Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วิทยาปริทรรศน์

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วิทยาปริทรรศน์

Published by ห้องสมุดประชาชน, 2021-03-25 17:47:31

Description: ๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วิทยาปริทรรศน์

Search

Read the Text Version

๖๐ พรรษา รตั นราชสดุ า วทิ ยาปริทรรศน์ ค่ายการเรยี นรู้ส�ำ หรับนักเรียนออทสิ ตกิ ​คณะกรรมการโครงการฯ ได้เชิญหน่วยงาน ๓ แหง่ ไดแ้ ก่ โรงเรียน กาวิละอนุกูล ศูนย์สงเคราะห์บุคคลปัญญาอ่อนภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่ และหอผู้ป่วยจิตเวชเด็ก โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ เข้าร่วมจัด ค่ายการเรียนรู้สำ�หรับนักเรียนออทิสติก วัตถุประสงค์ก็เพื่อเปิดโอกาสให้ นกั เรยี นออทสิ ตกิ พรอ้ มครอบครวั คณะครู และเจา้ หนา้ ทข่ี องทง้ั ๓ หนว่ ยงาน ได้ใช้ชีวิตและทำ�กิจกรรมร่วมกันเพ่ือเรียนรู้เทคนิคต่างๆ ท่ีจะช่วยส่งเสริม ทกั ษะการสอื่ สาร และการพฒั นาการเรยี นรทู้ เี่ หมาะสมแกน่ กั เรยี นออทสิ ตกิ อีกท้ังยังเปิดโอกาสให้บุคลากรจากหน่วยงานต่างๆ ได้แลกเปลี่ยนความรู้ และประสบการณ์ ปัจจุบันได้จัดค่ายไปแล้ว ๒ คร้ัง ใน พ.ศ. ๒๕๕๓ และ ๒๕๕๔ พบวา่ ครู ผปู้ กครอง และเดก็ นกั เรยี นออทสิ ตกิ มคี วามสมั พนั ธใ์ นการท�ำ งาน ร่วมกันเป็นอย่างดี และผู้ปกครองหลายคนเข้าใจกระบวนการการสื่อสาร และการปรับพฤตกิ รรมของเดก็ ออทสิ ติกมากยิง่ ขึน้ ​อาจารย์ท่านหนึ่งเล่าถึงความประทับใจในการเข้าร่วมค่ายไว้ว่า น่ีเป็นโอกาสที่จะทำ�ให้เกิดส่ิงท่ี “ใช่เลย” เพ่ือช่วยนักเรียนออทิสติกให้มี การส่ือสารท่ีแท้จริง เป็นการเรียนรู้ที่ผ่านการลงมือทำ�จริง ทำ�ให้เข้าใจมาก กว่าการอ่าน หรือการฟังแต่เพียงอย่างเดียว ​การจดั สถานการณอ์ ยา่ งเหมาะสมท�ำ ใหเ้ ดก็ ทเ่ี คยสอ่ื สารไมไ่ ด้ สามารถ หยิบภาพหรือช้ีที่ภาพเพื่อสื่อสาร โดยครูท่ีจัดกิจกรรมใช้เครื่องมือท่ีเป็น ตารางเวลา ตารางเวลายอ่ ย และเครอ่ื งมอื ในการจดั การ เพอ่ื ชว่ ยใหน้ กั เรยี น เข้าใจและเรียนรู้ท่ีจะส่ือสารเพ่ือให้ผู้อ่ืนได้รับรู้ความคิดของตน ในแต่ละ กจิ กรรม นกั เรยี นจะไดเ้ รยี นรแู้ ตกตา่ งกนั ไป ทนี่ า่ ประทบั ใจอยา่ งยง่ิ คอื ไดเ้ หน็ คณุ ยา่ คอยดูแลหลานด้วยความรกั ๒๐๐

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วิทยาปรทิ รรศน์ อีกกรณีหน่ึงเป็นเด็กหญิง อายุ ๑๒ ปี ทดี่ แู ลพชี่ ายทเี่ ปน็ ออทสิ ตกิ อายุ ๑๔ ปี ดว้ ยความอดทนอดกลน้ั ไมบ่ น่ ทา่ ทที เี่ อาใจใสพ่ ช่ี ายดว้ ยค�ำ ถาม เชน่ ร้อนไหม คนั ไหม ทำ�ให้ผเู้ ขา้ คา่ ย ท่ีคอยสังเกตพี่น้องคู่น้ีอดท่ีจะเท คะแนนนยิ มใหไ้ มไ่ ด้ หลายคนน�ำ้ ตาซมึ เมอ่ื นอ้ งออกไปรบั รางวลั และสะทอ้ นใจ กบั ความรบั ผิดชอบที่สงู เกนิ วยั ​เม่ือมีผู้ถามว่า “หนูเบ่ือไหม ทด่ี แู ลพ”ี่ เดก็ หญงิ ตอบวา่ “ไมเ่ บอื่ คะ่ สนุกดี อยู่ท่ีบ้านพ่ีก็ไม่ค่อยได้ไป ไหนมาที่นี่ดูพ่ีเขามีความสุข เมื่อ นกั เรยี นออทิสตกิ ใช้สมุดภาพสื่อสาร วานกลับไปบ้านพี่เขายิ้มตลอด... ในการพดู คุยกนั ภายในคา่ ย กลางคืนเขาก็หลับไม่ต่ืนเลยค่ะ” กับเพอ่ื นๆ ครู และพ่อแม่ เธอบอกว่าอยากให้จัดค่ายบ่อยๆ ทำ�ให้ทุกคนท่ีมีส่วนเก่ียวข้องรู้สึกปลื้มใจ ไปตามๆ กัน คา่ ยวทิ ยาศาสตรส์ �ำ หรบั นักเรยี นทบ่ี กพร่องทางสตปิ ญั ญา ​ค่ายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำ�หรับนักเรียนที่มีความบกพร่อง ทางสตปิ ญั ญา เกดิ ขน้ึ จากความรว่ มมอื ระหวา่ ง ส�ำ นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) สำ�นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสร้างเสริม สุขภาพ (สสส.) และองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) มี วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาครูวิทยาศาสตร์ให้มีความรู้และทักษะการสอน วทิ ยาศาสตรส์ �ำ หรบั นกั เรยี นพกิ ารทางสตปิ ญั ญา พฒั นาองคค์ วามรใู้ นการท�ำ กิจกรรม และสร้างส่ือประกอบกิจกรรมท่ีเหมาะสมกับนักเรียนกลุ่มนี้ ๒๐๑

๖๐ พรรษา รตั นราชสดุ า วทิ ยาปรทิ รรศน์ นอกจากนี้ยงั เปดิ โอกาสให้นักเรยี นฝกึ ฝนทักษะและกระบวนการคดิ รวมทง้ั ปฏิบัติกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ​โรงเรียนกาวิละอนุกูลได้ เข้าร่วมกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ฯ ใน พ.ศ. ๒๕๕๖ และ ๒๕๕๗ ณ บา้ นวิทยาศาสตรส์ ิรนิ ธร อุทยาน วิทยาศาสตร์ประเทศไทย นักเรียน พกิ ารทางสตปิ ญั ญาไดแ้ สดงศกั ยภาพ ในการเรียนรู้ให้เป็นท่ีประจักษ์ว่า พวกเขาสามารถท�ำ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ ได้อย่างสนุกสนาน ตอบคำ�ถามและ สรปุ ผลการทดลองได้ เมอ่ื เปดิ โอกาส ใหน้ ักเรยี นได้ลงมอื ทำ�กจิ กรรม และ ชว่ ยกนั สรา้ งแผน่ ปา้ ยสรปุ ผลการทดลอง นักเรียนพกิ ารทางสติปญั ญาทำ�การทดลอง ด้วยกัน ซึ่งเป็นสิ่งที่คณะอาจารย์ เรือ่ งแรงดันอากาศ ไมค่ าดคิดวา่ จะเกิดขึ้นได้ ​ “ผมท�ำ ได”้ “หนทู �ำ ได”้ เปน็ ความคดิ ทตี่ ดิ ตวั นกั เรยี นกลบั ไปหลงั จาก สิ้นสุดคา่ ยแต่ละครงั้ นกั เรยี นท่โี รงเรยี นภาคภมู ิใจ ​นักเรียนโรงเรียนกาวิละอนุกูลได้รับการพัฒนาในหลายด้าน ดังน้ัน นักเรียนจึงสามารถเข้าร่วมประกวดในงานศิลปหัตถกรรมระดับภาคและ ระดบั ประเทศทก่ี ระทรวงศกึ ษาธกิ ารจดั ขน้ึ เปน็ ประจ�ำ ทกุ ปี และไดร้ บั รางวลั แหง่ ความภาคภูมิใจตัวอยา่ งเช่น ครงั้ ที่ ๖๑ พ.ศ. ๒๕๕๔ มีนกั เรียนไดร้ ับรางวลั ชนะเลิศเหรียญทองระดบั ประเทศ จำ�นวน ๒ คน จากการประกวดคัดลายมือระดับช้ันประถม ๒๐๒

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วทิ ยาปริทรรศน์ ศึกษาปีที่ ๑-๖ และการประกวดอ่านออกเสียงระดับช้ันมัธยมศึกษา ปที ี่ ๔-๖ นอกจากน้ียงั มีนกั เรยี น จ�ำ นวน ๒ คน ได้รบั รางวลั เกยี รติบัตร เหรียญทองในการแข่งขันระดับภาคเหนือ จากการแข่งขันโปรแกรม Paint ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑-๓ และระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๔-๖ ครั้งที่ ๖๒ พ.ศ. ๒๕๕๕ มนี กั เรยี นไดร้ ับรางวลั ชนะเลิศเหรยี ญทองระดบั ประเทศ จากการแขง่ ขันโปรแกรม Paint ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑-๓ จ�ำ นวน ๑ คน คร้ังท่ี ๖๓ พ.ศ. ๒๕๕๖ มีนักเรียนได้รับรางวัลชนะเลิศเหรียญทอง ระดับภาคเหนือ จำ�นวน ๒ คน จากการแข่งขันโปรแกรม Paint ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๔-๖ นอกจากนย้ี งั มนี กั เรยี นไดร้ บั รางวลั เหรยี ญเงนิ จากการแขง่ ขนั คดั ลายมอื ระดบั ชัน้ ประถมศึกษา จ�ำ นวน ๑ คน ครั้งท่ี ๖๔ พ.ศ. ๒๕๕๗ มีนักเรียนได้รับรางวัลจากการแข่งขันระดับ ภาคเหนือ ชนะเลิศอันดับที่ ๑ และ ๔ เหรยี ญทองจากการแข่งขนั การ อา่ นออกเสยี งระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๑-๖ จํานวน ๒ คน และรางวัล ชนะเลศิ อบั ดบั ท่ี ๒ เหรยี ญทองจากการแขง่ ขนั โปรแกรม Paint ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑-๓ จาํ นวน ๑ คน สัญญาจากใจเพอ่ื ตอบแทนพระกรณุ า คณะครูและนักเรียนโรงเรียนกาวิละอนุกูลต่างซาบซ้ึงในพระมหา- กรุณาธิคุณของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ที่มีต่อ นักเรียนของโรงเรียนเป็นอย่างมาก และมีคำ�ม่ันสัญญาจากใจว่า “ปวง ขา้ พระพทุ ธเจา้ ขอใหค้ �ำ มน่ั สญั ญาวา่ จะมงุ่ พฒั นานกั เรยี นใหม้ คี วามรู้ จนสามารถ ชว่ ยเหลือตนเอง ไปสู่การประกอบอาชีพได”้ ๒๐๓

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วทิ ยาปรทิ รรศน์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานปริญญาบตั ร แกน่ ายวสันต์ แปงปจู วน ณ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ เมื่อวันที่ ๑ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

๖๐ พรรษา รัตนราชสดุ า วทิ ยาปรทิ รรศน์ นักเรยี นตาบอด กเ็ รียนสายวิทยาศาสตรไ์ ด้ ​ในเดอื นมกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙ ขณะทส่ี มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ ไปยงั โรงเรยี นสอนคนตาบอดภาคเหนอื ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภเ์ พอ่ื ทอดพระเนตรการเรยี นการสอน มนี กั ศกึ ษาตาบอด จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ผู้หน่ึงกราบบังคมทูลว่า คนตาบอดถูกจำ�กัดสิทธิ ไมใ่ หเ้ รยี นสายวทิ ยาศาสตร์ จะไดเ้ รยี นกเ็ ฉพาะสายภาษาเทา่ นนั้ พระองคจ์ งึ มี พระราชกระแสรับส่ังแก่คณะกรรมการโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามพระราชด�ำ รฯิ วา่ ใหห้ าวธิ ชี ว่ ยเหลอื คณะกรรมการจงึ ไดจ้ ดั ท�ำ โครงการน�ำ รอ่ ง เพ่ือสนับสนุนและส่งเสริมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ สำ�หรบั นักเรียนตาบอดขน้ึ ปรับทัศนคต.ิ ..สง่ิ แรกทต่ี ้องทำ� ​ในช่วงเวลาดังกล่าวน้ัน โรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายยังไม่ สามารถรบั นกั เรยี นตาบอดเขา้ เรยี นสายวทิ ยาศาสตรไ์ ด้ ดว้ ยเหตผุ ลวา่ โรงเรยี น ไม่พร้อมสอน เพราะไม่รู้ว่าจะถ่ายทอดความรู้ให้นักเรียนตาบอดได้อย่างไร อีกท้ังการทดลองซึ่งเป็นกิจกรรมสำ�คัญในการเรียนวิทยาศาสตร์ก็ยังเป็น ปัญหา ​ดงั นนั้ สง่ิ แรกสดุ ทตี่ อ้ งท�ำ กค็ อื ปรบั ทศั นคติ ใหท้ กุ คนเชอื่ วา่ นกั เรยี น ตาบอดสามารถเรียนวิทยาศาสตร์ได้ หากมีการจัดเตรียมความพร้อมอย่าง เหมาะสมในทกุ ๆ ดา้ น ตง้ั แตอ่ าจารยผ์ สู้ อน ตลอดจนถงึ สอ่ื และอปุ กรณต์ า่ งๆ ท่จี ำ�เป็น ส�ำ นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) จงึ ได้ จดั ตง้ั คณะกรรมการสนบั สนนุ การเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ ๒๐๕

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วิทยาปรทิ รรศน์ สำ�หรับนักเรียนตาบอด เพ่ือร่วมกันกำ�หนดแนวทางในการสนับสนุนและ สง่ เสรมิ การเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตรส์ �ำ หรบั นกั เรยี นตาบอดในประเทศไทย หน่วยงานและสถาบนั การศกึ ษาต่างๆ ที่รว่ มกับ สวทช. เพื่อทำ�งาน สำ�คัญนี้มหี ลายแหง่ ไดแ้ ก่ องค์การพพิ ิธภัณฑว์ ิทยาศาสตร์แหง่ ชาติ สถาบัน สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ส�ำ นกั งานบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สมาคมคนตาบอดแหง่ ประเทศไทย มลู นธิ ชิ ว่ ยคนตาบอด แหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์ มูลนธิ ธิ รรมิกชนเพือ่ คนตาบอดใน ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรยี นมหดิ ลวทิ ยานสุ รณ์ โรงเรยี นเซนตค์ าเบรยี ล และโรงเรยี นกาญจนาภเิ ษก วิทยาลัย นครปฐม อบรมผสู้ อนและจดั คา่ ยวทิ ยาศาสตรส์ �ำ หรบั นกั เรยี นตาบอด ​คณะกรรมการสนับสนุนการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์และ คณิตศาสตร์สำ�หรับนักเรียนตาบอด ได้จัดอบรมการสอนวิทยาศาสตร์และ คณติ ศาสตรส์ �ำ หรบั คนตาบอด โดยเชญิ ดร.โยชโิ กะ โทรยิ ามะ (Dr. Yoshiko Toriyama) จากมหาวทิ ยาลัยซคึ บุ ะ นายอากโิ ยชิ ทาคามรู ะ (Mr. Akiyoshi Takamura) และคณุ ชสิ โุ กะ ฮามาดะ (Ms. Shizuko Hamada) จากโรงเรยี น สอนคนตาบอดโตเกยี ว ประเทศญ่ปี นุ่ ให้มาถ่ายทอดเทคนิควิธีการสอนแก่ คณะอาจารยจ์ ากโรงเรยี นสอนคนตาบอด และโรงเรยี นเรยี นรว่ มรวมทง้ั คณะอาจารย์ ของสถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพอื่ เปน็ แนวทางการจดั การเรียนการสอนในระดับการศึกษา ดร.โยชโิ กะ โทริยามะ และ ข้ันพื้นฐาน องค์ความรู้จากการอบรม นายอากโิ ยชิ ทาคามรู ะ ดังกล่าวได้จัดทำ�เป็นคู่มือการสอน บรรยายเรือ่ งการสอนวทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์สำ�หรับ และคณติ ศาสตรส์ ำ�หรับคนตาบอด นักเรยี นตาบอด (พ.ศ. ๒๕๕๑) ๒๐๖

๖๐ พรรษา รัตนราชสดุ า วิทยาปรทิ รรศน์ ต่อมามีการจัดค่ายวิทยาศาสตร์สำ�หรับนักเรียนตาบอดคร้ังที่ ๑ ใน พ.ศ. ๒๕๔๙ และจัดอีกหลายครงั้ จนถึง พ.ศ. ๒๕๕๗ รวม ๗ ครัง้ เพ่ือ คัดเลอื กนักเรยี นตาบอดท่สี นใจเรยี นสายวิทยาศาสตร์ นักเรยี นได้มาเข้าค่าย พร้อมกบั ครผู สู้ อน เพ่อื เรยี นรู้วิทยาศาสตร์จากนักวทิ ยาศาสตร์ นักวชิ าการ และผู้ทรงคุณวุฒิ ผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น การทดลองทางเคมีและฟิสิกส์ เป็นต้น คณะกรรมการไดค้ ดั เลอื กนกั เรยี นตาบอดจากคา่ ยเขา้ รบั ทนุ สนบั สนนุ การเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจนถึงอุดมศึกษาจำ�นวน ๑๓ คน ใน พ.ศ. ๒๕๕๗ มีผูเ้ รยี นจบระดบั อดุ มศกึ ษา ๒ คน ไดแ้ ก่ นายเทอดเกียรติ บุญเที่ยง ได้รับปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต (สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์) จากคณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ และนายวสนั ต์ แปงปวนจู ไดร้ บั ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต (สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์) จากคณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ และมีผู้อยรู่ ะหวา่ งการศึกษา ในระดับอดุ มศึกษา ๒ คน และระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ๑ คน เทอดเกยี รติ นกั เรยี นตาบอดคนแรกทเ่ี รยี นสายวทิ ยาศาสตร์ เทอดเกยี รติ บุญเท่ียง นักเรียน เทอดเกยี รติ บญุ เท่ยี ง ตาบอดทโี่ รงเรยี นสอนคนตาบอดกรงุ เทพ ส่งเรียนร่วมที่โรงเรียนเซนต์คาเบรียลใน ขณะท่ีเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ได้ สมัครเข้าค่ายนักวิทยาศาสตร์ตาบอด รุ่นเยาว์ ครง้ั ท่ี ๑ เมอื่ ปี ๒๕๔๘ นับเป็น จุดเปล่ยี นของชีวติ เพราะเขามีโอกาสได้ สนุกกับกิจกรรมทดลองวิทยาศาสตร์ รวมทั้งกิจกรรมต่างๆ ท่ีจัดข้ึน กิจกรรม เหลา่ นน้ั สรา้ งแรงบนั ดาลใจใหเ้ ทอดเกยี รติ อยากเรยี นวทิ ยาศาสตรม์ ากขน้ึ และดว้ ย ๒๐๗

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วทิ ยาปริทรรศน์ ความตั้งใจน้ีเอง ท่ีทำ�ให้คณะกรรมการคัดเลือกเขาและเพื่อนอีก ๑ คน เขา้ เปน็ นกั เรยี นในโครงการน�ำ รอ่ งเพอ่ื สนบั สนนุ และสง่ เสรมิ การเรยี นการสอน วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์สำ�หรับนักเรียนตาบอด ต้ังแต่ พ.ศ. ๒๕๔๙ เปน็ ต้นมา เทอดเกียรติเรียนสายวิทยาศาสตร์ในระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลายท่ีโรงเรียนเซนต์คาเบรียลใน พ.ศ. ๒๕๔๙ จนถึง พ.ศ. ๒๕๕๑ เขาตอ้ งปรบั ตวั เพอ่ื เรยี นรวู้ ชิ าวทิ ยาศาสตรห์ ลายวชิ าและเพม่ิ เวลาอา่ นหนงั สอื รวมทงั้ เรยี นเสรมิ วชิ าการกบั ครอู าสาสมคั รทคี่ ณะกรรมการจดั หามาสอนวชิ า คณติ ศาสตร์ เคมี ฟสิ ิกส์ ชวี วทิ ยา ในวันเสาร์และอาทติ ย์เปน็ ประจำ�ตลอด ๓ ปี เพอ่ื ใหเ้ รยี นในชน้ั เรยี นทนั จนจบชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ ดว้ ยความสามารถ ของอาจารย์ผู้สอน ครูสอนเสริมวิชาการ ครูอาสาสมัคร และท่ีสำ�คัญคือ ความมมุ านะของเทอดเกยี รติเอง หลังจากนั้น เทอดเกียรติสอบผ่านโควตานักศึกษาพิการ เข้าเรียน ในมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สาขาวทิ ยาการ คอมพิวเตอร์ ทำ�ให้ต้องปรับตัวอย่างมากในการเรียนระดับมหาวิทยาลัย เทอดเกยี รตเิ ปน็ นกั ศกึ ษาทช่ี อบท�ำ กจิ กรรมอยา่ งยง่ิ กจิ กรรมทกุ อยา่ งเปน็ สง่ิ ที่ทา้ ทายของชวี ิตนักศกึ ษา เทอดเกียรตริ ว่ มท�ำ กจิ กรรมต่างๆ เช่น เลน่ กฬี า ฟุตบอล ๕ คนสำ�หรับคนตาบอด เข้าร่วมเป็นนักร้องประสานเสียงของ มหาวิทยาลัย เป็นบริกรในร้านอาหาร Dine in the Dark ซึ่งเป็นร้าน อาหารทป่ี ิดไฟมืด เพ่ือให้ลูกคา้ ได้สัมผสั รสชาตอิ าหารอยา่ งแทจ้ ริง เป็นต้น ดว้ ยความเอาใจใสข่ องรองศาสตราจารย์ ดร.ทรงศกั ดิ์ รองวริ ยิ ะพานชิ อาจารย์ท่ีปรึกษาผู้ทุ่มเทในเรื่องการสอน และให้คำ�ปรึกษาด้านการเรียน ตลอดจนการดำ�เนินชีวิตในมหาวิทยาลัย เทอดเกียรติได้เรียนรู้ด้วยตัวเอง บางวิชาต้องจัดผู้สอนเสริมให้ สื่อการเรียนการสอนก็ได้รับความช่วยเหลือ จากอาจารย์ผู้สอนวิชาต่างๆ ส่งเอกสารการสอนให้ศูนย์บริการนักศึกษา พิการเพ่ือไปจัดทำ�เป็นเอกสารอักษรเบรลล์ ทำ�ให้เทอดเกียรติสามารถ ๒๐๘

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วิทยาปริทรรศน์ พัฒนาการเรียนดีข้ึนตามลำ�ดับจนสามารถจบการศึกษาใน พ.ศ. ๒๕๕๗ รวมเวลาศึกษา ๕ ปี เทอดเกียรติเล่าถึงเคล็ดลับในการเรียนให้ประสบความสำ�เร็จไว้ว่า “ผู้พิการจะต้องมีความต้ังใจเรียนในชั้นเรียนและเก็บเนื้อหาความสำ�คัญ ประกอบกบั การบนั ทกึ เสยี งอาจารยผ์ สู้ อนแลว้ น�ำ กลบั มาทบทวนอยา่ งสม�ำ่ เสมอ ผ้พู กิ ารตอ้ งหมน่ั ศึกษาจากเพื่อนรว่ มชั้น หมน่ั ศกึ ษาหาความรเู้ องด้วย” นอกจากน้ี เทอดเกยี รตไิ ดฝ้ ากใหก้ �ำ ลงั ใจส�ำ หรบั เพอ่ื นๆ นอ้ งๆ คนพกิ าร ดว้ ยวา่ “ไมม่ อี ะไรทเ่ี ราจะท�ำ ไมไ่ ด้ ถา้ หากเราตงั้ ใจท�ำ ขน้ึ อยทู่ วี่ า่ เราตงั้ เปา้ หมาย กับสง่ิ นนั้ ไว้มากนอ้ ยแค่ไหน ผมขอเป็นกำ�ลังใจใหก้ ับร่นุ นอ้ งๆ ได้ตงั้ ใจเรียน เพราะมีโอกาสดีๆ รออยู่ ขอให้ฝ่าฟันอุปสรรคและไม่ย่อท้อ สำ�หรับผมจะ ตงั้ ใจท�ำ งานเพ่ือรบั ใชส้ ังคมทุกอย่างเทา่ ทตี่ ัวเองสามารถทำ�ได”้ วันแหง่ ความปลืม้ ปตี ิ เทอดเกียรติเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรในวันท่ี ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เปน็ วนั ทค่ี รอบครวั อาจารย์ เพอื่ นๆ พๆ่ี ปลาบปลม้ื กนั ถว้ นหนา้ ทเี่ หน็ ความส�ำ เรจ็ ในกา้ วหนง่ึ ของชวี ติ กา้ วตอ่ ไปเปน็ การตอ่ สเู้ พอ่ื สรา้ งอาชพี และสร้างอนาคตข้างหนา้ ฝนั ทเ่ี ปน็ จรงิ ของวสนั ต์ แปงปวนจู เส้นทางสู่ฝันของเด็กชายวสันต์ แปงปวนจู นักเรียนตาบอดสนิท วัย ๑๕ ปี โรงเรียนบุญวาทย์วทิ ยาลัย จังหวดั ล�ำ ปาง เริ่มต้นเม่อื เช้าวันท่ี ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙ เมื่อเขาเดนิ ทางไปองค์การพิพธิ ภัณฑ์วทิ ยาศาสตร์ แห่งชาติ เพื่อร่วมเข้าค่ายวิทยาศาสตร์สำ�หรับนักเรียนตาบอด คร้ังที่ ๒ วสันต์รู้สึกตื่นเต้นท่ีได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ร่วมกับเพ่ือนๆ อีก ๒๒ คน ที่มา จากโรงเรยี นทวั่ ประเทศ เปา้ หมายของเดก็ ผมู้ งุ่ มนั่ คนนก้ี ค็ อื “นบั จากนต้ี อ่ ไป อีก ๗ ปี จะต้องเรียนสาขาวิทยาศาสตรใ์ ห้ส�ำ เร็จใหไ้ ด้” ๒๐๙

๖๐ พรรษา รัตนราชสดุ า วทิ ยาปรทิ รรศน์ ตอ่ มาใน พ.ศ. ๒๕๕๐ วสนั ต์ ไดร้ บั การสนับสนุนทนุ การศกึ ษา หลงั จากที่ ได้รับทุน ชีวิตของวสันต์ก็เปล่ียนไป อยา่ งสิ้นเชงิ เขามคี วามมานะพยายาม อยา่ งสงู ทกุ เยน็ หลงั เลกิ เรยี นจะใชเ้ วลา ประมาณ ๑–๒ ช่ัวโมง เพื่อทบทวน เนอ้ื หาวชิ าตา่ งๆ โดยเฉพาะวทิ ยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ครูผู้สอนจะคอย ช่วยเหลือในทางวิชาการ ช่วยผลิตสื่อ การเรยี นการสอน เชน่ เอกสารประกอบ วสนั ต์ แปงปวนจู การเรียนอักษรเบรลล์ หนังสือเรียน อกั ษรเบรลล์ และภาพนูน เปน็ ต้น วสนั ตบ์ อกว่า“ผมพยายามตงั้ ใจเรยี นใน หอ้ งเรยี น และจดจ�ำ ประเดน็ ส�ำ คญั ใหม้ ากทสี่ ดุ หากมเี นอ้ื หาสว่ นไหนทผี่ มไม่ เข้าใจ ผมจะจดเอาไว้ แล้วนำ�มาถามครูหลังเลิกเรียน หรือพยายามค้นหา ขอ้ มูลเพม่ิ เตมิ จากอินเทอรเ์ นต็ ” ​แมว้ า่ วสนั ต์จะมีอปุ สรรคในการเรยี นหลายประการ เช่น การสงั เกต ผลการทดลอง และการท�ำ ความเขา้ ใจกราฟคณติ ศาสตร์ รปู ภาพในวชิ าฟสิ กิ ส์ และวชิ าชวี วทิ ยา แตด่ ว้ ยความชว่ ยเหลอื จากอาจารยแ์ ละครสู อนเสรมิ วสนั ต์ ก็สามารถเรียนผ่านได้ด้วยคะแนนเฉล่ียดีพอสมควร ตลอดระยะเวลา ๓ ปี ในโรงเรยี นบญุ วาทยว์ ทิ ยาลยั ใครๆ กร็ กั เขา เพราะวสนั ตข์ ยนั และตง้ั ใจศกึ ษา เลา่ เรียน อาจารยส์ นิ อารย์ ลำ�พนู พงศ์ ครฟู ิสกิ ส์ กลา่ วถึงเขาวา่ “วสนั ต์เปน็ เด็กตาบอดที่มีความพยายามมาก ข้อจำ�กัดด้านร่างกายของเขาไม่ได้เป็น อปุ สรรคตอ่ การเรยี นเลย วสนั ตม์ คี วามจ�ำ ดเี ยยี่ ม บางครงั้ กเ็ ปน็ ผสู้ อนทบทวน ให้เพือ่ นๆ ตาดีได้อีกดว้ ย” วสนั ตเ์ ขา้ ศกึ ษาตอ่ ในระดบั อดุ มศกึ ษาทภ่ี าควชิ าวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ เขาบอกว่า “ผมชอบคอมพวิ เตอร์ ๒๑๐

๖๐ พรรษา รตั นราชสดุ า วทิ ยาปรทิ รรศน์ เพราะคิดว่าใกล้ตัว สามารถเข้าถึงและคิดต่อยอดได้ แต่พอเข้ามาเรียนจริง ถึงได้รู้ว่าไม่ได้ง่ายเสียทีเดียว เมื่อต้องเรียนพร้อมกับเพื่อนที่มองเห็น เพ่ือน จะส่ือสารกับอาจารย์ได้ง่ายกว่า ส่วนผมเองต้องใช้ความพยายามมากขึ้น ต้องเตรยี มตัวล่วงหนา้ กอ่ นเขา้ เรยี น โดยอาจารย์จะให้เอกสารประกอบการ สอนมาล่วงหน้า ผมจะต้องนำ�ไปแปลงเป็นสื่อภาพนูน และศึกษาเอกสาร ประกอบการเรียนก่อนเขา้ เรยี น โดยให้เพื่อนร่วมช้ันชว่ ยอา่ นให้ฟงั ” ​คณะกรรมการฯ ได้จัดหาผู้ช่วยอ่าน หาอาจารย์สอนทบทวนใน รายวชิ าส�ำ คญั สนบั สนนุ การผลติ สอื่ การเรยี นส�ำ หรบั นกั ศกึ ษาตาบอด อกี ทง้ั ยงั ตดิ ตามและประเมนิ ผลการเรยี นรว่ มกบั ภาควชิ าอยา่ งตอ่ เนอ่ื งตลอดระยะ เวลา ๔ ปี ดร.วรารตั น์ รงุ่ วรวฒุ ิ อาจารยท์ ปี่ รกึ ษา ไดใ้ หค้ วามเหน็ ไวว้ า่ “วสนั ต์ เป็นนักศึกษาที่มีความต้ังใจ มีความพยายามสูง ข้อดีอย่างหนึ่งคือไม่มีส่ิง รบกวนหรอื สง่ิ เรา้ นอ้ ย ท�ำ ใหม้ จี นิ ตนาการในการเรยี นสงู ปญั หาทส่ี �ำ คญั กค็ อื การเรยี นในวิชาท่ีมีสูตร มีปฏบิ ัตกิ าร หรอื มีรปู ภาพประกอบ และเนอ่ื งจาก วสันต์มองไม่เห็น ในการมอบหมายงานก็จะอนุโลมให้ส่งช้ากว่าคนอ่ืนได้ การเรยี นของวสันตก์ ็เหมอื นกบั คนอ่นื ๆ คอื เขา้ ห้องเรียนตามปกติ แตจ่ ะมี เพื่อนคอยชว่ ยเหลอื ในเร่ืองที่ทำ�เองไม่ได้” ในท่ีสุด นายวสันต์ก็ได้ฝ่าฟันอุปสรรคต่างๆ จนกระทั่งเรียนจบ หลักสูตรปรญิ ญาวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ เปน็ บัณฑิตตาบอดคนแรกของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็น ความภาคภูมใิ จของบดิ า มารดา ครอู าจารย์ และเพ่อื นๆ นบั เป็นแบบอย่าง ท่ีดีในการสร้างพลังใจให้แก่น้องๆ คนตาบอดรุ่นต่อๆ ไปให้กล้าที่จะเดิน ตามความฝนั ของตนเอง ๒๑๑

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วทิ ยาปริทรรศน์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสด็จพระราชดำ�เนนิ เยี่ยมรอ้ ยโทมงั กรทอง ลม้ิ ประเสรฐิ สกุล เนือ่ งในโอกาสวนั ขน้ึ ปใี หม่ พ.ศ. ๒๕๕๒ ณ โรงพยาบาลพระมงกฎุ เกลา้

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วทิ ยาปรทิ รรศน์ วรี บุรุษแห่งกรงปินัง ​ “ลอตเตอรี่ครับ ลอตเตอรี่” เสียงดังมาจากหนุ่มพิการคนหนึ่งซึ่ง ฟังได้ไม่ค่อยชัดเท่าไร อยู่หน้าโรงอาหาร ส่วนตอนเย็นย้ายไปหน้าอาคาร เฉลิมพระเกียรติ ๖ รอบพระชนมพรรษา โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ใครบา้ งจะร้วู ่าหนุม่ พิการคนนใ้ี นอดีตเปน็ รั้วของชาติ วรี บุรษุ ท่ยี อมเสียสละ เลอื ดเนื้อเพ่อื ปกปอ้ งคนไทยใน ๓ จงั หวัดชายแดนภาคใต้ นายมงั กรทอง ลม้ิ ประเสรฐิ สกลุ เปน็ บตุ รคนทส่ี องของ นายนพรตั น์ ล้ิมประเสริฐสกุล ซึ่งมีอาชีพค้าขายผลไม้อยู่ท่ี จังหวัดเชียงราย เขาใฝ่ฝันที่ จะเปน็ ทหารรบั ใชช้ าตติ งั้ แตย่ งั เปน็ เดก็ ความเปน็ ผมู้ จี ติ อทุ ศิ ตนเพอ่ื สว่ นรวม ของเขาเหน็ ไดจ้ ากการสมคั รเขา้ เปน็ อาสากภู้ ยั และอาสาสมคั รปอ้ งกนั ภยั ฝา่ ย พลเรือน (อปพร.) อำ�เภอพาน จังหวัดเชียงราย จนกระทงั่ ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ เมอื่ อายไุ ด้ ๑๙ ปี กส็ มคั ร เปน็ ทหารเกณฑ์ และไดร้ บั คดั เลอื กเปน็ ทหารสงั กดั ร. ๗ พัน ๑ คา่ ยกาวลิ ะ จงั หวัดเชียงใหม่ เส้นทาง แหง่ ความฝนั จึงเริ่มต้นข้ึน ณ ทแ่ี ห่งน้ัน พลทหาร มงั กรทองรสู้ กึ ภมู ใิ จในหนา้ ทอ่ี ยา่ งยง่ิ และวางแผน อนาคตไวว้ า่ “หากสำ�เรจ็ การศึกษา จะสอบนายสบิ แตห่ ากสอบไมผ่ า่ นก็ จะไปสมคั รเป็นทหารพราน” พลทหารมงั กรทอง ลมิ้ ประเสริฐสกุล สงั กดั ร. ๗ พัน ๑ คา่ ยกาวิละ จงั หวดั เชียงใหม่ ใน พ.ศ. ๒๕๕๐ ๒๑๓

๖๐ พรรษา รตั นราชสดุ า วทิ ยาปรทิ รรศน์ สถานการณ์สร้างวีรบรุ ุษ พลทหารมังกรทองได้รับมอบหมายภารกิจรักษาความปลอดภัย คุ้มครองครูใน อำ�เภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ได้รับบาดเจ็บจากเหตุการณ์ ความไม่สงบถงึ ๒ ครงั้ ครั้งแรก หูข้างหนง่ึ สญู เสยี การได้ยนิ ไปถงึ ร้อยละ ๓๐ จากเหตุลอบวางระเบิด ครั้งที่สอง เม่ือวันท่ี ๒๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ เขาถกู สะเกด็ ระเบดิ บรเิ วณกรามและศรี ษะดา้ นซ้าย และถูกยิงกรอกปากซ้ำ� ทำ�ให้ได้รบั บาดเจ็บสาหัส สมองซกี ซา้ ยกระทบกระเทือนอยา่ งหนัก ในระยะแรก พลทหารมังกรทองรักษาตัวท่ีโรงพยาบาลศูนย์ยะลา ตอ่ มาเขา้ มารกั ษาตอ่ ทีโ่ รงพยาบาลพระมงกฎุ เกล้า แพทย์ผา่ ตัดสมองอีกคร้งั เพอ่ื น�ำ กระสนุ ทย่ี งั ฝงั อยใู่ นเนอ้ื สมองออก แมก้ ระนน้ั เขายงั นอนเปน็ เจา้ ชายนทิ รา อยู่ถึง ๓ เดือนเศษ มีบิดาคอยดูแลอย่างใกล้ชิด เม่ือเขาลืมตาต่ืนข้ึนมา ก็พบว่าร่างกายไม่อาจฟื้นคืนสภาพกลับมาเหมือนเดิมได้อีก ต้องกลายเป็น คนพิการอัมพาตซีกขวา มีปญั หาท้งั การมองเหน็ การฟงั การพดู และการคดิ ตอ้ งเขา้ รบั การฟน้ื ฟสู มรรถภาพเปน็ ประจ�ำ นายนพรตั นผ์ เู้ ปน็ บดิ าดแู ลบตุ รชาย อย่างใกล้ชิดตลอดเวลา พร้อมกับให้กำ�ลังใจว่า “ท่ีเราเป็นอย่างนี้เพราะ เสยี สละทำ�เพอ่ื ชาติ พ่อภาคภมู ใิ จในตัวลูก และนับจากน้ีพ่อจะเปน็ ทกุ อยา่ ง ทีล่ กู ขาดไป และจะพยายามเกบ็ ออมเพื่อสรา้ งอนาคต” พระมหากรณุ าธิคณุ ทีม่ ิอาจลืม ในโอกาสที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำ�เนินไปทรงเปิดงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ เมื่อวันที่ ๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ณ ศูนย์แสดงสินค้าและ การประชุมอิมแพค เมืองทองธานี พลทหารมังกรทองและบิดาได้มีโอกาส เฝ้าฯ รับเสด็จและไดท้ ลู เกล้าฯ ถวายหนังสอื ขอพระราชทานความชว่ ยเหลอื เมื่อทรงทราบเรื่องแล้ว มีพระราชกระแสรับสั่งให้คณะกรรมการโครงการ เทคโนโลยสี ารสนเทศตามพระราชด�ำ รฯิ พจิ ารณาชว่ ยเหลอื เพอ่ื ใหพ้ ลทหาร ๒๑๔

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วทิ ยาปริทรรศน์ มงั กรทองสามารถด�ำ รงชวี ติ อยไู่ ดโ้ ดยไมเ่ ปน็ ภาระแกผ่ อู้ น่ื และทรงพระกรณุ า โปรดเกลา้ ฯ พระราชทานอาชพี ขายสลากกนิ แบง่ รฐั บาล แกพ่ ลทหารมงั กรทอง และบดิ า นอกจากการประกอบอาชีพแล้ว คณะกรรมการ ยังได้หาแนวทาง ช่วยเหลือด้านการฟ้ืนฟูสมรรถภาพทางร่างกายและการเรียนรู้แก่ พลทหารมังกรทอง โดยดำ�เนินการร่วมกับแพทย์ พยาบาล และนักวิชาชีพ กองเวชศาสตร์ฟื้นฟูของโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า และศูนย์สิรินธรเพื่อ การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ ในการจัดโปรแกรมการฟื้นฟู ทางกายภาพบำ�บัด กิจกรรมบำ�บัด อรรถบำ�บัด และการฝึกอาชีพ รวมทั้ง จัดหาวิธีการฟ้ืนฟูสมรรถภาพด้วยเทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น โปรแกรมประเมิน เสียงพูดภาษาไทยเพ่ือใช้สำ�หรับการฝึกพูด โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพ่ือ พฒั นาด้านความจำ�และกระบวนการคิด การฝึกทกั ษะทางด้านคอมพวิ เตอร์ พลทหารมังกรทองและบิดาประกอบอาชพี ขายสลากกนิ แบ่งรัฐบาล ทโ่ี รงพยาบาลพระมงกฎุ เกล้า ๒๑๕

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วิทยาปริทรรศน์ พลทหารมงั กรทอง ฝกึ เดินดว้ ยหุ่นยนต์ฝกึ เดนิ ณ แผนกกายภาพบ�ำ บดั ศนู ย์สิรินธรเพอ่ื การฟ้ืนฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ การฟนื้ ฟสู มรรถภาพการเคลื่อนไหวของร่างกายด้วยเกมวี (Wii game) และ การฝึกเดนิ ดว้ ยหุ่นยนตฝ์ กึ เดนิ ณ ศนู ย์สริ นิ ธรเพอื่ การฟนื้ ฟูสมรรถภาพทาง การแพทยแ์ ห่งชาติ เป็นต้น ความภาคภมู ิใจ ปัจจุบัน พลทหารมังกรทองได้รับการเลื่อนยศเป็นร้อยโท และ ได้เข้าพิธีประดับยศเมื่อวันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ นับเป็นความ ภาคภมู ใิ จของตนเองและบดิ า แมท้ ราบวา่ ไมอ่ าจจะกลบั ไปรบั ใชช้ าตไิ ดเ้ ชน่ เดมิ แตก่ ็ไม่เคยย่อท้อและไมย่ อมใหต้ นเปน็ ภาระของใคร รอ้ ยโทมงั กรทองมกั จะ กล่าวเสมอว่า “เราเป็นแบบนี้แล้วต้องไม่ท้อ หากเลือกได้ ผมก็จะขอเป็น ทหารรบั ใชช้ าติอีก” ๒๑๖

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วทิ ยาปรทิ รรศน์ ชวี ติ ใหม่ท่ีกา้ วตอ่ ไป ร้อยโทมงั กรทองเขา้ พธิ ีประดับยศ เมอ่ื วันท่ี ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ร้อยโทมังกรทองมีชีวิตใหม่ หลังจากปลดจากราชการทหาร ด้วย พระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานอาชีพขายสลากกินแบ่ง รัฐบาลจากการจัดสรรของสภาสังคม สงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ์ รอ้ ยโทมังกรทองโตต้ อบกบั ลูกค้าได้ รู้จักตัวเลข หยิบสลากกินแบ่ง รัฐบาลซ่ึงมีตัวเลขที่ลูกค้าต้องการได้ ทอนเงินได้ นับเป็นอาชีพท่ีสร้างรายได้ พอสมควร บิดาเป็นผู้ช่วยเก็บหอม รอมรบิ และน�ำ รายไดส้ ว่ นหนึ่งไปลงทุน ทำ�หอพักท่ีจังหวัดเชียงราย เพ่ือสร้าง ความม่ันคงให้แก่ครอบครัวในอนาคต อกี ด้วย ๒๑๗

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วิทยาปรทิ รรศน์ เดก็ ชายธนศกั ดิ์ ณ เชียงใหม่ นกั เรียนโรงเรยี นสอนคนตาบอดภาคเหนือ ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ จงั หวดั เชียงใหม่ รับเสด็จสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เมอ่ื วันท่ี ๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วิทยาปรทิ รรศน์ เด็กตาบอดพกิ ารซอ้ นผใู้ ฝ่เรียนรู้ ​ในวัยเด็ก เด็กชายธนศักด์ิ ณ เชียงใหม่ มีไข้สูงและเป็นลมชัก ทำ�ให้ตาบอดสนิทท้ังสองข้างในเวลาต่อมา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงทราบเร่ืองน้ี และทรงแนะนำ�ให้ครอบครัวส่งเขา เข้าเรียนที่โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือ ในพระบรมราชินูปถัมภ์ จังหวดั เชียงใหม่ เด็กชายธนศกั ดิ์ เรม่ิ เรยี นในชน้ั อนบุ าล ทั้งนีอ้ าจารยผ์ สู้ อน เห็นว่าเขาต่างจากเด็กตาบอดทั่วไป เน่ืองจากมีความบกพร่องทางด้าน พฤติกรรมและอารมณ์ ทั้งยังมีพัฒนาการช้าในหลายด้าน เช่น เรียนรู้ช้า และยังใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กได้ไม่ดีนัก ทำ�ให้ไม่สามารถทำ�กิจวัตรประจ�ำ วัน ได้ด้วยตนเอง อาจารย์ประจำ�ช้ันจึงจัดให้เข้าเรียนในกลุ่มนักเรียนตาบอด พิการซ้อนระดับอนุบาล เน้นการสอนทักษะการช่วยเหลือตนเองในชีวิต ประจ�ำ วนั จนกระทงั่ เด็กชายธนศักดิ์ อายุได้ ๑๒ ปี กา้ วสู่การเรยี นรู้ อาจารย์วนั ทนีย์ พันธชาติ กรรมการโครงการเทคโนโลยสี ารสนเทศ ตามพระราชด�ำ รฯิ เลา่ วา่ “ดฉิ นั ไดม้ โี อกาสรบั เสดจ็ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ในงานประชุมวิชาการของ สวทช. ใน พ.ศ. ๒๕๔๘ ทรงรบั สง่ั ใหต้ ดิ ตามการเรยี นรขู้ อง เดก็ ชายธนศกั ดิ์ ในโรงเรยี นสอนคนตาบอด ภาคเหนือฯ ว่าอายุได้ ๑๒ ปี แล้วยังอยู่ชั้นอนุบาล ดิฉันรู้สึกประทับใจ อยา่ งยง่ิ ทพี่ ระองคท์ า่ นทรงแสดงความหว่ งใย เดก็ ชายธนศกั ดิ์ เปน็ อยา่ งมาก ทรงไม่เคยลืมแม้เหตุการณ์น้ันผ่านมาเป็นเวลาหลายปี” ใน พ.ศ. ๒๕๔๘ คณะท�ำ งานโครงการ จงึ ได้เดนิ ทางไปเย่ยี มเยยี นเด็กชายธนศกั ดิ์ซงึ่ ขณะน้นั ก�ำ ลงั เรยี นอยู่ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ในหอ้ งเรยี นส�ำ หรับนกั เรยี นพิการซ้อน อาจารย์ประจำ�ชั้นเล่าว่า เด็กชายธนศักด์ิมีปัญหาด้านทักษะทางสังคมและ ๒๑๙

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วิทยาปรทิ รรศน์ พฤตกิ รรมอยา่ งมาก รอคอยไมเ่ ปน็ ชอบแยกตวั ออกจากกลมุ่ และมปี ัญหา เกย่ี วกบั การคดิ วเิ คราะห์ ต้องสอนซำ้�ๆ ​คณะท�ำ งานโครงการ กบั คณะอาจารยใ์ นโรงเรยี นจงึ รว่ มกนั วางแผน การจดั การเรียนการสอนทเ่ี หมาะสม เพือ่ ใหเ้ ด็กชายธนศกั ดิ์ สามารถเรยี นรู้ ได้ตามศักยภาพ คณะทำ�งานโครงการ ได้จัดอบรมเกี่ยวกับรูปแบบการจัด กิจกรรมที่สอดคล้องกับปัญหาของ นกั เรยี นทบี่ กพรอ่ งทางการเหน็ รว่ มกบั ปัญหาทางพฤติกรรมและอารมณ์ โดยเพ่ิมเติมเทคนิค เครื่องมือ สื่อ การเรยี นการสอนทต่ี รงกบั ความตอ้ งการ ท้ังยังจัดหาอุปกรณ์และเทคโนโลยี สารสนเทศทจี่ ำ�เป็น เชน่ คอมพวิ เตอร์ เคร่ืองบอกสี และชุดกระดานเขียน ภาพนูน เพื่ออำ�นวยความสะดวกใน การเรยี นอกี ดว้ ย เดก็ ชายธนศกั ดิ์ ฝึกพิมพ์อกั ษรเบรลล์ ​เด็กชายธนศักด์ิเรียนรู้และ ด้วยเครื่องเบรลเลอร์ ควบคุมพฤติกรรมต่างๆ ได้ดีข้ึน เปน็ ล�ำ ดบั จนสามารถยา้ ยจากหอ้ งเรยี น พิการซ้อนไปเข้าห้องเรียนตาบอดปกติได้ในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔ ในปีการศึกษา ๒๕๕๐ และจบชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ เมื่ออายุได้ ๑๗ ปี นายธนศักดิ์มีพัฒนาการท่ีดีข้ึน เช่น พูดจาโต้ตอบได้ดี พิมพ์อักษรเบรลล์ ได้ ใชโ้ ปรแกรมอา่ นจอภาพได้ดีพอสมควร แตก่ ย็ ังมปี ัญหาด้านทกั ษะสังคม และพฤตกิ รรมอยู่บ้างเมอ่ื อยกู่ ับคนรอบขา้ ง ​ในปีการศึกษา ๒๕๕๓ โรงเรียนได้เปิดชั้นเรียนระดับมัธยมศึกษา ปีท่ี ๑ จำ�นวน ๑ ห้องเรียน เป็นแผนการเรียนสายสามัญก่ึงวิชาชีพ นายธนศักดกิ์ ับเพอื่ นๆ ได้เข้าเรียนต่อจนจบชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ๒๒๐

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วทิ ยาปริทรรศน์ กิจกรรมส่งเสริมการเรยี นรู้ นายธนศักด์ิเป็นผู้ที่ใฝ่เรียนรู้อย่างย่ิง อาจารย์หลายท่านรายงาน ตรงกันว่า แม้จะเป็นนักเรียนตาบอดพิการซ้อน แต่เขาก็พยายามอย่าง เต็มความสามารถ ชอบทำ�การบ้าน ชอบพิมพ์และอ่านอักษรเบรลล์ เมื่อ กลับบ้าน เขาจะขอให้บิดา มารดา คุณยาย หรือน้องสาว อ่านหนังสือ ให้ฟัง และเขาจะฝึกพิมพ์ภาษาไทยตามเสียงอ่านด้วยคอมพิวเตอร์ท่ีได้รับ พระราชทาน ฝึกอักษรเบรลล์จากเครื่องพิมพ์อักษรเบรลล์ (Brailler) เพ่ือน�ำ งานมาสง่ อาจารยท์ ่โี รงเรียน ​อาจารย์วันทนีย์ได้เดินทางไปเยี่ยมเยียนนายธนศักด์ิและครอบครัว เป็นประจำ�ทุกปี แต่ละปีก็จะเห็นว่าเขามีพัฒนาการด้านต่างๆ ดีขึ้น คร้ังหน่ึงอาจารย์ประจำ�ชั้นนำ�หนังสือนิทานที่นายธนศักดิ์พิมพ์ด้วย เครอ่ื งพมิ พอ์ กั ษรเบรลลม์ าใหด้ ู เปน็ หนงั สอื เรอ่ื งสน้ั อกั ษรเบรลล์ ท่ีทำ�ไว้เรื่องละหลายๆ เล่ม เพื่อนำ�ไปไว้ในห้องสมุดสำ�หรับ นักเรียนตาบอดรุ่นน้อง อาจารย์ท่ีโรงเรียนทุกคนต่างแสดง ความช่ืนชม ไมเ่ ฉพาะในความอตุ สาหะ แต่เพราะผลงานของ เขาเปน็ ประโยชนต์ ่อผู้อ่ืนด้วย ​แม้หลายคนจะคิดว่านักเรียนตาบอดพิการซ้อนไม่ น่าจะพัฒนาได้มากนัก แต่นายธนศักดิ์ก็ได้แสดงให้เห็นอย่าง ชัดเจนว่า ถ้าจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างเหมาะสม มีกระบวนการวิเคราะห์จนเข้าใจและเข้าถึงจิตใจผู้เรียน อย่างถ่องแท้ ก็จะช่วยให้นักเรียนตาบอดพิการซ้อน สามารถเรียนร้ไู ด้อย่างสัมฤทธผิ์ ลท่ีพงึ ประสงค์ ​ แม้แต่วิชาคณิตศาสตร์ซ่ึงหลายคนกล่าวว่า สอนยากมากแต่อาจารย์ศิริพร ตัณฑโอภาส ก็ไม่ ๒๒๑

๖๐ พรรษา รตั นราชสดุ า วิทยาปริทรรศน์ ย่อท้อในการให้ความรู้ อาจารย์ศิริพรได้จัดรูปแบบการเรียนที่ใช้ในชีวิต ประจำ�วันได้ และได้นำ�สมุดบันทึกการออมของนายธนศักด์ิมาแสดงให้เห็น ว่าเขาบันทึกไว้ทุกวันว่านำ�เงินมาโรงเรียนเท่าไร ใช้ไปแค่ไหน เหลือเท่าไร และเมอ่ื รวมกบั เงนิ ออมที่มีอยแู่ ล้ว รวมเป็นเงนิ เท่าไร นายธนศักดม์ิ คี วามจำ� แมน่ ย�ำ เปน็ พเิ ศษ เมอื่ ถกู ถามกจ็ ะบอกไดว้ า่ มเี งนิ ออมอยเู่ ทา่ ไร การฝกึ บวกลบ เลขอย่างเป็นระบบทุกวันเช่นน้ีทำ�ให้เขามีทักษะท่ีนำ�ไปใช้ได้อย่างเป็น รูปธรรม ​ นายธนศักดิ์ปรับตัวเข้ากับเพ่ือน ได้ดีข้ึน เรียนดีขึ้น และนั่งเรียน อ ย่ า ง มี ส ม า ธิ ไ ด้ ต ล อ ด ชั่ ว โ ม ง แม้จะมีปัญหาด้านอารมณ์และ พฤตกิ รรมอยบู่ า้ ง แตอ่ าจารยผ์ สู้ อน ก็ รู้ วิ ธี จั ด ก า ร ไ ด้ เ ป็ น อ ย่ า ง ดี นายธนศกั ด์ิ จงึ เปน็ ทร่ี กั ของอาจารย์ ทกุ คน สมุดบันทึกการออมของนายธนศักด์ิ ชวี ติ หลังวยั เรยี น ​ ช่วงปดิ ภาคเรยี นปลายปขี องชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๒ บิดาและมารดา ได้ทดลองให้นายธนศักด์ิไปอยู่กับคุณป้าเพื่อช่วยงานค้าขาย ร้านค้าของ คุณป้าอยู่ที่ อำ�เภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน เม่ือโรงเรียนอนุญาต อาจารย์ก็ได้จัดการบ้านไปให้เพื่อช่วยฝึกอ่านเขียน และมอบเคร่ืองพิมพ์ดีด ไฟฟ้า ๑ เครื่อง ส�ำ หรับพิมพ์งาน คณะทำ�งานโครงการ พร้อมกับอาจารย์โรงเรียนสอนคนตาบอด ภาคเหนือ ได้เดินทางไปเยี่ยมนายธนศักดิ์ที่ อำ�เภอปางมะผ้า พบว่า นายธนศักดิ์สามารถช่วยงานค้าขายได้บ้าง เมื่อมีคนมาซื้อสินค้า ก็สามารถ ๒๒๒

๖๐ พรรษา รตั นราชสดุ า วทิ ยาปริทรรศน์ นายธนศักด์ิ ขายของช�ำ ท่ีร้านในอ�ำ เภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน บอกได้ว่าสินค้าจัดวางท่ีชั้นไหน ที่น่าประทับใจคือ เขาสามารถจดจำ�ราคา สนิ คา้ แตล่ ะชิน้ ได้ทง้ั หมด ​เน่ืองจากนายธนศักดิ์สามารถทำ�กิจวัตรประจำ�วันเองได้ส่วนหน่ึง จงึ ไมเ่ ปน็ ภาระใหแ้ กค่ ณุ ปา้ มากนกั เขาเปน็ ทรี่ กั ของทกุ คนในครอบครวั ทงั้ บดิ า มารดา คุณยาย และน้องสาวตา่ งใหก้ �ำ ลงั ใจเขาในการฝึกประกอบอาชพี ​ นายธนศักดิ์เรียนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ใน พ.ศ. ๒๕๕๕ ด้วย ความเอาใจใส่ของครอบครัว และครบู าอาจารย์ รวมท้งั พระมหากรุณาธคิ ุณ ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ทรงห่วงใยและ ทรงชว่ ยเหลอื เดก็ ตาบอดพกิ ารซอ้ นคนหนงึ่ ใหไ้ ดร้ บั การศกึ ษาอยา่ งเหมาะสม นายธนศกั ดไ์ิ ดพ้ ฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง จนกระทง่ั สามารถชว่ ยเหลอื ครอบครวั และสรา้ งสรรค์สิ่งทเี่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ ผูอ้ นื่ ได้ ส่ิงหน่ึงที่เขาทำ�เป็นกิจวัตรประจำ�วันไม่เคยขาดก็คือ การพิมพ์งาน ด้วยเคร่ืองพิมพ์ดีดไฟฟ้าซ่ึงเป็นการฝึกฝนทักษะความชำ�นาญ อันแสดง ให้เห็นถงึ ความม่งุ ม่ันของผูใ้ ฝ่เรยี นรู้ตลอดชีวิต ๒๒๓

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วิทยาปรทิ รรศน์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี พระราชทานของขวัญเพื่อเปน็ ขวัญและก�ำ ลังใจแก่ รอ้ ยตรีตว่ นอัมรนั กโู ซะ เนือ่ งในโอกาสวนั ขึน้ ปีใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๔ ณ โรงพยาบาลพระมงกฎุ เกลา้

๖๐ พรรษา รัตนราชสดุ า วิทยาปรทิ รรศน์ จากทหาร....สผู่ สู้ รา้ งสรรค์งานศลิ ปะ “ขอใหพ้ จิ ารณาความชว่ ยเหลอื พลทหารตว่ นอมั รนั กโู ซะ ตามทสี่ ภาพรา่ งกาย ซงึ่ ทพุ พลภาพ โดยเฉพาะขาทง้ั สองขา้ งซง่ึ สญู เสยี ไป เพอื่ ใหพ้ ลทหารตว่ นอมั รนั กูโซะ สามารถช่วยเหลือดูแลตนเองได้ตามอัตภาพด้วยความสุข รวมทั้ง การด�ำ รงชวี ติ และประกอบอาชีพได้ตามความเหมาะสมตอ่ ไป” พระราชกระแสรับส่ัง สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ าร ี หนงั สอื กองราชเลขานกุ ารในพระองคส์ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี (พ.ศ. ๒๕๕๓) ทหารผรู้ บั ใชช้ าติ มบี างสงิ่ บางอยา่ งในชวี ติ ทคี่ นเราไมอ่ าจลมื เลอื น หากสง่ิ นนั้ ไดเ้ ปลยี่ น เสน้ ทางชีวติ ของคนๆ หน่ึงไปโดยส้นิ เชงิ วันศกุ รท์ ่ี ๒๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๒ เป็นวันท่ีพลทหารตว่ นอัมรนั กโู ซะ ไมม่ วี นั ลืม เขาเล่าว่า “ขณะปฏิบัติหน้าท่ีคุ้มกันครู ผมได้ไปนั่งพักท่ีร้านริมทางซึ่ง ผกู้ อ่ การรา้ ยแอบฝงั ระเบดิ ไวใ้ ตท้ น่ี งั่ เมอื่ เกดิ ระเบดิ ขน้ึ ผมรสู้ กึ ขาชา มองดขู า ตัวเองก็พบวา่ ขาซ้ายขาดแลว้ สว่ นขาขวาเละหมด ตาซา้ ยมองไม่เหน็ ใชไ้ ด้ แคต่ าขวา ผมเห็นแตเ่ ศษกระดกู เลือด เนอื้ อาวุธ กระจายทวั่ บริเวณ....” พลทหารตว่ นอมั รนั ถกู สง่ ไปรกั ษาทโ่ี รงพยาบาลศนู ยย์ ะลาระยะหนง่ึ จากนัน้ จึงมารักษาตอ่ ทโ่ี รงพยาบาลพระมงกฎุ เกล้าเม่อื วันท่ี ๑๕ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๕๒ เมอ่ื สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ไดเ้ สดจ็ เยี่ยมผู้ป่วยราชการสนามท่ีโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าในวันท่ี ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ เขากไ็ ดม้ โี อกาสเขา้ เฝ้าฯ ๒๒๕

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วิทยาปริทรรศน์ “เมอ่ื พระองคเ์ สดจ็ มาถงึ ผมไดถ้ วายพวงมาลยั พระองคท์ รงมอบถงุ ยังชีพให้และทรงไต่ถามความเป็นมา ทรงแสดงความห่วงใยและทรงให้ กำ�ลงั ใจ นับเป็นคร้งั แรกท่ผี มไดใ้ กล้ชดิ กบั พระองคท์ า่ น” สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี มพี ระราชกระแส รับสั่งให้คณะกรรมการโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำ�ริฯ ดำ�เนินการช่วยเหลือ คณะกรรมการโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตาม พระราชดำ�ริฯ ร่วมกับศูนย์สิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ แหง่ ชาติ และมูลนธิ สิ ายใจไทยในพระบรมราชปู ถมั ภ์ จงึ ได้ร่วมกนั พิจารณา ความเป็นไปได้ในการใส่ขาเทียมให้แก่ร้อยตรีต่วนอัมรัน (ขณะน้ันได้รับ การเล่ือนยศแล้ว) อย่างไรก็ดี คณะแพทย์ให้ความเห็นว่าเป็นเรื่องยาก อยา่ งยงิ่ เนอื่ งจากขาทงั้ สองขา้ งของเขาถกู ระเบดิ แตกละเอยี ด ตอขาแบะออก จากลำ�ตัว ส่วนบริเวณปลายตอขาขา้ งซา้ ยมีกระดูกงอก แตเ่ นอ่ื งจาก รอ้ ยตรตี ว่ นอมั รนั คาดหวงั วา่ ตนเองนา่ จะเดนิ ได้ ดงั นน้ั คณะกรรมการ จึงได้ขอพระราชทานขาเทียม และได้รับพระราชานุญาต ให้ดำ�เนินการ ในการน้ี นายแพทย์ปิยวิทย์ สรไชยเมธา แพทย์จากศูนย์ สิรินธรฯ ได้จัดทำ�ขาเทียมให้ท้ังสองข้าง โดยในช่วงแรกเริ่มใส่ขาแบบสั้น เพ่ือช่วยการทรงตัวก่อน จากน้ันจึงเปล่ียนเป็นแบบขายาวเท่ากับความสูง นายแพทย์ปิยวิทย์ได้แจ้งให้เขาทราบว่า การใส่ขาเทียมต้องใช้เวลาและ ความอดทนอย่างสูง “เมอื่ เรมิ่ สวมใสเ่ บา้ ขาแบบสน้ั ขณะทง้ิ น�้ำ หนกั ตวั ลงบนเบา้ ขาเทยี ม ทั้งสองข้างแบบเต็มๆ ความรู้สึกตอนนั้นเจ็บเกินกว่าจะอธิบาย เนื่องจาก ขาขาดทั้งสองข้าง ผมจึงไม่สามารถทิ้งนำ้�หนักลงข้างใดข้างหน่ึงได้ เพราะ เม่ือใดท่ีท�ำ อย่างนั้น จะเจ็บเพิ่มเป็น ๒ เทา่ ทันที” ร้อยตรตี ว่ นอมั รันเลา่ ถงึ ประสบการณค์ รัง้ แรก “ผมทิ้งน้ำ�หนักได้ไม่เกิน ๕ นาที ก็บอกเจ้าหน้าที่ว่าขอพักก่อน มันเจ็บและทรมานมากจนทนไม่ไหว ผมต้องฝึกการยืนทรงตัวทุกวัน วันละ ๑๕-๒๐ นาที ใจผมสไู้ หว แตข่ าผมไม่ไหว...” ๒๒๖

๖๐ พรรษา รัตนราชสดุ า วิทยาปริทรรศน์ แม้จะมีความกล้า ฝึกอย่างอดทนและเหน่ือยล้า แต่ในที่สุด เขาก็ ประจกั ษด์ ้วยตนเองวา่ เดนิ ไมไ่ ดอ้ ีกแลว้ “ผมตอ้ งท�ำ ใจและยอมรบั ความจรงิ ในทส่ี ดุ เหตนุ เ้ี องทท่ี �ำ ใหผ้ มยม้ิ ได”้ ร้อยตรีต่วนอัมรันยังให้ข้อคิดว่า “จากที่ได้ดูทีวีและอ่านเร่ืองราว ของหลายต่อหลายคน ทำ�ให้คิดได้ว่าไม่ใช่แค่ผมเพียงคนเดียวท่ีทุกข์ยาก ทกุ คนยอ่ มพบกบั ความล�ำ บาก ดงั นน้ั เราจงึ ควรใชช้ วี ติ ทเ่ี หลอื อยอู่ ยา่ งคมุ้ คา่ เม่ือยังมชี วี ิตอยู่ก็ต้องสตู้ ่อไปครับ” จากจุดนนั้ เอง ทุกคนจงึ ไดร้ วู้ า่ เขาจะยัง “กา้ ว” ต่อไปในชวี ติ ได้โดย ใชร้ ถเข็นเปน็ เครอ่ื งชว่ ย ร้อยตรีตว่ นอมั รัน พยายามหัดเดินด้วยขาเทียมแกนในแบบเหนอื เขา่ ทั้งสองขา้ ง ๒๒๗

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วิทยาปริทรรศน์ ส่ชู ีวิตใหม่ รอ้ ยตรตี ว่ นอมั รนั ฝกึ อาชพี กบั มลู นธิ สิ ายใจไทยฯ ตงั้ แตช่ ว่ งทรี่ กั ษาตวั อยู่ที่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า เมื่อการรักษาเสร็จส้ิน เขาได้สมัครงาน ในหน่วยฝึกอาชีพของมูลนิธิ ในแผนกงานพู่กันระบายสี เขาเปรียบเทียบ ความรสู้ ึกต่อหนา้ ท่ีการงานในขณะน้นั วา่ “ตอนผมเป็นทหารสิ่งท่ีผมได้รับคือ รู้จักหน้าที่ ความรับผิดชอบ ความสามคั คใี นหมคู่ ณะ ความอดทนเขม้ แขง็ และตอ้ งเสยี สละเพอ่ื ประโยชน์ สว่ นรวม แตเ่ มือ่ เลอื กอาชีพทางศิลปะ ชวี ิตกเ็ ปลี่ยนไป ผมน่ังรวมกับเพอ่ื น จับพู่กันระบายสี มีสมาธิ เอาใจใส่ในงานที่รับผิดชอบและช่วยเหลือซ่ึงกัน และกนั ” การฝึกปรือฝีมืออย่างจริงจังทำ�ให้ผลงานระบายสีพู่กันบนงานไม้ ของเขาประณีตงดงาม ครั้งหนึ่งเขาเคยได้รับพระราชกระแสชมเชยจาก สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี วา่ “ชนิ้ งานสวยมากนะ” พระราชกระแสชมเชยนี้ยังความปลาบปลื้มและความภาคภูมิใจแก่ตัวเขา เปน็ อย่างยง่ิ ชีวิตของร้อยตรีต่วนอัมรันสดใส ขน้ึ อกี เมอ่ื เขาไดพ้ บกบั สตรที ตี่ อ่ มาไดเ้ ปน็ คู่ชีวิตในปัจจุบัน ทั้งคู่สมรสกันเมื่อวันที่ ๑๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ท่ามกลาง ความยินดีของผู้ใหญ่ที่ท้ังสองฝ่ายเคารพ นับถือ รวมท้ังเพ่ือนร่วมงานในทุกแผนก ของมูลนธิ ิสายใจไทยฯ เขาบอกว่าวันน้ัน เป็นวันท่ีเขามีความสุข และเป็นวันแห่ง การเร่ิมต้นครอบครัวเล็กๆ ท่ีเขามีหน้าท่ี ต้องดแู ล รอ้ ยตรีตว่ นอมั รัน กูโซะ และภรรยาคู่ชวี ิต ๒๒๘

๖๐ พรรษา รตั นราชสดุ า วิทยาปรทิ รรศน์ ร้อยตรีตว่ นอมั รนั กโู ซะ ปฏบิ ตั ิงานในหนว่ ยฝึกอาชีพของมูลนธิ สิ ายใจไทยฯ แผนกงานพูก่ นั ระบายสี ร้อยตรีต่วนอัมรันรู้สึกขอบคุณทุกคนที่เคยให้ความช่วยเหลือเขา ในบทความเรื่อง Walk Again เขาเขียนขอบคุณหน่วยงานต้นสังกัดใน กองทัพบกที่ให้กำ�ลังใจและจัดกิจกรรมอย่างต่อเน่ืองเพ่ือดูแลทหารบาดเจ็บ พกิ าร ทมี แพทย์หลากหลายสาขาทชี่ ว่ ยรกั ษาฟ้นื ฟทู งั้ ร่างกายและจิตใจ พีๆ่ พยาบาล อย่างแม่ศรีและพ่ีต้อม ท่ีคอยเอาใจใส่ดูแลระหว่างรักษาตัวที่ โรงพยาบาล รวมไปถึงกลุ่มจิตอาสาต่างๆ ที่มอบกำ�ลังใจและแสดงความ เออื้ อาทรดว้ ยหัวใจอนั บริสทุ ธิ์ ทสี่ �ำ คญั ทสี่ ดุ กค็ อื รอ้ ยตรตี ว่ นอมั รนั รสู้ กึ ส�ำ นกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ที่พระราชทาน ความช่วยเหลือในด้านต่างๆ จนทำ�ให้เขาสามารถดำ�รงชีวิตอย่างมีความสุข ดงั ท่เี ขาไดเ้ ลา่ ถึงความร้สู กึ ในขณะท่พี ระองค์เสดจ็ มาเยย่ี มวา่ “เป็นภาพท่ีผมยังจดจำ�จนถึงทุกวันนี้ ผมรู้สึกตื้นตันและสำ�นึก ในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น นับเป็นความปลื้มปิติอันใหญ่หลวงของ ผมครบั ” ๒๒๙

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วิทยาปริทรรศน์ นางสาวตอยยบี ะห์ สอื แม นักเรยี นโรงเรยี นนราสิกขาลยั จงั หวดั นราธิวาส เฝา้ ฯ รบั เสด็จสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี พ.ศ. ๒๕๕๓

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วิทยาปริทรรศน์ นกั ศกึ ษาไรแ้ ขนขา จากเมอื งนรา “เราเลือกเกิดไม่ได้ แต่เลือกที่จะเป็นได้” เป็นคติประจำ�ใจของ นางสาวตอยยบี ะห์ สอื แม นกั ศกึ ษาพกิ ารไรแ้ ขนขาทง้ั สองขา้ ง เธอมภี มู ลิ �ำ เนา อย่ทู ี่ ต�ำ บลล�ำ ภู อำ�เภอเมือง จงั หวดั นราธวิ าส และได้ฝา่ ฟนั อุปสรรคตา่ งๆ ในการเรียนร่วม ตั้งแต่ชั้นอนุบาลและประถมศึกษาท่ีโรงเรียนบ้านปลักปลา ช้ันมัธยมศึกษาที่โรงเรียนนราสิกขาลัย จนในท่ีสุดสามารถเข้าศึกษาต่อใน มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปัตตานี ชีวติ เรม่ิ ตน้ …ของตอยยบี ะห์ ​เม่ือวันที่ ๑๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ ณ โรงพยาบาลนราธิวาส- ราชนครินทร์ จังหวดั นราธวิ าส มที ารกเพศหญงิ ถือกำ�เนิดขึน้ ในสภาพพิการ แขนและขาท้ังสองข้างขาดหายผ่านข้อไหล่และข้อสะโพก เธอมีชื่อว่า ตอยยีบะห์ สือแม ถึงแม้ลูกเกิดมามีสภาพเช่นน้ี แต่นางรอมือละห์ผู้เป็น มารดากไ็ มเ่ คยคดิ จะทอดทิ้ง และคดิ เสมอวา่ “จะเล้ยี งดลู กู คนนใ้ี หด้ ที ่ีสุด” ​ เดก็ หญงิ ตอยยบี ะหเ์ ตบิ โตขนึ้ มาดว้ ยความรกั และความเอาใจใสจ่ าก ครอบครัว เธอมีนอ้ งสาวทีอ่ ายหุ า่ งกนั เพยี ง ๑ ปี ชื่อ เด็กหญงิ โซเฟีย สือแม ท่ีเป็นเพ่ือนคู่คิดและคอยช่วยเหลือเธอ บิดาของเด็กน้อยท้ังสองเสียชีวิตใน อุบัติเหตุทางรถยนต์เมื่อเด็กหญิงตอยยีบะห์อายุได้ ๒ ปี อย่างไรก็ตาม เธอยงั มมี ารดาทคี่ อยเอาใจใส่ และชว่ ยฝกึ เธอใหเ้ คลอ่ื นไหวรา่ งกายไดใ้ กลเ้ คยี ง กับพัฒนาการตามวัยให้มากที่สุด เธอจึงน่ังทรงตัวและเคล่ือนที่ในท่าน่ังได้ ตง้ั แตเ่ ลก็ เดก็ หญงิ ตอยยบี ะหม์ พี ฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญาเปน็ ปกติ สามารถเรยี นรู้ และพดู สื่อสารได้ดีเหมอื นเด็กทว่ั ไป อันเปน็ ผลมาจากการเล้ยี งดขู องมารดา ๒๓๑

๖๐ พรรษา รัตนราชสุดา วทิ ยาปริทรรศน์ เดก็ หญงิ ตอยยบี ะหใ์ นวยั เยาว์ มารดาและน้องสาว ซง่ึ เคยกลา่ วไวว้ า่ “ลกู เปน็ ทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ งของพอ่ แม่ ไมว่ า่ ลกู จะเปน็ แบบไหน เราต้องฝ่าฟันอุปสรรคผ่านไปให้ได้ พร้อมท่ีจะต่อสู้ พร้อมท่ีจะพยายาม เลยี้ งดใู หด้ ี ให้อยู่ในสังคมใหไ้ ด”้ ก้าวแรกของการศึกษา ​ เด็กหญิงตอยยีบะหเ์ ร่ิมเรยี นชนั้ อนบุ าล ๑ พรอ้ มนอ้ งสาวที่โรงเรยี น บ้านปลักปลา อำ�เภอเมือง จังหวัดนราธิวาส อาจารย์ใหญ่ของโรงเรียนใน ขณะนนั้ คอื นายทวี หนวู นุ่ ไดใ้ หโ้ อกาสโดยรบั เดก็ หญงิ ตอยยบี ะหเ์ ขา้ มาเรยี น เพราะเหน็ วา่ เธอพิการเพยี งร่างกาย แตส่ ตปิ ัญญาปกติ และเชื่อว่าเธอนา่ จะ เรยี นรไู้ ด้ อกี ทงั้ ครใู นโรงเรยี นกเ็ ตม็ ใจชว่ ยสอน นบั เปน็ กา้ วแรกในการเขา้ เรยี น ของเดก็ หญงิ ตอยยบี ะห์ สว่ นมารดากไ็ ดง้ านเปน็ แมค่ รวั ในโรงเรยี นจงึ สามารถ ดแู ลเดก็ หญงิ ตอยยบี ะหข์ ณะอยทู่ โี่ รงเรยี น และหารายไดม้ าจนุ เจอื ครอบครวั ไปพรอ้ มกัน พระมหากรุณาธคิ ุณโอบอุม้ เดก็ น้อย ​ขณะที่เด็กหญิงตอยยีบะห์อายุ ๕ ปี และเรียนอยู่ช้ันอนุบาล ๒ เธอได้มโี อกาสเข้าเฝ้าฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ท่ีโรงเรียนบ้านเขาตันหยง (มิตรภาพท่ี ๑๕๓) ตำ�บลกะลุวอเหนือ จังหวัด ๒๓๒

๖๐ พรรษา รัตนราชสดุ า วิทยาปรทิ รรศน์ นราธิวาส เม่ือได้ทอดพระเนตรเด็กหญิงตัวน้อยท่ีไร้แขนขา และทรงทราบ เรื่องราวของเธอ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรณุ ารบั เดก็ หญงิ ตอยยบี ะห์ ไวใ้ นพระราชปู ถมั ภน์ บั แตน่ น้ั เปน็ ตน้ มา เดก็ หญงิ ตอยยบี ะหเ์ ขา้ รบั การตรวจรา่ งกายทศ่ี นู ยส์ ริ นิ ธรเพอ่ื การฟน้ื ฟู สมรรถภาพทางการแพทย์แหง่ ชาติ แพทยไ์ ด้ตรวจประเมินและลงความเหน็ ว่า ไม่สามารถใส่แขนและขาเทียมได้ เนื่องจากไม่มีตอแขนและตอขาเลย สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี จงึ พระราชทานรถเขน็ เพอ่ื ให้ เด็กหญงิ ตอยยบี ะห์ใชเ้ ป็นพาหนะ และทรงพระกรณุ าส่งเธอเขา้ รับการฟ้ืนฟู สมรรถภาพรา่ งกายอยา่ งตอ่ เนอ่ื งทม่ี ลู นธิ อิ นเุ คราะหค์ นพกิ ารในพระราชปู ถมั ภ์ ของสมเด็จพระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี ใน พ.ศ. ๒๕๔๕ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ได้เสด็จตรวจเยี่ยมโรงเรียนบ้านปลักปลา และทรงพบเด็กหญิงตอยยีบะห์ อีกคร้ังหนึ่ง จึงมีพระราชกระแสรับสั่งให้คณะกรรมการโครงการเทคโนโลยี สารสนเทศตามพระราชด�ำ รสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี พิจารณาช่วยเหลือ โดยให้คิดค้นเทคโนโลยีสิ่งอำ�นวยความสะดวกและ เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื ให้ เดก็ หญิงตอยยบี ะห์สามารถเรียนหนังสือ และ ทำ�กิจกรรมร่วมกับเพื่อนในช้ันเรียนได้ดีข้ึน รวมท้ังเสริมเร่ืองการฟื้นฟู ตอยยีบะหใ์ ช้แทรก็ บอลร่วมกับโปรแกรม ตอยยีบะหร์ บั ประทานอาหารด้วยตนเอง แป้นพิมพ์บนจอภาพในการพิมพง์ าน จากจานอาหารซึ่งออกแบบพิเศษ ๒๓๓

๖๐ พรรษา รัตนราชสดุ า วทิ ยาปรทิ รรศน์ สมรรถภาพรา่ งกาย การปรบั สภาพแวดลอ้ ม ของอาคารสถานท่ี ท้ังท่ีบ้านและโรงเรียน ปจั จยั เกอ้ื หนนุ เหลา่ นท้ี �ำ ใหเ้ ธอสามารถพฒั นา ตนเอง ทงั้ ในดา้ นการเรยี นและการชว่ ยเหลอื ตนเองให้ดขี ้นึ ได้โดยล�ำ ดบั ​ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ไดพ้ ระราชทานเทคโนโลยี สง่ิ อ�ำ นวยความสะดวกเพอื่ ชว่ ยเพม่ิ ศกั ยภาพ ของเด็กหญิงตอยยีบะห์ในหลายด้าน ได้แก่ คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊กสำ�หรับใช้งานท่ีบ้าน คอมพวิ เตอร์ส�ำ หรับใช้งานทโี่ รงเรียน พร้อม แทรก็ บอลและโปรแกรมแปน้ พมิ พบ์ นจอภาพ สำ�หรับใช้กับคอมพิวเตอร์ รถเข็นขับเคล่ือน นางสาวตอยยบี ะห์ สือแม ด้วยระบบไฟฟ้าที่ปรับที่นั่งข้ึนลงถึงพื้นได้ ใชร้ ถเข็นขับเคลอ่ื นด้วยระบบไฟฟ้า พร้อมชุดควบคุมการขับเคล่ือนแบบติดต้ัง ทป่ี รบั ทีน่ ง่ั ขึน้ ลงถึงพ้นื ได้ ที่หัวไหล่ เพ่ือให้เธอสามารถเคลื่อนที่ไปยังสถานที่ต่างๆ ได้โดยสะดวก นอกจากนี้ยังมีจานท่ีออกแบบพิเศษซ่ึงทำ�ให้เธอรับประทานอาหารได้ ด้วยตนเอง ชมุ ชนท่เี อ้อื อาทรซง่ึ กนั และกนั คณะกรรมการโครงการไดน้ �ำ แนวทางพระราชทานในการด�ำ เนนิ งาน มาเป็นหลักในการให้ความช่วยเหลือเด็กหญิงตอยยีบะห์และครอบครัว กลา่ วคอื ใหม้ บี คุ ลากรจากหลายฝา่ ย เชน่ ชมุ ชน โรงเรยี น หนว่ ยงานในทอ้ งถนิ่ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เปน็ ตน้ รว่ มกนั ชว่ ยเหลอื ดแู ลเดก็ หญงิ ตอยยบี ะหแ์ ละครอบครวั เพอ่ื ให้ เปน็ ตัวอยา่ งของความร่วมมอื ร่วมใจที่ต่อเน่ืองและยงั่ ยืน ชมุ ชนที่ครอบครัว สือแมเปน็ สมาชกิ อยนู่ แ้ี สดงใหเ้ หน็ น�ำ้ ใจเออ้ื อาทรทน่ี า่ ประทบั ใจ ตวั อยา่ งเชน่ ๒๓๔

๖๐ พรรษา รัตนราชสดุ า วิทยาปรทิ รรศน์ ก า ร ป รั บ ส ภ า พ แว ด ล้ อ ม ใ น โรงเรียนบ้านปลักปลา เกิดจาก การท่ีผู้ใหญ่บ้านและศิษย์เก่าเข้ามา ชว่ ยกนั จดั ท�ำ โตะ๊ เกา้ อ้ี และทางลาด ในโรงเรียน เน่ืองจากยังมีนักเรียน พิการอีกหลายคนนอกจากเด็กหญิง ตอยยีบะห์ การปรับสภาพบ้านของ เด็กหญิงตอยยีบะห์ เกิดจากการที่ ผู้ใหญบ่ ้าน เพอ่ื นบ้านและหนว่ ยงาน ทางราชการต่างๆ ได้แก่ วิทยาลัย นางสาวตอยยบี ะห์ สอื แม ใชร้ ถเขน็ สารพดั ชา่ งนราธวิ าส องคก์ ารบรหิ าร ขบั เคล่ือนด้วยระบบไฟฟา้ ทป่ี รบั สว่ นต�ำ บลล�ำ ภู และการไฟฟา้ สว่ นภมู ภิ าค ที่น่งั ขึน้ ลงถึงพนื้ ได้ จงั หวดั นราธวิ าส เขา้ มาชว่ ยกนั ตอ่ เตมิ บ้าน เดินสายไฟเข้าบ้าน ทำ�ถนน และทางลาดเขา้ บา้ น และปรบั สภาพหอ้ งน้�ำ ใหใ้ ชง้ านสะดวก การซ่อมบำ�รุงรถเข็นไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ของตอยยีบะห์ มี วิทยาลัยสารพัดช่างนราธิวาส และวิทยาลัยการอาชีพปัตตานี ช่วยดูแล ตลอดระยะเวลาที่เธอเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจนถึงระดับ มหาวิทยาลยั หลกั การทรงงานของสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯสยามบรมราชกมุ ารี นอกจากจะทำ�ให้เกิดเครือข่ายความช่วยเหลือซ่ึงกันและกันแล้ว ยังเปิด พ้ืนที่ให้คนในชมุ ชนได้แสดงความเออื้ อาทรแกผ่ ู้ทีด่ อ้ ยโอกาสอกี ดว้ ย ๒๓๕

๖๐ พรรษา รัตนราชสดุ า วทิ ยาปรทิ รรศน์ ชวี ติ ในมหาวทิ ยาลัย “​ หนอู ยากเปน็ นกั จดั รายการวทิ ยุหรอื นกั ประชาสมั พนั ธ”์ เปน็ ค�ำ ตอบ ของนางสาวตอยยีบะห์ เม่ือถามถึงอาชีพในฝันของเธอ หลังจากจบช้ัน มัธยมศกึ ษาปีที่ ๖ นางสาวตอยยีบะห์และนอ้ งสาว ได้เข้าศกึ ษาต่อในระดบั ปรญิ ญาตรี ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๔ ทค่ี ณะวทิ ยาการสอื่ สาร สาขานเิ ทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี ซง่ึ เปน็ คณะทเ่ี ธอและนอ้ งสาว ใฝ่ฝนั อยากเข้าเรยี น เพอ่ื ประกอบอาชีพดา้ นสือ่ สารมวลชนในอนาคต ​ “ควรใหก้ ารเรยี นของนางสาวตอยยบี ะห์ สอื แม เปน็ ไปตามมาตรฐาน ของมหาวทิ ยาลยั แตเ่ ราอ�ำ นวยความสะดวกใหก้ บั นางสาวตอยยบี ะห์ ในสว่ น ทไ่ี มส่ ามารถทำ�ได้ตามวิธีปกติเนอ่ื งจากความพกิ ารเปน็ อปุ สรรค ส่วนเนอ้ื หา การเรียนควรเป็นตามมาตรฐาน เพราะถ้าตำ่�กว่ามาตรฐานก็จะจบออกไป ประกอบอาชีพไม่ได้” ศาสตราจารย์ ดร.ไพรัช ธัชยพงษ์ รองประธาน กรรมการโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำ�ริฯ ได้เชิญ พระราชดำ�รัสของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี มาบอกเล่าในคราวที่ประชุมกับคณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย เร่ืองการเข้า ศกึ ษาตอ่ ในระดบั อดุ มศกึ ษา ทมี่ หาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี ของนางสาวตอยยบี ะห์ สอื แม เม่ือวนั ท่ี ๑๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ​ นางสาวตอยยีบะห์ สือแม เปิดเผยถึงความรู้สึกที่ได้เข้าเรียนระดับ มหาวิทยาลัยว่า “ดีใจและตื่นเต้นที่สามารถเข้าศึกษาในสาขาและสถาบัน การศึกษาที่ใฝ่ฝัน ท้งั ๆ ทต่ี นเองแขนขาพกิ าร” เธอมคี วามมนั่ ใจในการดแู ล ของมหาวิทยาลัย ในขณะท่ีตนเองต้องปรับตัวเพ่ือไม่ให้เป็นภาระต่อผู้อ่ืน เธอยงั กลา่ วดว้ ยว่า “ต้องมีความพยายาม ไม่ย่อทอ้ ต่ออปุ สรรคทางร่างกาย ซ่ึงเชื่อว่าจะเป็นจุดพิสูจน์ความสามารถของเรา การผ่านจุดน้ีไปได้ต้องมี จิตใจเข้มแข็งและมีความหวัง ขอบคณุ มหาวิทยาลยั และเจา้ หนา้ ที่โครงการ เทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำ�ริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ๒๓๖

๖๐ พรรษา รตั นราชสดุ า วทิ ยาปรทิ รรศน์ นางสาวตอยยีบะห์ สอื แม ใช้รถเข็นขบั เคล่อื นดว้ ยระบบไฟฟา้ ท่ปี รบั ทนี่ ัง่ ขึ้นลงถงึ พืน้ ได้ สยามบรมราชกมุ ารี ทใ่ี หโ้ อกาส เมอื่ จบการศกึ ษาจะใชค้ วามรใู้ หเ้ กดิ ประโยชน์ สูงสุดและอุทศิ ตนเพ่อื สังคมและประเทศชาติ” ​ อาจารย์อมรรัตน์ ชนะการณ์ อาจารย์ท่ีปรึกษาซึ่งคอยดูแลและ ช่วยวางแผนการศกึ ษาให้แกน่ างสาวตอยยบี ะห์ กล่าวว่า “ตอยยีบะห์สดใส ร่าเริง เป็นตวั ของตวั เอง กลา้ พดู กลา้ แสดงออก รู้สกึ ยินดแี ละภาคภมู ิใจที่ได้ มีโอกาสทำ�หนา้ ท่ีพิเศษเชน่ นี้ และคาดหวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ ว่าตอยยีบะหจ์ ะเป็น บัณฑิตท่ีมีความรู้ความสามารถในวิชาชีพ มีคุณธรรม สามารถใช้ชีวิตอย่าง ปกติสุขได้ในสังคม และประพฤติตนให้มีคุณค่าสมกับพระมหากรุณาธิคุณ ของสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมาร”ี ​ ​ นางสาวตอยยบี ะหแ์ ละครอบครวั ระลกึ เสมอวา่ การทท่ี กุ คนในครอบครวั มีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึนในวันน้ีก็ด้วยพระมหากรุณาธิคุณที่สมเด็จพระเทพ รัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานแกเ่ ธอและครอบครัวนบั ตงั้ แต่เธอยังอยใู่ นวยั เยาว์ ๒๓๗

๖๐ พรรษา รตั นราชสุดา วทิ ยาปรทิ รรศน์

คำ�ยอ่ กฟภ.​ การไฟฟา้ ส่วนภูมิภาค DAAD​ Deutscher Akademischer Austausch Dienst กศน.​ สำ�นักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบ DESY​ Deutsches Elektronen-Synchrotron และการศึกษาตามอัธยาศัย DLTV​ Distance Learning Television ตชด.​ ต�ำ รวจตระเวนชายแดน eDLTV​ Electronic Distance Learning Television ทสรช. โครงการเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การศกึ ษาของ GABA​ Gamma-Aminobutyric Acid GISTDA G​ eo-Informatics and Space Technology โรงเรยี นในชนบท ปภ.​ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั Development Agency (Public Organization) พพ.​ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน GPRS General Packet Radio Service มจธ.​ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบรุ ี GUCAS G​ raduate University of Chinese Academy มจร.​ มหาจฬุ าลงกรณ์ราชวิทยาลัย มทส.​ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยสี ุรนารี of Sciences ศศช.​ ศูนยก์ ารศกึ ษาเพื่อชมุ ชนในเขตภเู ขา GYSS​ Global Young Scientists Summit สทอภ.​ สำ�นักงานพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและ HCMR ​Human-Chicken Multi-Relationship Research ภูมสิ ารสนเทศ (องคก์ ารมหาชน) IAP​ Institute of Atmospheric Physics สพฐ. ​สำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ICCES​ International Center for Climate and สวทช.​ ส�ำ นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ สสท. ​สำ�นกั งานโครงการส่วนพระองค์สมเดจ็ พระเทพ Environment Sciences รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี i-CREATe ​International Convention on Rehabilitation สสนก. ​สถาบันสารสนเทศทรัพยากรนำ�้ และการเกษตร Engineering and Assistive Technology (องคก์ ารมหาชน) ICT​ Institute of Computing Technology สสวท. ​สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี IEP​ Individualized Education Program สสส. ​ส�ำ นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ IHEP Institute of High Energy Physics สอศ.​ ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา IRGSP ​International Rice Genome Sequencing อปพร.​ อาสาสมคั รปอ้ งกนั ภยั ฝา่ ยพลเรอื น อพวช.​ องค์การพิพธิ ภัณฑ์วิทยาศาสตร์แหง่ ชาติ Project AAC​ Augmentative and Alternative Communication JARE​ Japanese Antarctic Research Expedition ALICE​ A Large Ion Collider Experiment JSTP​ Junior Science Talent Project AOFSRR A​ sia-Oceania Forum for Synchrotron Radiation LHC ​Large Hadron Collider NCBME​ National Conference on Biomedical Engineering Research NPI​ Norwegian Polar Institute BME​ Biomedical Engineering PITZ​ Photo Injector Test Facility at DESY, BMEiCON​ Biomedical Engineering International Location Zeuthen PMMA Polymethyl methacrylate Conference RADI ​Institute of Remote Sensing and Digital Earth CAA​ Chinese Arctic and Antarctic Administration RGD​ Rice Gene Discovery Unit CAI​ Computer-Aided Instruction SiRS​ Science in Rural Schools CAS​ Chinese Academy of Sciences SLRI​ Synchrotron Light Research Institute CERN​ Conseil Européen pour la Rocherche UCAS​ University of Chinese Academy of Sciences UNIS​ University Centre in Svalbard Nucléaire (European Organization for WLCG Worldwide LHC Computing Grid Nuclear Research) XFEL​ The European X-Ray Laser Project CHINARE​ Chinese Antarctic Research Expedition YAO ​Yunnan Astronomical Observatory CMS​ Compact Muon Solenoid ๒๓๙

ดัชนี กลุ่มข้าวปลอดสารพิษ ๑๔๘ คณะสำ�รวจทวปี แอนตาร์กติกาจนี ๖๕ กลมุ่ แปรรูป ๑๔๘ ครกู ารศกึ ษาพิเศษ ๑๘๓ กล่มุ ผลิตเมล็ดพนั ธุข์ า้ วคุณภาพดี ๑๔๘ ครูตู้ ๑๑๖-๑๑๗ การจัดการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม ๑๑๕ ความปลอดภัยของระบบไฟฟ้า ๑๕๕-๑๕๗ การท�ำ ใหไ้ กป่ า่ กลายเปน็ ไกบ่ ้าน ๗๒ คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน ๑๘๔-๑๘๕, ๑๘๙, ๑๙๕, ๑๙๗-๑๙๘ การประชุมผไู้ ดร้ บั รางวลั โนเบล ๒๘, ๕๐-๕๒, ๙๗ ค่ายการเรยี นรสู้ �ำ หรับนักเรียนออทสิ ติก ๒๐๐ การประชุมวิชาการ ICCES-HAII Workshop ๖๐ ค่ายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำ�หรับนักเรียนที่มีความ การประชมุ วชิ าการ US-Thai Symposium on Biomedical บกพรอ่ งทางร่างกายและการเคลือ่ นไหว ๑๙๓ Engineering ๘๑ ค่ายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำ�หรับนักเรียนที่มีความ การประชุมสุดยอดนักวิทยาศาสตรร์ ุ่นเยาว์โลก ๕๓, ๕๕ การประมวลภาษาธรรมชาติและการแปลภาษาด้วย บกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญา ๒๐๑ ค่ายวิทยาศาสตรส์ ำ�หรับเดก็ และเยาวชน ๑๔๙ คอมพิวเตอร์ ๕๙ ค่ายวิทยาศาสตรส์ ำ�หรบั นักเรียนตาบอด ๒๐๗ การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ๓๘, ๖๗ คา่ ยศลิ ปะ ๑๗๖, ๑๘๑ การแปลงขอ้ มูลเป็นแบบดิจทิ ลั ๑๔๒ คา่ ยส�ำ หรับนกั เรียนที่มขี ้อจำ�กัดดา้ นการพดู ๑๙๒ การพฒั นาโครงสร้างพนื้ ฐานดา้ นความปลอดภัย ๑๕๔ เคร่อื งก�ำ เนดิ แสงสยาม ๔๘ การวิจัยขว้ั โลก ๔, ๖๓, ๖๕-๖๖ เครอ่ื งช่วยฟัง รุน่ INTIMA ๘๒ การวจิ ยั ร่วมด้านดาราศาสตร์ ๖๐ เครือ่ งเรง่ อนภุ าค ๓๓, ๓๖, ๔๖, ๕๘ การวจิ ยั ร่วมดา้ นฟสิ ิกสน์ วิ เคลียร์และอนภุ าค ๖๐ โครงการ CERN School Thailand ๓๖ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม ๑๑๕-๑๑๖ โครงการ eDLTV ๑๑๕ การส�ำ รวจระยะไกล ๖๐ โครงการเกษตรเพือ่ อาหารกลางวนั ๒๓, ๑๓๑ การสอ่ื สารเสรมิ และทางเลอื กอน่ื ๑๙๑-๑๙๓, ๑๙๙ โครงการความปลอดภัยของระบบไฟฟ้าในโรงเรียนตำ�รวจ กจิ กรรมบำ�บดั ๒๑๕ ไกบ่ ้าน ๗๐-๗๒ ตระเวนชายแดน ๑๕๕ ไก่ปา่ ๗๐-๗๒ โครงการคา่ ยวทิ ยาศาสตรส์ �ำ หรับทอ้ งถน่ิ ๙๒ ขว้ั โลกใต้ ๖๔-๖๖ โครงการเครือข่ายกริดคอมพิวตง้ิ ๓๕ ข้าวกาบา ๑๔๘ โครงการจัดส่งนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายไป ข้าวพันธุ์ กข๕๑ ๗๘ ขา้ วพันธุ์ กข๖ ๗๙, ๑๔๘ ศกึ ษาดงู านท่ีเซริ น์ ๓๘ ขา้ วพันธธ์ุ ญั สริ นิ ๗๔, ๗๙ โครงการซอ่ มบ�ำ รงุ และพฒั นาบคุ ลากรซอ่ มบ�ำ รงุ คอมพวิ เตอร์ ข้าวพนั ธุ์หอมชลสิทธท์ิ นน�้ำ ทว่ มฉับพลัน ๗๘ คณะสำ�รวจทวีปแอนตาร์กติกาของญีป่ นุ่ ๖๓ อปุ กรณ์ต่อพ่วง และระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสง อาทิตย์เบื้องต้น ตามพระราชดำ�ริสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ๑๑๑ โครงการถา่ ยส�ำ เนาอเิ ลก็ ทรอนกิ สห์ นงั สอื หายากจากประเทศ สหภาพพม่า ๑๔๑-๑๔๓ ๒๔๐

โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ คนพกิ าร ๑๘๘-๑๘๙ โครงการศลิ ปะบำ�บดั เพื่อผูต้ อ้ งขัง ๑๘๑ โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการศึกษาของโรงเรียน โครงการศกึ ษาจีโนมข้าว ๗๙ โครงการสหกรณ์รา้ นค้าวทิ ยาลัยกำ�ปงเฌอเตียล ๑๖๙ ในชนบท (ทสรช.) ตามพระราชด�ำ รฯิ ๑๐๘, ๑๑๖ โครงการหาล�ำ ดับเบสจีโนมข้าว ๗๕ โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการศึกษาของโรงเรียน โครงงานในโรงเรยี นอนุบาล ๙๙ โครงงานเพาะเห็ดด้วยระบบน้ำ�อัตโนมัติ ๑๓๑ เอกชนสอนศาสนาอสิ ลาม ๔, ๑๒๑ โครงสร้างพืน้ ฐานระดบั ชาติด้าน e-Science ๓๘ โครงการนกั ศึกษาภาคฤดูรอ้ นเดซี ๔๓, ๔๕-๔๖ งานเด็กวทิ ยค์ ดิ ไกลกับไอที ๙๑ โครงการนำ�ร่องการบริหารระบบผลิตไฟฟ้าพลังงาน งานวิจัยเก่ียวกบั เครื่องเรง่ อนภุ าค ๔๖ งานวิทยาศาสตรถ์ ิน่ กสุ มุ าลย์ ๙๑ แสงอาทิตย์ในสถานศึกษาและศูนย์การเรียนรู้ชุมชน งานวทิ ยาศาสตร์พัฒนาภูมปิ ญั ญาและทักษะชีวติ ๙๑ ชาวไทยภเู ขาในพน้ื ทโ่ี ครงการตามพระราชด�ำ รสิ มเดจ็ งานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี บั วถิ ชี วี ติ เมอื งสามหมอก ๙๑ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ๑๖๓ จโี นมขา้ ว ๗๕ โครงการนำ�ร่องเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการเรียน ชมุ ชนชาวไทยภเู ขา ๒๔, ๑๑๑, ๑๕๖, ๑๕๙-๑๖๑ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตรส์ �ำ หรบั นกั เรยี น ชมุ นุมคอมพิวเตอร์ ๑๑๐, ๑๑๒-๑๑๓, ๑๓๗ ตาบอด ๒๐๕ เซลลแ์ สงอาทิตย์ ๔๖-๔๗, ๑๕๙, ๑๖๑-๑๖๓, โครงการบา้ นนกั วทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย ๙๒, ๙๗-๙๙ ๑๖๗-๑๗๑ โครงการบูรณาการไอซีทีเพื่อการศึกษาวิทยาศาสตร์ เซิรน์ ๓๒-๔๑ สง่ิ แวดลอ้ มในท้องถิน่ ๑๒๙ ดาราศาสตร์ ๕๙-๖๐ โครงการผลติ หนังสอื เสียงระบบเดซีในทณั ฑสถาน ๑๗๙ ดาราศาสตรฟ์ ิสกิ ส์ ๕๙ โครงการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม เดก็ สมองพิการ ๑๙๑ แผนกสามญั ศกึ ษา ๔-๕, ๙๓, ๙๕ เด็กออทสิ ตกิ ๒๐๐ โครงการพฒั นาอจั ฉรยิ ภาพทางวทิ ยาศาสตรส์ �ำ หรบั เดก็ และ ทวีปแอนตาร์กติกา ๖๓, ๖๕, ๖๗ เยาวชน ๑๓๓ เทคโนโลยจี ีโนมิกส์ ๗๗ โครงการมหาวทิ ยาลยั เดก็ ประเทศไทย ๑๐๐-๑๐๑, ๑๐๓, ๑๐๕ เทคโนโลยวี ิศวกรรมชวี การแพทย์ ๘๑ โครงการมหาวิทยาลยั เดก็ เยอรมนี ๑๐๒-๑๐๓ เทคโนโลยีอวกาศ ๕๘ โครงการเรียนรู้วิทยาศาสตร์บูรณาการกับเกษตรอาหาร นักเรยี นกลมุ่ ฝกึ ได้ ๑๙๘ กลางวัน ๙๒ นักเรยี นกล่มุ เรียนได้ ๑๙๘ โครงการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในโรงเรียน นักเรียนตาบอดพกิ ารซ้อน ๒๑๙, ๒๒๑ ชนบท ๙๐, ๙๕ นกั เรียนออทสิ ติก ๑๙๖, ๑๙๘-๒๐๐ โครงการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในโรงเรียน นักวิทยาศาสตร์รางวลั โนเบล ๕๑, ๕๔, ๕๕ พระปรยิ ตั ิธรรม แผนกสามญั ศึกษา ๙๔ โปรแกรมการฟืน้ ฟทู างกายภาพบำ�บัด ๒๑๕ โครงการโรงเรียนทอ้ งถิน่ ฐานวิทยาศาสตร์ ๙๐ โปรแกรมชว่ ยฝกึ พูด ๑๙๑ โครงการแลกเปลย่ี นเรยี นรอู้ ยา่ งบรู ณาการผา่ นพนั ธพ์ุ ชื ๑๒๘, โปรแกรมประเมินเสียงพูดภาษาไทยเพื่อใช้สำ�หรับ ๑๓๐ โครงการวิจัยขั้วโลกตามพระราชดำ�ริ สมเด็จพระเทพ การฝกึ พดู ๒๑๕ รัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ๖๕-๖๖ โครงการวิจัยเพื่อศึกษาพหุสัมพันธ์ระหว่างไก่กับคนใน ประเทศไทย (โครงการวิจยั HCMR) ๗๐ โครงการวสิ าหกจิ ชมุ ชน-โรงงานหลวงอาหารส�ำ เรจ็ รปู ๑๔๗ ๒๔๑

โปรแกรมอา่ นจอภาพ ๒๒๐ หนงั สือเสยี งระบบเดซี ๑๗๙-๑๘๐ แผนการศึกษาเฉพาะบคุ คล ๑๘๙ หนังสอื เสยี งสำ�หรบั คนตาบอด ๑๗๙ ฟสิ กิ ส์พลงั งานสงู ๔๖ หอ้ งเรียนเพื่อเด็กปว่ ย ๑๘๔-๑๘๕ ฟสิ ิกสอ์ นุภาคพลงั งานสงู ๓๕, ๓๘ ห้องเรียนศลิ ปะ ๑๘๑ ภาวะโลกร้อน ๖๔ หอ้ งสมดุ ดิจิทัล ๑๔๓ ภฟู ้า (ชอ่ื ผลิตภัณฑ์) ๑๕๐ หอผูป้ ่วยจิตเวชเดก็ ๒๐๐ มหกรรมวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ ๑๐๔ หุ่นยนตฝ์ ึกเดนิ ๒๑๖ ยนี ความหอม ๗๕ หุ่นยนต์อัตโนมตั ิ ๕๙ ยนี ทนน้ำ�ทว่ มฉบั พลนั ๗๕ อนภุ าคมูลฐาน ๓๖, ๔๓, ๔๕-๔๖ ระบบเซลล์แสงอาทิตย์แบบผสมผสานเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้า อนภุ าคส่อื แรงโน้มถว่ ง ๓๗ อนภุ าคฮกิ ส์ ๓๗ จากน�้ำ มนั ๑๖๘ อรรถบ�ำ บัด ๒๑๕ ระบบโทรมาตร ๑๕๘-๑๕๙, ๑๖๑-๑๖๓ อักษรเบรลล์ ๒๐๘, ๒๑๐, ๒๒๐-๒๒๑ ระบบแปลภาษาอตั โนมัตจิ นี -ไทย ๖๐ อุตนุ ิยมวทิ ยา ๖๑, ๖๓ ระบบผลติ ไฟฟ้าจากเซลลแ์ สงอาทิตย์ ๑๕๗, ๑๕๙, อทุ กวทิ ยา ๖๑ ๑๖๑-๑๖๓ แอนตารก์ ติก...ดนิ แดนน�ำ้ แขง็ (ชอ่ื หนังสือ) ๖๔ วสิ าหกจิ ชมุ ชน ๑๔๗-๑๔๘ แอนตารก์ ติกา : หนาวหนา้ ร้อน (ชอ่ื หนงั สอื ) ๖๓ เศรษฐกิจพอเพียง ๑๔๗, ๑๖๗ แสงซินโครตรอน ๔๓, ๔๕, ๔๗-๔๘ ๒๔๒

ดัชนี (ภาษาตา่ งประเทศ) ALICE ๓๗ GUCAS ๕๗-๕๙ Augmentative and Alternative Communication Haus der kleinen Forscher ๙๗ Human-Chicken Multi-Relationship Research (HCMR) (AAC) ๑๙๑ Biomedical Engineering (BME) ๘๑ Project ๗๐ Biomedical Engineering International Conference ICCES-HAII Workshop ๖๐ Institute of Computing Technology (ICT) ๖๐ (BMEiCON) ๘๓ Institute of Remote Sensing and Digital Earth CERN ๓๓-๓๖, ๔๐ CERN Physics High School Teacher Programme ๓๗ (RADI) ๖๐ CERN School Thailand ๓๕-๓๖ International Convention on Rehabilitation Chinese Academy of Sciences (CAS) ๕๗ Chinese Arctic and Antarctic Administration (CAA) ๖๕ Engineering and Assistive Technology CMS ๓๒, ๓๔-๓๕, ๓๗ (i-CREATe) ๘๓, ๑๘๗ Computer-Aided Instruction (CAI) ๑๘๔, ๑๘๙ International Rice Genome Sequencing Project DAISY Consortium ๑๗๙-๑๘๐ DAISY Digital Talking Book ๑๘๐ (IRGSP) ๗๕ DESY Summer Student Programme ๔๓ Large Hadron Collider (LHC) ๓๖ Deutscher Akademischer Austausch Dienst (DAAD) ๑๐๓ McMurdo Station ๖๓ Deutsches Elektronen-Synchrotron (DESY) ๔๓, ๔๙ Nanyang Technological University ๕๕ Distance Learning Television (DLTV) ๑๑๕ National e-Science Infrastructure Consortium ๓๘ e-Learning ๕, ๑๑๕ National Institute of Polar Research ๖๓ Electronic Distance Learning Television National University of Singapore ๕๕ Natural Language Processing & Machine (eDLTV) ๑๑๔-๑๑๕, ๑๑๘ e-Science ๓๘ Translation ๕๙ Escudero Station ๖๖ Norwegian Polar Institute (NPI) ๖๖ Foundation Lindau Nobel Prizewinners Meeting Polar Research Institute of China ๖๕ PV/Diesel Generator Hybrid System ๑๖๘ at Lake Constance ๕๑ Rice Gene Discovery Unit (RGD) ๗๖-๗๘ Gallus gallus ๗๒ RiceGeneThresher ๗๖ Gamma-Aminobutyric Acid (GABA) ๑๔๘ Science in Rural Schools (SiRS) ๙๐, ๙๒ Global Young Scientists Summit (GYSS) ๕๓-๕๔ Scott Base ๖๓ Graduate University of Chinese Academy of Shanghai Institutes for Biological Sciences ๑๐๓ Siam Photon Source ๔๘ Sciences (GUCAS) ๕๗, ๕๙ State Oceanic Administration ๖๕ Great Wall Station ๖๕ Synchrotron ๔๘ ๒๔๓

Syowa Station ๖๓ The Institute of Atmospheric Physics (IAP) ๖๐ Thailand Antarctic Research Activities with The Institute of High Energy Physics (IHEP) ๖๐ CHINARE-30 ๖๖ The International Center for Climate and Thailand Biomedical Engineering Consortium ๘๑ Thailand Experimental Particle Physics Novice Environment Sciences (ICCES) ๖๐ The Society of Biosophia Studies ๗๐ Workshop ๓๖ UCAS ๕๖-๕๗ The 30th Chinese Antarctic Research Expedition University Centre of Svalbard (UNIS) ๖๖ University of Chinese Academy of Sciences (CHINARE-30) ๖๕ The 46th Japanese Antarctic Research Expedition (UCAS) ๕๖ US-Thai Symposium on Biomedical Engineering ๘๑ (JARE-46) ๖๓ Worldwide LHC Computing Grid (WLCG) ๓๘ The 5th National Conference on Biomedical Yunnan Astronomical Observatory (YAO) ๖๐ Engineering (NCBME 2007) ๘๓ ๒๔๔

รายชื่อบุคคลและองค์กรทเ่ี กย่ี วข้อง นักวิทยาศาสตรไ์ ทยก้าวไกลสู่เซิรน์ ​ ๖. บรษิ ัท ปนู ซเี มนตไ์ ทย จำ�กัด (มหาชน) ๑. กระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๗. ​ศนู ยน์ าโนเทคโนโลยแี ห่งชาติ สวทช. ๒. โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชด�ำ ริ ๘.​ สถาบันชีววทิ ยาศาสตรโ์ มเลกลุ มหาวิทยาลยั มหดิ ล ๓. สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ความร่วมมอื กบั สถาบันบัณฑติ วิทยาศาสตร์จนี ​ ๔. จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ๑.​ กระทรวงการตา่ งประเทศ ๕. มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ ี ๒.​ กระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๖. มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี รุ นารี ๓.​ คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล ๗. มหาวทิ ยาลยั มหิดล ๘. ศูนยค์ วามเป็นเลิศดา้ นฟสิ กิ ส์ มหาวิทยาลัยมหดิ ล ๙. ศนู ยเ์ ทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนกิ สแ์ ละคอมพวิ เตอร์ ๔.​ โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชด�ำ ริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี แห่งชาติ สวทช. ๕. ​มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสรุ นารี​ ๑๐. สถาบนั เทคโนโลยีนวิ เคลยี ร์แหง่ ชาติ ๖.​ ศูนย์เทคโนโลยอี เิ ล็กทรอนิกส์และคอมพวิ เตอร์ แหง่ ชาติ สวทช. (องคก์ ารมหาชน) ๗. ​ศนู ยน์ าโนเทคโนโลยแี ห่งชาติ สวทช. ๑๑. สถาบนั วิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ๘.​ ศูนย์ประสานงานนักเรียนทุนรัฐบาลทางดา้ น ๑๒. สถาบนั วจิ ัยแสงซนิ โครตรอน (องคก์ ารมหาชน) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๓. สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๙.​ สถาบันวจิ ยั ดาราศาสตรแ์ หง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน)​ ๑๔. สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน�ำ้ และการเกษตร ๑๐. ​สถาบนั วจิ ยั แสงซนิ โครตรอน (องคก์ ารมหาชน)​ ๑๑.​ สถาบันวิทยาการหนุ่ ยนตภ์ าคสนาม (องคก์ ารมหาชน) มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบรุ ี ๑๕. ส�ำ นักงานกองทุนสนบั สนนุ การวจิ ัย ๑๒.​ สถาบนั สารสนเทศทรัพยากรน้�ำ และการเกษตร ๑๖. สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา ๑๗. ส�ำ นักงานพัฒนาวจิ ยั การเกษตร (องคก์ ารมหาชน) (องคก์ ารมหาชน) เ​ ยาวชนไทยเก็บเกีย่ วประสบการณ์ท่สี ถาบันเดซ​ี ๑๓.​ สำ�นักงานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือน (ก.พ.) ๑.​ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย​ี ๑๔.​ ส�ำ นกั งานความรว่ มมอื เพอ่ื การพฒั นาระหวา่ งประเทศ ๒.​ โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชด�ำ ริ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี กระทรวงการตา่ งประเทศ ๓.​ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ๑๕.​ ส�ำ นกั งานพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและภมู สิ ารสนเทศ ๔.​ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ ๕.​ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยสี รุ นารี ​ (องค์การมหาชน) ๖.​ สถาบันวจิ ยั แสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) สร้างความรพู้ ืน้ ฐานจากการวจิ ยั ข้วั โลก​ ตัวแทนนักวิทย์ไทยบนเวทวี ทิ ย์โลก ๑.​ กรมยโุ รป กระทรวงการต่างประเทศ ๑.​ คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ๒. ​คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ๒. คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ิราชพยาบาล ๓.​ โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำ�ริ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี มหาวิทยาลัยมหดิ ล ๔.​ บรษิ ัท ที ซี ฟารม์ าซูตคิ อล อุตสาหกรรม จ�ำ กัด ๓.​ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหดิ ล ๔.​ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ (กระทิงแดง) ๕. ​โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำ�ริ ๕.​ บรษิ ทั ลอรอี ัล (ประเทศไทย) จ�ำ กัด สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ๖. ​โรงเรยี นนายรอ้ ยพระจลุ จอมเกล้า ๗.​ สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบริหารศาสตร์ ๒๔๕

๘.​ สถาบนั วจิ ัยดาราศาสตร์แหง่ ชาติ (องค์การมหาชน) ๑๒.​ สหกรณ์การเกษตรผักไห่ จำ�กัด ๙.​ ส�ำ นกั งานพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและภมู สิ ารสนเทศ ๑๓. ​สหกรณก์ ารเกษตรวัดสงิ ห์ จ�ำ กัด ๑๔.​ สหกรณ์การเกษตรสรรคบุรี จ�ำ กัด (องค์การมหาชน) ๑๕. ​สหกรณก์ ารเกษตรสรรพยา จ�ำ กดั คนกบั ไก่ สายใยแห่งความสัมพนั ธ์ ๑๖.​ สหกรณ์การเกษตรสามโก้ จ�ำ กดั ๑. ​กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๑๗. หนว่ ยปฏิบัตกิ ารค้นหาและใช้ประโยชนย์ นี ข้าว ๒.​ กรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั วป์ ่า และพนั ธุ์พชื ภาควี ศิ วกรรมชีวการแพทยไ์ ทย​ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๑. ​โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำ�ริ ๓.​ บริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ์​จ�ำ กัด สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ๔. ​คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์​ ๒.​ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ๕. ​คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น​ ๓.​ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ๖.​ คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร​ ๔.​ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบรุ ​ี ๗.​ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ​ ๕.​ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร​์ ๘. คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ๖.​ มหาวิทยาลยั มหดิ ล​ ๙. ​คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ​ ๗.​ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ​ ๑๐.​ โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชด�ำ ริ ๘.​ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร​์ ๙.​ ศนู ย์ความเป็นเลิศด้านชวี วทิ ยาศาสตร์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมาร​ี ๑๑.​ ศูนยพ์ นั ธวุ ิศวกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ๑๐. ​ศนู ย์เทคโนโลยโี ลหะและวสั ดุแหง่ ชาติ สวทช.​ สวทช.​ ๑๑.​ ศนู ย์เทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ละคอมพิวเตอร์ ๑๒.​ สมาคมอนุรักษ์พันธไุ์ ก่พนื้ เมือง​ แหง่ ชาติ สวทช. ๑๓.​ ส�ำ นกั งานพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและภมู สิ ารสนเทศ ๑๒.​ ศนู ย์นาโนเทคโนโลยแี ห่งชาติ สวทช. ๑๓.​ ศูนยพ์ ันธวุ ิศวกรรมและเทคโนโลยชี ีวภาพแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ๑๔. ​สำ�นักงานพฒั นาเศรษฐกจิ จากฐานชวี ภาพ สวทช. ๑๔.​ สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (องค์การมหาชน)​ ลาดกระบงั นวัตกรรมขา้ วไทยสรา้ งไดด้ ว้ ยเทคโนโลยีจโี นม​ ๑๕.​ สถาบันวทิ ยาการหนุ่ ยนตภ์ าคสนาม ๑.​ กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ ี ๒.​ โครงการอนุรกั ษพ์ นั ธกุ รรมพืชอันเนือ่ งมาจาก ๑๖.​ สมาคมวิจยั วศิ วกรรมการแพทย์และชีววทิ ยาไทย วทิ ยาศาสตรก์ ้าวไกลในโรงเรียนชนบท​ พระราชดำ�ริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ ๑.​ กลุม่ โรงเรียนพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญศกึ ษา สยามบรมราชกุมารี ๓. ​บริษทั ปนู ซิเมนตไ์ ทย จ�ำ กัด (มหาชน) จงั หวดั น่าน แพร่ เชยี งราย พะเยา และล�ำ ปาง ๔. ​ฟาร์มโชคชยั ๒.​ กองก�ำ กับการตำ�รวจตระเวนชายแดน ๕.​ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ๖. ​มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลลา้ นนา ส�ำ นักงานต�ำ รวจแหง่ ชาติ ๗.​ มลู นธิ ิฮกั เมอื งน่าน ศนู ย์การเรยี นรโู้ จ้โก้ ๓. ​โครงการส�ำ รวจและรวบรวมพนั ธ์ไุ ม้ดอกไมป้ ระดับ ๘.​ ศูนย์พนั ธุวิศวกรรมและเทคโนโลยชี วี ภาพแห่งชาติ สวทช. ป่าภาคใต้ (ฮาลา-บาลา) นราธวิ าส ๙.​ สว่ นราชการในพน้ื ท่ีทเ่ี กย่ี วข้อง เช่น ๔.​ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ องค์การบริหารส่วนตำ�บล องค์การบริหารสว่ นจงั หวัด ส�ำ นกั งานเกษตรอำ�เภอ วิทยาเขตเฉลมิ พระเกียรติ จงั หวัดสกลนคร สำ�นกั งานเกษตรจงั หวัด เปน็ ตน้ ๕.​ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ ๑๐. ​สหกรณก์ ารเกษตรท่าเรอื จำ�กัด ๖.​ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี ๑๑. ​สหกรณ์การเกษตรบางบาล จ�ำ กัด ๗. ​มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ๒๔๖

๘.​ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ๔.​ มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ๙.​ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเชยี งราย ๕.​ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๑๐.​ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ๖.​ สำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ๑๑.​ มหาวิทยาลยั ราชภัฏลำ�ปาง ๗.​ องคก์ ารพพิ ธิ ภัณฑ์วทิ ยาศาสตรแ์ หง่ ชาติ ๑๒.​ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสกลนคร มหาลัยวทิ ยาลัยเดก็ เพ่อื เด็กไทยหัวใจวิทยาศาสตร์​ ๑๓.​ มหาวิทยาลัยราชภฏั อุดรธานี ๑.​ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ๑๔.​ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตหาดใหญ่ ๒.​ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ๓.​ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบรุ ี และปัตตานี ๔. ​มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนอื ๑๕.​ มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ๕.​ มหาวิทยาลยั มหดิ ล ๑๖.​ มลู นิธิสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ๖.​ มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ ๑๗.​ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ๗.​ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร ๘.​ สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร อำ�เภออมกอ๋ ย จังหวดั เชยี งใหม่ ลาดกระบงั ๑๘. ศูนยพ์ นั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ๙.​ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี การศึกษาของโรงเรียนในชนบทกา้ วไกลดว้ ยไอที​ สวทช. ๑. ​เครือข่ายมหาวิทยาลยั ราชภฏั กระทรวงศึกษาธกิ าร ๑๙.​ สถานีพัฒนาทด่ี นิ จงั หวดั น่าน แพร่ เชียงราย ๒.​ โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำ�ริ และพะเยา สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ๒๐.​ สถานีวิจัยสตั ว์ปา่ ฮาลา-บาลา จังหวัดนราธวิ าส ๓.​ มลู นิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม ๒๑.​ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๔.​ ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ๒๒.​ สำ�นกั งานกลุ่มโรงเรยี นพระปรยิ ัตธิ รรม กระทรวงศึกษาธกิ าร แผนกสามญั ศกึ ษา กลมุ่ ที่ ๖ ๕.​ ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ๒๓.​ สำ�นกั งานกองทนุ สนับสนนุ การส่งเสริมสขุ ภาพ ๒๔.​ ส�ำ นกั งานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร ตามอัธยาศัยจังหวดั เชียงใหม่ ๖.​ สำ�นักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ ๒๕.​ สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานา่ น เยาวชนท่วั ถ่นิ ไทย เรยี นรูไ้ ด้ดว้ ย eDLTV​ เขต ๑ และ เขต ๒ ๑.​ เครอื ข่ายมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ กระทรวงศกึ ษาธิการ ๒๖.​ ส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาแมฮ่ อ่ งสอน ๒.​ โครงการเทคโนโลยสี ารสนเทศตามพระราชด�ำ ริ เขต ๑ และ ๒ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ๒๗. ​สำ�นกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสกลนคร ๓.​ บรษิ ทั เอสวโี อเอ จ�ำ กดั (มหาชน) ๔.​ บรษิ ทั ฮิตาชิ เอเซยี (ประเทศไทย) จ�ำ กดั เขต ๑ และ ๒ ๕.​ มลู นิธกิ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ๒๘.​ สำ�นกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาพงั งา ๖. ​โรงเรยี นวงั ไกลกังวล ๒๙.​ ส�ำ นกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต ๒๓ ๗.​ วิทยาลยั การอาชพี วงั ไกลกงั วล ๓๐.​ ส�ำ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๓๔ ๘. ​ศูนยเ์ ทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ ๓๑.​ สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน แห่งชาติ สวทช. ๓๒.​ ส�ำ นักงานโครงการสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ ๙.​ สำ�นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สยามบรมราชกมุ ารี กระทรวงศึกษาธิการ ๓๓.​ ส�ำ นักงานพระพุทธศาสนาจังหวดั น่าน แพร่ ๑๐.​ สำ�นกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เชยี งราย พะเยา และลำ�ปาง กระทรวงศกึ ษาธิการ ๓๔.​ สำ�นกั งานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ๑๑. ​ส�ำ นักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนกิ ส์ (องคก์ ารมหาชน) ๓๕.​ ส�ำ นกั งานพฒั นาทด่ี ินเขต ๗ ​ บ้านนักวทิ ยาศาสตร์น้อย เพือ่ เดก็ ปฐมวยั ​ ๑.​ บรษิ ทั นานมีบ๊คุ ส์ จ�ำ กัด ๒.​ บกี ริมกร๊ปุ ส์ ๓.​ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ ๒๔๗

ไอทีเพอ่ื การศกึ ษาของโรงเรียนเอกชนสอน ขุมทรัพย์ทางปัญญาจากพมา่ ​ ศาสนาอิสลาม​ ๑.​ กรมราชองครักษ์ กระทรวงกลาโหม ๑.​ โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชด�ำ ริ ๒.​ บรษิ ัท แคนนอน มารเ์ ก็ตติ้ง (ไทยแลนด)์ จ�ำ กัด ๓.​ บรษิ ทั บางกอกแอรเ์ วย์ จำ�กัด สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ๔.​ บริษัท เอทิซ อินโนเวชั่น จ�ำ กัด ๒.​ ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ๕.​ ฝ่ายบรกิ ารความรูท้ างวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการ สวทช. ๓. ​ส�ำ นกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน ๖.​ ศูนย์เทคโนโลยีอิเลก็ ทรอนิกส์และคอมพวิ เตอร์ แหง่ ชาติ สวทช. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๗. ​สถานเอกอัครราชทตู ณ กรงุ ย่างกงุ้ ๔.​ ส�ำ นกั งานโครงการสว่ นพระองค์ ๘.​ ส�ำ นกั งานผูช้ ว่ ยทตู ฝ่ายทหารไทย สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ประจ�ำ สถานเอกอคั รราชทูต ณ กรุงย่างกงุ้ ๙.​ สำ�นักหอสมดุ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ เรยี นวิทยแ์ นวใหมใ่ นยุคไอซีท​ี ๑๐. U Moe Myint นักธุรกิจชาวพม่า ๑.​ กรมอตุ นุ ิยมวทิ ยา กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสือ่ สาร และกรรมการผู้จดั การบริษทั MPRL E&P PTE ๒. ​การไฟฟา้ ฝ่ายผลติ แห่งประเทศไทย Ltd. สาธารณรฐั แห่งสหภาพพมา่ ๓.​ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วสิ าหกิจชมุ ชน เพอ่ื ความเข้มแขง็ ของชนบทไทย​ ๔. ​คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ๑.​ กรมพฒั นาที่ดนิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๕.​ เครือข่ายมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กระทรวงศกึ ษาธิการ ๒.​ โครงการพฒั นาเพอื่ ความมน่ั คงพน้ื ท่ีภูขดั ภเู มี่ยง ๖.​ โครงการเทคโนโลยสี ารสนเทศตามพระราชด�ำ ริ ภสู อยดาว (2) ๓.​ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติสกลนคร ๗. นางบญุ เมฆ ภมรสิงห์ ๔.​ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบรุ ี ๘.​ นางมนธิดา สตี ะธนี ๕.​ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลล้านนา นา่ น ๙. นายฉลองชยั ธวี สุทรสกุล ๖.​ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ล�ำ ปาง ๑๐.​ บริษัท เชฟรอนประเทศไทยส�ำ รวจและผลิต จำ�กัด ๗.​ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน ๑๑.​ บรษิ ทั ปตท. สำ�รวจและผลิตปโิ ตรเลยี ม จำ�กัด วิทยาเขตสกลนคร ๘.​ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเลย (มหาชน) ๙.​ มหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร ๑๒. ​บรษิ ัท ปตท.จำ�กัด (มหาชน) ๑๐. ​มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ ๑๓.​ บริษทั ผลติ ไฟฟา้ ราชบรุ โี ฮลด้งิ จ�ำ กดั (มหาชน) ๑๑.​ มลู นิธเิ ตียง จิราธิวัฒน์ ๑๔.​ ศนู ยเ์ ตือนภัยพบิ ตั แิ หง่ ชาติ ๑๒. ​มูลนิธฮิ ักเมอื งนา่ น ๑๕.​ สถาบันกวดวชิ า วบี ายเดอะเบรน ๑๓.​ โรงพยาบาลนาแหว้ อำ�เภอนาแหว้ จงั หวัดเลย ๑๖.​ สมาคมธรณวี ทิ ยาแห่งประเทศไทย ๑๔. ​โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชด่านซ้าย ๑๗.​ หนว่ ยเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร อำ�เภอดา่ นซ้าย จงั หวดั เลย ศูนยพ์ ันธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ ๑๕.​ ศูนยพ์ ันธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สวทช. สวทช. ๑๖.​ ศูนย์ภฟู า้ พัฒนา ๑๘.​ South East Asian Nepenthes Study & ๑๗.​ สหกรณก์ ารเกษตรอำ�เภอเต่างอย จงั หวัดสกลนคร Research Foundation (SEANSRF) ๑๘.​ ส�ำ นักงานเกษตรอ�ำ เภอกุสมุ าลย์ จงั หวัดสกลนคร ๑๙.​ ส�ำ นักงานเกษตรอ�ำ เภอเตา่ งอย จงั หวัดสกลนคร เรียนรู้ดว้ ยโครงการผสานพลังไอซที ​ี ๒๐.​ ส�ำ นักงานเกษตรอำ�เภอบ่อเกลอื อำ�เภอบ่อเกลือ ๑. ​เครือขา่ ยมหาวิทยาลัยราชภฏั กระทรวงศกึ ษาธิการ จงั หวัดน่าน ๒. ​โครงการเทคโนโลยสี ารสนเทศตามพระราชดำ�ริ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ๓.​ รองศาสตราจารย์ ดร.บุปผชาติ ทฬั หกิ รณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ๒๔๘

๒๑.​ องค์การบรหิ ารสว่ นต�ำ บลจนั ทรเ์ พญ็ อำ�เภอเต่างอย วทิ ยาลยั ก�ำ ปงเฌอเตยี ล สายสัมพันธไ์ ทย-กมั พชู า​ จงั หวดั สกลนคร ๑.​ กรมราชองครกั ษ์ กระทรวงกลาโหม ๒.​ กระทรวงศึกษาธิการ ราชอาณาจกั รกมั พชู า ๒๒. ​องค์การบริหารส่วนต�ำ บลเตา่ งอย อ�ำ เภอเตา่ งอย ๓.​ โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชด�ำ ริ จงั หวดั สกลนคร สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ๔. ​บรษิ ทั ทโี อที จำ�กดั ๒๓.​ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำ บลบ่อเกลือ อำ�เภอบอ่ เกลอื ๕.​ บริษทั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) จังหวดั นา่ น ๖.​ วิทยาลยั ก�ำ ปงเฌอเตียล ๗. ​ศูนย์เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกสแ์ ละคอมพิวเตอร์ ๒๔.​ องค์การบริหารสว่ นตำ�บลแสงภา อำ�เภอนาแหว้ แห่งชาติ สวทช. จงั หวดั เลย ๘.​ สำ�นักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ไฟฟ้าปลอดภัยในโรงเรียนตำ�รวจตระเวนชายแดน​ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๑. ​กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั วยั ใสสรา้ งผลงานไดด้ ว้ ยไอซที ี​ กระทรวงมหาดไทย ๑.​ กรมพนิ จิ และคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชน ๒.​ กองบัญชาการตำ�รวจตระเวนชายแดน ๓.​ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค กระทรวงยตุ ธิ รรม ๔.​ คณะแม่บา้ นและครอบครวั การไฟฟ้าสว่ นภมู ิภาค ๒.​ โครงการเทคโนโลยสี ารสนเทศตามพระราชด�ำ ริ ๕.​ โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชด�ำ ริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ๓.​ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ๖.​ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ๔.​ มลู นิธอิ นิ เทอร์เน็ตร่วมพัฒนาไทย ๗.​ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ไอทีและศิลปะ เพ่อื คณุ ภาพชีวิตของผูต้ อ้ งขัง​ ๘.​ สหกรณ์ออมทรัพยม์ หาวิทยาลัยเทคโนโลยี ๑.​ กรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรม พระจอมเกล้าธนบุรี ๒.​ โครงการเทคโนโลยสี ารสนเทศตามพระราชดำ�ริ ๙.​ ส�ำ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ๑๐.​ ส�ำ นกั งานโครงการสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ ๓. บริษทั โตชิบา ไทยแลนด์ จ�ำ กัด ๔. มูลนธิ ิศลิ ปะเพอื่ มวลมนษุ ย์ (Art for All) สยามบรมราชกมุ ารี ไอทีเพอ่ื การเรียนร้แู ละคุณภาพชวี ติ ของเดก็ ปว่ ย ไฟสว่างเปดิ ทางความรู้สชู่ มุ ชนไทยภเู ขา​ ในโรงพยาบาล​ ๑.​ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลงั งาน ๑. ​โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำ�ริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี กระทรวงพลงั งาน ๒.​ สถาบนั สุขภาพเด็กแห่งชาตมิ หาราชนิ ี ๒.​ กองบญั ชาการตำ�รวจตระเวนชายแดน ๓.​ โครงการเทคโนโลยสี ารสนเทศตามพระราชดำ�ริ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ๓. ​ส�ำ นักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ ๔.​ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี สำ�นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ๕.​ ศูนย์เทคโนโลยีอเิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ละคอมพวิ เตอร์ แหง่ ชาติ สวทช. กระทรวงศกึ ษาธิการ ๖.​ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๔.​ ส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ๗. ​ส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ตามอัธยาศยั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๘.​ สำ�นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา โรงเรยี นศรสี ังวาลยส์ ำ�หรบั นกั เรยี นพิการทางกาย​ ๑.​ โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำ�ริ กระทรวงศกึ ษาธิการ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ๙.​ ส�ำ นกั งานโครงการส่วนพระองค์สมเดจ็ พระเทพ ๒. ​นางมนธิดา สตี ะธนี รัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ๑๐.​ ส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัย กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๒๔๙


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook