Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2757308_Week2_แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้_ฯ_พ.ศ.2551-12159-16599237736861

2757308_Week2_แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้_ฯ_พ.ศ.2551-12159-16599237736861

Published by James Thanakrit, 2022-08-08 06:28:31

Description: 2757308_Week2_แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้_ฯ_พ.ศ.2551-12159-16599237736861

Search

Read the Text Version

กรอบการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรูตามหลักสตู รสถานศึกษา ๘ กลุมสาระการเรียนรู การอาน คดิ วเิ คราะห และเขียน คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค กิจกรรมพฒั นาผูเรยี น สมรรถนะสาํ คัญของผูเรียน แนวทางการวดั และประเมินผลการเรยี นรู การประเมนิ ผลการเรียนรตู าม การประเมิน การประเมนิ การประเมนิ กลุม สาระการเรียนรู การอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี น คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค กจิ กรรมพฒั นาผูเรยี น การประเมนิ ผลรายวชิ า/ ผา น ประเมิน ไมผา น ผาน ประเมิน ไมผาน ผา น ประเมนิ ไมผ า น ตวั ชว้ี ดั ดีเยย่ี ม ระหวางเรยี น ปลายป/ ดเี ยี่ยม ดี ปลายภาค ดี ผาน ผาน ประถมฯ มัธยมฯ - ระดับ - ระดบั ผลการเรยี น ผลการเรยี น ๘ ระดับ - ระดับ ประเมิน - เงื่อนไข คุณภาพ ผลการเรยี น (ร.มส) ตัดสนิ ผลการเรยี นและบนั ทกึ ผลการประเมนิ ในเอกสารทสี่ ถานศึกษากําหนด เลื่อนช้นั ผาน อนุมตั ิ ผลการเรียน ผา น ประถมศกึ ษา ไมผ าน มธั ยมศกึ ษา ซอมเสรมิ /พฒั นา ซ้ําชัน้ ซอ มเสริม/พฒั นา แกไ ขผลการประเมิน แกไขผลการประเมิน ผา น ไมผ าน ไมผา น ดลุ ยพนิ จิ เรียนซ้าํ รายวชิ า/เรียนซ้าํ ช้นั แผนภาพที่ ๓.๑ แสดงกรอบการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรตู ามหลกั สตู รสถานศกึ ษา 38 แนวปฏบิ ตั กิ ารวัดและประเมินผลการเรยี นรู ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p38 6/10/2558 9:21:37

h กรอบการวัดและประเมินผลการเรียนรูต ามหลักสูตรสถานศกึ ษา เม่ือสถานศึกษาจัดทําหลักสูตรท่ีสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และเหมาะสมกบั สภาพบรบิ ทของตนเองแลว ภารกจิ ตอ ไป คอื วางแผนการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู ใหส อดคลอ งกบั หลกั สตู ร เพอ่ื ใชเ ปน แนวทางในการดาํ เนนิ การวดั และประเมนิ ผลในระดบั ชนั้ เรยี นสาํ หรบั ผสู อน โดยในการประเมินความรแู ละทักษะตาง ๆ ตามกลมุ สาระการเรยี นรู ควรบูรณาการไปพรอม ๆ กบั การประเมนิ การอาน คดิ วเิ คราะห และเขยี น การประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค และการประเมินกิจกรรมพฒั นาผเู รยี น นอกจากน้ี สถานศึกษาตองตรวจสอบเพิ่มเติมเพ่ือใหม่ันใจวาการจัดการเรียนรูและการประเมินผล การเรียนรูที่ครูผูสอนดําเนินการน้ัน นําไปสูการพัฒนาสมรรถนะสําคัญของผูเรียน ๕ ประการ ตามที่หลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กาํ หนด ไดแก ความสามารถในการสอ่ื สาร ความสามารถ ในการคิด ความสามารถในการแกปญหา ความสามารถในการใชทักษะชีวิต และความสามารถในการ ใชเทคโนโลยี โดยสมรรถนะสําคัญทั้ง ๕ ประการน้ัน ควรเปนผลการประเมินองคประกอบทั้ง ๔ ดาน ไปพรอ ม ๆ กบั การประเมินคุณลักษณะอน่ื ๆ h แนวทางการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู สถานศึกษาตองดําเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา โดยมีแนวทาง การดําเนนิ การ ดังน้ี ๑. สถานศกึ ษาตองดําเนินการวดั และประเมินผลใหครบองคประกอบทง้ั ๔ ดาน ตามแนวทางและ วธิ กี ารของการวดั และประเมนิ ผลแตล ะองคป ระกอบ และกาํ หนดเอกสารบนั ทกึ ผลการประเมนิ ใหส อดคลอ งกบั แนวทางการวดั และประเมินผล ๒. ใหครูผูสอนนําผลการประเมินแตละองคประกอบบันทึกลงในเอกสารบันทึกผลการประเมิน ตามที่สถานศึกษากําหนดและนําเสนอผบู ริหารสถานศึกษา ๓. ผบู ริหารสถานศึกษาเปนผอู นุมัตผิ ลการประเมนิ ๔. ใหมีการรายงานความกาวหนาผลการพัฒนาองคประกอบทั้ง ๔ ดาน ใหผูปกครองทราบ เปนระยะ ๆ และรายงานสรปุ ผลการเรียนปลายป/ปลายภาค ๕. ผูบริหารสถานศึกษาตองกําหนดวิธีการและมอบหมายผูรับผิดชอบ ปรับปรุง พัฒนาผูเรียนท่ีได ผลการเรยี นซาํ้ รายวชิ าหรือซาํ้ ชั้น ๖. สถานศึกษากําหนดแนวทางในการกํากับ ติดตามการบันทึกผลการประเมินในเอกสารหลักฐาน การศกึ ษา ทัง้ แบบท่ีกระทรวงศกึ ษาธกิ ารกําหนด และแบบที่สถานศึกษากําหนด แนวทางการวดั และประเมินผลองคป ระกอบทั้ง ๔ ดาน มรี ายละเอียดดงั นี้ แนวปฏิบตั กิ ารวดั และประเมินผลการเรียนรู 39 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p39 6/10/2558 9:21:37

การประเมนิ ผลการเรยี นรูตามกลมุ สาระการเรียนรู การประเมินผลการเรียนรูตามกลุมสาระการเรียนรูทั้ง ๘ กลุมสาระ เปนการประเมินความรู ความสามารถ ทกั ษะ เจตคติ ทกั ษะการคดิ ทกี่ าํ หนดอยใู นตวั ชว้ี ดั ในหลกั สตู ร ซง่ึ จะนาํ ไปสกู ารสรปุ ผลการเรยี นรู ของผูเรียนตามมาตรฐานการเรียนรูตอไป ภารกิจของสถานศึกษาในการดําเนินการประเมินผลการเรียนรู ตามกลมุ สาระการเรียนรู มรี ายละเอยี ดดังน้ี ๑. กาํ หนดสดั สว นคะแนนระหวา งเรยี นกบั คะแนนปลายป/ ปลายภาค โดยใหค วามสาํ คญั ของคะแนน ระหวางเรยี นมากกวาคะแนนปลายป/ ปลายภาค เชน ๖๐ : ๔๐, ๗๐ : ๓๐, ๘๐ : ๒๐ เปน ตน ๒. กําหนดเกณฑการตัดสินผลการเรียน โดยพิจารณาความเหมาะสมตามระดับชั้นเรียน เชน ระดบั ประถมศกึ ษาอาจกาํ หนดเปน ระดบั ผลการเรยี น หรอื ระดบั คณุ ภาพการปฏบิ ตั ขิ องผเู รยี น เปน ระบบตวั เลข ระบบตัวอักษร ระบบรอยละ หรือระบบท่ีใชคําสําคัญสะทอนมาตรฐาน สําหรับระดับมัธยมศึกษากําหนดเปน ระดบั ผลการเรียน ๘ ระดบั และกําหนดเง่อื นไขตาง ๆ ของผลการเรียน เชน การประเมินทยี่ ังไมส มบรู ณ (ร) การไมมีสิทธิเขารับการสอบปลายภาค (มส) เปนตน นอกจากนี้ สถานศึกษาอาจกําหนดคุณลักษณะของ ความสําเร็จตามมาตรฐานการศกึ ษาแตล ะช้นั ปเปนระดบั คณุ ภาพเพิ่มอกี ก็ได ๓. กําหนดแนวปฏิบัติในการสอนซอมเสริมระหวางเรียน กรณีผูเรียนมีผลการประเมินตัวช้ีวัด/ มาตรฐานการเรียนรูไมผา นตามเกณฑท่ีสถานศกึ ษากาํ หนด ๔. กาํ หนดแนวปฏบิ ตั ใิ นการสอนซอ มเสรมิ การสอบแกต วั กรณผี เู รยี นมรี ะดบั ผลการเรยี น “๐” หรอื มีระดับคณุ ภาพต่ํากวาเกณฑ และแนวดาํ เนนิ การกรณผี ูเรยี นมผี ลการเรียนทม่ี ีเงือ่ นไข คือ “ร” หรือ “มส” ๕. กาํ หนดแนวปฏิบตั ใิ นการอนุมตั ิผลการเรยี น ๖. กาํ หนดแนวทางในการรายงานผลการประเมินตอผูเกีย่ วขอ ง การประเมนิ การอาน คิดวเิ คราะห และเขียน การอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี น ถอื เปน ความสามารถหลกั ทส่ี ําคัญซง่ึ จําเปน ตอ งปลกู ฝง และพฒั นา ใหเ กดิ ขน้ึ กบั ผเู รยี นดว ยกระบวนการจดั การศกึ ษาตามหลกั สตู รในทกุ กลมุ สาระการเรยี นรู ขณะเดยี วกนั กจ็ าํ เปน ตองตรวจสอบวา ความสามารถดังกลาวเกิดขึ้นแลวหรือยัง เนื่องจากการพัฒนาความสามารถดานการอาน คดิ วเิ คราะห และเขยี น ผเู รยี นจะไดร บั การพฒั นาตามลาํ ดบั อยา งตอ เนอื่ ง ในกระบวนการจดั การเรยี นรตู ามกลมุ สาระการเรียนรู หรือกจิ กรรมตาง ๆ กระบวนการตรวจสอบความกา วหนา ทเ่ี กิดขน้ึ ท้งั ความรูค วามเขาใจในการ ปฏบิ ตั ิ จะดําเนินการไปดว ยกนั ในกระบวนการ หลักการประเมินการอาน คดิ วิเคราะห และเขียน ๑. เปนการประเมินเพื่อการปรับปรุงพัฒนาผูเรียนและประเมินเพ่ือการตัดสินการเลื่อนชั้นและ จบการศึกษาระดับตาง ๆ ๒. ใชวิธีการประเมินท่ีหลากหลาย เพื่อใหผูเรียนมีโอกาสไดแสดงออกซ่ึงความสามารถดังกลาว อยางเต็มตามศกั ยภาพและทําใหผลการประเมินที่ไดมีความเช่อื ม่ัน 40 แนวปฏิบตั กิ ารวัดและประเมินผลการเรยี นรู ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p40 6/10/2558 9:21:37

๓. การกําหนดภาระงานใหผูเรียนไดปฏิบัติ ควรสอดคลองกับขอบเขตและประเด็นการประเมิน ทก่ี ําหนด ๔. ใชรปู แบบ วธิ กี ารประเมินและเกณฑการประเมนิ ทไี่ ดจ ากการมีสว นรว มของผูเ ก่ยี วของ ๕. การสรุปผลการประเมินเพื่อรายงาน เนนการรายงานคุณภาพของความสามารถในการอาน คดิ วิเคราะห และเขียน เปน ๔ ระดบั คือ ดเี ยี่ยม ดี ผา น และไมผา น แนวดําเนินการพฒั นาและประเมินการอา น คิดวเิ คราะห และเขียน สถานศกึ ษาควรดาํ เนินการพัฒนาและประเมนิ ความสามารถในการอา น คดิ วเิ คราะห และเขียนเปน กระบวนการอยา งชดั เจน สามารถตรวจสอบการดาํ เนนิ งานได การพฒั นาและประเมนิ ความสามารถในการอา น คดิ วเิ คราะห และเขียน สถานศึกษาอาจดาํ เนินการตามกระบวนการตอไปน้ี ๑. แตงต้ังคณะกรรมการการพัฒนาและประเมินความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขียน ของสถานศึกษา ซ่ึงอาจประกอบดวย ผูบริหารสถานศึกษา ผูแทนคณะกรรมการสถานศึกษา ผูแทนครูผูสอน ผูแทนผูปกครองนักเรียน และผูแทนนักเรียน เพ่ือกําหนดแนวทางในการพัฒนา ประเมิน ปรับปรุงแกไข และ ตัดสินผลการประเมินความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขียนรายป (ระดับประถมศึกษา) รายภาค (ระดับมธั ยมศกึ ษา) และจบการศกึ ษาแตละระดับ ๒. ศึกษานิยามหรือความหมายของความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขียน กําหนด ขอบเขตและตัวชี้วัดที่แสดงถึงความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขียนใหสอดคลองกับบริบทและ จดุ เนนของสถานศึกษาในแตละระดบั การศึกษา ๓. ผูมีสวนเกี่ยวของรวมกันศึกษาหลักการประเมิน และพิจารณากําหนดรูปแบบวิธีการพัฒนา และประเมนิ ความสามารถในการอาน คดิ วิเคราะห และเขยี นของสถานศึกษา ๔. กําหนดแนวทางการพัฒนาและประเมินความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขียน ใหสอดคลองกับขอบเขตและตวั ช้วี ดั ทก่ี าํ หนดในขอ ๒ และกาํ หนดระดับคุณภาพหรอื เกณฑในการประเมินเปน ๔ ระดับ คือ ดีเย่ียม ดี ผาน และไมผาน เพื่อใชในการตัดสินผลรายป (ระดับประถมศึกษา) รายภาค (ระดับมัธยมศกึ ษา) และจบการศกึ ษาแตล ะระดับ ๕. ดาํ เนนิ การพัฒนา ประเมนิ และปรับปรงุ แกไขความสามารถในการอา น คดิ วิเคราะห และเขียน ตามรปู แบบและวธิ กี ารท่กี ําหนดอยางตอเนอื่ ง ๖. สรุปและตัดสินผลการประเมิน บันทึกและรายงานผลการประเมินความสามารถในการอาน คดิ วเิ คราะห และเขยี น ตอ ผูเ กยี่ วขอ ง แนวดาํ เนนิ การดังกลา วขางตนสามารถแสดงดังแผนภมู ิท่ี ๓.๒ แนวปฏิบัตกิ ารวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู 41 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p41 6/10/2558 9:21:37

การประเมนิ การอา น คิดวิเคราะห และเขยี น แตง ต้งั คณะกรรมการการพัฒนาและประเมินความสามารถ ในการอา น คิดวิเคราะห และเขยี น ของสถานศกึ ษา ศกึ ษานยิ ามหรือความหมายของความสามารถในการอา น คิดวิเคราะห และเขียน กาํ หนดขอบเขตและตวั ชว้ี ดั แตละระดบั การศึกษา ผมู สี วนเกี่ยวของรว มกันศึกษาหลักการประเมิน และพจิ ารณากาํ หนด รปู แบบวธิ กี ารพฒั นาและประเมิน กาํ หนดแนวทางการพฒั นาและประเมินใหสอดคลองกบั ขอบเขต และตัวชว้ี ัด ดาํ เนินการพฒั นา ประเมนิ และปรบั ปรงุ แกไข ตามรูปแบบและวิธีการท่ีกาํ หนดอยางตอเนอ่ื ง สรปุ ผลการประเมิน ตัดสนิ ปรบั ปรุง ดีเยี่ยม ดี ผา น บนั ทึกผลการประเมิน รายงานผลการประเมินตอผูทเ่ี กี่ยวของ แผนภาพที่ ๓.๒ แสดงกระบวนการดําเนินการพฒั นาและประเมินความสามารถในการอาน คิดวเิ คราะห และเขยี น 42 แนวปฏบิ ตั ิการวดั และประเมินผลการเรยี นรู ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p42 6/10/2558 9:21:37

เพื่อใหเกิดความชัดเจนตอผูปฏิบัติในการประเมินความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และ เขียน จึงไดกําหนดความหมายและขอบเขตการประเมินเปนระดับชั้นประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน และ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ใหเ ปนกรอบในการประเมินเพ่อื ตดั สินการเลือ่ นช้ันและการจบการศึกษาแตล ะระดับ ความหมาย การประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียน เปนการประเมินศักยภาพของผูเรียนในการอาน จากหนังสอื ตาํ ราเรียน เอกสาร และสือ่ ตา ง ๆ เพ่อื หาและ/หรือเพิ่มพนู ความรู ประสบการณ ความสนุ ทรยี  และ ประยกุ ตใช แลวนําเนือ้ หาสาระที่อา นมาคิดวิเคราะห นาํ ไปสกู ารแสดงความคดิ เห็น การสังเคราะห สรา งสรรค การแกป ญ หาในเรอื่ งตาง ๆ และถา ยทอดความคดิ นั้นดวยการเขยี นทม่ี ีสํานวนภาษาถูกตอง มเี หตผุ ลและลาํ ดับ ขนั้ ตอนในการนาํ เสนอ สามารถสรา งความเขา ใจแกผ อู า นไดอ ยา งชดั เจนตามระดบั ความสามารถในแตล ะระดบั ชน้ั ขอบเขตการประเมินและตัวช้ีวดั ทแี่ สดงถงึ ความสามารถในการอา น คดิ วเิ คราะห และเขียน ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๑ - ๓ ขอบเขตการประเมิน การอานจากสื่อสิ่งพิมพ และ/หรือสื่อประเภทตาง ๆ ท่ีใหความเพลิดเพลิน ความรู ประสบการณ และมปี ระเดน็ ใหค ดิ และเขยี นบรรยาย ถา ยทอดประเดน็ ทค่ี ดิ ดว ยภาษาทถี่ กู ตอ งเหมาะสม เชน อา นสาระความรู ท่ีนาํ เสนออยา งสนใจ นิยาย เรอื่ งส้ัน นทิ าน นยิ ายปรมั ปรา ตัวชว้ี ัดความสามารถในการอาน คิดวเิ คราะห และเขียน ๑. สามารถอานและหาประสบการณจ ากสื่อที่หลากหลาย ๒. สามารถจบั ประเด็นสาํ คัญ ขอ เท็จจรงิ ความคิดเห็นเรื่องทอี่ าน ๓. สามารถเปรียบเทยี บแงมมุ ตา ง ๆ เชน ขอดี ขอ เสีย ประโยชน โทษ ความเหมาะสม ไมเ หมาะสม ๔. สามารถแสดงความคดิ เหน็ ตอ เรื่องท่ีอาน โดยมเี หตุผลประกอบ ๕. สามารถถายทอดความคดิ เหน็ ความรสู ึกจากเร่ืองท่อี านโดยการเขียน ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ ๔ - ๖ ขอบเขตการประเมิน การอานจากส่ือสิ่งพิมพ และ/หรือส่ือประเภทตาง ๆ ท่ีใหขอมูลสารสนเทศ ความรู ประสบการณ ที่เอ้ือใหผูอานนําไปคิดวิเคราะห แสดงความคิดเห็น ตัดสินใจ แกปญหา และถายทอดโดยการเขียนเปน ความเรยี งเชงิ สรา งสรรคด ว ยถอ ยคาํ ภาษาทถี่ กู ตอ ง ชดั เจน เชน อา นหนงั สอื พมิ พ วารสาร หนงั สอื เรยี น บทความ สุนทรพจน คาํ แนะนํา คาํ เตือน ตัวชี้วัดความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขียน ๑. สามารถอา นเพอ่ื หาขอ มูลสารสนเทศเสริมประสบการณจ ากสอ่ื ประเภทตาง ๆ ๒. สามารถจับประเดน็ สําคญั เปรียบเทยี บ เชอื่ มโยงความเปนเหตเุ ปนผลจากเร่อื งท่ีอาน แนวปฏิบัติการวดั และประเมินผลการเรยี นรู 43 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p43 6/10/2558 9:21:38

๓. สามารถเชื่อมโยงความสัมพนั ธของเรอ่ื งราว เหตกุ ารณข องเรอื่ งทีอ่ า น ๔. สามารถแสดงความคิดเหน็ ตอเรื่องท่ีอานโดยมีเหตุผลสนบั สนนุ ๕. สามารถถา ยทอดความเขา ใจ ความคิดเห็น คุณคา จากเร่ืองท่ีอานโดยการเขยี น ช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี ๑ - ๓ ขอบเขตการประเมนิ การอานจากส่ือสิ่งพิมพและส่ืออิเล็กทรอนิกสท่ีใหขอมูลสารสนเทศ ขอคิด ความรูเกี่ยวกับสังคม และสิ่งแวดลอมที่เอ้ือใหผูอานนําไปคิดวิเคราะห วิจารณ สรุปแนวคิด คุณคาท่ีได นําไปประยุกตใช ดวยวิจารณญาณ และถายทอดเปนขอเขียนเชิงสรางสรรคหรือรายงานดวยภาษาที่ถูกตอง เหมาะสม เชน อานหนังสือพมิ พ วารสาร หนังสือเรยี น บทความ สุนทรพจน คาํ แนะนาํ คําเตอื น แผนภมู ิ ตาราง แผนที่ ตวั ช้วี ัดความสามารถในการอา น คดิ วิเคราะห และเขียน ๑. สามารถคัดสรรส่ือที่ตองการอานเพื่อหาขอมูลสารสนเทศไดตามวัตถุประสงค สามารถสราง ความเขาใจและประยกุ ตใ ชความรจู ากการอาน ๒. สามารถจับประเด็นสําคัญและประเด็นสนบั สนนุ โตแ ยง ๓. สามารถวิเคราะห วิจารณ ความสมเหตุสมผล ความนาเช่ือถือ ลําดับความและความเปนไปได ของเรอื่ งที่อา น ๔. สามารถสรปุ คณุ คา แนวคิด แงคิดทไี่ ดจ ากการอา น ๕. สามารถสรปุ อภปิ ราย ขยายความ แสดงความคดิ เห็น โตแ ยง สนบั สนุน โนม นาว โดยการเขยี น สอื่ สารในรปู แบบตา ง ๆ เชน ผังความคิด เปนตน ช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี ๔ - ๖ ขอบเขตการประเมิน การอานจากส่ือส่ิงพิมพและส่ืออิเล็กทรอนิกสท่ีใหขอมูลสารสนเทศ ความรู ประสบการณ แนวคิด ทฤษฎี รวมท้ังความงดงามทางภาษาท่ีเอื้อใหผูอานวิเคราะห วิพากษวิจารณ แสดงความคิดเห็น โตแยง หรือสนับสนุน ทํานาย คาดการณ ตลอดจนประยุกตใชในการตัดสินใจ แกปญหา และถายทอดเปนขอเขียน เชิงสรา งสรรค รายงาน บทความทางวชิ าการอยางถูกตอ งตามหลักวชิ า เชน อานบทความวชิ าการ วรรณกรรม ประเภทตา ง ๆ ตวั ช้ีวดั ความสามารถในการอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี น ๑. สามารถอา นเพื่อการศึกษาคน ควา เพมิ่ พนู ความรู ประสบการณ และการประยกุ ตใ ชในชีวิตประจําวนั ๒. สามารถจับประเด็นสาํ คัญ ลําดับเหตุการณจ ากการอา นส่อื ทมี่ คี วามซบั ซอ น ๓. สามารถวิเคราะหสิ่งที่ผูเขียนตองการสื่อสารกับผูอาน และสามารถวิพากษ ใหขอเสนอแนะ ในแงม ุมตา ง ๆ 44 แนวปฏิบัติการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p44 6/10/2558 9:21:38

๔. สามารถประเมนิ ความนา เช่ือถือ คุณคา แนวคิดที่ไดจ ากสง่ิ ทอี่ า นอยา งหลากหลาย ๕. สามารถเขียนแสดงความคิดเห็น โตแยง สรุป โดยมีขอมูลอธิบายสนับสนุนอยางเพียงพอ และสมเหตุสมผล รปู แบบการประเมนิ ความสามารถในการอา น คดิ วิเคราะห และเขียน การประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียน เปนเง่ือนไขสําคัญประการหน่ึงที่ผูเรียนทุกคนจะตอง ไดรับการประเมินใหผานตามเกณฑที่สถานศึกษากําหนด จึงจะไดรับการตัดสินใหผานการเลื่อนช้ันและผาน การศกึ ษาแตล ะระดับการศกึ ษา ถือเปนมาตรการสําคัญอยา งหนง่ึ ในการพฒั นาและยกระดบั คุณภาพการศึกษา ซึง่ จะชวยผเู รียนทกุ คนใหไ ดรบั การฝก ฝนใหมีความสามารถในการอาน คิดวเิ คราะห และเขียน โดยสถานศกึ ษา อาจเลือกรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง หรือหลายรูปแบบในการประเมินไปใชใหเหมาะสมกับสภาพและบริบทของ สถานศกึ ษา ดงั น้ี รูปแบบที่ ๑ การบูรณาการตัวชี้วัดของการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียน รวมกับ การประเมินผล ๘ กลมุ สาระการเรียนรู สาํ รวจตรวจสอบวาตัวช้วี ัดของการประเมนิ ความสามารถในการอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี นมอี ยใู น หนวยการเรียนรูของแตละรายวิชาใดบาง หากยังไมมีหรือมีเล็กนอย ใหนําเขาไปบูรณาการในหนวยการเรียนรู หรอื แผนการจัดการเรียนรูของรายวิชานั้น เมอื่ นําหนว ยการเรยี นรไู ปจดั กิจกรรมการเรยี นรู ผลการประเมินการเรียนรู ของผเู รยี นทเ่ี ปน ผลงานในรายวชิ านน้ั นบั เปน ผลการประเมนิ ความสามารถในการอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี นดว ย หากมีการวางแผนกําหนดหนวยการเรียนรูของแตละรายวิชาในแตละป (ระดับประถมศึกษา) แตละภาคเรียน (ระดับมัธยมศึกษา) ใหมีการกระจายตัวช้ีวัดลงทุกรายวิชา ในสัดสวนที่เพียงพอและมีผลงานปรากฏชัดเจน เปน ตวั แทนความสามารถในการประเมนิ การอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี นไดต ามเกณฑก ารประเมนิ ทสี่ ถานศกึ ษา กําหนด แลว นําผลการประเมินท้งั ๘ กลมุ สาระการเรียนรไู ปสรุปในภาพรวม เปนผลการประเมนิ ความสามารถ ในการอาน คดิ วิเคราะห และเขียนรายป/ รายภาค โดยอาศยั คา สถิตทิ ่ีเหมาะสม เชน ฐานนยิ ม (Mode) หรือ คาเฉลี่ย (Mean) รูปแบบนี้มีความเหมาะสมกับสถานศึกษาที่มีความพรอมปานกลาง มีครูที่ครบชั้นเรียนและ มคี รูพเิ ศษบา ง รูปแบบที่ ๒ การใชเคร่ืองมือหรือแบบทดสอบประเมินความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขียน สถานศึกษาสามารถที่จะสรางและพัฒนาแบบทดสอบตามตัวชี้วัดการประเมินความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขียนได โดยใชกระบวนการสรางและพัฒนาแบบทดสอบที่มีประสิทธิภาพ ซ่ึงตองมั่นใจ ในความเท่ียงตรง (Validity) ความยุติธรรม (Fair) และความเช่ือถือได (Reliability) ของแบบทดสอบ นน้ั ๆ ทจ่ี ะนาํ มาประเมนิ กบั ผเู รยี นทกุ คน หรอื ตดิ ตอ ขอใชบ รกิ ารแบบทดสอบมาตรฐานจากหนว ยงานทใี่ หบ รกิ าร แบบทดสอบมาตรฐานเพื่อประเมินความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขียน เชน สํานักทดสอบ ทางการศกึ ษา สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน รปู แบบนเี้ หมาะสาํ หรบั โรงเรยี นทมี่ คี วามพรอ มมาก มขี นาดใหญห รือขนาดใหญพเิ ศษ แนวปฏิบัติการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู 45 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p45 6/10/2558 9:21:38

รูปแบบที่ ๓ การกาํ หนดโครงการ/กิจกรรมสงเสรมิ ความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และ เขียน ใหผูเรยี นปฏบิ ัตโิ ดยเฉพาะ ศึกษาตัวชี้วัด ขอบเขต เกณฑและแนวการใหคะแนน (Rubric) ของการประเมินความสามารถ ในการอาน คิดวิเคราะห และเขียน แลวจัดทําโครงการ/กิจกรรมใหผูเรียนปฏิบัติเปนกลุมหรือเปนรายบุคคล หรอื การมอบหมายใหผ เู รยี นไปศกึ ษาคน ควา แลว เขยี นเปน รายงานเกยี่ วกบั การอา น การคดิ วเิ คราะห และการเขยี น หรอื รวบรวมและนาํ เสนอในรปู ของแฟม สะสมงาน เพอื่ ประเมนิ ศักยภาพของผูเรียนในการอา นหนังสอื เอกสาร และส่ือตาง ๆ ไดอ ยางถกู ตอ ง คลอ งแคลว แลว นํามาคิดสรปุ เปนความรคู วามเขาใจ สามารถคิดวเิ คราะหเนือ้ หา สาระของเรอ่ื งทอ่ี า น นาํ ไปสกู ารสงั เคราะห สรา งสรรค และแสดงความคดิ เหน็ ในเรอ่ื งตา ง ๆ และถา ยทอดความคดิ เหลานั้นดวยการเขียนสื่อความท่ีสะทอนถึงสติปญญา ความรูความเขาใจ ความสามารถในการคิดวิเคราะห สังเคราะห แกปญหา และสรางสรรคจินตนาการอยางเหมาะสมและมีคุณคา เชน โครงการรักการอาน รักการเขยี น เปน ตน รูปแบบนเี้ หมาะสาํ หรับโรงเรียนท่ีมคี วามพรอมมาก มขี นาดใหญห รือขนาดใหญพเิ ศษ รปู แบบท่ี ๔ การบรู ณาการตวั ชว้ี ดั การประเมนิ ความสามารถในการอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี น รว มกบั การประเมินกจิ กรรมพฒั นาผเู รียน ศึกษาตัวช้ีวัด ขอบเขต เกณฑและแนวทางการใหคะแนน (Rubric) ของการประเมินความสามารถ ในการอาน คิดวิเคราะห และเขียน แลวบูรณาการเขากับแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน นําแผนการจัด กิจกรรมไปสูการปฏิบัติ และประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรมตามภาระงานที่ไดเรียนรู ผลงานที่เก่ียวของกับ การประเมินความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขียนตามกิจกรรม นับเปนการประเมินท่ีนําขอมูล มาตดั สนิ ผลการประเมนิ การอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี นได โดยนาํ ไปเทยี บกบั เกณฑแ ละแนวทางการใหค ะแนน (Rubric) ตามท่ีสถานศึกษากําหนด รูปแบบนี้มีความเหมาะสมกับโรงเรียนท่ีมีความพรอมปานกลาง มีครูที่ ครบชัน้ เรยี นและมีครูพเิ ศษบา ง ครคู นหนึ่งอาจรับผิดชอบทง้ั งานสอนและงานพเิ ศษ วิธีการประเมินการอา น คิดวเิ คราะห และเขียน วธิ กี ารประเมินความสามารถในการอาน คดิ วิเคราะห และเขียน ควรจดั ในระหวางการเรยี นการสอน ในหองเรียนตามปกติเปนดีที่สุด ไมควรแยกมาจัดสอบเหมือนการสอบปลายภาคหรือปลายปของการจบ การศึกษาภาคบงั คบั และการจบการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ยกเวนถาสถานศกึ ษาไดพฒั นาแบบทดสอบหลาย ๆ ชุด นํามาใชประเมินเพื่อตรวจสอบพัฒนาการของผูเรียนในการอาน คิดวิเคราะห และเขียน ในระหวางการเรียน การสอน แลวนํามาสรุปผลเปนระยะ ๆ สําหรับรายงานผลความกาวหนาเมื่อเทียบกับเกณฑการประเมินที่ สถานศึกษากําหนดไว ทั้งนี้ กอนท่ีจะทําการประเมินผลสิ่งใด ผูที่ประเมินควรทําความเขาใจสิ่งท่ีจะประเมิน ใหช ัดเจนครอบคลุมประเดน็ ตอไปนี้ ๑. อะไรคือสิง่ ทจ่ี ะทาํ การประเมิน ผูป ระเมินตองศึกษาความหมาย ขอบเขต และตัวชี้วดั ของความสามารถในการอา น คิดวิเคราะห และเขียน ใหเขาใจวาเราตองการใหผูเรียนคิดในส่ิงท่ีอาน อานโดยใชกระบวนการคิดท่ีมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ 46 แนวปฏบิ ตั กิ ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p46 6/10/2558 9:21:38

ควรคํานึงถึงการประเมินผลใหเปนการประเมินลักษณะองครวม โดยประเมินผลงานท่ีเปนการเขียนตามเกณฑ ทคี่ รอบคลมุ ความสามารถในการอา น ความสามารถในการคดิ วิเคราะห และความสามารถในการเขยี นทอ่ี ธบิ าย ระดับคุณภาพท่ียอมรับไดไวกอน และควรแจงใหพอแม ผูปกครองและคณะกรรมการสถานศึกษาไดทราบ ลว งหนากอ นจดั การเรยี นการสอน ๒. อะไรคอื เปา หมายของการประเมนิ การอาน คดิ วิเคราะห และเขยี น กอ นจะเลอื กวธิ ีการหรอื เครือ่ งมือประเมินผลที่เหมาะสม การกําหนดเปา หมายของการประเมนิ ความสามารถในการอา น คิดวเิ คราะห และเขียน เปน สิง่ ท่ีตอ งตดั สนิ ใจเปนอนั ดบั แรก มีเปาหมายเพ่ือนาํ ผลการ ประเมินไปใชในการตัดสินการเลื่อนช้ัน การตัดสินการจบการศึกษาภาคบังคับและการจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน รวมท้ังเพื่อนําขอมูลที่ไดจากผลการประเมินไปใชวางแผน ปรับปรุง พัฒนาความสามารถผูเรียนไปสู เกณฑท ี่สถานศกึ ษากาํ หนด ๓. ขอบเขตและตัวช้ีวัดอะไรบางที่จะทาํ การประเมิน การเตรียมการประเมินความกาวหนาของผูเรียนเก่ียวกับความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขยี น ครคู วรพจิ ารณาถงึ ความสามารถผเู รยี นในแตล ะระดบั การศกึ ษาจะสามารถทาํ ได ผลงานจากการเขยี น สอ่ื สารความรู ความคดิ ความรสู กึ เจตคติ แลว ยงั เปน หลกั ฐานทแ่ี สดงออกถึงความสามารถในการคิดวเิ คราะห อกี ดวย และถา หากผลงานเขียนชนิ้ เดียวนั้นมาจากการคดิ ในสงิ่ ท่อี าน กเ็ ปนหลักฐานทีใ่ ชประเมนิ ไดท้ังการอาน คิดวิเคราะห และเขยี น ดงั น้นั ครูตองศกึ ษาขอบเขตและตัวช้วี ดั การประเมนิ กอนจงึ จะชว ยใหเ ลือกวิธีการที่จะ ใชใ นการประเมนิ การอา น คดิ วเิ คราะห และเขียนไดอยา งเหมาะสม ๔. ผลของการประเมนิ จะรายงานอยา งไร การรายงานผลการประเมินเปนส่ิงสําคัญ ครูจะตองดําเนินการอยางรวดเร็วและเชื่อถือได มีความถูกตองครบถวน การรายงานผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียน ข้ึนอยูกับการออกแบบ การจัดการเรียนรู การวางแผนรวมกันของผูบริหาร ครู และคณะกรรมการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียน จะจัดใหมีการรายงานกี่คร้ัง ท้ังนี้ ควรจัดใหมีการรายงานผลการประเมินระหวางพัฒนาการและ ผลการประเมินสรุป แบบรายงานผลการประเมินควรออกแบบอยางงายตอการสื่อความหมายและทําใหเห็น รองรอยของพัฒนาการ ไมควรเปรียบเทียบกับผูเรียนคนอ่ืน และเปนการรายงานที่รวดเร็ว ใหความยุติธรรม แกผเู รยี น เทีย่ งตรงและเชอื่ ถือได ๕. วธิ ีการประเมนิ การอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี น ทาํ ไดอยางไร สถานศึกษาแตงต้ังคณะกรรมการประเมินความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขียน ตามแนวทางการพัฒนาการอาน คิดวิเคราะห และเขียน แลวรวมกันกําหนดรูปแบบการประเมินที่เหมาะสม กบั สภาพความพรอ มและบรบิ ทของโรงเรยี นทสี่ ามารถดาํ เนนิ การประเมนิ ความสามารถในการอา น คดิ วเิ คราะห และเขียนไดอยางมีประสิทธิภาพ สวนมากสถานศึกษามักจะบูรณาการรวมกับกลุมสาระการเรียนรูทั้ง ๘ กลุม สาระการเรยี นรู หรือใชห ลาย ๆ รปู แบบ เชน การมอบหมายงานใหผูเรยี นปฏบิ ัติ จัดทาํ เปนโครงการ/กิจกรรม การบูรณาการเขากับกิจกรรมพัฒนาผูเรียน และการใชแบบทดสอบมาตรฐานทดสอบผูเรียนทุกคน ทั้งนี้ ควรเลือกใหเ หมาะสมกับสถานศกึ ษา และไมควรเพิ่มภาระงานและเวลาของครูมากนัก แนวปฏบิ ตั กิ ารวดั และประเมินผลการเรียนรู 47 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p47 6/10/2558 9:21:38

๖. จะประเมนิ ความสามารถในการอาน คดิ วิเคราะห และเขียนไดท่ีไหน และเวลาใด การประเมนิ การอาน คิดวเิ คราะห และเขียน ควรประเมนิ ในหองเรยี นตามปกตเิ ปน ดที ่สี ดุ หรือ ใชเวลานอกหองเรียนจากการมอบหมายใหผูเรียนทํางานกลุมที่สะทอนความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขยี นเปน พเิ ศษ จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนและการประเมนิ เปน ครง้ั ๆ แลว นาํ ผลมาสรปุ รวม โดยควรแบง ระยะเวลาสรุปเปนชวง ๆ ทั้งนี้ คณะกรรมการประเมินควรรวมกันพิจารณาเพ่ือมุงพัฒนาผูเรียนใหไปสูตัวชี้วัด ความสามารถในการอา น คดิ วเิ คราะห และเขียน เกณฑการตดั สินคุณภาพการอาน คดิ วเิ คราะห และเขียน การประเมนิ ความสามารถในการอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี นของผเู รยี นเพอ่ื เลอื่ นชนั้ และจบการศกึ ษา แตล ะระดบั การศกึ ษา ตามเกณฑท หี่ ลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และสถานศกึ ษา กาํ หนด การตัดสนิ ผลการประเมินเพื่อเลอ่ื นช้ันใชผลการประเมนิ ปลายป สวนการตดั สินการจบระดับการศกึ ษา ใชผลการประเมนิ ปลายปสดุ ทายของระดบั การศึกษา การประเมินความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขียน กําหนดเกณฑการตัดสินคุณภาพ การอาน คิดวเิ คราะห และเขียนเปน ๔ ระดบั คอื ดีเยย่ี ม ดี ผา น และไมผ า น ดเี ย่ยี ม หมายถึง มผี ลงานที่แสดงถงึ ความสามารถในการอาน คิดวเิ คราะห และเขียนทม่ี คี ณุ ภาพ ดีเลิศอยูเสมอ ดี หมายถึง มผี ลงานทแ่ี สดงถึงความสามารถในการอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี นทมี่ คี ุณภาพ เปน ทย่ี อมรับ ผาน หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขียนที่มี ขอ บกพรองบางประการ ไมผาน หมายถงึ ไมมีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขียน หรือ ถามีผลงาน ผลงานน้ันยงั มีขอ บกพรอ งทต่ี องไดรบั การปรับปรงุ แกไขหลายประการ นําผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียนสงนายทะเบียนวัดผลเพ่ือประกาศใหนักเรียน และรายงานผูทเี่ กีย่ วของไดท ราบ แนวทางการแกไขผูเ รยี นกรณีไมผานเกณฑ ในกรณที ี่ผเู รียนมีผลการประเมินการอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี น อยูในระดับไมผา น ครผู สู อนและ คณะกรรมการประเมินควรเรง ดําเนินการจัดกจิ กรรมเพ่อื สงเสริมและพัฒนาใหผเู รยี นมคี วามกา วหนา ในตวั ชี้วดั ที่มีจุดบกพรอง สมควรไดรับการแกไขในระยะเวลาพอสมควรที่ผูเรียนจะเกิดการเรียนรู และสรางผลงานที่ สะทอนความสามารถในตัวช้ีวัดท่ีตองปรับปรุงแกไขไดอยางแทจริงดวยวิธีการท่ีหลากหลาย เชน มอบหมาย งานใหผ เู รยี นไดอ า น ไดค ดิ วเิ คราะหจ ากเรอื่ งทอี่ า น และสามารถสอ่ื สารสาระสาํ คญั จากเรอื่ งทอี่ า นโดยการเขยี น อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ แลว นาํ ผลงานไปเทยี บกบั แนวทางการใหค ะแนนและเกณฑก ารตดั สนิ ทสี่ ถานศกึ ษากาํ หนด ตัง้ แตระดับดเี ย่ียม ดี ผาน 48 แนวปฏิบตั ิการวดั และประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p48 6/10/2558 9:21:38

ขอแนะนําเก่ยี วกับเคร่อื งมอื และวิธกี ารประเมิน เพื่อใหไดผลการประเมินความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขียน ที่สะทอนความสามารถ ทแี่ ทจรงิ ของผเู รียน ผปู ระเมนิ ควรใหความสาํ คญั กบั เครอื่ งมือและวธิ ีการประเมนิ ในประเดน็ ตอไปนี้ ☯ ลักษณะภาระงานทีก่ ําหนดใหผ เู รียนปฏิบตั ิ - ส่ือที่ใหผเู รยี นตองอา นมีความสอดคลอ งกบั ขอบเขตการประเมนิ ในแตล ะระดบั - การกําหนดเง่ือนไขการปฏิบตั ใิ หเ ปน ไปตามประเดน็ การตรวจสอบ - ประเด็นคําถาม กระตุนใหผูเรียนไดแสดงออกถึงความรูความเขาใจ ความคิดเก่ียวกับ สิ่งท่อี า นและเขยี น ถายทอดความรู ความคดิ ของตนเอง ☯ ลกั ษณะเครือ่ งมอื /วธิ กี ารประเมิน - ใหผ ูเ รยี นไดปฏบิ ตั จิ รงิ - ทดสอบโดยการสอบขอเขยี น - การใหผเู รยี นประเมนิ ตนเอง/เพอ่ื นประเมนิ - การพดู คยุ ซกั ถาม ถาม-ตอบปากเปลา - การตรวจผลงาน ☯ การใชผ ลการประเมนิ ระหวา งการจดั กจิ กรรมการเรยี นรเู พอ่ื เปน ขอ มลู ยอ นกลบั แกผ เู รยี น สําหรับการปรับปรุง พัฒนา ดูความกาวหนา ปญหาอุปสรรคในการเรียน เนนลักษณะ การประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู (Assessment for Learning) มากกวาการประเมินเพ่ือสรุปผลการเรียนรู (Assessment of Learning) มีผลการวิจัยระบุวา การใหข อมูลยอนกลับดวยคําพดู จะกระตนุ ใหเ กิดการพฒั นา การประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ เปนหลักสตู รองิ มาตรฐาน ซง่ึ กาํ หนด สิ่งท่ีผูเรียนพึงรูและปฏิบัติไดไวในมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด ซึ่งจะประกอบดวยความรูความสามารถ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา นยิ มท่ีพึงประสงค เมื่อผเู รียนไดรับการพฒั นาไปแลว นอกจากจะมคี วามรูความสามารถ ตลอดจนคณุ ธรรม จรยิ ธรรมทก่ี าํ หนดไวใ นมาตรฐานการเรยี นรแู ละตวั ชวี้ ดั แลว จะนาํ ไปสกู ารมสี มรรถนะสาํ คญั ๕ ประการ และมคี ณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ๘ ประการ อกี ดว ย คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคท ห่ี ลกั สตู รกาํ หนดนนั้ ตองไดรับการปลูกฝงและพัฒนา ผานการจัดการเรียนการสอน การปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาผูเรียนในลักษณะ ตาง ๆ จนตกผลึกเปนคุณลักษณะอันพึงประสงคในตัวผูเรียน การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคตองใช ขอมลู จากการสังเกตพฤติกรรม ซง่ึ ใชเ วลาในการเก็บขอมลู พฤตกิ รรมเพ่อื นาํ มาประเมินและตัดสนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค หมายถึง ลักษณะที่สังคมตองการใหเกิดขึ้นกับผูเรียนในดานคุณธรรม จริยธรรม คานิยม จิตสํานึก สามารถอยูรวมกับผูอื่นในสังคมไดอยางมีความสุข ท้ังในฐานะพลเมืองไทยและ พลโลก ตามท่ีหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กําหนด ซึ่งมีอยู ๘ คุณลักษณะ ไดแก รักชาติ ศาสน กษัตริย ซ่ือสัตยสุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มุงมั่นในการทํางาน รักความ เปนไทย และมจี ติ สาธารณะ แนวปฏบิ ตั กิ ารวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู 49 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p49 6/10/2558 9:21:38

ขอ ท่ี ๑ รักชาติ ศาสน กษัตริย นยิ าม รักชาติ ศาสน กษัตริย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการเปนพลเมืองดีของชาติ ธํารงไว ซง่ึ ความเปนชาตไิ ทย ศรัทธา ยึดมั่นในศาสนา และเคารพเทดิ ทูนสถาบนั พระมหากษตั ริย ผูที่รักชาติ ศาสน กษัตริย คือ ผูที่มีลักษณะซ่ึงแสดงออกถึงการเปนพลเมืองดีของชาติ มีความสามัคคี ปรองดอง ภูมิใจ เชิดชูความเปนชาติไทย ปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ และแสดงความจงรักภักดี ตอ สถาบนั พระมหากษตั รยิ  ตวั ชีว้ ดั และพฤตกิ รรมบงชี้ ตวั ช้วี ัด พฤติกรรมบง ช้ี ๑.๑ เปนพลเมอื งดขี องชาติ ๑.๑.๑ ยืนตรงเคารพธงชาติ รองเพลงชาติ และอธบิ ายความหมายของเพลงชาติไดถ กู ตอง ๑.๒ ธาํ รงไวซ่ึงความเปนชาติไทย ๑.๑.๒ ปฏิบัติตนตามสิทธิและหนาทพี่ ลเมอื งดีของชาติ ๑.๓ ศรัทธา ยึดมัน่ และปฏบิ ัตติ น ๑.๑.๓ มคี วามสามัคคีปรองดอง ๑.๒.๑ เขา รวมสงเสริมสนบั สนนุ กิจกรรมที่สรา งความสามัคคีปรองดองทเ่ี ปนประโยชน ตามหลกั ของศาสนา ๑.๔ เคารพเทดิ ทนู ตอโรงเรียน ชมุ ชน และสงั คม ๑.๒.๒ หวงแหน ปกปอ ง ยกยองความเปนชาติไทย สถาบันพระมหากษัตรยิ  ๑.๓.๑ เขารวมกจิ กรรมทางศาสนาทีต่ นนับถือ ๑.๓.๒ ปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ของศาสนาทต่ี นนบั ถือ ๑.๓.๓ เปนแบบอยางทดี่ ีของศาสนิกชน ๑.๔.๑ เขารว มและมสี ว นรวมในการจดั กจิ กรรมท่เี กย่ี วกับสถาบนั พระมหากษัตรยิ  ๑.๔.๒ แสดงความสาํ นกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ ของพระมหากษัตริย ๑.๔.๓ แสดงออกซึง่ ความจงรักภกั ดตี อสถาบนั พระมหากษตั ริย ขอท่ี ๒ ซอื่ สตั ยส ุจรติ นิยาม ซื่อสัตยสุจริต หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดม่ันในความถูกตอง ประพฤติตรงตาม ความเปน จริงตอตนเองและผอู นื่ ทง้ั ทางกาย วาจา ใจ ผูท่ีมีความซ่ือสัตยสุจริต คือ ผูท่ีประพฤติตรงตามความเปนจริงท้ังทางกาย วาจา ใจ และยึด หลักความจรงิ ความถูกตอ งในการดําเนนิ ชีวิต มคี วามละอายและเกรงกลัวตอ การกระทาํ ผดิ 50 แนวปฏิบตั ิการวัดและประเมินผลการเรยี นรู ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p50 6/10/2558 9:21:38

ตัวชี้วดั และพฤติกรรมบงช้ี ตวั ชวี้ ัด พฤติกรรมบง ชี้ ๒.๑ ประพฤตติ รงตามความเปนจรงิ ๒.๑.๑ ใหข อ มลู ทีถ่ กู ตอ งและเปนจรงิ ตอ ตนเองทั้งทางกาย วาจา ใจ ๒.๑.๒ ปฏบิ ัติตนโดยคาํ นงึ ถงึ ความถูกตอง ละอายและเกรงกลวั ตอการกระทาํ ผิด ๒.๑.๓ ปฏบิ ตั ิตามคาํ ม่ันสญั ญา ๒.๒ ประพฤติตรงตามความเปน จริง ๒.๒.๑ ไมถ อื เอาสิง่ ของหรือผลงานของผอู ่นื มาเปนของตนเอง ตอ ผูอื่นทัง้ ทางกาย วาจา ใจ ๒.๒.๒ ปฏิบัตติ นตอผูอ่ืนดวยความซอื่ ตรง ๒.๒.๓ ไมห าประโยชนใ นทางท่ีไมถกู ตอง ขอท่ี ๓ มีวินยั นิยาม มวี ินยั หมายถงึ คณุ ลกั ษณะท่แี สดงออกถงึ การยดึ มัน่ ในขอ ตกลง กฎเกณฑ และระเบยี บ ขอบังคับ ของครอบครัว โรงเรียน และสังคม ผทู ี่มีวนิ ัย คอื ผทู ่ปี ฏบิ ัติตนตามขอตกลง กฎเกณฑ ระเบยี บ ขอบังคบั ของครอบครัว โรงเรยี น และ สังคมเปนปกติวสิ ัย ไมล ะเมดิ สทิ ธขิ องผอู ่ืน ตัวช้ีวัดและพฤติกรรมบงช้ี ตวั ช้ีวัด พฤตกิ รรมบงชี้ ๓.๑ ปฏิบัติตามขอตกลง กฎเกณฑ ๓.๑.๑ ปฏิบัตติ นตามขอตกลง กฎเกณฑ ระเบียบ ขอ บงั คับของครอบครวั โรงเรยี น ระเบยี บ ขอ บงั คบั ของครอบครัว และสงั คม ไมล ะเมดิ สทิ ธขิ องผอู น่ื โรงเรยี น และสังคม ๓.๑.๒ ตรงตอเวลาในการปฏิบตั ิกจิ กรรมตา ง ๆ ในชีวติ ประจาํ วัน และรบั ผิดชอบ ในการทาํ งาน ขอ ที่ ๔ ใฝเ รยี นรู นยิ าม ใฝเ รียนรู หมายถงึ คุณลกั ษณะทแ่ี สดงออกถึงความตั้งใจ เพยี รพยายามในการเรยี น แสวงหาความรู จากแหลง เรยี นรทู ั้งภายในและภายนอกโรงเรยี น ผูท่ีใฝเรียนรู คือ ผูท่ีมีลักษณะซึ่งแสดงออกถึงความต้ังใจ เพียรพยายามในการเรียน และเขารวม กิจกรรมการเรียนรู แสวงหาความรูจากแหลงเรียนรูท้ังภายในและภายนอกโรงเรียนอยางสม่ําเสมอ ดวยการ เลือกใชส อ่ื อยางเหมาะสม บันทกึ ความรู วิเคราะห สรปุ เปน องคค วามรู แลกเปลี่ยนเรียนรู ถายทอด เผยแพร และนาํ ไปใชใ นชวี ติ ประจําวนั ได แนวปฏบิ ัติการวดั และประเมินผลการเรียนรู 51 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p51 6/10/2558 9:21:39

ตวั ชีว้ ัดและพฤติกรรมบงช้ี ตัวช้วี ดั พฤติกรรมบง ช้ี ๔.๑ ตงั้ ใจ เพียรพยายามในการเรียน ๔.๑.๑ ตั้งใจเรียน และเขารวมกิจกรรมการเรยี นรู ๔.๑.๒ เอาใจใสและมคี วามเพียรพยายามในการเรียนรู ๔.๑.๓ สนใจเขา รว มกจิ กรรมการเรียนรตู า ง ๆ ๔.๒ แสวงหาความรจู ากแหลงเรียนรู ๔.๒.๑ ศึกษาคนควา หาความรูจากหนังสือ เอกสาร ส่งิ พิมพ ส่ือเทคโนโลยีตา ง ๆ ตาง ๆ ทงั้ ภายในและภายนอก แหลงเรียนรทู ง้ั ภายในและภายนอกโรงเรียน และเลือกใชสอื่ ไดอ ยา งเหมาะสม โรงเรียน ดว ยการเลอื กใชสอื่ ๔.๒.๒ บันทึกความรู วิเคราะหขอมลู จากสง่ิ ทเี่ รยี นรู สรปุ เปนองคความรู อยางเหมาะสม สรปุ เปน ๔.๒.๓ แลกเปล่ยี นความรดู วยวธิ ีการตาง ๆ และนาํ ไปใชในชวี ติ ประจําวัน องคค วามรู และสามารถนําไปใช ในชีวติ ประจาํ วันได ขอ ที่ ๕ อยอู ยา งพอเพียง นิยาม อยอู ยา งพอเพยี ง หมายถงึ คณุ ลกั ษณะทแี่ สดงออกถงึ การดาํ เนนิ ชวี ติ อยา งพอประมาณ มเี หตผุ ล รอบคอบ มคี ุณธรรม มภี มู ิคุมกนั ในตัวท่ีดี และปรับตวั เพ่อื อยูใ นสงั คมไดอยางมีความสขุ ผูท ่อี ยอู ยางพอเพียง คือ ผทู ี่ดําเนนิ ชีวติ อยางประมาณตน มีเหตผุ ล รอบคอบ ระมัดระวงั อยรู วมกบั ผูอ่ืน ดวยความรับผิดชอบ ไมเบียดเบียนผูอื่น เห็นคุณคาของทรัพยากรตาง ๆ มีการวางแผนปองกันความเส่ียงและ พรอ มรับการเปลย่ี นแปลง ตวั ชีว้ ดั และพฤตกิ รรมบงชี้ ตวั ชว้ี ดั พฤติกรรมบง ชี้ ๕.๑ ดาํ เนนิ ชวี ติ อยา งพอประมาณ ๕.๑.๑ ใชทรพั ยสินของตนเอง เชน เงนิ สิ่งของ เครือ่ งใช ฯลฯ อยางประหยัด คมุ คา และ มีเหตุผล รอบคอบ มคี ุณธรรม เก็บรกั ษาดูแลอยา งดี รวมทง้ั การใชเวลาอยางเหมาะสม ๕.๑.๒ ใชท รัพยากรของสวนรวมอยา งประหยดั คุม คา และเกบ็ รกั ษาดแู ลอยา งดี ๕.๑.๓ ปฏบิ ัตติ นและตดั สินใจดว ยความรอบคอบ มีเหตผุ ล ๕.๑.๔ ไมเ อาเปรียบผอู ื่นและไมทาํ ใหผูอ น่ื เดอื ดรอน พรอ มใหอ ภัยเมอื่ ผอู ่นื กระทาํ ผดิ พลาด ๕.๒ มภี ูมคิ ุมกันในตวั ที่ดี ปรบั ตัว ๕.๒.๑ วางแผนการเรยี น การทาํ งาน และการใชชวี ิตประจาํ วนั บนพ้นื ฐานของความรู เพ่ืออยใู นสงั คมไดอยางมคี วามสุข ขอมลู ขาวสาร ๕.๒.๒ รเู ทาทนั การเปล่ยี นแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ ม ยอมรับและปรับตัว เพ่อื อยรู วมกบั ผอู ื่นไดอยา งมคี วามสขุ 52 แนวปฏบิ ัตกิ ารวดั และประเมินผลการเรยี นรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p52 6/10/2558 9:21:39

ขอท่ี ๖ มุงม่ันในการทํางาน นยิ าม มงุ มั่นในการทํางาน หมายถึง คุณลักษณะทีแ่ สดงออกถงึ ความตง้ั ใจและรบั ผิดชอบในการทาํ หนาที่ การงานดวยความเพยี รพยายาม อดทน เพ่ือใหงานสาํ เร็จตามเปา หมาย ผูท่ีมุงม่ันในการทํางาน คือ ผูที่มีลักษณะซึ่งแสดงออกถึงความต้ังใจปฏิบัติหนาท่ีที่ไดรับมอบหมาย ดวยความเพียรพยายาม ทุมเทกําลังกาย กําลังใจ ในการปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ ใหสําเร็จลุลวงตามเปาหมาย ทีก่ ําหนดดวยความรบั ผิดชอบ และมีความภาคภมู ใิ จในผลงาน ตวั ช้วี ดั และพฤติกรรมบง ช้ี ตัวชวี้ ดั พฤตกิ รรมบงช้ี ๖.๑ ตงั้ ใจและรับผดิ ชอบในการ ๖.๑.๑ เอาใจใสต อ การปฏบิ ัติหนาที่ท่ไี ดร บั มอบหมาย ปฏิบัติหนา ที่การงาน ๖.๑.๒ ต้ังใจและรับผดิ ชอบในการทํางานใหสาํ เรจ็ ๖.๑.๓ ปรบั ปรุงและพฒั นาการทาํ งานดวยตนเอง ๖.๒ ทาํ งานดว ยความเพยี รพยายาม และอดทนเพ่อื ใหงานสําเรจ็ ๖.๒.๑ ทมุ เททํางาน อดทน ไมย อ ทอ ตอปญหาและอปุ สรรคในการทํางาน ตามเปาหมาย ๖.๒.๒ พยายามแกป ญ หาและอุปสรรคในการทํางานใหสาํ เรจ็ ๖.๒.๓ ชืน่ ชมผลงานดว ยความภาคภมู ิใจ ขอที่ ๗ รักความเปน ไทย นยิ าม รักความเปนไทย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความภาคภูมิใจ เห็นคุณคา รวมอนุรักษ สืบทอดภูมิปญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ และวัฒนธรรม ใชภาษาไทยในการสื่อสารไดอยาง ถูกตองและเหมาะสม ผทู ีร่ ักความเปน ไทย คอื ผทู ่ีมคี วามภาคภูมิใจ เหน็ คณุ คา ชน่ื ชม มีสวนรวมในการอนรุ ักษ สืบทอด เผยแพรภ มู ปิ ญ ญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศลิ ปะ และวัฒนธรรมไทย มีความกตญั ูกตเวที ใชภาษาไทย ในการส่อื สารอยางถกู ตอ งเหมาะสม แนวปฏบิ ตั ิการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู 53 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p53 6/10/2558 9:21:39

ตวั ช้ีวดั และพฤตกิ รรมบงชี้ ตัวชว้ี ดั พฤติกรรมบงช้ี ๗.๑ ภาคภมู ิใจในขนบธรรมเนยี ม ๗.๑.๑ แตง กายและมีมารยาทงดงามแบบไทย มสี ัมมาคารวะ กตัญูกตเวทตี อผูม ีพระคณุ ประเพณี ศลิ ปะ วัฒนธรรมไทย ๗.๑.๒ รว มกจิ กรรมท่ีเกีย่ วขอ งกับประเพณี ศิลปะ และวฒั นธรรมไทย และมคี วามกตัญูกตเวที ๗.๑.๓ ชักชวน แนะนาํ ใหผ ูอน่ื ปฏิบตั ิตามขนบธรรมเนยี มประเพณี ศลิ ปะ และวัฒนธรรมไทย ๗.๒ เหน็ คณุ คาและใชภาษาไทย ๗.๒.๑ ใชภาษาไทยและเลขไทยในการสอ่ื สารไดอยางถกู ตอ งเหมาะสม ในการส่ือสารไดอ ยางถูกตอ ง ๗.๒.๒ ชกั ชวน แนะนาํ ใหผูอื่นเหน็ คณุ คา ของการใชภาษาไทยทีถ่ กู ตอง เหมาะสม ๗.๓ อนรุ กั ษและสืบทอดภมู ิปญ ญาไทย ๗.๓.๑ นําภมู ิปญ ญาไทยมาใชใหเหมาะสมในวถิ ชี วี ิต ๗.๓.๒ รว มกิจกรรมท่เี กี่ยวของกบั ภูมิปญญาไทย ๗.๓.๓ แนะนํา มสี ว นรว มในการสืบทอดภมู ปิ ญ ญาไทย ขอ ท่ี ๘ มจี ิตสาธารณะ นิยาม มีจิตสาธารณะ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการมีสวนรวมในกิจกรรมหรือสถานการณท่ีกอ ใหเกดิ ประโยชนแ กผอู ่ืน ชุมชน และสังคม ดวยความเตม็ ใจ กระตือรอื รน โดยไมห วงั ผลตอบแทน ผูท่ีมีจิตสาธารณะ คือ ผูท่ีมีลักษณะเปนผูใหและชวยเหลือผูอ่ืน แบงปนความสุขสวนตนเพ่ือ ทาํ ประโยชนแ กส ว นรวม เขา ใจ เหน็ ใจผทู ม่ี คี วามเดอื ดรอ น อาสาชว ยเหลอื สงั คม อนรุ กั ษส ง่ิ แวดลอ ม ดว ยแรงกาย สติปญ ญา ลงมอื ปฏิบัตเิ พ่ือแกปญหา หรอื รว มสรา งสรรคสิ่งทด่ี ีงามใหเกดิ ในชมุ ชน โดยไมหวงั สิง่ ตอบแทน ตวั ช้ีวัดและพฤตกิ รรมบงช้ี ตัวชวี้ ัด พฤตกิ รรมบง ชี้ ๘.๑ ชวยเหลือผอู น่ื ดว ยความเตม็ ใจ ๘.๑.๑ ชวยพอ แม ผปู กครอง และครูทํางานดวยความเตม็ ใจ โดยไมห วังผลตอบแทน ๘.๑.๒ อาสาทํางานใหผอู ืน่ ดวยกาํ ลังกาย กําลังใจ และกาํ ลังสติปญ ญา ดว ยความสมคั รใจ ๘.๑.๓ แบง ปนสง่ิ ของ ทรัพยส ิน และอ่ืน ๆ และชว ยแกปญ หาหรอื สรางความสขุ ใหกับผูอ นื่ ๘.๒ เขารวมกิจกรรมทเี่ ปนประโยชน ๘.๒.๑ ดแู ลรักษาสาธารณสมบัตแิ ละสง่ิ แวดลอ มดวยความเต็มใจ ตอโรงเรยี น ชุมชน และสงั คม ๘.๒.๒ เขารวมกิจกรรมท่ีเปนประโยชนตอ โรงเรยี น ชุมชน และสังคม ๘.๒.๓ เขารวมกจิ กรรมเพอ่ื แกป ญ หาหรอื รวมสรางสิ่งที่ดีงามของสวนรวมตามสถานการณ ที่เกิดข้นึ ดว ยความกระตือรือรน 54 แนวปฏิบตั กิ ารวดั และประเมินผลการเรยี นรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p54 6/10/2558 9:21:39

แนวดําเนนิ การพัฒนาและประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค การพฒั นาคณุ ลักษณะอันพึงประสงคข องสถานศกึ ษาจะบรรลผุ ลไดน น้ั ตองอาศัยการบริหารจดั การ และการมีสว นรวมจากทุกฝา ย ไดแ ก ผบู รหิ ารสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ครทู ่ีปรึกษา ครผู สู อน ผปู กครอง และชมุ ชน ทตี่ อ งมงุ ขดั เกลา บม เพาะ ปลกู ฝง คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคใ หเ กดิ ขน้ึ แกผ เู รยี น ในการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงคสามารถกระทําไดโดยนําพฤติกรรมบงชี้ หรือพฤติกรรม ที่แสดงออกของคุณลักษณะแตละดานท่ีวิเคราะหไว บูรณาการในการจัดกิจกรรมการเรียนรูของกลุมสาระ การเรยี นรตู าง ๆ ในกิจกรรมพฒั นาผูเรียน โครงการพเิ ศษตาง ๆ ทีส่ ถานศกึ ษาจัดทําขึ้น เชน โครงการวันพอ วันแมแหงชาติ โครงการลดภาวะโลกรอน วันรักษสิ่งแวดลอม แหเทียนพรรษา ตามรอยคนดี หรือกิจกรรม ท่ีองคกรในทองถ่ินจัดข้ึน รวมท้ังสอดแทรกในกิจวัตรประจําวันของสถานศึกษา เชน การเขาแถวซ้ืออาหาร กลางวนั เปน ตน การประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค ไมใชเปน สว นหนงึ่ ของสดั สว นการใหคะแนนระหวางเรยี น กับคะแนนปลายป/ปลายภาค เพราะในตัวช้ีวัดชั้นประบุคุณลักษณะที่ตองการอยูแลว สําหรับคุณลักษณะ อันพึงประสงค ๘ ประการนี้ เปนเปาหมายการพัฒนาท่ีตัดสินและรายงานแยกเฉพาะ แตพฤติกรรมท่ีผูเรียน แสดงออกถึงคุณลักษณะตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนขณะจัดกิจกรรมการเรียนรู กิจกรรมพัฒนาผูเรียน กิจกรรม/ โครงการตาง ๆ และในกิจวัตรประจําวันของผูเรียนนั้น ครูสามารถประเมินดวยการสังเกตแลวบันทึกไว และรายงานผลเฉพาะ ไมรวมอยูในการตัดสินรายวิชาตามกลุมสาระการเรียนรู สวนหลักฐาน/รองรอย การแสดงออกถึงคุณลักษณะอันพึงประสงค สามารถเปนแหลงที่มาท่ีเดียวกันกับการประเมินในรายวิชา แตไ มใ ชสวนหนง่ึ ของคะแนนในรายวชิ า ในการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคน้ัน สถานศึกษาควรจัดใหมีการประเมินเปนระยะ ๆ โดย อาจประเมินผลเปนรายสปั ดาห รายเดอื น รายภาค หรือรายป เพอ่ื ใหม กี ารส่ังสมและการพัฒนาอยา งตอเน่ือง โดยเฉพาะการนําไปใชใ นชีวิตประจําวัน และสรุปประเมินผลเม่ือจบปส ุดทายของแตละระดบั การศึกษา สถานศึกษาควรดําเนินการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคอยางเปนระบบ ชัดเจน และสามารถตรวจสอบได ซ่งึ อาจใชแ นวทางในแผนภาพที่ ๓.๓ ตอไปนี้ แนวปฏิบัตกิ ารวดั และประเมินผลการเรียนรู 55 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p55 6/10/2558 9:21:40

ประชุมช้แี จงแนวทางการประเมิน คณะกรรมการพฒั นาและประเมิน การเก็บรวบรวมการรายงานความกาวหนา คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค การรายงานผล และสรุปผล ครูผสู อน ครทู ่ีปรึกษา ครปู ระจาํ ชัน้ หรือผทู ี่ไดร ับ ไมผานเกณฑ พฒั นา บนั ทกึ วิเคราะห แปลผล ประเมนิ ผลและสงผลการประเมนิ มอบหมาย พัฒนาผเู รยี น ใหผเู ก่ยี วของ ทะเบียน-วัดผล และผูทร่ี ับผดิ ชอบ - รบั ผลการประเมิน - ประมวลผล - สรุปผล - บนั ทึกขอมูลใน ปพ.๑ รายงานผลการประเมินตอผเู กี่ยวของ ครูทปี่ รึกษา/ครปู ระจําชัน้ นาํ ขอมูลท่ีไดมาวางแผน คณะกรรมการ แผนภาพท่ี ๓.๓ แสดงขั้นตอนการดําเนินการวัดและประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคข องสถานศึกษา จากแผนภาพดังกลาว สถานศึกษาสามารถนาํ ไปปรับใชตามบรบิ ทของสถานศกึ ษา โดย ๑) แตงต้ังคณะกรรมการการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคของสถานศึกษา เพื่อ ดําเนนิ การดงั นี้ ๑.๑ กําหนดแนวทางในการพัฒนา แนวทางการประเมิน เกณฑการประเมิน และแนวทาง การปรบั ปรุงแกไข ปรับพฤตกิ รรม ๑.๒ พิจารณาตัดสินผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงครายป (ระดับประถมศึกษา) รายภาค (ระดบั มัธยมศึกษา) และการจบการศึกษาแตละระดับ ๑.๓ จัดระบบการปรับปรุงแกไข หรือปรับพฤติกรรมดวยวิธีการที่เหมาะสม และสงตอขอมูล ของผเู รยี นเพ่อื การพฒั นาอยา งตอเนือ่ ง ๒) พิจารณานิยามหรือความหมายของแตละคุณลักษณะ พรอมท้ังกําหนดตัวชี้วัดหรือพฤติกรรม บง ช้ี หรอื พฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกของแตล ะคณุ ลกั ษณะ และหากสถานศกึ ษาไดก าํ หนดคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค เพิม่ เติม สถานศึกษาตอ งจัดทํานยิ าม พรอมทง้ั ตัวชีว้ ดั เพม่ิ เตมิ ดว ย 56 แนวปฏบิ ตั กิ ารวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p56 6/10/2558 9:21:40

๓) กําหนดเกณฑและแนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค ใหสอดคลองกับบริบทและ จุดเนนของสถานศึกษา กําหนดระดับคุณภาพ หรือเกณฑในการประเมินตามท่ีหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กาํ หนดไว ๔ ระดับ คือ ดีเย่ียม ดี ผาน และไมผา น กําหนดประเดน็ การประเมนิ ใหสอดคลองกบั ตัวชีว้ ัดของคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค ๔) แจง ใหค รผู สู อน ครทู ปี่ รกึ ษา ครปู ระจาํ ชน้ั หรอื ผทู ไ่ี ดร บั มอบหมาย ดาํ เนนิ การพฒั นาคณุ ลกั ษณะ อนั พงึ ประสงค ประเมินและสงผลการประเมนิ ใหผูเก่ียวของ โดยเฉพาะอยา งยิง่ ฝา ยทะเบียนวัดผล กรณีท่ีนักเรียนไมผานเกณฑการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค ใหผูที่รับผิดชอบดําเนินการ ปรบั ปรุงพัฒนา และประเมินตามเกณฑทสี่ ถานศกึ ษากําหนด ๕) ฝา ยทะเบยี นและวดั ผลประมวลผลตามเกณฑท คี่ ณะกรรมการฯ กาํ หนด สรปุ ผลการประเมนิ และ บนั ทึกขอมลู ลงใน ปพ.๑ แลว สงครทู ีป่ รกึ ษาหรอื ครปู ระจําช้นั ๖) ครูท่ีปรกึ ษาหรอื ครปู ระจําชน้ั แจงผลการประเมินตอ ผเู รยี นและผูเกีย่ วของ ๗) คณะกรรมการฯ นําขอมูลตา ง ๆ มาพิจารณาวางแผนงานตอ ไป แนวทางการพฒั นาและประเมนิ ทน่ี าํ เสนอในตวั อยา งแตล ะรปู แบบตอ ไปน้ี สถานศกึ ษาสามารถเลอื ก นาํ ไปใชไดตามความเหมาะสม ตัวอยางรูปแบบท่ี ๑ กลุมสาระการเรยี นรแู ละผูทร่ี บั ผิดชอบพฒั นาและประเมนิ ทกุ คุณลกั ษณะ กระบวนการ รูปแบบที่ ๑ครูผูสอน/ค ูรที่รับผิดชอบโครงการ/ ิกจกรรม สงระดับการประเ ิมน ครวู ดั ผล ปลกู ฝงผานกลุมสาระ ตามเกณฑ ่ีทสถาน ึศกษา ํกาหนด ประมวลผล คุณลักษณะอันพึงประสงค และกิจกรรม อนุมตั ิ ๑ ๒ ๓๔ ๕๖ ๗๘ ภาษาไทย ๑ ๒ ๓๔ ๕๖ ๗๘ คณิตศาสตร ๑ ๒ ๓๔ ๕๖ ๗๘ วทิ ยาศาสตร ๑ ๒ ๓๔ ๕๖ ๗๘ สงั คมศึกษาฯ ๑ ๒ ๓๔ ๕๖ ๗๘ สุขศกึ ษาฯ ๑ ๒ ๓๔ ๕๖ ๗๘ ๑ ๒ ๓๔ ๕๖ ๗๘ ศลิ ปะ ๑ ๒ ๓๔ ๕๖ ๗๘ การงานอาชพี ฯ ๑ ๒ ๓๔ ๕๖ ๗๘ ภาษาตา งประเทศ ๑ ๒ ๓๔ ๕๖ ๗๘ ชมรม/ชุมนุม โครงการ/กิจกรรม แนวปฏบิ ตั ิการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู 57 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p57 6/10/2558 9:21:40

รปู แบบนเี้ หมาะสาํ หรบั สถานศกึ ษาทม่ี คี วามพรอ มในดา นทรพั ยากรตา ง ๆ คอ นขา งสงู ถงึ สงู มาก และ เหมาะสําหรับสถานศึกษาที่ตองการเนนดานการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงคสูความเปนเลิศ โดยมีนโยบายท่ีจะใหบุคลากรครูทุกคนไดมีสวนรวมในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงคทุกขอ ตามที่สถานศึกษากําหนด โดยมีคณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคของสถานศึกษา เปนองคคณะบุคคลที่คอยชวยเหลือคณะครู ในกรณีที่พบวาผูเรียนบางคนมีปญหาท่ีซับซอนและไมสามารถ จะพัฒนาดวยกระบวนการธรรมดาได จําเปนตองทํากรณีศึกษา คณะกรรมการชุดนี้จะทํางานรวมกับ ครูประจําช้ัน หรือครูที่ปรึกษา หรือครูทานอ่ืนที่สนใจทํากรณีศึกษารวมกัน นอกจากนี้ อาจนําสภานักเรียน เขามามีสวนรวมในการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงคดวย โดยสถานศึกษารับฟงความคิดเห็นของ สภานักเรยี นถึงวิธีการทเ่ี หมาะสมกับวัยของผูเ รยี น สถานศึกษาที่มีความพรอมสูงสามารถเลือกใชรูปแบบการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคที่ สอดแทรกการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค ทั้งในชั่วโมงการเรียนของผูเรียน และการเชิญผูเรียนมาทํา ความเขา ใจเปน รายบคุ คลหรอื กลมุ ยอ ย เมอื่ พบวา ผเู รยี นคนใดคนหนงึ่ หรอื กลมุ เลก็ ๆ มคี ณุ ลกั ษณะบางประการ อยูในระดบั ที่ไมนาพงึ พอใจ เปนการอบรมสงั่ สอนในลักษณะกลั ยาณมติ ร แบบพอแมสอนลกู ทม่ี ีบรรยากาศของ ความรักและหวงใย นอกจากนี้ สถานศึกษายังอาจจัดกิจกรรมเสริมสรางคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียน เพม่ิ เตมิ ในรปู ของกจิ กรรมพฒั นาผูเรียน หรอื เปนกิจกรรมเสริมจดุ เนนของสถานศกึ ษาก็ได เชน โครงการฟนฟู ศีลธรรมโลกของชมรมพุทธศาสตรสากล โครงการเขาคายธรรมะ โครงการเรียนรูตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง เปนตน โดยที่ทุกกิจกรรมไมวาจะเปนกิจกรรมการเรียนหรือกิจกรรมเสริม จะเนนการพัฒนาและ ตรวจสอบคุณลักษณะอันพึงประสงคทุกขอตลอดเวลา ไมไดคํานึงวาจะสอดคลองกับมาตรฐานหรือตัวชี้วัด ในบทเรียนหรือไม ทั้งนี้ สถานศึกษาอาจมีเปา หมายวา ผเู รยี นรอ ยละ ๙๐ ขน้ึ ไป จะตอ งมีคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค อยใู นระดบั “ดี” เปนอยางนอ ย การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคจะแยกจากการประเมินของกลุมสาระการเรียนรู โดย ดําเนินการดงั น้ี ๑. คณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคของสถานศึกษาทําความเขาใจ กับคณะครูผูสอนทุกกลุมสาระการเรียนรู/รายวิชา ครูท่ีปรึกษา ครูผูดูแลกิจกรรมพัฒนาผูเรียนถึงนโยบาย ของสถานศึกษา ในการพัฒนาคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคของผูเรยี น โดยขอใหครทู ี่ปรึกษา ครูประจาํ สาระวิชา ครูผูรับผิดชอบโครงการตาง ๆ ไดใหความสนใจรวมกันพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียนทุกขอ และรว มกาํ หนดตวั ชวี้ ดั หรอื พฤตกิ รรมบง ชห้ี รอื พฤตกิ รรมทแี่ สดงออกของแตล ะคณุ ลกั ษณะตามทค่ี ณะกรรมการ พัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคของสถานศึกษาไดวิเคราะหไว ใหเหมาะสมกับธรรมชาติ ของวยั และวุฒภิ าวะของผูเรยี น ๒. กาํ หนดเกณฑแ ละคาํ อธบิ ายระดบั คณุ ภาพ ใหส อดคลอ งกบั เกณฑก ารประเมนิ ทห่ี ลกั สตู รแกนกลาง การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กาํ หนด ๓. กําหนดวิธีการและเครอ่ื งมอื การประเมินใหเหมาะสมกบั ตวั ชว้ี ัด 58 แนวปฏิบัตกิ ารวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p58 6/10/2558 9:21:40

๔. ดาํ เนนิ การประเมนิ ผเู รียนอยางตอเนอื่ งและรายงานผลการประเมินเปนระยะ ๆ ๕. กาํ หนดระดบั ของพฤติกรรมบงช้ีวา พฤติกรรมผเู รยี นอยูใ นระดบั “เสย่ี ง” กลา วคือ การพัฒนา คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคของผเู รียนดว ยวิธธี รรมดา อาจจะไมสามารถทําใหผ ูเ รยี นบรรลุตามเกณฑไ ด ครทู ป่ี รึกษา หรือครูผูสอน รวมกับคณะกรรมการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคของสถานศึกษา ตองใช กระบวนการวิจยั เขา มาชวยในการแกป ญ หา โดยอาจทาํ กรณศี ึกษา ๖. เม่ือสิ้นภาคเรียน/สิ้นป ครูผูสอนแตละคนสงผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคของ ผเู รยี นทกุ คนทร่ี บั ผดิ ชอบใหค ณะกรรมการพฒั นาและประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข องสถานศกึ ษา โดยมี ครวู ัดผลเปน เลขานกุ าร ๗. ครูวดั ผลดาํ เนินการประมวลผลตามเกณฑท ส่ี ถานศึกษากําหนด ๘. เสนอผบู ริหารสถานศกึ ษาเพอ่ื พิจารณาอนุมัติ ตัวอยางรูปแบบที่ ๒ กลุมสาระการเรียนรูและผูที่รับผิดชอบเลือกพัฒนาและประเมินเฉพาะ คณุ ลักษณะที่เหมาะสม รูปแบบที่ ๒ กระบวนการ เลอื กคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ค ูรผูสอนแ ตละก ลุมสาระ สงผลการประเ ิมน ครูวดั ผล ปลกู ฝง ผานกลมุ สาระ ที่สอดคลองกบั กลมุ สาระการเรยี นร/ู ประมวลผล และกจิ กรรม ตวั ช้ีวัด อนุมตั ิ ภาษาไทย ๑ ๒ ๓๔ ๕๖ ๗๘ คณติ ศาสตร ๒ ๓๔ ๕๖ ๗๘ วทิ ยาศาสตร ๒๓๔๕๖ ๘ สงั คมศึกษาฯ ๒๓๔ ๖๗๘ สุขศกึ ษาฯ ๑ ๒ ๓๔ ๕๖ ๗๘ ศิลปะ ๒ ๓๔ ๕๖ ๗๘ การงานอาชีพฯ ภาษาตา งประเทศ ๑ ๒ ๓๔ ๕๖ ๗๘ ชมรม/ชมุ นุม ๒๓๔ ๖ ๘ โครงการ/กิจกรรม ๑ ๒ ๓๔ ๕๖ ๗๘ ๑ ๒ ๓๔ ๕๖ ๗๘ เปนรูปแบบท่ีเหมาะสมกับโรงเรียนท่ีมีความพรอมปานกลาง กลาวคือ มีจํานวนบุคลากรครูที่ครบ ชั้นเรียน มีครูพิเศษบางแตไมมากนัก ครูคนหน่ึงอาจตองทํางานทั้งเปนผูสอนและทํางานสงเสริม รวมทั้ง แนวปฏิบตั ิการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู 59 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p59 6/10/2558 9:21:40

รับผิดชอบกิจกรรมพัฒนาผูเรียนดวย สถานศึกษาประเภทดังกลาวสามารถเลือกใชรูปแบบการประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงครูปแบบนี้ โดยการเลือกคุณลักษณะอันพึงประสงคเฉพาะขอที่มีเนื้อหาใกลเคียงกับ มาตรฐานหรือตัวช้ีวัดในกลุมสาระนั้น ๆ ท่ีครูแตละคนรับผิดชอบ เพ่ือบูรณาการและจัดทําแผนการจัด การเรยี นรู และแผนการพฒั นาคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคใ นขอ นน้ั ๆ ดว ยในคราวเดยี วกนั การประเมนิ คณุ ลกั ษณะ อันพงึ ประสงคก ด็ าํ เนนิ การรว มกับการประเมินตัวช้ีวดั ในแตละกลุมสาระการเรยี นรู โดยสถานศึกษาคาดหวังวา เมอื่ ไดด าํ เนนิ การในภาพรวมแลว การพัฒนาคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคจ ะครบทุกขอตามท่ีสถานศึกษากาํ หนด โดยดาํ เนินการดงั น้ี ๑. คณะกรรมการการพฒั นาและประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงคของสถานศึกษา และครูผูสอน รวมกันวิเคราะหมาตรฐาน/ตัวช้วี ัดเนือ้ หาในกลมุ สาระการเรยี นรู และพิจารณาเลอื กคุณลักษณะอันพึงประสงค ที่สอดคลองกับธรรมชาติวิชาท่ีครูแตละคนรับผิดชอบ รวมท้ังสอดคลองกับวัตถุประสงคของกิจกรรมพัฒนา ผูเรียนดวย ๒. ครูผูสอนนําคุณลักษณะอันพึงประสงคท่ีคัดเลือกไวไปบูรณาการกับตัวช้ีวัดของกลุมสาระ การเรียนรู ดําเนนิ การพฒั นาและประเมนิ รว มกนั ๓. ครผู ูส อนสง ผลการประเมินใหค รูวดั ผล เพ่อื สรปุ ผลการประเมนิ ตามเกณฑท ี่สถานศึกษากาํ หนด และนําเสนอผูบริหารเพ่ือพิจารณาอนมุ ตั ติ อ ไป ตวั อยา งรปู แบบท่ี ๓ ครปู ระจาํ ชน้ั หรอื ครปู ระจาํ วชิ าพฒั นาและประเมนิ หรอื รว มพฒั นาและประเมนิ รูปแบบท่ี ๓ กระบวนการ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค ปลูกฝงผานกลมุ สาระ ๑ ๒ ๓๔ ๕๖ ๗ ๘ และกิจกรรม ครปู ระจาํ ช้นั หรอื ค ูรประ ํจาชั้นส ุรประดับ ุคณภาพตามสภาพจ ิรง ภาษาไทย ครปู ระจําวชิ า คณติ ศาสตร วทิ ยาศาสตร ประเมินหรือ D D อนมุ ตั ิ สังคมศกึ ษาฯ รว มประเมินนักเรียนทุกคน สุขศกึ ษาฯ ทกุ คณุ ลักษณะ ศลิ ปะ การงานอาชพี ฯ ครูผรู ับผิดชอบ ภาษาตา งประเทศ พัฒนาและประเมิน ชมรม/ชุมนุม โครงการ/กิจกรรม 60 แนวปฏิบตั กิ ารวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p60 6/10/2558 9:21:41

รูปแบบท่ี ๓ เปนรปู แบบทีเ่ หมาะสําหรบั โรงเรยี นขนาดเลก็ ท่ีมีครูไมค รบชัน้ หรอื ครบชนั้ พอดี แตครู คนหน่งึ ตองทาํ งานหลายหนา ที่ อีกท้ังความพรอมของทรัพยากรดา นอ่ืน ๆ มนี อ ย ดงั น้ัน การดําเนนิ การพัฒนา และประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียน ควรเปดโอกาสใหชุมชน อันไดแก พอแม ผูปกครอง ผูนําชุมชน ปราชญชาวบาน เขามามีสวนรวมในการประเมินดวย ซึ่งจะทําใหผลการประเมินมีความเท่ียงตรง มากข้ึน การพฒั นาและการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคต ามรปู แบบน้ี ครปู ระจาํ ชนั้ และครปู ระจาํ วชิ า รว มกันพัฒนาและประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงคของผเู รียนทุกคน ทกุ ขอ โดยดําเนนิ การดงั นี้ ๑. ครูประจําช้ันและ/หรือครูประจําวิชา ซ่ึงรับผิดชอบการสอนมากกวาหนึ่งช้ันหรือหนึ่งกลุมสาระ บูรณาการทุกกลุมสาระและคุณลักษณะอันพึงประสงคเขาดวยกัน รวมกันพัฒนาและประเมิน โดยอาจใช การสังเกตพฤตกิ รรมตามสภาพจรงิ เปดโอกาสใหช ุมชน ไดแก พอ แม ผปู กครอง ผนู ําชมุ ชน ปราชญชาวบา น รวมประเมินดวย ท้ังนี้ กรณีท่ีมีผูเรียนบางคนไมผานการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคขอใด ครูรวมกับ ชุมชนดําเนินการพัฒนาจนกระทั่งทั้งสองฝายมีความเห็นตรงกันวาผูเรียนมีคุณสมบัติตามเกณฑแลว จึงใหผาน การประเมนิ ๒. ครปู ระจาํ ชน้ั และ/หรอื ครปู ระจาํ วชิ ารว มกนั สรปุ ผลการประเมนิ ตามเกณฑท สี่ ถานศกึ ษากาํ หนด และนําเสนอผูบ ริหารสถานศึกษาเพอ่ื อนมุ ัติ การออกแบบการวดั และประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค เมอ่ื ทาํ ความเขา ใจเกย่ี วกบั คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค เครอ่ื งมอื ทจ่ี ะใชใ นการวดั และประเมนิ และวธิ ี การหาคณุ ภาพของเครอื่ งมอื แลว ครผู สู อนสามารถออกแบบการวดั และประเมนิ ผลคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคใ น ช้นั เรยี นไดด ังนี้ ๑. กําหนดคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค/ตัวช้ีวดั /พฤตกิ รรมบง ช้ที จ่ี ะประเมนิ ๒. วเิ คราะหพฤติกรรมสําคัญจากพฤตกิ รรมบงชท้ี จี่ ะประเมิน ๓. เลือกใชว ิธกี าร เครอ่ื งมอื ใหเหมาะสมกับคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคท จ่ี ะประเมนิ ๔. กําหนดเกณฑก ารใหค ะแนน (Scoring Rubrics) ดงั ตัวอยา งการออกแบบการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคดา นมวี นิ ัยในตารางท่ี ๓.๑ แนวปฏบิ ัติการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู 61 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p61 6/10/2558 9:21:41

0675_57.indd p62 62 ตารางท่ี ๓.๑ แสดงตัวอยา งการออกแบบการวัดและประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ขอ ๓ มีวนิ ยั แนวปฏิบัตกิ ารวัดและประเมินผลการเรียนรู ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน (ม.๑-ม.๓) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ตัวชี้วดั พฤตกิ รรมบงช้ี พฤตกิ รรมสาํ คัญ วธิ ีการ/เครือ่ งมอื ประเมิน เกณฑก ารใหค ะแนน ผา น (๑) ดี (๒) ดเี ยยี่ ม (๓) ๓.๑ ปฏบิ ตั ิตาม ๓.๑.๑ ปฏิบตั ติ ามขอตกลง - ชว ยทํางานบา น - แบบมาตรประมาณคา ปฏิบตั ติ ามขอตกลง ปฏิบตั ติ ามขอตกลง ปฏิบัติตามขอตกลง กฎเกณฑ ระเบยี บ - แตงกายถกู ระเบียบ หรอื กฎเกณฑ ระเบียบ กฎเกณฑ ระเบียบ กฎเกณฑ ระเบยี บ ขอตกลง ขอ บังคับของครอบครวั - เคารพกฎจราจร - แบบตรวจรายการ ขอบงั คับของครอบครวั ขอบังคับของครอบครัว ขอบังคบั ของครอบครัว กฎเกณฑ - ไมหยบิ ของของผูอน่ื หรือ และโรงเรียน ตรงตอ เวลา และโรงเรยี น ตรงตอเวลา โรงเรยี น และสังคม - โดยไมข ออนญุ าต - แบบสาํ รวจ ในการปฏิบัตกิ จิ กรรม ในการปฏิบตั ิกจิ กรรม ไมละเมิดสทิ ธิของผูอนื่ ระเบียบ โรงเรยี น และสงั คม - สง งานตามกาํ หนด ตาง ๆ ในชีวิตประจําวนั ตาง ๆ ในชีวติ ประจาํ วนั ตรงตอเวลาในการปฏิบตั ิ ขอ บังคับ ไมล ะเมดิ สิทธิของผูอ่ืน เขา รว มกจิ กรรมตาม พฤตกิ รรม หรอื ของครอบครวั ๓.๑.๒ ตรงตอเวลาในการปฏิบัติ เวลา - แบบวดั สถานการณ และรบั ผดิ ชอบในการ กจิ กรรมตา ง ๆ ในชวี ติ โรงเรียน กิจกรรมตา ง ๆ ในชวี ิต ทํางาน ประจาํ วัน และรับผิดชอบ และสังคม ประจําวนั และ ในการทํางาน รบั ผดิ ชอบในการ ทํางาน 6/10/2558 9:21:41

การสรา งเครือ่ งมือประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค เครื่องมือวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคท่ีนิยมใชในสถานศึกษา เนื่องจากใชงาย และสะดวก ไดแก แบบสังเกต แบบสัมภาษณ แบบตรวจสอบรายการ แบบมาตรประมาณคา แบบวัด สถานการณ แบบบันทึกพฤติกรรม และแบบรายงานตนเอง ครูผูสอนควรใชเคร่ืองมือและวิธีการ ตลอดจน แหลงขอมูลและผูประเมินที่หลากหลาย เพ่ือใหขอมูลท่ีไดนาเช่ือถือ และเลือกเคร่ืองมือที่เหมาะสมกับ พฤตกิ รรมบงช้ี การสรางเคร่ืองมือประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค ควรคํานึงถึงการเขียนขอความหรือรายการ ทีจ่ ะวดั วามีความชัดเจน และเปน พฤตกิ รรม/รายการทค่ี รอบคลุมตวั ช้ีวดั โดยพิจารณาพฤติกรรมบงช้ที ่ีกาํ หนด ไวแลวในคุณลักษณะอันพึงประสงค ถาเปนขอความท่ีแสดงพฤติกรรมสําคัญและยังไมสามารถประเมินได ครูผูสอนตองวิเคราะหเปนพฤติกรรมสําคัญยอย ๆ เชน คุณลักษณะการมีวินัย พฤติกรรมบงช้ีมี ๑ ขอ คือ ปฏิบัติตามขอตกลง กฎเกณฑ ระเบยี บ ขอบังคบั ของครอบครัว โรงเรยี นและสงั คม เม่ือพิจารณาจากตัวบงชี้จะพบวา บางพฤติกรรมไมสามารถดูรายละเอียดและประเมินได ดังนั้น จาํ เปน ตองวิเคราะหพฤติกรรมดังกลา วใหเปนพฤตกิ รรมทส่ี ังเกตและวัดได ดงั นี้ ๑) จัดเกบ็ สง่ิ ของเปนทีเ่ ปน ทาง ๒) แตง กายถูกตอ งตามระเบยี บของโรงเรยี น ๓) มีมารยาทในการเขา ประชุม ๔) เขาแถวซอ้ื อาหารตามลําดบั ๕) ท้ิงขยะในท่ีท่ีจดั เตรียมไว ๖) ทาํ กิจวัตรของตนตามเวลา ๗) ไปโรงเรียนทันเวลา ๘) เมื่อถึงชัว่ โมงเรียน เขาเรียนตามเวลา ๙) ทํางานเสร็จตามเวลาท่ีกาํ หนด ๑๐) เขารว มกจิ กรรมตามเวลาท่ีนัดหมาย เมอ่ื กาํ หนดขอ ความหรอื รายการทจ่ี ะวดั แลว กส็ ามารถนาํ ไปไวใ นเครอ่ื งมอื ประเมนิ ได ดงั ตารางที่ ๓.๒ แสดงตัวอยางแบบสํารวจรายการพฤติกรรมของนักเรียนเพื่อประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค ตารางที่ ๓.๓ แสดงตัวอยางแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเพ่ือประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค และตารางที่ ๓.๔ แสดงตัวอยา งแบบมาตรประมาณคา เพ่ือประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค ตอไปน้ี แนวปฏิบตั กิ ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู 63 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p63 6/10/2558 9:21:41

ตารางท่ี ๓.๒ แสดงตัวอยางแบบสํารวจรายการพฤติกรรมของนักเรียนเพ่ือประเมินคุณลักษณะ อันพงึ ประสงค ขอ ๓ มีวนิ ัย ชอ่ื -สกุล...................................................................ชัน้ .............ภาคเรยี นที.่ ...........ปการศึกษา....................... คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค ขอ ๓ มวี นิ ยั คําชี้แจง ใหก าเครอื่ งหมาย 3 ที่ตรงกับพฤตกิ รรมนักเรยี น .......................๑. จัดเกบ็ สิ่งของเปนท่ีเปน ทาง .......................๒. แตง กายถูกตอ งตามระเบยี บของโรงเรยี น .......................๓. มมี ารยาทในการเขาประชุม .......................๔. เขาแถวซ้อื อาหารตามลําดบั .......................๕. ทิง้ ขยะในที่ทจ่ี ดั เตรียมไว .......................๖. ทํากิจวตั รของตนตามเวลา .......................๗. ไปโรงเรียนทันเวลา .......................๘. เมือ่ ถงึ ชั่วโมงเรียนเขาเรยี นตามเวลา .......................๙. ทํางานเสรจ็ ตามเวลาทีก่ ําหนด .......................๑๐. เขารว มกจิ กรรมตามเวลาที่นดั หมาย ลงชอื่ ......................................................ผูประเมนิ (.....................................................) สถานภาพของผปู ระเมนิ ตนเอง เพอ่ื น พอแม/ผูปกครอง ครู เกณฑก ารประเมนิ แสดงพฤตกิ รรม ๙ - ๑๐ พฤตกิ รรม หมายถงึ ดีเยยี่ ม (๓) แสดงพฤติกรรม ๗ - ๘ พฤติกรรม หมายถงึ ดี (๒) แสดงพฤตกิ รรม ๕ - ๖ พฤตกิ รรม หมายถงึ ผาน (๑) แสดงพฤติกรรม ๑ - ๔ พฤตกิ รรม หมายถงึ ไมผ า น (๐) สรุปผลการประเมิน ผาน มพี ฤติกรรม ๕ - ๑๐ ขอ ไมผาน มีพฤติกรรมนอยกวา ๕ ขอ 64 แนวปฏบิ ัตกิ ารวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p64 6/10/2558 9:21:41

ตารางที่ ๓.๓ แสดงตัวอยางแบบบนั ทึกการสังเกตพฤติกรรมเพอื่ ประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค ขอ ๓ มีวนิ ยั ชอื่ -สกุล...................................................................ชั้น.............ภาคเรียนที่............ปก ารศกึ ษา........................ คําชี้แจง ใหพิจารณาพฤตกิ รรมตอไปนี้ แลว ทําเครอ่ื งหมาย 3 ในแตล ะคร้ังเมือ่ นกั เรียนแสดงพฤติกรรม รายการพฤตกิ รรม ๑ ๒ ๓ ครั้งท่สี ังเกต ๘ ๙ ๑๐ รวม ๑. จัดเก็บสงิ่ ของเปนท่เี ปนทาง ๔๕๖๗ ๒. แตง กายถูกตองตามระเบียบของโรงเรียน ๓. มีมารยาทในการเขา ประชมุ ๔. เขา แถวซอ้ื อาหารตามลาํ ดบั ๕. ทิ้งขยะในท่ีที่จดั เตรยี มไว ๖. ทํากิจวัตรของตนตามเวลา ๗. ไปโรงเรียนทันเวลา ๘. เม่ือถงึ ชว่ั โมงเรยี นเขา เรียนตามเวลา ๙. ทํางานเสรจ็ ตามเวลาทก่ี าํ หนด ๑๐. เขารว มกิจกรรมตามเวลาทนี่ ดั หมาย รวมทง้ั หมด ลงช่ือ......................................................ผปู ระเมิน (.....................................................) สถานภาพของผูป ระเมิน ตนเอง เพอื่ น พอแม/ผปู กครอง ครู เกณฑการประเมิน แสดงพฤตกิ รรม ๙ - ๑๐ คร้งั หมายถึง ดีเย่ียม (๓) แสดงพฤตกิ รรม ๗ - ๘ ครัง้ หมายถึง ดี (๒) แสดงพฤติกรรม ๕ - ๖ ครัง้ หมายถึง ผา น (๑) แสดงพฤติกรรม ต่ํากวา ๕ คร้ัง หมายถึง ไมผ า น (๐) สรปุ ผลการประเมิน หาคาเฉลย่ี รวมของพฤติกรรมท่ีแสดงและเทยี บกับเกณฑการประเมนิ แนวปฏิบัติการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู 65 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p65 6/10/2558 9:21:42

ตารางท่ี ๓.๔ แสดงตัวอยา งแบบมาตรประมาณคาเพอ่ื ประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค ขอ ๓ มวี นิ ัย ชื่อ-สกุล......................................................................ชนั้ .............ภาคเรยี นที่............ปการศกึ ษา........................ คําชีแ้ จง ใหพ ิจารณาพฤตกิ รรมตอ ไปน้ี แลว ใหระดับคะแนนทต่ี รงกบั การปฏบิ ตั ิของนกั เรียนตามความเปน จรงิ ระดบั คะแนน ๓ หมายถงึ ปฏิบตั เิ ปนประจํา ๒ หมายถงึ ปฏบิ ัตเิ ปนบางครัง้ ๑ หมายถึง ปฏบิ ตั ินอย ๐ หมายถึง มพี ฤตกิ รรมไมชัดเจน หรอื ไมมหี ลกั ฐานทีน่ าเช่อื ถอื รายการพฤติกรรม คะแนน ๓๒๑๐ ๑. จัดเกบ็ ส่งิ ของเปน ทเ่ี ปนทาง ๒. แตง กายถูกตองตามระเบียบของโรงเรียน ๓. มีมารยาทในการเขาประชมุ ๔. เขา แถวซื้ออาหารตามลําดับ ๕. ทงิ้ ขยะในท่ที จี่ ัดเตรียมไว ๖. ทํากิจวตั รของตนตามเวลา ๗. ไปโรงเรยี นทันเวลา ๘. เมอ่ื ถึงช่วั โมงเรยี นเขา เรียนตามเวลา ๙. ทํางานเสรจ็ ตามเวลาทีก่ ําหนด ๑๐. เขา รวมกจิ กรรมตามเวลาทีน่ ดั หมาย รวมคะแนน คะแนนเฉลี่ย ลงช่ือ......................................................ผูประเมิน (.....................................................) สถานภาพของผูประเมนิ ตนเอง เพ่อื น พอแม/ ผูป กครอง ครู เกณฑก ารประเมิน คะแนน ๒.๕ - ๓ ระดบั คณุ ภาพ ดเี ยย่ี ม (๓) คะแนน ๑.๕ - ๒.๔ ระดบั คณุ ภาพ ดี (๒) คะแนน ๑ - ๑.๔ ระดบั คณุ ภาพ ผาน (๑) คะแนน ๐ - ๐.๙ ระดับคุณภาพ ไมผาน (๐) สรุปผลการประเมนิ ดเี ยี่ยม ดี ผาน ไมผาน 66 แนวปฏบิ ัตกิ ารวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p66 6/10/2558 9:21:42

การสรา งเกณฑก ารประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคจะตองกําหนดเกณฑการประเมินใหชัดเจนเหมาะสม เพราะเกณฑการประเมินเปนแนวทางในการใหคะแนนท่ีประกอบดวยเกณฑดานตาง ๆ เพื่อใชประเมินคาผล การประพฤติปฏิบัติของผูเรียน เกณฑเหลาน้ี คือส่ิงสําคัญท่ีผูเรียนควรประพฤติจนกลายเปนลักษณะนิสัย เกณฑก ารประเมนิ มี ๒ ลกั ษณะ คือ ๑. เกณฑการประเมินแบบภาพรวม (Holistic Rubrics) คือแนวทางการใหคะแนน โดยพิจารณา จากภาพรวมการปฏิบตั ิ โดยจะมคี าํ อธิบายลกั ษณะของการปฏิบตั ิในแตล ะระดบั ไวอ ยางชดั เจน เชน มวี นิ ยั ระดับ ๓ ปฏิบัติตามขอตกลง กฎเกณฑ ระเบียบ ขอบังคับของครอบครัวและโรงเรียน ปฏิบตั ิกจิ กรรม หรือทํางานทีไ่ ดรับมอบหมายเสร็จทันเวลาไดดว ยตนเอง ระดับ ๒ ปฏิบัติตามขอตกลง กฎเกณฑ ระเบียบ ขอบังคับของครอบครัวและโรงเรียน โดยตอ งมีการเตอื นเปนบางครั้ง ระดบั ๑ ปฏิบัติตามขอตกลง กฎเกณฑ ระเบียบ ขอบังคับของครอบครัวและโรงเรียน โดยตองมกี ารเตอื นเปนสว นใหญ ๒. เกณฑการประเมินแบบแยกประเด็น (Analytic Rubrics) คือแนวทางการใหคะแนน โดยพจิ ารณาแตล ะสว นของการปฏบิ ตั ิ ซงึ่ แตล ะสว นจะตอ งกาํ หนดคาํ อธบิ ายลกั ษณะของการปฏบิ ตั ใิ นสว นนน้ั ๆ ไวอยา งชัดเจน เชน มีวนิ ยั รายการประเมิน ๑ คะแนน ๓ ๒ ปฏิบตั ิตามขอ ตกลง กฎเกณฑ ปฏบิ ตั ติ ามขอ ตกลง ปฏิบัตติ ามขอตกลง กฎเกณฑ ระเบียบขอบังคบั ของครอบครัว กฎเกณฑ ระเบียบ ระเบยี บ ขอ บังคบั ของครอบครัว ปฏบิ ัตติ ามขอตกลง กฎเกณฑ และโรงเรยี น โดยไมม ีการเตอื น ขอบงั คบั ของครอบครัว และโรงเรยี น โดยมีการเตือน ระเบยี บขอบงั คับของครอบครวั และโรงเรยี น เปนสว นใหญ และโรงเรียน โดยมีการเตือน บางคร้งั การตรงตอ เวลา ปฏบิ ัติกิจกรรมหรอื ทํางานท่ไี ดร บั ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมหรือทาํ งานทีไ่ ดรับ ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมหรอื ทาํ งานทไี่ ดรบั มอบหมายเสรจ็ ทนั เวลาไดดว ยตนเอง มอบหมายเสร็จทันเวลาไดดว ยตนเอง มอบหมายเสรจ็ ทนั เวลาไดดว ยตนเอง โดยตอ งมีการเตอื นเปนสวนใหญ โดยมกี ารเตือนเปนบางครง้ั สรุปผลการประเมนิ ๕ - ๖ คะแนน หมายถึง ดีเย่ยี ม ๓ - ๔ คะแนน หมายถึง ดี ๑ - ๒ คะแนน หมายถึง ผา น การสรุปผลการประเมนิ การวัดและประเมินผลดานคุณลักษณะอันพึงประสงคนั้น มีความละเอียดออน เพราะเปนเร่ือง ของการพัฒนาคุณลักษณะท่ีตองการปลูกฝงใหเกิดในตัวผูเรียน การวัดและประเมินผลจึงตองคํานึงถึงผลที่ แนวปฏบิ ัติการวัดและประเมินผลการเรยี นรู 67 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p67 6/10/2558 9:21:42

เกิดขึ้นในตัวผูเรียนเม่ือไดรับการพัฒนาเปนระยะ หรือเม่ือส้ินปการศึกษา ดังน้ัน เพื่อใหมีแนวทางการสรุปผล การประเมนิ ทช่ี ดั เจน เปน ธรรมสาํ หรบั ผเู รยี น จงึ ขอเสนอแนวทางการกาํ หนดเกณฑพ จิ ารณาสรปุ ผลการประเมนิ ในแตละขนั้ ตอน ดังน้ี ๑. เกณฑพ จิ ารณาสรปุ ผลการประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคแ ตล ะคุณลกั ษณะ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงคข อที่ ๑ รกั ชาติ ศาสน กษัตริย ตวั ชีว้ ัด ๑.๑ เปนพลเมืองดีของชาติ ๑.๒ ธาํ รงไวซง่ึ ความเปนชาตไิ ทย ๑.๓ ศรัทธา ยึดม่ันและปฏิบัติตนตามหลักศาสนา ๑.๔ เคารพเทิดทูนสถาบนั พระมหากษตั ริย ระดับ เกณฑก ารพิจารณา ดเี ยย่ี ม (๓) ๑. ไดผ ลการประเมนิ ระดบั ดเี ยยี่ ม จาํ นวน ๓ - ๔ ตวั ชี้วัด และไมมตี ัวชวี้ ดั ใดไดผลการประเมิน ดี (๒) ตํ่ากวา ระดบั ดี ๑. ไดผ ลการประเมนิ ระดับดเี ย่ยี ม จํานวน ๑ - ๒ ตวั ชวี้ ดั และไมมตี ัวชี้วดั ใดไดผลการประเมิน ผาน (๑) ไมผาน (๐) ตํ่ากวาระดบั ดี หรอื ๒. ไดผลการประเมินระดับดที ุกตวั ชวี้ ดั หรือ ๓. ไดผลการประเมินตง้ั แตร ะดับดขี ึน้ ไป จาํ นวน ๓ ตัวชีว้ ดั และระดบั ผา น จํานวน ๑ ตัวชี้วดั ๑. ไดผ ลการประเมนิ ระดับผา น ทุกตัวชีว้ ดั หรอื ๒. ไดผ ลการประเมนิ ตัง้ แตร ะดบั ดขี นึ้ ไป จํานวน ๑ - ๒ ตัวช้วี ดั และตวั ช้ีวัดท่เี หลอื ไดผลการประเมินระดับผา น ไดผลการประเมนิ ระดบั ไมผาน ตัง้ แต ๑ ตวั ช้ีวัดขึ้นไป คุณลกั ษณะอันพึงประสงคขอท่ี ๒ ซ่ือสตั ยส ุจริต ตัวชี้วดั ๒.๑ ประพฤติตรงตามความเปน จริงตอตนเองท้ังทางกาย วาจา ใจ ๒.๒ ประพฤติตรงตามความเปน จรงิ ตอผูอ่ืนท้งั ทางกาย วาจา ใจ ระดบั เกณฑการพิจารณา ดีเยี่ยม (๓) ๑. ไดผ ลการประเมนิ ระดับดีเยย่ี มทกุ ตวั ชวี้ ัด ๑. ไดผลการประเมินระดบั ดีเยย่ี ม จาํ นวน ๑ ตวั ช้ีวัด และระดบั ดี จาํ นวน ๑ ตัวช้วี ัด หรอื ดี (๒) ๒. ไดผ ลการประเมินระดบั ดที กุ ตวั ช้ีวัด ๑. ไดผลการประเมนิ ระดับผานทกุ ตัวช้วี ัด หรอื ผาน (๑) ๒. ไดผลการประเมินต้ังแตร ะดับดีขน้ึ ไป จาํ นวน ๑ ตัวชี้วดั และระดับผาน จํานวน ๑ ตัวช้วี ัด ไมผาน (๐) ไดผลการประเมนิ ระดบั ไมผ าน ต้งั แต ๑ ตัวชว้ี ดั ขึน้ ไป 68 แนวปฏบิ ตั ิการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p68 6/10/2558 9:21:42

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคขอ ที่ ๓ มีวนิ ยั ตวั ชวี้ ัด ๓.๑ ปฏบิ ตั ิตามขอตกลง กฎเกณฑ ระเบียบขอ บงั คบั ของครอบครวั โรงเรยี น และสังคม ระดบั เกณฑการพจิ ารณา ดีเยย่ี ม (๓) ไดผลการประเมินตวั ชี้วดั ระดบั ดีเยี่ยม ดี (๒) ไดผ ลการประเมนิ ตัวชี้วดั ระดับดี ผา น (๑) ไดผลการประเมินตวั ชวี้ ดั ระดับผาน ไดผ ลการประเมนิ ตัวชี้วดั ระดบั ไมผาน ไมผ า น (๐) คุณลกั ษณะอันพึงประสงคข อ ที่ ๔ ใฝเ รยี นรู ตัวชี้วัด ๔.๑ ตงั้ ใจ เพียรพยายามในการเรยี นและเขา รวมกจิ กรรม ๔.๒ แสวงหาความรจู ากแหลง เรยี นรตู า ง ๆ ทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรยี นดว ยการเลอื ก ใชส่ืออยา งเหมาะสม บันทกึ ความรู วิเคราะห สรปุ เปน องคค วามรู สามารถนาํ ไปใช ในชวี ติ ประจาํ วนั ได ระดบั เกณฑการพิจารณา ดเี ยยี่ ม (๓) ๑. ไดผ ลการประเมินระดบั ดีเยี่ยมทกุ ตัวช้ีวดั ดี (๒) ๑. ไดผ ลการประเมินระดบั ดเี ยย่ี ม จาํ นวน ๑ ตวั ชว้ี ัด และระดบั ดี จํานวน ๑ ตัวชวี้ ัด หรือ ๒. ไดผ ลการประเมนิ ระดบั ดีทุกตัวชวี้ ัด ผา น (๑) ๑. ไดผลการประเมนิ ระดับผา นทกุ ตวั ช้วี ดั หรอื ไมผาน (๐) ๒. ไดผ ลการประเมินตงั้ แตระดับดีข้นึ ไป จาํ นวน ๑ ตัวช้วี ัด และระดับผา น จาํ นวน ๑ ตัวชี้วดั ไดผ ลการประเมนิ ระดบั ไมผ าน ตง้ั แต ๑ ตวั ชี้วดั ข้ึนไป คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคข อ ที่ ๕ อยูอยา งพอเพยี ง ตวั ชี้วัด ๕.๑ ดาํ เนินชีวิตอยา งพอประมาณ มีเหตผุ ล รอบคอบ มีคุณธรรม ๕.๒ มภี ูมคิ มุ กนั ในตัวทดี่ ี ปรับตวั เพอ่ื อยใู นสงั คมไดอ ยา งมคี วามสขุ ระดับ เกณฑก ารพิจารณา ดีเยยี่ ม (๓) ๑. ไดผลการประเมนิ ระดบั ดีเยีย่ มทกุ ตวั ชวี้ ัด ดี (๒) ๑. ไดผลการประเมินระดับดีเย่ยี ม จาํ นวน ๑ ตวั ช้ีวดั และระดบั ดี จํานวน ๑ ตัวชว้ี ดั หรอื ๒. ไดผลการประเมินระดับดีทุกตัวช้วี ดั ผา น (๑) ๑. ไดผลการประเมินระดับผานทุกตวั ช้วี ัด หรือ ไมผ าน (๐) ๒. ไดผลการประเมินตงั้ แตระดับดขี น้ึ ไป จํานวน ๑ ตัวชีว้ ัด และระดบั ผา น จํานวน ๑ ตัวช้ีวดั ไดผ ลการประเมนิ ระดับไมผาน ตัง้ แต ๑ ตัวชีว้ ดั ขึ้นไป แนวปฏบิ ัตกิ ารวดั และประเมินผลการเรยี นรู 69 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p69 6/10/2558 9:21:42

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคข อท่ี ๖ มุงมัน่ ในการทาํ งาน ตวั ชีว้ ดั ๖.๑ ตง้ั ใจและรบั ผิดชอบในหนา ทกี่ ารงาน ๖.๒ ทาํ งานดว ยความเพียรพยายาม และอดทนเพ่ือใหงานสาํ เรจ็ ตามเปาหมาย ระดับ เกณฑก ารพิจารณา ดเี ยีย่ ม (๓) ๑. ไดผ ลการประเมินระดบั ดเี ย่ยี มทุกตัวชว้ี ัด ดี (๒) ๑. ไดผ ลการประเมนิ ระดบั ดีเย่ยี ม จาํ นวน ๑ ตัวชีว้ ัด และระดบั ดี จํานวน ๑ ตัวช้วี ัด หรือ ๒. ไดผลการประเมนิ ระดับดีทุกตัวชวี้ ดั ผา น (๑) ๑. ไดผลการประเมินระดับผา นทกุ ตวั ชี้วัด หรอื ไมผ า น (๐) ๒. ไดผลการประเมินต้ังแตร ะดับดขี ้ึนไป จํานวน ๑ ตัวชว้ี ัด และระดบั ผาน จํานวน ๑ ตวั ช้วี ัด ไดผ ลการประเมนิ ระดบั ไมผ าน ตัง้ แต ๑ ตัวช้ีวัดขึน้ ไป คุณลักษณะอันพงึ ประสงคขอ ที่ ๗ รักความเปน ไทย ตวั ชีว้ ัด ๗.๑ ภาคภมู ใิ จในขนบธรรมเนยี มประเพณี ศลิ ปะ วฒั นธรรมไทย และมคี วามกตญั กู ตเวที ๗.๒ เหน็ คุณคา และใชภาษาไทยในการสือ่ สารไดอ ยางถกู ตองเหมาะสม ๗.๓ อนุรักษแ ละสืบทอดภมู ปิ ญ ญาไทย ระดบั เกณฑก ารพจิ ารณา ดเี ยย่ี ม (๓) ๑. ไดผลการประเมนิ ระดบั ดีเยย่ี ม จํานวน ๒ - ๓ ตวั ชวี้ ดั และไมม ตี วั ชี้วดั ใดไดผ ลการประเมนิ ดี (๒) ตาํ่ กวาระดบั ดี ผาน (๑) ๑. ไดผลการประเมนิ ระดับดเี ยีย่ ม จาํ นวน ๑ ตวั ชีว้ ดั และระดับดี จาํ นวน ๒ ตัวชี้วดั หรือ ไมผา น (๐) ๒. ไดผ ลการประเมนิ ระดับดที กุ ตวั ชวี้ ดั หรือ ๓. ไดผ ลการประเมินตง้ั แตระดบั ดีขึ้นไป จาํ นวน ๒ ตวั ช้วี ัด และระดับผาน จาํ นวน ๑ ตวั ชี้วดั ๑. ไดผ ลการประเมินระดบั ผานทกุ ตัวช้วี ัด หรือ ๒. ไดผลการประเมนิ ตั้งแตร ะดับดขี ึน้ ไป จํานวน ๑ ตัวชีว้ ัด และระดบั ผา น จาํ นวน ๒ ตัวชีว้ ัด ไดผลการประเมินระดบั ไมผา น ตัง้ แต ๑ ตวั ชีว้ ัดข้นึ ไป 70 แนวปฏบิ ัตกิ ารวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p70 6/10/2558 9:21:42

คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคขอที่ ๘ มจี ติ สาธารณะ ตัวช้ีวดั ๘.๑ ชว ยเหลือผูอื่นดวยความเตม็ ใจและพึงพอใจ ๘.๒ เขา รว มกจิ กรรมทเี่ ปน ประโยชนต อโรงเรยี น ชมุ ชน และสังคม ระดบั เกณฑก ารพิจารณา ดีเยี่ยม (๓) ๑. ไดผลการประเมนิ ระดับดเี ยี่ยมทุกตวั ชวี้ ดั ดี (๒) ๑. ไดผลการประเมนิ ระดับดีเย่ียม จาํ นวน ๑ ตวั ช้วี ดั และระดบั ดี จาํ นวน ๑ ตัวชว้ี ัด หรอื ๒. ไดผ ลการประเมินระดบั ดีทุกตวั ชว้ี ัด ผาน (๑) ๑. ไดผลการประเมินระดบั ผานทกุ ตัวชวี้ ัด หรอื ไมผา น (๐) ๒. ไดผ ลการประเมนิ ต้ังแตระดบั ดีขน้ึ ไป จาํ นวน ๑ ตวั ช้วี ดั และระดับผา น จาํ นวน ๑ ตัวช้วี ัด ไดผลการประเมนิ ระดบั ไมผ า น ตงั้ แต ๑ ตวั ชวี้ ดั ขน้ึ ไป ๒. เกณฑพ จิ ารณาสรปุ ผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคแ ตล ะคณุ ลกั ษณะของผเู รยี น จากคณะกรรมการ ระดบั เกณฑก ารพจิ ารณา ดีเย่ยี ม (๓) ไดผลการประเมินระดบั ดเี ยีย่ มมากกวา หรอื เทา กบั รอ ยละ ๖๐ ของจํานวนผูประเมนิ และ ดี (๒) ไมม ผี ลการประเมินตํ่ากวาระดบั ดี ๑. ไดผ ลการประเมนิ ระดบั ดเี ย่ยี มนอยกวา รอยละ ๖๐ ของจาํ นวนผปู ระเมิน และ ผา น (๑) ไมผา น (๐) ไมม ผี ลการประเมินตา่ํ กวา ระดบั ดี หรอื ๒. ไดผ ลการประเมนิ ระดบั ดีขน้ึ ไปมากกวา หรือเทา กับรอ ยละ ๖๐ ของจาํ นวนผูป ระเมนิ และ มผี ลการประเมนิ สว นที่เหลืออยูใ นระดับผาน ๑. ไดผลการประเมนิ ระดบั ผานมากกวารอยละ ๖๐ ของจํานวนผปู ระเมนิ และไมมีผลการประเมิน ต่าํ กวาระดับผาน มผี ลการประเมินระดบั ไมผ า น จากผปู ระเมนิ ตง้ั แต ๑ คนขึน้ ไป แนวปฏิบตั กิ ารวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู 71 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p71 6/10/2558 9:21:42

๓. เกณฑพ จิ ารณาสรปุ ผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค รายป/ รายภาค ของผเู รยี น รายบุคคล ระดับ เกณฑการพจิ ารณา ดีเย่ยี ม (๓) ๑. ไดผลการประเมินระดบั ดเี ย่ียม จาํ นวน ๕ - ๘ คุณลักษณะ และไมม คี ุณลักษณะใด ดี (๒) ไดผลการประเมนิ ตาํ่ กวา ระดับดี ผา น (๑) ๑. ไดผลการประเมินระดับดเี ย่ียม จํานวน ๑ - ๔ คณุ ลกั ษณะ และไมม คี ุณลกั ษณะใด ไมผา น (๐) ไดผลการประเมนิ ตาํ่ กวา ระดบั ดี หรอื ๒. ไดผลการประเมินระดับดี ท้ัง ๘ คณุ ลกั ษณะ หรือ ๓. ไดผลการประเมนิ ตงั้ แตระดบั ดขี ึ้นไป จาํ นวน ๕ - ๗ คุณลกั ษณะ และมบี างคุณลกั ษณะ ไดผ ลการประเมินระดบั ผา น ๑. ไดผ ลการประเมินระดบั ผา น ทงั้ ๘ คณุ ลกั ษณะ หรอื ๒. ไดผ ลการประเมนิ ต้งั แตระดับดีขนึ้ ไป จาํ นวน ๑ - ๔ คุณลักษณะ และคณุ ลักษณะทีเ่ หลอื ไดผลการประเมนิ ระดบั ผา น ไดผลการประเมนิ ระดบั ไมผ าน ต้ังแต ๑ คณุ ลกั ษณะขีน้ ไป ๔. เกณฑพ จิ ารณาสรปุ ผลการประเมนิ รวมทกุ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคแ ตล ะระดบั การศกึ ษา ระดับ เกณฑก ารพิจารณา ดเี ยย่ี ม (๓) ๑. ไดผ ลการประเมินระดับดีเยี่ยม จาํ นวน ๕ - ๘ คณุ ลกั ษณะ และไมม คี ุณลักษณะใด ดี (๒) ไดผ ลการประเมนิ ตํ่ากวาระดบั ดี ผา น (๑) ๑. ไดผลการประเมนิ ระดบั ดเี ยย่ี ม จํานวน ๑ - ๔ คุณลกั ษณะ และไมมคี ุณลกั ษณะใด ไมผาน (๐) ไดผ ลการประเมนิ ตํ่ากวา ระดับดี หรือ ๒. ไดผลการประเมินระดับดี ทง้ั ๘ คณุ ลักษณะ หรอื ๓. ไดผ ลการประเมนิ ตง้ั แตร ะดับดีข้ึนไป จํานวน ๕ - ๗ คณุ ลกั ษณะ และมบี างคุณลักษณะ ไดผลการประเมินระดบั ผา น ๑. ไดผลการประเมินระดบั ผาน ทง้ั ๘ คณุ ลักษณะ หรือ ๒. ไดผลการประเมนิ ต้ังแตร ะดับดขี ้นึ ไป จาํ นวน ๑ - ๔ คณุ ลกั ษณะ และคุณลักษณะที่เหลอื ไดผ ลการประเมนิ ระดับผา น ไดผลการประเมินระดับไมผา น ต้ังแต ๑ คุณลักษณะข้นึ ไป 72 แนวปฏิบตั กิ ารวดั และประเมินผลการเรยี นรู ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p72 6/10/2558 9:21:42

กรณที ผ่ี เู รยี นไมผ า นเกณฑค ณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ใหผ ทู ร่ี บั ผดิ ชอบดาํ เนนิ การปรบั ปรงุ พฒั นา และประเมินตามเกณฑท ่ีสถานศกึ ษากาํ หนด การรายงานผล การรายงานมงุ เนน ใหเ หน็ พฒั นาการของผเู รยี นเปน รายคณุ ลกั ษณะ ในการนไี้ ดจ ดั ทาํ เอกสารแนวทาง การพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ขน้ึ ซง่ึ สถานศึกษาสามารถใชศ ึกษาและอางอิง เอกสารดงั กลา วไดนาํ เสนอแบบการบนั ทึก การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงคไวหลายรูปแบบท่ีเนนดูพัฒนาการความกาวหนา ในท่ีนี้จักไดนําเสนอ ตัวอยา งแบบรายงานผลการประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค ซง่ึ มวี ธิ ีการดําเนินการ ดงั น้ี ๑. นําผลการประเมินที่สรุปจากคณะกรรมการประเมินมาบันทึกลงในแตละภาคเรียนของแตละ ปก ารศกึ ษา ๒. ในชอ งสรุปของแตละปก ารศึกษา ใหน ําผลการประเมนิ ที่แสดงพฒั นาการสุดทา ยนน่ั คอื ผลจาก ภาคเรยี นที่ ๒ บนั ทึกลงในชอ งสรปุ ของปก ารศึกษานนั้ ๆ ๓. เม่ือเสร็จส้ินการบันทึกในแตละปการศึกษา ใหนําผลในชองสรุปไปบันทึกลงในแบบบันทึก การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค (แบบที่ ๓.๑ - ๓.๓) ของแตละระดับช้ัน คือ ระดับประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน และมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๔. การพจิ ารณาตดั สนิ ผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค (แบบท่ี ๓.๑ - ๓.๓) ของแตล ะระดบั การศกึ ษา เชน ระดบั ประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย มีแนวดาํ เนินการ ดังน้ี ๔.๑ คณะกรรมการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคพิจารณาผลการตัดสินในแตละชั้นป ถาผลการประเมินในปสุดทายไดระดับใดใหถือวาผูเรียนไดคุณลักษณะอันพึงประสงคระดับนั้น เชน เด็กชายดี มคี ณุ ธรรม ไดร ับการประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคของชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๖ ไดระดับดีเย่ียม การสรุปผล ในระดับประถมศึกษาถอื วา ไดร ะดับดเี ยีย่ ม ๔.๒ ถามีกรณีท่ีผลการประเมินในปกอน ๆ ไดระดับดี หรือดีเยี่ยม แตปสุดทายของระดับ การศกึ ษาไดร ะดบั ผา น/หรอื ไมผ า น ใหค ณะกรรมการประเมนิ คณุ ลกั ษณะใชด ลุ ยพนิ จิ อยา งรอบคอบและเปน ไป ตามสภาพจริง โดยนําขอมูลจากประวัติทผี่ านมาประกอบการพจิ ารณาวาจะใหระดบั ใด ๕. นําผลการประเมนิ ปส ุดทายของแตล ะระดับการศกึ ษาไปบันทกึ ลงใน ปพ.๑ แนวปฏบิ ัติการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู 73 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p73 6/10/2558 9:21:42

(แบบท่ี ๓.๑) แบบบันทกึ การพัฒนาคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค ระดบั ประถมศึกษา ปก ารศกึ ษา.................................ถงึ ปก ารศกึ ษา................................. ชือ่ นกั เรยี น...........................................................ชน้ั ........................โรงเรยี น................................................. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค ระดบั ความกาวหนา การพัฒนาคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค สรปุ คณุ ภาพ ระดับคุณภาพ ๑. รกั ชาติ ศาสน กษตั รยิ  ๓ ( ) ดเี ยยี่ ม ๒ ( ) ดี ๑ ( ) ผา น ๐ ( ) ไมผาน ( ) ดเี ยย่ี ม ๒. ซอ่ื สัตยสจุ รติ ๓ ( ) ดี ๒ ( ) ผา น ๑ ( ) ไมผ า น ๐ ( ) ดีเยีย่ ม ๓. มีวินยั ๓ ( ) ดี ๒ ( ) ผา น ๑ ( ) ไมผา น ๐ ( ) ดีเยี่ยม ๔. ใฝเรียนรู ๓ ( ) ดี ๒ ( ) ผาน ๑ ( ) ไมผา น ๐ ( ) ดีเย่ียม ( ) ดี ๕. อยอู ยางพอเพยี ง ๓ ( ) ผาน ๖. มุง ม่นั ในการทาํ งาน ๒ ( ) ไมผ าน ๗. รกั ความเปนไทย ๑ ( ) ดเี ยย่ี ม ๐ ( ) ดี ๓ ( ) ผา น ๒ ( ) ไมผา น ๑ ( ) ดเี ยย่ี ม ๐ ( ) ดี ๓ ( ) ผาน ๒ ( ) ไมผา น ๑ ( ) ดเี ยีย่ ม ๐ ( ) ดี ( ) ผาน ๘. มีจติ สาธารณะ ๓ ( ) ไมผ าน ๒ ๑ ๐ ภาคเรยี นที่ ๑๒ ๑๒ ๑๒ ๑๒ ๑๒ ๑๒ ( ) ดีเย่ยี ม ( ) ดเี ย่ยี ม ( ) ดเี ยี่ยม ( ) ดเี ยี่ยม ( ) ดีเย่ียม สรุปผลการประเมนิ รายป ( ) ดีเย่ียม ( ) ดี ( ) ดี ( ) ดี ( ) ดี ( ) ดี ( ) ดี ( ) ผาน ( ) ผาน ( ) ผาน ( ) ผา น ( ) ผา น ( ) ผา น ( ) ไมผาน ( ) ไมผ า น ( ) ไมผาน ( ) ไมผ า น ( ) ไมผาน ( ) ไมผา น ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ชัน้ ประถมศึกษาปท่ี ๑ สรุปผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค ระดบั ประถมศึกษา ( ) ดเี ยย่ี ม ( ) ดี ( ) ผา น ( ) ไมผา น (ลงชื่อ) ................................................................กรรมการผูประเมิน (..............................................................) 74 แนวปฏิบตั กิ ารวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p74 6/10/2558 9:21:42

แบบบนั ทึกการพฒั นาคุณลักษณะอันพงึ ประสงค (แบบที่ ๓.๒) ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน ปก ารศึกษา.................................ถึง ปก ารศึกษา................................. สรปุ ช่ือนกั เรยี น...........................................................ชน้ั ........................โรงเรยี น................................................. ระดบั คณุ ภาพ ( ) ดีเย่ียม คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค ระดับ ความกาวหนาการพฒั นาคุณลกั ษณะอันพึงประสงค ( ) ดี คณุ ภาพ ๒ ๑๒๑ ( ) ผา น ( ) ไมผ าน ๑. รักชาติ ศาสน กษัตริย ๓ ( ) ดีเยย่ี ม ๒ ( ) ดี ๑ ( ) ผาน ๐ ( ) ไมผ าน ( ) ดีเยยี่ ม ๒. ซอ่ื สตั ยส ุจรติ ๓ ( ) ดี ๒ ( ) ผาน ๑ ( ) ไมผา น ๐ ( ) ดเี ยยี่ ม ( ) ดี ๓. มีวินัย ๓ ( ) ผา น ๒ ( ) ไมผาน ๑ ( ) ดเี ยยี่ ม ๐ ( ) ดี ( ) ผา น ๔. ใฝเ รยี นรู ๓ ( ) ไมผาน ๒ ( ) ดีเยีย่ ม ๑ ( ) ดี ๐ ( ) ผา น ( ) ไมผ าน ๕. อยูอ ยา งพอเพยี ง ๓ ( ) ดีเยี่ยม ๖. มงุ มนั่ ในการทํางาน ๒ ( ) ดี ๗. รักความเปนไทย ๑ ( ) ผา น ๐ ( ) ไมผา น ๓ ( ) ดีเยี่ยม ๒ ( ) ดี ๑ ( ) ผา น ๐ ( ) ไมผ าน ๓ ๒ ๑ ๐ ๘. มีจติ สาธารณะ ๓ ๒ ๑ ๐ ภาคเรยี นท่ี ๑ ๒ สรุปผลการประเมนิ รายป ( ) ดีเยยี่ ม ( ) ดี ( ) ดเี ยี่ยม ( ) ดี ( ) ดเี ยีย่ ม ( ) ดี ชน้ั ( ) ผาน ( ) ไมผ าน ( ) ผา น ( ) ไมผาน ( ) ผา น ( ) ไมผ า น มธั ยมศกึ ษาปท ่ี ๑ มัธยมศึกษาปท่ี ๒ มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๓ สรุปผลการประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน ( ) ดีเยี่ยม ( ) ดี ( ) ผาน ( ) ไมผา น (ลงชอื่ ) ................................................................กรรมการผูประเมิน (..............................................................) แนวปฏิบตั ิการวดั และประเมินผลการเรียนรู 75 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p75 6/10/2558 9:21:43

แบบบันทึกการพัฒนาคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค (แบบท่ี ๓.๓) ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ปการศกึ ษา.................................ถึง ปการศกึ ษา................................. สรุป ช่ือนกั เรียน...........................................................ช้ัน........................โรงเรียน................................................. ระดับคณุ ภาพ ( ) ดเี ยยี่ ม คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค ระดบั ความกาวหนาการพฒั นาคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค ( ) ดี คณุ ภาพ ๒ ๑๒๑ ( ) ผาน ( ) ไมผ า น ๑. รกั ชาติ ศาสน กษัตรยิ  ๓ ( ) ดีเยย่ี ม ๒ ( ) ดี ๑ ( ) ผาน ๐ ( ) ไมผาน ( ) ดเี ยย่ี ม ๒. ซือ่ สัตยสุจริต ๓ ( ) ดี ๒ ( ) ผาน ๑ ( ) ไมผ า น ๐ ( ) ดเี ยี่ยม ( ) ดี ๓. มีวินัย ๓ ( ) ผา น ๒ ( ) ไมผา น ๑ ( ) ดีเยยี่ ม ๐ ( ) ดี ( ) ผา น ๔. ใฝเรียนรู ๓ ( ) ไมผาน ๒ ( ) ดเี ยย่ี ม ๑ ( ) ดี ๐ ( ) ผาน ( ) ไมผ า น ๕. อยอู ยางพอเพยี ง ๓ ( ) ดีเยยี่ ม ๖. มงุ มัน่ ในการทํางาน ๒ ( ) ดี ๗. รกั ความเปน ไทย ๑ ( ) ผา น ๐ ( ) ไมผ า น ๓ ( ) ดเี ย่ียม ๒ ( ) ดี ๑ ( ) ผา น ๐ ( ) ไมผ าน ๓ ๒ ๑ ๐ ๘. มีจติ สาธารณะ ๓ ๒ ๑ ๐ ภาคเรียนท่ี ๑ ๒ สรุปผลการประเมนิ รายป ( ) ดเี ยย่ี ม ( ) ดี ( ) ดเี ยีย่ ม ( ) ดี ( ) ดเี ย่ียม ( ) ดี ชน้ั ( ) ผา น ( ) ไมผาน ( ) ผา น ( ) ไมผาน ( ) ผา น ( ) ไมผาน มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๔ มัธยมศกึ ษาปท่ี ๕ มัธยมศกึ ษาปท่ี ๖ สรปุ ผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ( ) ดเี ยย่ี ม ( ) ดี ( ) ผา น ( ) ไมผ าน –– (ลงช่อื ) ................................................................กรรมการผูประเมิน (..............................................................) 76 แนวปฏบิ ตั กิ ารวดั และประเมินผลการเรยี นรู ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p76 6/10/2558 9:21:43

การประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผูเรียน นิยาม กิจกรรมพัฒนาผูเรียน เปนกิจกรรมที่สถานศึกษาตองจัดใหผูเรียนทุกระดับช้ัน เพ่ือสงเสริมพัฒนา ความสามารถของตนเองตามความถนัด ความสนใจ ใหเต็มศักยภาพ โดยมุงเนนการพัฒนาองครวมของ ความเปน มนษุ ยท ง้ั ดา นรา งกาย สตปิ ญ ญา อารมณ และสงั คม สรา งเยาวชนของชาตใิ หเ ปน ผมู ศี ลี ธรรมจรยิ ธรรม มีระเบียบวนิ ยั ปลกู ฝง และสรางจิตสํานกึ ของการทาํ ประโยชนเพื่อสังคม และสามารถบริหารจดั การตนเองได แนวการจัดกจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น สถานศึกษาควรดาํ เนินการในการจดั กจิ กรรมพฒั นาผูเ รียน ดังนี้ ๑. กําหนดวัตถุประสงคของการจัดกิจกรรม โดยมุงเนนใหผูเรียนไดพัฒนาตนเองตามศักยภาพ ความถนดั ความสนใจ วุฒภิ าวะของผูเรยี น สอดคลอ งกบั ลักษณะของกจิ กรรมนัน้ ๆ ๒. กําหนดเวลาใหสอดคลองกับโครงสรางของหลักสูตรสถานศึกษาและเหมาะสมกับลักษณะของ กิจกรรม ท้ังนี้ เวลาเรียนสําหรับกิจกรรมพัฒนาผูเรียนท่ีกําหนดไวในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ในระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี ๑ ถึงมธั ยมศึกษาปท่ี ๓ ปละ ๑๒๐ ชวั่ โมง และช้นั มัธยมศึกษา ปท่ี ๔ - ๖ จํานวน ๓๖๐ ชว่ั โมง เปน เวลาสาํ หรบั ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรยี น และกิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน ๓. ออกแบบแผนการดําเนนิ กจิ กรรมใหส อดคลอ งกบั วัตถปุ ระสงค ๔. จัดกิจกรรมการพัฒนาใหสอดคลองกับวัตถุประสงคอยางหลากหลาย นาสนใจ โดยเนนเวลา การเขารวมกิจกรรม พฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ิ และผลงาน/ชิน้ งาน สถานศึกษาตองสงเสริมการพัฒนาความสามารถของผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ดว ยกจิ กรรม ๓ ลักษณะ ดงั น้ี ๑. กิจกรรมแนะแนว เปนกิจกรรมที่สงเสริมและพัฒนาผูเรียนใหรูจักตนเอง รูรักษสิ่งแวดลอม สามารถคิดตัดสินใจ คิดแกปญ หา กําหนดเปาหมาย วางแผนชวี ิตท้ังดานการเรียนและอาชีพ สามารถปรับตน ไดอ ยางเหมาะสม นอกจากนีย้ งั ชวยใหค รูรจู กั และเขาใจผูเรียน ท้งั ยังเปน กจิ กรรมที่ชว ยเหลอื และใหค าํ ปรึกษา แกผูปกครองในการมีสวนรวมพัฒนาผูเรียน เชน กิจกรรมการรูจัก เขาใจ และเห็นคุณคาในตนเองและผูอ่ืน กจิ กรรมการปรบั ตวั และดาํ รงชวี ติ กจิ กรรมแสวงหาและใชข อ มลู สารสนเทศ กจิ กรรมการตดั สนิ ใจและแกป ญ หา เปน ตน ๒. กิจกรรมนักเรียน เปนกิจกรรมท่ีมุงพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเปนผูนําผูตามท่ีดี ความรับผิดชอบ การทํางานรวมกนั การรจู กั แกป ญหา การตดั สนิ ใจทเี่ หมาะสม ความมีเหตุผล การชวยเหลอื แบงปนกัน เอื้ออาทรและสมานฉันท โดยจัดใหสอดคลองกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของ ผเู รยี น ใหผ เู รียนไดปฏิบัติดวยตนเองในทกุ ขัน้ ตอน ไดแก การศึกษาวิเคราะห วางแผน ปฏิบัตติ ามแผน ประเมนิ และปรบั ปรงุ การทาํ งาน เนน การทาํ งานรว มกนั เปน กลมุ ตามความเหมาะสม และสอดคลอ งกบั วฒุ ภิ าวะของผเู รยี น บริบทของสถานศกึ ษาและทอ งถิ่น กิจกรรมนกั เรยี น ประกอบดวย แนวปฏิบัตกิ ารวดั และประเมินผลการเรยี นรู 77 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p77 6/10/2558 9:21:43

๒.๑ กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบําเพ็ญประโยชน และนักศึกษาวิชาทหาร เปนกิจกรรมที่มุงพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเปนผูนําผูตามที่ดี ความรับผิดชอบ การทํางานรวมกัน การรูจักแกปญหา การตัดสินใจท่ีเหมาะสม ความมีเหตุผล การชวยเหลือแบงปนกัน การประนีประนอม เพ่ือสงเสริมใหผูเรียนเจริญเติบโตเปนผูใหญที่มีความสมบูรณพรอมท้ังดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม และสตปิ ญญา เปนตน ๒.๒ กิจกรรมชุมนุม ชมรม เปนกิจกรรมท่ีสงเสริมและพัฒนาผูเรียนใหสอดคลองกับ ความสามารถ ความถนดั และความสนใจ โดยเนน ใหผ เู รยี นปฏบิ ตั ดิ ว ยตนเอง ตง้ั แตก ารศกึ ษาวเิ คราะห วางแผน ปฏบิ ตั ิตามแผน ประเมินและปรับปรงุ การทํางาน เนน การทาํ งานรวมกันเปนกลุม กิจกรรมสําคัญในการพัฒนา ไดแ ก ชมุ นมุ หรอื ชมรมตา ง ๆ ทส่ี ถานศกึ ษากาํ หนดขน้ึ ตามความเหมาะสมและสอดคลอ งกบั วฒุ ภิ าวะของผเู รยี น และบริบทของสถานศึกษาและทอ งถิ่น ๓. กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน เปนกิจกรรมที่สงเสริมใหผูเรียนบําเพ็ญตนใหเปน ประโยชนตอสังคม ชุมชน และทองถิ่นตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพ่ือแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดงี าม ความเสยี สละตอ สังคม มจี ิตสาธารณะ เชน กจิ กรรมอาสาพฒั นาตา ง ๆ กจิ กรรมสรา งสรรคสงั คม เปน ตน การจัดกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน สามารถนําไปสอดแทรกหรือบูรณาการ ในกลุมสาระการเรียนรู กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบําเพ็ญประโยชน และนักศึกษาวิชาทหาร ไดตามความเหมาะสม ทั้งน้ี การทํากิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน ใหผูเรียนรายงานแสดงการ เขา รว มกิจกรรมและมีผรู ับรองผลการเขา รว มกจิ กรรมดว ย โดยสถานศึกษาจัดเวลาเรียนใหผูเรียน ดังนี้ ระดบั ประถมศกึ ษาปท่ี ๑ - ๖ รวม ๖ ป จาํ นวน ๖๐ ชว่ั โมง ระดับมัธยมศกึ ษาปท ี่ ๑ - ๓ รวม ๓ ป จาํ นวน ๔๕ ช่วั โมง ระดบั มัธยมศึกษาปท ่ี ๔ - ๖ รวม ๓ ป จาํ นวน ๖๐ ชั่วโมง ตัวอยา ง รูปแบบการจัดกจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน รปู แบบท่ี ๑ จดั ทาํ โครงการทใี่ หผ ูเ รยี นเขารว มกิจกรรมนอกเหนอื จากการเรยี นปกติ ซ่งึ เปน กิจกรรมทอ่ี ยใู นลักษณะเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน รปู แบบท่ี ๒ จัดทาํ เปนกจิ กรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณี วฒั นธรรม วนั สาํ คัญ ทางราชการหรือกิจกรรมทีน่ าํ นักเรยี นออกทําประโยชนร ว มกบั ชุมชน หนวยงานราชการ หรอื องคกรอื่น ๆ รูปแบบที่ ๓ จัดใหผ เู รียนทาํ กิจกรรมตามความตองการ โดยมคี รูเปน ทีป่ รกึ ษา กิจกรรม เชน รวมกลุมอนุรกั ษศ ลิ ปวฒั นธรรม พัฒนาชุมชน/ทองถน่ิ เปน ตน 78 แนวปฏิบตั ิการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p78 6/10/2558 9:21:43

สถานศึกษาสามารถเลือกจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนตามรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง หรือรปู แบบอื่น ๆ ตามความเหมาะสม แผนภูมกิ ารประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน การประเมินผลการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน เปนเง่ือนไขสําคัญประการหนึ่งสําหรับการเลื่อนชั้น และการจบระดบั การศกึ ษา ผเู รยี นตอ งมเี วลาเขา รว มและปฏบิ ตั กิ จิ กรรมพฒั นาผเู รยี น ตลอดจนผา นการประเมนิ ตามเกณฑท่ีสถานศึกษากําหนด โดยแนวทางการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียนมีรายละเอียด ดังแผนภาพ ที่ ๓.๔ กจิ กรรมแนะแนว เวลาการเขา รวมกจิ กรรม กิจกรรมพัฒนาผเู รยี น กจิ กรรมนักเรียน การปฏบิ ตั กิ ิจกรรม เกณฑก ารประเมนิ ลกู เสือ/เนตรนารี/ ชุมนมุ ผลงาน/ชนิ้ งาน ผูบาํ เพ็ญฯ/รด. ชมรม กจิ กรรมเพ่ือสังคมและ สาธารณประโยชน ไมเปน ไปตามเกณฑ ประเมนิ ตามเกณฑ ไมผ า น ผา น ซอมเสริม สง ผลการประเมนิ แผนภาพท่ี ๓.๔ แสดงขัน้ ตอนการประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผูเรียน แนวดําเนินการประเมินกจิ กรรมพฒั นาผูเ รียน หลักการประเมนิ การประเมินกิจกรรมพัฒนาผเู รียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ เปนกระบวนการประเมินจากการปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน/ชิ้นงานของผูเรียนดวยวิธีการที่หลากหลาย และ ประเมนิ ตามสภาพจริง โดย แนวปฏิบัติการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู 79 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p79 6/10/2558 9:21:44

- ใหผ เู รยี นไดค น หาศกั ยภาพของตนเอง การทาํ งานกลมุ ทกั ษะการอยรู ว มกนั และการมจี ติ สาธารณะ - ทุกฝายมสี ว นรวมในการประเมิน เชน ครู ผูปกครอง เพื่อนนักเรียน - สถานศกึ ษามกี ารประเมนิ ผลเปนระยะ ๆ เพอื่ รวบรวมขอมูลและพฒั นาอยา งตอเน่ือง แนวทางการประเมิน สถานศึกษาควรมีแนวทางในการดาํ เนินการประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผูเ รียนท่ชี ัดเจน ๑. การประเมินกิจกรรมพฒั นาผเู รียนรายกิจกรรม มีแนวปฏิบตั ิ ดังนี้ ๑.๑ ตรวจสอบเวลาเขา รว มกิจกรรมของผูเ รียนใหเปน ไปตามเกณฑทสี่ ถานศกึ ษากําหนด ๑.๒ ประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน/ช้ินงานของผูเรียน ตามเกณฑท ี่สถานศกึ ษากาํ หนดดวยวธิ ีการท่ีหลากหลาย และใชการประเมนิ ตามสภาพจริง ๑.๓ ผูเรียนท่ีมีเวลาการเขารวมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน/ช้ินงานของผูเรียน ตามเกณฑท ่ีสถานศกึ ษากาํ หนด เปนผูผานการประเมนิ รายกจิ กรรมและนาํ ผลการประเมนิ ไปบนั ทึกในระเบยี น แสดงผลการเรียน ๑.๔ ผเู รยี นทมี่ ผี ลการประเมนิ ไมผ า นตามเกณฑเ วลาการเขา รว มกจิ กรรม หรอื เกณฑก ารปฏบิ ตั ิ กิจกรรมและผลงาน/ช้ินงานของผูเรียนหรือทั้งสองเกณฑ ถือวาไมผานการประเมินผลกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ผูสอนตองดําเนินการซอมเสริมและประเมินจนผาน ท้ังนี้ ควรดําเนินการใหเสร็จส้ินในปการศึกษาน้ัน ยกเวน มเี หตุสดุ วสิ ยั ใหอ ยูในดุลยพินจิ ของสถานศึกษา ๒. การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผเู รียนเพื่อการตดั สิน การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน เปนการประเมินการผานกิจกรรมพัฒนาผูเรียนเปนรายป/ รายภาค เพื่อสรุปผลการผานในแตละกิจกรรม สรุปผลรวมเพื่อเลื่อนชั้นและประมวลผลรวมในปสุดทาย เพอื่ การจบแตล ะระดบั การศึกษา โดยการดาํ เนินการดงั กลาวมีแนวปฏิบตั ิ ดังน้ี ๒.๑ กําหนดใหมีผูรับผิดชอบในการรวบรวมขอมูลเก่ียวกับการรวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนของ ผูเรียนทกุ คนตลอดระดับการศึกษา ๒.๒ ผูรับผิดชอบสรุปและตัดสินผลการรวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนของผูเรียนเปนรายบุคคล ตามเกณฑท ส่ี ถานศกึ ษากาํ หนด เกณฑก ารจบแตล ะระดบั การศกึ ษาทสี่ ถานศกึ ษากาํ หนดนน้ั ผเู รยี นจะตอ งผา น กิจกรรม ๓ กจิ กรรมสาํ คัญ ดงั น้ี ๑) กิจกรรมแนะแนว ๒) กิจกรรมนกั เรียน ไดแก (๑) กจิ กรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผบู ําเพญ็ ประโยชน และนกั ศึกษาวชิ าทหาร (๒) กจิ กรรมชมุ นุม ชมรม ๓) กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน ๒.๓ นาํ เสนอผลการประเมนิ ตอ คณะอนกุ รรมการกลมุ สาระการเรยี นรแู ละกจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น เพอื่ ใหค วามเหน็ ชอบ ๒.๔ เสนอผบู รหิ ารสถานศกึ ษา พจิ ารณาอนมุ ตั ผิ ลการประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี นผา นเกณฑ การจบแตละระดบั การศึกษา 80 แนวปฏบิ ัตกิ ารวดั และประเมินผลการเรยี นรู ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p80 6/10/2558 9:21:44

เกณฑการตดั สนิ ผูเรียนจะตองไดรับการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียนและผานเกณฑตามท่ีสถานศึกษากําหนด โดยกําหนดเกณฑใ นการประเมนิ อยา งเหมาะสม ดังนี้ ๑. กําหนดคุณภาพหรือเกณฑในการประเมินตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กําหนด ไว ๒ ระดบั คือ ผาน (ผ) และไมผ าน (มผ) ๒. กําหนดประเด็นการประเมินใหสอดคลองตามวัตถุประสงคในแตละกิจกรรมและกําหนดเกณฑ การผานการประเมิน ดังน้ี ๒.๑ เกณฑก ารตัดสนิ ผลการประเมินรายกิจกรรม ผา น หมายถงึ ผูเรียนมีเวลาเขารวมกิจกรรมครบตามเกณฑ ปฏิบัติกิจกรรม และ มผี ลงาน/ชนิ้ งาน/คุณลักษณะตามเกณฑท่สี ถานศกึ ษากาํ หนด ไมผาน หมายถงึ ผูเรียนมีเวลาเขารวมไมครบตามเกณฑ ไมผานการปฏิบัติกิจกรรม หรอื มผี ลงานชน้ิ งาน/คณุ ลกั ษณะไมเ ปน ไปตามเกณฑท สี่ ถานศกึ ษา กาํ หนด ๒.๒ เกณฑการตดั สินผลการประเมินกจิ กรรมพัฒนาผเู รยี นรายป/ รายภาค ผา น หมายถึง ผเู รยี นมผี ลการประเมนิ ระดบั “ผ” ในกจิ กรรมสาํ คญั ทง้ั ๓ กจิ กรรม คือ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมเพื่อสังคม และสาธารณประโยชน ไมผ า น หมายถึง ผูเรียนมีผลการประเมินระดับ “มผ” ในกิจกรรมสําคัญกิจกรรมใด กิจกรรมหน่ึงจาก ๓ กิจกรรม คือ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรม นักเรยี น กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน ๒.๓ เกณฑการตดั สินผลการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผเู รียนเพ่อื จบระดบั การศกึ ษา ผาน หมายถงึ ผเู รียนมผี ลการประเมนิ ระดับ “ผ” ทุกช้นั ปใ นระดบั การศึกษานัน้ ไมผ า น หมายถงึ ผเู รยี นมผี ลการประเมนิ ระดบั “มผ” บางชน้ั ปใ นระดบั การศกึ ษานนั้ แนวทางการแกไ ขนกั เรียนกรณไี มผานเกณฑ กรณีทผ่ี เู รียนไมผ านกจิ กรรม ใหเ ปน หนาท่ขี องครูหรอื ผูร บั ผดิ ชอบกจิ กรรมนน้ั ๆ ท่ีจะตอ งซอมเสรมิ โดยใหผ เู รยี นดาํ เนนิ กจิ กรรมจนครบตามเวลาทข่ี าดหรอื ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมใหบ รรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคข องกจิ กรรมนน้ั แลว จงึ ประเมนิ ใหผ า นกจิ กรรม เพอ่ื บนั ทกึ ในระเบยี นแสดงผลการเรยี น ยกเวน มเี หตสุ ดุ วสิ ยั ใหร ายงานผบู รหิ าร สถานศึกษาทราบ เพอ่ื ดาํ เนนิ การชวยเหลอื ผูเรียนอยางเหมาะสมเปนรายกรณีไป แนวปฏิบตั ิการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู 81 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p81 6/10/2558 9:21:44

ขอเสนอแนะ การประเมนิ ผลการเขา รวมกิจกรรมพัฒนาผูเรยี นนนั้ จะตองคาํ นึงถงึ สิง่ ตอไปนี้ ๑. เวลาการเขา รว มกจิ กรรมของผเู รยี นตามเกณฑท ส่ี ถานศกึ ษากาํ หนด สถานศกึ ษาควรกาํ หนดเวลา ไมนอยกวารอยละ ๘๐ ของเวลาเรียนแตละกิจกรรม สําหรับกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนผูเรียน ตองปฏิบตั ิกิจกรรมครบตามโครงสรางเวลาเรียน ๒. ผลการปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน/ช้ินงาน/คุณลักษณะของผูเรียนใหเปนไปตามเกณฑที่ สถานศึกษากาํ หนด โดยอาจจัดใหผ ูเ รยี นแสดงผลงาน แฟม สะสมงาน หรอื จัดนิทรรศการ ๓. การจดั กิจกรรมพัฒนาผูเรียน หากสถานศกึ ษามบี ุคลากรไมเ พียงพอ หรือไมสามารถจดั กจิ กรรม ไดอ ยางหลากหลาย สถานศึกษาอาจจัดกิจกรรมในลกั ษณะบูรณาการ หรอื สอดแทรกในกิจกรรมหรือโครงการ ตาง ๆ เชน กิจกรรมโฮมรูม กิจกรรมวันสําคัญ กิจกรรมบําเพ็ญประโยชน เปนตน ซ่ึงสถานศึกษาสามารถ ประเมนิ ผลการเขารว มกจิ กรรมดงั กลาว และนํามาเปน สว นหน่ึงในการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผเู รียนได ๔. การจัดกจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น ควรมอี งคประกอบในการดําเนินการ ดงั น้ี ๔.๑ มคี รูทีป่ รึกษา/และแผนการดําเนนิ กิจกรรม ๔.๒ มหี ลักฐาน/ภาพถา ย/แฟม สะสมงาน ๔.๓ มีผูรบั รองผลการเขา รวมกิจกรรม ๔.๔ มรี ายงานแสดงการเขา รวมกิจกรรม 82 แนวปฏบิ ตั กิ ารวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p82 6/10/2558 9:21:44

๔. ภารกิจของผสู อน ดานการวดั และประเมินผลการเรียนรู 0675_57.indd p83 6/10/2558 9:21:44

กระบวนทัศนใหมในการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ บรรยากาศในชัน้ เรยี น : แนวคดิ ท่ตี อ งเปลี่ยนแปลง หากประสงคใ หผเู รียนเกิดการเรียนรทู ค่ี งทน เรยี นรดู ว ยความเขาใจอยางถองแท สามารถอธิบาย ตีความ นําความรูไปใชได มีมุมมองที่ถูกตอง มีความเขาใจผูอื่น ตลอดจนเขาใจและรูจักตัวเอง การจัด การเรียนการสอน การวดั และประเมินผลจะตองมีการเปลี่ยนแปลง ซง่ึ จะสาํ เร็จไดบ รรยากาศในชนั้ เรียน จะตองเปลยี่ นแปลงจาก หองเรยี นท่ียดึ การเปรยี บเทียบ หองเรยี นท่ีมกี ารเรยี นรูเปน หวั ใจ ผลการเรียนเปนหลัก โดยเปา หมาย โดยเปาหมายหลกั ของการวดั ของการวัดและประเมินผล คือ และประเมนิ ผล คอื การปรับปรงุ การสอบใหค ะแนน คณุ ภาพการสอนและการเรียนรู การสรา งบรรยากาศหอ งเรยี นทม่ี กี ารเรยี นรเู ปน หวั ใจ และมกี ารวดั และประเมนิ ผลเพอื่ การปรบั ปรงุ คุณภาพการสอนและการเรียนรูเปนเปาหมายหลัก ตองมกี ารปรบั เปล่ยี นแนวคิดสาํ คัญ ดงั น้ี ๑. มีความเชื่อมั่นวาผูเรียนทุกคนสามารถเรียนรูและบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายที่หลักสูตร กําหนดได ผูเ รยี นทง้ั ท่มี ผี ลการเรียนดีและผลการเรยี นออนไดรบั ความเอาใจใสเ ทา เทยี มกัน ๒. ยดึ หลกั การเรยี นรูที่เนนผูเรียนเปน สาํ คญั ผเู รยี นเปนผขู บั เคลอื่ นการเรียนรูและไดแ สดงออก ถึงความรับผิดชอบตอความสําเร็จในการเรียนรูของตนและเพ่ือนรวมหอง มิใชผูสอนเปนผูขับเคลื่อน การสอนโดยไมแนใ จวาผเู รียนเกิดการเรียนรหู รือไม ๓. การสอบและการใหคะแนนเปนเพียงแนวปฏิบัติหนึ่งของการวัดและประเมินผลการเรียนรู ในช้ันเรียน ผูสอนและผูเรียนตองมีแนวคิดรวมกันวา การวัดและประเมินผลเปนเคร่ืองมือในการคนหา หลกั ฐานรอ งรอยของการเรยี นรู โดยมีเปา หมายเพอ่ื เปนขอมูลในการปรบั ปรงุ พัฒนาการเรยี นรู มากกวา การเปน เครอื่ งมอื เพอ่ื จดั ลาํ ดับและเปรยี บเทยี บผูเรียน 84 แนวปฏบิ ัตกิ ารวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p84 6/10/2558 9:21:45

h ความหมายและความสําคญั ของการวดั และประเมินผลการเรยี นรใู นช้ันเรยี น การวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาํ หนดระดบั ของการดาํ เนนิ งานไวเ ปน ๔ ระดบั คอื การวดั และประเมนิ ระดบั ชน้ั เรยี น การวดั และประเมนิ ระดบั สถานศกึ ษา การวดั และประเมนิ ระดบั เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา การวดั และประเมนิ ระดบั ชาติ ระดบั ทม่ี คี วามเกยี่ วขอ ง กบั ผสู อนมากท่ีสดุ และเปน หวั ใจของการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรผู เู รยี น คือ การวัดและประเมินผลระดับ ชัน้ เรียน คาํ ศพั ทท ี่ใชในการวดั และประเมินผลการเรียนรใู นช้นั เรียนมีความหมายแตกตา งกัน แตบ างคนนํามา ใชในความหมายเดยี วกนั ดังนั้น เพ่อื ใหเกดิ ความเขาใจท่ตี รงกันจึงใหน ิยามคําศัพทตาง ๆ ไวด งั นี้ การวดั (Measurement) หมายถงึ การกาํ หนดตวั เลขใหกบั วัตถุ สง่ิ ของ เหตุการณ ปรากฏการณ หรอื พฤตกิ รรมตา ง ๆ ของผเู รยี น การจะไดมาซงึ่ ตวั เลขน้นั อาจตองใชเครอื่ งมือวัด เพอ่ื ใหไ ดตัวเลขท่สี ามารถ แทนคุณลักษณะตาง ๆ ที่ตองการวัด เชน ไมบรรทัดวัดความกวางของหนังสือได ๓.๕ น้ิว ใชเครื่องชั่งวัด นํ้าหนักของเน้ือหมูได ๐.๕ กิโลกรัม ใชแบบทดสอบวัดความรอบรูในวิชาภาษาไทยของเด็กชายแดงได ๔๒ คะแนน เปน ตน การประเมิน (Assessment) หมายถึง กระบวนการเก็บขอมูล ตคี วาม บนั ทึก และใชข อมูลเกีย่ วกบั คําตอบของผูเรียน ท่ีทําในภาระงาน/ชิ้นงาน วาผูเรียนรูอะไร สามารถทําอะไรได และจะทําตอไปอยางไร ดว ยวิธีการและเครอื่ งมอื ทหี่ ลากหลาย การประเมนิ คา /การตดั สนิ (Evaluation)หมายถงึ การนาํ เอาขอ มลู ตา งๆทไ่ี ดจ ากการวดั หลายๆอยา ง มาเปนขอมูลในการตัดสินผลการเรียน โดยการเปรียบเทียบกับเกณฑ (Criteria) ท่ีสถานศึกษากําหนด เพอ่ื ประเมนิ การเรยี นรขู องผเู รยี นวา ผเู รยี นมคี วามเกง หรอื ออ นเพยี งใด บรรลเุ ปา หมายทต่ี อ งการมากนอ ยเพยี งใด ซง่ึ คอื การสรปุ ผลการเรยี นน่ันเอง การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรใู นช้นั เรยี น (Classroom Assessment) หมายถึง กระบวนการ เก็บรวบรวม วิเคราะห ตีความ บันทึกขอมูลที่ไดจากการวัดและประเมินท้ังท่ีเปนทางการและไมเปนทางการ โดยการดาํ เนนิ การดงั กลา วเกดิ ขน้ึ ตลอดระยะเวลาของการจดั การเรยี นการสอน นบั ตง้ั แตก อ นการเรยี นการสอน ระหวา งการเรยี นการสอน และหลงั การเรียนการสอน โดยใชเครื่องมือทีห่ ลากหลาย เหมาะสมกบั วัยของผเู รียน มีความสอดคลองและเหมาะสมกับพฤติกรรมที่ตองการวัด นําผลท่ีไดมาตีคาเปรียบเทียบกับเกณฑที่กําหนด ในตัวช้ีวัดของมาตรฐานสาระการเรียนรูของหลักสูตร ขอมูลท่ีไดนี้นําไปใชในการใหขอมูลยอนกลับเก่ียวกับ ความกา วหนา จดุ เดน จดุ ทตี่ อ งปรบั ปรงุ ใหแ กผ เู รยี น การตดั สนิ ผลการเรยี นรรู วบยอดในเรอื่ ง หรอื หนว ยการเรยี นรู หรอื ในรายวชิ า และการวางแผน ออกแบบการจดั การเรียนการสอนของครู โดยผลท่ีไดจากการวัดและประเมินผลการเรียนรูในชั้นเรียนจะเปนขอมูลสะทอนใหผูสอนทราบถึง ผลการจัดการเรียนการสอนของตนและพัฒนาการของผูเรียน ดังน้ัน ขอมูลที่เกิดจากการวัดและประเมินท่ีมี คณุ ภาพเทา นน้ั จงึ จะสามารถนาํ ไปใชไ ดอ ยา งเปน ประโยชน ตรงตามเปา หมาย และคมุ คา ตอ การปฏบิ ตั งิ าน ผสู อน แนวปฏิบัติการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู 85 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p85 6/10/2558 9:21:45

ตองดําเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรูเพ่ือใหไดขอมูลท่ีสะทอนสภาพจริง จะไดนําไปกําหนดเปาหมาย และวธิ กี ารพฒั นาผเู รยี น ผสู อนจงึ จาํ เปน ตอ งมคี วามรคู วามเขา ใจอยา งถอ งแทใ นหลกั การ แนวคดิ วธิ ดี าํ เนนิ งาน ในสวนตาง ๆ ที่เก่ียวของกับหลักสูตรและการจัดการเรียนรู เพื่อสามารถนําไปใชในการวางแผนและออกแบบ การวัดและประเมินผลไดอยางมีประสิทธิภาพ บนพื้นฐานการประเมินผลการเรียนรูในช้ันเรียนที่มีความถูกตอง ยุติธรรม เชื่อถือได มีความสมบูรณ ครอบคลุมตามจุดมุงหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ หากการวัดและประเมินการเรียนรูไมมีคุณภาพ จะทําใหผูมีสวนเก่ียวของขาดขอมูลสําคัญในการ สะทอ นผลการดาํ เนนิ การจดั การศกึ ษาทง้ั ในระดบั นโยบายและระดบั ปฏบิ ตั กิ าร ผมู สี ว นเกยี่ วขอ ง ไดแ ก ตน สงั กดั สวนกลาง สํานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา สถานศึกษา ผปู กครอง หนวยงานท่เี กี่ยวขอ ง ขาดขอมูลสําคญั ในการ สะทอนผลและสภาพความสําเร็จเมื่อเปรียบเทียบกับเปาหมาย สงผลใหการวางแผนกําหนดทิศทางการพัฒนา ผเู รยี นระยะตอ ไป ไมส ามารถสรา งความมน่ั ใจไดว า จะสอดคลอ งกบั สภาพปญ หา และมคี วามเหมาะสมกบั ระดบั ความสําเรจ็ ของการพฒั นาผูเรยี นในระยะท่ผี า นมา h ประเภทของการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู การทราบวาการวัดและประเมินผลการเรียนรูแบงประเภทเปนอยางไรบางจะชวยใหผูสอนออกแบบ การวัดและประเมินผลการเรียนรูไดตรงตามวัตถุประสงค และเปนประโยชนตอการพัฒนาผูเรียนย่ิงขึ้น ในที่นี้ ไดนาํ เสนอประเภทของการวัดและประเมินผลการเรยี นรู ดังน้ี ๑. การวัดและประเมินผลการเรียนรูจําแนกตามขั้นตอนการจัดการเรียนการสอน กอนเรียน ระหวางเรียนและหลังเรียน มี ๔ ประเภท ซึ่งมีความแตกตางกันตามบทบาท จุดมุงหมาย และวิธีการวัด และประเมิน ดงั น้ี ๑.๑ การประเมินเพ่ือจัดวางตําแหนง (Placement Assessment) เปนการประเมินกอน เร่มิ เรียนเพื่อตอ งการขอ มูลที่แสดงความพรอ ม ความสนใจ ระดับความรแู ละทักษะพ้นื ฐานทจ่ี ําเปนตอการเรียน เพ่ือใหผูสอนนําไปใชกําหนดวัตถุประสงคของการเรียนรู วางแผน และออกแบบกระบวนการเรียนการสอน ทเ่ี หมาะสมกบั ผูเ รียนทั้งรายบุคคล รายกลมุ และรายช้นั เรยี น ๑.๒ การประเมินเพื่อวินิจฉัย (Diagnostic Assessment) เปน การเก็บขอ มลู เพ่อื คนหาวา ผูเรียนรูอะไรมาบางเกี่ยวกับส่ิงที่จะเรียน สิ่งท่ีรูมากอนนี้ถูกตองหรือไม จึงเปนการใชในลักษณะประเมิน กอนเรียน นอกจากนี้ยังใชเพ่ือหาสาเหตุของปญหาหรืออุปสรรคตอการเรียนรูของผูเรียนเปนรายบุคคลท่ีมักจะ เปนเฉพาะเร่ือง เชน ปญหาการออกเสียงไมชัด แลวหาวิธีปรับปรุงเพ่ือใหผูเรียนสามารถพัฒนาและเรียนรู ขน้ั ตอไป วธิ ีการประเมนิ ใชไ ดทั้งการสงั เกต การพดู คุย สอบถาม หรอื การใชแ บบทดสอบก็ได ๑.๓ การประเมินเพ่ือการพัฒนา (Formative Assessment) เปนการประเมินเพ่ือพัฒนา การเรียนรู (Assessment for Learning) ที่ดําเนินการอยางตอเน่ืองตลอดการเรียนการสอน โดยมิใช ใชแตการทดสอบระหวางเรียนเปนระยะ ๆ อยางเดียว แตเปนการท่ีครูเก็บขอมูลการเรียนรูของผูเรียนอยาง 86 แนวปฏบิ ตั ิการวัดและประเมินผลการเรยี นรู ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p86 6/10/2558 9:21:45

ไมเ ปน ทางการดว ย ขณะทใ่ี หผ เู รยี นทาํ ภาระงานตามทกี่ าํ หนด ครสู งั เกต ซกั ถาม จดบนั ทกึ แลว วเิ คราะหข อ มลู วา ผเู รยี นเกดิ การเรยี นรหู รอื ไม จะตองใหผูเรียนปรับปรุงอะไร หรอื ผสู อนปรับปรงุ อะไร เพอื่ ใหเ กิดความกา วหนา ในการเรียนรตู ามมาตรฐาน/ตัวชี้วัด การประเมนิ ระหวา งเรียนดําเนินการไดหลายรูปแบบ เชน การใหข อแนะนาํ ขอสังเกตในการนําเสนอผลงาน การพูดคุยระหวางผูสอนกับผูเรียนเปนกลุมหรือรายบุคคล การสัมภาษณ ตลอดจนการวิเคราะหผ ลการสอบ เปนตน ๑.๔ การประเมินเพ่ือสรุปผลการเรียนรู (Summative Assessment) มักเกิดขึ้นเม่ือจบ หนวยการเรียนรูเพื่อตรวจสอบผลการเรียนรูของผูเรียนตามตัวชี้วัด และยังใชเปนขอมูลในการเปรียบเทียบกับ การประเมินกอนเรียน ทําใหทราบพัฒนาการของผูเรียน การประเมินสรุปผลการเรียนรูยังเปนการตรวจสอบ ผลสัมฤทธิ์ของผูเรียนตอนปลายป/ปลายภาคอีกดวย การประเมินสรุปผลการเรียนรูใชวิธีการและเครื่องมือ ประเมินไดอยา งหลากหลาย โดยปกตมิ กั ดาํ เนนิ การอยา งเปนทางการมากกวา การประเมนิ ระหวางเรียน ๒. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู จาํ แนกตามวตั ถปุ ระสงคของการประเมนิ ดังน้ี ๒.๑ การประเมินขณะเรียนรู (Assessment as Learning : Aal) เปนกระบวนการรวบรวม หลักฐานขอมูลเชิงประจักษเกี่ยวกับการเรียนรูของผูเรียนขณะเรียนรู เพื่อชวยใหผูเรียนตระหนักในการเรียนรู ของตน สามารถวางแผนการเรียนรู กํากบั การเรียนรู วินิจฉัย ประเมนิ และปรบั ปรงุ การเรียนรขู องตน การให ผูเรียนออกแบบแผนการเรียนรู ฝกใหผูเรียนคิดทบทวนเกี่ยวกับการเรียนรูและกลยุทธในการเรียนรูจะชวยให ผูเรยี นพฒั นาการเรยี นรขู องตนเองตลอดเวลา ๒.๒ การประเมินเพือ่ เรียนรู (Assessment for Learning : AfL) เปน กระบวนการรวบรวม หลักฐานขอมูลเชิงประจักษตาง ๆ ตามสภาพจริงเกี่ยวกับการเรียนรูของผูเรียน เพ่ือระบุและวินิจฉัยปญหา การเรยี นรู และใหข อ ตชิ มทมี่ คี ณุ ภาพแกผ เู รยี นเพอ่ื ปรบั ปรงุ การเรยี นรใู หด ขี นึ้ โดยใชว ธิ กี ารประเมนิ หลากหลาย และเพ่ือใหเขาใจการเรียนรขู องผูเ รยี นในแงมมุ ตาง ๆ อยา งรอบดา น อันจะนําไปสกู ารปรบั การเรยี นและเปลยี่ น การสอนใหม ีประสทิ ธภิ าพย่งิ ขึ้น ๒.๓ การประเมนิ ผลการเรยี นรู (Assessment of Learning : AoL) เปน กระบวนการรวบรวม หลักฐานขอมูลเชิงประจักษตาง ๆ เมื่อสิ้นสุดกระบวนการเรียนรู เพื่อตัดสินคุณคาในการบรรลุวัตถุประสงค หรอื ผลลพั ธก ารเรยี นรู เปน การประเมนิ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น ซง่ึ แสดงถงึ มาตรฐานทางวชิ าการในเชงิ สมรรถนะ และคุณลักษณะที่พึงประสงค สารสนเทศดังกลาวนําไปใชในการกําหนดระดับคะแนนใหผูเรียน รวมท้ังใช ในการปรับปรุงหลักสูตรและการเรียนการสอน ๓. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรจู าํ แนกตามวธิ กี ารแปลความหมายผลการเรยี นรู มี ๒ ประเภท ทีแ่ ตกตา งกันตามลกั ษณะการแปลผลคะแนน ดงั นี้ ๓.๑ การวัดและประเมินแบบอิงกลุม (Norm-Referenced Assessment) เปนการวัดและ ประเมนิ ผลการเรยี นรเู พอื่ นาํ เสนอผลการตดั สนิ ความสามารถหรอื ผลสมั ฤทธิข์ องผเู รยี น โดยเปรยี บเทยี บกนั เอง ภายในกลมุ หรือในชั้นเรียน แนวปฏบิ ตั กิ ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู 87 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p87 6/10/2558 9:21:45