Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตำราฝังเข็ม-ลนยา เล่ม 1

ตำราฝังเข็ม-ลนยา เล่ม 1

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-10-16 23:39:46

Description: ตำราฝังเข็ม-ลนยา เล่ม 1

Search

Read the Text Version

กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 39 เส้นทางเดนิ ของเส้นจิงล่ัว 1. เส้นปอดทา่ ยยินมือ (手太阴肺经) 1.1 วิถกี ารไหลเวยี น: เร่ิมต้นจากจงเจียว ลงไปเช่ือม (สัมพันธ์) ต่อกับลําไส้ใหญ่ซ่ึงเป็นอวัยวะ คสู่ มั พนั ธ์ แลว้ วกขน้ึ เลยี บสว่ นบนของกระเพาะอาหาร ผ่านกระบังลมเข้าสู่ (สังกัด) ปอดซึ่งเป็นอวัยวะ ต้นสังกัด จากนั้นขึ้นไปตามหลอดลมถึงกล่องเสียง แล้ววกลงไปท่ีทรวงอกด้านบน ออกมาเป็นจุด แรกที่ใต้กระดูกไหปลาร้าตรงช่องซ่ีโครงที่ 1 คือ จงฝู่ (LU 1) ไหลเวียนผ่านไหล่ด้านหน้าลงไป ตามขอบหน้าของต้นแขนด้านใน ผ่านรอยพับศอก ไหลเวียนตามขอบหน้าของปลายแขนด้านใน เข้าสู่ข้อมือโดยอยู่ด้านนอกต่อหลอดเลือดแดง radial และผ่านฝ่ามือไปสิ้นสุดท่ีมุมฐานเล็บ นิ้วหัวแม่มือด้าน radial ที่ซ่าวซาง (LU 11) เหนือข้อมือเล็กน้อยมีเส้นจากเลฺย่เชฺวีย (LU 7) แยกไปตามหลังมือถึงปลายน้ิวช้ี ไปเชื่อมต่อกับเสน้ ลาํ ไส้ใหญห่ ยางหมิงมอื (ภาพที่ 3.1) ภาพท่ี 3.1 เสน้ ทางไหลเวยี นของเส้นปอดท่ายยนิ มือ 1.2 อวยั วะที่เกี่ยวขอ้ ง: ปอด หลอดลม กลอ่ งเสยี ง ลําคอ ลําไสใ้ หญ่ 1.3 อาการท่ีเกี่ยวข้อง: ไอ ไอเป็นเลือด เป็นหวัด เจ็บคอ เลือดกําเดาไหล แน่นหน้าอก หอบ หายใจกระช้นั ปวดไหปลาร้า ปวดแขนขอบหนา้ -ด้านใน ปวดเยน็ สะบัก 1.4 ขอ้ บง่ ชี้: โรคของลําคอ หลอดลม ปอด และทรวงอก อาการผดิ ปกตติ ามแนวเสน้ จิงลัว่ 1.5 จํานวนจดุ ฝังเข็ม: 11 จุด

40 บทที่ 3 จุดฝังเข็มและเสน้ จงิ ลั่ว 2. เส้นลําไส้ใหญ่หยางหมงิ มือ (手阳明大肠经) 2.1 วิถกี ารไหลเวียน: เริ่มต้นจากปลายน้ิวชี้ด้าน radial ที่ซางหยาง (LI 1) ข้ึนมาอยู่ระหว่าง กระดูกฝ่ามือที่ 1 กับ 2 ผ่านข้อมือแล้วไหลเวียนตามขอบหน้าของแขนด้านนอก ข้อศอก ขอบหน้าของต้นแขนด้านนอก ถึงหัวไหล่ตรงเจียนหยฺวี (LI 15) จากน้ันไหลเวียนผ่านหน้าต่อ acromian process วกลงดา้ นหลงั ไปถึงใต้ปุ่มกระดกู ตน้ คอที่ 7 เชอ่ื มตัดกับเส้นตู แล้ววกกลับมา ด้านหนา้ ตรงแอ่งไหปลารา้ จึงแยกเป็น 2 สาขา สาขาแรก เข้าในทรวงอกไปเชื่อมสัมพันธ์กับปอด แล้วลงไปผ่านกระบังลม เข้าไป สังกัดที่ลําไส้ใหญ่ จากน้นั มีเสน้ ทางเดนิ ภายในไปถงึ ซา่ งจฺว้ซี ฺวี (ST 37) สาขาที่ 2 แยกขึ้นไปผ่านลําคอ แก้ม เหงือกและฟันล่าง แล้ววกขึ้นเหนือริมฝีปากบน ข้ามแนวกึ่งกลางใบหน้าตรงร่องใต้จมูก ไปส้ินสุดที่ข้างปีกจมูกด้านตรงข้าม คือ หยิงเซียง (LI 20) แล้วเชือ่ มต่อกบั เสน้ กระเพาะอาหาร (ภาพท่ี 3.2) ภาพที่ 3.2 เสน้ ทางไหลเวยี นของเส้นลําไสใ้ หญ่หยางหมิงมือ 2.2 อวัยวะทีเ่ ก่ียวข้อง: ลาํ ไสใ้ หญ่ ปอด เหงือก ฟนั ล่าง 2.3 อาการที่เก่ียวข้อง: ปวดศีรษะ ปวดใบหน้า ปวดฟัน เลือดกําเดาไหล เจ็บคอ นํ้ามูกไหล หูออ้ื หูหนวก ปวดทอ้ ง ท้องร้อง ทอ้ งเดนิ ท้องผกู บดิ 2.4 ข้อบ่งช้ี: โรคของศีรษะ ใบหน้า และลําคอ เช่น อัมพาตใบหน้า เป็นต้น กลุ่มโรคไข้ อาการผิดปกตติ ามแนวเสน้ จิงลั่ว เช่น ปวด บวม โรคผิวหนัง เป็นต้น 2.5 จาํ นวนจดุ ฝังเข็ม: 20 จดุ

กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 41 3. เส้นกระเพาะอาหารหยางหมิงเท้า (足阳明胃经) 3.1 วิถีการไหลเวียน: เร่ิมจากปีกจมูกข้ึนไปข้างจมูก ไปเช่ือมตัดกับเส้นกระเพาะปัสสาวะ บริเวณหัวตาตรงจงิ หมิง (BL 1) แลว้ วกผ่านข้างจมูกลงมาใต้ตาที่เฉิงช่ี (ST 1) เป็นจุดแรกของเส้น กระเพาะอาหาร จากน้ันไหลเวียนขนานข้างจมูก วกเข้าเหงือกบนไปเช่ือมตัดกับสุ่ยโกว (GV 26) แล้วออกมาที่มมุ ปากตรงตีช้ าง (ST 4) วนลงริมฝีปากล่างไปเช่ือมตัดกับเฉิงเจียง (CV 24) จากน้ัน ผา่ นขากรรไกรล่างที่ต้าหยงิ (ST 5) ไปท่ีมุมกรรไกรล่างตรงเจี๋ยเชอ (ST 6) วกข้ึนไปท่ีหน้าหู เช่ือมตัด กับเส้นถงุ นํ้าดีทซี่ ่างกฺวาน (GB 3) เลยขน้ึ ไปเหนอื แนวชายผมมมุ หน้าผากเล็กน้อย แล้วไหลเวียน ขนานเหนือแนวชายผมขอบหน้าผากไปที่กลางศีรษะ เชื่อมตัดกับเสินถิง (GV 24) เป็นการส้ินสุด สาขาแรก (ภาพท่ี 3.3) ภาพท่ี 3.3 เส้นทางไหลเวียนของเส้นกระเพาะอาหารหยางหมิงเท้า ตรงก่งึ กลางขากรรไกรลา่ งทคี่ ลาํ ได้ชพี จร มเี ส้นสาขาแยกลงไปที่ลําคอด้านหน้า ถึงกลางแอ่ง ไหปลาร้ามเี ส้นแยกเขา้ ไปในทรวงอก ผ่านกระบังลมไปสังกัดกระเพาะอาหารและไปสัมพนั ธ์กับม้าม ส่วนเส้นภายนอกไหลเวียนลงไปที่หน้าอก โดยห่างจากแนวก่ึงกลางหน้าอก 4 ชุ่น ผ่านหัวนม ถึงช่องซี่โครงที่ 5 แล้วเฉียงเข้าใน ลงไปผ่านหน้าท้อง โดยห่างจากแนวก่ึงกลางหน้าท้อง 2 ชุ่น จนถงึ ขาหนีบตรงท่ีคลําได้ชีพจร คือ ช่ีชง (ST 30) ซ่ึงเป็นจุดท่ีเส้นสาขาภายในจากอวัยวะจ้างฝู่ ออกมาบรรจบ แล้วไหลเวียนลงไปต้นขาด้านหน้า ผ่านกล้ามเน้ือ quadriceps ลงไปตามขอบนอก

42 บทที่ 3 จดุ ฝังเข็มและเสน้ จงิ ลั่ว ของกระดูกสะบ้า ผ่านไปตามแนวสันกระดูกแข้งด้านนอกถึงข้อเท้า ไหลเวียนต่อไปท่ีหลังเท้า ผ่านบริเวณคลําได้ชีพจรท่ีชงหยาง (ST 42) ไปส้ินสุดท่ีปลายนิ้วเท้าที่ 2 ตรงโคนเล็บด้านนอก ที่ล่ตี ยุ้ (ST 45) ตรงจซู๋ านหล่ี (ST 36) มีเส้นสาขาภายในผ่านลงไปตามกระดูกแข้งด้านนอก ไปถึงจุดล่ัว ท่ีเฟิงหลง (ST 40) แล้วลงไปหลังเท้า ไปสิ้นสุดที่นิ้วเท้าที่ 3 ด้านนอก ตรงชงหยาง (ST 42) มีเส้นสาขาภายในแยกไปทีป่ ลายน้วิ หวั แมเ่ ทา้ ดา้ นใน เพ่ือเชอื่ มต่อกับเสน้ ม้าม 3.2 อวัยวะท่เี กยี่ วขอ้ ง: กระเพาะอาหาร ม้าม ลําคอ 3.3 อาการที่เกี่ยวข้อง: ปวดกระเพาะอาหาร อาเจียน ท้องเดิน แน่นท้อง ท้องร้อง ปวดศีรษะ ปวดฟนั เจ็บคอ เลอื ดกาํ เดาไหล 3.4 ข้อบ่งช้ี: โรคกระเพาะอาหารและลําไส้ ปวดบริเวณศีรษะ ใบหน้า ตา จมูก ปาก และฟัน อัมพาตใบหน้า โรคระบบจิตประสาท อาการผิดปกติตามแนวเส้นจิงล่ัว เช่น ปวดกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อออ่ นแรง กลา้ มเนือ้ ลบี ปวดทรวงอก โรคของเขา่ และสะบา้ เป็นต้น 3.5 จํานวนจดุ ฝังเขม็ : 45 จดุ 4. เส้นม้ามท่ายยินเท้า (足太阴脾经) 4.1 วิถีการไหลเวียน: เริ่มจากมุมฐานเล็บนิ้วหัวแม่เท้าด้านในท่ีหย่ินป๋าย (SP 1) ไปตามขอบใน ของเท้าบนแนวรอยต่อสีผิว ผ่านกระดูกฝ่าเท้าขึ้นมาหน้าต่อตาตุ่มใน มาตามแนวหลัง-ขอบใน ของกระดกู แข้ง เลยกึง่ กลางหนา้ แขง้ จะไหลเวียนหน้าต่อเสน้ ตับ ผา่ นเขา่ และตน้ ขาด้านในมาทข่ี าหนีบ เข้าช่องท้องไปสังกัดม้ามและไปสัมพันธ์กับกระเพาะอาหาร จากนั้นผ่านกระบังลมขึ้นมาตาม หลอดอาหาร ผ่านคอหอยขน้ึ มาถงึ โคนลิ้น แล้วกระจายในปากและล้ิน บรเิ วณกระเพาะอาหาร มีเสน้ สาขาแยกไปที่หัวใจ เพ่อื เชื่อมต่อกับเสน้ หวั ใจ บริเวณขาหนีบ เส้นสาขาภายนอกจะไหลเวียนผ่านแนวกึ่งกลางหน้าท้องที่จงจี๋ (CV 3) ถงึ กฺวานหยวน (CV 4) จากนน้ั เฉียงออกไปดา้ นขา้ งห่างจากกงึ่ กลางหน้าท้อง 4 ชุ่น แล้ววกกลับมา ก่ึงกลางหน้าท้องที่เซี่ยหว่าน (CV 10) จากนั้นเฉียงออกไปห่างจากแนวกึ่งกลางหน้าท้อง 6 ชุ่น ขนึ้ มาท่ีเตา้ นม ถึงใตไ้ หปลารา้ ท่ีจงฝู่ (LU 1) เสน้ สาขาภายในไหลเวียนลงไปออกสู่ภายนอกทีส่ ีข้าง ไปสน้ิ สดุ ทีต่ ้าปาว(SP 21) (ภาพที่ 3.4) 4.2 อวยั วะที่เกย่ี วขอ้ ง: ม้าม กระเพาะอาหาร หวั ใจ ลําคอ ลนิ้ 4.3 อาการที่เกี่ยวข้อง: ปวดกระเพาะอาหาร อาเจียน ท้องเดิน แน่นท้อง ท้องร้อง บิด อาหารไม่ย่อย ดซี า่ น

กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 43 4.4 ข้อบ่งช้ี: โรคของม้าม กระเพาะอาหาร และอวัยวะเพศ โรคนรีเวช อาการผิดปกติ ตามแนวเสน้ จงิ ล่ัว 4.5 จาํ นวนจดุ ฝังเขม็ : 21 จดุ ภาพที่ 3.4 เส้นทางไหลเวยี นของเสน้ มา้ มท่ายยนิ เทา้ 5. เส้นหัวใจซ่าวยินมอื (手少阴心经) 5.1 วิถกี ารไหลเวยี น: เรม่ิ ต้นท่หี ัวใจ ไปสงั กดั ระบบหวั ใจ มีเส้นสาขาวกลงไปสัมพันธ์กับลําไส้เล็ก ขณะเดียวกัน มีเส้นสาขาภายในผ่านข้ึนมาท่ีหลอดลม หลอดอาหาร สิ้นสุดที่ระบบตา (รวมถึงสว่ นเช่ือมตอ่ กบั สมอง) เส้นจิงลั่วหลักไหลเวียนอยู่ภายในทรวงอก ผ่านปอด และออกสู่ภายนอกตรงรักแร้ ท่ีจี๋เฉฺวียน (HT 1) ไหลเวียนไปตามต้นแขนด้านใน ลงไปบริเวณศอกและปลายแขนด้าน ulnar ผ่านข้อมอื บรเิ วณกระดูก pisiform แล้วเข้าสฝู่ ่ามอื ไปส้ินสุดที่ปลายน้ิวก้อยด้าน radial ที่ซ่าวชง (HT 9) แล้วเช่อื มตอ่ กับเสน้ ลําไสเ้ ลก็ (ภาพที่ 3.5) 5.2 อวัยวะที่เก่ียวข้อง: หวั ใจ ลําไสเ้ ล็ก ปอด ลําคอ ระบบตา 5.3 อาการท่ีเก่ียวข้อง: ใจส่ัน เจ็บหน้าอก คอแห้ง กระหายนํ้า ตาเหลือง ปวดสีข้าง ปวดแขนดา้ นใน รอ้ นฝา่ มอื นอนไม่หลับ โรคลมชัก

44 บทท่ี 3 จุดฝงั เข็มและเสน้ จิงลั่ว 5.4 ขอ้ บ่งช:ี้ โรคของหัวใจและทรวงอก โรคระบบจิตประสาท อาการผิดปกติตามแนวเสน้ จิงลวั่ 5.5 จํานวนจุดฝงั เข็ม: 9 จดุ ภาพที่ 3.5 เส้นทางไหลเวียนของเส้นหัวใจซ่าวยินมอื 6. เสน้ ลําไส้เล็กทา่ ยหยางมอื (手太阳小肠经) 6.1 วิถีการไหลเวียน: เริ่มต้นจากโคนเล็บนิ้วก้อยด้าน ulnar ที่ซ่าวเจ๋อ (SI 1) ขึ้นมาท่ีสันมือ และข้อมือด้าน ulnar ผ่าน styloid process จากน้ันขึ้นมาตามขอบล่างของกระดูก ulna เข้าสู่ บริเวณศอกตรงร่องระหว่าง medial epicondyle กับ olecranon process แล้วไหลเวียนอยู่ ด้านหลังของต้นแขน เม่ือขึ้นมาที่หัวไหล่จะไหลเวียนแบบสลับฟันปลาไปถึงสะบัก ไปเชื่อมตัด กับเส้นกระเพาะปัสสาวะ 2 ตําแหน่ง และเชอ่ื มตัดกับเส้นตูที่ต้าจุย (GV 14) จากนน้ั ข้ามบ่าลงไป ก่ึงกลางแอ่งไหปลาร้า แลว้ แยกเป็นสาขาภายในกับภายนอก สาขาภายใน จะผ่านลงไปสัมพันธ์กับหัวใจ ผ่านหลอดอาหาร กระบังลม ไปสัมพันธ์ กบั กระเพาะอาหารและสังกัดลาํ ไส้เล็ก สาขาภายนอก แยกจากก่งึ กลางแอง่ ไหปลาร้าแลว้ ขึน้ ศีรษะ ผ่านข้างลําคอ แก้ม หางตา ไปส้นิ สดุ บริเวณหนา้ หูทท่ี งิ กง (SI 19) บริเวณแก้ม มีสาขาผ่านข้างจมูกขึ้นมาท่ีหัวตา เพ่ือเช่ือมต่อกับเส้นกระเพาะปัสสาวะ ทจ่ี ิงหมิง (BL 1) (ภาพท่ี 3.6) 6.2 อวัยวะทเ่ี กยี่ วข้อง: ลาํ ไส้เลก็ หัวใจ กระเพาะอาหาร หลอดอาหาร ใบหน้า หู ตา จมูก

กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 45 6.3 อาการที่เกี่ยวข้อง: หูอื้อ หูหนวก คางทูม เจ็บคอ ปวดฟัน ปวดตึงต้นคอ ปวดสะบัก ปวดทอ้ งนอ้ ยด้านขา้ ง ปวดตามแนวสันหลังรา้ วไปอณั ฑะ ตาเหลือง แก้มบวม 6.4 ข้อบ่งชี้: โรคของศีรษะ ต้นคอ หู ตา และคอหอย โรคระบบจิตประสาท กลุ่มโรคไข้ อาการ ผดิ ปกตติ ามแนวเส้นจงิ ลั่ว 6.5 จํานวนจดุ ฝังเขม็ : 19 จุด ภาพที่ 3.6 เสน้ ทางไหลเวียนของเส้นลาํ ไสเ้ ลก็ ท่ายหยางมอื 7. เสน้ กระเพาะปัสสาวะทา่ ยหยางเท้า (足太阳膀胱经) 7.1 วิถีการไหลเวียน: เริ่มต้นจากหัวตาที่จิงหมิง (BL 1) ข้ึนไปผ่านหัวค้ิว หน้าผาก ไปยอด กระหม่อมเชื่อมตัดกับเส้นตูท่ีป่ายฮุ่ย (GV 20) จากจุดน้ีมีเส้นสาขาแยกไปด้านข้างถึงบริเวณหู แล้ววนรอบหดู ้านหลงั ขนานกับเส้นถงุ นํ้าดี ตรงยอดกระหม่อม มีเส้นสาขาเข้าไปเชื่อมกับสมองแล้วออกมา ไหลเวียนต่อไปด้านหลัง ศีรษะและทา้ ยทอยถึงเทยี นจู้ (BL 10) แล้วแยกเปน็ 2 เส้น เสน้ ท่ี 1 ไหลเวยี นผา่ นตา้ จยุ (CV 14) แล้วเฉยี งออกจากแนวกึ่งกลางกระดูกสันหลัง 1.5 ชุ่น บริเวณเอวมีเส้นสาขาเข้าไปสัมพันธ์กับไตและสังกัดกระเพาะปัสสาวะ โดยเส้นหลักจะไหลเวียน ตามแนวรกู ระเบนเหน็บลงไปแก้มก้น ขาด้านหลัง จนถึงข้อพับเข่าที่เหว่ยหยาง (BL 39) แล้ววกเข้า กึ่งกลางข้อพับเข่าที่เหวย่ จง (BL 40)

46 บทที่ 3 จดุ ฝังเข็มและเสน้ จงิ ลัว่ เส้นที่ 2 แยกจากเทียนจู้ (BL 10) ไหลเวียนขนานลงไปกับเส้นที่ 1 โดยห่างจากแนว กึ่งกลางกระดูกสันหลัง 3 ชุ่น ถึงกระเบนเหน็บแล้วเฉียงออกด้านข้าง ไปเช่ือมตัดกับเส้นถุงนํ้าดี ที่หฺวานเท่ียว (GB 30) ลงไปด้านหลังของขาโดยอยู่ด้านนอกต่อเส้นที่ 1 ไปถึงข้อพับเข่าที่เหว่ยจง (BL 40) แล้วรวมเป็นเส้นเดียวกันลงไปกลางน่อง จากนั้นเฉียงออกด้านข้างเล็กน้อย ผ่านหลัง ตาตุ่มนอกไปตามขอบนอกของเท้าในแนวรอยต่อสีผิว สิ้นสุดตรงโคนเล็บนิ้วเท้าที่ 5 ด้านนอก ท่ีจื้อยนิ (BL 67) (ภาพที่ 3.7) ภาพที่ 3.7 เส้นทางไหลเวียนของเสน้ กระเพาะปัสสาวะท่ายหยางเท้า 7.2 อวยั วะท่เี กี่ยวขอ้ ง: กระเพาะปสั สาวะ ไต สมอง 7.3 อาการที่เกี่ยวข้อง: ปัสสาวะขัด ปัสสาวะรดที่นอน กลั้นปัสสาวะไม่ได้ โรคลมชัก โรคจิตซึมเศร้า คลุ้มคลั่ง ไข้จับสั่น โรคตา คัดจมูก เลือดกําเดาไหล ปวดศีรษะ ปวดต้นคอ ปวดหลงั ส่วนล่าง ปวดสะโพก ปวดขาดา้ นหลงั 7.4 ขอ้ บง่ ช้:ี โรคของศีรษะ ตน้ คอ ตา หลัง เอว และขา โรคระบบจิตประสาท โรคของอวัยวะจ้างฝู่ 7.5 จาํ นวนจดุ ฝังเขม็ : 67 จดุ

กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 47 8. เส้นไตซ่าวยนิ เท้า (足少阴肾经 ) 8.1 วถิ ีการไหลเวยี น: เรม่ิ จากนิ้วเทา้ ที่ 5 ด้านนอกท่ีเส้นกระเพาะปัสสาวะไปเชื่อมต่อกับเส้นไต บริเวณใต้ฝ่าเท้าท่ีหย่งเฉฺวียน (KI 1) ไหลเวียนขึ้นมาท่ีใต้ปุ่มกระดูก navicula ผ่านตาตุ่มใน วนบริเวณขา้ งสน้ เทา้ ดา้ นใน แล้วขึ้นบนผ่านขาและต้นขาดา้ นใน เข้าช่องท้อง ผ่านฉางเฉียง (GV 1) บริเวณฝีเยบ็ ไปตามกระดูกสนั หลงั ไปสังกดั ไตแลว้ แยกเป็น 2 เสน้ เส้นแรก ออกมาข้างสะดือ ลงไปเชื่อมตัดกับเส้นเริ่นที่กฺวานหยวน (CV 4) ต่อไปท่ีจงจี๋ (CV 3) แล้วออกมาท่ีต้าเฮ่อ (KI 12) ซ่ึงห่างจากแนวกึ่งกลางหน้าท้อง 0.5 ชุ่น จากนั้นลงไปท่ีเหิงกู่ (KI 11) แล้วเขา้ ไปสมั พันธ์กับกระเพาะปัสสาวะ เสน้ ที่ 2 ออกมาเหนือสะดือ 2 ชุ่นท่ีซางชฺวี (KI 17) ข้ึนมาผ่านตับและกระบังลม เข้าไป ท่ีปอด ไหลเวียนขึน้ มาตามแนวหลอดคอ ไปสิน้ สุดทีโ่ คนลิน้ เส้นภายนอกจะขนานกับเส้นภายในไปพร้อมกัน โดยไหลเวียนห่างจากแนวกึ่งกลางหน้าท้อง 0.5 ชุ่น จนถึงยิวเหมิน (KI 21) เม่ือถึงหน้าอกตรงช่องซี่โครงท่ี 5 ที่ปู้หลาง (KI 22) จะไหลเวียน หา่ งจากแนวก่ึงกลางหน้าอก 2 ชนุ่ จนถึงขอบลา่ งของกระดกู ไหปลารา้ ไปสน้ิ สดุ ทซ่ี ูฝู่ (KI 27) บรเิ วณปอด มีเส้นสาขาภายในไหลเวียนผา่ นหัวใจ แล้วส่งตอ่ ใหเ้ สน้ เยื่อหมุ้ หัวใจ (ภาพท่ี 3.8) ภาพท่ี 3.8 เสน้ ทางไหลเวียนของเสน้ ไตซา่ วยนิ เทา้

48 บทท่ี 3 จุดฝงั เขม็ และเสน้ จงิ ล่วั 8.2 อวยั วะท่เี ก่ียวขอ้ ง: ไต กระเพาะปสั สาวะ ตบั ปอด หวั ใจ กระดกู สนั หลงั คอหอย โคนล้นิ 8.3 อาการท่ีเก่ียวข้อง: ปัสสาวะรดท่ีนอน กล้ันปัสสาวะไม่ได้ ปัสสาวะคั่งค้าง ปัสสาวะบ่อย ฝันเปียก เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ รอบเดือนผิดปกติ หูอื้อ หูหนวก ปวดฟัน เจ็บคอ หอบหืด ไอเปน็ เลอื ด ปากแห้ง บวม ท้องผูก ทอ้ งเดนิ ปวดหลังสว่ นลา่ ง ปวดขา กล้ามเน้อื อ่อนแรง รอ้ นฝ่าเท้า โรคลมแดด โรคหลอดเลือดสมอง 8.4 ข้อบง่ ชี้: โรคทางนรเี วช อวัยวะเพศ ไต ปอด และคอหอย อาการผดิ ปกตติ ามแนวเสน้ จิงล่วั 8.5 จาํ นวนจดุ ฝงั เขม็ : 27 จุด 9. เส้นเย่ือหุ้มหัวใจเจวฺ ๋ียยินมือ (手厥阴心包经) 9.1 วิถีการไหลเวียน: เริ่มต้นจากทรวงอกไปสังกัดเยื่อหุ้มหัวใจ ไหลเวียนผ่านกระบังลม เข้าช่องท้อง ไปสัมพันธ์กับซานเจียว เส้นหลักไหลเวียนออกจากทรวงอกมาที่บริเวณตํ่ากว่าปลาย รอยพับรักแร้ด้านหน้า 3 ชุ่น ระดับราวนม ห่างจากหัวนมออกไป 1 ชุ่น ที่เทียนฉือ (PC 1) แล้วข้ึนมาท่ีรักแร้ จากน้ันวกลงไปตามแนวก่ึงกลางแขนด้านในถึงกลางฝา่ มือ ไปสน้ิ สดุ ตรงปลายนิ้วกลางท่ีจงชง (PC 9) บริเวณฝ่ามือตรงหลาวกง (PC 8) มีเส้นสาขาภายในแยกลงไปที่ปลายนิ้วนาง เชื่อมต่อ กับเสน้ ซานเจียว (ภาพที่ 3.9) ภาพท่ี 3.9 เสน้ ทางไหลเวยี นของเสน้ เย่อื หุ้มหวั ใจเจฺว๋ยี ยินมอื

กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 49 9.2 อวยั วะที่เกีย่ วข้อง: เยอ่ื ห้มุ หวั ใจ ซานเจยี ว 9.3 อาการท่ีเกี่ยวข้อง: ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว หัวใจเต้นช้า เจ็บหน้าอก แน่นหน้าอก ปวดกระเพาะอาหาร กระวนกระวาย วิตกกังวล โรคจิตซึมเศร้า คลุ้มคลั่ง โรคลมชัก รักแร้บวม ปวดเกรง็ ขอ้ ศอก รอ้ นฝา่ มือ ปวดสขี ้าง 9.4 ข้อบ่งช้ี: โรคของหัวใจ ทรวงอก และกระเพาะอาหาร โรคระบบจิตประสาท อาการ ผดิ ปกติตามแนวเส้นจิงลว่ั 9.5 จํานวนจุดฝงั เข็ม: 9 จุด 10. เส้นซานเจยี วซา่ วหยางมือ (手少阳三焦经) 10.1 วิถีการไหลเวียน: เริ่มต้นจากกวานชง (TE 1) ท่ีโคนเล็บน้ิวนางด้าน ulnar ผ่านมา ระหว่างกระดูกฝ่ามือท่ี 4 กับ 5 ผ่านข้อมือแล้วมาตามต้นแขนด้านนอกระหว่างกระดูก radius กับ ulna ผ่านปลายข้อศอก มาตามกระดูกต้นแขนด้านนอกถึงหัวไหล่ เชื่อมตัดกับเส้นถุงนํ้าดี แล้วไปต้าจุย (GV 14) จากนั้นข้ามบ่าลงไปที่แอ่งไหปลาร้า เข้าทรวงอกไปสัมพันธ์กับเยื่อหุ้มหัวใจ แลว้ ผ่านกระบงั ลมลงไปสังกัดซานเจียว ภาพที่ 3.10 เสน้ ทางไหลเวยี นของเส้นซานเจียวซ่าวหยางมอื

50 บทที่ 3 จุดฝงั เข็มและเสน้ จิงลว่ั บรเิ วณทรวงอก มีเส้นสาขาข้ึนมาที่แอง่ ไหปลาร้า แล้วตรงขึ้นมาผ่านลําคอด้านข้าง วกไปหลังหู ไหลเวียนอ้อมหลังหู แล้วข้ึนมาเหนือหู ไปถึงมุมหน้าผากแล้ววกลงล่างผ่านแก้ม จากนั้นวกข้ึนบน มาสน้ิ สุดท่ีใต้ตา บรเิ วณหลังหู มีเส้นสาขาแยกเข้าหูแล้วออกมาท่ีหน้าหู ทิศทางไหลเวียนไปหางตา เช่ือมตัด กบั เสน้ ทแ่ี ยกไปแก้ม ไปส้นิ สุดท่ีหางตาตรงซือจู๋คง (TE 23) แลว้ เช่ือมต่อกับเส้นถุงนํ้าดี (ภาพท่ี 3.10) 10.2 อวยั วะทเ่ี กยี่ วข้อง: ซานเจยี ว เยื่อหุ้มหวั ใจ หู ตา 10.3 อาการทีเ่ กีย่ วขอ้ ง: ไมเกรน หูอื้อ หูหนวก ปวดตา ตาบวม เจ็บคอ คอบวม แก้มบวม อัมพาตใบหน้า บวมหลังใบหู ปวดไหล่ ปวดศอกด้านนอก ท้องอืด ปัสสาวะขัด กล้ันปัสสาวะไม่ได้ ปัสสาวะรดท่นี อน 10.4 ข้อบ่งช้ี: โรคของศีรษะด้านข้าง ตา หู ทรวงอก และสีข้าง กลุ่มโรคไข้ อาการผิดปกติ ตามแนวเสน้ จิงลว่ั 10.5 จํานวนจดุ ฝังเขม็ : 23 จดุ 11. เสน้ ถุงน้าํ ดีซา่ วหยางเท้า (足少阳胆经 ) 11.1 วิถีการไหลเวียน: เริ่มต้นบริเวณหางตาท่ีถงจื่อเหลียว (GB 1) ไปที่หน้าหู ข้ึนไปบริเวณ มุมหน้าผากท่ีฮ่านเย่ียน (GB 4) ไหลเวียนเป็นเส้นโค้งขนานตามขอบชายผมลงมาถึงบริเวณ เหนือใบหู แล้วโค้งลงไปตามแนวหลังหถู งึ หวานกู่ (GB 12) จากนั้นวกขึ้นเป็นเส้นโค้งผ่านเหนือหู ลงมาหน้าผากทหี่ ยางป๋าย (GB 14) แล้ววกขึน้ บนศรี ษะ ลงไปชายผมด้านหลังที่เฟิงฉือ (GB 20) ไปถึงต้นคอที่เทียนหรง (SI 17) ต่อไปที่ต้าจุย (GV 14) แล้วไหลเวียนผ่านสะบักข้ามบ่าไปท่ี แอ่งไหปลาร้า ต่อไปที่รักแร้ ลงไปตามสีข้างและชายโครงถึงสะโพก อ้อมหลังไปกระเบนเหน็บ แล้ววกกลับไปที่หฺวานเที่ยว (GB 30) ไหลเวียนต่อไปท่ีด้านข้างของต้นขา ผ่านเข่าลงไป อยู่หน้าต่อกระดูกน่อง ผ่านตาตุ่มนอก ไปตามหลังเท้าโดยอยู่ด้านนอกของกระดูกฝ่าเท้าท่ี 4 ไปสน้ิ สดุ ตรงนว้ิ เท้าที่ 4 ท่ีจูเ๋ ชยี่ วยนิ (GB 44) บริเวณหลังเท้า มีเส้นสาขาภายในจากจู๋หลินชี่ (GB 41) ไหลเวียนไประหว่างกระดูก ฝ่าเท้าท่ี 1 กบั 2 ไปเช่อื มตอ่ กบั เส้นตับท่ีหัวแมเ่ ทา้ (ภาพท่ี 3.11) บรเิ วณหลังหู มเี สน้ สาขาไหลเวยี นเขา้ หู แล้วออกมาท่ีหน้าหู ตรงไปหางตา แล้วลงไปถึงต้าหยิง (ST 5) จากนนั้ วกข้ึนมาเชื่อมตัดกับเส้นซานเจียวที่ใต้ตา แล้วลงไปผ่านเจี๋ยเชอ (ST 6) ไหลเวียนลงไป ตามลําคอ เข้าแอ่งไหปลาร้าไปบรรจบกับเส้นหลัก แล้วเข้าทรวงอก ผ่านกระบังลมไปสัมพันธ์ กับตบั และสังกัดถุงนํา้ ดี จากน้ันไหลเวียนภายในลงไปตามแนวสีข้างชายโครง ต่อไปที่ขาหนีบ ใกล้กบั หลอดเลอื ดแดง femoral แล้วผ่านแนวชายขอบขนหวั หนา่ ว ไปถงึ สะโพกท่หี วฺ านเท่ียว (GB 30)

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 51 11.2 อวัยวะท่ีเก่ียวขอ้ ง: ถงุ น้าํ ดี ตับ ตา หู 11.3 อาการที่เก่ียวข้อง: ไมเกรน เวียนศีรษะ หูอื้อ หูหนวก ปวดตา ปวดฟัน เจ็บคอ ขมปาก อัมพาตใบหน้า ปวดบวมไหปลาร้า ปวดบวมรักแร้ ปวดสีข้างชายโครง ปวดต้นขา ปลายขา และเท้า ถุงนาํ้ ดอี ักเสบ นวิ่ ในถงุ นา้ํ ดี ตับอกั เสบ 11.4 ข้อบ่งชี้: โรคของศีรษะด้านข้าง ตา หู และลําคอ โรคระบบจิตประสาท กลุ่มโรคไข้ อาการผดิ ปกตติ ามแนวเส้นจงิ ล่ัว 11.5 จาํ นวนจดุ ฝังเข็ม: 44 จดุ ภาพที่ 3.11 เส้นทางไหลเวยี นของเสน้ ถงุ นํา้ ดซี า่ วหยางเทา้ 12. เส้นตบั เจวฺ ๋ียยนิ เท้า (足厥阴肝经 ) 12.1 วิถีการไหลเวียน: เร่ิมจากบริเวณท่ีมีขนหลังน้ิวหัวแม่เท้า ข้ึนมาตามหลังเท้า ถงึ จงเฟิง (LR 4) ไหลเวียนมาตามแนวขาด้านใน ข้ามเส้นม้ามบริเวณเหนือตาตุ่มใน 8 ชุ่น ไปอยู่ หลังต่อเส้นม้าม ไปตามเข่าและต้นขาด้านใน วนรอบอวัยวะเพศ แล้วเข้าไปบริเวณท้องน้อย จากนั้นไหลเวียนข้ึนมาวนรอบกระเพาะอาหาร ไปสังกัดตับและสัมพันธ์กับถุงน้ําดี แล้วผ่าน กระบังลมไปที่สีข้างชายโครง ข้ึนมาด้านหลังคอหอย เข้าสู่โพรงจมูกไปติดต่อกับระบบตา แล้วขน้ึ มาทห่ี น้าผาก เชื่อมตดั กับเส้นตูทีย่ อดกระหมอ่ ม

52 บทที่ 3 จุดฝังเข็มและเสน้ จิงล่ัว บริเวณตา มีเส้นสาขาลงไปทแี่ ก้ม วนรอบในปาก บรเิ วณตบั มีเสน้ สาขาผา่ นกระบงั ลม ไปเช่ือมต่อกบั เสน้ ปอด (ภาพท่ี 3.12) 12.2 อวยั วะทีเ่ ก่ียวข้อง: ตบั ถุงนํ้าดี กระเพาะอาหาร ปอด คอหอย จมกู ตา 12.3 อาการท่ีเกี่ยวข้อง: ดีซ่าน ปวดประจําเดือน เลือดออกจากโพรงมดลูก รอบเดือนผิดปกติ ประจําเดือนไม่มา ฝันเปียก ไส้เล่ือน เส่ือมสมรรถภาพทางเพศ ปัสสาวะรดที่นอน กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ปัสสาวะค่ังค้าง ปัสสาวะขัด คล่ืนไส้อาเจียน สะอึก ท้องเดิน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง ชกั ในเดก็ โรคลมชัก ปวดบวมตา ปวดหลงั สว่ นล่าง แน่นหนา้ อก 12.4 ขอ้ บ่งช:้ี โรคของตบั ถุงนํ้าดี และอวยั วะเพศ โรคนรเี วช อาการผิดปกตติ ามแนวเส้นจงิ ลัว่ 12.5 จาํ นวนจดุ ฝงั เข็ม: 14 จุด ภาพท่ี 3.12 เสน้ ทางไหลเวียนของเสน้ ตับเจวฺ ๋ียยนิ เท้า 13. เส้นเริ่น (任脉 ) 13.1 วิถีการไหลเวยี น: เริ่มจากช่องเชงิ กรานลงไปผ่านฝเี ย็บ ออกมาที่จดุ แรกคือ ฮุ่ยยิน (CV 1) ขึ้นมาตามแนวกึง่ กลางลาํ ตวั ผ่านหนา้ ทอ้ ง หน้าอก และลําคอ ถึงใต้ริมฝีปากแล้ววนรอบปาก ต่อไป ที่สายรั้งระหว่างริมฝีปากบนกับเหงือกที่หยินเจียว (GV 28) เชื่อมต่อกับเส้นตู แล้วแยกไป ที่ใต้ตา 2 ขา้ ง เชื่อมตัดกบั เส้นกระเพาะอาหารท่ีเฉิงช่ี (ST 1) (ภาพท่ี 3.13) 13.2 อวยั วะทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง: มดลกู ลาํ คอ รมิ ฝีปาก และตา

กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 53 13.3 อาการทเ่ี กย่ี วขอ้ ง: ปัสสาวะขัด ปัสสาวะรดท่ีนอน กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ก้อนในท้องน้อย ปวดทอ้ ง แนน่ ทอ้ ง เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ไสเ้ ลือ่ น ตกขาว ภาวะมีบุตรยาก คอพอก นอนไม่หลับ ชักกระตุก โรคลมชัก 13.4 ข้อบ่งชี้: โรคของช่องท้อง ทรวงอก ลําคอ ใบหน้า และศีรษะ โรคระบบจิตประสาท โรคนรเี วช โรคระบบอวัยวะสืบพันธ์ุ ภาวะโรคพร่อง โรคของอวยั วะจา้ งฝทู่ เ่ี กยี่ วขอ้ งกับเส้นจิงลวั่ 13.5 จํานวนจุดฝังเข็ม: 24 จุด ภาพที่ 3.13 เส้นเริน่ 14. เส้นตู (督脉) 14.1 วิถีการไหลเวียน: เร่ิมต้นภายในช่องเชิงกราน ผ่านฝีเย็บออกมาที่ฉางเฉียง (GV 1) ไหลเวียนมาตามแนวกระดูกสันหลัง ผ่านต้นคอถึงเฟิงฝู่ (GV 16) ข้ึนข้างบนตามแนวก่ึงกลางศีรษะ ผ่านยอดกระหม่อมแล้วลงมาหน้าผาก จมูก ริมฝีปากบน ไปสุดท่ีสายรั้งระหว่างริมฝีปากบน กับเหงอื กทห่ี ยินเจียว (GV 28) ตรงเฟิงฝู่ (GV 16) มีเส้นสาขาเขา้ ไปในสมอง บริเวณปลายกระดูกก้นกบ มีเส้นสาขาไปเชื่อมตัดกับเส้นไตและเส้นกระเพาะปัสสาวะ แลว้ ผ่านกระดกู สันหลังไปทีไ่ ต (ภาพที่ 3.14) 14.2 อวัยวะท่เี กี่ยวข้อง: มดลูก สมอง กระดูกสนั หลัง

54 บทที่ 3 จุดฝงั เขม็ และเสน้ จงิ ลว่ั 14.3 อาการท่ีเก่ียวข้อง: ภาวะมีบุตรยาก เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ปัสสาวะขัด ปัสสาวะรดที่นอน กล้ันปสั สาวะไม่ได้ ปวดตึงหลงั ชัก พฒั นาการทางสมองชา้ หลงลืมง่าย ริดสีดวงทวาร ภาวะเกร็งแอ่นทัง้ ตัว 14.4 ข้อบ่งช้ี: โรคระบบจิตประสาท กลุ่มโรคไข้ โรคของเอว สะโพก ศีรษะ และคอ อาการ ผดิ ปกติตามแนวเสน้ จงิ ลั่ว 14.5 จํานวนจดุ ฝังเขม็ : 28 จุด ภาพท่ี 3.14 เส้นทางไหลเวยี นของเส้นตู จุดฝังเข็มบนเส้นจิงลว่ั 1. จดุ ฝงั เข็มบนเสน้ ปอดท่ายยินมือ จงฝู่ 中府 Zhōngfǔ (LU 1): จุดมู่ของปอด จุดเชอ่ื มตัดกับเสน้ ม้าม จง หมายถึง จงเจียว ฝู่ หมายถึง การรวม เส้นปอดเริ่มต้นจากจงเจียว จุดนี้เป็นตําแหน่งที่ชี่ ของมา้ ม-กระเพาะอาหารในจงเจยี วรวมกบั ชี่ปอดแลว้ ไหลออกสู่ภายนอก ตําแหนง่ : ตรงชอ่ งซโี่ ครงท่ี 1 หา่ งจากแนวกึง่ กลางหน้าอกตามแนวระนาบ 6 ชุน่ ขอ้ บง่ ชี้: ไอ หอบ เจ็บหนา้ อก แน่นหน้าอก ปวดสะบัก วธิ แี ทงเข็ม: แทงเฉียงหรือแทงราบ 0.5-0.8 ช่นุ ปลายเขม็ ชี้ออกไปด้านขา้ งลาํ ตัว

กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 55 หยฺวินเหมนิ 云门 Yúnmén (LU 2) หยฺวิน แปลว่า เมฆ เปรียบเป็นชี่ปอด เหมิน แปลว่า ประตู จุดนี้เป็นประตูเข้าออกของช่ีปอด ตาํ แหนง่ : ใตก้ ระดูกไหปลารา้ หา่ งจากแนวกึ่งกลางหนา้ อกตามแนวระนาบ 6 ชุ่น เหนอื จงฝู่ (LU 1) 1 ชุ่น ขอ้ บง่ ชี้: ไอ หอบ แน่นหนา้ อก เจ็บหนา้ อกรา้ วไปหลัง ปวดสะบัก วธิ แี ทงเข็ม: แทงเฉยี งหรือแทงราบ 0.5-0.8 ชนุ่ ปลายเขม็ ชไ้ี ปสีขา้ ง ภาพที่ 3.15 แสดงจดุ ฝังเข็มบนเสน้ ปอด (LU 1 - LU 2) 天府เทียนฝู่ Tiānfǔ (LU 3) เทยี น แปลวา่ ฟา้ ฝู่ แปลว่า การรวม พ้องเสียงกับอวัยวะจ้างฝู่ ปอดอยู่ตําแหน่งสูงสุดเปรียบเป็นฟ้า ของอวยั วะจา้ งฝู่ ตาํ แหนง่ : ใต้ปลายรอยพับรักแร้ด้านหน้า 3 ชุ่น ตรงขอบกล้ามเน้ือ biceps brachii ด้าน radial หรอื ยื่นแขนไปขา้ งหน้าใหต้ ั้งฉากกบั ลําตัว แล้วหันหน้าให้ปลายจมกู แตะแขนจะเป็นจุดน้ีพอดี ขอ้ บง่ ช้ี: ไอ หอบ หงุดหงดิ แนน่ หนา้ อก เตา้ นมอักเสบ โรคไทรอยด์ ปวดแขน วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1 ช่นุ ภาพที่ 3.16 แสดงจดุ ฝังเข็มบนเส้นปอด (LU 3 - LU 5)

56 บทท่ี 3 จุดฝงั เขม็ และเส้นจิงลัว่ เสียป๋าย 侠白 Xiábái (LU 4): จุดทจี่ งิ เปฺย๋แยกออกจากเส้นปอด เสีย แปลว่า หนบี ป๋าย แปลวา่ ขาว หมายถึง ปอด จดุ นีข้ นาบ 2 ข้างปอด ตําแหน่ง: ใต้ปลายรอยพับรักแร้ด้านหน้า 4 ชุ่น หรือเหนือรอยพับข้อศอก 5 ชุ่น ตรงขอบด้าน radial ของกลา้ มเน้ือ biceps brachii ข้อบง่ ชี้: เจ็บหนา้ อก ไอจากชไี่ หลยอ้ น แน่นหน้าอก คลนื่ ไส้ กระสับกระส่าย ปวดแขนตามแนวเส้นปอด วิธีแทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1 ชุ่น ฉื่อเจ๋อ 尺泽 Chǐzé (LU 5): จุดเหอ ฉ่ือ หมายถึง บริเวณศอก เจ๋อ แปลว่า บึง จุดนี้อยู่ตรงรอยพับศอก เป็นที่รวมของชี่ปอด เปรียบเสมือนนา้ํ ท่ีไหลมารวมกนั เป็นบึง ตาํ แหน่ง: ตรงแอ่งรอยพับข้อศอก อยู่ดา้ น radial ต่อเอ็น biceps brachii ข้อบง่ ช้ี: ไอ หอบ แนน่ หนา้ อก ไอเป็นเลือด ไขเ้ ป็นเวลาหลงั เที่ยง เจ็บคอ ปวดต้นแขน ชักในเด็ก ไฟลามทุ่ง อาเจยี น อุจจาระรว่ ง วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 0.8-1.2 ชนุ่ หรอื เจาะปลอ่ ยเลือด ขง่ จ้ยุ 孔最 Kǒngzuì (LU 6): จดุ ซ่ี ขง่ แปลวา่ ชอ่ ง รู จ้ยุ แปลว่า มาก ลกึ เปน็ จดุ ทช่ี ีร่ วมกันอยใู่ นส่วนลกึ ตาํ แหนง่ : เหนือรอยพับข้อมือ 7 ชุ่น บนแนวเสน้ เชือ่ มระหวา่ งท่ายเยฺวยี น (LU 9) กับฉอ่ื เจอ๋ (LU 5) ข้อบง่ ช้ี: ไข้ไมม่ เี หงื่อ ไอ ไอเป็นเลอื ด หอบ เจ็บคอ ปวดแขน ปวดศอก วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1 ชุ่น ภาพที่ 3.17 แสดงจดุ ฝังเขม็ บนเส้นปอด (LU 5 - 6, LU 9)

กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 57 เลฺย่เชวฺ ยี 列缺 Lièquē (LU 7): จุดล่วั จดุ ปาม่ายเจียวฮยุ่ ทีเ่ ชื่อมกบั เส้นเริน่ เลฺย่ แปลว่า แยก เชฺวีย หมายถึง ร่อง เลฺย่เชฺวีย โบราณหมายถึง ฟ้าผ่า 1) จุดน้ีอยู่บนร่อง กระดูกที่ข้อมือเหมือนรอยฟ้าผ่า 2) การฝังเข็มจุดนี้ในผู้ป่วยที่มีอาการหนักศีรษะตาลาย เพราะกระทบเสฺยชี่ประเภทยิน ช่วยให้ศีรษะโล่งเหมือนฟ้าผ่าแล้วท้องฟ้าแจ่มใส 3) จุดน้ีมีเส้นล่ัว แยกไปทีเ่ ส้นลาํ ไส้ใหญ่ ตําแหนง่ : เหนอื รอยพับข้อมือด้านใน 1.5 ชุ่น อยู่เหนอื ตอ่ styloid process ของกระดูก radius ตรงร่องระหว่างเอ็น extensor pollicis brevis กับ abductor pollicis longus หรือเมื่อประสาน ง่ามน้วิ หัวแม่มือกบั นว้ิ ช้ีทง้ั 2 มือเข้าหากนั ตาํ แหนง่ จะอยู่ที่ปลายนวิ้ ชี้พอดี ข้อบ่งชี้: ไอ หอบ เจ็บคอ โรคหลอดเลือดสมอง อัมพาตใบหน้า ปวดศีรษะ ปวดตึงต้นคอ ปวดฟนั ปวดข้อมือ นิ้วหัวแม่มือหรือนิ้วช้ีอ่อนแรง วธิ แี ทงเข็ม: แทงเฉยี งไปทางขอ้ ศอก 0.5-1 ช่นุ ภาพที่ 3.18 แสดงวธิ ีพิเศษในการกําหนดจุดเลยฺ ่เชฺวยี (LU 7) จงิ ฉฺวี 经渠 Jīngqú (LU 8): จุดจิง จงิ แปลว่า เส้นทาง ฉฺวี แปลว่า ทางระบายนาํ้ ตําแหน่ง: เหนือรอยพับข้อมือด้านใน 1 ชุ่น ตรงร่องระหว่าง styloid process ของกระดูก radius กบั หลอดเลือดแดง radial ข้อบ่งช้ี: ไอ หอบ เจ็บหนา้ อก เจบ็ คอ ปวดขอ้ มอื นิ้วหัวแม่มอื หรือนิว้ ชี้อ่อนแรง วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 0.3-0.5 ชุน่ ท่ายเยฺวียน 太渊 Tàiyuān (LU 9): จุดซู จดุ หยวน จดุ อิทธิพลของหลอดเลือด ท่าย แปลว่า ใหญ่ เยฺวียน แปลว่า ห้วงนํ้าลึก จุดนี้เป็นศูนย์รวมของหลอดเลือดซึ่งเชื่อมต่อ กับเสน้ เจง้ิ จงิ 12 เส้น เหมอื นจุดรวมของสายนาํ้ ตําแหนง่ : อยู่ด้าน radial ของหลอดเลอื ดแดง radial บนแนวรอยพบั ขอ้ มอื ข้อบ่งชี้: ไอ ไอมีเสมหะ ไอเป็นเลือด หอบ เจ็บคอ ความดันโลหิตสูง ปวดแขน ปวดข้อมือ นิ้วหัวแมม่ อื หรอื นิ้วช้ีอ่อนแรง วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 0.3-0.5 ช่นุ

58 บทท่ี 3 จดุ ฝงั เข็มและเสน้ จงิ ล่วั หยฺวจี ี้ 鱼际 Yújì (LU 10): จดุ หยงิ หยวฺ ี แปลวา่ ปลา จี้ แปลว่า ขอบเขต จดุ นีอ้ ยบู่ นขอบทีม่ ีเน้ือหนาของฝา่ มือ ลกั ษณะคล้ายท้องปลา ตําแหน่ง: ก่งึ กลางกระดกู ฝา่ มอื ที่ 1 ตรงขอบฝา่ มือดา้ น radial บนแนวรอยตอ่ สผี ิว ขอ้ บง่ ชี้: ไอ ไอเปน็ เลือด คอแหง้ เจบ็ คอ เสยี งแหบ ไข้ ปวดศีรษะ ปวดเตา้ นม วิธแี ทงเขม็ : แทงตรง 0.5-0.7 ชุ่น 少商ซ่าวซาง Shàoshāng (LU 11): จดุ จ่ิง ซาง เป็นระดับเสียงดนตรีโบราณ สังกัดธาตุทองเช่นเดียวกับปอด ซ่าว แปลว่า น้อย เป็นจุด สุดท้ายของเสน้ ปอดซงึ่ มีชน่ี อ้ ย ตําแหน่ง: โคนเล็บน้วิ หัวแม่มือด้าน radial ห่างจากมุมฐานเลบ็ 0.1 ชุ่น ขอ้ บ่งช้ี: เจบ็ คอ เลือดกาํ เดาไหล ไอ หอบ ชกั ในเด็ก โรคจิตซมึ เศร้า คลุ้มคลั่ง ปวดเกร็งนวิ้ มอื วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 0.1 ชุน่ หรือเจาะปลอ่ ยเลอื ด 2. จุดฝังเขม็ บนเส้นลาํ ไส้ใหญห่ ยางหมิงมอื 商阳ซางหยาง Shāngyáng (LI 1): จดุ จ่ิง ซาง เป็นระดบั เสียงดนตรีโบราณ สงั กัดธาตทุ องเชน่ เดยี วกับปอด หยาง คอื หยางในยินหยาง เป็นจุดเรม่ิ ตน้ ของเสน้ ลาํ ไส้ใหญ่ซ่ึงเป็นเส้นหยาง ตําแหนง่ : โคนเลบ็ นิ้วชีด้ ้าน radial หา่ งจากมมุ ฐานเลบ็ 0.1 ชนุ่ ข้อบ่งช้ี: เจบ็ คอ แก้มบวม ปวดฟัน กลุม่ โรคไข้ โรคลมแดด หมดสติ ชานวิ้ มือ ปวดบวมนิว้ มอื วิธแี ทงเข็ม: แทงตรง 0.1 ชุน่ หรอื เจาะปล่อยเลอื ด เออ้ ร์เจียน 二间 Èrjiān (LI 2): จดุ หยิง เออ้ ร์ แปลวา่ สอง จดุ น้ีเปน็ จุดท่ี 2 ของเส้นลาํ ไสใ้ หญ่ เจยี น แปลว่า ช่องวา่ งหรอื แอง่ ตาํ แหน่ง: ตรงแอง่ หนา้ ต่อขอ้ สนั หมดั ที่ 2 ด้าน radial บนแนวรอยต่อสผี วิ ข้อบ่งช้ี: ปวดฟนั ตอ้ เนอื้ ต้อกระจก เลอื ดกําเดาไหล rosacea อมั พาตใบหน้า เจ็บคอ วธิ ีแทงเข็ม: แทงตรง 0.2-0.3 ช่นุ ซานเจียน 三间 Sānjiān (LI 3): จดุ ซู ซาน แปลวา่ สาม จดุ น้ีเปน็ จดุ ที่ 3 ของเสน้ ลําไสใ้ หญ่ เจยี น แปลวา่ ช่องวา่ งหรือแอ่ง ตาํ แหน่ง: ตรงแอง่ หลงั ต่อข้อสันหมดั ท่ี 2 ด้าน radial บนแนวรอยตอ่ สีผวิ ขอ้ บง่ ชี้: ปวดตา ปวดฟนั เจบ็ คอ ปวดไหล่ ปอดอักเสบ ปวดบวมข้อ วิธแี ทงเขม็ : แทงตรง 0.5-0.8 ชุ่น

กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 59 เหอกู่ 合谷 Hégǔ (LI 4): จดุ หยวน เหอ แปลว่า รวบรวม กู่ หมายถึง บริเวณทมี่ ีกล้ามเน้ือมาก จดุ นี้อยู่บริเวณงา่ มนิ้วซึง่ มกี ล้ามเนื้อ มาอยู่รวมกันมาก ตาํ แหนง่ : บริเวณหลงั มือ อยู่ก่งึ กลางกระดกู ฝา่ มือที่ 2 ดา้ น radial ตรงเนนิ กล้ามเน้ือ ข้อบ่งช้ี: ปวดฟัน ปวดศีรษะ ตาปวดบวมแดง เลือดกําเดาไหล หูตึง หูหนวก เจ็บคอ ขาดประจําเดือน ภาวะคลอดยาก โรคหลอดเลือดสมอง อัมพาตใบหนา้ โรคจติ ซึมเศร้า คลมุ้ คลั่ง โรคหวดั วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1 ชนุ่ ภาพท่ี 3.19 แสดงจดุ ฝังเข็มบนเส้นลําไส้ใหญ่ (LI 1- LI 5) หยางซี 阳溪 Yángxī (LI 5): จุดจิง หยาง คอื หยางในยนิ หยาง ซี แปลว่า หว้ ย จุดน้อี ยู่ด้านหยางของมือ ตรงแอ่งระหว่างเส้นเอ็น ตาํ แหน่ง: ตรงรอยพับหลงั ข้อมือด้าน radial อยู่ตําแหน่งปลายสุดของ radial styloid process ตรง anatomical snuff box ข้อบ่งช้ี: ตาปวดบวมแดง ปวดฟัน เจ็บคอ ปวดศีรษะ หูตึง หูหนวก หูอ้ือ ปวดข้อมือ น้วิ หวั แมม่ ือหรือนวิ้ ช้ีอ่อนแรง วธิ ีแทงเข็ม: แทงตรง 0.5-0.8 ชุ่น เพียนลี่ 偏历 Piānlì (LI 6): จุดลวั่ เพยี น แปลวา่ แยกออก ล่ี แปลว่า ไหลผ่าน จดุ นอี้ ยูใ่ กล้ขอ้ มอื มีเส้นล่ัวแยกออกไปท่ีเสน้ ปอด ตาํ แหนง่ : เหนอื รอยพบั ข้อมือดา้ นนอก 3 ชนุ่ บนแนวเสน้ เชือ่ มระหว่างหยางซี (LI 5) กับชฺวฉี อื (LI 11)

60 บทที่ 3 จุดฝงั เข็มและเส้นจิงลว่ั ข้อบ่งชี้: ปวดฟัน หูอื้อ หูตึง หูหนวก เลือดกําเดาไหล เจ็บคอ บวมนํ้า ปลายแขนอ่อนแรง ปวดหลังมือ วธิ ีแทงเข็ม: แทงตรงหรือแทงเฉยี ง 0.5-0.8 ชุ่น เวนิ ลวิ 温溜 Wēnliū (LI 7): จดุ ซี่ เวิน แปลว่า อบอ่นุ ลิว แปลวา่ ไหล หมายถงึ หยางชไ่ี หลลกึ ลงมาพักที่จุดนี้ ตําแหน่ง: เหนือรอยพบั ข้อมือดา้ นนอก 5 ชนุ่ บนแนวเส้นเชอ่ื มระหว่างหยางซี (LI 5) กบั ชฺวีฉอื (LI 11) ข้อบง่ ชี้: หนา้ บวม เจบ็ คอ ปวดศีรษะ ปวดทอ้ ง ทอ้ งร้อง ปวดเม่ือยไหล่ แผลฝี วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 0.5–1 ชุ่น 下廉เซีย่ เหลียน Xiàlián (LI 8) เซ่ีย แปลว่า ด้านล่าง เหลียน แปลว่า ด้านข้าง จุดน้ีอยู่ขอบล่างของมัดกล้ามเนื้อส่วนนูนที่สุด ขณะกาํ หมดั ตําแหน่ง: ใต้รอยพับศอก 4 ชนุ่ บนแนวเสน้ เชื่อมระหวา่ งหยางซี (LI 5) กบั ชฺวฉี อื (LI 11) ข้อบ่งชี้: ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ เจ็บตา ริมฝีปากแห้ง น้ําลายยืด อาหารไม่ย่อย ท้องอืด อุจจาระร่วง อจุ จาระมเี ลอื ดปน ปวดบริเวณศอก วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 0.5–1 ชนุ่ ภาพท่ี 3.20 แสดงจุดฝงั เขม็ บนเสน้ ลาํ ไส้ใหญ่ (LI 5 - LI 11) 上廉ซ่างเหลยี น Shànglián (LI 9) ซ่าง แปลว่า ด้านบน เหลียน แปลว่า ด้านข้าง จุดนี้อยู่ขอบบนของมัดกล้ามเน้ือส่วนนูนที่สุด ขณะกําหมัด

กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 61 ตาํ แหน่ง: ใต้รอยพับศอก 3 ชุ่น บนแนวเสน้ เชื่อมระหว่างหยางซี (LI 5) กับชฺวีฉือ (LI 11) ข้อบ่งชี้: ปวดท้อง อุจจาระร่วง เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ โรคหลอดเลือดสมอง ชามือ ปวดไหล่ ปวดแขน ปวดมือ วิธแี ทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1 ชุ่น 手三里โส่วซานหล่ี Shǒusānlǐ (LI 10) โส่ว แปลว่า มือ ซาน แปลว่า สาม หลี่ หมายถึง ระยะทางเป็นลี้ จุดน้ีอยู่ห่างจากปลายแหลม ศอก 3 ชุ่น ซานหลี่ เป็นการเปรียบวา่ จุดนี้รักษาโรคได้กวา้ งมาก ตําแหน่ง: ใตร้ อยพบั ศอก 2 ชนุ่ บนแนวเส้นเชือ่ มระหว่างหยางซี (LI 5) กบั ชวฺ ีฉอื (LI 11) ข้อบ่งชี้: แก้มบวม กระหายน้ํา ปวดฟัน ปวดเส้นประสาทใบหน้า เสียงแหบหาย ปวดท้อง อจุ จาระร่วง อาเจยี น ปวดหลังสว่ นลา่ ง ปวดสะบกั ปวดศอก ปวดแขน แขนอ่อนแรง วิธแี ทงเข็ม: แทงตรง 0.8-1.2 ชนุ่ ชฺวีฉอื 曲池 Qūchí (LI 11): จดุ เหอ ชวี แปลวา่ โค้ง ฉือ แปลวา่ สระน้าํ หมายถงึ แอง่ จุดนีอ้ ยู่บนแอง่ ใกล้มมุ หักศอก ตาํ แหน่ง: บริเวณศอก อยู่ตรงจุดก่ึงกลางระหวา่ งฉือ่ เจอ๋ (LU 5) กับ lateral epicondyle ของกระดูก ตน้ แขน ข้อบง่ ชี้: กลมุ่ โรคไข้ ปวดศีรษะ เวียนศรี ษะ หูตึง หูหนวก ตาแดง เจบ็ คอ ปวดฟัน ปวดบวมแขน แขนออ่ นแรง ลมพิษ วณั โรคตอ่ มนา้ํ เหลืองที่คอ ผวิ หนังอักเสบ โรคลมชกั โรคจิตซึมเศรา้ คลมุ้ คลงั่ วิธแี ทงเขม็ : แทงตรง 1-1.5 ชนุ่ 肘髎โจ่วเหลียว Zhǒuliáo (LI 12) โจว่ แปลวา่ ศอก เหลียว แปลวา่ ร่องระหว่างกระดกู จดุ น้ีอยู่ตรงร่องเหนอื ปลายศอก ตําแหนง่ : ตรงรอ่ งอยู่ขอบหนา้ ของกระดูกต้นแขนดา้ นนอก เหนอื ชฺวีฉือ (LI 11) 1 ชุ่น ในท่างอข้อศอก ข้อบง่ ช้ี: ปวด ชา หรอื เกรง็ บริเวณศอก วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 0.5-0.8 ชุ่น โสว่ อู๋หล่ี 手五里 Shǒuwǔlǐ (LI 13) โส่ว แปลวา่ ศอก อู่ แปลวา่ ห้า หล่ี เทียบเปน็ ช่นุ จุดนี้หา่ งจากปลายศอก 5 ชนุ่ ตาํ แหน่ง: เหนอื ชฺวีฉอื (LI 11) 3 ชุ่น บนแนวเส้นเชอื่ มระหวา่ งชวฺ ฉี อื (LI 11) กับเจียนหยวฺ ี (LI 15) ข้อบง่ ชี้: ปวดเกรง็ แขน วณั โรคต่อมนาํ้ เหลอื งที่คอ วิธแี ทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1 ชุ่น ระวังถูกหลอดเลือดแดง

62 บทที่ 3 จุดฝังเข็มและเสน้ จงิ ลวั่ ป้ีนา่ ว 臂臑 Bìnào (LI 14) ป้ี แปลวา่ แขน นา่ ว แปลว่า กล้ามแขน จุดน้อี ยู่บนส่วนนนู ของกล้ามแขน ตําแหน่ง: เหนือชฺวีฉือ (LI 11) 7 ชุ่น บนแนวเส้นเช่ือมระหว่างชฺวีฉือ (LI 11) กับเจียนหยฺวี (LI 15) อยู่ตรงปลายสดุ ของกล้ามเน้ือ deltoid พอดี ข้อบ่งชี้: วณั โรคตอ่ มนํา้ เหลอื งที่คอ โรคตา ปวดไหล่ยกแขนไมข่ ึ้น วิธีแทงเขม็ : แทงตรงหรอื แทงเฉียงขน้ึ บน 0.5-1.2 ชนุ่ ภาพท่ี 3.21 แสดงจุดฝังเข็มบนเสน้ ลําไส้ใหญ่ (LI 11 - LI 15) เจยี นหยฺวี 肩髃 Jiānyú (LI 15) เจียน แปลว่า ไหล่ หยฺวี แปลวา่ มุมด้านหน้า จุดนอ้ี ยู่ที่มมุ ไหลด่ า้ นหนา้ ตาํ แหนง่ : ใต้ acromion process ตรงรอยบุ๋มหน้าต่อเอ็นกล้ามเน้ือ deltoid เม่อื กางแขน 90 องศา ขอ้ บ่งช้ี: แขนอ่อนแรง ปวดไหล่ ลมพิษ วิธีแทงเขม็ : แทงตรงหรอื แทงเฉียงลงลา่ ง 0.8-1.5 ชุน่ จฺวี้กู่ 巨骨 Jùgǔ (LI 16) จว้ี แปลวา่ ใหญ่ กู่ แปลวา่ กระดูก จวฺ ้กี ู่ เป็นช่ือเรียกกระดูกไหปลาร้าในสมัยโบราณ ตาํ แหนง่ : บรเิ วณไหล่ ตรงแอ่งระหวา่ ง acromian process กบั spine ของกระดูกสะบกั ข้อบ่งช้ี: ปวดไหล่ ยกแขนไมข่ น้ึ วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1 ชนุ่ 天鼎เทียนติ่ง Tiāndǐng (LI 17) เทยี น แปลว่า ฟ้า ติ่ง คือ ภาชนะโบราณ 3 ขา กระดูกไหปลาร้า กล้ามเนื้อ sternocleidomastoid และกล้ามเนื้อ trapezius ประกอบกันเปน็ รูปสามเหลยี่ มเหมอื นภาชนะน้ี

กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 63 ตาํ แหน่ง: อยู่ชิดขอบหลังของกล้ามเนื้อ sternocleidomastoid ในระดับเดียวกับกระดูกอ่อน cricoid ใต้ฝูทู (LI 18) 1 ชุ่น ข้อบ่งช้ี: เสียงแหบหาย กลืนไม่ลง เจบ็ คอ วิธีแทงเขม็ : แทงตรง 0.5-0.8 ชนุ่ ภาพที่ 3.22 แสดงจดุ ฝงั เข็มบนเสน้ ลําไสใ้ หญ่ (LI 17 - LI 18) ฝทู ู 扶突 Fútū (LI 18) ฝู แปลว่า พยงุ ทู แปลว่า สว่ นนูน จดุ น้ีอยู่บนกล้ามเน้ือ sternocleidomastoid 2 มดั ท่ีพยุงกัน ตาํ แหนง่ : อยู่กึง่ กลางมดั กลา้ มเนื้อ sternocleidomastoid ห่างจากลูกกระเดอื กตามแนวระนาบ 3 ชุน่ ขอ้ บง่ ช้ี: เจ็บคอ เสยี งหายเฉียบพลัน ไอ หอบ คอพอก วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 0.5-0.8 ชุ่น โขว่ เหอเหลียว 口禾髎 Kǒuhéliáo (LI 19) โขว่ แปลวา่ ปาก เหอ แปลว่า ธัญญาหาร เหลียว แปลว่า ร่องระหว่างกระดูก จุดน้ีอยู่ใกล้ปาก ปากมีหน้าท่ีรับอาหาร จุดน้ีอยใู่ นรอ่ งกระดูกขากรรไกรบนระหว่างฟันตัดกับฟนั เขย้ี ว ตาํ แหน่ง: ตรงจดุ ตัดของเส้นที่ลากจากสุ่ยโกว (GV 26) ตามแนวระนาบกับเส้นที่ลากจากขอบล่าง ของปีกจมูกดา้ นนอกในแนวดิ่ง ขอ้ บ่งช้ี: คดั จมูก เลอื ดกําเดาไหล อัมพาตใบหนา้ ขากรรไกรแข็ง วิธแี ทงเขม็ : แทงตรงหรอื แทงเฉยี ง 0.3-0.5 ช่นุ 迎香หยิงเซียง Yíngxiāng (LI 20) หยิง แปลว่า ต้อนรับ เซยี ง แปลวา่ หอม จดุ นอี้ ยขู่ า้ งจมกู ใชร้ ักษาความผิดปกตขิ องการรบั กลน่ิ ตาํ แหน่ง: ตรงร่องแก้ม ระดับเดยี วกับก่ึงกลางปีกจมูก

64 บทที่ 3 จุดฝังเขม็ และเสน้ จงิ ลั่ว ขอ้ บง่ ช้ี: คัดจมูก เลือดกาํ เดาไหล อัมพาตใบหนา้ คนั ใบหนา้ พยาธิไสเ้ ดอื นในทอ่ นาํ้ ดี วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง แทงเฉียง หรือแทงราบ 0.3-0.5 ชุ่น 3. จดุ ฝังเขม็ บนเส้นกระเพาะอาหารหยางหมิงเทา้ เฉิงชี่ 承泣 Chéngqì (ST 1): จุดเชอ่ื มตัดกับเสน้ เริน่ และเสน้ หยางเชยี ว เฉงิ แปลว่า รบั ช่ี แปลว่า น้ําตา หมายถงึ จดุ รับนาํ้ ตา ตาํ แหน่ง: ระหว่างลูกตากับขอบลา่ งของกระดูกเบา้ ตา ตรงกับรูมา่ นตาในแนวดิ่ง ข้อบง่ ชี้: ตาปวดบวมแดง น้ําตาไหลเมื่อถูกลม ตาบอดกลางคืน สายตาสั้น อัมพาตใบหน้า พูดลําบาก หนงั ตากระตกุ วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง ลึก 0.5-1 ชุน่ ซ่ือปา๋ ย 四白 Sìbaí (ST 2) ซื่อ แปลว่า สี่ ป๋าย แปลว่า ขาว หมายถึง สว่าง จุดนี้ใช้รักษาโรคตา ช่วยให้มองเห็นคมชัด ทุกทศิ ทาง ตาํ แหนง่ : ตรงกบั infraorbital foramen ข้อบ่งชี้: ต้อเนื้อ ต้อกระจก ตาแดง คันตา ปวดตา น้ําตาไหลเม่ือถูกลม หนังตากระตุก อัมพาตใบหนา้ ปวดเสน้ ประสาทใบหน้า กลา้ มเนือ้ ใบหน้ากระตุก วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรงหรอื เฉียง 0.3-0.5 ช่นุ ภาพที่ 3.23 แสดงจดุ ฝงั เข็มบนเส้นกระเพาะอาหาร (ST 1 – ST 4) จวฺ เ้ี หลียว 巨髎 Jùliáo (ST 3): จุดเชอ่ื มตัดกับเส้นหยางเชยี ว จฺวี้ แปลว่า ใหญ่ เหลียว แปลว่า ร่องระหว่างกระดูก จุดนี้อยู่ในร่องระหว่างกระดูกโหนกแก้ม กับกระดกู ขากรรไกรบน ตาํ แหน่ง: ตรงจุดตัดของเส้นทลี่ ากจากขอบล่างของปีกจมกู ตามแนวระนาบกับเส้นที่ลากจากรูม่านตา ในแนวด่ิง

กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 65 ข้อบ่งช้ี: ต้อเนื้อ ต้อกระจก ตาพร่า หนังตากระตุก อัมพาตใบหน้า ปวดฟัน เลือดกําเดาไหล แก้มบวม ริมฝปี ากบวม วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 0.3-0.4 ชุ่น ตช้ี าง 地仓 Dìcāng (ST 4): จดุ เชอื่ มตัดกบั เสน้ ลาํ ไส้ใหญ่และเสน้ หยางเชียว ตี้ แปลว่า พื้นดนิ ชาง แปลวา่ ยุ้งฉาง อาหารทีเ่ คี้ยวค้างอยู่บรเิ วณกระพุ้งแก้มตรงน้ีเปรียบเป็นยุ้งฉาง ตําแหน่ง: ตรงจุดตัดของเส้นที่ลากจากมุมปากตามแนวระนาบกับเส้นที่ลากจากรูม่านตา ในแนวดิง่ หา่ งจากมมุ ปากเท่ากบั 0.4 ช่นุ ข้อบ่งชี้: ปวดเส้นประสาทใบหนา้ อัมพาตใบหน้า พดู ลาํ บาก นํ้าลายยืด วธิ ีแทงเขม็ : แทงเฉียงหรือแทงราบ 0.5-0.8 ชุ่น 大迎ต้าหยงิ Dàyíng (ST 5) ตา้ แปลว่า ใหญ่ หยงิ แปลว่า รับ ต้าหยงิ หมายถึง กระดกู ขากรรไกรล่าง ตําแหน่ง: ตรงแอ่งอยู่ขอบหน้าของกล้ามเน้ือ masseter ที่ยึดเกาะขากรรไกรล่าง ซึ่งคลําได้ชีพจร facial artery ขอ้ บ่งช้ี: อัมพาตใบหน้า ใบหนา้ กระตกุ ขากรรไกรแข็ง หน้าบวม ปวดฟนั วิธแี ทงเข็ม: แทงตรง 0.3 ชุ่น หรือแทงราบ ระวงั ถูกหลอดเลอื ดแดง facial ภาพท่ี 3.24 แสดงจดุ ฝังเขม็ บนเส้นกระเพาะอาหาร (ST 5 - ST 8) 颊车เจย๋ี เชอ Jiáchē (ST 6) เจี๋ย แปลวา่ แกม้ เชอ โบราณ หมายถงึ แกม้ ส่วนล่างใกล้คาง เจยี๋ เชอกู่ หมายถึง กระดกู ขากรรไกรลา่ ง ตาํ แหนง่ : อยู่หา่ งจากมมุ ขากรรไกรล่างในแนวเฉียง 45 องศาขึ้นมา 1 ชุ่น ตรงจุดนูนที่สุดของกล้ามเน้ือ masseter เวลาขบกราม

66 บทท่ี 3 จุดฝังเข็มและเส้นจิงลว่ั ข้อบ่งชี้: ขอ้ ขากรรไกรตดิ ขัด แกม้ บวม ปวดฟนั อัมพาตใบหนา้ วธิ ีแทงเข็ม: แทงตรง 0.3-0.5 ชนุ่ หรือแทงเฉยี ง 0.5-1 ช่นุ เซยี่ กฺวาน 下关 Xiàguān (ST 7): จุดเชอื่ มตัดกับเส้นถงุ น้ําดี เซ่ยี แปลว่า ด้านลา่ ง กฺวาน แปลว่า ด่าน จุดอยดู่ า้ นลา่ งของกระดูกโหนกแก้ม เป็นดา่ นเปิดปิดปาก ตาํ แหนง่ : หนา้ ตอ่ ใบหู ตรงแอง่ ระหวา่ งกึง่ กลางขอบล่างของ zygomatic arch กบั mandibular notch ขอ้ บ่งช้ี: ขากรรไกรแขง็ ปวดเสน้ ประสาทใบหนา้ อมั พาตใบหน้า แก้มบวม ปวดฟัน หูอ้ือ หูตึง หูหนวก หูนาํ้ หนวก วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1 ชุน่ โถวเหวย 头维 Tóuwéi (ST 8): จุดเชอื่ มตัดกับเส้นถุงนํ้าดีและเสน้ หยางเหวย โถว แปลว่า ศีรษะ เหวย แปลวา่ มมุ จดุ น้ีอยู่เหนอื มุมหน้าผาก ตําแหน่ง: เหนอื มุมชายผมขอบหน้าผากข้นึ ไป 0.5 ชุน่ และห่างจากแนวกึ่งกลางศรี ษะ 4.5 ชนุ่ ข้อบง่ ชี้: ปวดศรี ษะ ปวดตา นา้ํ ตาไหลเม่อื ถูกลม ต้อเนื้อ ต้อกระจก ตาลาย หนงั ตากระตกุ วิธแี ทงเข็ม: แทงราบ 0.5-1 ชุ่น ปลายเขม็ ชไ้ี ปหาตําแหน่งของโรค หมายเหตุ: หา้ มลนยา เหรนิ หยงิ 人迎 Rényíng (ST 9): จุดเชอื่ มตดั กับเส้นถงุ น้าํ ดี เหริน แปลว่า คน หมายถึง ตําแหนง่ หนงึ่ ในชีพจรสามสว่ นเกา้ ตําแหน่ง หยิง แปลว่า พบกนั ตําแหนง่ : อยู่ชิดขอบหนา้ ของกล้ามเนื้อ sternocleidomastoid ในระนาบเดียวกับลูกกระเดือก ตรงทคี่ ลําได้ชพี จร common carotid ข้อบ่งช้ี: หอบ ปวดศีรษะ เจบ็ คอ วัณโรคต่อมนํา้ เหลอื งท่ีคอ คอพอก ความดันโลหติ สูง ปวดเข่า วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 0.3-0.4 ชนุ่ ระวังถูกหลอดเลือดแดง หมายเหตุ: ห้ามแทงลกึ ห้ามลนยา ภาพที่ 3.25 แสดงจุดฝังเขม็ บนเส้นกระเพาะอาหาร (ST 9 - ST 12)

กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 67 水突ส่ยุ ทู Shǔitū (ST 10) สุ่ย แปลว่า น้ํา หมายถึง อาหาร ทู แปลว่า ส่วนนูน จุดนี้อยู่ 2 ข้างของลูกกระเดือก เวลากลืน อาหารจดุ นีจ้ ะเคลอื่ นขน้ึ บน ตําแหน่ง: อยู่ชดิ ขอบหนา้ ของกล้ามเน้ือ sternocleidomastoid ในระนาบเดียวกับกระดูก hyoid ข้อบ่งชี้: ไอ หอบ เจ็บคอ คอพอก วิธีแทงเขม็ : แทงตรง 0.3-0.4 ชนุ่ ช่ีเซอ่ 气舍 Qìshè (ST 11) เซ่อ แปลว่า ที่พักอาศัย ขณะหายใจเข้าเต็มที่ ชปี่ อดจะขน้ึ ถึงตาํ แหนง่ นี้ ตําแหน่ง: อยู่ตรงขอบบนของปลายกระดูกไหปลาร้าด้าน medial ระหว่าง sternal head กับ clavicular head ของกล้ามเนือ้ sternocleidomastoid ขอ้ บ่งชี้: ไอ หอบ สะอึก เจบ็ คอ คอบวม คอพอก วณั โรคต่อมนา้ํ เหลอื งท่ีคอ ปวดตึงตน้ คอ วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 0.3-0.5 ชุ่น เชฺวียเผิน 缺盆 Quēpén (ST 12) เชฺวียเผนิ คือแอง่ กระดกู ไหปลารา้ ตาํ แหน่ง: ตรงกลางแอ่งไหปลาร้า ห่างจากแนวกึ่งกลางลาํ คอตามแนวระนาบ 4 ช่นุ ขอ้ บง่ ช้ี: ไอ หอบ เจบ็ คอ คอบวม วัณโรคต่อมนา้ํ เหลืองทค่ี อ ปวดแอง่ ไหปลาร้า วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 0.3-0.5 ชุ่น หมายเหตุ: หา้ มใช้ในหญงิ ตงั้ ครรภ์ ชี่ฮู่ 气户 Qìhù (ST 13) ฮู่ แปลว่า ประตู จดุ น้ีอย่ทู ีห่ น้าอกสว่ นบน เปรยี บเสมอื นประตูเข้าออกของช่ี ตําแหน่ง: อย่ชู ดิ ขอบลา่ งของกระดกู ไหปลารา้ หา่ งจากแนวกึง่ กลางหนา้ อกตามแนวระนาบ 4 ชุน่ ขอ้ บง่ ช้ี: ไอ หอบ สะอกึ เจ็บหนา้ อก เจ็บแนน่ หน้าอก ปวดสขี า้ ง วิธแี ทงเข็ม: แทงเฉยี ง 0.3-0.5 ชุ่น 库房คู่ฝาง Kùfáng (ST 14) คู่ แปลวา่ คลงั โกดงั ฝาง แปลวา่ ห้อง จดุ นี้เป็นท่ีเกบ็ รกั ษาชแี่ ละสารอาหาร ตําแหนง่ : ตรงชอ่ งซี่โครงที่ 1 หา่ งจากแนวก่ึงกลางหน้าอกตามแนวระนาบ 4 ชุ่น ข้อบ่งช้ี: เจบ็ แนน่ หนา้ อก ปวดสขี า้ ง ไอ ไอเปน็ เลือดปนหนอง หอบ วธิ ีแทงเข็ม: แทงเฉียง 0.3-0.5 ชุน่

68 บทที่ 3 จดุ ฝังเขม็ และเส้นจงิ ลว่ั อูอี้ 屋翳 Wūyì (ST 15) อู แปลว่า บา้ น อ้ี แปลว่า ที่กําบัง อูอี้ เปรียบเสมือนหลังคาบ้าน เมื่อหายใจเข้าชจี่ ะผา่ นตําแหน่งน้ี กอ่ นเข้าสูป่ อดสว่ นลึก ตาํ แหน่ง: ตรงชอ่ งซ่โี ครงที่ 2 หา่ งจากแนวกึง่ กลางหนา้ อกตามแนวระนาบ 4 ชุ่น ข้อบง่ ช้ี: ไอ หอบ เจบ็ หนา้ อก เตา้ นมอักเสบ วิธีแทงเข็ม: แทงเฉียง 0.3-0.5 ชุ่น 膺窗องิ ชวง Yīngchuāng (ST 16) อิง แปลว่า อก ชวง แปลว่า หน้าต่าง จุดน้ีเปรียบเสมือนหน้าต่างใต้ชายคาบ้านซ่ึงลมพัดผ่านได้ สะดวก มสี รรพคณุ ระบายชี่ทีอ่ ดั อ้นั บรเิ วณทรวงอก ตาํ แหน่ง: ตรงช่องซโ่ี ครงท่ี 3 ห่างจากแนวกึ่งกลางหนา้ อกตามแนวระนาบ 4 ชนุ่ ขอ้ บ่งชี้: ไอ หอบ เจ็บแน่นหน้าอก หายใจกระชน้ั เต้านมอักเสบ วธิ แี ทงเขม็ : แทงเฉยี ง 0.3-0.5 ชนุ่ 乳中หรูจ่ ง Rǔzhōng (ST 17) หรู่ แปลวา่ นม จง แปลวา่ กลาง จดุ น้อี ยกู่ ลางหัวนม ตาํ แหนง่ : ตรงชอ่ งซโ่ี ครงที่ 4 หา่ งจากแนวกงึ่ กลางหนา้ อกตามแนวระนาบ 4 ชนุ่ ตรงหัวนม หมายเหตุ: ใชเ้ ปน็ ตาํ แหนง่ อา้ งองิ ในการหาจดุ ฝังเข็ม ห้ามฝงั เข็ม-ลนยา หรเู่ กิน 乳根 Rǔgēn (ST 18) หรู่ แปลว่า นม เกนิ แปลวา่ ฐาน จุดนี้อยูท่ ่รี าวนม ตาํ แหนง่ : บริเวณราวนม ตรงช่องซ่โี ครงที่ 5 หา่ งจากแนวกงึ่ กลางหน้าอกตามแนวระนาบ 4 ชุ่น ข้อบง่ ช้ี: เต้านมอกั เสบ นาํ้ นมนอ้ ย เจบ็ หนา้ อก ไอ หอบ สะอกึ วิธีแทงเข็ม: แทงเฉยี ง 0.3-0.5 ชุ่น 不容ปหู้ รง Bùróng (ST 19) ปู้ แปลว่า ไม่ หรง แปลวา่ รองรับ เปน็ จุดสูงสดุ ท่ีกระเพาะอาหารไมส่ ามารถรบั อาหารเพิ่มได้อีก ตาํ แหน่ง: เหนอื สะดอื 6 ช่นุ และห่างออกไปตามแนวระนาบ 2 ช่นุ ขอ้ บ่งชี้: ท้องอดื ปวดท้อง ปวดท้องรา้ วไปหลงั ปวดใตช้ ายโครง อาเจยี น เบ่อื อาหาร วิธแี ทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1 ช่นุ 承满เฉิงหม่าน Chéngmǎn (ST 20) เฉงิ แปลวา่ รับ หม่าน แปลว่า เต็ม เปน็ ตาํ แหนง่ ที่อาหารเต็มกระเพาะอาหารพอดี ตําแหน่ง: เหนอื สะดอื 5 ชนุ่ และหา่ งออกไปตามแนวระนาบ 2 ชนุ่

กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 69 ข้อบ่งช้ี: ท้องรอ้ ง ปวดทอ้ ง กลนื ไม่ลง เบ่อื อาหาร อาเจียนเป็นเลอื ด วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1 ชุ่น 梁门เหลยี งเหมิน Liángmén (ST 21) เหลียง แปลวา่ คาน เหมนิ แปลวา่ ประตู จุดน้ใี ช้รกั ษาอาการจุกแนน่ เพราะชีก่ ระเพาะอาหารถูกขวาง ตําแหนง่ : เหนือสะดอื 4 ชุ่น และห่างออกไปตามแนวระนาบ 2 ช่นุ ขอ้ บง่ ช้ี: ทอ้ งอดื ปวดท้อง อุจจาระรว่ ง เบอ่ื อาหาร อาเจยี น อาหารไม่ยอ่ ย วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 0.8–1.2 ชนุ่ ภาพท่ี 3.26 แสดงจุดฝงั เขม็ บนเส้นกระเพาะอาหาร (ST 21,T 25, ST 29) 关门กฺวานเหมนิ Guānmén (ST 22) กฺวาน แปลว่า ด่าน เหมิน แปลว่า ประตู จุดนี้อยู่บริเวณกระเพาะอาหารส่วนต่อกับลําไส้เล็ก เปรยี บเสมือนประตเู ปดิ ปิดควบคมุ การทาํ งานของกระเพาะอาหาร ตําแหน่ง: เหนือสะดอื 3 ชุ่น และหา่ งออกไปตามแนวระนาบ 2 ชนุ่ ขอ้ บง่ ช้ี: ทอ้ งอดื ปวดทอ้ ง ท้องร้อง อจุ จาระรว่ ง บวมนาํ้ ปัสสาวะรดท่นี อน กล้ันปสั สาวะไมไ่ ด้ วิธีแทงเขม็ : แทงตรง 0.7-1 ชุ่น ทา่ ยอ่ี 太乙 Tàiyí (ST 23) ท่ายอ่ี เป็นตําแหน่งกึ่งกลาง ม้ามสังกัดธาตุดินอยู่ตรงกลาง จุดนี้อยู่ตํ่ากว่ากระเพาะอาหาร ซึ่งอยู่ก่งึ กลางชอ่ งท้อง ตาํ แหนง่ : เหนอื สะดือ 2 ชนุ่ และห่างออกไปตามแนวระนาบ 2 ช่นุ

70 บทท่ี 3 จดุ ฝังเขม็ และเส้นจิงลัว่ ข้อบง่ ช้ี: โรคจติ ซมึ เศร้า คลุ้มคลัง่ ลิ้นแลบควบคมุ ไม่ได้ ท้องอืด ปวดท้อง อาเจยี น วิธแี ทงเข็ม: แทงตรง 0.7-1 ชนุ่ หฺวาโร่วเหมนิ 滑肉门 Huáròumèn (ST 24) หฺวา แปลว่า ล่ืน โร่ว แปลว่า เน้ือ เหมิน แปลว่า ประตู เป็นชื่อเรียกกล้ามเนื้อหน้าท้องในสมัย โบราณ ตําแหน่ง: เหนือสะดือ 1 ชนุ่ และห่างออกไปตามแนวระนาบ 2 ชุ่น ขอ้ บ่งช้ี: โรคจิตซึมเศรา้ คล้มุ คลั่ง ลิ้นแลบควบคุมไมไ่ ด้ ปวดทอ้ ง อาเจียน วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 0.7-1 ชุน่ เทยี นซู 天枢 Tiānshū (ST 25): จุดม่ขู องลําไสใ้ หญ่ เทียน แปลว่า ฟ้า ซู แปลว่า แกนหมนุ เปน็ จดุ แบง่ ท้องส่วนบนกบั ส่วนล่าง ตําแหนง่ : หา่ งจากสะดอื ตามแนวระนาบ 2 ชุน่ ข้อบ่งชี้: ท้องอืด ปวดท้อง ท้องร้อง อุจจาระร่วง ท้องผูก ปวดท้องรอบสะดือ บิด รอบเดือนผิดปกติ ปวดประจาํ เดือน วิธแี ทงเขม็ : แทงตรง 1.0-1.5 ช่นุ หมายเหตุ: หา้ มลนยาในหญิงต้งั ครรภ์ 外陵ว่ายหลิง Wàilíng (ST 26) วา่ ย แปลว่า ด้านนอก หลงิ แปลว่า เนนิ เขา กลา้ มเนอื้ บริเวณน้ีจะแข็งตึงดูเปน็ เนินเวลาเบ่งท้อง ตาํ แหน่ง: ใตส้ ะดือ 1 ชนุ่ และหา่ งออกไปตามแนวระนาบ 2 ช่นุ ข้อบ่งช้ี: ปวดทอ้ ง ไสเ้ ลอ่ื น ปวดประจําเดือน วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1 ชนุ่ ต้าจฺว้ี 大巨 Dàjù (ST 27) ตา้ แปลว่า ใหญ่ จฺวี้ แปลว่า ใหญม่ าก เป็นจุดท่ีนนู ที่สดุ ของหน้าท้อง ตําแหน่ง: ใต้สะดือ 2 ช่นุ และหา่ งออกไปตามแนวระนาบ 2 ชนุ่ ข้อบ่งชี้: แนน่ ท้องนอ้ ย ปัสสาวะขดั ไส้เลอื่ น ฝนั เปียก วธิ ีแทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1 ชนุ่ 水道สุ่ยต้าว Shuǐdào (ST 28) สุ่ย แปลวา่ นํ้า ตา้ ว แปลวา่ เส้นทาง ใตจ้ ดุ น้ตี รงกับกระเพาะปสั สาวะ ตาํ แหน่ง: ใต้สะดือ 3 ชุ่น และหา่ งออกไปตามแนวระนาบ 2 ชุ่น

กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 71 ขอ้ บง่ ชี้: แนน่ ทอ้ งน้อย ปัสสาวะขัด ไสเ้ ลอ่ื น ปวดประจําเดือน ภาวะมีบุตรยาก เป็นจุดท่ีใช้บ่อย ในการขบั นา้ํ วิธแี ทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1 ชุน่ 归来กุยหลาย Gūilái (ST 29) กยุ แปลวา่ กลับ หลาย แปลวา่ มา จุดนีใ้ ช้รกั ษาอวัยวะภายในหย่อน ตาํ แหนง่ : ใตส้ ะดือ 4 ชุ่น และห่างออกไปตามแนวระนาบ 2 ชุ่น ข้อบ่งช้ี: ไส้เลื่อน ปวดท้องน้อย สตรีเส่ือมสมรรถภาพทางเพศ รอบเดือนผิดปกติ ตกขาว มดลกู หยอ่ น วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 1.0-1.5 ช่นุ 气冲ชี่ชง Qìchōng (ST 30) ชง หมายถึง ทางหลกั เป็นจุดเริ่มต้นของเส้นชง ตาํ แหนง่ : ตรงร่องขาหนีบ ระดับเดียวกับขอบบนของกระดูกหัวหน่าว ห่างจากแนวก่ึงกลางท้องน้อย ตามแนวระนาบ 2 ชุ่น บรเิ วณท่คี ลาํ ได้ชพี จร hypogastric โดยอยดู่ ้านในต่อหลอดเลอื ด ขอ้ บ่งช้ี: ไสเ้ ลื่อน รอบเดือนผิดปกติ ภาวะมีบุตรยาก เส่ือมสมรรถภาพทางเพศ อวัยวะเพศบวม ปวดทอ้ ง ทอ้ งร้อง วธิ ีแทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1 ชนุ่ 髀关ปีก้ ฺวาน Bìguān (ST 31) ปี้ แปลว่า ต้นขา กฺวาน แปลว่า ด่าน เป็นจุดท่ีเส้นจิงล่ัวผ่านจากท้องน้อยไปสู่ต้นขาด้านหน้า และเปลี่ยนจากยินเป็นหยางเหมอื นการผา่ นด่าน ตําแหน่ง: จุดตดั ของเส้นท่ีลากจาก anterior superior iliac spine ถึงขอบนอกของฐานกระดูกสะบ้า กับเสน้ แนวระนาบระดบั รอ่ งแกม้ ก้น ตรงรอยบมุ๋ ด้าน lateral ของกลา้ มเน้อื sartorius ขอ้ บ่งชี้: ชาขา ปวดขา ขาลีบ ขาอ่อนแรง ปวดหลังสว่ นล่าง เย็นเข่า ขอ้ ติดขัด วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 0.6-1 ชุน่ ฝูทู่ 伏兔 Fútù (ST 32) ฝู แปลว่า หมอบ ทู่ แปลว่า กระต่าย จุดนี้อยู่บนกล้ามเนอื้ ท่ีมลี กั ษณะคล้ายกระต่ายหมอบ ตําแหน่ง: เหนือฐานกระดูกสะบ้า 6 ชุ่น บนแนวเส้นเชื่อมระหว่างขอบนอกของกระดูกสะบ้า กับ anterior superior iliac spine ข้อบง่ ชี้: ขาลบี ขาอ่อนแรง ปวดหลงั ส่วนลา่ ง เยน็ เอว ปวดหวั เข่า เย็นหัวเขา่ วิธแี ทงเข็ม: แทงตรง 1-2 ชุ่น

72 บทท่ี 3 จดุ ฝังเข็มและเส้นจิงลัว่ 阴市ยินซอ่ื Yīnshì (ST 33) ยิน คือ ยินในยินหยาง หมายถึง เสฺยชี่ความเย็น ซื่อ แปลว่า ตลาดท่ีรวมอาหาร หมายถึง กระเพาะอาหาร จดุ นีใ้ ชอ้ ่นุ เส้นจิงล่ัวและสลายความเยน็ ตําแหน่ง: เหนือฐานกระดูกสะบ้า 3 ชุ่น บนแนวเส้นเชื่อมระหว่างขอบนอกของกระดูกสะบ้า กับ anterior superior iliac spine โดยอยู่ชิดขอบนอกของกลา้ มเนื้อ rectus femoris ข้อบ่งช้ี: ปวดไสเ้ ลอื่ น ปวดเขา่ หรอื ปวดขาเหตุความเยน็ ขาลีบ ขาอ่อนแรง วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1 ช่นุ ภาพท่ี 3.27 แสดงจุดฝงั เขม็ บนเส้นกระเพาะอาหาร (ST 31 - ST 34) 梁丘เหลียงชิว Liángqiū (ST 34): จดุ ซ่ี เหลียง แปลวา่ คาน ชวิ แปลวา่ เนิน จดุ นอี้ ยู่เหนอื ฐานกระดูกสะบา้ บนกล้ามเนื้อที่เปน็ เนนิ ตําแหน่ง: เหนือฐานกระดูกสะบ้า 2 ชุ่น บนแนวเส้นเชื่อมระหว่างขอบนอกของกระดูกสะบ้า กับ anterior superior iliac spine อยู่ระหว่างกล้ามเน้ือ vastus lateralis กับเอ็น rectus femoris ข้อบง่ ช้ี: เตา้ นมอกั เสบ ปวดบวมเข่า ขาออ่ นแรง ปวดกระเพาะอาหาร วิธแี ทงเข็ม: แทงตรง 1-1.2 ชุ่น ตปู๋ ี๋ 犊鼻 Dúbí (ST 35) ตู๋ แปลว่า ลูกววั ปี๋ แปลวา่ จมกู จุดนี้อยู่ใกลก้ ระดกู สะบา้ ซ่ึงดูคลา้ ยจมกู ลูกววั ตาํ แหน่ง: ตรงรอยบมุ๋ อยู่ขอบลา่ งและดา้ นนอกต่อเอ็นสะบ้า ขอ้ บง่ ช้ี: ข้อเข่าตดิ ขดั ปวดบวมข้อเข่า เหน็บชา วธิ ีแทงเขม็ : แทงเฉียง 0.5-1 ชุน่ ใหป้ ลายเข็มชี้เขา้ ด้านใน

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 73 จู๋ซานหลี่ 足三里 Zúsānlǐ (ST 36): จดุ เหอ จู๋ แปลว่า เท้า ซาน แปลว่า สาม หล่ี มี 3 ความหมาย 1) ความยาวหน่วยเป็นชุ่น จุดนี้อยู่ใต้กระดูก สะบ้า 3 ชุ่น 2) พ้องกับความหมายว่า จัดการ ดูแล จุดนี้ใช้รักษาโรคของช่องท้องส่วนบน สว่ นกลาง และส่วนล่าง 3) หมายถงึ ระยะทางเปน็ ล้ี ซานหล่ี เปรียบว่าจดุ น้รี กั ษาโรคได้กวา้ งมาก ตาํ แหน่ง: ใตต้ ู๋ปี๋ (ST 35) 3 ชุ่น อยู่ดา้ นนอกตอ่ สนั กระดกู แข้งเท่ากับความกวา้ งนวิ้ กลางทาบ ข้อบ่งช้ี: ปวดกระเพาะอาหาร อาเจียน ท้องอืด ท้องร้อง ขาอ่อนแรง อุจจาระร่วง ท้องผูก บิด เด็กขาดสารอาหาร โรคจิต,ซึมเศร้า คลุ้มคล่ัง โรคหลอดเลือดสมอง ชาปลายเท้า บวมน้ํา ขาอ่อนแรง ใจส่นั หายใจกระช้ัน รา่ งกายทรดุ โทรมซบู ผอม เต้านมอกั เสบ วธิ ีแทงเข็ม: แทงตรง 1-2 ชุ่น ภาพที่ 3.28 แสดงจุดฝังเขม็ บนเส้นกระเพาะอาหาร (ST 35 - ST 40) ซ่างจวฺ ้ีซฺวี 上巨虚 Shàngjùxū (ST 37): จดุ เซย่ี เหอของเส้นลาํ ไสใ้ หญ่ ซ่าง แปลว่า ด้านบน จฺว้ี แปลวา่ ใหญ่มาก ซฺวี แปลว่า ช่องว่าง จุดนี้อยู่ตอนบนของช่องว่าง ระหวา่ งกระดกู แข้งกบั กระดูกน่อง ตาํ แหน่ง: ใตต้ ูป๋ ี๋ (ST 36) 6 ชนุ่ อยู่ด้านนอกต่อสนั กระดูกแขง้ เทา่ กับความกว้างนิ้วกลางทาบ ข้อบ่งชี้: ท้องร้อง ปวดท้อง อุจจาระร่วง ท้องผูก ไส้ติ่งอักเสบ โรคหลอดเลือดสมอง ขาลีบ ขาอ่อนแรง โรคเหนบ็ ชา วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 1-1.5 ชุน่

74 บทที่ 3 จุดฝังเขม็ และเสน้ จงิ ลวั่ 条口เถยี วโขว่ Tiáokǒu (ST 38) เถียว แปลว่า เส้นยาว โข่ว แปลว่า ปาก จุดนี้อยู่ระหว่างซ่างจฺวี้ซฺวี (ST 37) กับเซ่ียจฺว้ีซฺวี (ST 39) ในช่องระหว่างกระดูกแข้งกับกระดกู น่องซึ่งเป็นแนวยาว หากกระดกปลายเท้าจะพบเป็นร่องใหญ่ ตําแหน่ง: ใตต้ ู๋ป๋ี (ST 36) 8 ชนุ่ อยู่ด้านนอกต่อสนั กระดูกแข้งเทา่ กับความกวา้ งนวิ้ กลางทาบ ขอ้ บ่งช้ี: ปวดกระเพาะอาหาร ปวดทอ้ ง ปวดไหล่ ตะคริวทนี่ ่อง ขาลีบ ขาอ่อนแรง วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 1-1.5 ชุ่น เซ่ียจฺว้ีซวฺ ี 下巨虚 Xiàjùxū (ST 39): จดุ เซีย่ เหอของเสน้ ลาํ ไส้เลก็ เซี่ย แปลว่า ด้านล่าง จฺวี้ แปลว่า ใหญ่มาก ซฺวี แปลว่า ช่องว่าง จุดน้ีอยู่ตอนล่างของช่องว่าง ระหวา่ งกระดกู แข้งกับกระดกู น่อง ตาํ แหนง่ : ใตต้ ู๋ป๋ี (ST 36) 9 ชนุ่ อยู่ดา้ นนอกต่อสันกระดกู แขง้ เทา่ กบั ความกว้างน้ิวกลางทาบ ขอ้ บ่งช้ี: ปวดทอ้ งนอ้ ย อจุ จาระร่วง บดิ เต้านมอักเสบ ปวดหลงั ร้าวไปอัณฑะ ขาลีบ ขาอ่อนแรง ตะครวิ ท่ีน่อง วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 1-1.5 ชุ่น 丰隆เฟงิ หลง Fēnglóng (ST 40): จุดล่วั เฟงิ แปลว่า สมบรู ณ์ อม่ิ เอิบ หลง แปลวา่ นูนข้ึน จดุ น้อี ยบู่ นตําแหน่งทกี่ ล้ามเน้อื นนู ขน้ึ ตาํ แหน่ง: ห่างจากเถยี วโข่ว (ST 38) ออกไปดา้ นขา้ ง 1 ชุ่น ข้อบ่งชี้: ปวดท้อง ท้องอืด ท้องผูก ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ไอมีเสมหะมาก โรคจิตซึมเศร้า คล้มุ คลั่ง โรคลมชกั ขาลีบ ขาอ่อนแรง เป็นจุดสําคัญที่ใช้สลายเสมหะ วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 1-1.5 ช่นุ เจฺย่ซี 解溪 Jiěxī (ST 41): จุดจงิ เจยฺ ่ แปลว่า แยก ซี แปลวา่ ลาํ ธาร หมายถึง แอง่ จดุ นอ้ี ยบู่ รเิ วณรอ่ งระหว่างเอ็น 2 เสน้ ตาํ แหน่ง: อยู่ก่ึงกลางรอยพับข้อเท้าด้านหน้า ตรงแอ่งระหว่างเอ็น extensor hallucis longus กบั extensor digitorum longus ข้อบ่งช้ี: ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ โรคจิตซึมเศร้า คลุ้มคลั่ง ขาลีบ ขาอ่อนแรง เท้าตก ท้องอืด ทอ้ งผกู วิธีแทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1 ชุน่ 冲阳ชงหยาง Chōngyáng (ST 42): จุดหยวน ชง แปลวา่ ชน กระทบ หยาง คือ หยางในยนิ หยาง จุดนี้อยู่บนหลงั เทา้ ตรงท่ชี พี จรกระทบนวิ้ มือ ตําแหน่ง: บริเวณรอยต่อของกระดูกฝ่าเท้าท่ี 2 และ 3 กับกระดูก cuneiform ตรงเนินสูงสุด ของหลังเท้าทีค่ ลาํ ไดช้ พี จร dorsalis pedis

กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 75 ข้อบ่งช้ี: ปวดกระเพาะอาหาร ท้องอืด อัมพาตใบหน้า หน้าบวม ปวดฟัน โรคจิตซึมเศร้า คลุ้มคลั่ง โรคลมชัก เท้าลีบ เทา้ ออ่ นแรง ปวดบวมเทา้ วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 0.3-0.5 ชนุ่ ระวังถกู หลอดเลือดแดง ภาพที่ 3.29 แสดงจดุ ฝงั เขม็ บนเสน้ กระเพาะอาหาร (ST 41 - ST 45) เซ่ียนกู่ 陷谷 Xiàngǔ (ST 43): จุดซู เซ่ยี น แปลว่า ร่องบ๋มุ กู่ แปลวา่ หุบเหว จดุ นีอ้ ยู่ตรงรอ่ งบุ๋มระหว่างกระดกู ตาํ แหนง่ : บริเวณหลงั เทา้ ตรงร่องหนา้ รอยต่อของกระดกู ฝา่ เท้าที่ 2 กับ 3 ข้อบง่ ช้ี: ท้องร้อง ปวดทอ้ ง อุจจาระร่วง หน้าบวม บวมน้ํา ตาปวดบวมแดง ปวดบวมหลังเท้า วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรงหรอื แทงเฉียง 0.5-1 ชุ่น เน่ยถงิ 内庭 Nèitíng (ST 44): จุดหยิง เนย่ แปลว่า ภายใน ถงิ แปลวา่ ลานบ้าน จุดนี้อยถู่ ัดจากประตเู ขา้ บา้ น คือ ลตี่ ยุ้ (ST 45) ตาํ แหน่ง: กง่ึ กลางงา่ มน้วิ เท้าท่ี 2 กบั 3 ตรงรอยตอ่ สผี ิว ข้อบ่งช้ี: ปวดฟัน เจ็บคอ เลือดกําเดาไหล อัมพาตใบหน้า ปวดกระเพาะอาหาร เรอเปรี้ยว ท้องอืด เบ่อื อาหาร อุจจาระร่วง บดิ ท้องผกู ปวดบวมหลงั เทา้ กลุ่มโรคไข้ วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรงหรอื แทงเฉยี ง 0.3-0.8 ชุ่น ลี่ตุย้ 厉兑 Lìduì (ST 45): จุดจิ่ง ลี่ เป็นช่ือโบราณของเกือกม้า ซ่ึงดูเหมือนขอบบนเล็บเท้า ตุ้ย เป็นช่ือโบราณของปากหรือประตู จดุ นเ้ี ปรยี บเสมือนประตูเขา้ บ้าน เป็นจดุ แรกของเส้นกระเพาะอาหาร

76 บทที่ 3 จดุ ฝงั เข็มและเสน้ จงิ ล่ัว ตาํ แหน่ง: โคนเลบ็ นว้ิ เทา้ ท่ี 2 ด้านนอก หา่ งจากมุมฐานเลบ็ 0.1 ชุ่น ข้อบ่งชี้: เลือดกําเดาไหล ปวดฟัน หน้าบวม อัมพาตใบหน้า เจ็บคอ กลุ่มโรคไข้ โรคจิตซึมเศร้า คลุ้มคล่ัง ฝนั มาก ฝนั ร้าย ตกใจง่าย หมดสติ วิธแี ทงเขม็ : แทงต้ืนๆ 0.1 ชุ่น หรอื เจาะปลอ่ ยเลือด 4. จดุ ฝงั เขม็ บนเสน้ มา้ มท่ายยินเท้า หย่นิ ป๋าย 隐白 Yǐnbái (SP 1): จุดจ่ิง หยนิ่ แปลวา่ ซอ่ น เรือนราง ปา๋ ย แปลวา่ สีขาว จดุ น้รี ับสง่ ตอ่ มาจากล่ีต้ยุ (ST 45) ซ่ึงเปน็ จดุ ธาตุทอง สขี าวสงั กัดธาตทุ อง จดุ น้อี ยูบ่ นเสน้ ยินเหมือนมังกรหลบซ่อน ตําแหน่ง: โคนเลบ็ น้ิวหวั แม่เทา้ ดา้ นใน ห่างจากมมุ ฐานเล็บ 0.1 ชนุ่ ขอ้ บ่งช้ี: รอบเดือนผิดปกติ ประจาํ เดือนมามาก ประจาํ เดือนมากะปริดกะปรอย อุจจาระมีเลือดปน ปัสสาวะปนเลอื ด เลือดกาํ เดาไหล ทอ้ งอดื อจุ จาระรว่ ง อาเจยี น หมดสติ วิธแี ทงเข็ม: แทงตื้น ๆ 0.1 ชนุ่ หรือเจาะปลอ่ ยเลือด ตา้ ตู 大都 Dàdū (SP 2): จุดหยงิ ตา้ แปลว่า ใหญ่ ตู แปลวา่ ศูนย์รวม ต้าตู หมายถึง จดุ ทีเ่ ปน็ ศนู ย์รวมชขี่ องเสน้ จงิ ลวั่ ตําแหน่ง: น้ิวหัวแม่เทา้ ดา้ นใน ตรงแอง่ หน้าตอ่ ข้อ metatarsophalangeal บนแนวรอยตอ่ สผี ิว ข้อบ่งชี้: ไข้ ทอ้ งอดื อุจจาระร่วง ท้องผูก ปวดกระเพาะอาหาร อาเจยี น วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 0.3-0.5 ชนุ่ ภาพที่ 3.30 แสดงจุดฝงั เข็มบนเสน้ มา้ ม (SP 1 - SP 5) ทา่ ยป๋าย 太白 Tàibái (SP 3): จุดซู จุดหยวน ท่าย แปลว่า ใหญ่ ป๋าย แปลว่า ขาว จุดนี้อยู่บนหัวแม่เท้าซ่ึงเป็นบริเวณท่ีมีผิวสีขาวกว้างที่สุด โบราณใช้เรียกช่ือดาวศุกร์ ซึ่งถือเป็นดาวด้านการทหารที่ใช้ปราบปรามข้าศึก เปรียบได้กับ การรกั ษาโรคเฉยี บพลนั

กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 77 ตําแหน่ง: ตรงแอ่งหลงั ต่อข้อ metatarsophalangeal ที่ 1 ของเท้าด้านใน บนแนวรอยต่อสผี วิ ข้อบ่งช้ี: อาเจียน ปวดกระเพาะอาหาร ท้องอืด ท้องร้อง อุจจาระร่วง ท้องผูก หนักเม่ือยตัว ปวดตามขอ้ วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 0.5-0.8 ช่นุ 公孙กงซุน Gōngsūn (SP 4): จดุ ล่วั กง แปลว่า ศูนย์การเชอื่ มตอ่ ซุน แปลว่า หลาน เปรียบเสมือนเส้นลว่ั ฝอยสว่ นเช่อื มขยาย กงซุน หมายถึง จุดลั่วที่เช่ือมต่อกับเส้นกระเพาะอาหาร โดยใช้จุดน้ีเป็นจุดหลักเปรียบเป็นกง และใชจ้ ดุ อน่ื ร่วมเปรียบเป็นซนุ ตําแหน่ง: ด้านหนา้ และใต้ต่อฐานกระดกู ฝา่ เทา้ ท่ี 1 ตรงแนวรอยต่อสผี วิ ข้อบ่งชี้: ปวดกระเพาะอาหาร ปวดทอ้ ง ทอ้ งอดื อจุ จาระร่วง หงุดหงดิ อาเจียน วิธีแทงเขม็ : แทงตรง 0.6-1.2 ช่นุ 商丘ซางชิว Shāngqiū (SP 5): จุดจิง ซาง เปน็ ระดับเสยี งดนตรโี บราณ สังกัดธาตุทองเชน่ เดยี วกบั จดุ จิง ชิว แปลวา่ เนนิ ตาตุ่มข้อเท้า เปรียบเสมือนภเู ขา ธาตุทองตรงกับฤดูใบไม้ร่วง จุดนี้มีคุณลักษณะร้อน แกร่ง แห้ง ใช้รักษาโรค ชนดิ ยิน ภาวะพร่อง หรือความช้ืนอดุ กน้ั ตําแหน่ง: ด้านหน้าและใต้ต่อตาตุ่มใน ตรงแอ่งอยู่กึ่งกลางของแนวเส้นเช่ือมระหว่าง tuberosity ของกระดูก navicula กบั ยอดตาต่มุ ใน ขอ้ บง่ ช้ี: ท้องอืด อุจจาระร่วง ท้องผูก ไอ หอบ ปวดไส้เลื่อนร้าวไปต้นขาและหัวเข่าด้านใน รดิ สีดวงทวาร ปวดข้อเท้า วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 0.5-0.8 ชนุ่ ซานยนิ เจยี ว 三阴交 Sānyīnjiāo (SP 6): จุดเชื่อมตัดกบั เสน้ ตบั และเสน้ ไต ซาน แปลวา่ สาม ยิน คอื ยนิ ในยนิ หยาง เจียว แปลวา่ เชื่อมตัด เป็นจุดที่เส้นยนิ 3 เสน้ เช่ือมตดั กัน ตําแหนง่ : เหนอื ยอดตาตุ่มใน 3 ชุ่น ชดิ ขอบหลงั ของกระดูกแขง้ ข้อบ่งช้ี: ท้องอืด ท้องร้อง อุจจาระร่วง รอบเดือนผิดปกติ ประจําเดือนมากะปริดกะปรอย ประจําเดอื นมามาก ตกขาว มดลกู หย่อน สตรภี าวะมีบุตรยาก คลอดยาก เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ฝันเปียก ปัสสาวะรดทน่ี อน กล้นั ปสั สาวะไมไ่ ด้ ปสั สาวะขดั ไส้เลอ่ื น วิธแี ทงเข็ม: แทงตรง 1-1.5 ชุน่ ห้ามใช้ในสตรตี งั้ ครรภ์

78 บทที่ 3 จดุ ฝงั เขม็ และเส้นจิงล่ัว โลว่ กู่ 漏谷 Lòugǔ (SP 7): จดุ ล่วั โล่ว แปลว่า ล่ัวไหล กู่ แปลว่า หุบเหว จุดนี้อยู่บริเวณร่องระหว่างกระดูกน่องกับกระดูกแข้ง เปรยี บเสมอื นหบุ เหวมชี ่องทางเดนิ ของเลือด ตาํ แหนง่ : เหนือยอดตาตุ่มใน 6 ชุน่ ตรงขอบดา้ นในและหลังต่อกระดูกแขง้ ขอ้ บง่ ชี้: ทอ้ งอืด ท้องร้อง ปัสสาวะขัด ฝันเปียก ไส้เลื่อน ขาลีบ ขาอ่อนแรง วิธแี ทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1 ชุ่น ภาพท่ี 3.31 แสดงจุดฝังเข็มบนเสน้ ม้าม (SP 5 - SP 9) ตจี้ ี 地机 Dìjī (SP 8): จดุ ซ่ี ตี้ แปลว่า พื้นดิน จี แปลว่า พลังการเคล่ือนไหว จุดน้ีอยู่ท่ีขา บนเส้นม้ามซึ่งสังกัดธาตุดิน จึงใช้รักษา อาการเดนิ ไมส่ ะดวก ตาํ แหน่ง: ใตย้ นิ หลงิ เฉวฺ ยี น (SP 9) 3 ชนุ่ ตรงขอบด้านในและหลงั ต่อกระดกู แข้ง ขอ้ บ่งชี้: ปวดทอ้ ง อุจจาระร่วง ปวดประจําเดือน รอบเดือนผิดปกติ ฝันเปียก ปวดหลังส่วนล่าง ปวดไสเ้ ลื่อนร้าวไปอวัยวะเพศ ปวดต้นขาด้านใน ขาลีบ ขาอ่อนแรง บวมนา้ํ ปัสสาวะขดั วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 1-1.5 ชุ่น 阴陵泉ยนิ หลงิ เฉฺวียน Yīnlíngquán (SP 9): จุดเหอ ยนิ คอื ยนิ ในยินหยาง หลงิ แปลวา่ เนินเขา เฉฺวียน แปลว่า บ่อนํ้าพุ จุดน้ีอยู่ท่ีร่องใต้เนินกระดูกแข้ง ดา้ นบน เปรยี บเสมือนบ่อนาํ้ พุที่อยู่เชงิ เขาด้านยิน

กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 79 ตําแหน่ง: ตรงรอยต่อระหว่างแนวขอบล่างของ medial condyle กับขอบหลังของกระดูกแข้ง ที่เปน็ แอง่ ข้อบ่งชี้: ปวดท้อง ท้องอืด อุจจาระร่วง บวมนํ้า ปวดอวัยวะเพศ ปวดประจําเดือน ปัสสาวะขัด ปัสสาวะรดทนี่ อน กลน้ั ปัสสาวะไมไ่ ด้ ฝนั เปียก ปวดบวมหวั เข่า ขาลีบ ขาอ่อนแรง วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 1-2 ช่นุ เซฺว่ียหา่ ย 血海 Xuèhǎi (SP 10) เซฺว่ีย แปลว่า เลือด ห่าย แปลว่า ทะเล ซ่ึงเป็นแหล่งที่น้ํามารวมกัน จุดอยู่ที่แอ่งเหนือเข่า เปรยี บเปน็ ทะเลแห่งเลือด ใช้รกั ษาโรคเลอื ด ตําแหน่ง: เหนือจุดตัดของเส้นแนวขอบบนกับเส้นแนวขอบในของฐานกระดูกสะบ้า 2 ชุ่น ตรงส่วนนูนของกล้ามเน้ือ vastus medialis หรืออยู่ท่ีปลายนิ้วหัวแม่มือของผู้รักษา เม่ือวางฝ่ามือ บนกระดูกสะบา้ ด้านตรงขา้ มของผูป้ ่วยและกางนว้ิ หวั แม่มือ 45 องศา (ภาพที่ 3.32) ข้อบ่งชี้: ประจําเดือนมามาก ประจําเดือนมากะปริดกะปรอย ขาดประจําเดือน ผิวหนังอักเสบ ไฟลามทงุ่ ผ่ืนลมพิษ คนั ผวิ หนงั วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 1-1.5 ชุน่ ภาพที่ 3.32 แสดงการหาตาํ แหนง่ เซฺว่ียห่าย (SP 10) โดยผู้รกั ษาวางฝา่ มอื ซา้ ยหรอื ขวาบนกระดกู สะบ้า ด้านตรงขา้ มของผูป้ ว่ ย กางนวิ้ หัวแมม่ อื 45 องศา ปลายนิ้วหวั แมม่ อื ช้ีตรงจดุ นพี้ อดี จีเหมิน 箕门 Jīmén (SP 11) จี เป็นช่ือกลุ่มดาว 4 ดวง ในราศีธนูซ่ึงอยู่ทางทิศเหนือ ทิศเหนือสังกัดธาตุนํ้า เหมิน แปลว่า ประตู เปรยี บเสมอื นประตเู ปดิ ปดิ ของธาตุนํา้ ใชร้ กั ษาความผิดปกตขิ องการปัสสาวะ

80 บทที่ 3 จดุ ฝังเข็มและเส้นจิงลว่ั ตําแหน่ง: ตรงจุดแบ่งระหว่าง 1/3 บนกับ 2/3 ล่างของแนวเส้นเช่ือมระหว่างขอบในของกระดูก สะบ้ากับชงเหมิน (SP 12) บริเวณคลําได้ชีพจร เป็นตําแหน่งบรรจบกันของกล้ามเนื้อ sartorius กบั adductor longus ขอ้ บง่ ชี้: ปสั สาวะขดั ปัสสาวะรดท่ีนอน กลน้ั ปสั สาวะไม่ได้ ปวดบวมขาหนีบ หนังห้มุ อัณฑะอักเสบ วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1 ชุ่น ชงเหมิน 冲门 Chōngmén (SP 12): จุดเชอ่ื มตัดกบั เสน้ ตบั และเส้นยนิ เหวย ชง แปลว่า ปะทะ เหมนิ แปลวา่ ประตู เปน็ จดุ ที่เส้นม้ามเข้าสู่ช่องท้อง เปรียบเสมือนประตูเปิดปิด ควบคุมการขึน้ ลงของชี่ให้ปกติ ใช้พยุงชี่ขนึ้ หรอื รักษาช่ไี หลยอ้ น ตําแหนง่ : ตรงรอยพับขาหนีบ อยู่ด้านนอกตอ่ ชีพจร external iliac ข้อบ่งช้ี: ท้องอดื แน่นเฟอ้ เรอเปรีย้ ว ปวดทอ้ งเป็นกอ้ น ไสเ้ ล่ือน ริดสีดวงทวาร ตกเลือดหลังคลอด ปัสสาวะขดั ปสั สาวะไมอ่ อก วธิ แี ทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1 ชุ่น ฝเู่ ซอ่ 府舍 Fǔshè (SP 13) ฝู่ แปลว่า ตําหนัก เซอ่ แปลวา่ ที่พกั อาศัย จุดนี้อยู่บริเวณท้องน้อย เป็นตําแหน่งที่ชี่ของเส้นตับ เส้นม้าม และเส้นยนิ เหวย มารวมตัวกนั ก่อนเข้าชอ่ งท้อง แลว้ ไปเชอื่ มต่อกับเส้นปอดและเส้นหัวใจ ตาํ แหน่ง: อย่เู หนอื และด้านนอกต่อชงเหมิน (SP 12) 0.7 ชุ่น และห่างจากแนวก่ึงกลางท้องน้อย ตามแนวระนาบ 4 ชุ่น ข้อบ่งช้ี: ปวดทอ้ ง ปวดท้องเปน็ กอ้ น ท้องอืด ท้องผกู อจุ จาระรว่ ง อาเจียน วิธแี ทงเขม็ : แทงตรง 1-1.5 ชุ่น ฟู่เจฺย๋ 腹结 Fùjié (SP 14): จดุ เช่ือมตัดกับเส้นตับและเสน้ ยินเหวย ฟู่ แปลว่า ท้อง เจฺย๋ แปลว่า เกาะตัวกัน กล้ามเนื้อบริเวณน้ีจะแข็งตึงเวลาเบ่งท้อง ใช้รักษา ภาวะปวดท้องเป็นก้อน ตําแหนง่ : ใตส้ ะดือ 1.3 ชุน่ และห่างออกไปตามแนวระนาบ 4 ช่นุ ขอ้ บ่งชี้: ปวดรอบสะดือ อจุ จาระร่วง ทอ้ งผกู ไสเ้ ลอื่ น วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 1-2 ชุ่น ตา้ เหิง 大横 Dàhéng (SP 15): จดุ เชอื่ มตดั กับเส้นยนิ เหวย ต้า แปลวา่ ใหญ่ เหงิ แปลวา่ แนวขวาง เปรียบเป็นตาํ แหน่งลาํ ไสใ้ หญ่ส่วนขวาง ตาํ แหนง่ : หา่ งจากสะดือตามแนวระนาบ 4 ชุ่น ขอ้ บ่งชี้: ปวดทอ้ ง อจุ จาระรว่ ง ทอ้ งผูก กระเพาะอาหารหย่อน วธิ ีแทงเข็ม: แทงตรง 1-2 ชุ่น

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 81 ฟอู่ าย 腹哀 Fù’āi (SP 16): จดุ เชือ่ มตดั กับเส้นยินเหวย ฟู่ แปลว่า ท้อง อาย แปลว่า เสยี งรอ้ งเศร้าโศก บริเวณน้ีลําไส้เคลื่อนไหวจนได้ยินเสียง ตาํ แหน่ง: เหนอื สะดอื 3 ชุน่ และหา่ งออกไปตามแนวระนาบ 4 ชนุ่ ขอ้ บง่ ชี้: ปวดท้อง อาหารไม่ยอ่ ย อุจจาระเป็นมกู เลือด วิธีแทงเขม็ : แทงตรง 1-1.5 ชุน่ 食窦สือโต้ว Shídòu (SP 17) สอื แปลวา่ อาหาร โต้ว แปลวา่ ชอ่ ง เปรยี บเปน็ หลอดอาหาร ตําแหนง่ : ตรงชอ่ งซีโ่ ครงท่ี 5 หา่ งจากแนวกง่ึ กลางหนา้ อกตามแนวระนาบ 6 ชนุ่ ข้อบ่งช้ี: แนน่ หนา้ อก ปวดสขี ้าง อาเจียน บวมนํ้า หอบ วธิ แี ทงเขม็ : แทงเฉยี งหรอื แทงราบ 0.5-0.8 ชนุ่ ปลายเข็มชี้ไปสีขา้ ง 天溪เทยี นซี Tiānxī (SP 18) เทียน แปลว่า ท้องฟ้า ซี แปลว่า ลําธาร ทรวงอกอยู่ส่วนบนเปรียบเป็นท้องฟ้า จุดนี้ใช้กระตุ้น ให้นา้ํ นมไหลเหมือนกระแสน้ําในลําธาร มักใช้คู่กบั จู๋หลินชี่ (GB 41) ซึ่งอยูส่ ่วนลา่ งเปรยี บเปน็ ดิน ตําแหนง่ : ตรงช่องซี่โครงที่ 4 หา่ งจากแนวกึง่ กลางหนา้ อกตามแนวระนาบ 6 ชนุ่ ข้อบ่งชี้: เจ็บหน้าอก ไอ หอบ เสมหะมาก นํา้ นมน้อย เต้านมอกั เสบ วิธแี ทงเขม็ : แทงเฉยี งหรือแทงราบ 0.5-0.8 ชุ่น ปลายเขม็ ช้ีไปสีขา้ ง 胸乡ซยฺ งเซียง Xiōngxiāng (SP 19) ซฺยง แปลวา่ ทรวงอก เซียง แปลวา่ ทุ่งกวา้ ง เปรยี บเสมือนชี่ไหลผา่ นทรวงอกอนั โลง่ กวา้ ง ตําแหน่ง: ตรงชอ่ งซี่โครงที่ 3 ห่างจากแนวก่ึงกลางหนา้ อกไปตามแนวระนาบ 6 ช่นุ ข้อบ่งชี้: เจ็บหน้าอกและไอจนนอนราบไม่ได้ ปวดสีขา้ ง แนน่ หน้าอก เตา้ นมอกั เสบ นา้ํ นมนอ้ ย วธิ ีแทงเขม็ : แทงเฉียงหรือแทงราบ 0.5-0.8 ชุ่น ปลายเข็มช้ีไปสีขา้ ง 周荣โจวหรง Zhōuróng (SP 20) โจว แปลว่า ท่ัว หรง แปลวา่ หลอ่ เลย้ี ง ชี่ของเส้นมา้ มเชอื่ มกับเสน้ ตับ เส้นถุงนา้ํ ดี และเส้นเย่อื ห้มุ หัวใจ เส้นหวั ใจ เส้นกระเพาะอาหาร เสน้ ปอด และเสน้ ไต ไหลเวยี นผ่านทรวงอก ช่วยกระจายเลือดไป หลอ่ เล้ยี งทว่ั รา่ งกาย ตําแหน่ง: ตรงชอ่ งซ่โี ครงท่ี 2 ห่างจากแนวกงึ่ กลางหน้าอกตามแนวระนาบ 6 ช่นุ ขอ้ บ่งช้ี: แน่นหนา้ อก ไอ หอบ ปวดทรวงอก ปวดสีข้าง เบือ่ อาหาร วธิ แี ทงเขม็ : แทงเฉยี งหรือแทงราบ 0.5-0.8 ชุ่น ปลายเขม็ ชไี้ ปสีขา้ ง

82 บทท่ี 3 จดุ ฝังเข็มและเสน้ จิงลวั่ ต้าปาว 大包 Dàbāo (SP 21): จดุ ล่วั ใหญ่ ต้า แปลว่า ใหญ่ ปาว แปลว่า ล้อม เส้นม้ามมีหน้าที่กํากับเส้นเจิ้งจิง 12 เส้น ต้าปาว (SP 21) เป็นจดุ ลั่วใหญ่และเป็นจุดสุดทา้ ยของเสน้ มา้ ม โดยโอบล้อมและเชื่อมประสานทวั่ ร่างกาย ตาํ แหนง่ : แนวกึง่ กลางสีข้าง ตรงชอ่ งซโ่ี ครงท่ี 6 ข้อบ่งชี้: หอบ ปวดทรวงอก ปวดสขี ้าง ปวดตามรา่ งกาย แขนขาไมม่ ีแรง วิธแี ทงเขม็ : แทงเฉียงหรอื แทงราบ 0.5-0.8 ชนุ่ ปลายเข็มชไ้ี ปสีขา้ ง 5. จดุ ฝงั เขม็ บนเสน้ หัวใจซา่ วยินมือ จี๋เฉฺวียน 极泉 Jíquán (HT 1) จี๋ แปลว่า ท่ีสุด เฉฺวียน แปลว่า บ่อนํ้าพุ เส้นซ่าวยินอยู่ด้านในสุดของเส้นจิงล่ัว 6 เส้น หัวใจ อยู่ในตําแหน่งลึกท่ีสุดของทรวงอก ช่ีจากเส้นม้ามผ่านกระเพาะอาหารขึ้นสู่กระบังลม ส่งต่อ ให้เส้นหวั ใจและไหลเวียนออกสูภ่ ายนอกที่จุดนี้ เปรยี บเสมอื นบ่อนา้ํ พุผดุ จากสว่ นลึกที่สดุ ตาํ แหนง่ : กึง่ กลางรกั แร้ ตรงทีค่ ลําได้ชีพจร axillary ข้อบ่งช้ี: แน่นหน้าอก หายใจกระชั้น ใจส่ัน เจ็บหน้าอก อัมพาตคร่ึงซีก อาเจียน คอแห้ง ปวดสีข้าง วัณโรคตอ่ มน้ําเหลอื งที่คอ รกั แรม้ กี ล่นิ น้ํานมไม่พอ ปวดไหล่ ปวดเย็นศอก ปวดตงึ นิว้ มือ วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรงหรอื แทงเฉยี ง 0.3-0.5 ช่นุ ระวงั ถกู หลอดเลือดแดง axillary 青灵ชิงหลิง Qīnglíng (HT 2) ชิง แปลว่า กําเนิด หลิง แปลว่า จิตใจ เปรียบเสมือนพลังหยางในฤดูใบไม้ผลิ เร่ิมก่อเกิดชีวิต และจิตใจ ตําแหนง่ : เหนือรอยพบั ศอก 3 ชนุ่ ตรงร่องอยู่ด้านหลังตอ่ กล้ามเน้อื biceps brachii ขอ้ บ่งชี้: ปวดไหล่ ยกแขนไมข่ ึน้ รกั แร้บวม ตามวั ตาเหลอื ง ปวดศีรษะ วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1 ช่นุ ภาพที่ 3.33 แสดงจุดฝงั เข็มบนเส้นหัวใจ (HT 1 - HT 3)

กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 83 ซา่ วหา่ ย 少海 Shàohǎi (HT 3): จุดเหอ ซ่าว หมายถึง เส้นซ่าวยิน ห่าย แปลว่า ทะเล จุดเหอเป็นแหล่งรวมของสายนํ้า เปรียบเสมือน แหลง่ รวมช่ีและเลอื ดของเส้นหวั ใจ ตําแหน่ง: ตรงกึ่งกลางระหว่างปลายรอยพับศอกกับ medial epicondyle ของกระดูกต้นแขน ในทา่ งอข้อศอก ข้อบ่งช้ี: ปวดตึงต้นคอ ปวดเกร็งข้อศอก ปวดสีข้าง วัณโรคต่อมน้ําเหลืองที่คอ ชาแขน มือส่ัน เจ็บหนา้ อก โรคลมชกั โรคจิตซมึ เศร้า คลมุ้ คล่งั โรคฮสิ ทเี รยี โรคระบบจติ ประสาท วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 0.5-1 ชุ่น หลงิ ตา้ ว 灵道 Língdào (HT 4): จดุ จิง หลงิ แปลวา่ จติ ใจ ต้าว แปลวา่ เสน้ ทาง จุดน้ีอยูบ่ นรอ่ งข้างเอน็ เปรยี บเสมือนเสน้ ทางไปสู่เสิน ตาํ แหน่ง: เหนอื รอยพบั ข้อมอื ดา้ นใน 1.5 ชุ่น อยชู่ ิดขอบด้าน radial ของเอน็ flexor carpi ulnaris ขอ้ บ่งชี้: เวยี นศรี ษะหมนุ ปวดบวมตา ลนิ้ แขง็ เสียการสื่อความ เจบ็ หน้าอก เสยี งหายเฉียบพลัน ใจสน่ั ปวดกระเพาะอาหาร คล่นื ไส้ ชักกระตุก โรคจติ เภท โรคฮสี ทเี รยี ปวดเกร็งขอ้ ศอก วธิ ีแทงเข็ม: แทงตรง 0.3-0.5 ชุ่น ภาพท่ี 3.14 แสดงจุดฝังเขม็ บนเสน้ หวั ใจ (HT 3 - HT 7) ทงหล่ี 通里 Tōnglǐ (HT 5): จุดล่วั ทง แปลวา่ เช่ือมถึงกัน หลี่ แปลว่า ภายใน จดุ นี้เปน็ จุดล่ัว ไปเชอื่ มตอ่ กับเสน้ ลําไส้เล็ก ตําแหนง่ : เหนอื รอยพบั ข้อมือด้านใน 1 ชุ่น อยชู่ ดิ ขอบด้าน radial ของเอ็น flexor carpi ulnaris ข้อบ่งชี้: ใจสน่ั นอนไม่หลบั ปวดศีรษะ ลนิ้ แขง็ พดู ไม่ได้ เสยี งหายเฉียบพลนั ปวดข้อมอื ตาลาย วิธีแทงเขม็ : แทงตรง 0.3-0.5 ชนุ่

84 บทที่ 3 จุดฝังเขม็ และเสน้ จงิ ลวั่ ยินซ่ี 阴郄 Yīnxì (HT 6): จุดช่ี ยนิ คือ ยินในยนิ หยาง ซ่ี แปลวา่ ซอกแคบ จดุ นเ้ี ป็นจุดซีข่ องเส้นยิน ตําแหน่ง: เหนือรอยพับข้อมือด้านใน 0.5 ชุ่น อยู่ชิดขอบด้าน radial ของเอ็น flexor carpi ulnaris ข้อบ่งชี้: ใจสั่น เจ็บหน้าอก ร้อนเป็นเวลาหลังเที่ยง เหงื่อออกขณะหลับ ปวดข้อมือ อาเจียนเป็นเลือด เลอื ดกําเดาไหล ตกใจกลวั วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 0.3-0.5 ชุ่น เสนิ เหมิน 神门 Shénmén (HT 7): จดุ ซู จุดหยวน เสิน หมายถึง สติสัมปชัญญะ จิตใจ เหมิน แปลว่า ประตู หัวใจกํากับเสิน จุดน้ีใช้ผ่อนคลายภาวะ อัดอนั้ ของชีห่ วั ใจ ตาํ แหน่ง: บนรอยพบั ขอ้ มือด้านใน อยู่ชิดขอบดา้ น radial ของเอ็น flexor carpi ulnaris ข้อบ่งช้ี: เจ็บหน้าอก โรคสมองเสื่อม หลงลืมง่าย นอนไม่หลับ โรคจิตซึมเศร้า คลุ้มคล่ัง โรคลมชัก หงดุ หงดิ ใจสัน่ ความดันโลหิตสงู ปวดทรวงอก ปวดสีข้าง วิธแี ทงเข็ม: แทงตรง 0.3-0.5 ช่นุ หมายเหตุ: เปน็ จดุ สาํ คัญในการรักษาโรคระบบจิตประสาท ซ่าวฝู่ 少府 Shàofǔ (HT 8): จดุ หยงิ ซ่าว หมายถงึ เสน้ ซ่าวยิน ฝู่ แปลวา่ จวน เป็นจดุ รวมช่ขี องเส้นหวั ใจ ตําแหน่ง: อยู่ระหว่างกระดูกฝ่ามือที่ 4 กับ 5 ตรงจุดก่ึงกลางระหว่างปลายน้ิวนางกับนิ้วก้อย ท่ีสมั ผัสฝา่ มือขณะกาํ มือ ข้อบ่งชี้: ใจส่ัน คันอวัยวะเพศ ปัสสาวะรดที่นอน กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ปัสสาวะขัด ปวดทรวงอก ปวดอวยั วะเพศ แผลฝีหนอง ปวดเกร็งน้ิวมือ ร้อนฝ่ามือ วธิ ีแทงเขม็ : แทงตรง 0.3-0.5 ชนุ่ ภาพที่ 3.35 แสดงจดุ ฝงั เข็มบนเสน้ หัวใจ (HT 8 - HT 9)

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 85 少冲ซ่าวชง Shàochōng (HT 9): จดุ จิ่ง ซ่าว หมายถงึ เสน้ ซา่ วยนิ ชง แปลว่า พุ่ง จุดนเี้ ป็นจุดจิ่ง เปรยี บเสมือนตานาํ้ ท่พี ลงั ช่ีพ่งุ ออกมา ตาํ แหน่ง: โคนเลบ็ นวิ้ ก้อยด้าน radial หา่ งจากมุมฐานเล็บ 0.1 ช่นุ ข้อบ่งชี้: เจ็บหน้าอก ใจสั่น หมดสติ ปวดสีข้าง โรคลมแดด โรคจิตซึมเศร้า คลุ้มคล่ัง กลุ่มโรคไข้ ปวดทรวงอก วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 0.1 ชุ่น หรอื เจาะปลอ่ ยเลือด 6. จดุ ฝงั เขม็ บนเสน้ ลําไส้เล็กทา่ ยหยางมือ ซ่าวเจอ๋ 少泽 Shàozé (SI 1): จุดจิง่ ซา่ ว แปลวา่ เลก็ เจอ๋ แปลวา่ บึง เป็นจุดเริ่มตน้ ของช่เี สน้ ลาํ ไสเ้ ล็กซง่ึ เร่มิ ที่บึงเล็กๆ ตาํ แหน่ง: โคนเลบ็ น้วิ กอ้ ยดา้ น ulnar หา่ งจากมมุ ฐานเล็บ 0.1 ชุ่น ข้อบ่งชี้: เต้านมอักเสบ น้ํานมน้อย กลุ่มโรคไข้ ต้อเนื้อ ต้อกระจก เจ็บคอ หมดสติ ปวดศีรษะ วิธีแทงเขม็ : แทงตรง 0.1 ชุ่น หรอื เจาะปลอ่ ยเลือด หมายเหตุ: เป็นจดุ ทใ่ี ชบ้ อ่ ยในโรคฉกุ เฉนิ และโรคเตา้ นม เฉียนกู่ 前谷 Qiángǔ (SI 2): จุดหยงิ เฉียน แปลว่า ดา้ นหนา้ กู่ แปลว่า หบุ เขา จุดนี้อยู่ตรงรอยบุ๋มหน้าตอ่ ขอ้ สนั หมัด ตาํ แหน่ง: ตรงแอง่ หนา้ ตอ่ ขอ้ สนั หมดั ที่ 5 ด้าน ulnar บนแนวรอยตอ่ สผี วิ ขอ้ บ่งชี้: ปวดศีรษะ ปวดตา หอู ้ือ เจ็บคอ กลมุ่ โรคไข้ นา้ํ นมนอ้ ย ชานว้ิ มือ โรคลมชกั วิธแี ทงเข็ม: แทงตรง 0.3-0.5 ช่นุ โฮว่ ซี 后溪 Hòuxī (SI 3): จดุ ซู จุดปาม่ายเจียวฮุ่ยท่ีเชื่อมกบั เสน้ ตู โฮ่ว แปลว่า ด้านหลงั ซี แปลวา่ ลาํ ธาร เหมอื นสายนาํ้ ไหลผ่านหุบเขาแลว้ ลงสู่ลําธารที่อยู่ด้านหลัง ตาํ แหนง่ : ตรงแอ่งหลงั ตอ่ ขอ้ สนั หมดั ท่ี 5 ดา้ น ulnar บนแนวรอยต่อสผี ิว ข้อบ่งชี้: ปวดตึงต้นคอ หูตึง หูหนวก ตาแดง โรคจิตซึมเศร้า คลุ้มคลั่ง โรคลมชัก ไข้จับส่ัน ปวดหลังส่วนลา่ ง เจ็บคอ ปวดเกรง็ นว้ิ มือ ปวดเกร็งข้อศอก วธิ ีแทงเข็ม: แทงตรง 0.5-1.0 ชนุ่ วา่ นกู่ 腕骨 Wàngǔ (SI 4): จดุ หยวน วา่ น แปลว่า ขอ้ มอื กู่ แปลวา่ กระดูก จดุ น้ีอยใู่ กล้กบั กระดกู ข้อมอื ตําแหนง่ : ตรงรอยบุ๋มระหว่างฐานกระดูกฝ่ามือท่ี 5 กับกระดกู triquetrum บนแนวรอยตอ่ สีผวิ

86 บทที่ 3 จดุ ฝงั เข็มและเสน้ จิงลั่ว ข้อบ่งช้ี: ปวดศีรษะ ปวดตึงต้นคอ ตอ้ เนอ้ื ตอ้ กระจก หูอื้อ ดีซ่าน กลมุ่ โรคไข้ ไขจ้ ับสัน่ ปวดเกรง็ นว้ิ มือ วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 0.3-0.5 ชนุ่ หยางกู่ 阳谷 Yánggǔ (SI 5): จดุ จิง หยาง คือ หยางในยนิ หยาง กู่ แปลว่า หุบเขา จดุ น้อี ยู่ท่ขี อ้ มือด้านหยางบริเวณร่องระหว่างกระดูก ตําแหน่ง: ตรงรอยบุ๋มระหว่าง styloid process ของกระดูก ulna กับกระดูก triquetrum บนแนว รอยตอ่ สีผิว ขอ้ บง่ ช้ี: ปวดศรี ษะ หอู อ้ื หตู งึ หหู นวก กลุม่ โรคไข้ โรคจิตซึมเศร้า คลมุ้ คลั่ง โรคลมชัก ปวดข้อมอื วิธีแทงเข็ม: แทงตรง 0.3-0.5 ชุน่ ภาพที่ 3.36 แสดงจดุ ฝังเขม็ บนเสน้ ลาํ ไส้เลก็ (SI 1 - SI 5) หยางหล่าว 养老 Yǎnglǎo (SI 6): จุดซี่ หย่าง แปลว่า เลย้ี งดู หลา่ ว แปลว่า ชรา ใช้บาํ รงุ รักษาโรคในผสู้ ูงอายุ ตําแหน่ง: เหนือรอยพับข้อมือด้านนอก 1 ชุ่น ตรงรอยบุ๋มเหนือต่อหัวกระดูก ulna ด้าน radial หรือวางน้ิวชี้ของมือข้างหน่ึงบนจุดนูนสูงสุดของหัวกระดูก ulna ของมืออีกข้างหนึ่ง แล้วหันฝ่ามือ ขา้ งท่ถี กู ชี้เขา้ หาหนา้ อก จุดจะอยูต่ รงปลายน้ิวชีพ้ อดี

กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 87 ขอ้ บง่ ช้ี: ตาพร่า ปวดหลงั สว่ นลา่ ง ปวดแขนยกไม่ข้นึ ปวดขอ้ ศอก ปวดสะบัก วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรงหรือแทงเฉียง 0.5-0.8 ชุ่น กรณีโรคตาหรือโรคของสะบักให้แทงเฉียงขึ้น กรณปี วดข้อมือให้แทงเฉียงลง ภาพที่ 3.37 แสดงตําแหน่งหยางหลา่ ว (SI 6) 支正จือเจ้งิ Zhīzhèng (SI 7): จดุ ลวั่ จือ แปลว่า เส้นแขนง เจง้ิ หมายถงึ เส้นเจงิ้ จงิ เสน้ ล่ัวแยกจากจุดนไ้ี ปเชื่อมต่อกับเสน้ หัวใจ ตําแหน่ง: เหนือรอยพับขอ้ มือด้านนอก 5 ช่นุ ระหวา่ งกระดูก ulna กับกล้ามเน้ือ extensor carpi ulnaris ขอ้ บ่งช้ี: ปวดศีรษะ ปวดตึงต้นคอ กลมุ่ โรคไข้ โรคจิตซึมเศรา้ คลมุ้ คลงั่ ปวดเม่ือยแขน ปวดข้อศอก วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรงหรอื แทงเฉียง 0.5-0.8 ชุ่น เสยี วห่าย 小海 Xiǎohǎi (SI 8): จดุ เหอ เสี่ยว แปลว่า เล็ก ห่าย แปลว่า ทะเล จุดน้ีอยู่ในร่องของปลายข้อศอก เหมือนทะเลที่สายนํ้า ไหลมาบรรจบ ตาํ แหน่ง: ตรงร่องระหว่าง olecranon process กับ medial epicondyle ของกระดูกตน้ แขน ข้อบง่ ชี้: ปวดศรี ษะ ปวดตึงต้นคอ ปวดแขน โรคลมชัก ไส้เลอื่ น วิธแี ทงเข็ม: แทงตรง 0.3-0.5 ชนุ่ 肩贞เจียนเจิน Jiānzhēn (SI 9) เจียน แปลว่า ไหล่ เจิน หมายถงึ ใช้งาน จดุ นี้จะเคลอื่ นตามการเคล่ือนไหวของไหล่ ตําแหน่ง: เหนือรอยพับรักแร้ดา้ นหลัง 1 ช่นุ

88 บทที่ 3 จุดฝงั เข็มและเส้นจิงลว่ั ขอ้ บง่ ชี้: ปวดไหล่ ปวดร้อนสะบัก แขนอ่อนแรง วัณโรคตอ่ มน้าํ เหลอื งท่ีคอ วธิ แี ทงเขม็ : แทงตรง 1-1.5 ชนุ่ ภาพท่ี 3.38 แสดงจดุ ฝังเข็มบนเสน้ ลําไสเ้ ลก็ (SI 9 - SI 15) น่าวซู 臑俞 Nàoshū (SI 10): จุดเชื่อมตัดกับเส้นกระเพาะปัสสาวะ เส้นหยางเหวย และเส้นหยางเชยี ว นา่ ว แปลวา่ กลา้ มเน้ือแขนส่วนบน ซู แปลวา่ จุด ตาํ แหน่ง: เหนอื รอยพบั รกั แรด้ า้ นหลงั ตรงแอ่งใต้ spine ของกระดกู สะบัก ขอ้ บ่งชี้: ปวดบวมสะบกั ปวดไหล่ ปวดแขน ไหล่ติด วิธแี ทงเขม็ : แทงตรงหรือแทงเฉียง 0.5-1.5 ช่นุ 天宗เทยี นจง Tiānzōng (SI 11) เทยี น แปลว่า ทอ้ งฟ้า หมายถงึ ปอด จง แปลว่า มารวมกนั เป็นจุดที่ช่ีของเส้นลําไส้เล็กไหลมารวมกัน เขา้ สปู่ อด ตําแหน่ง: ตรงจุดแบ่งระหว่าง 1/3 บนกับ 2/3 ล่างของแนวเส้นเช่ือมระหว่างจุดกึ่งกลางของ spine กบั มุมลา่ งของกระดกู สะบัก ข้อบง่ ชี้: ปวดไหล่ ปวดสะบัก ปวดชาแขน แขนยกไมข่ ึน้ หอบ เตา้ นมอักเสบ วิธีแทงเขม็ : แทงตรงหรือแทงเฉยี ง 0.5-1 ชนุ่ ป่ิงเฟงิ 秉风 Bǐngfēng (SI 12): จดุ ตัดกับเสน้ ถุงนํ้าดี เสน้ ลาํ ไส้ใหญ่ และเส้นซานเจยี ว ป่ิง แปลว่า รบั เฟิง แปลวา่ ลม เปน็ จุดท่ีงา่ ยต่อการถูกลมรุกราน ตาํ แหน่ง: เหนอื จดุ กึง่ กลาง spine ของกระดกู สะบัก ตรงกลาง supraspinous fossa


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook