Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พุทธวจน (ฆราวาสชั้นเลิศ)

พุทธวจน (ฆราวาสชั้นเลิศ)

Published by Sarapee District Public Library, 2020-06-07 23:23:32

Description: พุทธวจน (ฆราวาสชั้นเลิศ)

Keywords: พุทธวจน,ธรรมะ

Search

Read the Text Version

พุทธวจน ฆราวาสชั้นเลิศ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ความร้สู ึกได้เกิดขน้ึ แก่เราว่า ผลวิบากแหง่ กรรม ๓ อย่างนแ้ี ล ที่ทาำ ให้เรามีฤทธ์มิ าก... มีอานภุ าพมาก... คือ (๑) ทาน การให้, (๒) ทมะ การบบี บังคับใจ, (๓) สัญญมะ การสาำ รวมระวงั ดงั น้ี. อติ วิ .ุ ขุ. ๒๕/๒๔๐/๒๐๐.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ถา ภกิ ษหุ ากจาํ นง วา “เราพงึ เปน ทร่ี กั ทเ่ี จรญิ ใจ ที่เคารพ ที่ยกยอง ของเพื่อนผูประพฤติพรหมจรรยดวยกันทั้งหลาย” ดังน้ีก็ดี,... ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ถา ภกิ ษหุ ากจํานง วา “เราพึงเปน ผมู ีลาภ... ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ถา ภิกษุหากจํานง วา “เราพงึ อดทนไดซ ง่ึ ความไมย นิ ดี และความยนิ ดี... ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ถา ภิกษุหากจํานง วา “เราพงึ อดทนความขลาดกลัวได... ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ถาภกิ ษุหากจาํ นง วา เราพึงไดตามตอ งการ ไดไ มยาก ไดไ มลาํ บาก ซ่งึ ฌานทง้ั ๔... ภิกษุทง้ั หลาย ! ถา ภกิ ษุหากจาํ นง วา “เราพงึ เปนโสดาบนั ... ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ถา ภิกษหุ ากจํานง วา “เราพงึ เปน สกทาคามี... ภิกษทุ ้งั หลาย ! ถา ภกิ ษหุ ากจํานง วา “เราพงึ เปนโอปปาตกิ ะ (อนาคามี) ดงั นก้ี ด็ ี,... ภิกษทุ ั้งหลาย ! ถา ภกิ ษหุ ากจาํ นง วา “เราพงึ ทาํ ใหแ จง ซง่ึ เจโตวมิ ตุ ติ ปญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได เพราะความสิน้ ไปแหงอาสวะทงั้ หลาย ดวยปญญาอันยิง่ เอง ในทฏิ ฐธรรมเทยี ว เขา ถงึ แลว แลอยู” ดงั นกี้ ็ด,ี เธอพงึ ทาํ ใหบ ริบรู ณใ นศลี ทั้งหลาย พงึ ตามประกอบในธรรมเปน เคร่ืองสงบแหง จิตในภายใน เปน ผูไ มเหินหา งในฌาน ประกอบพรอมแลว ดว ย วิปสสนา และ ใหว ตั รแหง ผอู ยูสุญญาคารท้งั หลายเจริญงอกงามเถดิ . ม.ู ม. ๑๒/๕๘/๗๓. ม.ู ม. ๑๒/๕๘/๗๓.

ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ถา ภกิ ษเุ จรญิ อานาปานสติ แมช ว่ั กาลเพยี งลดั นว้ิ มอื ภิกษุนี้เรากลาววา อยูไมเหินหางจากฌาน ทําตามคําสอนของพระศาสดา พุ ท ธ ว จ นปฏบิ ตั ติ ามโอวาท ไมฉ นั บณิ ฑบาตของชาวแวน แควน เปลา ก็จะป่วยกลาวไปไยถึงผูกระทําใหมาก ซึ่งอานาปานสตินั้นเลา. เอก. อ.ํ ๒๐/๕๕/๒๒๔. ศ​ ีล​๕ ฆราวาสชั้นเลิศฉบับ ๗ (ปาณาตปิ าตา เวรมณี) เธอนน้ั ละปาณาตบิ าต เวนขาดจากปาณาติบาต (ฆา สัตว) วางทอ นไมแ ละศัสตราเสยี แลว มคี วามละอายถงึ ความเอน็ ดกู รณุ าหวงั ประโยชนเ กอ้ื กลู ในบรรดาสตั วท ง้ั หลายอย.ู (อทนิ นาทานา เวรมณี) เธอน้ัน ละอทินนาทาน เวนขาดจากอทินนาทาน (ลักทรพั ย) ถอื เอาแตข องทเ่ี ขาใหแลว หวังอยแู ตของทเ่ี ขาให ไมเปน ขโมย มีตนเปน คนสะอาดเปนอยู. (กาเมสมุ จิ ฉาจารา เวรมณี) เธอนัน้ ละการประพฤตผิ ดิ ในกาม เวน ขาดจากการประพฤตผิ ดิ ในกาม (คอื เวน ขาดจากการประพฤตผิ ดิ ) ในหญิงซ่ึง มารดารักษา บดิ ารักษา พน่ี อ งชาย พี่นอ งหญิง หรือญาตริ ักษา อนั ธรรมรกั ษา เปน หญงิ มสี ามี หญงิ อยใู นสนิ ไหม โดยทส่ี ดุ แมห ญงิ อนั เขาหมน้ั ไว (ดว ยการคลอ งพวงมาลัย) ไมเ ปนผูป ระพฤติผดิ จารตี ในรูปแบบเหลาน้ัน. (มสุ าวาทา เวรมณ)ี เธอนั้น ละมสุ าวาท เวน ขาดจากมสุ าวาท พดู แตค วามจรงิ รกั ษาความสตั ย ม่ังคงในคาํ พูด พุทธวจนสถาบันมคี าํ พดู ควรเชอื่ ถอื ได ไมแกลง กลา วใหผ ิดตอ โลก. (สรุ าเมระยะมัชชะปมาทัฏฐานา เวรมณี) เธอนนั้ เวน ขาดจากการดม่ื นาํ้ เมา คอื สรุ าและเมรยั อนั เปน ทต่ี ง้ั ของความประมาท. รว่ มกนั มงุ่ มน่ั ศกึ ษา ปฏบิ สตั.ี ทิ .ีเ๙ผ/ย๘๓แ/ผ๑๐ค่ ๓�ำ. ,ขทอสงกต. อถํ. า๒ค๔/ต๑๘๕/๑๖๕

พุทธวจน ฉบบั ๗ ฆราวาสช้นั เลิศ สื่อธรรมะนี้ จัดทำ�เพื่อประโยชน์ทางการศึกษาสู่สาธารณชน เป็นธรรมทาน ลขิ สทิ ธใ์ิ นต้นฉบบั นไ้ี ดร้ ับการสงวนไว้ ไมส่ งวนสทิ ธิ์ในการจดั ทำ�จากต้นฉบับเพือ่ เผยแผใ่ นทุกกรณี ในการจัดทำ�หรือเผยแผ่ โปรดใชค้ วามละเอยี ดรอบคอบ เพือ่ รกั ษาความถกู ต้องของข้อมลู ขอคำ�ปรึกษาดา้ นข้อมลู ในการจดั ท�ำ เพอื่ ความสะดวกและประหยดั ตดิ ต่อได้ท่ี มลู นิธพิ ทุ ธโฆษณ ์ โทรศพั ท ์ ๐๘ ๘๔๙๔ ๘๐๘๓ คณุ ศรชา โทรศัพท์ ๐๘ ๑๕๑๓ ๑๖๑๑ คณุ อารีวรรณ โทรศัพท์ ๐๘ ๕๐๕๘ ๖๘๘๘ พิมพค์ รงั้ ที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ ศลิ ปกรรม ปริญญา ปฐวนิ ทรานนท์, วชิ ชุ เสรมิ สวสั ดศิ์ รี จัดทำ�โดย มูลนิธพิ ุทธโฆษณ์ (เวบ็ ไซต์ www.buddhakos.org) มู. ม. ๑๒/๕๘/๗๓.

ค�ำ อนโุ มทนา ความปรากฏแหง่ บคุ คล ๓ จำ�พวกน้ี เป็นส่งิ ที่ เกิดขึ้นได้ยากในโลก  กล่าวคือ  พระตถาคต  ผู้อรหันต- สัมมาสัมพุทธะ  ๑  บุคคลผู้แสดงธรรมวินัยที่พระตถาคต ประกาศแลว้ ๑  กตญั ญูกตเวทีบคุ คล ๑ การมคี �ำ สอนของพระตถาคตปรากฏอย ู่ เปน็ ความ สุขของโลก  ผู้ท่ีปรารถนาในความสุข  พึงประพฤติธรรม สมควรแกธ่ รรม  เพอ่ื ใหต้ นเองเกดิ ความเจรญิ ทง้ั ทางโลกและ ทางธรรมควบคู่กันไป  หนังสือพุทธวจน  ฉบับ  “ฆราวาส ช้ันเลิศ”  น้ี  ได้รวบรวมธรรมะต่างๆ  เพ่ือการเข้าถึงฐานะ ดังกล่าวไว้แล้ว  เป็นผลให้ผู้ท่ียังต้องเก่ียวข้องด้วยเรือน สามารถปฏิบตั ิธรรมตามสมควรแกฐ่ านะของตนได้ ขออนุโมทนากับทุกคนท่ีช่วยกันเป็น  “สัตตบุรุษ ย่ิงกว่าสัตตบุรุษ”  ด้วยการสืบทอดกัลยาณวัตรขององค์ พระศาสดา  และด้วยเหตุแห่งกุศลน้ี  ขอจงเป็นเหตุเป็น ปัจจัยให้ทุกคน  ได้เข้าถึงความเป็นผู้เที่ยงแท้ต่อนิพพาน  มกี ารตรสั ร้ธู รรมในอนาคตกาลอนั ใกลน้ ้เี ทอญ ขออนุโมทนา พระคึกฤทธ์ิ โสตฺถผิ โล



ค�ำ นำ� หนังสือ  “พุทธวจน  ฉบับ  ฆราวาสช้ันเลิศ” ไดจ้ ดั ท�ำ ขน้ึ   ดว้ ยปรารภเหตทุ ว่ี า่   หลายคนยงั เหน็ ค�ำ สอน ของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ วา่ เปน็ สง่ิ ทย่ี ากหรอื เปน็ สง่ิ ทไ่ี กลตวั เกนิ ไป ท�ำ ใหม้ นี อ้ ยคนนกั ทจ่ี ะหนั มาใสใ่ จศกึ ษาค�ำ สอนของ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ อยา่ งจรงิ จงั   ท้งั ๆ  ท่พี ระองคไ์ ด้ตรสั ไวแ้ ลว้ วา่ ค�ำ สอนทพ่ี ระองคต์ รสั สอนทง้ั หมดนน้ั บรสิ ทุ ธ์ิ บรบิ รู ณแ์ ลว้ สน้ิ เชงิ อกี ทง้ั ค�ำ สอนนน้ั ยงั เปน็ สง่ิ ทเ่ี รยี กวา่ “อกาลิโก”  คือใช้ไดไ้ ปตลอด  ไม่มีคำ�ว่าเก่าหรอื ล้าสมยั และใชไ้ ดก้ บั บคุ คลทกุ คน อนั จะเหน็ ไดจ้ ากในสมยั พทุ ธกาล ทพ่ี ทุ ธบรษิ ทั ๔ ทง้ั หลายนน้ั มคี นจากหลายชาตแิ ละวรรณะ นอกจากนพ้ี ระองคย์ งั ไดต้ รสั อกี วา่ บคุ คลทท่ี า่ นตรสั สอนนน้ั มตี งั้ แต่ พรหม เทวดา ภกิ ษุ ภกิ ษณุ ี อบุ าสก อบุ าสกิ า ไปจนถึงปุถุชนคนธรรมดาท่วั ไป  และทุกคนน้นั   เม่อื นำ� ค�ำ สอนของพระองคไ์ ปปฏบิ ตั แิ ลว้ กส็ ามารถแกท้ กุ ขห์ รอื ดบั ทกุ ขใ์ หก้ บั ตนเองไดท้ ง้ั สน้ิ . คณะงานธรรมวดั นาปา่ พง

อกั ษรย่อ เพอ่ื ความสะดวกแกผ่ ทู้ ี่ยงั ไม่เขา้ ใจเร่ืองอกั ษรย่อ ที่ใช้หมายแทนชื่อคมั ภีร์ ซงึ่ มอี ยโู่ ดยมาก มหาวิ. ว.ิ มหาวิภงั ค์ วินัยปิฎก. ภกิ ฺขุนี. วิ. ภกิ ขนุ ีวภิ ังค์ วนิ ัยปฎิ ก. มหา. ว.ิ มหาวรรค วินยั ปฎิ ก. จลุ ฺล. วิ. จลุ วรรค วินยั ปิฎก. ปริวาร. ว.ิ ปรวิ ารวรรค วินัยปฎิ ก. ส.ี ที. สลี ขนั ธวรรค ทีฆนกิ าย. มหา. ท.ี มหาวรรค ทฆี นิกาย. ปา. ท.ี ปาฏิกวรรค ทฆี นิกาย. ม.ู ม. มลู ปัณณาสก์ มัชฌิมนกิ าย. ม. ม. มัชฌิมปัณณาสก์ มชั ฌมิ นกิ าย. อุปริ. ม. อุปรปิ ัณณาสก์ มัชฌมิ นกิ าย. สคาถ. ส.ํ สคาถวรรค สงั ยุตตนกิ าย. นิทาน. ส.ํ นิทานวรรค สังยุตตนิกาย. ขนฺธ. สํ. ขนั ธวารวรรค สงั ยตุ ตนกิ าย. สฬา. สํ. สฬายตนวรรค สังยุตตนิกาย. มหาวาร. ส.ํ มหาวารวรรค สังยุตตนิกาย. เอก. อ.ํ เอกนิบาต องั คุตตรนิกาย. ทกุ . อํ. ทุกนบิ าต องั คตุ ตรนิกาย. ติก. อ.ํ ตกิ นบิ าต อังคตุ ตรนกิ าย. จตกุ ฺก. อ.ํ จตกุ กนบิ าต อังคตุ ตรนกิ าย.

ปญจฺ ก. อ.ํ ปัญจกนบิ าต องั คตุ ตรนิกาย. ฉกกฺ . อํ. ฉักกนิบาต องั คตุ ตรนกิ าย. สตฺตก. อ.ํ สตั ตกนิบาต อังคุตตรนกิ าย อฏฺก. อํ. อัฏฐกนิบาต องั คตุ ตรนิกาย. นวก. อํ. นวกนิบาต องั คตุ ตรนิกาย. ทสก. อ.ํ ทสกนบิ าต อังคตุ ตรนกิ าย. เอกาทสก. อํ. เอกาทสกนบิ าต องั คุตตรนกิ าย. ขุ. ข.ุ ขุททกปาฐะ ขทุ ทกนิกาย. ธ. ขุ. ธรรมบท ขทุ ทกนิกาย. อ.ุ ขุ. อทุ าน ขทุ ทกนิกาย. อติ ิวุ. ข.ุ อติ วิ ุตตกะ ขุททกนิกาย. สตุ ฺต. ข.ุ สตุ ตนิบาต ขทุ ทกนิกาย. วิมาน. ขุ. วิมานวัตถุ ขทุ ทกนกิ าย. เปต. ขุ. เปตวตั ถุ ขุททกนิกาย. เถร. ขุ. เถรคาถา ขุททกนิกาย. เถรี. ข.ุ เถรีคาถา ขทุ ทกนิกาย. ชา. ข.ุ ชาดก ขทุ ทกนกิ าย. มหานิ. ขุ. มหานิทเทส ขุททกนกิ าย. จูฬนิ. ขุ. จฬู นิทเทส ขุททกนิกาย. ปฏิสม.ฺ ขุ. ปฏสิ มั ภิทามรรค ขทุ ทกนกิ าย. อปท. ขุ. อปทาน ขุททกนกิ าย. พุทฺธว. ข.ุ พทุ ธวงส์ ขุททกนิกาย. จรยิ า. ข.ุ จริยาปฎิ ก ขทุ ทกนกิ าย. ตัวอยา่ ง : ๑๔/๑๗๑/๒๔๕ ให้อา่ นว่า ไตรปิฎกฉบับบาลีสยามรฐั เล่ม ๑๔ หน้า ๑๗๑ ข้อท่ี ๒๔๕



สารบัญ ฆราวาสชนั้ เลิศ ๑ วิธีตรวจสอบวา่ ๓ เป็นค�ำ ของพระผูม้ ีพระภาคเจา้ หรือไม ่ ๑. ฆราวาสคับแคบ เปน็ ทางมาแห่งธุลี ๕ ๒. การด�ำ รงชพี ชอบโดยทศิ ๖ ของฆราวาส ๗ ๓. การตอบแทนคุณมารดาบดิ าอย่างสงู สดุ ๑๗ ๔. ภัยที่แม่ลกู กช็ ว่ ยกนั ไม่ได ้ ๑๙ ๕. สิง่ ทีท่ กุ คนปรารถนาจะได้ ๒๓ ๖. ความอยากเปน็ เหตแุ ห่งความทกุ ข์ ๒๙ ๗. ทกุ ขท์ ่เี กิดจากหน้ ี ๓๑ ๘. หลักด�ำ รงชพี เพอ่ื ประโยชนส์ ขุ ในวนั นี ้ ๓๗ ๙. เหตุเจริญและเหตเุ สือ่ มแห่งทรัพย์ ๔ ประการ ๔๕ ๑๐. หลกั ดำ�รงชพี เพื่อประโยชนส์ ุขในเวลาถดั ตอ่ มา ๕๐ ๑๑. ฆราวาสชั้นเลศิ ๕๔ ๑๒. นรกที่รา้ ยกาจของมนุษย์ ๕๖ ๑๓. วาจาของสัตบุรุษ ๖๑

๑๔. วาจาของอสตั บุรุษ ๖๔ ๑๕. วิธปี ฏิบัติทางจิต ๖๗ เมือ่ ถูกตเิ ตียนหรอื ท�ำ รา้ ยรา่ งกาย ๑๖. การวางจิตเม่อื ถกู กลา่ วหา ๗๐ ๑๗. วาจาของสะใภ้ใหม่ ๗๔ ๑๘. วาจาท่ไี มม่ โี ทษ ๗๗ ๑๙. คบู่ ุพเพสนั นวิ าส ๗๙ ๒๐. ภรรยา ๗ จำ�พวก ๘๑ ๒๑. มนษุ ย์ผี ๘๖ ๒๒. เข้าใจเรื่องกรรม ๙๑ เรอ่ื งควรทราบเก่ียวกับกรรมทงั้ ๖ แง่มมุ ๒๓. กรรมเปรียบดว้ ยกอ้ นเกลือ ๙๕ ๒๔. กรรมท่ีเป็นไปเพอ่ื ความส้ินกรรม ๙๙ ๒๕. วิธีดบั กรรม ๑๐๓ ๒๖. วิบากกรรมอยา่ งเบาของหมู่สัตว์ ๑๐๔ ๒๗. ฉลาดในเร่อื งกรรม ๑๐๗ ๒๘. วนิ จิ ฉัยกรรม ๑๑๐ ๒๙. การบวชทไี่ ร้ประโยชน์ ๑๑๔

๓๐. สังฆทานดกี วา่ ! ๑๑๗ ๓๑. หา้ มผอู้ ่ืนใหท้ าน ช่อื ว่าไมใ่ ชม่ ติ ร ๑๒๑ ๓๒. ผลแห่งทาน ๑๒๔ ๓๓. ทาน ทจี่ ดั ว่าเป็น มหาทาน ๑๓๐ ๓๔. เหตุทท่ี �ำ ให้เป็นผู้มีรูปงาม, ๑๓๒ มีทรพั ยม์ ากและสงู ศกั ดิ ์ ๓๕. ผใู้ หโ้ ภชนะ ๑๓๓ ๓๖. กลั ยาณมิตร คอื อรยิ มรรค ๑๓๔ ๓๗. สังสารวัฏ ไมป่ รากฏที่สุดแก่สัตว์ผูม้ ีอวชิ ชา ๑๓๗ ๓๘. น�ำ้ ตาท่เี ราไดร้ ้องไห้มาแล้วทงั้ หมด ๑๓๙ ๓๙. สขุ ทุกข์ ทเ่ี ราไดป้ ระสบมาแลว้ ทุกๆ รูปแบบ ๑๔๑ ๔๐. ท่รี ักทเ่ี จริญใจในโลก ๑๔๓ ๔๑. ทางแห่งความส้นิ ทกุ ข์ ๑๔๕



ฆราวาสชั้นเลศิ



ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ ​3 วธิ ตี รวจสอบว่า เป็นค�ำ ของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ หรือไม่ ภิกษุทั้งหลาย ! ถาภิกษุในธรรมวินัยนี้ จะพึงกลาวอยางนี้วา ขาพเจาฟงมาแลว ไดรับมาแลวเฉพาะพระพักตร พระผูมีพระภาคเจ้า วา นี้เปนธรรม นี้เปนวินัยนี้ เปนคําสอนของพระศาสดา, ดังนี้; พวกเธออยาพึงรับรอง, อยาพึงคัดคาน. เธอกําหนดเนื้อความนั้นใหดี แลวนําไปสอบสวนในสูตร นาํ ไปเทยี บเคยี งในวนิ ยั , ถา ลงกนั ไมไ ด เทยี บเคยี งกนั ไมไ ด พึงแนใจวานั้นไมใชคําของพระผูมีพระภาคแนนอน ภิกษุรูปนั้นจํามาผิด, พวกเธอพึงทิ้งคําเหลานั้นเสีย; ถาลงกันได เทียบเคียงกันได พึงแนใจวา นั่นเปนคําของพระผูมีพระภาคเจาแนแลว ภิกษุรูปนั้นจํามาอยางดีแลว, พวกเธอพึงรับเอาไว... ตรสั ทีอ่ านันทเจดยี , โภคนคร : มหาปรนิ ิพพานสตู ร มหา. ท.ี ๑๐/๑๔๔/๑๑๒.

การมีธรรม ของตถาคตอยใู นโลก คอื ความสุขของโลก

ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ ​5 ๑ ฆราวาสคบั แคบ เป็นทางมาแหง่ ธลุ ี ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ตถาคตเกิดข้ึนในโลกนี้  เป็น พระอรหันต์ผู้ตรัสรู้ชอบด้วยตนเอง  สมบูรณ์ด้วยวิชชา และจรณะ ด�ำ เนนิ ไปดี รแู้ จง้ โลก เปน็ สารถฝี กึ คนทค่ี วรฝกึ ไมม่ ใี ครยง่ิ กวา่ เปน็ ครขู องเทวดาและมนษุ ย์ เปน็ ผเู้ บกิ บาน แล้วจ�ำ แนกธรรมออกส่งั สอนสตั ว.์ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ตถาคตนน้ั ไดท้ �ำ ใหแ้ จง้ ซง่ึ โลกน้ี กบั ท้งั เทวดา มาร พรหม ซ่งึ หมู่สตั ว์ กบั ทั้งสมณพราหมณ์ พร้อมทง้ั เทวดาและมนษุ ย์ ดว้ ยปญั ญาอันยิง่ เอง แลว้ ประกาศให้ผ้อู ืน่ รแู้ จ้งตาม. ตถาคตน้ัน แสดงธรรมไพเราะ ในเบอื้ งตน้ ใน ทา่ มกลาง และในทส่ี ดุ ประกาศพรหมจรรย์ พรอ้ มทง้ั อรรถะ พร้อมท้งั พยญั ชนะ บรสิ ุทธิบ์ รบิ รู ณ์สิ้นเชิง. คหบดหี รอื บตุ รคหบดี หรอื คนทเ่ี กดิ ในตระกลู อน่ื ใด ในภายหลัง ย่อมฟังธรรมนนั้ . ครนั้ ฟงั แลว้ ยอ่ มเกิด ศรัทธาในตถาคต. กลุ บุตรนนั้ ผูป้ ระกอบอยู่ด้วยศรัทธา ยอ่ มพจิ ารณาเห็นว่า

6​ พุทธวจน “ฆราวาส คับแคบ เปน็ ทางมาแห่งธลุ ;ี ส่วน บรรพชา เป็นโอกาสว่าง มนั ไมเ่ ปน็ ไปไดโ้ ดยงา่ ยทเ่ี ราผอู้ ยคู่ รองเรอื นเชน่ น้ี จะประพฤตพิ รหมจรรยน์ น้ั ใหบ้ รสิ ทุ ธบ์ิ รบิ รู ณโ์ ดยสว่ นเดยี ว เหมอื นสงั ขท์ เ่ี ขาขดั สะอาดดแี ลว้ . ถา้ กระไร เราพงึ ปลงผม และหนวด ครองผา้ ย้อมฝาด ออกจากเรอื นไป บวชเปน็ ผไู้ ม่มเี รือนเถิด...” . มู. ม. ๑๒/๔๘๗-๘/๔๕๔.

ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ ​7 ๒ การด�ำ รงชพี ชอบโดยทศิ ๖ ของฆราวาส “ข้าแตพ่ ระองคผ์ ู้เจริญ !  ในอริยวนิ ัย มกี ารนอบน้อม ทิศท้ังหกอย่างไร  พระเจ้าข้า  !  พระองค์จงทรงแสดงธรรมท่ี เปน็ การนอบนอ้ มทิศทัง้ หกในอรยิ วนิ ัยเถิด”. คหบดีบุตร ! เม่อื ใด อรยิ สาวกละเสยี ไดซ้ ง่ึ กรรมกเิ ลส ๔ ประการ ไมก่ ระท�ำ กรรมอันเป็นบาปโดย ฐานะทงั้ สี่ และไม่เสพทางเส่ือม (อบายมุข) แหง่ โภคะ ๖ ทาง, เมอ่ื นน้ั เขาชอ่ื วา่ เปน็ ผปู้ ราศจากกรรมอนั เปน็ บาป รวม ๑๔ อยา่ ง เป็นผูป้ ิดก้ันทศิ ทง้ั หกโดยเฉพาะแล้ว; ดว้ ยอาการอยา่ งน้ี ชอ่ื วา่ เขาปฏบิ ตั แิ ลว้ เพอ่ื ชนะโลกทง้ั สอง, ทง้ั โลกนแ้ี ละโลกอน่ื เปน็ อนั เขาปรารภกระท�ำ ครบถว้ นแลว้ (อารทโฺ ธ), เขาเข้าถึงสุคตโิ ลกสวรรค์ ภายหลงั แตก่ ารตาย เพราะการท�ำ ลายแหง่ กาย, ดังนี.้ กรรมกเิ ลส ๔ ประการ อนั อรยิ สาวกนน้ั ละเสยี ได้ แล้ว เป็นอยา่ งไรเลา่ ? คหบดีบตุ ร ! ปาณาติบาต  เป็นกรรมกิเลส. อทินนาทาน  เป็นกรรมกิเลส.  กาเมสุมิจฉาจาร  เป็น

8​ พุทธวจน กรรมกิเลส.  มุสาวาท  เป็นกรรมกิเลส.  กรรมกิเลส  ๔ ประการเหล่านี้  เปน็ กรรมอนั อริยสาวกนน้ั   ละขาดแลว้ . อรยิ สาวก ไมก่ ระท�ำ กรรมอนั เปน็ บาปโดยฐานะ ท้ัง ๔ เปน็ อย่างไรเล่า ? ผู้ถงึ ซ่ึงฉนั ทาคติ (ลำ�เอยี งเพราะรกั ) ชือ่ วา่ กระท�ำ กรรมอันเป็นบาป, ผถู้ งึ ซงึ่ โทสาคติ (ลำ�เอียงเพราะเกลยี ด) ชือ่ ว่ากระทำ�กรรมอันเป็นบาป, ผถู้ งึ ซ่ึงโมหาคติ (ลำ�เอยี ง เพราะโง่เขลา)  ชื่อว่ากระทำ�กรรมอันเป็นบาป,  ผู้ถึงซึ่ง ภยาคติ  (ลำ�เอียงเพราะกลัว)  ชอื่ วา่ กระท�ำ อนั เปน็ บาป. คหบดีบุตร ! เมื่อใดอริยสาวก  ไม่ถึงซึ่ง ฉันทาคติ  ไม่ถึงซึ่งโทสาคต ิ ไม่ถึงซ่ึงโมหาคต ิ ไม่ถึงซึ่ง ภยาคติ;  เมื่อน้ัน  ช่ือว่าไม่กระทำ�กรรมอันเป็นบาปโดย ฐานะทง้ั ๔ เหล่าน,ี้ ดังน้.ี อรยิ สาวก ไม่เสพทางเสอื่ มแห่งโภคะ ๖ ทาง เป็นอย่างไรเลา่ ? คหบดีบุตร ! การตามประกอบในธรรมเป็น ที่ตั้งแห่งความประมาทเนื่องด้วยของเมา  คอื สรุ าและ เมรยั เปน็ ทางเสอ่ื มแหง่ โภคะ, การตามประกอบในการ

ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ ​9 เทย่ี วตามตรอกซอกในเวลาวกิ าล เปน็ ทางเสอ่ื มแหง่ โภคะ, การเที่ยวไปในที่ชุมนุมแห่งความเมา  (สมชฺชาภิจรณ) เป็นทางเส่ือมแห่งโภคะ,  การตามประกอบในธรรม เป็นท่ตี ้งั แห่งความประมาทคือการพนัน  เป็นทางเสอ่ื ม แหง่ โภคะ, การตามประกอบในบาปมติ ร เปน็ ทางเส่ือม แห่งโภคะ, การตามประกอบในความเกียจคร้าน เป็น ทางเส่อื มแห่งโภคะ. คหบดีบุตร ! อรยิ สาวกเปน็ ผปู้ กปดิ ทศิ ทง้ั หก โดยเฉพาะแลว้ เป็นอยา่ งไรเลา่ ? คหบดีบุตร ! พึงทราบว่า  ทิศทั้งหกเหล่านี้ มีอยู่ คือ :- พงึ ทราบว่า มารดาบิดา เปน็ ปุรัตถิมทิศ (ทิศเบื้องหนา้ ), พึงทราบวา่ อาจารย์ เปน็ ทักขิณทศิ (ทิศเบอ้ื งขวา), พึงทราบว่า บตุ รภรรยา เป็นปัจฉิมทศิ (ทิศเบ้ืองหลัง), พึงทราบวา่ มติ รสหาย เปน็ อตุ ตรทศิ (ทิศเบื้องซ้าย), พึงทราบวา่ ทาสกรรมกร เป็นเหฏฐมิ ทิศ (ทิศเบอ้ื งต�ำ่ ), พงึ ทราบว่า สมณพราหมณ์เปน็ อปุ รมิ ทศิ (ทิศเบื้องบน).

1​ 0 พุทธวจน หนา้ ท่ีทพ่ี ึงปฏบิ ัตติ ่อทิศเบื้องหน้า คหบดบี ตุ ร ! ทศิ เบอ้ื งหนา้ คอื มารดาบดิ า อนั บตุ รพงึ ปฏบิ ตั ติ อ่ โดยฐานะ ๕ ประการ คอื :- ทา่ นเล้ียงเราแลว้   เราจักเล้ยี งท่าน ๑ เราจกั ทำ�กิจของทา่ น ๑ เราจกั ดำ�รงวงศ์สกุล ๑ เราจักปฏิบัตติ นเป็นทายาท ๑ เมอื่ ท่านทำ�กาละล่วงลับไปแลว้ เราจักกระทำ�ทกั ษณิ าอทุ ิศทา่ น ๑ คหบดบี ุตร ! ทิศเบ้อื งหนา้ คือ มารดาบิดา อันบุตรปฏิบัติต่อโดยฐานะ  ๕  ประการ  เหล่านี้แล้ว ยอ่ มอนเุ คราะหบ์ ุตรโดยฐานะ ๕ ประการ คือ :- หา้ มเสียจากบาป ๑ ให้ตั้งอยใู่ นความดี ๑ ใหศ้ ึกษาศิลปะ ๑ ใหม้ ีคคู่ รองท่ีสมควร ๑ มอบมรดกใหต้ ามเวลา ๑ เมอ่ื เปน็ ดงั น้ี ทศิ เบอ้ื งหนา้ นน้ั เปน็ อนั วา่ กลุ บตุ รนน้ั ปิดกน้ั แล้ว เปน็ ทศิ เกษม ไม่มภี ยั เกิดขน้ึ .

ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 1​ 1 หน้าที่ท่พี ึงปฏบิ ัตติ ่อทศิ เบ้อื งขวา คหบดบี ุตร ! ทิศเบื้องขวา  คือ  อาจารย์ อนั ศิษยพ์ งึ ปฏิบัติตอ่ โดยฐานะ ๕ ประการ คอื :- ด้วยการลุกขน้ึ ยนื รบั ๑ ดว้ ยการเข้าไปยืนคอยรบั ใช้ ๑ ดว้ ยการเช่อื ฟังอย่างยงิ่ ๑ ดว้ ยการปรนนิบัติ ๑ ด้วยการศกึ ษาศิลปวิทยาโดยเคารพ ๑ คหบดบี ุตร ! ทิศเบ้ืองขวา  คือ  อาจารย์ อันศิษย์ปฏิบัติต่อโดยฐานะ  ๕  ประการ  เหล่านี้แล้ว ยอ่ มอนเุ คราะหศ์ ษิ ย์โดยฐานะ ๕ ประการ คอื :- แนะน�ำ ดี ๑ ใหศ้ กึ ษาดี ๑ บอกศลิ ปวิทยาส้นิ เชงิ ๑ ทำ�ใหเ้ ปน็ ท่รี จู้ กั ในมติ รสหาย ๑ ท�ำ การคมุ้ ครองให้ในทิศท้ังปวง ๑ เมอ่ื เปน็ ดงั น้ี ทศิ เบอ้ื งขวานน้ั เปน็ อนั วา่ กลุ บตุ รนน้ั ปิดก้ันแลว้ เป็นทิศเกษม ไมม่ ภี ยั เกดิ ขน้ึ .

1​ 2 พุทธวจน หน้าท่ที ีพ่ ึงปฏบิ ตั ติ ่อทศิ เบอ้ื งหลัง คหบดบี ตุ ร ! ทิศเบ้ืองหลัง  คือ  ภรรยา อนั สามีพงึ ปฏิบัติตอ่ โดยฐานะ ๕ ประการ คือ :- ดว้ ยการยกย่อง ๑ ดว้ ยการไม่ดูหมน่ิ ๑ ด้วยการไม่ประพฤตินอกใจ ๑ ด้วยการมอบความเปน็ ใหญใ่ นหน้าท่ใี ห้ ๑ ดว้ ยการใหเ้ ครอ่ื งประดบั ๑ คหบดีบตุ ร ! ทิศเบื้องหลัง  คือ  ภรรยา อันสามีปฏิบัติต่อโดยฐานะ  ๕  ประการ  เหล่านี้แล้ว ย่อมอนเุ คราะห์สามโี ดยฐานะ ๕ ประการ คอื :- จัดแจงการงานดี ๑ สงเคราะหค์ นข้างเคียงดี ๑ ไมป่ ระพฤตินอกใจ ๑ ตามรักษาทรพั ยท์ ีม่ อี ยู่ ๑ ขยันขนั แข็งในการงานท้งั ปวง ๑ เมอ่ื เปน็ ดงั น้ี ทศิ เบอ้ื งหลงั นน้ั เปน็ อนั วา่ กลุ บตุ รนน้ั ปดิ ก้ันแล้ว เปน็ ทิศเกษม ไมม่ ภี ยั เกดิ ข้นึ .

ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 1​ 3 หนา้ ท่ที ่พี งึ ปฏิบตั ติ อ่ ทศิ เบือ้ งซ้าย คหบดบี ตุ ร ! ทศิ เบอื้ งซ้าย คอื มิตรสหาย อนั กุลบตุ รพงึ ปฏบิ ตั ติ อ่ โดยฐานะ ๕ ประการ คอื :- ดว้ ยการใหป้ นั ๑ ด้วยการพดู จาไพเราะ ๑ ดว้ ยการประพฤติประโยชน์ ๑ ดว้ ยการวางตนเสมอกนั ๑ ด้วยการไม่กล่าวคำ�อันเป็นเครื่องใหแ้ ตกกนั ๑ คหบดีบตุ ร ! ทศิ เบอื้ งซา้ ย คอื มติ รสหาย อนั กุลบตุ รปฏบิ ตั ิต่อโดยฐานะ ๕ ประการ เหลา่ นแ้ี ลว้ ย่อมอนเุ คราะหก์ ุลบตุ รโดยฐานะ ๕ ประการ คือ :- รักษามิตรผูป้ ระมาทแลว้ ๑ รักษาทรัพยข์ องมติ รผูป้ ระมาทแล้ว ๑ เปน็ ท่พี ่ึงแก่มติ รเมอ่ื มีภยั ๑ ไม่ทอดทงิ้ ในยามมอี ันตราย ๑ นับถือสมาชกิ ในวงศ์ของมิตร ๑ เมอ่ื เปน็ ดงั น้ี ทศิ เบอ้ื งซา้ ยนน้ั เปน็ อนั วา่ กลุ บตุ รนน้ั ปดิ ก้ันแล้ว เปน็ ทิศเกษม ไมม่ ีภยั เกิดขนึ้ .

1​ 4 พุทธวจน หน้าท่ที พี่ ึงปฏบิ ตั ติ ่อทศิ เบ้ืองต�่ำ คหบดบี ตุ ร ! ทิศเบ้ืองต�ำ่ คือ ทาสกรรมกร อันนายพึงปฏิบตั ิต่อโดยฐานะ ๕ ประการ คอื :- ด้วยให้ท�ำ การงานตามกำ�ลัง ๑ ด้วยการให้อาหารและรางวลั ๑ ดว้ ยการรกั ษาพยาบาลยามเจ็บไข้ ๑ ดว้ ยการแบ่งของมรี สประหลาดให้ ๑ ดว้ ยการปล่อยใหอ้ ิสระตามสมยั ๑ คหบดีบตุ ร ! ทศิ เบ้อื งตำ่� คือ ทาสกรรมกร อันนายปฏิบัติต่อโดยฐานะ  ๕  ประการ  เหล่านี้แล้ว ย่อมอนเุ คราะห์นายโดยฐานะ ๕ ประการ คือ :- เปน็ ผลู้ ุกข้นึ ทำ�งานกอ่ นนาย ๑ เลิกงานทีหลังนาย ๑ ถือเอาแตข่ องทนี่ ายให้ ๑ กระทำ�การงานให้ดที ่ีสดุ ๑ นำ�เกยี รตคิ ณุ ของนายไปร�่ำ ลือ ๑ เมอ่ื เปน็ ดงั น้ี ทศิ เบอ้ื งต�ำ่ นน้ั เปน็ อนั วา่ กลุ บตุ รนน้ั ปดิ กนั้ แล้ว เปน็ ทศิ เกษม ไมม่ ีภยั เกิดขึน้ .

ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 1​ 5 หน้าที่ทพ่ี ึงปฏิบัตติ ่อทศิ เบื้องบน คหบดีบตุ ร ! ทศิ เบอ้ื งบน คอื สมณพราหมณ์ อันกุลบตุ รพึงปฏิบัติตอ่ โดยฐานะ ๕ ประการ คอื :- ด้วยเมตตากายกรรม ๑ ด้วยเมตตาวจีกรรม ๑ ดว้ ยเมตตามโนกรรม ๑ ดว้ ยการไม่ปิดประตู (คอื ยนิ ดีต้อนรบั ) ๑ ดว้ ยการคอยถวายอามิสทาน ๑ คหบดีบตุ ร ! ทศิ เบอ้ื งบน คอื สมณพราหมณ์ อันกุลบุตรปฏิบัติต่อโดยฐานะ  ๕  ประการ  เหล่านี้แล้ว ย่อมอนเุ คราะหก์ ุลบตุ รโดยฐานะ ๖ ประการ คือ :- หา้ มเสยี จากบาป ๑ ใหต้ ั้งอยู่ในความดี ๑ อนเุ คราะห์ดว้ ยใจอันงดงาม ๑ ให้ฟงั ในสิ่งที่ไมเ่ คยฟงั ๑ ทำ�สง่ิ ที่ได้ฟังแลว้ ให้แจม่ แจง้ ถึงที่สดุ ๑ บอกทางสวรรคใ์ ห้ ๑ เมอ่ื เปน็ ดงั น้ี ทศิ เบอ้ื งบนนน้ั เปน็ อนั วา่ กลุ บตุ รนน้ั ปดิ กั้นแล้ว เปน็ ทิศเกษม ไมม่ ีภัยเกดิ ข้ึน. ปา. ท.ี ๑๑/๑๙๕-๒๐๖/๑๗๔–๒๐๕.

ความไมมโี รค เปน ลาภอยา งยงิ่ ความสันโดษ เปนทรัพยอยา งยิ่ง ความคนุ เคยกัน เปนญาติอยางย่งิ นพิ พาน เปน สุขอยางยิง่ ธ. ขุ. ๒๕/๔๒/๒๕.

ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 1​ 7 ๓ การตอบแทนคณุ มารดาบดิ าอยา่ งสงู สดุ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เรากล่าวการกระทำ�ตอบแทน ไม่ได้งา่ ยแก่ทา่ นทัง้ สอง. ทา่ นท้ังสอง คือใคร ? คือ มารดา ๑ บดิ า ๑ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! บตุ รพงึ ประคบั ประคองมารดา ดว้ ยบา่ ขา้ งหนง่ึ พงึ ประคบั ประคองบดิ าดว้ ยบา่ ขา้ งหนง่ึ เขามอี ายุ มชี วี ติ อยตู่ ลอดรอ้ ยปี และเขาพงึ ปฏบิ ตั ทิ า่ นทง้ั สอง นน้ั ด้วยการอบกลนิ่ การนวด การให้อาบน้ำ� และการดดั และทา่ นทง้ั สองนน้ั พงึ ถา่ ยอจุ จาระปสั สาวะบนบา่ ทง้ั สอง ของเขานนั่ แหละ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! การกระทำ�อย่างน้นั ยังไม่ชื่อว่าอันบุตรทำ�แล้ว  หรือทำ�ตอบแทนแล้ว แกม่ ารดาบิดาเลย. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! อนึง่ บุตรพงึ สถาปนามารดา บดิ าในราชสมบัติ อนั เปน็ อิสราธปิ ตั ย์ ในแผ่นดินใหญ่ อันมีรตนะ ๗ ประการมากหลายน้ี การกระท�ำ อย่างนนั้   ยังไม่ชื่อว่าอันบุตรทำ�แล้ว  หรือทำ�ตอบแทนแล้ว แกม่ ารดาบิดาเลย ข้อนั้นเพราะเหตุไร ?

1​ 8 พุทธวจน เพราะมารดาบิดามีอุปการะมาก  บำ�รุงเลี้ยง แสดงโลกนี้แก่บุตรทัง้ หลาย ส่วนบุตรคนใดยังมารดาบิดาผู้ไม่มีศรัทธา ให้สมาทานตัง้ ม่ันในสัทธาสัมปทา (ความถึงพร้อมดว้ ย ศรัทธา) ยังมารดาบิดาผู้ทุศีล  ให้สมาทานตั้งมั่นใน สลี สมั ปทา (ความถงึ พรอ้ มด้วยศลี ) ยังมารดาบิดาผู้มีความตระหนี่  ให้สมาทาน ต้ังม่นั ในจาคสัมปทา (ความถงึ พร้อมด้วยการบรจิ าค) ยังมารดาบดิ าทรามปญั ญา ให้สมาทานตงั้ มน่ั ในปัญญาสมั ปทา (ความถงึ พร้อมดว้ ยปัญญา) ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล การกระทำ�อย่างนัน้ ยอ่ มชอ่ื ว่าอนั บุตรนน้ั ท�ำ แลว้ และ ทำ�ตอบแทนแล้วแกม่ ารดาบดิ า. ทกุ . อ.ํ ๒๐/๗๘/๒๗๘.

ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 1​ 9 ๔ ภัยที่แมล่ ูกก็ชว่ ยกันไม่ได้ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ปุถุชนผู้ไม่มีการสดับ  ย่อม กลา่ วภัยที่มารดาและบุตรช่วยกันไมไ่ ด้ (อมาตาปตุ ตฺ กิ ภย) ว่ามีอยู่ ๓ อยา่ ง. ๓ อย่างคือ :- มสี มยั ทไ่ี ฟไหมใ้ หญต่ ง้ั ขน้ึ ไหมห้ มบู่ า้ น ไหมน้ คิ ม ไหมน้ คร. ในสมยั นน้ั มารดาไมไ่ ดบ้ ตุ ร(เปน็ ผชู้ ว่ ยเหลอื อะไรได)้ , บุตรกไ็ มไ่ ด้มารดา (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได)้ . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ปุถุชนผู้ไม่มีการสดับ  ย่อม เรียกภัยนี้วา่ เป็นอมาตาปุตติกภัย อย่างท่หี นงึ่ . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ข้ออ่ืนยังมีอีก  คือมีสมัยท่ี มหาเมฆตง้ั ขน้ึ เกดิ น�ำ้ ทว่ มใหญ่ พดั พาไปทง้ั หมบู่ า้ น ทง้ั นคิ ม ทง้ั นคร. ในสมยั นน้ั มารดาไมไ่ ดบ้ ตุ ร (เปน็ ผชู้ ว่ ยเหลอื อะไรได)้ , บุตรก็ไมไ่ ด้มารดา (เป็นผ้ชู ่วยเหลืออะไรได)้ . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ปุถุชนผู้ไม่มีการสดับ  ย่อม เรียกภยั นวี้ า่ เป็นอมาตาปุตติกภัย อย่างที่สอง.

2​ 0 พุทธวจน ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ข้ออนื่ ยังมีอีก คือมีสมยั ทม่ี ีภัย คือการก�ำ เริบ (กบฏ) มาจากปา่ ประชาชนขน้ึ ยานมีล้อ หนีกระจัดกระจายไป.  เม่ือภัยอย่างน้ีเกิดข้ึน  สมัยน้ัน มารดาไม่ได้บุตร  (เป็นผู้ช่วยเหลืออะไรได้),  บุตรก็ไม่ได้ มารดา (เปน็ ผู้ชว่ ยเหลอื อะไรได)้ . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ปุถุชนผู้ไม่มีการสดับ  ย่อม เรียกภยั น้วี า่ เป็นอมาตาปุตติกภยั อยา่ งท่สี าม. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ปถุ ชุ นผไู้ มม่ กี ารสดบั ยอ่ มกลา่ ว ภยั ทม่ี ารดาและบตุ รชว่ ยกนั ไมไ่ ด้ วา่ มอี ยู่ ๓ อยา่ ง เหลา่ น.้ี ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ปุถุชนผู้ไม่มีการสดับ  กล่าว สมาตาปุตติกภัย (ภยั ที่มารดาและบุตรช่วยกนั ได)้ แท้ๆ ๓ อย่างนี้วา่ เป็น อมาตาปุตติกภยั (ภัยที่มารดาและบตุ ร ชว่ ยกันไม่ได้) ไปเสยี . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ภัย ๓ อย่าง ทม่ี ารดาและบตุ ร ช่วยกันไดน้ ัน้ เปน็ อย่างไรเลา่ ? สามอย่าง คือ สมัยท่ไี ฟไหม้ใหญ่ เปน็ อยา่ งหนง่ึ , สมัยที่นำ้�ท่วมใหญ่  เป็นอย่างท่ีสอง,  สมัยท่ีหนีโจรขบถ เป็นอย่างท่ีสาม;  เหล่านี้บางคราวมารดาและบุตรก็ช่วย

ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 2​ 1 กันและกันได้ แตป่ ถุ ุชนผู้ไมม่ ีการสดบั มากล่าวว่าเปน็ ภัย ทมี่ ารดาและบตุ รกช็ ่วยกันไมไ่ ด้ไปเสยี ท้งั หมด. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ภยั ทมี่ ารดาและบตุ รชว่ ยกนั ไมไ่ ด้ (โดยแทจ้ รงิ ) ๓ อย่างเหล่านี้ มอี ยู่สามอยา่ ง คอื :- ภัยเกิดจากความแก่ (ชราภย)ํ , ภยั เกิดจากความเจ็บไข้ (พฺยาธภิ ยํ), ภยั เกดิ จากความตาย (มรณภยํ). ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! มารดาไม่ได้ตามปรารถนากับ บตุ รผู้แกอ่ ยู่อย่างนวี้ ่า เราแกเ่ องเถิด บุตรของเราอยา่ แก่ เลย;  หรือบุตรก็ไม่ได้ตามปรารถนากะมารดาผู้แก่อยู่ อยา่ งนวี้ ่า  เราแกเ่ องเถิด  มารดาอย่าแก่เลย ดงั นี้. มารดาก็ไมไ่ ด้ตามปรารถนาว่า เราเจ็บไขเ้ องเถิด บตุ รของเราอยา่ เจบ็ ไขเ้ ลย; หรอื บตุ รกไ็ มไ่ ดต้ ามปรารถนา วา่   เราเจบ็ ไขเ้ องเถดิ   มารดาของเราอยา่ เจบ็ ไขเ้ ลย ดงั น.้ี มารดาก็ไม่ได้ตามปรารถนาว่า  เราตายเองเถิด บตุ รของเราอย่าตายเลย; หรอื บุตรกไ็ ม่ได้ตามปรารถนา วา่   เราตายเองเถดิ   มารดาของเราอยา่ ตายเลย ดงั น้ี.

2​ 2 พุทธวจน ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เหล่าน้ีแล  เป็นภัยท่ีมารดา และบตุ รช่วยกันไม่ได้ ๓ อย่าง. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! หนทางมอี ยู่ ปฏปิ ทามอี ยู่ ยอ่ ม เปน็ ไปเพอ่ื เลกิ ละ กา้ วลว่ งเสยี ซง่ึ ภยั ทง้ั ทเ่ี ปน็ สมาตาปตุ ตกิ ภยั และอมาตาปุตติกภัย อย่างละสามๆ เหล่านน้ั . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! หนทางหรือปฏิปทาน้ัน  เป็น อยา่ งไรเล่า ? นน่ั คอื อรยิ อัฏฐงั คกิ มรรค (อริยมรรคมีองค์ ๘) น่ันเอง ไดแ้ ก่ สมั มาทฏิ ฐิ (เหน็ ชอบ) สมั มาสงั กปั ปะ(ด�ำ รชิ อบ) สมั มาวาจา (เจรจาชอบ) สมั มากมั มนั ตะ (ท�ำ การงานชอบ)  สมั มาอาชวี ะ  (เลย้ี งชพี ชอบ)  สมั มาวายามะ (เพยี รชอบ) สัมมาสติ (ระลึกชอบ)  สัมมาสมาธิ (ตั้งจติ มั่นชอบ). ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! น้ีแหละหนทาง  นี้แหละ ปฏปิ ทา เปน็ ไปเพือ่ เลกิ ละ กา้ วล่วงเสยี ซึ่งภัยท้ังทเ่ี ปน็ สมาตาปุตตกิ ภยั และอมาตาปตุ ติกภัย อยา่ งละสามๆ เหล่าน้นั . ติก. อ.ํ ๒๐/๒๒๘-๒๓๑/๕๐๒.

ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 2​ 3 ๕ สง่ิ ท่ที ุกคนปรารถนาจะได้ คหบดี ! ธรรม ๔ ประการนี้ น่าปรารถนา น่ารกั ใคร่ น่าพอใจ หาไดย้ ากในโลก. ธรรม ๔ ประการ เป็นอยา่ งไรเลา่ ? คอื :- ขอโภคทรัพย์จงเกิดขึ้นแก่เราโดยทางธรรม นี้เป็นธรรม  ประการที่  ๑  อันน่าปรารถนา น่ารักใคร่  น่าพอใจ  หาได้ยากในโลก. เราได้โภคทรัพย์ทั้งหลายโดยทางธรรมแล้ว  ขอยศจงเฟื่องฟูแก่เราพร้อมด้วยญาติและ มติ รสหาย  น้ีเป็นธรรม  ประการที่  ๒  อันน่าปรารถนา นา่ รักใคร่ นา่ พอใจ หาไดย้ ากในโลก. เราได้โภคทรัพย์ทั้งหลายโดยทางธรรมแล้ว  ได้ยศพร้อมด้วยญาติและมิตรสหายแล้ว  ขอเราจงเป็นอยู่นาน  จงรักษาอายุให้ย่ังยืน  นี้เป็นธรรม  ประการท่ี  ๓  อันน่าปรารถนา  น่ารักใคร่  นา่ พอใจ  หาได้ยากในโลก.

2​ 4 พุทธวจน เราได้โภคทรัพย์ทั้งหลายโดยทางธรรมแล้ว ได้ยศพร้อมด้วยญาติและมิตรสหายแล้ว เปน็ อย่นู านรกั ษาอายใุ หย้ ่ังยืนแลว้ เม่อื ตายแล้ว ขอเราจงเขา้ ถงึ สคุ ตโิ ลกสวรรค์ นเ้ี ปน็ ธรรม ประการท่ี ๔ อนั น่าปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ หาได้ยากในโลก. คหบดี ! ธรรม ๔ ประการนีแ้ ล นา่ ปรารถนา นา่ รักใคร่ นา่ พอใจ หาได้ยากในโลก. คหบดี ! ธรรม  ๔  ประการนี้  ย่อมเป็นไปเพ่ือให้ได้ ธรรม ๔ ประการ อันนา่ ปรารถนา นา่ รกั ใคร่ น่าพอใจ หาไดย้ ากในโลก ธรรม ๔ ประการ เปน็ อยา่ งไรเลา่ ? คอื :- สัทธาสมั ปทา (ความถงึ พรอ้ มด้วยศรทั ธา) ๑ สีลสมั ปทา (ความถงึ พร้อมดว้ ยศีล) ๑ จาคสัมปทา (ความถงึ พรอ้ มดว้ ยการบรจิ าค) ๑ ปญั ญาสัมปทา (ความถึงพรอ้ มดว้ ยปญั ญา) ๑ .

ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 2​ 5 คหบดี ! ก็ สัทธาสมั ปทาเปน็ อยา่ งไรเลา่ ? อริยสาวกในธรรมวินัยน้ี  ย่อมเป็นผู้มีศรัทธา เชื่อปัญญาตรัสรู้ของตถาคตว่า  “เพราะเหตุอย่างนี้ๆ  พระผูม้ ีพระภาคเจ้านน้ั เปน็ ผู้ไกลจากกเิ ลส เปน็ ผตู้ รัสรู้ ชอบไดโ้ ดยพระองคเ์ อง เปน็ ผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ยวชิ ชาและจรณะ เปน็ ผไู้ ปแลว้ ดว้ ยดี เปน็ ผรู้ โู้ ลกอยา่ งแจม่ แจง้ เปน็ ผสู้ ามารถ ฝกึ บุรุษที่สมควรฝึกไดอ้ ย่างไมม่ ีใครย่ิงกวา่ เปน็ ครผู ้สู อน ของเทวดาและมนษุ ย์ท้ังหลาย เป็นผู้รู้ ผู้ต่นื ผู้เบิกบาน ดว้ ยธรรม เปน็ ผมู้ คี วามจ�ำ เรญิ จ�ำ แนกธรรมสง่ั สอนสตั ว”์ . คหบดี ! นเี้ รยี กว่า สทั ธาสัมปทา. ก็ สีลสมั ปทา เป็นอยา่ งไรเลา่ ? อริยสาวกในธรรมวินัยนี้  เป็นผู้เว้นขาดจาก ปาณาตบิ าต  เปน็ ผเู้ วน้ ขาดจากอทนิ นาทาน  เปน็ ผเู้ วน้ ขาด จากกาเมสุมิจฉาจาร  เป็นผู้เว้นขาดจากมุสาวาท  เป็น ผู้เว้นขาดจากการดื่มน้ำ�เมา คือ สุราและเมรัย อันเป็น ที่ต้งั แหง่ ความประมาท. น้เี รียกวา่ สลี สมั ปทา.

2​ 6 พุทธวจน ก็ จาคสมั ปทา เป็นอย่างไรเลา่ ? อรยิ สาวกในธรรมวนิ ยั น้ี มใี จปราศจากมลทนิ คอื ความตระหน่ี มกี ารบรจิ าคอนั ปลอ่ ยอยเู่ ปน็ ประจ�ำ มฝี า่ มอื อนั ชมุ่ ยนิ ดใี นการสละ เปน็ ผคู้ วรแกก่ ารขอ ยนิ ดใี นการให้ และการแบง่ ปัน. น้เี รยี กวา่ จาคสัมปทา. ก็ ปญั ญาสมั ปทา เปน็ อย่างไรเล่า ? บุคคลมีใจอนั ความโลภอยา่ งแรงกล้าคืออภชิ ฌา ครอบงำ�แล้ว  ย่อมทำ�กิจที่ไม่ควรทำ�  ละเลยกิจที่ควรทำ� เมื่อทำ�กิจท่ีไม่ควรทำ�และละเลยกิจที่ควรทำ�เสีย  ย่อม เสื่อมจากยศและความสุข  บุคคลมีใจอันพยาบาท  ถีนมิทธะ  อุทธัจจกุกกุจจะ  อันวิจิกิจฉาครอบงำ�แล้ว ย่อมท�ำ กิจท่ไี ม่ควรทำ� ละเลยกจิ ทคี่ วรทำ� เมอ่ื ท�ำ กิจทีไ่ ม่ ควรทำ�และละเลยกิจท่ีควรทำ�เสีย  ย่อมเส่ือมจากยศและ ความสขุ . คหบดี ! อรยิ สาวกนน้ั แลรวู้ า่ อภชิ ฌาวสิ มโลภะ (ความโลภอยา่ งแรงกลา้ ) เปน็ อปุ กเิ ลส (โทษเครอ่ื งเศรา้ หมอง) แหง่ จิต ย่อมละอภชิ ฌาวิสมโลภะอันเป็นอุปกเิ ลสแหง่ จิต

ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 2​ 7 เสยี ได้ รวู้ า่ พยาบาท (คดิ รา้ ย) ถนี มทิ ธะ (ความหดหซู่ มึ เซา) อทุ ธจั จกกุ กจุ จะ (ความฟงุ้ ซา่ นร�ำ คาญ) วจิ กิ จิ ฉา (ความลงั เลสงสยั ) เปน็ อปุ กเิ ลสแหง่ จติ ยอ่ มละเสยี ซง่ึ สง่ิ ทเ่ี ปน็ อปุ กเิ ลสแหง่ จติ เหลา่ น้นั . คหบดี ! เมอ่ื ใดอรยิ สาวกรวู้ า่ อภชิ ฌาวสิ มโลภะ เป็นอุปกิเลสแห่งจิตดังน้ีแล้ว  เมื่อน้ันย่อมละเสียได้ เม่ือใดอริยสาวกรวู้ ่าพยาบาท ถนี มทิ ธะ อุทธจั จกุกกจุ จะ วิจกิ ิจฉา เปน็ อุปกเิ ลสแห่งจติ ดังนแ้ี ลว้ เมื่อนนั้ ย่อมละ สง่ิ เหลา่ นน้ั เสยี ได้ อรยิ สาวกนเ้ี ราเรยี กวา่ เปน็ ผมู้ ปี ญั ญามาก มปี ญั ญาหนาแนน่ เปน็ ผเู้ หน็ ทาง เปน็ ผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ยปญั ญา. นเ้ี รยี กวา่ ปญั ญาสัมปทา. คหบดี ! ธรรม  ๔  ประการเหล่าน้ีแล  ย่อมเป็นไป เพอื่ ใหไ้ ด้ธรรม ๔ ประการ อันนา่ ปรารถนา น่ารกั ใคร่  นา่ พอใจ หาได้ยากในโลก. จตุกฺก. อ.ํ ๒๑/๘๕/๖๑.

“ กามท้ังหลาย ใหเกิดความยินดีนอย มที กุ ขมาก  มคี วามคบั แคน มาก โทษในเพราะกามน้ัน  มเี ปนอยา งย่งิ ” มู. ม. ๑๒/๑๘๐/๒๑๑.

ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 2​ 9 ๖ ความอยากเป็นเหตแุ ห่งความทุกข์ ภิกษุท้งั หลาย ! เราจกั แสดงธรรม (สง่ิ ) ทมี่ ตี ัณหาเป็นมูล ๙ อย่าง. ๙ อย่าง อยา่ งไรเลา่ ? ๙ อย่าง คือ :- เพราะอาศัยตัณหา จึงมี การแสวงหา (ปริเยสนา); เพราะอาศัยการแสวงหา จึงมี การได้ (ลาโภ); เพราะอาศัยการได้ จึงมี ความปลงใจรัก (วินจิ ฉฺ โย); เพราะอาศัยความปลงใจรกั   จงึ ม ี ความก�ำ หนดั ดว้ ยความพอใจ (ฉนทฺ ราโค); เพราะอาศัยความก�ำ หนัดดว้ ยความพอใจ  จงึ มีความสยบมัวเมา (อชฺโฌสานํ); เพราะอาศัยความสยบมวั เมา  จงึ มี  ความจบั อกจับใจ (ปริคฺคโห);

3​ 0 พุทธวจน เพราะอาศยั ความจับอกจบั ใจ  จึงม ี ความตระหนี่ (มจฺฉรยิ ํ); เพราะอาศัยความตระหนี่  จงึ ม ี การหวงกั้น (อารกโฺ ข); เพราะอาศัยการหวงก้ัน  จงึ มี  เรอื่ งราวอนั เกิดจากการหวงกัน้ (อารกขฺ าธิกรณํ); กลา่ วคือ การใช้อาวธุ ไมม่ คี ม  การใชอ้ าวุธมคี ม  การทะเลาะ  การแก่งแย่ง  การววิ าท  การกล่าวค�ำ หยาบวา่ “มึง ! มงึ !” การพูดคำ�สอ่ เสียด และ การพดู เทจ็ ท้ังหลาย : ธรรมอนั เปน็ บาปอกศุ ลเปน็ อเนก ยอ่ มเกดิ ขน้ึ พรอ้ ม. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เหลา่ นี้แล ช่ือวา่ ธรรมท่มี ตี ณั หาเปน็ มลู ๙ อยา่ ง. นวก. อ.ํ ๒๓/๔๑๓/๒๒๗., (มหา. ที. ๑๐/๖๙/๕๙).

ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 3​ 1 ๗ ทกุ ขท์ ่เี กดิ จากหน้ี ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ความยากจน เปน็ ทกุ ขข์ องคน ผบู้ ริโภคกามในโลก. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! คนจนเข็ญใจไร้ทรัพย์สมบัติ ยอ่ มกหู้ น,้ี การกหู้ น้ี นน้ั เปน็ ทกุ ขข์ องคนบรโิ ภคกามในโลก. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! คนจนเข็ญใจไร้ทรัพย์สมบัติ กู้หนี้แล้ว  ต้องใช้ดอกเบี้ย,  การต้องใช้ดอกเบี้ย นั้นเป็นทุกข์ของคนบริโภคกามในโลก. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! คนจนเข็ญใจไร้ทรัพย์สมบัติ กู้หนี้แล้ว ต้องใชด้ อกเบี้ย ไม่อาจใชด้ อกเบย้ี ตามเวลา เจา้ หนก้ี ท็ วง, การถกู ทวงหน้ี นน้ั เปน็ ทกุ ขข์ องคนบรโิ ภคกาม ในโลก. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! คนจนเข็ญใจไร้ทรัพย์สมบัติ ถูกทวงหน้ีอยู่  ไม่อาจจะใช้ให้  เจ้าหน้ีย่อมติดตาม,  การถกู ติดตาม  นน้ั เปน็ ทุกขข์ องคนบริโภคกามในโลก.

3​ 2 พุทธวจน ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! คนจนเขญ็ ใจไรท้ รพั ยส์ มบตั ิ ถกู ตดิ ตามอยไู่ มอ่ าจจะใชใ้ ห้ เจา้ หนย้ี อ่ มจบั กมุ , การถกู จบั กมุ นน้ั เปน็ ทุกขข์ องคนบรโิ ภคกามในโลก. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ความยากจน กด็ ,ี การกหู้ น้ี กด็ ,ี การตอ้ งใชด้ อกเบย้ี กด็ ,ี การถกู ทวงหน้ี กด็ ,ี การถกู ตดิ ตาม ก็ดี, การถกู จับกุม ก็ดี, ทง้ั หมดนี้ เป็นทกุ ขข์ องคนบรโิ ภคกามในโลก. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ฉันใดก็ฉันน้ัน  :  ความไม่มี ศรัทธา-หิริ-โอตตัปปะ-วิริยะ-ปัญญา,  ในกุศลธรรม มอี ยู่แกผ่ ูใ้ ด; เรากล่าวบุคคลผนู้ ้ันว่า เป็นคนจนเขญ็ ใจไรท้ รัพย์สมบตั ิ ในอริยวนิ ยั . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! คนจนชนิดนั้น  เม่ือไม่มี ศรัทธา-หิริ-โอตตัปปะ-วิริยะ-ปัญญา,  ในกุศลธรรม เขายอ่ มประพฤติ  กายทุจรติ   วจีทจุ รติ   มโนทุจริต, เรากล่าว  การประพฤติทุจริต  ของเขานี้  ว่าเป็น การกหู้ น้ี.

ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 3​ 3 เพอ่ื จะปกปดิ กายทจุ รติ วจที จุ รติ มโนทจุ รติ ของเขา เขาตั้งความปรารถนาลามก  ปรารถนาไม่ให้ใครรู้จักเขา  ดำ�ริไม่ให้ใครรู้จักเขา  พูดจาเพื่อไม่ให้ใครรู้จักเขา ขวนขวายทกุ อยา่ งเพื่อไม่ให้ใครรู้จักเขา, เรากล่าว การปกปดิ ความทจุ รติ อยา่ งนข้ี องเขาน้ี วา่ เปน็ ดอกเบย้ี ท่ีเขาตอ้ งใช้. เพอ่ื นพรหมจารผี มู้ ศี ลี เปน็ ทร่ี กั พากนั กลา่ วปรารภ เขาอย่างนี้ว่า “ทา่ นผมู้ ีอายนุ ้ที ำ�อะไรๆ (ทจุ รติ ) อยา่ งน้ี มีปกตปิ ระพฤติกระท�ำ อะไรๆ (ทุจรติ ) อยา่ งน”ี้ , เรากลา่ ว การถกู กลา่ วอยา่ งนี้ ว่าเป็น การถกู ทวงหนี้. เขาจะไปอยปู่ า่ กต็ าม อยโู่ คนไมก้ ต็ าม อยเู่ รอื นวา่ ง ก็ตาม อกศุ ลวติ ก อนั ลามกประกอบอยู่ด้วยความร้อนใจ ย่อม เกดิ ข้ึนกลุม้ รุมจติ ใจเขา, เรากล่าว อาการอยา่ งนี้ ว่าเปน็ การถกู ติดตาม เพอ่ื ทวงหน.้ี

3​ 4 พุทธวจน ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! คนจนชนิดนี้  คร้ันประพฤติ กาย–วจี–มโนทุจริตแล้ว  ภายหลังแต่การตาย  เพราะ การแตกทำ�ลายแห่งกาย ย่อม ถกู จองจ�ำ อยใู่ นนรก บา้ ง ในก�ำ เนิดเดรจั ฉาน บา้ ง. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เราไม่มองเห็นการจองจำ�อื่น แมอ้ ยา่ งเดยี วทท่ี ารณุ อยา่ งน้ี เจบ็ ปวดอยา่ งน้ี เปน็ อนั ตราย อยา่ งน้ี ตอ่ การบรรลโุ ยคกั เขมธรรมอนั ไมม่ ธี รรมอน่ื ยง่ิ กวา่ เหมอื นการถกู จองจ�ำ ในนรก หรอื ในก�ำ เนดิ เดรจั ฉานอยา่ งน.้ี (คาถาผนวกท้ายพระสตู ร) ความยากจนและการกู้หนี้  ท่านกล่าวว่าเป็น ความทุกข์ในโลก. คนจนกู้หนี้มาเลี้ยงชีวิต  ย่อมเดือดร้อน เพราะเจ้าหนีต้ ิดตามบา้ ง  เพราะถกู จับกมุ บ้าง. การถูกจับกุมนั้น  เป็นความทุกข์ของคนบูชา การได้กาม. ถึงแมใ้ นอริยวนิ ัยน้กี เ็ หมือนกัน :

ฉบับ ๗ ฆราวาสชั้นเลิศ 3​ 5 ผใู้ ดไมม่ ศี รัทธา  ไมม่ ีหริ  ิ ไม่มโี อตตัปปะ สง่ั สมแตบ่ าปกรรม กระท�ำ กายทจุ รติ -วจที จุ รติ - มโนทจุ รติ ปกปิดอยู่ด้วยการกระทำ�ทางกาย  ทางวาจา ทางจติ   เพ่ือไมใ่ หผ้ ูใ้ ดรจู้ กั เขา, ผนู้ น้ั พอกพนู บาปกรรมอยเู่ นอื งนติ ย์ ในทน่ี น้ั ๆ. คนชั่วทำ�บาปกรรม  รู้สึกแต่กรรมชั่วของตน เสมอื นคนยากจน  กหู้ นี้มาบรโิ ภคอย ู่ ยอ่ มเดอื ดร้อน. ความตรติ รึกท่เี กิดจากวปิ ฏิสาร อนั เป็นเครอ่ื ง ทรมานใจ ย่อมตดิ ตามเขา ทัง้ ในบ้านและในปา่ . คนช่ัวทำ�บาปกรรม  รู้สึกแต่กรรมชั่วของตน ไปสกู่ �ำ เนดิ เดรจั ฉานบางอยา่ ง หรอื วา่ ถกู จองจ�ำ อยใู่ นนรก. การถกู จองจ�ำ นน้ั เปน็ ทกุ ข์ ชนดิ ทธ่ี รี ชนไมเ่ คยประสบเลย. ฉกกฺ . อํ. ๒๒/๓๙๒/๓๑๖.

“ ผูใ ดเห็นโทษ  โดยความเปนโทษ แลวทําคืนตามธรรม  ถงึ ความสํารวมตอไป; ขอนีเ้ ปนความเจรญิ ในอริยวนิ ัยของผนู น้ั ” สี. ที. ๙/๑๑๒/๑๓๙.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook