Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายวิชา สุขศึกษา พลศึกษา ทช11002

รายวิชา สุขศึกษา พลศึกษา ทช11002

Published by Somchai Mungphuklang, 2022-11-09 02:11:22

Description: ilovepdf_merged

Search

Read the Text Version

ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2565 สาระทักษะการดาเนนิ ชีวิต 2 หนว่ ยกิต จานวน 80 ชวั่ โมง ตามหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวัดนครราชสีมา สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

ก คำนำ แผนการจัดการเรียนรู้ เปน็ เคร่อื งมือสาคญั สาหรบั ครูทจี่ ะทาใหก้ ารจัดการเรยี นรู้ บรรลุเปา้ หมายตามตัวช้วี ัด แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาสขุ ศกึ ษาพละศึกษา รหัส ทช 11002 ระดับ ประถมศกึ ษาเล่มนี้ จัดทาขน้ึ เพอื่ เปน็ แนวทางในการเรยี นการสอน สาหรบั ครผู ู้สอน และบุคคลที่เกี่ยวขอ้ ง สามารถนาไปใชไ้ ด้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยมีเน้อื หา จานวน 9 บท ประกอบดว้ ย บทที่ 1 รา่ งกายของเรา บทท่ี 2 พฒั นาการทางเพศของวัยรุ่น การคมุ กาเนดิ และโรคตดิ ต่อทางเพศสัมพันธ์ บทท่ี 3 การดแู ลสุขภาพ บทที่ 4 โรคติดตอ่ บทที่ 5 ยาสามญั ประจาบ้าน บทที่ 6 สารเสพติดอันตราย บทท่ี 7 ความปลอดภยั ในชีวิตและทรพั ยส์ นิ บทที่ 8 ทกั ษะชวี ิตเพือ่ การคดิ บทที่ 9 อาชีพงานบรกิ ารด้านสุขภาพ ผู้จัดทาขอขอบคุณผู้ท่ีเกี่ยวข้องทุกคนที่มีส่วนในการจัดทาแผนการเรียนรู้เล่มนี้ หากมี ข้อพกพรอ่ งประการใดขอความกรุณาให้ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะ เพ่ือจะนาไปสู่การปรับปรุง ในการจัดทา แผนการเรียนรู้ รายวิชา สุขศึกษา และพลศึกษา รหัส ทช 11002 ระดับ ประถมศึกษา ให้ดียิ่งข้ึนต่อไป และ หวังเป็นอย่างย่ิงว่าแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอน นักศึกษา ตลอดจนบุคคลท่ี เกีย่ วขอ้ งต่อไป คณะผู้จัดทา ตุลาคม 2565

สำรบญั ข คานา หนา้ คาอธิบายรายวชิ า รายละเอียดคาอธิบายรายวชิ า ก ตารางวิเคราะหห์ ลักสตู รรายวชิ า 1 แผนการจดั การเรียนรู้ครงั้ ท่ี 1 การปฐมนิเทศนักศึกษา 2 แผนการจดั การเรียนรู้ครง้ั ที่ 2 ร่างกายของเรา 5 แผนการจัดการเรียนรู้ครง้ั ที่ 3 รา่ งกายของเรา 12 แผนการจัดการเรยี นรู้ครง้ั ท่ี 4 พัฒนาการทางเพศของวยั รุ่น การคุมกาเนดิ และโรคตดิ ต่อ 15 แผนการจัดการเรียนรู้ครัง้ ที่ 5 พัฒนาการทางเพศของวัยร่นุ การคุมกาเนดิ และโรคติดต่อ 21 แผนการจดั การเรียนรู้ครง้ั ท่ี 6 พัฒนาการทางเพศของวัยรนุ่ การคมุ กาเนดิ และโรคติดต่อ 30 แผนการจดั การเรยี นรู้ครั้งที่ 7 การดแู ลสุขภาพ 36 แผนการจดั การเรียนรู้ครง้ั ท่ี 8 การดแู ลสุขภาพ 41 แผนการจดั การเรียนรู้ครั้งที่ 9 การดูแลสขุ ภาพ 44 แผนการจดั การเรียนรู้คร้ังท่ี 10 การดแู ลสขุ ภาพ 47 แผนการจัดการเรยี นรู้คร้งั ที่ 11 การดูแลสุขภาพ 56 แผนการจัดการเรียนรู้ครงั้ ที่ 12 การดแู ลสขุ ภาพ 60 แผนการจดั การเรียนรู้ครง้ั ท่ี 13 โรคติดตอ่ 64 แผนการจดั การเรยี นรู้ครงั้ ท่ี 14 ยาสามญั ประจาบ้าน 67 แผนการจัดการเรยี นรู้ครง้ั ท่ี 15 สารเสพติดอนั ตราย 70 แผนการจัดการเรียนรู้ครั้งที่ 16 ความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สิน 74 แผนการจดั การเรียนรู้ครง้ั ท่ี 17 ทกั ษะชวี ิตเพ่ือการคดิ 78 แผนการจดั การเรยี นรู้ครง้ั ที่ 18 ทกั ษะชีวิตเพ่ือการคิด 84 แผนการจัดการเรียนรู้ครั้งที่ 19 อาชีพงานบริการดา้ นสขุ ภาพ 87 แผนการจดั การเรียนรู้ครั้งท่ี 20 การปจั ฉมิ นเิ ทศ 95 ภาคผนวก 98 ตารางสื่อและวิธีการพบกลุ่ม 102 คณะผูจ้ ัดทา

1 คำอธิบำยรำยวชิ ำ ทช 11002 สขุ ศกึ ษำ พลศึกษำ จำนวน 2 หน่วยกติ ระดบั ประถมศึกษำ มำตรฐำนกำรเรียนรูร้ ะดบั รู้ เขา้ ใจ มคี ุณธรรม จริยธรรม เจตคติทีด่ ี มที ักษะในการดูแลและสรา้ งเสริมการมพี ฤติกรรมสขุ ภาพท่ี ดี ปฏิบัติเปน็ กิจนสิ ยั ตลอดจนป้องกนั พฤติกรรมเสี่ยงต่อสขุ ภาพและดารงชวี ติ ของตนเองและครอบครวั อยา่ งมี ความสขุ กำรจัดประสบกำรณก์ ำรเรียนรู้ ศกึ ษาเอกสาร ส่อื ทุกประเภท วเิ คราะห์ อภปิ รายแลกเปลย่ี นเรียนรู้ ศกึ ษาจากสภาพจรงิ สาธติ ทดลองฝึกปฏิบัติ ค้นควา้ สรุป บันทกึ ตรวจสอบ การประเมินตนเอง จัดทาชิ้นงาน/ผลงาน จดั แสดง นทิ รรศการ ศึกษาดงู าน กิจกรรมคา่ ย ฯลฯ กำรวัดและประเมนิ ผล ประเมนิ ความรู้ ความเข้าใจ ชิน้ งาน ผลงาน โดยวธิ กี าร ทดสอบ สงั เกต สมั ภาษณ์ ตรวจสอบประเมนิ การปฏิบตั จิ รงิ และประเมนิ สภาพจรงิ

2 รำยละเอียดคำอธบิ ำยรำยวิชำ อช11002 สขุ ศกึ ษำ พลศึกษำ จำนวน 2 หนว่ ยกติ ระดบั มธั ยมศกึ ษำตอนต้น มำตรฐำนกำรเรยี นร้รู ะดับ รู้ เขา้ ใจ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม เจตคตทิ ี่ดี มีทักษะในการดแู ลและสรา้ งเสริมการมีพฤติกรรมสุขภาพทด่ี ี ปฏิบัตเิ ปน็ กิจนิสัยตลอดจนป้องกนั พฤติกรรมเสีย่ งต่อสุขภาพและดารงชวี ติ ของตนเองและครอบครวั อย่างมี ความสขุ และสามารถนาไปประกอบอาชีพดา้ นการบริการดา้ นสุขภาพได้ ที่ หวั เร่ือง ตัวชี้วดั เน้อื หำ จำนวน 1 รา่ งกายของเรา (ชว่ั โมง) 1. อธิบายวัฏจักรของชีวติ มนุษยไ์ ด้อยา่ ง 1. วฏั จกั รของชวี ติ มนุษย์ ถกู ต้อง 6 2. อธิบายโครงสรา้ ง หน้าทแี่ ละการ 2. โครงสร้าง หน้าท่ี และ การ ทางานของอวยั วะภายนอกและภายในที่ ทางานของอวยั วะสาคญั ของ สาคญั ของรา่ งกายได้อยา่ งถูกตอ้ ง รา่ งกาย - อวัยวะภายนอก ได้แก่ ผวิ หนัง หู ตา คอ จมูก ฟนั ผม เล็บ ฯลฯ - อวยั วะภายใน ไดแ้ ก่ หัวใจ ปอด กระเพาะ ลาไส้ 3. อธบิ ายวธิ ีการดูแลรักษา ปอ้ งกนั ตบั ไต ฯลฯ ความผดิ ปกติของอวยั วะสาคัญของ 3. การดแู ล รักษาป้องกันความ รา่ งกายไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ผิดปกติของอวยั วะสาคัญของ ร่างกาย 2 พัฒนาการทางเพศ 1. วเิ คราะห์ตนเอง และวางแผนการ 1. การวางแผนชวี ิตและ 16 ของวยั รนุ่ การ ดาเนินชวี ิตไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ครอบครัว การวางแผนชวี ติ คุมกาเนิดและ การเลอื กคู่ครอง การปรบั ตวั ใน โรคติดตอ่ ทาง ชีวติ สมรส การต้งั ครรภ์ การมี เพศสมั พันธ์ บตุ ร และการเล้ยี งดบู ุตร 2.อธบิ ายวธิ สี ร้างสัมพนั ธภาพทด่ี ี 2. ปญั หาและสาเหตุความ ระหวา่ งพ่อแม่ลูก และวิธีการสือ่ สาร รุนแรงในครอบครัว เรือ่ งเพศในครอบครัว 3. การสรา้ งสมั พันธภาพท่ีดี ใน ครอบครัว 3. บอกพัฒนาการทางเพศในแต่ละ 4. พฒั นาการทางเพศในแตล่ ะ ช่วงวยั ชว่ งวยั 5. โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสัมพนั ธ์ 4. บอกวิธีปอ้ งกันโรคตดิ ตอ่ ทาง เพศสมั พันธ์

3 ท่ี หัวเรื่อง ตวั ชว้ี ดั เน้ือหำ จำนวน 3 การดแู ลสุขภาพ (ชว่ั โมง) 1. วเิ คราะห์และอธบิ ายเกยี่ วกับ สารอาหาร 1. สารอาหารท่ีจาเป็นต่อร่างกาย 22 2. ปฏิบัติตนในการเลือกบริโภคอาหาร - คารโ์ บไฮเดรต ตามหลกั โภชนาการ - ไขมนั 3. อธิบายหลกั การดแู ลสขุ ภาพ เบอ้ื งตน้ ได้ - โปรตีน 4. อธิบายคุณค่าและประโยชน์ของการ - วิตามินและเกลือแร่ ออกกาลงั กายไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 5. อธบิ ายหลกั และวิธกี ารออก - นา้ กาลงั กายเพ่ือสุขภาพท่ี ถกู ต้องและปลอดภัย 2. หลกั โภชนาการ 6. ปฏบิ ัตติ นในการออก กาลงั กายรูปแบบตา่ ง ๆ ได้ - การเลอื กบรโิ ภคอาหารใหค้ รบ อย่างเหมาะสมและเปน็ ประจาสมา่ เสมอ 5 หมู่ 7. อธิบายประเภทและรูปแบบ ของกจิ กรรมนันทนาการได้ 3. หลักการดแู ลสขุ ภาพ อย่างถูกต้อง เบือ้ งต้น - การรบั ประทานอาหาร - การพักผอ่ น - การออกกาลงั กาย - การจัดการอารมณ์ - การขับถ่าย - การตรวจสุขภาพประจาปี 4. คุณคา่ และประโยชนข์ องการ ออกกาลงั กาย 5. หลักและวธิ ีการออกกาลัง กายเพ่ือสขุ ภาพ - อบอนุ่ ร่างกายและผอ่ นคลาย - ระยะเวลาในการออก กาลงั กาย (นานเพียงพอและ ตอ่ เน่อื ง) - จานวนคร้งั ต่อสปั ดาห์ - ความหนกั ในการ ออกกาลังกาย 6. กจิ กรรมนันทนาการรปู แบบ ต่าง ๆ - กิจกรรมเขา้ จังหวะ - ลีลาศ - อา่ นหนังสอื - ปลูกตน้ ไม้ - ทศั นศกึ ษา ฯลฯ

4 ที่ หัวเรื่อง ตวั ชว้ี ดั เนอ้ื หำ จำนวน 4 โรคตดิ ต่อ (ชัว่ โมง) อธบิ ายเกย่ี วกับโรคตดิ ต่อ สาเหตุ โรคติดต่อ สาเหตุ อาการ อาการ การป้องกนั และการรักษาได้ การป้องกนั และการรักษา 6 อยา่ งถูกต้อง - โรคไข้หวดั ใหญ่ - โรคตาแดง - โรคผิวหนงั - โรคฉีห่ นู ฯลฯ 5 ยาสามญั ประจา 1. อธบิ ายถึงหลักและวธิ ีการใช้ยาสามญั 1.หลักและวิธกี ารใช้ 6 บา้ น ประจาบา้ นไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ยาสามัญประจาบ้าน 2. บอกถงึ อนั ตรายจากการใช้ยาและ 2. อนั ตรายจากการใช้ยา และ ความเชื่อทผ่ี ิดเกยี่ วกบั การใชย้ า ความเชือ่ ทีผ่ ิด 6 สารเสพติด 1. บอกความหมาย ประเภท และ 1. ประเภทของสารเสพตดิ 6 6 อนั ตราย ลักษณะของสารเสพติด -ประเภทกดระบบประสาท 10 -ประเภทกระตุ้นระบบประสาท 2. บอกถึงอันตรายจากสารเสพติดทง้ั ต่อ -ประเภทหลอนระบบประสาท ตนเองครอบครัวและสงั คม 2. อนั ตราย และการป้องกนั สารเสพติด 7 ความปลอดภยั ใน บอกอนั ตรายต่างๆ ทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ ใน อนั ตรายต่างๆ ท่ีอาจเกดิ ขน้ึ ใน ชวี ติ และทรัพยส์ นิ ชวี ิตประจาวนั พร้อม แนวทางปอ้ งกัน ชวี ิตประจาวันและแนวทาง แกไ้ ข ป้องกนั แก้ไข - อันตรายท่ีอาจเกิดขึ้นในบา้ น - อนั ตรายท่ีอาจเกิดข้ึนจากการ เดินทาง - อันตรายจากภยั ธรรมชาติ 8 ทักษะชีวิตเพื่อการ 1. บอกความหมายและความสาคัญของ 1. ความหมาย/ความสาคัญของ คิด ทักษะชีวิตได้ทัง้ 10 ประการ ทกั ษะชีวติ 2. บอกทักษะชวี ิตทจ่ี าเปน็ ได้อยา่ งน้อย 2. ทกั ษะชวี ติ ทจี่ าเปน็ 4 4 ประการ ประการ 3. ประยกุ ต์ใช้ทักษะชีวติ ใน 2.1 ทกั ษะการคดิ สรา้ งสรรค์ ชีวิตประจาวันของตนเองครอบครวั และ 2.2 ทักษะการคดิ อย่างมี การทางาน วจิ ารณญาณ 4. แนะนาผู้อนื่ ในการนาทักษะชวี ิตมา 2.3 ทักษะการตัดสนิ ใจ ประยุกตใ์ ช้กับครอบครวั และการทางาน 2.4 ทักษะการแก้ปญั หา ชวี ติ ประจาวัน

5 ท่ี หัวเรื่อง ตัวชีว้ ัด เน้ือหำ จำนวน (ชว่ั โมง) 9 อาชพี งานบริการ 1. อธบิ ายประวตั ิและทม่ี าของการ 1. ประวตั แิ ละทีม่ าของการ ด้านสขุ ภาพ บรกิ ารด้านสขุ ภาพได้ บริการดา้ นสขุ ภาพ 2 2. อธบิ ายและการเลือกใชว้ ธิ ีการนวด แผนไทย - ประวตั กิ ารนวดแผนไทย 3. สามารถบอกถึงแหลง่ เรียนรกู้ ารนวด - ประเภทของการนวดแผน แผนไทย ไทย 2. วธิ กี ารนวดแผนไทยแบบ ตา่ งๆ เชน่ การกด การบีบ การ ทบุ การคลึง ฯลฯ 3. แหลง่ ข้อมลู การเรียนรู้ การ นวดแผนไทย

ผลกำรวิเครำะหต์ ำรำงกำรจดั กำรเรยี นรู้ รำยวิชำ ระดับป มำตรฐำนกำรเรยี นรูร้ ะดับ รู้ เข้าใจ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เจตคติที่ดี มที ักษะในการดแู ลและสรา้ งเสรมิ การมพี ของตนเองและครอบครัวอยา่ งมีความสขุ และสามารถนาไปประกอบอาชพี ด้านการบรกิ ารด ลำดับ ตัวชว้ี ดั เนื้อหำ ที่ 1 1. อธบิ ายวฏั จักรของชวี ติ มนุษยไ์ ด้ 1. วฏั จักรของชีวิตมนุษย์ อย่างถูกต้อง 2. โครงสรา้ ง หนา้ ท่ี และ การทางาน 2. อธิบายโครงสร้าง หน้าทแ่ี ละการ ของอวัยวะสาคญั ของร่างกาย ทางานของอวยั วะภายนอกและ ภายในท่สี าคญั ของรา่ งกายได้อย่าง - อวยั วะภายนอก ได้แก่ ผิวหนงั หู ถูกต้อง ตา คอ จมูก ฟัน ผม เล็บ ฯลฯ 3. อธิบายวธิ กี ารดแู ลรกั ษา ป้องกนั ความผดิ ปกติของอวัยวะสาคัญของ - อวยั วะภายใน ไดแ้ ก่ หัวใจ ปอด รา่ งกายไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง กระเพาะ ลาไส้ ตบั ไต ฯลฯ 3. การดูแล รกั ษาป้องกนั ความผิดปกติ ของอวัยวะสาคญั ของร่างกาย

6 ำ ประถมศึกษำ รหัส ทช 11002 จำนวน 2 หนว่ ยกิต ประถมศกึ ษำ พฤตกิ รรมสุขภาพทด่ี ี ปฏบิ ัตเิ ป็นกิจนิสัยตลอดจนป้องกันพฤติกรรมเส่ียงต่อสุขภาพและดารงชีวิต ด้านสุขภาพได้ วิเครำะหเ์ นือ้ หำ จำนวน รูปผลกำรจัดกำรเรยี นรู้ โครงงำน ชว่ั โมง ตนเอง พบ เข้ำ อบรม งำ่ ย ปำน ยำก กลมุ่ ค่ำย กลำง 2 2  2 2 ด 2 2

ลำดับ ตัวชว้ี ัด เน้อื หำ ที่ 1. การวางแผนชวี ติ และ 2 1. วิเคราะหต์ นเอง และวางแผนการ ดาเนินชวี ิตไดอ้ ย่างเหมาะสม ครอบครัว 2.อธบิ ายวธิ ีสร้างสัมพันธภาพที่ดี - การวางแผนชีวติ ระหว่างพ่อแมล่ ูก และวธิ กี ารสื่อสาร เรอ่ื งเพศในครอบครวั - การเลอื กคู่ครอง 3. บอกพัฒนาการทางเพศในแต่ละ - การปรับตัวในชวี ิตสมรส ชว่ งวัย - การต้ังครรภ์ การมีบุตร และการ 4. บอกวิธปี ้องกันโรคตดิ ต่อทาง เล้ียงดูบตุ ร เพศสัมพันธ์ 2. ปัญหาและสาเหตคุ วามรุนแรงใน ครอบครัว 3. การสรา้ งสมั พันธภาพท่ีดีระหว่างพ่อ แม่ลกู และคู่สามีภรรยา (การสือ่ สาร เรือ่ งเพศในครอบครัว) 4. พฒั นาการทางเพศในแตล่ ะช่วงวัย 5. โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสัมพนั ธ์

วิเครำะหเ์ นื้อหำ จำนวน รปู ผลกำรจัดกำรเรียนรู้ 7 ช่ัวโมง ตนเอง งำ่ ย ปำน ยำก พบ เข้ำ อบรม โครงงำน กลำง 6 กลมุ่ คำ่ ย  6  33  33  22  22

ลำดับ ตวั ช้วี ดั เนอ้ื หำ ที่ 1. สารอาหารท่จี าเป็นต่อรา่ งกาย 3 1. วเิ คราะหแ์ ละอธิบายเกยี่ วกบั - คาร์โบไฮเดรต ไขมนั โปรตีน สารอาหาร วติ ามินและเกลอื แร่ นา้ 2. ปฏบิ ัตติ นในการเลือกบรโิ ภค 2. หลกั โภชนาการ อาหารตามหลักโภชนาการ - การเลือกบรโิ ภคอาหารให้ครบ 5 หมู่ 3. อธิบายหลกั การดแู ลสุขภาพ 3. หลักการดแู ลสุขภาพ เบอ้ื งต้นได้ เบื้องต้น การรับประทานอาหาร 4. อธิบายคณุ ค่าและประโยชนข์ อง การพกั ผ่อน การออกกาลงั กาย การออกกาลังกายได้อย่างถูกตอ้ ง การจดั การอารมณ์ การขบั ถ่าย 5. อธบิ ายหลกั และวธิ ีการออก การตรวจสขุ ภาพประจาปี กาลังกายเพ่อื สุขภาพที่ 4. คณุ ค่าและประโยชนข์ องการออก ถกู ต้องและปลอดภยั กาลังกาย 6. ปฏิบัตติ นในการออก 5. หลักและวิธีการออกกาลงั กายเพ่อื กาลังกายรปู แบบตา่ ง ๆ ได้ สขุ ภาพ อย่างเหมาะสมและเป็น - อบอ่นุ ร่างกายและผ่อนคลาย ประจาสม่าเสมอ - ระยะเวลาในการออก 7. อธิบายประเภทและรปู แบบ กาลงั กาย (นานเพยี งพอและต่อเน่ือง) ของกจิ กรรมนันทนาการได้ - จานวนครง้ั ตอ่ สปั ดาห์ อยา่ งถูกต้อง - ความหนักในการ ออกกาลังกาย 6. กจิ กรรมนันทนาการรูปแบบต่าง ๆ - กจิ กรรมเขา้ จังหวะ ลลี าศ อา่ นหนงั สือ ปลูกตน้ ไม ฯลฯ

8 วเิ ครำะหเ์ นื้อหำ จำนวน รูปผลกำรจัดกำรเรยี นรู้ โครงงำน ชั่วโมง ตนเอง พบ เขำ้ อบรม ง่ำย ปำน ยำก กลมุ่ ค่ำย กลำง 6  6  44  33  33  33  33

ลำดับ ตัวชีว้ ดั เนอ้ื หำ ท่ี โรคติดตอ่ สาเหตุ อาการ 4 อธบิ ายเกยี่ วกบั โรคตดิ ต่อ สาเหตุ ปอ้ งกนั และการรกั ษา การ อาการ การป้องกัน และการรักษาได้ อย่างถูกต้อง - โรคไขห้ วดั ใหญ่ - โรคตาแดง - โรคผิวหนงั - โรคฉ่ีหนู ฯลฯ 5 1. อธิบายถงึ หลกั และวธิ ีการใชย้ า 1.หลักและวธิ กี ารใช้ สามัญประจาบ้านได้อย่างถูกต้อง ยาสามญั ประจาบา้ น 2. บอกถงึ อนั ตรายจากการใช้ยาและ 2. อนั ตรายจากการใชย้ า และความเชื่อ ความเชื่อท่ีผดิ เกยี่ วกับการใชย้ า ทผี่ ดิ 6 1. บอกความหมาย ประเภท และ 1. ประเภทของสารเสพตดิ - ลักษณะของสารเสพติด ประเภทกดระบบประสาท -ประเภท กระตุน้ ระบบประสาท -ประเภทหลอน 2. บอกถึงอนั ตรายจากสารเสพติดท้ัง ระบบประสาท ตอ่ ตนเองครอบครัวและสังคม 2. อันตราย และการป้องกนั สารเสพตดิ

9 วเิ ครำะห์เนือ้ หำ จำนวน รูปผลกำรจดั กำรเรยี นรู้ โครงงำน ชั่วโมง ตนเอง พบ เขำ้ อบรม ง่ำย ปำน ยำก กลมุ่ คำ่ ย กลำง 6 6   33  33 6 6 ด

ลำดับ ตวั ชีว้ ัด เนื้อหำ ท่ี 7 บอกอนั ตรายต่างๆ ทีอ่ าจเกิดข้นึ ใน อันตรายต่างๆ ทอี่ าจเกิดขึน้ ใน ชวี ติ ประจาวันพรอ้ ม แนวทางปอ้ งกนั ชีวติ ประจาวันและแนวทางป้องกันแก้ไข แกไ้ ข - อนั ตรายท่อี าจเกดิ ข้ึนในบ้าน - อันตรายท่ีอาจเกิดขึน้ จากการเดินทาง - อันตรายจากภยั ธรรมชาติ 8 1. บอกความหมายและความสาคัญ 1. ความหมาย/ความสาคัญของทักษะ ของทกั ษะชีวติ ได้ท้ัง 10 ประการ ชีวติ 2. บอกทักษะชีวติ ท่จี าเป็นได้อย่าง 2. ทักษะชวี ิตทจี่ าเป็น 4ประการ นอ้ ย 4 ประการ 2.1 ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 3. ประยกุ ตใ์ ชท้ ักษะชวี ิตใน 2.2 ทกั ษะการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ ชวี ติ ประจาวนั ของตนเองครอบครัว 2.3 ทักษะการตัดสนิ ใจ และการทางาน 2.4 ทักษะการแก้ปัญหา 4. แนะนาผอู้ ื่นในการนาทักษะชีวติ มา ประยกุ ต์ใช้กับครอบครวั และการ ทางานชวี ติ ประจาวนั

วเิ ครำะหเ์ น้อื หำ จำนวน 10 ชวั่ โมง ตนเอง ง่ำย ปำน ยำก รปู ผลกำรจดั กำรเรียนรู้ กลำง 33 พบ เขำ้ อบรม โครงงำน  กลมุ่ คำ่ ย  33  33  66

ลำดบั ตวั ชว้ี ัด เนอ้ื หำ ที่ 9 1. อธิบายประวัตแิ ละที่มาของการ 1. ประวตั แิ ละท่ีมาของการบริการด้าน บริการดา้ นสขุ ภาพได้ สุขภาพ 2. อธิบายและการเลือกใช้วิธีการนวด - ประวัตกิ ารนวดแผนไทย แผนไทย - ประเภทของการนวดแผนไทย 3. สามารถบอกถึงแหลง่ เรยี นรู้การ 2. วธิ ีการนวดแผนไทยแบบต่างๆ เช่น นวดแผนไทย การกด การบีบ การทุบ การคลงึ ฯลฯ 3. แหล่งข้อมลู การเรียนรู้ การนวดแผน ไทย

11 วเิ ครำะห์เนอ้ื หำ จำนวน รปู ผลกำรจดั กำรเรยี นรู้ โครงงำน ชวั่ โมง ตนเอง พบ เขำ้ อบรม ง่ำย ปำน ยำก กลมุ่ ค่ำย กลำง 2 2 

12 แผนกำรจัดกำรเรยี นร้คู รั้งที่ 1 (พบกลุ่ม) กล่มุ สำระทกั ษะกำรดำเนินชีวติ รำยวิชำ สุขศกึ ษำ พลศึกษำ รหสั ทช 11002 จำนวน 2 หน่วยกติ ระดบั ประถมศกึ ษำ เรือ่ ง กำรปฐมนเิ ทศนกั ศึกษำ จำนวน 6 ช่ัวโมง เวลำ............................ สอนวนั ท.่ี .............เดอื น.......................พ.ศ. ................. ภำคเรียนท่ี.................ปีกำรศกึ ษำ.................... มำตรฐำนกำรเรียนรู้ระดับ ความรู้เกย่ี วกับการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน ตัวชี้วดั 1. มีความร้แู ละเขา้ ใจการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 2. มคี วามรู้ความเขา้ ใจเก่ยี วกับวธิ ีเรียน กศน. รูปแบบการเรยี นรู้ ตลอดจนการทากิจกรรม กศน. 3. นกั ศึกษาสามารถปฏิบัตติ นในการเรียน กศน. ได้ สำระกำรเรยี นรู้ 1. โครงสร้างหลกั สูตร 2. เกณฑ์การจบหลกั สตู ร 3. การจดั การเรยี นการสอน คณุ ธรรม 1. เพอ่ื การพฒั นาการทางาน 3. เพ่ือการพฒั นาการอย่รู ว่ มกันในสงั คม กระบวนกำรจัดกำรเรยี นรู้ 1.แนะนาสถานศกึ ษา/คณะครู - กศน.อาเภอโชคชัย - กศน.ตาบล / ศรช. - หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอโชคชัย 2.ชแี้ จงการจัดการเรยี น หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 - หลักการของหลกั สตู ร/จดุ มุ่งหมายของหลกั สูตร - ระดบั การศึกษา/สาระการเรียนรู้ 3.การจัดกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชวี ติ 4.วิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้ - การเรยี นรู้แบบพบกลมุ่ - การเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง - การเรยี นโดยการสอนเสรมิ 5. การเทียบโอนผลการเรียน 6. การวดั ผลประเมนิ ผล 7. การจบหลกั สูตร 8. คะแนนการประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม 11 ประการ ส่ือกำรเรียนกำรสอน - แผ่นประชาสมั พนั ธ์งานการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน - คูม่ ือนักศกึ ษา กำรวดั และประเมินผล - การเข้ารว่ มกิจกรรมของผเู้ รียน

13 ควำมคิดเหน็ และข้อเสนอแนะของผ้บู ริหำรสถำนศกึ ษำ พจิ ารณาแลว้ .......................................................................................................................................... ......................................................................................................... ...................................................... (นางจรี ะภา วฒั นกสกิ าร) ผู้อานวยการศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอโชคชัย

14 บันทึกหลังกำรสอน ความสาเร็จในการจัดการเรยี นการสอน ............................................................................................................................. ............................................................ ................................................................................................................................................................... ...................... ............................................................................................................. ............................................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ปัญหา / อุปสรรค ในการจัดการเรียนการสอน ....................................................................................................................................................... .................................. ................................................................................................. ........................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... แนวทางการแกป้ ญั หา .......................................................................................................... ............................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ลงชอื่ .............................................ครูผสู้ อน (.................................................) คร.ู ........................................... วนั ท.่ี .........เดือน...........................พ.ศ. ........................ ข้อเสนอแนะของผ้บู รหิ ารสถานศึกษา ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ .............................................................................................................................................................. ........................... ลงชอื่ ผ้บู งั คบั บัญชา (นางจรี ะภา วฒั นกสกิ าร) ผอู้ านวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอโชคชัย

15 แผนกำรจัดกำรเรยี นร้คู รัง้ ท่ี 2 (กรต.) กลุ่มสำระทักษะกำรดำเนินชีวิต รำยวิชำ สุขศกึ ษำ พลศึกษำ รหัส ทช 11002 จำนวน 2 หนว่ ยกติ ระดับ ประถมศึกษำ เรื่อง ร่ำงกำยของเรำ จำนวน 6 ชว่ั โมง เวลำ............................ สอนวนั ที่..............เดอื น.......................พ.ศ. ................. ภำคเรียนท่.ี ................ปกี ำรศกึ ษำ.................... มำตรฐำนกำรเรียนรรู้ ะดับ รู้ เขา้ ใจ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม เจตคติทดี่ ี มที ักษะในการดูแลและสรา้ งเสรมิ การมพี ฤตกิ รรมสขุ ภาพทด่ี ี ปฏิบตั ิเป็นกิจนสิ ัยตลอดจนป้องกนั พฤติกรรมเสย่ี งต่อสขุ ภาพและดารงชวี ิตของตนเองและครอบครวั อยา่ งมคี วามสุข ตัวชีว้ ดั 1. อธิบายวัฏจกั รของชวี ติ มนุษย์ได้อยา่ งถูกต้อง 2. อธบิ ายโครงสร้าง หน้าท่ีและการทางานของอวยั วะภายนอกและภายในทสี่ าคัญของร่างกายได้อยา่ งถูกต้อง 3. อธิบายวิธกี ารดูแลรกั ษา ปอ้ งกันความผิดปกติของอวัยวะสาคัญของรา่ งกายไดอ้ ยา่ งถูกต้อง สำระกำรเรียนรู้ 1. วฏั จักรของชวี ิตมนุษย์ 2. โครงสรา้ ง หนา้ ที่ และ การทางานของอวัยวะสาคญั ของร่างกาย - อวยั วะภายนอก ได้แก่ ผวิ หนัง หู ตา คอ จมกู ฟัน ผม เลบ็ ฯลฯ - อวัยวะภายใน ไดแ้ ก่ หัวใจ ปอด กระเพาะ ลาไส้ ตับ ไต ฯลฯ 3. การดแู ล รักษาป้องกันความผดิ ปกติของอวยั วะสาคญั ของรา่ งกาย คณุ ธรรม 1. เพอ่ื พฒั นาตนเอง กระบวนกำรจดั กำรเรยี นรู้ ผ้สู อนกาหนดปญั หาและความต้องการ ใหผ้ ู้เรยี นไปศึกษาค้นคว้าเกย่ี วกับระบบตา่ งๆของร่างกาย ดงั น้ี -วฏั จักรของชีวิตมนุษย์ โดยให้ผู้เรียนทาเปน็ รปู เลม่ รายงานใหผ้ เู้ รียนทาสรุปความรู้ทีไ่ ดจ้ ากการศึกษาจับใจความสาคญั ของเรอ่ื ง - มอบใบความรู้เอกสารสื่อที่เก่ยี วขอ้ งไปศึกษาด้วยตนเอง สื่อกำรเรยี นกำรสอน - หนงั สอื แบบเรยี น - หอ้ งสมดุ ประชาชน - อนิ เตอรเ์ นต็ - ใบความรู้ กำรวัดและประเมนิ ผล ประเมนิ ความรู้ ความเข้าใจ ตรวจสอบ ช้ินงาน/ผลงาน และ ประเมินการปฏบิ ตั จิ ริง โดยวิธกี ารทดสอบ สังเกต สมั ภาษณ์ ประเมินสภาพจรงิ

16 ควำมคิดเหน็ และข้อเสนอแนะของผ้บู ริหำรสถำนศึกษำ พจิ ารณาแลว้ .......................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... (นางจีระภา วัฒนกสกิ าร) ผู้อานวยการศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอโชคชัย

17 บันทกึ หลังกำรสอน ความสาเรจ็ ในการจดั การเรียนการสอน ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ .................................................................................................................................. ....................................................... ปัญหา / อปุ สรรค ในการจดั การเรียนการสอน ........................................................... ............................................................................................................................. . ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................................. ............................................ ....................................................................................... .................................................................................................. แนวทางการแกป้ ญั หา ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ...................................................................................................................................................... ................................... ................................................................................................ ......................................................................................... ............................................................................................................................. ........................................................... ลงช่ือ.............................................ครูผสู้ อน (.................................................) ครู............................................ วันท่ี..........เดือน...........................พ.ศ. ........................ ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ลงช่ือ ผบู้ ังคับบัญชา (นางจรี ะภา วัฒนกสิการ) ผอู้ านวยการศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอโชคชัย

18 ใบควำมรูท้ ี่ 2 วฏั จกั รชวี ติ ของมนุษย์ ธรรมชำติของชวี ิตมนุษย์ ธรรมชาติของมนุษยป์ ระกอบไปดว้ ยการเกิด แก่ เจ็บ ตาย ซง่ึ เปน็ ธรรมดาของชวี ติ ทท่ี ุกคนหลีกไม่พ้น ดงั นัน้ ควรเรียนรแู้ ละปฏบิ ตั ติ นดว้ ยความไมป่ ระมาท 1. กำรเกดิ ทกุ คนเกิดมาจากพอ่ ซึ่งเป็นเพศชาย และแม่ซึ่งเปน็ เพศหญงิ โดยธรรมชาติได้กาหนดใหเ้ พศหญิงเปน็ คนอุม้ ทอ้ งตามปกติประมาณ 9 เดือน จะคลอดจากครรภ์มารดา เจริญเติบโตเป็นทารกแล้วพฒั นาการเป็นวยั เด็ก วยั รนุ่ วัย ผูใ้ หญ่ วัยชรา ตามลาดบั ร่างกายของคนเรากจ็ ะคอ่ ย ๆ เปลีย่ นไปตามวัย 2. กำรแก่ เม่อื อายมุ ากข้ึน ร่างกายจะมีการเปลีย่ นแปลงทีเ่ หน็ ได้ชดั เช่น เมื่ออยใู่ นช่วงชราร่างกายจะเส่อื มสภาพลง ผวิ หนังเหี่ยวย่น การเคล่ือนไหวช้าลง คนสว่ นใหญเ่ รยี กว่า “คนแก่” 3. กำรเจบ็ การเจ็บปว่ ยของมนุษย์ส่วนใหญ่เกดิ จากการขาดการดูแลรักษาสุขภาพท่ีถกู ต้องและสม่าเสมอ คนสว่ นใหญ่ มักเคยเจบ็ ปว่ ย บางคนเจบ็ ป่วยเลก็ ๆ นอ้ ย ๆ หรือมาก จนตอ้ งรับการรักษาจากแพทย์ ถา้ ไม่ดแู ลรักษาสขุ ภาพตนเอง ร่างกายย่อมอ่อนแอและมีโอกาสจะรับเชอ้ื โรคเขา้ ส่รู ่างกายไดง้ า่ ยกว่าบุคคลที่รักษาสขุ ภาพสม่าเสมอ 4. กำรตำย ความตายเป็นสิ่งท่ีทุกคนหนไี มพ่ ้น เกดิ แล้วต้องตายดว้ ยกันทกุ คน แต่การตายนั้นต้องถึงวยั ที่ร่างกาย เสือ่ มสภาพไปตามธรรมชาติ เมือ่ อยู่ในวยั หนุม่ สาวจึงควรดูแลรกั ษาสุขภาพและดารงชีวิตดว้ ยความไมป่ ระมาท กำรเจริญเตบิ โตและพัฒนำกำรตำมวัย การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนุษย์ จะเร่มิ ตัง้ แต่เกิด ซ่ึงแบง่ ได้เป็น 5 ชว่ งวัยโดยแตล่ ะวัยจะมีลักษณะ และพัฒนาการเฉพาะของวัย กำรเจริญเตบิ โต (Growth) หมายถงึ การเปลย่ี นแปลงในขนาดรูปร่าง สัดสว่ นตลอดจนกระดูก กล้ามเนื้อ และ อวัยวะทกุ ส่วนของรา่ งกายตามลาดบั ข้ัน 3 พัฒนำกำร (Development) หมายถงึ การเปลย่ี นแปลงของมนุษยท์ ุกส่วนทต่ี ่อเน่ืองกันต้งั แต่แรกเกิดจนตลอดชวี ติ ซ่ึงเป็นกระบวนการเปลีย่ นแปลงทงั้ ร่างกายและจิตใจผสมผสานกันไปเปน็ ข้ัน ๆ จากระยะหนง่ึ ไปสู่อกี ระยะหน่ึง ทาให้ เกิดการเจรญิ ก้าวหนา้ เป็นลาดับ ซ่ึงแบ่งเปน็ 5 ชว่ งวัย ดงั น้ี 1. วยั ทำรก (Infancy) ตงั้ แตเ่ กิด – 2 ปี เดก็ ในวยั น้ีจะมีพัฒนาการทางดา้ นรา่ งกายทร่ี วดเร็วมากในขวบปแี รกเปน็ 2 เทา่ จากแรกเกดิ ปีต่อไปมา พัฒนาการจะเพ่ิมขึ้นเพียง 30 % จากน้ันจะเจรญิ เตบิ โตข้ึนตามลาดบั ตามแผนของการพัฒนา วยั ทารกจะสามารถ รบั รู้ส่ิงต่าง ๆ ได้ในระดบั เบื้องตน้ เช่น รูจ้ กั สารวจ ค้นหา ทาความเข้าใจและปรบั ตัวใหเ้ ขา้ กับสภาพแวดล้อมรอบ ๆ ตวั รจู้ กั ใชอ้ วยั วะสัมผสั สง่ิ ตา่ งๆ วัยน้ีต้องอาศยั การเลีย้ งดเู อาใจใสม่ ากทส่ี ุด 2. วัยเดก็ (Childhood) ตง้ั แต่ 3 – 12 ปี การเจริญเตบิ โตในวัยนี้สว่ นใหญ่เป็นเรอื่ งของกระดูกกลา้ มเน้ือ และการประสานกบั ระบบตา่ ง ๆ ในรา่ งกาย ความแตกตา่ งระหว่างบุคคลและเพศตรงกันขา้ ม จะปรากฏชัดเจน โดยวัยเดก็ แบง่ ออกเป็น 3 ชว่ ง ดังน้ี 2.1 วัยเด็กตอนต้น (3 - 5 ป)ี รู้จักใช้ภาษา หดั พดู กินขา้ ว ลา้ งมอื รจู้ กั สงั เกต อยากรอู้ ยากทดลอง และเลน่

19 2.2 วัยเดก็ ตอนกลาง (6 - 9 ป)ี เริม่ ไปโรงเรยี นต้องปรับตัวเข้ากับคนแปลกหน้า และทาความเขา้ ใจกับ ระเบยี บของโรงเรียน รจู้ ักเลอื กตัดสนิ ใจ รบั ผดิ ชอบการทางานของตนเองได้ 2.3 วัยเดก็ ตอนปลาย (10 – 12 ปี) เพศชาย - หญงิ จะแสดงความแตกตา่ งชดั เจนในด้านพฤติกรรมและ ความสนใจ เด็กหญิงจะโตกว่าเดก็ ชาย มที ักษะการใช้ภาษาทีด่ ขี ้ึน ทาตามคาสง่ั ได้ เรียนรู้ บทบาททีเ่ หมาะสมกบั เพศ ของตน และจะเล่นเฉพาะกลุ่มท่ีเป็นเพศเดียวกัน 3. วัยรนุ่ (Adolescence) อำยุระหวำ่ ง 13 – 20 ปี วยั นเ้ี ปน็ ช่วงหวั เล้ียวหัวต่อของชีวติ เน่อื งจากเป็นวัยที่มีการเปลย่ี นแปลงทางรา่ งกายจติ ใจและต้องปรบั ตัวเข้า กับสงิ่ ใหม่ๆ ทีเ่ กดิ ข้ึน รวมท้ังปรบั ตวั ให้เขา้ กบั สงั คม บางคร้ังทาให้เกดิ ปญั หาต่าง ๆ ขึน้ โดยเฉพาะปัญหาทางเพศ เร่ิม ใหค้ วามสนใจกับเพศตรงกนั ข้าม เริม่ มองอนาคต คดิ ถึงการมอี าชพี ของตน คิดถึงครอบครัว อยากรอู้ ยากเห็น อยาก แสดงความสามารถ บางคร้ังแสดงออกในทางที่ไม่ถูกต้อง จึงทาให้เกิดปัญหาขนึ้ ผู้ปกครองหรือผูใ้ หญ่ ควรให้ คาแนะนาท่เี หมาะสม 4. วัยผู้ใหญ่ (Adulthood) อำยรุ ะหว่ำง 21 – 60 ปี วัยน้ีร่างกายเจริญเตบิ โตเตม็ ที่แลว้ มีรูปรา่ งสมส่วน ร่างกายแข็งแรง แตเ่ นอ่ื งจากความเจรญิ เติบโตและ พฒั นาการทางกาย และใจของแต่ละคนต่างกนั เชน่ คนทเ่ี ป็นลูกคนโต ต้องดูแลน้อง ๆก็อาจจะเปน็ ผู้ใหญเ่ ร็วกว่าน้อง คนเล็ก หรือคนท่กี าพร้าพ่อแม่ กย็ อ่ มเป็นผู้ใหญ่เร็วกว่าคนทม่ี พี ่อแม่อยู่ใกล้ชดิ สรปุ ได้วา่ วยั น้ี เปน็ วยั ที่มีความเจริญ ด้านต่าง ๆ ทงั้ ดา้ นความสนใจ ทศั นคติ และคา่ นยิ มโดยเฉพาะเรือ่ งอาชีพ การเลอื กคู่ครอง และการมชี ีวติ ครอบครวั เป็นวัยที่มีพละกาลัง มีความสามารถในการทางานมากท่สี ุด เพราะเปน็ วยั ที่ต้องรับผดิ ชอบในหนา้ ที่ เพื่อครอบครัว และประเทศชาติ 5. วยั ชรำ (Old Age) อำยุ 60 ปขี นึ้ ไป วัยนเ้ี ป็นวยั ที่มีการเปล่ยี นแปลงทางดา้ นรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ รวมทั้งสมองในทางเส่อื มลง จงึ ประสบปญั หา สุขภาพมากกว่าวัยอน่ื มอี าการหลงลมื มกั จะจาเรื่องราวในอดีต เหมาะทีจ่ ะเป็นที่ปรึกษาให้คาแนะนาแก่ผู้อนื่ เพราะ เป็นผูท้ ม่ี ีประสบการณ์มาก่อน วัยนมี้ กั มอี ารมณ์ค่อนข้างเครียด โกรธ และน้อยใจงา่ ย

20 บันทกึ หลังกำรสอน ความสาเรจ็ ในการจดั การเรยี นการสอน ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ .................................................................................................................................. ....................................................... ปัญหา / อปุ สรรค ในการจดั การเรียนการสอน ........................................................... ............................................................................................................................. . ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................................. ............................................ ....................................................................................... .................................................................................................. แนวทางการแก้ปญั หา ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ...................................................................................................................................................... ................................... ................................................................................................ ......................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ลงชอื่ .............................................ครผู ้สู อน (.................................................) ครู............................................ วันท.ี่ .........เดอื น...........................พ.ศ. ........................ ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารสถานศกึ ษา ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ .......................................................................................................................................................... ............................... .................................................................................................... ..................................................................................... ลงช่ือ ผบู้ งั คบั บัญชา (นางจีระภา วฒั นกสกิ าร) ผู้อานวยการศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอโชคชัย

21 แผนกำรจดั กำรเรยี นร้คู ร้ังท่ี 3 (กรต.) กลมุ่ สำระทกั ษะกำรดำเนนิ ชีวติ รำยวิชำ สุขศกึ ษำ พลศึกษำ รหัส ทช 11002 จำนวน 2 หนว่ ยกติ ระดบั ประถมศกึ ษำ เรอื่ ง ร่ำงกำยของเรำ จำนวน 6 ชั่วโมง เวลำ............................ สอนวันที.่ .............เดอื น.......................พ.ศ. ................. ภำคเรยี นท.่ี ................ปีกำรศึกษำ.................... มำตรฐำนกำรเรียนรูร้ ะดับ รู้ เขา้ ใจ มีคณุ ธรรม จริยธรรม เจตคติท่ดี ี มีทักษะในการดูแลและสร้างเสริมการมพี ฤติกรรมสุขภาพทดี่ ี ปฏิบัติเปน็ กิจนสิ ัยตลอดจนป้องกนั พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพและดารงชีวติ ของตนเองและครอบครวั อยา่ งมีความสุข ตวั ช้วี ัด 1. อธิบายโครงสร้าง หนา้ ทแ่ี ละการทางานของอวยั วะภายนอกและภายในที่สาคัญของรา่ งกายได้อย่างถูกต้อง 2. อธบิ ายวิธีการดแู ลรักษา ปอ้ งกนั ความผิดปกติของอวยั วะสาคัญของร่างกายได้อยา่ งถูกต้อง สำระกำรเรียนรู้ 1. โครงสร้าง หน้าที่ และ การทางานของอวัยวะสาคญั ของรา่ งกาย - อวยั วะภายนอก ได้แก่ ผิวหนัง หู ตา คอ จมูก ฟนั ผม เล็บ ฯลฯ - อวยั วะภายใน ไดแ้ ก่ หวั ใจ ปอด กระเพาะ ลาไส้ ตับ ไต ฯลฯ 2. การดแู ล รกั ษาป้องกนั ความผดิ ปกตขิ องอวัยวะสาคญั ของร่างกาย คุณธรรม 1. เพื่อพัฒนาตนเอง กระบวนกำรจดั กำรเรยี นรู้ ผสู้ อนกาหนดปัญหาและความตอ้ งการ ให้ผู้เรียนไปศึกษาค้นควา้ เกี่ยวกับระบบตา่ งๆของรา่ งกาย ดงั นี้ โครงสร้าง หน้าที่ และ การทางานของอวยั วะสาคัญของร่างกาย - อวัยวะภายนอก ได้แก่ ผิวหนัง หู ตา คอ จมูก ฟนั ผม เล็บ ฯลฯ - อวัยวะภายใน ไดแ้ ก่ หวั ใจ ปอด กระเพาะ ลาไส้ ตับ ไต ฯลฯ การดแู ล รักษาป้องกนั ความผิดปกติของอวยั วะสาคัญของร่างกาย โดยใหผ้ ู้เรียนทาเปน็ รูปเลม่ รายงานให้ผู้เรยี นทาสรปุ ความรทู้ ไี่ ดจ้ ากการศึกษาจับใจความสาคัญของเร่ือง - มอบใบความรเู้ อกสารสื่อทเ่ี กี่ยวข้องไปศึกษาด้วยตนเอง สอ่ื กำรเรยี นกำรสอน - หนังสือแบบเรียน - ห้องสมุดประชาชน - อินเตอร์เน็ต - ใบความรู้ กำรวัดและประเมนิ ผล ประเมินความรู้ ความเขา้ ใจ ตรวจสอบ ชิ้นงาน/ผลงาน และ ประเมินการปฏบิ ตั จิ ริง โดยวิธีการทดสอบ สงั เกต สัมภาษณ์ ประเมนิ สภาพจรงิ

22 ควำมคิดเหน็ และข้อเสนอแนะของผ้บู ริหำรสถำนศึกษำ พจิ ารณาแลว้ .......................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... (นางจีระภา วัฒนกสกิ าร) ผู้อานวยการศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอโชคชัย

23 บันทกึ หลังกำรสอน ความสาเรจ็ ในการจัดการเรยี นการสอน ............................................................................................................................. ............................................................ ..................................................................................................................................... .................................................... ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ปญั หา / อุปสรรค ในการจดั การเรยี นการสอน ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ .................................................................................................................................. ....................................................... แนวทางการแกป้ ญั หา ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ .............................................................................................................................................................. ........................... ........................................................................................................ ................................................................................ ลงช่ือ.............................................ครูผสู้ อน (.................................................) ครู............................................ วนั ท่ี..........เดือน...........................พ.ศ. ........................ ข้อเสนอแนะของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา ....................................................................................................................... .................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................ .................................................................................................................................. ....................................................... ......................................................................................................................................................................................... ลงช่อื ผบู้ ังคับบญั ชา (นางจรี ะภา วัฒนกสกิ าร) ผู้อานวยการศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอโชคชยั

24 ใบควำมรทู้ ี่ 3 โครงสรำ้ ง หน้ำที่และกำรทำงำนของอวัยวะภำยนอก ภำยในที่สำคัญของร่ำงกำยอวัยวะและระบบตำ่ ง ๆ ในรำ่ งกำยอวัยวะภำยนอกและอวัยวะภำยในอวัยวะภำยนอก เป็นอวัยวะท่ีมองเห็นได้ เช่น ตา หู จมกู ปากและ ผิวหนงั อวยั วะเหล่าน้ีมหี นา้ ท่ีการทางานต่างกัน อวัยวะภำยใน เปน็ อวยั วะท่ีอยู่ในรา่ งกายท่ีมีความสาคัญมาก เพราะเป็นส่วนหนึง่ ของระบบต่าง ๆ ภายในร่างกาย โดยอวยั วะภายนอกและอวยั วะภายใน มีการทางานท่สี มั พันธ์กันหากสว่ นใดสว่ นหนง่ึ บกพรอ่ ง หรือได้รบั อันตรายก็ อาจมีผลกระทบต่อส่วนอนื่ ได้ 1. อวัยวะภำยนอก มีดงั นี้ 1.1 ตำ เปน็ อวยั วะที่ทาให้มองเห็นส่ิงต่างๆ และช่วยใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ เพราะถา้ ไมม่ ีดวงตา สมองจะไม่ สามารถรบั รู้และจดจาส่งิ ทีอ่ ยู่รอบตัว นอกจากน้นั ตายังแสดงออกถึงอารมณ์ ความรสู้ ึกต่างๆ เชน่ ดีใจ เสียใจ ตกใจ สว่ นประกอบของตำ ทีส่ าคัญมดี งั น้ี (1) ค้ิว เปน็ ส่วนประกอบทอี่ ยู่เหนอื หนงั ตาบน ทาหนา้ ท่ปี อ้ งกนั อนั ตราย ไม่ใหเ้ กิดกบั ดวงตา โดยปอ้ งกันสง่ิ สกปรก เหงอื่ น้า และสิง่ แปลกปลอมทีอ่ าจไหลหรอื ตกมาจาก หนา้ ผาก หรอื ศรี ษะ เข้าสดู่ วงตาได้ (2) หนังตำ และเปลือกตำ ทาหน้าท่เี ปิดปดิ ตา เพื่อรบั แสง และป้องกนั อนั ตราย ท่ีอาจเกดิ ข้นึ แก่ตา และกระจกตา โดยอตั โนมตั ิเมื่อมีสงิ่ อนั ตรายเข้ามาใกลต้ า (3) ขนตำ เปน็ ส่วนประกอบที่อย่หู นังตาบน หนงั ตาลา่ ง ทาหน้าทป่ี อ้ งกัน อันตราย เช่นฝุ่นละออง ไม่ให้ทาอันตรายแกต่ า (4) ต่อมน้ำตำ เปน็ ส่วนประกอบของตาที่อยูใ่ นเบ้าตา ทางด้านหางคว้ิ บรเิ วณ หนงั ตาบน ทาหน้าที่ซับน้าตา มาช่วยให้ตาชมุ่ ชน้ื และขับส่ิงสกปรกออกมากบั นา้ ตา 1.2 หู เปน็ อวยั วะรบั สมั ผัสท่ีทาให้ได้ยนิ เสียงตา่ ง ๆ เชน่ เสียงเพลง เสียงพดู คยุ การไดย้ ินเสียง ทาใหเ้ กดิ การส่อื สาร ระหวา่ งกนั ถา้ หูผดิ ปกติไมไ่ ด้ยนิ เสียงใดเลย สมองไมส่ ามารถแปลความได้ว่าเสียงตา่ ง ๆ เป็นอย่างไร ส่วนประกอบของหู สว่ นประกอบของหูแบ่งเป็น 3 ส่วน คอื หูชน้ั นอก หชู นั้ กลาง หชู ้ันใน (1) หูชน้ั นอก ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังน้ี ใบหู ทาหน้าทร่ี ับเสยี งสะทอ้ นเขา้ สู่รหู ู รูหู ทาหน้าทีเ่ ป็นทางผา่ นของเสยี ง ใหเ้ ขา้ ไปสูส่ ว่ นต่าง ๆ ของรหู ูภายในรหู จู ะมตี อ่ มน้ามัน ทาหน้าที ผลิตไขมนั ทาให้หชู ่มุ ช้ืน และดกั จับฝ่นุ ละออง และสงิ่ แปลกปลอมที่เขา้ มาภายในรหู ู และเกดิ เปน็ ขี้หู นอกจากน้นั ภายในรูหยู ังมเี ยื่อแกว้ หู ซง่ึ เป็นเยอ่ื แผ่นกลมบาง ๆ กั้นอย่รู ะหว่างหชู น้ั นอก กบั หูชั้นกลาง ทาหน้าท่ถี า่ ยทอดเสียงผ่าน หชู ้นั กลาง (2) หชู น้ั กลำง มีลักษณะเปน็ โพรง ประกอบด้วยส่วนตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ กระดูก รูปค้อน กระดูกรูปท่ัง และกระดกู รปู โกลน เปน็ กระดูกชิน้ นอกติดอยู่กับหูชน้ั ใน กระดูกทง้ั 3 ชิน้ ดังกลา่ ว ทาหนา้ ที่รับคล่นื เสยี งตอ่ จากเยื่อแกว้ หู (3) หชู นั้ ใน มีลักษณะเป็นรูปหอยโข่ง เป็นส่วนทีอ่ ย่ดู า้ นในสุด ทาหนา้ ที่ ขับคลื่นเสยี งโดยผา่ นประสาทรับเสยี งส่งต่อไปยังสมอง และสมองก็แปลผลทาให้รวู้ ่าเสยี งท่ีได้ยิน คอื เสยี งอะไร

25 1.3 จมกู เปน็ อวัยวะรบั สมั ผัส ทาหน้าท่หี ายใจเอาอากาศเข้าและออกจากร่างกาย และมีหนา้ ท่รี บั กล่ินตา่ ง ๆ ถ้าจมูก ไมส่ ามารถทาหน้าทีไ่ ด้ตามปกติ จะไม่ไดก้ ลิน่ อะไรเลย หรือทาให้ ระบบการหายใจและการออกเสยี งผดิ ปกติ สว่ นประกอบของจมูก จมูกเป็นอวยั วะภายนอกท่ีอยู่บนใบหนา้ ช่วยเสริมใหใ้ บหนา้ สวยงาม จมกู แบง่ ออกเปน็ 3 ส่วน ดงั น้ี (1) สนั จมูก เปน็ สว่ นทีม่ องเห็นจากภายนอก เป็นกระดูกอ่อน ทาหน้าที่ป้องกัน อนั ตรายใหก้ ับอวัยวะภายในจมูก (2) รจู มกู รูจมกู มี 2 ข้าง ทาหน้าทเ่ี ป็นทางผ่านของอากาศ ที่หายใจเขา้ ออก ภายในรจู มูกมีขนจมูกและเยอื่ จมูก ทา หนา้ ท่กี รองฝุน่ และเชื้อโรคไม่ใหเ้ ขา้ สู่หลอดลมและปอด (3) ไซนสั เปน็ โพรงอากาศครอบจมกู ในกะโหลกศรี ษะ จานวน 4 คู่ ทาหน้าที่ พดั อากาศเขา้ สู่ปอด และปรับลมหายใจให้มีอณุ หภมู ิและความช้นื พอเหมาะ 1.4 ปำกและฟัน เป็นอวยั วะสา คญั ของรา่ งกายทีใ่ ชใ้ นการพูด ออกเสยี ง และรับประทานอาหาร โดยฟันของคนเราจะมี 2 ชุด คือ ฟันนา้ นมและฟันแท้ (1) ฟนั น้ำนม เป็นฟันชดุ แรก มีทง้ั หมด 20 ซ่ี เปน็ ฟันบน 10 ซ่ี ฟนั ล่าง 10 ซ่ี ฟันนา้ นมเริ่มงอกเมื่ออายุประมาณ 6 - 8 เดอื น จะงอกครบเม่ืออายุ 2 ขวบ ถึง 2 ขวบคร่ึง และจะคอ่ ย ๆ หลุดไปเม่อื อายปุ ระมาณ 6 ขวบ (2) ฟันแท้ เป็นฟันชุดที่สอง ทเี่ กดิ ขน้ึ มาแทนฟนั นา้ นมท่หี ลุดไป ฟันแท้มี 32 ซ่ี ฟันบน 16 ซ่ี ฟนั ลา่ ง 16 ซ่ี ฟันแท้จะครบเมอ่ื อายุประมาณ 21 - 25 ปี ถ้าฟนั แทผ้ หุ รือหลุดไป จะไมม่ ีฟันงอกขน้ึ มาอกี หน้ำที่ของฟัน ฟนั มหี น้าที่ในการเค้ียวอาหาร เช่น ฉกี กดั บดอาหารให้ละเอยี ด ฟันจึงมีหนา้ ท่ีและ รปู รา่ งตา่ งกันไป ได้แก่ ฟนั หน้า มีลักษณะคล้ายล่มิ ใชก้ ดั ตัด ฟนั เขยี้ ว มีลักษณะปลายแหลม ใช้ฉีกอาหาร และฟนั กราม มลี ักษณะแบน กวา้ ง ตรงกลางมรี ่องใชบ้ ดอาหาร 1.5 ผิวหนัง เปน็ อวัยวะรบั สัมผสั ทาให้รู้สึก รอ้ น หนาว เจบ็ ปวด เพราะภายใต้ผิวหนังเป็นทร่ี วมของเซลลป์ ระสาทรับ ความรสู้ กึ นอกจากนัน้ ผวิ หนังยังทาหน้าท่ีปกคลุมร่างกาย และช่วยปอ้ งกนั อวยั วะภายในไม่ให้ได้รับอนั ตราย และยัง ช่วยระบายความร้อนภายในร่างกายทางรูเหง่ือ ตามผิวหนังอีกดว้ ย ส่วนประกอบของผิวหนัง แบ่งออกเป็น 2 ชน้ั ดังน้ี (1) ชน้ั หนงั กำพร้ำ เปน็ ช้นั บนสดุ เป็นชั้นท่ีจะหลดุ เปน็ ขีไ้ คล แล้วมกี ารสร้างขึ้นมาทดแทนข้ึนเรอ่ื ย ๆ และ เป็นผิวหนงั ชั้นที่บง่ บอกความแตกต่างของสีผวิ ในแต่ละคน (2) ช้นั หนงั แท้ เป็นผิวหนังที่หนากว่าชั้นหนงั กาพรา้ เปน็ แหลง่ รวมของ ต่อมเหง่ือ ตอ่ มไขมนั และเซลล์ ประสาทรบั ความรูส้ ึกต่าง ๆ 2. อวัยวะภำยใน อวัยวะภายในเป็นอวยั วะทอี่ ยู่ใต้ผิวหนัง ซง่ึ เราไม่สามารถมองเห็น อวัยวะภายใน เหลา่ นมี้ ีมากมายและทางาน ประสานสมั พนั ธก์ ันเปน็ ระบบ

26 2.1 ปอด ปอดเป็นอวยั วะภายในอย่างหนง่ึ อยูใ่ นระบบหายใจ ปอดมี 2 ข้าง ตงั้ อยู่บรเิ วณทรวงอกทั้งทาง ดา้ นซ้ายและด้านขวา จากตน้ คอลงไปจนถงึ อก ปอดมลี ักษณะน่มิ และหยุน่ เหมือนฟองน้า ขยายใหญ่เทา่ กับซีโ่ ครง เวลาที่ขยายตัวเตม็ ท่ี มเี ย่อื บาง ๆ หมุ้ เรียกวา่ เยอ่ื หมุ้ ปอด ปอด ประกอบด้วยถงุ ลมเลก็ ๆ จานวนมากมาย เวลา หายใจเข้าถงุ ลมจะพองออกและเวลาหายใจออกถุงลมจะ แฟบ ถงุ ลมนีป้ ระสานติดกนั ดว้ ยเย่ือประสานละเอียดเต็มไป ดว้ ยเส้นเลอื ดฝอยมากมาย เลอื ดดาจะไหล ผา่ นเส้นเลอื ดฝอยเหลา่ น้นั แลว้ คายคารบ์ อนไดออกไซด์ออก และรับเอา ออกซิเจนจากอากาศทเี่ ราหายใจ เข้าไปในถงุ ลมไปใช้ในกระบวนการเคมใี นการสันดาปอาหารของร่างกาย กระบวนการทีเ่ ลือดคายคาร์บอนไดออกไซด์ และรบั ออกซเิ จนขณะท่อี ยู่ในปอดนี้ เรียกว่า การฟอกเลือด หนำ้ ท่ีของปอด ปอดจะทาหนา้ ทีส่ บู และระบายอากาศ ฟอกเลือดเสยี ให้เป็นเลอื ดดี การหายใจมีอยู่ 2 ระยะ คอื หายใจเข้าและหายใจออก หายใจเขา้ คอื การสูดอากาศเข้าไปในปอดหรือถุงลมปอด เกิดข้ึนดว้ ยการหด ตวั ของกลา้ มเนื้อกะบังลม ซึ่งก้นั อยู่ระหวา่ งชอ่ งอกกับช่องท้อง เมอื่ กล้ามเนอ้ื กะบงั ลมหดตวั จะทาให้ชอ่ งอกมีปรมิ าตร มากขนึ้ อากาศจะวิง่ เข้าไปในปอด เรียกว่าหายใจเข้า เมื่อหายใจเขา้ สุดแลว้ กล้ามเนื้อกะบังลมจะคลายตัวลง กลา้ มเนื้อท้องจะดันเอากลา้ มเน้ือกะบังลมขึน้ ทาให้ชอ่ งอกแคบลงอากาศจะถูกบบี ออกจากปอด เรยี กว่า หายใจออก ปกตผิ ใู้ หญห่ ายใจประมาณ 18 - 22 คร้งั ตอ่ นาที ผูท้ ี่มีอายุน้อยการหายใจจะเรว็ ขึ้นตามอายุ 2.2 หัวใจ เป็นอวยั วะท่ปี ระกอบด้วยกลา้ มเน้ือ ภายในเป็นโพรง รปู ร่างเหมือนดอกบัวตูม มขี นาดราวๆ กาปั้นของเจ้าของ รอบๆ หัวใจมเี ยือ่ บางๆ หมุ้ อยู่เรยี กวา่ เยอื่ ห้มุ หวั ใจ ซงึ่ มีอยู่ 2 ชน้ั ระหว่างเยือ่ หมุ้ ท้งั สองช้นั จะมี ช่อง ซงึ่ มนี า้ ใสสีเหลืองอ่อนหล่ออย่ตู ลอดเวลา เพอื่ มิใหเ้ ย่ือทงั้ สองชั้นเสียดสกี ัน และทาให้ หัวใจเตน้ ได้สะดวกไมแ่ หง้ ตดิ กบั เยอื่ หุ้มหวั ใจ หัวใจตง้ั อย่รู ะหวา่ งปอดท้งั สองขา้ ง แตค่ อ่ นไปทางซ้ายและอย่หู ลงั กระดูกซ่โี ครงกบั กระดูกอก โดย ปลายแหลม ชี้เฉยี งลงทางลา่ งและชีไ้ ปทางซ้าย ภายในหวั ใจจะมีโพรง ซึ่งภายในโพรงนจ้ี ะมผี นังกัน้ แยกออกเปน็ ห้องๆ รวม 4 หอ้ ง คอื ห้องบน 2 หอ้ ง และห้องลา่ ง 2 ห้อง สาหรับหอ้ งบนจะมขี นาดเลก็ กว่าห้องลา่ ง หนำ้ ทข่ี องหัวใจ หัวใจมีจงั หวะการบบี ตัว หรอื ที่เราเรยี กว่าการเต้นของหวั ใจ เพ่อื สบู ฉดี เลือดแดง ไปหล่อเลีย้ งรา่ งกายตาม สว่ นต่างๆ ของร่างกาย ขณะทีค่ ลายตวั หวั ใจห้องบนขวาจะรับเลือดดามาจาก ท่ัวร่างกาย และจะถูกบีบผา่ นลน้ิ ที่กนั้ อยู่ลงไปทางห้องลา่ งขวา ซ่งึ จะถกู ฉีดไปยังปอดเพ่ือคายคาร์บอนไดออกไซด์และรบั ออกซิเจนใหมก่ ลายเปน็ เลือดแดง ไหลกลับเข้ามายังหัวใจห้องบนซ้ายและถูกบบี ผา่ นล้ินท่ีก้นั อย่ไู ปทางหอ้ งลา่ งซ้าย จากนนั้ กจ็ ะถูกฉดี ออกไปเลี้ยงทั่ว ร่างกาย ถา้ เราใช้นิ้วแตะบรเิ วณเส้นเลือดใหญ่ เชน่ ข้อมือ หรือขอ้ พบั ต่าง ๆ เราจะร้สู กึ ไดถ้ ึงจังหวะการบีบตวั ของ หัวใจซึ่งเราเรยี กวา่ ชพี จร หัวใจเป็นอวยั วะที่สาคญั ที่สดุ เพราะเปน็ อวยั วะท่บี อกไดว้ ่าคนน้ันยังมีชีวติ อยู่ได้ หรือไม่ ถ้าหากหัวใจหยุดเตน้ ก็หมายถึงว่า คนคนนั้นเสียชวี ติ แล้ว การเต้นของหวั ใจนน้ั ในคนปกติหวั ใจจะเตน้ ประมาณ 70 - 80 ครั้งต่อนาที หวั ใจต้องทางานหนกั ตลอดชวี ิต ทงั้ เวลาหลับและต่นื เวลาทห่ี วั ใจจะได้พักผอ่ นบ้างก็ คอื ตอนที่เรานอนหลบั หวั ใจจะเต้นช้าลง เราจงึ ต้องระมดั ระวังรักษาหัวใจให้แขง็ แรงอยู่เสมอ โดยอย่าใหห้ ัวใจตอ้ ง ทางานหนักมากจนเกนิ ไป 2.3 กระเพำะอำหำร มรี ปู ร่างเหมอื นนา้ เต้า คลา้ ยกระเพาะหมู มคี วามจุประมาณ 1 ลติ ร อยู่ตอ่ หลอดอาหารและอยู่ ในช่องท้องค่อนไปทางดา้ นซ้าย หนำ้ ทีส่ ำคญั ของกระเพำะอำหำร คอื มีหนา้ ที่ในการย่อยอาหารทมี่ ขี นาดเล็กลง และละลายใหเ้ ปน็ สารอาหาร แลว้ สง่ อาหารทยี่ ่อยแล้วไปยังลาไส้เลก็ แล้วลาไส้เลก็ จะดูดซมึ ไปใชป้ ระโยชน์แกร่ า่ งกายต่อไป ส่วนทีไ่ ม่ เป็นประโยชน์ท่ีเรยี กว่ากากอาหารจะถูกส่งตอ่ ไปยังลาไส้ใหญ่ เพ่อื ขบั ถา่ ยออกจากร่างกายเปน็ อจุ จาระต่อไป สงิ่ ที่ชว่ ย ใหก้ ระเพาะย่อยอาหารก็คือ นา้ ยอ่ ยซึง่ มสี ภาพ เปน็ กรดน้ายอ่ ยในกระเพาะจะมีเป็นจานวนมากเม่ือถึงเวลา รบั ประทานอาหาร ถ้าไมร่ ับประทานอาหารให้ตรงเวลานา้ ย่อยจะกดั เนอ้ื เย่ือในบรเิ วณกระเพาะได้เชน่ กัน อาจจะทา ใหเ้ กิดเปน็ แผลในกระเพาะอาหารได้

27 2.4 ลำไส้เลก็ มีลักษณะเปน็ ท่อกลวงยาวประมาณ 6 เมตร ขดอย่ใู นชอ่ งท้องตอนบน ปลายบนเช่ือมกบั กระเพาะ อาหาร สว่ นปลายล่างตอ่ กบั ลาไส้ใหญ่ หนำ้ ทีส่ ำคญั ของลำไส้เลก็ คอื ย่อยอาหารต่อจากกระเพาะอาหาร จนอาหาร มีขนาดเล็กพอทจี่ ะดดู ซึมเข้าสู่ กระแสเลือด เพ่ือนาไปเล้ยี งส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกาย 2.5 ลำไส้ใหญ่ เป็นอวัยวะที่อยูใ่ นระบบทางเดินอาหาร ลาไส้ใหญข่ องคนมีความยาวประมาณ 1.5 เมตร เสน้ ผ่านศูนยก์ ลางประมาณ 6 เซนติเมตร แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คอื (1) กระเพาะลาไส้ใหญ่ เป็นลาไส้ใหญ่ส่วนแรก ตอ่ จากลาไสเ้ ลก็ ทาหน้าทร่ี ับกากอาหารจากลาไส้เลก็ (2) โคลอน (Colon) เปน็ ลาไสใ้ หญส่ ่วนท่ยี าวทีส่ ดุ ประกอบดว้ ยลาไส้ใหญ่ขวา ลาไส้ใหญ่กลาง และลาไส้ใหญ่ซา้ ย มหี นา้ ทดี่ ดู ซมึ นา้ และพวกวติ ามินบี12 ท่แี บคทเ่ี รียในลาไสใ้ หญส่ ร้างขน้ึ และขบั กาก อาหารเขา้ ส่ลู าไส้ใหญ่สว่ นตอ่ ไป (3) ไสต้ รง เมือ่ กากอาหารเข้าสูไ่ สต้ รงจะทาใหเ้ กดิ ความรู้สึกอยากถา่ ยขึน้ เพราะความดนั ในไส้ตรงเพ่มิ ข้ึนเป็นผลทาใหก้ ล้ามเนื้อหูรูดทที่ วารหนกั ด้านใน ซึ่งจะทาใหเ้ กิดการถา่ ยอุจจาระออก ทางทวารหนักต่อไป หนำ้ ท่ขี องลำไส้ใหญ่ (1) ช่วยย่อยอาหารเพียงเล็กน้อย (2) ถ่ายระบายกากอาหาร ออกจากร่างกาย (3) ดดู ซึมน้าและสารอิเลค็ โตรลยั ต์ เช่น โซเดียม และเกลอื แร่อื่น ๆ จากอาหาร ทีถ่ กู ย่อยแล้ว ทีเ่ หลืออยู่ในกากอาหาร รวมท้ังวติ ามนิ บางอย่างที่สรา้ งจากแบคทีเรยี ซึง่ อาศยั อยใู่ นลาไส้ใหญ่ ไดแ้ ก่ วิตามนิ บรี วม วิตามนิ เค ดว้ ยเหตุนี้ จึงเป็นช่องทางสาหรับใหน้ า้ อาหารและยาแก่ผูป้ ่วย ทางทวารหนกั ได้ (4) ทาหนา้ ทเ่ี ก็บอุจจาระไว้จนกวา่ จะถึงเวลาอนั สมควรทจี่ ะถ่ายออกนอกรา่ งกาย 1.5 ไต เป็นอวยั วะส่วนหนง่ึ ในระบบขบั ถ่าย จะขับถ่ายของเสยี จากร่างกายออกมา เปน็ นา้ ปัสสาวะ ไตของคนเรามี 2 ขา้ ง มีรปู รา่ งคล้ายเมลด็ ถั่วแดง ยาวประมาณ 12 เซนติเมตร อย่ตู ิดผนงั ช่องท้องด้านหลังตา่ กว่ากระดูกซโ่ี ครงเลก็ น้อย หน้ำทส่ี ำคัญของไต คอื กรองของเสยี ออกจากเลอื ดแดง แลว้ ขบั ของเสีย ออกนอกรา่ งกายในรปู ของปสั สาวะ

28 บันทึกหลังกำรสอน ความสาเรจ็ ในการจดั การเรียนการสอน ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ .................................................................................................................................. ....................................................... ปัญหา / อปุ สรรค ในการจดั การเรียนการสอน ........................................................... ............................................................................................................................. . ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................................. ............................................ ....................................................................................... .................................................................................................. แนวทางการแกป้ ญั หา ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ...................................................................................................................................................... ................................... ................................................................................................ ......................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ลงชือ่ .............................................ครผู ู้สอน (.................................................) คร.ู ........................................... วันที่..........เดอื น...........................พ.ศ. ........................ ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ลงชือ่ ผบู้ ังคบั บญั ชา (นางจีระภา วฒั นกสิการ) ผอู้ านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอโชคชยั

29 ใบงำนที่ 3 เรื่อง รำ่ งกำยของเรำ 1. จงอธบิ ายโครงสร้าง หนา้ ท่ี การทางานของอวยั วะภายนอก และภายในที่สาคัญของร่างกาย ............................................................................................................................. ............................................... .............................................................................................................................................................. .............. ..................................................................................................................... ....................................................... ............................................................................................................................. ............................................... ......................................................................................................................................................... ................... ................................................................................................................ ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................... ..................................................................................................................................................... ....................... ........................................................................................................... ................................................................. ............................................................................................................................. ............................................... ................................................................................................................................................ ............................ ....................................................................................................... ..................................................................... 2. อธิบายวธิ ีการดูแลรกั ษา ป้องกันความผิดปกติของอวยั วะสาคัญของรา่ งกาย ............................................................................................................................. ............................................... .................................................................................... ........................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................

30 กำรจัดกำรเรยี นรคู้ ร้งั ท่ี 4 (กรต.) กลุ่มสำระ ทักษะกำรดำเนินชีวิต รำยวชิ ำ สุขศกึ ษำ พลศึกษำ รหัส ทช 31002 จำนวน 2 หนว่ ยกติ ระดับ ประถมศกึ ษำ เรอื่ ง พัฒนำกำรทำงเพศของวยั รนุ่ กำรคมุ กำเนิดและโรคตดิ ต่อทำงเพศสมั พันธ์ จำนวน 4 ชว่ั โมง เวลำ............................ สอนวันที.่ .............เดอื น.......................พ.ศ. ................. ภำคเรยี นที.่ ................ปีกำรศกึ ษำ.................... มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ระดับ รู้ เขา้ ใจ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม เจตคตทิ ีด่ ี มีทักษะในการดูแลและสรา้ งเสริมการมพี ฤตกิ รรมสุขภาพทดี่ ี ปฏบิ ตั เิ ป็นกจิ นิสยั ตลอดจนป้องกันพฤติกรรมเส่ียงต่อสขุ ภาพและดารงชวี ติ ของตนเองและครอบครวั อยา่ งมีความสุข ตัวชีว้ ดั วิเคราะหต์ นเอง และวางแผนการดาเนนิ ชวี ติ ได้อย่างเหมาะสม สำระกำรเรียนรู้ การวางแผนชีวิตและครอบครัว การวางแผนชวี ิต การเลือกคู่ครอง การปรบั ตัวในชีวิตสมรส การตงั้ ครรภ์ การมบี ตุ ร และการเลีย้ งดบู ุตร คณุ ธรรม 1. เพ่ือพัฒนาตนเอง 2. เพอ่ื พัฒนาการทางาน 3. เพ่อื พฒั นาสงั คม กระบวนกำรจัดกำรเรยี นรู้ - มอบหมายแบบเรยี นและ ส่ือ ท่ีเกีย่ วข้องใหน้ ักศึกษาไปศึกษาดว้ ยตนเองและทาใบงาน - มอบหมายให้นักศึกษาทาสรปุ จากการที่ได้ศกึ ษาและจบั ใจความสาคัญของเรื่องจากใบความรู้ สอ่ื กำรเรยี นกำรสอน - แบบเรียน - ใบความรู้ - อินเตอรเ์ นต็ - ห้องสมุด - ใบงาน กำรวดั และประเมินผล ประเมนิ ความรู้ ความเข้าใจ ตรวจสอบ ช้นิ งาน/ผลงาน และ ประเมินการปฏบิ ตั ิจรงิ โดยวิธีการทดสอบ สังเกต สัมภาษณ์ ประเมนิ สภาพจริง

31 ควำมคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะของผบู้ ริหำรสถำนศึกษำ พจิ ารณาแล้ว.......................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... (นางจีระภา วฒั นกสิการ) ผ้อู านวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอโชคชยั

32 บันทกึ หลังกำรสอน ความสาเร็จในการจดั การเรียนการสอน ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ .................................................................................................................................. ....................................................... ปญั หา / อุปสรรค ในการจดั การเรียนการสอน ........................................................... ............................................................................................................................. . ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................................. ............................................ ....................................................................................... .................................................................................................. แนวทางการแกป้ ัญหา ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ................................................................................................................................. ........................................................ ลงช่อื .............................................ครูผ้สู อน (.................................................) คร.ู ........................................... วันที.่ .........เดอื น...........................พ.ศ. ........................ ข้อเสนอแนะของผู้บรหิ ารสถานศึกษา ....................................................................................................................................................................... .................. ................................................................................................................. ........................................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ลงช่ือ ผบู้ งั คบั บญั ชา (นางจีระภา วัฒนกสกิ าร) ผอู้ านวยการศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอโชคชัย

33 ใบควำมรู้ท่ี 4 เร่อื งท่ี 1 พฒั นำกำรทำงเพศของวยั ร่นุ วัยรนุ่ ชว่ งอายุระหว่าง 8 - 18 ปี เป็นวยั ท่รี ่างกายเปลย่ี นจากเด็กไปเป็นผ้ใู หญ่ เรียกว่า วยั รุ่นหรือ วัยเจริญพนั ธ์ุ มกี ารเปล่ยี นแปลงเกดิ ขึน้ หลายอย่างทงั้ ทางร่างกายและจติ ใจ โดยมีฮอร์โมน เปน็ ตวั กระตุ้นการที่จะ บอกให้แน่ชัดลงไปว่า เดก็ ชายและเด็กหญิงเข้าสู่วยั รุน่ เมื่อใดนนั้ เป็นเรือ่ งค่อนขา้ งยาก เพราะเด็กทัง้ สองเพศนอกจาก จะแตกเน้ือหนุ่มสาวไม่พร้อมกันแล้ว คนแตล่ ะคนในเพศเดียวกนั ก็ยังแตกเนือ้ หนุ่มสาวไม่พร้อมกันอีกด้วย แตพ่ อจะ กล่าวโดยท่ัวไปไดว้ ่า เด็กหญงิ จะเข้าสู่วยั รุ่นในอายุระหว่าง 13 – 15 ปี และเดก็ ชายจะเร่ิมเมอื่ อายุ 15 ปี โดยเด็กหญิง จะมอี ัตราการเจริญเตบิ โตทางด้านร่างกายในชว่ งนี้เรว็ กวา่ เด็กชายประมาณ 1 - 2 ปี แต่ทั้งนข้ี ้นึ อยู่กบั ลักษณะหรือ แบบแผนการเจรญิ เตบิ โตของแต่ละคน ฮอร์โมนเพศ หญิงและชายเมื่อเขา้ สู่ชว่ งวัยรนุ่ ต่อมไฮโปเตลามัส (Hypothalamus) ซึ่งเป็นต่อมเล็ก ๆ ใน สมอง เร่มิ ส่งสญั ญาณผา่ นต่อมใตส้ มองพิทูอิตารี (Pituitary gland หรอื Master gland) ซึง่ เป็นตอ่ มไรท้ ่อทีส่ าคญั ทสี่ ุดของร่างกาย เพราะมีหน้าทผ่ี ลิตฮอร์โมนท่แี ตกตา่ งกัน เพ่ือไปกระตุน้ และควบคุมการทางานของอวยั วะตา่ ง ๆ รวมถงึ อวัยวะท่ีเกย่ี วกบั เพศ คอื รังไขส่ าหรบั ผู้หญิงในการผลติ ฮอรโ์ มนเพศเอสโทรเจน (Estrogen) และลกู อณั ฑะ สาหรบั ผู้ชายผลติ ฮอร์โมนเพศเทสทอสเทอโรน (Testosterone)ฮอรโ์ มนเอสโทรเจน และฮอร์โมนเทสทอสเทอโรน ซง่ึ เปน็ ฮอร์โมนเพศน้ี ทาให้ร่างกายวัยร่นุ เจรญิ เตบิ โตอยา่ งรวดเร็ว มไี ขมนั และกลา้ มเนอ้ื เพ่มิ ขึ้น ตวั สูงขนึ้ มีขนขน้ึ บรเิ วณ อวยั วะเพศ รักแร้และส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกาย มกี ลน่ิ ตวั มสี ิว ผู้หญิงจะมีสะโพกผาย ตน้ ขา หน้าอกและก้นใหญข่ ้ึน และมีประจาเดือน ส่วนผ้ชู าย เสยี งจะแตกห้าว ฝนั เปยี ก และท้ังหญิงชายจะเรม่ิ มีความรู้สกึ ตอ้ งการทางเพศ หรอื มอี ารมณเ์ พศนอกจากการเปลย่ี นแปลงทางร่างกายแล้ว วยั รุ่นหญิงชายยังมกี ารเปล่ียนแปลงทางด้านจิตใจ อารมณ์และความรู้สึก โดยเรมิ่ มคี วามสนใจ หรอื ความรสู้ กึ พงึ พอใจเปน็ พเิ ศษต่อบางคนทอี่ าจเปน็ ท้ังเพศ เดียวกนั และตา่ งเพศวยั รนุ่ เป็นวยั ท่รี ่างกายมีความพร้อมในการผลติ เซลลเ์ พศเพื่อการสบื พันธ์ุ คนท่วั ไปจงึ ตัดสิน การเข้าสวู่ ยั ร่นุ โดยพจิ ารณาจากการมีประจาเดือนคร้ังแรก (เด็กหญงิ ราว 13 ปี) และการหล่ังนา้ อสจุ ิครัง้ แรก (เดก็ ชายอายปุ ระมาณ 11 ปี) แตป่ รากฏการณท์ ั้งสองไมค่ ่อยแน่นอนนกั เช่น การหลงั่ น้าอสุจิอาจเกดิ ช้ากว่าการ เปลยี่ นแปลงทางรา่ งกายด้านอืน่ ๆ สาหรับการมาของประจาเดือนครั้งแรกของเดก็ หญิงก็เชน่ กัน การสกุ ของไข่ (ไข่ตก) ในบางคนอาจไม่มคี วามสมั พันธ์กบั การมปี ระจาเดือนเสมอไป และการตกไข่ฟองแรก ๆ อาจไม่ทาให้เกดิ ประจาเดอื นก็ เปน็ ได้ รวมทงั้ การมีประจาเดือนคร้ังแรกอาจเกิดข้ึนก่อนหรือหลงั การเปลย่ี นแปลงของร่างกายสว่ นอน่ื ๆ เม่ือเข้าสู่ วยั ร่นุ แลว้ กำรมปี ระจำเดือนครง้ั แรก ขณะแรกคลอด รงั ไขข่ องเด็กหญงิ จะมีไข่ท่ียังไม่เจริญอยู่แลว้ หลายพันใบ เมอื่ นับจากช่วงวัยรนุ่ เปน็ ตน้ ไป ทุก ๆ 28 วนั จะมีไข่ 1 ใบท่ีเจรญิ เต็มทแี่ ลว้ หลุดออกมาเข้าสูท่ อ่ นาไข่ เรียกวา่ การตกไข่ขณะเดียวกนั เยอ่ื บุ โพรงมดลูกจะมีหลอดเลอื ดงอกมาหล่อเลยี้ งมากมาย เพือ่ เตรยี มรับไข่ที่ผสมกบั อสจุ หิ ากไมไ่ ด้รบั การผสม เยอ่ื บโุ พรง มดลูกจะลอกหลดุ ออกมาเป็นเศษเน้ือเย่อื และเลือดไหลออกมาทางช่องคลอด เรยี กวา่ ประจำเดอื น อายุของเด็กหญิง ท่ีประจาเดือนมาครั้งแรกย่อมแตกตา่ งกนั ส่วนมากจะมีอายุ 12 - 13 ปี แตบ่ างคนอาจเร่ิมตงั้ แต่อายุ 10 ปี บางคนก็ ล่าช้าไปถงึ 16 ปี ซ่ึงยังไม่นับวา่ เปน็ เรือ่ งผดิ ปกติ กำรฝนั เปียก การหล่ังนา้ อสจุ นิ น้ั จะเรม่ิ เกิดข้ึนในชว่ งอายุประมาณ 11 ปี แตก่ อ็ าจเกดิ ขึ้นเรว็ หรือชา้ กว่านดี้ งั ทก่ี ล่าวมาแล้วขา้ งต้น ขึ้นอยู่กับแต่ละคน การฝันเปยี กเป็นลกั ษณะทางธรรมชาติของเด็กผูช้ ายท่แี ตกเน้อื หนุ่ม เมอ่ื รา่ งกายผลติ นา้ อสุจแิ ละ เกบ็ สะสมไว้ เมอ่ื มีปริมาณมากเกนิ ไป ร่างกายจะขับออกมาตามกลไกธรรมชาติ มกั เกดิ ขึ้นในช่วงท่ีกาลงั ฝนั โดยอาจนกึ ถึงสิ่งท่กี ระตนุ้ อารมณ์ทางเพศ เมือ่ ตืน่ ขึน้ มาก็พบวา่ มีของเหลวเปยี กชื้นตรงเป้ากางเกงนอน หรอื เปื้อนบนท่นี อน จงึ เรียกวา่ “ฝันเปยี ก” หรอื อีกกรณกี ารเล่นต่อสู้กบั เพอ่ื นๆ อาจปลกุ เรา้ และกระตุ้นองคชาตได้

34 จะทาให้นา้ อสุจิเลด็ ลอดออกมาตามธรรมชาติที่เรียกวา่ “การหลั่งอย่างไมร่ ตู้ ัว” ทงั้ น้ี เด็กชายแต่ละคนอาจมคี วามถ่ีใน การฝนั เปียกแตกต่างกนั ตง้ั แตไ่ มเ่ คยฝนั เปียกเลยจนกระทั่งสัปดาหล์ ะหลาย ๆ คร้งั จึงไมค่ วรถือเรื่องนี้เป็นเร่ืองความ ผิดปกติทางเพศของวัยรุ่นชาย น้าอสุจิเปน็ ของเหลวสขี าวขุ่น ประกอบ ดว้ ยตวั อสจุ แิ ละสารคดั หลงั่ จากต่อมลกู หมาก และตอ่ มพักตัวอสจุ ิ ซ่งึ จะถูกขบั ออกมาพร้อมกันผ่านทางท่อนาอสุจิ ในนา้ อสจุ เิ พียงหยดเดียวจะมีสเปิร์มหรอื ตัวอสจุ ิประมาณ 1,500 ตวั ขณะท่ีผชู้ ายถึงจุดสดุ ยอด จะหลั่งน้าอสจุ ิออกมาประมาณ 1 ชอ้ นชา ซ่ึงมอี สจุ ิอยถู่ งึ 300 ลา้ นตวั และเช้ืออสจุ เิ พียงหน่งึ ตวั กส็ ามารถเข้าไปผสมกบั ไข่ไดเ้ มื่อมีเพศสัมพนั ธ์แบบสอดใส่วัยรุน่ ชายจะมอี สจุ ทิ ี่ สมบรู ณ์เมื่ออายุราว 13 - 14 ปี กำรจดั กำรอำรมณเ์ พศ หรือกำรชว่ ยตัวเอง วยั รุน่ หญงิ ชายต่างก็เริ่มมีความรู้สกึ หรืออารมณ์ทางเพศเพ่ิมมากขน้ึ ตามลาดับ (วยั รนุ่ เปน็ วยั ทีม่ ี ความรู้สึกทางเพศสงู สดุ ) การชว่ ยตัวเอง เปน็ วธิ กี ารจัดการเพือ่ ผ่อนคลายอารมณเ์ พศ ซ่ึงเปน็ เร่ืองปกติ ธรรมดาของทัง้ หญิงและชาย โดยการลบู คลาอวยั วะเพศของตนเองจนถึงจุดสดุ ยอด แตล่ ะคนอาจมี วิธีการแตกตา่ งกนั ไป กำรตัง้ ครรภ์ เกิดขน้ึ จากการมีเพศสมั พันธ์ระหว่างชายและหญงิ เมือ่ มีการหลั่งน้าอสุจใิ นชอ่ งคลอด ตวั อสจุ ิจะ ว่ายเข้าไปในมดลกู จนถึงท่อนาไข่ และพบไข่ของฝ่ายหญิงพอดี ก็จะเกิดการผสมระหว่างอสจุ ิกับไข่หรอื ทเ่ี รยี กวา่ “การปฏสิ นธิ” แตถ่ า้ ไมม่ ีไข่ อสจุ ิจะตายไปเองภายในเวลา 2 - 3 วัน

35 ใบงำนท่ี 4 เรอื่ ง กำรวำงแผนครอบครัว 1. จงอธิบายการวางแผนครอบครวั ท่ีดี ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ............................................... ......................................................................................................................................................................... ... ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ............................................... .................................................................................................................................................................... ........ ........................................................................................................................... ................................................. 2. จงอธบิ ายการวางแผนชวี ิต การเลอื กค่คู รองและการปรับตวั ในชีวิตสมรส ............................................................................................................................. ............................................... .................................................................................... ........................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................................................................

36 แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้คร้ังที่ 5 (กรต.) กลุ่มสำระทกั ษะกำรดำเนนิ ชวี ติ รำยวิชำ สุขศกึ ษำ พลศึกษำ รหสั ทช 11002 จำนวน 2 หน่วยกติ ระดับ ประถมศกึ ษำ เรื่อง พัฒนำกำรทำงเพศของวัยรนุ่ กำรคุมกำเนิดและโรคติดตอ่ ทำงเพศสัมพันธ์ จำนวน 4 ช่วั โมง เวลำ............................ สอนวนั ที.่ .............เดือน.......................พ.ศ. ................. ภำคเรยี นที.่ ................ปกี ำรศึกษำ.................... มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ระดับ รู้ เขา้ ใจ มีคุณธรรม จริยธรรม เจตคติท่ีดี มีทักษะในการดูแลและสรา้ งเสรมิ การมีพฤติกรรมสขุ ภาพที่ดี ปฏบิ ตั เิ ป็นกจิ นสิ ยั ตลอดจนป้องกนั พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพและดารงชีวิตของตนเองและครอบครวั อยา่ งมคี วามสุข ตวั ช้ีวัด บอกพัฒนาการทางเพศในแต่ละช่วงวยั สำระกำรเรยี นรู้ ปัญหาและสาเหตุความรนุ แรงในครอบครวั คณุ ธรรม 1. เพอื่ พฒั นาตนเอง 2. เพ่ือพฒั นาการทางาน 3. เพอื่ พฒั นาสงั คม กระบวนกำรจดั กำรเรยี นรู้ - มอบหมายให้นักศึกษาศึกษาปญั หาของตนเองและครอบครวั - มอบหมายให้นักศึกษาวางแผนการแกป้ ญั หาชวี ิต และครอบครวั ส่ือกำรเรยี นกำรสอน - หนังสอื แบบเรียน - หอ้ งสมดุ ประชาชน - อนิ เตอรเ์ นต็ กำรวดั และประเมินผล ประเมนิ ความรู้ ความเขา้ ใจ ตรวจสอบ ชนิ้ งาน/ผลงาน และ ประเมนิ การปฏิบัตจิ รงิ โดยวิธีการทดสอบ สังเกต สมั ภาษณ์ ประเมินสภาพจรงิ ควำมคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะของผบู้ รหิ ำรสถำนศกึ ษำ พิจารณาแลว้ .......................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................. (นางจรี ะภา วฒั นกสกิ าร) ผู้อานวยการศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอโชคชยั

37 บนั ทึกหลังกำรสอน ความสาเร็จในการจัดการเรียนการสอน ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ .................................................................................................................................. ....................................................... ปัญหา / อปุ สรรค ในการจัดการเรยี นการสอน ........................................................... ............................................................................................................................. . ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................................. ............................................ ....................................................................................... .................................................................................................. แนวทางการแก้ปญั หา ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ...................................................................................................................................................... ................................... ................................................................................................ ......................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ลงชอื่ .............................................ครูผ้สู อน (.................................................) ครู............................................ วันท่.ี .........เดือน...........................พ.ศ. ........................ ขอ้ เสนอแนะของผ้บู ริหารสถานศกึ ษา ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................................................ ............................. ...................................................................................................... ................................................................................... ลงชือ่ ผูบ้ ังคับบัญชา (นางจีระภา วฒั นกสกิ าร) ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอโชคชัย

38 ใบงำนที่ 5 เรื่องท่ี 4 วิธีกำรสร้ำงสมั พันธภำพทด่ี รี ะหวำ่ งคนในครอบครัว ครอบครัว หมายถึง กล่มุ คนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปมาเกี่ยวพันกนั และสบื สายเลอื ด ไดแ้ ก่ พ่อ แม่ ลูก และอาจมญี าติ หรือไม่ใชญ่ าติมาอาศยั อยดู่ ว้ ยกนั ซ่งึ ถือเป็นสมาชกิ ครอบครวั เช่นกัน มคี วามรกั มคี วาม ผูกพนั ซ่ึงกนั และกันครอบครัวมหี นา้ ท่หี ลอ่ หลอม ขดั เกลาสมาชิกในครอบครัว ใหเ้ ปน็ คนดี รรู้ ะเบยี บและกฎเกณฑ์ ของสังคม อีกทั้งยังสรา้ งความเปน็ ตัวตนของทุกคน เช่น ลกั ษณะนสิ ยั ความคิด ความเชอื่ ความสนใจ เป็นต้น กำรสรำ้ งสมั พันธภำพในครอบครวั ความขัดแย้งระหว่างพ่อแม่และลกู เปน็ เร่อื งท่ีเกิดข้นึ เสมอ เพราะความแตกตา่ งของวยั และ ประสบการณ์ ความหว่ งใยของพ่อแม่ท่ีปรากฏผา่ นการว่ากล่าว ตกั เตือน ห้ามปราม ให้ความร้สู ึกไม่ไวใ้ จ และกังวลเกนิ ความจาเป็นต่อลกู โดยเฉพาะลกู ท่ีอยใู่ นวยั รนุ่ เปลี่ยนพฤติกรรม เน่อื งจากพ่อแม่ใชป้ ระสบการณ์ของตน มาคาดเดาถึงผลท่ีอาจเกิดขน้ึ เมื่อเห็นการกระทาของลูก การตาหนจิ ึงมักมาพร้อมกบั ทา่ ทีข่นุ เคือง โมโห บ่น ทาให้ดู เหมือนว่าพ่อแมช่ อบใชอ้ ารมณ์ ไม่ใช้เหตุผล ไม่ค่อยยอมรับสงิ่ ท่ีเป็นอยู่ของลูกวยั รุ่นความต้องการของตัวเองเป็นทต่ี ้ัง ไมพ่ ยายามเขา้ ใจอกี ฝา่ ยหนงึ่ วา่ ตอ้ งการอะไร ย่อมทาใหเ้ กิดความขดั แย้งกนั การหาทางออกจงึ ต้องเริม่ จากตัวเองก่อน ในการเปิดใจมองหาความหมายทีอ่ ีกฝา่ ยพยายามส่ือสารผ่านการกระทาซึ่งเราอาจไม่ชอบใจ การเขา้ ใจความหมายท่ี แท้จรงิ จะชว่ ยให้เกิดการสื่อสารระหวา่ งกัน ไมต่ ดิ กับอารมณ์และท่าทีของกันและกนั o การกนิ ยาคุมกาเนดิ ชนิดเมด็ ยาคุมกาเนดิ แบบฉกุ เฉนิ การนบั วนั และการหลั่ง ขา้ งนอก ลว้ นเป็นวธิ คี ุมกำเนิดทไ่ี ม่สำมำรถป้องกันกำรติดเชอ้ื เอชไอวี และเชือ้ โรคตดิ ตอ่ ทำงเพศสัมพันธ์ o ถุงยางอนามัย เป็นวธิ เี ดียวท่ีช่วยป้องกันกำรต้ังครรภ์ ป้องกนั กำรตดิ เชอื้ เอชไอวี และเช้อื โรคตดิ ต่อทำงเพศสมั พนั ธ์ การเรยี นรถู้ งึ ความแตกต่างของวยั และประสบการณ์ของทั้งสองฝ่าย จะชว่ ยสรา้ งความเขา้ ใจ ลดข้อขดั แย้ง และสอ่ื สารกนั ไดม้ ากข้ึน ปัจจยั ท่ีช่วยสง่ เสริมให้มีสัมพันธภำพที่ดีต่อกัน ได้แก่ การชมเชยหรอื ช่นื ชมอยา่ งเหมาะสม การตเิ พื่อก่อ การแก้ไขความขดั แย้งในเชิงสร้างสรรค์ กำรชมเชยหรอื ชืน่ ชม คนส่วนใหญไ่ มว่ า่ จะอยู่ในครอบครวั หรืออย่ใู นสงั คมภายนอกครอบครัว มักจะไม่ค่อยช่ืนชม หรอื ชมเชยกัน พ่อแม่ส่วนใหญเ่ ช่อื วา่ ถ้าชมลกู บ่อยๆ เดก็ จะเหลงิ อาจกลายเป็นคนไม่ดีได้ ทาใหพ้ ่อแม่ ไมช่ มเมื่อลูกกระทาสิง่ ที่ดีหรือมพี ฤติกรรมในลักษณะที่เป็นสิ่งที่พ่อแมต่ ้องการ จึงทาใหเ้ ด็กขาดกาลงั ใจ ขาดนา้ หล่อเลย้ี งจิตใจ คนเราโดยทวั่ ไปต้องการคาชมเชย โดยการชมเชยทจี่ ะสรา้ งเสรมิ สมั พนั ธภาพให้ดีควรมีลักษณะ ดงั น้ี ชมพฤติกรรมทเ่ี พงิ่ เกิดขนึ้ ใหมๆ่ การชมควรเนน้ ที่พฤติกรรมทีท่ าไดด้ ี และชมทีละ 1 พฤตกิ รรม บอกความรสู้ กึ ของเราต่อพฤติกรรมนั้นอย่างจรงิ ใจ ชมเฉพาะสง่ิ ท่ีควรชม ไมช่ มมากเกนิ กวา่ ความเป็นจริง

39 ตวั อย่าง เชน่ ลกู บอกกบั แม่ว่า “วันน้ี แม่ทากับขา้ วอร่อยมาก ทาให้กนิ ไดม้ าก ลกู รสู้ กึ มคี วามสุข ภูมิใจทม่ี ีแม่ ทากบั ข้าวอร่อย” แมบ่ อกกบั ลูกว่า “วันน้ี แม่รสู้ กึ ภมู ิใจที่ลกู ช่วยลา้ งชามในตอนเยน็ ได้สะอาดเรียบร้อยดมี าก โดยทแ่ี ม่ไมต่ ้องเรยี กให้ทา” กำรตเิ พื่อก่อ คนส่วนใหญ่ ไม่ชอบฟังคาติ การตติ ิงทไ่ี มเ่ หมาะสม มักจะทาให้เกิดผลเสียหายตามมา เช่น เกิดการทะเลาะกนั ได้ แตก่ ารติในเชิงสร้างสรรคก์ ม็ ีประโยชน์ และสามารถเสริมสร้างสัมพนั ธภาพที่ดีได้ โดยมลี กั ษณะดังน้ี ต้องแน่ใจว่า เขาสนใจท่จี ะรับฟงั คาติ และพร้อมที่จะรับฟัง เรือ่ งทีจ่ ะติ ต้องเปน็ เรอ่ื งที่เพิง่ เกิดข้ึน ไมใ่ ชเ่ กดิ ขน้ึ เมื่อนานมาแล้ว สงิ่ ท่จี ะติ ต้องเป็นสง่ิ ทเี่ ปล่ียนแปลงได้ พูดถงึ พฤตกิ รรมท่ตี ใิ ห้ชัดเจน เป็นรปู ธรรม บอกทางแก้ไขไว้ด้วย เช่น ควรทาอย่างไรใหด้ ีขึ้น รกั ษาหนา้ ของผรู้ บั คาติเสมอ เช่น ไม่สมควรตติ อ่ หน้าคนอ่นื เลือกเวลาและจังหวะทเ่ี หมาะสม เชน่ ผรู้ บั คาตมิ ีอารมณ์สงบหรอื แจม่ ใส ไม่ติในชว่ งทม่ี ี อารมณโ์ กรธ ตัวอย่างเชน่ หากพ่อหรือแมต่ ้องการติลูกวยั รุน่ ในเรอ่ื งการคุยโทรศัพทน์ าน ควรเลือกเวลาทล่ี กู มี อารมณ์สงบ พรอ้ มทจ่ี ะรับฟัง และพูดติในเชิงสรา้ งสรรคว์ า่ “วันนล้ี ูกคยุ โทรศัพทก์ ับเพื่อนมานาน 2 ชวั่ โมงแลว้ แมค่ ิดว่าลูกควรหยดุ คุยโทรศัพท์ไดแ้ ลว้ และหันมาทาการบ้าน อ่านหนังสอื แลว้ เข้านอน จะดีกว่าไหม” กำรแกไ้ ขควำมขัดแยง้ ในเชิงสร้ำงสรรค์ หนทางในการแก้ไขปญั หา เมื่อเกดิ ความขดั แย้งในครอบครวั คือ การส่ือสารที่ดี ซึ่งต้องอาศยั ทักษะและความสามารถ ดังตอ่ ไปน้ี แสดงความปรารถนาอย่างแน่วแน่ทจ่ี ะรว่ มกนั รักษาความสัมพนั ธท์ ่ดี ีต่อกนั ไว้ มุง่ มั่นเชิงสร้างสรรค์ เปน็ ไปในทางการปรึกษากนั ใหค้ วามสาคัญ และตง้ั ใจฟงั ความคิดเห็นของอีกฝ่ายหนง่ึ แสดงความคิดเห็นของเราให้ชดั เจนและสอื่ สารให้อกี ฝ่ายหนึง่ ไดร้ ับทราบ ไมถ่ ือว่าการยอมรับความคดิ เหน็ ของผอู้ ่นื เป็นเรื่องแพ้หรือเป็นเร่อื งท่ีเสยี หาย ยอมรับฟังความคิดเห็นของกันและกัน หลกี เลี่ยงการใชอ้ ารมณ์ ขู่ คุกคาม ด้ือร้นั ชว่ ยกนั เลือกหาทางออกที่ยอมรับได้ทงั้ 2 ฝา่ ย ตัวอย่างการแก้ไขความขัดแย้งระหว่างคสู่ มรส คูส่ มรสท้งั 2 คนจะต้องเปิดใจรับฟงั กนั ก่อนโดยการพดู ทลี ะคน และรบั ฟังกนั โดยพดู ใหจ้ บ ประโยคหรือจบประเด็นทีละคน และรับฟังให้เข้าใจว่าอีกคนตัง้ ใจจะส่อื อะไรให้ทราบ ถา้ ฝ่ายหนง่ึ พูดแทรกในขณะท่ีอกี คนพูดไมจ่ บประเดน็ กจ็ ะทาให้ส่อื สารกันไม่ได้ ถา้ คนหน่ึงหรือทัง้ 2 คน โกรธ โมโห ข่มขู่ กจ็ ะยงิ่ ทาให้ไมส่ ามารถแก้ไขความขดั แยง้ ได้ ต้อง หลกี เลยี่ งการใชอ้ ารมณ์ พยายามพดู คุยกนั ดว้ ยอารมณ์ทส่ี งบ และต้ังใจฟงั ความคิดเห็นของ อกี ฝ่ายหน่งึ

40 ใบงำนที่ 5 เรื่อง วธิ กี ำรสรำ้ งสัมพนั ธภำพทด่ี ีระหวำ่ งคนในครอบครัว 1. จงอธบิ ายวธิ ีการสร้างสัมพันธภาพทีด่ ีระหว่างคนในครอบครัว ............................................................................................................................. ............................................................ ...................................................................................................................................................... ................................... ................................................................................................ ......................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ................................................................................................................................................................................. ........ ........................................................................................................................... .............................................................. ............................................................................................................................. ............................................................ ...................................................................................................................................... ................................................... ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ .................................................................................................................................................................. ....................... ............................................................................................................ ........................................................................... . ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ .................................................................................................................................................. ....................................... ............................................................................................ ............................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ .............................................................................................................................................................................. ........... ........................................................................................................................ ................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................ ................................................................................................................................ ........................................................ ......................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................................................... .......................... ......................................................................................................... ................................................................................

41 แผนกำรจดั กำรเรียนร้คู ร้งั ที่ 6 (กรต.) กลมุ่ สำระทักษะกำรดำเนินชวี ิต รำยวิชำ สขุ ศกึ ษำ พลศึกษำ รหัส ทช 11002 จำนวน 2 หน่วยกติ ระดบั ประถมศกึ ษำ เรือ่ ง พัฒนำกำรทำงเพศของวัยรุน่ กำรคุมกำเนิดและโรคตดิ ตอ่ ทำงเพศสมั พนั ธ์ จำนวน 4 ชั่วโมง เวลำ............................ สอนวันท.่ี .............เดอื น.......................พ.ศ. ................. ภำคเรียนท่.ี ................ปีกำรศกึ ษำ.................... มำตรฐำนกำรเรียนรู้ระดบั รู้ เข้าใจ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม เจตคตทิ ่ีดี มที ักษะในการดูแลและสรา้ งเสริมการมพี ฤติกรรมสุขภาพทดี่ ี ปฏิบัตเิ ปน็ กจิ นสิ ยั ตลอดจนป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงต่อสขุ ภาพและดารงชีวิตของตนเองและครอบครัวอย่างมีความสุข ตัวชี้วัด อธบิ ายวธิ ีการปอ้ งกนั โรคตดิ ต่อทางเพศสมั พนั ธ์ได้อยา่ งถูกต้อง สำระกำรเรยี นรู้ โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ คุณธรรม 1. เพอื่ พัฒนาตนเอง 2. เพอ่ื พฒั นาการทางาน 3. เพ่อื พัฒนาสังคม กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ - มอบหมายให้นักศึกษาสรุปวิธกี ารปอ้ งกันโรคติดต่อทางเพศสัมพนั ธ์และวธิ ีการป้องกัน สอ่ื กำรเรยี นกำรสอน - หนังสือแบบเรยี น - หอ้ งสมุดประชาชน - อินเตอรเ์ น็ต - ใบงาน กำรวัดและประเมนิ ผล ประเมินความรู้ ความเข้าใจ ตรวจสอบ ชิ้นงาน/ผลงาน และ ประเมนิ การปฏบิ ตั จิ ริง โดยวิธีการทดสอบ สงั เกต สมั ภาษณ์ ประเมนิ สภาพจริง ควำมคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผบู้ ริหำรสถำนศึกษำ พจิ ารณาแล้ว.......................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................. (นางจีระภา วัฒนกสกิ าร) ผอู้ านวยการศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอโชคชยั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook