Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วิทยาปริทรรศน์

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วิทยาปริทรรศน์

Published by ห้องสมุดประชาชน, 2021-03-25 17:47:31

Description: ๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วิทยาปริทรรศน์

Search

Read the Text Version

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วทิ ยาปรทิ รรศน์ ๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วทิ ยาปรทิ รรศน์ โครงการเทคโนโลยสี ารสนเทศตามพระราชดำ�ริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ส�ำ นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยแี หง่ ชาติ ISBN : 978-616-12-0367-2 พมิ พ์ครั้งที่ ๑ ​มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ จำ�นวนพมิ พ์​ ๕,๐๐๐ เลม่ เผยแพร่/จำ�หนา่ ย​ ๔๙๙ บาท สงวนลขิ สิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๕๘ ตาม พ.ร.บ. ลขิ สิทธ์ิ พ.ศ. ๒๕๓๗ ไม่อนุญาตให้คดั ลอก ทำ�ซ�ำ และดดั แปลง ส่วนใดสว่ นหนง่ึ ของหนังสอื ฉบับน้ี นอกจากจะได้รับอนุญาตเปน็ ลายลักษณ์อักษรจากเจ้าของลิขสิทธ์ิเทา่ นั้น ๖๐ พรรษา รตั นราชสดุ า วทิ ยาปรทิ รรศน์ / โดย โครงการเทคโนโลยสี ารสนเทศตามพระราชด�ำ ริ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ส�ำ นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาต.ิ พมิ พค์ รง้ั ท่ี 1. ปทมุ ธานี : ส�ำ นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาต,ิ 2558. 256 หนา้ : ภาพประกอบ ISBN : 978-616-12-0367-2 1. เทคโนโลยสี ารสนเทศ 2. เทคโนโลยที างการศกึ ษา – ไทย 3. เทคโนโลยสี ารสนเทศ -- การศกึ ษาและการสอน I. เทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ าร,ี สมเดจ็ พระ, 2498- II. ส�ำ นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยแี หง่ ชาติ III. โครงการเทคโนโลยสี ารสนเทศตามพระราชด�ำ ริ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี IIII. ชอ่ื เรอ่ื ง T65​​ 607 จดั ทำ�โดย โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำ�รสิ มเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ฝา่ ยเลขานกุ าร : สำ�นกั งานพัฒนาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแหง่ ชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๗๓/๑ อาคาร สวทช. ถนนพระรามท่ี ๖ เขตราชเทวี กรงุ เทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศพั ท์​ ๐ ๒๕๖๔ ๗๐๐๐ ต่อ ๘๑๘๗๔ อีเมล​์ [email protected] เวบ็ ไซต​์ www.princess-it.org ผลติ และออกแบบโดย งานออกแบบ ฝ่ายสอ่ื วทิ ยาศาสตร์ สำ�นกั งานพัฒนาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี ห่งชาติ

บทน�ำ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็น นักพัฒนาที่มีพระราชปณิธานแน่วแน่ในการยกระดับคุณภาพชีวิตของ ประชาชน ทรงยดึ หลกั การทว่ี า่ รปู แบบและวธิ กี ารในการพฒั นาตอ้ งเหมาะสม กับสภาพภูมิศาสตร์ เชื้อชาติ วัฒนธรรมท้องถ่ิน คติความเชื่อทางศาสนา และภูมิหลังทางเศรษฐกิจและสังคม ที่สำ�คัญคือ นักพัฒนาต้องมีความรัก ความหว่ งใย ความรบั ผดิ ชอบ และความเคารพในเพอื่ นมนษุ ย์ ทรงพระราชด�ำ ริ ว่าในการพัฒนาเร่ืองใดๆ ก็ตาม จำ�เป็นต้องใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยที เ่ี หมาะสม ไมว่ า่ จะเปน็ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ หรอื เทคโนโลยรี ะดบั สงู ​โครงการและกิจกรรมต่างๆ อันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริในสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ท่ีเก่ียวข้องกับวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อาจจำ�แนกเปน็ ๓ กลุ่มหลัก ดังนี้ การพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงสนบั สนนุ ให้ บคุ ลากรทกุ ระดบั ตง้ั แตน่ กั เรยี น นกั ศกึ ษา ครู อาจารย์ นกั วจิ ยั มโี อกาสไดไ้ ป เพม่ิ พนู ความรแู้ ละประสบการณท์ างวชิ าการดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ในกจิ กรรมตา่ งๆ ตงั้ แตก่ ารดูงาน การเขา้ รบั การอบรม การท�ำ วจิ ัย ตลอดจน การศกึ ษาตอ่ ในระดบั สงู ตามศกั ยภาพและความสนใจของแตล่ ะคน เพอ่ื จะได้ นาํ ความรแู้ ละประสบการณท์ ไี่ ด้ รบั กลบั มาใชป้ ระโยชนใ์ นการพฒั นาประเทศ ดังปรากฏในโครงการต่างๆ เช่น การส่งนักศึกษาและครูไปเรียนรู้ที่เซิร์น

การส่งนักศึกษาไปร่วมงานวิจัยที่สถาบันเดซี การสนับสนุนนักวิทยาศาสตร์ ไทยในการวิจัยข้ัวโลก และความร่วมมือกับสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์จีน ในการพัฒนาก�ำ ลังคนและการวจิ ยั เป็นต้น ​สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงสนับสนนุ การทำ�งานในลักษณะเครือข่าย ด้วยทรงตระหนักว่าการสร้างความรู้และ การนำ�ผลผลิตท่ีได้ไปใช้ประโยชน์ในวงกว้างจำ�เป็นต้องอาศัยความร่วมมือ จากหลายภาคสว่ น ดงั จะเห็นไดจ้ ากทกุ โครงการตามพระราชดำ�ริฯ ซ่ึงกลุ่ม บุคคลและหนว่ ยงานตา่ งๆ หลายแห่งมารว่ มงานกนั อย่างมีเอกภาพ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีเพอ่ื การศกึ ษา สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ใสพ่ ระราชหฤทยั ในเรอ่ื งการศกึ ษาของเดก็ และเยาวชนเปน็ อยา่ งยง่ิ ทรงพระราชด�ำ รวิ า่ การศกึ ษา เป็นปัจจัยสำ�คัญที่สุดท่ีจะคำ้�จุนให้ประเทศพัฒนาอย่างยั่งยืนได้ อีกท้ัง วทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตรเ์ ปน็ ความรูแ้ ละทกั ษะพ้นื ฐานที่จ�ำ เปน็ จงึ ทรง สง่ เสรมิ การเรยี นการสอนใหม้ กี ารคดิ และการลงมอื ปฏบิ ตั ิ โดยใชก้ ระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ ดังเช่นที่ปรากฏในทุกโครงการท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษา เพอื่ ใหเ้ ดก็ และเยาวชนซึมซบั แนวทางวทิ ยาศาสตรอ์ ันมเี หตมุ ีผลเป็นวถิ ีชีวติ ​สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงใหค้ วามส�ำ คญั แกเ่ ดก็ และเยาวชนทกุ กลมุ่ ทกุ วยั จงึ โปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ดั ท�ำ โครงการตา่ งๆ เพอื่ เกอื้ หนนุ การศกึ ษาของเดก็ และเยาวชนแตล่ ะกลมุ่ เชน่ บา้ นนกั วทิ ยาศาสตร์ น้อยสำ�หรับเด็กปฐมวัย มหาวิทยาลัยเด็กสำ�หรับเด็กระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาในโรงเรียน เอกชนสอนศาสนาอสิ ลาม และโครงการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรยี น

พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ตามพระราชดำ�ริฯ สำ�หรับสามเณร เป็นต้น นอกจากนี้ ยังใส่พระราชหฤทัยในเรื่องคุณภาพและปริมาณของครู ในโรงเรยี นขนาดเลก็ ในชนบท ดงั จะเหน็ ได้จากโครงการระบบ e-Learning ของการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม และการจัดอบรมครูให้ใช้ไอซีทีและ การท�ำ โครงงานในการเรยี นการสอน เปน็ อาทิ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยเี พ่อื การพัฒนาผดู้ ้อยโอกาส สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงหว่ งใยและ เอาพระราชหฤทัยใส่ผพู้ ิการ ผู้ตอ้ งขัง เดก็ ป่วยในโรงพยาบาล ตลอดจนเดก็ ออทิสตกิ และเดก็ ท่ีมีความบกพร่องทางสตปิ ญั ญา ทรงใชว้ ทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยเี ป็นเครอ่ื งมอื สำ�คัญในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตของกลมุ่ คนเหล่าน้ี ​ กรณีของผู้พิการ ทรงพระราชดำ�ริว่าต้องดูแลแต่ละบุคคล เพราะ ความพิการและสภาพแวดล้อมของแต่ละบุคคลแตกต่างกัน สิ่งสำ�คัญคือ ต้องชว่ ยเหลือผูพ้ กิ ารให้สามารถพ่ึงพาตนเองได้ ไดร้ ับการศกึ ษาท่ีเหมาะสม และทำ�งานได้ จะได้ไม่เป็นภาระแก่คนรอบข้าง และยังสามารถสร้างสรรค์ ผลงานทเ่ี ป็นประโยชน์ต่อผูอ้ ่นื ​ กรณขี องผตู้ อ้ งขงั ทรงพระราชด�ำ รวิ า่ ผตู้ อ้ งขงั มศี กั ยภาพในการพฒั นา ตนเองได้ หากได้รับการอบรมด้านคุณธรรมควบคู่ไปกับความรู้ที่นำ�ไปใช้ ประกอบอาชพี เมอ่ื พน้ โทษไปแลว้ กส็ ามารถน�ำ ความรนู้ น้ั ไปใชใ้ นการด�ำ เนนิ ชวี ิตโดยสจุ ริตได้ ​กรณขี องเดก็ ปว่ ยในโรงพยาบาล โปรดเกลา้ ฯ พระราชทานหอ้ งเรยี น และแนวทางการใช้ไอซีทีเพ่ือให้เด็กได้เรียนและเล่นอย่างมีความสุข

ในโรงพยาบาลหลายแห่งมีการจัดกิจกรรมท่ีผู้ปกครองและชุมชนสามารถ เข้ามามสี ่วนร่วมด้วย ​กรณขี องเดก็ ออทสิ ตกิ และเดก็ ทพี่ กิ ารทางสตปิ ญั ญา สมเดจ็ พระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีใส่พระราชหฤทัยเด็กกลุ่มนี้เป็นพิเศษ และพระราชทานแนวพระราชดำ�ริเพื่อช่วยให้เด็กกลุ่มนี้สามารถเรียนรู้และ ประกอบอาชีพได้ตามศกั ยภาพ หนังสือเล่มนี้รวบรวมและนำ�เสนอผลการดำ�เนินงานโครงการ ตามพระราชดำ�ริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ท่ี เก่ียวข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) ด�ำ เนนิ การ หรอื ท�ำ หนา้ ทปี่ ระสานงานหลกั ในฐานะฝ่ายเลขานุการโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำ�ริฯ ทกุ โครงการเกดิ ขน้ึ และมผี ลการด�ำ เนนิ งานอยา่ งเปน็ รปู ธรรมเนอื่ งจากไดร้ บั ความร่วมมือจากพันธมิตรจำ�นวนมาก ท้ังภาครัฐ ภาคการศึกษา และ ภาคเอกชน ดังรายนามที่ปรากฏในภาคผนวกท้ายเลม่ ​การจัดทำ�หนังสือเล่มนี้ คณะผู้จัดทำ�ได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่ง จากหน่วยงานและบุคคลต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง ในด้านคำ�แนะนำ� ข้อมูลและ เอกสารอ้างอิง ทำ�ให้หนังสือสำ�เร็จได้ด้วยดี หากหนังสือเล่มน้ีมีส่วนสร้าง แรงบนั ดาลใจใหผ้ อู้ า่ นเกดิ ฉนั ทะในการสรา้ งสรรคส์ งิ่ ดงี าม และเปน็ ประโยชน์ แก่ผู้อ่ืน ก็ย่อมถือว่าผู้อ่านได้ดำ�เนินชีวิตตามแนวพระราชดำ�ริของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ในการพฒั นาคน ชุมชน และสังคมโดยรวมดว้ ยเช่นกัน คณะผูจ้ ัดทำ�

สารบัญ บทอาเศยี รวาท.............................................................................................................๑๐ พระราชประวตั .ิ............................................................................................................ ๑๓ พระอจั ฉริยภาพดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี...................................๒๐ การพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นกั วทิ ยาศาสตร์ไทยก้าวไกลสู่เซริ ์น...........................................................๓๒ เยาวชนไทยเกบ็ เกยี่ วประสบการณท์ ่สี ถาบนั เดซี....................................๔๒ ตวั แทนนกั วทิ ยไ์ ทยบนเวทีวทิ ย์โลก..............................................................๕๐ ความร่วมมอื กบั สถาบันบณั ฑิตวทิ ยาศาสตรจ์ นี ...................................๕๖ สร้างความรพู้ ืน้ ฐานจากการวิจยั ขว้ั โลก.................................................๖๒ คนกับไก่ สายใยแหง่ ความสมั พันธ.์ ..........................................................๖๘ นวัตกรรมข้าวไทย สร้างไดด้ ว้ ยเทคโนโลยจี โี นม.................................๗๔ ภาคีวิศวกรรมชวี การแพทยไ์ ทย..................................................................๘๐

วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา วิทยาศาสตรก์ า้ วไกลในโรงเรียนชนบท.................................................... ๘๘ บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เพื่อเดก็ ปฐมวัย.............................................๙๖ มหาวทิ ยาลยั เดก็ เพอ่ื เดก็ ไทยหัวใจวทิ ยาศาสตร์.............................. ๑๐๐ การศึกษาของโรงเรยี นในชนบทกา้ วไกลด้วยไอที............................. ๑๐๖ เยาวชนท่วั ถนิ่ ไทย เรียนร้ไู ด้ดว้ ย eDLTV..............................................๑๑๔ ไอทเี พอ่ื การศกึ ษาของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอสิ ลาม.............๑๒๐ เรยี นวทิ ยแ์ นวใหม่ในยคุ ไอซที ี....................................................................๑๒๖ เรยี นรดู้ ว้ ยโครงการ ผสานพลังไอซที .ี..................................................๑๓๔ ขมุ ทรัพย์ทางปัญญาจากพม่า..................................................................๑๔๐ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยเี พอ่ื การพฒั นาผดู้ อ้ ยโอกาส วิสาหกจิ ชุมชน เพ่อื ความเข้มแข็งของชนบทไทย..............................๑๔๖ ไฟฟา้ ปลอดภยั ในโรงเรียนตำ�รวจตระเวนชายแดน๑�������������������������๑๕๒ ไฟสว่าง เปดิ ทางความรูส้ ชู่ มุ ชนไทยภเู ขา............................................๑๕๖ วิทยาลัยก�ำ ปงเฌอเตียล สายสัมพนั ธ์ไทย-กัมพูชา๑������������������������๑๖๔ วัยใสสรา้ งผลงานไดด้ ้วยไอซที .ี ..............................................................๑๗๒

ไอทแี ละศลิ ปะ เพื่อคณุ ภาพชวี ติ ของผู้ต้องขงั ................................. ๑๗๖ ไอทีเพื่อการเรยี นรู้และคุณภาพชีวติ ของเด็กป่วยในโรงพยาบาล..........................................................๑๘๒ โรงเรยี นศรสี งั วาลย์ส�ำ หรบั นกั เรียนพิการทางกาย๑��������������������������๑๘๖ กาวิละอนกุ ูล : แหล่งเรยี นรู้ของเดก็ ออทิสติก และเด็กพิการทางสติปญั ญา.....................................๑๙๖ นักเรยี นตาบอดก็เรยี นสายวทิ ยาศาสตรไ์ ด.้.........................................๒๐๔ วรี บรุ ษุ แห่งกรงปนิ ัง......................................................................................๒๑๒ เด็กตาบอดพิการซ้อนผใู้ ฝเ่ รยี นรู้............................................................๒๑๘ จากทหาร...สู่ผสู้ ร้างสรรคง์ านศิลปะ......................................................๒๒๔ นกั ศกึ ษาไร้แขนขาจากเมืองนรา.. .............................................................๒๓๐ ค�ำ ยอ่ ๒�������������������������������������������������������������������������������������������������������������� ๒๓๙ ดชั น ี ................................................................................................................๒๔๐ ดชั นี (ภาษาตา่ งประเทศ)......................................................................๒๔๓ รายชอ่ื บคุ คลและองคก์ รทเ่ีกย่ี วขอ้ ง...............................................๒๔๕

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วิทยาปรทิ รรศน์ บทอาเศยี รวาท เทิด ธ พระปรีชา ราชสุดา กมุ ารี เดชะ บารมี ธ ปกเกลา้ ชาวประชา เทคโน โลยลี ำ้� ทรงชี้น�ำ พัฒนา องคเ์ อก วทิ ยา พระเมตตา เพ่ือปวงไทย แม้ชน คนพิการ ธ ทรงงาน ประทานให้ นำ�ทาง สวา่ งไสว สุขสดใส ได้อกี ครา โครงการ งานทรงสรา้ ง เป็นแนวทาง การศึกษา เรียนวิทย์ แนวใหม่พา เพม่ิ ปัญญา ด้วยไอที ดว้ ยเกลา้ ดว้ ยกระหม่อม ขา้ พระพุทธเจ้า คณะท�ำ งานจัดท�ำ หนังสือ ๖๐ พรรษา รตั นราชสดุ า วทิ ยาปรทิ รรศน์ (นายธนภทั ร ศรีโมรา ประพนั ธ์)





พระราชประวตั ิ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วิทยาปริทรรศน์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า เจา้ ฟา้ มหาจกั รสี ริ นิ ธร รฐั สมี าคณุ ากรปยิ ชาติ สยามบรมราชกมุ ารี เปน็ สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอพระองคท์ ่ี ๓ ในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช และสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ นี าถ ทรงพระราชสมภพเมอ่ื วันที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๘ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสำ�เร็จ การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานจากโรงเรยี นจติ รลดา ทรงสอบไลไ่ ดอ้ นั ดบั ที่ ๑ ในการสอบ ทั่วประเทศ ท้ังในระดับประถมศึกษา เม่ือ พ.ศ. ๒๕๑๑ และระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย (สายศิลป์) เม่ือ พ.ศ. ๒๕๑๖ ทรงศึกษาต่อระดับ อดุ มศกึ ษาในคณะอกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั วชิ าเอกประวตั ศิ าสตร์ และวิชาโทภาษาบาลี-สันสกฤต จนทรงสำ�เร็จการศึกษาได้รับพระราชทาน ปริญญาอกั ษรศาสตรบณั ฑิต เกยี รตนิ ยิ มอนั ดับ ๑ และทรงรับพระราชทาน รางวัลเหรียญทองสาขาประวัติศาสตร์พร้อมครุยกิตติมศักด์ิในฐานะที่ทรง สอบได้คะแนนสงู สุดในช้นั ๑๔

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วทิ ยาปรทิ รรศน์ ​ในระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงรับพระราชทานปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจารึกภาษา ตะวนั ออก มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากรเมอ่ื พ.ศ. ๒๕๒๒ และปรญิ ญาอกั ษรศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาบาลี-สันสกฤต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เม่ือ พ.ศ. ๒๕๒๔ ต่อมาทรงศึกษาต่อระดับปริญญาเอก ทรงรับพระราชทาน ปรญิ ญาบตั รการศกึ ษาดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าพฒั นศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ เมือ่ พ.ศ. ๒๕๒๙ ๑๕

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วทิ ยาปริทรรศน์ ​สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ใฝพ่ ระราชหฤทยั ยง่ิ ในด้านการศึกษา แม้ทรงสำ�เร็จการศึกษาแล้ว ยังทรงเรียนรู้ตลอดเวลา ทรงใฝ่เรียนรู้ศาสตร์ใหม่ๆ อยู่เสมอ พระราชปณิธานที่จะทรงช่วยเหลือ ประชาชนเป็นแรงบันดาลพระทัยให้ทรงค้นหาแนวทางและวิธีการใหม่ๆ อยูเ่ ป็นนิจ ​ด้วยความสนพระราชหฤทัยในศิลปะและวัฒนธรรมไทย จึงทรง ศึกษาดนตรีไทยและนาฏศิลป์ไทย รวมท้ังศิลปะและหัตถกรรมไทยเกือบ ทุกแขนง ทรงเป็นเลิศทางวรรณคดีไทยและวรรณคดีต่างประเทศ และมี พระอัจฉริยภาพดา้ นการประพันธอ์ ยา่ งยอดเยย่ี ม ทง้ั รอ้ ยแกว้ และร้อยกรอง ทรงศึกษาภาษาต่างประเทศหลายภาษา ได้แก่ อังกฤษ ฝร่ังเศส เยอรมัน จีน เขมร บาลี สนั สกฤต และละติน และเสดจ็ พระราชด�ำ เนินเยอื นประเทศ ตา่ งๆ มากมายตามคำ�กราบบงั คมทลู เชิญของสถาบนั ต่างๆ นอกจากน้ี ทรง สรา้ งสรรคผ์ ลงานจติ รกรรมฝพี ระหตั ถ์ ทง้ั ทเ่ี ปน็ ศลิ ปะดง้ั เดมิ และศลิ ปะรว่ มสมยั สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ าร​ี ทรงเปน็ เจา้ ฟ้า ทที่ รงงานหนกั เพอื่ ความอยดู่ กี นิ ดขี องประชาชน เมอื่ ทรงพระเยาวไ์ ดโ้ ดยเสดจ็ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ไปยังถิ่นทุรกันดารในชนบท จึงเข้าพระราชหฤทัยในความต้องการของ ประชาชน ทรงทราบดวี า่ การทจ่ี ะยกระดบั มาตรฐานความเปน็ อยขู่ องประชาชน ต้องอาศยั ความรหู้ ลากหลายดา้ น อาทิ การพัฒนาการเกษตรตอ้ งใชค้ วามรู้ ด้านภูมิศาสตร์ พฤกษศาสตร์ การปรับปรุงพันธ์ุพืช การจัดการแหล่งน้ำ� แผนที่ และอ่ืนๆ ทรงเช่ียวชาญการใช้เทคโนโลยีและทรัพยากรธรรมชาติ ๑๖

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วทิ ยาปริทรรศน์ อยา่ งเหมาะสมเพอ่ื การพฒั นาทย่ี งั่ ยนื ทรงเนน้ เรอื่ งสขุ อนามยั และโภชนาการ ดว้ ยมบี ทบาทส�ำ คญั ตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ รวมทง้ั ทรงสง่ เสรมิ งานศลิ ปะ และหตั ถกรรมเพ่อื ใหป้ ระชาชนมรี ายได้เสริม ดว้ ยเหตทุ ท่ี รงตระหนกั ถงึ ความส�ำ คญั ของศาสตรต์ า่ งๆ ในการพฒั นา จึงทรงศึกษาค้นคว้าและนำ�ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติพระราชกรณียกิจ เพือ่ ประโยชน์สุขของประชาชนดังเปน็ ที่ประจกั ษ์แจ้งชดั โดยท่วั ไป โครงการ ตามพระราชด�ำ รมิ ที ง้ั โครงการพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถนิ่ ทรุ กนั ดาร ซงึ่ เนน้ ด้านการศึกษาและโภชนาการในโรงเรียนกันดารห่างไกล โครงการอนุรักษ์ พันธุกรรมพืช และโครงการธนาคารพืชพรรณอันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ เปน็ ตน้ ดา้ นการชว่ ยเหลอื ผพู้ กิ าร ทรงน�ำ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร ๑๗

๖๐ พรรษา รตั นราชสดุ า วิทยาปริทรรศน์ (ไอซีที) มาช่วยพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของผู้พิการ รวมท้ังช่วยให้พวกเขา ช่วยเหลอื ตนเองได้มากขึ้นด้วย ​สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงงานใน องคก์ รการกศุ ลและมลู นธิ ติ า่ งๆ มากมาย ทรงเปน็ อปุ นายกิ าสภากาชาดไทย ต้ังแต่ พ.ศ. ๒๕๒๐ และทรงเปน็ ประธานมลู นธิ ติ ่างๆ อาทิ มูลนธิ ิชัยพฒั นา ในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ซง่ึ ดแู ลโครงการพฒั นาและโครงการอนรุ กั ษ์ สิ่งแวดล้อม มูลนิธิอานันทมหิดลเพื่อส่งเสริมการศึกษาระดับอุดมศึกษา มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเพื่อ อนุรักษ์และส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมไทย มูลนิธิสายใจไทยเพื่อช่วยเหลือ ทหารทไ่ี ดร้ บั บาดเจบ็ หรอื พกิ ารจากภารกจิ เพอ่ื ความมน่ั คงของประเทศ และมลู นธิ ิ รางวลั สมเดจ็ เจา้ ฟา้ มหดิ ลเพอ่ื มอบรางวลั ระดบั นานาชาตแิ กผ่ มู้ ผี ลงานดเี ดน่ สาขาการแพทย์และสาธารณสุข ทรงเป็นประธานกิตติมศักดิ์มูลนิธิรางวัล สมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี เพ่ือมอบรางวัลระดับนานาชาติ Princess Maha Chakri Award แกค่ รทู กุ ชาตทิ กุ ภาษา ผเู้ ปน็ แบบอยา่ งทด่ี เี ยยี่ ม และทรงเปน็ ทป่ี รกึ ษาของคณะกรรมการสารานกุ รมไทยส�ำ หรบั เยาวชนตามพระราชประสงค์ ในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ​ในระดบั นานาชาติ ทรงเปน็ ทป่ี รกึ ษาพเิ ศษดา้ นสขุ ภาพของประชากร กลุ่มชายขอบในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และแปซิฟิกตะวันตกของ องค์การอนามยั โลก (World Health Organization) กรรมการกิตตมิ ศักด์ิ ของคณะกรรมการที่ปรึกษาสาขาสุขภาพของ Bloomberg School of Public Health, Johns Hopkins University มนตรีของ Refugees Education Trust และทตู พิเศษดา้ นอาหารในโรงเรียนของ World Food Program แหง่ สหประชาชาติ ๑๘

๖๐ พรรษา รัตนราชสดุ า วทิ ยาปรทิ รรศน์ ​สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเร่ิม พระราชกรณียกจิ ด้านการสอนเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๒ ระยะแรกทรงร่วมสอนใน หมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไปทจ่ี ฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ปลายปถี ดั มาทรงเขา้ รบั ราชการ สังกัดกองวิชากฎหมายและสังคมศาสตร์ ส่วนการศึกษา โรงเรียนนายร้อย พระจลุ จอมเกล้า ทรงดำ�รงต�ำ แหน่งผอู้ �ำ นวยการกองวชิ าประวัติศาสตร์ ซ่งึ โปรดเกล้าฯ ใหม้ ีการปรับปรุงหลกั สตู รใหท้ นั สมยั อยู่เสมอ และทรงส่งเสรมิ ชมรมดนตรไี ทยของสถาบนั การศกึ ษานด้ี ว้ ย นอกจากนน้ั ทรงรบั เชญิ บรรยาย ในหลายสถาบัน และทรงเข้าร่วมประชุมสัมมนาวิชาการท้ังในประเทศและ ต่างประเทศอยู่เป็นนจิ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงพระปรชี ายง่ิ ดา้ นอกั ษรศาสตรแ์ ละการประพนั ธ์ พระราชนพิ นธจ์ �ำ นวนมากทพี่ มิ พเ์ ผยแพร่ ทั้งบทกวี ภาษา วรรณคดี ประวัติศาสตร์ โบราณคดี ศาสนา โภชนาการ การพัฒนาชนบท และอื่นๆ สะท้อนให้เห็นอย่างเด่นชัด พระราชนิพนธ์ ชุดเสด็จพระราชดำ�เนินเยือนต่างประเทศได้รับความนิยมอย่างมาก รายได้ จากการจำ�หน่ายพระราชทานเข้ามูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เพ่ือ สนับสนุนการศึกษาของนักเรียนและนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ทั้ง สายอาชีวะและสายสามัญ ​ผู้ท่ีศึกษาพระราชประวัติและพระราชกรณียกิจในสมเด็จพระเทพ รตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี จะประทับใจในความสนพระราชหฤทัย ใฝ่ศึกษาแสวงหาความรู้ และซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณหาที่สุดมิได้ ที่ ทรงถ่ายทอดและประยุกต์ความรู้ด้วยพระวิริยะอุตสาหะ เพื่อช่วยเหลือ ประชาชนทกุ หมูเ่ หลา่ ใหม้ ีชวี ติ ความเป็นอยทู่ ่ดี ขี ้ึน ๑๙

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วทิ ยาปรทิ รรศน์

๖๐ พรรษา รัตนราชสดุ า วทิ ยาปรทิ รรศน์ พระอจั ฉริยภาพ ดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี “ในปัจจุบันสังคมโลกเปลี่ยนลักษณะไปเป็น ‘สังคมและเศรษฐกิจ ฐานความรู้’ ซึ่งต้องอาศัยการศึกษาท่ีเน้นกระบวนการคิด การใฝ่เรียนรู้ ตลอดชีวิต การสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรม ความรู้เพ่ือพัฒนาสังคม และเศรษฐกจิ เปน็ พน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย ี นอกจากจะเปน็ ปจั จยั ในการพัฒนาด้านต่างๆ ยังเป็นเครื่องมือที่จะช่วยปลูกฝังพฤติกรรมทาง วิทยาศาสตร์ อันได้แก่ การคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล การพิสูจน์ความคิด ตลอดจนการแกป้ ญั หาดว้ ยวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งเปน็ ระบบ การสง่ เสรมิ วิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จึงเป็นวิถีทางนำ�ไปสู่การพัฒนาสังคม และเศรษฐกิจในยคุ ใหมอ่ ยา่ งสมบูรณ”์ พระราชด�ำ รัส สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี พิธเี ปดิ การประชมุ ทางวชิ าการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย คร้ังท ี่ ๓๐ วนั ท่ี ๑๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ๒๑

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วิทยาปริทรรศน์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงศึกษา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้วยความสนพระทัยส่วนพระองค์ ทรงอาศัย ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ท่ีทรงเรียนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ตอนต้นเป็นพื้นฐานในการศึกษาค้นคว้าต่อยอดความรู้ และทรงเชื่อมโยง ความรทู้ างทฤษฎกี บั ประสบการณส์ ว่ นพระองคจ์ ากการทรงงาน ทรงพระราชด�ำ ริ ว่าการพัฒนาคนทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจะไม่สัมฤทธ์ิผล เทา่ ทค่ี วรหากศกึ ษาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยโี ดยไมส่ มั พนั ธก์ บั ศาสตรอ์ น่ื ๆ ชวี ติ จรงิ และธรรมชาตริ อบตวั ถา้ จะจดั การกระบวนการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีให้ได้ผลดี ควรจัดการเรียนรู้ด้วยการตั้งคำ�ถามและการทำ� กิจกรรม เพราะการตั้งคำ�ถามเป็นบันไดข้ันแรกในการตรวจสอบความรู้เดิม และแสวงหาความรู้ใหม่ ส่วนการทำ�กิจกรรมทำ�ให้ได้ลงมือปฏิบัติและ ตรวจสอบความคดิ ต่างๆ ท่ีมอี ยู่ อีกประการหนึ่ง ควรให้ความสำ�คัญแก่การปูพื้นฐานความรู้และ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรใ์ หเ้ พยี งพอตงั้ แตว่ ยั เยาว์ เพอื่ สรา้ งอปุ นสิ ยั ใฝ่ศกึ ษาหาความรู้ ตอ่ ยอดความรทู้ ีม่ อี ยู่เดมิ ทรงยดึ วิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ ในการทรงงาน โดยทรงเร่ิมจากการตั้งโจทย์ ตั้งสมมติฐาน สังเกต บันทึก และรวบรวมขอ้ มลู อยา่ งละเอยี ดและเปน็ ระบบ ทรงศกึ ษาจากผรู้ ู้ ตรวจสอบ และพสิ ูจน์หรอื ทดลองก่อนทจ่ี ะสรปุ เชิงบรู ณาการไดอ้ ย่างยอดเยีย่ ม สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงได้รับ การปลกู ฝงั เรอ่ื งการเกษตร รวมทง้ั ความส�ำ คญั ของความหลากหลายทางชวี ภาพ ดิน นำ้� และป่าไม้ มาตั้งแต่ทรงพระเยาว์ จึงทรงสานต่อพระราชกรณียกิจ ด้านการเกษตร ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถมาอย่างต่อเน่ือง ทรงรเิ รม่ิ โครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อนั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำ ริ โปรดเกลา้ ฯ ให้จัดทำ�ฐานข้อมูลพรรณไม้ ทรงงานและทรงติดตามความก้าวหน้าด้าน ๒๒

๖๐ พรรษา รัตนราชสดุ า วิทยาปริทรรศน์ การปรบั ปรงุ พนั ธ์ุข้าวตลอดจนพันธ์พุ ชื และสตั วเ์ ศรษฐกจิ ตา่ งๆ การพฒั นา และผลิตเมล็ดพันธ์ุสำ�หรับเกษตรกร รวมทั้งการใช้ประโยชน์จากหญ้าแฝก และการพัฒนากจิ การโคนมอย่างใกล้ชิด ไมท่ รงหยุดค้นหาและทดลองเพอื่ ให้ได้พืชเศรษฐกิจใหม่ๆ ท่ีจะยังประโยชน์แก่เกษตรกร รวมท้ังเทคโนโลยี ที่จะช่วยสร้างมูลค่าเพ่ิมให้แก่ผลผลิตทางการเกษตร ท้ังนี้ทรงคำ�นึงถึง องค์รวมคือทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอยู่เสมอ เป็นที่ประจักษ์ว่า เข้าพระทัยในประโยชน์และทรงตระหนักในขีดจำ�กัดของวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยอี ยา่ งดียง่ิ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงตระหนัก ถงึ ความส�ำ คญั เรอ่ื งอาหารและโภชนาการในเดก็ และเยาวชน ทรงเหน็ วา่ หากเดก็ ไดร้ บั สารอาหารอยา่ งเพยี งพอ กจ็ ะมกี �ำ ลงั ในการเรยี น และมกี �ำ ลงั ชว่ ยเหลอื ครอบครัวและสังคมต่อไป แต่ในอดีต เด็กและเยาวชนในประเทศไทย จำ�นวนมากประสบปัญหาภาวะโภชนาการ จึงทรงริเร่ิมโครงการเกษตรเพื่อ อาหารกลางวนั ในพน้ื ทท่ี รุ กนั ดาร มพี ระราชด�ำ รใิ หด้ �ำ เนนิ โครงการในโรงเรยี น ๒๓

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วิทยาปรทิ รรศน์ ตำ�รวจตระเวนชายแดน ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวไทยภูเขา โรงเรียน พระปริยัติธรรมท่ีจังหวัดน่านและจังหวัดตาก และโรงเรียนเอกชนสอน ศาสนาอิสลามในพ้ืนที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นอาทิ โครงการ ในพระราชด�ำ ริสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ช่วยให้ เด็กนักเรียนในท้องถ่ินทุรกันดารมีอาหารท่ีถูกสุขอนามัยรับประทาน ส่งผล ต่อสขุ ภาวะทดี่ ขี ้นึ โดยรวม สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงเปน็ แบบอยา่ ง ที่ดีของผู้ที่เรียนรู้และติดตามความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาตา่ งๆ อยเู่ สมอ เชน่ ดาราศาสตร์ (Astronomy) ฟสิ กิ สอ์ นภุ าค (Particle Physics) นาโนเทคโนโลยี (Nanotechnology) เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) วิศวกรรมชีวการแพทย์ (Biomedical Engineering) เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร (Information and Communication Technology) และเทคโนโลยกี ารประมวลผลแบบกริด (Grid Computing Technology) เปน็ ตน้ ทรงเหน็ วา่ คนไทยควรเรยี นรแู้ ละตดิ ตามความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยีเหล่าน้ีเพ่ือให้รู้เท่าทัน และรู้จักเลือกใช้ประโยชน์อย่าง ประหยัดและมีประสิทธิภาพ ในขณะเดียวกันก็ควรส่งเสริมคนไทย ผู้มีความสามารถพิเศษให้สามารถพัฒนาเทคโนโลยีระดับแนวหน้าเพื่อให้ ประเทศสามารถยืนหยัดในเวทีโลกในฐานะผผู้ ลิตเทคโนโลยีด้วย ​ในการเสด็จพระราชดำ�เนินเยือนนานาประเทศแต่ละคร้ัง สมเด็จ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงใชเ้ วลาอยา่ งคมุ้ คา่ ทส่ี ดุ ใน การรับข้อมูลขา่ วสารและวทิ ยาการใหม่ๆ ทุกดา้ น รวมถงึ ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีด้วยเสมอ กำ�หนดการเสด็จเยือนต่างประเทศของพระองค์ จึงมักจะเต็มไปด้วยกิจกรรมทางวิชาการและกิจกรรมที่จุดประกายให้เกิด นวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เช่น ทรงร่วมงานสัมมนาทางวิชาการ ทรงรว่ มฟงั การบรรยายของนกั วชิ าการชน้ั น�ำ หรอื การเสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ ทอดพระเนตรการท�ำ งานของสถานที ดลอง หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร การทดลองใหมๆ่ ๒๔

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วทิ ยาปรทิ รรศน์ พพิ ธิ ภัณฑ์และห้องสมดุ เปน็ ตน้ นอกจากนัน้ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี โปรดที่จะเสดจ็ พระราชดำ�เนินทรงฟงั การบรรยายและ การสัมมนาทางวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีภายในประเทศอยู่ เสมอ และโปรดท่ีจะมีพระราชปฏิสันถารด้านวิชาการกับนักวิทยาศาสตร์ และนักเทคโนโลยีช้ันนำ�ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ทรงนำ�ความรู้ไป แยกแยะ เช่ือมโยงกับประสบการณ์ เหตุการณ์ และความรู้อ่ืนๆ ส่วน พระองค์ จนเกดิ เปน็ พระราชวนิ จิ ฉยั และองคค์ วามรรู้ วมทใี่ ชเ้ ปน็ แนวทางใน การด�ำ เนินโครงการต่างๆ ตามพระราชดำ�ริตอ่ ไป พระราชกรณยี กจิ ในการพฒั นาทบี่ รู ณาการทกุ ดา้ นและเชอื่ มโยงกบั การพฒั นาชมุ ชนทง้ั ระบบ ท�ำ ใหส้ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงเปน็ ทยี่ กยอ่ งของโลก ทรงไดร้ บั การถวายพระเกยี รตมิ ากมาย ดงั ตวั อยา่ ง ต่อไปน้ี รางวลั รามอน แมกไซไซ ด้านบรกิ ารสาธารณะ มลู นิธิรามอน แมกไซไซ ทูลเกล้าฯ ถวาย ณ ศูนย์วัฒนธรรมฟิลิปปินส์ ประเทศฟิลิปปินส์ เม่ือวนั ที่ ๓๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ ๒๕

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วิทยาปรทิ รรศน์ รางวลั ความสำ�เรจ็ แห่งอาเซียน (ASEAN Achievement Award) สาขา พฒั นาชุมชน สถาบันอาเซยี น ทูลเกล้าฯ ถวาย เมือ่ พ.ศ. ๒๕๓๘ รางวัลแฟรงคลิน ดี. รูสเวลต์ อินเตอร์เนชั่นแนล ดิแซบิลิต้ี อวอร์ด ๒๐๐๑ ซงึ่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ แทนพระองค์ไปทรงรับในนามประเทศไทย ณ มหานครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา เมื่อวันท่ี ๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ รางวัลนักวจิ ยั ดเี ด่นแห่งชาติ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ สาขาสหวทิ ยาการ คณะกรรมการบริหารสภาวิจัยแห่งชาติ ทูลเกล้าฯ ถวาย เม่ือวันที่ ๑๑ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๔๕ ณ ศาลาดุสดิ าลัย สวนจิตรลดา รางวลั GSE International Award of Merit บณั ฑติ วทิ ยาลยั ศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เพนซลิ เวเนยี ทลู เกลา้ ฯ ถวาย เมอื่ พ.ศ. ๒๕๔๗ ในฐานะทที่ รง เปน็ ผู้นำ�ในการพฒั นาการศึกษา โล่เกียรติยศ ผู้นำ�ดีเด่นผู้อุทิศตนเพ่ือโครงการกำ�จัดโรคขาดสารไอโอดีน อย่างย่ังยืนในประเทศไทย สภานานาชาติเพื่อการควบคุมโรคขาดสาร ไอโอดีน ทูลเกลา้ ฯ ถวาย ณ กรงุ เทพมหานคร เมอ่ื วันท่ี ๑๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ตำ�แหนง่ เกยี รตยิ ศ ทูตพเิ ศษโครงการอาหารโลกแหง่ สหประชาชาติ ด้าน โครงการอาหารในโรงเรียน โครงการอาหารโลกแห่งสหประชาชาติถวาย สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ ไปทรงรับการถวายตำ�แหน่งดังกล่าว ณ สำ�นักงานโครงการอาหารโลก แหง่ สหประชาชาติ กรงุ โรม ประเทศอิตาลี เมื่อวนั ที่ ๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ๒๖

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วทิ ยาปรทิ รรศน์ ทูตองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ด้านการส่งเสริมศักยภาพของเด็กชนกลุ่มน้อยด้วยการศึกษา และอนรุ กั ษม์ รดกทางวฒั นธรรม (UNESCO Goodwill Ambassador for the Empowerment of Minority Children and the Preservation of their Intangible Cultural Heritage) องคก์ ารการศกึ ษาวทิ ยาศาสตร์ และวฒั นธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยเู นสโก) ถวายต�ำ แหน่ง นายโคอชิ โิ ร มัตสึอุระ ผูอ้ �ำ นวยการใหญ่ยูเนสโก พรอ้ มดว้ ยผู้บริหารยูเนสโก เข้าเฝา้ ฯ ทูลเกล้าฯ ถวายประกาศนียบัตรและเอกสารประกาศแต่งต้ัง เม่ือวันที่ ๒๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ ณ ศาลาดสุ ดิ าลัย สวนจิตรลดา รางวัลอินทิรา คานธี ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ เสด็จพระราชดำ�เนินไป ทรงรับรางวัล ณ ประเทศอินเดีย เมือ่ วนั ที่ ๑๙ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๔๘ นบั เปน็ ลำ�ดับท่ี ๑๙ ของผทู้ ่ีไดร้ บั รางวลั น้ี ต�ำ แหนง่ อปุ ถมั ภกกติ ตมิ ศกั ดิ์ (Honorary Patron) ในโครงการ Connect the World สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (International Telecommunication Union, ITU) ถวาย เม่ือวันท่ี ๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ รางวัลพิเศษสมาพันธ์โภชนาการนานาชาติ เพ่ือเทิดพระเกียรติผลงาน ดีเด่นในการช่วยเหลือและส่งเสริมโภชนาการของผู้ด้อยโอกาส อันเป็น พื้นฐานของการพัฒนามนุษย์ สมาพันธ์โภชนาการนานาชาติ ทูลเกล้าฯ ถวาย ณ กรงุ เทพมหานคร เม่อื วนั ท่ี ๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ๒๗

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วิทยาปริทรรศน์ เหรยี ญและโล่สดดุ พี ระเกียรตคิ ณุ “๑๐ มติ รชาวตา่ งชาติท่ีดีท่สี ุดในโลก ของจนี ” นายเจย่ี ชง่ิ หลนิ ประธานสภาทปี่ รกึ ษาทางการเมอื งแหง่ ชาตจิ นี ทลู เกล้าฯ ถวาย ณ มหาศาลาประชาชน กรุงปกั ก่งิ เมือ่ วนั ท่ี ๘ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ต�ำ แหนง่ สมาชกิ วฒุ สิ ภากติ ตมิ ศกั ด์ิ (สภาสงู ) ของมลู นธิ ผิ ไู้ ดร้ บั รางวลั โนเบล มลู นธิ ผิ ไู้ ดร้ บั รางวลั โนเบลถวาย ในพธิ เี ปดิ การประชมุ ผไู้ ดร้ บั รางวลั โนเบล ครง้ั ท่ี ๖๐ ณ หอประชมุ อนิ เซลฮลั เล เมอื งลนิ เดา เมอื่ วนั ที่ ๒๗ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๓ ตำ�แหน่งสมาชิกรางวัลผู้นำ�การจัดการเทคโนโลยี องค์กรการประชุม นานาชาติด้านการจัดการวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีแห่ง นครพอรต์ แลนด์ (พิคเม็ต) ถวาย เมอ่ื วันท่ี ๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ณ อาคารชัยพฒั นา สวนจิตรลดา กรุงเทพมหานคร รางวัล ดิ อารแ์ พด บอ็ กซ์ เมมโมร่ี เมดลั สมาพันธ์นกั ประดิษฐ์นานาชาติ (International Federation of Inventors’ Associations, IFIA) ทลู เกลา้ ฯ ถวาย เมือ่ วันที่ ๓ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๔ ณ อาคารชยั พัฒนา สวนจิตรลดา กรงุ เทพมหานคร เครื่องอิสริยาภรณ์ ฮีลาล-อี-ปากีสถาน นายอาซิฟ อาลี ซาร์ดารี ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน ทูลเกล้าฯ ถวาย เมื่อ วันที่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ณ ทำ�เนียบไอวัน อี ซาดร์ (ทำ�เนียบ ประธานาธิบดี) กรงุ อิสลามาบดั สาธารณรัฐอสิ ลามปากสี ถาน ปรญิ ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ กติ ตมิ ศกั ด์ิ สาขาบรกิ ารสาธารณะ เดอะเซจ คอลเลจ สหรัฐอเมริกา ทูลเกล้าฯ ถวาย ในพิธีประสาทปริญญาบัตรคร้ังที่ ๔๒ คริสต์ศกั ราช ๒๐๑๒ วันท่ี ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ณ เดอะเซจ คอลเลจ มลรฐั นวิ ยอร์ก สหรัฐอเมรกิ า ๒๘

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วทิ ยาปรทิ รรศน์ โล่ตำ�แหน่งสมาชิกกิตติมศักด์ิของสมาคมการศึกษาเปรียบเทียบแห่ง เอเชยี สมาคมการศึกษาเปรียบเทยี บแหง่ เอเชยี ทลู เกลา้ ฯ ถวาย ในงาน ประชุมวิชาการนานาชาติ คร้ังท่ี ๘ ของสมาคมการศึกษาเปรียบเทียบ แห่งเอเชยี วนั ที่ ๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ณ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพมหานคร เกียรติบัตรราชบัณฑิต ประจำ�บัณฑิตยสภาศาสตร์แห่งกรุงลิสบอน บัณฑิตยสภาศาสตร์แห่งกรุงลิสบอน ทูลเกล้าฯ ถวาย เม่ือวันที่ ๑๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ณ สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐโปรตุเกส ประจำ�ประเทศไทย กรุงเทพมหานคร ต�ำ แหนง่ สมาชกิ กติ ตมิ ศกั ด์ิ สถาบนั เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตศ้ กึ ษา สถาบนั เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตศ้ กึ ษา ถวาย เมอื่ วนั ที่ ๒๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ณ สถาบนั เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ศกึ ษา ประเทศสิงคโปร์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี มพี ระอจั ฉรยิ ภาพ ทโ่ี ดดเดน่ ในดา้ นการบรู ณาการศาสตรต์ า่ งๆ เพอื่ น�ำ ไปใชใ้ นการพฒั นาคนและ สงั คมในหลากหลายมติ ิ แนวพระราชด�ำ รนิ ท้ี �ำ ใหว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ไมแ่ ปลกแยกจากมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ทรงเหน็ วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยเี ปน็ สว่ นส�ำ คญั ของวฒั นธรรมและสงั คม ความรทู้ างวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยีเป็นพ้ืนฐานสำ�คัญที่จะต้องให้เด็กและเยาวชนทุกคนเรียนรู้ มิใช่ เลือกใหแ้ ก่บางกลุ่มเทา่ นน้ั ที่ส�ำ คญั คอื ต้องไมเ่ พยี งแตจ่ ะใหค้ วามรู้เก่ียวกบั ธรรมชาตแิ ละเทคโนโลยแี กเ่ ดก็ และเยาวชน แตจ่ ะตอ้ งมงุ่ สรา้ งความตระหนกั ให้เกิดข้ึนในจิตสำ�นึกของเด็กและเยาวชนเพ่ือให้รู้ทั้งคุณค่าและโทษภัยที่ อาจจะประสบจากการไมเ่ ข้าใจธรรมชาติ อันจะนำ�มาซงึ่ ทศั นคตเิ ชงิ อนุรักษ์ และสรา้ งสรรคท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม ตลอดจนการใชท้ รพั ยากร ธรรมชาติอย่างชาญฉลาด ท้ังน้ีเพื่อสันติภาพและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ดังพระราชดำ�รัสตอบมูลนิธิผู้ได้รับรางวัลโนเบล เนื่องในโอกาสท่ีมูลนิธิฯ ๒๙

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วิทยาปริทรรศน์ ถวายพระเกียรติให้ทรงดำ�รงตำ�แหน่งสมาชิกวุฒิสภากิตติมศักด์ิของมูลนิธิ ผูไ้ ดร้ ับรางวลั โนเบล เมอ่ื วนั ท่ี ๒๗ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๓ ความตอนหนึง่ วา่ ​ “การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ได้ทำ�ให้มนุษย์มีการกินอยู่ที่ดีขึ้น ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ยังทำ�ให้เกิดความก้าวหน้าทางด้านนวัตกรรม และ วิทยาศาสตร์ยังเป็นแรงขับเคล่ือนท่ีสำ�คัญด้านสุขภาพ สาธารณสุขและยา ทำ�ให้มนุษย์เราสามารถดำ�รงชีวิตอยู่ได้อย่างผาสุกยืนยาว และมีสุขภาพท่ีดี อย่างไรกด็ ี เราตอ้ งพยายามผลกั ดันใหว้ ิทยาศาสตร์มีประโยชนแ์ ก่ประชากร โลกอย่างท่ัวถึง ต้องพยายามช่วยกันยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้ด้อยโอกาส ในสงั คมโลกโดยไมค่ ำ�นึงถึงความแตกตา่ งทางด้านเศรษฐกิจ สงั คม เชอ้ื ชาติ และศาสนา” ปรบั ปรงุ และเพมิ่ เตมิ จากบทความของ รองศาสตราจารย์ ดร.คณุ หญิงสุมณฑา พรหมบญุ ตพี ิมพใ์ น วารสารวทิ ยาศาสตร์ ของสมาคมวทิ ยาศาสตร์แหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชปู ถัมภ์ ปีท่ี ๕๙ ฉบบั ที่ ๒ เดือนมีนาคม-เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๘ ๓๐

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วทิ ยาปรทิ รรศน์ การพัฒนาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

๖๐ พรรษา รตั นราชสดุ า วทิ ยาปรทิ รรศน์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ฉายพระฉายาลักษณร์ ่วมกับเจ้าหนา้ ท่ี ผบู้ ริหารของเซิรน์ บริเวณดา้ นหน้าเครอื่ งตรวจวัดอนุภาคซีเอม็ เอส เม่ือวันที่ ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๒

๖๐ พรรษา รัตนราชสดุ า วิทยาปรทิ รรศน์ นักวิทยาศาสตร์ไทยกา้ วไกลส่เู ซริ ์น “ขา้ พเจา้ หวงั วา่ ความพยายามน ้ี สามารถนาํ ไปสคู่ วามเขา้ ใจอนั ดรี ะหวา่ งประเทศ ตา่ งๆ ทาํ ใหส้ ามารถปฏบิ ตั งิ านรว่ มกนั ได ้ โดยปราศจากขอ้ ขดั แยง้ โดยมหี ลกั การ ทางวทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ สง่ิ ทเี่ ชอื่ มโยงเขา้ หากนั สาํ หรบั นกั วทิ ยาศาสตร์ นกั วจิ ยั ตลอดจนนกั ศกึ ษาจากประเทศไทยนน้ั การไดร้ บั การยอมรบั ใหเ้ ขา้ ไปมสี ว่ นรว่ ม ในองค์กรทางวิทยาศาสตร์เช่นนี้ ถือเป็นการแสดงถึงมาตรฐานการศึกษา และคณุ ภาพของประชากรในประเทศได้อย่างดียิ่ง” พระราชดาํ รสั สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในการพระราชทานปรญิ ญาบตั รวทิ ยาศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิตกิตตมิ ศักดิ์ (สาขาฟสิ ิกส์) ของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี แก่ ศาสตราจารย์ รอล์ฟ ดเี ทอร์ ฮอยเออร์ (Professor Rolf-Dieter Heuer) ผู้อาํ นวยการใหญ่ องคก์ รความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศในทวปี ยโุ รป เพอื่ วิจัยและพัฒนานวิ เคลยี ร์ (CERN) ณ วงั สระปทมุ กรงุ เทพมหานคร วันที่ ๑๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ​เซริ น์ (CERN) เปน็ องคก์ รวจิ ยั ดา้ นฟสิ กิ สอ์ นภุ าคทย่ี ง่ิ ใหญท่ ส่ี ดุ ในโลก เป็นแหล่งผลิตความรู้พ้ืนฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูงใน หลากหลายสาขา เซริ ์นยงั เปน็ แหล่งรวมนักวจิ ยั วิศวกร และนกั ฟสิ กิ ส์ช้ันนำ� ของโลกดา้ นการออกแบบและจดั สรา้ งเครอ่ื งเรง่ อนภุ าค เครอ่ื งตรวจวดั อนภุ าค และทำ�งานวิจัยดา้ นฟิสกิ สอ์ นภุ าคทง้ั ทางทฤษฎีและการทดลอง ​ความรว่ มมอื ระหวา่ งไทยกบั เซริ น์ เกดิ ขน้ึ ดว้ ยพระมหากรณุ าธคิ ณุ ของ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทส่ี นพระทยั ในความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยีของเซิร์นและเสด็จเยือนเซิร์น ๒ คร้ังแรก ใน พ.ศ. ๒๕๔๓ และ พ.ศ. ๒๕๔๖ ทรงพระราชดำ�ริ และมีพระราชกระแสรับสั่งกับ ๓๓

๖๐ พรรษา รตั นราชสดุ า วิทยาปรทิ รรศน์ เซริ น์ คืออะไร? เซิร์น (CERN) เป็นองค์กรวิจัยด้านฟิสิกส์อนุภาค ตั้งอยู่ที่เมืองเจนีวา สมาพนั ธรฐั สวสิ ค�ำ วา่ CERN เปน็ ชอ่ื ยอ่ ของชอ่ื ในภาษาฝรง่ั เศสวา่ Conseil Européen pour la Recherche Nucléaire (ทปี่ ระชมุ แหง่ ยุโรปเพ่ือการวจิ ัยนิวเคลยี ร)์ ซ่ึงเป็น คณะทำ�งานชว่ั คราวท่ที ำ�หน้าท่จี ัดตง้ั ห้องปฏบิ ตั ิการวิจัยนานาชาติตามขอ้ เสนอท่รี ิเร่มิ โดยลูย วกิ ตอร์ เดอ เบรย (Louis Victor de Broglie) นกั ฟสิ กิ ส์ชาวฝร่ังเศส เซริ น์ ไดร้ บั การจดั ตัง้ อยา่ งเปน็ ทางการเมือ่ วนั ที่ ๒๙ กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๙๗ โดยมีสมาชิกก่อตั้ง ๑๒ ประเทศในแถบยโุ รป ตะวนั ตก ชอ่ื ในภาษาฝรง่ั เศสคอื Organisation Européen pour la Recherche Nucléaire และชือ่ ในภาษาองั กฤษคือ European Organization for Nuclear Research (องคก์ ร เพ่อื การวิจัยนิวเคลียร์แห่งยุโรป) แต่ช่อื ย่อยังคงใช้ว่า CERN ตามเดมิ ลยู วกิ ตอร์ เดอ เบรย ที่มา : http://en.wikipedia.org/wiki/CERN (ค.ศ. ๑๘๙๒-๑๙๘๗) ศาสตราจารย์ ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์ ว่า หากนักวิทยาศาสตร์ไทยมีโอกาส ทำ�งานวิจัยร่วมกับเซิร์น ก็จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยขี องประเทศเป็นอันมาก ศาสตราจารย์ ดร.ไพรชั ธัชยพงษ์ จงึ ได้ประสานเพอ่ื ให้มกี ารหารือ ร่วมระหวา่ งทมี ผบู้ รหิ ารของเซริ น์ และสถาบนั วจิ ยั แสงซนิ โครตรอน (องคก์ าร มหาชน) เพื่อศึกษาความเป็นไปได้เกี่ยวกับความร่วมมือในสาขาวิชาการ ท่ีเก่ียวข้อง จนกระท่ังมีการลงนามแสดงเจตจำ�นงระหว่างสถาบันวิจัยแสง ซินโครตรอนและสถานีวิจัยซีเอ็มเอส (CMS) ของเซิร์น (Expression of Interest in the Participation of Physicists from Universities and Research Institutes from Thailand in the CMS Experiment at the CERN LHC Accelerator) ๓๔

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วทิ ยาปริทรรศน์ ​ ความร่วมมือดงั กล่าวเปดิ โอกาสให้นกั ศึกษาและครฟู ิสกิ ส์ไทยไดเ้ ข้า ร่วมโครงการภาคฤดูร้อนเซิร์น รวมท้ังทำ�ให้นักฟิสิกส์ไทยได้เข้าร่วมทำ�การ ทดลองด้านฟิสิกส์อนุภาคพลังงานสูง และมีความร่วมมือด้านวิชาการและ วจิ ยั กบั เซริ น์ อกี ดว้ ย ทง้ั น้ี สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี มพี ระมหากรณุ าธคิ ณุ ประทบั เปน็ ประธานและสกั ขพี ยานในพธิ ลี งนามครง้ั นน้ั ในระหวา่ งการเสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ เยอื นเซริ น์ ครง้ั ท่ี ๓ เมอ่ื วนั ท่ี ๑๖ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ​ใน พ.ศ. ๒๕๕๒ ได้มีการจัดตั้งคณะอนุกรรมการด้านวิชาการและ วจิ ยั กบั เซริ น์ เพอ่ื สนบั สนนุ ความรว่ มมอื วจิ ยั ระหวา่ งหนว่ ยงานของไทยกบั เซริ น์ คณะอนุกรรมการนี้มีสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) และ ส�ำ นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ ท�ำ หนา้ ทเ่ี ลขานกุ ารร่วม กิจกรรมต่างๆ ได้เกิดขึ้นมาเป็นลำ�ดับ เช่น โครงการคัดเลือกนักศึกษาและ ครูฟิสิกส์ภาคฤดูร้อนเซิร์น โครงการ CERN School Thailand และ โครงการเครอื ขา่ ยกรดิ คอมพวิ ตง้ิ เปน็ ตน้ ปจั จบุ นั คณะอนกุ รรมการดงั กลา่ ว ได้เปลี่ยนชื่อเป็น คณะอนุกรรมการความร่วมมือด้านวิชาการและวิจัยกับ เซริ ์น-เดซี สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ฉายพระฉายาลักษณ์ หลงั พธิ ลี งนามบนั ทกึ ความเขา้ ใจ (MoU) ระหวา่ งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั กบั สถานวี จิ ยั ซเี อม็ เอส ณ วงั สระปทมุ เม่อื วันท่ี ๑๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ๓๕

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วิทยาปริทรรศน์ เซิรน์ ทำ�อะไร? ปัจจุบันงานวิจัยหลักของเซิร์น เกยี่ วขอ้ งกบั ฟสิ กิ สอ์ นภุ าคมากกวา่ ฟสิ กิ ส์ นิวเคลียร์ โดยเป็นที่ต้ังของเคร่ืองเร่ง อนภุ าคแอลเอชซี (LHC: Large Hadron Collider) ซ่ึงเป็นเครื่องเร่งอนุภาคท่ีมี พลังงานสูงท่ีสดุ ในปจั จุบัน ค�ำ ว่า Large ในช่อื LHC มาจาก เคร่อื งเรง่ อนภุ าค LHC การท่ีระบบลำ�เลียงอนุภาคมีลักษณะ เป็นทอ่ วงกลมขนาดใหญม่ าก มีเสน้ รอบวงยาวถงึ ๒๗ กิโลเมตร ส่วนค�ำ วา่ Hadron (แฮดรอน) คืออนภุ าคซึง่ องค์ประกอบเป็นอนภุ าคมูลฐานทีเ่ รียกวา่ ควารก์ (quark) และคำ�ว่า Collider คือเครื่องซ่ึงบังคับให้อนุภาคต้ังต้นว่ิงมาปะทะกันอย่างรุนแรง จนเกดิ เปน็ อนุภาคชนดิ ต่างๆ นกั ฟสิ กิ สส์ ามารถน�ำ ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการทดลองไปใชใ้ นการตอบปญั หาพนื้ ฐาน ทางวทิ ยาศาสตรห์ ลายขอ้ เชน่ มวลของอนภุ าคเกดิ จากกลไกฮกิ ส์ (Higgs mechanism) จริงหรือไม่? เหตุใดโปรตอนจึงมีมวลมากกว่าอิเล็กตรอนราว ๑,๘๓๖ เท่า? เหตุใด แรงโน้มถ่วงจึงเป็นแรงท่ีอ่อนมากเหลือเกินเม่ือเทียบกับแรงพื้นฐานอื่นๆ (อันได้แก่ แรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงนิวเคลียร์แบบอ่อน และแรงนิวเคลียร์แบบเข้ม)? สสารมืด (dark matter) คืออะไร? พลังงานมืด (dark energy) คืออะไร? ตลอดจนถงึ สภาวะเรมิ่ ตน้ ของเอกภพ ณ บก๊ิ แบง (Big Bang) เปน็ อยา่ งไร เป็นต้น ทม่ี า : http://home.web.cern.ch/about/accelerators ​กจิ กรรมทเ่ี กดิ ขน้ึ จากความรว่ มมอื ระหวา่ งไทยกบั เซริ น์ มหี ลายรปู แบบ ไดแ้ ก่ การเผยแพร่ความรู้เก่ียวกับฟิสิกส์อนุภาค : ดำ�เนินการผ่านโครงการ สง่ เสรมิ การจดั กจิ กรรมทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั เซริ น์ เชน่ CERN School Thailand (ระดบั ปรญิ ญาโท-เอก) และ Thailand Experimental Particle Physics Novice Workshop (ระดับปริญญาตรี) เป็นต้น มีเน้ือหาทั้งทางด้าน ทฤษฎแี ละดา้ นการทดลอง มวี ิทยากรทั้งชาวไทยและวทิ ยากรจากเซริ ์น ๓๖

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วิทยาปรทิ รรศน์ การส่งนักศึกษาและครูสอนฟิสิกส์ไปเรียนรู้ท่ีเซิร์น : ด�ำ เนินการผ่าน โครงการคดั เลอื กนกั ศกึ ษาและครสู อนฟสิ กิ ส์ เพอื่ รว่ มโปรแกรมภาคฤดรู อ้ น เซริ น์ (CERN Summer Student Programme และ CERN Physics High School Teacher Programme) กจิ กรรมนเ้ี รมิ่ ตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๕๕๓ ทั้งน้ี ในปัจจุบันได้เปิดโอกาสให้นักศึกษาท่เี รียนในสาขาวิชาวิศวกรรม คอมพิวเตอร์ วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ หรือวิทยาการคอมพิวเตอร์ ซ่งึ มคี วามรทู้ างดา้ นการคาํ นวณแบบขนานและกระจาย (Parallel and Distributed Computing) และ การคํานวณแบบคลาวด์ (Cloud Computing) เข้าร่วมโครงการ เพื่อให้ครอบคลุมงานท่ีร่วมดำ�เนินการ กบั เซริ น์ อีกดว้ ย การส่งนักวิจัยไปทำ�งานที่เซิร์น : ดำ�เนินการผ่านโครงการส่งเสริม นกั ศกึ ษาปรญิ ญาโท-เอก และนกั วจิ ยั ไปท�ำ งานวจิ ยั ณ เซริ น์ และพฒั นา ใหเ้ กิดการทำ�วิจัยร่วมกับเซิร์น ใน พ.ศ. ๒๕๕๕ มหาวทิ ยาลัยของไทย ทไ่ี ด้ลงนามความร่วมมือกับหน่วยวิจัยของเซิร์น ได้แก่ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั กบั สถานวี จิ ยั ซเี อม็ เอส และมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี รุ นารี กบั สถานีวิจัยอลิซ (ALICE: A Large Ion Collider Experiment) เพื่อ ประโยชนท์ างดา้ นงานวจิ ยั และการจดั สง่ นักศกึ ษาเพอ่ื ไปปฏบิ ตั งิ านวจิ ยั ทเ่ี ซริ น์ ตวั อยา่ งนกั วจิ ยั ทไ่ี ดท้ �ำ งานวจิ ยั รว่ มกบั ดร.นรพทั ธ์ ศรีมโนภาษ เซิร์น เช่น ดร.นรพัทธ์ ศรีมโนภาษ ปฏบิ ตั งิ านวจิ ยั ณ สถานีวจิ ยั ซเี อม็ เอส ในนามของจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยศึกษาเรอ่ื งอนภุ าคสอ่ื แรงโนม้ ถว่ ง (graviton) สสารมดื ในเครอ่ื งเรง่ อนภุ าค และอนภุ าคฮกิ สท์ ส่ี ลายตวั เปน็ อนภุ าค ทไ่ี มส่ ามารถตรวจวดั ไดโ้ ดยตรง เปน็ ตน้ ๓๗

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วทิ ยาปรทิ รรศน์ การจดั ตง้ั ภาคโี ครงสรา้ งพน้ื ฐานระดบั ชาตดิ า้ น e-Science (National e-Science Infrastructure Consortium) : โครงการนเี้ กดิ ขน้ึ จากการที่ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ เยอื นเซริ น์ ครงั้ ท่ี ๓ และได้ทอดพระเนตรโครงการ ดับเบิลยแู อลซีจี (WLCG: Worldwide LHC Computing Grid) ซง่ึ เปน็ ความรว่ มมอื ของศนู ยค์ อมพวิ เตอรท์ ว่ั โลก กวา่ ๑๔๐ แห่งใน ๓๔ ประเทศ สถานีวจิ ยั ท้ัง ๔ แห่งของแอลเอชซี และ โครงการกริดแห่งชาติและนานาชาติ จึงมีพระราชดำ�ริว่าประเทศไทย ควรจะจดั ท�ำ โครงการการค�ำ นวณในลกั ษณะกรดิ เพอ่ื ประยกุ ตใ์ ชง้ านภายใน ประเทศ โดยสามารถเชื่อมโยงกับดับเบิลยูแอลซีจีได้ในขณะเดียวกัน อกี ดว้ ย โครงสรา้ งพน้ื ฐานของ e-Science ไดแ้ ก่ ระบบคอมพวิ เตอร์ ระบบจดั เกบ็ ข้อมูล เครือข่ายคอมพิวเตอร์และฐานข้อมูล ส่วนสาขาการวิจัย ได้แก่ ฟิสกิ สอ์ นภุ าคพลงั งานสงู การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ การบรหิ าร ทรพั ยากรน�ำ้ พลงั งานและสง่ิ แวดลอ้ ม วทิ ยาการและวศิ วกรรมเชงิ ค�ำ นวณ และวิทยาการและวิศวกรรมคอมพวิ เตอร์ การส่งนักเรียนไทยไปดูงานที่เซิร์น : ในเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี มรี ับสงั่ ให้คดั เลือก นักเรียนท่ีมีศักยภาพเพื่อเดินทางไปดูงานท่ีเซิร์นตามคำ�กราบบังคมทูล ของศาสตราจารย์ เอ็มมานูเอล เซสมิลิส (Emmanuel Tsesmelis) โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ซ่ึงมีความพร้อม ณ ขณะน้ันได้รับสนอง พระราชด�ำ ริ โดยประกาศรบั สมคั รและคดั เลอื กนกั เรยี นจากผลการเรยี น วิชาฟสิ ิกส์และดาราศาสตร์ จำ�นวน ๑๐ คน นกั เรียนกลมุ่ น้ีไดเ้ ดนิ ทาง ไปทเ่ี ซริ น์ ในชว่ งวนั ท่ี ๔-๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ และใน พ.ศ. ๒๕๕๗ สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) ได้แต่งตั้งคณะทำ�งาน โครงการจดั สง่ นกั เรยี นระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายไปศกึ ษาดงู านทเี่ ซริ น์ ๓๘

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วทิ ยาปรทิ รรศน์ เพอื่ ด�ำ เนนิ การคดั เลอื กนกั เรยี นทมี่ คี วามสนใจและมคี ณุ สมบตั เิ หมาะสม คณะทำ�งานได้คดั เลอื กนักเรยี น จำ�นวน ๑๒ คน เดินทางไปศึกษาดงู าน ทเี่ ซริ น์ เปน็ ปีที่ ๒ ในชว่ งวนั ที่ ๑-๘ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๗ นักศึกษาและครสู อนฟสิ ิกส์ไทยขณะไปอบรมท่ีเซริ น์ นักศกึ ษาไทยขณะทำ�งานทเี่ ซิร์น ๓๙

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วทิ ยาปรทิ รรศน์ หลายอย่างท่ีเราใชก้ นั อยูแ่ ทบทกุ วันคดิ คน้ โดยเซริ ์น การท่ีเซิร์นพัฒนาเครื่องมือและอุปกรณ์ที่มีขีดความสามารถสูงทำ�ให้เกิด ผลพลอยไดเ้ ปน็ เทคโนโลยใี หมๆ่ ทต่ี อ่ มาคนในปจั จบุ นั ไดใ้ ชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งกวา้ งขวาง ตัวอย่างเชน่ เวิลด์ไวดเ์ วบ็ (WWW : World Wide Web) ถอื ก�ำ เนดิ ข้ึนทเ่ี ซริ ์น เนือ่ งจาก ทิม เบอเนอร์ส ลี (Tim Berners-Lee) นักคอมพิวเตอร์และทีมงาน ต้องการให้ นักวิทยาศาสตร์ที่อยู่ห่างไกลกันคนละทวีปสามารถเข้าถึงข้อมูลการทดลองได้โดย สะดวกผ่านอินเทอร์เน็ต หน้าจอแบบสัมผัสก็พัฒนาโดยวิศวกรของเซิร์นและเร่ิมใช้งานใน พ.ศ. ๒๕๑๖ สว่ นเทคโนโลยี เพท็ (PET: Positron Emission Tomography) กถ็ อื ก�ำ เนดิ ขน้ึ ที่เซิร์นเช่นกัน โดยถ่ายภาพแรกได้เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๐ เครื่องคอมพิวเตอร์ทีท่ �ำ หน้าทเี่ ปน็ เวบ็ เซริ ์ฟเวอรเ์ ครือ่ งแรกของโลก ทม่ี า : http://en.wikipedia.org/wiki/World_Wide_Web ต้ังแตป่ ี พ.ศ. ๒๕๕๓ จนถงึ ๒๕๕๗ หนว่ ยงานในประเทศไทยท่ีมี ความรว่ มมอื กบั เซริ น์ มที ง้ั สน้ิ ๑๓หนว่ ยงานไดแ้ ก่สถาบนั วจิ ยั แสงซนิ โครตรอน (องคก์ ารมหาชน) ศนู ยค์ วามเปน็ เลศิ ดา้ นฟสิ กิ สส์ ถาบนั วจิ ยั ดาราศาสตรแ์ หง่ ชาติ (องคก์ าร มหาชน) ส�ำ นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การวจิ ยั จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ๔๐

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วทิ ยาปรทิ รรศน์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสรุ นารี มหาวิทยาลยั มหดิ ล มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลา้ ธนบรุ ี สถาบนั เทคโนโลยีนวิ เคลยี รแ์ หง่ ชาติ (องค์การมหาชน) สถาบันสารสนเทศทรัพยากรนำ้�และการเกษตร (องค์การมหาชน) สถาบัน สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ส�ำ นกั งานพฒั นาวจิ ยั การเกษตร (องคก์ ารมหาชน) และส�ำ นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) ​ประเทศไทยอาจไมม่ ที รพั ยากรและขดี ความสามารถทางเทคโนโลยี สงู เพยี งพอในการสรา้ งเครอื่ งมอื วจิ ยั ทตี่ อ้ งใชต้ น้ ทนุ มหาศาล แตห่ ากคนไทย มีโอกาสเข้าไปเรียนรู้ ผ่านการดูงาน การฝึกอบรม และการทำ�งานร่วมกับ นกั วชิ าการและวศิ วกรมอื อาชพี ในสถาบนั ทางวทิ ยาศาสตรร์ ะดบั โลกเชน่ เซริ น์ ก็ย่อมช่วยยกระดับคุณภาพของบุคลากร ท้ังยังมีโอกาสได้สร้างเครือข่าย ความสัมพันธ์อันดีกับผู้มีความรู้ความสามารถจำ�นวนมาก อันจะส่งผลดีต่อ การพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยขี องไทยในทสี่ ดุ จงึ นบั เปน็ ความโชคดี ของวงการวิทยาศาสตร์ท่ีได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพ รตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ผมู้ สี ายพระเนตรกวา้ งไกลในการพฒั นา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และได้ทรงปูทางความร่วมมือจนก่อให้เกิด กจิ กรรมตา่ งๆ ขนึ้ อย่างเปน็ รปู ธรรม ๔๑

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วทิ ยาปริทรรศน์ ศาสตราจารย์ ดร.เฮลมทุ โดช (Prof. Dr. Helmut Dosch) ผู้อ�ำ นวยการสถาบันเดซี เข้าเฝ้าฯ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เมื่อวนั ที่ ๙ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ณ โรงแรมอิมพเี รยี ล ควนี สป์ าร์ค กรุงเทพมหานคร คราวเสด็จพระราชด�ำ เนิน ทรงเปน็ ประธานเปิดการประชมุ วิชาการเรื่อง “The 6th Asia-Oceania Forum for Synchrotron Radiation Research (AOFSRR 2012) and The 4th SLRI Annual User Meeting (SLRI AUM 2012)”

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วทิ ยาปรทิ รรศน์ เยาวชนไทยเก็บเก่ยี วประสบการณ์ ทส่ี ถาบนั เดซี (DESY: Deutsches Elektronen-Synchrotron) “เมื่อมีโอกาสไปร่วมกิจกรรมในต่างแดน เยาวชนควรหมั่นหาความรู้และ ประสบการณ์ให้มาก ไม่เพียงแต่ทำ�งานและทำ�กิจกรรมในสถาบันเพียง อยา่ งเดยี ว แตใ่ หเ้ รยี นรสู้ งั คม วฒั นธรรม และบา้ นเมอื งของผอู้ น่ื วา่ เปน็ อยา่ งไร” พระราชด�ำ รัส สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี พระราชทานคณะผู้บรหิ ารและเยาวชน งานประชมุ ประจ�ำ ปสี �ำ นักงานพฒั นาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี ห่งชาติ (สวทช.) วนั ท่ี ๒๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ณ อุทยานวทิ ยาศาสตร์ประเทศไทย ​สถาบันเดซี (DESY: Deutsches Elektronen-Synchrotron) เป็น องค์กรวิจัยช้ันนำ�ของโลกด้านแสงซินโครตรอนและด้านฟิสิกส์อนุภาค มลู ฐาน มที ต่ี งั้ สองแหง่ คอื เมอื งฮมั บรู ก์ และเมอื งซอยเธน สหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมนี ในช่วงฤดรู อ้ นของแตล่ ะปี สถาบันแหง่ นจ้ี ะเปดิ โอกาสใหน้ ักศกึ ษา ทผ่ี า่ นการคดั เลือกในสาขาฟิสิกสแ์ ละวิทยาศาสตรธ์ รรมชาติสาขาต่างๆ เขา้ ร่วมกิจกรรมวิจัยในห้องปฏิบัติการในโครงการนักศึกษาภาคฤดูร้อนเดซี (DESY Summer Student Programme) สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯสยามบรมราชกมุ ารีเสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ เยอื นสถาบนั เดซี ณ เมอื งฮมั บรู ก์ ๒ ครงั้ ครงั้ แรก เมอื่ วนั ที่ ๒๑ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ และครงั้ ที่ ๒ เมอ่ื วันที่ ๓๐ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ในการเสดจ็ เยือน ครง้ั แรก สถาบนั เดซไี ดท้ ลู เกลา้ ฯ ถวายทนุ โครงการนกั ศกึ ษาภาคฤดรู อ้ นเดซี ๔๓

๖๐ พรรษา รัตนราชสดุ า วิทยาปรทิ รรศน์ ปลี ะ ๑ ทนุ และนายโวลฟ์ กงั โครหน์ (Wolfgang Krohn) กงสลุ ใหญก่ ติ ตมิ ศกั ด์ิ ทูลเกล้าฯ ถวายเพิ่มอีก ๑ ทุน รวมเป็น ๒ ทุนต่อปี เพื่อให้นักศึกษาไทย ในสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติเข้าร่วมกิจกรรมวิจัยระยะส้ัน ในปัจจุบัน ทนุ ดงั กลา่ วเพมิ่ เปน็ ปลี ะ ๔ ทนุ หลงั การลงนามความรว่ มมอื เมอื่ เดอื นสงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำ เนินเยอื นสถาบนั เดซี เมอ่ื วนั ที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ศาสตราจารย์ ดร.เฮลมทุ โดช (Helmut Dosch) ผู้อำ�นวยการสถาบันเดซรี บั เสดจ็ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรณุ า โปรดเกล้าฯ ให้สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติและ ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยเคร่ืองกำ�เนิดแสงซินโครตรอนแห่งชาติ (ปัจจุบันคือ สถาบนั วจิ ยั แสงซนิ โครตรอน (องคก์ ารมหาชน)) คดั เลอื กเยาวชนไทยเขา้ รว่ ม กิจกรรมวจิ ยั ดังกลา่ ว จนถึง พ.ศ. ๒๕๕๗ มีผเู้ ข้ารว่ มโครงการทงั้ สิ้น จ�ำ นวน ๒๗ คน ๔๔

๖๐ พรรษา รัตนราชสดุ า วิทยาปริทรรศน์ โครงการผลิตแสงซนิ โครตรอนแบบเลเซอรย์ ่านรังสีเอกซข์ องยุโรป (The European X-Ray Laser Project, XFEL) มีเคร่อื งเรง่ อิเล็กตรอนแบบทางตรงยาว ๓.๔ กโิ ลเมตร อยู่ในอุโมงค์ใต้ดนิ ลกึ ในชว่ ง ๖-๓๘ เมตร และมีสถานบี นพ้ืนดิน ๓ แหง่ คาดวา่ จะเสร็จใน พ.ศ. ๒๕๕๘ และเปิดใหบ้ รกิ ารใน พ.ศ. ๒๕๕๙ กจิ กรรมในโครงการนกั ศกึ ษาภาคฤดรู อ้ นเดซมี ี ๕ ลกั ษณะ นกั ศกึ ษา สามารถเลอื กไดต้ ามความถนดั และความสนใจ ได้แก่ ๑ การทดลองในสาขาฟิสิกส์อนุภาคมูลฐาน (Experiments in Elementary Particle Physics) มีกิจกรรมวจิ ัย ๓ รูปแบบ ไดแ้ ก่ งานวิเคราะห์เชิงฟิสิกส์ งานพัฒนาอุปกรณ์การทดลองและงาน ประมวลผลข้อมูล ๒ การทดลองทใ่ี ชแ้ สงซนิ โครตรอน (Experiments with Synchrotron Radiation) นกั ศกึ ษาจะไดส้ มั ผสั งานวจิ ยั พน้ื ฐานและงานวจิ ยั ประยกุ ต์ ในสาขาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา การแพทย์ วสั ดศุ าสตร์และธรณีวทิ ยา โดยร่วมทำ�การทดลองและวิเคราะห์ข้อมูล หรือเข้าร่วมงานพัฒนา เคร่อื งมือ ๔๕

๖๐ พรรษา รตั นราชสดุ า วทิ ยาปรทิ รรศน์ ๓ งานวจิ ยั เกี่ยวกบั เครือ่ งเรง่ อนภุ าค (Research on Accelerators) นักศึกษาจะได้เข้าร่วมกลุ่มพัฒนาเครื่องเร่งอนุภาคในแนวตรงที่มี ชื่อว่า เทสลา (TESLA) หรือร่วมวิจยั เกี่ยวกับแม่เหล็กตวั น�ำ ยิง่ ยวด ๔ ทฤษฎีของอนุภาคมูลฐาน (Theory of Elementary Particles) นักศึกษาจะได้ร่วมงานวิจัยทางทฤษฎี โดยอ่านเอกสารวิจัยและ ร่วมการอภปิ ราย ๕ การค�ำ นวณในสาขาฟสิ กิ สพ์ ลงั งานสงู (Computing in High Energy Physics) นกั ศกึ ษาจะไดร้ ว่ มงานวจิ ยั ทหี่ อ้ งปฏบิ ตั กิ าร ณ เมอื งซอยเธน โดยมโี อกาสร่วมทดสอบและพฒั นาซอฟต์แวร์ ผู้ที่เคยเข้าร่วมโครงการนักศึกษาภาคฤดูร้อนเดซีได้นำ�ความรู้และ ประสบการณ์ท่ไี ด้รับมาใชใ้ นงานวิจยั ตัวอยา่ งเช่น นายณริ วฒั น์ ธรรมจกั ร์ ปจั จบุ นั เปน็ นกั วทิ ยาศาสตรร์ ะบบล�ำ เลยี งแสง ประจำ�สถานีวิจัย BL8-XAS ฝ่ายสถานีวิจัย สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) ศึกษาโครงสร้างผลึกของสารแม่เหล็กชนิดใหม่โดยใช้ หลกั การของผลกึ ศาสตรร์ งั สเี อกซ์ (X-ray crystallography) และผลกึ ศาสตร์ นวิ ตรอน (neutron crystallography) นางสาวพงษ์ลัดดา ปัญญาจิรวุฒิ ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำ� ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ศึกษาโครงสร้าง ผลึกของซิงค์ออกไซด์โดยใช้การเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์ (X-ray diffraction) ซิงค์ออกไซด์มีสมบัติเป็นสารกึ่งตัวนำ� และสามารถใช้ทำ�ฟิล์มบางเพื่อใช้ เป็นเซ็นเซอร์ตรวจจับทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ รวมท้ังใช้เป็นเซลล์ แสงอาทติ ยไ์ ด้ ๔๖

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วิทยาปรทิ รรศน์ ความร่วมมือทางเทคโนโลยีกับสถาบันเดซี สถาบนั เดซมี แี ผนหยดุ ใชง้ านเครอ่ื งก�ำ เนดิ แสงซนิ โครตรอน DORIS III เพอ่ื เปลย่ี นไป ใชเ้ ครื่องกำ�เนดิ แสงซนิ โครตรอน PETRA III แทน จงึ ไดบ้ ริจาคอุปกรณบ์ างส่วนของ เคร่ือง DORIS III (ได้แก่ ระบบกระจกโฟกัส ๔ ระบบ) ให้แก่สถาบันวิจัยแสง ซินโครตรอน (องคก์ ารมหาชน) เมอ่ื วนั ท่ี ๒๘ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ อปุ กรณด์ งั กลา่ ว ใชเ้ พือ่ ปรบั ปรงุ ระบบล�ำ เลยี งแสง โดยสามารถเพม่ิ ความเข้มแสงซินโครตรอนที่สถานี ทดลองใหส้ ูงกว่าท่ีเปน็ อยใู่ นปจั จบุ นั ได้หลายเท่า นางสาวอัจฉรา ปญั ญา ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจำ�ภาควิชาฟสิ กิ ส์ และวสั ดศุ าสตร์ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ศกึ ษาการค�ำ นวณ โครงสรา้ งผลกึ ของสารกงึ่ ตวั น�ำ ชนดิ ใหมท่ ใ่ี ชใ้ นอปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ ชงิ แสง และเซลล์แสงอาทิตย์ เพ่ือพัฒนาการออกแบบและควบคุมสมบัติของสาร ทม่ี สี มบตั เิ ชงิ แสงและเชงิ ไฟฟา้ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพสงู ราคาไมแ่ พง และเปน็ มติ ร กับสง่ิ แวดลอ้ ม ๔๗

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วทิ ยาปริทรรศน์ แสงซินโครตรอนคืออะไร? มีประโยชนอ์ ยา่ งไร? แสงซินโครตรอน (Synchrotron Light) คือ คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าท่ีปล่อย ออกมาจากอนภุ าคมปี ระจุ (เชน่ อเิ ลก็ ตรอน เปน็ ตน้ ) ซงึ่ ก�ำ ลงั เลย้ี วโคง้ แสงซนิ โครตรอน มีความเข้มสูง และมีความยาวคลนื่ ครอบคลุมชว่ งกวา้ ง ตั้งแตค่ ลน่ื ไมโครเวฟไปจนถงึ รังสเี อกซพ์ ลังงานสูง ทำ�ใหส้ ามารถใชง้ านไดห้ ลากหลาย ในทางปฏิบัติจะใช้แสงซินโครตรอนยิงไปที่วัตถุตัวอย่างที่ต้องการศึกษา จากนั้นจะตรวจจับสัญญาณต่างๆ ที่ออกมา เช่น หากตรวจจับการดูดกลืนแสง อนิ ฟราเรด กจ็ ะไดข้ อ้ มลู ชนดิ พนั ธะเคมี หากตรวจจบั รงั สเี อกซล์ กั ษณะเฉพาะ กจ็ ะได้ ข้อมูลชนิดของธาตุที่เป็นองค์ประกอบ หรือหากตรวจจับอิเล็กตรอนที่หลุดออกมา กจ็ ะไดข้ ้อมูลลักษณะพน้ื ผวิ เปน็ ต้น ในประเทศไทยมีเครื่องก�ำ เนิดแสงซินโครตรอนดว้ ยเชน่ กัน เรียกว่า เครอ่ื ง กำ�เนิดแสงสยาม (Siam Photon Source) ซ่ึงอยู่ที่สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องคก์ ารมหาชน) จงั หวดั นครราชสมี า นกั วจิ ยั ไทยไดใ้ ชเ้ ครอ่ื งก�ำ เนดิ แสงสยามในงาน ด้านต่างๆ อย่างหลากหลาย เช่น ใช้เทคนิค ผลึกศาสตร์รังสีเอกซ์ศึกษาโครงสร้างสามมติ ิ ของเอนไซมท์ เ่ี รง่ ปฏกิ ริ ยิ าการสลายคารโ์ บไฮเดรต จากข้าว ใช้เทคนิคการดูดกลืนรังสีเอกซ์ ศึกษาองคป์ ระกอบทางเคมขี องกระจกเกรยี บ โบราณอายกุ ว่า ๑๕๐ ปี ซงึ่ เปน็ ขอ้ มลู พน้ื ฐาน ส�ำ คญั ทส่ี ามารถใชใ้ นการฟน้ื ฟศู ลิ ปวตั ถโุ บราณ และใชร้ งั สอี นิ ฟราเรดเพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของสารชีวโมเลกุลภายในเซลล์ของ ตวั ออ่ นโคนมโคลนนิ่ง ทมี า: เอกสารประชาสมั พนั ธ์ สถาบนั วจิ ยั แสงซนิ โครตรอน (องคก์ รมหาชน) ๔๘

๖๐ พรรษา รัตนราชสดุ า วิทยาปรทิ รรศน์ นอกจากนี้ ศนู ยค์ วามเป็นเลศิ ดา้ นฟิสกิ สไ์ ดส้ ง่ นักวิจัยและนักศกึ ษา ปรญิ ญาเอก จ�ำ นวน ๕ คน จากหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั ล�ำ อเิ ลก็ ตรอนและโฟตอน หว้ งเฟมโตวนิ าที (๑๐-๑๕ วนิ าท)ี ของมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ เขา้ รว่ มโครงการ กลมุ่ วิจัยพที ซ์ (PITZ: Photo Injector Test Facility at DESY, Location Zeuthen) ได้แก่ ดร.จติ รลดา ทองใบ (หวั หนา้ โครงการ) ดร.สาคร รมิ แจ่ม ดร.จตพุ ร สายสดุ นายกรี ติ กศุ ลจรยิ กลุ และและนายปรชั ญ์ บญุ พรประเสรฐิ ดร.จิตรลดา ทองใบ เขา้ รว่ มโครงการกลุ่มวิจยั พีทซ์ เม่อื วันที่ ๒๑-๒๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๒ และ วันท่ี ๒๙ สิงหาคม-๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๓ การที่เยาวชนและนักวิจัยไทยได้มีโอกาสทำ�งานร่วมกับนักวิจัย ชน้ั แนวหนา้ ในองคก์ รดา้ นวทิ ยาศาสตรช์ นั้ น�ำ พรอ้ มทงั้ ไดร้ จู้ กั เพอ่ื นใหมจ่ าก หลายประเทศ จะเปน็ ผลดตี อ่ การพฒั นาองคค์ วามรขู้ องประเทศและการสรา้ ง ความเข้มแข็งเพื่อให้สามารถพึ่งพาตนเองได้ในระยะยาว การพระราชทาน โอกาสให้ผู้มีศักยภาพได้เข้าร่วมกิจกรรมนี้จึงแสดงให้เห็นถึงสายพระเนตร อนั ยาวไกลของสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ๔๙


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook