Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2757308_Week2_แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้_ฯ_พ.ศ.2551-12159-16599237736861

2757308_Week2_แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้_ฯ_พ.ศ.2551-12159-16599237736861

Published by James Thanakrit, 2022-08-08 06:28:31

Description: 2757308_Week2_แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้_ฯ_พ.ศ.2551-12159-16599237736861

Search

Read the Text Version

แนวปฏบิ ตั ิการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

แนวปฏิบตั ิการวดั และประเมินผลการเรยี นรู ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd 1 สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 6/10/2558 9:20:57

แนวปฏิบตั ิการวัดและประเมินผลการเรยี นรู ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ พมิ พค รงั้ ที่ ๔ พ.ศ. ๒๕๕๗ จาํ นวนพมิ พ ๔๐,๐๐๐ เลม ISBN 978-616-202-168-8 พิมพที่ โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จาํ กดั ๗๙ ถนนงามวงศว าน แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรงุ เทพมหานคร ๑๐๙๐๐ โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทรสาร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑ นายโชคดี ออสวุ รรณ ผูพ มิ พผูโ ฆษณา 0675_57.indd 2 6/10/2558 9:21:26

คาํ นาํ เอกสารแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จัดทําข้ึนเพื่อใหสถานศึกษาและหนวยงานที่จัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานใชเปนขอมูลในการ จัดทําระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษา แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู ในระดับช้ันเรียน และการจัดทําเอกสารหลักฐานการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เนือ่ งจากในปก ารศกึ ษา ๒๕๕๕ กระทรวงศึกษาธิการไดมปี ระกาศใหใ ชผ ลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ขั้นพื้นฐานเปนองคประกอบหน่ึงในการตัดสินผลการเรียนของผูเรียนท่ีจบการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สงผลตอการปรับแบบพิมพระเบียนแสดงผลการเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้ันพนื้ ฐาน (ปพ.๑) ดังน้ัน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานจึงไดจัดพิมพเอกสารแนวปฏิบัติการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คร้ังท่ี ๔ โดยไดมี การทบทวน ปรับขอความ แบบพิมพระเบียนแสดงผลการเรียน ใหมีความสมบูรณและเปนปจจุบัน อีกท้ัง ไดเ พม่ิ เตมิ คาํ สงั่ ประกาศ ระเบยี บ และเอกสารทเี่ ก่ยี วของไวเปนขอมูลในการดําเนนิ งานในภาคผนวก สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ขอขอบคุณผูมีสวนเก่ียวของในการจัดทําเอกสาร ฉบบั น้ี และหวงั เปน อยา งยงิ่ วา เอกสารฉบบั นค้ี งจะเปน ประโยชนแ กผ บู รหิ ารสถานศกึ ษา ครผู สู อน ศกึ ษานเิ ทศก และหนวยงานทเี่ ก่ยี วของในการดาํ เนนิ งานการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษา ข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตอ ไป (นายกมล รอดคลา ย) เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน 0675_57.indd 3 6/10/2558 9:21:26

0675_57.indd 4 6/10/2558 9:21:26

คํานาํ กระทรวงศึกษาธิการไดมีคําส่ังใหใชหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในโรงเรียนตนแบบและโรงเรียนท่ีมีความพรอมในการใชหลักสูตร ในปการศึกษา ๒๕๕๒ และใชในโรงเรียน ท่ัวประเทศ ในปการศึกษา ๒๕๕๓ หลักสูตรนี้เปนหลักสูตรที่ใชแนวคิดหลักสูตรอิงมาตรฐาน (Standards- based Curriculum) กลาวคือ เปน หลกั สูตรท่ีกําหนดมาตรฐานการเรยี นรเู ปนเปาหมายในการพฒั นาคุณภาพ ผูเรียน โดยมาตรฐานการเรียนรูไดระบุส่ิงที่ผูเรียนพึงรูและปฏิบัติได เม่ือสําเร็จการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพื่อให ทุกภาคสวนที่เกี่ยวของในการจัดการศึกษาไดยึดเปนแนวทางในการดําเนินการพัฒนาและสงเสริมใหผูเรียน ไดบรรลุคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูดังกลาวดวยการดําเนินการบริหารจัดการอิงมาตรฐาน (Standards-based Instruction) การวัดและประเมินผลท่ีสะทอนมาตรฐาน (Standards-based Assessment) เพ่ือใหกระบวนการนําหลักสูตรไปสูการปฏิบัติเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ สํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจึงไดจัดทําเอกสารประกอบหลักสูตรเพ่ืออธิบายขยายความใหผูเกี่ยวของ ทกุ ฝา ย ทงั้ ระดบั ชาติ ทอ งถนิ่ และสถานศกึ ษามคี วามเขา ใจทช่ี ดั เจนตรงกนั รวมทง้ั รว มกนั รบั ผดิ ชอบและทาํ งาน รว มกันอยา งเปน ระบบ เอกสารประกอบหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ทจ่ี ดั ทาํ ขนึ้ ประกอบดว ย เอกสารจํานวน ๕ เลม เลมท่ี ๑ แนวทางการบริหารจดั การหลักสตู ร ใหข อ มลู เกย่ี วกบั กระบวนการพัฒนาและใชห ลกั สตู ร ตลอดแนว ทงั้ หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน กรอบหลกั สูตรระดับทองถ่ิน และหลักสูตรสถานศกึ ษา ตลอดจนแนวคิดสําคัญของการจัดการเรียนรู การวัดและประเมินผลในชั้นเรียน นอกจากนั้นยังสื่อสารกับ หนว ยงานทีเ่ ก่ยี วของใหเ ขาใจถงึ บทบาทหนาท่ีในการสงเสรมิ สนับสนุนและกาํ กบั ดแู ลการจดั การศึกษา เลมที่ ๒ แนวทางการจัดการเรียนรู ใหขอมูลเกี่ยวกับแนวคิดการจัดการเรียนรูท่ีมีมาตรฐาน เปน เปา หมาย ส่ือการจดั การเรียนรู การจดั ทาํ คําอธบิ ายรายวชิ า การจดั ทําหนวยการเรียนรู ตลอดจนแนวทาง การจัดการเรยี นรทู สี่ งเสรมิ ใหผูเรียนมคี ุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู เลม ที่ ๓ แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู ใหขอมูลเกี่ยวกับขอแนะนําในการจัด ทําระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษา แนวปฏิบัติที่ดีในการวัดและประเมินผล การเรยี นรทู ถี่ กู ตอ งตามหลกั วชิ า แนวทางการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรใู นระดบั ชน้ั เรยี นทน่ี าํ ไปสกู ารพฒั นา ผเู รียนใหเต็มศกั ยภาพบนพน้ื ฐานของความแตกตางระหวา งบุคคล เลม ที่ ๔ แนวทางการจัดกิจกรรมพฒั นาผูเรียน ใหข อมูลเกย่ี วกบั แนวการจัดกิจกรรมพัฒนาผเู รยี น ท่ีมุงใหผูเรียนไดพัฒนาตนเองตามศักยภาพอยางรอบดาน โดยเสนอเปนแนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ทั้งดานกิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน ใหกับผูบริหาร ครู และบคุ ลากรที่เกี่ยวของ ใชเปน แนวทางในการจดั กิจกรรมพัฒนาผูเรียน 0675_57.indd 5 6/10/2558 9:21:27

เลม ที่ ๕ แนวทางการพัฒนาการวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค ใหขอมูลเก่ียวกับ นิยาม ตัวช้ีวัด พฤติกรรมบงช้ีและเกณฑการใหคะแนนทุกระดับการศึกษา และมีการนําเสนอแนวคิด ทฤษฎี หลกั การเกยี่ วกบั การพฒั นาคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค การวดั และประเมนิ ตลอดจนการรายงานผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ขอขอบคุณผูทรงคุณวุฒิ ผูเชี่ยวชาญแตละสาขา คณาจารย ศกึ ษานิเทศก ผูบ ริหารสถานศึกษา ครผู ูสอน และผูเกี่ยวขอ ง ตลอดจนนกั วิชาการของสํานกั วชิ าการ และมาตรฐานการศึกษา และหนวยงานตาง ๆ ท่ีมีสวนเก่ียวของในการจัดทําเอกสารชุดน้ีใหสําเร็จลุลวงดวยดี หวังวา เอกสารประกอบการใชหลักสูตรทั้ง ๕ เลมนี้ จะเปนประโยชนสําหรับผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และหนวยงานท่ีเก่ียวของ ใหส ามารถพฒั นาหลักสตู ร จัดการเรยี นรู และดาํ เนินการวัดและประเมินผลไดอ ยา ง มีประสิทธิภาพ เพือ่ พัฒนาเยาวชนไทยใหมีความรูความสามารถ มีทกั ษะกระบวนการคดิ เปน คนดี มคี ุณธรรม และดาํ รงชีวติ ในสังคมไดอ ยางเปนสุข (นายชนิ ภทั ร ภูมริ ัตน) เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน 0675_57.indd 6 6/10/2558 9:21:27

สารบญั หนา คาํ นํา ๑. บทนํา ๑ h จดุ มงุ หมายของการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู ๒ h การกํากับดูแลคณุ ภาพการศกึ ษา ๒ h การจัดทําระเบียบวา ดวยการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นของสถานศกึ ษา ๔ h การจดั การระบบงานวัดและประเมินผลการเรยี น ๕ h การสนับสนนุ ดานการวดั และประเมินผลการเรียนรจู ากสํานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา หรือหนว ยงานตนสงั กัด ๙ ๒. แนวปฏิบตั ิการวัดและประเมินผลการเรยี นรตู ามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๑๑ h หลักการดาํ เนนิ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ๑๒ h องคป ระกอบของการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรูตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๑๓ h เกณฑก ารวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู ๑๖ ๑. ระดับประถมศึกษา ๑๖ ๑.๑ การตัดสินผลการเรยี น ๑๖ ๑.๒ การใหร ะดบั ผลการเรยี น ๑๗ ๑.๓ การเลอื่ นชน้ั ๑๙ ๑.๔ การเรียนซ้าํ ชัน้ ๒๐ ๑.๕ การสอนซอ มเสริม ๒๐ ๑.๖ เกณฑก ารจบระดบั ประถมศกึ ษา ๒๑ ๒. ระดับมัธยมศึกษา ๒๑ ๒.๑ การตดั สินผลการเรยี น ๒๑ ๒.๒ การใหระดบั ผลการเรียน ๒๒ ๒.๓ การเปลีย่ นผลการเรียน ๒๕ ๒.๓.๑ การเปลย่ี นผลการเรียน “๐” ๒๕ ๒.๓.๒ การเปล่ียนผลการเรียน “ร” ๒๕ 0675_57.indd 7 6/10/2558 9:21:27

สารบัญ (ตอ) ๒.๓.๓ การเปลย่ี นผลการเรียน “มส” หนา ๒.๓.๔ การเปลยี่ นผล “มผ” ๒.๔ การเลื่อนช้นั ๒๕ ๒.๕ การสอนซอ มเสรมิ ๒๖ ๒.๖ การเรยี นซ้าํ ชน้ั ๒๗ ๒.๗ เกณฑก ารจบระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน ๒๗ ๒.๘ เกณฑก ารจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ๒๗ h การเทยี บโอนผลการเรียน ๒๘ h การรายงานผลการเรียน ๒๘ ๓. ภารกจิ ของสถานศึกษาดา นการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู ๓๐ h กรอบการวัดและประเมินผลการเรียนรตู ามหลักสูตรสถานศึกษา ๓๓ h แนวทางการวดั และประเมินผลการเรียนรู ๓๗ h การประเมนิ ผลการเรียนรตู ามกลุม สาระการเรยี นรู ๓๙ h การประเมินการอาน คดิ วเิ คราะห และเขยี น ๓๙ h การประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค ๔๐ h การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น ๔๐ ๔. ภารกจิ ของผูสอนดานการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู ๔๙ h ความหมายและความสาํ คญั ของการวัดและประเมินผลการเรียนรใู นชนั้ เรียน ๗๗ h ประเภทของการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู ๘๓ h วธิ กี ารและเครื่องมอื วดั และประเมินผลการเรียนรู ๘๕ h หลักฐานการเรยี นรูประเภทตา ง ๆ ๘๖ h เกณฑการประเมนิ (Rubrics) และตวั อยา งชิ้นงาน (Exemplars) ๘๘ h สมรรถนะสาํ คญั ของผูเรยี น : ประเมินอยา งไร ๙๔ h กระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนรตู ามหลักสตู ร ๙๔ ๕. เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ๙๖ h เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาที่กระทรวงศึกษาธิการกําหนด ๙๗ ๑. ระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.๑) ๑๐๓ ๒. ประกาศนียบตั ร (ปพ.๒) ๑๐๔ ๓. แบบรายงานผูสาํ เร็จการศกึ ษา (ปพ.๓) ๑๐๔ ๑๐๔ ๑๐๕ 0675_57.indd 8 6/10/2558 9:21:28

สารบญั (ตอ ) หนา h เอกสารหลกั ฐานการศึกษาที่สถานศกึ ษากาํ หนด ๑๐๕ ๑. แบบบนั ทึกผลการเรียนประจํารายวชิ า ๑๐๕ ๒. แบบรายงานประจําตวั นกั เรยี น ๑๐๕ ๓. ใบรับรองผลการเรียน ๑๐๖ ๔. ระเบยี นสะสม ๑๐๖ ๑๐๘ h แนวปฏบิ ตั ิในการจดั ทําระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.๑) ๑๔๔ h แนวปฏบิ ตั ิในการจดั ทาํ ประกาศนียบัตร (ปพ.๒) ๑๕๖ h แนวปฏบิ ตั ิในการจัดทําแบบรายงานผสู ําเร็จการศึกษา (ปพ.๓) ๑๗๓ เอกสารอา งอิง ๑๗๕ ภาคผนวก ก คาํ สงั่ ประกาศ ระเบยี บ และเอกสารทเ่ี กยี่ วของ ๒๔๑ ภาคผนวก ข การจาํ หนายนักเรียน ๒๕๕ คณะผูจัดทํา 0675_57.indd 9 6/10/2558 9:21:28

สารบัญแผนภาพ แผนภาพท่ี หนา ๑.๑ แสดงการบริหารการวดั และประเมินผลการเรยี นรูของสถานศกึ ษา ๖ ๒.๑ แสดงความสมั พนั ธข ององคประกอบการวัดและประเมินผลการเรียนรู ๑๓ ๒.๒ แสดงการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรูตามรายกลมุ สาระการเรยี นรู ๑๔ ๒.๓ แสดงการประเมนิ การอา น คดิ วเิ คราะห และเขียน ๑๔ ๒.๔ แสดงการประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค ๑๕ ๒.๕ แสดงการประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น ๑๕ ๒.๖ แสดงกระบวนการตดั สนิ และแกไ ขผลการเรียนระดับมัธยมศกึ ษา ๒๙ ๓.๑ แสดงกรอบการวัดและประเมินผลการเรียนรตู ามหลักสตู รสถานศึกษา ๓๘ ๓.๒ แสดงกระบวนการดําเนินการพัฒนาและประเมินความสามารถในการอาน คดิ วิเคราะห และเขียน ๔๒ ๓.๓ แสดงขั้นตอนการดําเนินการวัดและประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคของสถานศึกษา ๕๖ ๓.๔ แสดงขน้ั ตอนการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผเู รยี น ๗๙ ๔.๑ กระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนรู ๙๘ ๕.๑ แสดงข้นั ตอนการสง่ั ซอ้ื ควบคมุ และการจดั เกบ็ รักษาระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.๑) ๑๐๙ ๕.๒ แสดงขั้นตอนการสงั่ ซ้ือ ควบคมุ และการจัดเก็บรักษาประกาศนียบัตร (ปพ.๒) ๑๔๕ 0675_57.indd 10 6/10/2558 9:21:28

สารบญั ตาราง ตารางท่ี หนา ๑.๑ แสดงภารกจิ การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรูของบคุ ลากรฝา ยตาง ๆ ๗ ๓.๑ แสดงตัวอยา งการออกแบบการวดั และประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค ๖๒ ๓.๒ แสดงตวั อยา งแบบสาํ รวจรายการพฤตกิ รรมของนักเรยี นเพ่อื ประเมินคณุ ลักษณะ ๖๔ อันพงึ ประสงค ๖๕ ๓.๓ แสดงตวั อยา งแบบบนั ทกึ การสังเกตพฤติกรรมเพอ่ื ประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค ๖๖ ๓.๔ แสดงตวั อยางแบบมาตรประมาณคาเพอื่ ประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค ๙๕ ๔.๑ แสดงตัวอยา งเกณฑก ารประเมินแบบแยกประเดน็ ๙๕ ๔.๒ แสดงตวั อยางเกณฑก ารประเมินแบบภาพรวมสําหรับประเมินการเขียนเรยี งความ 0675_57.indd 11 6/10/2558 9:21:29

0675_57.indd 12 6/10/2558 9:21:29

๑. บทนํา 0675_57.indd p1 6/10/2558 9:21:29

h จุดมุงหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรขู องผูเรยี นตอ งอยูบนจดุ มุง หมายพ้นื ฐานสองประการ ประการแรก คือ การวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาผูเรียน โดยเก็บรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับผลการเรียนและการเรียนรูของ ผูเรียนในระหวางการเรยี นการสอนอยางตอเนื่อง บันทึก วเิ คราะห แปลความหมายขอมูล แลวนาํ มาใชในการ สงเสริมหรือปรับปรุงแกไขการเรียนรูของผูเรียนและการสอนของครู การวัดและประเมินผลกับการสอนจึงเปน เรื่องท่ีสัมพันธกัน หากขาดส่ิงหนึ่งส่ิงใดการเรียนการสอนก็ขาดประสิทธิภาพ การประเมินระหวางการเรียน การสอนเพ่อื พัฒนาการเรยี นรูเ ปนการวัดและประเมินผลเพ่อื การพฒั นา (Formative Assessment) ที่เกิดขึน้ ในหองเรียนทุกวัน เปนการประเมินเพ่ือใหรูจุดเดน จุดท่ีตองปรับปรุง จึงเปนขอมูลเพ่ือใชในการพัฒนา ในการเก็บขอมูล ผูสอนตองใชวิธีการและเคร่ืองมือการประเมินท่ีหลากหลาย เชน การสังเกต การซักถาม การระดมความคิดเห็นเพื่อใหไดมติขอสรุปของประเด็นที่กําหนด การใชแฟมสะสมงาน การใชภาระงานที่เนน การปฏบิ ตั ิ การประเมินความรูเดิม การใหผเู รยี นประเมินตนเอง การใหเ พอื่ นประเมนิ เพ่อื น และการใชเกณฑ การใหคะแนน (Rubrics) สิ่งสําคัญท่ีสุดในการประเมินเพ่ือพัฒนา คือ การใหขอมูลยอนกลับแกผูเรียนใน ลักษณะคําแนะนําท่ีเชื่อมโยงความรูเดิมกับความรูใหมทําใหการเรียนรูพอกพูน แกไขความคิด ความเขาใจเดิม ทไ่ี มถกู ตอง ตลอดจนการใหผเู รยี นสามารถตั้งเปา หมายและพัฒนาตนได จุดมุงหมายประการท่ีสอง คือ การวัดและประเมินผลเพื่อตัดสินผลการเรียน เปนการประเมิน สรปุ ผลการเรยี นรู (Summative Assessment) ซงึ่ มหี ลายระดบั ไดแ ก เมอ่ื เรยี นจบหนว ยการเรยี นรู จบรายวชิ า เพ่ือตัดสินใหคะแนน หรือใหระดับผลการเรียน ใหการรับรองความรูความสามารถของผูเรียนวาผานรายวิชา หรอื ไม ควรไดร บั การเลือ่ นชน้ั หรือไม หรือสามารถจบหลกั สตู รหรือไม ในการประเมินเพื่อตัดสนิ ผลการเรียนที่ดี ตองใหโอกาสผูเรียนแสดงความรูความสามารถดวยวิธีการที่หลากหลายและพิจารณาตัดสินบนพื้นฐานของ เกณฑผลการปฏบิ ัติมากกวาใชเปรยี บเทยี บระหวางผเู รียน h การกํากับดแู ลคณุ ภาพการศึกษา การจัดการศึกษาในปจจุบันนอกจากใหท่ัวถึงแลวยังมุงเนนคุณภาพดวย ผูปกครอง สังคม และรัฐ ตองการเห็นหลักฐานอันเปนผลมาจากการจัดการศึกษา น่ันคือ คุณภาพของผูเรียนที่เปนไปตามมาตรฐานของ หลักสูตร หนวยงานท่ีรับผิดชอบนับตั้งแตสถานศึกษา ตนสังกัด หนวยงานระดับชาติที่ไดรับมอบหมาย จึง มีบทบาทหนาที่ในการตรวจสอบคุณภาพผูเรียนตามความคาดหวังของหลักสูตร ดังน้ัน หลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ จึงกาํ หนดใหม กี ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู ใน ๔ ระดับ ไดแก ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา และระดับชาติ ทุกระดับมีเจตนารมณเชนเดียวกัน คือ ตรวจสอบความกาวหนาในการเรียนรูของผูเรียน เพื่อนําผลการประเมินมาใชเปนขอมูลในการพัฒนา อยางตอเนื่อง 2 แนวปฏิบตั ิการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p2 6/10/2558 9:21:29

☯ การประเมินระดับชั้นเรียน เปน การวดั และประเมนิ ผลทอี่ ยใู นกระบวนการจดั การเรยี นรู ผสู อนดาํ เนนิ การเพอื่ พฒั นาผเู รยี น และตดั สนิ ผลการเรยี นในรายวชิ า/กจิ กรรมทต่ี นสอน ในการประเมนิ เพอ่ื การพฒั นา ผสู อนประเมนิ ผลการเรยี นรู ตามตัวชี้วัดที่กําหนดเปนเปาหมายในแตละหนวยการเรียนรูดวยวิธีการตาง ๆ เชน การซักถาม การสังเกต การตรวจการบาน การแสดงออกในการปฏิบัติผลงาน การแสดงกิริยาอาการตาง ๆ ของผูเรียนตลอดเวลาท่ี จัดกิจกรรม เพ่ือดูวาบรรลุตัวชี้วัดหรือมีแนวโนมวาจะบรรลุตัวชี้วัดเพียงใด แลวแกไขขอบกพรองเปนระยะ ๆ อยา งตอ เนอื่ ง การประเมินเพื่อตัดสินเปนการตรวจสอบ ณ จุดที่กําหนด แลวตัดสินวาผูเรียนมีผลอันเกิดจาก การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม และมากนอยเพียงใด ท้ังนี้ โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือเก็บคะแนนของ หนว ยการเรยี นรู หรอื ของการประเมนิ ผลกลางภาค หรอื ปลายภาคตามรปู แบบการประเมนิ ทสี่ ถานศกึ ษากาํ หนด ผลการประเมินนอกจากจะใหเปนคะแนนหรือระดับผลการเรียนแกผูเรียนแลว ตองนํามาเปนขอมูลใชปรับปรุง การเรียนการสอนตอไปอกี ดวย ☯ การประเมินระดบั สถานศึกษา เปนการตรวจสอบผลการเรียนของผูเรียนเปนรายป/รายภาค ผลการประเมินการอาน คดิ วิเคราะห และเขยี น คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค และกิจกรรมพัฒนาผูเรยี น การอนุมัตผิ ลการเรยี น การตดั สิน การเล่ือนช้ันเรียน และเปนการประเมินเพื่อใหไดขอมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษาวาสงผลตอ การเรยี นรขู องผเู รยี นตามเปา หมายหรอื ไม ผเู รยี นมสี ง่ิ ทตี่ อ งไดร บั การพฒั นาในดา นใด รวมทงั้ สามารถนาํ ผลการเรยี น ของผูเรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑระดับชาติและระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา ผลการประเมิน ระดับสถานศึกษาจะเปนขอมูลและสารสนเทศเพื่อการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการ จัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามแนวทาง การประกันคุณภาพการศึกษา และการรายงานผลการจัดการศึกษาตอคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สาํ นักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ผปู กครอง และชุมชน ☯ การประเมนิ ระดบั เขตพ้ืนท่กี ารศึกษา เปน การประเมนิ คณุ ภาพผเู รยี นในระดบั เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาตามมาตรฐานการเรยี นรขู องหลกั สตู ร แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ของเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา ตามภาระความรบั ผดิ ชอบ สามารถดาํ เนนิ การโดยประเมนิ คณุ ภาพของผเู รยี นดว ยวธิ กี าร และเครอ่ื งมอื ทเี่ ปน มาตรฐานซงึ่ จดั ทาํ และดาํ เนนิ การโดยเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา หรอื ดว ยความรว มมอื กบั หนว ยงาน ตนสังกัด/หนวยงานท่ีเก่ียวของ นอกจากน้ี ยังสามารถดําเนินการไดดวยการตรวจสอบขอมูลจากการประเมิน ระดับสถานศึกษาในเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา ☯ การประเมนิ ระดับชาติ เปนการประเมินคุณภาพผูเรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สถานศึกษาตองจัดใหผูเรียนทุกคนที่เรียนในชั้นประถมศึกษาปท่ี ๓ แนวปฏบิ ัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู 3 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p3 6/10/2558 9:21:30

ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี ๓ และชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ ๖ เขา รบั การประเมิน ผลจากการประเมนิ ใชเปนขอมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับตาง ๆ เพ่ือนําไปใชในการวางแผนยกระดับ คณุ ภาพการจัดการศกึ ษา ตลอดจนเปนขอ มูลสนับสนนุ การตัดสินใจในระดับนโยบายของประเทศ ขอมูลการประเมินในระดับตาง ๆ ขางตน เปนประโยชนตอสถานศึกษาในการตรวจสอบ ทบทวน พัฒนาคุณภาพผูเรียน ถือเปนภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะตองจัดระบบดูแลชวยเหลือ ปรับปรุง แกไข สงเสริมสนับสนุน เพื่อใหผูเรียนไดพัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐานความแตกตางระหวางบุคคล ที่จําแนกตามสภาพปญหาและความตองการ ไดแก กลุมผูเรียนท่ัวไป กลุมผูเรียนที่มีความสามารถพิเศษ กลุมผูเรียนท่ีมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตํ่า กลุมผูเรียนที่มีปญหาดานวินัยและพฤติกรรม กลุมผูเรียนท่ีปฏิเสธ โรงเรียน กลุมผูเรียนที่มีปญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุมผูเรียนที่พิการทางรางกายและสติปญญา เปนตน ขอ มลู จากการประเมนิ จงึ เปน หวั ใจของสถานศกึ ษาในการดาํ เนนิ การชว ยเหลอื ผเู รยี นไดท นั ทว งที อนั เปน โอกาส ใหผูเ รยี นไดร ับการพฒั นาและประสบความสาํ เรจ็ ในการเรยี น h การจดั ทาํ ระเบยี บวา ดว ยการวัดและประเมนิ ผลการเรียนของสถานศกึ ษา ระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาเปนกรอบภาระงานและแนวปฏิบัติ ดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู ซ่ึงจะตองเช่ือมโยงกับการเรียนรูเปนกระบวนการเดียวกัน สาระของ ระเบียบดังกลาวกําหนดบนพื้นฐานของนโยบายดานการเรียนการสอนและการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสูตรสถานศึกษา หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักวิชา หลักเกณฑการวัดและประเมิน ผลการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กฎระเบียบที่เกี่ยวของและ แนวปฏิบัติท่ีสถานศึกษากําหนดเพ่ิมเติม อันจะสะทอนคุณภาพและมาตรฐานการปฏิบัติงานของสถานศึกษา ท่ีจะชวยสรางความม่ันใจในกระบวนการดําเนินงานและสรางความเชื่อม่ันแกสังคม ซ่ึงจะสงผลตอการพัฒนา ผูเรยี นใหมคี ณุ ภาพตามเปาหมายการจัดการศึกษาของสถานศึกษา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กําหนดวา การวัดและประเมินผล การเรียนรูเปนกระบวนการพัฒนาปรับปรุงการเรียนรูของผูเรียน และตัดสินวาผูเรียนมีความรู ทักษะ ความสามารถ คุณลักษณะอันพึงประสงค อันเปนผลมาจากการเรียนการสอนบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู/ ตัวช้ีวดั ในระดับใด สามารถท่จี ะไดรบั การเล่ือนชน้ั หรอื จบการศึกษาไดห รือไม สถานศึกษาในฐานะผูร ับผิดชอบ จดั การศกึ ษา จะตอ งจดั ทาํ ระเบยี บวา ดว ยการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นของสถานศกึ ษาใหส อดคลอ งและเปน ไป ตามหลกั เกณฑแ ละแนวปฏบิ ตั ทิ เี่ ปน ขอ กาํ หนดของหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ โดยควรมสี าระตอ ไปน้ีเปน อยางนอย ๑. หลกั การดําเนินการวัดและประเมินผลการเรยี นรขู องสถานศึกษา ๒. การตัดสนิ ผลการเรียน ๓. การใหระดับผลการเรียน 4 แนวปฏิบัตกิ ารวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p4 6/10/2558 9:21:30

๔. การรายงานผลการเรยี น ๕. เกณฑการจบการศกึ ษา ๖. เอกสารหลักฐานการศกึ ษา ๗. การเทยี บโอนผลการเรยี น h การจดั การระบบงานวดั และประเมินผลการเรียน การจัดการระบบงานวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษา ครอบคลุมงาน ๒ สวน ไดแก งานวดั ผล และงานทะเบยี น สถานศึกษาควรกาํ หนดใหม ผี รู บั ผดิ ชอบในแตล ะงาน สาํ หรบั สถานศกึ ษาขนาดเลก็ อาจรวมท้งั สองงานและมอบหมายผรู บั ผดิ ชอบคนเดียว งานวัดผล มีหนาท่ีรับผิดชอบการดําเนินงานวัดและประเมินผลการเรียนรู ใหคําปรึกษาเก่ียวกับ การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรูก ับผสู อนและผเู รียน ตลอดจนดําเนนิ การเกยี่ วกบั การสรางเสริมความเขม แขง็ ในเทคนคิ วิธีการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรใู หบคุ ลากรของสถานศึกษา งานทะเบียน มีหนาท่ีรับผิดชอบดานเอกสารหลักฐานการศึกษา เอกสารการประเมินผล การจัดทํา จัดเก็บ และการออกเอกสารหลักฐานการศกึ ษาอยางเปน ระบบ ภาระงานวัดและประเมินผลการเรียนรูมีความเกี่ยวของกับฝายตาง ๆ ในสถานศึกษา นับตั้งแต ระดับนโยบายในการกําหนดนโยบายการวัดผล การจัดทําระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลการเรียนของ สถานศึกษา เพ่ือใหบคุ ลากรทกุ ฝายที่เกย่ี วของถอื ปฏิบตั ิ และยงั เกยี่ วของกบั ผูเรยี นทุกคนตั้งแตเ ขา เรียนจนจบ การศกึ ษาและออกจากสถานศึกษา จงึ จาํ เปน ทส่ี ถานศกึ ษาตองวิเคราะหภ าระงาน กําหนดกระบวนการทํางาน และผูรับผิดชอบแตละข้ันตอนอยางชัดเจนเหมาะสม แผนภาพท่ี ๑.๑ นําเสนอการบริหารการวัดและ ประเมินผลการเรียนรูของสถานศึกษาท่ีกําหนดข้ึน โดยนํานโยบายการจัดการเรียนการสอนและการวัดและ ประเมนิ ผลการเรยี นรู ตลอดจนหลกั การดาํ เนนิ การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรตู ามหลกั สตู รในระดบั การศกึ ษา ขั้นพ้ืนฐานมาวิเคราะหภาระงาน ตารางท่ี ๑.๑ แสดงถึงการมอบหมายภารกิจเก่ียวกับการวัดและประเมิน ผลการเรียนรูใ หแกบุคลากรฝา ยตาง ๆ ของสถานศึกษารับผิดชอบ การดาํ เนนิ งานวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรทู ไี่ มเ ปน ระบบ จะสง ผลกระทบตอ ความเชอื่ มน่ั ในคณุ ภาพ การจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา นอกจากนี้ การดําเนนิ งานวัดและประเมินผลการเรยี นรู เปนงานทตี่ อ งอยบู น พื้นฐานหลักวิชาการและหลักธรรมาภิบาล สถานศึกษาตองเปดโอกาสใหทุกฝายมีสวนรวมในรูปของ คณะกรรมการฝายตาง ๆ อยางกวางขวาง รวมทั้งกําหนดใหคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานและ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีสวนรับผิดชอบ สําหรับสถานศึกษา ขนาดเลก็ คณะกรรมการตาง ๆ อาจแตงตง้ั ตามความเหมาะสม แนวปฏบิ ัติการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู 5 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p5 6/10/2558 9:21:30

ผูเ กยี่ วขอ ง ภารกิจ คณะกรรมการบริหารหลักสตู ร จดั ทําหลักสตู รสถานศึกษาและระเบยี บ และงานวชิ าการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน วา ดวยการวัดและประเมินผลการเรียน ของสถานศกึ ษา คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ใหความเหน็ ชอบหลกั สตู รสถานศึกษา คณะกรรมการเทยี บโอนผลการเรยี น และระเบียบวา ดวยการวดั และประเมินผล การเรยี นของสถานศกึ ษา การเทยี บโอน ผลการเรียน - ผสู อน/ผูไดร บั มอบหมาย - จดั การเรยี นรูแ ละดาํ เนนิ การวัด ระบบ - คณะอนกุ รรมการกลมุ สาระการเรยี นรู และประเมินผลตามระเบียบวา ดว ย การประกนั คณุ ภาพ การวัดและประเมินผลการเรยี นของ ของสถานศกึ ษา และกิจกรรมพฒั นาผูเรยี น สถานศกึ ษา - คณะกรรมการพัฒนาและประเมิน - ใหความเหน็ ชอบ/ตดั สินผลการ การอาน คดิ วิเคราะห และเขยี น ประเมนิ รายป/รายภาคตามแตกรณี - คณะกรรมการพฒั นาและประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค (ร.ร. ขนาดเลก็ อาจเปนคณะกรรมการ ชุดเดยี วกัน) คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตร ใหค วามเห็นชอบผลการประเมนิ และงานวิชาการสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ผูบ ริหารสถานศกึ ษา - อนุมตั ผิ ลการประเมินรายป/รายภาค - ตดั สินและอนมุ ตั ิการเลอ่ื นชนั้ ซํา้ รายวิชา/ซา้ํ ชัน้ การจบการศกึ ษา - ครวู ดั ผล จัดทําเอกสารหลักฐานการศกึ ษา - นายทะเบยี น - ครูทีป่ รึกษา - รายงานผลตอผูเก่ียวขอ ง - ครแู นะแนว - นาํ ขอมลู ไปใชว างแผน/พฒั นา - คณะกรรมการทไี่ ดรบั มอบหมาย แผนภาพที่ ๑.๑ แสดงการบริหารการวัดและประเมินผลการเรียนรูของสถานศึกษา 6 แนวปฏิบัตกิ ารวดั และประเมินผลการเรยี นรู ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p6 6/10/2558 9:21:30

ตารางท่ี ๑.๑ แสดงภารกิจการวัดและประเมินผลการเรียนรขู องบคุ ลากรฝายตาง ๆ ผูปฏิบตั ิ บทบาทหนา ทใ่ี นการดําเนินงานการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู ๑. คณะกรรมการสถานศึกษา ๑.๑ ใหค วามเหน็ ชอบหลักสตู รสถานศกึ ษาและระเบยี บวา ดว ยการวดั และประเมินผล ขนั้ พืน้ ฐาน การเรยี นของสถานศึกษา ๑.๒ ใหค วามเห็นชอบตอเกณฑแ ละแนวปฏิบตั ิในการวดั และประเมนิ - การเรยี นรตู ามกลุม สาระการเรียนรูทงั้ ๘ กลุม - ความสามารถในการอาน คดิ วเิ คราะห และเขียน - คุณลักษณะอันพงึ ประสงคข องสถานศึกษา - กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น ๑.๓ ใหความเห็นชอบกระบวนการและวิธีการสอนซอ มเสริม การแกไ ขผลการเรยี นและอ่นื ๆ ๑.๔ กํากบั ติดตามการดําเนินการจดั การเรียนการสอนตามกลมุ สาระการเรยี นรู การพัฒนา ความสามารถดา นการอาน คิดวิเคราะห และเขยี น การพัฒนาคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค และการจัดกจิ กรรมพัฒนาผเู รียน ๑.๕ กํากับ ตดิ ตามการวัดและประเมินผล และการตดั สินผลการเรียน ๒. คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ๒.๑ กาํ หนดระเบยี บวาดวยการวดั และประเมนิ ผลการเรียนของสถานศกึ ษา และงานวชิ าการสถานศกึ ษา ๒.๒ กาํ หนดแผนการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรตู ามหลักสตู รแกนกลางและสาระเพิม่ เติม ข้ันพืน้ ฐาน ของรายวชิ าตา ง ๆ ในแตล ะกลมุ สาระการเรยี นรู โดยวเิ คราะหจ ากมาตรฐานการเรยี นร/ู ตวั ชีว้ ัดของกลมุ สาระการเรยี นรู และจัดทํารายวชิ าพรอ มเกณฑการประเมิน ๒.๓ กาํ หนดส่ิงท่ีตอ งการประเมินในการอา น คิดวเิ คราะห และเขยี น คณุ ลักษณะ อนั พึงประสงค กจิ กรรมพัฒนาผเู รียน พรอ มเกณฑการประเมิน และแนวทาง การพัฒนาและสงเสริมผเู รียน ๒.๔ กาํ หนดการทบทวนการพัฒนาสมรรถนะสาํ คัญของผเู รยี น ๒.๕ ใหข อเสนอแนะ ขอหารอื เกย่ี วกับวธิ ีการเทยี บโอนผลการเรยี น ใหเปนไปตามหลักการ และแนวทางการเทยี บโอนผลการเรียนของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๓. คณะอนุกรรมการกลมุ สาระ ๓.๑ กําหนดแนวทางการจัดการเรียนรขู องกลมุ สาระการเรียนรตู าง ๆ การจัดกจิ กรรมพัฒนา การเรียนรูแ ละกจิ กรรมพัฒนา ผูเรียน พรอมแนวทางการวดั และประเมินผลการเรยี นรู ผเู รยี น ๓.๒ สนับสนุนการจดั การเรยี นรู การจัดกิจกรรมพฒั นาผูเรยี น การวดั และประเมินผล การเรยี นรู และตดั สนิ ผลการเรียนตามแนวทางท่ีกาํ หนดไว ๓.๓ พจิ ารณาใหความเหน็ ชอบผลการวัดและประเมินผลการเรียนรู สาระการเรียนรูรายป/ รายภาค และกิจกรรมพัฒนาผเู รยี น ๔. คณะกรรมการพัฒนาและ ๔.๑ กําหนดแนวทางในการพัฒนา การประเมนิ การปรบั ปรงุ แกไ ข และการตัดสนิ ประเมินการอา น คิดวเิ คราะห ความสามารถในการอา น คดิ วเิ คราะห และเขียนของผูเรียน และเขยี น ๔.๒ ดําเนินการประเมนิ ความสามารถในการอา น คดิ วิเคราะห และเขยี น ๔.๓ ตัดสนิ ผลการพัฒนาความสามารถในการอา น คดิ วเิ คราะห และเขียนของผูเ รยี นรายป/ รายภาค และการจบการศึกษาแตละระดบั แนวปฏบิ ตั กิ ารวดั และประเมินผลการเรยี นรู 7 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p7 6/10/2558 9:21:30

ผูปฏบิ ัติ บทบาทหนา ทีใ่ นการดาํ เนนิ งานการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู ๕. คณะกรรมการพัฒนาและประเมิน ๕.๑ กาํ หนดแนวทางการพฒั นาและการประเมิน เกณฑการประเมนิ และแนวทาง คณุ ลักษณะอันพึงประสงค การปรบั ปรุงแกไขคุณลักษณะอันพึงประสงค ของสถานศกึ ษา ๕.๒ พิจารณาตัดสินผลการประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงครายป/ รายภาค และการจบการศึกษาแตละระดับ ๕.๓ จดั ระบบการปรับปรุงแกไขคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคดวยวิธกี ารอันเหมาะสม และสง ตอขอมูลเพอื่ การพัฒนาอยา งตอ เนอ่ื ง ๖. คณะกรรมการเทียบโอน ๖.๑ จัดทําสาระ เคร่อื งมือ และวธิ กี ารเทียบโอนใหเปนไปตามแนวปฏบิ ตั เิ กี่ยวกบั ผลการเรยี น การเทียบโอนผลการเรยี นเขา สูการศกึ ษาในระบบระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ซ่งึ จัดทํา โดยสาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน (สงิ หาคม ๒๕๔๙) ๖.๒ ดาํ เนนิ การเทยี บโอนผลการเรยี นใหก ับผเู รยี นที่รองขอ ๖.๓ ประมวลผลและตัดสนิ ผลการเทยี บโอน ๖.๔ เสนอผลการเทยี บโอนตอคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวชิ าการสถานศกึ ษา ข้ันพน้ื ฐานเพือ่ ใหค วามเห็นชอบ และเสนอผูบริหารสถานศึกษาตัดสนิ อนมุ ัตกิ ารเทียบโอน ๗. ผบู รหิ ารสถานศกึ ษา ๗.๑ เปน เลขานุการคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ๗.๒ เปนประธานคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรและงานวชิ าการสถานศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ๗.๓ อนุมตั ิผลการประเมนิ ผลการเรียนรายป/ รายภาค และตัดสนิ อนุมัติการเลื่อนชั้นเรยี น การซา้ํ ชน้ั การจบการศกึ ษา ๗.๔ ใหคําแนะนํา ขอ ปรกึ ษาหารอื เกีย่ วกับการดาํ เนนิ งานแกบุคลากรในสถานศกึ ษา ๗.๕ กาํ กับ ตดิ ตามใหการดําเนนิ การวดั และประเมินผลการเรียนรูบรรลุเปาหมาย ๗.๖ นําผลการประเมนิ ไปจัดทาํ รายงานผลการดาํ เนินงาน กาํ หนดนโยบายและวางแผน พัฒนาการจัดการศกึ ษา ๘. ผูสอน ๘.๑ จดั ทาํ หนวยการเรยี นรู แผนการจดั การเรยี นรู แผนการประเมนิ ผลการเรยี นรู ในรายวิชาหรือกิจกรรมที่รับผิดชอบ ๘.๒ วดั และประเมินผลระหวางเรยี นควบคกู บั การจดั กิจกรรมการเรียนรตู ามแผนทกี่ าํ หนด พรอมกบั ปรบั ปรงุ แกไขผเู รียนทม่ี ขี อ บกพรอ ง ๘.๓ ประเมนิ ตดั สินผลการเรียนรูข องผเู รียนในรายวชิ าทีส่ อน หรือกจิ กรรมทร่ี ับผดิ ชอบ เม่อื สนิ้ สุดการเรียนรายป/รายภาค สงหวั หนา กลุมสาระการเรียนรูห รอื กิจกรรม พัฒนาผเู รยี น ๘.๔ ตรวจสอบสมรรถนะสําคญั ของผูเรียน ๘.๕ นาํ ผลการประเมินไปวิเคราะหเ พ่อื พฒั นาการจัดการเรยี นการสอน ๙. ครูวัดผล ๙.๑ สง เสริมพฒั นาระบบและเทคนิควธิ กี ารวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรูด านตา ง ๆ แกค รู และบคุ ลากรของสถานศึกษา ๙.๒ ใหคาํ ปรึกษา ติดตาม กํากับการวดั และประเมินผลการเรยี นรูข องสถานศึกษา ใหเ ปน ไปตามหลกั วิชาการและแนวทางทสี่ ถานศกึ ษากาํ หนดไว 8 แนวปฏบิ ตั กิ ารวดั และประเมินผลการเรียนรู ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p8 6/10/2558 9:21:30

ผูปฏบิ ัติ บทบาทหนา ทีใ่ นการดาํ เนนิ งานการวดั และประเมินผลการเรียนรู ๑๐. นายทะเบยี น ๙.๓ ตรวจสอบ กลนั่ กรอง ปรบั ปรุงคณุ ภาพของวิธีการ เคร่ืองมือวัดและประเมินผล การเรยี นรขู องสถานศึกษา ๙.๔ ปฏบิ ตั งิ านรวมกบั นายทะเบยี นในการรวบรวม ตรวจสอบ และประมวลผล การประเมนิ ผลการเรียนรูของผูเ รียน ๑๐.๑ ปฏิบตั งิ านรว มกับครูวดั ผลในการรวบรวม ตรวจสอบ และบันทึกผลการประมวล ขอ มูลผลการเรียนของผเู รียนแตล ะคน ๑๐.๒ ตรวจสอบและสรุปขอมูลผลการเรียนของผูเ รยี นรายบคุ คลแตละชั้นป และเมอื่ จบการศึกษา เพื่อเสนอรายชื่อผูมีคณุ สมบัติครบตามเกณฑ ใหค ณะกรรมการบรหิ าร หลกั สูตรและงานวชิ าการสถานศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานใหค วามเห็นชอบ และเสนอใหผบู รหิ าร สถานศกึ ษาตัดสินและอนมุ ตั ิผลการเลื่อนช้นั เรียนและจบการศกึ ษาแตล ะระดับ ๑๐.๓ จัดทําเอกสารหลกั ฐานการศึกษา หมายเหตุ ๑. กรณีโรงเรียนขนาดเล็กที่แตงต้ังคณะกรรมการเพียงชุดเดียว คณะกรรมการนั้นตองปฏิบัติ ตามบทบาทและภารกิจขอ ๒-๖ ใหครบถว น ๒. ใหคณะกรรมการประกันคุณภาพของสถานศึกษา มีหนาท่ีกํากับ ติดตาม สนับสนุน ใหเ ปนไปตามระเบยี บวา ดวยการวัดและประเมินผลการเรียน h การสนบั สนนุ ดา นการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรจู ากสาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา หรอื หนวยงานตนสงั กดั สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือหนวยงานตนสังกัดมีบทบาทหนาที่สนับสนุนการดําเนินงานของ สถานศึกษาในดานตาง ๆ รวมท้ังการวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษา ซึ่งสํานักงาน เขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาควรสนับสนุนการดาํ เนินการของสถานศึกษา ดงั นี้ ๑. การจดั ทาํ ระเบียบวา ดวยการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นของสถานศึกษา ๒. การสรางความรูความเขาใจใหกับบุคลากรในสถานศึกษาที่เกี่ยวกับการวัดและประเมินผล การเรยี นรูต ามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และการเทียบโอนผลการเรียน ๓. การสงเสริมและสนับสนุนการเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูตาง ๆ การประเมินการอาน คิดวเิ คราะห และเขียน การประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค และกจิ กรรมพัฒนาผูเรียน แนวปฏิบัติการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู 9 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p9 6/10/2558 9:21:30

๔. การสงเสริมใหครู บุคลากรในสถานศึกษามีความรูความเขาใจในแนวปฏิบัติการวัดและ ประเมนิ ผลการเรยี นรู ตลอดจนความเขา ใจในเทคนคิ วธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลรปู แบบตา ง ๆ โดยเนน การประเมนิ ตามสภาพจรงิ เชน การประเมนิ การปฏบิ ตั งิ าน การประเมนิ ดว ยแฟม สะสมงาน หรอื การประเมนิ ดว ยการสอ่ื สาร สว นบคุ คล เชน การซักถาม การสัมภาษณ เปน ตน ๕. การสงเสริมสนับสนุนใหสถานศึกษาพัฒนาเคร่ืองมือ บริหารจัดการการวัดและประเมินผล การเรียนรู และการจดั เก็บเอกสารหลักฐานการศึกษาอยางเปนระบบ ๖. การใหคําปรึกษา แนะนําเก่ียวกับการวัดและประเมินผลการเรียนรู การจัดทําเอกสารหลักฐาน การศึกษา ๗. การประเมินคุณภาพผูเรียนท่ีดําเนินการโดยเขตพ้ืนท่ีการศึกษาหรือหนวยงานตนสังกัดและ ระดบั ชาติ ๘. ประสานใหมีการดําเนนิ การสอนซอ มเสรมิ ในภาคฤดูรอ นเพื่อแกไ ขผลการเรียนของผูเรยี น ๙. อ่นื ๆ ตามความเหมาะสม 10 แนวปฏบิ ตั ิการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p10 6/10/2558 9:21:30

๒. แนวปฏบิ ตั กิ ารวดั และประเมินผลการเรียนรู ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p11 6/10/2558 9:21:30

h หลักการดําเนินการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรตู ามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ การวัดและประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เปนกระบวนการเก็บรวบรวม ตรวจสอบ ตีความผลการเรียนรู และพัฒนาการดานตาง ๆ ของผูเรียนตาม มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัดของหลักสูตร นําผลไปปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนรูและใชเปนขอมูลสําหรับ การตดั สนิ ผลการเรยี น สถานศกึ ษาตอ งมีกระบวนการจัดการทเ่ี ปน ระบบ เพื่อใหก ารดําเนนิ การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรูเปนไปอยางมีคุณภาพและประสิทธิภาพ และใหผลการประเมินท่ีตรงตามความรูความสามารถ ทแี่ ทจ รงิ ของผเู รยี น ถกู ตอ งตามหลกั การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู รวมทงั้ สามารถรองรบั การประเมนิ ภายใน และการประเมนิ ภายนอกตามระบบประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาได สถานศกึ ษาจงึ ควรกาํ หนดหลกั การดาํ เนนิ การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรเู พอื่ เปน แนวทางในการตดั สนิ ใจเกย่ี วกบั การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรตู ามหลกั สตู ร สถานศกึ ษา ดงั นี้ ๑. สถานศึกษาเปนผูรับผิดชอบการวัดและการประเมินผลการเรียนรูของผูเรียน โดยเปดโอกาส ใหผูทเี่ กยี่ วขอ งมีสว นรว ม ๒. การวัดและการประเมนิ ผลการเรียนรู มีจดุ มงุ หมายเพือ่ พัฒนาผเู รยี นและตัดสนิ ผลการเรยี น ๓. การวัดและประเมินผลการเรียนรูตองสอดคลองและครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด ตามกลุมสาระการเรียนรูท่ีกําหนดในหลักสูตรสถานศึกษา และจัดใหมีการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียน คณุ ลักษณะอันพึงประสงค ตลอดจนกจิ กรรมพฒั นาผเู รียน ๔. การวัดและประเมินผลการเรียนรูเปนสวนหน่ึงของกระบวนการจัดการเรียนการสอน ตองดําเนินการดวยเทคนิควิธีการท่ีหลากหลาย เพ่ือใหสามารถวัดและประเมินผลผูเรียนไดอยางรอบดาน ท้ังดานความรู ความคิด กระบวนการ พฤติกรรม และเจตคติเหมาะสมกับสิ่งที่ตองการวัดธรรมชาติวิชา และระดับชัน้ ของผูเ รียน โดยตงั้ อยบู นพนื้ ฐานของความเทีย่ งตรง ยตุ ธิ รรม และเชือ่ ถือได ๕. การประเมินผูเรียนพิจารณาจากพัฒนาการของผูเรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรม การเรียนรู การรวมกิจกรรม และการทดสอบ ควบคูไปในกระบวนการเรียนการสอนตามความเหมาะสมของ แตล ะระดบั และรูปแบบการศกึ ษา ๖. เปด โอกาสใหผ เู รยี นและผมู สี วนเก่ียวขอ งตรวจสอบผลการประเมนิ ผลการเรียนรู ๗. ใหม ีการเทยี บโอนผลการเรยี นระหวางสถานศึกษาและระหวางรปู แบบการศึกษาตา ง ๆ ๘. ใหสถานศึกษาจัดทําและออกเอกสารหลักฐานการศึกษา เพ่ือเปนหลักฐานการประเมินผล การเรียนรู รายงานผลการเรยี น แสดงวฒุ ิการศึกษา และรับรองผลการเรียนของผเู รยี น 12 แนวปฏิบตั กิ ารวดั และประเมินผลการเรยี นรู ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p12 6/10/2558 9:21:31

h องคป ระกอบของการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรูตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กําหนดจุดหมาย สมรรถนะสาํ คัญของ ผเู รยี น คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค และมาตรฐานการเรยี นรู เปน เปา หมายและกรอบทศิ ทางในการพฒั นาผเู รยี น ใหเ ปน คนดี มปี ญ ญา มคี ณุ ภาพชวี ติ ท่ีดี และมขี ีดความสามารถในการแขงขนั ในเวทรี ะดับโลก กาํ หนดใหผเู รยี น ไดเ รยี นรูต ามมาตรฐานการเรียนร/ู ตัวชีว้ ัดที่กําหนดในสาระการเรยี นรู ๘ กลมุ สาระ มีความสามารถในการอาน คดิ วิเคราะห และเขียน มีคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค และเขา รว มกจิ กรรมพฒั นาผูเรยี น องคป ระกอบของการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรูมีความสัมพันธ ดงั แผนภาพที่ ๒.๑ ๘ กลุมสาระการเรียนรู การอา น คดิ วเิ คราะห และเขียน คุณภาพผเู รยี น คณุ ลักษณะ กิจกรรม อันพึงประสงค พัฒนาผูเ รียน แผนภาพท่ี ๒.๑ แสดงความสมั พนั ธขององคประกอบการวดั และประเมินผลการเรยี นรู ๑. การวดั และประเมินผลการเรยี นรตู ามกลุมสาระการเรียนรู ผูสอนวัดและประเมินผลการเรียนรูผูเรียนเปนรายวิชาบนพื้นฐานของตัวช้ีวัดในรายวิชาพ้ืนฐาน และผลการเรียนรูในรายวิชาเพ่ิมเติมตามท่ีกําหนดในหนวยการเรียนรู ผูสอนใชวิธีการท่ีหลากหลายจาก แหลงขอมูลหลาย ๆ แหลง เพ่ือใหไดผลการประเมินที่สะทอนความรูความสามารถท่ีแทจริงของผูเรียน โดย วัดและประเมินการเรียนรูอยางตอเนื่องไปพรอมกับการจัดการเรียนการสอน สังเกตพัฒนาการและความประพฤติ ของผูเรียน สังเกตพฤติกรรมการเรียน การรวมกิจกรรม ผูสอนควรเนนการประเมินตามสภาพจริง เชน การประเมินการปฏิบัติงาน การประเมินจากโครงงาน หรือการประเมินจากแฟมสะสมงาน ฯลฯ ควบคูไปกับ การใชก ารทดสอบแบบตา ง ๆ อยางสมดลุ ตองใหค วามสาํ คัญกับการประเมนิ ระหวางเรยี นมากกวา การประเมนิ ปลายป/ ปลายภาค และใชเ ปนขอมลู เพอื่ ประเมนิ การเลอ่ื นชน้ั เรยี นและการจบการศึกษาระดบั ตา ง ๆ แนวปฏบิ ัตกิ ารวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู 13 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p13 6/10/2558 9:21:31

การวัดและประเมินผลการเรยี นรตู ามรายกลมุ สาระการเรียนรู ดังแผนภาพที่ ๒.๒ กลุม สาระการเรียนรู กลมุ สาระการเรยี นรู ภาษาไทย คณติ ศาสตร กลมุ สาระการเรยี นรู การวดั และประเมินผลการเรยี นรู กลมุ สาระการเรียนรู ภาษาตา งประเทศ ดว ยวิธกี ารทห่ี ลากหลาย วิทยาศาสตร กลุม สาระการเรยี นรู บูรณาการในการเรียนการสอน กลมุ สาระการเรยี นรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม กลมุ สาระการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรู ศลิ ปะ สุขศกึ ษาและพลศึกษา แผนภาพที่ ๒.๒ แสดงการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรตู ามรายกลุมสาระการเรียนรู ๒. การประเมินการอาน คดิ วเิ คราะห และเขยี น การประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียน เปนการประเมินศักยภาพของผูเรียนในการอาน หนังสอื เอกสาร และสื่อตาง ๆ เพอ่ื หาความรู เพ่มิ พนู ประสบการณ ความสนุ ทรียและประยุกตใ ช แลวนาํ เน้อื หา สาระทอี่ า นมาคิดวเิ คราะห นําไปสกู ารแสดงความคดิ เหน็ การสังเคราะห สรางสรรค การแกป ญหาในเรอ่ื งตาง ๆ และถา ยทอดความคดิ นน้ั ดว ยการเขยี นทมี่ สี าํ นวนภาษาถกู ตอ ง มเี หตผุ ลและลาํ ดบั ขน้ั ตอนในการนาํ เสนอ สามารถ สรางความเขา ใจแกผ อู า นไดอ ยางชดั เจนตามระดับความสามารถในแตล ะระดับชัน้ กรณีผูเรียนมีความบกพรองในกระบวนการดานการเห็นหรือท่ีเก่ียวของทําใหเปนอุปสรรคตอ การอาน สถานศึกษาสามารถปรับวิธกี ารประเมนิ ใหเหมาะสมกบั ผเู รยี นกลุมเปาหมายนั้น การประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียน สถานศึกษาตองดําเนินการอยางตอเนื่องและ สรปุ ผลเปน รายป/ รายภาค เพอ่ื วนิ จิ ฉยั และใชเ ปน ขอ มลู ในการพฒั นาผเู รยี นและประเมนิ การเลอื่ นชน้ั ตลอดจน การจบการศกึ ษาระดบั ตา ง ๆ การอาน คดิ วิเคราะห และเขียน เปน กระบวนการที่ตอเนื่อง ดงั แผนภาพที่ ๒.๓ อา น (รับสาร) หนงั สือ เอกสาร โทรทศั น อนิ เทอรเ นต็ ส่ือตาง ๆ ฯลฯ แลว สรปุ เปน ความรู ความเขาใจของตนเอง คิดวเิ คราะห วเิ คราะห สงั เคราะห หาเหตผุ ล แกป ญ หา และสรา งสรรค เขียน (ส่อื สาร) ถา ยทอดความรู ความคดิ ส่ือสารใหผูอื่นเขา ใจ แผนภาพที่ ๒.๓ แสดงการประเมินการอาน คดิ วเิ คราะห และเขียน 14 แนวปฏบิ ัตกิ ารวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p14 6/10/2558 9:21:31

๓. การประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค เปนการประเมินคุณลักษณะท่ีตองการใหเกิดข้ึนกับ ผูเรียน อันเปนคุณลักษณะท่ีสังคมตองการในดานคุณธรรม จริยธรรม คานิยม จิตสํานึก สามารถอยูรวมกับ ผูอ่ืนในสังคมไดอยางมีความสุข ท้ังในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กาํ หนดคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ๘ คณุ ลกั ษณะ ในการประเมนิ ใหป ระเมนิ แตล ะคณุ ลกั ษณะ แลว รวบรวมผลการประเมนิ จากผปู ระเมนิ ทกุ ฝา ยและแหลง ขอ มลู หลายแหลง เพอ่ื ใหไ ดข อ มลู นาํ มาสกู ารสรปุ ผล เปนรายป/รายภาค และใชเปน ขอ มูลเพือ่ ประเมินการเล่ือนช้นั และการจบการศึกษาระดบั ตา ง ๆ การประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคต ามหลักสูตรแกนกลางฯ ดังแผนภาพท่ี ๒.๔ มีจิตสาธารณะ รกั ชาติ ศาสน กษัตริย รักความเปน ไทย คุณลกั ษณะ ซ่อื สัตยส จุ ริต มงุ ม่ันในการทาํ งาน อนั พึงประสงค มวี ินยั อยูอ ยา งพอเพยี ง ใฝเรยี นรู แผนภาพท่ี ๒.๔ แสดงการประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค ๔. การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผูเ รียน การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน เปนการประเมินการปฏิบัติกิจกรรมและผลงานของผูเรียน และเวลาในการเขารวมกิจกรรมตามเกณฑที่กําหนดไวในแตละกิจกรรม และใชเปนขอมูลประเมินการเลื่อนชั้น และการจบการศกึ ษาระดับตาง ๆ ดงั แผนภาพท่ี ๒.๕ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน - ลกู เสือ เนตรนารี ยุวกาชาด กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น ผบู าํ เพ็ญประโยชน กจิ กรรมเพอื่ สังคมและ และนกั ศกึ ษาวิชาทหาร สาธารณประโยชน - ชุมนมุ /ชมรม แผนภาพท่ี ๒.๕ แสดงการประเมินกจิ กรรมพฒั นาผเู รียน 15 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p15 6/10/2558 9:21:31

h เกณฑการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู ๑. ระดบั ประถมศึกษา ๑.๑ การตดั สินผลการเรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กําหนดหลักเกณฑการวัด และประเมินผลการเรียนรู เพื่อตัดสนิ ผลการเรียนของผเู รียน ดงั นี้ ๑) ผูเรยี นตอ งมีเวลาเรียนไมนอ ยกวา รอ ยละ ๘๐ ของเวลาเรียนท้ังหมด ๒) ผเู รยี นตอ งไดรบั การประเมินทุกตัวช้ีวัดและผานตามเกณฑท่สี ถานศกึ ษากําหนด ๓) ผเู รยี นตอ งไดร ับการตัดสินผลการเรียนทกุ รายวชิ า ๔) ผูเรียนตองไดรับการประเมินและมีผลการประเมินผานตามเกณฑท่ีสถานศึกษา กําหนดในการอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี น คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค และกจิ กรรมพัฒนาผูเ รียน เพื่อใหการจัดการเรียนรูบังเกิดผล ผูเรียนตองไดรับการพัฒนาอยางเพียงพอในความรู ทักษะ คุณลักษณะท่ีกําหนดในตัวชี้วัด โดยมีเวลาเรียนท่ีเพียงพอตอการพัฒนาดวย โดยปกติในระดับ ประถมศกึ ษา ผสู อนจะมเี วลาอยกู บั ผเู รยี นตลอดปก ารศกึ ษา ประมาณ ๒๐๐ วนั สถานศกึ ษาจงึ ควรบรหิ ารจดั การ เวลาทไ่ี ดร บั นใ้ี หเ กดิ ประโยชนส งู สดุ ตอ การพฒั นาผเู รยี นอยา งรอบดา น และตระหนกั วา เวลาเรยี นเปน ทรพั ยากร ทใ่ี ชห มดไปในแตล ะวนั มากกวา เปน เพยี งองคป ระกอบหนง่ึ ของการบรหิ ารหลกั สตู ร การกาํ หนดใหผ เู รยี นมเี วลา เรียนไมนอยกวารอยละ ๘๐ ของเวลาเรียนตลอดปการศึกษา จึงเปนการมุงหวังใหผูสอนมีเวลาในการพัฒนา ผูเรียน และเติมเต็มศักยภาพของผูเรียน และเพ่ือใหการจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ ผูสอนตอง ตรวจสอบความรูความสามารถที่แสดงพัฒนาการของผูเรียนอยางสม่ําเสมอและตอเน่ือง อีกท้ังตองสรางให ผูเรียนรับผิดชอบการเรียนรูของตนดวยการตรวจสอบความกาวหนาในการเรียนของตนเองอยางสมํ่าเสมอ เชนกัน ตัวช้ีวัดซ่ึงมีความสําคัญในการนํามาใชออกแบบหนวยการเรียนรูน้ันยังเปนแนวทางสําหรับผูสอนและ ผูเรียนใชในการตรวจสอบยอนกลับวาผูเรียนเกิดการเรียนรูหรือยัง การประเมินในชั้นเรียนซ่ึงตองอาศัยทั้ง การประเมินเพ่ือการพัฒนาและการประเมินเพ่ือสรุปการเรียนรูจะเปนเครื่องมือสําคัญในการตรวจสอบ ความกาวหนา ในการเรยี นรขู องผเู รียน สถานศึกษาโดยผสู อนกาํ หนดเกณฑทยี่ อมรับไดในการผา นตวั ช้ีวัดทุกตัว ใหเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา กลาวคือ ใหทาทายการเรียนรูไมยากหรืองายเกินไป เพื่อใชเปนเกณฑ ในการประเมินวาส่ิงท่ีผูเรียนรู เขาใจ ทําไดน้ัน เปนที่นาพอใจ บรรลุตามเกณฑที่ยอมรับได หากยังไมบรรลุ จะตองหาวิธีการชวยเหลือ เพ่ือใหผูเรียนไดรับการพัฒนาสูงสุด การกําหนดเกณฑน้ีผูสอนสามารถใหผูเรียน รว มกาํ หนดดว ยได เพอื่ ใหเ กดิ ความรบั ผดิ ชอบรว มกนั และสรา งแรงจงู ใจในการเรยี น การประเมนิ เพอื่ การพฒั นา สวนมากเปนการประเมินอยางไมเปนทางการ เชน สังเกต หรือซักถาม หรือการทดสอบยอยในการประเมิน เพ่ือการพัฒนาน้ี ควรใหผูเรียนไดรับการพัฒนาจนผานเกณฑท่ียอมรับได ผูเรียนแตละคนอาจใชเวลาเรียน และวธิ กี ารเรยี นทแี่ ตกตา งกนั ฉะนนั้ ผสู อนควรนาํ ขอ มูลทไี่ ดม าใชป รบั วธิ กี ารสอนเพอ่ื ใหผ เู รยี นไดร บั การพฒั นา เตม็ ศกั ยภาพ อนั จะนาํ ไปสกู ารบรรลมุ าตรฐานการเรยี นรใู นทา ยทสี่ ดุ อยา งมคี ณุ ภาพ การประเมนิ เพอื่ การพฒั นา 16 แนวปฏิบัตกิ ารวดั และประเมินผลการเรยี นรู ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p16 6/10/2558 9:21:31

จึงไมจําเปนตองตัดสินใหคะแนนเสมอไป การตัดสินใหคะแนนหรือใหเปนระดับคุณภาพควรดําเนินการ โดยใชก ารประเมนิ สรุปผลรวมเมอ่ื จบหนวยการเรียนรแู ละจบรายวชิ า การตัดสินผลการเรียน ตัดสินเปนรายวิชา โดยใชผลการประเมินระหวางปและปลายป ตามสัดสวนที่สถานศึกษากําหนด ทุกรายวิชาตองไดรับการตัดสินผลการเรียนตามแนวทางการใหระดับ ผลการเรียนตามที่สถานศกึ ษากําหนด และผูเรยี นตองผา นทุกรายวชิ าพื้นฐาน ๑.๒ การใหระดบั ผลการเรยี น การตัดสินเพ่ือใหระดับผลการเรียนรายวิชา สถานศึกษาสามารถใหระดับผลการเรียน หรอื ระดบั คณุ ภาพการปฏบิ ตั ขิ องผเู รยี นเปน ระบบตวั เลข ระบบตวั อกั ษร ระบบรอ ยละ และระบบทใ่ี ชค าํ สาํ คญั สะทอนมาตรฐาน การตัดสินผลการเรียนในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานใชระบบผานและไมผาน โดยกําหนด เกณฑก ารตดั สินผานแตล ะรายวชิ าทีร่ อยละ ๕๐ จากนนั้ จงึ ใหร ะดับผลการเรียนทีผ่ านเปน ระบบตา ง ๆ ตามท่ี สถานศึกษากําหนด ไดแก ระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบรอยละ ระบบที่ใชคําสําคัญสะทอนมาตรฐาน ตารางขา งใตแสดงการใหร ะดับผลการเรยี นดวยระบบตาง ๆ และการเทยี บกันไดระหวา งระบบ กรณีทส่ี ถานศึกษาใหร ะดับผลการเรยี นดว ยระบบตาง ๆ สามารถเทียบกนั ได ดังน้ี ระบบตัวเลข ระบบตัวอกั ษร ระบบรอยละ ระบบท่ีใชค าํ สําคญั สะทอ นมาตรฐาน ๔ A ๘๐ - ๑๐๐ ๕ ระดับ ๔ ระดับ ๒ ระดบั ๓.๕ B+ ๗๕ - ๗๙ ๓ B ๗๐ - ๗๔ ดีเยย่ี ม ดเี ยี่ยม ๒.๕ C+ ๖๕ - ๖๙ ๒ C ๖๐ - ๖๔ ดี ดี ๑.๕ D+ ๕๕ - ๕๙ ๑ D ๕๐ - ๕๔ พอใช ผา น ๐ F ๐ - ๔๙ ผาน ผาน ไมผา น ไมผาน ไมผา น การประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงคนั้น ใหผ ลการประเมินเปน ผานและไมผา น กรณีทผี่ า นใหระดับผลการประเมินเปนดีเย่ียม ดี และผาน ๑) ในการสรุปผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียน เพ่ือการเล่ือนช้ัน และจบการศึกษา กําหนดเกณฑการตดั สนิ เปน ๔ ระดบั และความหมายของแตละระดบั ดังน้ี ดีเยย่ี ม หมายถงึ มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขียนทม่ี คี ุณภาพดเี ลศิ อยเู สมอ แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู 17 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p17 6/10/2558 9:21:32

ดี หมายถึง มีผลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขยี นท่ีมคี ณุ ภาพเปนท่ยี อมรับ ผาน หมายถงึ มีผลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขียนท่ีมีคุณภาพเปนท่ียอมรับ แตยังมีขอบกพรอง บางประการ ไมผาน หมายถึง ไมมผี ลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการอา น คดิ วิเคราะห และเขยี น หรอื ถา มผี ลงาน ผลงานนนั้ ยงั มขี อ บกพรอ งทต่ี อ ง ไดรับการปรับปรุงแกไขหลายประการ ๒) ในการสรุปผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงครวมทุกคุณลักษณะเพื่อการ เลือ่ นชั้นและจบการศกึ ษา กาํ หนดเกณฑก ารตัดสินเปน ๔ ระดับ และความหมายของแตล ะระดับ ดังน้ี ดีเย่ียม หมายถงึ ผูเรียนปฏิบัติตนตามคุณลักษณะจนเปนนิสัย และนําไปใช ในชีวิตประจําวันเพื่อประโยชนสุขของตนเองและสังคม โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับดีเย่ียม จํานวน ๕ - ๘ คณุ ลกั ษณะ และไมม คี ณุ ลกั ษณะใดไดผ ลการประเมนิ ตํา่ กวาระดบั ดี ดี หมายถงึ ผูเรียนมีคุณลักษณะในการปฏิบัติตามกฎเกณฑ เพื่อให เปนการยอมรบั ของสังคม โดยพจิ ารณาจาก ๑. ไดผ ลการประเมนิ ระดบั ดเี ยยี่ ม จาํ นวน ๑ - ๔ คณุ ลกั ษณะ และไมมีคุณลักษณะใดไดผลการประเมินตํ่ากวา ระดับดี หรือ ๒. ไดผ ลการประเมินระดับดีทัง้ ๘ คุณลกั ษณะ หรือ ๓. ไดผลการประเมินตั้งแตระดับดีขึ้นไป จํานวน ๕ - ๗ คุณลักษณะ และมีบางคุณลักษณะไดผลการประเมิน ระดับผา น ผาน หมายถึง ผูเรียนรับรูและปฏิบัติตามกฎเกณฑและเง่ือนไขท่ี สถานศกึ ษากาํ หนด โดยพิจารณาจาก ๑. ไดผ ลการประเมินระดบั ผานทั้ง ๘ คณุ ลักษณะ หรอื ๒. ไดผลการประเมินต้ังแตระดับดีข้ึนไป จํานวน ๑ - ๔ คณุ ลกั ษณะ และคณุ ลกั ษณะทเี่ หลอื ไดผ ลการประเมนิ ระดบั ผา น 18 แนวปฏบิ ัตกิ ารวดั และประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p18 6/10/2558 9:21:32

ไมผาน หมายถึง ผูเรียนรับรูและปฏิบัติไดไมครบตามกฎเกณฑและเงื่อนไข ท่ีสถานศึกษากําหนด โดยพิจารณาจากผลการประเมิน ระดับไมผา น ต้ังแต ๑ คุณลกั ษณะ การประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผเู รียน จะตอ งพิจารณาท้งั เวลาการเขารวมกิจกรรม การปฏิบัติ กจิ กรรม และผลงานของผูเรยี นตามเกณฑที่สถานศึกษากําหนด และใหผ ลการประเมนิ เปน ผา นและไมผ า น กิจกรรมพฒั นาผเู รียน มี ๓ ลักษณะ คือ ๑) กจิ กรรมแนะแนว ๒) กิจกรรมนกั เรียน ซ่ึงประกอบดว ย (๑) กจิ กรรมลกู เสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด และผบู าํ เพญ็ ประโยชน โดยผเู รียนเลอื ก อยางใดอยา งหนึ่ง ๑ กจิ กรรม (๒) กิจกรรมชุมนมุ หรือชมรมอกี ๑ กิจกรรม ๓) กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน ใหใ ชต ัวอกั ษรแสดงผลการประเมนิ ดังน้ี “ผ” หมายถึง ผูเรียนมีเวลาเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ปฏิบัติกิจกรรมและ มผี ลงานตามเกณฑที่สถานศกึ ษากาํ หนด “มผ” หมายถงึ ผูเรียนมีเวลาเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ปฏิบัติกิจกรรมและ มีผลงานไมเปน ไปตามเกณฑท ่ีสถานศกึ ษากาํ หนด ในกรณีท่ีผูเรียนไดผลของกิจกรรมเปน “มผ” สถานศึกษาตองจัดซอมเสริมใหผูเรียน ทํากิจกรรมในสวนท่ีผูเรียนไมไดเขารวมหรือไมไดทําจนครบถวน แลวจึงเปลี่ยนผลจาก “มผ” เปน “ผ” ได ทั้งนี้ ตอ งดําเนนิ การใหเ สรจ็ สนิ้ ภายในปก ารศกึ ษาน้นั ยกเวน มีเหตสุ ดุ วิสยั ใหอ ยูในดลุ ยพินจิ ของสถานศกึ ษา ๑.๓ การเล่อื นช้นั เมือ่ สิน้ ปการศึกษา ผเู รยี นจะไดรบั การเลอ่ื นช้นั เมือ่ มคี ุณสมบัตติ ามเกณฑด ังตอ ไปนี้ ๑) ผูเ รยี นมเี วลาเรียนตลอดปการศึกษาไมน อยกวารอ ยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมด ๒) ผเู รยี นมผี ลการประเมินผานทกุ รายวชิ าพื้นฐาน ๓) ผูเรียนมผี ลการประเมินการอาน คดิ วิเคราะห และเขยี น คุณลกั ษณะอันพึงประสงค และกิจกรรมพัฒนาผูเรยี นผานตามเกณฑท ี่สถานศึกษากําหนด ท้ังนี้ ถาผูเรียนมีขอบกพรองเพียงเล็กนอย และสถานศึกษาพิจารณาเห็นวาสามารถ พฒั นาและสอนซอ มเสรมิ ได ใหอ ยูในดุลยพินจิ ของสถานศกึ ษาท่ีจะผอนผันใหเลอื่ นชนั้ ได อนึ่ง ในกรณีที่ผูเรียนมีหลักฐานการเรียนรูที่แสดงวามีความสามารถดีเลิศ สถานศึกษา อาจใหโ อกาสผเู รยี นเลอื่ นชน้ั กลางปก ารศกึ ษา โดยสถานศกึ ษาแตง ตงั้ คณะกรรมการ ประกอบดว ย ฝา ยวชิ าการ ของสถานศึกษาและผูแทนของเขตพ้ืนที่การศึกษาหรือตนสังกัด ประเมินผูเรียนและตรวจสอบคุณสมบัติ ใหครบถวนตามเงื่อนไขท้งั ๓ ประการ ตอไปนี้ แนวปฏิบัตกิ ารวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู 19 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p19 6/10/2558 9:21:32

๑) มผี ลการเรยี นในปก ารศกึ ษาทผ่ี า นมาและมผี ลการเรยี นระหวา งปท กี่ าํ ลงั ศกึ ษาอยใู น เกณฑดเี ย่ยี ม ๒) มีวุฒภิ าวะเหมาะสมที่จะเรยี นในชน้ั ท่ีสงู ข้ึน ๓) ผานการประเมินผลความรูความสามารถทุกรายวิชาของช้ันปที่เรียนปจจุบัน และ ความรูค วามสามารถทุกรายวิชาในภาคเรียนแรกของชั้นปที่จะเลื่อนขน้ึ การอนุมัติใหเลื่อนช้ันกลางปการศึกษาไปเรียนช้ันสูงข้ึนได ๑ ระดับชั้นนี้ ตองไดรับ การยินยอมจากผเู รียนและผูปกครอง และตอ งดาํ เนินการใหเสร็จสน้ิ กอนเปดภาคเรียนที่ ๒ ของปก ารศกึ ษานน้ั สําหรับในกรณีท่ีพบวามีผูเรียนกลุมพิเศษประเภทตาง ๆ มีปญหาในการเรียนรู ใหส ถานศกึ ษาดาํ เนนิ งานรว มกบั สาํ นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา/ศนู ยก ารศกึ ษาพเิ ศษจงั หวดั /ศนู ยก ารศกึ ษาพเิ ศษ เขตการศกึ ษา/หนวยงานตนสงั กดั โรงเรียนเฉพาะความพิการ หาแนวทางการแกไขและพัฒนา ๑.๔ การเรยี นซํา้ ชนั้ ผเู รยี นทไ่ี มผ า นรายวชิ าจาํ นวนมากและมแี นวโนม วา จะเปน ปญ หาตอ การเรยี นในระดบั ชน้ั ที่สูงข้ึน สถานศึกษาอาจต้ังคณะกรรมการพิจารณาใหเรียนซํ้าช้ันได ทั้งน้ี ใหคํานึงถึงวุฒิภาวะและความรู ความสามารถของผเู รยี นเปน สาํ คัญ ผูเรียนที่ไมมีคุณสมบัติตามเกณฑการเล่ือนชั้น สถานศึกษาควรใหเรียนซ้ําช้ัน ทั้งนี้ สถานศึกษาอาจใชดุลยพินิจใหเ ล่ือนชั้นได หากพจิ ารณาวาผเู รียนมีคณุ สมบัตขิ อ ใดขอหนึง่ ดังตอไปนี้ ๑) มีเวลาเรียนไมถึงรอยละ ๘๐ อันเน่ืองจากสาเหตุจําเปนหรือเหตุสุดวิสัย แตมี คุณสมบัตติ ามเกณฑการเล่ือนชน้ั ในขอ อ่ืน ๆ ครบถวน ๒) ผูเรียนมีผลการประเมินผานมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัดไมถึงเกณฑตามท่ี สถานศึกษากําหนดในแตละรายวิชา แตเห็นวาสามารถสอนซอมเสริมไดในปการศึกษานั้น และมีคุณสมบัติ ตามเกณฑการเล่ือนช้นั ในขออนื่ ๆ ครบถว น ๓) ผูเรียนมีผลการประเมินรายวิชาในกลุมสาระภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรมอยูใ นระดับผาน กอนท่ีจะใหผูเรียนเรียนซํ้าชั้น สถานศึกษาควรแจงใหผูปกครองและผูเรียนทราบเหตุผล ของการเรียนซํ้าชน้ั ๑.๕ การสอนซอมเสริม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กําหนดใหสถานศึกษา จัดสอนซอมเสริมเพื่อพัฒนาการเรียนรูข องผเู รียนเตม็ ตามศกั ยภาพ การสอนซอมเสริม เปนการสอนเพื่อแกไขขอบกพรอง กรณีที่ผูเรียนมีความรู ทักษะ กระบวนการ หรือเจตคติ/คุณลักษณะไมเปนไปตามเกณฑที่สถานศึกษากําหนด สถานศึกษาตองจัด 20 แนวปฏิบัตกิ ารวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p20 6/10/2558 9:21:32

สอนซอ มเสรมิ เปน กรณพี เิ ศษนอกเหนอื ไปจากการสอนตามปกติ เพอ่ื พฒั นาใหผ เู รยี นสามารถบรรลตุ ามมาตรฐาน การเรียนรู/ตัวชี้วัดที่กําหนดไว เปนการใหโอกาสแกผูเรียนไดเรียนรูและพัฒนา โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู ท่ีหลากหลายและตอบสนองความแตกตา งระหวา งบคุ คล ๑.๖ เกณฑก ารจบระดับประถมศึกษา ๑) ผูเรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและรายวิชา/กิจกรรมเพ่ิมเติม โดยเปนรายวิชาพื้นฐาน ตามโครงสรา งเวลาเรยี นทหี่ ลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานกําหนด และรายวชิ า/กิจกรรมเพ่มิ เติมตามท่ี สถานศกึ ษากําหนด ๒) ผเู รยี นตอ งมผี ลการประเมนิ รายวชิ าพนื้ ฐานผา นเกณฑก ารประเมนิ ตามทส่ี ถานศกึ ษา กําหนด ๓) ผูเรียนมีผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียนในระดับผานเกณฑ การประเมินตามท่ีสถานศกึ ษากําหนด ๔) ผูเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคในระดับผานเกณฑการประเมิน ตามที่สถานศกึ ษากําหนด ๕) ผูเรียนเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนและมีผลการประเมินผานเกณฑการประเมิน ตามทีส่ ถานศกึ ษากําหนด ๒. ระดับมัธยมศกึ ษา ๒.๑ การตดั สนิ ผลการเรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กําหนดหลักเกณฑการวัด และประเมนิ ผลการเรียนรู เพ่อื ตัดสนิ ผลการเรียนของผเู รยี น ดงั นี้ ๑) ตัดสินผลการเรียนเปนรายวิชา ผูเรียนตองมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไมนอยกวา รอ ยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นท้ังหมดในรายวชิ านน้ั ๆ ๒) ผูเรยี นตอ งไดรับการประเมินทกุ ตวั ชว้ี ัดและผา นตามเกณฑที่สถานศกึ ษากาํ หนด ๓) ผเู รียนตอ งไดรับการตดั สินผลการเรยี นทุกรายวชิ า ๔) ผูเรียนตองไดรับการประเมินและมีผลการประเมินผานตามเกณฑท่ีสถานศึกษา กาํ หนดในการอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี น คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค และกจิ กรรมพฒั นาผูเรียน เพอ่ื ใหก ารจดั การเรยี นการสอนมปี ระสทิ ธภิ าพ ผสู อนตอ งตรวจสอบความรคู วามสามารถ ทีแ่ สดงพัฒนาการของผเู รียนอยางสม่าํ เสมอและตอเนอ่ื ง อีกทงั้ ตอ งสรางใหผเู รียนรบั ผิดชอบการเรยี นรขู องตน ดวยการตรวจสอบความกาวหนาในการเรียนของตนเองอยางสม่ําเสมอเชนกัน ตัวชี้วัดซ่ึงมีความสําคัญในการ นํามาใชออกแบบหนวยการเรียนรูน้ันยังเปนแนวทางสําหรับผูสอนและผูเรียนใชในการตรวจสอบยอนกลับ วา ผเู รยี นเกดิ การเรยี นรหู รอื ยงั การประเมนิ ในชนั้ เรยี นซงึ่ ตอ งอาศยั ทงั้ การประเมนิ เพอื่ การพฒั นาและการประเมนิ เพื่อสรุปการเรียนรูจะเปนเครื่องมือสําคัญในการตรวจสอบความกาวหนาในการเรียนรูของผูเรียน สถานศึกษา แนวปฏิบัตกิ ารวดั และประเมินผลการเรียนรู 21 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p21 6/10/2558 9:21:32

โดยผูสอนกําหนดเกณฑที่ยอมรับไดในการผานตัวช้ีวัดทุกตัวใหเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา กลาวคือ ใหทาทายการเรียนรู ไมยากหรืองายเกินไป เพ่ือใชเปนเกณฑในการประเมินวาส่ิงท่ีผูเรียนรู เขาใจ ทําไดนนั้ เปนทน่ี าพอใจ บรรลตุ ามเกณฑท ย่ี อมรบั ได หากยงั ไมบรรลจุ ะตองหาวิธกี ารชวยเหลือ เพื่อใหผ ูเ รยี น ไดร บั การพฒั นาสงู สดุ การกาํ หนดเกณฑน ผ้ี สู อนสามารถใหผ เู รยี นรว มกาํ หนดดว ยได เพอื่ ใหเ กดิ ความรบั ผดิ ชอบ รว มกันและสรางแรงจงู ใจในการเรียน การประเมนิ เพ่ือการพัฒนาสวนมากเปน การประเมินอยางไมเ ปนทางการ เชน สังเกต หรือซักถาม หรือการทดสอบยอย ในการประเมินเพื่อการพัฒนานี้ ควรใหผูเรียนไดรับการพัฒนา จนผานเกณฑที่ยอมรับได ผูเรียนแตละคนอาจใชเวลาเรียนและวิธีการเรียนที่แตกตางกัน ฉะน้ัน ผูสอน ควรนําขอมูลที่ไดมาใชปรับวิธีการสอนเพื่อใหผูเรียนไดรับการพัฒนาเต็มศักยภาพ อันจะนําไปสูการบรรลุ มาตรฐานการเรียนรูในทายท่ีสุดอยางมีคุณภาพ การประเมินเพ่ือการพัฒนาจึงไมจําเปนตองตัดสินใหคะแนน เสมอไป การตัดสินใหคะแนนหรือใหเปนระดับคุณภาพควรดําเนินการโดยใชการประเมินสรุปผลรวม เมื่อจบหนวยการเรียนรูแ ละจบรายวชิ า การตดั สนิ ผลการเรยี น ตดั สนิ เปน รายวชิ า โดยใชผ ลการประเมนิ ระหวา งภาคและปลายภาค ตามสดั สวนทีส่ ถานศกึ ษากําหนด ทกุ รายวิชาตอ งไดร ับการตดั สนิ และใหระดบั ผลการเรยี น ทงั้ น้ี ผูเรียนตอ งผา น ทุกรายวิชาพ้ืนฐาน ๒.๒ การใหระดบั ผลการเรยี น การตัดสินเพื่อใหระดับผลการเรียนรายวิชาของกลุมสาระการเรียนรู ใหใชตัวเลข แสดงระดับผลการเรยี นเปน ๘ ระดับ การตัดสินผลการเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานใชระบบผานและไมผาน โดย กําหนดเกณฑการตัดสินผานแตละรายวิชาท่ีรอยละ ๕๐ จากนั้นจึงใหระดับผลการเรียนท่ีผาน สําหรับ ระดับมัธยมศึกษาตอนตนและตอนปลาย ใชตัวเลขแสดงระดับผลการเรียนเปน ๘ ระดับ แนวการใหระดับ ผลการเรยี น ๘ ระดบั และความหมายของแตล ะระดบั ดังแสดงในตาราง ดงั นี้ ระดบั ผลการเรียน ความหมาย ชว งคะแนนเปน รอ ยละ ๔ ดเี ย่ียม ๘๐ - ๑๐๐ ๓.๕ ดีมาก ๗๕ - ๗๙ ๓ ดี ๗๐ - ๗๔ ๒.๕ คอ นขางดี ๖๕ - ๖๙ ๒ ปานกลาง ๖๐ - ๖๔ ๑.๕ พอใช ๕๕ - ๕๙ ๑ ๕๐ - ๕๔ ๐ ผา นเกณฑข ้นั ตาํ่ ๐ - ๔๙ ต่าํ กวา เกณฑ 22 แนวปฏิบตั กิ ารวดั และประเมินผลการเรียนรู ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p22 6/10/2558 9:21:32

ในกรณีท่ีไมสามารถใหระดับผลการเรียนเปน ๘ ระดับได ใหใชตัวอักษรระบุเง่ือนไข ของผลการเรียน ดงั น้ี “มส” หมายถึง ผูเรียนไมมีสิทธิเขารับการวัดผลปลายภาคเรียน เนื่องจากผูเรียน มีเวลาเรียนไมถึงรอยละ ๘๐ ของเวลาเรียนในแตละรายวิชา และไมไดรับการผอนผันใหเขารับการวัดผล ปลายภาคเรยี น “ร” หมายถึง รอการตัดสินและยังตัดสินผลการเรียนไมได เนื่องจากผูเรียนไมมีขอมูล ผลการเรียนรายวิชานั้นครบถว น ไดแก ไมไ ดว ดั ผลระหวางภาคเรยี น/ปลายภาคเรียน ไมไดส งงานที่มอบหมาย ใหท ํา ซึง่ งานนัน้ เปนสว นหนึ่งของการตดั สินผลการเรียน หรือมีเหตสุ ุดวสิ ยั ทีท่ าํ ใหประเมินผลการเรียนไมไ ด การประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงคน้ัน ใหผลการประเมนิ เปนผา นและไมผ า น กรณที ี่ผา นใหระดับผลการประเมนิ เปนดีเยี่ยม ดี และผา น ๑) ในการสรุปผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียน เพื่อการเล่ือนช้ัน และจบการศกึ ษา กาํ หนดเกณฑการตัดสนิ เปน ๔ ระดบั และความหมายของแตละระดับ ดงั นี้ ดเี ยี่ยม หมายถึง มีผลงานท่ีแสดงถึงความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขียนท่มี คี ุณภาพดีเลิศอยูเสมอ ดี หมายถงึ มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขียนทีม่ ีคณุ ภาพเปนทยี่ อมรับ ผาน หมายถงึ มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขียนที่มีคุณภาพเปนที่ยอมรับ แตยังมีขอบกพรอง บางประการ ไมผ าน หมายถึง ไมม ผี ลงานทแี่ สดงถงึ ความสามารถในการอา น คดิ วเิ คราะห และเขียน หรือถามีผลงาน ผลงานน้ันยังมีขอบกพรอง ท่ีตองไดร บั การปรับปรงุ แกไขหลายประการ ๒) ในการสรุปผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงครวมทุกคุณลักษณะ เพ่ือการเล่อื นชั้นและจบการศกึ ษา กาํ หนดเกณฑการตัดสินเปน ๔ ระดบั และความหมายของแตละระดบั ดงั น้ี ดีเย่ยี ม หมายถึง ผูเรียนปฏิบัติตนตามคุณลักษณะจนเปนนิสัยและนําไปใช ในชีวิตประจําวันเพ่ือประโยชนสุขของตนเองและสังคม โดยพจิ ารณาจากผลการประเมนิ ระดบั ดเี ยยี่ ม จาํ นวน ๕ - ๘ คุณลักษณะ และไมมีคุณลักษณะใดไดผลการประเมิน ตาํ่ กวาระดับดี แนวปฏิบตั ิการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู 23 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p23 6/10/2558 9:21:32

ดี หมายถึง ผูเรียนมีคุณลักษณะในการปฏิบัติตามกฎเกณฑ เพื่อให เปน การยอมรับของสังคม โดยพิจารณาจาก ๑. ไดผ ลการประเมนิ ระดบั ดเี ยย่ี มจาํ นวน๑-๔คณุ ลกั ษณะ และไมมีคุณลักษณะใดไดผลการประเมินตํ่ากวา ระดบั ดี หรือ ๒. ไดผ ลการประเมนิ ระดบั ดีทัง้ ๘ คุณลักษณะ หรือ ๓. ไดผลการประเมินต้ังแตระดับดีขึ้นไป จํานวน ๕ - ๗ คุณลักษณะ และมีบางคุณลักษณะไดผลการประเมิน ระดับผา น ผาน หมายถงึ ผูเรียนรับรูและปฏิบัติตามกฎเกณฑและเง่ือนไขท่ี สถานศึกษากําหนด โดยพจิ ารณาจาก ๑. ไดผลการประเมินระดับผานทั้ง ๘ คุณลักษณะ หรอื ๒. ไดผลการประเมินต้ังแตระดับดีขึ้นไป จํานวน ๑ - ๔ คณุ ลกั ษณะ และคณุ ลกั ษณะทเ่ี หลอื ไดผ ลการประเมนิ ระดบั ผา น ไมผา น หมายถึง ผูเรียนรับรูและปฏิบัติไดไมครบตามกฎเกณฑและเงื่อนไข ที่สถานศึกษากําหนด โดยพิจารณาจากผลการประเมิน ระดับไมผาน ตัง้ แต ๑ คณุ ลักษณะ การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น จะตอ งพจิ ารณาทงั้ เวลาการเขา รว มกจิ กรรม การปฏบิ ตั ิ กจิ กรรม และผลงานของผเู รยี นตามเกณฑทีส่ ถานศึกษากําหนด และใหผ ลการประเมนิ เปน ผา นและไมผ าน กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน มี ๓ ลักษณะ คือ ๑) กจิ กรรมแนะแนว ๒) กิจกรรมนกั เรยี น ซึ่งประกอบดวย (๑) กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบําเพ็ญประโยชน และนักศึกษา วิชาทหาร โดยผูเรียนเลือกอยา งใดอยา งหนง่ึ (๒) กจิ กรรมชุมนมุ หรอื ชมรม ทั้งนี้ ผูเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตนจะตองเขารวมกิจกรรมท้ังขอ (๑) และ (๒) สําหรบั ผเู รียนระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลายสามารถเลือกเขารวมกิจกรรมใดกจิ กรรมหนึง่ ในขอ (๑) หรอื (๒) ๓) กิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน 24 แนวปฏิบัตกิ ารวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p24 6/10/2558 9:21:32

ใหใชตวั อักษรแสดงผลการประเมิน ดังนี้ “ผ” หมายถงึ ผูเรียนมีเวลาเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ปฏิบัติกิจกรรมและ มีผลงานตามเกณฑท ่ีสถานศึกษากําหนด “มผ” หมายถงึ ผูเรียนมีเวลาเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ปฏิบัติกิจกรรมและ มีผลงานไมเ ปน ไปตามเกณฑทีส่ ถานศึกษากาํ หนด ๒.๓ การเปลีย่ นผลการเรียน ๒.๓.๑ การเปลยี่ นผลการเรียน “๐” สถานศึกษาจัดใหมีการสอนซอมเสริมในมาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัดท่ีผูเรียน สอบไมผานกอน แลวจึงสอบแกตัวไดไมเกิน ๒ ครั้ง ถาผูเรียนไมดําเนินการสอบแกตัวตามระยะเวลา ทส่ี ถานศึกษากาํ หนด ใหอยูในดุลยพินิจของสถานศึกษาทจี่ ะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีก ๑ ภาคเรียน สาํ หรับ ภาคเรียนท่ี ๒ ตองดําเนนิ การใหเสรจ็ สิ้นภายในปก ารศึกษานน้ั การสอบแกตัวใหไดร ะดบั ผลการเรยี นไมเกนิ “๑” ถาสอบแกตัว ๒ คร้ังแลว ยังไดระดับผลการเรียน “๐” อีก ใหสถานศึกษา แตงตงั้ คณะกรรมการดําเนนิ การเกยี่ วกบั การเปลย่ี นผลการเรียนของผูเรยี น โดยปฏิบตั ิดงั นี้ ๑) ถาเปน รายวชิ าพืน้ ฐาน ใหเ รียนซา้ํ รายวิชานัน้ ๒) ถาเปนรายวิชาเพ่ิมเติม ใหเรียนซํ้าหรือเปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม ทั้งน้ี ใหอ ยใู นดลุ ยพินิจของสถานศึกษา ในกรณีที่เปล่ียนรายวิชาเรียนใหม ใหหมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียน วา เรียนแทนรายวชิ าใด ๒.๓.๒ การเปล่ียนผลการเรียน “ร” การเปลยี่ นผลการเรยี น “ร” ใหด ําเนนิ การดงั นี้ ใหผูเรียนดําเนินการแกไข “ร” ตามสาเหตุ เมื่อผูเรียนแกไขปญหาเสร็จแลว ใหไ ดระดับผลการเรยี นตามปกติ (ตง้ั แต ๐ - ๔) ถาผูเรียนไมดําเนินการแกไข “ร” กรณีท่ีสงงานไมครบ แตมีผลการประเมิน ระหวางภาคเรียนและปลายภาค ใหผูสอนนําขอมูลท่ีมีอยูตัดสินผลการเรียน ยกเวนมีเหตุสุดวิสัย ใหอยูใน ดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะขยายเวลาการแก “ร” ออกไปอีกไมเกิน ๑ ภาคเรียน สําหรับภาคเรียนท่ี ๒ ตองดําเนินการใหเสร็จสิ้นภายในปการศึกษานั้น เม่ือพนกําหนดน้ีแลวใหเรียนซํ้า หากผลการเรียนเปน “๐” ใหดาํ เนนิ การแกไ ขตามหลักเกณฑ ๒.๓.๓ การเปล่ยี นผลการเรยี น “มส” การเปล่ยี นผลการเรียน “มส” มี ๒ กรณี ดงั นี้ แนวปฏบิ ัตกิ ารวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู 25 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p25 6/10/2558 9:21:32

๑) กรณีผูเรียนไดผลการเรียน “มส” เพราะมีเวลาเรียนไมถึงรอยละ ๘๐ แตม เี วลาเรยี นไมน อ ยกวา รอ ยละ ๖๐ ของเวลาเรยี นในรายวชิ านนั้ ใหส ถานศกึ ษาจดั ใหเ รยี นเพมิ่ เตมิ โดยใชช ว่ั โมง สอนซอมเสริม หรือใชเวลาวาง หรือใชวันหยุด หรือมอบหมายงานใหทํา จนมีเวลาเรียนครบตามท่ีกําหนดไว สาํ หรบั รายวชิ านนั้ แลว จงึ ใหว ดั ผลปลายภาคเปน กรณพี เิ ศษ ผลการแก “มส” ใหไ ดร ะดบั ผลการเรยี นไมเ กนิ “๑” การแก “มส” กรณนี ใี้ หก ระทาํ ใหเ สรจ็ สน้ิ ภายในปก ารศกึ ษานน้ั ถา ผเู รยี นไมม าดาํ เนนิ การแก “มส” ตามระยะเวลา ที่กําหนดไวนี้ใหเรียนซํ้า ยกเวนมีเหตุสุดวิสัย ใหอยูในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะขยายเวลาการแก “มส” ออกไปอกี ไมเกิน ๑ ภาคเรียน แตเมื่อพน กําหนดน้ีแลว ใหป ฏบิ ตั ิดังน้ี (๑) ถาเปนรายวชิ าพ้นื ฐานใหเรียนซํ้ารายวิชานนั้ (๒) ถา เปน รายวชิ าเพมิ่ เตมิ ใหอ ยใู นดลุ ยพนิ จิ ของสถานศกึ ษา ใหเ รยี นซาํ้ หรือเปลย่ี นรายวชิ าเรยี นใหม ๒) กรณีผเู รียนไดผลการเรียน “มส” เพราะมเี วลาเรียนนอยกวารอ ยละ ๖๐ ของเวลาเรยี นทงั้ หมด ใหสถานศกึ ษาดาํ เนนิ การดังนี้ (๑) ถา เปนรายวชิ าพ้นื ฐาน ใหเ รยี นซาํ้ รายวชิ าน้นั (๒) ถา เปนรายวิชาเพมิ่ เติม ใหอยใู นดุลยพินจิ ของสถานศกึ ษา ใหเ รยี น ซ้ําหรอื เปลย่ี นรายวิชาเรียนใหม ในกรณที เี่ ปลยี่ นรายวชิ าเรยี นใหม ใหห มายเหตใุ นระเบยี นแสดงผลการเรยี น วา เรียนแทนรายวชิ าใด การเรียนซ้ํารายวิชา ผูเรียนท่ีไดรับการสอนซอมเสริมและสอบแกตัว ๒ ครั้งแลวไมผานเกณฑการประเมิน ใหเรียนซ้ํารายวิชาน้ัน ท้ังน้ี ใหอยูในดุลยพินิจของสถานศึกษาในการ จดั ใหเรยี นซํ้าในชว งใดชวงหนง่ึ ทีส่ ถานศึกษาเห็นวาเหมาะสม เชน พกั กลางวนั วนั หยดุ ช่ัวโมงวางหลังเลกิ เรยี น ภาคฤดรู อ น เปน ตน ในกรณีภาคเรียนที่ ๒ หากผูเรียนยังมีผลการเรียน “๐” “ร” “มส” ใหดําเนินการใหเสร็จสิ้นกอนเปดเรียนปการศึกษาถัดไป สถานศึกษาอาจเปดการเรียนการสอนในภาคฤดูรอน เพื่อแกไขผลการเรียนของผูเรียนได ทั้งนี้ หากสถานศึกษาใดไมสามารถดําเนินการเปดสอนภาคฤดูรอนได ใหสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา/ตนสังกัดเปนผูพิจารณาประสานงานใหมีการดําเนินการเรียนการสอน ในภาคฤดูรอนเพื่อแกไ ขผลการเรียนของผูเรียน ๒.๓.๔ การเปลีย่ นผล “มผ” กรณีท่ีผูเรียนไดผล “มผ” สถานศึกษาตองจัดซอมเสริมใหผูเรียนทํากิจกรรม ในสว นท่ผี ูเ รยี นไมไ ดเ ขา รว มหรอื ไมไ ดทําจนครบถว น แลวจงึ เปลีย่ นผลจาก “มผ” เปน “ผ” ได ท้ังนี้ ดําเนนิ การ ใหเสรจ็ สนิ้ ภายในภาคเรียนน้ัน ๆ ยกเวนมีเหตสุ ดุ วิสยั ใหอ ยูใ นดลุ ยพนิ จิ ของสถานศกึ ษาทจี่ ะพิจารณาขยายเวลา ออกไปอกี ไมเกนิ ๑ ภาคเรยี น สาํ หรบั ภาคเรยี นที่ ๒ ตอ งดําเนินการใหเ สร็จสิ้นภายในปก ารศกึ ษานนั้ 26 แนวปฏิบตั กิ ารวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p26 6/10/2558 9:21:32

๒.๔ การเลอื่ นชนั้ เมือ่ ส้นิ ปการศึกษา ผูเรยี นจะไดรับการเลือ่ นชนั้ เม่ือมีคณุ สมบตั ิตามเกณฑ ดงั ตอ ไปนี้ ๒.๔.๑ รายวชิ าพนื้ ฐานและรายวชิ าเพมิ่ เตมิ ไดร บั การตดั สนิ ผลการเรยี นผา นตามเกณฑ ที่สถานศึกษากําหนด ๒.๔.๒ ผเู รยี นตอ งไดร บั การประเมนิ และมผี ลการประเมนิ ผา นตามเกณฑท สี่ ถานศกึ ษา กําหนด ในการอา น คิดวิเคราะห และเขยี น คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค และกจิ กรรมพัฒนาผูเ รียน ๒.๔.๓ ระดับผลการเรยี นเฉลี่ยในปการศึกษานนั้ ควรไดไ มต า่ํ กวา ๑.๐๐ ทงั้ นี้ รายวิชาใดท่ไี มผานเกณฑการประเมนิ สถานศึกษาสามารถซอ มเสรมิ ผูเรยี นใหไ ดร บั การแกไขในภาคเรยี นถัดไป ทงั้ นส้ี าํ หรับภาคเรยี นที่ ๒ ตอ งดาํ เนินการใหเ สรจ็ สิ้นภายในปก ารศกึ ษานนั้ ๒.๕ การสอนซอมเสรมิ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กําหนดใหสถานศึกษา จดั สอนซอมเสรมิ เพอ่ื พฒั นาการเรียนรูข องผูเ รียนเตม็ ตามศักยภาพ การสอนซอมเสริม เปนการสอนเพื่อแกไขขอบกพรอง กรณีท่ีผูเรียนมีความรู ทักษะ กระบวนการ หรือเจตคติ/คุณลักษณะ ไมเปนไปตามเกณฑท่ีสถานศึกษากําหนด สถานศึกษาตองจัดสอน ซอมเสริมเปนกรณีพิเศษนอกเหนือไปจากการสอนตามปกติ เพ่ือพัฒนาใหผูเรียนสามารถบรรลุตามมาตรฐาน การเรยี นร/ู ตวั ชวี้ ดั ทก่ี าํ หนดไว เปน การใหโ อกาสแกผ เู รยี นไดเ รยี นรแู ละพฒั นา โดยจดั กจิ กรรมการเรยี นรทู หี่ ลากหลาย และตอบสนองความแตกตางระหวางบคุ คล การสอนซอ มเสริมสามารถดําเนนิ การไดในกรณี ดงั ตอ ไปน้ี ๑) ผูเรียนมีความรู/ทักษะพื้นฐานไมเพียงพอที่จะศึกษาในแตละรายวิชาน้ัน ควรจัด การสอนซอมเสรมิ ปรบั ความร/ู ทักษะพ้ืนฐาน ๒) ผูเรียนไมสามารถแสดงความรู ทักษะ กระบวนการ หรือเจตคติ/คุณลักษณะ ท่กี ําหนดไวตามมาตรฐานการเรียนรู/ ตัวชว้ี ดั ในการประเมนิ ผลระหวางเรยี น ๓) ผูเรียนท่ไี ดร ะดับผลการเรียน “๐” ใหจดั การสอนซอ มเสรมิ กอ นสอบแกต วั ๔) กรณีผเู รยี นมีผลการเรียนไมผ าน สามารถจดั สอนซอ มเสริมในภาคฤดูรอ นเพือ่ แกไ ข ผลการเรยี น ทง้ั น้ี ใหอยูในดุลยพินิจของสถานศกึ ษา จากรายละเอียดตาง ๆ ขางตน สรุปเปนแผนภาพที่ ๒.๖ แสดงกระบวนการตัดสินและ แกไ ขผลการเรียนระดบั มัธยมศกึ ษา ๒.๖ การเรียนซํา้ ชัน้ ผูเรียนท่ีไมผานรายวิชาจํานวนมากและมีแนวโนมวาจะเปนปญหาตอการเรียน ในระดบั ชนั้ ทสี่ งู ขน้ึ สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการพจิ ารณาใหเ รียนซ้าํ ช้ันได ทง้ั นี้ ใหคํานึงถงึ วฒุ ภิ าวะ และความรคู วามสามารถของผูเ รยี นเปน สําคญั แนวปฏิบตั ิการวดั และประเมินผลการเรยี นรู 27 ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p27 6/10/2558 9:21:33

การเรยี นซํ้าช้ัน มี ๒ ลกั ษณะ คือ ๑) ผูเรียนมีระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปการศึกษานั้นตํ่ากวา ๑.๐๐ และมีแนวโนมวา จะเปนปญ หาตอการเรยี นในระดบั ช้นั ท่สี ูงขึน้ ๒) ผูเรียนมีผลการเรียน ๐, ร, มส เกินคร่ึงหน่ึงของรายวิชาท่ีลงทะเบียนเรียน ในปก ารศกึ ษาน้นั ทั้งน้ี หากเกิดลักษณะใดลักษณะหน่ึง หรือท้ัง ๒ ลักษณะ ใหสถานศึกษาแตงตั้ง คณะกรรมการพิจารณา หากเห็นวาไมมีเหตุผลอันสมควรก็ใหซ้ําช้ัน โดยยกเลิกผลการเรียนเดิมและใหใช ผลการเรียนใหมแทน หากพิจารณาแลวไมตองเรียนซํ้าช้ัน ใหอยูในดุลยพินิจของสถานศึกษาในการแกไข ผลการเรยี น ๒.๗ เกณฑก ารจบระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน ๑) ผูเรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพิ่มเติม โดยเปนรายวิชาพื้นฐาน ๖๖ หนวยกิต และรายวชิ าเพมิ่ เตมิ ตามทสี่ ถานศึกษากําหนด ๒) ผูเรียนตองไดหนวยกิตตลอดหลักสูตรไมนอยกวา ๗๗ หนวยกิต โดยเปน รายวิชาพืน้ ฐาน ๖๖ หนวยกิต และรายวชิ าเพ่ิมเตมิ ไมน อยกวา ๑๑ หนวยกติ ๓) ผูเรียนมีผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียนในระดับผานเกณฑ การประเมินตามที่สถานศึกษากําหนด ๔) ผูเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคในระดับผานเกณฑการประเมิน ตามท่สี ถานศกึ ษากาํ หนด ๕) ผูเรียนเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนและมีผลการประเมินผานเกณฑการประเมิน ตามทีส่ ถานศึกษากําหนด ๒.๘ เกณฑก ารจบระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ๑) ผูเรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพิ่มเติม โดยเปนรายวิชาพ้ืนฐาน ๔๑ หนวยกิต และรายวชิ าเพิม่ เติมตามท่สี ถานศึกษากําหนด ๒) ผูเรียนตองไดหนวยกิตตลอดหลักสูตรไมนอยกวา ๗๗ หนวยกิต โดยเปน รายวชิ าพื้นฐาน ๔๑ หนวยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไมน อ ยกวา ๓๖ หนวยกิต ๓) ผูเรียนมีผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียนในระดับผานเกณฑ การประเมนิ ตามท่ีสถานศึกษากาํ หนด ๔) ผูเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคในระดับผานเกณฑการประเมิน ตามท่สี ถานศึกษากําหนด ๕) ผูเรียนเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนและมีผลการประเมินผานเกณฑการประเมิน ตามท่ีสถานศกึ ษากําหนด 28 แนวปฏิบัตกิ ารวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p28 6/10/2558 9:21:33

ได “๐” ได “๑” แก “ร” ได “๑-๔” แกต วั ไดอีก ๑ ครั้ง ได “ร” ไมแก สอนซอ มเสริม/สอบแกต วั ไมเ ขา วัดผลระหวางภาค/ไมเขา วดั ผล “ร” ภายใน ได “๐” ได “๑” ปลายภาค/สง งานไมครบ ๑ ได “๐” ได “๑” ภาคเรียน สอนซอ มเสริม/ วดั ผลปลายภาคเปนกรณีพิเศษ สอบแกต วั ย่นื คํารอ ง ได “๑-๔” เรยี นซา้ํ เพมิ่ เตมิ แก “๐” เวลาเรียนครบ ได “๐” ๖๐% < เวลาเรียน < ๘๐% เวลาเรยี น < ๖๐% ตัดสนิ ผล ได “มส” การเรยี น วัดผลปลาย อนุญาต ไมอ นุญาต ภาคเรยี น มีเวลาเรียนครบ ดุลยพนิ จิ ไมแ ก มเี วลาเรยี น “มส” ไมถ ึง ๘๐% ภายใน ภาคเรยี น นน้ั วัดผล ระหวางภาค เรียนซ้ํา เรยี น เรยี นซา้ํ แผนภาพท่ี ๒.๖ แสดงกระบวนการตดั สนิ และแกไขผลการเรยี นระดับมธั ยมศกึ ษา แนวปฏิบัตกิ ารวดั และประเมินผลการเรยี นรู 29 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p29 6/10/2558 9:21:33

h การเทียบโอนผลการเรียน สถานศกึ ษาสามารถเทยี บโอนผลการเรยี นของผเู รยี นจากสถานศกึ ษาไดใ นกรณตี า ง ๆ ไดแ ก การยา ย สถานศกึ ษา การเปลย่ี นรปู แบบการศกึ ษา การยา ยหลกั สตู ร การออกกลางคนั และการขอกลบั เขา รบั การศกึ ษาตอ การศึกษาจากตางประเทศและขอเขาศึกษาตอในประเทศ นอกจากน้ี ยังสามารถเทียบโอนความรู ทักษะ ประสบการณจ ากแหลง การเรยี นรอู ื่น ๆ เชน สถานประกอบการ สถาบนั ทางศาสนา สถาบนั การฝกอบรมอาชพี การจัดการศกึ ษาโดยครอบครวั เปนตน การเทยี บโอนผลการเรยี นควรดาํ เนนิ การในชว งกอ นเปด ภาคเรยี น หรอื ตน ภาคเรยี นทสี่ ถานศกึ ษารบั ผูขอเทียบโอนเปนผูเรียน ท้ังนี้ ผูเรียนที่ไดรับการเทียบโอนผลการเรียนตองศึกษาตอเน่ืองในสถานศึกษาที่รับ เทยี บโอนอยางนอ ย ๑ ภาคเรียน โดยสถานศึกษาทีร่ ับการเทยี บโอนควรกาํ หนดรายวชิ า จาํ นวนหนว ยกิตท่จี ะ รับเทียบโอนตามความเหมาะสม การพจิ ารณาการเทียบโอน สามารถดําเนนิ การไดดังนี้ ๑. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษาและเอกสารอื่น ๆ ท่ีใหขอมูลแสดงความรูความสามารถของ ผูเรียน ๒. พจิ ารณาจากความรคู วามสามารถของผเู รยี น โดยการทดสอบดวยวธิ กี ารตาง ๆ ท้ังภาคความรู และภาคปฏบิ ตั ิ ๓. พจิ ารณาจากความสามารถและการปฏิบตั ิในสภาพจรงิ การเทียบโอนผลการเรียนใหดําเนินการในรูปของคณะกรรมการการเทียบโอนจํานวนไมนอยกวา ๓ คน แตไมควรเกนิ ๕ คน โดยมแี นวทางในการเทยี บโอน ดังน้ี ๑) กรณีผูขอเทียบโอนมีผลการเรียนมาจากหลักสูตรอื่น ใหนํารายวิชาหรือหนวยกิตที่มีมาตรฐาน การเรียนรู/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู/จุดประสงค/เนื้อหาที่สอดคลองกันไมนอยกวารอยละ ๖๐ มาเทียบโอน ผลการเรียน และพิจารณาใหระดับผลการเรียนใหสอดคลองกับหลักสตู รทร่ี บั เทียบโอน ๒) กรณีการเทียบโอนความรู ทักษะ และประสบการณ ใหพิจารณาจากเอกสารหลักฐาน (ถามี) โดยใหม กี ารประเมนิ ดว ยเครอ่ื งมอื ทหี่ ลากหลาย และใหร ะดบั ผลการเรยี นใหส อดคลอ งกบั หลกั สตู รทรี่ บั เทยี บโอน ๓) กรณีการเทียบโอนนักเรียนที่เขาโครงการแลกเปล่ียนตางประเทศ ใหดําเนินการตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการเรื่องหลักการและแนวปฏิบัติการเทียบช้ันการศึกษาสําหรับนักเรียนท่ีเขารวมโครงการ แลกเปลีย่ น ทั้งนี้ วิธีการเทียบโอนผลการเรียนใหเปนไปตามหลักการและแนวทางการเทียบโอนผลการเรียน ตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการเรื่องการเทียบโอนผลการเรียนการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และการศึกษา ระดับอดุ มศึกษา ระดับตํา่ กวา ปรญิ ญา ประกาศ ณ วันท่ี ๑๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ และแนวปฏบิ ัติที่เกีย่ วกบั การเทยี บโอนผลการเรยี นเขา สกู ารศกึ ษาในระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ซง่ึ จดั ทาํ โดยสาํ นกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน (สงิ หาคม ๒๕๔๙) โดยมีรายละเอยี ดดังตารางตอ ไปนี้ 30 แนวปฏบิ ตั ิการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p30 6/10/2558 9:21:35

0675_57.indd p31 แนวปฏบิ ัติการเทยี บโอนผลการเรยี นเขา สูการศึกษาในระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน แนวทาง การเทียบโอน การเทยี บโอน การเทียบโอน การเทยี บโอนจากการจดั การศึกษา การเทียบโอนจากการศกึ ษา การพจิ ารณา จากการศึกษาในระบบ จากการศกึ ษานอกระบบ จากการจัดการศกึ ษา โดยศนู ยก ารเรยี น การศกึ ษาตาม ตามหลักสตู รตา งประเทศ เขา สกู ารศึกษาในระบบ เขาสกู ารศึกษาในระบบ หลักสตู รระยะส้นั หลกั สูตรเฉพาะ เขา สกู ารศึกษาในระบบ โดยครอบครัว ประสบการณการทํางาน การฝก เขาสูการศึกษาในระบบ อาชีพเขา สกู ารศึกษาในระบบ วิธีปฏิบัติในการจัด ๑. เทยี บโอนรายวชิ า/สาระ/กิจกรรม เทยี บโอนหมวดวชิ า/สาระ/ ๑. ใหน ําผลการวดั พจิ ารณาความรู ทกั ษะ ๑. สําเรจ็ การศกึ ษาภาคเรยี นใด ช้นั ปใด ใหพ จิ ารณาเทยี บโอน เขาชนั้ เรยี น ทีผ่ านการตดั สนิ ผลการเรียนจาก กิจกรรมทผี่ า นการตดั สินผลการเรียน และประเมนิ ของ ประสบการณทข่ี อเทยี บโอน ภาคเรียนตอ ภาคเรียน ปตอป โดยนําพ้นื ความรสู ามัญเดมิ มา สถานศกึ ษาเดมิ ไดท้ังหมดและจัด จากสถานศกึ ษาเดิม เขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามา วา ตรงกับรายวิชา/สาระ/ ประกอบการพิจารณา หรืออาจประเมนิ เพ่ิมเติม เขาช้นั เรยี นตอ เนอ่ื งจากท่เี รยี นอยูเ ดมิ ๑. เรยี นผา นอยา งนอ ย ๓ หมวดวิชา ประกอบการพจิ ารณา กิจกรรมใด จงึ ทาํ การประเมนิ เพ่ือตรวจสอบความรูพ ้ืนฐาน เชน จบ ป.๑ จัดเขา เรยี น ป.๒ จัดใหเ รียนปที่ ๒ ของระดบั ช้ันและ ๒. ใหส ถานศึกษา หากปรากฏวาชอ่ื ไมต รงกับที่ ๒. รายวชิ า/สาระ/กิจกรรม ท่ยี ัง ไมไ ดเ ทยี บโอนเน่อื งจาก สถานศกึ ษาอาจประเมินบางรายวชิ า ลงทะเบียนเรียนตอ ไปตามปกติ ประเมินความรู ทักษะ ปรากฏในโครงสรางหลกั สตู ร ยงั ไมต ดั สินผลการเรียน ใหประเมินตามเกณฑท ่ี ที่จําเปนเพอ่ื การตรวจสอบ ๒. เรยี นผานอยางนอย ๖ หมวดวชิ า ประสบการณ ใหก าํ หนดและบรรจชุ ่ือนน้ั ไว สถานศกึ ษากําหนด แนวปฏบิ ตั ิการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู ความรูพืน้ ฐาน จัดใหเ รียนปที่ ๓ ของระดับชั้นและ เพ่อื การจัดเขา ในหลักสูตร ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ๒. รายวิชา/สาระ/กิจกรรมท่ียังไมได ลงทะเบยี นเรียนตอ ใน ชัน้ เรียน ตดั สนิ ผลการเรียนใหประเมนิ ตาม รายวชิ าท่ีจําเปนตอ งเรยี นเพ่อื ให เกณฑท ส่ี ถานศกึ ษากําหนด ครบตามเกณฑก ารจบระดับชั้น หากไมผา นตามเกณฑใหล งทะเบยี น ตามหลักสตู รของสถานศึกษาใหม เรียนเพิม่ เตมิ ทีร่ บั เขาเรียน จาํ นวนหนวยกติ / พจิ ารณาแลวเหน็ วาเทียบโอน พจิ ารณาแลว เห็นวาเทยี บโอน จาํ นวนหนว ยใหเ ปน ไป ใหจ าํ นวนหนว ยของ จํานวนหนวยใหเ ปน ไป หนว ยการเรยี น/ ตามเกณฑทสี่ ถานศกึ ษาใหม รายวชิ า/สาระตามเกณฑข อง ตามโครงสรา งหลกั สูตรของ หนวยนาํ้ หนกั ผลการเรียนไดจํานวนหนวยใหเปน ไปตาม ผลการเรียนไดจาํ นวนหนว ยใหเปน ไป กําหนด สถานศึกษาใหม สาํ หรบั สถานศกึ ษาท่รี บั เขาเรียน โครงสรางหลักสตู รของสถานศกึ ษาเดิม ตามโครงสรางหลักสูตรของ กจิ กรรมไมใ หจ าํ นวนหนวย สถานศึกษาใหม ผลการเรยี น/ ยอมรบั ผลการเรยี นของ ไมต อ งใหผ ลการเรียนในรายวชิ า/ ยอมรบั ผลการประเมนิ ผลการประเมินความรู ผลการประเมินเพ่ิมเติม สาระ/กจิ กรรมทไ่ี ดจ ากการเทยี บโอน ของเขตพน้ื ทีม่ าเปน ทักษะ ประสบการณใ หเ ปนไป ใหเปนไปตามที่สถานศกึ ษา 6/10/2558 9:21:36 ผลการประเมิน สถานศึกษาเดมิ สว นประกอบในการพจิ ารณา ตามท่ีสถานศกึ ษาใหมก ําหนด ทร่ี บั เขา เรยี นกาํ หนด 31

0675_57.indd p32 32 การเทยี บโอน การเทียบโอนจากการจดั การศึกษา จากการจัดการศกึ ษา โดยศนู ยก ารเรยี นการศึกษาตาม แนวปฏิบัตกิ ารวัดและประเมินผลการเรียนรู แนวทาง การเทยี บโอน การเทยี บโอน หลกั สตู รระยะสัน้ หลกั สูตรเฉพาะ การเทียบโอนจากการศึกษา ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ การพิจารณา จากการศกึ ษาในระบบ จากการศึกษานอกระบบ โดยครอบครัว ประสบการณการทํางาน การฝก ตามหลกั สตู รตางประเทศ เขาสูก ารศึกษาในระบบ เขา สกู ารศกึ ษาในระบบ เขาสกู ารศกึ ษาในระบบ อาชีพเขาสูการศกึ ษาในระบบ เขา สูก ารศึกษาในระบบ การบันทึก ๑. ไมต อ งนํารายวิชาและผลการเรยี น ไมต อ งนําหมวดวิชาและ ไมตอ งนาํ รายวิชา นาํ ผลการประเมินความรู ๑. ใหก รอกรายชอื่ และจาํ นวนหนวย ผลการเรียน เดิมกรอกในใบแสดงผลการเรียน ผลการเรียนเดมิ กรอกในใบแสดง ผลการเรียน/ผลการวดั และ ทักษะ ประสบการณ ตามรายวชิ าของสถานศึกษาที่รับ ในใบแสดง ของสถานศึกษาใหม แตใหแ นบ ผลการเรยี นของสถานศึกษาใหม แต ประเมินเดิมของเขตพื้นท่ี กรอกในใบแสดงผลการเรียน เขา เรยี นในใบแสดงผลการเรยี นของ ผลการเรยี น ใบแสดงผลการเรียนเดิมไวก บั ใหแ นบใบแสดงผลการเรยี นเดมิ ไวกบั กรอกในใบแสดงผลการเรียน สถานศึกษาท่รี บั เขา เรยี น โดยไมต อง การคิด ใบแสดงผลการเรียนใหม และบนั ทกึ ใบแสดงผลการเรียนใหมและบนั ทกึ ของสถานศึกษาใหม แต กรอกผลการเรียนและแนบใบแสดง ผลการเรียนเฉล่ีย จํานวนหนว ยที่ไดรับการเทียบโอน จาํ นวนหนว ยทีไ่ ดรับการเทยี บโอนตาม ใหแ นบเอกสารเดมิ ไวกับ ผลการเรียนจากสถานศกึ ษาเดมิ และ ตามโครงสรางหลักสูตรของ โครงสรางหลักสตู รของสถานศกึ ษาใหม ใบแสดงผลการเรียนใหม สถานศึกษาท่รี ับเขา เรยี นไวด วยกัน สถานศึกษาเดมิ ไวใ นชอ งหมายเหตุ ไวในชองหมายเหตุ และบนั ทึกขอมลู และ และบันทกึ ผลการเทียบโอนไว ๒. รายวชิ า/สาระ/กิจกรรมทย่ี งั ไมได จํานวนหนวยทไ่ี ดรับ ในชอ งหมายเหตุ ตดั สินผลการเรยี นและไดรับ การเทียบโอนไวใน ๒. รายวชิ าที่ยงั ไมไ ดต ัดสินผลการเรยี น การประเมินใหนําผลการประเมิน ชองหมายเหตุ และสถานศึกษาที่รบั เขาเรียน กรอกในชองหมายเหตุ ไดประเมนิ ผลการเรยี นแลว ใหน าํ ผลการประเมินกรอกไวใน ชองหมายเหตุ การคิดผลการเรียนเฉลี่ย การคดิ ผลการเรียนเฉลย่ี การคิดผลการเรียน การคดิ ผลการเรียนเฉล่ยี ๑. ใหคิดผลการเรยี นเฉล่ยี จากรายวิชา ใหน ําผลการเรียนและจาํ นวนหนว ยจาก ใหคิดจากรายวิชาท่มี ีจํานวนหนวย เฉลย่ี ใหค ดิ จากรายวิชา ใหคิดจากรายวชิ าที่ไดจาก ทมี่ ีจํานวนหนว ยและระดบั สถานศกึ ษาเดมิ มาคดิ รวมกบั ผลการเรยี น และระดบั ผลการเรียนทไ่ี ดเรยี น ท่ีไดจ ากการเรียนใน การเรียนในสถานศกึ ษาใหม ผลการเรยี นท่ไี ดจ ากการเรยี น และจํานวนหนวยท่ไี ดจ ากการเรียน ในสถานศึกษาใหม สถานศึกษาใหม โดยนาํ โดยไมต องนาํ ผลการประเมิน ในสถานศกึ ษาใหม ในสถานศกึ ษาใหม และคิดผลการเรยี นเฉลีย่ ผลการประเมินของเขตพื้นท่ี ความรู ทกั ษะ ประสบการณ ๒. รายวิชาทย่ี ังไมไ ดต ัดสินผลการเรียน รวมตลอดระดับการศกึ ษา ท่มี รี ะดบั ผลการเรียน มาคดิ รวม จากหลักสูตรตางประเทศ มาคดิ รวม ทส่ี ถานศกึ ษาทีร่ ับเขา เรียนไดประเมนิ แลว และไดระดบั ผลการเรยี น ใหน ํามาคิดผลการเรียนเฉลี่ยรวมกบั ผลการเรยี นท่ีไดจ ากการเรยี นใน 6/10/2558 9:21:36 สถานศกึ ษาทร่ี ับเขาเรยี นตลอด ระดับการศกึ ษา

h การรายงานผลการเรยี น การรายงานผลการเรยี นเปน การสอ่ื สารใหผ ปู กครองและผเู รยี นทราบความกา วหนา ในการเรยี นรขู อง ผเู รยี น ซงึ่ สถานศึกษาตอ งสรปุ ผลการประเมิน และจดั ทําเอกสารรายงานใหผ ปู กครองทราบเปนระยะ ๆ หรือ อยา งนอยภาคเรียนละ ๑ คร้ัง การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเปนระดับคุณภาพการปฏิบัติของผูเรียนท่ีสะทอนมาตรฐาน การเรยี นรูกลมุ สาระการเรยี นรู ๑. จุดมงุ หมายการรายงานผลการเรียน ๑.๑ เพอื่ แจง ใหผูเ รยี น ผเู กย่ี วขอ งทราบความกา วหนาของผเู รยี น ๑.๒ เพ่อื ใหผเู รียน ผเู กย่ี วของใชเ ปน ขอมูลในการปรบั ปรุงแกไ ข สง เสรมิ และพฒั นาการเรยี น ของผเู รยี น ๑.๓ เพ่อื ใหผ ูเ รยี น ผูเก่ียวของใชเปน ขอมูลในการวางแผนการเรียน กาํ หนดแนวทางการศกึ ษา และการเลอื กอาชพี ๑.๔ เพอ่ื เปน ขอ มลู ใหผ เู กย่ี วขอ งใชใ นการออกเอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา ตรวจสอบและรบั รอง ผลการเรยี นหรือวฒุ ทิ างการศึกษาของผูเรียน ๑.๕ เพอื่ เปน ขอ มลู สาํ หรบั สถานศกึ ษา เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา และหนว ยงานตน สงั กดั ใชป ระกอบ ในการกาํ หนดนโยบายวางแผนในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ๒. ขอ มูลในการรายงานผลการเรียน ๒.๑ ขอมูลระดับชั้นเรียน ประกอบดวย เวลามาเรียน ผลการประเมินความรูความ สามารถ พฤติกรรมการเรียน ความประพฤติ และผลงานในการเรียนของผูเรียน เปนขอมูลสําหรับรายงานให ผมู สี ว นเกย่ี วขอ ง ไดแ ก ผเู รยี น ผสู อน และผปู กครอง ไดร บั ทราบความกา วหนา ความสาํ เรจ็ ในการเรยี นของผเู รยี น เพอ่ื นาํ ไปใชในการวางแผนกาํ หนดเปาหมายและวิธกี ารในการพฒั นาผเู รียน ๒.๒ ขอมูลระดับสถานศึกษา ประกอบดวย ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๘ กลมุ สาระการเรยี นรู ผลการประเมนิ การอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี น ผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ผลการประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี นรายป/ รายภาค ผลการประเมนิ ความกา วหนา ในการเรยี นรรู ายป/ รายภาค โดยรวมของสถานศึกษา เพื่อใชเปนขอมูลและสารสนเทศในการพัฒนาการเรียนการสอนและคุณภาพ ของผูเรียน ใหเปนไปตามมาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด การตัดสินการเล่ือนชั้นและการซอมเสริมผูเรียน ทมี่ ีขอ บกพรองใหผ านระดบั ช้ัน และเปนขอ มูลในการออกเอกสารหลักฐานการศกึ ษา ๒.๓ ขอ มลู ระดบั เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา ไดแ ก ผลการประเมนิ คณุ ภาพของผเู รยี นดว ยแบบประเมนิ ท่ีสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาจัดทําขึ้นในกลุมสาระการเรียนรูสําคัญในระดับช้ันที่นอกเหนือจากการประเมิน คุณภาพระดับชาติ เปนขอมูลที่ผูเกี่ยวของใชวางแผนและดําเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ในเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา เพื่อใหเ กิดการยกระดบั คุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาของผเู รยี นและสถานศึกษา แนวปฏบิ ัติการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู 33 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p33 6/10/2558 9:21:36

๒.๔ ขอมูลระดับชาติ ไดแก ผลการประเมินคุณภาพของผูเรียนดวยแบบประเมินที่เปน มาตรฐานระดับชาติในกลุมสาระการเรียนรูที่สําคัญในช้ันประถมศึกษาปท่ี ๓ ช้ันประถมศึกษาปที่ ๖ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ ๓ และช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี ๖ ซง่ึ ดําเนินการโดยหนวยงานระดับชาติ เปนขอมูลที่ผูเ กย่ี วขอ ง ใชวางแผนและดําเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสวนท่ีเกี่ยวของ เพ่ือใหเกิดการยกระดับคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาของผเู รยี น สถานศกึ ษา ทอ งถ่ิน เขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา และประเทศชาติ รวมทง้ั นําไปรายงาน ในเอกสารหลักฐานการศกึ ษาของผูเรียน ๒.๕ ขอมูลพัฒนาการของผูเรียนดานอื่น ๆ ประกอบดวย ขอมูลเกี่ยวกับพัฒนาการทาง ดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม และพฤติกรรมตาง ๆ เปนขอมูลสวนหนึ่งของการแนะแนวและจัดระบบ การดแู ลชว ยเหลอื เพอ่ื แจง ใหผ เู รยี น ผสู อน ผปู กครอง และผเู กยี่ วขอ งไดร บั ทราบขอ มลู โดยผมู หี นา ทรี่ บั ผดิ ชอบ แตละฝายนําไปใชปรับปรุงแกไขและพัฒนาผูเรียนใหเกิดพัฒนาการอยางถูกตอง เหมาะสม รวมท้ังนําไปจัดทํา เอกสารหลกั ฐานแสดงพัฒนาการของผูเรยี น ๓. ลักษณะขอ มลู สําหรับการรายงาน การรายงานผลการเรียน สถานศึกษาสามารถเลือกลักษณะขอมูลสําหรับการรายงานไดหลาย รูปแบบ ใหเหมาะสมกับวิธีการรายงาน และสอดคลองกับการใหระดับผลการเรียนในแตละระดับการศึกษา โดยคํานึงถึงประสิทธิภาพของการรายงานและการนําขอมูลไปใชประโยชนของผูรับรายงานแตละฝาย ลักษณะขอ มลู มีรูปแบบ ดังนี้ ๓.๑ รายงานเปนตัวเลข ตัวอักษร คํา หรือขอความท่ีเปนตัวแทนระดับความรูความสามารถ ของผูเ รียนท่ีเกดิ จากการประมวลผล สรุปตัดสนิ ขอ มลู ผลการเรียนรขู องผูเ รียน ไดแก ๑) คะแนนทไ่ี ดกับคะแนนเตม็ ๒) คะแนนรอ ยละ ๓) ระดับผลการเรยี น “๐ - ๔” (๘ ระดบั ) หรือตามท่สี ถานศึกษากําหนดและเง่ือนไข ของผลการเรยี น ไดแก “ผ” “มผ” “ร” “มส” ๔) ผลการประเมินคุณภาพ “ดเี ยยี่ ม” “ด”ี “ผาน” ๕) ผลการตดั สนิ ผา นระดับชนั้ “ผาน” “ไมผา น” ๓.๒ รายงานโดยใชสถติ ิ เปนการรายงานจากขอมลู ทเ่ี ปนตวั เลข ตวั อักษร หรอื ขอความใหเ ปน ภาพแผนภูมิหรือเสนพัฒนาการ ซ่ึงจะแสดงใหเห็นพัฒนาการความกาวหนาของผูเรียนวาดีข้ึน หรือควรไดรับ การพฒั นาอยางไร เมือ่ เวลาเปลยี่ นแปลงไป ๓.๓ รายงานเปนขอความ เปนการบรรยายพฤตกิ รรมหรือคณุ ภาพที่ผปู ระเมินสงั เกตพบ เพ่ือ รายงานใหท ราบวา ผเู รยี นมคี วามสามารถ มพี ฤตกิ รรม ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ตามมาตรฐานการเรยี นร/ู ตวั ชว้ี ดั และบุคลิกภาพอยา งไร เชน ☯ ผูเรยี นมคี วามเช่อื มั่นในตนเองสูง ชอบแสดงความคิดเห็นและมเี หตผุ ล 34 แนวปฏิบัตกิ ารวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p34 6/10/2558 9:21:36

☯ ผูเรียนสนใจอานเรื่องตาง ๆ หลากหลายประเภท สามารถสรุปใจความของเรื่อง ไดถกู ตอ งสมบูรณ ☯ ผูเรียนมีผลการเรียนในกลุมสาระการเรียนรูเปนท่ีนาพอใจ แตควรมีการพัฒนา ดานการเขียน โดยไดรบั ความรว มมือจากผปู กครองในการฝก หรอื สง เสริมใหน ักเรยี นมที ักษะในการเขียนสูงข้ึน ๔. เปาหมายการรายงาน การดาํ เนินการจัดการศกึ ษา ประกอบดว ย บุคลากรหลายฝา ยมารว มมือประสานงานกนั พัฒนา ผเู รียนท้งั ทางตรงและทางออ ม ใหม คี วามรูค วามสามารถ คุณธรรม จริยธรรม คา นยิ มและคณุ ลักษณะอันพึงประสงค โดยผมู ีสวนเกี่ยวขอ งควรไดรบั การรายงานผลการประเมนิ ของผูเรียนเพอ่ื ใชเปนขอ มลู ในการดําเนนิ งาน ดังนี้ กลมุ เปาหมาย การใชข อมลู ผเู รยี น - ปรับปรุงแกไขและพัฒนาการเรยี น รวมทั้งพฒั นาการทางรา งกาย อารมณ สงั คม และพฤตกิ รรม ตาง ๆ ของตน - วางแผนการเรยี น การเลอื กแนวทางการศกึ ษาและอาชพี ในอนาคต - แสดงผลการเรยี น ความรคู วามสามารถ และวุฒกิ ารศกึ ษาของตน ผสู อน - วางแผนและดาํ เนินการปรบั ปรุงแกไ ขและพฒั นาผเู รยี น - ปรบั ปรุงแกไขและพฒั นาการจัดการเรียนการสอน ครวู ดั ผล - ตรวจสอบความถกู ตอ งในการประเมินผลของผูสอน/ผเู รยี น - พัฒนาระบบ ระเบยี บ และแนวทางการประเมินผลการเรยี น นายทะเบยี น - จดั ทําเอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา ครูแนะแนว - ใหค าํ แนะนาํ ผเู รยี นในดานตาง ๆ คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร - พิจารณาใหความเห็นชอบผลการเรยี นของผูเรียน และงานวิชาการสถานศกึ ษา - พัฒนาแนวทางการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา ขน้ั พนื้ ฐานและคณะกรรมการอ่นื ๆ ผบู ริหารสถานศกึ ษา - พจิ ารณาตดั สินและอนมุ ตั ผิ ลการเรียนของผูเรยี น - พฒั นากระบวนการจัดการเรียนของสถานศึกษา - วางแผนการบริหารจดั การศกึ ษาดานตาง ๆ ผปู กครอง - รบั ทราบผลการเรยี นและพัฒนาการของผูเรียน - ปรบั ปรงุ แกไ ขและพัฒนาการเรยี นของผเู รยี น รวมทง้ั การดแู ลสุขภาพอนามยั รางกาย จิตใจ อารมณ สังคม และพฤติกรรมตา ง ๆ ของผเู รียน - พิจารณาวางแผนและสง เสรมิ การเรียน การเลือกแนวทางการศึกษาและอาชีพในอนาคตของผูเรียน ฝาย/หนวยงานท่ีมหี นาทีต่ รวจสอบ - ตรวจสอบและรับรองผลการเรยี นและวฒุ ิการศกึ ษาของผูเรยี น รับรองความรูและวฒุ กิ ารศกึ ษา/ - เทยี บระดบั /วฒุ กิ ารศึกษาของผเู รยี น สถานศกึ ษา - เทยี บโอนผลการเรยี น สาํ นกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา/ - ยกระดบั และพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในเขตพื้นท่ีการศกึ ษา นิเทศ ตดิ ตาม หนวยงานตนสงั กัด และใหค วามชว ยเหลือการพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาทมี่ ีผลการประเมนิ ต่ํากวา คาเฉลีย่ ของระดบั เขตพืน้ ท่กี ารศึกษา/ระดบั ชาติ แนวปฏบิ ัติการวดั และประเมินผลการเรียนรู 35 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p35 6/10/2558 9:21:36

๕. วธิ ีการรายงาน การรายงานผลการเรยี นใหผ ูเ กยี่ วขอ งรบั ทราบ สามารถดาํ เนินการไดด งั น้ี ๕.๑ การรายงานผลการเรียนในเอกสารหลักฐานการศกึ ษา ไดแ ก ☯ ระเบยี นแสดงผลการเรียน (ปพ.๑) ☯ ประกาศนียบัตร (ปพ.๒) ☯ แบบรายงานผูสาํ เร็จการศกึ ษา (ปพ.๓) ☯ แบบบันทึกผลการเรียนประจํารายวิชา ☯ แบบรายงานประจาํ ตัวนักเรียน ☯ ใบรับรองผลการเรยี น ☯ ระเบยี นสะสม ฯลฯ ขอมลู จากแบบรายงาน สามารถใชอา งอิง ตรวจสอบ และรบั รองผลการเรียนของผูเรยี นได ๕.๒ การรายงานคณุ ภาพการศกึ ษาใหผ เู กี่ยวของทราบ สามารถรายงานไดหลายวิธี เชน ☯ รายงานคุณภาพการศึกษาประจาํ ป ☯ วารสาร/จุลสารของสถานศกึ ษา ☯ จดหมายสวนตัว ☯ การใหค ําปรกึ ษาหารอื เปนรายบคุ คล ☯ การใหพบครทู ่ปี รกึ ษาหรอื การประชมุ เครือขายผูปกครอง ☯ การใหข อมูลทางอินเทอรเนต็ ผานเวบ็ ไซตของสถานศึกษา ๖. การกาํ หนดระยะเวลาในการรายงาน การกําหนดระยะเวลาในการรายงานผลการเรียนแตละประเภทที่ไดมีการดําเนินการในโอกาส ตาง ๆ ทั้งการประเมินระดับชั้นเรียน การประเมินระดับสถานศึกษา การประเมินระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และการประเมนิ ระดบั ชาติ สถานศกึ ษาควรกาํ หนดชว งเวลาในการรายงานใหส อดคลอ งกบั ชว งระยะเวลาทผี่ เู รยี น และผูเก่ียวของจะนําขอมูลการรายงานไปใชในการดําเนินการปรับปรุงแกไขและสงเสริมการเรียนของผูเรียน ตามบทบาทหนาท่ีของแตละฝาย โดยยึดหลักการรายงานใหเร็วที่สุดภายหลังการประเมินผลแตละคร้ัง เพื่อให การรายงานเกิดประโยชนและมีประสิทธิภาพในการนําไปใชส งู สุด 36 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 0675_57.indd p36 6/10/2558 9:21:36

๓. ภารกิจของสถานศกึ ษา ดานการวดั และประเมินผลการเรียนรู 0675_57.indd p37 6/10/2558 9:21:36