Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วิทยาปริทรรศน์

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วิทยาปริทรรศน์

Published by ห้องสมุดประชาชน, 2021-03-25 17:47:31

Description: ๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วิทยาปริทรรศน์

Search

Read the Text Version

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วทิ ยาปรทิ รรศน์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงเปน็ ประธานในพิธีเปิด “โครงการมหาวทิ ยาลัยเดก็ ประเทศไทย” และทอดพระเนตรนิทรรศการมหาวทิ ยาลยั เดก็ ประเทศไทย “ปลูกแนวคดิ วิทยาศาสตร์สเู่ ยาวชน” ณ บ้านวิทยาศาสตรส์ ิรนิ ธร อทุ ยานวิทยาศาสตรป์ ระเทศไทย จังหวัดปทมุ ธานี เมื่อวนั ท่ี ๓๐ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๖

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วทิ ยาปริทรรศน์ มหาวทิ ยาลยั เดก็ เพอ่ื เดก็ ไทยหัวใจวิทยาศาสตร์ “ในยโุ รปมกี ารจดั มหาวทิ ยาลยั เดก็ หลายแหง่ แตร่ วมกนั เปน็ เครอื ขา่ ย เพอ่ื ให้ เด็กได้รับความรู้ในเรื่องที่สงสัยจากผู้เช่ียวชาญท่ีจะอธิบายความรู้ท่ีถูกต้อง ประเทศไทยเราได้แนวทางการจัดมหาวิทยาลัยเด็กจากสหพันธ์สาธารณรัฐ เยอรมนี แต่นำ�มาจัดเฉพาะส่วนที่เก่ียวกับวิทยาศาสตร์....เด็กๆ ท่ีเข้าร่วม โครงการมหาวทิ ยาลยั เดก็ จะไดร้ บั ความรคู้ วามเขา้ ใจวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จากผู้เช่ียวชาญ โครงการมีกิจกรรมการทดลองหลายรูปแบบ จะเป็นแรง บันดาลใจใหเ้ ดก็ เกดิ ความคดิ สรา้ งสรรค์ ทง้ั จะไดเ้ รยี นรมู้ โนธรรมและอดุ มการณ์ ของนกั วิทยาศาสตร์ ความรู้ ความเขา้ ใจ ผสานกบั คุณธรรมและอุดมการณ์ จะช่วยกอ่ ร่างสรา้ งเดก็ เหลา่ นี้ให้เจริญเติบโตเปน็ นกั วทิ ยาศาสตรท์ ีด่ ตี ่อไป” พระราชด�ำ รัส สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี พธิ ีเปดิ โครงการมหาวทิ ยาลัยเดก็ ประเทศไทย ณ หอ้ งออดิทอเรียม บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร อทุ ยานวทิ ยาศาสตรป์ ระเทศไทย วันที่ ๓๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ๑๐๑

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วทิ ยาปรทิ รรศน์ เด็กนักเรยี นก�ำ ลงั ท�ำ การทดลองทางวทิ ยาศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร.คทั ธารนี า โคหเ์ ชอ เฮอองิ เฮาส์ (Prof.Dr.Katharina Kohse-Höinghaus) แห่งทอยโทแล็บ มหาวิทยาลัยบีเลเฟลด์ สหพันธ์ สาธารณรัฐเยอรมนี​ เป็นผู้จัดต้ังโครงการมหาวิทยาลัยเด็ก เยอรมนี ใน พ.ศ. ๒๕๔๗ มหาวิทยาลัยเด็กแห่งน้ีมีจุดมุ่งหมายเพ่ือส่งเสริมให้นักเรียน ระดับประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษาตอนต้นได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่าง หลากหลายและลุ่มลึก โดยมีนักวิจัย ผู้เช่ียวชาญ และพี่เลี้ยงนักศึกษา มหาวทิ ยาลยั คอยชว่ ยดแู ลและใหค้ �ำ แนะน�ำ ในการท�ำ กจิ กรรมทางวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ​โครงการมหาวิทยาลัยเด็ก เยอรมนี ประสบผลสำ�เร็จอย่างมากใน การสรา้ งแรงบนั ดาลใจใหเ้ ดก็ และเยาวชน ท�ำ ใหเ้ ดก็ และเยาวชนรว่ มท�ำ กจิ กรรม อย่างสนุกสนาน มีทัศนคติท่ีดี รู้จักสังเกต ต้ังคำ�ถาม และค้นหาคำ�ตอบ ด้วยตนเองมากขึ้น ต่อมาโครงการน้ีได้ขยายผลไปยังประเทศต่างๆ เช่น สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ และสาธารณรัฐประชาชนจนี เปน็ ตน้ ๑๐๒

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วิทยาปรทิ รรศน์ ​ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำ�เนนิ เยือนโครงการมหาวิทยาลยั เดก็ ณ สถาบนั วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพแหง่ เซยี่ งไฮ้ (Shanghai Institutes for Biological Sciences) สาธารณรัฐประชาชนจีน ได้ทอดพระเนตรเห็นว่าโครงการ ดงั กลา่ วประสบผลส�ำ เรจ็ อยา่ งสงู และไดร้ บั การตอบรบั ท่ีดีจากนกั เรยี น จึงมี พระราชดำ�ริว่าประเทศไทยควรจะมีโครงการมหาวิทยาลัยเด็กท่ีดำ�เนินงาน ในลักษณะคล้ายกัน หนว่ ยงานทางวชิ าการและหนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบการเรยี นการสอน วิทยาศาสตร์ในประเทศไทย ได้แก่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (สสวท.) ส�ำ นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) และสำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) และ มหาวทิ ยาลยั เครอื ขา่ ย จงึ สนองพระราชด�ำ ริ โดยรว่ มงานกบั องคก์ รความรว่ มมอื แลกเปลยี่ นทางวชิ าการแหง่ สหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมนี (DAAD: Deutscher Akademischer Austausch Dienst) เพื่อจัดทำ�โครงการนำ�ร่อง มหาวทิ ยาลยั เด็ก ประเทศไทย ขึน้ ใน พ.ศ. ๒๕๕๔ ​โครงการมหาวิทยาลัยเด็ก ประเทศไทย ได้รับพระมหากรุณาธิคุณ จากสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ ทรงเป็นประธานในพิธีเปิดเม่ือวันท่ี ๓๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ณ บา้ นวทิ ยาศาสตร์สิรินธร อุทยานวทิ ยาศาสตร์ประเทศไทย จงั หวดั ปทมุ ธานี ในชว่ ง พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๗ ส​ วทช. ไดท้ ดลองน�ำ กจิ กรรมการทดลอง จากโครงการมหาวทิ ยาลยั เดก็ เยอรมนี ไปปรบั ใชใ้ นคา่ ยวทิ ยาศาสตรส์ �ำ หรบั นักเรียนประถมศึกษาตอนปลาย มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษา ตอนปลาย ๑๖ ครงั้ มนี กั เรยี นเขา้ รว่ มทง้ั สนิ้ ๑,๒๔๐ คน กจิ กรรมการทดลอง ท่ีใช้ เช่น ชุดผลไม้สกุลส้ม ชุดนำ้�นมนาโนเทคโนโลยี และเร่ืองกระดาษ และน�ำ้ หมึก เปน็ ตน้ ๑๐๓

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วทิ ยาปรทิ รรศน์ ​ เม่ือนำ�การทดลองชุดผลไม้สกุลส้ม และการทดลองชุดน้ำ�นม ไปใช้ ในการจดั อบรมนกั เรียนหูหนวกและครูสอนเดก็ หูหนวก ๒ คร้ัง มผี ู้เข้ารว่ ม ทงั้ สิน้ ๘๘ คน พบว่าท้งั นกั เรยี นและครสู นใจอยา่ งมาก ครูสอนเด็กหูหนวก ยงั ไดน้ ำ�กิจกรรมดงั กลา่ วไปพัฒนาท�ำ เป็นใบงานส�ำ หรบั เดก็ หูหนวกอกี ด้วย อาจารย์ดวงสมร คล่องสารา รองผู้อำ�นวยการ สสวท. กล่าวว่า โครงการมหาวทิ ยาลยั เดก็ มเี ปา้ ประสงคห์ ลกั ในการท�ำ ใหน้ กั เรยี นชอบเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ มสี ว่ นท�ำ ใหน้ กั เรยี นเหน็ ความส�ำ คญั และเลอื กเรยี นวทิ ยาศาสตร์ มากขึ้น อันเปน็ เป้าหมายท่ีสอดคล้องกับภารกิจของ สสวท. ​สสวท. ได้นำ�กิจกรรมการทดลองจากสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี มาปรบั ใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั บรบิ ทของเดก็ ไทย ในงานมหกรรมวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยแี ห่งชาติ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ไดแ้ ก่ นิทรรศการและกิจกรรม สสวท. ผจญภัยในดินแดนมหัศจรรย์ ซึ่งใช้การทดลองชุดนำ้�นมมาปรับเป็น กจิ กรรม ชอ่ื “Milk Milk Milk” พบวา่ มนี กั เรยี นเขา้ รว่ มกจิ กรรมจ�ำ นวนมาก และทุกคนรู้สึกสนุกสนานเพลิดเพลินไปกับการทดลองทำ�สีจากน้ำ�นมที่ได้ ลงมือทำ�ดว้ ยตนเอง ใน พ.ศ. ๒๕๕๖ ส​ สวท. ยงั มโี ครงการท่ีจะน�ำ กจิ กรรมต่างๆ ไปใช้ กับศนู ยพ์ ฒั นาอจั ฉริยภาพประจ�ำ ภูมิภาคในก�ำ กับดแู ลของ สสวท. พรอ้ มท้งั เชญิ ชวนสถาบนั การศึกษาและมหาวทิ ยาลัยในเขตภูมิภาค เขา้ รว่ มโครงการ น้ีโดยจัดกิจกรรมให้แก่นักเรียนประถมศึกษาจำ�นวน ๑๒ คร้ัง มีนักเรียน เขา้ รว่ ม ๑,๒๑๘ คน ​รองศาสตราจารย์ ดร.ศักรินทร์ ภูมิรัตน อธิการบดี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี กลา่ ววา่ “มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบุรีจะให้การสนับสนุนในด้านบุคลากร สถานที่ รวมถึงวัสดุและอุปกรณ์ การทดลองท่มี อี ยอู่ ยา่ งหลากหลาย เพอื่ ถา่ ยทอดทักษะและองคค์ วามรู้ดา้ น วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เน้นรูปแบบการเรียนรู้ด้วยความสนุก และ ท�ำ ใหน้ กั เรียนไม่กลวั การเรียนวทิ ยาศาสตร์อีกต่อไป” ๑๐๔

๖๐ พรรษา รตั นราชสดุ า วิทยาปรทิ รรศน์ เดก็ นกั เรียนท�ำ การทดลอง “น�้ำ กลง้ิ บนใบบวั ” เพือ่ เรียนรู้ปรากฏการณอ์ นภุ าคนาโน เด็กๆ และเยาวชนไทยท่ีมีโอกาสได้ฝึกฝนทักษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์ โดยมผี เู้ ชย่ี วชาญคอยใหค้ �ำ แนะน�ำ ยอ่ มมคี วามพรอ้ มทจี่ ะเตบิ โต ขน้ึ เปน็ บคุ คลทมี่ จี ติ วทิ ยาศาสตร์ และบางสว่ นอาจเลอื กอาชพี นกั วทิ ยาศาสตร์ วศิ วกร นกั วางแผน หรือท�ำ งานสนับสนุนระบบวทิ ยาศาสตร์ ซ่งึ เป็นรากฐาน ส�ำ คญั ในการขับเคลอื่ นเศรษฐกิจและสงั คมไทยให้เจริญก้าวหนา้ โครงการมหาวทิ ยาลยั เดก็ ประเทศไทย ไดร้ บั ความรว่ มมอื จากสถาบนั อดุ มศกึ ษาหลายแหง่ เชน่ มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลา้ พระนครเหนอื และสถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหาร ลาดกระบงั เปน็ ตน้ มหาวทิ ยาลยั เครอื ขา่ ยทม่ี คี วามพรอ้ ม ไดจ้ ดั กจิ กรรมใหแ้ ก่ เดก็ และเยาวชนในพนื้ ทใี่ กลเ้ คยี ง โดยใหน้ กั ศกึ ษาปรญิ ญาโทและปรญิ ญาเอก เข้าร่วมโครงการเพ่ือเป็นพ่ีเล้ียงให้แก่เยาวชน และส่งอาจารย์มาให้ความรู้ เสริมในแต่ละกิจกรรม ๑๐๕

๖๐ พรรษา รตั นราชสดุ า วทิ ยาปรทิ รรศน์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ ทอดพระเนตรห้องคอมพวิ เตอรข์ องโรงเรยี นมธั ยมบ้านนายาว จังหวัดฉะเชงิ เทรา เมื่อวันที่ ๑๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๒

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วทิ ยาปรทิ รรศน์ การศกึ ษาของโรงเรียนในชนบท กา้ วไกลด้วยไอที สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี สนพระราชหฤทยั เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือไอที (IT: Information Technology) และทรง ศกึ ษาการใชง้ านเทคโนโลยีนีด้ ว้ ยพระองคเ์ อง ทรงตระหนกั ถงึ ศักยภาพและ ประโยชน์ของไอทีในฐานะเครื่องมือที่สามารถใช้พัฒนาประเทศใน หลายด้าน และมีพระราชดำ�รัสกับผู้ถวายงานเกี่ยวกับการนำ�ไอทีมาใช้ใน โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชด�ำ รใิ นหลายวาระ ใน พ.ศ. ๒๕๓๘ คณะผู้ถวายงาน นำ�โดย นางสาววิลาวรรณ วนดุรงค์วรรณ และศาสตราจารย์ ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์ ได้หารือกับ สำ�นักงานสลากกินแบ่งรัฐบาลเก่ียวกับการออกสลากการกุศลงวดพิเศษ เพ่ือนำ�เงินรายได้ทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อทรงใช้ในการดำ�เนินโครงการตาม พระราชดำ�ริ เม่อื ส�ำ นกั งานสลากกินแบ่งรฐั บาลด�ำ เนนิ การเสร็จสิ้น รัฐบาล จึงทูลเกล้าฯ ถวายเงินรายได้ดังกล่าวแด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี นับเป็นจุดเริ่มต้นในการจัดทำ�โครงการเทคโนโลยี สารสนเทศตามพระราชด�ำ รสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ใน พ.ศ. ๒๕๓๙ ทรงรบั เปน็ ประธานกรรมการโครงการ และใชเ้ งนิ จากดอกผล ของเงินต้นที่สำ�นักงานสลากกินแบ่งรัฐบาลทูลเกล้าฯ ถวายในการดำ�เนิน โครงการ ​นบั จากจุดเร่ิมตน้ จนถึงปัจจบุ ัน โครงการเทคโนโลยสี ารสนเทศตาม พระราชดำ�ริฯ ได้ดำ�เนินกิจกรรมเพื่อพัฒนาการศึกษาและคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะแก่ผู้ด้อยโอกาสในสังคม มีผลงานประจักษ์ชัดในหลายด้าน ท่ีสำ�คัญ ได้แก่ การพัฒนาการศึกษาของเด็กนักเรียนในชนบท การพัฒนา การศกึ ษาและคณุ ภาพชวี ติ ของผพู้ กิ าร การพฒั นาการศกึ ษาและการสง่ เสรมิ ๑๐๗

๖๐ พรรษา รตั นราชสดุ า วทิ ยาปริทรรศน์ คณะกรรมการโครงการเทคโนโลยสี ารสนเทศตามพระราชด�ำ รสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ตรวจเยย่ี มการด�ำ เนนิ งานของศนู ยบ์ รกิ ารซอ่ มคอมพวิ เตอร์ วทิ ยาลยั เทคนคิ อบุ ลราชธานี จงั หวดั อบุ ลราชธานี นนั ทนาการแกเ่ ดก็ ปว่ ยในโรงพยาบาล รวมทง้ั การพฒั นาการศกึ ษาวชิ าชพี แก่ ผู้ต้องขังในทัณฑสถาน และเด็กและเยาวชนในสถานพินิจและคุ้มครองเด็ก และเยาวชนสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯสยามบรมราชกมุ ารีไดพ้ ระราชทาน แนวพระราชดำ�ริ แนวทางการด�ำ เนนิ งาน และทรงติดตามงานของโครงการ อยา่ งใกลช้ ดิ สม�ำ่ เสมอ ทส่ี �ำ คญั คอื ทรงบรหิ ารการใชท้ นุ ทรพั ยท์ กุ บาททกุ สตางค์ อย่างคุม้ ค่า เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการศึกษา : แมเ้ ครื่องคอมพิวเตอรใ์ ช้แล้วก็มคี ่า สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเล็งเห็น ศกั ยภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศในการสร้างโอกาสการเรยี นรู้ ทัง้ ยังชว่ ย สร้างโอกาสด้านอาชีพและการดำ�รงชีวิตให้แก่เด็กและเยาวชนในท้องท่ี ห่างไกล จึงโปรดเกล้าฯ ให้จัดทำ�โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ การศกึ ษาของโรงเรยี นในชนบท (ทสรช.) ภายใตโ้ ครงการเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๑๐๘

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วิทยาปริทรรศน์ นกั เรยี นฝกึ พมิ พส์ มั ผสั ดว้ ยเครอ่ื งพมิ พด์ ดี ไฟฟา้ สมี ว่ งท่ี สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี พระราชทานใหแ้ กโ่ รงเรยี นในระยะแรกของการด�ำ เนนิ โครงการ ตามพระราชด�ำ รฯิ พระราชทานแนวพระราชด�ำ รใิ นการด�ำ เนนิ โครงการวา่ ให้ ท�ำ ในลกั ษณะน�ำ รอ่ ง และพฒั นาแบบคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไป ดคู วามพรอ้ มของผรู้ บั ไม่โปรดให้ทำ�แบบฟุ่มเฟือย คือนำ�เครื่องมือหรืออุปกรณ์ราคาแพงไปให้ ตงั้ แตต่ น้ เพราะอาจใชง้ านไม่เตม็ ท่ี การพัฒนาโครงการระยะแรก เน้นการสอนให้ครูและนักเรียนรู้จัก เครอ่ื งมอื และอุปกรณ์ และเรยี นรู้การใชง้ านจากเครอ่ื งพิมพด์ ดี ไฟฟา้ มอื สอง และคอมพิวเตอร์มือสองท่ีทรงรับบริจาคมาจากหลายแหล่ง โรงเรียนแต่ละ แหง่ ไดร้ บั คอมพวิ เตอรพ์ ระราชทาน ๒๐ เครอ่ื ง มกี ารฝกึ อบรมครใู หใ้ ชง้ านเปน็ และสามารถประยกุ ตใ์ นการเรยี นการสอน จากนนั้ โปรดใหต้ ดิ ตามผลการใช้ งานอุปกรณ์เหล่าน้ีในโรงเรียนทุกแห่งอย่างใกล้ชิด หากโรงเรียนใดมีผลการ ด�ำ เนนิ งานนา่ พอใจ ก็จะพระราชทานเคร่อื งคอมพวิ เตอรใ์ หมพ่ ร้อมอปุ กรณ์ ทีจ่ ำ�เปน็ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี มพี ระราชประสงค์ ให้โรงเรียนใช้งานเคร่ืองมือและอุปกรณ์ต่างๆ อย่างเต็มประสิทธิภาพ ๑๐๙

๖๐ พรรษา รตั นราชสดุ า วิทยาปรทิ รรศน์ จึงโปรดเกล้าฯ ให้มีการอบรมครูและจัดทำ�สื่อการเรียนการสอนควบคู่กัน ไปด้วย เพ่ือให้ครูมีความรู้และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้แก่นักเรียนได้ นอกจากน้ี ยังได้พระราชทานแนวทางเก่ียวกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ว่า นอกจากการเรียนการสอนแล้ว น่าจะนำ�ไปใช้ในการบริหารจัดการภายใน โรงเรียนให้มีประสิทธิภาพมากข้ึนด้วย เช่น บันทึกคะแนน ทำ�บัญชี บริหารพสั ดุ และจดั การสหกรณโ์ รงเรยี น เปน็ ต้น ใน พ.ศ. ๒๕๕๗ มีโรงเรียนในโครงการจ�ำ นวน ๘๗ แห่ง แต่ละแห่ง อยใู่ นพน้ื ทห่ี า่ งไกล และนกั เรยี นสว่ นใหญเ่ ปน็ เดก็ ดอ้ ยโอกาส ผลการด�ำ เนนิ งาน พบว่า เด็กนักเรียนมีพัฒนาการด้านการศึกษาดีขึ้นมาก โดยเฉพาะอย่างย่ิง ความรู้และทักษะทางเทคโนโลยี นักเรียนของโรงเรียนในโครงการกว่า ๕๐๐ คน สามารถศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาในสาขาที่เกี่ยวข้องกับไอที ซึ่งมีงานรองรับจำ�นวนมาก โรงเรียนหลายแห่งมีผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) สงู ขึน้ ในหลายวิชา และอีกหลายแหง่ มคี รูและนกั เรยี นได้รบั รางวัล จากการประกวดผลงานที่เกี่ยวกับไอทีทั้งในระดับภูมิภาคและระดับชาติ รวมแลว้ กว่า ๘๐๐ รางวัล กิจกรรมชมุ นุมคอมพิวเตอร์ เพ่อื ความเขม้ แขง็ ในการใชไ้ อทอี ย่างยั่งยืน ระยะแรกที่โรงเรียนในชนบทใช้คอมพิวเตอร์ พบว่าโรงเรียนมี ปัญหาด้านการบำ�รุงรักษาและซ่อมแซมเคร่ืองคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ เน่ืองจากโรงเรียนจำ�นวนมากในโครงการต้ังอยู่ในพื้นที่ห่างไกลท่ัวทุก ภูมิภาค หาร้านซ่อมได้ลำ�บาก หากจะให้เจ้าหน้าท่ีจากส่วนกลางไปช่วย แก้ไขก็ไม่ทันการ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี จึงพระราชทานแนวทางการดำ�เนินงานให้สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับ หนว่ ยงานในสงั กดั ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาทมี่ อี ยทู่ วั่ ประเทศ เพ่ือใหส้ ามารถชว่ ยเหลอื โรงเรยี นในพ้ืนที่ไดโ้ ดยสะดวก ๑๑๐

๖๐ พรรษา รตั นราชสดุ า วทิ ยาปริทรรศน์ วิทยาลัยเทคนิคแพรใ่ ห้บรกิ ารซ่อมบ�ำ รุงเครื่องคอมพิวเตอร์และปรับปรงุ ระบบแลน (LAN) แกโ่ รงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๒๕ จังหวัดแพร่ เม่อื วันท่ี ๒๒ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๗ ใน พ.ศ. ๒๕๓๙ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี มีพระราชดำ�ริให้มีการจัดอบรมการซ่อมบำ�รุงคอมพิวเตอร์เบ้ืองต้นให้แก่ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษา และจดั ตงั้ ศนู ยบ์ รกิ ารตรวจซอ่ มบ�ำ รงุ เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ และอุปกรณ์ในวิทยาลัยอาชีวศึกษาต่างๆ เพ่ือให้บริการแก่โรงเรียนในพ้ืนท่ี ใกล้เคียง นอกจากน้ี ยังมุ่งพัฒนาครูให้สามารถซ่อมบำ�รุงและแก้ไขปัญหา เคร่อื งคอมพิวเตอร์ในเบือ้ งตน้ ควบค่กู นั ไปด้วย ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาไดส้ านตอ่ แนวพระราชด�ำ ริ ดงั กลา่ วมาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งจนถงึ ปจั จบุ นั ดว้ ยการจดั ท�ำ โครงการซอ่ มบ�ำ รงุ และ พฒั นาบคุ ลากรซอ่ มบ�ำ รงุ คอมพวิ เตอร์ อปุ กรณต์ อ่ พว่ ง และระบบผลติ ไฟฟา้ พลงั งานแสงอาทติ ยเ์ บอ้ื งตน้ ตามพระราชด�ำ รสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี จากจุดเร่ิมตน้ ใน พ.ศ. ๒๕๓๙ มศี ูนยบ์ ริการ ๑๗ แหง่ ใน พ.ศ. ๒๕๕๗ มีศูนย์บริการเพิ่มขึ้นเป็น ๘๘ แห่ง เพื่อให้บริการ หน่วยงานในโครงการ ทัง้ โรงเรยี น โรงพยาบาล และทณั ฑสถาน นอกจากนี้ ยังให้บริการโรงเรียนตำ�รวจตระเวนชายแดนในด้านคำ�ปรึกษา ตรวจซ่อม อุปกรณ์ไฟฟ้า และซ่อมบำ�รุงระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ของ ศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนชาวไทยภเู ขาอกี ด้วย ๑๑๑

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วทิ ยาปรทิ รรศน์ ใน พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้มีหน่วยงานเครือข่ายที่สนองแนวพระราชดำ�ริ ในการซ่อมบำ�รุงและรักษาเคร่ืองคอมพิวเตอร์ในโรงเรียนเพ่ิมเติม ได้แก่ เครอื ขา่ ยมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ในการด�ำ เนนิ กจิ กรรมครง้ั แรกนนั้ อาจารยส์ าขา วิชาคอมพิวเตอร์ศึกษาได้เดินทางไปสำ�รวจในพื้นท่ีด้วยตนเอง และพบว่า เมื่อใดกต็ ามท่ีเคร่ืองคอมพิวเตอรเ์ สีย โรงเรียนมกั จะพบปัญหา เชน่ ครไู มม่ ี ความรมู้ ากพอทจ่ี ะซอ่ มไดเ้ อง เมอ่ื สง่ ไปซอ่ มทรี่ า้ นกม็ กั ใชเ้ วลานาน ทง้ั ยงั เสยี ค่าใช้จ่ายค่อนขา้ งมากในแตล่ ะปี เปน็ ตน้ กิจกรรมชุมนุมคอมพิวเตอร์ในโรงเรียน จึงเกิดขึ้นเพื่อแก้ปัญหา ดงั กลา่ ว โดยมมี หาวทิ ยาลัยราชภัฏทำ�หน้าทพี่ ่เี ลี้ยงให้คำ�ปรึกษาดา้ นการจดั การอบรม และให้ความช่วยเหลือในการซ่อมบำ�รุง เป้าหมายสำ�คัญคือ เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นในชมุ นมุ คอมพวิ เตอรม์ คี วามรู้ และไดล้ งมอื ปฏบิ ตั ใิ นการซอ่ ม บำ�รุงเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ท่ีเกี่ยวข้อง อันจะทำ�ให้แต่ละโรงเรียน สามารถพง่ึ ตนเองไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื สอดคลอ้ งกับแนวพระราชดำ�ริ ​อาจารย์กิติศักดิ์ เกิดโต หัวหน้าภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะ ครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั อุตรดติ ถ์ เล่าวา่ “ในการท�ำ งานชว่ งแรกนัน้ เร่ิมต้นท่ีอาจารย์ได้ออกบริการวิชาการที่โรงเรียนด้วยตนเอง ประสบการณ์ ทพ่ี บท�ำ ใหเ้ กดิ แนวคดิ วา่ คณะครศุ าสตรเ์ ปน็ คณะทผ่ี ลติ ครู จงึ ควรจะบรู ณาการ การออกค่ายวิชาการเข้ากับรายวิชาที่เปิดสอน เพ่ือฝึกประสบการณ์ตรงให้ แกน่ กั ศกึ ษา” คณะครศุ าสตรจ์ งึ ไดจ้ ดั กจิ กรรมผนวกวชิ าวธิ สี อนคอมพวิ เตอร์ เข้ากับวิชาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ให้นักศึกษาออกค่ายวิชาการใน โรงเรียนพระปริยัติธรรม วิธีการน้ีนอกจากโรงเรียนจะได้รับความช่วยเหลือ แล้ว นักศกึ ษายงั ไดเ้ รยี นรู้ดว้ ยการลงมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ อีกด้วย ​นักเรียนสามเณรโรงเรียนพระปริยัติธรรมในโครงการนอกจากจะ ซอ่ มบ�ำ รงุ คอมพวิ เตอรเ์ บอื้ งตน้ ได้ เชน่ ลงโปรแกรมและถอดประกอบชน้ิ สว่ น ต่างๆ เป็นต้น ยังสามารถถ่ายทอดความรู้กันเองภายในชุมนุมจากสามเณร รนุ่ พส่ี รู่ นุ่ นอ้ ง ท�ำ ใหโ้ รงเรยี นสามารถลดคา่ ใชจ้ า่ ยและชว่ ยเหลอื ตนเองไดม้ ากขน้ึ ๑๑๒

๖๐ พรรษา รตั นราชสดุ า วทิ ยาปริทรรศน์ สามเณรบรรยายวธิ กี ารลงซอฟตแ์ วรร์ ะบบปฏบิ ตั กิ าร และการลงโปรแกรม ใหแ้ กน่ กั เรยี น โรงเรยี นบา้ นน�ำ้ ยาว ต�ำ บลอวน อ�ำ เภอทา่ วงั ผา จงั หวดั นา่ น นกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อตุ รดติ ถ์ ออกคา่ ยอบรมใหค้ วามรเู้ กย่ี วกบั การซอ่ มบ�ำ รงุ คอมพวิ เตอร์ ใหแ้ กส่ ามเณรโรงเรยี นวดั ดอนมงคลสนั ตสิ ขุ วทิ ยา จงั หวดั นา่ น เมอ่ื วนั ท่ี ๑๐ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๒ โรงเรยี นในโครงการบางแห่งยังสามารถชว่ ยโรงเรียนเลก็ ๆ ในชุมชน ที่อยู่ใกล้เคียงได้ด้วย เช่น ชุมนุมคอมพิวเตอร์โรงเรียนวัดนำ้�ไคร้นันทชัย ศึกษา จังหวัดน่าน ได้ไปช่วยเหลือโรงเรียนไตรราษฎร์วิทยาและโรงเรียน บ้านน�ำ้ ยาว อ�ำ เภอท่าวังผา จังหวัดน่าน เป็นตน้ ๑๑๓

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วทิ ยาปริทรรศน์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงรบั ฟงั รายงานเรือ่ งการนำ�อีดแี อลทวี ี (eDLTV) มาใช้ในการเรียนการสอน ณ โรงเรียนปยิ ชาติพฒั นา ในพระราชูปถมั ภ์ฯ เมื่อวันท่ี ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๒

๖๐ พรรษา รตั นราชสดุ า วิทยาปริทรรศน์ เยาวชนทวั่ ถน่ิ ไทย เรยี นรไู้ ด้ด้วย eDLTV ​โรงเรียนขนาดเล็กในชนบทจำ�นวนมากประสบปัญหาหลัก ได้แก่ การขาดแคลนครูผู้สอน ทำ�ให้ครูบางคนต้องสอนหลายวิชา บางคนต้อง สอนวชิ าทไ่ี มต่ รงกบั วชิ าเอกตามวฒุ กิ ารศกึ ษา ทง้ั ยงั ขาดแคลนสอื่ ทชี่ ว่ ยเสรมิ ความเขา้ ใจเนอ้ื หาอีกดว้ ย ​ แนวทางหนง่ึ ซง่ึ ชว่ ยบรรเทาปญั หาดงั กลา่ วไดก้ ค็ อื การจดั การศกึ ษา ทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV: Distance Learning Television) แตเ่ นอื่ งจาก วธิ นี เี้ ปน็ การถา่ ยทอดสดการเรยี นการสอนจากโรงเรยี นวงั ไกลกงั วล จงึ พบวา่ บางคร้ังนักเรียนที่โรงเรียนปลายทางไม่สะดวกเรียนในเวลาท่ีมีการถ่ายทอด สญั ญาณ ครนั้ จะบนั ทกึ เทปไว้ ก็จะมคี ่าใชจ้ ่ายคอ่ นขา้ งสูง ในคราวหน่ึงท่ีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำ�เนินทอดพระเนตรโรงเรียนในท้องถิ่นทุรกันดาร มีกระแส พระราชดำ�รัสแก่คณะกรรมการโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตาม พระราชด�ำ รวิ า่ เครอื่ งคอมพวิ เตอรใ์ นโรงเรยี นยงั ใชง้ านไมค่ มุ้ คา่ นา่ จะใชเ้ ปน็ ส่ือการเรียนการสอนได้ด้วย ประกอบกับคณะกรรมการได้ทราบปัญหา ในการใชป้ ระโยชนจ์ ากการเรยี นการสอนทางไกลผา่ นดาวเทยี มจากโรงเรยี น จ�ำ นวนหนง่ึ จงึ เกดิ ความคดิ ทจี่ ะน�ำ เนอื้ หาวชิ าตา่ งๆ ของโรงเรยี นวงั ไกลกงั วล มาสร้างเป็นระบบการเรียนการสอนออนไลน์ (e-Learning) ซึ่งจะช่วยให้ ผเู้ รยี นสามารถเรยี นในเวลาทส่ี ะดวกได้ อนั เปน็ ทม่ี าของโครงการจดั ท�ำ เนอื้ หา ระบบการเรียนการสอนออนไลน์ของการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เฉลิมพระเกียรติเนือ่ งในโอกาสมหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ หรอื เรียกอยา่ งยอ่ วา่ โครงการอีดแี อลทีวี (eDLTV : Electronic Distance Learning Television) ภายใตโ้ ครงการเทคโนโลยี สารสนเทศตามพระราชด�ำ รสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ๑๑๕

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วิทยาปรทิ รรศน์ ในช่วง พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔ โครงการอีดีแอลทีวไี ด้รว่ มมือกับมลู นิธิ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม สำ�นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และ สำ�นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในการนำ�ข้อมูลเนื้อหาการเรียน การสอนในทุกรูปแบบ ได้แก่ คลิปวีดิทัศน์ ใบความรู้ ใบงาน และสไลด์ น�ำ เสนอของครทู กุ วชิ า ทกุ ชน้ั เรยี น ไปจดั ท�ำ ระบบการเรยี นการสอนออนไลน์ ท้ังในแบบออนไลน์ที่ http://edltv.net และแบบออฟไลน์ ใช้งานผ่าน เซริ ฟ์ เวอร์ หรอื เอกซเ์ ทอร์นัลฮาร์ดดสิ ค์ ​ปัจจุบันระบบอีดีแอลทีวีแบบออนไลน์มีการใช้งานเฉล่ียมากกว่า ๕๐๐,๐๐๐ คร้ังตอ่ เดือน เป็นเวบ็ ไซตท์ ่ไี ด้รบั ความนยิ มอันดับท่ี ๕-๙ ในกล่มุ เวบ็ ไซตก์ ารเรยี นการสอนออนไลนท์ ง้ั หมด ๕๒ เวบ็ ไซต์ (ขอ้ มลู พ.ศ. ๒๕๕๗) ​สว่ นการใชง้ านแบบออฟไลน์เครอื ขา่ ยมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ๓๕แหง่ ได้ เผยแพร่ระบบอีดีแอลทีวีไปยังโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก (มีนักเรียน น้อยกว่า ๑๒๐ คน) ไมต่ ่�ำ กวา่ ๑๕,๐๐๐ โรงเรียนทว่ั ประเทศ (ข้อมลู พ.ศ. ๒๕๕๗) สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี มีพระมหา กรณุ าธคิ ณุ พระราชทานงบประมาณสว่ นหนง่ึ ในการจดั ซอื้ เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ แม่ข่ายที่บรรจุเนื้อหาของอีดีแอลทีวี ให้แก่โรงเรียนในโครงการเทคโนโลยี สารสนเทศเพอ่ื การศกึ ษาของโรงเรยี นในชนบท (ทสรช.) ตามพระราชด�ำ รฯิ จำ�นวน ๗๖ แห่ง และโรงเรยี นวังไกลกังวลอกี ๑ แหง่ รวมทั้งส้นิ ๗๗ แหง่ เพอ่ื ใช้ประโยชน์ในการจดั การเรียนการสอน ประสบการณจ์ ากนักเรียนและครู ​โรงเรยี นวดั โพธแิ์ ทน อ�ำ เภอองครกั ษ์ จงั หวดั นครนายก เปน็ โรงเรยี น ประถมศึกษาขยายโอกาสท่ีใชร้ ะบบอีดีแอลทวี ี พบวา่ นักเรียนสว่ นใหญส่ นุก กบั การเรียนมากขน้ึ ตัวอยา่ งเชน่ เด็กชายวสพุ ล แวน่ แก้ว นักเรยี นชั้นมธั ยม ศกึ ษาปที ี่ ๑ กลา่ วดว้ ยน�ำ้ เสยี งทแี่ สดงความสขุ วา่ “ถา้ ผมจดไมท่ นั ผมจะสง่ั ให้ ครูหยุดแล้วก็จด ผมชอบเรียนกับครูตู้เพราะสบายดีเหมือนดูทีวีอยู่ท่ีบ้าน” ๑๑๖

๖๐ พรรษา รัตนราชสดุ า วิทยาปริทรรศน์ เนอ้ื หาของระบบอีดีแอลทีวีมีอะไรบา้ ง? ระดับประถมศึกษาปีท่ี ๑-๖ มี ๘ สาระการเรียนรู้ ได้แก่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สังคมศึกษา สุขศึกษา ศิลปะ และ การงานอาชพี และเทคโนโลยี มีส่อื จ�ำ นวน ๓๖,๖๖๑ ช้ิน ความยาว ๔,๙๗๘ ช่ัวโมง เนือ้ หาจากโรงเรยี นวังไกลกงั วล ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๖ มี ๖ สาระการเรียนรู้ ได้แก่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สังคมศึกษา และสุขศึกษา มีสื่อจำ�นวน ๓๐,๓๐๒ ชน้ิ ความยาว ๔,๖๗๕ ชัว่ โมง เนอ้ื หาจากโรงเรียนวงั ไกลกงั วล เนื้อหาเก่ียวกับวิชาชีพ ครอบคลุม ๗๐ อาชีพ รวม ๑,๓๖๕ เรื่อง เช่น ครัวการอาชีพวังไกลกังวล เสื้อสมัยนิยม ปักสวยด้วยมือ และการนวดแผนไทย เป็นต้น มสี ื่อจ�ำ นวน ๕,๒๐๔ ชนิ้ เน้อื หาจากวทิ ยาลัยการอาชพี วังไกลกังวล (“ครูตู้” หมายถึงครูจากโรงเรียนวังไกลกังวลที่สอนทางไกลผ่านดาวเทียม) สว่ นเดก็ บางคนก็บอกวา่ “ดจี งั เลย ไดเ้ รียนกับครทู ีเดียวสองคน คือครูตู้กบั ครูจรงิ ” เพราะหาก “ครูตู”้ อธบิ ายแล้วไม่เขา้ ใจ “ครจู รงิ ” คือ ครูโสภณ อั๋นบางไทร ก็สามารถอธิบายเพ่ิมเติมได้ อีกท้ังนักเรียนยังสามารถเปิดดู นอกเวลา เพือ่ ทบทวนเน้อื หาจนเขา้ ใจ ครูโสภณเรียนจบเอกวิชาภาษาอังกฤษด้วยทุนคุรุทายาท แต่ต้อง สอนวิชาคณิตศาสตร์ตั้งแต่เร่ิมแรก เน่ืองจากช่วงนั้นโรงเรียนขาดครูสอน ๑๑๗

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วทิ ยาปรทิ รรศน์ คณติ ศาสตร์ แม้จะสอนคณติ ศาสตร์มานานหลายปแี ลว้ แตค่ รโู สภณกพ็ บวา่ อีดีแอลทีวีมปี ระโยชน์ เพราะใช้หาความรูเ้ พิม่ เติมได้และยงั ช่วยในการเขียน แผนการสอน โดยครูโสภณจะเพ่ิมเทคนิคบางอย่างเพื่อสื่อสารกับนักเรียน ใหเ้ ขา้ ใจแจม่ ชดั ขนึ้ โรงเรยี นบา้ นหนองหวั ชา้ ง อ�ำ เภอทา่ หลวง จงั หวดั ลพบรุ ี เปน็ โรงเรยี น ขนาดเล็ก มีนักเรยี นน้อย ครกู น็ อ้ ย ท้ังโรงเรียนมคี รู ๓ คน เนอ่ื งจากครูสอน ไม่ครบชั้นจึงแก้ปัญหาด้วยการนำ�วิธีการเรียนแบบคละช้ันมาใช้ คือแบ่ง นกั เรยี นทม่ี คี วามสามารถใกลเ้ คยี งกนั มาอยดู่ ว้ ยกนั เชน่ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑-๒ เรียนร่วมกัน ประถมศึกษาปีที่ ๓-๔ เรยี นร่วมกนั และประถมศึกษาปีท่ี ๕-๖ เรยี นรว่ มกัน เปน็ ตน้ ​ครเู ลา่ วา่ “ผมสอนนกั เรยี นระดบั ป.๓ และ ป.๔ ซ่ึงเรียนในห้อง เดยี วกนั แตค่ นละฝงั่ นกั เรยี น ป.๓ เรยี นจากอดี แี อลทวี แี ลว้ ผมกส็ อนนกั เรยี น ป.๔ จากน้ันจะมาสรุปให้กับนักเรียน ป.๓ หลังจากสอน ป.๔ เสร็จแล้ว เมื่อนำ�อีดีแอลทีวีมาใช้ ผลการสอบโอเน็ตเพิ่มขึ้นเกินระดับค่าเฉล่ียของ ประเทศในหลายวิชา เนอ่ื งจากอีดีแอลทวี ชี ่วยให้เด็กสนใจเรยี นมากขึ้น” มหาวิทยาลัยราชภัฏ : เครือข่ายเผยแพร่ eDLTV ​มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ๓๕ แหง่ ทว่ั ประเทศเขา้ รว่ มเปน็ เครอื ขา่ ยเผยแพร่ อดี แี อลทวี ใี หแ้ กโ่ รงเรยี นในทอ้ งถนิ่ ดว้ ยการจดั กิจกรรมตา่ งๆ เชน่ ใหบ้ รกิ าร วิชาการ และจัดค่ายให้นักศึกษาไปฝึกสอนในโรงเรียน เป็นต้น โดยเฉพาะ ในโรงเรยี นขนาดเล็ก โรงเรียนต�ำ รวจตระเวนชายแดน (ตชด.) และโรงเรยี น ในถ่ินทุรกันดารทวั่ ทุกภมู ิภาค ในพ.ศ.๒๕๕๗เครอื ขา่ ยมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เผยแพรร่ ะบบอดี แี อลทวี ี ให้แก่โรงเรียนขนาดเล็ก (มีนักเรียนไม่เกิน ๑๒๐ คน) จำ�นวนไม่ต่ำ�กว่า ๑๕,๐๐๐ โรงเรยี นทว่ั ประเทศ ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ ได้จัดสรรงบประมาณให้โรงเรียนจัดหา เอกซเ์ ทอรน์ ลั ฮารด์ ดสิ ค์ ขนาด ๒ เทระไบต์ โรงเรยี นละ ๑ เครอื่ งและมอบหมาย ๑๑๘

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วทิ ยาปรทิ รรศน์ ใหเ้ จา้ หนา้ ทขี่ องส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาน�ำ ฮารด์ ดสิ คด์ งั กลา่ วไปส�ำ เนา ระบบอดี แี อลทีวี ระดบั ประถมศกึ ษาจากมหาวทิ ยาลัยราชภฏั ท่อี ยใู่ กล้เคียง ​วา่ ที่ รอ้ ยตรสี รุ เชษฐ์ มกุ สวุ รรณ ผอู้ �ำ นวยการโรงเรยี นบา้ นคลองน�้ำ เยน็ อ�ำ เภอบางระก�ำ จงั หวดั พษิ ณโุ ลกกลา่ ววา่ หลงั จากโรงเรยี นน�ำ ระบบอดี แี อลทวี ี มาใช้ ก็ท�ำ ให้ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของนกั เรยี นสูงข้นึ คะแนนในวชิ าหลกั จากการทดสอบระดับชาติโอเน็ตอยู่ในระดับดี คะแนนของ ๘ กลุ่มสาระ อยใู่ น ๑๐ อนั ดบั แรกของโรงเรยี นในเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาพษิ ณโุ ลก เขต ๑ ทง้ั นี้ สำ�นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต ๑ จะได้ขยายผล การใชร้ ะบบอีดีแอลทีวี เพือ่ การจดั การเรยี นรใู้ หโ้ รงเรยี นในสังกดั ตอ่ ไป อดี แี อลทวี ีเพ่อื ฝึกวชิ าชพี ระยะส้ันให้แกผ่ ้ตู ้องขัง ​สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี มพี ระราชด�ำ รวิ า่ “น่าจะลองพิจารณานำ�เน้ือหาท่ีเก่ียวกับการสอนวิชาชีพที่หลากหลาย มาใส่ในระบบด้วย เพื่อท่ีผู้ด้อยโอกาส หรือผู้ที่อยู่ในชนบทห่างไกลจะได้มี โอกาสเรียนรู้วิชาชีพท่ีตนสนใจ เพ่ือไปประกอบอาชีพหาเล้ียงตนและ ครอบครัวได”้ ​ กรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรม ได้สนองพระราชดำ�ริดังกล่าว โดยน�ำ ระบบอดี แี อลทวี ี เพอื่ พฒั นาอาชพี มาใชฝ้ กึ วชิ าชพี ระยะสน้ั แกผ่ ตู้ อ้ งขงั ผู้ต้องขังสามารถเลือกวิชาชีพท่ีตนเองสนใจได้ เช่น การตัดผมชาย การทำ� เปเปอร์มาเช่ การจับจีบผ้า และระบายผ้าในงานพิธีการ เป็นต้น ผู้ต้องขัง สามารถเปดิ อดี ีแอลทวี ี เพอ่ื ทบทวนจนปฏิบตั ิได้ พระราชดำ�ริและพระราชหฤทัยมุ่งมั่นที่จะพัฒนาการศึกษา ไม่เพียงแต่สร้างคุณูปการต่อเด็กและเยาวชนที่อยู่ห่างไกล แต่ยังเปิดโอกาส ให้ประชาชนทั่วไปท่ีสนใจศึกษาเรียนรู้ ได้เข้าถึงความรู้ ทั้งในระบบ การศึกษาข้ันพน้ื ฐานและความรใู้ นการอาชีพอยา่ งเท่าเทยี มกัน ๑๑๙

๖๐ พรรษา รตั นราชสดุ า วทิ ยาปรทิ รรศน์ ศาสตราจารย์ ดร.ไพรัช ธชั ยพงษ์ น�ำ คณะครูโรงเรยี นเอกชนสอนศาสนาอิสลาม รบั เสด็จสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ท่จี งั หวัดนราธิวาส

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วทิ ยาปริทรรศน์ ไอทีเพอื่ การศกึ ษา ของโรงเรยี นเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงให้ความ สำ�คัญในเรื่องการศึกษาของเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารทุกพ้ืนท่ีอย่าง เท่าเทียมกัน รวมถึงชาวไทยมุสลิมท่ีอาศัยอยู่ในพ้ืนที่ห่างไกลในภาคใต้ มพี ระราชปณธิ านทจ่ี ะเขา้ ไปชว่ ยเหลอื สง่ เสรมิ การศกึ ษาใหเ้ ดก็ และเยาวชน มีโอกาสได้รับการศึกษาที่ดี เพ่ือเสริมสร้างคุณภาพชีวิตให้ดีข้ึน กิจกรรม ไอทเี พอ่ื การศกึ ษาของโรงเรยี นเอกชนสอนศาสนาอสิ ลามในพน้ื ทภ่ี าคใตเ้ รม่ิ ตน้ ข้ึนใน พ.ศ. ๒๕๓๖ เม่ือคร้ังที่เสด็จพระราชดำ�เนินติดตามการดำ�เนินงาน โครงการตามพระราชดำ�ริ ที่โรงเรียนในจังหวัดนราธิวาส ได้มีรับส่ังให้ เจ้าหน้าท่ีโครงการไอทีตามพระราชดำ�ริฯ เข้าไปช่วยเหลือด้านไอทีแก่ครู ในโรงเรียนจรรยาอิสลาม ซ่ึงเป็นโรงเรียนปอเนาะ อยู่ติดกับโรงเรียน บ้านศาลาใหม่ อำ�เภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส และรับส่ังให้อบรมความรู้ ทางด้านไอทีแก่ผู้บริหารโรงเรียนในกลุ่มโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ในโครงการตามพระราชดำ�ริฯ ๑๔ โรงเรียน เพื่อนำ�ความรู้ทางด้านไอที ไปใช้ในการบรหิ ารงานและการเรียนการสอนของโรงเรยี น ใน พ.ศ. ๒๕๕๗ มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษาของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ภายใต้โครงการ เทคโนโลยสี ารสนเทศตามพระราชด�ำ รฯิ รวมทงั้ สนิ้ ๑๕ แหง่ โรงเรยี นเหลา่ น้ี ตั้งอยใู่ นพ้ืนที่จงั หวดั นราธวิ าส ปัตตานี ยะลา และสงขลา แบ่งเป็นโรงเรียน เอกชนสอนศาสนาอิสลาม ๑๓ แห่ง และสถาบันปอเนาะ ท่ีสอนเฉพาะ วิชาศาสนาอีก ๒ แห่ง ๑๒๑

๖๐ พรรษา รัตนราชสดุ า วิทยาปรทิ รรศน์ การศึกษาศาสนาอิสลามในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ พื้นท่ใี นจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยเฉพาะจังหวัดยะลา ปัตตานี นราธิวาส และอำ�เภอจะนะ เทพา สะบ้าย้อย นาทวี ในจังหวัดสงขลาเป็นสังคมมุสลิมจารีต อนุรักษ์นิยม มีความเคร่งครัดในการปฏิบัติตนตามหลักศาสนาอิสลามซ่งึ มีอัลกุรอาน เปน็ ธรรมนญู ในการดำ�เนินชีวติ สถาบนั การศึกษาทสี่ อนศาสนาอสิ ลามมี ๓ รูปแบบ ได้แก่ ๑) ศูนยก์ ารศึกษาอิสลามประจำ�มสั ยิด (ตาดีกา) ซ่งึ เปดิ สอนอิสลามศกึ ษาในวนั เสาร์ และวนั อาทติ ย์ บางแหง่ อาจเปิดสอนในชว่ งเชา้ หรอื ชว่ งเย็นหลงั เลกิ เรยี น ๒) สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ เปน็ สถาบนั ส�ำ หรบั เปดิ สอนนกั เรยี นทมี่ งุ่ เรยี นตอ่ ดา้ นศาสนา โดยเฉพาะ โดยบางแห่งจะร่วมมือกับหน่วยงานด้านการศึกษา ในการเปิดสอน การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั (กศน.) เพอ่ื ให้นักเรยี นสามารถ สอบเทียบวฒุ มิ ธั ยมศึกษาตอนตน้ ได้ หรือได้เรยี นสายอาชีพควบคูก่ ันไป ๓) โรงเรยี นเอกชนสอนศาสนาอสิ ลาม สอนทง้ั หลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานควบคกู่ ับ หลักสูตรอสิ ลามศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ในเบื้องต้น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ได้พระราชทานเคร่ืองคอมพิวเตอร์ให้โรงเรียนเหล่าน้ี เพ่ือใช้ในการบริหาร และการเรียนการสอน อีกท้ังรับสั่งให้มุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพผู้บริหาร และครูให้สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อให้เกิดประโยชน์ในการบริหารงานและ การเรยี นการสอนอยา่ งเตม็ ท่ี และใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพของโรงเรยี น โครงการ จงึ จดั อบรมผบู้ รหิ ารและครเู กย่ี วกบั การใชค้ อมพวิ เตอรข์ น้ั พน้ื ฐาน การประยกุ ต์ ใช้ไอทีเพื่อเป็นสื่อในการสอน ทั้งในสาระวิชาสามัญและวิชาอิสลามศึกษา นาย ฮามะ พูลา โต๊ะครูสถาบันศึกษาปอเนาะอิสลามศาสน์ ดารสุ สลาม “โตะ๊ ครู” หมายความวา่ ผสู้ อนท่ีมคี วามรู้ ด้านศาสนาอิสลามเป็นอยา่ งดี เปน็ ท่ีเคารพ นบั ถือของชุมชนและเปน็ เจ้าของปอเนาะ ท่มี า : ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยสถาบันศกึ ษาปอเนาะ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ ๑๒๒

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วิทยาปริทรรศน์ ครสู อนศาสนาและครูสาระวชิ า ระหว่างการอบรมการประยุกต์ใช้สอื่ ไอทีในการเรยี นการสอน รวมทั้งการใช้อีดีแอลทีวี เป็นต้น อีกทั้งให้วิทยาลัยในสังกัดสำ�นักงาน คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ในพนื้ ทใี่ กลเ้ คยี ง ชว่ ยจดั อบรมการซอ่ มบ�ำ รงุ คอมพวิ เตอร์ และเปน็ พเ่ี ลย้ี งใหค้ �ำ ปรกึ ษาผา่ นกจิ กรรมชมุ นมุ คอมพิวเตอร์ ทำ�ให้ครูและนักเรียน สามารถพึ่งพาตนเองไดใ้ นระยะยาว อาวิส มะลี นักเรียนและ นักเรียนโรงเรียนสง่ เสริมอิสลาม ประธานชุมนุมคอมพิวเตอร์โรงเรียน จงั หวดั สงขลา นริ นั ดรวทิ ยา จงั หวดั นราธวิ าส เลา่ วา่ “ได้เรียนรู้เรื่องการเข้าสายแลน รวมทง้ั ชน้ิ สว่ นตา่ งๆ และการประกอบ คอมพิวเตอร์ และยังได้นำ�ความรู้ ไปใชด้ แู ลคอมพวิ เตอรท์ บ่ี า้ น ชว่ ยลด ภาระคา่ ซ่อมแซมได้อกี ดว้ ย” ๑๒๓

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วทิ ยาปริทรรศน์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงติดตาม การด�ำ เนนิ งานของโรงเรยี นในโครงการอยา่ งใกลช้ ดิ และทรงแนะน�ำ ใหม้ กี ารน�ำ ไอทีมาใช้ในการสอนอิสลามศึกษา ตลอดระยะเวลาสิบกว่าปีท่ีผ่านมา เห็น ไดช้ ัดวา่ คุณภาพชีวิตของผู้บรหิ าร ครู และนกั เรียนของโรงเรยี นในโครงการ ดขี ึน้ อย่างมาก ได้มกี ารน�ำ ไอทีมาใช้ในโรงเรียน เพ่ือการเรียนการสอนอยา่ ง กวา้ งขวางและเปน็ ประโยชน์แกน่ ักเรียน อาจารยม์ ารยี านา ตาปอ ครูสอนศาสนา หรอื อสุ ตาซะห์ โรงเรยี น จรรยาอิสลาม จังหวัดนราธิวาส ซ่ึงเป็นครูสอนวิชาตารีค (ประวัติศาสตร์ อสิ ลาม) กลา่ ววา่ “เดมิ ทคี ดิ วา่ ไมจ่ �ำ เปน็ ตอ้ งน�ำ ไอทมี าใชใ้ นการเรยี นการสอน อิสลาม สอนตามตำ�ราหนังสือเรียนก็ดีอยู่แล้วแต่เม่ือได้อบรมกับโครงการ ก็เปล่ียนความคิดใหม่และเห็นว่าไอทีเป็นสิ่งสำ�คัญและจำ�เป็นสำ�หรับคน ทกุ คน โดยเว็บและโซเชยี ลมีเดยี อยา่ งเฟสบคุ๊ (facebook) น้ัน หากใชอ้ ย่าง ถกู ตอ้ งกจ็ ะมปี ระโยชนม์ ากมาย ไมว่ า่ เรอื่ งศาสนา วชิ าการ และวทิ ยาศาสตร์ อกี ทง้ั ยงั สามารถตดิ ตอ่ กบั เพอ่ื นๆ ไดโ้ ดยไมเ่ สยี คา่ ใชจ้ า่ ย ทส่ี �ำ คญั คอื ไอทสี ามารถ บรู ณาการกบั การสอนไดอ้ ยา่ งมีประโยชน์” เด็กนักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษา ของโรงเรยี นพีระยานาวินคลองหนิ วทิ ยา จังหวัดปตั ตานี ภาพถา่ ยจากการตรวจเยยี่ มโรงเรยี นของฝ่ายเลขานกุ ารโครงการฯ เม่ือวนั ท่ี ๒๑ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ๑๒๔

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วิทยาปริทรรศน์ การประชุมเพื่อวางแผนจดั กิจกรรมชมุ นมุ คอมพวิ เตอร์ร่วมกัน ระหว่างโรงเรียนกบั วทิ ยาลัยพี่เลี้ยง ดร.มูฮัมมาดอัสมี อาบูบากา ผู้อำ�นวยการโรงเรียนพีระยานาวิน คลองหินวิทยา จังหวัดปัตตานี และประธานเครือข่ายโรงเรียนเอกชนสอน ศาสนาอิสลามในโครงการตามพระราชดำ�ริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี กลา่ วดว้ ยความซาบซ้ึงใจว่า “ทุกคร้ังที่ได้มีโอกาสเข้าเฝ้าสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ก็จะได้เห็นพระพักตร์ท่ีเป่ียมไปด้วยรอยย้ิมแห่ง ความเมตตาโดยทรงซักถามถึงทุกขส์ ุขและปัญหาตา่ งๆ ที่เกิดข้ึนกบั นักเรียน และพระองคจ์ ะมีพระราชวินิฉัยและพระราชทานแนวทางในการดำ�เนนิ งาน ตา่ งๆ ท�ำ ให้ทุกครงั้ ที่รสู้ ึกทอ้ แท้ข้ึนมาบา้ งน้นั เมอ่ื นกึ ถึงภาพทีพ่ ระองค์ทา่ น ทรงงานแล้ว ก็จะทำ�ให้มพี ลงั ในการท�ำ งานสรา้ งสรรค์ต่อไป” ๑๒๕

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วทิ ยาปริทรรศน์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงรบั ฟงั รายงานเร่อื งระบบรดนำ�้ ต้นไม้อตั โนมตั จิ าก สามเณรนวพล ค�ำ แสน เม่อื วันท่ี ๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

๖๐ พรรษา รัตนราชสดุ า วิทยาปริทรรศน์ เรียนวิทย์แนวใหมใ่ นยคุ ไอซที ี “การศึกษาเป็นปัจจัยที่สำ�คัญท่ีจะคำ้�จุนให้ประเทศพัฒนาอย่างยั่งยืนได้ ต้องมีการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับ ตั้งแต่อนุบาล จนถงึ อดุ มศึกษา จะตอ้ งฝกึ นักเรียนให้มที กั ษะ ทั้งในทางปฏิบัติ และมพี ลัง ความคิดใหม้ ีระบบแบบวิทยาศาสตร์ และตอ้ งมจี ินตนาการ ซ่งึ จะนำ�ให้เกดิ ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม เพื่อให้การศึกษาประสบความสำ�เร็จ ตามเป้าหมาย จะต้องอาศัยวัตถุเครื่องใช้ต่างๆ ในทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เช่น เคร่ืองมือวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ หนังสือ วารสารวิชาการ ส่ิงพิมพ์อื่นๆ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง” สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงปาฐกถาเรอื่ ง วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีกับการพัฒนา งานสมั มนา Globalization: Challenges and Opportunities for Science and Technology ณ เมอื งโยโกฮามา ประเทศญี่ปนุ่ วันที่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ ๑๒๗

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วิทยาปรทิ รรศน์ เสรมิ การเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรด์ ว้ ยการบูรณาการไอซีที ​กิจกรรมรปู แบบหนง่ึ ทโ่ี ครงการเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การศกึ ษา ตามพระราชดำ�ริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ให้ ความส�ำ คญั คอื การบรู ณาการไอซที ใี นการเรยี นการสอนทกุ สาระวชิ า โดยเฉพาะ วิชาวิทยาศาสตร์ การใช้ไอซีทีเป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้จะช่วยให้ผู้เรียน รู้สึกสนุกในการต้ังคำ�ถาม และค้นหาคำ�ตอบด้วยการทำ�โครงงาน ความรู้ ไมจ่ �ำ เป็นตอ้ งเกดิ ในห้องเรยี นเสมอไป ห้องเรียนออนไลน์ : โครงการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ อยา่ งบูรณาการผา่ นพนั ธุ์พชื ห้องเรียนออนไลน์แห่งนี้จัดสร้างโดยครูโศจิกานต์ สตาภรณ์ (ครูมุก) ซ่ึงเป็น หน่งึ ในครแู กนนำ�ของโครงการ ในเวบ็ ไซต์นมี้ ีเนอ้ื หาหลายรูปแบบ ได้แก่ ภาพ วดิ โี อ และบทความ ท้ังยังมีพ้ืนท่ีสำ�หรับกิจกรรมต่างๆ ที่ผู้เรียนสามารถเข้ามามีส่วนร่วม เชน่ การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ การสอบถามขอ้ สงสยั การท�ำ โครงงานวทิ ยาศาสตรด์ า้ นพชื ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานต่างๆ เช่น ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี ชวี ภาพแหง่ ชาติ ส�ำ นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ มลู นธิ ิ South East Asian Nepenthes Study & Research Foundation เปน็ ต้น ผู้สนใจสามารถศึกษาการทำ�โครงงานวิทยาศาสตร์ด้านพืชของนักเรียนได้ที่ http://botanyschool.ning.com ๑๒๘

๖๐ พรรษา รัตนราชสดุ า วิทยาปรทิ รรศน์ “โรงเรยี นบรรยากาศสวสิ แตเ่ ศรษฐกิจเอธโิ อเปีย” เปน็ ค�ำ พดู สนกุ ๆ ของคุณครูท่านหนึ่งที่โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ อำ�เภอแม่แจ่ม จงั หวดั เชยี งใหม่ แมโ้ รงเรยี นนจ้ี ะอยหู่ า่ งไกลความเจรญิ อกี ทง้ั นกั เรยี นสว่ นใหญ่ กเ็ ปน็ ลกู หลานชาวเขา แตเ่ นอ่ื งจากอยใู่ กลก้ บั อทุ ยานแหง่ ชาตดิ อยอนิ ทนนท์ จึงถอื ได้วา่ มีตน้ ทุนด้านส่งิ แวดล้อมอันทรงคุณค่าใหน้ ักเรียนได้เรียนรู้ การจัดทำ�สารคดีวิทยาศาสตร์ส่ิงแวดล้อมในท้องถิ่นเป็นกิจกรรม หนึ่งในโครงการบูรณาการไอซีทีเพื่อการศึกษาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ในท้องถิ่น ผลงานสารคดีของนักเรียนสะท้อนให้เห็นถึงกระบวนการพัฒนา ทักษะท่ีสำ�คัญ ได้แก่ ทักษะในการสร้างและตรวจสอบความรู้ด้วยตนเอง และทกั ษะในการนำ�ความรดู้ งั กลา่ วน้ันมาน�ำ เสนอใหน้ า่ สนใจ ครูสมศรี รินใจ ครูผู้หน่ึงในกลุ่มครูแกนนำ�ของโครงการ กล่าวว่า “ตอนน้ีห้องเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนเปล่ียนไป นักเรียนได้ใช้อุทยาน แหง่ ชาตดิ อยอนิ ทนนทเ์ ปน็ หอ้ งเรยี นภาคสนามในการท�ำ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ และใช้ห้องเรียนวิทยาศาสตร์และคอมพิวเตอร์เป็นสตูดิโอสร้างสรรค์ผลงาน สารคดวี ทิ ยาศาสตร”์ การใชไ้ อซที เี พอ่ื สนบั สนนุ การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรม์ รี ปู แบบหลากหลาย ขนึ้ กับลกั ษณะกจิ กรรมและการจดั การ ตัวอย่างเช่น โรงเรยี นพระต�ำ หนกั สวนกหุ ลาบ ไดบ้ รู ณาการการเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ร่วมกับการใช้คอมพิวเตอร์ เช่น จัดให้นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๕ ทำ� โครงงานวทิ ยาศาสตรใ์ นชว่ั โมงคอมพวิ เตอร์ สรา้ งบรรยากาศแหง่ การเรยี นรู้ ทเ่ี ตม็ ไปดว้ ยเสยี งหวั เราะ เสยี งปรบมอื เสยี งซกั ถาม อยา่ งเชน่ “ครคู ะ ถา้ หนู อยากใสต่ ัวอักษรลงบนภาพตน้ ไมน้ ีต้ ้องท�ำ ยังไงคะ?” หรอื “ครูครับ ถา้ พวก เราอยากจะอัดเสียงลงในคอมพวิ เตอร์ต้องท�ำ ยังไงครบั ?” เปน็ ตน้ ๑๒๙

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วิทยาปรทิ รรศน์ โรงเรียนปิยชาติพัฒนาในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดนครนายก ได้สร้างห้องเรียน ออนไลนเ์ พอ่ื สนบั สนนุ โครงการแลกเปลย่ี นเรยี นรอู้ ยา่ งบรู ณาการผา่ นพนั ธพ์ุ ชื (ดูข้อมูลในกรอบหน้า ๑๒๘) นายพีรวัธน์ จันทนกูล ศิษย์เก่าของโรงเรียน แห่งน้ีกล่าวว่า “ความสงสัยของผมเกิดได้ตลอดเวลา ห้องเรียนออนไลน์ ทำ�ให้ผมได้รับค�ำ ตอบรวดเร็วกวา่ เดมิ และท่ีสำ�คญั คอื คนทม่ี าตอบไมใ่ ช่ครู เพียงคนเดียว แต่มีผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศเข้ามาตอบด้วย” นี่เป็น เหตผุ ลหลกั ขอ้ หนง่ึ ทท่ี �ำ ใหเ้ ขาเรยี นรพู้ ฤกษศาสตรไ์ ดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และตอ่ มาเขา้ ศกึ ษาตอ่ ทภ่ี าควชิ าพฤกษศาสตร์ คณะวทิ ยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั โครงงานส่งิ ประดษิ ฐ์ สรา้ งนักคดิ รุ่นใหม่ การสร้างงานอิเล็กทรอนิกส์ นกั เรียนกบั ผลงานอิเลก็ ทรอนิกส์ และการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นกิจกรรมท่ีช่วยพัฒนาทักษะใน การคดิ การวางแผน และการแกป้ ญั หา นับเป็นทักษะท่ีสำ�คัญและจำ�เป็นใน ศตวรรษที่ ๒๑ ท้ังยังเป็นกิจกรรมท่ี เยาวชนจ�ำ นวนหนง่ึ สนใจ หากเยาวชน ไดเ้ รยี นรกู้ ระบวนการสรา้ งผลงานทเ่ี ปน็ รปู ธรรม โดยมีครูคอยเก้ือหนุนและมี ผู้ เ ชี่ ย ว ช า ญ เ ฉ พ า ะ ท า ง พ ร้ อ ม ใ ห้ คำ�ปรึกษา ก็ย่อมจะช่วยให้เยาวชน เหล่าน้นั ได้พัฒนาทักษะพ้นื ฐานต่างๆ ท่ีสำ�คัญ ตั้งแต่การระบุโจทย์ปัญหา การวางแผน การแกไ้ ขปญั หา ตลอดจน การสอ่ื สารกบั ผอู้ น่ื อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ๑๓๐

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วิทยาปริทรรศน์ สามเณรยุคใหม.่ ...ใสใ่ จเทคโนโลยี โรงเรียนเชียงกลางปริยัติศึกษา อำ�เภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน มโี ครงการเกษตรเพ่อื อาหารกลางวนั สามเณรนักเรียนช่วยกันเพาะเหด็ เพอื่ น�ำ มาท�ำ อาหาร แตผ่ ลผลติ ทไ่ี ดน้ อ้ ยกวา่ ทค่ี าดคะเนไว้ เมอ่ื สบื หาสาเหตแุ ลว้ พบว่าปัญหานี้เกิดจากการให้น้ำ�ไม่เหมาะสม เกิดคำ�ถามว่าอุณหภูมิและ ความชื้นควรเป็นเท่าใดจึงจะทำ�ให้ได้ผลผลิตมากข้ึน เป็นที่มาของโครงงาน เพาะเหด็ ด้วยระบบน้ำ�อตั โนมตั ิ สามเณรพีรพัฒน์ หาญยุทธ และสามเณรปณชัย ฝีปากเพราะ เลา่ วา่ ขณะท�ำ โครงงานพบปญั หามากมาย จนรสู้ กึ ทอ้ แทใ้ นบางครง้ั แตเ่ มอ่ื ได้ “ฝึกกระบวนการคิดแบบวทิ ยาศาสตร์ ตง้ั แต่การสังเกตและวิเคราะหส์ ภาพ ปัญหา คน้ ควา้ วธิ กี ารและคดิ แผนงาน เพอ่ื น�ำ ไอซที มี าใชแ้ กไ้ ขปญั หาดงั กลา่ ว ก็ได้เรียนรู้หน้าที่และขั้นตอนการทำ�งานของอุปกรณ์ต่างๆ อย่างเป็นเหตุ เป็นผล” ทำ�ให้สามารถก้าวข้ามอุปสรรคต่างๆ ได้ และเกิดการเรียนรู้จาก การปฏิบัตจิ รงิ สามเณรปณชยั ฝีปากเพราะ สามเณรพีรพฒั น์ หาญยทุ ธ และ อาจารยศ์ วิ พร จิรณเสน จากโรงเรยี นเชยี งกลางปริยัติศึกษา จงั หวัดนา่ น ไดร้ บั คดั เลือกให้รว่ มนำ�เสนอ โครงงานโรงเพาะเห็ดดว้ ยระบบรดน้�ำ อัตโนมัติ ในงานมหกรรม “การปฏริ ปู การเรียนรู้ด้วยระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการเรียนรู้” Thai Education 2014: Smart Education เมื่อวนั ที่ ๑๑-๑๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ๑๓๑

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วิทยาปรทิ รรศน์ โรงเพาะเห็ดด้วยระบบน�ำ้ อตั โนมตั ิทำ�งานอย่างไร? โรงเพาะเห็ดประกอบด้วยเครื่องควบคุมระบบรดน้ำ�อัตโนมัติ ซึ่งจะสั่งให้ ปั๊มน้ำ�ทำ�งานเพื่อจ่าย (หรือหยุดจ่าย) น้ำ�ไปยังสปริงเกอร์ตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ใน โปรแกรม เช่น หากอุณหภูมิต่ำ�กว่า ๓๐ องศาเซลเซียส และความช้ืนภายในก้อน เชื้อเหด็ ตำ่� ก็ให้รดน�ำ้ เปน็ ต้น ผลส�ำ เรจ็ ของโครงงานเพาะเหด็ ดว้ ยระบบน�ำ้ อตั โนมตั นิ ว้ี ดั ไดอ้ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม คอื ผลผลติ เหด็ นางฟา้ จากกอ้ นเชอ้ื เหด็ จ�ำ นวน ๑๐๐ กอ้ น เพม่ิ จาก ๒๗.๗ กโิ ลกรมั (ใน พ.ศ. ๒๕๕๕) เปน็ ๓๓ กโิ ลกรมั (ใน พ.ศ. ๒๕๕๖) ทง้ั ยงั ชว่ ยประหยดั เวลาในการดแู ลรดน�ำ้ และไดผ้ ลผลติ ปรมิ าณเพยี งพอในการน�ำ ไปประกอบอาหาร ท่ีกลา่ วมาเปน็ เพยี งตวั อยา่ งหนง่ึ ในโครงงานจ�ำ นวนมากทเ่ี ปดิ โอกาส ให้เยาวชนได้ฝึกคิด ฝึกสร้าง ฝึกแก้ปัญหา เพื่อนำ�สิ่งประดิษฐ์ท่ีได้ไปใช้ ประโยชนจ์ รงิ โครงงานไอซีทอี ่ืนๆ ทเ่ี ยาวชนคดิ เองทำ�เอง เช่น อา่ งลา้ งมือ อจั ฉรยิ ะ ซง่ึ ชว่ ยแกป้ ญั หาลมื ปดิ กอ๊ กน�ำ้ หลงั ใชง้ าน และเครอ่ื งปดิ -เปดิ ไฟอตั โนมตั ิ ตามตารางเรยี น เพอ่ื ลดการใชพ้ ลงั งาน เป็นต้น ๑๓๒

๖๐ พรรษา รัตนราชสดุ า วิทยาปริทรรศน์ ผลส�ำ เรจ็ จากโครงงาน : สะพานสู่การศึกษาขั้นสงู ผลสำ�เร็จจากการทำ�โครงงานของเยาวชนหลายคนยังมีส่วนทำ�ให้ พวกเขาได้ศกึ ษาตอ่ ในมหาวิทยาลัยช้ันน�ำ อกี ด้วย ตัวอย่างเช่น นายวฒุ นิ นั ท์ หลงเจริญ นกั เรยี นโรงเรียนนครนายกวิทยาคม เป็นผู้ ท่ีมคี วามบกพรอ่ งทางรา่ งกาย และไมเ่ คยเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอรม์ ากอ่ น แต่เม่ือได้มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมก็ใฝ่เรียนรู้และศึกษาเพิ่มเติมด้วยตนเอง จนสามารถสอบเขา้ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตรไ์ ด้ และเรยี นในสาขาวศิ วกรรม คอมพวิ เตอร์ นางสาวอาทยิ า เผา่ พงษ์ นกั เรยี นจากโรงเรยี นองครกั ษ์ ท�ำ โครงงาน สิ่งประดิษฐ์ที่โรงเรียน และได้รับคัดเลือกให้เข้าโครงการ 2B-KMUTT ของ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี ตอ่ มาไดร้ บั สทิ ธใ์ิ นโควตาพเิ ศษ ให้เข้าศึกษาต่อในภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ที่ มหาวิทยาลัยแห่งนี้ นอกจากนี้ เธอยังเป็นนักเรียนในโครงการพัฒนา อัจฉรยิ ภาพทางวทิ ยาศาสตรส์ �ำ หรบั เดก็ และเยาวชน (JSTP: Junior Science Talent Project) ของ สวทช. โดยได้รับทุนการศึกษาระยะยาว สามารถ เรียนจนถงึ ระดับปรญิ ญาเอกอกี ด้วย การทำ�โครงงานสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ นอกจากจะเป็นการสร้างสิ่งที่มี ประโยชน์ต่อผู้อื่นแล้ว ยังช่วยฝึกทักษะรอบด้านให้แก่เยาวชน และเป็น บนั ไดกา้ วส�ำ คญั ท่นี �ำ ไปสสู่ ่งิ ดีๆ อีกมากมายในชวี ิต ท้ังหมดนี้คือตัวอย่างการนำ�พลังของไอซีทีไปเสริมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ภายใต้โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำ�ริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ซ่ึงไม่เพียงแต่พัฒนา เดก็ และครใู หม้ ที กั ษะในการใชไ้ อซที เี ปน็ เครอ่ื งมอื ส�ำ คญั ในการเรยี นการสอน เท่านั้น แต่ยังช่วยบ่มเพาะนิสัยใฝ่รู้และฝึกทักษะในการคิด วิเคราะห์ และ การค้นควา้ หาความรู้ดว้ ยตนเองต้ังแต่ยังเยาว์วยั อกี ด้วย ๑๓๓

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วิทยาปรทิ รรศน์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงรบั ฟงั รายงานผลงานการบูรณาการ การใชไ้ อซที ใี นเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตร ์ ในงานการประชมุ วชิ าการ ส�ำ นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (NAC2012) จากครแู ละนกั เรยี นโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จงั หวดั เชยี งใหม่ และราชประชานเุ คราะห์ ๒๖ จงั หวดั ล�ำ พนู เมื่อวันที่ ๒๔ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๕

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วิทยาปริทรรศน์ เรยี นรู้ด้วยโครงการ ผสานพลังไอซที ี “กล่าวกันว่า ขณะน้ีและต่อไปข้างหน้า สถานท่ีต่างๆ ในโลกจะเข้าใกล้กัน มากขึ้น ท่ีกล่าวเช่นน้ีไม่ใช่สาเหตุเพราะเปลือกโลกหดเข้ามาใกล้กัน แต่ว่า เกดิ จากความรวดเรว็ ความสะดวกในการเดนิ ทาง และการสอ่ื สารโทรคมนาคม ในปัจจุบัน ทำ�ให้คนไปมาหาสู่กันได้อย่างใกล้ชิด แม้จะอยู่กันคนละมุมโลก ก็ยังมีความคิดที่คล้ายคลึงกัน ดังน้ันถ้าหากไม่พัฒนาความรู้ความสามารถ ของเราเองแล้ว เราก็คงไม่สามารถอยู่ได้อย่างเป็นสุขในสังคมอนาคตที่มี การเปลย่ี นแปลงฉับไวในหลายๆ ดา้ น” สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงบรรยายหัวขอ้ แนวโนม้ การจัดการเรียนการสอนเพือ่ การเรียนร้ใู นทศวรรษหนา้ งานสัมมนา “เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการเรยี นร้ใู นทศวรรษหน้า” วนั ท่ี ๒๓ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๔๒ จากพระราชด�ำ รขิ องสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี น�ำ มาส่กู ารจัดท�ำ โครงการเพ่อื เตรียมเยาวชนไทยให้พรอ้ มเข้าส่ยู คุ ศตวรรษท่ี ๒๑ ซ่ึงมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในหลายด้าน เยาวชนควรมีความรู้ ความสามารถหลากหลาย รู้เท่าทันเหตุการณ์ต่างๆ ท่ีเกิดข้ึน ตลอดจน มีทักษะที่สำ�คัญ อันได้แก่ ทักษะการคิด การสื่อสาร การแก้ปัญหา ความสามารถด้านไอซีที และทักษะชีวิตทีจ่ ำ�เปน็ ๑๓๕

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วิทยาปรทิ รรศน์ การจดั อบรมขยายผล และเผยแพรใ่ หแ้ กน่ กั ศกึ ษาสาขาครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพบิ ูลสงคราม จงั หวดั พษิ ณุโลก เพือ่ เตรียมความพร้อมครยู คุ ใหม่ สามารถน�ำ ไปประยุกต์ใช้ ในโรงเรียนได้ เมอ่ื วนั ที่ ๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘ โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำ�ริสมเด็จพระเทพรัตน ราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี จงึ ด�ำ เนนิ กจิ กรรมเพอ่ื สง่ เสรมิ ใหค้ รสู ามารถ ประยกุ ตใ์ ชไ้ อซที ใี นการจดั การเรยี นรดู้ ว้ ยโครงการตามแนวคอนสตรกั ชนั นซิ มึ (Constructionism) เพราะการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีนี้มุ่งเน้นให้ผู้เรียน ไดเ้ รียนรู้ผ่านการท�ำ ชิ้นงานทมี่ ีความหมายตอ่ ตนเอง เร่มิ จากการคิดชิ้นงาน หรือผลผลิตไว้ในใจ เมื่อลงมือปฏิบัติก็จะเกิดปัญหาให้แก้ไข ขณะเดียวกัน กใ็ ช้ไอซีทีเป็นเครื่องมือในการสร้างชิ้นงานที่หลากหลาย กระบวนการนี้ จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความรู้และพัฒนาทักษะต่างๆ ไปพร้อมกัน นักเรียน โรงเรียนสมเด็จพระปิยมหาราชรมณียเขต จังหวัดกาญจนบุรี เล่าว่า ๑๓๖

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วทิ ยาปรทิ รรศน์ “จากทไ่ี ดส้ รา้ งชน้ิ งานในวชิ าเคมี ท�ำ ใหเ้ ขา้ ใจเนอื้ หาทเ่ี รยี นมากขนึ้ เพราะวา่ ไม่ได้เรียนทฤษฎีเพียงอย่างเดียว แต่ต้องเข้าใจในเน้ือหาก่อนแล้วหาจุดเด่น ในการจดจำ� เพื่อนำ�เสนอในรูปของชิ้นงาน เมื่อพยายามแล้วก็จะเข้าใจใน สง่ิ ที่เรียนมากขน้ึ และยังไดร้ ้จู ักการท�ำ งานกลุ่มร่วมกบั เพื่อนอกี ดว้ ย” ครูอังคณา ภวชโลทร ครูสอนวิชาสุขศึกษา โรงเรียนสมเด็จ พระปยิ มหาราชรมณยี เขต เลา่ วา่ “เมอ่ื ไดป้ รบั วธิ กี ารจดั การเรยี นรแู้ ลว้ ท�ำ ให้ เข้าใจว่า ครูไม่จำ�เป็นต้องเก่งคอมพิวเตอร์มากก็ทำ�ได้และไม่ต้องห่วงว่าจะ สอนไม่ทัน จากประสบการณ์พบว่ายิ่งถ้าเนื้อหามีมาก แล้วจัดกิจกรรม ให้นักเรียนได้ลงมือสร้างงานก็ยิ่งดี เพราะจะให้แต่ละกลุ่มมุ่งศึกษาเพื่อให้ เช่ียวชาญในเรื่องใดเร่ืองหน่ึง จากน้ันก็ใช้กระบวนการแลกเปล่ียนผ่านการ น�ำ เสนอรว่ มกนั ครมู บี ทบาทส�ำ คญั ในการใหค้ วามรเู้ บอ้ื งตน้ อ�ำ นวยความสะดวก และแก้ไขสงิ่ ทน่ี ักเรยี นเข้าใจคลาดเคลือ่ นให้ถกู ต้อง” การดำ�เนินกิจกรรมระยะแรกใน พ.ศ. ๒๕๔๗ ได้ปรับการอบรม จากเดิมที่สอนให้ครูสร้างส่ือไปเป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบโครงการ ควบคกู่ บั การแนะน�ำ เครอ่ื งมอื ไอซที ี เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นใชส้ รา้ งชน้ิ งาน การตดิ ตาม ผลทำ�โดยการประกวดการจัดการเรียนรู้ และพิจารณาการจัดกิจกรรม ของครูและคุณภาพชิน้ งานของนกั เรียน อยา่ งไรก็ดี พบว่าครูสว่ นใหญ่ยงั ใช้ กระบวนการนเ้ี ปน็ กจิ กรรมพเิ ศษนอกเวลาเรียน ในระยะต่อมา จาก พ.ศ. ๒๕๕๑ จนถึงปัจจุบัน ได้เน้นให้ครู จดั การเรยี นรดู้ ว้ ยโครงการในวชิ าทเ่ี รยี น ไมใ่ ชจ่ ดั เปน็ กจิ กรรมพเิ ศษ นกั เรยี น จะไดล้ งมอื ปฏิบัตใิ นหอ้ งเรียนเปน็ หลัก และเนื่องจากในช่วงเวลานมี้ ีเคร่ืองมอื เว็บ ๒.๐ และเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่แพร่หลาย จึงช่วยให้จัดกิจกรรม การเรียนรู้ได้อย่างหลากหลายย่ิงขึ้น ส่วนครูผู้สอน เม่ือปรับเปล่ียนวิธีสอน แลว้ ยังวัดผลสัมฤทธิท์ ่ีเกิดข้ึนโดยการท�ำ วิจยั ในช้นั เรยี นควบคู่กนั ไปด้วย ๑๓๗

๖๐ พรรษา รัตนราชสดุ า วทิ ยาปรทิ รรศน์ ผลงานผ้าไหมของนกั เรียนโรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์ธวัชบุรี จงั หวดั รอ้ ยเอ็ด เกดิ จากการจัดการเรียนรูโ้ ดยบูรณาการวชิ าคอมพวิ เตอรก์ ับการงานอาชพี ต่อมา สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ไดส้ นบั สนนุ ทนุ ท�ำ วจิ ยั เรอ่ื ง การพฒั นาคณุ ลกั ษณะผเู้ รยี นยคุ ใหมเ่ พอ่ื รองรบั การปฏิรูปการศกึ ษาในทศวรรษทสี่ อง ด้วยการบรู ณาการไอซที ใี นการจดั การ เรียนรู้ด้วยโครงการ ผลการศึกษาช้ีให้เห็นว่าการบูรณาการไอซีทีในการจัด การเรยี นรดู้ ว้ ยโครงการ ชว่ ยพฒั นาผเู้ รยี นทง้ั ดา้ นความรใู้ นเนอ้ื หาสาระ และ ด้านสมรรถนะสำ�คัญท้ัง ๕ ด้าน ซ่ึงเป็นทักษะท่ีจำ�เป็นในศตวรรษท่ี ๒๑ ได้แก่ ความสามารถในการสอ่ื สาร การคิด การแก้ปญั หา การใชเ้ ทคโนโลยี และทกั ษะชวี ิต ๑๓๘

๖๐ พรรษา รัตนราชสดุ า วิทยาปรทิ รรศน์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี มพี ระราชด�ำ รวิ า่ “ใหเ้ ผยแพรส่ ว่ นทส่ี �ำ เรจ็ ดว้ ยดแี กห่ นว่ ยงานของรฐั ทร่ี บั ผดิ ชอบ หรอื เกย่ี วขอ้ ง โดยตรงในเรื่องนั้นๆ เพื่อให้รับช่วงต่อในเรื่องของการขยายผลในวงกว้าง ต่อไป” จึงมีการขยายผลไปยังเครือข่ายมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยเผยแพร่ แนวทางการดำ�เนินงานให้แก่นักศึกษาครู เพื่อให้สามารถนำ�ไอซีทีไปใช้ใน การจดั การเรยี นการสอนดว้ ยโครงการได้ในอนาคต ๑๓๙

๖๐ พรรษา รตั นราชสดุ า วทิ ยาปริทรรศน์ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ ไปยงั บา้ น นายโม เมีย่ น (U Moe Myint) เมอื งยา่ งกุ้ง สหภาพพมา่ เม่ือวันที่ ๑๗ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๓

๖๐ พรรษา รัตนราชสดุ า วทิ ยาปรทิ รรศน์ ขุมทรพั ย์ทางปญั ญาจากพมา่ ​สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี สนพระราชหฤทยั การศกึ ษาและแหลง่ ความรเู้ ปน็ อยา่ งยง่ิ เมอ่ื เสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ เยอื นประเทศตา่ งๆ กโ็ ปรดทจ่ี ะทอดพระเนตรหอ้ งสมดุ หรอื รา้ นหนงั สอื ในประเทศนนั้ ๆ เมอื่ ครง้ั เสด็จเยือนสหภาพพม่า ก็ได้เสด็จทอดพระเนตรร้านหนังสือเก่าแห่งหนึ่ง ในกรุงยา่ งกุ้ง ต่อมา นายโม เมย่ี น (U Moe Myint) คหบดีชาวพม่าไดซ้ ้ือ หนงั สอื เกา่ ทงั้ หมดไวเ้ ปน็ สมบตั สิ ว่ นตวั และไดข้ อพระราชทานทลู เกลา้ ฯ ถวาย สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯสยามบรมราชกมุ ารีผา่ นสถานเอกอคั รราชทตู ไทย ณ กรุงย่างกงุ้ ​ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงพระราชด�ำ ริ ว่าหนังสือเหล่านี้มีคุณค่า จึงมีพระราชกระแสรับสั่งกับ ศาสตราจารย์ ดร.ไพรชั ธชั ยพงษ์ และ พลเอก วาภิรมย์ มนสั รงั ษี รองสมุหราชองครักษ์ เม่ือคร้ังที่เข้าเฝ้าและรับเสด็จ ณ โรงเรียนปิยชาติพัฒนา ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดนครนายก เมอ่ื วนั ที่ ๑ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ วา่ “มคี วามเปน็ ไปไดห้ รอื ไมท่ จ่ี ะถา่ ยส�ำ เนา อเิ ล็กทรอนิกส์หนงั สือหายากในสหภาพพมา่ ” หนงั สือหายากดงั กล่าวมีจ�ำ นวน ๒๒๔ รายการ เป็นหนงั สอื ทเ่ี ขียน โดยชาวพม่า หรือเก่ียวกับพม่า จำ�นวน ๒๐๕ ช่ือเรื่อง หนังสือเก่าที่สุด ตีพิมพ์ใน ค.ศ. ๑๖๕๓ ชื่อ The History of Great Britain หนังสือ ที่พิมพ์ใน ค.ศ. ๑๙๑๑ มีจำ�นวนมากที่สุด รวม ๑๓ ชื่อเรื่อง นอกจากนี้ ยงั มีหนงั สือพมิ พ์เก่า จ�ำ นวน ๒๑ เลม่ และวารสารชุด The Burma Digest จำ�นวน ๓๒ เล่ม อีกด้วย ส�ำ นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) และ กรมราชองครักษ์ จงึ จดั ท�ำ โครงการถ่ายส�ำ เนาอิเลก็ ทรอนกิ สห์ นงั สือหายาก จากประเทศสหภาพพม่าตามพระราชดำ�ริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ ๑๔๑

๖๐ พรรษา รตั นราชสดุ า วทิ ยาปริทรรศน์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงฟังค�ำ อธิบายเกย่ี วกับหนังสือหายาก เมื่อวนั ท่ี ๑๗ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๓ สยามบรมราชกมุ ารี จดั หาทมี งานและอปุ กรณไ์ ปด�ำ เนนิ การแปลงขอ้ มลู เปน็ แบบดิจิทัล (digitization) โครงการนม้ี ีหน่วยงานใหค้ วามรว่ มมอื ในลกั ษณะ เครือข่าย ได้แก่ สำ�นักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บริษัท เอทิซ อินโนเวชั่น จำ�กัด บริษัท แคนนอน มาร์เก็ตต้ิง (ไทยแลนด์) จำ�กัด บรษิ ทั การบนิ กรงุ เทพ จ�ำ กดั (มหาชน) โดยมฝี า่ ยบรกิ ารความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี และศนู ย์เทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ ส์และคอมพวิ เตอรแ์ หง่ ชาติ สวทช. เปน็ ผูป้ ระสานงาน และบรหิ ารโครงการ การดำ�เนินงานเร่ิมจากการศึกษาสภาพของหนังสือ วารสาร และ หนังสือพิมพ์ โดยมีผู้เช่ียวชาญการอนุรักษ์หนังสือเก่า ฝ่ายสงวนทรัพยากร สารสนเทศ สำ�นักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ให้ความช่วยเหลือใน การประเมนิ สถานภาพการถา่ ยส�ำ เนาอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ จากนน้ั จงึ สแกนเอกสาร ปรบั แต่ง และจดั รวมเล่มอเิ ลก็ ทรอนกิ สใ์ นรูปแบบพีดเี อฟ (PDF: Portable Document Format) พร้อมใส่เมทาเดตา (metadata) ประกอบการ สืบคน้ ทั้งน้ี ทีมบุคลากรจาก สวทช. และบริษัท เอทซิ อนิ โนเวชน่ั จำ�กดั ร่วมกันใหค้ ำ�แนะน�ำ แกบ่ ุคลากรชาวพมา่ ทปี่ ฏิบัตงิ าน ๑๔๒

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วทิ ยาปริทรรศน์ ข้อมูลดิจิทัลท่ีได้ยังใช้ทำ�หนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบแฟลช (Flash e-Book) เพื่อนำ�เสนอแบบเสมือนจริง และใช้ทำ�หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบเปิด ๓ มติ ิ (3D Flip e-Book) เพอื่ เปน็ คลังภาพดิจทิ ัลทค่ี ัดเลอื กมาจาก ภาพประกอบเอกสารท่นี า่ สนใจ ตัวอยา่ งหนังสือหายาก เมอ่ื ทรพั ยากรตา่ งๆ มคี รบทกุ รายการแลว้ จงึ จดั สรา้ งหอ้ งสมดุ ดจิ ทิ ลั (Digital Library) ส�ำ หรบั เอกสารหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ หลา่ นน้ั เพอ่ื ใหส้ บื คน้ และใชง้ านไดง้ า่ ย โ​ครงการถา่ ยส�ำ เนาอเิ ลก็ ทรอนกิ สห์ นงั สอื หายากจากประเทศสหภาพพม่าตามพระราชดำ�ริ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี นอกจากจะแสดงให้เห็นถึงพลังของความร่วมมือ จากหน่วยงานต่างๆ แล้วยังเป็นต้นแบบการนำ� เทคโนโลยกี ารแปลงดจิ ทิ ลั มาใชใ้ นการอนรุ กั ษเ์ อกสาร เกา่ อนั ทรงคณุ คา่ ถอื เปน็ แบบอยา่ งใหห้ นว่ ยงานตา่ งๆ ในประเทศไทยได้นำ�วิธีการไปใช้อย่างเป็นระบบ นอกจากนี้ ห้องสมุดดิจิทัลที่จัดสร้างขึ้นยังเป็น ประโยชนแ์ กน่ กั วชิ าการและผสู้ นใจทวั่ ไปทต่ี อ้ งการ ศกึ ษาเกยี่ วกบั พมา่ ในดา้ นตา่ งๆเชน่ วรรณกรรมพมา่ ประวตั ิศาสตร์ไทยและพม่า เป็นต้น หากสนใจขอ้ มลู ดิจทิ ลั เอกสารเก่าของพมา่ จะตดิ ตอ่ ไดท้ ีไ่ หน? ผู้สนใจสามารถติดต่อห้องสมุดโรงเรียนนายร้อย จปร. หรือสืบค้นเอกสาร ไดจ้ ากระบบฐานขอ้ มลู ซง่ึ ใหบ้ รกิ าร ณ ศนู ยส์ ารนเิ ทศมนษุ ยศาสตร์ คณะอกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั โทรศพั ท์ ๐ ๒๒๑๘ ๔๘๙๐ ๑๔๓

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วทิ ยาปรทิ รรศน์

๖๐ พรรษา รัตนราชสดุ า วทิ ยาปรทิ รรศน์ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อการพฒั นาผูด้ ้อยโอกาส

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วทิ ยาปรทิ รรศน์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสด็จพระราชด�ำ เนนิ ไปยังศนู ย์ภูฟ้าพัฒนาตามพระด�ำ ริ ต�ำ บลภฟู ้า อำ�เภอบอ่ เกลือ จังหวดั นา่ น เมอื่ วนั ท่ี ๒๕ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๕๓

๖๐ พรรษา รัตนราชสดุ า วทิ ยาปรทิ รรศน์ วิสาหกิจชมุ ชน เพือ่ ความเข้มแขง็ ของชนบทไทย กลุ่มคนท่ีอาศัยอยู่ในพ้ืนที่หนึ่งและมีปฏิสัมพันธ์กันในมิติต่างๆ ยดึ ถอื คา่ นิยมหรือความเชื่อบางอยา่ งรว่ มกันเรยี กว่าเปน็ ชุมชน ปัจจยั ส�ำ คญั ทมี่ ผี ลตอ่ คณุ ภาพชวี ติ ของคนในชมุ ชน ไดแ้ ก่ สภาพทางเศรษฐกจิ ในหลายกรณี ความรูท้ างวิทยาศาสตรท์ ี่เหมาะสม และการบริหารจดั การทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพ สามารถช่วยยกระดบั สภาพทางเศรษฐกจิ ได้ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เมอ่ื มงุ่ เน้น ทกี่ ารประกอบอาชีพของสมาชกิ ในชมุ ชน ​ในช่วง พ.ศ. ๒๕๓๘-๒๕๕๐ โรงงานหลวงอาหารสำ�เร็จรูปที่ ๓ อำ�เภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร ได้เปลี่ยนรูปแบบเป็นบริษัท ดอยคำ� ผลติ ภณั ฑอ์ าหาร จ�ำ กดั โดยใชก้ ลไกทางธรุ กจิ ในการด�ำ เนนิ งาน แตไ่ มป่ ระสบ ผลส�ำ เรจ็ ในเชงิ ธรุ กจิ เทา่ ทคี่ วร ทงั้ ความรว่ มมอื กบั เกษตรกรสมาชกิ และชมุ ชน กล็ ดลง เมื่อสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงทราบ จึงไดพ้ ระราชทานแนวพระราชดำ�รใิ หด้ �ำ เนินงานในรูปแบบวสิ าหกิจชุมชน ​การด�ำ เนนิ งานเรม่ิ ตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๕๕๑ ในชอ่ื โครงการวสิ าหกจิ ชมุ ชน– โรงงานหลวงอาหารส�ำ เรจ็ รูป โดยมชี มุ ชน หน่วยงานทอ้ งถิน่ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแหง่ ชาติ (สวทช.) ทำ�งานร่วมกัน ​เป้าหมายหลักคือ ต้องทำ�ให้เกษตรกรพึ่งตนเองได้ กลุ่มเกษตรกร เป้าหมายอยู่ในพื้นท่ีรอบภูพาน ๓ จังหวัด ได้แก่ นครพนม มุกดาหาร และสกลนคร มีจำ�นวน ๕,๐๐๐ ครัวเรือน ใน ๗๔ หมู่บ้าน วิธีการคือ สนับสนุนให้รวมกลุ่มเพื่อประกอบอาชีพ มีการบริหารจัดการอย่างถูกต้อง เตมิ เตม็ ความรแู้ ละเทคโนโลยผี า่ นการสอนและการดงู าน และใชโ้ รงงานเปน็ เครอื่ งมือในการพัฒนาตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ๑๔๗

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วทิ ยาปริทรรศน์ ​ วิสาหกจิ ชมุ ชนท่ี อ�ำ เภอเตา่ งอย มผี ลการด�ำ เนนิ งานที่โดดเด่นเปน็ รปู ธรรม แบง่ ไดเ้ ป็น ๓ กล่มุ ไดแ้ ก่ กลุ่มผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดี : ปี ๒๕๕๑/๒๕๕๒ มีสมาชิก ๑๑ คน ใชพ้ ันธข์ุ ้าว กข ๖ ต้านทานโรคไหม้ ไดผ้ ลผลิต ๓,๕๑๕ กโิ ลกรมั และขา้ วขาวดอกมะลิ ๑๐๕ ทนน�้ำ ทว่ ม ไดผ้ ลผลติ ๑,๕๖๐ กโิ ลกรมั จ�ำ หนา่ ย เป็นเมล็ดพันธุ์ในราคา ๑๘-๒๐ บาทต่อกิโลกรัม คิดเป็นมูลค่าประมาณ ๙๖,๐๐๐ บาท ปัจจบุ ัน กลุ่มนมี้ ีรายไดร้ าว ๔ แสนบาทตอ่ ปี กลุ่มข้าวปลอดสารพิษ : ปี ๒๕๕๑/๒๕๕๒ มีสมาชิก ๒๖ คน พื้นท่ีปลูก ๖๕ ไร่ ได้ผลผลิตรวม ๑๘,๒๐๐ กิโลกรัม ปี ๒๕๕๒/๒๕๕๓ ไดผ้ ลผลติ รวม ๔๒,๐๐๐ กโิ ลกรมั สรา้ งรายไดใ้ หก้ ลมุ่ ราว ๕ แสน ๙ หมน่ื บาท ปจั จบุ นั กลมุ่ นม้ี ีรายได้ราว ๖ แสนบาทตอ่ ปี กลมุ่ แปรรปู : ปี ๒๕๕๑/๒๕๕๒ มสี มาชกิ ๘๐ คน ผลติ ภณั ฑแ์ ปรรปู ได้แก่ ข้าวแต๋น กล้วยตาก และกล้วยทอด ผลิตภัณฑ์จำ�หน่ายในชุมชน แ ล ะ โ ร ง เ รี ย น ใ น พื้ น ที่ ทำ � ใ ห้ ชว่ ยลดการบรโิ ภคขนมขบเคยี้ ว จากภายนอก นอกจากนี้ ผลผลติ ข้าวปลอดสารพิษท่ีได้ยังนำ�ไป แปรรูปเป็นข้าวกาบา (GABA: Gamma-Aminobutyric Acid) เพื่อเพิ่มมูลค่าจำ�หน่ายเป็น กิโลกรัมละ ๘๐ บาท ปัจจุบัน กลมุ่ นี้มีรายได้ราว ๒ ลา้ นบาท ตอ่ ปี ขา้ วกาบา ๑๔๘

๖๐ พรรษา รัตนราชสดุ า วทิ ยาปริทรรศน์ ที่หมู่บ้านบ่อเหมืองน้อย และหมู่บ้านห้วยนำ้�ผัก อำ�เภอนาแห้ว จงั หวดั เลย ใน พ.ศ. ๒๕๓๙ ศนู ยพ์ นั ธวุ ศิ วกรรมและเทคโนโลยชี วี ภาพแหง่ ชาติ สวทช. รว่ มกับมหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ถ่ายทอด เทคโนโลยีการผลิตสตรอเบอร่ีให้แก่เกษตรกร และใน พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตไหลสตรอเบอรี่ เพื่อเป็นต้นพันธุ์ให้ใช้ปลูกใน พื้นท่ี และลดตน้ ทุนจากการขนสง่ ไหลสตรอเบอรม่ี าจากจงั หวัดเชียงใหม่ ​ในปัจจุบันการผลิตสตรอเบอร่ีเป็นอาชีพหลักของชาวบ้านในพื้นท่ี ชาวบ้านผู้ผลิตไหลสตรอเบอรี่เพ่ือจำ�หน่ายมี ๔ ครอบครัว รายได้รวม ประมาณ ๒๕๐,๐๐๐ บาทต่อปี และมีผู้ปลูกสตรอเบอร่ีเพื่อจำ�หน่าย ผลสดราว ๑๕-๒๐ ครอบครัว มีรายได้รวมประมาณ ๑ ลา้ นบาทต่อปี ​เนื่องจากผลผลิตทางการเกษตรที่แปรรูปได้อย่างมีมาตรฐาน จะมีมูลค่าเพิ่มค่อนข้างมาก ใน พ.ศ. ๒๕๓๔ จึงมีการถ่ายทอดความรู้ ด้านการแปรรูปอาหารที่ถูกสุขลักษณะให้แก่ชุมชนบ้านบ่อเหมืองน้อย มผี ลติ ภณั ฑแ์ ปรรปู หลายชนดิ ไดแ้ ก่ น�ำ้ สตรอเบอร่ี แยมสตรอเบอรี่ น�ำ้ เสาวรส มะคาเดเมียอบแห้ง และชอ็ กโกแลตมะคาเดเมีย ข้อมลู ในปี ๒๕๕๕/๒๕๕๖ ระบุว่าสมาชิก ๒๐ คน มีเงินหมุนเวียนจากการจำ�หน่าย ๗.๕ ล้านบาท โดยในแต่ละปีสมาชิกได้เงินเฉลี่ย ๕ หมื่นบาทต่อคน และสร้างงานให้คน ในชุมชนอกี ๒๐ คน ​นอกจากนี้ ทง้ั สองหมบู่ า้ นยงั ตง้ั อยใู่ นเขตอทุ ยานแหง่ ชาตภิ สู วนทราย ซ่ึงมีแหล่งท่องเที่ยวท้ังภูเขา น้ำ�ตก วัดป่า เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติ แปลงเพาะปลูก และผลผลิตทางการเกษตร จึงเกิดอาชีพการท่องเที่ยว เชิงเกษตรซ่ึงสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน ๒ แสนบาทต่อปี อีกทั้งยังผลักดัน ให้เกิดศูนย์การเรียนรู้ชุมชน ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของเกษตรกรและเยาวชน มกี ารจัดกิจกรรมคา่ ยวิทยาศาสตรส์ �ำ หรบั เด็กและเยาวชน โดยเนน้ ประเด็น ท่ีสัมพันธ์กับวิถีชีวิตและอาชีพ ได้แก่ ค่ายสตรอเบอร่ี ค่ายพลังงาน คา่ ยอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ และคา่ ยการแปรรปู อาหาร ซงึ่ จะชว่ ยใหเ้ ดก็ และเยาวชน ๑๔๙


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook