Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสังคม

หลักสูตรสังคม

Published by kchanataworn, 2022-08-04 09:01:18

Description: หลักสูตรสังคม

Search

Read the Text Version

ตัวช้วี ดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง กลมุ สาระการเรยี นรูสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ สาํ นกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๑

สารบญั หนา คํานํา ๑ ทาํ ไมตอ งเรยี นสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑ เรียนรอู ะไรในสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๒ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู ๓ คุณภาพผเู รียน ๖ ตัวช้ีวดั และสาระการเรียนรูแกนกลาง ๖ ๔๓ สาระท่ี ๑ ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม ๕๘ สาระที่ ๒ หนา ท่พี ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดาํ เนินชวี ิตในสังคม ๗๒ สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร ๙๐ สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร ๙๙ สาระท่ี ๕ ภมู ิศาสตร ๑๒๗ อภิธานศัพท คณะผูจัดทาํ

กลุมสาระการเรียนรูสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ทําไมตองเรยี นสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม สงั คมโลกมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเรว็ ตลอดเวลา กลมุ สาระการเรียนรสู งั คมศกึ ษา ศาสนา และ วฒั นธรรม ชว ยใหผูเรยี นมคี วามรู ความเขาใจ วา มนุษยดํารงชวี ติ อยา งไร ทงั้ ในฐานะปจ เจกบุคคล และการ อยรู ว มกันในสงั คม การปรับตวั ตามสภาพแวดลอม การจัดการทรัพยากรที่มีอยอู ยา งจํากัด นอกจากน้ี ยังชวย ใหผ ูเ รียนเขา ใจถึงการพัฒนา เปลี่ยนแปลงตามยคุ สมยั กาลเวลา ตามเหตุปจ จัยตา งๆ ทําใหเ กิดความเขา ใจใน ตนเอง และผูอืน่ มีความอดทน อดกล้นั ยอมรบั ในความแตกตาง และมคี ุณธรรม สามารถนาํ ความรไู ปปรับ ใชในการดาํ เนินชีวิต เปน พลเมอื งดขี องประเทศชาติ และสงั คมโลก เรียนรอู ะไรในสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมวาดวยการอยรู วมกันในสงั คม ท่ีมีความ เชื่อมสัมพันธกัน และมีความแตกตางกันอยางหลากหลาย เพื่อชวยใหสามารถปรับตนเองกับบริบท สภาพแวดลอ ม เปน พลเมอื งดี มีความรบั ผิดชอบ มีความรู ทักษะ คุณธรรม และคานยิ มทเ่ี หมาะสม โดยได กาํ หนดสาระตางๆไว ดงั นี้  ศาสนา ศลี ธรรมและจริยธรรม แนวคิดพื้นฐานเกย่ี วกับศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม หลักธรรม ของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาทต่ี นนับถอื การนาํ หลกั ธรรมคําสอนไปปฏบิ ัตใิ นการพฒั นาตนเอง และการ อยูรวมกันอยางสันติสุข เปนผูกระทําความดี มีคานิยมท่ีดีงาม พัฒนาตนเองอยูเสมอ รวมท้ังบําเพ็ญ ประโยชนตอ สังคมและสวนรวม  หนาที่พลเมอื ง วฒั นธรรม และการดําเนินชีวิต ระบบการเมอื งการปกครองในสังคมปจ จบุ นั การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมุข ลักษณะและความสําคัญ การเปน พลเมืองดี ความแตกตางและความหลากหลายทางวัฒนธรรม คานิยม ความเชื่อ ปลูกฝงคานิยมดาน ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข สิทธิ หนาท่ี เสรีภาพการดําเนินชีวิตอยางสันติสุขใน สงั คมไทยและสังคมโลก  เศรษฐศาสตร การผลิต การแจกจา ย และการบริโภคสินคาและบริการ การบริหารจัดการ ทรัพยากรทม่ี ีอยูอยางจํากัดอยางมีประสทิ ธภิ าพ การดํารงชวี ิตอยา งมีดลุ ยภาพ และการนําหลักเศรษฐกิจ พอเพยี งไปใชในชีวติ ประจาํ วนั

๒  ประวัตศิ าสตร เวลาและยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร วิธกี ารทางประวัติศาสตร พัฒนาการของ มนุษยชาติจากอดีตถึงปจจบุ ัน ความสัมพันธและเปล่ียนแปลงของเหตุการณตา งๆ ผลกระทบท่ีเกิดจาก เหตกุ ารณสาํ คัญในอดตี บคุ คลสําคัญท่ีมอี ทิ ธิพลตอการเปลย่ี นแปลงตางๆในอดีต ความเปนมาของชาติไทย วฒั นธรรมและภูมปิ ญ ญาไทย แหลง อารยธรรมทสี่ ําคัญของโลก  ภมู ศิ าสตร ลกั ษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหลง ทรัพยากร และภมู ิอากาศ ของประเทศไทย และภูมิภาคตา งๆ ของโลก การใชแผนที่และเครอื่ งมือทางภูมศิ าสตร ความสมั พนั ธกนั ของ ส่ิงตางๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธของมนุษยกบั สภาพแวดลอมทางธรรมชาติ และสง่ิ ท่ีมนษุ ยส รา ง ขึ้น การนาํ เสนอขอมูลภมู ิสารสนเทศ การอนรุ กั ษสิ่งแวดลอ มเพอ่ื การพัฒนาทีย่ ั่งยืน สาระและมาตรฐานการเรียนรู สาระที่ ๑ ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รู และเขา ใจประวตั ิ ความสาํ คัญ ศาสดา หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนา ทต่ี นนับถือและศาสนาอืน่ มศี รัทธาทถ่ี ูกตอง ยดึ ม่นั และปฏบิ ัตติ ามหลักธรรม เพื่อ อยรู ว มกนั อยา งสันตสิ ขุ มาตรฐาน ส ๑.๒ เขา ใจ ตระหนักและปฏิบัตติ นเปน ศาสนิกชนที่ดี และธาํ รงรักษาพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาทีต่ นนบั ถือ สาระท่ี ๒ หนาทีพ่ ลเมือง วฒั นธรรม และการดําเนินชีวิตในสงั คม มาตรฐาน ส ๒.๑ เขา ใจและปฏบิ ตั ิตนตามหนา ท่ีของการเปน พลเมอื งดี มคี า นิยมทด่ี ีงาม และ ธํารงรกั ษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดํารงชีวิตอยูรว มกันในสังคมไทย และ สังคมโลกอยา งสันตสิ ขุ มาตรฐาน ส ๒.๒ เขาใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปจจุบนั ยึดม่นั ศรทั ธา และธํารงรักษา ไวซ ง่ึ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ทรงเปน ประมขุ สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร มาตรฐาน ส.๓.๑ เขา ใจและสามารถบรหิ ารจดั การทรพั ยากรในการผลิตและการบรโิ ภคการใช ทรัพยากรที่มีอยจู าํ กดั ไดอ ยา งมปี ระสิทธภิ าพและคมุ คา รวมท้งั เขาใจ หลกั การของเศรษฐกจิ พอเพียง เพื่อการดํารงชีวติ อยางมีดลุ ยภาพ มาตรฐาน ส.๓.๒ เขาใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกจิ ตา ง ๆ ความสัมพันธท างเศรษฐกิจ และความจําเปน ของการรวมมือกนั ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก

๓ สาระที่ ๔ ประวัตศิ าสตร มาตรฐาน ส ๔.๑ เขาใจความหมาย ความสําคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร สามารถใช วิธีการทางประวัตศิ าสตรม าวเิ คราะหเ หตกุ ารณต างๆ อยา งเปน ระบบ มาตรฐาน ส ๔.๒ เขาใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถงึ ปจ จบุ ัน ในดา นความสัมพันธและ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณอ ยา งตอเน่อื ง ตระหนักถึงความสําคัญและสามารถ วิเคราะหผ ลกระทบทีเ่ กิดขึ้น มาตรฐาน ส ๔.๓ เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปญญาไทย มีความรัก ความภมู ใิ จและธํารงความเปนไทย สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร เขา ใจลกั ษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพนั ธข องสรรพส่ิงซ่งึ มีผล ตอกัน มาตรฐาน ส ๕.๑ และกันในระบบของธรรมชาติ ใชแผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร ในการ มาตรฐาน ส ๕.๒ คนหาวเิ คราะห สรปุ และใชขอมลู ภูมสิ ารสนเทศอยางมีประสทิ ธิภาพ เขา ใจปฏสิ มั พันธร ะหวางมนุษยกบั สภาพแวดลอ มทางกายภาพทก่ี อ ใหเกดิ การสรางสรรคว ฒั นธรรม มีจติ สํานกึ และมีสว นรวมในการอนุรักษ ทรพั ยากร และส่ิงแวดลอม เพอ่ื การพัฒนาทย่ี ่ังยนื คุณภาพผเู รยี น จบช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๓  ไดเ รียนรูเรอ่ื งเกย่ี วกบั ตนเองและผทู อ่ี ยรู อบขา ง ตลอดจนสภาพแวดลอ มในทอ งถนิ่ ทีอ่ ยูอ าศัย และเช่ืองโยงประสบการณไปสูโ ลกกวาง  ผูเรยี นไดรับการพัฒนาใหมีทักษะกระบวนการ และมีขอมูลที่จําเปนตอการพัฒนาใหเปน ผูมีคณุ ธรรม จริยธรรม ประพฤติปฏบิ ัตติ ามหลกั คาํ สอนของศาสนาท่ีตนนบั ถอื มีความเปน พลเมืองดี มี ความรับผิดชอบ การอยรู วมกันและการทํางานกับผูอ่นื มสี วนรว มในกิจกรรมของหองเรยี น และไดฝกหดั ในการตดั สินใจ  ไดศึกษาเรื่องราวเก่ียวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน และชุมชนในลักษณะการบูรณาการ ผเู รียนไดเขาใจแนวคิดเก่ียวกับปจจุบันและอดีต มีความรูพ้ืนฐานทางเศรษฐกจิ ไดขอคิดเกี่ยวกบั รายรบั - รายจา ยของครอบครัว เขาใจถงึ การเปน ผูผ ลติ ผูบ รโิ ภค รูจกั การออมขั้นตนและวิธกี ารเศรษฐกจิ พอเพียง  ไดรับการพัฒนาแนวคิดพ้ืนฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หนาท่ีพลเมือง เศรษฐศาสตร ประวัตศิ าสตร และภมู ิปญ ญา เพ่อื เปน พืน้ ฐานในการทาํ ความเขาใจในขน้ั ทสี่ งู ตอไป

๔ จบชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๖  ไดเรียนรูเร่ืองของจังหวัด ภาค และประทศของตนเอง ท้ังเชิงประวัติศาสตร ลักษณะทาง กายภาพ สังคม ประเพณี และวัฒนธรรม รวมทั้งการเมืองการปกครอง สภาพเศรษฐกิจโดยเนน ความเปน ประเทศไทย  ไดรับการพฒั นาความรแู ละความเขาใจ ในเรื่องศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ปฏิบัตติ นตามหลัก คําสอนของศาสนาท่ีตนนับถอื รวมท้งั มสี วนรว มศาสนพิธี และพิธีกรรมทางศาสนามากย่งิ ขึน้  ไดศึกษาและปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิหนาที่ในฐานะพลเมืองดีของทองถิ่น จังหวัด ภาค และประเทศ รวมทงั้ ไดม ีสวนรวมในกิจกรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ของ ทอ งถน่ิ ตนเองมากย่ิงข้ึน  ไดศ ึกษาเปรียบเทยี บเรอื่ งราวของจังหวัดและภาคตา งๆของประเทศไทยกบั ประเทศเพ่ือนบาน ไดรบั การพัฒนาแนวคดิ ทางสังคมศาสตร เกยี่ วกับศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม หนาทีพ่ ลเมอื ง เศรษฐศาสตร ประวตั ศิ าสตร และภูมศิ าสตรเพอื่ ขยายประสบการณไปสกู ารทําความเขาใจ ในภมู ิภาค ซกี โลกตะวันออก และตะวนั ตกเก่ยี วกับศาสนา คณุ ธรรม จริยธรรม คา นยิ มความเชอ่ื ขนบธรรมเนียม ประเพณี วฒั นธรรม การ ดําเนนิ ชีวติ การจัดระเบียบทางสังคม และการเปลยี่ นแปลงทางสังคมจากอดตี สปู จ จบุ นั จบชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ ๓  ไดเรียนรูและศึกษาเกี่ยวกับความเปนไปของโลก โดยการศึกษาประเทศไทยเปรียบเทียบ กบั ประเทศในภมู ภิ าคตา งๆในโลก เพอ่ื พฒั นาแนวคิด เร่ืองการอยรู ว มกันอยา งสันตสิ ุข  ไดเรียนรแู ละพฒั นาใหมีทักษะท่ีจาํ เปนตอ การเปน นกั คดิ อยางมีวิจารณญาณไดร บั การพัฒนา แนวคิด และขยายประสบการณ เปรยี บเทียบระหวางประเทศไทยกับประเทศในภูมภิ าคตาง ๆ ในโลก ไดแก เอเชยี โอเชียเนยี แอฟริกา ยุโรป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต ในดานศาสนา คุณธรรม จริยธรรม คานิยม ความ เชื่อ ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง ประวัติศาสตรแ ละภูมิศาสตร ดวยวธิ ีการ ทางประวัตศิ าสตร และสังคมศาสตร  ไดรับการพัฒนาแนวคิดและวิเคราะหเหตกุ ารณในอนาคต สามารถนํามาใชเปนประโยชน ในการดาํ เนนิ ชีวติ และวางแผนการดาํ เนนิ งานไดอยา งเหมาะสม จบช้นั มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๖  ไดเรียนรแู ละศกึ ษาความเปนไปของโลกอยา งกวางขวางและลึกซง้ึ ย่งิ ข้นึ  ไดรับการสง เสริมสนบั สนนุ ใหพัฒนาตนเองเปนพลเมืองท่ดี ี มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตาม หลกั ธรรมของศาสนาท่ีตนนับถอื รวมท้ังมีคานยิ มอนั พึงประสงค สามารถอยูรวมกับผอู ่ืนและอยูในสังคม ไดอ ยางมคี วามสขุ รวมทงั้ มีศักยภาพเพือ่ การศกึ ษาตอในชัน้ สงู ตามความประสงคไ ด

๕  ไดเรียนรูเร่ืองภูมิปญญาไทย ความภูมิใจในความเปนไทย ประวัติศาสตรของชาติไทย ยึดม่ันในวิถีชวี ิต และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยทรงเปน ประมขุ  ไดรบั การสงเสริมใหมีนิสัยที่ดีในการบริโภค เลือกและตัดสินใจบริโภคไดอยางเหมาะสม มีจิตสํานึก และมีสวนรวมในการอนุรกั ษ ประเพณวี ัฒนธรรมไทย และส่ิงแวดลอ ม มคี วามรักทอ งถ่ินและ ประเทศชาติ มงุ ทําประโยชน และสรางสิ่งทด่ี ีงามใหกบั สงั คม  เปน ผมู ีความรคู วามสามารถในการจดั การเรยี นรูของตนเอง ช้ีนาํ ตนเองได และสามารถแสวงหา ความรจู ากแหลง การเรียนรตู า งๆในสงั คมไดตลอดชวี ิต

๖ ตัวชีว้ ัดและสาระการเรยี นรแู กนกลาง สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รู และเขาใจประวัติ ความสาํ คญั ศาสดา หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนา ทต่ี นนับถือและศาสนาอ่นื มศี รทั ธาทีถ่ ูกตอง ยึดม่นั และปฏบิ ตั ิตามหลักธรรม เพ่ืออยูรว มกนั อยา งสนั ติสขุ ชัน้ ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง ป.๑ ๑. บอกพุทธประวัติ หรือประวตั ิของ  พทุ ธประวตั ิ ศาสดาท่ีตนนบั ถอื โดยสงั เขป  ประสตู ิ  ตรัสรู  ปรนิ พิ พาน ๒. ช่ืนชมและบอกแบบอยา งการดาํ เนนิ  สามเณรบณั ฑติ ชวี ติ และขอ คดิ จากประวตั ิสาวก ชาดก/  วัณณปุ ถชาดก เรื่องเลาและศาสนิกชนตัวอยา งตามท่ี  สุวณั ณสามชาดก กําหนด  พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ภูมิพลอดลุ ยเดช  เจาพระยาสุธรรมมนตรี (หนพู รอม) ๓. บอกความหมาย ความสาํ คญั และ  พระรัตนตรยั เคารพพระรตั นตรัย ปฏิบตั ิตามหลกั ธรรม  ศรทั ธา พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ โอวาท ๓ในพระพทุ ธศาสนา หรอื  โอวาท ๓ หลักธรรมของศาสนาที่ตนนบั ถอื ตามท่ี  ไมท าํ ชั่ว กาํ หนด o เบญจศลี  ทาํ ความดี ° เบญจธรรม ° สังคหวตั ถุ ๔ ° กตัญกู ตเวทีตอพอ แม และ ครอบครวั ° มงคล ๓๘ - ทาํ ตัวดี - วา งาย - รบั ใชพ อแม

๗ ชน้ั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง  ทาํ จติ ใหบริสทุ ธ์ิ (บริหารจิตและเจริญ ปญ ญา)  พุทธศาสนสภุ าษิต  อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ ตนแลเปน ที่พ่งึ ของตน  มาตา มิตฺตํ สเก ฆเร มารดาเปน มติ รในเรอื นของตน ๔. เหน็ คณุ คา และสวดมนต แผเ มตตา  ฝกสวดมนตและแผเ มตตา มสี ติท่ีเปนพน้ื ฐานของสมาธใิ น  รคู วามหมายและประโยชนของสติ พระพทุ ธศาสนา หรือการพฒั นาจติ ตาม  ฟงเพลงและรอ งเพลงอยา งมสี ติ แนวทางของศาสนาท่ีตนนบั ถือ  เลนและทาํ งานอยา งมสี ติ ตามทีก่ าํ หนด  ฝก ใหมสี ตใิ นการฟง การอา น การคิด การถามและการเขียน ป.๒ ๑. บอกความสําคญั ของพระพทุ ธศาสนา  พระพทุ ธศาสนาเปนเอกลกั ษณของ หรือศาสนาท่ตี นนับถือ ชาตไิ ทย ๒. สรปุ พทุ ธประวัติตั้งแตป ระสตู ิจนถึง  สรุปพุทธประวตั ิ การออกผนวชหรอื ประวัติศาสดาท่ีตนนบั  ประสตู ิ ถือตามท่กี ําหนด o เหตุการณหลังประสตู ิ o แรกนาขวัญ o การศกึ ษา o การอภิเษกสมรส o เทวทตู ๔ o การออกผนวช ๓. ชน่ื ชมและบอกแบบอยางการดําเนิน  สามเณรราหลุ ชวี ิตและขอคดิ จากประวตั ิสาวก ชาดก/  วรุณชาดก เร่ืองเลา และศาสนกิ ชนตวั อยางตามท่ี  วานรนิ ทชาดก กาํ หนด  สมเด็จพระญาณสังวร (ศุข ไกเ ถือ่ น)  สมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน) ๔. บอกความหมาย ความสาํ คญั และ  พระรตั นตรยั เคารพพระรตั นตรัย ปฏบิ ัตติ าม  ศรัทธา

๘ ชั้น ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง หลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพทุ ธศาสนา  โอวาท ๓ หรือหลกั ธรรมของศาสนาที่ตน นับถือตามที่กาํ หนด  ไมทาํ ชัว่ ° เบญจศลี  ทําความดี ° เบญจธรรม ° หิริ-โอตตปั ปะ ° สังคหวัตถุ ๔ ° ฆราวาสธรรม ๔ ° กตัญกู ตเวทีตอครู อาจารย และ โรงเรียน ° มงคล ๓๘ - กตญั ู - สงเคราะหญาติพนี่ อ ง  ทําจิตใหบรสิ ุทธิ์ (บริหารจิตและ เจริญปญ ญา)  พุทธศาสนสภุ าษิต  นิมิตฺตํ สาธุรูปานํ กตฺญ กตเวทิตา ความกตัญญ กตเวทเี ปน เครอื่ งหมาย ของคนดี  พรฺ หฺมาติ มาตาปต โร มารดาบิดาเปน พรหมของบุตร ๕. ช่ืนชมการทําความดขี องตนเอง บคุ คล  ตัวอยางการกระทาํ ความดีของตนเอง ในครอบครวั และในโรงเรียน ตามหลกั และบุคคลในครอบครัว และใน ศาสนา โรงเรยี น (ตามสาระในขอ ๔) ๖. เห็นคณุ คา และสวดมนต แผเ มตตา  ฝกสวดมนตไหวพ ระและแผเ มตตา มสี ตทิ ี่เปนพื้นฐานของสมาธิในพระพทุ ธ-  รคู วามหมายและประโยชนของสตแิ ละ ศาสนา หรอื การพัฒนาจิตตามแนวทาง ของศาสนาทีต่ นนับถอื ตามท่ีกาํ หนด สมาธิ  ฝกสมาธิเบอ้ื งตน  ฝกสตเิ บ้อื งตนดว ยกิจกรรมการ เคลือ่ นไหวอยางมสี ติ  ฝกใหมสี มาธิในการฟง การอา น การคิด การถาม และการเขียน

๙ ชนั้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรแู กนกลาง ๗. บอกช่ือศาสนา ศาสดา และ  ชอื่ ศาสนา ศาสดา และคมั ภีรของศาสนา ความสาํ คัญของคมั ภีรข องศาสนาทตี่ น ตา ง ๆ นับถือและศาสนาอนื่ ๆ  พระพุทธศาสนา o ศาสดา : พระพุทธเจา o คมั ภรี  : พระไตรปฎ ก  ศาสนาอิสลาม o ศาสดา : มุฮัมมดั o คัมภีร : อลั กุรอาน  คริสตศาสนา o ศาสดา : พระเยซู o คมั ภีร : ไบเบลิ  ศาสนาฮินดู o ศาสดา : ไมมศี าสดา o คมั ภรี  : พระเวท พราหมณะ อปุ นิษทั อารัณยกะ ป.๓ ๑. อธบิ ายความสําคญั ของพระพุทธศาสนา  ความสัมพนั ธของพระพุทธศาสนากบั หรอื ศาสนาท่ตี นนบั ถอื ในฐานะทเี่ ปน การดําเนินชวี ติ ประจําวัน เชน รากฐานสําคัญของวฒั นธรรมไทย การสวดมนต การทําบุญ ใสบาตร การแสดงความเคารพ การใชภ าษา  พระพทุ ธศาสนามีอทิ ธิพลตอ การ สรางสรรคผลงานทางวัฒนธรรมไทย อันเกดิ จากความศรัทธา เชน วัด ภาพวาด พระพุทธรปู วรรณคดี สถาปตยกรรมไทย ๒. สรปุ พุทธประวัตติ ัง้ แตก ารบาํ เพ็ญ  สรปุ พทุ ธประวตั ิ (ทบทวน) เพียรจนถึงปรนิ พิ พาน หรอื ประวตั ิของ  การบาํ เพญ็ เพียร ศาสดาท่ตี นนบั ถอื ตามท่กี ําหนด  ผจญมาร  ตรสั รู  ปฐมเทศนา  ปรินิพพาน

๑๐ ช้ัน ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง ๓. ช่ืนชมและบอกแบบอยา งการดาํ เนนิ  สามเณรสังกจิ จะ ชีวติ และขอคดิ จากประวัติสาวก ชาดก/  อารามทูสกชาดก เร่อื งเลา และศาสนกิ ชนตัวอยาง ตามที่  มหาวาณิชชาดก กาํ หนด  สมเด็จพระพฒุ าจารย (โต พฺรหฺมรสํ )ี  สมเด็จพระเจาตากสินมหาราช ๔. บอกความหมาย ความสําคญั ของ  ความสาํ คัญของพระไตรปฎ ก เชน พระไตรปฎ ก หรอื คมั ภรี ข องศาสนาทต่ี น เปนแหลงอางองิ ของหลักธรรมคําสอน นับถือ ๕. แสดงความเคารพพระรตั นตรัย และ  พระรัตนตรัย ปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท ๓ ใน  ศรัทธา พระพุทธศาสนา หรอื หลกั ธรรมของ  โอวาท ๓ ศาสนาทตี่ นนบั ถือตามที่กาํ หนด  ไมทาํ ชว่ั ° เบญจศลี  ทาํ ความดี ° เบญจธรรม ° สติ-สมั ปชญั ญะ ° สังคหวัตถุ ๔ ° ฆราวาสธรรม ๔ ° อัตถะ ๓ (อัตตัตถะ, ปรัตถะ, อุภยตั ถะ) ° กตัญกู ตเวทีตอชุมชน, สิ่งแวดลอม ° มงคล ๓๘ - รจู กั ให - พดู ไพเราะ - อยูใ นสิง่ แวดลอมทดี่ ี  ทาํ จิตใหบ ริสทุ ธ์ิ (บรหิ ารจิตและเจรญิ ปญ ญา)  พทุ ธศาสนสุภาษิต  ททมาโน ปโย โหติ ผูใ หย อ มเปน ท่ีรัก  โมกโฺ ข กลยฺ าณิยา สาธุ เปลงวาจาไพเราะใหส ําเร็จประโยชน

ช้นั ตัวชวี้ ัด ๑๑ ๖. เห็นคณุ คา และสวดมนต แผเมตตา มสี ตทิ ี่เปนพนื้ ฐานของสมาธิใน สาระการเรยี นรูแกนกลาง พระพทุ ธศาสนา หรือการพัฒนาจติ  ฝก สวดมนต ไหวพระ สรรเสริญคณุ ตามแนวทางของศาสนาทตี่ นนบั ถอื ตามที่กาํ หนด พระรตั นตรัยและแผเ มตตา  รูค วามหมายและประโยชนของสติและ ๗. บอกชื่อ ความสาํ คญั และปฏบิ ัติตน ไดอ ยางเหมาะสมตอศาสนวัตถุ สมาธิ ศาสนสถาน และศาสนบคุ คลของศาสนา  รปู ระโยชนข องการฝกสติ อน่ื ๆ  ฝก สมาธิเบื้องตนดว ยการนบั ลมหายใจ  ฝก การยนื การเดนิ การนง่ั และ ป.๔ ๑. อธบิ ายความสาํ คญั ของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาทต่ี นนบั ถือ ในฐานะเปน ศูนย การนอน อยางมีสติ รวมจติ ใจของศาสนกิ ชน  ฝก ใหมสี มาธิในการฟง การอาน การคิด การถาม และการเขยี น  ช่อื และความสาํ คญั ของศาสนวตั ถุ ศาสนสถานและ ศาสนบุคคล ในพระพทุ ธศาสนา ศาสนาอสิ ลาม ครสิ ตศาสนา ศาสนาฮินดู  การปฏิบตั ติ นท่ีเหมาะสมตอศาสนวตั ถุ ศาสนสถานและศาสนบคุ คลในศาสนา อ่ืน ๆ  พระพทุ ธศาสนา ในฐานะทีเ่ ปน เคร่อื งยึดเหนี่ยวจติ ใจ  เปน ศูนยรวมการทําความดี และพัฒนา จติ ใจ เชน ฝกสมาธิ สวดมนต ศึกษาหลักธรรม  เปนท่ปี ระกอบศาสนพธิ ี (การทอดกฐนิ การทอดผาปา การเวยี นเทยี น การทาํ บุญ)  เปน แหลงทาํ กิจกรรมทางสงั คม เชน การจัดประเพณีทอ งถน่ิ การเผยแพร ขอ มูลขา วสารชมุ ชน และ การสงเสรมิ พฒั นาชมุ ชน

๑๒ ช้ัน ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง ๒. สรปุ พุทธประวัตติ ้ังแตบรรลธุ รรม  สรปุ พุทธประวัติ (ทบทวน) จนถึงประกาศธรรม หรือประวัตศิ าสดาท่ี  ตรัสรู ตนนับถอื ตามท่ีกําหนด  ประกาศธรรม ไดแก ° โปรดชฎลิ ° โปรดพระเจา พมิ พิสาร ° พระอัครสาวก ° แสดงโอวาทปาฏโิ มกข ๓. เหน็ คณุ คา และปฏิบัติตนตาม  พระอุรเุ วลกัสสปะ แบบอยา งการดําเนนิ ชีวติ และขอคิดจาก  กฏุ ทิ สู กชาดก ประวตั ิสาวก ชาดก/เร่อื งเลาและ  มหาอุกกสุ ชาดก ศาสนกิ ชนตัวอยา ง ตามท่ีกาํ หนด  สมเดจ็ พระมหิตลาธเิ บศร อดุลยเดช ๔. แสดงความเคารพ พระรตั นตรัย วกิ รม พระบรมราชชนก  สมเด็จพระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี  พระรตั นตรัย ปฏบิ ตั ิตามไตรสกิ ขาและหลกั ธรรม o ศรัทธา ๔  พระพทุ ธ โอวาท ๓ ในพระพทุ ธศาสนา หรือ ° พทุ ธคุณ ๓ หลกั ธรรมของศาสนาท่ตี นนบั ถือตามที่ กําหนด  พระธรรม ° หลกั กรรม  พระสงฆ  ไตรสกิ ขา  ศลี สมาธิ ปญ ญา  โอวาท ๓  ไมทาํ ชัว่ o เบญจศลี o ทุจรติ ๓  ทําความดี o เบญจธรรม o สุจรติ ๓ o พรหมวหิ าร ๔ o กตัญกู ตเวทีตอประเทศชาติ o มงคล ๓๘ - เคารพ - ถอมคน - ทําความดใี หพรอมไวก อ น

๑๓ ช้ัน ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง  ทําจิตใหบ รสิ ุทธิ์(บริหารจิตและเจรญิ ปญ ญา)  พทุ ธศาสนสุภาษิต  สขุ า สงฺฆสสฺ สามคคฺ ี ความพรอ มเพรียงของหมใู หเกดิ สุข  โลโกปตฺถมภฺ ิกา เมตตฺ า เมตตาธรรม คํ้าจุนโลก ๕. ช่นื ชมการทาํ ความดขี องตนเอง บคุ คล  ตัวอยา งการกระทําความดขี องตนเอง ในครอบครวั โรงเรียนและชุมชนตาม และบุคคลในครอบครัว ในโรงเรยี น และ หลักศาสนา พรอมท้งั บอกแนวปฏบิ ัติใน ในชมุ ชน การดําเนนิ ชีวติ ๖. เห็นคณุ คา และสวดมนต แผเ มตตา  สวดมนตไ หวพ ระ สรรเสรญิ มสี ตทิ ีเ่ ปน พ้ืนฐานของสมาธิใน คุณพระรัตนตรัยและแผเ มตตา พระพุทธศาสนา หรอื การพัฒนาจิต  รคู วามหมายของสติสมั ปชัญญะ สมาธิ ตามแนวทางของศาสนาทีต่ นนบั ถอื และปญ ญา ตามที่กาํ หนด  รูวิธปี ฏบิ ัติของการบริหารจิตและเจรญิ ปญญา  ฝก การยนื การเดิน การนงั่ และการนอน อยา งมีสติ  ฝกการกําหนดรูความรสู ึก เมื่อตาเห็นรปู หูฟง เสียง จมูกดมกล่ิน ลน้ิ ล้มิ รส กาย สัมผสั สงิ่ ท่ีมากระทบ ใจรับรูธรรมารมณ  ฝก ใหม ีสมาธิในการฟง การอาน การคิด การถาม และการเขยี น ๗. ปฏิบัตติ นตามหลักธรรมของศาสนาท่ี  หลักธรรมเพือ่ การอยูร วมกันอยา ง ตนนับถือ เพอื่ การอยูรวมกนั เปนชาติได สมานฉันท อยา งสมานฉันท o เบญจศีล – เบญจธรรม o ทจุ ริต ๓ – สุจริต ๓ o พรหมวหิ าร ๔ o มงคล ๓๘

๑๔ ช้นั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง - เคารพ - ถอ มตน - ทําความดใี หพ รอมไวก อน o พุทธศาสนสภุ าษติ : ความพรอ ม เพรียงของหมใู หเกิดสขุ เมตตาธรรม ค้าํ จุนโลก  กตัญูกตเวทตี อประเทศชาติ ๘. อธบิ ายประวัติศาสดาของศาสนาอื่นๆ  ประวตั ศิ าสดา โดยสงั เขป o พระพุทธเจา o มฮุ ัมมัด o พระเยซู ป.๕ ๑. วิเคราะหความสาํ คัญของ  มรดกทางวฒั นธรรมที่ไดรบั จาก พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ พระพุทธศาสนา ในฐานะทเ่ี ปน มรดกทางวัฒนธรรมและ o มรดกทางดา นรปู ธรรม เชน หลักในการพัฒนาชาติไทย ศาสนสถาน โบราณวัตถุ สถาปต ยกรรม o มรดกทางดานจิตใจ เชน หลกั ธรรม คําสง่ั สอน ความเชอื่ และคณุ ธรรม ตา ง ๆ  การนาํ พระพุทธศาสนาไปใชเปน แนวทางในการพฒั นาชาตไิ ทย o พัฒนาดา นกายภาพ และสิ่งแวดลอม เชน ภาวนา ๔ (กาย ศลี จิต ปญญา) ไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปญญา) และอรยิ สจั ส่ี o พฒั นาจติ ใจ เชน หลักโอวาท ๓ (ละความชวั่ ทาํ ดี ทาํ จิตใจให บรสิ ทุ ธ)ิ์ และการบริหารจิตและเจรญิ ปญญา

๑๕ ชนั้ ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรแู กนกลาง ๒. สรุปพุทธประวัตติ ัง้ แตเ สดจ็  สรปุ พทุ ธประวัติ (ทบทวน) กรงุ กบลิ พัสดจุ นถงึ พทุ ธกจิ สาํ คัญ  โปรดพระพทุ ธบดิ า (เสดจ็ กรุง หรือประวัติศาสดาทต่ี นนับถอื ตามท่ี กบิลพสั ด)ุ กําหนด  พทุ ธกิจสาํ คญั ไดแ ก โลกตั ถจริยา ญาตตั ถจริยา และพุทธตั ถจริยา ๓. เหน็ คุณคา และประพฤตติ นตาม  พระโสณโกฬวิ สิ ะ แบบอยา งการดําเนินชีวติ และขอคดิ จาก  จฬู เสฏฐิชาดก ประวัติสาวก ชาดก/เร่อื งเลา และ  วณั ณาโรหชาดก ศาสนิกชนตวั อยาง ตามท่ีกําหนด  สมเดจ็ พระสังฆราช (สา)  อาจารยเสถยี ร โพธนิ นั ทะ ๔. อธบิ ายองคป ระกอบ และความสาํ คัญ  องคป ระกอบของพระไตรปฎ ก ของพระไตรปฎ ก หรอื คมั ภรี ของศาสนา  พระสุตตันตปฎก ที่ตนนับถอื  พระวนิ ัยปฎ ก  พระอภิธรรมปฎ ก  ความสาํ คญั ของพระไตรปฎ ก ๕. แสดงความเคารพพระรตั นตรัย  พระรตั นตรยั และปฏิบัตติ ามไตรสิกขาและหลักธรรม o ศรัทธา ๔ โอวาท ๓ ในพระพทุ ธศาสนาหรือ  พระพุทธ หลกั ธรรมของศาสนาท่ตี นนับถือ o พุทธจริยา ๓ ตามทก่ี ําหนด  พระธรรม o อรยิ สัจ ๔ o หลกั กรรม  พระสงฆ  ไตรสิกขา  ศีล สมาธิ ปญ ญา  โอวาท ๓  ไมทําช่วั o เบญจศีล o อบายมขุ ๔

๑๖ ช้ัน ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง  ทาํ ความดี o เบญจธรรม o บุญกริ ยิ าวตั ถุ ๓ o อคติ ๔ o อิทธบิ าท ๔ o กตญั ูกตเวทตี อพระพุทธศาสนา o มงคล ๓๘ - ใฝรู ใฝเ รยี น - การงานไมอ ากลู - อดทน  ทาํ จติ ใหบ ริสทุ ธ์ิ (บรหิ ารจิตและเจรญิ ปญญา)  พทุ ธศาสนสุภาษิต  วริ เิ ยน ทกุ ฺขมจเฺ จติ คนจะลวงทุกขไ ดเพราะความเพียร  ปญฺ า โลกสมฺ ิ ปชโฺ ชโต ปญญา คือ แสงสวางในโลก ๖. เห็นคณุ คา และสวดมนตแ ผเมตตา  สวดมนตไหวพระ สรรเสริญ มสี ติท่เี ปน พ้นื ฐานของสมาธิใน คณุ พระรตั นตรยั และแผเมตตา พระพทุ ธศาสนา หรือการพัฒนาจิตตาม  รูค วามหมายของสติสัมปชัญญะ แนวทางของศาสนาท่ตี นนับถือตามท่ี สมาธแิ ละปญ ญา กําหนด  รวู ธิ ปี ฏิบตั ิและประโยชนข อง การบรหิ ารจติ และเจรญิ ปญ ญา  ฝกการยนื การเดนิ การน่ัง และ การนอน อยางมีสติ  ฝก การกําหนดรูความรสู ึก เมอ่ื ตา เห็นรูป หูฟงเสยี ง จมูกดมกลิ่น ลิ้น ลมิ้ รส กายสัมผสั สิง่ ทมี่ ากระทบใจ รับรูธ รรมารมณ  ฝก ใหม สี มาธิในการฟง การอา น การคิด การถามและการเขยี น

๑๗ ชั้น ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรูแ กนกลาง ๗. ปฏิบัตติ นตามหลกั ธรรมของศาสนาที่  โอวาท ๓ (ตามสาระการเรยี นรขู อ ๕) ตนนับถอื เพื่อการพัฒนาตนเองและ ส่ิงแวดลอม ป.๖ ๑. วิเคราะหความสาํ คญั ของพระพทุ ธ-  พระพุทธศาสนาในฐานะเปน ศาสนา ศาสนาในฐานะเปน ศาสนาประจําชาติ ประจําชาติ เชน เปนเอกลักษณของ หรือความสําคญั ของศาสนาทต่ี นนับถือ ชาตไิ ทย เปนรากฐานทางวัฒนธรรม ไทย เปน ศนู ยรวมจติ ใจ เปนมรดก ทางวัฒนธรรมไทย และเปน หลัก ในการพฒั นาชาตไิ ทย ๒. สรปุ พทุ ธประวัตติ ้งั แตป ลงอายุสงั ขาร  สรุปพุทธประวตั ิ (ทบทวน)  ปลงอายสุ งั ขาร จนถงึ สังเวชนยี สถาน หรอื ประวัตศิ าสดา  ปจฉมิ สาวก ที่ตนนับถอื ตามท่ีกาํ หนด  ปรินพิ พาน  การถวายพระเพลิง ๓. เหน็ คณุ คาและประพฤตติ นตาม  แจกพระบรมสารรี กิ ธาตุ  สงั เวชนยี สถาน ๔  พระราธะ แบบอยางการดาํ เนนิ ชวี ิตและขอ คิดจาก  ทฆี ตี ิโกสลชาดก ประวัติสาวก ชาดก/เรอื่ งเลา และ  สัพพทาฐชิ าดก ศาสนกิ ชนตัวอยางตามที่กําหนด  พอขุนรามคําแหงมหาราช  สมเดจ็ พระมหาสมณเจากรม- พระปรมานุชติ ชโิ นรส ไพโอตรวรพะศไาพสoooพรมทรลีoกิรัตระทะสข๓ะนธําสหอพามพรชตศงรราุทลทุั่วรรฆิยธมักธยััทธสิกปกธจั รจิญาร๔๕๔ญมา ๔. วเิ คราะหความสาํ คญั และเคารพ  พระรตั นตรยั ปฏิบตั ติ ามไตรสกิ ขาและ หลกั ธรรมโอวาท ๓ ในพระพทุ ธศาสนา  หรือหลกั ธรรมของศาสนาท่ีตน  นับถือตามท่ีกาํ หนด o เบญจศลี o อบายมขุ ๖ o อกศุ ลมลู ๓

๑๘ ช้ัน ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรูแ กนกลาง  ทําความดี o เบญจธรรม o กศุ ลมูล ๓ o พละ ๔ o คารวะ ๖ o กตัญกู ตเวทตี อพระมหากษัตรยิ  o มงคล ๓๘ --- กไมมาวีรป ินงราัยะนมไามทม ใีโนทธษรรม  ทําจติ ใหบ รสิ ทุ ธ์ิ (บรหิ ารจติ และเจรญิ ปญ ญา)  พทุ ธศาสนสภุ าษติ  สจฺเจน กติ ฺตึ ปปฺโปติ คนจะไดเกยี รติดว ยสัจจะ  ยถาวาที ตถาการี พูดเชนไร ทาํ เชน นั้น ๕. ชื่นชมการทําความดีของบคุ คลใน  ตัวอยา งการกระทาํ ความดีของบคุ คล ประเทศตามหลักศาสนา พรอ มท้งั บอก ในประเทศ แนวปฏบิ ัตใิ นการดําเนนิ ชวี ิต ๖. เห็นคณุ คา และสวดมนตแ ผเ มตตา และ  สวดมนตไ หวพระ สรรเสรญิ บริหารจติ เจรญิ ปญ ญา มสี ติทเี่ ปน พื้นฐาน คณุ พระรตั นตรัยและแผเมตตา ของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรอื การ พฒั นาจติ ตามแนวทางของศาสนา  รูความหมายของสตสิ มั ปชัญญะ ท่ตี นนับถือ ตามทกี่ ําหนด สมาธิและปญ ญา  รวู ธิ ีปฏบิ ตั แิ ละประโยชนข อง การบริหารจติ และเจริญปญ ญา  ฝก การยืน การเดิน การนง่ั และ การนอนอยา งมสี ติ  ฝก การกาํ หนดรูค วามรสู ึกเมือ่ ตาเห็น รปู หูฟงเสยี ง จมูกดมกลิ่น ลิ้นล้ิมรส กายสัมผสั สิง่ ทม่ี ากระทบ ใจรบั รู ธรรมารมณ

๑๙ ช้นั ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง  ฝกใหมีสมาธใิ นการฟง การอาน การคิด การถาม และการเขียน ๗. ปฏบิ ัตติ นตามหลักธรรมของศาสนา  หลักธรรม : อริยสัจ ๔ หลกั กรรม ทีต่ นนับถอื เพ่ือแกป ญ หาอบายมุขและ  โอวาท ๓ : เบญจศลี – เบญจธรรม สิ่งเสพติด อบายมขุ ๖ อกุศลมูล ๓ กศุ ลมูล ๓ ๘. อธบิ ายหลกั ธรรมสําคญั ของศาสนา  หลักธรรมสําคัญของศาสนาตา ง ๆ อ่นื ๆ โดยสงั เขป  พระพทุ ธศาสนา : อรยิ สจั ๔ โอวาท ๓ ฯลฯ  ศาสนาอิสลาม : หลักศรทั ธา หลกั ปฏิบัติ หลักจรยิ ธรรม  ครสิ ตศ าสนา : บัญญัติ ๑๐ ประการ ๙. อธิบายลักษณะสําคัญของศาสนพธิ ี  ศาสนพธิ ขี องศาสนาตาง ๆ พิธีกรรมของศาสนาอืน่ ๆ และปฏิบตั ิตน  พระพทุ ธศาสนา ไดอยางเหมาะสมเม่อื ตอ งเขา รวมพธิ ี o ศาสนพิธที เี่ ปนพุทธบญั ญตั ิ เชน บรรพชา อปุ สมบท o ศาสนพิธีท่เี ก่ยี วเนอื่ งกบั พระพุทธศาสนา เชน ทําบญุ พธิ เี นอ่ื ง ในวันสาํ คัญทางศาสนา o ศาสนาอิสลาม เชน การละหมาด การถอื ศีลอด การบาํ เพ็ญฮัจญ ฯลฯ o ครสิ ตศ าสนา เชน ศีลลา งบาป ศลี อภยั บาป ศีลกําลัง ศีลมหาสนทิ ฯลฯ o ศาสนาฮนิ ดู เชน พธิ ศี ราทธ พิธบี ูชา เทวดา ม.๑ ๑. อธบิ ายการเผยแผพระพุทธศาสนา  การสงั คายนา หรอื ศาสนาท่ตี นนับถอื สูป ระเทศไทย  การเผยแผพระพุทธศาสนาเขาสู ประเทศไทย

๒๐ ช้ัน ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง ๒. วเิ คราะหค วามสําคญั ของ  ความสาํ คัญของพระพทุ ธศาสนาตอ พระพุทธศาสนา หรือศาสนาทตี่ นนบั ถือ สังคมไทยในฐานะเปน ที่มีตอสภาพแวดลอมในสงั คมไทย  ศาสนาประจาํ ชาติ รวมท้ังการพฒั นาตนและครอบครัว  สถาบนั หลักของสังคมไทย  สภาพแวดลอ มทีก่ วางขวาง และ ครอบคลมุ สังคมไทย  การพฒั นาตนและครอบครัว  สรปุ และวเิ คราะห พทุ ธประวัติ ๓. วเิ คราะหพ ุทธประวตั ิต้ังแตป ระสตู ิ  ประสตู ิ จนถึงบาํ เพ็ญทกุ รกิรยิ า หรือประวตั ิ  เทวทูต ๔ ศาสดาทต่ี นนบั ถือตามท่ีกําหนด  การแสวงหาความรู  การบําเพญ็ ทกุ รกิรยิ า ๔. วเิ คราะหแ ละประพฤติตนตาม  พุทธสาวก พทุ ธสาวิกา แบบอยางการดาํ เนินชีวิตและขอคดิ จาก  พระมหากัสสปะ ประวัตสิ าวก ชาดก/เร่อื งเลา และศาสนกิ  พระอุบาลี ชนตวั อยางตามท่ีกําหนด  อนาถบณิ ฑกิ ะ  นางวสิ าขา  ชาดก  อัมพชาดก  ตติ ติรชาดก  พระรตั นตรยั ๕. อธบิ ายพทุ ธคุณ และขอธรรมสาํ คัญ  พทุ ธคุณ ๙ ในกรอบอริยสัจ ๔ หรอื หลักธรรมของ ศาสนาท่ตี นนบั ถือ ตามท่กี ําหนด เห็น  อริยสัจ ๔ คุณคาและนาํ ไปพฒั นาแกปญ หาของ  ทุกข (ธรรมท่คี วรร)ู ตนเองและครอบครวั o ขันธ ๕ - ธาตุ ๔  สมทุ ยั (ธรรมท่คี วรละ) o หลกั กรรม - ความหมายและคุณคา o อบายมขุ ๖  นโิ รธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) o สขุ ๒ (กายิก, เจตสกิ ) o คหิ สิ ขุ

๒๑ ชนั้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง  มรรค (ธรรมทค่ี วรเจริญ) o ไตรสิกขา o กรรมฐาน ๒ o ปธาน ๔ o โกศล ๓ o มงคล ๓๘ -ไมคบคนพาล - คบบณั ฑติ - บูชาผคู วรบชู า  พุทธศาสนสภุ าษิต  ยํ เว เสวติ ตาทโิ ส คบคนเชนใดเปนคนเชนน้นั  อตฺตนา โจทยตฺตานํ จงเตือนตน ดวยตน  นิสมฺม กรณํ เสยโฺ ย ใครค รวญกอ นทาํ จงึ ดี  ทรุ าวาสา ฆรา ทุกฺขา เรือนท่ีครองไมดีนําทกุ ขม าให ๖. เห็นคุณคาของการพฒั นาจติ เพื่อการ  โยนิโสมนสิการ เรยี นรูและการดําเนินชวี ิต ดว ยวิธคี ดิ แบบ  วิธีคิดแบบคณุ คา แท – คณุ คา เทียม โยนิโสมนสกิ ารคือวิธคี ดิ แบบคณุ คาแท –  วธิ ีคดิ แบบคณุ - โทษและทางออก คณุ คาเทียม และวธิ ีคดิ แบบคณุ – โทษ และทางออก หรอื การพัฒนาจิตตาม แนวทางของศาสนาท่ีตนนับถือ  สวดมนตแปล และแผเมตตา  วธิ ีปฏิบัติและประโยชนของการบรหิ ารจติ ๗. สวดมนต แผเมตตา บรหิ ารจิตและ เจรญิ ปญ ญาดวยอานาปานสติ หรือตาม และเจรญิ ปญญา การฝกบรหิ ารจิตและ เจรญิ ปญ ญาตามหลักสติปฎ ฐานเนน แนวทางของศาสนาที่ตนับถือตามท่ี อานาปานสติ กาํ หนด  นาํ วิธกี ารบริหารจิตและเจริญปญญาไปใช ในชีวิตประจําวัน

๒๒ ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรูแ กนกลาง ๘. วเิ คราะหแ ละปฏิบตั ิตนตามหลักธรรม  หลักธรรม (ตามสาระการเรียนรูข อ ๕) ทางศาสนาที่ตนนบั ถอื ในการดํารงชวี ิต แบบพอเพยี ง และดูแลรกั ษาส่ิงแวดลอม เพอ่ื การอยรู วมกันไดอ ยางสันตสิ ุข ๙. วเิ คราะหเ หตุผลความจําเปนที่ทุกคน  ศาสนิกชนของศาสนาตาง ๆ มกี าร ตอ งศกึ ษาเรียนรศู าสนาอน่ื ๆ ประพฤติปฏิบัตติ นและวิถกี ารดาํ เนินชีวิต ๑๐. ปฏบิ ัตติ นตอ ศาสนกิ ชนอื่นใน แตกตา งกนั ตามหลกั ความเชื่อและคาํ สอน สถานการณต า งๆไดอยางเหมาะสม ของศาสนาทีต่ นนบั ถือ  การปฏบิ ตั ิอยางเหมาะสมตอศาสนิกชน อน่ื ในสถานการณตา งๆ ๑๑. วิเคราะหก ารกระทาํ ของบคุ คลทเี่ ปน  ตวั อยา งบุคคลในทอ งถน่ิ หรือประเทศที่ แบบอยางดา นศาสนสมั พนั ธ และ ปฏบิ ตั ติ นเปนแบบอยางดา นศาสน นําเสนอแนวทางการปฏิบตั ิของตนเอง สมั พนั ธหรอื มผี ลงานดา นศาสนสมั พันธ ม.๒ ๑. อธิบายการเผยแผพระพทุ ธศาสนา  การเผยแผพ ระพทุ ธศาสนาเขา สปู ระเทศ หรือศาสนาทีต่ นนบั ถอื สปู ระเทศ เพอ่ื นบานและการนบั ถอื พระพทุ ธ - เพือ่ นบาน ศาสนาของประเทศเพ่อื นบา นในปจ จุบัน ๒. วเิ คราะหความสําคญั ของพระพุทธ-  ความสาํ คัญของพระพุทธศาสนาทชี่ วย ศาสนา หรือศาสนาทีต่ นนับถือทช่ี วย เสรมิ สรา งความเขาใจอันดีกบั ประเทศ เสริมสรา งความเขาใจอันดกี บั ประเทศ เพอ่ื นบาน เพื่อนบา น ๓. วิเคราะหความสาํ คัญของ  ความสาํ คัญของพระพุทธศาสนาตอ พระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนบั ถือ สังคมไทยในฐานะเปน ในฐานะท่เี ปน รากฐานของวัฒนธรรม  รากฐานของวฒั นธรรม เอกลักษณของชาติและมรดกของชาติ  เอกลกั ษณและ มรดกของชาติ ๔. อภปิ รายความสําคัญของพระพทุ ธ - ศาสนา หรือศาสนาที่ตนนบั ถอื กบั  ความสําคญั ของพระพทุ ธศาสนากับ การพัฒนาชมุ ชนและการจดั ระเบยี บ การพัฒนาชมุ ชนและการจัดระเบียบสงั คม สงั คม ๕. วิเคราะหพทุ ธประวตั หิ รอื ประวตั ิ  สรปุ และวเิ คราะห พุทธประวตั ิ ศาสดาของศาสนาทตี่ นนับถือตามท่ี  การผจญมาร กาํ หนด  การตรัสรู  การสง่ั สอน

๒๓ ช้ัน ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง ๖. วิเคราะหและประพฤตติ นตาม แบบอยางการดาํ เนนิ ชีวติ และขอคดิ จาก  พระสารีบตุ ร ประวตั ิสาวก ชาดก/เรื่องเลาและ  พระโมคคลั ลานะ ศาสนิกชนตวั อยา งตามที่กําหนด  นางขุชชุตตรา  พระเจา พิมพสิ าร ๗. อธิบายโครงสรา ง และสาระสังเขป  มิตตวนิ ทุกชาดก ของพระไตรปฎก หรือคัมภรี ข องศาสนา  ราโชวาทชาดก ที่ตนนับถือ  โครงสรา ง และสาระสงั เขปของ พระวนิ ยั ปฎก พระสตุ ตันตปฎ ก และพระอภิธรรมปฎก ๘. อธบิ ายธรรมคุณ และขอ ธรรมสาํ คัญ  พระรตั นตรยั ในกรอบอรยิ สัจ ๔ หรอื หลักธรรมของ  ธรรมคุณ ๖ ศาสนาทต่ี นนับถือ ตามทก่ี ําหนด เห็น  อรยิ สัจ ๔ คุณคาและนําไปพฒั นา แกปญหาของ  ทุกข (ธรรมท่ีควรร)ู ชมุ ชนและสงั คม o ขันธ ๕ - อายตนะ  สมุทัย (ธรรมทค่ี วรละ) o หลกั กรรม - สมบัติ ๔ - วิบตั ิ ๔ o อกุศลกรรมบถ ๑๐ o อบายมขุ ๖  นิโรธ (ธรรมท่ีควรบรรลุ) o สขุ ๒ (สามิส, นิรามสิ )  มรรค (ธรรมท่ีควรเจรญิ ) o บุพพนิมติ ของมชั ฌิมาปฏิปทา o ดรณุ ธรรม ๖ o กุลจิรัฏฐติ ธิ รรม ๔ o กศุ ลกรรมบถ ๑๐ o สติปฏฐาน ๔ o มงคล ๓๘ - ประพฤตธิ รรม - เวนจากความชว่ั - เวน จากการดม่ื นํา้ เมา

๒๔ ช้นั ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง  พุทธศาสนสุภาษิต  กมฺมนุ า วตฺตตี โลโก สตั วโลกยอมเปนไปตามกรรม  กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ ทําดไี ดด ี ทาํ ชัว่ ไดช ัว่  สุโข ปุฺญสสฺ อุจฺจโย การส่ังสม บุญนาํ สขุ มาให  ปูชโก ลภเต ปชู ํ วนฺทโก ปฏวิ นฺทนํ ผบู ูชาเขา ยอ มไดรับการบูชาตอบ ผูไหวเ ขายอมไดร ับการไหวตอบ ๙. เห็นคุณคา ของการพฒั นาจติ เพอ่ื การ  พฒั นาการเรยี นรดู วยวิธีคิดแบบโยนิโส- เรยี นรูแ ละดําเนนิ ชวี ิต ดว ยวิธคี ดิ แบบ มนสกิ าร ๒ วธิ ี คือ วิธีคิดแบบอุบายปลกุ โยนิโสมนสิการคือ วธิ คี ิดแบบอุบายปลกุ เรา คณุ ธรรม และวิธีคดิ แบบอรรถธรรม เราคุณธรรม และวิธีคิดแบบอรรถธรรม สัมพนั ธ สมั พนั ธ หรอื การพัฒนาจิตตามแนวทาง ของศาสนาทีต่ นนับถือ ๑๐. สวดมนต แผเ มตตา บรหิ ารจิตและ  สวดมนตแ ปล และแผเมตตา เจรญิ ปญญาดวยอานาปานสติ หรอื ตาม  รูแ ละเขาใจวธิ ีปฏบิ ัติและประโยชนของ แนวทางของศาสนาทต่ี นนบั ถือ การบริหารจติ และเจริญปญ ญา  ฝก การบรหิ ารจิตและเจริญปญญาตามหลกั สติปฎฐาน เนนอานาปานสติ  นําวิธีการบริหารจติ และเจรญิ ปญญา ไปใช ในชีวติ ประจาํ วัน ๑๑.วเิ คราะหการปฏบิ ัติตนตามหลกั ธรรม  การปฏิบตั ติ นตามหลักธรรม (ตามสาระ ทางศาสนาทตี่ นนับถือ เพื่อการดํารงตน การเรียนรู ขอ ๘.) อยางเหมาะสมในกระแสความเปล่ยี นแปลง ของโลก และการอยูร ว มกันอยา งสันติสุข ม. ๓ ๑. อธบิ ายการเผยแผพระพทุ ธศาสนา  การเผยแผพ ระพุทธศาสนาเขา สูประเทศ หรือศาสนาท่ตี นนับถอื สูประเทศตา งๆ ตา ง ๆ ท่วั โลก และการนับถอื ทว่ั โลก พระพทุ ธศาสนาของประเทศเหลา นัน้ ในปจจุบนั

๒๕ ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง ๒. วิเคราะหความสําคัญของ  ความสําคัญของพระพทุ ธศาสนาในฐานะ พระพุทธศาสนา หรือศาสนาทต่ี นนับถอื ทช่ี ว ยสรางสรรคอ ารยธรรมและความสงบ ในฐานะทช่ี ว ยสรา งสรรคอารยธรรม สขุ ใหแกโลก และความสงบสขุ แกโลก ๓. อภิปรายความสาํ คัญของ  สมั มนาพระพทุ ธศาสนากับปรชั ญาของ พระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทีต่ นนบั ถือ เศรษฐกิจพอเพียงและการพฒั นาอยา ง กบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและ ยงั่ ยนื (ทส่ี อดคลองกับหลกั ธรรมในสาระ การพัฒนาอยางยั่งยืน การเรยี นรู ขอ ๖ ) ๔. วเิ คราะหพทุ ธประวัติจากพระพทุ ธรปู  ศกึ ษาพทุ ธประวตั ิจากพระพุทธรูปปาง ปางตางๆ หรอื ประวัติศาสดาท่ตี นนบั ถือ ตา ง ๆ เชน ตามทก่ี ําหนด o ปางมารวิชัย o ปางปฐมเทศนา ๕. วเิ คราะหแ ละประพฤติตนตาม o ปางลีลา แบบอยางการดาํ เนนิ ชวี ิตและขอคดิ จาก o ปางประจําวนั เกิด ประวตั สิ าวก ชาดก/เร่อื งเลาและ ศาสนิกชนตัวอยาง ตามทีก่ าํ หนด  สรุปและวิเคราะหพุทธประวัติ  ปฐมเทศนา ๖. อธบิ ายสงั ฆคณุ และขอ ธรรมสําคญั ใน  โอวาทปาฏโิ มกข กรอบอรยิ สจั ๔ หรือหลักธรรมของ ศาสนาที่ตนนบั ถือตามที่กําหนด  พระอัญญาโกณฑัญญะ  พระมหาปชาบดีเถรี  พระเขมาเถรี  พระเจาปเสนทิโกศล  นันทิวิสาลชาดก  สวุ ณั ณหงั สชาดก  พระรตั นตรัย  สังฆคุณ ๙  อรยิ สัจ ๔  ทกุ ข (ธรรมที่ควรรู) o ขนั ธ ๕ -ไตรลกั ษณ  สมทุ ยั (ธรรมท่ีควรละ) o หลกั กรรม -วฏั ฏะ ๓ -ปปญ จธรรม ๓ (ตัณหา มานะ ทฎิ ฐ)ิ  นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรล)ุ

๒๖ ช้ัน ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง o อัตถะ ๓  มรรค (ธรรมท่คี วรเจริญ) o มรรคมีองค ๘ o ปญ ญา ๓ o สปั ปุริสธรรม ๗ o บญุ กิรยิ าวัตถุ ๑๐ o อบุ าสกธรรม ๗ o มงคล ๓๘ - มศี ลิ ปวทิ ยา - พบสมณะ - ฟง ธรรมตามกาล - สนทนาธรรมตามกาล  พุทธศาสนสุภาษติ  อตตฺ า หเว ชติ ํ เสยโฺ ย ชนะตนนั่นแลดกี วา  ธมฺมจารี สุขํ เสติ ผูป ระพฤตธิ รรมยอ มอยูเปน สขุ  ปมาโท มจจฺ ุโน ปทํ ความประมาทเปนทางแหง ความตาย  สสุ ฺสูสํ ลภเต ปญฺ ํ ผฟู งดว ยดยี อมไดป ญญา  เรือ่ งนา รจู ากพระไตรปฎ ก : พุทธ ปณธิ าน ๔ ในมหาปรินิพพานสตู ร ๗. เห็นคณุ คา และวเิ คราะหก ารปฏิบัตติ น  การปฏบิ ตั ิตนตามหลักธรรม (ตามสาระ ตามหลักธรรมในการพฒั นาตน การเรยี นรู ขอ ๖.) เพ่อื เตรยี มพรอมสาํ หรับการทํางาน และการมีครอบครวั

๒๗ ชน้ั ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรแู กนกลาง ม.๔-ม.๖ ๘. เห็นคณุ คาของการพัฒนาจิตเพ่ือการ  พฒั นาการเรียนรูด ว ยวิธีคดิ แบบ เรียนรแู ละดาํ เนนิ ชีวิต ดวยวธิ ีคิดแบบ โยนโิ สมนสกิ ารคือ วธิ คี ิดแบบอริยสัจ โยนโิ สมนสิการ ๒ วธิ ี คอื วิธีคิดแบบ และวิธีคดิ แบบสบื สาวเหตปุ จ จยั หรือ อริยสจั และวธิ ีคดิ แบบสบื สาวเหตปุ จ จยั การพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาท่ี ตนนบั ถอื  สวดมนตแ ปล และแผเ มตตา ๙. สวดมนต แผเ มตตา บริหารจติ และ  รแู ละเขา ใจวิธีปฏิบัตแิ ละประโยชนของ เจรญิ ปญญาดว ยอานาปานสติ หรือตาม แนวทางของศาสนาทต่ี นนบั ถอื การบริหารจิตและเจรญิ ปญ ญา  ฝก การบริหารจิตและเจริญปญญาตาม ๑๐. วิเคราะหความแตกตา งและยอมรบั วถิ ีการดาํ เนินชีวิตของศาสนิกชนใน หลกั สตปิ ฎ ฐานเนน อานาปานสติ ศาสนาอนื่ ๆ  นาํ วธิ กี ารบริหารจิตและเจริญปญ ญา ๑.วิเคราะหส งั คมชมพทู วปี และคติความ เชื่อทางศาสนาสมัยกอนพระพุทธเจา ไปใชใ นชวี ติ ประจําวัน หรือสงั คมสมยั ของศาสดาท่ตี นนบั ถือ  วถิ ีการดาํ เนินชีวติ ของศาสนกิ ชนศาสนา อืน่ ๆ  ลกั ษณะของสังคมชมพูทวปี และคตคิ วาม เชอื่ ทางศาสนาสมยั กอ นพระพทุ ธเจา ๒. วเิ คราะห พระพุทธเจา ในฐานะเปน  พระพุทธเจาในฐานะเปนมนษุ ย ผูฝกตน มนุษยผ ูฝก ตนไดอยา งสงู สดุ ในการตรัสรู ไดอยา งสูงสดุ (การตรัสร)ู การกอ ต้ัง วธิ ีการสอนและการเผยแผ  การกอ ต้ังพระพทุ ธศาสนา วธิ ีการสอน พระพุทธศาสนา หรอื วเิ คราะหป ระวัติ และการเผยแผพระพุทธศาสนาตามแนว ศาสดาท่ีตนนบั ถือ ตามทก่ี าํ หนด พทุ ธจรยิ า ๓.วเิ คราะหพ ุทธประวตั ดิ า นการบรหิ าร  พทุ ธประวตั ดิ า นการบริหารและการธาํ รง และการธํารงรกั ษาศาสนา หรอื วเิ คราะห รกั ษาพระพุทธศาสนา ประวัตศิ าสดาท่ตี นนับถือ ตามทกี่ ําหนด ๔. วเิ คราะหข อ ปฏิบตั ิทางสายกลางใน  พระพุทธศาสนามที ฤษฎีและวิธีการทเี่ ปน พระพุทธศาสนา หรอื แนวคิดของศาสนา สากลและมีขอ ปฏิบัติทีย่ ึดทางสายกลาง ที่ตนนบั ถอื ตามทกี่ ําหนด

๒๘ ช้ัน ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ๕. วเิ คราะหก ารพฒั นาศรัทธา และปญญา  พระพทุ ธศาสนาเนนการพัฒนาศรัทธา ท่ถี ูกตองในพระพุทธศาสนา หรอื แนวคดิ และปญญาทีถ่ กู ตอ ง ของศาสนาทต่ี นนบั ถือ ตามทกี่ าํ หนด ๖. วิเคราะหลักษณะประชาธปิ ไตยใน  ลักษณะประชาธิปไตยในพระพทุ ธ- พระพทุ ธศาสนา หรือแนวคิดของศาสนา ศาสนา ที่ตนนบั ถือตามท่ีกําหนด ๗. วเิ คราะหหลกั การของพระพุทธศาสนา  หลกั การของพระพุทธศาสนากับหลกั กับหลกั วิทยาศาสตร หรือแนวคดิ ของ วิทยาศาสตร ศาสนาท่ีตนนับถือ ตามทก่ี ําหนด  การคิดตามนยั แหง พระพทุ ธศาสนาและ การคิดแบบวทิ ยาศาสตร ๘. วิเคราะหการฝก ฝนและพฒั นาตนเอง  พระพทุ ธศาสนาเนน การฝกหัดอบรมตน การพงึ่ ตนเอง และการมงุ อสิ รภาพใน การพง่ึ ตนเอง และการมุงอสิ รภาพ พระพุทธศาสนา หรือแนวคดิ ของศาสนาท่ี ตนนบั ถือตามทีก่ ําหนด ๙. วเิ คราะหพ ระพทุ ธศาสนาวา  พระพทุ ธศาสนาเปนศาสตรแหง การศกึ ษา เปนศาสตรแ หง การศึกษาซง่ึ เนน  พระพทุ ธศาสนาเนนความสัมพันธ ความสัมพันธของเหตุปจ จัยกบั ของเหตุปจ จยั และวธิ ีการแกปญหา วิธีการแกป ญ หา หรือแนวคิดของศาสนา ท่ตี นนับถอื ตามที่กําหนด ๑๐. วิเคราะหพ ระพุทธศาสนาในการฝก  พระพุทธศาสนาฝก ตนไมใ หประมาท ตนไมใหป ระมาท มุง ประโยชนและ  พระพุทธศาสนามุงประโยชนสขุ และ สนั ตภิ าพบคุ คล สงั คมและโลก หรอื สนั ติภาพแกบ คุ คล สังคมและโลก แนวคิดของศาสนาทตี่ นนบั ถือตามที่ กําหนด ๑๑. วเิ คราะหพระพุทธศาสนากบั ปรัชญา  พระพุทธศาสนากบั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ ของเศรษฐกจิ พอเพยี งและการพฒั นา พอเพียงและการพฒั นาแบบยง่ั ยนื ประเทศแบบยัง่ ยนื หรอื แนวคดิ ของ ศาสนาทต่ี นนับถือตามทก่ี าํ หนด ๑๒. วิเคราะหความสําคัญของ  ความสําคัญของพระพทุ ธศาสนากบั พระพทุ ธศาสนาเกีย่ วกับการศกึ ษา การศึกษาทสี่ มบูรณ ท่ีสมบูรณ การเมืองและสนั ติภาพ  ความสาํ คญั ของพระพุทธศาสนากับ การเมือง

๒๙ ช้ัน ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง  ความสาํ คญั ของพระพุทธศาสนากบั หรือแนวคดิ ของศาสนาทต่ี นนับถอื สนั ติภาพ ตามท่ีกาํ หนด ๑๓. วิเคราะหหลกั ธรรมในกรอบ  พระรัตนตรัย อรยิ สัจ ๔ หรือหลกั คําสอนของศาสนา  วิเคราะหค วามหมายและคุณคา ของ ทต่ี นนับถอื พทุ ธะ ธรรมะ สังฆะ  อรยิ สจั ๔  ทุกข (ธรรมท่ีควรรู) o ขนั ธ ๕ - นามรูป - โลกธรรม ๘ - จิต, เจตสิก  สมุทยั (ธรรมทค่ี วรละ) o หลกั กรรม - นยิ าม ๕ - กรรมนยิ าม ( กรรม ๑๒) - ธรรมนยิ าม(ปฏจิ จสมุปบาท) o วิตก ๓ o มจิ ฉาวณชิ ชา ๕ o นิวรณ ๕ o อปุ าทาน ๔  นโิ รธ (ธรรมท่ีควรบรรล)ุ o ภาวนา ๔ o วมิ ุตติ ๕ o นิพพาน  มรรค (ธรรมท่ีควรเจรญิ ) o พระสทั ธรรม ๓ o ปญ ญาวุฒธิ รรม ๔ o พละ ๕ o อุบาสกธรรม ๕ o อปริหานยิ ธรรม ๗ o ปาปณกิ ธรรม ๓ o ทฏิ ฐธัมมกิ ัตถสงั วตั ตนกิ ธรรม ๔ o โภคอาทิยะ ๕ o อรยิ วฑั ฒิ ๕

๓๐ ชนั้ ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง o อธปิ ไตย ๓ o สาราณียธรรม ๖ o ทศพธิ ราชธรรม ๑๐ o วิปสสนาญาณ ๙ o มงคล ๓๘ - สงเคราะหบุตร - สงเคราะหภรรยา - สันโดษ - ถกู โลกธรรมจติ ไมหวัน่ ไหว - จิตไมเ ศราโศก - จิตไมม ัวหมอง - จติ เกษม - ความเพียรเผากิเลส - ประพฤติพรหมจรรย - เห็นอริยสจั - บรรลุนิพพาน  พุทธศาสนสุภาษิต  จิตตฺ ํ ทนตฺ ํ สขุ าวหํ จติ ท่ีฝก ดแี ลว นําสุขมาให  นอุจฺจาวจํ ปณฑฺ ิตา ทสสฺ ยนฺติ บณั ฑติ ยอ มไมแสดงอาการขน้ึ ๆ ลง ๆ  นตถฺ ิ โลเก อนนิ ทฺ โิ ต คนท่ไี มถ ูกนินทา ไมม ีในโลก  โกธํ ฆตฺวา สุขํ เสติ ฆาความโกรธไดย อ มอยเู ปน สุข  ปฏริ ปู การี ธรุ วา อฎุ ฐาตา วินทฺ เต ธนํ คนขยนั เอาการเอางาน กระทาํ เหมาะสม ยอมหาทรัพยไ ด  วายเมถว ปรุ ิโส ยาว อตฺถสสฺ นปิ ปฺ ทา เกิดเปนคนควรจะพยายามจนกวา จะ ประสบความสําเรจ็  สนตฺ ฎฐ ี ปรมํ ธนํ ความสนั โดษเปน ทรพั ยอยางย่งิ

๓๑ ช้ัน ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง  อณิ าทานํ ทกุ ขฺ ํ โลเก การเปน หน้เี ปนทกุ ขใ นโลก  ราชา มุขํ มนุสฺสานํ พระราชาเปน ประมขุ ของประชาชน  สติ โลกสมฺ ิ ชาคโร สตเิ ปนเคร่อื งต่ืนในโลก  นตถฺ ิ สนฺตปิ รํ สุขํ สุขอ่นื ยงิ่ กวา ความสงบไมมี  นิพพฺ านํ ปรมํ สุขํ นิพพานเปนสขุ อยางยิ่ง ๑๔. วเิ คราะหขอ คดิ และแบบอยาง  พทุ ธสาวก พุทธสาวกิ การดําเนินชวี ติ จากประวตั สิ าวก ชาดก เรือ่ งเลา และศาสนิกชนตวั อยาง ตามท่ี  พระอัสสชิ กาํ หนด  พระกีสาโคตมเี ถรี  พระนางมลั ลิกา  หมอชีวก โกมารภจั  พระอนุรทุ ธะ  พระองคลุ ิมาล  พระธมั มทินนาเถรี  จิตตคหบดี  พระอานนท  พระปฏาจาราเถรี  จฬู สุภัททา  สมุ นมาลาการ  ชาดก  เวสสันดรชาดก  มโหสธชาดก  มหาชนกชาดก  ชาวพุทธตัวอยา ง  พระนาคเสน - พระยามิลินท  สมเด็จพระวันรตั (เฮง เขมจารี)  พระอาจารยมน่ั ภรู ิทตโฺ ต  สชุ ีพ ปญุ ญานุภาพ  สมเด็จพระนารายณมหาราช  พระธรรมโกศาจารย (พุทธทาสภิกขุ)

๓๒ ช้ัน ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง  พระพรหมมงั คลาจารย (ปญญานันท ภกิ ขุ)  ดร.เอม็ เบดการ  พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจาอยหู วั  พระโพธญิ าณเถร (ชา สภุ ทโฺ ท)  พระพรหมคณุ าภรณ (ป.อ.ปยตุ โต)  อนาคารกิ ธรรมปาละ ๑๕. วิเคราะหคณุ คาและความสําคญั ของ  วธิ ีการศึกษาและคน ควาพระไตรปฏ ก และ การสังคายนา พระไตรปฎก หรอื คมั ภรี  คัมภีรข องศาสนาอื่น ๆ การสังคายนาและ ของศาสนาท่ตี นนบั ถือ และการเผยแผ การเผยแผพระไตรปฏก  ความสาํ คญั และคณุ คาของพระไตรปฏ ก ๑๖. เชอื่ มน่ั ตอ ผลของการทําความดี ความ  ตัวอยา งผลทเ่ี กดิ จากการทําความดี ชว่ั สามารถวเิ คราะหส ถานการณท่ตี อง ความชัว่ เผชิญ และตัดสนิ ใจเลือกดําเนนิ การหรือ  โยนิโสมนสิการดวยวธิ คี ิดแบบอริยสจั ปฏบิ ตั ิตนไดอยางมีเหตุผลถูกตอ งตาม  หลกั ธรรมตามสาระการเรยี นรขู อ ๑๓ หลกั ธรรม จรยิ ธรรม และกําหนด เปาหมาย บทบาทการดาํ เนินชวี ิตเพอื่ การ อยูร วมกันอยา งสันตสิ ุข และอยูรวมกัน เปนชาติอยางสมานฉันท ๑๗. อธิบายประวตั ิศาสดาของศาสนา  ประวัตพิ ระพทุ ธเจา มุฮมั มัด พระเยซู อื่นๆ โดยสงั เขป ๑๘.ตระหนกั ในคุณคาและความสําคญั  คณุ คา และความสาํ คญั ของคานิยมและ ของคา นิยม จรยิ ธรรมทีเ่ ปน ตัวกําหนด จรยิ ธรรม ความเชื่อและพฤติกรรมท่แี ตกตา งกนั  การขจดั ความขัดแยงเพ่อื อยูรวมกันอยาง ของศาสนกิ ชนศาสนาตา งๆ เพือ่ ขจดั สันตสิ ุข ความขัดแยง และอยรู วมกนั ในสงั คมอยาง สันตสิ ุข ๑๙. เหน็ คุณคา เชอื่ มัน่ และมุงม่นั พัฒนา  พฒั นาการเรียนรดู วยวิธคี ิดแบบโยนิโส ชีวิตดวยการพัฒนาจติ และพฒั นาการ มนสิการ ๑๐ วิธี (เนน วิธีคิดแบบแยกแยะ เรยี นรูด ว ยวิธีคดิ แบบโยนโิ สมนสกิ าร สวนประกอบ แบบสามัญญลักษณะ

๓๓ ช้ัน ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง หรือการพฒั นาจิตตามแนวทางของ แบบเปนอยูในขณะปจจบุ นั และแบบ ศาสนาทีต่ นนับถอื วิภชั ชวาท ) ๑) วิธีคดิ แบบสบื สาวเหตุปจจัย ๒) วิธีคดิ แบบแยกแยะสวนประกอบ ๓) วิธีคิดแบบสามญั ลกั ษณะ ๔) วธิ ีคดิ แบบอรยิ สัจ ๕) วธิ ีคิดแบบอรรถธรรมสมั พันธ ๖) วิธคี ดิ แบบคณุ คา แท- คณุ คา เทยี ม ๗) วิธีคิดแบบคณุ -โทษ และทางออก ๘) วธิ ีคิดแบบอบุ าย ปลุกเรา คณุ ธรรม ๙) วธิ คี ิดแบบเปนอยใู นขณะปจจบุ ัน ๑๐) วธิ คี ิดแบบวภิ ัชชวาท  สวดมนตแ ปล และแผเ มตตา ๒๐. สวดมนต แผเ มตตา และบริหารจติ รูและเขาใจวิธีปฏิบตั แิ ละประโยชนข อง และเจริญปญญาตามหลกั สติปฏฐาน หรือ การบรหิ ารจิตและเจรญิ ปญญา  ฝกการบริหารจิตและเจรญิ ปญญาตาม ตามแนวทางของศาสนาทตี่ นนบั ถอื หลกั สติปฎ ฐาน  นาํ วธิ ีการบรหิ ารจติ และเจริญปญญา ไปใชใ นการพัฒนาการเรียนรู คณุ ภาพ ชวี ติ และสังคม ๒๑. วิเคราะหหลักธรรมสําคัญในการอยู  หลกั ธรรมสําคญั ในการอยูรวมกัน รว มกันอยา งสันติสุขของศาสนาอื่นๆ อยา งสนั ตสิ ุข และชกั ชวน สงเสรมิ สนบั สนนุ ใหบ คุ คล o หลักธรรมในพระพทุ ธศาสนา อนื่ เห็นความสําคญั ของการทาํ ความดี เชน สาราณยี ธรรม ๖ อธิปไตย ๓ ตอ กัน มิจฉาวณชิ ชา ๕ อริยวฑั ฆิ ๕ โภคอาทยิ ะ ๕  คริสตศาสนา ไดแ ก บัญญัติ ๑๐ ประการ (เฉพาะที่เกีย่ วขอ ง)  ศาสนาอสิ ลาม ไดแ ก หลักจรยิ ธรรม (เฉพาะทีเ่ ก่ยี วของ) ๒๒. เสนอแนวทางการจัดกจิ กรรม ความ  สภาพปญหาในชมุ ชน และสังคม รว มมือของทกุ ศาสนาในการแกปญ หา และพฒั นาสงั คม

๓๔ สาระท่ี ๑ ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม มาตรฐาน ส ๑.๒ เขาใจ ตระหนกั และปฏบิ ตั ิตนเปนศาสนกิ ชนทีด่ ี และธาํ รงรักษาพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาทีต่ นนับถอื ชั้น ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง ป.๑ ๑. บาํ เพ็ญประโยชนตอวดั หรอื ศาสน  การบาํ เพญ็ ประโยชนตอวดั หรอื ศาสน สถานของศาสนาท่ีตนนับถอื สถาน  การพฒั นาทําความสะอาด  การบรจิ าค  การรวมกิจกรรมทางศาสนา ๒. แสดงตนเปนพทุ ธมามกะ หรือแสดง  การแสดงตนเปนพทุ ธมามกะ ตนเปนศาสนกิ ชนของศาสนาทต่ี นนบั ถือ  ขั้นเตรยี มการ  ขน้ั พิธีการ ๓. ปฏบิ ัตติ นในศาสนพธิ ี พธิ ีกรรม และ  ประวตั ิโดยสงั เขปของวันสําคัญทาง วันสําคัญทางศาสนา ตามทก่ี าํ หนดได พระพทุ ธศาสนา ถกู ตอ ง  วันมาฆบูชา  วนั วิสาขบูชา  วนั อาสาฬหบชู า  วันอฏั ฐมีบชู า  การบูชาพระรตั นตรัย ป.๒ ๑. ปฏบิ ัติตนอยางเหมาะสมตอสาวกของ  การฝกปฏิบัตมิ รรยาทชาวพุทธ ศาสนาทต่ี นนับถอื ตามทีก่ ําหนดได  การพนมมือ ถูกตอง  การไหว  การกราบ  การนั่ง  การยืน การเดนิ ๒. ปฏบิ ตั ติ นในศาสนพธิ ี พิธีกรรม และ  การเขา รวมกจิ กรรมและพธิ ีกรรม ท่ี วนั สําคัญทางศาสนา ตามท่กี าํ หนดได เกีย่ วเนื่องกับวนั สําคัญทางพทุ ธศาสนา ถูกตอ ง  ระเบียบพิธีการบูชาพระรตั นตรัย  การทําบญุ ตักบาตร

๓๕ ช้ัน ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง ป.๓ ๑. ปฏบิ ัติตนอยา งเหมาะสมตอสาวก  ฝก ปฏิบัติมรรยาทชาวพทุ ธ ศาสนสถาน ศาสนวตั ถุของศาสนาทต่ี น  การลกุ ขน้ึ ยนื รบั นบั ถอื ตามทกี่ าํ หนดไดถ กู ตอ ง  การตอ นรบั  การรบั – สงส่ิงของแกพระภิกษุ  มรรยาทในการสนทนา  การสํารวมกิรยิ ามารยาท การแตง กายทเ่ี หมาะสมเมื่อ  อยูในวดั และพุทธสถาน  การดูแลรกั ษาศาสนวัตถแุ ละ ศาสนสถาน ๒. เหน็ คณุ คา และปฏิบัตติ นในศาสนพิธี  การอาราธนาศลี พธิ กี รรม และวนั สาํ คัญทางศาสนา ตามท่ี  การสมาทานศีล กําหนดไดถกู ตอง  เครอ่ื งประกอบโตะ หมูบูชา การจัดโตะ หมบู ูชา ๓. แสดงตนเปนพุทธมามกะ หรอื แสดง  ความเปน มาของการแสดงตนเปน ตนเปนศาสนกิ ชนของศาสนาที่ตนนบั ถอื พทุ ธมามกะ  การแสดงตนเปนพทุ ธมามกะ  ขน้ั เตรยี มการ  ขน้ั พธิ ีการ ป.๔ ๑. อภิปรายความสําคัญ และมีสว นรว มใน  ความรูเ บ้ืองตน และความสําคญั ของ การบาํ รงุ รกั ษาศาสนสถานของศาสนาท่ี ศาสนสถาน ตนนบั ถือ  การแสดงความเคารพตอ ศาสนสถาน  การบํารงุ รกั ษาศาสนสถาน ๒. มมี รรยาทของความเปน ศาสนกิ ชนทดี่ ี  การปฏิบัติตนทเี่ หมาะสมตอพระภกิ ษุ ตามทก่ี าํ หนด  การยืน การเดิน และการนง่ั ที่เหมาะสม ในโอกาสตา ง ๆ ๓. ปฏบิ ตั ติ นในศาสนพธิ ี พธิ กี รรมและ  การอาราธนาศีล วนั สาํ คญั ทางศาสนา ตามทก่ี ําหนดได  การอาราธนาธรรม ถูกตอง  การอาราธนาพระปรติ ร  ระเบียบพิธีและการปฏบิ ัติตนในวนั ธรรม สวนะ

๓๖ ชน้ั ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง ป.๕ ๑. จัดพธิ ีกรรมตามศาสนาทตี่ นนับถอื  การจดั พธิ ีกรรมทเี่ รียบงาย ประหยดั อยางเรยี บงาย มปี ระโยชน และปฏบิ ัตติ น มปี ระโยชน และถูกตองตามหลกั ทาง ถูกตอง ศาสนาท่ีตนนบั ถอื ๒. ปฏิบตั ติ นในศาสนพิธี พิธกี รรม และ  การมีสว นรว มในการจดั เตรยี มสถานท่ี วนั สําคญั ทางศาสนา ตามทีก่ ําหนด และ ประกอบศาสนพิธี พิธกี รรมทางศาสนา อภปิ รายประโยชนที่ไดรบั จากการเขา รวม  พธิ ถี วายสงั ฆทาน เคร่อื งสงั ฆทาน กจิ กรรม  ระเบียบพธิ ใี นการทําบญุ งานมงคล  ประโยชนข อง การเขารว มศาสนพิธี พธิ กี รรมทางศาสนา หรือกจิ กรรม ในวนั สาํ คญั ทางศาสนา ๓. มีมรรยาทของความเปนศาสนกิ ชนท่ดี ี  การกราบพระรัตนตรยั ตามทกี่ ําหนด  การไหวบิดา มารดา ครู/อาจารย ผูท ี่เคารพนับถอื  การกราบศพ ป.๖ ๑. อธบิ ายความรเู กย่ี วกบั สถานทต่ี า งๆ  ความรูเ บอ้ื งตนเกีย่ วกับสถานที่ตาง ๆ ในศาสนสถาน และปฏบิ ัตติ นไดอยา ง ภายในวัด เชน เขตพทุ ธาวาส สังฆาวาส เหมาะสม  การปฏิบัตติ นท่เี หมาะสมภายในวดั ๒. มีมรรยาทของความเปนศาสนิกชนทีด่ ี  การถวายของแกพระภิกษุ ตามที่กําหนด  การปฏบิ ตั ิตนในขณะฟงธรรม  การปฏิบัตติ นตามแนวทางของ พทุ ธศาสนิกชน เพอ่ื ประโยชนต อ ศาสนา ๓. อธบิ ายประโยชนข องการเขารว มใน  ทบทวนการอาราธนาศลี อาราธนาธรรม ศาสนพิธี พธิ กี รรม และกิจกรรมใน และอาราธนาพระปรติ ร วนั สาํ คญั ทางศาสนา ตามที่กําหนด และ  พธิ ีทอดผาปา ปฏิบัตติ นไดถูกตอ ง  พิธีทอดกฐิน  ระเบยี บพิธีในการทาํ บญุ งานอวมงคล  การปฏบิ ัตติ นที่ถกู ตอ งในศาสนพธิ ี พธิ ีกรรม และวนั สาํ คญั ทางศาสนา เชน วันมาฆบชู า วันวิสาขบชู า วนั อฐั มบี ูชา วนั อาสาฬหบูชา วนั ธรรมสวนะ

๓๗ ชั้น ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรแู กนกลาง  ประโยชนของการเขา รว มในศาสนพิธี/ พธิ กี รรม และวันสําคญั ทางศาสนา ๔. แสดงตนเปนพุทธมามกะ หรือแสดง  การแสดงตนเปน พุทธมามกะ ตนเปน ศาสนิกชนของศาสนาทตี่ นนับถือ ° ขน้ั เตรยี มการ ° ข้นั พิธกี าร ม.๑ ๑. บาํ เพ็ญประโยชนตอ ศาสนสถานของ  การบาํ เพญ็ ประโยชน และ ศาสนาทต่ี นนบั ถอื การบาํ รงุ รักษาวัด ๒. อธบิ ายจรยิ วตั รของสาวกเพ่อื เปน  วถิ ีชีวติ ของพระภิกษุ แบบอยางในการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ และ  บทบาทของพระภิกษใุ นการเผยแผ ปฏบิ ัตติ นอยางเหมาะสมตอสาวกของ พระพุทธศาสนา เชน การแสดงธรรม ศาสนาที่ตนนบั ถอื ปาฐกถาธรรม การประพฤตติ นใหเ ปน แบบอยาง  การเขาพบพระภกิ ษุ  การแสดงความเคารพ การประนมมือ การไหว การกราบ การเคารพ พระรัตนตรัย การฟงเจริญ พระพทุ ธมนต การฟง สวด พระอภิธรรม การฟงพระธรรมเทศนา ๓. ปฏบิ ัติตนอยางเหมาะสมตอ บคุ คล  ปฏิบตั ติ นอยางเหมาะสมตอ เพ่ือนตาม ตา งๆ ตามหลกั ศาสนาที่ตนนบั ถือ หลกั พระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาทีต่ น ตามท่ีกําหนด นบั ถอื ๔. จัดพธิ กี รรม และปฏบิ ัตติ นใน  การจัดโตะ หมูบชู า แบบ หม๔ู หมู ๕ ศาสนพธิ ี พธิ ีกรรมไดถ กู ตอ ง ๕. อธบิ ายประวัติ ความสาํ คัญ และ หมู ๗ หมู๙ ปฏิบตั ิตนในวนั สาํ คัญทางศาสนา  การจุดธูปเทยี น การจดั เครอื่ งประกอบ ที่ตนนับถือ ตามท่กี าํ หนด ไดถ กู ตอ ง โตะ หมบู ชู า  คําอาราธนาตางๆ  ประวัติและความสําคัญของวันธรรม สวนะ วันเขา พรรษา วนั ออกพรรษา วันเทโวโรหณะ  ระเบยี บพิธี พิธเี วยี นเทียน การปฏิบตั ติ น ในวนั มาฆบชู า วนั วสิ าขบูชา วนั อัฏฐมี บูชา วันอาสาฬหบชู า วันธรรมสวนะ และเทศกาลสาํ คัญ

๓๘ ช้นั ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง ม.๒ ๑. ปฏิบตั ติ นอยางเหมาะสมตอบุคคล  การเปน ลกู ทีด่ ี ตามหลกั ทิศเบ้ืองหนา ตา ง ๆ ตามหลักศาสนาทีต่ นนับถอื ตามท่ี ในทศิ ๖ กาํ หนด ๒. มีมรรยาทของความเปน ศาสนิกชนที่ดี  การตอนรับ (ปฏสิ ันถาร) ตามท่ีกําหนด  มรรยาทของผูเ ปนแขก  ฝกปฏิบตั ริ ะเบียบพิธี ปฏบิ ตั ิตอ พระภกิ ษุ การยืน การใหท่นี ่งั การเดนิ สวน การสนทนา การรบั สงิ่ ของ  การแตงกายไปวัด การแตงกายไปงาน มงคล งานอวมงคล ๓. วเิ คราะหค ณุ คาของศาสนพธิ ี และ  การทําบญุ ตักบาตร ปฏิบัตติ นไดถกู ตอ ง  การถวายภัตตาหารส่งิ ของทีค่ วรถวาย และส่งิ ของตอ งหามสาํ หรับพระภกิ ษุ  การถวายสงั ฆทาน เคร่อื งสงั ฆทาน  การถวายผาอาบนาํ้ ฝน  การจดั เครือ่ งไทยธรรม เครอ่ื งไทยทาน  การกรวดนา้ํ  การทอดกฐนิ การทอดผา ปา ๔. อธิบายคาํ สอนทเี่ ก่ยี วเนอื่ งกบั  หลกั ธรรมเบื้องตน ทเ่ี กี่ยวเนอื่ งใน วันสําคัญทางศาสนา และปฏบิ ตั ติ น วันมาฆบูชา วนั วสิ าขบูชา ไดถ กู ตอง วันอฏั ฐมีบชู า วันอาสาฬหบูชา  วนั ธรรมสวนะและเทศกาลสําคญั  ระเบยี บพิธีและการปฏบิ ตั ิตน ในวันธรรมสวนะ วนั เขาพรรษา วนั ออกพรรษา วันเทโวโรหณะ ๕. อธบิ ายความแตกตางของศาสนพิธี  ศาสนพิธ/ี พิธีกรรม แนวปฏิบัติของ พิธีกรรม ตาม แนวปฏิบัติของศาสนา ศาสนาอืน่ ๆ อน่ื ๆ เพอื่ นําไปสูการยอมรบั และความ เขาใจซง่ึ กันและกัน

๓๙ ช้นั ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรแู กนกลาง ม.๓ ๑. วิเคราะหห นาทแ่ี ละบทบาทของสาวก  หนา ทข่ี องพระภกิ ษุในการปฏบิ ตั ิ และปฏิบัติตนตอ สาวก ตามที่กาํ หนดได ตามหลักพระธรรมวนิ ัย และจรยิ วัตร ถูกตอ ง อยา งเหมาะสม  การปฏบิ ัติตนตอพระภกิ ษุในงาน ศาสนพธิ ีที่บาน การสนทนา การแตงกาย มรรยาทการพูดกับพระภกิ ษตุ ามฐานะ ๒. ปฏิบตั ิตนอยางเหมาะสมตอ บุคคล  การเปน ศิษยที่ดี ตามหลักทิศเบื้องขวา ตาง ๆ ตามหลักศาสนา ตามท่กี ําหนด ในทิศ ๖ ของพระพทุ ธศาสนา ๓. ปฏิบตั ิหนาทข่ี องศาสนิกชนท่ีดี  การปฏิบตั หิ นาทชี่ าวพทุ ธตามพทุ ธ ปณิธาน ๔ ในมหาปรินพิ พานสูตร ๔. ปฏิบตั ติ นในศาสนพิธีพธิ กี รรมได  พิธีทาํ บุญ งานมงคล งานอวมงคล ถกู ตอ ง  การนิมนตพระภกิ ษุ การเตรยี มทตี่ ง้ั พระพทุ ธรปู และเคร่ืองบชู า การวงดา ย สายสิญจน การปูลาดอาสนะ การเตรียม เครอ่ื งรบั รอง การจดุ ธูปเทียน  ขอ ปฏิบัตใิ นวันเล้ยี งพระ การถวายขา ว พระพุทธ การถวายไทยธรรม ๕. อธิบายประวตั วิ ันสาํ คญั ทางศาสนา การกรวดนํ้า ตามท่ีกาํ หนดและปฏิบัติตนไดถ ูกตอ ง  ประวัตวิ นั สาํ คัญทางพระพุทธศาสนา ในประเทศไทย  วนั วิสาขบชู า (วันสาํ คัญสากล)  วนั ธรรมสวนะและเทศกาลสาํ คญั  หลักปฏบิ ตั ิตน : การฟง พระธรรม เทศนา การแตงกายในการประกอบ ศาสนพธิ ีทว่ี ัด การงดเวน อบายมขุ  การประพฤตปิ ฏบิ ัติในวนั ธรรมสวนะ และเทศกาลสาํ คญั ๖. แสดงตนเปนพุทธมามกะ หรอื  การแสดงตนเปน พุทธมามกะ แสดงตนเปนศาสนิกชนของศาสนา  ข้ันเตรียมการ ทตี่ นนับถอื  ข้ันพิธกี าร

๔๐ ชน้ั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรูแกนกลาง ๗. นาํ เสนอแนวทางในการธํารงรักษา  การศึกษาเรียนรูเร่อื งองคป ระกอบของ ศาสนาทต่ี นนบั ถือ พระพุทธศาสนา นาํ ไปปฏบิ ัติและเผย ม.๔-ม.๖ ๑. ปฏบิ ตั ิตนเปน ศาสนกิ ชนทีด่ ีตอ สาวก แผต ามโอกาส สมาชิกในครอบครัว และคนรอบขาง  การศึกษาการรวมตัวขององคก ร ชาวพทุ ธ  การปลกู จติ สาํ นึกในดานการบาํ รงุ รกั ษา วดั และพทุ ธสถานใหเกิดประโยชน  ปฏบิ ตั ติ นเปนชาวพทุ ธท่ดี ตี อ พระภกิ ษุ  การเขา ใจในกจิ ของพระภิกษุ เชน การศกึ ษา การปฏิบัตธิ รรม และ การเปนนักบวชที่ดี  คุณสมบตั ิทายกและปฏคิ าหก  หนา ที่และบทบาทของพระภิกษุ ในฐานะพระนักเทศก พระธรรมทตู พระธรรมจาริก พระวทิ ยากร พระวิปส สนาจารย และพระนกั พัฒนา  การปกปอ งคมุ ครอง พระพุทธศาสนาของพทุ ธบรษิ ัท ในสงั คมไทย  การปฏบิ ัตติ นตอพระภกิ ษทุ างกาย วาจา และใจ ทปี่ ระกอบดว ย เมตตา  การปฏิสันถารที่เหมาะสมตอ พระภิกษุ ในโอกาสตา ง ๆ  ปฏิบัตติ นเปน สมาชกิ ทดี่ ีของครอบครวั และสังคม  การรักษาศีล ๘  การเขา รว มกิจกรรมและเปนสมาชกิ ขององคกรชาวพุทธ  การเปนชาวพทุ ธที่ดี ตามหลกั ทศิ เบ้อื งบน ในทศิ ๖

ชนั้ ตัวชว้ี ัด ๔๑ ๒. ปฏิบตั ิตนถกู ตอ งตามศาสนพิธี สาระการเรียนรแู กนกลาง พิธีกรรมตามหลักศาสนาที่ตนนับถอื  การปฏิบัตติ นทีเ่ หมาะสมในฐานะ ผปู กครองและ ผูอยูในปกครอง ตามหลกั ทศิ เบอ้ื งลา ง ในทศิ ๖  การปฏสิ ันถารตามหลัก ปฏสิ นั ถาร ๒  หนาทแ่ี ละบทบาทของอุบาสก อบุ าสิกาทมี่ ีตอสังคมไทยใน ปจจุบนั  การปฏบิ ตั ิตนเปนสมาชิกท่ดี ขี อง ครอบครวั ตามหลักทศิ เบอ้ื งหลงั ในทิศ ๖  การบําเพ็ญตนใหเปน ประโยชนตอ ครอบครวั ชุมชน ประเทศชาติ และโลก  ประเภทของศาสนพิธใี น พระพทุ ธศาสนา  ศาสนพธิ เี น่อื งดวยพทุ ธบญั ญัติ เชน พธิ แี สดงตนเปน พทุ ธมามกะ พิธีเวยี นเทยี น ถวายสงั ฆทาน ถวายผา อาบนํ้าฝน พิธีทอดกฐนิ พธิ ีปวารณา เปนตน  ศาสนพธิ ีที่นาํ พระพทุ ธศาสนา เขาไปเก่ยี วเนือ่ ง เชน การทําบุญ เล้ยี งพระในโอกาสตางๆ  ความหมาย ความสําคญั คติธรรม ในพธิ กี รรม บทสวดมนตของนกั เรียน งานพธิ ี คณุ คาและประโยชน  พิธีบรรพชาอปุ สมบท คณุ สมบัตขิ อง ผขู อบรรพชาอุปสมบท เครื่อง อัฏฐบรขิ าร ประโยชนข องการ บรรพชาอุปสมบท  บญุ พิธี ทานพิธี กุศลพธิ ี  คณุ คา และประโยชนข องศาสนพธิ ี

๔๒ ช้ัน ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง ๓. แสดงตนเปน พทุ ธมามกะหรอื  การแสดงตนเปน พุทธมามกะ แสดงตนเปนศาสนิกชนของศาสนา  ขน้ั เตรียมการ ท่ีตนนบั ถอื  ขนั้ พิธีการ ๔. วเิ คราะหห ลกั ธรรม คติธรรมท่ี เกยี่ วเนอื่ งกบั วันสําคัญทางศาสนา และ  หลกั ธรรม/คตธิ รรมทเ่ี กยี่ วเนอื่ งกบั เทศกาลท่ีสําคญั ของศาสนาทตี่ นนับถอื วนั สาํ คญั และเทศกาลที่สาํ คัญใน และปฏบิ ัติตนไดถ ูกตอ ง พระพุทธศาสนาหรือศาสนาอนื่  การปฏบิ ัตติ นที่ถกู ตองในวันสาํ คญั และเทศกาลทส่ี ําคัญในพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาอนื่ ๕. สมั มนาและเสนอแนะแนวทางในการ  การปกปอง คมุ ครอง ธาํ รงรกั ษา ธาํ รงรักษาศาสนาทีต่ นนบั ถอื อนั สงผลถงึ พระพทุ ธศาสนาของพุทธบรษิ ัท การพฒั นาตน พัฒนาชาติและโลก ในสงั คมไทย  การปลกู จติ สาํ นกึ และการมีสว นรว ม ในสงั คมพุทธ

๔๓ สาระท่ี ๒ หนา ทพ่ี ลเมือง วฒั นธรรม และการดําเนนิ ชวี ิตในสงั คม มาตรฐาน ส ๒.๑ เขาใจและปฏบิ ตั ิตนตามหนาทข่ี องการเปน พลเมอื งดี มคี านยิ มท่ดี งี ามและธาํ รงรักษา ประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดํารงชีวติ อยรู ว มกันในสังคมไทยและสงั คมโลกอยา งสนั ตสิ ุข ชัน้ ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรแู กนกลาง ป.๑ ๑. บอกประโยชนแ ละปฏิบตั ติ นเปน  การเปน สมาชกิ ทีด่ ีของครอบครวั และ สมาชิกท่ดี ขี องครอบครัวและโรงเรยี น โรงเรยี น เชน  กตัญูกตเวทแี ละเคารพรับฟง คําแนะนาํ ของพอ แม ญาตผิ ใู หญ และครู  รจู กั กลา วคําขอบคุณ ขอโทษ การไหวผูใหญ  ปฏิบัตติ าม ขอ ตกลง กตกิ า กฎ ระเบยี บ ของครอบครวั และ โรงเรียน  มสี ว นรว มในกจิ กรรมของ ครอบครัวและโรงเรยี น  มีเหตผุ ลและยอมรับฟง ความ คดิ เหน็ ของผูอ นื่  มีระเบียบ วินยั มีนา้ํ ใจ  ประโยชนข องการปฏบิ ตั ิตนเปน สมาชกิ ท่ีดขี องครอบครัวและโรงเรียน ๒. ยกตัวอยา งความสามารถและความดี  ลกั ษณะความสามารถและลกั ษณะ ความดี ของตนเอง ผูอนื่ และบอกผลจากการ ของตนเองและผูอ น่ื เชน กระทําน้นั - ความกตญั ูกตเวที - ความมีระเบยี บวินยั - ความรับผิดชอบ - ความขยัน - การเอ้ือเฟอ เผ่อื แผแ ละชว ยเหลือ ผูอนื่ - ความซือ่ สัตยสุจริต - ความเมตตากรณุ า  ผลของการกระทาํ ความดี เชน - ภาคภูมิใจ - มคี วามสุข - ไดรบั การชื่นชม ยกยอ ง

๔๔ ชั้น ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง ป.๒ ๑. ปฏบิ ตั ิตนตามขอตกลง กติกา กฎ  ขอตกลง กติกา กฎ ระเบยี บ หนาทีท่ ่ี ระเบยี บและหนาทที่ ต่ี องปฏิบตั ิใน ตอ งปฏิบตั ใิ นครอบครัว โรงเรยี น ชีวติ ประจาํ วนั สถานท่ีสาธารณะ เชน โรงภาพยนต โบราณสถาน ฯลฯ ๒. ปฏบิ ัติตนตนตามมารยาทไทย  มารยาทไทย เชน การแสดงความเคารพ การยืน การเดนิ การน่ัง การนอน การทักทาย การรับประทาน ๓. แสดงพฤติกรรมในการยอมรับ  การยอมรบั ความแตกตางของคนใน ความคดิ ความเชือ่ และการปฏิบตั ิของ สังคม ในเรื่อง ความคิด ความเชอื่ บคุ คลอ่นื ทแี่ ตกตางกันโดยปราศจากอคติ ความสามารถและการปฏบิ ตั ติ นของ บุคคลอื่นท่ี แตกตา งกัน เชน - บคุ คลยอมมีความคดิ ท่ีมเี หตผุ ล - การปฏิบตั ิตนตามพิธกี รรมตามความ เชอื่ ของบคุ คล - บคุ คลยอมมคี วามสามารถแตกตา งกนั - ไมพดู หรือแสดงอาการดูถูกรงั เกียจ ผอู ื่น ในเรอื่ งของรูปรางหนา ตา สผี ม สีผิว ทีแ่ ตกตา งกนั ๔. เคารพในสทิ ธิ เสรภี าพของผูอื่น  สทิ ธิสว นบุคคล เชน - สิทธแิ สดงความคดิ เห็น - สิทธิเสรีภาพในรา งกาย - สิทธิในทรพั ยส ิน ป.๓ ๑. สรุปประโยชนและปฏิบัติตนตาม  ประเพณีและวฒั นธรรมในครอบครัว ประเพณแี ละวัฒนธรรมในครอบครัวและ เชน การแสดงความเคารพและการเชื่อ ทอ งถ่นิ ฟง ผูใหญ การกระทํากิจกรรมรว มกัน ในครอบครัว  ประเพณแี ละวฒั นธรรมในทอ งถ่ิน เชน การเขา รว มประเพณที างศาสนา ประเพณีเก่ียวกับการดาํ เนินชีวติ ประโยชนของการปฏบิ ตั ติ นตาม ประเพณีและวฒั นธรรมในครอบครัว และทอ งถนิ่

๔๕ ช้นั ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรแู กนกลาง ๒. บอกพฤติกรรมการดาํ เนนิ ชวี ติ ของ  พฤติกรรมของตนเองและเพ่อื น ๆ ตนเอง และผูอ่ืนทีอ่ ยูในกระแส ในชวี ิตประจาํ วัน เชน การทกั ทาย วฒั นธรรมทีห่ ลากหลาย การทําความเคารพ การปฏบิ ัติตาม ศาสนพธิ ี การรบั ประทานอาหาร การใช ภาษา (ภาษาถ่ินกับภาษาราชการ และ ภาษาอืน่ ๆ ฯลฯ )  สาเหตทุ ่ที ําใหพฤตกิ รรมการดาํ เนนิ ชีวติ ในปจ จบุ นั ของนักเรยี น และผูอื่น แตกตา งกัน ๓. อธิบายความสาํ คัญขอวนั หยดุ ราชการ  วนั หยดุ ราชการทสี่ าํ คญั เชน ทสี่ ําคญั - วนั หยุดเก่ยี วกับชาติและ พระมหากษตั ริย เชน วันจกั รี วนั รัฐธรรมนูญ วันฉัตรมงคล วนั เฉลมิ พระชนมพรรษา - วนั หยุดราชการเก่ยี วกับศาสนา เชน วันมาฆบชู า วันวิสาขบูชา วนั อาสาฬหบชู า วนั เขา พรรษา - วันหยดุ ราชการเก่ยี วกับประเพณแี ละ วฒั นธรรม เชน วันสงกรานต วันพืชมงคล ๔. ยกตัวอยางบุคคลซง่ึ มผี ลงานท่เี ปน  บคุ คลท่มี ผี ลงานเปน ประโยชนแ กชุมชน ประโยชนแกชมุ ชนและทอ งถิน่ ของตน และทอ งถิน่ ของตน  ลักษณะผลงานทเี่ ปน ประโยชนแ กชุมชน และทองถิ่น ป.๔ ๑. ปฏิบัติตนเปนพลเมอื งดตี ามวิถี  การเขารว มกิจกรรมประชาธิปไตยของ ประชาธปิ ไตยในฐานะสมาชิกท่ีดีของ ชุมชน เชน การรณรงคการเลือกต้ัง ชมุ ชน  แนวทางการปฏิบัตติ นเปน สมาชกิ ท่ีดี ของชมุ ชน เชน อนุรักษส ิง่ แวดลอม สาธารณสมบตั ิ โบราณวตั ถุและ โบราณสถาน การพัฒนาชุมชน

๔๖ ช้นั ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรูแ กนกลาง ๒. ปฏิบัติตนในการเปนผนู าํ และผูตาม  การเปนผนู าํ และผตู ามทด่ี ี ทีด่ ี - บทบาทและความรบั ผิดชอบของผนู ํา - บทบาทและความรบั ผดิ ชอบของผตู าม หรือสมาชกิ - การทํางานกลมุ ใหมีประสทิ ธผิ ลและ ประสิทธิภาพ และประโยชนข องการ ทํางานเปน กลุม ๓. วเิ คราะหสทิ ธิพนื้ ฐานทเ่ี ด็กทกุ คน  สทิ ธพิ ้นื ฐานของเดก็ เชน สทิ ธทิ ีจ่ ะมี พงึ ไดรบั ตามกฎหมาย ชีวติ สิทธิทจ่ี ะไดร ับการปกปอ ง สทิ ธิ ที่จะไดรบั การพัฒนา สิทธิทีจ่ ะมี สว นรวม ๔. อธบิ ายความแตกตา งทางวัฒนธรรม  วฒั นธรรมในภาคตางๆ ของไทย ของกลุมคนในทองถ่ิน ท่ีแตกตางกนั เชน การแตงกาย ภาษา อาหาร ๕. เสนอวิธกี ารท่ีจะอยรู วมกันอยาง  ปญหาและสาเหตุของการเกดิ ความ สนั ตสิ ุขในชวี ติ ประจําวนั ขดั แยงในชวี ิตประจําวัน  แนวทางการแกป ญ หาความขัดแยงดวย สันตวิ ิธี ป.๕ ๑. ยกตวั อยางและปฏิบัติตนตาม  สถานภาพ บทบาท สทิ ธเิ สรีภาพ สถานภาพ บทบาท สิทธเิ สรภี าพ และ  หนาท่ขี องพลเมอื งดี เชน เคารพ เทิดทูน หนา ท่ใี นฐานะพลเมอื งดี สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ อนรุ ักษ ศิลปวัฒนธรรม ปฏิบัตติ ามกฎหมาย  คุณลักษณะของพลเมืองดี เชน เหน็ แก ประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชน สวนตน มคี วามรบั ผดิ ชอบ เสียสละ ๒. เสนอวธิ กี ารปกปอ งคุมครองตนเอง  เหตกุ ารณท ี่ละเมิดสิทธิเดก็ ในสังคมไทย หรือผูอ่นื จากการละเมดิ สทิ ธเิ ดก็  แนวทางการปกปองคุม ครองตนเองหรอื ผูอ่นื จากการละเมดิ สิทธิเด็ก  การปกปองคุม ครองสิทธิเด็กใน สังคมไทย

๔๗ ช้นั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง ๓. เหน็ คณุ คาวฒั นธรรมไทยทมี่ ผี ลตอ  วฒั นธรรมไทย ทมี่ ีผลตอ การดําเนินชวี ิต การดําเนินชีวิตในสังคมไทย ของคนในสงั คมไทย  คุณคาของวฒั นธรรมกับการดําเนนิ ชวี ิต ๔. มสี วนรวมในการอนรุ กั ษและเผยแพร  ความสาํ คญั ของภมู ิปญ ญาทองถิ่น ภูมิปญญาทองถิ่นของชุมชน  ตัวอยางภมู ิปญญาทองถ่ินในชุมชน ของตน  การอนุรักษและเผยแพรภูมปิ ญญา ทองถ่ินของชมุ ชน ป.๖ ๑. ปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายที่เกีย่ วของกับ  กฎหมายทเี่ ก่ยี วขอ งกับชีวิตประจําวนั ชวี ิตประจําวนั ของครอบครวั และชุมชน เชน - กฎหมายจราจร - กฎหมายทะเบียนราษฎร - กฎหมายยาเสพติดใหโ ทษ - เทศบญั ญตั ิ ขอ บญั ญตั ิ อบต. อบจ.  ประโยชนของการปฏบิ ัตติ นตาม กฎหมายดังกลา ว ๒. วเิ คราะหการเปลี่ยนแปลงวฒั นธรรม  ความหมายและประเภทของวัฒนธรรม ตามกาลเวลาและธํารงรักษาวฒั นธรรม  การเปล่ียนแปลงวฒั นธรรมตามกาลเวลา อนั ดีงาม ท่มี ผี ลตอตนเองและสังคมไทย  แนวทางการธํารงรักษาวัฒนธรรมไทย ๓. แสดงออกถึงมารยาทไทยไดเ หมาะสม  ความหมายและสาํ คญั ของมารยาทไทย ถกู กาลเทศะ  มารยาทไทยและมารยาทสงั คม เชน การแสดงความเคารพ การยนื การเดิน การน่ัง การนอน การรบั ของสงของ การรบั ประทานอาหาร การแสดงกริ ิยา อาการ การทกั ทาย การสนทนา การใช คําพดู ๔. อธิบายคณุ คา ทางวัฒนธรรมที่  ประโยชนและคณุ คา ทางวฒั นธรรม แตกตางกนั ระหวางกลุมคนในสงั คมไทย  ความแตกตางทางวฒั นธรรมระหวาง กลมุ คนภาคตา งๆ ในสังคมไทย  แนวทางการรักษาวฒั นธรรม

๔๘ ชั้น ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง ๕. ติดตามขอมลู ขา วสาร เหตกุ ารณตาง ๆ  ขอ มูล ขา วสาร เหตุการณตาง ๆ เชน ในชีวิตประจําวนั เลอื กรับและใชขอ มูล วิทยโุ ทรทศั น หนงั สอื พิมพ แหลง ขา ว ขาวสารในการเรยี นรไู ดเหมาะสม ตาง ๆ สถานการณจ ริง  ประโยชนจากการติดตามขอ มลู ขาวสาร เหตุการณต า งๆ  หลักการเลือกรบั และใชข อมลู ขาวสาร จากสือ่ ตา งๆ รวมทั้งสอ่ื ที่ไรพรมแดน ม.๑ ๑. ปฏิบัตติ ามกฎหมายในการคุมครอง  กฎหมายในการคุมครองสิทธขิ องบุคคล สิทธขิ องบคุ คล - กฎหมายการคุมครองเด็ก - กฎหมายการศกึ ษา - กฎหมายการคุมครองผบู ริโภค - กฎหมายลิขสิทธ์ิ  ประโยชนของการปฏบิ ัติตนตาม กฎหมายการคุมครองสทิ ธิของบุคคล ๒. ระบุความสามารถของตนเอง  บทบาทและหนา ทขี่ องเยาวชนทม่ี ีตอ ในการทาํ ประโยชนตอ สงั คมและ สังคมและประเทศชาติ โดยเนนจิต ประเทศชาติ สาธารณะ เชน เคารพกติกาสงั คม ปฏบิ ัตติ นตามกฎหมาย มีสวนรว มและ รบั ผดิ ชอบในกิจกรรมทางสังคม อนุรักษท รพั ยากรธรรมชาติ รักษา สาธารณประโยชน ๓. อภิปรายเก่ียวกับคณุ คาทางวฒั นธรรม  ความคลายคลึงและความแตกตา งระหวา ง ที่เปนปจจยั ในการสรางความสัมพนั ธทด่ี ี วัฒนธรรมไทยกบั วัฒนธรรมของประเทศ หรอื อาจนําไปสูค วามเขา ใจผดิ ตอ กนั ในภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออก เฉียงใต  วัฒนธรรมทเี่ ปนปจ จยั ในการสราง ความสัมพันธท่ีดี หรอื อาจนาํ ไปสคู วาม เขาใจผดิ ตอกนั ๔. แสดงออกถงึ การเคารพในสทิ ธขิ อง  วธิ ปี ฏิบัตติ นในการเคารพในสิทธิของ ตนเองและผูอ่ืน ตนเองและผูอ่ืน  ผลท่ไี ดจ ากการเคารพในสทิ ธขิ องตนเอง และผอู ่นื


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook