เสยี งแหบ โรคจิตซมึ เศร้า คล้มุ คลั่ง โรคลมชกั วิธแี ทงเขม็ : แทงราบ 0.5-1 ช่นุ 强间เฉยี งเจยี น Qiángjiān (GV 18) เฉยี ง แปลวา่ แข็งแกรง่ เจียน แปลว่า ร่องหรอื แอง่ จดุ นอี้ ยู่ระหวา่ งกะโหลกศรี ษะ 2 แผน่ ซ่งึ แขง็ มาก ตําแหนง่ : แนวกงึ่ กลางศรี ษะ เหนือแนวชายผมขอบท้ายทอย 4 ช่นุ
กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 147 ขอ้ บง่ ชี้: ปวดศรี ษะ เวียนศรี ษะ ปวดตึงตน้ คอ โรคจติ ซึมเศร้า คล้มุ คลั่ง วธิ แี ทงเข็ม: แทงราบ 0.5-0.8 ชุ่น 后顶โฮว่ ตงิ่ Hòudǐng (GV 19) โฮ่ว แปลวา่ ด้านหลงั ต่ิง แปลว่า ยอด จุดสงู สดุ จดุ น้ีมีตําแหนง่ อย่ดู า้ นหลงั ยอดกระหมอ่ ม ตาํ แหนง่ : แนวกึ่งกลางศีรษะ เหนอื แนวชายผมขอบทา้ ยทอย 5.5 ชนุ่ หรือ 1.5 ชุ่น หลงั ปา่ ยฮ่ยุ (GV 20) ขอ้ บง่ ช้ี: ปวดศรี ษะกลางกระหม่อม ปวดทา้ ยทอย ปวดตึงต้นคอ เวียนศีรษะ โรคจติ ซึมเศร้า คลุ้มคล่ัง โรคลมชัก วิธแี ทงเขม็ : แทงราบ 0.5-0.8 ชนุ่ 百会ปา่ ยฮยุ่ Bǎihuì (GV 20) ป่าย แปลว่า ร้อย ฮุ่ย แปลว่า จุดรวมพล เป็นจุดเช่ือมตัดระหว่างเส้นตูกับเส้นหยางทุกเส้น ตําแหนง่ : แนวกึง่ กลางศรี ษะ เหนือแนวชายผมขอบหน้าผาก 5 ชุ่น ขอ้ บ่งชี้: ปวดศรี ษะ เวียนศีรษะ หูอ้ือ โรคหลอดเลือดสมอง โรคจิตซึมเศร้า คลุ้มคล่ัง โรคลมชัก นอนไมห่ ลับ หลงลืม ไส้ตรงหยอ่ น มดลกู หยอ่ น อจุ จาระร่วงเร้อื รงั ภาวะชอ็ ก วิธแี ทงเข็ม: แทงราบ 0.5-0.8 ชุน่ หมายเหตุ: ใช้การลนยากรณีที่ตอ้ งการดึงหยางขึน้ 前顶เฉยี นต่ิง Qiándǐng (GV 21) เฉยี น แปลว่า ดา้ นหนา้ ติ่ง แปลวา่ ยอด จุดสงู สุด จุดน้อี ยู่ดา้ นหนา้ ของยอดกระหม่อม ตาํ แหนง่ : แนวกึง่ กลางศีรษะ เหนอื แนวชายผมขอบหนา้ ผาก 3.5 ชุ่น ข้อบ่งชี้: ปวดศรี ษะ เวียนศีรษะ ตาพร่ามัว ไซนัสอกั เสบ โรคจิตซึมเศร้า คลุ้มคล่งั โรคลมชกั วิธีแทงเข็ม: แทงราบ 0.5-0.8 ชนุ่ 囟会ซ่นิ ฮยุ่ Xìnhuì (GV 22) ซ่ิน แปลว่า กระหม่อมหน้าของเด็ก ฮุ่ย แปลวา่ บรรจบ เม่ือโตขน้ึ กระหม่อมหน้าจะปิด ตําแหนง่ : แนวก่ึงกลางศีรษะ เหนือแนวชายผมขอบหนา้ ผาก 2 ช่นุ ข้อบ่งช้ี: ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ไซนัสอักเสบ เลือดกําเดาไหล โรคจิตซึมเศร้า คลุ้มคลั่ง โรคลมชัก ชกั ในเดก็ วิธีแทงเข็ม: แทงราบ 0.5-0.8 ชุ่น หมายเหตุ: ไม่ควรฝงั เข็มในทารกทกี่ ระหมอ่ มหนา้ ยังไมป่ ิด 上星ซา่ งซงิ Shàngxīng (GV 23) ซ่าง แปลว่า ด้านบน ซิง แปลว่า ดาว สมัยโบราณเชื่อว่าจมูกเชื่อมกับจักรวาล ดวงตาเชื่อมกับ ดวงจนั ทรแ์ ละดวงดาวทีจ่ ุดนี้ จึงใช้รกั ษาโรคของจมูกและการมองเห็น
148 บทที่ 3 จดุ ฝงั เข็มและเส้นจิงลว่ั ตาํ แหนง่ : แนวก่งึ กลางศีรษะ เหนือแนวชายผมขอบหนา้ ผาก 1 ชุ่น ข้อบ่งชี้: ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ โรคจิตซึมเศร้า คลุ้มคลั่ง นํ้ามูกไหล ไซนัสอักเสบ เลือดกําเดาไหล ปวดตา ไขจ้ ับสน่ั กลมุ่ โรคไข้ วิธแี ทงเข็ม: แทงราบ 0.5-1 ชุ่น หรือเจาะปล่อยเลอื ด 神庭เสินถงิ Shéntíng (GV 24) เสนิ หมายถึง สตสิ ัมปชญั ญะ จิตใจ ถิง แปลว่า ลาน หอ้ งโถง จดุ นเ้ี ปรยี บเสมือนเป็นที่อยู่ของเสิน ตาํ แหนง่ : แนวกึ่งกลางศีรษะ เหนอื แนวชายผมขอบหน้าผาก 0.5 ชนุ่ ข้อบ่งชี้: ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ไซนัสอักเสบ เลือดกําเดาไหล โรคจิตซึมเศร้า คลุ้มคลั่ง นอนไมห่ ลับ ใจสน่ั วิตกกังวล ตาปวดบวมแดง โรคลมชกั ตาบอดกลางคนื ต้อเนอ้ื ตอ้ กระจก วิธแี ทงเข็ม: แทงราบ 0.5-0.8 ช่นุ ซูเ่ หลยี ว 素髎 Sùliáo (GV 25) ซู่ แปลว่า บริสทุ ธิ์ หมายถึง สขี าว เหลียว แปลวา่ ร่องระหว่างกระดูก จุดนี้อยู่ตรงปลายยอดจมูก ตรงร่องผนังกน้ั จมกู จมูกเป็นทวารเปดิ ของปอด สีของปอด คอื สขี าว ตําแหน่ง: กงึ่ กลางปลายจมูก ขอ้ บ่งชี้: เลือดกาํ เดาไหล ไซนสั อักเสบ, rosacea ภาวะขาดออกซิเจนในทารก หมดสติ ชัก วิธีแทงเขม็ : แทงเฉยี งขึ้น 0.3-0.5 ชนุ่ หรือเจาะปลอ่ ยเลือด 水沟สุย่ โกว Shuǐgōu (GV 26); เหรนิ จง 人中 Rénzhōng ก็เรยี ก สยุ่ แปลว่า นาํ้ โกว แปลวา่ รอ่ งน้ํา จดุ นีอ้ ยู่บนรอ่ งใต้จมกู เหรนิ แปลวา่ คน จง แปลว่า ตรงกลาง จดุ นีอ้ ยู่ระหวา่ งปากกบั จมูก จมูกเช่ือมกับฟา้ ปากเชอ่ื มกบั ดนิ ส่วนคนอยตู่ รงกลาง ตาํ แหนง่ : ตรงจดุ แบง่ ระหว่าง 1/3 บนกับ 2/3 ลา่ งของรอ่ งใตจ้ มูก ข้อบ่งชี้: ภาวะช็อก หมดสติ เป็นลม โรคลมชัก โรคลมแดด โรคจิตซึมเศร้า คลุ้มคลั่ง เลือดกําเดาไหล ขากรรไกรแขง็ โรคหลอดเลอื ดสมอง อัมพาตใบหน้า คัดจมูก เอวเคลด็ วธิ ีแทงเขม็ : แทงเฉยี งข้นึ 0.3-0.5 ชุ่น 兑端ตุ้ยตวน Duìduān (GV 27) ตุย้ ภาษาโบราณ หมายถงึ ปาก ริมฝีปาก ตวน แปลว่า ส่วนปลาย จุดนี้อยู่ตรงปลายจุดก่ึงกลาง ขอบบนของรมิ ฝปี ากบน ตําแหนง่ : จดุ กง่ึ กลางขอบบนของริมฝปี ากบน
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 149 ข้อบ่งชี้: หมดสติ เป็นลม โรคจิตซึมเศร้า คลุ้มคล่ัง ริมฝีปากกระตุก อัมพาตใบหน้า ปวดบวมเหงือก มีกลนิ่ ปาก ปวดฟนั เลอื ดกําเดาไหล วิธีแทงเข็ม: แทงเฉยี งข้ึน 0.2-0.3 ชุ่น 龈交หยนิ เจียว Yínjiāo (GV 28) หยิน แปลว่า เหงือก เจียว แปลว่า ตัดกัน เป็นจุดท่ีเส้นตูกับเส้นเร่ินเชื่อมตัดกัน และเป็นจุดท่ี เหงือกบนเชื่อมกับรมิ ฝปี ากบน ตําแหน่ง: ตรงรอยต่อระหวา่ งเหงือกกับเย่ือรง้ั รมิ ฝปี ากบน ข้อบ่งชี้: อัมพาตใบหน้า เหงือกอักเสบ มีกลิ่นปาก เลือดกําเดาไหล ไซนัสอักเสบ เอวเคล็ด โรคจติ ซึมเศรา้ คลมุ้ คลัง่ ริดสดี วงทวาร วิธีแทงเข็ม: แทงเฉียงขึ้น 0.2-0.3 ชนุ่ หรอื เจาะปล่อยเลือด 14. จุดฝังเข็มบนเสน้ เร่ิน ฮุ่ยยิน 会阴 Huìyīn (CV 1): จุดลวั่ ฮุ่ย แปลว่า พบกัน เช่ือมกัน ยิน คือ ยินในยินหยาง เป็นจุดเร่ิมต้นของเส้นเร่ิน เส้นตู และเส้นชง ตําแหนง่ อยรู่ ะหวา่ งทวารเปิดของยนิ ท้งั สอง ตําแหน่ง: บริเวณฝีเย็บ ตรงจุดกึ่งกลางระหว่างขอบหลังโคนอัณฑะกับทวารหนักในเพศชาย หรือระหว่างขอบล่างแคมใหญก่ บั ทวารหนกั ในเพศหญงิ ข้อบ่งช้ี: รอบเดือนผิดปกติ ปัสสาวะขัด คันอวัยวะเพศ ช่องคลอดอักเสบ ปวดบวมอวัยวะเพศ มดลกู หย่อน ไสต้ รงหย่อน ไส้เล่ือน ฝันเปียก โรคจิตซึมเศร้า คลุ้มคล่ัง ภาวะขาดออกซิเจนเหตุจมนํ้า หมดสติ ริดสีดวงทวาร วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1 ชนุ่ หรือลนยา หมายเหตุ: ไม่ควรใช้ในสตรตี งั้ ครรภ์ ชวฺ ีกู่ 曲骨 Qūgǔ (CV 2) ชฺวี แปลวา่ โค้ง กู่ แปลว่า กระดูก จุดน้ีอยู่บนช่วงโค้งของขอบบนกระดกู หวั หน่าว ตําแหน่ง: แนวกงึ่ กลางท้องน้อย อยู่ชดิ ขอบบนของกระดูกหวั หนา่ ว ข้อบ่งชี้: ปัสสาวะขัด ปัสสาวะรดท่ีนอน กล้ันปัสสาวะไม่ได้ ไส้เลื่อน เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ฝันเปยี ก ปวดประจาํ เดอื น รอบเดือนผิดปกติ ตกขาว หนงั หมุ้ อณั ฑะอักเสบ ช่องคลอดอักเสบ วิธแี ทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1 ชนุ่ หมายเหตุ: ตัง้ แต่ CV 2 - CV 13 ไมค่ วรใชใ้ นสตรีตัง้ ครรภ์
150 บทท่ี 3 จุดฝังเข็มและเส้นจงิ ล่วั จงจี๋ 中极 Zhōngjí (CV 3): จุดมูข่ องกระเพาะปัสสาวะ จง แปลว่า กลาง จี๋ แปลว่า ข้ัว เปน็ จดุ กึง่ กลางของระยะห่างระหวา่ งกระหม่อมกับสน้ เท้า ตําแหนง่ : แนวก่งึ กลางทอ้ งน้อย ใต้สะดอื 4 ชุ่น ข้อบ่งชี้: ปัสสาวะขัด ปัสสาวะไม่ออก ปัสสาวะรดที่นอน กล้ันปัสสาวะไม่ได้ ไส้เล่ือน ฝันเปียก เส่ือมสมรรถภาพทางเพศ รอบเดือนผิดปกติ ปวดประจําเดือน ช่องคลอดอักเสบ ตกขาว สตรีมีบตุ รยาก มดลกู หย่อน วิธีแทงเขม็ : แทงตรง 1-1.5 ชุ่น ควรให้ปสั สาวะกอ่ นทกุ คร้งั ภาพท่ี 3.73 แสดงจุดฝังเข็มบนเสน้ เริน่ (CV 3 - CV 22) กฺวานหยวน 关元 Guānyuán (CV 4): จุดมู่ของลําไส้เล็ก กฺวาน แปลวา่ ด่าน หยวน หมายถึง หยวนช่ี เปน็ แหล่งสะสมหยวนชขี่ องร่างกาย ตําแหนง่ : แนวก่ึงกลางทอ้ งน้อย ใตส้ ะดอื 3 ชนุ่ ข้อบ่งชี้: โรคหลอดเลือดสมอง ร่างกายทรุดโทรม ไส้ตรงหย่อน ไส้เลื่อน เส่ือมสมรรถภาพทางเพศ ฝันเปียก รอบเดือนผิดปกติ ปวดประจําเดือน ตกขาว ตกเลือดหลังคลอด ภาวะมีบุตรยาก ปสั สาวะขดั ปัสสาวะรดท่นี อน กลน้ั ปสั สาวะไม่ได้ ปวดท้องน้อย อาเจยี น อุจจาระรว่ ง วิธีแทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1.5 ชุ่น หมายเหตุ: นิยมใชก้ ารลนยา
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 151 สือเหมิน 石门 Shímén (CV 5): จุดมู่ของซานเจยี ว สือ แปลว่า หิน หมายถึง ก้อนจากชี่ติดขัด เหมิน แปลว่า ประตู จุดนี้ใช้รักษาภาวะช่ีติดขัด บรเิ วณท้องน้อย ตําแหนง่ : แนวก่งึ กลางท้องน้อย ใต้สะดอื 2 ชนุ่ ข้อบ่งช้ี: บวมนํ้า ปัสสาวะขัด ไส้เลื่อน ฝันเปียก เส่ือมสมรรถภาพทางเพศ ตกขาว รอบเดือนผิดปกติ ประจําเดือนไม่มา ประจําเดือนมากะปริดกะปรอย ประจําเดือนมามาก ตกเลือดหลังคลอด ปวดท้อง อุจจาระร่วง ทอ้ งอดื วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 1-2 ชุ่น ชี่หา่ ย 气海 Qìhǎi (CV 6) ช่ี หมายถงึ หยวนชี่ ห่าย แปลวา่ ทะเล จดุ นี้เป็นทะเลแห่งหยวนชี่ ตาํ แหนง่ : แนวกง่ึ กลางทอ้ งน้อย ใตส้ ะดอื 1.5 ชนุ่ ข้อบ่งช้ี: ภาวะช็อก ปวดท้อง ท้องผูก อุจจาระร่วง โรคบิด ไส้เลื่อน ฝันเปียก เส่ือมสมรรถภาพทางเพศ ปวดประจําเดือน ประจาํ เดอื นไม่มา รอบเดอื นผิดปกติ มดลูกหย่อน ภาวะมีบตุ รยาก ปัสสาวะรดที่นอน กลนั้ ปสั สาวะไมไ่ ด้ ปสั สาวะขัด โรคหลอดเลือดสมอง เปน็ จุดสาํ คัญในการบาํ รุงสุขภาพ วิธแี ทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1.2 ชุ่น หมายเหตุ: นิยมใช้การลนยา 阴交ยินเจียว Yīnjiāo (CV 7) ยนิ คือ ยินในยนิ หยาง เจยี ว แปลวา่ ตัดกนั เปน็ จดุ ท่ีเส้นยิน 3 เส้น คือ เส้นชง เส้นเริ่น และเส้นไต มาเชือ่ มตดั กัน ตาํ แหนง่ : แนวกงึ่ กลางทอ้ งน้อย ใตส้ ะดอื 1 ชนุ่ ข้อบ่งชี้: ปวดท้อง บวมนํ้า รอบเดือนผิดปกติ ประจําเดือนไม่มา ไส้เล่ือน ตกขาว ตกเลือดหลังคลอด คันอวัยวะเพศ วิธีแทงเขม็ : แทงตรง 1-2 ช่นุ 神阙เสนิ เชฺวย่ี Shénquè (CV 8) เสนิ หมายถึง สตสิ มั ปชัญญะ จิตใจ เชฺว่ีย หมายถึง ประตูวัง ทารกในครรภ์รับช่ีและเลือดจากมารดา ทางสายสะดอื สะดอื จงึ เปน็ ประตูของเสินชี่ ตาํ แหนง่ : กง่ึ กลางสะดือ ขอ้ บง่ ช้ี: ภาวะช็อก โรคหลอดเลอื ดสมอง ปวดท้อง ท้องอืด ท้องร้อง อุจจาระร่วงเร้ือรัง ท้องผูก บวมนา้ํ ปสั สาวะขัด ไส้ตรงหยอ่ น วธิ แี ทงเข็ม: ไม่นิยมฝงั เข็ม มักใช้การลนยาคัน่ เกลือหรอื ขงิ
152 บทท่ี 3 จดุ ฝงั เขม็ และเสน้ จงิ ลัว่ 水分สยุ่ เฟนิ Shuǐfēn (CV 9) สุ่ย แปลว่า น้ํา เฟิน แปลว่า แยก จุดน้ีอยู่ตรงกับตําแหน่งลําไส้เล็กซึ่งมีหน้าท่ีคัดแยกของเสีย ออกจากสารอาหารและนาํ้ ตาํ แหน่ง: แนวก่ึงกลางทอ้ ง เหนอื สะดือ 1 ชุ่น ขอ้ บ่งช้ี: บวมนา้ํ ปสั สาวะขัด ปวดท้อง คล่นื ไส้ อาเจียน ทอ้ งอืด อุจจาระรว่ ง วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 1-2 ชนุ่ หมายเหตุ: นิยมใช้การลนยา เซ่ยี หว่าน 下脘 Xiàwǎn (CV 10) เซ่ยี แปลว่า ดา้ นล่าง หว่าน แปลวา่ กระเพาะอาหาร ใตจ้ ุดน้ีตรงกับกระเพาะอาหารสว่ นลา่ ง ตําแหนง่ : แนวกง่ึ กลางทอ้ ง เหนือสะดือ 2 ชนุ่ ข้อบง่ ชี้: ปวดท้อง ทอ้ งร้อง ทอ้ งอดื อจุ จาระรว่ ง อาเจียน อาหารไมย่ ่อย เป็นก้อนในท้อง วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 0.8-1.2 ชุ่น เจยี้ นหลี่ 建里 Jiànlǐ (CV 11) เจีย้ น แปลว่า สรา้ ง หลี่ แปลวา่ ใน หมายถึง ชอ่ งท้อง จุดนี้ช่วยปรับช่ีในจงเจยี ว ตาํ แหน่ง: แนวกงึ่ กลางท้อง เหนอื สะดือ 3 ช่นุ ขอ้ บง่ ช:้ี ปวดท้อง ปวดกระเพาะอาหาร ทอ้ งร้อง ท้องอดื สะอกึ คล่นื ไส้ อาเจียน เบอื่ อาหาร บวมนํ้า วธิ ีแทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1 ช่นุ จงหวา่ น 中脘 Zhōngwǎn (CV 12): จดุ มขู่ องกระเพาะอาหาร จุดอิทธิพลของอวัยวะฝู่ จง แปลว่า กลาง หว่าน แปลว่า กระเพาะอาหาร ใต้จุดน้ตี รงกับกระเพาะอาหารส่วนกลาง ตําแหน่ง: แนวก่ึงกลางท้อง เหนือสะดือ 4 ชุ่น หรือก่ึงกลางระหว่าง xiphisternal symphysis กบั สะดือ ข้อบ่งชี้: ท้องอืด อุจจาระร่วง ปวดกระเพาะอาหาร คล่ืนไส้ อาเจียน เรอเปร้ียว สะอึก เบื่ออาหาร อาหารไมย่ อ่ ย ดีซ่าน โรคจติ ซึมเศรา้ คล้มุ คล่งั นอนไมห่ ลบั โรคลมชัก วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 0.8-1.5 ช่นุ 上脘ซ่างหว่าน Shàngwǎn (CV 13) ซา่ ง แปลวา่ ด้านบน หวา่ น แปลว่า กระเพาะอาหาร ใต้จุดนีอ้ ยู่ตรงกับกระเพาะอาหารสว่ นบน ตําแหน่ง: แนวกึง่ กลางทอ้ ง เหนือสะดือ 5 ช่นุ ข้อบง่ ชี้: ท้องอืด อจุ จาระรว่ ง ปวดกระเพาะอาหาร คลน่ื ไส้ อาเจยี น เรอเปรี้ยว สะอึก เบื่ออาหาร โรคลมชัก วิธีแทงเขม็ : แทงตรง 0.8-1.2 ชุ่น
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 153 จวฺ ้เี ชวฺ ่ยี 巨阙 Jùquè (CV 14): จดุ มูข่ องหวั ใจ จฺว้ี แปลว่า ใหญ่ เชฺวยี่ แปลวา่ ประตูวัง ช่ีไหลจากจดุ นไ้ี ปสู่หัวใจ ตาํ แหนง่ : แนวกึง่ กลางท้อง เหนอื สะดือ 6 ช่นุ ข้อบ่งชี้: เจ็บหน้าอก ใจสั่น โรคจิตซึมเศร้า คลุ้มคล่ัง หงุดหงิด ปวดกระเพาะอาหาร อาเจียน เรอเปร้ียว สะอึก โรคลมชกั หมดสติ วิธแี ทงเข็ม: แทงเฉียงลง 0.5-1 ชุน่ หมายเหตุ: ไมค่ วรแทงลกึ เพราะอาจเป็นอันตรายต่อตับ จิวเหวย่ 鸠尾 Jiūwěi (CV 15): จดุ ล่ัว จิว เป็นชือ่ นกเขาจาํ พวกหนึ่ง เหวย่ แปลวา่ หาง จุดนอี้ ยบู่ ริเวณลนิ้ ปี่ซง่ึ มลี ักษณะเหมอื นหางนกเขา ตําแหนง่ : ใต้ xiphoid process ข้อบ่งชี้: แน่นหน้าอก เจ็บหน้าอก ใจสั่น โรคจิตซึมเศร้า คลุ้มคล่ัง โรคลมชัก ท้องอืด สะอึก อาเจยี น วธิ แี ทงเขม็ : แทงเฉยี งลง 0.4-0.6 ชุ่น 中庭จงถงิ Zhōngtíng (CV 16) จง แปลว่า กลาง ถิง หมายถึง ห้องโถง จุดน้ีอยู่บริเวณรอยต่อของกระดูกอกกับล้ินป่ี เปรียบเสมอื นห้องโถงกลางวงั ตาํ แหน่ง: แนวก่งึ กลางหน้าอก ตรง sternocostal angle ระดับเดยี วกับช่องซ่ีโครงที่ 5 ขอ้ บง่ ชี้: แนน่ หน้าอก ปวดสขี า้ ง เจ็บหนา้ อก เบอ่ื อาหาร สะอึก อาเจียน สํารอกนม วิธีแทงเขม็ : แทงราบ 0.3-0.5 ชุน่ ถานจง 膻中 Tánzhōng (CV 17): จดุ มู่ของเย่ือหมุ้ หวั ใจ จุดอทิ ธิพลของชี่ ถาน แปลว่า วังของหัวใจ หมายถึง เย่ือหุ้มหัวใจ จง แปลว่า กลาง จุดนอี้ ยกู่ ลางหน้าอก ตําแหนง่ : แนวกึ่งกลางหนา้ อก ระดบั ช่องซี่โครงที่ 4 หรอื กงึ่ กลางระหวา่ งหัวนม ข้อบ่งชี้: แน่นหน้าอก เจ็บหน้าอก หายใจกระชั้น ใจส่ัน ไอ หอบ สะอึก อาเจียน กลืนลําบาก นาํ้ นมไมพ่ อ เตา้ นมอกั เสบ วธิ แี ทงเข็ม: แทงราบ 0.3-0.5 ชุน่ 玉堂ยฺวถี่ าง Yùtáng (CV 18) ยฺว่ี แปลวา่ หยก เป็นของมีคา่ ถาง แปลวา่ วงั จุดนตี้ าํ แหน่งตรงกบั หวั ใจ ตําแหน่ง: แนวกึ่งกลางหน้าอก ระดบั ชอ่ งซ่โี ครงที่ 3 ข้อบง่ ชี้: ไอ หอบ แนน่ หน้าอก เจ็บหน้าอก อาเจียน หงดุ หงดิ วธิ ีแทงเข็ม: แทงราบ 0.3-0.5 ช่นุ
154 บทท่ี 3 จุดฝังเข็มและเสน้ จงิ ลวั่ 紫宫จ่อื กง Zǐgōng (CV 19) จื่อ แปลว่า สมี ่วง กง แปลว่า วัง สีม่วงเป็นสีเข้มทส่ี ุดของไฟ หมายถึง หัวใจ จุดนเ้ี ป็นที่อยู่ของหวั ใจ ตาํ แหน่ง: แนวก่งึ กลางหนา้ อก ระดบั ช่องซ่ีโครงท่ี 2 ขอ้ บง่ ชี้: ไอ หอบ แน่นหนา้ อก เจบ็ หน้าอก หงุดหงดิ วิธแี ทงเข็ม: แทงราบ 0.3-0.5 ชุ่น 华盖หฺวากา้ ย Huágài (CV 20) หฺวากา้ ย แปลว่า ฉัตร ซึ่งตาํ แหน่งอยู่สงู สุด เปรียบเปน็ ปอดซึง่ มหี น้าที่ปกป้องหวั ใจ ตําแหน่ง: แนวกงึ่ กลางหน้าอก ระดับชอ่ งซ่ีโครงที่ 1 ขอ้ บ่งช้ี: เจบ็ แนน่ หนา้ อก ปวดสขี ้าง ไอ หอบ วิธแี ทงเขม็ : แทงราบ 0.3-0.5 ชุ่น เสวฺ ยี นจี 璇玑 Xuánjī (CV 21) เสฺวียน เป็นช่ือดาวดวงที่ 2 จี เป็นชือ่ ดาวดวงท่ี 3 ของกลุ่มดาวหมีใหญ่ ซึ่งเป็นศูนย์กลางของฟากฟ้า ตาํ แหน่ง: ใต้ suprasternal fossa 1 ชุน่ ตรงก่ึงกลางกระดกู manubrium ข้อบง่ ชี้: ไอ หอบ เจ็บหน้าอก เจบ็ คอ วิธแี ทงเขม็ : แทงราบ 0.3-0.5 ช่นุ เทยี นทู 天突 Tiāntū (CV 22) เทียน แปลว่า ฟ้า ทู แปลว่า ปล่องไฟ ตําแหน่งจุดน้ีอยู่ส่วนบนสุดของหลอดลม เปรียบเสมือน ปลอ่ งไฟของปอด ตําแหน่ง: ก่งึ กลาง suprasternal fossa ขอ้ บ่งชี้: ไอ หอบ เจ็บหน้าอก เจบ็ คอ เสยี งหายเฉยี บพลนั คอพอก กลนื ลาํ บาก วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 0.2-0.3 ชุ่น แล้วเอียงปลายเข็มขนานไปตามขอบหลังของ sternum เขา้ ไป 0.5-1 ชนุ่ หมายเหตุ: แทงเขม็ ให้ทิศทางและความลึกตามกาํ หนด เพ่ือปอ้ งกนั อันตรายต่อปอดและหลอดเลือด 廉泉เหลียนเฉวฺ ียน Liánquán (CV 23) เหลียน แปลวา่ ใสสะอาด เฉฺวยี น แปลวา่ นาํ้ พุ หมายถึง น้ําลาย ตําแหนง่ : แนวก่ึงกลางลําคอ เหนือลูกกระเดือก ตรงแอง่ อยู่ขอบบนของกระดูก hyoid ข้อบ่งช้ี: ลิ้นแข็งพูดไม่ได้เหตุโรคหลอดเลือดสมอง กลืนลําบาก เสียงหายเฉียบพลัน น้ําลายยืด ปวดบวมใต้ลิ้น เจ็บคอ วิธีแทงเขม็ : แทงเฉียงไปโคนล้นิ 0.5-0.8 ชนุ่
กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 155 承浆เฉงิ เจียง Chéngjiāng (CV 24) เฉงิ แปลว่า รับ เจียง หมายถงึ นํ้าลาย นํ้าลายไหลออกจากปากมาที่จดุ น้ี ตาํ แหนง่ : กง่ึ กลางรอยบุ๋ม ใต้ริมฝปี ากล่าง ข้อบ่งช้ี: อัมพาตใบหน้า เสียงหายเฉียบพลัน น้ําลายยืด โรคปากนกกระจอก เหงือกและแก้มบวม ปวดฟัน โรคจิตซึมเศรา้ คลุ้มคลั่ง โรคลมชกั ปสั สาวะรดทีน่ อน กล้ันปัสสาวะไม่ได้ วิธแี ทงเข็ม: แทงเฉยี ง 0.3-0.5 ช่นุ จดุ ฝังเข็มนอกระบบเสน้ จิงลวั่ 1. จดุ พิเศษบนศีรษะและคอ 四神聪ซ่อื เสินชง Sìshéncōng (EX-HN 1) ซ่ือ แปลว่า ส่ี หมายถึง มี 4 จุด หน้า-หลัง-ซ้าย-ขวา รวม 4 ทิศ เสิน หมายถึง สติสัมปะชัญญะ จติ ใจ ชง แปลว่า ฉลาด เสนิ ชง หมายถึง สติปญั ญาเฉียบแหลม ตําแหน่ง: เป็นกลุ่ม 4 จุด อย่หู ่างจากป่ายฮุย่ (GV 20) ไปด้านหน้า-หลัง-ซา้ ย-ขวา ข้างละ 1 ชุ่น ขอ้ บ่งช้ี: ปวดศรี ษะ เวียนศีรษะ นอนไมห่ ลบั หลงลมื ง่าย โรคลมชัก โรคตา วิธแี ทงเขม็ : แทงราบ 0.5-0.8 ชนุ่ หรือลนยา 当阳ตางหยาง Dāngyáng (EX-HN 2) ตาง แปลว่า เปน็ หยาง คือ หยางในยนิ หยาง ตําแหน่ง: เหนือแนวชายผมขอบหนา้ ผาก 1 ชุ่น ตรงกับรูม่านตาในแนวดง่ิ ข้อบ่งชี้: ปวดศีรษะ มึนงง ตาแดง ตาบวม เจบ็ ตา คัดจมกู วิธแี ทงเข็ม: แทงราบ 0.5-0.8 ช่นุ หรือลนยา 印堂ย่นิ ถาง Yìntáng (EX-HN 3) ยน่ิ แปลว่า ประทบั ตรา ถาง แปลว่า หอ้ งโถง ย่นิ ถาง เป็นชือ่ เรยี กตําแหนง่ น้ีตั้งแตโ่ บราณ ตาํ แหนง่ : ก่งึ กลางระหว่างหวั ควิ้ ทั้ง 2 ข้าง บนแนวเสน้ ตู ขอ้ บ่งชี้: ปวดหน้าผาก เวียนศีรษะ มึนงง เลือดกําเดาไหล น้ํามูกมาก ไซนัสอักเสบ นอนไม่หลับ ชกั ในเด็ก วิธแี ทงเข็ม: แทงราบ 0.3-0.5 ชนุ่ หรอื ลนยา หยฺวียาว 鱼腰 Yúyāo (EX-HN 4) หยวฺ ี แปลวา่ ปลา ยาว แปลวา่ เอว จดุ น้อี ยกู่ ่ึงกลางควิ้ ซ่งึ โคง้ เหมือนท้องปลา ตาํ แหน่ง: ก่ึงกลางค้ิว ตรงกับรมู ่านตาในแนวดงิ่
156 บทท่ี 3 จุดฝงั เข็มและเสน้ จิงล่ัว ขอ้ บง่ ชี้: ปวดขอบเบา้ ตา หนังตากระตุก หนังตาตก ตอ้ เนอ้ื ตอ้ กระจก ตาปวดบวมแดง วิธแี ทงเขม็ : แทงราบ 0.3-0.5 ชุ่น 太阳ท่ายหยาง Tàiyáng (EX-HN 5) ท่าย แปลว่า ใหญม่ าก หยาง คอื หยางในยินหยาง เปน็ แอง่ ใหญ่ที่สุดบนศรี ษะซ่งึ เปน็ หยาง ตําแหน่ง: ตรงรอยบุ๋มบริเวณขมับ ห่างจากจุดกึ่งกลางแนวเส้นเช่ือมระหว่างหางค้ิวกับหางตา ออกไปด้านข้างประมาณ 1 ชุ่น ขอ้ บ่งช้ี: ปวดศีรษะ ไมเกรน โรคตา ตาเข อัมพาตใบหนา้ วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 0.3-0.5 ชุน่ หรอื เจาะปลอ่ ยเลือด ภาพที่ 3.74 แสดงตําแหน่งจดุ พิเศษบนใบหนา้ และศีรษะ เอ่อร์เจยี น 耳尖 Ěrjiān (EX-HN 6) เออ่ ร์ แปลว่า หู เจยี น แปลว่า ยอดแหลม ตาํ แหนง่ : ตรงยอดรอยพับใบหตู ามแนวยาว ขอ้ บง่ ชี:้ ตาปวดบวมแดง เปน็ ไข้ ปวดศีรษะ เจ็บคอ วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 0.1-0.2 ชนุ่ หรือเจาะปล่อยเลือด 球后ฉิวโฮ่ว Qiúhòu (EX-HN 7) ฉวิ แปลวา่ ลูกบอล หมายถงึ ลูกตา โฮ่ว แปลว่า ดา้ นหลัง จดุ นีอ้ ย่คู ่อนไปทางหางตา ตําแหนง่ : รอยเวา้ ของขอบกระดูกเบ้าตาลา่ ง ตรงจุดแบง่ ระยะ 1/4 จากหางตาไปหวั ตา ขอ้ บ่งชี้: โรคตา วธิ ีแทงเขม็ : ดนั ลูกตาขึน้ บน แทงตรง 0.5-1 ชนุ่ ชิดขอบเบ้าตา หา้ มกระตนุ้ เขม็
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 157 上迎香ซา่ งหยิงเซยี ง Shàngyíngxiāng (EX-HN 8) ซ่าง แปลวา่ บน หยิงเซียง เป็นชอ่ื จุดฝงั เขม็ จุดน้อี ยู่เหนือหยงิ เซยี ง (LI 20) ตําแหน่ง: ตรงปลายบนของรอ่ งข้างจมูก ขอ้ บง่ ชี้: ปวดจมกู นํ้ามูกมาก ฝีบรเิ วณจมกู ไซนสั อกั เสบ วธิ แี ทงเขม็ : แทงราบ 0.3-0.5 ชุ่น ไปตามแนวสนั จมกู 内迎香เนย่ หยิงเซียง Nèiyíngxiāng (EX-HN 9) เน่ย แปลว่า ด้านใน หยิงเซียง เป็นชอ่ื จดุ ฝังเขม็ จุดน้อี ย่ดู า้ นในของหยิงเซียง (LI 20) ตาํ แหน่ง: อยูใ่ นโพรงจมกู ตรงรอยต่อระหว่างกระดูกอ่อนของปีกจมูกกับ nasal turbinate ตรงกับ ซา่ งหยิงเซยี ง (EX-HN 8) ทางด้านนอก ข้อบ่งช้ี: ตาปวดบวมแดง โรคจมกู เจ็บคอ โรคลมแดด เวียนศรี ษะ วิธีแทงเขม็ : เจาะปล่อยเลอื ดตรงเยื่อบจุ มกู 10-15 หยด หมายเหตุ: หา้ มใช้ในผ้ปู ่วยท่ีมีภาวะเลอื ดออกง่าย จฺวเ้ี ฉวฺ ียน 聚泉 Jùquán (EX-HN 10) จวฺ ้ี แปลว่า รวมกัน เฉฺวยี น แปลว่า นํ้าพุ ตาํ แหน่ง: ตรงจดุ กึง่ กลางของแนวเสน้ กลางบนล้ิน ขอ้ บง่ ช้ี: ลิน้ แขง็ ลิน้ อ่อนแรง การรบั รสลดลง หอบหดื วิธีแทงเข็ม: เจาะปล่อยเลอื ด 海泉หา่ ยเฉวฺ ียน Hǎiquán ( EX-HN 11) หา่ ย แปลว่า ทะเล เฉวฺ ียน แปลวา่ น้ําพุ ตําแหน่ง: ก่ึงกลางเสน้ รัง้ ล้นิ ข้อบ่งช้ี: เบาหวาน สะอึก คล่นื ไส้ อาเจียน ไข้สูง ปวดบวมล้นิ ลิน้ อ่อนแรง วธิ ีแทงเข็ม: เจาะปลอ่ ยเลือด จนิ จนิ 金津 Jīnjīn (EX-HN 12) - ยฺวี่เย่ 玉液 Yùyè (EX-HN 13) จนิ คาํ แรก แปลว่า ทอง จนิ คาํ หลัง แปลวา่ นํ้า ยฺวี่ แปลว่า หยก เย่ แปลวา่ ของเหลว ตําแหน่ง: บริเวณใต้ล้ิน ตรงฐานหลอดเลือดดําด้านซ้าย คือ จินจิน (EX-HN 12) ส่วนด้านขวา คอื ยวีเ่ ย่ (EX-HN 13) ข้อบ่งช้ี: แผลในช่องปาก ลิ้นบวม ลิ้นแข็ง เสียการสื่อความ เจ็บคอ อาเจียน อุจจาระร่วง เบาหวาน วธิ แี ทงเขม็ : เจาะปล่อยเลือดตรงหลอดเลอื ดดํา
158 บทท่ี 3 จดุ ฝงั เข็มและเสน้ จิงลั่ว 翳明อห้ี มงิ Yìmíng (EX-HN 14) อี้ แปลว่า มวั สิง่ บังตา หมิง แปลว่า สวา่ ง จุดนใี้ ช้รักษาโรคเก่ยี วกับการมองเห็น ตาํ แหน่ง: หลังอเ้ี ฟงิ (TE 17) 1 ชุ่น ข้อบง่ ช้ี: ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ นอนไม่หลับ โรคระบบจิตประสาท ตาบอดกลางคืน สายตาส้ัน สายตายาว ประสาทตาเสื่อม ต้อกระจกระยะแรก หูอือ้ หูตึง วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 0.5-0.8 ชนุ่ 颈百劳จ๋ิงปา่ ยหลาว Jǐngbǎiláo (EX-HN 15) จ่งิ แปลวา่ ต้นคอ ป่าย แปลวา่ รอ้ ย หลาว แปลว่า ลา้ จากการตรากตรําทาํ งาน ตําแหน่ง: เหนือตา้ จุย (GV 14) 2 ช่นุ และห่างออกไปตามแนวระนาบ 1 ชนุ่ ข้อบ่งช้ี: ปวดตึงต้นคอ วัณโรคต่อมน้ําเหลืองที่คอ ปวดเส้นประสาทท้ายทอย ไอ หอบ ไอกรน หลอดลมอกั เสบเรอื้ รงั วัณโรคปอด เหงอ่ื ออกงา่ ย เหงอื่ ออกขณะหลับ รอ้ นจากกระดูกเปน็ เวลา วิธีแทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1 ชนุ่ หรือลนยา 牵正เชียนเจ้งิ Qiānzhèng (EX-HN 16) เชียน แปลว่า จูง เจิ้ง แปลวา่ ตรง เชียนเจิ้ง แปลวา่ ดงึ ใหต้ รง ตาํ แหนง่ : บรเิ วณแก้ม หน้าตอ่ ปลายติ่งหู 0.5-1 ชุ่น ขอ้ บ่งช้ี: อมั พาตใบหน้า แผลที่ลนิ้ หรอื ปาก ปวดฟนั ลา่ ง วิธีแทงเข็ม: แทงเฉยี ง 0.5-1 ชุ่น 夹承浆เจ๋ียเฉงิ เจียง Jiachéngjiāng (EX-HN 17) เจย๋ี แปลว่า ขนาบ เฉงิ เจียง เปน็ ชื่อจดุ ฝังเขม็ จุดน้ีอย่ดู า้ นขา้ งเฉิงเจียง (CV 24) ตาํ แหนง่ : หา่ งจากเฉิงเจียง (CV 24) ออกไปด้านข้าง 1 ชุน่ ข้อบง่ ชี้: ปวดประสาทใบหนา้ ใบหนา้ เกรง็ กระตกุ อัมพาตใบหนา้ ปวดบวมเหงือก วธิ ีแทงเขม็ : แทงเฉียง 0.5-1 ชุ่น 上廉泉ซ่างเหลียนเฉฺวยี น Shàngliánquán (EX-HN 21) ซา่ ง แปลว่า ด้านบน เหลยี นเฉวฺ ยี น เป็นชื่อจดุ ฝังเขม็ จุดนี้อยู่เหนือเหลียนเฉวฺ ียน (CV 23) ตาํ แหน่ง: บนแนวเสน้ เร่นิ ใตค้ าง 1 ชนุ่ อยู่ระหว่างคางกบั กระดูก hyoid ขอ้ บ่งชี้: ล้ินแข็ง เสยี งแหบ พูดไม่ชัด เสยี การสอื่ ความ น้าํ ลายมาก กลนื ลาํ บาก เจ็บคอ ลิ้นเปน็ แผล วธิ ีแทงเขม็ : แทงเฉยี ง 0.8-1.2 ชนุ่ ปลายเขม็ ช้ไี ปทีโ่ คนลิน้ อานเหมียน 安眠 Ānmián (EX-HN 22) อาน แปลว่า สงบ ราบร่ืน เหมียน แปลวา่ นอนหลบั อานเหมียน แปลวา่ นอนหลับสบาย ตําแหนง่ : จุดกึ่งกลางของแนวเส้นเช่อื มระหวา่ งอ้เี ฟงิ (TE 17) กบั เฟงิ ฉอื (GB 20)
กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 159 ข้อบ่งชี้: นอนไม่หลบั เวียนศีรษะ ปวดศรี ษะ ใจส่ัน โรคจิตซึมเศรา้ คลุ้มคลั่ง วิธแี ทงเขม็ : แทงตรง 0.8-1 ชนุ่ เซวฺ ย่ี ยาเต่ียน 血压点 Xuèyādiǎn (EX-HN 32) เซวย่ี ยา แปลวา่ ความดนั โลหติ เต่ยี น แปลวา่ จุด ตําแหน่ง: จดุ ก่ึงกลางระหว่างปมุ่ กระดูกสันหลงั อกที่ 6 กบั 7 ห่างออกไปตามแนวระนาบ 2 ชนุ่ ขอ้ บง่ ชี้: ความดนั โลหติ สงู ความดนั โลหติ ต่าํ วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1 ชนุ่ หรือลนยา 2. จุดพเิ ศษบนหนา้ อกและทอ้ ง 子宫จ่อื กง Zǐgōng (EX-CA 1) จือ่ กง แปลว่า มดลกู ตาํ แหน่ง: ห่างจากจงจี๋ (CV 3) ตามแนวระนาบ 3 ชุ่น ข้อบ่งชี้: มดลูกหย่อน รอบเดือนผิดปกติ ปวดประจําเดือน ภาวะมีบุตรยาก ปวดหลังส่วนล่าง ไส้เล่ือน วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 0.8-1.2 ชุ่น 胃上เวย่ ซ่าง Wèishàng (EX-CA 4) เวย่ แปลวา่ กระเพาะอาหาร ซ่าง แปลว่า ดา้ นบน เหนือจุดน้ีเปน็ กระเพาะอาหาร ตาํ แหน่ง: หา่ งจากเซย่ี หวา่ น (CV 10) ตามแนวระนาบ 4 ช่นุ ข้อบง่ ชี้: กระเพาะอาหารหย่อน ปวดกระเพาะอาหาร ทอ้ งอดื วิธแี ทงเข็ม: แทงเฉียงไปทางสะดอื หรอื เทยี นซู (ST 25) ลึก 2-3 ชุ่น หรอื ลนยา ภาพท่ี 3.75 แสดงจดุ พเิ ศษบนหนา้ ทอ้ ง
160 บทที่ 3 จุดฝงั เขม็ และเส้นจิงล่วั 三角灸ซานเจ๋ียวจว่ิ Sānjiǎojiǔ (EX-CA 5) ซาน แปลว่า สาม เจีย่ ว แปลว่า มุม จ่ิว แปลวา่ ลนยา ตําแหน่ง: เป็นจุดคู่ซ้ายขวาท่ีมุมของฐานสามเหล่ียมด้านเท่า ซ่ึงมีความยาวเท่ากับระยะห่าง ระหวา่ งมมุ ปากของผู้ป่วย ยอดสามเหลี่ยมอยทู่ ส่ี ะดอื ฐานสามเหลี่ยมอยู่ในแนวระนาบ ข้อบ่งช้ี: ไสเ้ ลอื่ น ทอ้ งร้อง ปวดรอบสะดอื ภาวะมบี ตุ รยาก วธิ แี ทงเขม็ : ไม่ฝงั เขม็ ใหล้ นยา 5-7 จว้ ง ลีเ่ นย่ี วเสวฺ ีย 利尿穴 Lìniàoxué (EX-CA 6) ล่ี แปลวา่ สะดวก คลอ่ ง เนย่ี ว แปลวา่ ปสั สาวะ เสฺวยี แปลวา่ จุดฝงั เข็ม ตาํ แหนง่ : ใต้สะดอื 2.5 ช่นุ หรืออยูจ่ ดุ ก่ึงกลางระหว่างสะดือกบั ขอบบนกระดกู หวั หนา่ ว ข้อบ่งช้ี: ปัสสาวะขัด ปัสสาวะหยด ปัสสาวะไม่ออก ปัสสาวะเป็นเลือด ปวดท้อง อุจจาระร่วง มดลกู หยอ่ น กระเพาะอาหารหย่อน วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1 ชุ่น หรือลนยา ช่ีเหมนิ 气门 Qìmén (EX-CA 8) เหมิน แปลวา่ ประตู ชเ่ี หมนิ หมายถึง ประตูช่ี ตําแหน่ง: ห่างจากกฺวานหยวน (CV 4) ตามแนวระนาบ 3 ชุ่น ข้อบ่งชี้: ภาวะมีบตุ รยาก นํ้าคาวปลาไมห่ ยุด ประจําเดือนมากะปริดกะปรอย ปัสสาวะขดั ปวดท้องน้อย วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1 ชุ่น หรอื ลนยา ถีทวั 提托 Títuō (EX-CA 9) ถี แปลวา่ ดงึ ข้นึ ยก ทัว แปลว่า พยุง จดุ นีใ้ ชร้ กั ษาอวัยวะภายในหย่อน ตาํ แหน่ง: ห่างจากกฺวานหยวน (CV 4) ตามแนวระนาบ 4 ชนุ่ ข้อบ่งช้ี: มดลูกหย่อน ปวดประจาํ เดือน ไสเ้ ล่อื น ทอ้ งอดื ไตหย่อน วิธแี ทงเข็ม: แทงตรง 0.8-1.2 ชนุ่ หรือแทงเฉียงเขา้ หากลางลําตัว 3-4 ชนุ่ หรอื ลนยา 3. จุดพเิ ศษบนหลัง 定喘ตง้ิ ฉ่วน Dìngchuǎn (EX-B 1) ต้งิ แปลวา่ ระงบั ฉว่ น แปลว่า หอบ ตําแหน่ง: ห่างจากตา้ จุย (GV 14) ตามแนวระนาบ 0.5 ชนุ่ ข้อบง่ ช้ี: หอบหืด ไอ แนน่ หนา้ อก หายใจกระชน้ั ปวดตงึ ตน้ คอ ตกหมอน ปวดไหล่ วิธีแทงเขม็ : แทงตรง 0.5-0.8 ชุ่น หรอื ลนยา
กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 161 เจ๋ยี จี่ 夹脊 Jiájǐ (EX-B 2); ฮฺว่าถัวเจ๋ียจี่ 华佗夹脊 HuàtuóJiájǐ กเ็ รยี ก เจีย๋ แปลว่า ขนาบ จี่ แปลว่า กระดกู สันหลงั ตําแหน่ง: กลุ่มจุด 34 จุด อยู่ 2 ข้างตามแนวกระดูกสันหลัง ข้างละ 17 จุด แต่ละจุดอยู่ห่างจาก ขอบล่างของปุ่มกระดูกสันหลังตามแนวระนาบ 0.5 ชุ่น เริ่มตั้งแต่กระดูกสันหลังอกที่ 1 ถึงกระดูกสนั หลังเอวท่ี 5 ขอ้ บง่ ชี้: ขนึ้ กับตําแหนง่ (ตารางท่ี 4-1) วธิ แี ทงเขม็ : ตําแหน่งอกแทงเฉียง 0.5-1 ชุ่น ตําแหน่งเอวแทงตรง 1-1.5 ชุ่น อาจใช้เข็มผิวหนัง เคาะตามแนวหรือลนยา ตารางที่ 4-1 แสดงข้อบ่งช้ีจดุ เจย๋ี จี่ในตําแหนง่ ต่าง ๆ ตาํ แหน่งจดุ เจยี๋ จ่ี ขอ้ บ่งช้ี กระดูกสนั หลงั อกท่ี 1 ถึง 3 โรคของแขนและมอื กระดูกสนั หลงั อกท่ี 1 ถึง 8 โรคในทรวงอก กระดูกสนั หลังอกที่ 6 ถึงกระดูกสนั หลังเอวที่ 5 โรคในชอ่ งท้อง กระดูกสันหลงั เอวท่ี 1 ถงึ 5 โรคของขาและเท้า เว่ยหว่านเซ่ียซู 胃脘下俞 Wèiwǎnxiàshū (EX-B 3); อ๋ซี ู 胰俞 Yíshū ก็เรยี ก เวย่ หว่าน หมายถงึ กระเพาะอาหาร เซี่ย แปลว่า ดา้ นล่าง ซู แปลวา่ จุดฝงั เข็ม ตาํ แหน่ง: ใต้ปุ่มกระดูกสนั หลังอกท่ี 8 หา่ งออกไปตามแนวระนาบ 1.5 ชุน่ ขอ้ บ่งช้ี: เบาหวาน คอแห้ง ปวดกระเพาะอาหาร เจ็บหนา้ อก ปวดสขี ้าง วิธแี ทงเข็ม: แทงเฉยี ง 0.3-0.5 ชนุ่ หรือลนยา ผ่เี กิน 痞根 Pǐgēn (EX-B 4) ผี่ แปลว่า จกุ แนน่ เป็นกอ้ น เกนิ แปลวา่ ราก ตําแหน่ง: ใต้ปุ่มกระดูกสันหลังเอวที่ 1 ห่างออกไปตามแนวระนาบ 3.5 ชุน่ ขอ้ บง่ ช้ี: ตับมา้ มโต เป็นกอ้ นในทอ้ ง ปวดหลังสว่ นลา่ ง ไส้เลือ่ น วิธีแทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1 ชนุ่ หรือลนยา เซี่ยจือ้ ซอื่ 下志室 Xiàzhìshì (EX-B 5); เซย่ี จ๋ีซู 下极俞 Xiàjíshū ก็เรียก เซ่ีย แปลว่า ดา้ นล่าง จอี้ ซอ่ื เป็นช่ือจดุ ฝังเข็ม จุดนีอ้ ยู่ตํ่ากว่าจอ้ื ซ่อื (BL 52) ตําแหน่ง: ใตป้ มุ่ กระดกู สนั หลงั เอวที่ 3 บนแนวเส้นตู ข้อบง่ ชี้: ปวดหลังส่วนลา่ ง อุจจาระร่วง ปสั สาวะขัด กล้นั ปสั สาวะไมไ่ ด้ ขาอ่อนแรง วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1 ชุ่น หรือลนยา
162 บทที่ 3 จุดฝงั เข็มและเสน้ จิงลว่ั ยาวอี๋ 腰宜 Yāoyí (EX-B 6) ยาว แปลว่า เอว อ๋ี แปลว่า เหมาะสม ตําแหน่ง: ใต้ปุ่มกระดกู สนั หลงั เอวที่ 4 ห่างออกไปตามแนวระนาบ 3 ชุ่น ข้อบ่งชี้: ปวดหลงั ส่วนลา่ ง รอบเดอื นผิดปกติ วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 0.5-0.7 ชุน่ หรอื ลนยา ยาวเหย่ยี น 腰眼 Yāoyǎn (EX-B 7) ยาว แปลว่า เอว เหยี่ยน แปลว่า ดวงตา จุดนี้อยู่บนแอ่งบริเวณเอว 2 ข้าง เปรียบเสมือนดวงตา ของเอว ตําแหน่ง: ใต้ปุ่มกระดูกสันหลังเอวที่ 4 ห่างออกไปตามแนวระนาบ 3.5-4 ชุ่น เมื่อนอนคว่ําหน้า จะเปน็ แอง่ ข้อบ่งชี้: ปวดหลงั สว่ นลา่ ง ปัสสาวะบอ่ ย รอบเดอื นผดิ ปกติ ตกขาว ร่างกายทรุดโทรม วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 0.8-1.2 ชุน่ หรอื ลนยา ภาพที่ 3.76 แสดงจุดพิเศษบนหลงั
กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 163 十七椎สือชจี ุย Shíqīzhuī (EX-B 8) สือชี แปลว่า สิบเจ็ด จุย แปลว่า กระดูกสันหลัง เป็นกระดูกสันหลังช้ินท่ี 17 นับจากกระดูก สันหลังอกที่ 1 ตาํ แหน่ง: ใต้ปุ่มกระดกู สันหลงั เอวที่ 5 บนแนวเส้นตู ข้อบ่งชี้: ปวดหลัง ปวดก้นกบ ปวดต้นขา ปวดเอวร้าวลงขา ขาอ่อนแรง ประจําเดือนมามาก ประจําเดือนมากะปรดิ กะปรอย รอบเดอื นผดิ ปกติ ปวดประจําเดอื น วิธแี ทงเข็ม: แทงตรงหรอื แทงเฉยี งขนึ้ บน 0.5-1 ช่นุ หรอื ลนยา ยาวฉี 腰奇 Yāoqí (EX-B 9) ยาว แปลว่า เอว ฉี แปลว่า แปลก พเิ ศษ ตาํ แหน่ง: เหนอื ปลายกระดูกก้นกบ 2 ชนุ่ บนแนวเสน้ ตู ข้อบง่ ชี้: โรคลมชกั ปวดศรี ษะ นอนไม่หลบั ทอ้ งผกู วธิ แี ทงเขม็ : แทงราบปลายเข็มช้ขี ้ึนบน 1-2 ชุ่น หรือลนยา จวฺ เ้ี ชวฺ ่ียซู 巨阙俞 Jùquèshū (EX-B 12) จฺว้ี แปลว่า ใหญ่มาก เชฺว่ีย แปลว่า ประตูวัง ซู แปลว่า จุด จุดนี้อยู่กึ่งกลางของจุดเป้ยซูท่ีช่ี เช่ือมตอ่ กบั หวั ใจซง่ึ เปรยี บเปน็ จักรพรรดิ ตาํ แหนง่ : ตรงรอยบุ๋มระหวา่ งปุ่มกระดูกสันหลังอกที่ 4 กบั 5 บนแนวเสน้ ตู ขอ้ บ่งช้ี: เจบ็ หน้าอก ปวดทรวงอก ปวดสขี ้าง ปวดไหล่ นอนไมห่ ลับ ไอ หอบหดื วธิ แี ทงเข็ม: แทงเฉยี ง 0.5-1 ชุน่ หรือลนยา 4. จุดพเิ ศษบนแขน 肘尖โจว่ เจียน Zhǒujiān (EX-UE 1) โจว่ แปลวา่ ข้อศอก เจยี น แปลวา่ ปลายแหลม ตําแหน่ง: ปลายศอกขณะงอข้อศอก ข้อบง่ ช้ี: วัณโรคต่อมนํา้ เหลอื งท่ีคอ ฝีหนอง ฝีฝักบวั ไสต้ ิ่งอักเสบ อหวิ าตกโรค วธิ ีแทงเขม็ : ลนยา 7-14 จว้ ง เออ้ ร์ป๋าย 二白 Èrbái (EX-UE 2) เออ้ ร์ แปลวา่ สอง ปา๋ ย แปลว่า ขาว ตําแหน่ง: เป็นจุดคู่ เหนือแนวรอยพับข้อมือด้านใน 4 ชุ่น อยู่ชิดขอบนอกและขอบในของเอ็น flexor carpi radialis ข้อบ่งชี้: รดิ สดี วงทวาร ไส้ตรงหย่อน ปวดแขน ปวดทรวงอก ปวดสีขา้ ง วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 0.5-0.8 ชุน่
164 บทที่ 3 จดุ ฝังเขม็ และเส้นจิงลั่ว ภาพท่ี 3.77 แสดงจดุ พเิ ศษบนแขน 中泉จงเฉฺวยี น Zhōngquán (EX-UE 3) จง แปลว่า ตรงกลาง เฉวฺ ียน แปลว่า นํ้าพุ ตําแหน่ง: บนแนวรอยพับข้อมือด้านนอก ตรงขอบของเอ็น extensor digitorum communis ดา้ น radial หรอื ตรงรอยบุม๋ ระหวา่ งหยางซี (LI 5) กบั หยางฉอื (TE 4) ในท่ากระดกข้อมือ ข้อบ่งชี้: หอบหืด ไอเป็นเลือด เจ็บหน้าอก ปวดทรวงอก ปวดสีข้าง ปวดท้อง แน่นท้อง ปวดกระเพาะอาหาร ร้อนฝ่ามอื วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 0.3-0.5 ช่นุ หรือลนยา 中魁จงขุย Zhōngkuí (EX-UE 4) จง แปลวา่ ตรงกลาง ขยุ แปลวา่ ตําแหนง่ สงู สดุ เม่ือกํามือตําแหนง่ นอ้ี ยู่ตรงกลางและสูงทส่ี ดุ ตาํ แหน่ง: จดุ กง่ึ กลางขอ้ proximal interphalangeal ของนิว้ กลางดา้ นหลังมือ ข้อบง่ ช้ี: คลืน่ ไส้ อาเจียน กรดไหลยอ้ น สะอกึ เบือ่ อาหาร กลนื ลาํ บาก โรคดา่ งขาว เลือดกาํ เดาไหล วิธแี ทงเข็ม: แทงตรง 0.2-0.3 ชุ่น หรอื ลนยา 5-7 จ้วง 大骨空ต้ากูค่ ง Dàgǔkōng (EX-UE 5) ต้า แปลว่า ใหญ่ กู่ แปลว่า กระดูก คง แปลว่า ว่าง หมายถึง ช่องว่างระหวา่ งกระดกู ตําแหน่ง: กึง่ กลางขอ้ interphalangeal ของนิ้วหัวแม่มอื ด้านหลงั มอื ขอ้ บ่งช้ี: ปวดตา ตอ้ เนอ้ื ตอ้ กระจก อาเจียน อจุ จาระรว่ ง เลือดกําเดาไหล วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 0.2-0.3 ช่นุ หรือลนยา 5-7 จ้วง
กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 165 小骨空เสียวก่คู ง Xiǎogǔkōng (EX-UE 6) เส่ียว แปลวา่ เลก็ กู่ แปลวา่ กระดูก คง แปลว่า ว่าง หมายถงึ ช่องวา่ งระหวา่ งกระดกู ตําแหน่ง: กงึ่ กลางข้อ proximal interphalangeal ของนิ้วกอ้ ยดา้ นหลงั มือ ข้อบ่งชี้: ปวดหลงั เฉยี บพลัน ตาปวดบวมแดง เจบ็ คอ ปวดข้อน้ิวมือ วิธแี ทงเข็ม: แทงตรง 0.2-0.3 ชนุ่ หรือลนยา 5-7 จ้วง ภาพท่ี 3.78 แสดงจดุ พเิ ศษบนมอื 腰痛点ยาวท่งเต่ียน Yāotòngdiǎn (EX-UE 7) ยาว แปลวา่ เอว ทง่ แปลว่า ปวด เตย่ี น แปลว่า จุด ตาํ แหน่ง: เป็นจุดคู่บนหลังมือ อยู่ระหว่างกระดูกฝ่ามือท่ี 2 กับ 3 เป็น 1 จุด และระหว่างกระดูก ฝ่ามือที่ 4 กับ 5 อีก 1 จุด โดยอยู่กง่ึ กลางระหวา่ งรอยพับขอ้ มอื กับข้อสนั หมัด ข้อบง่ ช้ี: ปวดหลังเฉยี บพลนั ปวดศีรษะ ชกั ในเด็ก ปวดบวมแดงหลงั มือ วธิ แี ทงเข็ม: แทงเฉยี ง 0.5-0.8 ชุ่น ปลายเขม็ ทงั้ สองชี้เข้ากลางฝ่ามือ 外劳宫 落枕วา่ ยหลาวกง Wàiláogōng (EX-UE 8); ล่าวเจ่ิน Laòzhěn กเ็ รยี ก วา่ ย แปลว่า ดา้ นนอก หลาวกง เป็นช่ือจดุ ฝังเข็ม จุดนอี้ ยดู่ า้ นนอกต่อหลาวกง (PC 8) ตําแหน่ง: ระหวา่ งกระดูกฝ่ามือที่ 2 กบั 3 ด้านหลังมอื เหนือข้อสนั หมัด 0.5 ช่นุ ข้อบ่งชี้: ตกหมอน ปวดมือ ปวดแขน ปวดกระเพาะอาหาร วิธีแทงเขม็ : แทงตรงหรอื เฉียง 0.5-0.8 ชุ่น
166 บทที่ 3 จดุ ฝงั เขม็ และเสน้ จงิ ลั่ว ปาเสฺย 八邪 Bāxié (EX-UE 9) ปา แปลวา่ แปด เสฺย หมายถึง เสยฺ ชี่ ตาํ แหน่ง: กึ่งกลางง่ามนว้ิ มือ ตรงรอยต่อสีผิว ขา้ งละ 4 จุด รวม 2 ขา้ ง เปน็ 8 จดุ ขอ้ บง่ ช้ี: ไขส้ งู ชานวิ้ มือ นิ้วมือเกร็ง นวิ้ มอื หดร้ัง ปวดบวมหลังมือ ปวดตา หงดุ หงดิ บวมจากงกู ดั วิธีแทงเข็ม: แทงเฉียง 0.5-0.8 ชุ่น หรอื เจาะปลอ่ ยเลอื ด ซื่อเฟิ่ง 四缝 Sìfèng (EX-UE 10) ซื่อ แปลวา่ ส่ี เฟิง่ แปลว่า ช่องแคบ หมายถงึ ช่องระหว่างกระดกู ตําแหน่ง: ตรงจุดกึ่งกลางข้อ proximal interphalangeal ของน้ิวช้ี นิ้วกลาง นิ้วนาง และน้ิวก้อย ด้านฝา่ มือ รวม 4 จุด ขอ้ บ่งช้ี: โรคตานขโมย ไอกรน วธิ แี ทงเข็ม: เจาะปลอ่ ยเลือดหรือบีบเค้นใหน้ ํา้ เหลอื งออกเลก็ น้อย 十宣สอื เซวฺ ยี น Shíxuān (EX-UE 11) สือ แปลว่า สิบ เซวฺ ยี น แปลวา่ ระบาย ตาํ แหน่ง: ตรงปลายน้วิ มือทงั้ สิบ ห่างจากปลายเล็บประมาณ 0.1 ชุ่น รวม 10 จุด ข้อบง่ ชี้: โรคหลอดเลือดสมอง หมดสติ โรคลมชกั ไขส้ ูง เจ็บคอ ชักในเดก็ ชาปลายนวิ้ มอื วธิ แี ทงเขม็ : แทงเขม็ ตนื้ 0.1-0.2 ชุน่ หรือเจาะปลอ่ ยเลอื ด 肩前 肩内陵เจยี นเฉียน Jiānqián (EX-UE 12); เจียนเน่ยหลิง Jiānnèilíng ก็เรยี ก เจยี น แปลวา่ ไหล่ เฉยี น แปลวา่ ดา้ นหนา้ ตําแหนง่ : ตรงจุดกึง่ กลางระหว่างรอยพบั รกั แร้ด้านหน้ากบั เจียนหยฺวี (LI 15) ข้อบง่ ชี้: ปวดไหล่ ปวดแขน ยกแขนไมข่ ึ้น แขนอ่อนแรง ไหล่ตดิ วธิ ีแทงเข็ม: แทงตรง 0.8-1.2 ช่นุ หรือลนยา 臂中ปจี้ ง Bìzhōng (EX-UE 13) ปี้ แปลว่า แขน จง แปลวา่ ตรงกลาง ตําแหน่ง: ตรงจุดกึ่งกลางระหว่างแนวรอยพับข้อมือกับรอยพับข้อศอก อยู่ระหว่างเอ็น palmaris longus กับ flexor carpi radialis ข้อบ่งช้ี: แขนอ่อนแรง แขนหดเกร็ง ปวดแขน เต้านมอักเสบ นํ้านมไม่ไหล เจ็บหน้าอก ปวดสีข้าง ตะครวิ ขา ขาสน่ั โรคฮสี ทเี รยี วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 0.5-0.8 ชุ่น หรอื ลนยา
กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 167 5. จดุ พเิ ศษบนขา 髋骨คฺวานกู่ Kuāngǔ (EX-LE 1) ควฺ าน แปลวา่ เชงิ กราน กู่ แปลวา่ กระดกู ตําแหน่ง: เป็นจุดคู่ อยู่ 2 ขา้ งซ้ายขวาของเหลียงชิว (ST 34) โดยห่างออกไปข้างละ 1.5 ชุ่น ขอ้ บ่งช้ี: ปวดเขา่ ปวดขา ขาอ่อนแรง ปวดบวมขอ้ เข่า ปวดเทา้ วิธีแทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1.2 ชุน่ หรอื แทงราบชไ้ี ปที่หวั เขา่ หรือลนยา 鹤顶เฮ่อติ่ง Hèdǐng (EX-LE 2) เฮ่อ แปลว่า นกกระเรียน ติ่ง แปลว่า ยอด จุดน้ีใช้รักษาข้อเข่าเสื่อมที่โบราณเปรียบเป็นข้อเข่า นกกระเรยี น ตาํ แหนง่ : ตรงรอ่ งอยู่กงึ่ กลางของฐานกระดูกสะบา้ ขอ้ บง่ ชี้: ปวดเข่า ขาออ่ นแรง เหนบ็ ชา วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 0.5-0.8 ชุน่ หรือลนยา ภาพท่ี 3.79 แสดงจดุ พเิ ศษบนขา 百虫窝ปา่ ยฉงวอ Bǎichóngwō (EX-LE 3) ป่าย แปลว่า ร้อย ฉง แปลว่า หนอน วอ แปลว่า รัง จุดนี้ใช้รักษาโรคผิวหนังท่ีมีอาการคัน เหมอื นถกู หนอนไต่ ตําแหนง่ : เหนือฐานกระดูกสะบ้าด้านใน 3 ชนุ่ หรอื อยูเ่ หนอื เซฺวย่ี ห่าย (SP 10) 1 ชนุ่ ขอ้ บ่งช้ี: แผลฝสี ว่ นที่ตํา่ กวา่ ระดบั สะดือ หัดเยอรมนั ผวิ หนังอักเสบ โรคพยาธิ วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 0.8-1.2 ช่นุ หรือลนยา
168 บทท่ี 3 จุดฝงั เขม็ และเส้นจิงลั่ว เน่ยซีเหยยี่ น 内膝眼 Nèixīyǎn (EX-LE 4) เน่ย แปลวา่ ด้านใน ซี แปลวา่ เข่า เหยีย่ น แปลวา่ ตา ตําแหนง่ : รอยบมุ๋ ดา้ นในตอ่ เอ็นสะบา้ ข้อบง่ ช้ี: ปวดบวมขอ้ เขา่ ปวดขา ขาออ่ นแรง ขาบวม วิธแี ทงเข็ม: แทงตรงหรือแทงเฉยี งปลายเขม็ ชีไ้ ปกลางเขา่ 0.5-1 ชุ่น หรือลนยา ซีเหย่ียน 膝眼 Xīyǎn (EX-LE 5) ซี แปลวา่ เข่า เหยี่ยน แปลวา่ ตา ตาํ แหน่ง: เป็นจดุ คู่ ตรงรอยบุ๋ม 2 ขา้ งของเอน็ สะบา้ ดา้ นใน คือ เนย่ ซเี หย่ยี น (EX-LE 4) ดา้ นนอก คอื ว่ายซเี หยีย่ นหรอื ตปู๋ ๋ี (ST 35) ข้อบง่ ช้ี: ปวดบวมขอ้ เขา่ ปวดขา ขาออ่ นแรง ขาบวม วิธแี ทงเข็ม: แทงตรงหรอื แทงเฉยี งปลายเขม็ ชกี้ ลางเขา่ 0.5-1 ชุน่ หรอื ลนยา 胆囊ต่านหนาง Dǎnnáng (EX-LE 6) ตา่ นหนา่ ง แปลว่า ถุงน้ําดี ตาํ แหน่ง: ใต้หยางหลงิ เฉวฺ ียน (GB 34) 2 ชนุ่ ขอ้ บ่งช้ี: ถุงน้าํ ดอี กั เสบ นว่ิ ในถุงนํ้าดี พยาธไิ ส้เดือนในทางเดินน้ําดี ขาลีบ ขาอ่อนแรง ชาขา วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 0.8-1.2 ชุ่น หรอื ลนยา หลานเหวย่ 阑尾 Lánwěi (EX-LE 7) หลานเหวย่ แปลวา่ ไสต้ ิ่ง ตาํ แหน่ง: ใตจ้ ๋ซู านหลี่ (ST 36) 2 ชนุ่ ขอ้ บง่ ชี้: ไสต้ ิ่งอักเสบ อาหารไมย่ ่อย ขาออ่ นแรง วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 1-1.2 ชุ่น หรอื ลนยา 内踝尖เน่ยหฺวายเจยี น Nèihuáijiān (EX-LE 8) เนย่ แปลวา่ ด้านใน หวฺ าย แปลว่า ข้อเท้า เจยี น แปลว่า ยอดแหลม ตาํ แหน่ง: ยอดตาตุม่ ใน ขอ้ บ่งชี้: ตะครวิ เหตุอจุ จาระร่วง พัฒนาการทางการพดู ชา้ ขาหดเกรง็ เข้าดา้ นใน ปวดฟัน เจ็บคอ ทอนซลิ อกั เสบ วิธแี ทงเขม็ : เจาะปลอ่ ยเลือดหรอื ลนยา 5-7 จว้ ง
กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 169 外踝尖วา่ ยหฺวายเจียน Wàihuáijiān (EX-LE 9) ว่าย แปลวา่ ด้านนอก หฺวาย แปลวา่ ขอ้ เทา้ เจียน แปลว่า ยอดแหลม ตําแหน่ง: ยอดตาตุ่มนอก ขอ้ บ่งช้ี: ปวดฟนั นว้ิ เท้าหดเกร็ง โรคเกา๊ ท์ โรคหนองใน ปวดบวมเทา้ ตะคริวขา วิธแี ทงเขม็ : เจาะปลอ่ ยเลอื ดหรือลนยา 八风ปาเฟิง Bāfēng (EX-LE 10) ปา แปลว่า แปด เฟิง แปลวา่ ลม ตาํ แหน่ง: ก่งึ กลางงา่ มนิ้วเท้า ตรงรอยตอ่ สีผิว ข้างละ 4 จุด รวม 2 ขา้ ง เป็น 8 จดุ ขอ้ บง่ ชี้: เหนบ็ ชา ปวดนิว้ เท้า ปวดบวมหลงั เท้า งกู ัด วิธีแทงเขม็ : แทงเฉียงปลายเข็มช้เี ขา้ ฝา่ เทา้ 0.5-0.8 ชุ่น หรือเจาะปล่อยเลอื ด ตู๋ยิน 独阴 Dúyīn (EX-LE 11) ตู๋ แปลว่า เดย่ี ว ยนิ คอื ยนิ ในยนิ หยาง ตําแหน่ง: ก่งึ กลางขอ้ distal interphalangeal ของน้ิวเทา้ ท่ี 2 ดา้ นฝ่าเทา้ ข้อบ่งช้ี: รอบเดือนผิดปกติ คลอดยาก รกค้าง ปวดเค้นหัวใจ ปวดทรวงอก ปวดสีข้าง อาเจียน อาเจียนเปน็ เลือด ไสเ้ ลือ่ น โรคลมชัก วิธแี ทงเขม็ : แทงตรง 0.1-0.2 ชุ่น หรือลนยา ขอ้ ควรระวงั : ห้ามใช้ในสตรีตัง้ ครรภ์ 气端ช่ตี วน Qìduān (EX-LE 12) ตวน แปลวา่ ปลาย ช่ีตวน แปลว่า ปลายสดุ ทช่ี ่ีไปถึง ตําแหน่ง: ตรงปลายนวิ้ เท้า หา่ งจากปลายเลบ็ 0.1 ชุ่น ขา้ งละ 5 จดุ รวม 2 ข้าง เปน็ 10 จุด ข้อบง่ ชี้: โรคหลอดเลือดสมอง ชาน้วิ เทา้ ปวดบวมแดงหลังเท้า วิธีแทงเขม็ : แทงตรง 0.1-2 ช่นุ หรือเจาะปล่อยเลือด 环中หวฺ านจง Huánzhōng (EX-LE 13) หฺวาน แปลว่า วงเวยี น จง แปลวา่ ตรงกลาง ตําแหน่ง: กึง่ กลางระหวา่ งหวฺ านเท่ียว (GB 30) กับยาวซู (GV 2) ข้อบ่งช้ี: ปวดเอวร้าวลงขา ขาออ่ นแรง ริดสดี วงทวาร ปวดสะโพก วธิ แี ทงเข็ม: แทงราบปลายเข็มชี้ขนึ้ บน 2-2.5 ชนุ่ หรือลนยา
บทที่ 4 เทคนิคการฝงั เขม็ Acupuncture technics การฝังเข็ม เป็นวิธีการรักษา ฟ้ืนฟูสุขภาพ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โดยการแทงเข็ม ผ่านผิวหนังเข้าไปตําแหน่งท่ีเป็นจุดเฉพาะของร่างกาย เป็นการปรับสมดุลให้อวัยวะและระบบต่างๆ ของร่างกายกลับมาทํางานได้เป็นปกติ ภายใต้หลักการแพทย์แผนจีนท่ีว่า “ร่างกายมีความสามารถ ในการฟื้นสภาพตนเอง” ปัจจุบันมีการใช้ร่วมกับเทคนิคอื่นๆ เช่น การนวดกดจุด การลนยา การครอบกระปุก การกระตุ้นไฟฟ้า เปน็ ต้น เพอื่ เพิม่ ประสทิ ธิผลของการรักษา การฝังเข็มให้ได้ผลดีต้องอาศัยเทคนิคตามขั้นตอนต่างๆ ต้ังแต่การจับเข็ม การแทงเข็ม ผ่านผิวหนัง จนกระท่ังการถอนเข็ม ผู้รักษาจําเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับเข็มและอุปกรณ์ฝังเข็ม เป็นอย่างดี รวมทั้งข้อบ่งชี้ ข้อห้าม วิธีการใช้ และเทคนิคต่างๆ เพื่อให้ได้ผลในการรักษาโรค และหลีกเลย่ี งภาวะแทรกซ้อน ประเภทของเข็ม การฝังเข็มมีการคิดค้นและพัฒนามาหลายพันปี เข็มแต่ละประเภทได้ถูกปรับเปลี่ยนไป ตามความเหมาะสมและความเจริญของยุคสมัย จากเข็มหิน เข็มกระดูก เป็นเข็มโลหะประเภท ต่างๆ และมีการพัฒนารปู ลักษณใ์ หเ้ หมาะสมกับการใชง้ านมากข้นึ เร่ือยๆ เข็มท่ีนิยมใช้ในปัจจุบันมี 5 ชนิด คือ เข็มใบสน เข็มสามเหล่ียม เข็มผิวหนัง เข็มกด และเขม็ ไฟ 1. เข็มใบสน (Filiform needle) (毫针) เป็นเข็มท่ีนิยมใช้มากท่ีสุด ตัวเข็มมีลักษณะกลมยาวคล้ายใบสน ความยาวอยู่ระหว่าง 15–115 มม. ส่วนใหญ่ทําด้วยเหล็กปลอดสนิม มีความทนทาน ยืดหยุ่น และไม่เปราะหักง่าย บางประเภททาํ ด้วยเงนิ หรือทอง สว่ นประกอบของเข็ม ปลายเขม็ (tip) คอื สว่ นปลายสุดของเข็ม มีลักษณะแหลมคม ไม่เป็นเง่ียง เป็นส่วนท่ีใช้แทงนํา ผา่ นผวิ หนงั
172 บทท่ี 4 เทคนิคการฝงั เข็ม ตัวเข็ม (body) คือ ส่วนระหว่างปลายเข็มกับโคนเข็ม มีลักษณะเป็นแท่งกลมตรงผิวเรียบ เป็นส่วนที่แทงผ่านเข้าร่างกาย เป็นส่วนที่ใช้วัดเส้นผ่าศูนย์กลางกับความยาวของเข็ม คือ ต้ังแต่ปลายเข็มถึงโคนเข็ม โคนเข็ม (root) คือ สว่ นรอยตอ่ ระหวา่ งดา้ มเข็มกบั ตวั เขม็ เปน็ ส่วนที่งอและหักงา่ ยท่ีสุด ด้ามเข็ม (handle) คือ ส่วนระหว่างโคนเข็มกับหัวเข็ม ถูกพันด้วยลวดโลหะหรือวัสดุอ่ืนๆ ทําใหม้ ขี นาดใหญก่ วา่ ตวั เข็ม เพื่อความสะดวกในการจับเขม็ ป้องกันไม่ให้เข็มลื่นหลุดเข้าร่างกาย ขณะคาเขม็ และใชต้ ดิ อุปกรณเ์ สริมการฝังเข็ม ได้แก่ เครื่องกระตุน้ ไฟฟา้ โกฐอ้ายเยส่ าํ หรับลนยา หัวเข็ม (tail) คือ ส่วนปลายสุดด้านตรงข้ามกับปลายเข็มหรือส่วนปลายของด้ามเข็ม มักทาํ เป็นรูกลมเล็กๆ ใช้เป็นจดุ สังเกตองศาในการหมนุ เข็ม ภาพท่ี 4.1 เขม็ ใบสน ขนาดของเขม็ ใช้ # เป็นสัญลักษณ์ โดยวัดจากเส้นผ่าศูนย์กลางกับความยาวของตัวเข็ม แสดงตัวเลขเป็น เส้นผ่าศูนย์กลาง x ความยาว หน่วยท่ีใช้มี 2 ระบบคอื 1. ระบบขนาด (gauge) ใช้เส้นผ่าศูนย์กลางเป็นเบอร์ x ความยาวเป็นชุ่น เบอร์ของเส้นผ่าศูนย์กลาง ท่ัวๆ ไป คือ 26-35 ส่วนความยาวทีใ่ ช้บ่อย คอื 1-3 ช่นุ (25-75 มม.) เช่น #32 x 1 เป็นต้น 2. ระบบเมตรกิ เปน็ มิลลิเมตร เชน่ 0.25 มม. x 25 มม. เป็นตน้ ตาราง 4.1 เปรยี บเทยี บความยาวของตัวเขม็ ระหวา่ งหนว่ ยเปน็ ชนุ่ กบั มิลลิเมตร (มม.) หน่วยเป็นชุ่น 0.5 1 1.5 2 2.5 3 4 4.5 5 6 หน่วยเปน็ มม. 15 25 40 50 65 75 100 115 125 150 ตาราง 4.2 เปรียบเทยี บเสน้ ผา่ ศนู ย์กลางของตัวเข็มระหวา่ งหน่วยเปน็ เบอร์กับมลิ ลเิ มตร (มม.) เบอร์เขม็ 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 0.22 เส้นผา่ ศนู ยก์ ลาง 0.45 0.42 0.38 0.34 0.32 0.30 0.28 0.26 0.23 (มม.)
กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 173 การเลือกเข็ม เข็มใหม่ต้องบรรจุอยู่ในภาชนะปลอดเช้ือเข็ม ท้ังเล่มต้องไม่คดงอ โดยเฉพาะตรงโคนเข็ม ซึ่งเป็นส่วนที่หักง่าย ตัวเข็มกลม ผิวเรียบ มีความยืดหยุ่น สามารถโค้งงอและคืนสภาพได้ดี ปลายเข็มแหลมคมไม่เป็นเง่ียงซ่งึ อาจเก่ยี วทําลายเนื้อเยอ่ื ขณะแทงเข็มได้ การเลือกขนาดและความยาวเข็มขึ้นกับตําแหน่งของร่างกาย สภาพร่างกาย เทคนิค การแทงเข็ม และผลการวินิจฉัยแยกภาวะโรค เช่น ตําแหน่งที่มีกล้ามเนื้อหนา ได้แก่ แขนขา สะโพก แผ่นหลังส่วนเอว และการแทงจากตําแหน่งหน่ึงชี้ไปยังอีกตําแหน่งหนึ่ง จะเลือกใช้เข็มยาว ส่วนตําแหน่งที่มีกล้ามเนื้อบาง ได้แก่ ศีรษะใบหน้า ทรวงอก แผ่นหลังส่วนอกและบ่า หรือมีอวัยวะสําคัญภายใน จะเลือกใช้เข็มสั้น ผู้ป่วยภาวะแกร่ง ชายฉกรรจ์ และวัยรุ่น จะเลือกใช้เข็มขนาดใหญ่ ส่วนผู้ป่วยภาวะพร่อง เด็ก วัยชรา และการแทงบริเวณเบ้าตา หรอื ใบหน้า จะเลอื กใชเ้ ข็มขนาดเลก็ เป็นต้น มมุ และความลกึ ในการแทงเข็ม มุมและระดับความลึกที่เหมาะสมในการแทงเข็มขึ้นกับปัจจัยหลายอย่าง ได้แก่ ตาํ แหน่งจุดฝงั เข็ม เป้าประสงค์ของการฝังเข็ม และรปู รา่ งผู้ป่วย 1.มุมในการแทงเขม็ มมุ ในการแทงเข็ม หมายถึง มุมระหว่างตัวเข็มกับผิวหนัง แบ่งมุมในการแทงเข็มเป็น 3 ระดับ ได้แก่ แทงตรง แทงเฉียง และแทงราบ โดยท่ัวไปการแทงลึกมักจะใช้วิธีแทงตรง ส่วนการแทงตื้น มักจะใช้วิธีแทงเฉียงหรือแทงราบ ภาพท่ี 4.2 มมุ ในการแทงเข็ม
174 บทที่ 4 เทคนิคการฝงั เข็ม แทงตรง หมายถงึ การแทงเข็มให้ตัวเข็มทํามุมกับผิวหนังเป็นมุมฉากหรือ 90 องศา จุดฝังเข็ม ส่วนใหญ่ใชก้ ารแทงตรง แทงเฉียง หมายถงึ การแทงเขม็ ให้ตวั เข็มทํามุมกับผิวหนังประมาณ 45 องศา เหมาะสําหรับ จุดที่อยู่ตื้นหรือมีกล้ามเนื้อบาง จุดที่เสี่ยงจะเป็นอันตรายต่ออวัยวะภายใน เช่น บริเวณหน้าอก แผน่ หลังส่วนอก เปน็ ตน้ หรอื เพื่อหลบหลีกหลอดเลือดและแผลเป็น แทงราบ หมายถึง การแทงเข็มให้ตัวเข็มทํามุมกับผิวหนังประมาณ 15 องศา เหมาะสําหรับ จุดที่อยู่ต้ืนหรือมีกล้ามเนื้อบางมาก เช่น บริเวณกะโหลกศรี ษะ เป็นต้น กรณจี ะเปล่ียนมมุ เขม็ ให้ถอยเขม็ ถงึ ระดับใตผ้ วิ หนงั แล้วเปลย่ี นมุมแทงใหม่ โดยไม่ต้อง ถอนเขม็ ออกมา 2. ความลึกของการแทงเขม็ ความลึกที่เหมาะสม คือ ความลึกที่เข็มสามารถกระตุ้นให้เต๋อชี่โดยไม่เป็นอันตราย ต่อเนื้อเย่อื หรืออวยั วะภายใน ความลึกของการแทงเขม็ ข้ึนกบั ปจั จัยหลายอย่างดงั ต่อไปนี้ - ตําแหน่งจุดฝังเข็ม จุดบริเวณศีรษะและใบหน้าจะแทงเข็มตื้นกว่าจุดตามลําตัวและแขนขา บริเวณใบหนา้ จะแทงเข็มลกึ ประมาณ 0.5-1 ซม. บรเิ วณหลังหรือแขนขาจะแทงลึกประมาณ 1-3 ซม. บริเวณสะโพกอาจแทงลกึ ถงึ 10 ซม. โดยต้องเหลือส่วนตวั เข็มให้พน้ ผวิ หนงั ประมาณ 1-2 ซม. - รูปร่างผูป้ ่วย ผู้ท่ีรูปร่างอว้ น ชน้ั ไขมนั ใต้ผิวหนังหนา ตอ้ งแทงเข็มให้ลกึ กว่าผู้ที่รปู รา่ งผอม - พยาธิสภาพของผู้ป่วย ผู้ที่มีสภาพร่างกายอ่อนแอ ชี่และเลือดพร่อง ผู้สูงอายุ หรือเด็ก ควรแทงเข็มตืน้ ผูท้ ี่มีสุขภาพแขง็ แรงหรอื อยใู่ นวยั ฉกรรจ์ควรแทงเข็มลกึ - สภาวะโรค โรคระยะเฉียบพลันหรือลักษณะเป็นหยางควรแทงเข็มตื้น โรคระยะเรื้อรัง หรอื ลกั ษณะเป็นยนิ ควรแทงเข็มลกึ การเตรียมผูป้ ่วย การเตรยี มตวั กอ่ นการฝังเข็ม 1. นอนหลับพกั ผอ่ นใหเ้ พียงพอในคนื ก่อนไปรับการฝงั เขม็ 2. ไม่รับประทานอาหารมากหรอื นอ้ ยเกนิ ไปก่อนรับการรักษา 3. สวมเสื้อผา้ หลวมๆ สบายๆ เพ่อื ความสะดวกในการแทงเขม็ ขณะคาเขม็ ผ้ปู ่วยอาจเกิดความร้สู ึกได้ 2 อยา่ งคือ 1. รูส้ ึกหนกั ๆ หนว่ งๆ ตอ้ื ๆ 2. ร้สู กึ เหมอื นมกี ระแสไฟฟา้ แล่นแปลบๆ เน่อื งจากเข็มอาจชดิ กบั เสน้ ประสาท โดยท่ัวไปจะคาเข็มไว้ประมาณ 20-30 นาที อาจกระตุ้นเข็มด้วยมือหรือกระแสไฟฟ้า ระหว่างคาเข็มผู้ป่วยต้องไม่ขยับกล้ามเน้ือบริเวณท่ีฝังเข็ม เพราะเข็มอาจบิดงอในกล้ามเนื้อ
กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 175 ทาํ ใหเ้ จบ็ มากข้นึ หรือมีเลือดออกเมื่อถอนเข็ม หากผู้ป่วยมีอาการผิดปกติใดๆ เช่น รู้สึกหวิวๆ หน้ามืด จะเป็นลม แน่นหน้าอก หายใจไม่สะดวก เป็นต้น ให้รีบถอนเข็มออกท้ังหมดและให้นอนราบ ศีรษะต่าํ ทันที การปฏบิ ัติตนหลงั การฝังเข็ม 1. ควรดืม่ นํา้ อุ่นหลงั การฝังเข็ม 2. สํารวจร่างกายบริเวณฝังเข็มว่ามีส่ิงผิดปกติใดๆ หรือไม่ เช่น มีเข็มค้างอยู่ มีเลือดออก มรี อยบวม ร้สู ึกเจบ็ ปวด เป็นตน้ เพ่ือที่แพทย์จะได้แกไ้ ขใหก้ ่อนกลับบา้ น 3.ไมค่ วรอาบนาํ้ หรือถูกลมเย็นภายใน 2 ชั่วโมงหลงั การฝังเขม็ 4.ไมค่ วรทํางานหนักภายใน 24 ชวั่ โมงหลังการฝังเข็ม 5. หลังการฝังเขม็ ผู้ป่วยสามารถกลบั ไปทํางานหรือใช้ชวี ติ ประจําวันได้ตามปกติ ภาวะหรือโรคท่เี ปน็ ขอ้ พึงระวงั ในการฝงั เขม็ 1. การต้งั ครรภใ์ น 3 เดือนแรก ไม่ควรฝังเข็มบริเวณท้องน้อย การต้ังครรภ์ที่มากกว่า 3 เดือน ไม่ควรฝังเข็มบริเวณท้อง แผ่นหลังส่วนเอว และกระเบนเหน็บ รวมท้ังจุดที่มีสรรพคุณกระตุ้นให้เกิด การหดตัวของมดลกู เชน่ ซานยนิ เจยี ว (SP 6) เหอกู่ (LI 4) คุนหลุน (BL 60) จอ้ื ยิน (BL 67) เป็นตน้ 2. โดยทัว่ ไปขณะมีรอบเดือนไมค่ วรฝงั เขม็ ยกเว้นเพอื่ การรักษารอบเดอื นผิดปกติ 3. ทารกที่กระหม่อมหนา้ ยงั ไม่ปิด 4. มีความผดิ ปกตขิ องระบบการแขง็ ตัวของเลือด 5. ไม่ควรฝังเข็มในตาํ แหนง่ ทีม่ ีการติดเชอ้ื แผลอกั เสบ แผลเปน็ และบรเิ วณที่มเี นื้องอก 6. มขี ้อบง่ ชใ้ี นการผา่ ตดั 7. โรคท่ยี งั ไม่ทราบการวินิจฉยั ที่แนน่ อน ขนั้ ตอนและวธิ กี ารรกั ษาดว้ ยการฝงั เขม็ ขั้นตอนท่ี 1 การวินจิ ฉัยโรค ซกั ประวัติและตรวจร่างกายผู้ปว่ ยเพ่อื วนิ จิ ฉัยแยกภาวะโรคก่อน ให้พิจารณาว่าอาการใด เป็นอาการหลักหรืออาการสําคัญ อาการใดเป็นอาการรอง อาการใดต้องรักษาก่อนหลัง มีภาวะแทรกซ้อนหรือมโี รคอ่นื ๆ รว่ มดว้ ยหรือไม่
176 บทที่ 4 เทคนคิ การฝงั เข็ม ขัน้ ตอนที่ 2 การกําหนดแผนการรักษา วางแผนการรักษาโดยพิจารณาเลือกจุดฝังเข็มว่าจุดใดเป็นจุดหลักท่ีจะต้องใช้ทุกคร้ัง จุดใดเป็นจุดรองที่จะใช้เป็นบางครั้ง จํานวนจุดท่ีใช้ ความถี่ในการฝังเข็ม การสิ้นสุดการรักษา และการสง่ ต่อปรกึ ษาผู้เชย่ี วชาญ โดยทั่วไปอาจฝังเข็มวันละคร้ัง วันเว้นวัน หรือสัปดาห์ละ 2-3 คร้ัง แล้วแต่สภาพของโรค และความสะดวกของผปู้ ว่ ย ขนั้ ตอนท่ี 3 การจัดท่าผู้ป่วย จัดผู้ป่วยให้อยู่ในท่าท่ีเหมาะสมกับการแทงเข็ม เช่น ใช้ท่านอนคว่ําในกรณีแทงเข็ม บริเวณหลังหรือเอว ใช้ท่านอนหงายในกรณีแทงเข็มบริเวณใบหน้า หน้าท้อง หรือแขนขา ใช้ท่าน่ังในกรณีแทงเข็มบรเิ วณต้นคอหรอื ทา้ ยทอย ใช้ท่านอนตะแคงในบางกรณี เป็นต้น การจัดท่าผู้ป่วยที่เหมาะสมจะช่วยให้การแทงเข็มและกระตุ้นเข็มในจุดที่ต้องการได้ สะดวกและช่วยลดภาวะแทรกซ้อนจากการฝังเข็ม เช่น เข็มติด เข็มงอ เข็มหัก เป็นต้น ผู้ป่วย ควรอยูใ่ นท่าท่ีสบายและผ่อนคลาย ท่าทใ่ี ช้ในการฝงั เขม็ ได้แก่ 1. ท่านอนหงาย เหมาะสาํ หรับการฝังเข็มบริเวณศีรษะใบหน้า หน้าอก ทอ้ ง และแขนขา 2. ทา่ นอนคว่ํา เหมาะสําหรบั การฝังเข็มบรเิ วณศรี ษะ ตน้ คอ หลงั และแขนขาด้านหลงั
กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 177 3. ทา่ นอนตะแคง เหมาะสาํ หรบั การฝงั เขม็ บริเวณด้านขา้ งของลาํ ตัวและแขนขา 4. ท่านั่งเอนหลงั พิงพนกั เกา้ อี้ เหมาะสาํ หรบั การฝังเขม็ บริเวณศีรษะ หนา้ ลาํ คอ หน้าอก และแขนขา 5. ทา่ นัง่ คว่าํ หน้า เหมาะสําหรับการฝงั เขม็ บริเวณศรี ษะ ต้นคอ และหลัง
178 บทที่ 4 เทคนคิ การฝังเข็ม 6. ทา่ นั่งตะแคงศีรษะ เหมาะสําหรับการฝงั เขม็ บรเิ วณศีรษะด้านข้าง หู และใบหน้าดา้ นท่ตี ะแคงขึ้น 7. ท่านัง่ ตวั ตรงวางศอกบนโต๊ะ เหมาะสาํ หรับการฝังเข็มบริเวณศีรษะ ต้นคอ ไหล่ และแขน ขนั้ ตอนที่ 4 การแทงเข็ม ทําให้ปราศจากเช้ือบริเวณผิวหนัง แทงเข็มลงไปบนจุดฝังเข็มที่กําหนดไว้ตามแผนการ รกั ษา การแทงเขม็ จะตอ้ งแทงผ่านชน้ั ผิวหนงั อย่างรวดเร็ว เพ่ือให้ผูป้ ่วยไม่รูส้ กึ เจบ็ มาก ผู้ป่วยอาจรู้สึก เจ็บเล็กน้อยเหมือนถูกมดกัดหรือคล้ายถูกฉีดยา ความรู้สึกเจ็บขณะแทงเข็มจะมากหรือน้อย เพียงใดขึ้นอยู่กับความชํานาญของผู้รักษา การแทงเข็มท่ีคล่องแคล่วแม่นยําช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึก เจ็บน้อยลง ผลการรักษาขึ้นกับว่าเต๋อชี่ (得气) หรือไม่ หากเต๋อชี่แพทย์จะรู้สึกได้ว่าปลายเข็ม ถูกรัดแน่นหรือตึงฝืดเหมือนเบ็ดถูกปลาตอด ส่วนผู้ป่วยจะรู้สึกตื้อๆ หนักๆ หรือเสียวแปลบ บริเวณที่ถูกเข็มแทง หากแทงเข็มแล้วเต๋อช่ี ผลการรักษาจะดี ยิ่งผู้ป่วยรู้สึกว่าชี่ว่ิงไปตามเส้นจิงลั่ว ผลการรักษาก็จะย่ิงดี หากผู้ป่วยไม่เต๋อช่ีหรือแพทย์ไม่รู้สึกมีแรงต้าน ผลการรักษาจะไม่ดี เทา่ ท่ีควร สาเหตุท่ีไมเ่ ต๋อชี่ 1.ทศิ ทางเข็มไม่ถกู ตอ้ ง 2. ความลกึ ของการแทงเขม็ ไม่เหมาะสม
กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 179 3. การกระตุ้นเข็มไมถ่ ูกวิธี 4.การจัดทา่ ในการฝงั เขม็ ไมเ่ หมาะสม 5. สภาพร่างกายผู้ปว่ ยออ่ นแอมาก อาจเต๋อช่ีช้า 6. ภาวะการเจบ็ ป่วยบางอยา่ ง กรณฝี ังเขม็ แล้วไม่เตอ๋ ชี่ ให้กระตุ้นเข็มตอ่ ครหู่ นึ่งหรอื ใชเ้ ทคนิคการกระตุ้นวิธีอ่ืนๆ เสริม อาจทาํ ให้เต๋อชีไ่ ด้ ขนั้ ตอนท่ี 5 การคาเข็ม หลังจากแทงเข็มแล้วให้ปล่อยเข็มค้างไว้ที่จุดฝังเข็ม เพื่อเพิ่มผลการรักษา และใช้ในการกระตุ้นเข็ม ความจําเป็นและระยะเวลาในการคาเข็มข้ึนกับภาวะโรคของผู้ป่วย เป็นสําคัญ โดยทั่วไปใช้เวลาคาเข็ม 15-30 นาที กรณีโรคเรื้อรัง โรคท่ีรักษายาก กลุ่มโรคปวด หรอื มกี ารหดเกร็งของกล้ามเนื้อ อาจเพ่ิมเวลาตามความเหมาะสม ระหว่างคาเข็มอาจกระตุ้นเข็ม เพือ่ ใหเ้ ต๋อช่แี ละให้เกิดผลในการบํารุงหรอื ระบาย ขนั้ ตอนท่ี 6 การกระตุ้นเขม็ การกระต้นุ เขม็ มี 2 วิธี คอื 1. การกระตุ้นด้วยมือ อาจใช้วิธีหมุนเข็มไปซ้ายขวาหรือขยับเข็มขึ้นลง โดยท่ัวไปกระตุ้น ประมาณ 1 นาที ทุกๆ 5-10 นาที 2. การกระตุ้นด้วยไฟฟ้า ผู้ป่วยจะรู้สึกว่ากล้ามเนื้อบริเวณที่ฝังเข็มมีการกระตุกเบาๆ เป็นจงั หวะตามรปู แบบคลืน่ ของเครอื่ งกระตุ้นไฟฟา้ ผู้ป่วยร่างกายอ่อนแอไม่เหมาะกับการถูกกระตุ้นแรง ควรกระตุ้นเข็มเบาๆ หรือคาเข็ม ไว้เฉยๆ เท่านั้น การกระต้นุ เขม็ แบบบํารุงหรอื แบบระบาย การกระตุ้นเข็มเพื่อเพิ่มเจิ้งชี่หรือเสริมการทํางานของอวัยวะจ้างฝู่ให้กลับมาทําหน้าที่ ได้ตามปกติ เรียกว่า การกระตุ้นแบบบํารุง ส่วนการกระตุ้นเข็มเพื่อขจัดเสฺยชี่ให้ออกไป จากร่างกาย เรียกว่า การกระตุ้นแบบระบาย คัมภีร์หฺวางตี้เน่ยจิงกล่าวว่า “ให้กระตุ้นเข็ม แบบบาํ รุงเพ่ือรกั ษาภาวะพรอ่ ง กระตุน้ เขม็ แบบระบายเพอ่ื รักษาภาวะแกร่ง” เทคนิคที่ใช้ในการกระตุ้นเข็มเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่พึงประสงค์ภายใน ร่างกายมีหลายเทคนิคให้เลือกใช้ตามสภาพร่างกายของผู้ป่วย ภาวะโรค และสรรพคุณของจุด ฝังเขม็ เทคนคิ ท่ีใชบ้ อ่ ย ไดแ้ ก่
180 บทที่ 4 เทคนิคการฝังเข็ม 1. การปนั่ และหมุนเข็ม (捻转补泻) ก. การกระตุ้นเข็มแบบบํารุง เป็นการหมุนเข็มโดยใช้นิ้วหัวแม่มือปั่นเข็มไปข้างหน้า อย่างแรงและช่วงกวา้ ง แล้วหมุนกลบั ไปข้างหลังอย่างนุ่มนวลและช่วงแคบ ข. การกระตุ้นเข็มแบบระบาย เป็นการหมุนเข็มโดยใช้นิ้วหัวแม่มือปั่นเข็มไปข้างหลัง อย่างแรงและช่วงกวา้ ง แล้วหมนุ กลับไปข้างหน้าอย่างนุ่มนวลและชว่ งแคบ 2. การขยับเขม็ ขน้ึ ลง (提插补泻) ก. การกระตุ้นเข็มแบบบํารุง เป็นการแทงเข็มลึกลงไปในผิวหนังอย่างแรงและรวดเร็ว แล้วถอยเข็มข้ึนมาอยา่ งชา้ ๆ และเบาๆ ข. การกระตุ้นเข็มแบบระบาย เป็นการแทงเข็มลึกลงไปในผิวหนังอย่างช้าๆ และเบาๆ แล้วถอยเขม็ ข้นึ มาอย่างแรงและรวดเร็ว 3. การกระตุ้นเขม็ แบบอนื่ ๆ 3.1 การแทงและถอยเขม็ แบบเรว็ หรือชา้ (疾徐补泻) ก. การแทงเข็มช้าๆ จนถึงความลึกของจุดฝังเข็ม แล้วถอยเข็มเร็วมาอยู่ใต้ผิวหนัง เป็นการกระตนุ้ แบบบํารุง ข. การแทงเข็มเร็วจนถึงความลึกของจุดฝังเข็ม แล้วค่อยๆ ถอยเข็มมาอยู่ใต้ผิวหนังช้าๆ เปน็ การกระตนุ้ แบบระบาย 3.2 การแทงเข็มสัมพนั ธ์กบั การหายใจ (呼吸补泻) ก. การแทงเข็มขณะผู้ป่วยหายใจออกและถอยเข็มขณะหายใจเข้า เป็นการกระตุ้น แบบบาํ รุง ข. การแทงเข็มขณะผู้ป่วยหายใจเข้าและถอยเข็มขณะหายใจออก เป็นการกระตุ้น แบบระบาย 3.3 การแทงเข็มตามหรอื ย้อนแนวทางไหลเวียนของเส้นจิงลว่ั (迎随补泻) ก. ทศิ ทางปลายเขม็ ช้ีไปตามแนวทางไหลเวยี นของเส้นจิงลว่ั เป็นการกระต้นุ แบบบาํ รุง ข. ทิศทางปลายเข็มช้ีย้อนแนวทางไหลเวียนของเส้นจงิ ล่วั เปน็ การกระตนุ้ แบบระบาย 3.4 การปิดหรอื เปิดรูเข็มภายหลงั การถอนเข็ม (开阖补泻) ก. การกดปิดรเู ขม็ ทนั ทีภายหลงั การถอนเข็ม เปน็ การกระตุน้ แบบบํารุง ข. การโยกเข็มเพื่อขยายรูเข็มให้กว้างขึ้นในขณะถอนเข็มและไม่กดปิดรูเข็มทันที เป็นการกระต้นุ แบบระบาย
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 181 3.5 การกระต้นุ เข็มแบบกลางๆ (平补平泻) เป็นการขยับเข็มขึ้นลงด้วยความแรงและเร็วเท่าๆ กันพร้อมๆ กับการปั่นหรือหมุนเข็ม ไปซ้ายขวา (提插捻转) ด้วยความแรงและวงกว้างที่เท่าๆ กนั อยา่ งนุ่มนวล ในทางคลินิกอาจกระตุ้นเข็มโดยใช้เทคนิคต่างๆ ข้างต้นเพียงเทคนิคเดียวหรือหลายเทคนิค พร้อมๆ กัน เทคนิคการกระตุ้นเขม็ เชิงประกอบ 1. เผาภูเขาให้ลุกเป็นไฟ (烧山火) ใช้ในการรักษาภาวะต่างๆ เช่น ภาวะเย็นพร่อง (ปวดท้อง อุจจาระร่วง เส่ือมสมรรถภาพทางเพศ ฝันเปียก อวัยวะหย่อน จ้งเฟิงชนิดหลุด) อาการชา ท่ีดื้อต่อการรักษา ปี้เจิ้งเหตุความเย็น กล้ามเนื้อลีบ กล้ามเน้ืออ่อนแรง เป็นต้น วิธีนี้ใช้ร่วมกับ การกระต้นุ เข็มแบบบาํ รงุ สมั พันธ์กบั การหายใจ วิธีการ: ใหผ้ ู้ป่วยหายใจเข้าทางจมูกและหายใจออกทางปาก ขณะท่ีผู้ป่วยหายใจออกให้แทงเข็ม ลึกลงไปในผิวหนังเพียง 1 ใน 3 ของความลึกจุดฝังเข็ม (ระดับฟ้าหรือระดับตื้น) จนเต๋อช่ีแล้ว กระตุ้นเข็มแบบบํารุงตามวิธีข้อ 1 ก. หรือ 2 ก. จํานวน 9 ครั้ง จากน้ันแทงเข็มลึกลงไปท่ีระดับ 2 ใน 3 ของความลึกจดุ ฝังเขม็ (ระดับชั้นคนหรือระดับกลาง) จนเต๋อชี่ แล้วกระตุ้นเข็มแบบบํารุง ตามวธิ ขี ้อ 1 ก.หรือ 2 ก. จาํ นวน 9 ครั้ง จึงแทงเข็มลึกลงไปถึงจุดฝังเข็ม (ระดับช้ันดินหรือระดับลึก) จนเต๋อช่ี แล้วกระตุ้นเข็มแบบบํารุงตามวิธีข้อ 1 ก.หรือ 2 ก. จํานวน 9 คร้ัง จนผู้ป่วยรู้สึกอุ่น บริเวณจุดฝังเข็ม ให้คาเข็ม 15-20 นาที แล้วถอนเข็มอย่างรวดเร็วในขณะท่ีผู้ป่วยหายใจเข้า พร้อมกับกดปิดรูเข็ม หากผู้ป่วยไม่รู้สึกอุ่นบริเวณจุดฝังเข็ม สามารถทําวิธีการนี้ซํ้าได้อีก รวมกันไม่เกนิ 3 รอบ 2. ทะลวงฟา้ ให้เย็น (透天凉) ใช้ในการรกั ษาภาวะตา่ งๆ เช่น ปี้เจิ้งเหตุความร้อน ฝีหนอง เหตุภาวะร้อนแกร่ง (ปวดฟัน ปากเหม็น โรคบิด ปวดท้องไข้สูง ไฟลามทุ่ง) จ้งเฟิงชนิดปิด โรคจติ ซมึ เศร้า คล้มุ คล่ัง เปน็ ตน้ วิธนี ีใ้ ช้ร่วมกบั การกระต้นุ เขม็ แบบระบายสมั พันธ์กับการหายใจ วิธีการ: ให้ผู้ป่วยหายใจเข้าทางปากและหายใจออกทางจมูก ขณะที่ผู้ป่วยหายใจเข้า ให้แทงเข็ม ลึกถงึ จุดฝงั เขม็ (ระดับช้ันดินหรือระดับลกึ ) จนเตอ๋ ชี่ แลว้ กระตุ้นเข็มแบบระบายตามวิธีข้อ 1 ข. หรือ 2 ข. จํานวน 6 ครั้ง จากน้ันให้ถอยเข็มข้ึนมาที่ระดับ 2 ใน 3 ส่วนของความลึกจุดฝังเข็ม (ระดับช้ันคนหรือระดับกลาง) จนเต๋อชี่ แล้วกระตุ้นเข็มแบบระบายตามวิธีข้อ 1 ข.หรือ 2 ข. จาํ นวน 6 ครง้ั จากน้ันถอยเขม็ ขึ้นมาที่ระดับ 1 ใน 3 ของความลึกจุดฝังเข็ม (ระดับฟ้าหรือระดับตื้น) จนเต๋อชี่ แล้วกระตุ้นเข็มแบบแบบระบายตามวิธีข้อ 1 ข.หรือ 2 ข. จํานวน 6 ครั้ง จนผู้ป่วยรู้สึกเย็น บริเวณจดุ ฝงั เข็ม ให้ถอนเข็มอย่างช้าๆ ในขณะท่ีผู้ป่วยหายใจออก หากผู้ป่วยไม่รู้สึกเย็นบริเวณ จุดฝังเข็ม สามารถทําวิธีการนซี้ า้ํ ไดอ้ กี รวมกันไม่เกิน 3 รอบ
182 บทที่ 4 เทคนคิ การฝังเข็ม ขั้นตอนท่ี 7 การถอนเขม็ ให้ถอนเข็มออกเม่ือคาเข็มครบตามเวลาที่กาํ หนด โดยอาจหมุนเข็มทดสอบว่าไม่ติด แล้วค่อยๆ ถอยเข็มข้ึนช้าๆ จนถึงชั้นใต้ผิวหนัง จากนั้นจึงถอนออกอย่างรวดเร็ว แล้วใช้ผ้าก๊อซ หรือสําลกี ดไว้ชัว่ ขณะเพอ่ื ปอ้ งกันเลอื ดออก ตรวจนับเขม็ ให้แน่ใจว่าไมม่ ีคา้ งในตวั ผปู้ ว่ ย ภาวะแทรกซอ้ นจากการฝังเข็ม 1. เป็นลม เกิดขณะแทงเข็มหรือขณะคาเข็ม ส่วนใหญ่พบในผู้ป่วยที่รับการฝังเข็มเป็นครั้งแรก สาเหตุทพ่ี บบ่อย ได้แก่ ต่ืนเต้นหรือหวาดกลวั หวิ หรืออิม่ เกนิ ไป รา่ งกายอ่อนเพลีย หรืออดนอน วิธีการแก้ไข: ให้ถอนเข็มออกหมด แล้วให้ผู้ป่วยนอนหงาย คลายเสื้อผ้าให้หลวม ตรวจวัดสัญญาณชีพ รักษาอุณหภูมิร่างกายให้อุ่น ให้ดื่มนํ้าอุ่นหรือนํ้าหวาน โดยทั่วไปอาการ จะดีข้ึนอย่างรวดเร็ว หากไม่ดีข้ึนให้กดจุดหรือแทงเข็มท่ีเหรินจง (GV 26) ซู่เหลียว (GV 25) เหอกู่ (LI 4) เน่ยกวาน (PC 6) จู๋ซานหลี่ (ST 36) หย่งเฉฺวียน (KI 1) จุดใดจุดหนึ่ง หรือลนยาป่ายฮุ่ย (GV 20) ชีห่ า่ ย (CV 6) กวานหยวน (CV 4) หย่งเฉฺวียน (KI 1) จุดใดจุดหนึง่ ถ้าไมด่ ขี ึ้นใหส้ ง่ ห้องฉกุ เฉนิ การป้องกัน: แนะนําผู้ป่วยรับประทานอาหารและพักผ่อนให้เพียงพอก่อนการฝังเข็ม อธิบายขั้นตอนการฝังเข็มให้ผู้ป่วยเข้าใจเพื่อลดความกลัว โดยเฉพาะรายที่ฝังเข็มครั้งแรก หรือวิตกกังวลง่าย จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สบาย ใช้จุดฝังเข็มจํานวนน้อย กระตุ้นเข็มด้วยความ นุ่มนวล คอยสังเกตผู้ป่วยโดยเฉพาะสีหน้าอย่างใกล้ชิด หากเริ่มมีอาการเหมือนจะเป็นลม ให้รบี ถอนเข็มออกใหห้ มดและทาํ การปฐมพยาบาล 2. ห้อเลือด อาจพบเลือดออกใต้ผิวหนังจนเกิดห้อเลือดในบริเวณท่ีมีหลอดเลือดฝอยมาก เลือดท่อี อกมกั จะหยุดเองหรือโดยการกดไว้ชัว่ ครู่ วิธีการแก้ไข: โดยทั่วไปมักไม่มีอันตรายหรือผลข้างเคียงใดๆ ห้อเลือดจะจางหายภายใน ไม่กี่วัน กรณีบวมเป็นก้อนใต้ผิวหนังภายใน 24 ช่ัวโมงแรกให้ประคบเย็น หลังจาก 24 ช่ัวโมงไปแล้ว ให้ประคบร้อน การป้องกัน: หลีกเล่ียงการแทงเข็มถูกหลอดเลือด หลังถอนเข็มให้ใชส้ ําลีแหง้ กดปิดรูเขม็ ทันที 3. เข็มติด ภายหลังจากฝังเข็มแล้วดึงไม่ออก ดันเข็มไม่ลง หรือหมุนซ้ายขวาไม่ได้ เพราะกล้ามเน้ือหดเกร็งบีบรัดเข็มจนแน่น สาเหตุเกิดจากผู้ป่วยวิตกกังวลมาก ขยับเปลี่ยนท่า ขณะคาเขม็ หรือการกระตนุ้ เข็มโดยหมุนไปทิศทางเดียว วิธีการแกไ้ ข: ให้ผูป้ ่วยผอ่ นคลาย ทําการนวดเบาๆ เคาะกล้ามเนื้อรอบๆ เข็ม หรือเกาด้ามเข็ม เพ่ือลดการหดเกร็งของกล้ามเน้ือ อาจแทงเข็มเพิ่มอีก 1 เล่มในบริเวณใกล้เคียง เพื่อคลายกล้ามเน้ือ บริเวณท่เี กร็งและกระจายชแ่ี ละเลือด กรณีเข็มตดิ เน่ืองจากมกี ารหมนุ เข็มในทิศทางเดียว ให้หมุน กลับในทิศทางตรงกันข้ามและเกาด้ามเข็ม กรณีเข็มติดเนื่องจากการขยับเปลี่ยนท่า ให้ผู้ป่วย กลับมาอยู่ในท่าเดิม แล้วถอนเข็มออก
กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 183 การป้องกัน: อธิบายขั้นตอนการฝังเข็มอย่างละเอียดให้ผู้ป่วยเข้าใจ เพื่อลดความกลัว และใหร้ ูส้ ึกผอ่ นคลาย เลอื กวิธีการกระตนุ้ เขม็ ท่ีเหมาะสม หลีกเลี่ยงการหมนุ เขม็ ในทิศทางเดียว 4. เขม็ งอ มีอาการเหมือนเขม็ ตดิ สาเหตุเกิดเพราะขณะแทงเข็มใช้แรงดันมากเกินไป แทงเข็ม ถูกเนอื้ เย่ือท่ีแข็ง (กระดูกหรอื พงั ผดื ) เขม็ ถกู กดทับหรือเคลื่อนจากตําแหน่งเดิม ผู้ป่วยขยับเปล่ียนท่า ขณะคาเข็ม หรือขาดความชาํ นาญในการฝงั เขม็ วิธกี ารแก้ไข: คอ่ ยๆ ถอนเขม็ ออกช้าๆ ตามการโคง้ งอของเข็ม หากเข็มโค้งงอมากให้ดัดเข็มกลับ ให้มากที่สุด ค่อยๆ ถอนเข็มหลังจากกล้ามเนื้อรอบๆ คลายตัว ห้ามถอนเข็มอย่างรุนแรง เพราะเข็มอาจหกั คาอยภู่ ายใน การป้องกัน: การแทงเข็มให้ใช้แรงสม่ําเสมอ ไม่ควรดันเข็มเข้าอย่างรวดเร็ว ไม่อนุญาต ให้ผู้ป่วยเปลย่ี นทา่ ขณะคาเข็ม และไม่ควรวางสิ่งของอื่นใดใกลก้ บั ผ้ปู ่วย 5. เข็มหัก มีโอกาสเกิดได้น้อย สาเหตุจากคุณภาพเข็มไม่ดี มีการสึกกร่อนของโคนเข็ม การกระตุ้นเข็มแรงเกินไป กล้ามเนื้อมีการหดเกร็งอย่างรุนแรง ผู้ป่วยขยับเปลี่ยนท่าทันที หรือการถอนเข็มที่งอโดยไมถ่ ูกเทคนิค วิธีการแก้ไข: ให้ผู้ป่วยอยู่ในความสงบและอยู่ในท่าเดิม เพื่อป้องกันไม่ให้เข็มเคลื่อนลงลึก กว่าเดิม หากพบส่วนปลายของเข็มโผล่พ้นผิวหนัง ให้ใช้คีมคีบออก หากส่วนท่ีหักอยู่ระดับ ผิวหนัง ให้กดเน้ือเยื่อรอบๆ เพ่ือให้เห็นส่วนของเข็มแล้วใช้คีมคีบออก หากส่วนท่ีหักอยู่ใต้ผิวหนัง ใหส้ ง่ ตอ่ เพ่อื การรกั ษา การป้องกนั : ใหต้ รวจสอบและเลือกใช้เข็มท่ีมีคุณภาพ หลีกเล่ียงการกระตุ้นเข็มอย่างรุนแรง ไม่แทงเข็มลึกจนถึงโคนเข็ม อธิบายให้ผู้ป่วยร่วมมือและปฏิบัติตาม ไม่เปลี่ยนท่าขณะคาเข็ม หากพบวา่ เขม็ งอใหถ้ อนออกทันที 6. ปวดขณะแทงหรือคาเข็ม เกิดจากปลายเข็มอยู่ที่ผิวหนังนานเกินไป คุณภาพเข็มไม่ดี เช่น ปลายเข็มไม่คม เป็นต้น เปลี่ยนท่าขณะคาเข็ม กระตุ้นเข็มรุนแรง มีสิ่งกดทับ ฝังเข็ม โดยผู้ไมช่ ํานาญ และแทงเขม็ ถกู เส้นเอ็น เย่อื หุม้ กระดกู หรอื หลอดเลือด วธิ ีการแกไ้ ข: ปรบั ความลกึ หรือทศิ ทางของเข็มให้เหมาะสม การป้องกัน: ตรวจสอบและเลือกใช้เข็มท่ีมีคุณภาพ ทบทวนกายวิภาคก่อนการฝังเข็ม แทงเข็ม ให้ผ่านผิวหนังด้วยความรวดเร็ว กระตุ้นเข็มด้วยแรงและวิธีที่เหมาะสม ไม่อนุญาตให้ผู้ป่วย เปล่ียนท่าขณะคาเขม็ และหลกี เลย่ี งการแทงเข็มถูกเส้นเอ็น เยอ่ื หมุ้ กระดกู หรอื หลอดเลอื ด 7. ภาวะมีลมในช่องเยื่อหุ้มปอด มีอาการแน่นหน้าอก หายใจขัด ใจส่ัน เหงื่อออก ตัวเย็น ความดันโลหิตลดลง มีภาวะช็อก เกิดเพราะแทงเข็มลึกเกินไปบริเวณหน้าอก แผ่นหลังส่วนอก หรือรอบๆ ไหปลารา้ ทาํ ใหป้ ลายเขม็ แทงทะลุเยอื่ หุ้มปอด เกิดลมรัว่ เข้าในชอ่ งเยอ่ื หุ้มปอด
184 บทที่ 4 เทคนคิ การฝังเข็ม วิธีการแก้ไข: ให้ถอนเข็มออกทันที จัดท่าให้ศีรษะสูง ช่วยให้ผู้ป่วยผ่อนคลายโดยไม่เปล่ียนท่า และส่งต่อเพอ่ื การรกั ษา การป้องกัน: จัดท่าให้เหมาะสม เลือกระดับความลึกของการฝังเข็มให้เหมาะกับตําแหน่ง บริเวณหน้าอก แผ่นหลังส่วนอก หรือรอบๆ ไหปลาร้า ควรแทงเข็มราบหรือเฉียงและไม่คาเข็ม นานเกินไป การกระตุ้นเข็มด้วยวิธีขยับข้ึนลงให้ปฏิบัติด้วยความนุ่มนวล พยายามเลือกจุดฝังเข็ม บรเิ วณแขนขาแทนจดุ ที่มคี วามเสยี่ งข้างตน้ 8. การบาดเจบ็ ตอ่ ระบบประสาท 8.1 การบาดเจ็บต่อก้านสมองหรือไขสันหลัง เกิดจากการแทงเข็มบริเวณท้ายทอย ต้นคอ หรือเจ๋ียจ่ี ทําให้เกิดอาการปวดศีรษะ คล่ืนไส้ อาเจียน ชักกระตุก หายใจลําบาก หรือหยุดหายใจ เกิดภาวะช็อก หรือหมดสติ หากแทงเข็มถูกไขสันหลัง อาจเกิดอาการเหมือน ไฟช็อตไปท่ีแขนขาหรืออัมพาตชั่วขณะ ซ่ึงอาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ วธิ กี ารแก้ไข: ให้รบี ถอนเข็มแลว้ ส่งต่อเพอื่ การรักษาทนั ที การป้องกัน: ระมัดระวังเรื่องความลึกและทิศทางของการฝังเข็มบนเส้นตูและแนวเจี๋ยจี่ โดยเฉพาะจุดฝังเข็มที่สูงกว่ากระดูกสันหลังอกที่ 12 ส่วนเฟิงฝู่ (GV 16) หย่าเหมิน (GV 15) ทิศทาง ของปลายเข็มไม่ควรเฉียงขึ้นบนหรือแทงลึกเกินไป เพื่อหลีกเลี่ยงการบาดเจ็บต่อก้านสมอง ไม่ควรกระตุ้มเข็มดว้ ยวธิ ีขยับเขม็ ขนึ้ ลง ให้ใช้วธิ ปี ่นั หรือหมุนเขม็ แทน 8.2 การบาดเจ็บต่อเส้นประสาทส่วนปลาย ทําให้เกิดอาการชา ร้อน ปวด อ่อนแรง หรอื กล้ามเนือ้ ลีบตอ่ มา เกิดจากกระตนุ้ เขม็ รุนแรงหรือนานเกินไป ไม่มีความชํานาญในการแทงเข็ม บนจุดตามแนวเส้นประสาท หรือคาเขม็ นานเกนิ ไป วิธีการแก้ไข: หากเกิดอาการขณะฝังเข็มให้ถอนเข็มทันที ภายใน 24 ชั่วโมงแรกให้ฝังเข็ม หรอื นวดทยุ หนาเพอ่ื เปน็ การรกั ษา หากไม่ดีขึ้นใหส้ ง่ ต่อเพื่อการรักษา การป้องกนั : กระตนุ้ เข็มดว้ ยความนุ่มนวล ไมค่ าเขม็ นานเกนิ ไป 9. การบาดเจ็บต่ออวัยวะภายใน เกิดจากขาดความรู้ทางกายวิภาคและจุดฝังเข็ม หรือแทงเข็ม ลึกเกินกว่าทีก่ าํ หนด แทงถูกม้ามหรือตับ: จะเกิดเลือดออกในช่องท้อง ซึ่งมีอาการปวดสีข้าง ท้องแข็งเป็นดาน ปวดท้อง หรอื กดเจบ็ แทงถกู หัวใจ: จะรู้สกึ ปวดเหมือนเข็มแทงอย่างรุนแรงหรือปวดเหมือนถูกฉีกอก เกิดภาวะช็อก และอาจเสยี ชวี ิตในท่ีสุด แทงถูกไต: จะรู้สึกปวดเอว ปวดเวลาเคาะที่ costovertebral angle ปัสสาวะมีเลือดปน อาจเกดิ ภาวะชอ็ ก
กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 185 แทงถูกถุงน้ําดี กระเพาะปัสสาวะ กระเพาะอาหาร หรือลําไส้: จะรู้สึกปวดบริเวณท่ีบาดเจ็บ อาจมอี าการปวดท้องมาก ทอ้ งแข็งเปน็ ดาน หรอื กดเจบ็ วิธกี ารแกไ้ ข:รีบถอนเขม็ ออกและส่งตอ่ เพื่อการรักษา การป้องกัน: ไม่แทงเข็มลึกเกินไป เลือกทิศทางเข็มที่หลีกเลี่ยงการบาดเจ็บต่ออวัยวะ ภายใน หลอดเลือดใหญ่ และเส้นประสาท จัดท่าให้เหมาะสม ให้ระมัดระวังในผู้ป่วยท่ีมีตับม้ามโต หวั ใจโต ปัสสาวะค่ังคา้ ง หรอื มีพังผดื ในช่องทอ้ ง 10. อาการผิดปกติภายหลังถอนเข็ม เช่น ปวด ชา หนักบริเวณฝังเข็ม หรืออาการเดิม ท่ีมาพบแพทย์รุนแรงขึ้น เกิดเพราะกระตุ้นเข็มรุนแรง คาเข็มนานเกินไป หรือจัดท่าผู้ป่วย ไม่เหมาะสม วธิ ีการแกไ้ ข: ภายหลังถอนเข็มให้ผู้ป่วยพักสักครู่ ใช้น้ิวมือกดนวดรอบๆ บริเวณท่ีมีอาการ หรอื ใช้วธิ ลี นยา การปอ้ งกนั : กระตนุ้ เข็มอยา่ งนมุ่ นวลและถกู วธิ ี ไม่คาเข็มนานเกนิ ไป
บทที่ 5 การลนยาและครอบกระปกุ Moxibustion and cupping 1. การลนยา 灸法 Moxibustion การลนยา เป็นวิธีการให้ความร้อนบนจุดฝังเข็มหรือบริเวณรอบๆ เพ่ือปรับสมดุล การทํางานของเสน้ จิงลว่ั และอวัยวะจ้างฝู่ มีผลในการรักษาและป้องกันโรคต่างๆ สมุนไพรท่ีนิยมใช้ เป็นวัสดุในการลนยาคือ “อ้ายเย่” โดยแปรรูปเป็นเส้นใยนุ่มขนาดเล็กสีเหลืองอ่อน เส้นใยอ้ายเย่ ท่ีเก็บนานจะมีคุณภาพดี ตาํ ราหฺวางต้เี นย่ จิงภาคหลิงซูกล่าวว่า “โรคที่ฝังเข็มรักษาไม่หาย ให้ลนยา” ตําราโบราณกล่าววา่ “ถ้าต้องการมีสุขภาพดี ควรลนยาจซู๋ านหล่ีเป็นประจาํ ” สรรพคณุ 1. อุ่นเส้นจิงล่ัวเพ่ือสลายความเย็น ใช้ในกรณีความเย็นช้ืนอุดกั้นหรือเสฺยช่ีความเย็นรุกราน ความเย็นทําให้การไหลเวียนเลือดช้าลง เกิดการติดขัด มีอาการต่างๆ เช่น ปวดลิ้นป่ี ปวดท้อง ท้องร่วง โรคบิด ปวดประจําเดือน ประจําเดือนไม่มา ไส้เลื่อน ปี้เจิ้ง เป็นต้น การลนยาช่วยอุ่น เสน้ จงิ ล่ัวและกระต้นุ การไหลเวยี นของเลือด 2. ขบั ลมแกเ้ ปีย่ วเจ้ิง อุ่นจงเจียวสลายความเย็น รักษาอาการต่างๆ เช่น ภาวะโรคภายนอก เหตุลมเย็น ทอ้ งรว่ ง ปวดกระเพาะอาหาร อาเจยี นเหตุมา้ ม-กระเพาะอาหารเยน็ เปน็ ตน้ 3. อนุ่ ไตบํารุงหยางมา้ ม รักษาอาการต่างๆ เช่น ทอ้ งรว่ งเรือ้ รงั ปัสสาวะบ่อย กลน้ั ปัสสาวะไม่ได้ เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ เปน็ ต้น 4. ฟ้ืนหยางกู้อาการหลุด รักษาอาการต่างๆ ของหยางสูญสิ้น เช่น เหง่ือออกเม็ดโต มือเท้าเยน็ เฉยี บ ชีพจรแผว่ ใกล้หมด เป็นตน้ 5. บํารงุ ช่ดี ึงหยางข้ึน รักษาภาวะจงชี่พร่องและชี่ตก เช่น กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ไส้ตรงหย่อน มดลูกหย่อน ตกขาว ประจาํ เดือนมากะปรดิ กะปรอย ประจาํ เดอื นมามาก เปน็ ตน้ 6. สลายเลอื ดคัง่ และถอนพิษร้อน โดยกระตุ้นการไหลเวียนของช่ี นําพาสารอาหารไปหล่อเล้ียง ทําให้เจิ้งช่ีกลับมาปกติ และช่วยสลายเลือดค่ัง ใช้รักษาโรคต่างๆ เช่น ฝีเต้านมระยะแรก คอพอก วณั โรคตอ่ มน้ําเหลืองที่คอ แผลเร้ือรัง เป็นต้น 7. ป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ ช่วยกระตุ้นเจิ้งช่ีและเสริมภูมิต้านทานโรค การลนยา ที่กฺวานหยวน (CV 4) ชหี่ า่ ย (CV 6) มิ่งเหมิน (GV 4) และจงหว่าน (CV 12) เป็นประจาํ ชว่ ยใหอ้ ายุยนื
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264